4 minute read

Press Skill Standards

32 KNOWLEDGE Pre-Press Skill Standards

โดย เพจโรงพิมพ์ไทย 5G

Advertisement

มักได้ยินการเปรียบเทียบว่าพรีเพรสท�างานเพียง 1 ไฟล์แต่ แท่นพิมพ์ต้องท�างาน 1,000 ครั้งให้ได้โปสเตอร์ 1,000 ใบ สบายกว่ากันเยอะเลย.....ความเป็นจริงนั้นพรีเพรสต้องท�างาน หลายขั้นตอน หลายมือ จ�านวนคลิ๊กเมาท์รวมกันหลายพันคลิ๊ก จึงได้เป็นเพลทออกมา

คุณสมบัติพื้นฐานของพรีเพรสคือ ทนต่อการใช้สายตาหน้าจอ คอมพิวเตอร์ได้นาน ใช้นิ้วมือและคีย์บอร์ดช�านาญ คล่องแคล่ว สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นทั้งทางวาจาและสื่อมีเดียช่องทาง ต่าง ๆ ได้ เป็นคนชอบเอะใจฉงนสงสัยว่าไฟล์งานตรงจุดไหนมี แนวโน้มว่าจะผิด และสุดท้ายคือบริหารเวลาเป็น เทคโนโลยีการพิมพ์และระบบการควบคุมที่ทันสมัยเป็นตัวช่วย ช่างพิมพ์ท�างานเร็วขึ้น จากต�าแหน่ง Printer จะกลายเป็น ต�าแหน่งเดินเครื่อง Operator ไปเสียแล้ว เครื่องช่วยคน การตอบโจทย์เทคโนโลยีการพิมพ์คือการฝึกอบรมพรีเพรส ให้รู้ลึกกว่าเดิม เพื่อใช้ซอฟท์แวร์ ใช้เครื่องมือได้เต็มที่ ท�าเพลท ออกมาดี ก็จะช่วยรักษาประสิทธิภาพเครื่องพิมพ์ราคาแพงนั้น ได้สูงสุด การเปรียบเทียบด้วยตรรกะข้างต้น ผู้บริหารควรกล่อมเกลา ทัศนคติดังกล่าวให้หมดไปในโรงพิมพ์ แต่ละคนแต่ละแผนก มาขายความรู้ความสามารถเช่นเดียวกัน เพียงแต่ลักษณะ งานต่างกัน

กลับกันพนักงานพรีเพรสก็อย่าท�างานผิวเผิน เพียงคลิ๊กๆ ตามที่เขาว่าก็แล้วกัน โปสเตอร์ 1,000 ใบจะมีคุณภาพการพิมพ์ดี ก็มาจากพรีเพรสช่วยฝากทัศนคตินี้ไว้ด้วยครับ

ขันตอนการท�างาน หัวข้อฝึกอบรม

1. Pre - flight ตรวจเช็คความถูกต้อง และคุณภาพไฟล์ของ ลูกค้าก่อนท�าดิจิตอลปรู๊ฟ และท�าเพลท

2. จัดการสี Color

Management System เบื้องต้นกับไฟล์ลูกค้า

1. ระบบ Mac OS, PC Platforms 2. Pre-Flight Software 3. File formats (PDF/X, AI, EPS, PS, Tiff) 4. ISO 15930. Graphic technology : Prepress digital data exchange using PDF 5. Color model (RGB/CMYK, Spot Color) 6. Fonts (Opentype, Truetype, Type1) 7. Resolution (DPI, PPI) 8. Pantone (coated /uncoated) 9. หมึกสะท้อนแสง 10.Total Ink Coverage 11.Black Overprint 12.Layer / Transparency 13.ข้อจ�ากัดทางการพิมพ์ ขนาดตัวเล็กสุด ขนาดเส้นบางสุด งานพิมพ์ยากง่าย 14.หน่วยวัด Point และ Pica 15.เผื่อเจียน Bleed และ Safety zones 1. ทฤษฏีสีเบื้องต้น - Color Model (CIE L*a*b*, CIE XYZ) - Color Space 2. แม่สีบวก RGB แม่สีลบ CMY 3. Color Gamut ของอุปกรณ์ต่างๆ 4. ICC Profiles 5. Printing profile 6. วิธีท�า CMS / CMS Software 7. Test form IT8.7/4, IT 8.7/5 8. Device Link Profile 9. Calibration Monitor 10.วิธีใช้ Spectrodensitometer ตามคู่มือ 3. จัดการสารบัญไฟล์ 1. Server 2. Network 3. Data based system 4. Back-up Software 5. Applications 6. Workflow 7. File folder 8. File naming การตั้งชื่อไฟล์ 9. Archival system ระบบการเก็บข้อมูล 10.Retrieval System ระบบการเรียกข้อมูล 11.Job order system ระบบการออกใบจ๊อบ

เป้าหมาย 1. ตรวจพบข้อผิดพลาดในไฟล์ที่ไม่สามารถ มองเห็นบนหน้าจอได้ 2. ลดเวลาตรวจเช็คและภาระให้ขั้นตอนต่อไป 3. ลดจ�านวนครั้งการท�าปรู๊ฟแก้ไข 1-2-3 4. ประเมินปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับขั้นตอนต่อไป 5. ประสานงานกับแผนกต่างๆเมื่อไฟล์มีปัญหา ทั้งแผนกประเมินราคา แผนกขาย แผนกวางแผน เป็นต้น

1. รักษาค่าสีในไฟล์ให้ได้ Gamut กว้างที่สุด 2. เลือก printing profile ที่เหมาะสมกับ สเปคลูกค้า 3. ท�า CMS เป็น 4. Calibration Monitor ได้ 5. เทียบค่าที่วัดได้กับมาตรฐานแล้วปรับแต่ง 6. Color setting เหมือนกันทุกเครื่องในแผนก ทั้ง Mac OS และ PC

1. เก็บไฟล์เป็นระบบและเรียกใช้ได้รวดเร็ว 2. ไฟล์เก็บรักษาไว้ปลอดภัย 3. Update ไฟล์ได้ง่าย มีประวัติ 4. แยกประเภทไฟล์ไว้เป็นระเบียบ - Text files - Digital image - PDF documents - Plate 1 Bit tiff files - Imposition files 5. สร้าง File naming มาตรฐานได้

ขันตอนการท�างาน หัวข้อฝึกอบรม

4. สร้างไฟล์งานตาม ความต้องการของลูกค้า

1. การท�างานร่วมกันของ Software / Application 2. การใช้ Shortcut 3. Output formats 4. Raster & Vector 5. หลักการออกแบบ เช่น Color harmony Balance / Composition 5. ท�าดิจิตอลปรู๊ฟ 1. Proofing software 2. ระบบเครื่องปรู๊ฟ Laser / Ink jet 3. ประเภทการปรู๊ฟ (Soft, Hardcopy, Contract, Imposition) 4. ISO 12647-7 Standard Digital proof 5. ICC Profile

6. เลย์งาน / จัดหน้า (Imposition Layout) 6. แถบควบคุม Fogra Media Wedge 3.0 7. Mock-up และความส�าคัญ 8. การพับดัมมี่ 9. คู่มือการเดินเครื่อง Instruction Manual 1. กลับนอก / กลับในตัว / กลับกระดกกริปเปอร์ 2. ยก หน้ายก กรอบ 3. Imposition Software 4. สเปคเครื่องพิมพ์ 5. รูปแบบการเข้าเล่มหลังพิมพ์ 6. กระดาษ (น�้าหนัก เกรน ไซด์ ลักษณะผิว) 7. Color bar 8. เทคนิคการชดเชยระยะ Creep /

Shingling

7. RIP Files 1. RIP workflow 2. Output file formats (1bitTIFF, JDF) 3. Sแreening (AM, FM, Hybrid) 4. Dot Shape 5. Line per inch 6. Trapping ชดเชยการพิมพ์เหลื่อมด้วยวิธี Spread, Choke และขนาดที่เหมาะสม 7. Dot gain Compensation curves

เป้าหมาย 1. ไฟล์ตรงตามความต้องการลูกค้า ภายในเวลาที่ก�าหนด 2. ไฟล์งานสามารถ Output ได้ 3. แก้ไขไฟล์ตามค�าสั่งลูกค้า 4. สร้าง Master pages 5. สร้าง Style sheets

1. เดินเครื่องปรู๊ฟได้ 2. เลือก ICC Profile ตรงกับการพิมพ์ 3. ตรวจความถูกต้องของสเปคต่าง ๆ

Sizes, Resolution, Marks 4. วัดค่าแถบควบคุมและประเมินผลได้ 5. แก้ไขปัญหา Errors เครื่องปรู๊ฟ 6. ท�า Mock-up ได้ 7. บ�ารุงรักษาเครื่องถูกวิธี

1. สร้าง Template ถูกต้อง และลดต้นทุน 2. ใส่มาร์คและเฟอร์นิเจอร์ครบถ้วน 3. เลือกใช้ Color bar ตรงกับสเปคแท่นพิมพ์ 4. ระยะเผื่อขั้นตอนหลังพิมพ์ถูกต้อง

1. Rip files ตามขั้นตอนที่ถูกต้อง 2. แยกสีได้ครบ ตรงตามไฟล์ลูกค้า 3. จัดการเรื่อง Trapping ได้ 4. ใช้ Software ชดเชยเม็ดสกรีนบวมได้ 5. เลือก LPI ได้เหมาะสมกับกระดาษ 6. หารือกับผู้เกี่ยวข้องช่วยเพิ่มคุณภาพ การพิมพ์ เช่น Rich Black, Double Hits

ขันตอนการท�างาน

หัวข้อฝึกอบรม 8. เดินเครื่อง CTP 1. CTP workflow 2. ระบบ CTP (Thermal, U.V) 3. ประเภทและโครงสร้างของเพลท 4. สเปคเพลทแต่ละแท่นพิมพ์ 5. คู่มือการเดินเครื่อง Instruction Manual 6. การใช้เครื่องวัด Dot reader / Dot meter 7. Linearization 8. Plate control strip 9. Resolution 10.การเก็บรักษาเพลทและการเคลื่อนย้าย 11.การก�าจัดน�้ายาล้างเพลท

9. บ�ารุงรักษาและ ท�าความสะอาดอุปกรณ์ และเครื่องมือ 1. คู่มือการบ�ารุงรักษาใน Instruction Manual 2. วัตถุอันครายและการก�าจัด

เป้าหมาย 1. Calibration การฉายแสงและการล้าง 2. ท�า Linearization 3. ตรวจคุณภาพเพลทก่อนส่งพิมพ์ 4. แก้ปัญหาเครื่องท�างานผิดปรกติในขอบเขต ที่ท�าได้

1. ตรวจสภาพการท�างานของอุปกรณ์และ เครื่องมือประจ�าวัน 2. เปลี่ยนอะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง 3. บ�ารุงรักษาตามรอบเวลาก�าหนด

สวัสดีปีใหม่ 2564 ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์

วันที 6 มกราคม 2564 เวลา 13.00 น. ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย ถนนพระราม 9

คุณสุรสิทธิ์ เรืองจรัสพิพัฒน์ และคุณประชา อินทร์ผลเล็ก ผู้แทน บริษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) เข้าพบ คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 2564 พร้อมทั้งหารือเกี่ยวกับ การสนับสนุนกิจกรรมการสมาคมฯ รวมไปถึง แนวทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2564 เวลา 13.00 น. ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย

ถนนพระราม 9

This article is from: