วารสารการพิมพ์ไทย ฉบับที่ 133

Page 1



REDUCE 20%

10-20%

เพม ่ิ ความเรว็ในการผลต ิ ลดระยะ เวลาในการ WARM UP/COOL DOWN

SAVING 50% ) Normal UV (Photo initiator A)

เมอ ่ื เทย ี บกบ ั NORMAL UV

SPACE 25%

20,000 HRS 0% OZONE UP TO 4%

ประหยด ั กระดาษและ

EASY CLEANING

Contact Us




Ad.KURZ_8.25 X 11.75_Be A Green Leader_Final_TPC.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

8/4/2564 BE

08:44


เครื่​่�องพิ​ิ มพ์​์ อิ​ิงค์​์เจ็​็ทความเร็​็วสู​ูง ไม่​่มี​ีความร้​้อน ไม่​่มี​ีกลิ่​่น �

=

พิ​ิ มพ์​์ เร็​็ว 140 แผ่​่น/นาที​ี = หมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ 4 สี​ี กั​ันน้ำำ�� = พิ​ิ มพ์​์ งานได้​้ต่​่อเนื่​่�อง ไม่​่มี​ีความร้​้อน

มาพร้อมเทคโนโลยีชุด หัวพิมพ์ ที่ช่วยเพิ่มความเข้มคมชัดให้กับงานพิมพ์มากยิ่งขึ้น หมึกพิมพ์กันน้�ำ Oil-Based ทำ�ให้งานพิมพ์ที่ได้ สะอาด สวยงาม โดยใช้เทคโนโลยีที่ ปราศจากความร้อน ไม่มีมลพิษ

บริ​ิษั​ัท ริ​ิโซ่​่ (ประเทศไทย) จำำ�กั​ัด

825 อาคารไพโรจน์​์กิ​ิจจา ชั้​้�น 10 ถนนเทพรั​ัตน แขวงบางนาเหนื​ือ เขตบางนา กรุ​ุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์​์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/






นายกสมาคม

คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก

133 � า่ นตาทุ​ุกท่​่านคงไม่​่พ้​้น ตั้​้ง ้ ปี​ี 2564 ข่​่าวที่​่ผ่ � แต่​่ต้น � ง โควิ​ิด - 19 ที่​่ถึ ึ แม้​้ตอนนี้​้�จะเข้​้าสู่​่ช่ � ว ่ งปลายปี​ีแล้​้ว � ง แต่​่ก็ถื​ื ก็​็ยั​ังเกิ​ิดการระบาดอย่​่างต่​่อเนื่​่อ ็ อว่​่าอยู่​่� ในเกณฑ์​์ที่​่�ดี​ีขึ้​้�น ทั้​้�งนี้​้�เนื่​่�องจากมี​ีวั​ัคซี​ีนป้​้องกั​ัน � งจำำ�เป็​็นและสำำ�คั​ัญมาก เพื่​่� อลด ซึ่​่�งนั​ับว่​่าเป็​็นเรื่​่อ การแพร่​่ระบาดลงด้​้วยการฉี​ีดวั​ัคซี​ีนและการสร้​้าง ภู​ูมิ​ิ คุ้​้�มกั​ั นหมู่​่� ใ ห้​้ เ กิ​ิ ด ขึ้​้� น สมาคมการพิ​ิ มพ์​์ ไทย ขอเป็​็นกำำ�ลั​ังใจให้​้กั​ับทุ​ุกท่​่าน ร่​่วมกั​ันฝ่​่าวิ​ิกฤต นี้​้�ไปด้​้วยกั​ัน เนื้​้� อ หาวารสารฉบั​ับนี้​้� นำำ� เสนอบทสั​ัมภาษณ์​์ คุ​ุณฉี​ี เสี่​่�ยวหยิ​ิน แห่​่ง Sansin International � ร่ำำ��หวอดอยู่​่ใ� นอุ​ุตสาหกรรม Group นั​ักธุ​ุรกิ​ิจที่​่ค สิ่​่� งพิ​ิ มพ์​์ และบรรจุ​ุ ภั​ั ณฑ์​์ ใ นประเทศไทยมาร่​่ ว ม 16 ปี​ี และนั​ักธุ​ุรกิ​ิจรุ่​่�นใหมุ่​่�คณจิ​ิรานุ​ุช ชุ​ุนเจริ​ิญ � าช่​่วยกั​ันแชร์​์ไอเดี​ียในการบริ​ิหารธุ​ุรกิ​ิจ หรื​ือ คุ​ุณบี​ี บริ​ิษัท ั บี​ีบ๊อ ๊ กซ์​์ ปริ้​้น ั ที่​่ม � ติ้​้ง � จำำ�กัด ในยุ​ุควิ​ิกฤตโควิ​ิด - 19 นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีสั​ัมภาษณ์​์พิ​ิเศษ คุ​ุณเกรี​ียงไกร เธี​ียรนุ​ุกุล ุ กั​ับ แนวทางของประเทศไทยหลั​ังโควิ​ิด - 19 ซึ่​่�งท่​่านผู้​้�อ่​่านสามารถติ​ิดตามได้​้ภายในเล่​่ม หวั​ังเป็​็นอย่​่างยิ่​่�งว่​่า บทความและบทสั​ัมภาษณ์​์ต่​่าง ๆ จะเป็​็นประโยชน์​์ต่​่อท่​่านผู้​้�อ่​่าน ไม่​่มากก็​็น้​้อย หากท่​่านมี​ีข้​้อสงสั​ัยในประเด็​็นใด ๆ สามารถสอบถามข้​้อมู​ูลเพิ่​่� มเติ​ิม หรื​ือแนะนำำ�ติ​ิ ชมที​ีม งานวารสาร Thai Print พร้​้ อ มที่​่� จ ะรั​ับคำำ�ติ​ิ ชม จากทุ​ุ ก ท่​่ า น เพื่​่� อปรั​ับปรุ​ุงวารสารของเราต่​่อไป รวิ​ิกาญจน์​์ ทาพั​ั นธ์​์ บรรณาธิ​ิการ

SPECIAL THANKS

ผู้สนับสนุนเคลือบปกวารสาร เพิ่ มคุณค่าให้งานพิ มพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษัท เอ็ม.พี .ลักก์ ยูวี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษัท สีทอง 555 จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2682 2177-9

คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ คุณธีระ กิตติธีรพรชัย คุณนิธิ เนาวประทีป คุณพชร จงกมานนท์ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ

คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิการ

คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์ คุณธนเดช เตชะทวีกิจ เหรัญญิก

คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน

คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม

คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ รองปฏิคม

คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง ประชาสัมพั นธ์

คุณรัชฐกฤต เหตระกูล

รองประชาสัมพั นธ์

คุณวริษฐา สิมะชัย ที่ปรึกษา

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง คุณเกษม แย้มวาทีทอง คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย คุณอุทัย ธนสารอักษร คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม คุณมารชัย กองบุญมา คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ คุณรังษี เหลืองวารินกุล คุณธนะชัย สันติชัยกูล คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง ผศ.ดร.ชวาล คูร์พิพัฒน์ ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์พัชราภา ศักดิ์โสภิณ คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำพันธ์กุล ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์

ที่ปรึกษากฎหมายพิ เศษ

คุณธนา เบญจาธิกุล


ºÃÉ Ô · Ñ à¾ÃÊ«àÔ´¹· à»à»Íà ¤Í¹àÇÃÔ· µ§้Ô ¨Ó¡´ Ñ

“Trust in quality believe in service เชอ่ืมน่ัในคณุภาพ เชอ่ืมอืในบรกิาร ” ¹Óà¢ÒŒ¡ÃдÒɨҡÂâØû áÅÐËÅÒÂáËŧ‹·ÇèÑâÅ¡ á»ÃûÙÁÇŒ¹áÅÐá¼¹‹ ä«Ê» ¡µÔ/ä«Ê¾ àÔÈÉ

For Quality Services

&

Delivery Service

¡ÃдÒɻ͹´ (Woodfree Paper) ¡ÃдÒÉÍÒõŠÁ¹Ñ (Art Paper) ¡ÃдÒÉÍÒõŠ¡ÒôŠ (C1S / C2S Artcard) ¡ÃдÒÉ¡ÅÍ‹§á»§‡ËŧÑà·Ò (Duplex Board)

72-76 «ÍÂ⪤ªÂ Ñ ¨§¨ÓàÃÞ Ô ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ 3 á¢Ç§ºÒ§â¾§¾Ò§ ࢵÂÒ¹¹ÒÇÒ ¡Ã§Øà·¾ÁËÒ¹¤Ã 10120 Êͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÂ Õ ´à¾Á ่Ô àµÁ Ô ËÃÍ×ʧ่Ñ «Í้×

Cer. No. TH14/7594

à» ´·Ó¡Òà ¨.-Ê. àÇÅÒ 08.30-17.30 ¹.

support@presidentsupply.co.th

PS.SUPPORT

094-4195993, 061-7101331 , 061-9793388


CONTENTS NEWS

INDUSTRIAL

KNOWLEDGE

สั​ัมมนาออนไลน์​์ “BCG for Printing Industry”

16

เจาะลึ​ึกเทรนด์​์สี​ีปี​ี 2022

22

บทความ ดร.อนั​ันต์​์

26

สภาอุ​ุตสหากรรมฯ ร่​่วมเสวนา “มาตรการพลิ​ิกฟื้​้� นอุ​ุตสาหกรรม ไทยก้​้าวสู่​่�เศรษฐกิ​ิจยุ​ุคใหม่​่”

17

นวั​ัตกรรมเม็​็ดพลาสติ​ิก เพื่​่� อบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ยุ​ุคใหม่​่… บางลงแต่​่แข็​็งแรงขึ้​้�น

32

การลดต้​้นทุ​ุนเชิ​ิงวิ​ิศวกรรม สำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมการพิ​ิ มพ์​์ และแพคเกจจิ้​้�ง ตอนที่​่� 8

40

เอปสั​ันคว้​้ารางวั​ัลจาก iF Design Award 2021 จากเวที​ีการออกแบบระดั​ับโลก

46

สติ๊​๊�กเกอร์​์กำำ�จั​ัดเชื้​้�อแบคที​ีเรี​ีย และเชื้​้�อไวรั​ัส (Airpurity) เพื่​่� อป้​้องกั​ันเชื้​้�อไวรั​ัสโควิ​ิด-19

36

G7 ตอนที่​่� 2

50

10 เทคนิ​ิคสร้​้าง Personal Brand

64

สนค. ชี้�้ ธุ​ุรกิ​ิจบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์รุ่​่�ง แนะปรั​ับตั​ัว ตอบรั​ับกระแสรั​ักษ์​์โลก

54

TASKalfa Pro 1500c

48 62

กลุ่​่�มไทยเบฟ มอบเงิ​ินสนั​ับสนุ​ุน สถาบั​ันการจั​ัดการบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ และรี​ีไซเคิ​ิลเพื่​่� อสิ่​่�งแวดล้​้อม สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย

56

รู้​้�ทั​ันเทรนด์​์กล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ กล่​่องแพคเกจจิ้​้�ง ที่​่�มาแรงในปี​ี 2021-2022

92

โครงการส่​่งเสริ​ิมธุ​ุรกิ​ิจและพั​ั ฒนา เติ​ิบโต SME Regular Level

57

ส.อ.ท.จี้​้�เร่​่ง 3 เครื่​่�องยนต์​์หลั​ัก เคลื่​่�อนเศรษฐกิ​ิจไทยปี​ี 65 ฟื้​้� น โต้​้คลื่​่�น FDI หด

76

ตลาดส่​่งออก 20 อั​ันดั​ับแรก ของไทยรายประเทศ พ.ศ. 2561 - 2564 (ม.ค. - ก.ย.) ประเภทหนั​ังสื​ือและสิ่​่�งพิ​ิ มพ์​์ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์กระดาษ (หี​ีบ กล่​่อง ซองฯ) กระดาษและผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์กระดาษ

เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com Thaiprint Magazine ฝ่ายประชาสัมพั นธ์สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดท�ำขึ้น เพื่ อบริการข่าวสารและสาระความรู้แก่สมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฎและตีพิมพ์ ในวารสาร เป็นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิ มพ์ ไทย ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

INTERVIEW คุ​ุณฉี​ี เสี่​่�ยวหยิ​ิน และ SANSIN PAPER

18

สั​ัมภาษณ์​์พิ​ิเศษ คุ​ุณเกรี​ียงไกร เธี​ียรนุ​ุกุ​ุล หนุ​ุน Made in Thailand หลั​ังโควิ​ิด

58

จิ​ิรานุ​ุช ชุ​ุนเจริ​ิญ บริ​ิษั​ัท บี​ีบ๊​๊อกซ์​์ ปริ้​้�นติ้​้�ง จำำ�กั​ัด

72

ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์รัตนคีรี และวาสนา เสนาะพิ น ออกแบบกราฟฟิค บริษัท เดคอเดีย ดีไซน์ จ�ำกัด 56/12 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0 2893 3131 พิ มพ์ ที่ บริษัท ก.การพิ มพ์ เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

The Thai Printing Association thaiprint.org @thethaiprinting


เครื่องพิมพออฟเซต

เครื่องยิงเพลทออฟเซต เครื่องยิงเพลทเฟล็กโซ

เครื่องไดคัทและปมฟอยล

เครื่องเย็บกี่

เครื่องทำกลองลูกฟูก

เครื่องตรวจเช็คแผนพิมพ

เครื่องยกกระดาษ

เครื่องพิมพอิงคเจ็ท

บริษัท ซี. อิลเลียส (ไทยแลนด) จำกัด 159/29 อาคารเสริมมิตร หอง 1802 ชั้น 18 ถนนสุขุมวิท ซอย 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110

เครื่องพิมพยูวีแผนเรียบ

โทร + 662 401 9779 โทรสาร + 662 661 7631 เว็บไซต www.illies.co.th

วัสดุสิ้นเปลือง


16

NEWS

สั​ัมมนาออนไลน์​์ “BCG for Printing Industry” เมื่​่�อวั​ันที่​่� 28 กั​ันยายน 2564 เวลา 14:00น. ผ่​่านโปรแกรม Zoom และ Facebook Live

คุ​ุณพงศ์​์ธี​ีระ พั​ัฒนพี​ีระเดช นายกสมาคมการพิ​ิมพ์​์ไทย เป็​็นวิ​ิทยากรในการสั​ัมมนา ออนไลน์​์ผ่​่านโปรแกรม Zoom และ Facebook Live ในหั​ัวข้​้อ “BCG for Printing Industry” ซึ่​่�งได้​้กล่​่าวถึ​ึง BCG Model และบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เพื่​่�อสิ่​่�งแวดล้​้อม โดยมี​ี คุ​ุ ณ ประสิ​ิ ท ธิ์​์� คล่​่ อ งงู​ู เ หลื​ื อ ม อดี​ี ต ประธานสหพั​ั น ธ์​์ อุ​ุ ต สาหกรรมการพิ​ิ ม พ์​์ , คุ​ุณสกุ​ุลทิ​ิพย์​์ สั​ันติ​ิชั​ัยอนั​ันต์​์ ประธานชมรม TCPC และคุ​ุณจิ​ิตร์​์งาม พราหมณี​ีนิลิ ผู้�ก่้ ่อตั้​้�ง Printery Podcast ร่​่วมเป็​็นวิ​ิทยากร เมื่​่�อวั​ันอั​ังคารที่​่� 28 กั​ันยายน 2564 เวลา 14:00น. THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

สามารถรั​ับฟั​ังคลิ​ิปสั​ัมมนาได้​้ที่​่� https://www.facebook.com/ KBODesignbyInprint/videos/ 989152061882134


NEWS

17

สภาอุ​ุตสหากรรมฯ ร่​่วมเสวนา “มาตรการพลิ​ิกฟื้​้�นอุ​ุตสาหกรรมไทย ก้​้าวสู่​่�เศรษฐกิ​ิจยุ​ุคใหม่​่” งานสั​ัมมนาออนไลน์​์ เมื่​่�อวั​ันที่​่� 20 กั​ันยายน 2564 คุ​ุณเกรี​ียงไกร เธี​ียรนุ​ุกุ​ุล รองประธานสภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่ง ประเทศไทย ร่​่วมเป็​็นวิ​ิทยากรเสวนาหั​ัวข้​้อ “มาตรการพลิ​ิก ฟื้​้�นอุ​ุตสาหกรรมไทยก้​้าวสู่​่�เศรษฐกิ​ิจยุ​ุคใหม่​่” ในงานสั​ัมมนา ออนไลน์​์ “การจั​ัดทำำ�ข้​้อมู​ูลภาคอุ​ุตสาหกรรมเพื่​่�อการเตื​ือนภั​ัย เศรษฐกิ​ิ จอุ​ุ ต สาหกรรมระดั​ั บ จั​ั ง หวั​ั ด โดยการบู​ู ร ณาการ ข้​้อมู​ูลอุ​ุตสาหกรรม ปี​ีงบประมาณ 2564” จั​ัดโดยสำำ�นั​ักงาน ปลั​ัดกระทรวงอุ​ุตสาหกรรม กระทรวงอุ​ุตสาหกรรม โดยมี​ี ผู้​้� เข้​้ า ร่​่ ว มจากสำำ�นั​ั ก งานอุ​ุ ต สาหกรรมจั​ั ง หวั​ั ด 76 จั​ั ง หวั​ั ด หน่​่วยงานภาครั​ัฐ ภาคเอกชน และผู้​้�ที่​่�สนใจทั่​่�วไป โดยคุ​ุณเกรี​ียงไกร เธี​ียรนุ​ุกุ​ุล รองประธาน ส.อ.ท. ได้​้ร่​่วมเสวนา กั​ับวิ​ิทยากรอี​ีก 2 ท่​่าน ได้​้แก่​่ ดร.พิ​ิสิ​ิทธิ์​์� พั​ัวพั​ันธ์​์ ผู้​้�อำำ�นวยการ สำำ�นั​ักนโยบายเศรษฐกิ​ิจมหภาค สำำ�นั​ักงานเศรษฐกิ​ิจการคลั​ัง และดร.ชลจิ​ิต วรวั​ังโส วี​ีรกุ​ุล ผู้​้�ช่​่วยเลขาธิ​ิการด้​้านเศรษฐกิ​ิจ มหาภาค สำำ�นักั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพั​ัฒนาเศรษฐกิ​ิจ

พิ​ิเศษภาคตะวั​ันออก และมี​ี ดร.อนั​ันตโชค โอแสงธรรมนนท์​์ ผู้​้�ช่​่วยผู้​้�อำำ�นวยการสถาบั​ันวิ​ิจั​ัยนโยบายเศรษฐกิ​ิจการคลั​ัง เป็​็น ผู้​้�ดำำ�เนิ​ินรายการ โดยการเสวนาในครั้​้�งนี้​้�จั​ัดขึ้​้�นเมื่​่�อวั​ันจั​ันทร์​์ที่​่� 20 กั​ันยายน 2564 www.thaiprint.org


18

INTERVIEW

คุ​ุณฉี​ี เสี่​่�ยวหยิ​ิน และ SANSIN PAPER

อี​ีกหนึ่​่�งธุ​ุรกิ​ิจ ของ SANSIN INTERNATIONAL GROUP Sansin International Group ก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นในประเทศไทย ตั้​้ง� แต่​่ปี​ี 2548 จนถึงึ ปั​ัจจุ​ุบันั กว่​่า 16 ปี​ีที่​่ผ่� า่ นมา ได้​้ดำำ�เนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจ เป็​็นผู้​้ใ� ห้​้คำำ�แนะนำำ�สำำ�หรับั ผู้​้�ที่​่อ� ยากลงทุ​ุนในธุ​ุรกิ​ิจการพิ​ิมพ์​์และ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ รวมถึ​ึงเป็​็นผู้​้�ให้​้คำำ�ปรึ​ึกษา และจั​ัดหาวั​ัสดุ​ุอุ​ุปกรณ์​์ รวมถึ​ึงการบริ​ิการการติ​ิดตั้​้�งเครื่​่�องจั​ักร การฝึ​ึกอบรมบุ​ุคลากร การซ่​่อมแซมเครื่​่�องจั​ักร การบำำ�รุ​ุงรั​ักษา พร้​้อมทั้​้�งจั​ัดหาวั​ัสดุ​ุ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

อุ​ุปกรณ์​์ต่​่าง ๆ รวมถึ​ึงวั​ัตถุ​ุดิ​ิบต่​่าง ๆ ที่​่�ใช้​้ในธุ​ุรกิ​ิจการพิ​ิมพ์​์ เพื่​่�อให้​้สอดคล้​้องกั​ับสโลแกนที่​่�ว่​่า one-stop service ทั้​้�งนี้​้� บริ​ิษั​ัทมี​ีที​ีมขายทั้​้�งในประเทศไทยและประเทศต่​่าง ๆ ในแถบ ภู​ูมิ​ิภาคเอเชี​ียตะวั​ันออกเฉี​ียงใต้​้ เช่​่น อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย มาเลเซี​ีย เวี​ียดนาม ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ และเมี​ียนม่​่า


INTERVIEW

“รู้​้�จั​ัก SANSIN PAPER”

Sansin ได้​้ เ ติ​ิ บ โตมาในวงการอุ​ุ ต สาหกรรมการพิ​ิ ม พ์​์ แ ละ บรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ มี​ี ก ารพั​ั ฒ นาแพลตฟอร์​์ ม การบริ​ิ ก ารที่​่� มี​ี ค วาม มั่​่�นคง และครบวงจร ตั้​้�งแต่​่ก่​่อนการพิ​ิมพ์​์หลั​ังพิ​ิมพ์​์ อุ​ุปกรณ์​์ กล่​่องลู​ูกฟู​ูก อุ​ุปกรณ์​์การพิ​ิมพ์​์ฉลาก รวมไปถึงึ วั​ัสดุอุ​ุ ปุ กรณ์​์ต่า่ ง ๆ ทุ​ุกชนิ​ิด ด้​้วยการจั​ัดสรรที่​่�ครบวงจรและมี​ีความเป็​็นมื​ืออาชี​ีพ การปฏิ​ิบั​ัติ​ิงานอย่​่างจริ​ิงจั​ัง เพื่​่�อการั​ันตี​ีความเป็​็นมื​ืออาชี​ีพ รวมถึ​ึงความสะดวกและจริ​ิงใจในการบริ​ิการที่​่�รวดเร็​็ว ซื่​่�อสั​ัตย์​์ จนได้​้รับั ความไว้​้วางใจจากอุ​ุตสาหกรรมการพิ​ิมพ์​์และบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ ในช่​่ ว งไม่​่ กี่​่� ปี​ีที่​่� ผ่​่า นมานี้​้� แม้​้ จ ะเกิ​ิ ด วิ​ิ ก ฤตการณ์​์ โรคระบาด โควิ​ิด – 19 ที่​่�ส่​่งผลต่​่อธุ​ุรกิ​ิจทั่​่�วโลก แต่​่ตลาดบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์มี​ีการ แข่​่งขั​ันค่​่อนข้​้างสู​ูง สร้​้างแรงกดดั​ันต่​่อการแข่​่งขั​ันทางการตลาด มากยิ่​่�งขึ้​้�น และกระดาษเองก็​็เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของสื่​่�อสิ่​่�งพิ​ิมพ์​์และ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ดั​ังนั้​้�น การตั​ัดสิ​ินใจเพิ่​่�มธุ​ุรกิ​ิจนี้​้�จึ​ึงเป็​็นเป้​้าหมาย ระยะยาว ในส่​่ ว นของธุ​ุ ร กิ​ิ จ กระดาษทางบริ​ิ ษั​ั ท Sansin ได้​้เริ่​่ม� เตรี​ียมการไว้​้ล่ว่ งหน้​้าตั้​้ง� แต่​่ปี​ี 2562 แต่​่ในช่​่วงเวลานั้​้�นเกิ​ิด วิ​ิกฤตการณ์​์โควิ​ิด-19 ซึ่​่�งได้​้ก่​่อผลกระทบอย่​่างมาก ทางบริ​ิษั​ัท จึ​ึงชะลอเวลาเปิ​ิดตั​ัวอย่​่างเป็​็นทางการออกไปก่​่อน จนมาถึ​ึง ปั​ัจจุ​ุบั​ันที่​่�การแพร่​่ระบาดได้​้คลี่​่�คลายลงในระดั​ับที่​่�น่​่าพอใจ อี​ีกทั้​้�งบริ​ิษั​ัทมี​ีความพร้​้อมที่​่�จะบริ​ิการกระดาษให้​้กั​ับทุ​ุกท่​่าน ที่​่�สนใจอย่​่างเต็​็มรู​ูปแบบ

19

“ระบบเครื​ือข่​่ายที่​่�ครอบคลุ​ุมทั่​่�วโลกของ SANSIN ช่​่วยให้​้คนไทยได้​้ใช้​้กระดาษที่​่�ดี​ีมี​ีราคาถูก ู ”

กระดาษเป็​็ น สิ​ิ น ค้​้าที่​่� ใช้​้เป็​็ น จำำ� นวนมากสำำ� หรั​ั บ การพิ​ิ ม พ์​์ และบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ เป็​็นวั​ัสดุ​ุสิ้​้�นเปลื​ืองที่​่�จำำ�เป็​็นสำำ�หรั​ับการพิ​ิมพ์​์ เมื่​่�อปลายปี​ีที่​่แ� ล้​้วราคากระดาษได้​้เพิ่​่�มขึ้​้น� กระดาษหลายชนิ​ิด ราคาเพิ่​่�มขึ้​้�นเป็​็นสองเท่​่าจนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน ตลาดต่​่างประเทศและสถานการณ์​์ระหว่​่างประเทศในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ราคากระดาษยั​ังอยู่​่�ในระดั​ับสู​ูง และจะมี​ีสั​ัญญาณการเพิ่​่�มขึ้​้�น เล็​็กน้​้อย มี​ีเหตุ​ุผลหลั​ักใหญ่​่ ๆ 4 ข้​้อ คื​ือ 1. นโยบายค่​่าเงิ​ินบาทที่​่�อ่​่อนค่​่า ซึ่​่�งทำำ�ให้​้อั​ัตราเงิ​ินเฟ้​้อทั่​่�วโลก รุ​ุนแรง 2. อนุ​ุรั​ักษ์​์ระบบธรรมชาติ​ินำำ�ไปสู่​่�การควบคุ​ุมพลั​ังงานและ การตั​ัดโค่​่นต้​้นไม้​้ 3. การเพิ่​่�มขึ้​้�นของค่​่าแรงและค่​่าขนส่​่ง 4. การแพร่​่ระบาดของโรคระบาดที่​่�ยั​ังไม่​่สามารถควบคุ​ุมได้​้ Sansin มี​ีระบบเครื​ือข่​่ายที่​่�ครอบคลุ​ุมทั่​่�วโลกในการจั​ัดสรร ข้​้ อ มู​ู ลข่​่ า วสารจากการจั​ั ด ซื้​้� อ จึ​ึงสามารถคาดการณ์​์ ว่​่ า ราคากระดาษจะเพิ่​่�มขึ้​้�นหรื​ือลดลง ดั​ังนั้​้�น จึ​ึงทำำ�ให้​้สามารถ จำำ� หน่​่ า ยกระดาษในราคามิ​ิ ต รภาพและมี​ี คุ​ุ ณ ภาพที่​่� ดี​ี กั​ั บ ลู​ูกค้​้าต่​่อไป www.thaiprint.org


20

INTERVIEW

“เครื​ือข่​่ายอิ​ินเตอร์​์เน็​็ต แก้​้วิก ิ ฤตการณ์​์โควิ​ิด – 19 และมาตรการการป้​้องกั​ันที่​่�เข้​้มงวดของจี​ีน”

นั​ับตั้​้�งแต่​่โรคโควิ​ิด – 19 ได้​้แพร่​่ระบาดไปทั่​่�วโลก ทำำ�ให้​้เกิ​ิดภั​ัย อย่​่างใหญ่​่หลวงต่​่อชี​ีวิ​ิตและสุ​ุขภาพของผู้​้�คน นำำ�ความท้​้าทาย ครั้​้�งใหญ่​่มาสู่​่�ความมั่​่�นคงด้​้านสาธารณสุ​ุขทั่​่�วโลก และก่​่อให้​้ เกิ​ิดผลกระทบต่​่อเศรษฐกิ​ิจโลก ในขณะเดี​ียวกั​ันก็​็ส่​่งผลเป็​็น อย่​่างมากต่​่อการพั​ัฒนาของ Sansin โดยเฉพาะอย่​่างยิ่​่�งการ เปลี่​่�ยนแปลงของบุ​ุคลากรด้​้านเทคนิ​ิคและการขนส่​่งสิ​ินค้​้า ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้� Sansin จึ​ึงใช้​้ประโยชน์​์จากเครื​ือข่​่ายอิ​ินเตอร์​์เน็​็ต เพื่​่�อนำำ�มาเสริ​ิมสร้​้างประสิ​ิทธิ​ิภาพการทำำ�งานทางเทคนิ​ิคของ ช่​่างรวมถึงึ ใช้​้อินิ เตอร์​์เน็​็ตในการติ​ิดต่อ่ จั​ัดซื้​้อ� ร่​่วมกั​ับประเทศจี​ีน ปฏิ​ิเสธไม่​่ได้​้เลยว่​่า หลั​ังจากเกิ​ิดโรคระบาดที่​่�เกิ​ิดขึ้​้น� ทั่​่�วโลกชี​ีวิติ และการทำำ�งานของทุ​ุกคนต้​้องมี​ีเทคโนโลยี​ีเข้​้ามาเกี่​่ย� วข้​้อง ดั​ังนั้​้�น การเปลี่​่� ย นเข้​้ า สู่​่�โลกดิ​ิ จิ​ิ ทั​ั ล จำำ� เป็​็ น ต้​้ อ งผ่​่ า นเครื่​่� อ งมื​ือดิ​ิ จิ​ิ ทั​ั ล เช่​่น อิ​ินเทอร์​์เน็​็ตบนมื​ือถื​ือ หรื​ือเทคโนโลยี​ี AR เพื่​่�อให้​้เข้​้าถึ​ึง โลกดิ​ิจิ​ิทั​ัลได้​้ง่​่ายยิ่​่�งขึ้​้�น

การนำำ�เทคโนโลยี​ีประยุ​ุกต์​์ใช้​้จะแพร่​่หลาย มากขึ้​้�น มี​ีดำำ�เนิ​ินการฝึ​ึกอบรมทางไกล ผ่​่านเครื​ือข่​่าย 5G และเทคโนโลยี​ีดิ​ิจิทั​ั ิ ล การประชุ​ุมร่​่วมกั​ับซั​ัพพลายเออร์​์ผ่​่าน อิ​ินเทอร์​์เน็​็ตบนมื​ือถื​ือ และใช้​้เทคโนโลยี​ี ดิ​ิจิทั​ั ิ ลสำำ�หรั​ับการบำำ�รุง ุ รั​ักษา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

“เตรี​ียมพร้​้อมรั​ับงาน Pack Print International 2022”

เนื่​่�องจากสถานการณ์​์การแพร่​่ระบาดของโควิ​ิด – 19 กิ​ิจกรรม ต่​่าง ๆ รวมถึ​ึงงาน Exhibition ต่​่าง ๆ จึ​ึงไม่​่ได้​้จั​ัดขึ้​้�นเป็​็นเวลา 2 ปี​ี หวั​ังว่​่าจะสิ้​้�นสุ​ุดการแพร่​่ระบาดหรื​ือคลี่​่�คลายลงมากกว่​่า ที่​่�ผ่​่านมา Sansin ได้​้วางนโยบายที่​่�จะเข้​้าร่​่วมงาน Pack Print International 2022 โดยจะนำำ�เครื่​่�องจั​ักรตลอดจนอุ​ุปกรณ์​์ อั​ัจฉริ​ิยะใหม่​่ ๆ อาทิ​ิเช่​่น เครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ฉลาก การพิ​ิมพ์​์ดิ​ิจิ​ิตอล อุ​ุ ป กรณ์​์ หลั​ั ง การประมวลผล เครื่​่� อ งไดคั​ั ท อั​ั ต โนมั​ั ติ​ิ แ บบ มั​ัลติ​ิฟั​ังก์​์ชั่​่�น และอุ​ุปกรณ์​์หลั​ังการพิ​ิมพ์​์ที่​่�หลากหลายนำำ�มา จั​ั ดแสดงภายในงาน จึ​ึงขอเชิ​ิญชวนทุ​ุกท่​่าน แวะเข้​้ามาชม เครื่​่�องจั​ักรและสิ​ินค้​้าของบริ​ิษั​ัทฯ ได้​้ภายในงาน


INTERVIEW

21

"ในฐานะนั​ักธุ​ุ ร กิ​ิ จ แนวทางพื้​้� นฐานที่​่� สุ​ุ ด คื​ือ ความซื่​่�อสั​ัตย์​์ ชื่​่�อเสี​ียงทางธุ​ุรกิ​ิจดี​ี วิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์ � ดทน การติ​ิดต่​่อที่​่ห � ลากหลาย ระยะยาวและจิ​ิตใจที่​่อ ความสามารถในการคิ​ิดอย่​่างอิ​ิสระ และความ สามารถในการเข้​้าใจจั​ังหวะเวลา"

“การส่​่งต่​่อธุ​ุรกิ​ิจจากรุ่​่�นสู่​่�รุ่​่�น”

“ก้​้าวต่​่อไปของ SANSAIN”

การสื​ืบทอดของคนรุ่​่�นใหม่​่คื​ือการพั​ัฒนาที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่และการ เปลี่​่�ยนแปลงครั้​้�งใหญ่​่ ซึ่​่�งจะส่​่งเสริ​ิมการพั​ัฒนาที่​่�ยิ่​่�งใหญ่​่ของ อุ​ุตสาหกรรมการพิ​ิมพ์​์ทั้​้ง� หมด เนื่​่อ� งจากเวลามี​ีการเปลี่​่�ยนแปลง สิ่​่�งใหม่​่ ๆ จึ​ึงเกิ​ิดขึ้​้�นในกระแสที่​่�ไม่​่มี​ีที่​่�สิ้​้�นสุ​ุด และเทคโนโลยี​ี ใหม่​่ ๆ เช่​่นข้​้อมู​ูลข่​่าวสารภู​ูมิ​ิปั​ัญญาและการแปลงเป็​็นดิ​ิจิ​ิทั​ัล มี​ีการพั​ัฒนาอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ธุ​ุรกิ​ิจถู​ูกส่​่งมอบให้​้กั​ับรุ่​่�นลู​ูกซึ่​่�งเป็​็น คนรุ่​่�นใหม่​่ และเพราะช่​่วงวั​ัยทำำ�ให้​้คนรุ่​่�นใหม่​่ที่​่�สามารถติ​ิดตาม แนวโน้​้ ม ได้​้ ทั​ั น เวลาและทั​ั น ยุ​ุ ค ทั​ั น สมั​ั ย และนำำ� มาต่​่ อ ให้​้ มี​ี การพั​ัฒนาที่​่�ดี​ีขึ้​้�น

จากที่​่� ก ล่​่ า วมาข้​้ า งต้​้ น Sansin มี​ี ส าขาทั้​้� ง ในประเทศไทย อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย เวี​ียดนาม มาเลเซี​ีย และฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ในเอเชี​ียตะวั​ัน ออกเฉี​ี ย งใต้​้ แต่​่ ล ะประเทศมี​ี ลั​ั ก ษณะเฉพาะและแนวโน้​้ ม การพั​ัฒนาโดยรวมแตกต่​่างกั​ันไป การลงทุ​ุนในประเทศไทย ค่​่อนข้​้างมี​ีเสถี​ียรภาพ เมื่​่�อเที​ียบกั​ับประเทศอื่​่�น ๆ Sansin ยื​ืนยั​ั น ที่​่� จ ะพั​ั ฒ นาการทำำ� งานให้​้ ดี​ี ม ากยิ่​่� ง ขึ้​้� น ในธุ​ุ ร กิ​ิ จ เดิ​ิ ม และพยายามอย่​่างต่​่อเนื่​่�องเพื่​่�อหาเทคโนโลยี​ีใหม่​่ ๆ เพื่​่�อให้​้ การบริ​ิการที่​่�ดี​ียิ่​่�งขึ้​้�นแบบครบวงจรในแถบเอเชี​ียตะวั​ันออก เฉี​ียงใต้​้ เพื่​่�อให้​้อุ​ุตสาหกรรมการพิ​ิมพ์​์และบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ในเอเชี​ีย ตะวั​ันออกเฉี​ียงใต้​้สามารถพั​ัฒนาต่​่อไปอย่​่างดี​ียิ่​่�งขึ้​้�น

ในฐานะนั​ั ก ธุ​ุ ร กิ​ิ จ แนวทางพื้​้� น ฐานที่​่� สุ​ุ ดคื​ื อ ความซื่​่� อ สั​ั ต ย์​์ ชื่​่�อเสี​ียงทางธุ​ุรกิ​ิจดี​ี วิ​ิสั​ัยทั​ัศน์​์ระยะยาวและจิ​ิตใจที่​่�อดทน การติ​ิดต่​่อที่​่�หลากหลาย ความสามารถในการคิ​ิดอย่​่างอิ​ิสระ และความสามารถในการเข้​้าใจจั​ังหวะเวลา

www.thaiprint.org


22 INDUSTRIAL

เจาะลึ​ึกเทรนด์​์สี​ีปี​ี 2022 โดย Creative Thailand ANISE FLOWER

STRATOSPHERE

PURPLE ROSE RADIANT YELLOW

ACID LIME

FESTIVAL FUCHSIA

JAVA

สถานการณ์​์ต่​่าง ๆ ที่​่�บี​ีบคั้​้�นทำำ�ให้​้กลุ่​่�มสี​ี ที่​่�ปรากฏในปี​ีนี้​้�เป็​็น แรงผลั​ักด้​้านจิ​ิตใจและการแสวงหาความสุ​ุขด้​้วยการแยกตั​ัวและ อยู่​่�ลำำ�พังั เป็​็นเวลานาน ธรรมชาติ​ิและความมี​ีชีวิี ติ ชี​ีวาจะมี​ีพลั​ัง อย่​่างชั​ัดเจน เทคโนโลยี​ีจะมี​ีบทบาทสำำ�คัญ ั ในฐานะจุ​ุดเชื่​่�อมต่​่อ ระหว่​่างเครื่​่�องมื​ือดิ​ิจิทัิ ลั จนกลายเป็​็นแพลตฟอร์​์มที่​่�สร้​้างและ พั​ัฒนาความสั​ัมพั​ันธ์​์การสั​ัมผั​ัส จนถึ​ึงเป็​็นที่​่�พึ่​่ง� ทางจิ​ิตใจและ จิ​ิตวิ​ิญญาณมี​ีคุ​ุณค่​่ามากขึ้​้�นในชี​ีวิ​ิตประจำำ�วั​ัน สี​ีหลั​ักของปี​ี 2022 ทั้​้�ง 7 สี​ี เกิ​ิดจากกระบวนการวิ​ิเคราะห์​์ และคั​ัดกรองจากสำำ�นั​ักเทรนด์​์ต่​่าง ๆ ก่​่อนถอดค่​่ารหั​ัสสี​ีเพื่​่�อให้​้ ง่​่ายต่​่อการใช้​้งาน จนกลายเป็​็นกลุ่​่�ม และเฉดสี​ีที่​่ค� าดว่​่าจะได้​้รับั ความนิ​ิยมมากขึ้​้น� ในปี​ีหน้า้ ที่​่�จะมาถึ​ึง โดยประเด็​็นหลั​ัก กลุ่​่�มสี​ีจะ สะท้​้อนถึ​ึงการผสมผสาน ควบรวมตั้​้ง� แต่​่เฉดสี​ีออร์​์แกนิ​ิกที่​่�จริงิ แท้​้ ตามธรรมชาติ​ิ ไปจนถึ​ึงโทนสี​ีสั​ังเคราะห์​์ที่​่�สร้​้างสรรค์​์ขึ้​้�นอย่​่าง แปลกใหม่​่ตามจิ​ินตนาการและความคิ​ิดสร้า้ งสรรค์​์ ขณะเดี​ียวกั​ัน ก็​็ให้​้ความรู้​้�สึ​ึกย้​้อนแย้​้งในประสบการณ์​์และความรู้​้�สึ​ึก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

หนึ่​่�งในความพิ​ิเศษของวงการเทรนด์​์สี​ีสำำ�หรั​ับปี​ี 2022 คื​ือ ความร่​่ ว มมื​ือของสำำ�นั​ั ก คาดการณ์​์ แ นวโน้​้ ม อย่​่ า ง WGSN และ Coloro บริ​ิษัทั สี​ีชั้​้น� แนวหน้​้าที่​่�ปฏิ​ิวัติั ริ ะบบการสร้​้างสรรค์​์ ด้​้ านสี​ี จนมี​ี กว่​่ า 3,500 โทน ทำำ�ให้​้ การคาดการณ์​์ สี​ีมี​ี ค วาม แม่​่นยำำ�และสมเหตุ​ุสมผล โดยเฉพาะการได้​้รั​ับข้​้อมู​ูลจากที​ีม ผู้​้� เชี่​่� ย วชาญด้​้ า นเทคนิ​ิ ค สี​ี ข องบริ​ิ ษั​ั ท Coloro เกี่​่� ย วกั​ั บ กระบวนการได้​้ ม าของโทนสี​ี บ นวั​ั สดุ​ุ ที่​่� มี​ี พื้​้� น ผิ​ิ ว แตกต่​่ า งกั​ั น โจแอนน์​์ โ ธมั​ั ส (Joanne Thomas) กล่​่ า วเพิ่​่� ม เติ​ิ ม ว่​่ า การทำำ� งานร่​่ ว มกั​ั น โดยตรงกั​ั บ ที​ี ม คาดการณ์​์ แ นวโน้​้ ม จาก WGSN มี​ีข้​้อดี​ีตรงที่​่�สามารถระบุ​ุสี​ีตามฤดู​ูกาลที่​่�มี​ีความสำำ�คั​ัญ ต่​่อธุ​ุรกิ​ิจที่​่�จะต้​้องทราบล่​่วงหน้​้า การคาดการณ์​์สี​ีที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น จึ​ึงช่​่ ว ยสร้​้ า งสมดุ​ุ ล ระหว่​่ า งความต้​้ อ งการความแปลกใหม่​่ กั​ับความต้​้องการอั​ันคุ้​้�นเคย ที่​่�ช่​่วยนำำ�ความรู้​้�สึ​ึกตื่​่�นเต้​้นและ การมองโลกในแง่​่ดี​ีมาสู่​่�ฤดู​ูกาล


INDUSTRIAL 23

1. สี​ีเขี​ียวสะท้​้อนแสง Acid Lime

หลอมรวมระหว่​่ า งความเก่​่ า และใหม่​่ ความจริ​ิ ง แท้​้และ สิ่​่�งสั​ังเคราะห์​์ สี​ีเขี​ียวสะท้​้อนแสงหรื​ือ Acid Lime อดี​ีตคื​ือ สี​ีย้​้อมไนโตรโซสั​ังเคราะห์​์ ซึ่​่�งปั​ัจจุ​ุบั​ันรู้​้�จั​ักกั​ันในชื่​่�อทางการค้​้า Naphthol Green B ตามประวั​ัติ​ิได้​้รั​ับการระบุ​ุเป็​็นครั้​้�งแรก ในแผนภู​ูมิ​ิสี​ีเชิ​ิงพาณิ​ิชย์​์ในฐานะสี​ีสำำ�หรั​ับวาดภาพของศิ​ิลปิ​ิน ความจริ​ิงแล้​้วกลุ่​่�มสี​ีสั​ังเคราะห์​์นี้​้�ผลิ​ิตครั้​้�งแรกในช่​่วงปี​ี 1883 และเป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ักกั​ันดี​ีในการย้​้อมผ้​้า การค้​้นพบครั้​้�งนั้​้�นจึ​ึงกระตุ้​้�น ให้​้เกิ​ิดการวิ​ิจัยั ที่​่�เกี่​่ย� วกั​ับกระบวนการผลิ​ิตอย่​่างรอบด้​้าน ตั้​้ง� แต่​่ คุ​ุณสมบั​ัติ​ิความคงทนและผลลั​ัพธ์​์เชิ​ิงเคมี​ีของสี​ี ก่​่อนสรุ​ุปผล การวิ​ิจัยั ว่​่าสี​ีดังั กล่​่าวนั้​้�นเหมาะสำำ�หรับั เป็​็นสี​ีทาบ้​้าน วอลเปเปอร์​์ หรื​ือ หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ อย่​่างไรก็​็ตาม ภายใต้​้มาตรฐานสมั​ัยใหม่​่ สี​ีเขี​ียวสะท้​้อนแสง ไม่​่ตอบโจทย์​์ความคงทนต่​่อแสงของเม็​็ดสี​ี นั​ับตั้​้�งแต่​่ ปี​ี 1956 ศิ​ิลปิ​ินจึ​ึงไม่​่นิยิ ม ใช้​้สีดัี งั กล่​่าว สั​ันนิ​ิษฐานว่​่าน่​่าจะถู​ูกแทนที่​่�ด้ว้ ย เม็​็ดสี​ีเขี​ียวอิ​ินทรี​ีย์​์ที่​่�มี​ีความเสถี​ียรกว่​่า สี​ี Acid Lime จึ​ึงเป็​็น ตั​ัวแทนของความแปลกใหม่​่ ความคิ​ิดสร้​้างสรรค์​์ที่​่�หลอมรวม ระหว่​่างความเก่​่าและใหม่​่ ความจริ​ิงแท้​้และสิ่​่�งสั​ังเคราะห์​์ โดยนิ​ิตยสาร Elle Decor ยกให้​้เป็​็นหนึ่​่�งในสี​ีสุ​ุดฮอตของปี​ีนี้​้�

dezeen.com

elledecor.com

nytimes.com

2. สี​ีเหลื​ืองเข้​้มเฉดมะม่​่วงสุ​ุก Radiant Yellow

สี​ีแห่​่งความมั่​่น� ใจและการกั​ักตุ​ุนพลั​ังบวกเอาไว้​้ภายใน รายงาน จาก Forbes กล่​่าวถึ​ึงสภาวะหมดไฟของกลุ่​่�มมิ​ิลเลนเนี​ียลที่​่� เกิ​ิดขึ้​้น� ก่​่อนที่​่�วิกิ ฤตการณ์​์โควิ​ิด-19 จะเริ่​่ม� ต้​้น การผ่​่านบททดสอบ เหตุ​ุการณ์​์สำ�คั ำ ัญของโลกมาแต่​่ละยุ​ุคสมั​ัย จนกระทั่​่�งเผชิ​ิญหน้​้า กั​ับภั​ัยโรคระบาด ยิ่​่�งทำำ�ให้​้เจนนี้​้�รู้​้�สึ​ึกเหนื่​่�อยหน่​่ายมากกว่​่า เดิ​ิมหลายเท่​่า โดยมากกว่​่า 52% ของผู้​้�ตอบแบบสอบถาม

olafureliasson.net

ชาวอเมริ​ิกั​ันบอกว่​่าพวกเขาหมดไฟตั้​้�งแต่​่ก่​่อนเจอวิ​ิกฤติ​ิล็​็อก ดาวน์​์และความเหน็​็ดเหนื่​่อ� ยนี้​้�ได้​้เริ่​่ม� ทวี​ีคู​ูณขึ้​้น� ทำำ�ให้​้ไม่​่สามารถ แยกความหงุ​ุดหงิ​ิดกั​ับปั​ัญหาสุ​ุขภาพจิ​ิต ได้​้สถาบั​ัน Centers for Disease Control and Prevention ได้​้ให้​้ความเห็​็นว่​่า การเปลี่​่�ยนทั​ัศนคติ​ิต่​่อชี​ีวิ​ิต จะทำำ�ให้​้มิ​ิลเลนเนี​ียลรู้​้�จั​ักคำำ�ว่​่า ยื​ืดหยุ่​่�นได้​้มากขึ้​้�น “มองโลกในแง่​่ดี​ีเข้​้าไว้​้นะ” สำำ�นั​ักคาดการณ์​์เทรนด์​์อนาคต WGSN ให้​้ความเห็​็นว่​่าการจะเดิ​ินหน้​้าต่​่อไปข้​้างหน้​้า ต้​้อง สร้​้างความมั่​่น� ใจและกั​ักตุ​ุนพลั​ังบวกเอาไว้​้ภายในจิ​ิตใจให้​้มาก ๆ ซึ่​่�งสี​ีที่​่�ทำำ�ให้​้เกิ​ิด พลั​ังในใจได้​้สำำ�หรั​ับปี​ีนี้​้�คื​ือสี​ีเหลื​ือง Radiant Yellow เหลื​ืองเข้​้มเฉดมะม่​่วงสุ​ุกที่​่�เป็​็นตั​ัวแทนแห่​่งการมองโลก ในแง่​่บวก พลั​ังงานจากจานสี​ีเฉดนี้​้�จะสามารถนำำ�ความบิ​ิดเบี้​้�ยว ให้​้กลั​ับมาสว่​่างสดใสได้​้อี​ีกครั้​้�ง www.thaiprint.org


24 INDUSTRIAL

3. กลุ่​่�มสี​ีชมพู​ู อมม่​่วง Festival Fuchsia

4. สี​ีม่​่วงเฉด Purple Rose

สี​ีแห่​่งการปลดปล่​่อย มอบพลั​ังขั​ับเคลื่​่�อนทั้​้�งในชี​ีวิ​ิตจริ​ิง และโลกดิ​ิ จิ​ิ ทั​ั ล กลุ่​่�มสี​ี ช มพู​ูอมม่​่ ว ง Festival Fuchsia แสดงค่​่าสี​ีที่​่เ� ข้​้มข้​้น สมจริ​ิง และพลั​ังที่​่�ขับั เคลื่​่อ� นทั้​้�งในชี​ีวิติ จริ​ิง และโลกดิ​ิจิ​ิทั​ัล ใช้​้งานได้​้หลากหลายมากพอที่​่�จะใช้​้ออกแบบ โดยไม่​่มี​ีเงื่​่�อนไขด้​้านฤดู​ูกาลและเขตแดนในแต่​่ละประเทศ สี​ีดั​ังกล่​่าวจึ​ึงเป็​็นวิ​ิธี​ีที่​่�ยอดเยี่​่�ยมในการสร้​้างความรู้​้�สึ​ึกเชิ​ิงบวก และการหลี​ีกหนี​ีเพื่​่�อสร้​้างพลั​ังให้​้ตนเองอี​ีกครั้​้�ง

แฝงด้​้วยพลั​ังแห่​่งการสร้​้างสรรค์​์สำำ�หรั​ับสื่​่�อโลก Virtual สี​ีม่​่วงเฉด Purple Rose เป็​็นสี​ีที่​่​่�ลดความตึ​ึงเครี​ียดทางด้​้าน อารมณ์​์ ขณะเดี​ี ย วกั​ั น ก็​็ ส ามารถสร้​้ า งพลั​ั ง ที่​่� แข็​็ ง แกรงให้​้ สื่​่�อดิ​ิจิทัิ ัล และยั​ังเป็​็นสี​ีตั้​้�งต้​้นในการสร้​้างธรรมชาติ​ิสั​ังเคราะห์​์ ในแพลตฟอร์​์มเสมื​ือนจริ​ิง สตู​ูดิ​ิโอ SPARRE ดี​ีไซเนอร์​์จาก สตอกโฮล์​์มเชื่​่�อว่​่าโลกยุ​ุคใหม่​่สามารถขั​ับเคลื่​่�อนได้​้ด้​้วยพลั​ัง ของเทคโนโลยี​ีนวั​ัตกรรม 3D อี​ีกทั้​้�งแอนิ​ิเมชั​ันจะสร้​้างโลก ยู​ูโทเปี​ียในแบบที่​่�เราต้​้องการ @RTFKTstudios

twitter.com/wenewmoments/status/1422914158740213760

hommesthailand.com

สำำ�นั​ักเทรนด์​์ NellyRodi ระบุ​ุเพิ่​่�มเติ​ิมว่​่าเป็​็นเฉดสี​ีแห่​่งการ ปลดปล่​่อยภาพลั​ักษณ์​์ก่​่อนช่​่วงทศวรรษ 2000 ที่​่�วั​ับวาบ เปล่​่งประกาย เปิ​ิดเผยชั​ัดเจนในทุ​ุกสิ่​่�งทุ​ุกอย่​่าง ทั้​้�งยั​ังมี​ีความ พิ​ิเศษที่​่�มากกว่​่าปกติ​ิ (Ultra) ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นความหรู​ูหรา เซ็​็กซี่​่� เย้​้ายวนใจ สตรี​ีทแฟชั่​่�นที่​่�มี​ีสี​ีสั​ัน ที่​่​่�เน้​้นความเยอะจั​ัดจ้​้าน เพื่​่�อแสดงออกถึ​ึงความมี​ีชี​ีวิ​ิตชี​ีวา เช่​่นเดี​ียวกั​ับการนำำ�เสนอ ของบรรดาวล็​็ อ กเกอร์​์ (Vlogger) หรื​ืออิ​ิ น ฟลู​ูเอนเซอร์​์ (Influencer) ในยุ​ุคนี้​้�ที่​่�ต้​้องการสร้​้างความตื่​่�นตาตื่​่�นใจและ สร้​้างฐานแฟนคลั​ับจากตั​ัวตนที่​่�แท้​้จริ​ิง THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

sixnfive.com

5. สี​ีครี​ีม Anise Flower

ตั​ัวแทนของความจิ​ิตดี​ีและปรนนิ​ิบัติั ติ นเอง รายงานจาก Mintel ระบุ​ุว่า่ ของตกแต่​่งบ้​้านมี​ีส่ว่ นทำำ�ให้​้ผู้บ�้ ริ​ิโภคกลุ่​่�มนี้​้�รู้�สึ​ึ้ กผ่​่อนคลาย หลายแบรนด์​์ที่​่​่��ทำำ�การตลาดด้​้าน Well-being จึ​ึงจำำ�เป็​็นต้​้อง ปรั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ให้​้สามารถตอบรั​ับโสตประสาท ทั้​้�งทางสายตา ผิ​ิวสั​ัมผั​ัส รสชาติ​ิ และกลิ่​่�น ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ด้​้านกลิ่​่�นถื​ือเป็​็นสิ​ินค้​้า ที่​่�มาแรงมากที่​่�สุ​ุด ในปี​ี 2021 โดยมากกว่​่าครึ่​่�ง ของผู้​้�ที่​่� Work from Home ชาวอเมริ​ิกั​ันเผยว่​่า เที​ียนหอมคื​ือสะพานเชื่​่�อม ระหว่​่างความคิ​ิดและการดู​ูแลตนเอง ส่​่งผลต่​่อการปรั​ับพฤติ​ิกรรม การจั​ัดบ้​้าน ทำำ�ความสะอาด และการลุ​ุกขึ้​้�นมาทำำ�อาหาร

redbubble.com

sokoglam.com


INDUSTRIAL 25

6. สี​ีฟ้า้ Stratosphere

Ermenegildo Zegna XXX Summer 2022, Zegna..com

สี​ีแห่​่งนวั​ัตกรรม ภู​ูมิ​ิปั​ัญญา รอยต่​่อระหว่​่างน้ำำ��ทะเลและ ท้​้องฟ้​้า สี​ีฟ้​้า Stratosphere ชื่​่�อเดี​ียวกั​ันกั​ับชั้​้�นบรรยากาศที่​่� ได้​้รั​ับผลกระทบ เป็​็นตั​ัวแทนสำำ�คั​ัญของปั​ัญหาด้​้านสิ่​่�งแวดล้​้อม ที่​่�ผลั​ักดั​ันให้​้ผู้​้�คนตระหนั​ักถึ​ึงปั​ัญหาและความเปลี่​่�ยนแปลง ของชั้​้�นบรรยากาศโลก

wdo.org men-folio.com

Hfscollective.c GIZZA 456 created by KDDI, designboom.com

7. กลุ่​่�มสี​ีน้ำ��ำ ตาลโทนเข้​้ม Java

นิ​ิ ต ยสาร Viewpoint ได้​้ ก ล่​่ า วถึ​ึ ง เฉดสี​ี ฟ้​้ า และเฉดสี​ี เขี​ี ย ว โดยอ้​้ า งถึ​ึ ง งานเขี​ี ย นของโธมั​ั ส เบอร์​์ รี่​่� (Thomas Berry) นั​ักประวั​ัติ​ิศาสตร์​์วั​ัฒนธรรม ที่​่�เคยกล่​่าวไว้​้ว่​่าเฉดสี​ีนี้​้�สามารถ สื่​่�อสารถึ​ึงจิ​ิตวิ​ิญญาณของธรรมชาติ​ิได้​้ดี​ีและยั​ังมี​ีผลต่​่ออารมณ์​์ ทำำ�ให้​้รู้​้�สึ​ึกถึ​ึงการเห็​็นใจและเชื่​่�อมโยงสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตในระบบนิ​ิเวศ ให้​้มี​ีจิ​ิตวิ​ิญญาณร่​่วม เพื่​่�อสร้​้างวั​ัฒนธรรมที่​่�ดี​ีงาม dezeen.com

สี​ีที่​่ส� ะท้​้อนวั​ัฏจั​ักรและวงจรธรรมชาติ​ิบนวั​ัฒนธรรมร่​่วมสมั​ัย นั​ักออกแบบยุ​ุคนี้​้�เน้​้นการมองเกมแบบระยะยาว ไม่​่ได้​้เพี​ียงหา แรงบั​ันดาลใจจากธรรมชาติ​ิ แต่​่ยังั ทำำ�งานร่​่วมกั​ับวั​ัตถุ​ุดิบิ จริ​ิง ๆ จาก แต่​่ละพื้​้�นที่​่�พร้อ้ มคงรู​ูปทรงและรายละเอี​ียดที่​่�จำ�ำ เป็​็นไว้​้อย่​่างครบถ้​้วน การเคารพธรรมชาติ​ิจึ​ึงหมายถึ​ึงการตระหนั​ักรู้​้� เข้​้าอกเข้​้าใจที่​่�มา ที่​่�ไปเชิ​ิงวั​ัสดุ​ุ ใช้​้ประโยชน์​์อย่​่างรอบด้​้าน สกั​ัดกลั่​่น� กรองกระบวนการ รวมทั้​้�งวิ​ิธีกี ารเพื่​่อ� นำำ� ไปต่​่อยอด เรี​ียนรู้​้ร� ากเหง้​้าองค์​์ความรู้​้�ดั้​้ง� เดิ​ิม และฝึ​ึกฝนสร้​้างความร่​่วมมื​ือในวั​ัฒนธรรมร่​่วมสมั​ัย

kolkhoze.fr

clay-works.com

www.thaiprint.org


26 KNOWLEDGE

การพิ​ิ มพ์​์ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ด้​้วย เทคโนโลยี​ีการพิ​ิ มพ์​์ ออฟเซต (2)

ดร.อนั​ันต์​์ ตั​ันวิ​ิไลศิ​ิริ​ิ รองคณบดี​ีฝ่​่ายวิ​ิชาการและวิ​ิจั​ัย คณะเทคโนโลยี​ีสื่​่�อสารมวลชน มหาวิ​ิทยาลั​ัยเทคโนโลยี​ีราชมงคลธั​ัญบุ​ุรี​ี

เทคโนโลยี​ีการพิ​ิมพ์​์ออฟเซต เป็​็นเทคโนโลยี​ีการพิ​ิมพ์​์ที่​่�นิ​ิยมใช้​้ ในการผลิ​ิตบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์กล่​่องกระดาษทั่​่�วไป เช่​่น กล่​่องบรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ อาหาร กล่​่องยาสี​ีฟั​ัน เป็​็นต้​้น นอกจากนี้​้�ยั​ังสามารถใช้​้ในการ ผลิ​ิ ต กล่​่ อ งบรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ ที่​่� ทำำ�จ ากวั​ั สดุ​ุ ป ระเภทพลาสติ​ิ ก หรื​ือ กระดาษเคลื​ือบฟอยล์​์อี​ีกด้​้วย วั​ัสดุ​ุประเภทนี้​้� ลั​ักษณะผิ​ิวของ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

วั​ัสดุ​ุจะมี​ีความเรี​ียบ มี​ีความมั​ันเงาสู​ูง และไม่​่สามารถพิ​ิมพ์​์ ด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ออฟเซตแบบทั่​่�วไปได้​้ ดั​ังนั้​้�นจะนิ​ิยมใช้​้หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ ที่​่� แ ห้​้ ง ตั​ั ว ด้​้ ว ยแสงยู​ูวี​ี ใ นการผลิ​ิ ต ซึ่​่� ง จะมี​ี ข้​้ อ กำำ�ห นดในการ ผลิ​ิตงานพิ​ิมพ์​์ที่​่�แตกต่​่างกั​ัน


KNOWLEDGE 27

เทคโนโลยี​ีการพิ​ิ มพ์​์ ออฟเซตด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ ที่​่�แห้​้งตั​ัวด้​้วยแสงยู​ูวี​ี

การผลิ​ิ ต งานพิ​ิ ม พ์​์ ด้​้ ว ยระบบการพิ​ิ ม พ์​์ อ อฟเซตได้​้ มี​ี ก ารนำำ� หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ที่​่�แห้​้งตั​ัวด้​้วยแสงยู​ูวี​ี หรื​ือที่​่�เรี​ียกกั​ันว่​่า หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี (UV Ink) มาใช้​้ในการผลิ​ิตงานพิ​ิมพ์​์บนวั​ัสดุ​ุประเภทพลาสติ​ิก หรื​ือกระดาษเคลื​ือบฟอยล์​์ เนื่​่� อ งจากวั​ั สดุ​ุ พิ​ิ ม พ์​์ ดั​ั ง กล่​่ า ว ไม่​่สามารถดู​ูดซั​ับหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ได้​้ ทำำ�ให้​้ไม่​่สามารถใช้​้หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ ออฟเซตทั่​่� ว ไปในการพิ​ิ ม พ์​์ หมึ​ึกพิ​ิ ม พ์​์ ยู​ูวี​ี จะมี​ี ก ารแห้​้ ง ตั​ั ว จากการได้​้ รั​ั บ แสงยู​ูวี​ี และเกิ​ิ ดป ฏิ​ิ กิ​ิ ริ​ิ ย าพอลิ​ิ เ มอไรเซชั่​่� น (polymerization) ทำำ�ให้​้หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์เปลี่​่�ยนสภาวะจากของเหลว เป็​็นของแข็​็งในทั​ันที​ี ทำำ�ให้​้ในการพิ​ิมพ์​์งานด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี จะลดการใช้​้แป้​้งในการช่​่วยการแห้​้งตั​ัวของหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ ทำำ�ให้​้ การผลิ​ิตสี​ีในงานพิ​ิมพ์​์จะได้​้สีที่​่ี สด � มากขึ้​้น� การพั​ัฒนาเทคโนโลยี​ี heat

การพิ​ิ มพ์​์ งานด้​้ วยหมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ ยู​ูวี​ี จะเป็​็ นการพั​ั ฒนาการผลิ​ิ ต หลอดไฟยู​ูวี​ี และหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี ควบคู่​่�กั​ันไป โดยมี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์ ในการพั​ั ฒ นาให้​้ หมึ​ึ กพิ​ิ ม พ์​์ มี​ี ก ารแห้​้ ง ตั​ั ว ได้​้ ร วดเร็​็ ว มากขึ้​้� น เหมาะสมกั​ับความเร็​็วของเครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ที่​่�สู​ูงขึ้​้�น การแห้​้งตั​ัวของหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ออฟเซตโดยทั่​่�วไป จะมี​ีการแห้​้งตั​ัว จากการเกิ​ิดปฏิ​ิกิ​ิริ​ิยาออกซิ​ิเดชั่​่�นกั​ับอากาศ รวมถึ​ึงการซึ​ึมตั​ัว ลงไปในวั​ัสดุ​ุที่​่�ใช้​้พิ​ิมพ์​์ สำำ�หรั​ับหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี จะเกิ​ิดการแห้​้งตั​ัว จากการเกิ​ิดปฏิ​ิกิ​ิริ​ิยาพอลิ​ิเมอไรเซชั่​่�น โดยสามารถแสดงได้​้ใน รู​ูปที่​่� 1 และการเกิ​ิดปฏิ​ิกริ​ิยาพอลิ​ิเมอรไรเซชั่​่�น สามารถแสดง ได้​้ในรู​ูปที่​่� 2 UV

UV

UV

liquid

liquid

substrate

substrate

dried

dried

substrate

substrate

Conventional Ink

UV Ink

รู​ูปที่​่� 1 การแห้​้งตั​ัวของหมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ ออฟเซตทั่​่�วไปและหมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ ยู​ูวี​ี � า: ดั​ัดแปลงจาก Printing with UV INK (2004) ที่​่ม

www.thaiprint.org


28 KNOWLEDGE

Radiation phase and activation of the photo initiator

Cross linking to macro molecules

รู​ูปที่​่� 2 การเกิ​ิดปฏิ​ิกิริ ิ ิยาพอลิ​ิเมอไรเซชั่​่�น (polymerization) ของหมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ ยู​ูวี​ี � า: ดั​ัดแปลงจาก Printing with UV INK (2004) ที่​่ม

ข้​้อดี​ีของการใช้​้หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ีในการผลิ​ิตงาน คื​ือ เป็​็นเทคนิ​ิค การพิ​ิมพ์​์งานที่​่�ได้​้สี​ีที่​่�มี​ีความอิ่​่�มตั​ัวสี​ีสู​ูง เนื่​่�องจากหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ มี​ีการแห้​้งโดยทั​ันที​ีเมื่​่�อผ่​่านแสงยู​ูวี​ี ไม่​่มี​ีการระเหยของน้ำำ��มั​ัน หรื​ือตั​ั วทำำ� ละลายในหมึ​ึกพิ​ิ ม พ์​์ การแห้​้ ง ตั​ั วข องหมึ​ึกพิ​ิ ม พ์​์ หลั​ังจากการพิ​ิมพ์​์ในแต่​่ละป้​้อมพิ​ิมพ์​์ ทำำ�ให้​้การทั​ับซ้​้อนกั​ันของ หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ (ink trapping) จะเป็​็นการทั​ับซ้​้อนแบบเปี​ียกทั​ับ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

แห้​้ง (wet on dry printing) ซึ่​่�งทำำ�ให้​้การผลิ​ิตสี​ีในงานพิ​ิมพ์​์มี​ี ความสมบู​ูรณ์​์ และเหมาะสำำ�หรั​ับการพิ​ิมพ์​์งานบนวั​ัสดุ​ุที่​่�ไม่​่ สามารถดู​ูดซึ​ึมหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ได้​้ ประเภทของงานพิ​ิมพ์​์ที่​่�นิ​ิยมใช้​้ หมึ​ึกพิ​ิม พ์​์ยู​ูวี​ีในการผลิ​ิต จะประกอบด้​้วย บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ สุ​ุ รา เครื่​่�องสำำ�อาง งานพิ​ิมพ์​์บนกระดาษเคลื​ือบฟอยล์​์ต่​่างๆ


KNOWLEDGE 29

ลั​ักษณะของเครื่​่�องพิ​ิ มพ์​์ ออฟเซตและวั​ัสดุ​ุที่​่�ใช้​้สำำ�หรั​ับการพิ​ิ มพ์​์ งานด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ ยู​ูวี​ี

เครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ออฟเซตป้​้อนแผ่​่นที่​่�ใช้​้ในการผลิ​ิตงานด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี ดั​ังรู​ูปที่​่� 3 จะต้​้องมี​ีการออกแบบและติ​ิดตั้​้�งอุ​ุปกรณ์​์ต่​่างๆ เพื่​่�อรองรั​ับการพิ​ิมพ์​์งานด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี โดยสามารถแบ่​่งได้​้ตามส่​่วนของเครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ดั​ังต่​่อไปนี้​้�

รู​ูปที่​่� 3 ลั​ักษณะของเครื่​่�องพิ​ิ มพ์​์ ออฟเซตที่​่�ใช้​้พิ​ิมพ์​์ ด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ ยู​ูวี​ี � า: ดั​ัดแปลงจาก Printing with UV INK (2004) ที่​่ม

1. ส่​่ วนป้​้ อนกระดาษ ควรมี​ีการติ​ิดตั้​้�งอุ​ุปกรณ์​์ป้​้องกั​ันการ เกิ​ิดไฟฟ้​้าสถิ​ิตย์​์ เนื่​่�องจากการพิ​ิมพ์​์พลาสติ​ิกด้​้วยการพิ​ิมพ์​์ ออฟเซตป้​้อนแผ่​่น ปั​ัญหาสภาพการเดิ​ินกระดาษไม่​่ดี​ี เกิ​ิดจาก พลาสติ​ิกที่​่�นำำ�มาพิ​ิมพ์​์ไม่​่สามารถแยกตั​ัวกั​ันได้​้ในระหว่​่างป้​้อน เข้​้าสู่​่�เครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ โดยปกติ​ิไม่​่ว่​่าการพิ​ิมพ์​์กระดาษที่​่�มี​ีผิ​ิวลื่​่�น มาก ๆ ประเภทกระดาษที่​่� เ คลื​ือบฟอยล์​์ หรื​ื อพลาสติ​ิ ก ปั​ัญหาการเดิ​ินกระดาษเข้​้าเครื่​่�องพิ​ิมพ์​์จะเกิ​ิดขึ้​้�น เนื่​่�องจาก ในกองกระดาษเองจะเกิ​ิดไฟฟ้​้าสถิ​ิตเกิ​ิดขึ้​้�น ทำำ�ให้​้กระดาษ หรื​ือแผ่​่นพลาสติ​ิกไม่​่สามารถแยกตั​ัวออกจากกั​ันได้​้ การแก้​้ไข ปั​ัญหาในลั​ักษณะนี้​้� ควรติ​ิดตั้​้�งเครื่​่�องลดการเกิ​ิดไฟฟ้​้าสถิ​ิตย์​์ ที่​่� หน่​่ว ยป้​้ อนของเครื่​่� องพิ​ิ มพ์​์ เพื่​่� อช่​่ วยให้​้ ไ ฟฟ้​้ าสถิ​ิ ตในกอง กระดาษลดลง และทำำ�ให้​้หั​ัวลมดู​ูดและหั​ัวลมเป่​่าในหน่​่วยป้​้อน

กระดาษสามารถทำำ�งานได้​้ และจะสามารถเดิ​ินกระดาษได้​้ดีขึ้​้ี น� ดั​ังแสดงในรู​ูปที่​่� 4 และ 5 สภาพแวดล้​้ อ มในโรงพิ​ิ ม พ์​์ เ ป็​็ น ปั​ั จจั​ั ย อี​ี ก อย่​่ า งหนึ่​่� ง ที่​่� สำำ�คั​ั ญ การควบคุ​ุ มอุ​ุ ณ หภู​ูมิ​ิ แ ละความชื้​้� นสั​ั มพั​ั ทธ์​์ ในห้​้ องพิ​ิ ม พ์​์ เ ป็​็ น สิ่​่� ง ที่​่� สำำ�คั​ั ญ มาก เนื่​่� อ งจากจะส่​่ ง ผลต่​่ อ วั​ั สดุ​ุ ที่​่� นำำ� มาใช้​้ พิ​ิ ม พ์​์ และต่​่อการแห้​้งตั​ัวของหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์อี​ีกด้​้วย นอกจากนี้​้�หากมี​ี อุ​ุณหภู​ูมิ​ิและความชื้​้�นสั​ัมพั​ัทธ์​์ไม่​่เหมาะสม จะทำำ�ให้​้มี​ีการเกิ​ิด ไฟฟ้​้าสถิ​ิตเกิ​ิดขึ้​้�นอี​ีกด้​้วย อุ​ุณหภู​ูมิ​ิที่​่�เหมาะสมในห้​้องพิ​ิมพ์​์ คื​ือ 22 - 24 องศาเซลเซี​ียส ความชื้​้น� สั​ัมพั​ัทธ์​์ที่​่เ� หมาะสมจะประมาณ 50 - 55 % ดั​ังนั้​้�นนอกจากตั​ัววั​ัสดุที่​ุ่ �นำำ�มาพิ​ิมพ์​์เองมี​ีไฟฟ้​้าสถิ​ิต สภาพแวดล้​้อมก็​็เป็​็นปั​ัจจั​ัยที่​่�ส่​่งผลทำำ�ให้​้เกิ​ิดไฟฟ้​้าสถิ​ิตด้​้วย ซึ่​่�งทางโรงพิ​ิมพ์​์ควรจะต้​้องมี​ีการตรวจสอบและควบคุ​ุมต่​่อไป

รู​ูปที่​่� 4 ตำำ�แหน่​่งการติ​ิดตั้​้�งระบบป้​้องกั​ันไฟฟ้​้าสถิ​ิตย์​์สำำ�หรั​ับการพิ​ิ มพ์​์ พลาสติ​ิก � า: https://www.simco-ion.co.uk/solutions-for-your-industry/printing/offset-printing/ ที่​่ม

www.thaiprint.org


30 KNOWLEDGE

รู​ูปที่​่� 5 ตำำ�แหน่​่งการติ​ิดตั้​้�งระบบป้​้องกั​ันไฟฟ้​้าสถิ​ิตย์​์สำำ�หรั​ับส่​่วนป้​้อนกระดาษ � า: https://www.simco-ion.co.uk/solutions-for-your-industry/printing/offset-printing/ ที่​่ม

2. ส่​่วนพิ​ิมพ์​์ การพิ​ิมพ์​์งานด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี จำำ�เป็​็นต้​้องมี​ี การติ​ิดตั้​้�งหลอดไฟยู​ูวี​ี (Interdeck dryer) เพื่​่�อเป็​็นอุ​ุปกรณ์​์ ที่​่�ใช้​้ในการฉายแสงยู​ูวี​ีลงสู่​่�วั​ัสดุ​ุพิ​ิมพ์​์ โดยปกติ​ิจะต้​้องมี​ีการ ติ​ิดตั้​้�งไว้​้ที่​่�ป้​้อมพิ​ิมพ์​์ทุ​ุกป้​้อมในการผลิ​ิตงาน ดั​ังแสดงในรู​ูปที่​่� 6 หลอดไฟยู​ูวี​ี ที่​่� ใช้​้ โดยส่​่ วนใหญ่​่ จะมี​ี อายุ​ุ ก ารใช้​้ ง านประมาณ 2,000 - 2,500 ชั่​่ว� โมง ขึ้​้น� อยู่​่�กั​ับ การปิ​ิด เปิ​ิด การใช้​้งานของหลอด

ระบบการหล่​่อเย็​็นหลอด และการทำำ�ความสะอาด โดยเครื่​่อ� งพิ​ิมพ์​์ ต้​้องมี​ีการตรวจสอบบริ​ิเวณต่​่าง ๆ ที่​่�มีโี อกาสสั​ัมผั​ัสกับั หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ ยู​ูวี​ี เช่​่น บริ​ิเวณกริ​ิปเปอร์​์ ที่​่�อาจจะต้​้องมี​ีการเคลื​ือบผิ​ิวแบบพิ​ิเศษ และควรมี​ีการติ​ิดตั้​้�งระบบการควบคุ​ุมอุ​ุณหภู​ูมิ​ิของลู​ูกหมึ​ึก (ink unit temperature control)

รู​ูปที่​่� 6 การติ​ิดตั้​้�งหลอดไฟยู​ูวี​ีบนเครื่​่�องพิ​ิ มพ์​์ ออฟเซตป้​้อนแผ่​่น � า: ดั​ัดแปลงจาก Printing with UV INK (2004) ที่​่ม

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


KNOWLEDGE

สำำ�หรั​ับการเลื​ือกใช้​้น้ำำ��ยาฟาว์​์นเทนและแอลกอฮอล์​์ในการ ผลิ​ิตงานด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี จะมี​ีการกำำ�หนดแล้​้วแต่​่บริ​ิษั​ัทผู้​้�ผลิ​ิต หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ โดยส่​่วนใหญ่​่ค่​่าความเป็​็นกรดเป็​็นด่​่างของน้ำำ��ยา ฟาวน์​์ เ ทน จะอยู่​่�ที่​่� ป ระมาณ 4.5 – 5 ความเข้​้ ม ข้​้ น ของ แอลกอฮอล์​์ จะสามารถใช้​้ได้​้ตั้​้�งแต่​่ 5 – 12% น้ำำ��ยาฟาวน์​์เทน ที่​่�ใช้​้ต้​้องมี​ีการระบุ​ุว่​่า สามารถใช้​้งานกั​ับหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ีได้​้ พลาสติ​ิก หรื​ือกระดาษเคลื​ือบฟอยล์​์ ที่​่�นำำ�มาใช้​้ในการผลิ​ิตงาน ควรมี​ีการตรวจสอบการแห้​้งตั​ัวและการยึ​ึดติ​ิดของหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ การทดสอบการแห้​้ ง ตั​ั วข องหมึ​ึกพิ​ิ ม พ์​์ จ ะทำำ� ให้​้ เราสามารถ กำำ�หนดความเร็​็วในการพิ​ิมพ์​์ที่​่�เหมาะสม พลั​ังงานของหลอดยู​ูวี​ี ที่​่�ใช้​้ในการพิ​ิมพ์​์งาน โดยการแห้​้งตั​ัวนั้​้�นจะสามารถทดสอบได้​้ จากการทดสอบการขั​ัดถู​ูด้​้วยเครื่​่อ� ง Rub test สำำ�หรับั การยึ​ึดติ​ิด ประเภทของพลาสติก OPP (orientated polypropylene)

ของหมึ​ึกพิ​ิ ม พ์​์ จะสามารถทดสอบโดยการใช้​้ เ ทปกาวใน การทดสอบ ซึ่​่�งจะสามารถช่​่วยในการกำำ�หนดค่​่าการระเบิ​ิดผิ​ิว ของวั​ัสดุที่​ุ่ �นำำ�มาใช้​้พิ​ิมพ์​์ สำำ�หรั​ับค่​่าการระเบิ​ิดผิ​ิว หรื​ือ ค่​่าพลั​ังงานผิ​ิวของวั​ัสดุ​ุพิ​ิมพ์​์ (surface tension) เป็​็นค่​่าที่​่�ใช้​้ในการควบคุ​ุมพลั​ังงานของ ผิ​ิวของวั​ัสดุ​ุที่​่�นำำ�มาใช้​้พิ​ิมพ์​์ โดยกระดาษเคลื​ือบฟอยล์​์ หรื​ือ พลาสติ​ิกที่​่�จะนำำ�มาใช้​้ในการผลิ​ิตงานพิ​ิมพ์​์ด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ี ต้​้องมี​ีการกำำ�หนดค่​่าการระเบิ​ิดผิ​ิว ให้​้เหมาะสมกั​ับหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ ที่​่�นำำ�มาใช้​้พิ​ิมพ์​์ โดยปกติ​ิค่​่าการระเบิ​ิดผิ​ิว จะถู​ูกสร้​้างมาจาก การระเบิ​ิดผิดิ ด้​้วยประจุ​ุไฟฟ้​้า หรื​ือที่​่�เรี​ียกว่​่า โคโรน่​่า ทรี​ีทเมนต์​์ วั​ัสดุพิุ มิ พ์​์แต่​่ละชนิ​ิด จะมี​ีค่า่ ระเบิ​ิดผิวที่​่ ิ แ� ตกต่​่างกั​ันไป ดั​ังแสดง ในตารางที่​่� 1 ค่าการระเบิดผิว 38 - 41 mN/m

PA (polyamide)

38 mN/m

PC (polycarbonate)

33 mN/m

PE (polyethylene)

31 mN/m

PET (polyester)

43 mN/m

PP (polypropylene)

29 - 31 mN/m

PS (polystyrole)

31 - 33 mN/m

PTFE (polytetrafluorethylene) PVC (polyvinylcloride): PVC-P PVC-U UP (unsaturated polyester) OPP (orientated polypropylene)

การเตรี​ียมวั​ัสดุอืุ่ น่� ๆ จะประกอบด้​้วย การเตรี​ียมลู​ูกหมึ​ึก ผ้​้ายาง แม่​่พิ​ิมพ์​์ ต้​้องเลื​ือกใช้​้วั​ัสดุ​ุดั​ังกล่​่าวให้​้เหมาะสมกั​ับหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ ยู​ูวี​ี รวมถึ​ึงการเลื​ือกใช้​้น้ำำ��ยาล้​้างทำำ�ความสะอาด ต้​้องสามารถ ทำำ�ความสะอาดหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ยู​ูวี​ีได้​้ ปั​ัจจุ​ุบั​ันเทคโนโลยี​ีการพิ​ิมพ์​์ออฟเซตด้​้วยหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ที่​่�แห้​้งตั​ัว ด้​้วยแสงยู​ูวี​ี ได้​้มี​ีการพั​ัฒนาหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์และหลอดไฟ จากเดิ​ิม ใช้​้หลอดยู​ูวี​ีทั่​่�วไป มาเป็​็นการใช้​้หลอดไฟ LED UV เพื่​่�อลด

31

19 mN/m 39 mN/m 34 - 36 mN/m 43 mN/m 38 - 41 mN/m

การใช้​้กระแสไฟฟ้​้าในการผลิ​ิตงาน ลดความร้​้อนที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นจาก การพิ​ิมพ์​์งาน โดยได้​้มี​ีการพั​ัฒนาควบคู่​่�กั​ับหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ LED UV โดยได้​้เริ่​่ม� มี​ีการทดสอบและนำำ�มาใช้​้ในการผลิ​ิตงานบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ และในอนาคตจะมี​ีการทดสอบเทคโนโลยี​ีของหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ LED UV เพื่​่�อใช้​้ในการพิ​ิมพ์​์บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์อาหารต่​่อไป โดยจะมี​ีการมุ่​่�งเน้​้น การศึ​ึกษาทางด้​้านของการเกิ​ิดสารปนเปื้​้�อน หรื​ือสารตกค้​้าง ในการผลิ​ิ ต งาน เพื่​่� อ สร้​้ า งความมั่​่� น ใจให้​้ กั​ั บ ผู้​้�ผลิ​ิ ต สิ่​่� ง พิ​ิ ม พ์​์ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์และผู้​้�บริ​ิโภคต่​่อไป www.thaiprint.org


32 INDUSTRIAL

นวั​ัตกรรมเม็​็ดพลาสติ​ิก เพื่​่� อบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ยุ​ุคใหม่​่… บางลงแต่​่แข็​็งแรงขึ้​้�น

บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกได้​้รั​ับความนิ​ิยมอย่​่างต่​่อเนื่​่�อง เพราะสอดคล้​้องกั​ับการใช้​้ชี​ีวิ​ิตในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ที่​่�ต้​้องการความสะดวกและรวดเร็​็ว ในประเทศไทยอุ​ุตสาหกรรมบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เติ​ิบโต

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


INDUSTRIAL 33

บรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ พ ลาสติ​ิ ก ได้​้ รั​ั บ ความนิ​ิ ย มอย่​่ า งต่​่ อ เนื่​่� อ งเพราะ สอดคล้​้องกั​ับการใช้​้ชี​ีวิ​ิตในปั​ัจจุ​ุบั​ันที่​่�ต้​้องการความสะดวก และรวดเร็​็ว ในประเทศไทยอุ​ุตสาหกรรมบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เติ​ิบโต ต่​่อเนื่​่�องประมาณร้​้อยละ 3 - 4 ต่​่อปี​ี อย่​่างไรก็​็ตาม กระแส รั​ักษ์​์สิ่​่�งแวดล้​้อมของผู้​้�บริ​ิโภคที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�นทำำ�ให้​้การเลื​ือกใช้​้สิ​ินค้​้า ที่​่� เ ป็​็ น มิ​ิ ต รต่​่ อ สิ่​่� ง แวดล้​้ อ มเพิ่​่� ม ขึ้​้� น ตามไปด้​้ ว ย เช่​่ น เดี​ี ย วกั​ั บ

กลุ่​่�มผู้​้�ประกอบการบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกที่​่�หั​ันมาให้​้ความสำำ�คั​ัญ กั​ั บ การพั​ั ฒ นาผลิ​ิ ต ภั​ั ณ ฑ์​์ ข องตนให้​้ เ ป็​็ น มิ​ิ ต รกั​ั บ สิ่​่� ง แวดล้​้ อ ม มากขึ้​้� น ด้​้ ว ย อย่​่ า งการเลื​ือกใช้​้ วั​ั ต ถุ​ุ ดิ​ิ บ เพื่​่� อ ให้​้ บ รรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ มี​ี รู​ูปทรงบาง น้ำำ��หนั​ักเบา แต่​่ยั​ังคงคุ​ุณสมบั​ัติ​ิเด่​่นตามที่​่�ต้​้องการ ช่​่วยให้​้ผู้​้�บริ​ิโภคใช้​้งานได้​้อย่​่างสะดวกสบาย จึ​ึงนั​ับเป็​็นอี​ีกทาง เลื​ือกที่​่�น่​่าสนใจ

เพื่​่� อเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งในกระบวนการผลิ​ิตนวั​ัตกรรมเพื่​่� อสิ่​่�งแวดล้​้อมอย่​่างยั่​่�งยื​ืน เอสซี​ีจี​ี เคมิ​ิคอลส์​์ จึ​ึงคิ​ิดค้​้น วิ​ิจั​ัยและพั​ัฒนา นวั​ัตกรรมเม็​็ดพลาสติ​ิก P902J เพื่​่� อตอบสนองความต้​้องการของทั้​้�งผู้​้�ผลิ​ิตบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์อาหารและเครื่​่�องดื่​่�ม ประเภทผนั​ังบาง หรื​ือ Thin Wall Injection Molding รวมถึ​ึงตอบสนอง ความต้​้องการของผู้​้�บริ​ิโภคปลายทางไปพร้​้อมกั​ัน และด้​้วยความพร้​้อมของ � วชาญด้​้านการพั​ัฒนาวั​ัสดุ​ุสำำ�หรั​ับบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ที​ีมพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่มี​ี ่� ความเชี่​่ย พลาสติ​ิก และมี​ีห้​้องปฏิ​ิบั​ัติ​ิการที่​่�มี​ีเครื่​่�องมื​ือทั​ันสมั​ัยและครบครั​ันนี่​่�เองจึ​ึงทำำ�ให้​้ ได้​้เม็​็ดพลาสติ​ิกที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อมและมี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิโดดเด่​่นและแตกต่​่าง จากพลาสติ​ิกสำำ�หรั​ับงานฉี​ีดทั่​่�วไป www.thaiprint.org


34 INDUSTRIAL

จุ​ุดเด่​่นของเม็​็ดพลาสติ​ิก P902J ได้​้แก่​่ บางลงแต่​่แข็​็งแรงขึ้​้�น

ช่​่วยลดปริ​ิมาณการใช้​้เม็​็ดพลาสติ​ิกในกระบวนการผลิ​ิตแต่​่ เพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพของบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ให้​้บางลงและน้ำำ��หนั​ักเบา แต่​่ ใ นขณะเดี​ี ย วกั​ั น กลั​ั บ มี​ี ค วามแข็​็ ง แรงทนทาน (High Toughness) และมี​ีความเหนี​ียวเพิ่​่�มขึ้​้น� ประมาณร้​้อยละ 40 - 60 ทำำ�ให้​้ไม่​่กรอบแตกง่​่ายเมื่​่�อใช้​้งาน และยั​ังลดการบิ​ิดตั​ัว (More Isotropic Shrink) ทำำ�ให้​้บรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ไม่​่บิดิ งอ ผู้​้บ� ริ​ิโภคใช้​้งานง่​่าย นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีความใสและความเงา (High Transparency) ทำำ�ให้​้ภาพลั​ักษณ์​์ของสิ​ินค้​้าน่​่าหยิ​ิบจั​ับใช้​้งาน ซึ่​่ง� การที่​่�บรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ มี​ีขนาดบางและน้ำำ��หนั​ักเบาลงยั​ังช่​่วยให้​้ขนส่​่งได้​้จำำ�นวนมาก ขึ้​้�นอี​ีกด้​้วย

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


INDUSTRIAL 35

เพิ่​่� มกำำ�ลั​ังการผลิ​ิต

จุ​ุ ด เด่​่ น เรื่​่� อ งการไหลตั​ั วสู​ู ง (High Flowability) และการ เซ็​็ตตั​ัวเร็​็ว (Faster Demolding) ส่​่งผลดี​ีต่​่อระบบการผลิ​ิต โดยตรง ทำำ�ให้​้ผู้​้�ผลิ​ิตบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์สามารถผลิ​ิตสิ​ินค้​้าได้​้มากขึ้​้�น ในเวลาเท่​่าเดิ​ิม หรื​ือสามารถลดเวลาในการฉี​ีดขึ้​้น� รู​ูปได้​้ประมาณ ร้​้อยละ 5 - 10 ลดการใช้​้พลั​ังงานในกระบวนการผลิ​ิต

ด้​้ ว ยความสามารถในการไหลตั​ั วที่​่� สู​ู งและเช็​็ ต ตั​ั ว เร็​็ วทำำ� ให้​้ พลั​ังงานที่​่�ใช้​้ในกระบวนการที่​่�เกี่​่ย� วข้​้อง ได้​้แก่​่ กระบวนการผลิ​ิต เม็​็ดพลาสติ​ิก ไปจนถึ​ึงกระบวนการผลิ​ิตบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ใช้​้พลั​ังงาน ในการผลิ​ิตน้​้อยลง และยั​ังง่​่ายต่​่อการผลิ​ิตชิ้​้�นงานที่​่�บาง ทำำ�ให้​้ ใช้​้เวลาขึ้​้�นรู​ูปสั้​้�นลงประมาณอย่​่างน้​้อย 5 เท่​่าเมื่​่�อเที​ียบขนาด การใช้​้งานเดี​ียวกั​ัน

นี่​่�เป็​็นเพี​ียงตั​ัวอย่​่างหนึ่​่�งที่​่�บอก ว่​่าความพยายามในการดู​ูแล สิ่​่�งแวดล้​้อมด้​้วยการทุ่​่�มเทวิ​ิจั​ัย และพั​ัฒนา นวั​ัตกรรมเม็​็ด พลาสติ​ิก P902J ทำำ�ได้​้จริ​ิง และคุ้​้�มค่​่าน่​่าจะเป็​็นทางเลื​ือกที่​่�ดี​ี ให้​้กั​ับผู้​้�ผลิ​ิตบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิก ที่​่�กำำ�ลั​ังมองหานวั​ัตกรรมเพื่​่� อ สิ่​่�งแวดล้​้อมที่​่�สามารถตอบสนอง ความต้​้องการของผู้​้�บริ​ิโภคไป พร้​้อมกั​ันได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ

ที่​่�มา : https://www.scgchemicals.com/th/news-media/feature-story/detail/18

www.thaiprint.org


36 INDUSTRIAL

สติ๊​๊�กเกอร์​์กำำ�จัด ั เชื้​้�อแบคที​ีเรี​ีย และเชื้​้�อไวรั​ัส (Airpurity) � ไวรั​ัสโควิ​ิด-19 เพื่​่� อป้​้องกั​ันเชื้​้อ โดย IQ LAB

สติ๊​๊� ก เกอร์​์ กำำ�จั​ั ด เชื้​้� อ แบคที​ี เรี​ี ย และเชื้​้� อ ไวรั​ั ส (Airpurity Freetex) ใช้​้เพื่​่�อกำำ�จั​ัดเชื้​้�อไวรั​ัสโควิ​ิด-19 เป็​็นสติ๊​๊�กเกอร์​์ สี​ีขาวขุ่​่�นใช้​้สำำ�หรั​ับพิ​ิมพ์​์ลาย ผลิ​ิตจากโพลี​ีเอสเตอร์​์ขาวแบบ นอนวู​ูฟเวนและสารเคลื​ือบผิ​ิ ว ซึ่​่� ง ทำำ� ให้​้ ส ามารถดู​ูดซั​ั บ น้ำำ�� , น้ำำ��มั​ัน และฆ่​่าเชื้​้�อโรคได้​้ สติ๊​๊�กเกอร์​์กำำ�จั​ัดเชื้​้�อแบคที​ีเรี​ียและ เชื้​้�อไวรั​ัสได้​้รั​ับใบรั​ับรองจากหลายสถาบั​ัน เช่​่น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

• CE Declaration of Conformity (Measurement of Antimicrobial Activity on plastics and others nonporous surfaces) • JIS Z 2801 (Test for Antimicrobial Activity of Plastics) • FDA (United States Food and Drug Administration) • ALG (Analytical Lab Group) รั​ัฐมิ​ิเนโซต้​้า, สหรั​ัฐอเมริ​ิกา


INDUSTRIAL 37

1. สติ๊​๊�กเกอร์​์สามารถกำำ�จั​ัดและยั​ับยั้​้�งเชื้​้�อโรคได้​้มากถึ​ึง 99.99%

ผลการทดสอบที่​่�น่​่าสนใจคื​ือ สติ๊​๊�กเกอร์​์ Airpurity Freetex สามารถกำำ�จั​ัดเชื้​้�อโรคได้​้มากกว่​่า 75% ภายใน 5 นาที​ี และ กำำ�จั​ัดเชื้​้�อโรคถึ​ึง 99.99% ภายในเวลาเพี​ียง 1 ชั่​่�วโมงเท่​่านั้​้�น ขั้​้�นตอนการทำำ�งานของสติ๊​๊�กเกอร์​์คื​ือ เชื้​้�อโรคจะถู​ูกดู​ูดเข้​้ามา ที่​่� โพรงบนพื้​้� น ผิ​ิ วของสติ๊​๊� ก เกอร์​์ ก่​่ อน จากนั้​้� นประจุ​ุ เชิ​ิ งซ้​้ อน ของโลหะบนผิ​ิวสติ๊​๊�กเกอร์​์จะทำำ�ลายเซลล์​์ของแบคที​ีเรี​ียและ เชื้​้อ� ไวรั​ัส ส่​่งผลให้​้พื้​้น� ผิ​ิวของสติ๊​๊�กเกอร์​์สะอาดอยู่​่�เสมอ และมั่​่น� ใจ ได้​้ว่​่าไม่​่เป็​็นอั​ันตรายกั​ับผิ​ิวหนั​ังของผู้​้�ใช้​้งาน เพราะประจุ​ุโลหะ ที่​่� มี​ี ลั​ั ก ษณะเป็​็ น โพรงนี้​้� จ ะทำำ� ลายเฉพาะเชื้​้� อ แบคที​ี เรี​ี ย และ เชื้​้�อไวรั​ัสที่​่�มีขี นาดเล็​็กมาก ๆ ระดั​ับ 0.1 - 1 ไมครอนเท่​่านั้​้�น 2. สติ๊​๊�กเกอร์​์สามารถกำำ�จั​ัดกลิ่​่�นได้​้

สติ๊​๊�กเกอร์​์มี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิฆ่​่าเชื้​้�อโรคได้​้ทั้​้�งจากการสั​ัมผั​ัสโดยตรง และยั​ังสามารถดั​ักจั​ับเชื้​้�อไวรั​ัสและแบคที​ีเรี​ียที่​่�ล่​่องลอยอยู่​่�ใน อากาศได้​้ด้​้วย ทำำ�ให้​้ช่​่วยขจั​ัดกลิ่​่�นที่​่�ไม่​่พึ​ึงประสงค์​์ได้​้ ส่​่งผลให้​้ พื้​้�นที่​่�บริ​ิเวณนั้​้�นมี​ีบรรยากาศที่​่�ดี​ีขึ้​้�น เหมาะในการใช้​้กั​ับบ้​้าน พั​ักอาศั​ัย ส่​่วนกลางของคอนโดมิ​ิเนี​ียม โดยเฉพาะบริ​ิเวณที่​่�มี​ี การสั​ัมผั​ัสบ่​่อย เช่​่น มื​ือจั​ับประตู​ู, ปุ่​่�มกดลิ​ิฟท์​์, ราวจั​ับบั​ันได หรื​ือราวจั​ับ หรื​ือจะใช้​้กั​ับอาคารสาธารณะก็​็ได้​้เช่​่นกั​ัน เช่​่น ใช้​้ติ​ิดที่​่�มื​ือจั​ับของรถเข็​็นในซุ​ุปเปอร์​์มาร์​์เก็​็ต ใช้​้ปริ้​้�นท์​์เป็​็นภาพ ติ​ิดผนั​ังในโรงแรม อาคารสำำ�นั​ักงาน ฯลฯ ทั้​้�งนี้​้�สติ๊​๊�กเกอร์​์เป็​็น กาวแบบ Removable สามารถลอกออกได้​้โดยไม่​่ทิ้​้ง� คราบกาว ไว้​้บนพื้​้�นผิ​ิววั​ัสดุ​ุ ทั้​้�งนี้​้�หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ที่​่�ใช้​้นั้​้�นคื​ือหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ในกลุ่​่�มของ Aqua Rasin ที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่ง� แวดล้​้อมและไม่​่มีผี ลกั​ับประสิ​ิทธิ​ิภาพการดั​ักจั​ับ เชื้​้อ� โรคของสติ๊​๊�กเกอร์​์แต่​่อย่​่างใด เมื่​่อ� เที​ียบกั​ับสติ๊​๊�กเกอร์​์แบรนด์​์ อื่​่�นในตลาดนั้​้�นจะเห็​็นได้​้ว่​่า สติ๊​๊�กเกอร์​์กำำ�จั​ัดเชื้​้�อแบคที​ีเรี​ียและ เชื้​้�อไวรั​ัสจาก IQ Lab คุ้​้�มค่​่ากว่​่ามากทั้​้�งในเรื่​่�องของราคาและ ความสามารถในการฆ่​่าเชื้​้อ� โรคที่​่�ทั้​้ง� รวดเร็​็วและมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูง www.thaiprint.org



110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44

8/9/2560 2:47:57


40 KNOWLEDGE

การลดต้​้นทุ​ุนเชิ​ิงวิ​ิศวกรรม สำำ�หรั​ับอุ​ุตสาหกรรมการพิ​ิ มพ์​์ และแพคเกจจิ้​้�ง ตอนที่​่� 8

(Engineering cost reduction For the printing and packaging industry, part 8) วิ​ิรั​ัช เดชาสิ​ิริ​ิสิ​ิงห์​์ ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านระบบโรงงานอั​ัตโนมั​ัติ​ิและการลดต้​้นทุ​ุนในโรงงานและขบวนการผลิ​ิต wirach.ton@gmail.com

ในเนื้​้�อหาฉบั​ับที่​่�แล้​้วได้​้กล่​่าวถึ​ึงการดู​ูแลรั​ักษา ท่​่อเมนลม ท่​่อลมย่​่อย ที่​่�ต่​่อจากถั​ังพั​ักลมและเมนลมเพื่​่�อเข้​้าใช้​้งานที่​่�เครื่​่�องจั​ักร รวมถึ​ึงอุ​ุปกรณ์​์ ที่​่�ใช้​้ลมที่​่�ติ​ิดตั้​้�งและใช้​้งานอยู่​่�ในเครื่​่�องจั​ักร เช่​่น ชุ​ุดกรองลม ชุ​ุดปรั​ับแรง ดั​ันลม ชุ​ุดหล่​่อลื่​่�นระบบลม (FRL Combination Unit), วาล์​์วควบคุ​ุม ด้​้วยไฟฟ้​้าหรื​ือเปลี่​่�ยนทิ​ิศทางลม (Solenoid valve), วาล์​์วควบคุ​ุมด้​้วย มื​ือ (Mechanical Valve), วาล์​์วเท้​้าเหยี​ียบ (Foot Valve) และกระบอก ลม (Air Cylinder) สำำ�หรั​ับเนื้​้�อหาชุ​ุดกระบอกลม (Air Cylinder) ในฉบั​ับที่​่�แล้​้วได้​้แสดงรู​ูป กระบอกลมที่​่�นำำ�ไปใช้​้งานในเครื่​่อ� งจั​ักร เครื่​่อ� งพิ​ิมพ์​์ในลั​ักษณะต่​่าง ๆ และ ในฉบั​ับนี้​้�จะอธิ​ิบายเพิ่​่�มเติ​ิมในเนื้​้�อหาที่​่�เกี่​่ย� วข้​้องกั​ับชุ​ุดกระบอกลมอี​ีก 2-3 เรื่​่อ� งที่​่�สำำ�คัญ ั เช่​่น ข้​้อควรระวั​ังในการติ​ิดตั้​้ง� กระบอกลม การดู​ูแลรั​ักษาเพื่​่อ� ให้​้กระบอกลมมี​ีอายุ​ุการใช้​้งานที่​่�ยาวนาน ข้​้อควรระวั​ังในการติ​ิดตั้​้ง � กระบอกลมที่​่�เครื่​่�องจั​ักร เครื่​่�องพิ​ิ มพ์​์

อายุ​ุการใช้​้งานของกระบอกลมมาจากการติ​ิดตั้​้ง� ที่​่�ถู​ูกต้​้อง ซึ่​่ง� ข้​้อสำำ�คัญ ั คื​ือ ก้​้านสู​ูบต้​้องไม่​่ถู​ูกแรงที่​่�มีทิี ศิ ทางงั​ัดลู​ูกสู​ูบ ชุ​ุดซีลี และโอริ​ิง ซึ่​่ง� ถ้​้าชิ้​้น� ส่​่วนดั​ัง กล่​่าวถ้​้ามี​ีความเสี​ียหาย อายุ​ุการใช้​้งานของกระบอกลมก็​็จะสั้​้น� ลง และที่​่� สำำ�คั​ัญในการติ​ิดตั้​้�งกระบอกลม จุ​ุดศุ​ุนย์​์กลางแกนลู​ูกสู​ูบกระบอกลมต้​้อง อยู่​่�ในแนวเส้​้นตรงเดี​ียวกั​ับการเคลื่​่อ� นที่​่�ของชิ้​้น� งานหรื​ือโหลด เพื่​่อ� ไม่​่ให้​้มี​ี แรงงั​ัดต่​่อก้​้านสู​ูบ ลู​ูกสู​ูบ/ซี​ีล และฝาด้​้านในของกระบอกลม

ตั​ัวอย่​่างที่​่� 1 น้ำำ��หนั​ักชิ้​้น � งานที่​่�ปลายก้​้านกระบอกลมจะงั​ัดก้​้านลู​ูกสู​ูบ ฯลฯ จึ​ึงควรมี​ีรอยเลอร์​์มารั​ับน้ำำ��หนั​ักชิ้​้�นงานตามรู​ูปด้​้านขวา

ตั​ัวอย่​่างที่​่� 2 รู​ูปด้​้านซ้​้าย จะเกิ​ิดแรงบิ​ิดมากเพราะแขนกระบอกยาว ทำำ�ให้​้แรงบิ​ิด Torque มาก ควรทำำ�ไกด์​์มารั​ับแรงบิ​ิดแทน ดั​ังรู​ูป ด้​้านขวา ตั​ัวอย่​่างของกระบอกลมนี้​้� เช่​่น (Guided Cylinder)

ตั​ัวอย่​่างที่​่� 3 การติ​ิดตั้​้�งกระบอกลมดั​ังรู​ูปด้​้านบน จะทำำ�ให้​้มีแี รงบิ​ิดมาก เพราะตั​ัวยึ​ึดกระบอกลมอยู่​่�ไกล ทำำ�ให้​้เกิ​ิดแรงบิ​ิดมาก รู​ูปล่​่างมี​ีการ ย้​้ายตั​ัวยึ​ึดมาที่​่�ปลายบนของกระบอกลม จะลดแรงบิ​ิดได้​้มาก

ฝาสูบหน้า - หลัง

ก้านสูบ

ซีลก้านสูบ

ตั​ัวอย่​่างที่​่� 4 กระบอกลมที่​่�มี​ีระยะชั​ักมากๆ ควรมี​ีรางเป็​็นไกด์​์ เพื่​่� อลดแรงบิ​ิดให้​้น้​้อยลง ดั​ังรู​ูปด้​้านล่​่าง ตั​ัวอย่​่างเช่​่น กระบอก ลมแบบมี​ีก้​้านไกด์​์ (Guided Air Cylinder)

กระบอก

ซีลลูกสูบ ลูกสูบ

รู​ูปแสดงชิ้​้�นส่​่วนของชุ​ุดกระบอกลม (Air Cylinder)

สำำ�หรั​ับการติ​ิดตั้​้�งชุ​ุดกระบอกลมอย่​่างถู​ูกต้​้องและไม่​่ทำำ�ให้​้กระบอกลม (โดยเฉพาะก้​้านสู​ูบ) ชำำ�รุ​ุดง่​่าย ดู​ูได้​้จากข้​้อมู​ูลต่​่อไปนี้​้� THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


KNOWLEDGE ตั​ัวอย่​่างที่​่� 5 เมื่​่�อก้​้านสู​ูบยาวมาก แรงบิ​ิดจะทำำ�ให้​้มัน ั งอ ไม่​่ควรให้​้ ตั​ัวยึ​ึดอยู่​่�ที่​่�ข้​้างกระบอก ควรใช้​้แบบยึ​ึดที่​่�หน้​้ากระบอกลม เช่​่น แบบหน้​้าแปลนแทน (โปรดดู​ูตั​ัวอย่​่างด้​้านล่​่างสุ​ุด เพื่​่� อเลื​ือกวิ​ิธี​ี ติ​ิดตั้​้�งหน้​้าแปลนได้​้อย่​่างถู​ูกต้​้อง)

ตั​ัวอย่​่างที่​่� 6 รู​ูปตั​ัวอย่​่างแสดงความสำำ�คัญ ั ที่​่�ถูก ู ต้​้อง เลื​ือกชนิ​ิด ของตั​ัวติ​ิดตั้​้�งให้​้ถูก ู ต้​้อง เพื่​่� อลดแรงบิ​ิด ทำำ�ให้​้อายุ​ุการใช้​้งานยาวขึ้​้�น

ตั​ัวอย่​่างที่​่� 7 ในกรณี​ีที่​่�ต้​้องติ​ิดตั้​้�งตั​ัวยึ​ึดที่​่�กลางกระบอกควรให้​้ ความสู​ูง H น้​้อยที่​่�สุ​ุด เพราะยิ่​่�งสู​ูงมากขึ้​้�น จะมี​ีแรงบิ​ิดที่​่�สกรู​ูที่​่� ยึ​ึดตั​ัวยึ​ึดกั​ับพื้​้� นมากขึ้​้�นตามไปด้​้วย

ตั​ัวอย่​่างที่​่� 8 ตั​ัวยึ​ึดแบบหน้​้าแปลนนั้​้�นต้​้องเลื​ือกวิ​ิธีก ี ารยึ​ึดว่​่า ตั​ัว ยึ​ึดจะอยู่​่�ด้​้านหน้​้าหรื​ือด้​้านหลั​ังของแกน ขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับว่​่าโหลดเป็​็น แบบดั​ันหรื​ือดึ​ึงก้​้านสู​ูบ

41

ของปั​ัญหานี้​้�เกิ​ิดจาก ชุ​ุด Main line air filter, ชุ​ุด FRL Unit (ส่​่วนที่​่�เป็​็น ชุ​ุดกรองลม) ชำำ�รุ​ุดไม่​่สามารถกรองดั​ักจั​ับฝุ่​่�นละอองหรื​ือเม็​็ดโลหะได้​้ ถ้​้าตรวจพบว่​่าชำำ�รุดต้ ุ อ้ งเปลี่​่�ยนชิ้​้น� ส่​่วนใหม่​่ทันั ที​ีเพราะไม่​่สามารถซ่​่อม หรื​ือรอเวลาได้​้ 3. ในการซ่​่อมเปลี่​่�ยนชุ​ุดซี​ีลหรื​ืออะไหล่​่กระบอกลม ก่​่อนที่​่�จะทำำ�การ เปลี่​่�ยนใส่​่อะไหล่​่ชุ​ุดใหม่​่ ต้​้องทำำ�ความสะอาดชิ้​้�นส่​่วนให้​้สะอาดก่​่อน ประกอบเข้​้าด้​้วยกั​ัน 4. ระบบการหล่​่อลื่​่�น ถ้​้าชุ​ุดกระบอกลมขาดการหล่​่อลื่​่�นในขณะทำำ�งาน ชิ้​้น� ส่​่วนภายในที่​่�เคลื่​่อ� นที่​่�ไปมาจะชำำ�รุดุ ในระยะเวลาอั​ันสั้​้น� ฉะนั้​้�นต้​้อง ตรวจสอบชุ​ุดปล่อ่ ยน้ำำ��มันั หล่​่อลื่​่น� ว่​่าทำำ�งานเป็​็นปกติ​ิหรื​ือไม่​่และระดั​ับ น้ำำ��มั​ันมี​ีอยู่​่�ในระดั​ับที่​่�กำำ�หนด 5. ตำำ�แหน่​่งที่​่�ติดตั้​้ ิ ง� ของกระบอกลมในเครื่​่อ� งจั​ักรก็​็มีผี ลต่​่อการชำำ�รุดหรื​ื ุ อ อายุ​ุการใช้​้งานเหมื​ือนกั​ัน เช่​่น ถ้​้าชุ​ุดกระบอกลมนั้​้�นอยู่​่�ใกล้​้ความร้​้อน ความชื้​้น� และน้ำำ�� น้ำำ��ปนเคมี​ีที่​่ไ� หลลงมาถู​ูกกระบอกลมและอื่​่น� ๆ ถ้​้าพบ เจอปั​ัญหานี้​้� ถ้​้าอยู่​่�ใกล้​้ความร้​้อนต้​้องเช็​็คว่​่าชุ​ุดซีลี ที่​่�อยู่​่�ในกระบอกลม นั้​้�น ๆ เป็​็นยางทนความร้​้อนหรื​ือไม่​่ ถ้​้าใช่​่ก็ถู​ู็ กต้​้องแล้​้ว ถ้​้าไม่​่ใช่​่ก็ต้็ อ้ งหา ฉนวนมาคั่​่�นเพื่​่�อลดความร้​้อนที่​่�จะมาทำำ�ให้​้กระบอกลมมี​ีปั​ัญหา ถ้​้า เกี่​่�ยวกั​ับความชื้​้�น น้ำำ�� หรื​ือ สารเคมี​ี วั​ัสดุ​ุที่​่�ใช้​้ทำำ�กระบอกลม ก้​้านสู​ูบ ตั​ัวจั​ับยึ​ึดควรเป็​็นแสตนเลส สำำ�หรับั อุ​ุปกรณ์​์ที่​่จ� ะกล่​่าวถึ​ึงต่​่อไปคื​ือ มอเตอร์​์ลม (Pneumatic Air Motor) ซึ่​่�งมอเตอร์​์ลมที่​่�ใช้​้ในวงการพิ​ิมพ์​์และแพคเกจจิ้​้�ง ทำำ�หน้​้าที่​่�แทนมอเตอร์​์ ไฟฟ้​้า ซึ่​่�งการที่​่�จะใช้​้มอเตอร์​์ลมมี​ีเหตุ​ุผลที่​่�ดี​ีดั​ังนี้​้� 1. ใช้​้งานแทนที่​่�มอเตอร์​์ไฟฟ้​้าบริ​ิเวณที่​่�มอเตอร์​์ไฟฟ้​้าไม่​่สามารถทำำ�งานได้​้ เช่​่น บริ​ิเวณที่​่�มี​ีสารไวไฟ 2. ใช้​้ลมในการขั​ับเคลื่​่�อน ไม่​่ก่​่อให้​้เกิ​ิดประกายไฟ ป้​้องกั​ันการระเบิ​ิด 3. ปรั​ับความเร็​็วรอบได้​้ง่​่าย 4. สามารถใช้​้งานในที่​่�มี​ีอุ​ุณหภมิ​ิสู​ูงได้​้ถึงึ 120 องศา 5. ใช้​้งานในที่​่�เปี​ียก มี​ีความชื้​้�น มี​ีสารเคมี​ีได้​้ดี​ี โดยไม่​่เกิ​ิดอั​ันตรายเหมื​ือน มอเตอร์​์ไฟฟ้​้า 6. เหมาะสำำ�หรั​ับงาน กวน ผสม ปั๊​๊�มสู​ูบจ่​่าย สำำ�หรั​ับสารเคมี​ี สี​ี ทิ​ินเนอร์​์ หรื​ืออื่​่�นๆ

รู​ูปแสดงมอเตอร์​์ลม (Air Motor) แบบต่​่างๆ

สำำ�หรั​ับการดู​ูแลรั​ักษาให้​้ชุ​ุดกระบอกลมสามารถใช้​้งานได้​้ยาวนานโดย ไม่​่ชำำ�รุ​ุดเสี​ียหายง่​่ายนอกจากจะทำำ�การติ​ิดตั้​้�งชุ​ุดกระบอกลมอย่​่างถู​ูกวิ​ิธี​ี ตามที่​่�ได้​้กล่​่าวมาข้​้างต้​้นแล้​้ว ยั​ังมี​ีข้​้อแนะนำำ�เกี่​่�ยวกั​ับการบำำ�รุ​ุงรั​ักษาชุ​ุด กระบอกลมอี​ีกคื​ือ 1. ดู​ูแลให้​้ลมอั​ัดก่​่อนที่​่�จะส่​่งไปถึ​ึงชุ​ุดกระบอกลมเป็​็นลมที่​่�ไม่​่มี​ีหยดน้ำำ�� หรื​ือละอองน้ำำ��ติ​ิดไปกั​ับลม ถ้​้าตรวจพบปั​ัญหานี้​้�ให้​้แก้​้ไขให้​้เรี​ียบร้​้อย ซึ่​่�งส่​่วนมากที่​่�ตรวจพบปั​ัญหานี้​้�คื​ือ ชุ​ุด Air Dryer, ชุ​ุด Auto Drain มี​ีปั​ัญหาหรื​ือชำำ�รุ​ุดไม่​่สามารถทำำ�หน้​้าที่​่�ได้​้ 2. สิ่​่�งสกปรก ฝุ่​่�นละออง เม็​็ดโลหะ หรื​ืออื่​่น�  ๆ ที่​่�ติดิ มากั​ับลมอั​ัดเมื่​่อ� เข้​้าไปใน กระบอกลมได้​้จะทำำ�ให้​้ชิ้​้น� ส่​่วนภายในชุ​ุดกระบอกลมชำำ�รุดุ เสี​ียหายได้​้ เช่​่น ผนั​ังกระบอกลมด้​้านใน ก้​้านสู​ูบ ชุ​ุดซี​ีลก้​้านสู​ูบและลู​ูกสู​ูบ สาเหตุ​ุ

รู​ูปแสดง การนำำ�มอเตอร์​์ลมประกอบเข้​้ากั​ับชุ​ุดปั๊​๊�ม จะเรี​ียกปั๊​๊�มแบบนี้​้�ว่​่า บาเรลปั๊​๊�ม (Barrel Pump) ซึ่​่�งปั๊​๊�มแบบนี้​้�จะใช้​้ลมอั​ัดขั​ับเคลื่​่�อนมอเตอร์​์ลม ซึ่​่�งการทำำ�งาน จะไม่​่มี​ีประกายไฟเกิ​ิดขึ้​้�น จึ​ึงเหมาะที่​่�จะนำำ�ไปใช้​้สู​ูบจ่​่ายสารเคมี​ี สี​ี ทิ​ินเนอร์​์ น้ำำ��มั​ัน รวมถึ​ึงสารไวไฟชนิ​ิดต่​่างๆ www.thaiprint.org


42 KNOWLEDGE

สำำ�หรั​ับอุ​ุปกรณ์​์นิ​ิวเมติ​ิกอื่​่�นๆที่​่�ใช้​้ในเครื่​่�องจั​ักร เช่​่น ข้​้อต่​่อลมแบบต่​่าง ๆ (Air Fitting), ท่​่อหรื​ือสายลม (Air Tube), เช็​็ควาล์​์ว (Check Valve), ชุ​ุดลดเสี​ียงลม (Air Silencer), ยางดู​ูดสู​ูญญากาศ (Suction Cup) อุ​ุปกรณ์​์ทั้​้�งหมดนี้​้�มี​ีความสำำ�คั​ัญเช่​่นเดี​ียวกั​ันแต่​่ไม่​่ต้​้องการดู​ูแลรั​ักษา มากนั​ัก ที่​่�สำำ�คั​ัญคื​ือตรวจสอบว่​่าอุ​ุปกรณ์​์เหล่​่านี้​้�ทำำ�งานเป็​็นปกติ​ิหรื​ือไม่​่ ถ้​้าชำำ�รุ​ุดเสี​ียหายก็​็จะเปลี่​่�ยนใหม่​่โดยจะไม่​่มี​ีการซ่​่อม

62CM 10CM 60CM

87CM 6”

� งกวนหรื​ือ รู​ูปแสดงการนำำ�มอเตอร์​์ลม (Air Motor) มาใช้​้กั​ับเครื่​่อ ผสมเคมี​ี สี​ี หรื​ือ วั​ัตถุ​ุอื่​่�น ๆ ที่​่�เป็​็นวั​ัตถุ​ุไวไฟ ข้​้อต่​่อท่​่อลม (Air Fitting)

ท่​่อหรื​ือสายลม (Air Tube)

มอเตอร์​์ลม (Air Motor) และเกี​ียร์​์ทดรอบ (Reducing Gear) ถุ​ุงบรรจุ​ุ หมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์

เช็​็ควาล์​์ว (Check Valve)

รู​ูปแสดงการนำำ�เอามอเตอร์​์ลม (Air Motor) มาใช้​้กั​ับเครื่​่�องรี​ีดถุ​ุง หมึ​ึกพิ​ิ มพ์​์ (Fluid-Bag Discharge Roller M/C.) ซึ่​่�งบริ​ิเวณใช้​้ทำำ�งานมี​ีไอระเหยของสารทำำ�ละลายอยู่​่� ซึ่​่�งจะเกิ​ิดประกายไฟไม่​่ได้​้อย่​่างเด็​็ดขาด ฉะนั้​้�นการนำำ�มอเตอร์​์ลมมาใช้​้งานจึ​ึงปลอดภั​ัยสู​ูง

สำำ�หรั​ับการดู​ูแลและรั​ักษาให้​้อุ​ุปกรณ์​์มอเตอร์​์ลม (Air Motor) สามารถ ทำำ�งานได้​้อย่​่างยาวนานโดยไม่​่ชำำ�รุดุ เสี​ียหายง่​่าย มี​ีข้​้อแนะนำำ�ดั​ังนี้​้� 1. ลมอั​ัดที่​่�นำำ�มาใช้​้งานต้​้องเป็​็นลมที่​่�สะอาด ก่​่อนเข้​้าระบบหรื​ือเครื่​่�องที่​่� ใช้​้กั​ับมอเตอร์​์ลมต้​้องติ​ิดตั้​้�งชุ​ุด Air Filter ทุ​ุกครั้​้�ง 2. มอเตอร์​์ลมขณะทำำ�งานจะมี​ีชิ้​้�นส่​่วนเคลื่​่�อนที่​่�อยู่​่�ภายในหลายชิ้​้�นส่​่วน และชิ้​้น� ส่​่วนเหล่​่านั้​้�นต้​้องการการหล่​่อลื่​่น� ก่​่อนใช้​้งานต้​้องติ​ิดตั้​้ง� ชุ​ุดจ่า่ ย น้ำำ��มันั หล่​่อลื่​่น� (Lubricator) ทุ​ุกครั้​้ง� และปริ​ิมาณของน้ำำ��มันั ที่​่�จ่า่ ยออก ให้​้มอเตอร์​์ลมให้​้ดู​ูตามคู่​่�มื​ือของมอเตอร์​์ลมว่​่าต้​้องการปริ​ิมาณเท่​่าใด โดยปรั​ับที่​่�ชุ​ุดจ่​่ายน้ำำ��มั​ันหล่​่อลื่​่�นให้​้ถู​ูกต้​้อง 3. ความเร็​็วรอบและแรงบิ​ิดของมอเตอร์​์ลมขึ้​้น� อยู่​่�กั​ับแรงดั​ันและปริ​ิมาณ ลมที่​่�จ่​่ายมาให้​้ ซึ่​่�งคู่​่�มื​ือของมอเตอร์​์ลมจะแจ้​้งไว้​้ว่​่าต้​้องการแรงดั​ัน และปริ​ิมาณลมเท่​่าใด จากนั้​้�นเราต้​้องเลื​ือกซื้​้�อชุ​ุดปรั​ับแรงดั​ันลมให้​้ สั​ัมพั​ันธ์​์กั​ัน สรุ​ุป ใน 3 หั​ัวข้​้อที่​่�กล่​่าวมา ถ้​้าเราซื้​้�ออุ​ุปกรณ์​์ Air Filter, Lubricator และ Pressure Regulator เราต้​้องซื้​้�อเป็​็นชุ​ุดที่​่�มี​ีอุ​ุปกรณ์​์ทั้​้�ง 3 ชนิ​ิด อยู่​่�รวมกั​ัน และมี​ีขนาดสั​ัมพั​ันธ์​์กันั กั​ับความต้​้องการลมของ Air Motor 4. ถ้​้าบริ​ิเวณใช้​้งานของ Air Motor มี​ีไอระเหยของสารกั​ัดกร่​่อนมาก ควร เลื​ือกใช้​้ตั​ัวเสื้​้�อและส่​่วนประกอบต่​่างๆที่​่�สั​ัมผั​ัสกั​ับไอระเหยเป็​็นแสตน เลส ถ้​้าเป็​็นเหล็​็กหรื​ืออลู​ูมิ​ิเนี​ียมจะทำำ�งานเกิ​ิดการชำำ�รุดุ ได้​้ง่​่าย 5. ถ้​้าบริ​ิเวณทำำ�งานของ Air Motor มี​ีอุ​ุณหภู​ูมิ​ิการใช้​้งานสู​ูง ก่​่อนเลื​ือก ซื้​้อ� Air Motor มาใช้​้งานต้​้องเลื​ือกสเปคให้​้ถู​ูกต้​้อง หรื​ือถ้​้าเป็​็นอุ​ุปกรณ์​์ ที่​่�ติ​ิดมากั​ับเครื่​่อ� งจั​ักรอยู่​่�แล้​้วและสเปคไม่​่ถู​ูกต้​้อง ก็​็ต้อ้ งหาแผ่​่นฉนวน มาใช้​้ป้​้องกั​ัน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

ชุ​ุดลดเสี​ียงลม (Air Silencer)

ยางดู​ูดสู​ูญญากาศ (Suction Cup)

สำำ�หรั​ับระบบที่​่�สำำ�คั​ัญ อี​ีกอย่​่างหนึ่​่�งที่​่�ใช้​้เป็​็น ส่​่ว นประกอบที่​่�สำำ�คั​ัญใน เครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ เครื่​่�องจั​ักร ก็​็คื​ือ ระบบไฮโดรลิ​ิค (Hydraulics System) ซึ่​่�งอุ​ุปกรณ์​์ชนิ​ิดนี้​้�มี​ีการทำำ�งานที่​่�คล้​้ายๆกั​ับระบบนิ​ิวเมติ​ิกแต่​่ต่​่างกั​ันที่​่� พลั​ังงานที่​่�นำำ�มาใช้​้ในระบบ ซึ่​่�งระบบไฮโดรลิ​ิคใช้​้น้ำำ��มั​ันที่​่�มี​ีแรงดั​ันมา เปลี่​่�ยนให้​้เป็​็นกำำ�ลั​ังทางกล ซึ่​่�งระบบนี้​้�จะมี​ีอุ​ุปกรณ์​์อะไรบ้​้าง และมี​ีหน้​้า ที่​่�ทำำ�อะไร พร้​้อมการดู​ูแลรั​ักษา ซึ่​่�งจะได้​้อธิ​ิบายดั​ังต่​่อไปนี้​้� อุ​ุปกรณ์​์ระบบไฮโดรลิ​ิคพื้​้�นฐาน 1. ปั๊​๊�มไฮโดรลิ​ิค (Hydraulic Pump) 3. ถั​ังพั​ักน้ำำ�มั � ันไฮโดรลิ​ิค (Oil Reservoir Tank) 3. อุ​ุปกรณ์​์ปรับั ปรุ​ุงคุ​ุณภาพของน้ำำ��มันั ไฮโดรลิ​ิค (Filter and Oil Cooler) 4. วาล์​์วควบคุ​ุมความดั​ัน (Pressure Control Valve) 5. วาล์​์วควบคุ​ุมทิ​ิศทาง (Directional Control Valve) 6. วาล์​์วควมคุ​ุมการไหล (Flow Control Valve) 7. ท่​่อ ข้​้อต่​่อและสายไฮโดรลิ​ิค (Tube ,Connectors and Hose) 8. อุ​ุปกรณ์​์ทำำ�งาน (Actuators) Pressure Control Value

Directional Control Value

Piston Rod

Flow Control Value Pump

Piston Fluid Under Pressure

Oil Filter

Fluid at Low Pressure Oil Reservoir Tank

รู​ูปแสดง Hydraulics Systems Diagrams

Hydraulic Cylinder


KNOWLEDGE 43

1. ปั๊​๊�มไฮโดรลิ​ิค (Hydraulic Pump) ทำำ�หน้า้ ที่​่�ดู​ูดและส่​่งน้ำำ��มันั ไฮโดรลิ​ิค เข้​้าไปในระบบพร้​้อมแรงดั​ันที่​่�เพิ่​่�มขึ้​้�น เพื่​่�อเปลี่​่�ยนเป็​็นพลั​ังงานกลใน อุ​ุปกรณ์​์การทำำ�งานต่​่อไป

รู​ูปแสดงปั๊​๊�มไฮโดรลิ​ิค (Hydraulic Pump)

6. วาล์​์วควบคุ​ุมการปริ​ิมาณการไหลของน้ำำ��มันั (Flow Control Valve) ทำำ�หน้​้าที่​่�ควบคุ​ุมอั​ัตราการไหลของน้ำำ��มั​ันไฮโดรลิ​ิค รู​ูปแสดงวาล์​์วควบคุ​ุม ปริ​ิมาณการไหล ของน้ำำ��มั​ัน (Flow Control Valve)

7. ท่​่อ ข้​้อต่​่อและสายไฮโดรลิ​ิค (Tube, Connectors and Hose) ทำำ�หน้า้ ที่​่� เชื่​่อ� มต่​่อระหว่​่างอุ​ุปกรณ์​์ต่า่ งๆในระบบเข้​้าหากั​ันเพื่​่อ� ส่​่งและรั​ับน้ำำ�มั � นั ไฮโดรลิ​ิค

2. ถั​ังพั​ักน้ำำ�มั � ันไฮโดรลิ​ิค (Oil Reservoir Tank) ทำำ�หน้​้าที่​่�เก็​็บน้ำำ�มั � ัน ไฮโดรลิ​ิค เป็​็นที่​่�ขจั​ัดและเก็​็บสิ่​่�งสกปรกต่​่างๆที่​่�ปนมากั​ับน้ำำ��มั​ัน เป็​็นที่​่� ระบายความร้​้อนและขจั​ัดฟองอากาศที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นจากน้ำำ��มั​ันไหลกลั​ับ รู​ูปแสดง ท่​่อ ข้​้อต่​่อและสายไฮโดรลิ​ิค (Tube, Connectors and Hose)

8. อุ​ุปกรณ์​์การทำำ�งานของระบบไฮโดรลิ​ิค (Actuators) หมายถึ​ึง อุ​ุปกรณ์​์ที่​่�รั​ับน้ำำ��มั​ันไฮโดรลิ​ิคที่​่�มี​ีแรงดั​ันแล้​้วเปลี่​่�ยนเป็​็นพลั​ังงานกลเพื่​่�อ ใช้​้งาน เช่​่น กระบอกไฮโดรลิ​ิค มอเตอร์​์ไฮโดรลิ​ิค เป็​็นต้​้น รู​ูปแสดงกระบอกไฮโดรลิ​ิค และมอเตอร์​์ไฮโดรลิ​ิค (Hydraulic Cylinders and Hydraulic Motor)

รู​ูปแสดงถั​ังพั​ักน้ำำ��มั​ันไฮโดรลิ​ิค (Oil Reservoir Tank)

3. อุ​ุปกรณ์​์ปรั​ับปรุ​ุงคุ​ุณภาพของน้ำำ�มั � นั ไฮโดรลิ​ิค (Filter and Oil Cooler) 3.1 Oil Filter มี​ีหน้า้ ที่​่�กรองสิ่​่ง� สกปรกของน้ำำ��มันั ไฮโดรลิ​ิคไม่​่ให้​้เข้​้าไปยั​ัง อุ​ุปกรณ์​์ต่​่างๆ 3.2 Oil Cooler มี​ีหน้​้าที่​่�ระบายความร้​้อนในระบบไฮโดรลิ​ิค เพื่​่�อช่​่วยให้​้ น้ำำ��มั​ันและอุ​ุปกรณ์​์มี​ีอายุ​ุการใช้​้งานที่​่�ยาวนานขึ้​้�น รู​ูปแสดง Oil Filter แบบติ​ิดตั้​้�งด้​้านท่​่อดู​ูด ออกจากถั​ัง (ซ้​้าย) และติ​ิดตั้​้�งด้​้านท่​่อไหล กลั​ับลงถั​ัง (ขวา)

รู​ูปแสดง Oil Cooler แบบระบายความร้​้อน ด้​้วยน้ำำ�� (ซ้​้าย) และแบบระบายความร้​้อน ด้​้วยพั​ัดลมไฟฟ้​้า (ขวา)

4. วาล์​์วควบคุ​ุมความดั​ัน (Pressure Control Valve) ทำำ�หน้า้ ที่​่�ควบคุ​ุม ความดั​ันสู​ูงสุ​ุดของระบบไฮโดรลิ​ิค และสามารถปรั​ับลด-เพิ่​่�มความดั​ัน ได้​้ตามความต้​้องการ รู​ูปแสดงวาล์​์วควบคุ​ุม ความดั​ัน (Pressure Control Valve)

5. วาล์​์วควบคุ​ุมทิ​ิศทางการไหล (Directional Control Valve) ทำำ�หน้​้าที่​่�ควบคุ​ุมทิ​ิศทางการไหลของน้ำำ�มั � ันให้​้ไปในทิ​ิศทางที่​่�ต้​้องการ รู​ูปแสดงวาล์​์วควบคุ​ุม ทิ​ิศทางการไหล (Directional Control Valve)

สำำ�หรั​ับการดู​ูแลรั​ักษาให้​้ระบบและอุ​ุปกรณ์​์ไฮโดรลิ​ิคไม่​่ชำำ�รุ​ุดง่​่ายและ มี​ีอายุ​ุการใช้​้งานที่​่�ยาวนาน มี​ีข้​้อแนะนำำ�ดั​ังนี้​้� 1. น้ำำ��มันั ไฮโดรลิ​ิคที่​่�ใช้​้ต้อ้ งเป็​็นเบอร์​์และสเปคที่​่�ถู​ูกต้​้องและเปลี่​่�ยนถ่​่ายใน ระยะเวลาหรื​ือชั่​่�วโมงการใช้​้งานตามที่​่�คู่​่�มื​ือกำำ�หนดไว้​้ เพราะถ้​้าน้ำำ��มั​ัน เสื่​่อ� มสภาพแล้​้วยังั ใช้​้อยู่​่�จะทำำ�ให้​้ชิ้​้น� ส่​่วนภายในของอุ​ุปกรณ์​์ชำำ�รุดุ เสี​ีย หายได้​้ ซึ่​่�งอุ​ุปกรณ์​์บางชิ้​้�นมี​ีราคาแพงมาก 2. ไส้​้กรองด้​้านดู​ูดต้​้องถอดออกมาทำำ�ความสะอาด และไส้​้กรองด้​้าน น้ำำ��มั​ันไหลกลั​ับควรเปลี่​่�ยนใหม่​่ในเวลาเดี​ียวกั​ันกั​ับที่​่�มี​ีการเปลี่​่�ยนถ่​่าย น้ำำ��มั​ันไฮโดรลิ​ิค 3. ทำำ�ความสะอาดถั​ังพั​ักน้ำำ�มั � นั ไฮโดรลิ​ิคทุ​ุกครั้​้ง� เมื่​่อ� มี​ีการเปลี่​่�ยนถ่​่ายน้ำำ�มั � นั ทั้​้�งภายในและภายนอก รวมถึ​ึงตรวจเช็​็คอุ​ุปการณ์​์ต่​่างๆ ที่​่�ติ​ิดอยู่​่�กั​ับ ถั​ังพั​ักว่​่ามี​ีชิ้​้�นส่​่วนไหนชำำ�รุ​ุดเสี​ียหายหรื​ือไม่​่ ถ้​้าตรวจพบการชำำ�รุ​ุดให้​้ แก้​้ไขหรื​ือเปลี่​่�ยนใหม่​่ 4. ในขณะระบบทำำ�งานให้​้ตรวจเช็​็คจุ​ุดรั่​่ว� ไหลทั้​้�งหมดตั้​้�งแต่​่ต้น้ ไปจนถึ​ึงอุ​ุปกรณ์​์ ทำำ�งาน ถ้​้าตรวจพบให้​้จดบันั ทึ​ึกแล้​้ววางแผนซ่​่อมหรื​ือเปลี่​่�ยนชิ้​้น� ส่​่วนใหม่​่ 5. ท่​่อน้ำำ��มันั ที่​่�เป็​็นท่​่อยาง ถ้​้าตรวจพบมี​ีรอยรั่​่วซึ​ึ � มควรรี​ีบเปลี่​่�ยนใหม่​่ทันั ที​ี เพราะถ้​้าปล่​่อยทิ้​้�งไว้​้นานและจุ​ุดที่​่รั่​่� วซึ​ึ � มนั้​้�นแตกออกในขณะเดิ​ินระบบ จะทำำ�ให้​้น้ำำ��มั​ันที่​่�มี​ีแรงดั​ันพุ่​่�งออกมา อาจจะเกิ​ิดอั​ันตรายต่​่อพนั​ักงาน หรื​ือสร้​้างความเสี​ียหายต่​่อเครื่​่�องจั​ักรหรื​ือสิ​ินค้​้าที่​่�อยู่​่�ใกล้​้เคี​ียงกั​ันได้​้ 6. จุ​ุดหมุนุ ของก้​้นกระบอกและปลายกระบอกไฮโดรลิ​ิคที่​่�มีจุี ดอั ุ ดจ ั ารบี​ีหรื​ือ หยอดน้ำำ�มั � นั หล่​่อลื่​่น� ต้​้องหมั่​่�นตรวจสอบอยู่​่�สม่ำำ�� เสมออย่​่าให้​้ขาดสารหล่​่อลื่​่น� 7. ในการซ่​่อมหรื​ือเปลี่​่�ยนอะไหล่​่อุ​ุปกรณ์​์ต้​้องจดจำำ�ตำำ�แหน่​่งหรื​ือการใส่​่ อย่​่างถู​ูกต้​้อง เพราะถ้​้าประกอบผิ​ิดพลาด อาจเกิ​ิดความเสี​ียหายได้​้ ในขณะเปิ​ิดใช้​้งานอี​ีกครั้​้�ง 8. ถ้​้าระบบหรื​ืออุ​ุปกรณ์​์ที่​่มี� คู่​่�มื​ื ี อการใช้​้งาน ถ้​้าไม่​่เข้​้าใจในการปฎิ​ิบัติั งิ าน ต้​้องเปิ​ิดอ่​่านคู่​่�มื​ือให้​้เข้​้าใจ ข้​้อมู​ูลอ้​้างอิ​ิง • ตามประสบการณ์​์จริ​ิงของผู้​้�เขี​ียน • บริ​ิษั​ัท นิ​ิวแอนด์​์ไฮด์​์ จำำ�กั​ัด • บริ​ิษท เอที​ี เทคโนโลยี​ี คอนซั​ัลแท็​็นท์​์ จำำ�กั​ัด

www.thaiprint.org




46

NEWS

เอปสั​ันคว้​้ารางวั​ัลจาก iF Design Award 2021 จากเวที​ีการออกแบบระดั​ับโลก

เอปสั​ัน ประกาศความสำำ�เร็​็จทั้​้�งพริ​ินเตอร์​์และโปรเจคเตอร์​์ คว้​้ารางวั​ัล iF Design Award รางวั​ัลด้​้านการออกแบบ � ก ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ระดั​ับโลก สำำ�หรั​ับผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่มี ี ารออกแบบโดดเด่​่น ความคิ​ิดสร้​้างสรรค์​์ และเป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม iF DESIGN AWARD รางวั​ัลด้​้านการออกแบบที่​่�มี​ีชื่​่�อ ของโลกและเป็​็นหนึ่​่�งในรางวั​ัลอั​ันทรงเกี​ียรติ​ิด้​้านการ ออกแบบ จั​ั ด ขึ้​้� น โดย iF - International Forum Design ประเทศเยอรมนี​ี ตั้​้�งแต่​่ปี​ี พ.ศ. 2496 นอกจาก เรื่​่�องการออกแบบที่​่�เป็​็นสากลแล้​้ว คณะกรรมการยั​ัง พิ​ิ จารณาความพิ​ิ เศษในด้​้านต่​่างๆ เช่​่น ประสิ​ิทธิ​ิภาพใน การทำำ�งาน นวั​ัตกรรม ความปลอดภั​ัย และเป็​็นมิ​ิตรต่​่อ สิ่​่�งแวดล้​้อมอี​ีกด้​้วย โดยในปี​ีนี้​้�ผู้​้�เชี่​่�ยวชาญได้​้คั​ัดเลื​ือก ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ที่​่�ร่​่วมการประกวด จำำ�นวน 10,000 รายการ จาก 52 ประเทศทั่​่�วโลก

ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ของเอปสั​ันที่​่�ได้​้รั​ับรางวั​ัลในปี​ีนี้​้� ได้​้แก่​่ Epson SureColor SC-P703 และ SC-P903

เครื่​่อ� งพิ​ิมพ์​์ภาพระดั​ับมื​ืออาชี​ีพสำ�หรั ำ บั ช่​่างภาพและนั​ักออกแบบ ที่​่�ใส่​่ใจในทุ​ุกรายละเอี​ียด รองรั​ับขนาด A3+ และ A2 ได้​้รั​ับการ ออกแบบให้​้มีขี นาดเครื่​่อ� งที่​่�เล็​็กลง 30% แต่​่ยังั คงประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูง เพิ่​่� ม ความคมชั​ั ด แม่​่ น ยำำ� ให้​้ คุ​ุ ณ ภาพงานพิ​ิ ม พ์​์ เ หนื​ือระดั​ั บ มาพร้​้อมหมึ​ึก ULTRACHOME PRO10 สี​ีดำำ�เข้​้มพิ​ิเศษและ โทนสี​ีน้ำ�ำ� เงิ​ินที่​่�กว้​้างขึ้​้�น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


NEWS

47

SureColor SC-R5030 และ SC-R5030L

รุ่​่� น ต่​่ อ มา คื​ือ SureColor SC-R5030 และ SC-R5030L เครื่​่�องพิ​ิมพ์​์ระดั​ับมื​ืออาชี​ีพสำำ�หรั​ับธุ​ุรกิ​ิจการพิ​ิมพ์​์ป้​้ายโฆษณา และสื่​่อ� ประชาสั​ัมพั​ันธ์​์ ทั้​้�งสองรุ่​่�นใช้​้หมึ​ึกเรซิ่​่น� ฐานน้ำำ��รุ่​่�นแรกของ เอปสั​ัน ซึ่​่�งถู​ูกพั​ัฒนาขึ้​้�นมาเพื่​่�อใช้​้กั​ับหมึ​ึก UltraChrome RS ของเอปสั​ัน ที่​่�มีจุี ดุ เด่​่นที่​่�แห้​้งเร็​็ว ทนรอยขี​ีดข่ว่ น และใช้​้ความร้​้อน ไม่​่สู​ูงในการทำำ�ให้​้หมึ​ึกพิ​ิมพ์​์แห้​้งติ​ิดลงบนวั​ัสดุ​ุ ทำำ�ให้​้ผู้ใ้� ช้​้สามารถ นำำ�ผลงานไปใช้​้ได้​้ในทั​ันที​ี ไม่​่ต้​้องรอนาน อี​ีกทั้​้�งยั​ังให้​้งานพิ​ิมพ์​์ ที่​่�มี​ีสี​ีสั​ันสดใส คุ​ุณภาพสม่ำำ��เสมอ และใช้​้ได้​้กั​ับวั​ัสดุ​ุหลายชนิ​ิด หมึ​ึกเรซิ่​่น� ฐานน้ำำ��ของเอปสั​ันยั​ังได้​้รับั การรั​ับรองด้​้านสิ่​่ง� แวดล้​้อม จากหน่​่วยงานสากลต่​่าง ๆ อี​ีกด้​้วย ด้​้านโปรเจคเตอร์​์ของเอปสั​ันที่​่�ได้​้รั​ับรางวั​ัล มี​ีหลายรุ่​่�นด้​้วยกั​ัน ได้​้แก่​่ EpiqVision Mini EF-12 เลเซอร์​์

เอปสั​ันเลเซอร์​์โฮมโปรเจคเตอร์​์ EpiqVision Ultra EH-LS300B

ความสว่​่าง 3,600 ลู​ูเมน มาพร้​้อมเทคโนโลยี​ีระยะฉายสั้​้น� พิ​ิเศษ ที่​่�ล้ำำ��สมั​ัย มี​ีคุ​ุณสมบั​ัติ​ิป้​้องกั​ันแสงรบกวนจากสภาพแวดล้​้อม เพื่​่อ� ให้​้ได้​้ภาพที่​่�มีสี​ี สัี นั สดใสเต็​็มอิ่​่ม� และสี​ีดำำ�สนิทิ ทั้​้�งยั​ังสามารถ ฉายภาพได้​้ใหญ่​่สุดุ ถึ​ึง 120 นิ้​้�ว และระบบเสี​ียงในตั​ัวจาก Yamaha ให้​้ประสบการณ์​์การรั​ับชมที่​่�ตื่​่�นตาตื่​่�นใจยิ่​่�งขึ้​้�น โฮมโปรเจคเตอร์​์ระบบ 3LCD ที่​่�มี​ีขนาดเล็​็กสุ​ุดในโลก ได้​้รั​ับ การออกแบบมาให้​้สามารถตั้​้�งฉายได้​้ทุกุ ทิ​ิศทางแบบ 360 องศา เพื่​่�อตอบสนองไลฟ์​์สไตล์​์ของคนรุ่​่�นมิ​ิลเลนเนี​ียล และ Gen Z ที่​่� ชื่​่� น ชอบการชมภาพยนตร์​์ ผ่​่ า นระบบออนไลน์​์ โ ดยเฉพาะ เนื่​่�องจาก EF-12 ใช้​้ระบบ Andriod TV รองรั​ับการเชื่​่�อมต่​่อ แบบไร้​้สาย ช่​่วยให้​้เข้​้า ถึ​ึงบริ​ิการสตรี​ีมมิ่​่�งยอดนิ​ิยมได้​้อย่​่าง ง่​่ายดายผ่​่าน Wi-Fi เช่​่นเดี​ียวกั​ับสมาร์​์ทโฟน สามารถฉายภาพ ที่​่�มี​ีสี​ีสั​ันสดใส คมชั​ัดสมจริ​ิงระดั​ับ Full HD ได้​้ใหญ่​่ สุ​ุดถึ​ึง 150 นิ้​้�ว พร้​้อมติ​ิดตั้​้�งลำำ�โพงสเตอริ​ิโอคู่​่� 5W ของ Yamaha ในตั​ัวที่​่�ให้​้เสี​ียงทรงพลั​ัง ซึ่​่�งเมื่​่�อรวมกั​ับภาพฉายคุ​ุณภาพสู​ูง ด้​้ ว ยแล้​้ ว ผู้​้� ใช้​้ จ ะได้​้ รั​ั บ ประสบการณ์​์ ค วามบั​ั น เทิ​ิ ง เสมื​ือนมี​ี โรงภาพยนตร์​์ภายในบ้​้าน ทั้​้�งยั​ังมี​ีขนาดกะทั​ัดรั​ัด น้ำำ��หนั​ักเบา รู​ูปลั​ักษณ์​์ดี​ีไซน์​์ที่​่�ทั​ันสมั​ัย เรี​ียบหรู​ู ช่​่วยเพิ่​่�มความมี​ีสไตล์​์ให้​้กั​ับ มุ​ุมโปรดภายในบ้​้าน

เลเซอร์​์โปรเจคเตอร์​์ EB-L200W

ปิ​ิดท้​้ายด้​้วย เลเซอร์​์โปรเจคเตอร์​์ EB-L200W เพื่​่�อการใช้​้งาน ในห้​้องเรี​ียนและออฟฟิ​ิศได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ ที่​่�มีอี ายุ​ุการใช้​้งาน ยาวนานถึงึ 20,000 ชั่​่ว� โมงโดยไม่​่ต้อ้ งบำำ�รุงุ รั​ักษา ให้​้ความสว่​่าง ของแสงสี​ีขาวและแสงสี​ี 4,200 ลู​ูเมนต์​์ที่​่�ความละเอี​ียด WXGA ฉายภาพได้​้กว้​้าง สว่​่างสดใส อ่​่านง่​่ายและสบายตาจากทุ​ุกที่​่� ภายในห้​้อง นอกจากนี้​้�ยังั มาพร้​้อมลำำ�โพง 16W รองรั​ับการเชื่​่อ� มต่​่อ แบบไร้​้สายและ Miracast® ในตั​ัว และเชื่​่�อมต่​่อสะดวกได้​้จาก แล็​็ปท็​็อปและอุ​ุปกรณ์​์อั​ัจฉริ​ิยะต่​่าง ๆ www.thaiprint.org


48 INDUSTRIAL

ลงทะเบียนรับสิทธิ์ ได้แล้ววันนี้

TASKalfa Pro 15000c ของเราเกิ​ิดจากการผสม � วชาญในด้​้านดิ​ิจิทั​ั ผสานประสบการณ์​์และความเชี่​่ย ิ ล กว่​่า 60 ปี​ี มาพั​ัฒนาเพื่​่� อตอบสนอง ความต้​้องการ ในการพิ​ิ มพ์​์ งานที่​่� ม ากขึ้​้� น เครื่​่� อ งพิ​ิ มพ์​์ โปรดั​ักชั่​่� น � � เที​ียบ อิ​ิงค์​์เจ็​็ทความเร็​็วสู​ูงนี้​้� เป็​็นทางเลื​ือกที่​่คุ้​้�มค่ า่ เมื่​่อ กั​ับการพิ​ิ มพ์​์ระบบเดิ​ิมๆ ในงานพิ​ิ มพ์​์แบบฟอร์​์มธุ​ุรกรรม งานส่​่งเสริ​ิมการขาย และ Direct Mail KYOCERA ได้​้พั​ั ฒนาเทคโนโลยี​ีของหมึ​ึก และคุ​ุณสมบั​ัติ​ิเฉพาะ หั​ัวพิ​ิ มพ์​์ในการพิ​ิ มพ์​์ความเร็​็วสู​ูงอย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิภ ิ าพ อี​ีกทั้​้ง � ยั​ังได้​้รั​ับการออกแบบมาเพื่​่� อสร้​้างความมั่​่�นคง ให้​้อนาคตของธุ​ุรกิ​ิจ เสริ​ิมความโดดเด่​่นให้​้ท่​่านใน ตลาดสิ่​่�งพิ​ิ มพ์​์ และมอบผลตอบแทนจากการลงทุ​ุน ได้​้อย่​่างรวดเร็​็วและยั่​่�งยื​ืน

การพิ​ิ มพ์​์ งานต่​่อเนื่​่�องของ The TASKalfa Pro

ระบบเครื่​่�องในระดั​ับโปรดั​ักชั่​่�นสามารถพิ​ิมพ์​์ได้​้อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง ที่​่�ความเร็​็ว 150 หน้​้าต่​่อนาที​ี ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นกระดาษธรรมดา หรื​ือกระดาษหนา 360 แกรม สามารถพิ​ิมพ์​์ต่​่อเนื่​่�องได้​้ถึ​ึง 9,000 หน้​้า *หมายเหตุ​ุ คำำ�นวณจากกระดาษ A4 ที่​่�ใช้​้ทดสอบ คุ​ุณภาพงานพิ​ิ มพ์​์ ที่​่�ยอดเยี่​่�ยม

หมึ​ึกฐานน้ำำ�� และเทคโนโลยี​ีการปล่​่อยหมึ​ึกของ TASKalfa Pro ทำำ�ให้​้มั่​่น� ใจได้​้ถึงึ ความสม่ำำ�� เสมอของสี​ีและงานพิ​ิมพ์​์คุณ ุ ภาพสู​ูงเพื่​่อ� ตอบสนองความต้​้องการของงานผลิ​ิตสิ่​่ง� พิ​ิมพ์​์ระดั​ับอุ​ุตสาหกรรม THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


INDUSTRIAL 49

รองรั​ับวั​ัสดุที่​่ ุ ใ� ช้​้ในการพิ​ิ มพ์​์ ได้​้หลากหลาย TASKalfa Pro 15000c พิ​ิ มพ์​์ งาน ได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ

บนประเภทของวั​ัสดุ​ุพิ​ิมพ์​์ที่​่�หลากหลาย ทั้​้�งขนาด น้ำำ��หนั​ักและ ชนิ​ิดของกระดาษ สามารถครอบคลุ​ุมงานพิ​ิมพ์​์หลากหลาย ที่​่�สร้​้างผลกำำ�ไรให้​้กั​ับท่​่านได้​้มากขึ้​้�น เพิ่​่� มประสิ​ิทธิ​ิภาพสู​ูงสุ​ุดให้​้งานพิ​ิ มพ์​์ ไปถึ​ึงชิ้​้�นงานสำำ�เร็​็จ เสร็​็จในเครื่​่�องเดี​ียว

เพิ่​่�มประสิ​ิทธิ​ิภาพได้​้อย่​่างหลากหลายด้​้วยอุ​ุปกรณ์​์เสริ​ิมระบบ ป้​้อนกระดาษ ระบบจั​ัดเรี​ียง จั​ัดชุ​ุดกระดาษ และอุ​ุปกรณ์​์เสริ​ิม งานหลั​ังพิ​ิมพ์​์ ที่​่�จะช่​่วยให้​้คุ​ุณสามารถเลื​ือกใช้​้เหมาะสมกั​ับ ธุ​ุรกิ​ิจของท่​่าน โปรแกรมควบคุ​ุม และปรั​ับแต่​่งรู​ูปแบบงานต่​่างๆ ที่​่�ท่​่านเลื​ือกได้​้

ให้​้การผลิ​ิตมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพและคุ​ุณภาพสู​ูงสุ​ุด ด้​้วยระบบและ โปรแกรมควบคุ​ุมของ TASKalfa Pro หรื​ือด้​้วย Fiery Print Server ที่​่�เป็​็นอุ​ุปกรณ์​์เสริ​ิม

ใช้​้งานง่​่ายเป็​็นพิ​ิ เศษ

เพิ่​่� ม ประสิ​ิ ท ธิ​ิ ภ าพการผลิ​ิ ต สู​ูงสุ​ุ ด ด้​้ ว ยการที่​่� คุ​ุ ณ สามารถ เปลี่​่�ยนส่​่วนประกอบหลั​ักและวั​ัสดุ​ุสิ้​้�นเปลื​ืองได้​้อย่​่างรวดเร็​็ว และแผงควบคุ​ุมในตั​ัวที่​่�สามารถใช้​้งานได้​้อย่​่างง่​่ายดาย ความได้​้เปรี​ียบกั​ับการเป็​็นมิ​ิตรต่​่อสิ่​่�งแวดล้​้อม

การพิ​ิ ม พ์​์ อิ​ิ ง ค์​์ เจ็​็ ท ไม่​่ ใช้​้ ค วามร้​้ อ นในการหลอมรวมผงหมึ​ึก ทำำ�ให้​้ช่​่วยลดการใช้​้พลั​ังงานลงอย่​่างมาก ดั​ังนั้​้�น TASkalfa Pro 15000c จึ​ึงสะท้​้อนให้​้เห็​็นถึงึ ความมุ่​่�งมั่​่น� ในการพั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ อย่​่างต่​่อเนื่​่�อง และอย่​่างยั่​่�งยื​ืน ตามที่​่�เราได้​้ให้​้คำำ�มั่​่�นสั​ัญญา มาตลอดหลายทศวรรษ เพิ่​่� มความปลอดภั​ัย

TASKalfa Pro 15000c มาพร้​้ อ มกั​ั บ คุ​ุ ณ สมบั​ั ติ​ิ ด้​้ า น ความปลอดภั​ั ย ล่​่ า สุ​ุ ด เช่​่ น การยื​ืนยั​ั น และระบุ​ุ ตั​ั ว ตนผู้​้� ใช้​้ การป้​้ อ งกั​ั น การเขี​ี ย นทั​ั บ ข้​้ อ มู​ูล HDD และการสร้​้ า งและ เปลี่​่�ยนรหั​ัสเฉพาะราย

บริ​ิษั​ัท เคี​ียวเซร่​่า ด็​็อคคิ​ิวเม้​้นท์​์ โซลู​ูชั่​่�นส์​์ (ประเทศไทย) จำำ�กั​ัด 355 ถนนรั​ัชดาภิ​ิเษก แขวงวงศ์​์สว่​่าง เขตบางซื่​่�อ กรุ​ุงเทพฯ 10800 โทร. 02-586-0333 โทรสาร. 02-586-0278 www.kyoceradocumentsolutions.com/th

ลงทะเบียนรับสิทธิ์ ได้แล้ววันนี้ www.thaiprint.org


50 KNOWLEDGE

G7 ตอนที่​่� 2

โดย เพจโรงพิ​ิ มพ์​์ไทย 5G การควบคุ​ุมค่​่าเทาของ HC, HR , SC มี​ี 2 อย่​่างคื​ือ

จากฉบั​ั บ 132 ได้​้ ท ราบแล้​้ วว่​่ า G7 คื​ือวิ​ิ ธี​ี ก าร(Method) เที​ียบมาตรฐาน (Calibration) ให้​้เครื่​่�องมื​ือ (Device) โดยมี​ี ข้​้อกำำ�หนด (Specification) ของสี​ีเทา (Gray ) เป็​็นหลั​ักสำำ�คั​ัญ G7 ไม่​่ใช่​่การจั​ัดการสี​ี CMS G7 ไม่​่ใช่​่ ICC Profile ฉบั​ับนี้​้�จะอธิ​ิบายวิ​ิธี​ี Calibration

1. Tonality โดยวั​ัดค่​่า Density ของเทา CMY และเทา K เรี​ียกว่​่าNeutral Print Density(NPD) ให้​้ได้​้ตามมาตรฐานเช่​่น กระดาษอาร์​์ตมั​ัน HC CMY = 0.25 K = 0.22 HR CMY = 0.54 K = 0.49 SC CMY = 0.91 K = 0.89 2. Gray balance โดยวั​ัดค่​่า a* b* CIELAB ของเทา CMY เท่​่านั้​้�น (ไม่​่วั​ัดเทา K ) ให้​้ได้​้มาตรฐานเช่​่น กระดาษอาร์​์ตมั​ัน ค่​่า L* = 95 a* = 1.0 b* = -4.0 HC ต้​้องได้​้ค่​่า a* = 0.7 b* = -3.0 HR ต้​้องได้​้ค่​่า a* = 0.5 b* = -2.0 SC ต้​้องได้​้ค่​่า a* = 0.2 b* = -1.0

G7 กำำ�หนดสี​ีเทา CMY และเทา K ไว้​้ 3 โทนคื​ือ HC = Highlight Contrast HR = Highlight Range SC = Shadow Contrast

เปอร์​์เซ็​็นต์​์สกรี​ีนที่​่�ใช้​้ DOT VALUES PATCH

C

M

Y

K

HC_cmy

25

19

19

0

HR_cmy

50

40

40

0

SC_cmy

75

66

66

0

HC_k

0

0

0

25

HR_k

0

0

0

50

SC_k

0

0

0

75

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

เทาในอุ​ุดมคติ​ิของ CIELAB ตามภาพจะอยู่​่�ตรงกลางที่​่�เส้​้นตั​ัดกันั นั่​่�นคื​ือ a* = 0 b* = 0 G7 ไม่​่ได้​้ Calibration ให้​้ได้​้ a* = 0 b* = 0 แนวคิ​ิดของ G7 คื​ือค่​่า Gray balance จะต้​้องเข้​้ากั​ับค่​่า L*a*b* กระดาษที่​่�จะใช้​้พิ​ิมพ์​์


KNOWLEDGE

โดยใช้​้สู​ูตรคำำ�นวณ a*G7 = a*paper x (1 - C/100) b*G7 = b*paper x (1 - C/100)

C คื​ือ เปอร์​์เซ็​็นต์​์สกรี​ีนฟ้​้า CYAN

51

3. P2P Targets มี​ี 3 แบบ คื​ือ - G7 Verifies - P2P25 - P2P51

ตั​ัวอย่​่างเช่​่นความขาวกระดาษยี่​่�ห้​้อหนึ่​่�ง L* = 95 a* = 2.0 b* = -6 คำำ�นวณช่​่วง HC ( C25 M19 Y19 ) (1 - 25/100) = 0.75 0.75 x 2 a* = 1.5 a* 0.75 x -6 b* = -4.5 b*

คำำ�นวณช่​่วง HR ( C50 M40 Y40 ) (1 - 50/100) = 0.50 0.5 x 2 a* = 1.0 a* 0.5 x -6 b* = -3.0 b*

คำำ�นวณช่​่วง SC ( C75 M66 Y66 ) (1 - 75/100) = 0.25 0.25 x 2 a* = 0.5 a* 0.25 x -6 b* = -1.5 b*

หมายความว่​่าCalibration จะลดเพิ่​่�มเปอร์​์เซ็​็นต์​์สกรี​ีน CMYK ของ HC , HR , SC ให้​้ได้​้ค่​่า Density ของ NPD และ a* b* ของ Gray balance ตามกระดาษพิ​ิมพ์​์

ปั​ัจจุ​ุบันั นิ​ิยมใช้​้ P2P51 มี​ี 12 แถว x 25 คอลั​ัมน์​์ ในการคาลิ​ิเบต จะใช้​้เพี​ียงแถวที่​่� 4 เทา K + แถวที่​่� 5 เทา CMY (ลู​ูกศรสี​ีน้ำำ��เงิ​ิน) ไล่​่โทนเทาเป็​็นระดั​ับโดยมี​ี HC,HR , SC ฝั​ังอยู่​่�ด้​้วย รวมใช้​้ 50 ข้​้อมู​ูลสี​ีเท่​่านั้​้�น จะวั​ัดค่​่าสี​ีออกมาเป็​็น L*a*b* แล้​้วคำำ�นวณเป็​็น - Weight Delta L* CMY ความสว่​่างเทาCMY - Weight Delta Ch* CMY เฉดเทา CMY - Weight Delta L* K ความสว่​่างเทา K ภาพล่​่างคื​ือการวั​ัดค่​่าระหว่​่าง “พิ​ิมพ์​์งาน”

แม้​้ไฟล์​์ภาพเดี​ียวกั​ันนำำ�ไปใช้​้พิ​ิมพ์​์คนละระบบเช่​่น ออฟเซทกั​ับ แฟลกโซ ที่​่�ความขาววั​ัสดุพิุ มิ พ์​์ต่า่ งกั​ันยั​ังคงรั​ักษา Gray ของภาพ ได้​้เท่​่ากั​ัน

www.thaiprint.org


52 KNOWLEDGE

4. เครื่​่�องวั​ัดการ Calibration เช่​่น - X-Rite i1iSis, iSis XL (1 & 2) - X-Rite i1Pro (1 & 2)

3. เลื​ือกหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ที่​่�ได้​้ ISO 2846-1 คื​ือ มาตรฐานสี​ีและ ความโปร่​่งแสงของหมึ​ึกพิ​ิมพ์​์ชุ​ุดสำำ�หรั​ับการพิ​ิมพ์​์สี่​่�สี​ี ที่​่�อเมริ​ิกา จะเลื​ือกใช้​้ที่​่�มี​ี ISO นี้​้� ก็​็จะช่​่วยให้​้การ Calibration ปรั​ับสี​ี ได้​้ค่​่าที่​่�กำำ�หนดง่​่ายขึ้​้�น 4. เลื​ื อกกระดาษที่​่� ไ ด้​้ค่​่ าความขาว L* a* b* ใกล้​้เคี​ี ย ง มาตรฐานการพิ​ิมพ์​์ที่​่�เลื​ือก เช่​่น GRACOL 2006 L* 95 a* 0 b* -2 GRACOL 2013 L* 95 a* 1 b* -4 5. จั​ัดวาง Test Form ตามขนาดกระดาษขึ้​้�นแท่​่น

5. G7 Software เช่​่น - i1Profiler - Curve4 - efi

ต้​้องวาง P2P51 อย่​่างน้​้อยจำำ�นวน 2 ตั​ัว ซ้​้ายขวา ควรมี​ีภาพคน สิ่​่�งของไว้​้ติ​ิดกั​ับ P2P51 ตามแนวปรั​ับหมึ​ึก ขั้​้�นตอนการทำำ� G7 Calibration

1. ตรวจสอบสภาพแท่​่นพิ​ิมพ์​์ให้​้อยู่​่�ในสภาพสมบู​ูรณ์​์ ไม่​่มี​ี ปั​ัญหาเรื่​่�อง Doubling - Slur - Streak ฯลฯ 2. เลื​ื อ กมาตรฐานการพิ​ิ ม พ์​์ เช่​่ น GRACOl-2006, GRACOL-2013 เพื่​่�อให้​้มีตัี ัวเลขควบคุ​ุม Process L* a* b* ของกระดาษ L* a* b* หมึ​ึก CMYK ค่​่า NPD ของเทา CMY + K โทน HC , HR , SC ค่​่า Gray balance a* b* โทน HC , HR , SC หากต้​้องการใช้​้ของยุ​ุโรป เช่​่น Fogra จะไม่​่มี​ีข้​้อมู​ูล NPD, Gray balance THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

6. ยิ​ิงเพลท CTP ด้​้วยการ Linear Plate ขนาดเม็​็ดสกรี​ีน เท่​่ากั​ับไฟล์​์ 40% ได้​้ 40% วั​ัดค่​่าเม็​็ดสกรี​ีนด้​้วย Plate Meter, Dot Reader ให้​้อยู่​่�ในช่​่วง +- 1% 7. ขึ้​้�นแท่​่นพิ​ิมพ์​์ครั้​้�งที่​่� 1 ปรั​ับมาร์​์คตรง คุ​ุณภาพเม็​็ดสกรี​ีน ปริ​ิมาณน้ำำ�� ให้​้ Solid CMYK Density ได้​้ตาม Target โดยค่​่า Delta E < 5 8. วั​ัดค่​่าสี​ี โดยทิ้​้�งงานให้​้หมึ​ึกแห้​้งก่​่อนวั​ัด แต่​่ถ้​้าเวลาน้​้อย ตอนพิ​ิมพ์​์ปรั​ับ หมึ​ึกให้​้ Delta E น้​้อยที่​่�สุ​ุดก็ส็ ามารถนำำ�มาวั​ัดค่​่าได้​้เลย ในแถวที่​่� 4 และ 5 ของ P2P51 G7 ได้​้กำำ�หนดค่​่า L* a* b* มาตรฐานของแต่​่ละโทนไว้​้ เช่​่น C6M4Y4 L* = 90.1 a* = 0.35 b* = -2.04 C50M40Y40 L* = 57.6 a* = 0.04 b* = -1.2


KNOWLEDGE 53

Software จะใช้​้ค่​่า L* a* b* ของแผ่​่นพิ​ิมพ์​์แล้​้วแปลงเป็​็น - Weight Delta L* CMY - Weight Delta Ch* CMY - Weight Delta L* K

9. Software คำำ�นวณค่​่าเม็​็ดสกรี​ีน CMYK ใหม่​่ส่​่งให้​้ RIP ยิ​ิงเพลท CTP 10. ขึ้​้�นแท่​่นพิ​ิมพ์​์ครั้​้�งที่​่� 2 ใช้​้ Solid CMYK Density เท่​่ากั​ับ ครั้​้�งที่​่� 1 11. วั​ัดค่​่าสี​ี NPD Curve ของการพิ​ิมพ์​์ครั้​้�งที่​่� 2

Gray balance Curve ของการพิ​ิมพ์​์ครั้​้�งที่​่� 2

แนวคิ​ิดของ G7 หน้​้าตา Curve เป็​็นแบบนี้​้� NPD Curve ของการพิ​ิมพ์​์ครั้​้�งที่​่� 1 เส้​้นเขี​ียวคื​ือ Standard Density

CMY

K

Gray balance Curve ของการพิ​ิมพ์​์ครั้​้�งที่​่� 1 การพิ​ิมพ์​์ครั้​้�งที่​่� 1 เป็​็นเรื่​่�องปรกติ​ิที่​่� Curve จะไม่​่ได้​้ หวั​ังว่​่าสมาชิ​ิกสมาคมจะเข้​้าใจกระบวนการ G7 Calibration ไม่​่มากก็​็น้​้อย ขอบพระคุ​ุณครั​ับ ที่​่�มาภาพ • www idealliance.org/g7 • https://techkonusa.com/ • https://www.xrite.com/

www.thaiprint.org


54

NEWS

สนค. ชี้​้� ธุ​ุรกิ​ิจบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์รุ่​่�ง แนะปรั​ับตั​ัว ตอบรั​ับกระแสรั​ักษ์​์โลก

นำำ�นวั​ัตกรรมมาใช้​้ในการผลิ​ิต เพื่​่� อสร้​้างความได้​้เปรี​ียบ และตอบโจทย์​์กระแสรั​ักษ์​์โลกรั​ักสุ​ุขภาพ สำำ�นั​ักงานนโยบายและยุ​ุทธศาสตร์​์การค้​้า หรื​ือ สนค. ชี้​้�ตลาด บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ยุ​ุคโควิ​ิด-19 ดั​ันการค้​้าบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์โลกไตรมาสแรก ทะลุ​ุกว่​่าหนึ่​่ง� แสนล้​้านดอลลาร์​์สหรัฐั หรื​ือเพิ่​่�มขึ้​้น� 13% ชี้​้มี� โี อกาส โตต่​่อเนื่​่�องปี​ีละ 7.5% แนะผู้​้�ประกอบการไทยนำำ�นวั​ัตกรรมมา ใช้​้ในการผลิ​ิต เพื่​่�อสร้​้างความได้​้เปรี​ียบและตอบโจทย์​์กระแส รั​ักษ์​์โลกรั​ักสุ​ุขภาพ นายภู​ูสิ​ิต รั​ัตนกุ​ุล เสรี​ีเริ​ิงฤทธิ์​์� ผู้​้�อำำ�นวยการ สนค. เปิ​ิดเผย ผลการศึ​ึกษาตลาดบรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ ใ นยุ​ุ ค โควิ​ิ ด -19 ของ สนค. เพื่​่�อสร้​้างโอกาสในการส่​่งออกสิ​ินค้​้าของไทย พบว่​่าบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

เป็​็นที่​่�ต้​้องการในตลาดโลกเพิ่​่�มขึ้​้�น เนื่​่�องจากกระแสความนิ​ิยม ซื้​้อ� ขายผ่​่านอี​ีคอมเมิ​ิร์ซ์ และความต้​้องการสิ​ินค้​้าอุ​ุปโภคบริ​ิโภค และผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์เพื่​่อ� สุ​ุขภาพเพิ่​่�มสู​ูงขึ้​้น� ตามการฟื้​้น� ตั​ัวของเศรษฐกิ​ิจ ในหลายประเทศ โดยการค้​้าบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์โลกในไตรมาสแรก ของปี​ี 2564 มี​ีมู​ูลค่​่า 110,985.7 ล้​้านดอลลาร์​์สหรั​ัฐ เพิ่​่�มขึ้​้�น 13% แยกเป็​็นการส่​่งออกมู​ูลค่​่า 57,813.5 ล้​้านดอลลาร์​์สหรั​ัฐ เพิ่​่�มขึ้​้น� 14% และการนำำ�เข้​้ามู​ูลค่​่า 53,172.2 ล้​้านดอลลาร์​์สหรัฐั เพิ่​่�มขึ้​้�น 12% ผู้​้�ส่​่งออกและนำำ�เข้​้าสำำ�คั​ัญ ได้​้แก่​่ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา เยอรมนี​ี และจี​ีน


NEWS

55

ทั้​้�งนี้​้�ไทยเป็​็นผู้​้�ส่ง่ ออกบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์รายใหญ่​่ที่​่สุ� ดุ ในอาเซี​ียน มี​ีมู​ูลค่​่า ส่​่งออกในไตรมาสแรกของปี​ี 2564 รวม 844.8 ล้​้านดอลลาร์​์ สหรั​ัฐ เพิ่​่�มขึ้​้�น 11.2% รองลงมา ได้​้แก่​่ มาเลเซี​ีย เวี​ียดนาม สิ​ิงคโปร์​์ และอิ​ินโดนี​ีเซี​ีย ตามลำำ�ดั​ับ โดยไทยส่​่งออกไปสหรั​ัฐฯ 123.6 ล้​้านดอลลาร์​์สหรั​ัฐ เพิ่​่�มขึ้​้�น 13.8% สั​ัดส่​่วน 14.6% ญี่​่�ปุ่​่�น 122.6 ล้​้านดอลลาร์​์สหรั​ัฐ เพิ่​่�มขึ้​้�น 6.6% สั​ัดส่​่วน 14.5% เวี​ียดนาม 78.7 ล้​้านดอลลาร์​์สหรัฐั เพิ่​่�มขึ้​้น� 21.6% สั​ัดส่ว่ น 9.3% อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย 72.7 ล้​้านดอลลาร์​์สหรัฐั เพิ่​่�มขึ้​้น� 20.9% สั​ัดส่ว่ น 8.6% และจี​ีน 51 ล้​้านดอลลาร์​์สหรั​ัฐ เพิ่​่�มขึ้​้�น 7.2% สั​ัดส่​่วน 6% โดยบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์พลาสติ​ิกเป็​็นบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�ไทยส่​่งออกมากที่​่�สุ​ุด คิ​ิดเป็​็นสั​ัดส่ว่ น 78.2% ของมู​ูลค่​่าส่​่งออกบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ทั้​้ง� หมดของ ไทย และครองส่​่วนแบ่​่ง 1.7% ในตลาดโลก ซึ่​่�งจุ​ุดแข็​็งของไทย คื​ือ มี​ีความได้​้เปรี​ียบเชิ​ิงเทคโนโลยี​ีและคุ​ุณภาพของบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ เมื่​่อ� เที​ียบกั​ับคู่​่�แข่​่งหลั​ักอย่​่างเวี​ียดนาม มาเลเซี​ีย และอิ​ินโดนี​ีเซี​ีย “ธุ​ุ ร กิ​ิ จ บรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ มี​ี แ นวโน้​้ ม เติ​ิ บ โตอย่​่ า งต่​่ อ เนื่​่� อ ง โดย Businesswire (2001) คาดว่​่ามู​ูลค่​่าตลาดบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์โลกจะ ขยายตั​ัว 7.5% ต่​่อปี​ี ระหว่​่างปี​ี 2562-2570 ซึ่​่ง� ผู้​้�ประกอบการไทย ควรเตรี​ียมความพร้​้อมในการเพิ่​่�มขี​ีดความสามารถทางการแข่​่งขั​ัน เพื่​่�อช่​่วงชิ​ิงโอกาสทางการค้​้าและส่​่วนแบ่​่งตลาดที่​่�กำำ�ลั​ังเติ​ิบโต โดยปั​ัจจั​ัยสำำ�คั​ัญที่​่�ควรคำำ�นึ​ึงถึ​ึงคื​ือ การเปลี่​่�ยนแปลงพฤติ​ิกรรม ของผู้​้�บริ​ิโภค จากการแพร่​่ระบาดของโควิ​ิด-19” ซึ่​่�ง McKinsey & Company (2020) ได้​้สำำ�รวจทั​ัศนะของ ผู้​้� บ ริ​ิ โ ภคใน 10 ประเทศ ต่​่ อ คุ​ุ ณ ลั​ั ก ษณะของบรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ พบข้​้อสรุ​ุปที่​่�น่​่าสนใจ 3 ประเด็​็น ที่​่�มี​ีผลต่​่อการผลิ​ิตบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ประเด็​็นแรก ผู้​้�บริ​ิโภคต้​้องการใช้​้บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�มี​ีความปลอดภั​ัย ด้​้านอาหารและสุ​ุขอนามั​ัยเพิ่​่�มขึ้​้�น โดยเฉพาะในประเทศกำำ�ลั​ัง พั​ัฒนา อาทิ​ิ อิ​ินเดี​ีย อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย และบราซิ​ิล เป็​็นต้​้น ประเด็​็นที่​่� 2 ผู้​้�บริ​ิโภคให้​้ความสำำ�คั​ัญกั​ับการใช้​้บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เพื่​่�อความยั่​่�งยื​ืน โดยผลกระทบต่​่อสิ่​่ง� แวดล้​้อมที่​่�ผู้บ้� ริ​ิโภคในยุ​ุโรปและญี่​่�ปุ่​่�นกั​ังวล มากที่​่�สุ​ุด คื​ือ การเป็​็นขยะทะเล ขณะที่​่�ผู้​้�บริ​ิโภคในเอเชี​ียกั​ังวลเรื่​่�องมลพิ​ิษทางน้ำำ��และอากาศ นอกจากนี้​้� ผู้​้�บริ​ิโภคกว่​่า 50% ในจี​ีน อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย สหรั​ัฐฯ บราซิ​ิล เยอรมนี​ี อิ​ิตาลี​ี อิ​ินเดี​ีย และสหราชอาณาจั​ักร ยิ​ินดี​ีที่​่จ� ะ จ่​่ายเพิ่​่�มขึ้​้�นสำำ�หรั​ับบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์อาหารที่​่�เป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่�งแวดล้​้อม ขณะที่​่�ในญี่​่�ปุ่​่�นและฝรั่​่�งเศส มี​ีผู้​้�บริ​ิโภคต่ำำ�� กว่​่า 50% ที่​่�ยิ​ินดี​ีจ่​่าย เพิ่​่�มขึ้​้น� และประเด็​็นที่​่� 3 ผู้​้บ� ริ​ิโภคในแต่​่ละประเทศเห็​็นต่​่างกั​ันว่​่า บรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ชนิ​ิดใดเป็​็นมิ​ิตรกั​ับสิ่​่ง� แวดล้​้อม โดยผู้​้บ� ริ​ิโภคสหรั​ัฐฯ

และยุ​ุโรปเห็​็นว่​่า กล่​่องกระดาษ ขวดแก้​้ว และเหยื​ือกแก้​้ว เป็​็ น บรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ รั​ั ก ษ์​์ โ ลก ขณะที่​่� ผู้​้� บ ริ​ิ โ ภคจี​ี น บราซิ​ิ ล และ อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย ยกให้​้ฟิ​ิล์​์มพลาสติ​ิกชนิ​ิดสลายตั​ัว (Compostable Plastic) หรื​ือรี​ีไซเคิ​ิลได้​้ และบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์กระดาษ เป็​็นบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ รั​ั ก ษ์​์ โ ลก สำำ�หรั​ั บ บรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ ที่​่� เ ป็​็ น โทษต่​่ อ สิ่​่� ง แวดล้​้ อ มใน มุ​ุ ม มองของผู้​้� บ ริ​ิ โ ภคทุ​ุ ก ประเทศ คื​ือ บรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ ที่​่� มี​ี ส่​่ ว น ผสมของพลาสติ​ิก กระดาษ และอลู​ูมิ​ิเนี​ียมฟอยล์​์ อยู่​่�รวมกั​ัน หรื​ือบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์แบบอ่​่อนตั​ัว (Flexible Packaging) อาทิ​ิ ถุ​ุงบรรจุ​ุขนมขบเคี้​้�ยว ถุ​ุงอาหารแช่​่แข็​็ง และถุ​ุงบรรจุ​ุน้ำำ��ยา ทำำ�ความสะอาด เป็​็นต้​้น อย่​่างไรก็​็ตามสุ​ุขอนามั​ัยและความยั่​่�งยื​ืนของ สิ่​่� ง แวดล้​้ อ ม เป็​็ น แนวโน้​้ ม ที่​่� โ ดดเด่​่ น ของ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ในยุ​ุคปั​ัจจุ​ุบั​ัน ผู้​้�ประกอบการไทย ควรก้​้าวให้​้ทั​ันการเปลี่​่�ยนแปลงพฤติ​ิกรรม ของผู้​้�บริ​ิโภค เพื่​่� อสร้​้างจุ​ุดแข็​็งทางการตลาด และคว้​้าโอกาสการเติ​ิบโตของธุ​ุรกิ​ิจ รั​ับจั​ังหวะ การฟื้​้� นตั​ัวของเศรษฐกิ​ิจโลก ด้​้วยการคิ​ิดค้​้น นวั​ัตกรรมบรรจุ​ุ ภั​ั ณฑ์​์ ที่�่ มี​ี ความปลอดภั​ัย สามารถรี​ีไซเคิ​ิลหรื​ือย่​่อยสลายได้​้ และอาจ ใช้​้เทคนิ​ิคการผลิ​ิตจากเม็​็ดพลาสติ​ิกรี​ีไซเคิ​ิล (Post-Consumer Resin) โดยการติ​ิ ด ฉลากว่​่า เป็​็นบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เพื่​่� อความยั่​่�งยื​ืน จะช่​่ ว ยเพิ่​่� มมู​ูลค่​่ า ให้​้ กั​ั บสิ​ิ น ค้​้ า และดึ​ึ ง ดู​ูด ความสนใจจากผู้​้�บริ​ิโภค

ที่​่�มา : ฐานเศรษฐกิ​ิจ

www.thaiprint.org


56

NEWS

กลุ่​่�มไทยเบฟ มอบเงิ​ินสนั​ับสนุ​ุน สถาบั​ันการจั​ัดการบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ และรี​ีไซเคิ​ิลเพื่​่� อสิ่​่�งแวดล้​้อม สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย ภายใต้​้แนวคิ​ิด “บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ไม่​่ใช่​่ขยะ” คั​ัดแยกก่​่อนทิ้​้ง �

คุ​ุณฐาปน สิ​ิริ​ิวั​ัฒนภั​ักดี​ี กรรมการผู้​้�อำำ�นวยการใหญ่​่ บริ​ิษั​ัท ไทยเบฟเวอเรจ จำำ�กัดั (มหาชน) พร้​้อมด้​้วย นายโฆษิ​ิต สุ​ุขสิงิ ห์​์ และนางนงนุ​ุ ช บู​ู ร ณะเศรษฐกุ​ุ ล ได้​้มอบเงิ​ินสนั​ับสนุ​ุนแก่​่ สถาบั​ั น การจั​ั ด การบรรจุ​ุ ภั​ัณฑ์​์ และรี​ี ไซเคิ​ิ ลเพื่​่� อสิ่​่� ง แวดล้​้ อม สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย หรื​ือ TIPMSE ประจำำ�ปี​ี 2564 โดยมี​ี คุ​ุณสุ​ุพั​ันธุ์​์� มงคลสุ​ุธี​ี ประธานสภาอุ​ุตสาหกรรม แห่​่ ง ประเทศไทย คุ​ุ ณ ทวี​ี ปิ​ิ ย ะพั​ั ฒ นา รองประธานอาวุ​ุ โ ส สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย คุ​ุณเกรี​ียงไกร เธี​ียรนุ​ุกุ​ุล, คุ​ุ ณ พิ​ิ ม พ์​์ ใจ ลี้​้� อิ​ิ สส ระนุ​ุ กู​ู ล และคุ​ุ ณ มนตรี​ี มหาพฤกษ์​์ พ งศ์​์ เป็​็นผู้​้�รั​ับมอบ ณ อาคาร CW ทาวเวอร์​์ ชั้​้�น 43 ที่​่�มา : https://www.kaohoon.com/pr/484268

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

สำำ� หรั​ับสถาบั​ันการจั​ัดการบรรจุ​ุ ภั​ั ณฑ์​์ แ ละ รี​ีไซเคิ​ิ ล เพื่​่� อสิ่​่� ง แวดล้​้ อ ม หรื​ือ TIPMSE เป็​็นองค์​์กรไม่​่แสวงหาผลกำำ�ไรที่​่�ก่​่อตั้​้�งโดย มี​ีวั​ัตถุ​ุประสงค์​์เพื่​่� อรณรงค์​์ให้​้ทุ​ุกภาคส่​่วน ร่​่วมกั​ันคั​ัดแยกบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่ใ่� ช้​้แล้​้วออกจาก ขยะตั้​้ง ้ ทาง เพื่​่� อให้​้ปริม ิ าณบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ � แต่​่ต้น � ลอดภั​ัย ในกองขยะทั่​่�วประเทศลดลงด้​้วยวิ​ิธี​ีที่​่ป และเหมาะสม ภายใต้​้แนวคิ​ิด “บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ไม่​่ใช่​่ขยะ” คั​ัดแยกก่​่อนทิ้​้ง �


NEWS

57

โครงการส่​่งเสริ​ิมธุ​ุรกิ​ิจและพั​ั ฒนา เติ​ิบโต SME Regular Level โดย บริ​ิษั​ัท อิ​ินโนเวชั่​่�น พริ้​้�นท์​์ จำำ�กั​ัด บริ​ิษั​ัท อิ​ินโนเวชั่​่�น พริ้​้�นท์​์ จำำ�กั​ัด นำำ�ที​ีมผู้​้�เชี่​่�ยวชาญด้​้านการ ออกแบบบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ลงพื้​้�นที่​่�ให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาด้​้านการออกแบบ พั​ัฒนาผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์และบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ รวมถึงึ การสร้​้างแบรนด์​์ให้​้กับั ผู้​้�ประกอบการ SME ที่​่�ต้อ้ งการพั​ัฒนาบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ให้​้เป็​็น Green Product ในโครงการส่​่งเสริ​ิมธุ​ุรกิ​ิจและพั​ัฒนาเติ​ิบโต SME Regular Level ปี​ี 2564 กิ​ิจกรรมในครั้​้ง� นี้​้�ทางบริ​ิษัทั ฯ ได้​้ลงพื้​้�นที่​่� ให้​้คำำ�ปรึ​ึกษาแก่​่ผู้​้�ประกอบการทั้​้�งหมดจำำ�นวน 15 ราย โดยมี​ี คุ​ุณประสิ​ิทธิ์​์� คล่​่องงู​ูเหลื​ือม และอาจารย์​์มยุ​ุรี​ี ภาคลำำ�เจี​ียก เป็​็นผู้​้�ให้​้คำำ�ปรึ​ึกษา “โครงการส่​่งเสริ​ิมและพั​ั ฒนาธุ​ุรกิ​ิจระดั​ับ เติ​ิบโต (SME Regular Level)” ช่​่วยสร้​้างให้​้ เกิ​ิดมาตรฐานและคุ​ุณภาพในกระบวนการผลิ​ิต หรื​ือสร้​้างมู​ูลค่​่าเพิ่​่� มให้​้แก่​่สิ​ินค้​้าหรื​ือบริ​ิการ รวมทั้​้ง � ผลั​ักดั​ันให้​้ผู้​้�ประกอบการได้​้รั​ับมาตรฐาน สิ​ินค้​้าหรื​ือบริ​ิการที่​่�เป็​็นที่​่�ยอมรั​ับ www.thaiprint.org


58

INTERVIEW

สั​ัมภาษณ์​์พิ​ิเศษ คุ​ุณเกรี​ียงไกร เธี​ียรนุ​ุกุ​ุล หนุ​ุน Made in Thailand หลั​ังโควิ​ิด โดย ประชาชาติ​ิธุ​ุรกิ​ิจ

วิ​ิกฤตโควิ​ิด-19 ครั้​้�งนี้​้�ทำำ�ให้​้หลายประเทศต้​้องหั​ันกลั​ับ มารื้​้�อโครงสร้​้างภายในประเทศกั​ันใหม่​่ อย่​่างไทยพึ่​่� งพา การส่​่งออกคิ​ิดเป็​็นสั​ัดส่​่วน 70% ของจี​ีดี​ีพี​ี เป็​็นฐาน การผลิ​ิ ตข องโลก แต่​่ ต้​้ อ งพึ่​่� งพาการนำำ� เข้​้ า ชิ้​้� น ส่​่ ว น บางอย่​่างจากจี​ีน เมื่​่�อถึ​ึงวั​ันที่​่�จี​ีนประสบปั​ัญหาวิ​ิกฤต

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

จนต้​้ อ งปิ​ิ ด ประเทศ เกิ​ิ ด ผลที่​่� ต ามมาอย่​่ า งไม่​่ ค าดคิ​ิ ด “ น า ย เ ก รี​ี ย ง ไ ก ร เ ธี​ี ย ร นุ​ุ กุ​ุ ล ” ร อ ง ป ร ะ ธ า น ส ภ า อุ​ุ ต สาหกรรมแห่​่ ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) และประธาน คณะอนุ​ุกรรมการฟื้​้� นฟู​ู หลั​ัง COVID-19 ได้​้กล่​่าวถึ​ึง แผนฟื้​้� นฟู​ูของภาคอุ​ุตสาหกรรมไว้​้ดั​ังนี้​้�


INTERVIEW

59

3 แผนฟื้​้� นอุ​ุตสาหกรรม

เมื่​่�อการระบาดเริ่​่�มคลี่​่�คลาย แน่​่นอนว่​่าแต่​่ละประเทศจะเข้​้าสู่​่� มาตรการปกป้​้องตั​ัวเองมากขึ้​้�น ทุ​ุกประเทศจะดึ​ึงการลงทุ​ุน กลั​ับประเทศมากที่​่�สุ​ุด เพื่​่�อให้​้มี​ีการจ้​้างงาน ลดการตกงาน เช่​่นเดี​ียวกั​ันกั​ับไทยที่​่�ต้​้องใช้​้นโยบายสนั​ับสนุ​ุนสิ​ินค้​้าที่​่�ผลิ​ิต ในประเทศ หรื​ือ Made in Thailand เหมื​ือนที่​่�หลายประเทศ เริ่​่�มทำำ�กั​ันแล้​้วอย่​่างไต้​้หวั​ัน ดั​ังนั้​้�น แผนฟื้​้�นฟู​ูแรกคื​ือ การทำำ� Made in Thailand ซึ่​่ง� ได้​้เสนอกั​ับกรมบั​ัญชี​ีกลางในการปรั​ับปรุ​ุง ระเบี​ียบจั​ัดซื้​้อ� จั​ัดจ้า้ ง ให้​้เพิ่​่�มแต้​้มต่​่อในด้​้านการซื้​้อ� สิ​ินค้​้าที่​่�ผลิติ ในประเทศไทยมากขึ้​้�น ในระยะกลาง 3-5 ปี​ี ระหว่​่างนี้​้�ผู้​้�ผลิ​ิต ในประเทศจะได้​้มี​ีเวลาพั​ัฒนาสิ​ินค้​้าตั​ัวเองให้​้ดี​ีขึ้​้�นด้​้วย

ต่​่อมาคื​ือ แผนเน้​้นการพั​ัฒนาห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิต ต้​้นน้ำำ��-ปลายน้ำำ�� ตลอดซั​ั พพ ลายเชน เนื่​่� อ งจากอุ​ุ ต สาหกรรมต่​่ า ง ๆ ได้​้ รั​ั บ ผลกระทบจาก trade war เมื่​่� อ ปี​ี ที่​่� ผ่​่ า นมา และยั​ั ง ได้​้ รั​ั บ ผลกระทบอย่​่ า งหนั​ั ก จากการระบาดของไวรั​ั ส โควิ​ิ ด -19 ทำำ�ให้​้ขาดชิ้​้�นส่​่วนหรื​ือวั​ัตถุ​ุดิ​ิบที่​่�ต้​้องนำำ�เข้​้าจากต่​่างประเทศ จากการปิ​ิดประเทศ lock down ของจี​ีน จึ​ึงเป็​็นที่​่�มาของ deglobalization หรื​ือการหั​ั น กลั​ั บ มาพั​ั ฒ นาสิ่​่� ง ของหรื​ือ วั​ัตถุ​ุดิ​ิบใช้​้เองในประเทศ

www.thaiprint.org


60

INTERVIEW

นอกจากนี้​้� กรณี​ี trade war รอบ 2 ทำำ�ให้​้เกิ​ิดผลกระทบเป็​็น วงกว้​้าง ดั​ังนั้​้�น การจะทำำ�ให้​้ซัพพ ั ลายเชนในประเทศกลั​ับมาได้​้ คื​ือ การพั​ัฒนาห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิตตั้​้ง� แต่​่ต้น้ น้ำำ�� ไปยั​ังปลายน้ำำ�� โดยต้​้องสร้​้าง “ความมั่​่�นคงทางด้​้านซั​ัพพลายเชนของอุ​ุตสาหกรรมไทย” ขึ้​้� น มาให้​้ ไ ด้​้ เ ตรี​ี ย มเสนอให้​้ ภ าครั​ั ฐ ชดเชยเรื่​่� อ งการให้​้ สิ​ิ ท ธิ​ิ ประโยชน์​์พิ​ิเศษ เหมื​ือนกั​ับที่​่�ลงทุ​ุนในพื้​้�นที่​่�เขตพั​ัฒนาพิ​ิเศษ ภาคตะวั​ันออก (EEC) จะเป็​็นในรู​ูปแบบของภาษี​ี หรื​ืออะไร ก็​็ตาม เช่​่น อาจตั้​้�งเป็​็นนิ​ิคมอุ​ุตสาหกรรมที่​่�เป็​็นหนึ่​่�งธี​ีมเกี่​่�ยวกั​ับ ที่​่�เป็​็นธี​ีมซั​ัพพลายเชนโดยตรง เพื่​่�อเป็​็นซั​ัพพลายให้​้กั​ับกลุ่​่�ม อุ​ุตสาหกรรมต่​่าง ๆ ที่​่�ได้​้รั​ับการอนุ​ุมั​ัติ​ิส่​่งเสริ​ิม ซึ่​่�งระหว่​่างนี้​้� ต้​้องทำำ�ค่​่าเฉลี่​่�ยว่​่าแต่​่ละอุ​ุตสาหกรรม ต้​้องการการชดเชยกี่​่� เปอร์​์เซ็​็นต์​์ เพื่​่อ� ให้​้รัฐั สนั​ับสนุ​ุนที่​่�เราผลิ​ิตได้​้เอง หากสิ​ิทธิ​ิประโยชน์​์ จากสำำ�นั​ักงานคณะกรรมการส่​่งเสริ​ิมการลงทุ​ุน (บี​ีโอไอ) ไม่​่พอ จะเป็​็นสิ​ิทธิ​ิประโยชน์​์จาก EEC ก็​็ได้​้

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

การพั​ัฒนาห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิตตั้​้�งแต่​่ ต้​้นน้ำำ�� ไปยั​ังปลายน้ำำ�� โดยต้​้องสร้​้าง “ความมั่​่�นคงทางด้​้านซั​ัพพลายเชน ของอุ​ุตสาหกรรมไทย” ขึ้​้�นมาให้​้ได้​้ เตรี​ียมเสนอให้​้ภาครั​ัฐชดเชย � งการให้​้สิทธิ เรื่​่อ ิ ป ิ ระโยชน์​์พิ​ิเศษ � งทุ​ุนในพื้​้� นที่​่เ� ขต เหมื​ือนกั​ับที่​่ล พั​ัฒนาพิ​ิ เศษภาคตะวั​ันออก (EEC) จะเป็​็นในรู​ูปแบบของภาษี​ี


INTERVIEW

61

ลดนำำ�เข้​้าชิ้​้น � ส่​่วนต่​่างชาติ​ิ

ส.อ.ท. ได้​้สำำ�รวจสมาชิ​ิก 45 กลุ่​่�ม 11 คลั​ัสเตอร์​์ ถึ​ึงสั​ัดส่ว่ นการลด การนำำ�เข้​้า เช่​่น กลุ่​่�มเครื่​่อ� งปรั​ับอากาศ ปั​ัจจุ​ุบันั นำำ�เข้​้าชิ้​้น� ส่​่วน 30% ถ้​้าใช้​้แผนนี้​้�ในอี​ีก 3-5 ปี​ี จะลดการนำำ�เข้​้าได้​้เหลื​ือเพี​ียง 20% และในอี​ีก 10 ปี​ี สามารถลดการนำำ�เข้​้าเหลื​ือไม่​่เกิ​ิน 10% ได้​้ “ในช่​่วงที่​่�จีนี ปิ​ิดประเทศ เราไม่​่สามารถนำำ�เข้​้าชิ้​้น� ส่​่วนมาได้​้เลย ดั​ังนั้​้�น เพื่​่อ� ไม่​่ให้​้เกิ​ิดปัญ ั หานี้​้�ในอนาคต เราต้​้องพึ่​่ง� ตั​ัวเองผลิ​ิตเอง ลดการ นำำ�เข้​้าให้​้ได้​้ ถึ​ึงจะเป็​็นแผนระยะยาว แต่​่ต้​้องเริ่​่�มตั้​้�งแต่​่ตอนนี้​้�”

แผนสุ​ุดท้​้าย คื​ือ การส่​่งเสริ​ิมการใช้​้เทคโนโลยี​ีในภาคเกษตร และอาหาร ในขณะที่​่� ก ารส่​่ ง ออกและการท่​่ อ งเที่​่� ย วได้​้ รั​ั บ ผลกระทบเป็​็ น อย่​่ า งมาก ส่​่ ง ผลให้​้ เ กิ​ิ ดปั​ั ญ หาการจ้​้ า งงาน แต่​่ประเทศไทยมี​ีต้​้นทุ​ุนที่​่�ดี​ีมากคื​ือ ความหลากหลายทาง ชี​ีวภาพ ดั​ังนั้​้�น อุ​ุตสาหกรรม bioeconomy การทำำ�เกษตร แปรรู​ูป เกษตรเพิ่​่�มมู​ูลค่​่า จะเป็​็นสิ่​่�งที่​่�ตรงกั​ับคนไทยมากที่​่�สุ​ุด และเป็​็นความต้​้องการของโลกด้​้วย 6 อุ​ุตสาหกรรมเป้​้าหมาย

6 อุ​ุตสาหกรรมเป้​้าหมายที่​่�จะมาแรงในอนาคต คื​ือ อุ​ุตสาหกรรม ดิ​ิจิ​ิทั​ัล เนื่​่�องจากโควิ​ิด-19 เข้​้ามาเร่​่งปรากฏการณ์​์ digitalize ภาคการค้​้า การบริ​ิการมากขึ้​้�น ทำำ�ให้​้เกิ​ิดพฤติ​ิกรรมซื้​้�อขาย ออนไลน์​์ช่ว่ ง WFH, อุ​ุตสาหกรรมเกี่​่ย� วกั​ับสุ​ุขภาพ จากที่​่�ทุกุ ส่​่วน หั​ันมาดู​ูแลสุ​ุขภาพมากขึ้​้�น ความสำำ�เร็​็จของการจั​ัดการการแพร่​่ ระบาด เป็​็นโอกาสในการพั​ัฒนาอุ​ุตสาหกรรมเครื่​่�องมื​ือแพทย์​์ อุ​ุตสาหกรรมโลจิ​ิสติ​ิกส์​์จะมี​ีส่ว่ นสำำ�คัญ ั ในการจั​ัดการขนส่​่งสิ​ินค้​้า ทั้​้�งจากตลาดทางออนไลน์​์ ราคาปลี​ีก อุ​ุตสาหกรรมหุ่​่�นยนต์​์ มาเสริ​ิมศั​ักยภาพในงานด้​้านต่​่าง ๆ และอุ​ุตสาหกรรมเศรษฐกิ​ิจ ชี​ีวภาพช่​่วยต่​่อยอดเพิ่​่�มมู​ูลค่​่าสิ​ินค้​้าเกษตรของไทย www.thaiprint.org


62 INDUSTRIAL

รู้​้�ทั​ันเทรนด์​์กล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ กล่​่องแพคเกจจิ้​้ง � ที่​่�มาแรงในปี​ี 2021-2022

� ปั​ัจจั​ัยที่​่�จะส่​่งผลให้​้ กล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ หนึ่​่ง ภาพลั​ักษณ์​์ของสิ​ินค้​้าดี​ีขึ้​้�น กระแสของบรรจุ​ุ ภั​ั ณ ฑ์​์ ป ระเภทกล่​่ อ งในตอนนี้​้� ถื​ื อว่​่ า ได้​้ รั​ั บ ความนิ​ิยมอย่​่างมาก เพราะในปั​ัจจุ​ุบั​ันคนไทยส่​่วนมากหั​ันมา ทำำ�ธุรุ กิ​ิจส่ว่ นตั​ัวกันั เยอะจากค่​่านิ​ิยมที่​่�อยากเป็​็นนายของตั​ัวเอง ด้​้วยเหตุ​ุนี้​้�จึ​ึงทำำ�ให้​้เกิ​ิดผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์สิ​ินค้​้าขึ้​้�นมาใหม่​่อยู่​่�เรื่​่�อยๆ ทั้​้�งเครื่​่อ� งสำำ�อาง, ครี​ีมบำำ�รุงุ ผิ​ิว, อาหารเสริ​ิม, เครื่​่อ� งดื่​่ม� , ของหวาน, อาหารคาว ฯลฯ และหนึ่​่ง� ในปั​ัจจัยั ที่​่�ต้อ้ งมี​ีอยู่​่�ในการธุ​ุรกิ​ิจ ก็​็คื​ือ กล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�จะเป็​็นตั​ัวช่​่วยให้​้สิ​ินค้​้าผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ดู​ูดี​ีมี​ีราคา เพิ่​่�มมากขึ้​้�น ฉะนั้​้�นแล้​้วกล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์จึ​ึงเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งปั​ัจจั​ัย ที่​่�จะส่​่งผลให้​้ภาพลั​ักษณ์​์ของสิ​ินค้​้าดี​ีขึ้​้�น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

เนื่​่�องจากกล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์หรื​ือกล่​่องแพคเกจจิ้​้�งสามารถนำำ�ไป ใช้​้ได้​้กั​ับสิ​ินค้​้าหลากหลายประเภทและตั​ัวกล่​่องเองนั้​้�นก็​็ยั​ังมี​ี รู​ูปแบบให้​้เลื​ือกมากมาย ซึ่​่�งการเลื​ือกเพื่​่�อนำำ�มาบรรจุ​ุนั้​้�นก็​็ยั​ัง มี​ีเทรนที่​่�เป็​็นกระแสการดี​ีไซน์​์ ออกแบบอยู่​่�เรื่​่�อยๆ โดยกระแส ของการออกแบบกล่​่องแพคเกจจิ้​้�งนั้​้�นก็​็จะขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับกระแส ของสั​ังคมหรื​ือเทรนแฟชั่​่�นในแต่​่ละช่​่วงแต่​่ละสมั​ัย และวั​ันนี้​้� เราจะมาดู​ูว่​่าในปี​ีนี้​้�มี​ีเทรนของกล่​่องอะไรบ้​้างที่​่�มาแรง


INDUSTRIAL 63

เทรนด์​์กล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ กล่​่องแพคเกจจิ้​้�ง ที่​่�นิ​ิยมเลื​ือกใช้​้ กล่​่องแบบฝาเสี​ียบ หรื​ือก้​้นเสี​ียบ

กล่​่องแพคเกจจิ้​้�งชนิ​ิดนี้​้ถื​ื� อว่​่ากำำ�ลังั ได้​้รับั ความนิ​ิยมเป็​็นอย่​่างมาก เนื่​่�องด้​้วยการดี​ีไซน์​์ที่​่�ออกมาให้​้มี​ีความสอดคลอดกั​ันทั้​้�งการ จั​ัดเก็​็บและการใช้​้งาน กล่​่องรู​ูปทรงนี้​้�ถื​ือว่​่ามี​ีต้​้นทุ​ุนที่​่�ประหยั​ัด เพราะใช้​้กระดาษที่​่�พิ​ิมพ์​์เป็​็นชุ​ุดเดี​ียว ปะกาวแล้​้วสามารถ ใช้​้งานได้​้ทั​ันที​ี ซึ่​่�งรู​ูปแบบที่​่�เป็​็นเอกลั​ักษณ์​์อี​ีกอย่​่างคื​ือ สามารถ นำำ�เอาวั​ัสดุมุ าใช้​้ประกอบได้​้หลากหลาย เพิ่​่�มลวดลายพิ​ิมพ์​์ดีไี ซน์​์ ลงไปบนกล่​่องได้​้เลยแถมยั​ังมี​ีตั​ัวล็​็อกมาให้​้เพื่​่�อความปลอดภั​ัย ของสิ​ินค้​้าที่​่�อยู่​่�ภายใน กล่​่องรู​ูปทรงสไลด์​์

สาเหตุ​ุที่​่�กล่​่องแพคเกจจิ้​้�งประเภทนี้​้�ยั​ังได้​้รั​ับความนิ​ิยมอยู่​่�ต่​่อ เนื่​่�องก็​็เพราะเป็​็นกล่​่องที่​่�สามารถนำำ�ไปใส่​่ของได้​้หลายอย่​่าง ทั้​้�งอาหาร, ขนมหวาน, รวมไปถึงึ ของใช้​้ โดยส่​่วนมากเราจะพบเห็​็น ได้​้จากการนำำ�เอาไปบรรจุ​ุเป็​็นกล่​่องปากกา โดยลั​ักษณะเด่​่น จะอยู่​่�ที่​่� รู​ูป แบบกล่​่ อ งจะเป็​็ น แบบสไลด์​์ เ ปิ​ิ ด -ปิ​ิ ด จึ​ึงทำำ� ให้​้ ถู​ูกนำำ�มาเป็​็นของขวั​ัญระดั​ับพรี​ีเมี​ียม เรี​ียบหรู​ู ดู​ูดี​ี มี​ีสไตล์​์ กล่​่องทรงหกเหลี่​่�ยม

บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์รู​ูปทรงนี้​้�อาจจะมี​ีให้​้เห็​็นกั​ันมานานแล้​้ว แต่​่ก็​็กำำ�ลั​ัง กลั​ับมาเป็​็นที่​่�นิ​ิยมได้​้รั​ับความสนใจอี​ีกครั้​้�ง เพราะด้​้วยรู​ูปแบบ ของมั​ันที่​่�ดู​ูเป็​็นเหลี่​่�ยมคมชั​ัด โดยส่​่วนมากแล้​้วจะนิ​ิยมนำำ�มาเป็​็น บรรจุ​ุ ขนม หรื​ือสิ​ินค้​้าเครื่​่�องสำำ�อางเป็​็นหลั​ัก กล่​่องไดคั​ัทรู​ูปทรงตามใจชอบ

ปิ​ิดท้​้ายกั​ันด้​้วยกล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์แบบไดคั​ัท เหตุ​ุที่​่�กล่​่องแบบนี้​้� กำำ�ลั​ั ง ได้​้ รั​ั บ ความนิ​ิ ย มก็​็ เ พราะลู​ูกค้​้ า และกราฟิ​ิ ก สามารถ ออกแบบดี​ี ไซน์​์ กล่​่ องเองได้​้ แบบไม่​่จำำ�กั​ัดความคิ​ิดยิ่​่� งไอเดี​ี ย บรรเจิ​ิด ก็​็จะยิ่​่ง� ทำำ�ให้​้กล่​่องดี​ีน่า่ สนใจมากยิ่​่ง� ขึ้​้น� แถมราคาต้​้นทุ​ุน ในการผลิ​ิตก็​็ไม่​่สู​ูงมากเหมาะกั​ับผู้​้�ประกอบการมื​ือใหม่​่ที่​่�กำำ�ลั​ัง จะเริ่​่�มทำำ�ธุ​ุรกิ​ิจ

หนึ่​่�งในปั​ัจจั​ัยที่​่�ต้​้องมี​ีอยู่​่�ในการธุ​ุรกิ​ิจ ก็​็คื​ือ กล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ ที่​่�จะเป็​็นตั​ัวช่​่วยให้​้สิ​ินค้​้าผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ดู​ูดี​ีมี​ีราคาเพิ่​่� มมากขึ้​้�น ฉะนั้​้�นแล้​้วกล่​่องบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์จึ​ึงเป็​็นอี​ีกหนึ่​่�งปั​ัจจั​ัย ที่​่�จะส่​่งผลให้​้ภาพลั​ักษณ์​์ของสิ​ินค้​้าดี​ีขึ้​้�น ที่​่�มา : www.thaiprintshop.com

www.thaiprint.org


64 KNOWLEDGE

10 เทคนิ​ิคสร้​้าง Personal Brand

แบรนด์​์ที่​่�แข็​็งแกร่​่งโดดเด่​่นในฝู​ูงชน และได้​้รั​ับยอดขายเพิ่​่� มขึ้​้�น นำำ�เสนอโดย ธี​ีรพงศ์​์ ประดิ​ิษฐ์​์กุ​ุล

การสร้​้ า งแบรนด์​์ คื​ือ สิ่​่� ง ที่​่� ทุ​ุ ก ธุ​ุ ร กิ​ิ จ ให้​้ ความสำำ�คั​ั ญ สิ่​่� ง นี้​้� ส ะท้​้ อ นให้​้ เ ห็​็ น ในวิ​ิ ธี​ี การ ทำำ�งานขององค์​์กร, วิ​ิธี​ีการให้​้บริ​ิการผู้​้�คน, คุ​ุ ณ ค่​่ า ที่​่� บ ริ​ิ ษั​ัท แบ่​่ ง ปั​ัน และวิ​ิ ธี​ี ที่​่� บ ริ​ิ ษั​ัท กำำ�หนดคุ​ุณค่​่าเหล่​่านั้​้�น แบรนด์​์ที่�่แข็​็งแกร่​่ง โดดเด่​่นในฝู​ูงชนและได้​้รั​ับยอดขายเพิ่​่� มขึ้​้�น การรั​ับรู้​้�ที่​่�เพิ่​่� มขึ้​้�นและส่​่งผลให้​้ประสบการณ์​์ ของลู​ูกค้​้าดี​ีขึ้​้�น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

Personal Brand คื​ืออะไร แบรนด์​์ ส่​่ ว นบุ​ุ ค คลมี​ีความคล้​้ า ยคลึ​ึ ง กั​ับ แบรนด์​์องค์​์กรในหลาย ๆ ด้​้าน คุ​ุณเป็​็นใคร, สิ่​่� งที่​่�คุ​ุณยื​ืนหยั​ัดเพื่​่� อคุ​ุ ณ ค่​่ าที่​่� คุ​ุณยอมรั​ับ และวิ​ิธี​ีที่​่�คุ​ุณแสดงออกถึ​ึงคุ​ุณค่​่าเหล่​่านั้​้�น เช่​่ น เดี​ียวกั​ับที่​่� แ บรนด์​์ ข องบริ​ิ ษั​ัท ช่​่ ว ยใน การสื่​่�อสารคุ​ุณค่​่าให้​้กั​ับลู​ูกค้​้าและโดดเด่​่น กว่​่าคู่​่�แข่​่ง


KNOWLEDGE 65

เคล็​็ดลั​ับ 10 ประการในการพั​ั ฒนาแบรนด์​์ส่​่วนตั​ัวของคุ​ุณ 1. คิ​ิดให้​้ออกว่​่าคุ​ุณเป็​็นใคร

7. โอบกอดเครื​ือข่​่าย

ในการสร้​้างแบรนด์​์ส่ว่ นบุ​ุคคลที่​่�จะสะท้​้อนตั​ัวตนส่​่วนบุ​ุคคลและ ความเป็​็นมื​ืออาชี​ีพอย่​่างถู​ูกต้​้อง ก่​่อนอื่​่น� คุ​ุณต้​้องรู้​้�ว่า่ คุ​ุณเป็​็นใคร สร้​้างจุ​ุดแข็​็งและจุ​ุดอ่อ่ นของคุ​ุณ ตระหนั​ักว่​่าแบรนด์​์ส่ว่ นบุ​ุคคล ของคุ​ุณและแบรนด์​์องค์​์กรจำำ�นวนมากจะเปลี่​่�ยนไปเมื่​่�ออาชี​ีพ ของคุ​ุณเติ​ิบโตขึ้​้�น กลยุ​ุทธ์​์ที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดคื​ือการเลื​ือกพื้​้�นที่​่�เฉพาะที่​่� คุ​ุณต้​้องการเน้​้นและปล่​่อยให้​้มั​ันพั​ัฒนาไปเรื่​่�อย ๆ

สิ่​่ง� สำำ�คัญั คื​ือ ต้​้องสร้​้างเครื​ือข่​่ายอย่​่างสม่ำำ�� เสมอและมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ เพื่​่�อขยายวงวิ​ิชาชี​ีพของคุ​ุณ เชื่​่�อมต่​่อกั​ับเพื่​่�อนร่​่วมงานและ ผู้​้�นำำ�ทางความคิ​ิดในอุ​ุตสาหกรรมโดยไปที่​่�กิ​ิจกรรมเครื​ือข่​่ายที่​่� เป็​็นทางการและไม่​่เป็​็นทางการ ยิ่​่�งคุ​ุณสร้​้างความสั​ัมพั​ันธ์​์และ ให้​้ คุ​ุ ณ ค่​่ า มากขึ้​้� น ในการโต้​้ ต อบ ก็​็ จ ะยิ่​่� ง มี​ี โ อกาสที่​่� แ บรนด์​์ ส่​่วนบุ​ุคคลของคุ​ุณจะได้​้รั​ับการยอมรั​ับมากขึ้​้�นเท่​่านั้​้�น ที่​่�สำ�คั ำ ัญ ยั​ังสามารถพั​ัฒนาอาชี​ีพของคุ​ุณได้​้อี​ีกด้​้วย

2. กำำ�หนดสิ่​่�งที่​่�คุ​ุณต้​้องการให้​้เป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ัก

แบรนด์​์ส่​่วนตั​ัวของคุ​ุณเป็​็นมากกว่​่าภาพสะท้​้อนว่​่าคุ​ุณเป็​็นใคร ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ประเมิ​ินจุ​ุดแข็​็งและจุ​ุดอ่​่อนของคุ​ุณว่​่าเกี่​่�ยวข้​้อง กั​ับอุ​ุตสาหกรรมใดหรื​ืออาชี​ีพใดที่​่�คุ​ุณต้​้องการเจาะลึ​ึกต่​่อไป การทำำ�เช่​่นนี้​้�จะทำำ�ให้​้คุ​ุณได้​้ค้​้นพบทั​ักษะและลั​ักษณะเฉพาะ ที่​่�ทำำ�ให้​้คุ​ุณแตกต่​่าง รวมถึ​ึงสิ่​่�งที่​่�คุ​ุณต้​้องปรั​ับปรุ​ุงหรื​ือได้​้รั​ับ ความรู้​้�ใหม่​่ ๆ เพื่​่�อที่​่�จะก้​้าวไปข้​้างหน้​้า

8. ขอคำำ�แนะนำำ�

อาจปลู​ูกฝั​ั ง บทวิ​ิ จ ารณ์​์ ข องลู​ูกค้​้ า และคำำ�รั​ั บ รองเพื่​่� อ ใช้​้ ใ น การขายและการตลาด คุ​ุณควรปลู​ูกฝั​ังบทวิ​ิจารณ์​์ของคุ​ุณเอง ในรู​ูปแบบคำำ�แนะนำำ�

3. กำำ�หนดผู้​้�ชมของคุ​ุณ

ยิ่​่�งคุ​ุณกำำ�หนดผู้​้�ชมได้​้เร็​็วเท่​่าไหร่​่ การสร้​้างเรื่​่�องราวของคุ​ุณ ก็​็จะง่​่ายขึ้​้�นเท่​่านั้​้�น เพราะคุ​ุณจะเข้​้าใจประเภทของเรื่​่�องราว ที่​่�คุ​ุณต้​้องการเล่​่าได้​้ดี​ีขึ้​้�น 4. ศึ​ึกษาสิ่​่�งที่​่�คุณ ุ ต้​้องการและติ​ิดตามผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ

มองหาคนที่​่�ประสบความสำำ�เร็​็จและตรวจสอบสิ่​่�งที่​่�พวกเขา กำำ�ลั​ั ง ทำำ� หลั​ั ง จากนั้​้� น เลี​ี ย นแบบพวกเขาแล้​้ วทำำ�สิ่​่� ง ที่​่� ดี​ี ก ว่​่ า เพราะเป้​้าหมายของคุ​ุณคื​ือความโดดเด่​่น 5. รวบรวมข้​้อมู​ูล

อย่​่ากลั​ัวที่​่�จะถามใครก็​็ตามที่​่�คุ​ุณสนใจ เรี​ียนรู้​้�เพิ่​่�มเติ​ิมจาก พวกเขา คุ​ุณต้​้องประหลาดใจกั​ับความเป็​็นคนจริ​ิงใจและมี​ีน้ำำ��ใจ และเมื่​่�อคุ​ุณพบกั​ับบุ​ุคคลเหล่​่านี้​้� ให้​้ถามคำำ�ถามที่​่�สามารถช่​่วย ให้​้คุ​ุณได้​้รั​ับข้​้อมู​ูลเชิ​ิงลึ​ึกใหม่​่ๆเกี่​่�ยวกั​ับสิ่​่�งที่​่�คุ​ุณต้​้องการ 6. เตรี​ียมสคริ​ิปต์​์

คุ​ุณต้​้องคิ​ิดสิ่​่ง� ที่​่�สั้​้น� และกระชั​ับในเรื่​่อ� งราวที่​่�จะเล่​่า ซึ่​่ง� จะกำำ�หนด คุ​ุณลั​ักษณะของคุ​ุณในแง่​่ที่​่�ถู​ูกต้​้อง โดยเน้​้นในสิ่​่�งที่​่�ควรจะเน้​้น เท่​่านั้​้�น ไม่​่ยื​ืดเยื้​้�อ

9. เพิ่​่� มสถานะออนไลน์​์ของคุ​ุณ

สิ่​่� ง ที่​่� สำำ�คั​ั ญ ที่​่� สุ​ุ ด อย่​่ า งหนึ่​่� ง ของการสร้​้ า งแบรนด์​์ ส่​่ ว นบุ​ุ ค คล คื​ือ การทำำ�ให้​้ตั​ัวตนออนไลน์​์ข องคุ​ุณ มี​ีส่​่วนร่​่วมตลอดเวลา ด้​้วยเครื่​่�องมื​ือโซเชี​ียลมี​ีเดี​ียที่​่�หลากหลายในปั​ัจจุ​ุบั​ัน การแสดง ตั​ัวตนออนไลน์​์ของคุ​ุณอาจดู​ูแตกต่​่างกั​ันไปตามสื่​่�อที่​่�คุ​ุณเลื​ือก แม้​้ว่​่าเรื่​่�องราวของคุ​ุณควรจะตรงกั​ันในทุ​ุกแพลตฟอร์​์ม แต่​่เมื่​่�อคุ​ุณรู้​้�แล้​้วว่​่ากลุ่​่�มเป้​้าหมายของคุ​ุณมี​ีแนวโน้​้มที่​่�จะหั​ันไป ทางไหนมากที่​่�สุ​ุด คุ​ุณสามารถเพิ่​่�มความพยายามในการเล่​่า เรื่​่�องราวที่​่�ดีที่​่ี �สุ​ุดของคุ​ุณได้​้อี​ีกครั้​้�ง เคล็​็ดลั​ับเฉพาะแพลตฟอร์​์มที่​่�จะช่​่วยคุ​ุณสร้​้างแบรนด์​์ส่​่วนตั​ัว ออนไลน์​์ได้​้อย่​่างมี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ ได้​้แก่​่ www.thaiprint.org


66 KNOWLEDGE

เคล็​็ดลั​ับ 10 ประการ

ในการพั​ั ฒนาแบรนด์​์ส่​่วนตั​ัวของคุ​ุณ 1. คิ​ิดให้​้ออกว่​่าคุ​ุณเป็​็นใคร 2. กำำ�หนดสิ่​่�งที่​่�คุ​ุณต้​้องการให้​้เป็​็นที่​่�รู้​้�จั​ัก 3. กำำ�หนดผู้​้�ชมของคุ​ุณ 4. ศึ​ึกษาสิ่​่ง � ที่​่�คุ​ุณต้​้องการ และติ​ิดตามผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ 5. รวบรวมข้​้อมู​ูล 6. เตรี​ียมสคริ​ิปต์​์ 7. โอบกอดเครื​ือข่​่าย 8. ขอคำำ�แนะนำำ� 9. เพิ่​่� มสถานะออนไลน์​์ของคุ​ุณ 10. จำำ�ไว้​้ว่​่าแบรนด์​์ส่​่วนตั​ัวของคุ​ุณ ไม่​่ได้​้อยู่​่�บนออนไลน์​์เท่​่านั้​้�น

• LinkedIn ทำำ�หน้​้าที่​่�เป็​็นเครื่​่�องมื​ือโซเชี​ียลมี​ีเดี​ียระดั​ับมื​ืออาชี​ีพและเป็​็น เว็​็บไซต์​์ที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดสำำ�หรั​ับการกำำ�หนดแบรนด์​์ของคุ​ุณ วิ​ิธี​ีที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุด ในการใช้​้เครื​ือข่​่ายนี้​้�คื​ือการเข้​้าร่​่วมกลุ่​่�ม แนะนำำ�ตั​ัวกั​ับคนที่​่�คุ​ุณ สนใจ ขอและให้​้คำำ�แนะนำำ� • Twitter ใช้​้ประโยชน์​์จากแพลตฟอร์​์มนี้​้�เพื่​่อ� เน้​้นและต่​่อยอดความเชี่​่ย� วชาญ ในอุ​ุตสาหกรรมของคุ​ุณ พยายามรวมแบรนด์​์ส่​่วนตั​ัวของคุ​ุณไว้​้ ในประวั​ัติ​ิ Twitter โดยใช้​้แฮชแท็​็กเพื่​่�อมุ่​่�งเน้​้นไปที่​่�กลุ่​่�มเฉพาะ ของคุ​ุณ ติ​ิดตามผู้​้�นำำ�ในสาขาของคุ​ุณและรี​ีทวี​ีตเรื่​่อ� งราว อย่​่าลื​ืม ว่​่าสิ่​่�งที่​่�คุ​ุณทวี​ีตยั​ังคงเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของภาพออนไลน์​์ของคุ​ุณ • เว็​็บไซต์​์ส่​่วนตั​ัว หรื​ือ portfolio หากคุ​ุณอยู่​่�ในสายงานด้​้านการตลาดหรื​ือการออกแบบ สิ่​่ง� สำำ�คัญ ั อย่​่ า งยิ่​่� ง คื​ือ การมี​ี เว็​็ บ ไซต์​์ ห รื​ื อ พอร์​์ ต โฟลิ​ิ โ อส่​่ ว นตั​ั ว ที่​่� ใ ห้​้ ข้​้อมู​ูลที่​่�จำำ�เป็​็นเกี่​่�ยวกั​ับตั​ัวคุ​ุณและช่​่วยเน้​้นให้​้เห็​็นงาน คุ​ุณ สามารถสร้​้างไซต์​์ของคุ​ุณเองโดยใช้​้ Squarespace, Wix หรื​ือ WordPress และอื่​่�น ๆ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

แบรนด์​์ขนาดเล็​็กและเจ้​้าของธุ​ุรกิ​ิจยั​ังสามารถใช้​้ประโยชน์​์ จากแหล่​่งข้​้อมู​ูลการออกแบบที่​่�เป็​็นประโยชน์​์ เช่​่น เทมเพลต โลโก้​้ของ Canva และ Venngage เพื่​่�อเริ่​่�มต้​้นสร้​้างเนื้​้�อหา เฉพาะสำำ�หรั​ับแบรนด์​์ 10. จำำ� ไว้​้ ว่​่ า แบรนด์​์ ส่​่ ว นตั​ั ว ของคุ​ุ ณ ไม่​่ ไ ด้​้ อ ยู่​่� บ น ออนไลน์​์เท่​่านั้​้�น

แบรนด์​์ของคุ​ุณเป็​็นมากกว่​่าตั​ัวตนบนโลกออนไลน์​์ เป็​็นวิ​ิธีที่​่ี คุ� ณ ุ พกพาไปที่​่�บ้า้ น ที่​่�ทำำ�งาน และแม้​้กระทั่​่�งในการเดิ​ินทางประจำำ�วันั โดยเรื่​่อ� งราวที่​่�คุณ ุ เล่​่า รวมกั​ับการโต้​้ตอบในชี​ีวิติ ประจำำ�วันั เหล่​่านั้​้�น จะกำำ�หนดแบรนด์​์ส่​่วนตั​ัวของคุ​ุณในที่​่�สุ​ุด เมื่​่�อระบบนิ​ิเวศดิ​ิ จิ​ิทั​ัลเปลี่​่�ยนไปและอาชี​ี พของคุ​ุณก็​็พั​ัฒนา ไปเรื่​่�อย ๆ แบรนด์​์ส่​่วนบุ​ุคคลของคุ​ุณก็​็เช่​่นกั​ัน ปรั​ับบุ​ุคลิ​ิกของ คุ​ุณให้​้เหมาะสมเมื่​่�อคุ​ุณพบผู้​้�คนที่​่�แตกต่​่างกั​ัน ค้​้นหาโอกาสใน การสร้​้างเครื​ือข่​่ายใหม่​่ ๆ และเติ​ิบโตในอาชี​ีพการงานของคุ​ุณ ตราบใดที่​่�สะท้​้อนถึ​ึงชี​ีวิ​ิตในอาชี​ีพของคุ​ุณ อย่​่าลั​ังเลที่​่�จะสร้​้าง แบรนด์​์ที่​่�ให้​้คุ​ุณเปล่​่งประกาย


KNOWLEDGE 67

5 ข้​้อได้​้เปรี​ียบในการหางานของคนมี​ี Personal Branding 1. สร้​้างความเชื่​่�อใจและความชอบธรรม

แบรนด์​์ของคุ​ุณจะอธิ​ิบายว่​่า “ทำำ�ไม” คุ​ุณถึงึ เป็​็น “อะไร” แบบที่​่� คุ​ุณเป็​็น การมี​ีแบรนด์​์บุ​ุคคลช่​่วยสร้​้างความเชื่​่�อใจกั​ับผู้​้�รั​ับสาร มั​ันสามารถมอบความชอบธรรมและการยอมรั​ับในฐานะผู้​้�นำำ� ในสายงานของคุ​ุณ แรงผลั​ักดั​ันที่​่�ทำำ�ให้​้คุณ ุ เป็​็นคนแบบที่​่�คุณ ุ เป็​็น ด้​้วยการสร้​้างแบรนด์​์ให้​้ตัวั เอง ผู้​้�สรรหาบุ​ุคลากรจะรู้​้�สึ​ึกสนิ​ิทใจกว่​่า เมื่​่�อพวกเขารู้​้�ว่​่าคุ​ุณทำำ�อะไรได้​้บ้​้าง การรั​ับรู้​้�ทำำ�ให้​้วางตั​ัวได้​้ง่​่าย และนำำ�ไปสู่​่�การเชื่​่�อมสั​ัมพั​ันธ์​์และโอกาสทางสั​ังคม การสร้​้าง แบรนด์​์บุคุ คลให้​้ดู​ูเป็​็นผู้​้เ� ชี่​่ย� วชาญที่​่�สุดุ ในสายงานที่​่�เจาะจงหรื​ือ เฉพาะกลุ่​่�มจะช่​่วยดึ​ึงดู​ูดลู​ูกค้​้าในฝั​ันของคุ​ุณได้​้มากขึ้​้น� เมื่​่อ� คุ​ุณดู​ู เป็​็นผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ คนก็​็จะแนะนำำ�ลู​ูกค้​้าให้​้เข้​้ามาหาคุ​ุณได้​้ง่​่ายขึ้​้�น 2. พื้​้� นที่​่�ในสื่​่�อ

ด้​้วยการแสดงค่​่านิ​ิยม ความสามารถ และความมุ่​่�งมั่​่�นของคุ​ุณ ให้​้ชัดั เจน คุ​ุณจะสามารถดึ​ึงดู​ูดผู้​้�สรรหาบุ​ุคลากรและค้​้นพบงาน ในฝั​ันได้​้ง่​่ายขึ้​้�น แบรนด์​์บุ​ุคคลที่​่�เข้​้าใจง่​่ายจะไปกระทบใจว่​่าที่​่� นายจ้​้างที่​่�จะมองเห็​็นตั​ัวเองในสารที่​่�คุ​ุณสื่​่�อออกมา ผู้​้�คนให้​้ ความสนใจว่​่าคุ​ุณเป็​็นใคร ทำำ�อะไร คนส่​่วนใหญ่​่สนใจติ​ิดตาม ตั​ัวคนมากกว่​่าจะติ​ิดตามบริ​ิษั​ัท ตั​ัวอย่​่างคื​ือ Elon Musk ที่​่�มี​ี ผู้​้�ติดิ ตามใน Twitter มากกว่​่าทั้​้�ง 3 บริ​ิษัทั ของเขา (Tesla, SpaceX and SolarCity) รวมกั​ัน เขามี​ีแบรนด์​์บุคุ คลที่​่�เข้​้มแข็​็ง ซึ่​่ง� เจ้​้าตั​ัว ก็​็ใช้​้ประโยชน์​์ด้​้วยการเพิ่​่�มพื้​้�นที่​่�ในสื่​่�อและดึ​ึงดู​ูดลู​ูกค้​้าให้​้เข้​้า บริ​ิษัทั มากขึ้​้น� และคุ​ุณเองก็​็ทำำ�เช่​่นนั้​้�นได้​้! การมี​ีแบรนด์​์บุคุ คลจะ ทำำ�ให้​้ชื่​่�อของคุ​ุณถู​ูกเสนอบนโต๊​๊ะบรรณาธิ​ิการของสื่​่�อได้​้ง่​่ายขึ้​้�น (สิ่​่�งพิ​ิมพ์​์ออนไลน์​์ นิ​ิตยสาร โทรทั​ัศน์​์ วิ​ิทยุ​ุ พอดแคสต์​์ เป็​็นต้​้น) จำำ�ไว้​้ว่​่าสื่​่�อมองหาผู้​้�เชี่​่�ยวชาญที่​่�สามารถแบ่​่งปั​ันภู​ูมิ​ิปั​ัญญากั​ับ ผู้​้�ชมของตั​ัวเองอยู่​่�เสมอ 3. แตกต่​่างจากคนอื่​่�น

คุ​ุณมี​ีไอเดี​ียใหม่​่ แต่​่ YouTuber รายหนึ่​่�งดั​ันพู​ูดถึ​ึงมั​ันไปแล้​้ว แถมไอเดี​ียนี้​้�ยั​ังทำำ�กั​ันจนเกร่​่อใน Medium คุ​ุณอยากเปิ​ิดตั​ัว โครงการเท่​่ๆ บางที​ีอาจจะเป็​็นเว็​็บไซต์​์ใหม่​่ แต่​่ฟรี​ีแลนเซอร์​์ บางคนก็​็ชิงิ ตั​ัดหน้า้ ไปก่​่อนแล้​้ว Gig economy จะไม่​่หายไปไหน ง่​่ายๆ แม้​้แต่​่ที่​่� GetLinks เอง เราก็​็ยังั ขยายไปจั​ับงานชั่​่ว� คราวมากขึ้​้น� เรื่​่�อย ๆ คลื่​่�นความคิ​ิดสร้​้างสรรค์​์เข้​้ายึ​ึดครองโลกอิ​ินเตอร์​์เน็​็ต มาได้​้สองสามปี​ีแล้​้ว ดั​ังนั้​้�นการทำำ�ตัวั เองให้​้ต่า่ งจากฝู​ูงชนจึ​ึงเป็​็น สิ่​่ง� จำำ�เป็​็นในปั​ัจจุ​ุบันั มากกว่​่าเวลาไหน ๆ แรงงานฟรี​ีแลนซ์​์กำำ�ลังั

เติ​ิบโตเร็​็วเป็​็นสามเท่​่าของอั​ัตราเติ​ิบโตแรงงานโดยรวม และผู้​้�ที่​่� ทำำ�งานในลั​ักษณะงานสั​ัญญาจ้​้างในเอเชี​ียแปซิ​ิฟิคิ นั้​้�นเพิ่​่�มขึ้​้น� ปี​ีละ 22% ในทุ​ุกๆปี​ี หลายคนกำำ�ลังั อ้​้าแขนรั​ับจิ​ิตวิ​ิญญาณนั​ักประกอบ ธุ​ุรกิ​ิจของตั​ัวเอง นี่​่�ก็​็หมายความว่​่าในอี​ีกไม่​่นานฟรี​ีแลนเซอร์​์ ที่​่�เป็​็นนายตั​ัวเอง ผู้​้�รั​ับเหมาอิ​ิสระ และผู้​้�ประกอบธุ​ุรกิ​ิจทุ​ุกคน จะต้​้องเผชิ​ิญกั​ับการแข่​่งขั​ันที่​่�สู​ูงขึ้​้�นไปอี​ีกจากเดิ​ิม กุ​ุญแจสู่​่�การ ทำำ�ให้​้ตั​ัวเองแตกต่​่างจากคู่​่�แข่​่งคื​ือการสร้​้างแบรนด์​์ที่​่�ไม่​่เพี​ียง แสดงถึ​ึงบุ​ุคลิ​ิกแต่​่ยังั ต้​้องแสดงถึ​ึงสิ่​่ง� ที่​่�คุณ ุ มี​ีไม่​่เหมื​ือนคนอื่​่น� ด้​้วย 4. จุ​ุดพลั​ังในตั​ัวเอง

แบรนด์​์บุคุ คลทำำ�ให้​้คุณ ุ สามารถสร้​้างความมั่​่น� ใจไปพร้​้อม ๆ กั​ับ การสร้​้างแบรนด์​์ ด้​้วยการคิ​ิดถึงึ คุ​ุณลั​ักษณะและทั​ักษะเฉพาะตั​ัว ของคุ​ุณ คุ​ุณจะได้​้รั​ับความมั่​่�นใจที่​่�สามารถแบ่​่งปั​ันให้​้กั​ับทุ​ุกคน การทำำ�วิ​ิดี​ีโอเกี่​่�ยวกั​ับค่​่านิ​ิยมและการงานของคุ​ุณจะเรี​ียกการ สนั​ับสนุ​ุนและเสี​ียงตอบรั​ับที่​่�ดี​ีจำำ�นวนมากจากผู้​้�คนรอบตั​ัวและ คนที่​่�ทำำ�งานใกล้​้ชิดกั ิ บั คุ​ุณ ถ้​้าตั​ัดสินิ ใจจะพั​ัฒนาแบรนด์​์ให้​้ตัวั เอง จำำ�ไว้​้ว่า่ คุ​ุณจะถู​ูกโจมตี​ีด้ว้ ยคำำ�พู​ูดเชิ​ิงลบเสมอ การสร้​้างแบรนด์​์ ให้​้ตั​ัวเองไม่​่ได้​้สวยหรู​ูเสมอไป แต่​่การก้​้าวผ่​่านขั้​้�นตอนยากๆจะ ทำำ�ให้​้คุ​ุณยึ​ึดมั่​่�นในสิ่​่�งที่​่�คุ​ุณเชื่​่�อมากกว่​่าเดิ​ิมและสร้​้างตั​ัวตนขึ้​้�น มาได้​้ถ้​้าคุ​ุณไม่​่เก็​็บคำำ�เหล่​่านั้​้�นมาใส่​่ใจ หากคุ​ุณรู้​้�คุ​ุณค่​่าตั​ัวเอง และสิ่​่�งที่​่�คุ​ุณทำำ�ได้​้ ความเคารพในตั​ัวเองของคุ​ุณจะเพิ่​่�มทวี​ีคู​ูณ การสร้​้างแบรนด์​์บุ​ุคคลที่​่�ดี​ีจะช่​่วยขั​ับเน้​้นจุ​ุดขายของคุ​ุณและ ให้​้ทิ​ิศทางว่​่าคุ​ุณจะนำำ�มั​ันไปใช้​้ที่​่�ไหนได้​้บ้​้าง 5. เครื​ือข่​่าย

เครื​ือข่​่ายคอนเน็​็คชั่​่น� ของคุ​ุณจะยิ่​่ง� เป็​็นสิ่​่ง� ที่​่�สงเสริ​ิมให้​้ personal branding ของคุ​ุณแข็​็งแกร่​่งมากยิ่​่ง� ขึ้​้น� และถ้​้าเครื​ือข่​่ายของคุ​ุณ มี​ีคนที่​่�มีทัี ศั นะคติ​ิ สั​ังคม คล้​้ายคุ​ุณ และอยู่​่�ในธุ​ุรกิ​ิจเดี​ียวกั​ันกั​ับคุ​ุณ มากเท่​่าไหร่​่ personal branding ของคุ​ุณก็​็จะถู​ูกพั​ัฒนาขึ้​้�น อย่​่างรวดเร็​็ว นอกจากนี้​้� เครื​ือข่​่ายคอนเน็​็คชั่​่�นยั​ังทำำ�ให้​้คุ​ุณ ได้​้เรี​ียนรู้​้�อะไรใหม่​่ ๆ และหลาย ๆ ครั้​้�งโอกาสดี​ี ๆ นั้​้�นมาจาก คอนเน็​็คชั่​่�นเหล่​่านี้​้� การหาคอนเน็​็คชั่​่�นที่​่�อยู่​่�ในธุ​ุรกิ​ิจเดี​ียวกั​ัน นั้​้�นอาจจะไม่​่ใช่​่เรื่​่�องง่​่ายเสมอไป แต่​่มั​ันจะเป็​็นเรื่​่�องง่​่ายขึ้​้�น หากบทสนทนาเกิ​ิดขึ้​้น� หลั​ังจากที่​่�สนทนากั​ันเป็​็นกลุ่​่�มเรี​ียบร้​้อยแล้​้ว บางคนอาจสงสั​ัยว่​่าการสนทนากั​ันเป็​็นกลุ่​่�มของผู้​้�คนที่​่�อยู่​่�ใน ธุ​ุรกิ​ิจเดี​ียวกั​ันแต่​่ไม่​่รู้​้�จั​ักกั​ันจะเกิ​ิดขึ้​้�นได้​้อย่​่างไร คำำ�ตอบคื​ือ บทสนทนาเหล่​่านี้​้�มั​ักจะขึ้​้�นใน networking event ต่​่างๆ

ขอขอบคุ​ุณบทความจาก : https://getlinks.co/blog https://work360.in.th/marketing/career11 Resource : https://www.northeastern.edu/graduate/blog/tips-for-building-your-personal-brand/

www.thaiprint.org




¡Å‹Í§ Display

TEL. 02-682-2177-8 , 081-554-0500


SOONTORN FILM

Expert in Digital and Inkjet Printing, using World-Class Technologies

g in t in r P l a it ig D y it l High Qua Digital Offset Printing

g in t in r P t a m r o F e g r a L Inkjet One Stop Service s Digital Offset Printing

Business card, Postcard, Certificate, Brochure, Leaflet, Catalogue, Menu, Pocket book, Magazine, Photo book, Calendar, Packaging, Sticker, Label etc.

Photo books

Photo Books Printing : Baby born photo book, Family photo book, Graduation (School) photo book, Wedding photo book, Travelling photo book, etc.

We are serving for the highest quality of digital printing and services, Including digital offset and inkjet (large format) One stop services, Expertise teamwork, Latest world class technologies, Environmental friendly, Fast services and reasonable prices. Graphic design Digital Photography

Prepress Offset Plate Making

Digital Offset Printing

Inkjet (Large Format) Printing

Soontorn film Co., Ltd.

3/11-15 พระรามที่ 6 ซอย 17 ถนนพระรามที่ 6 แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2216 2760-8 แฟกซ 0 2216 2769 เวลาทำการ จันทร-เสาร 09.00-18.00 น. www.soontornfilm.co.th, email : stfilm@soontornfilm.com

Tablet Publishing (Digital Magazine)


72

INTERVIEW

จิ​ิรานุ​ุช ชุ​ุนเจริ​ิญ

บริ​ิษั​ัท บี​ีบ๊​๊อกซ์​์ ปริ้​้�นติ้​้�ง จำำ�กั​ัด

บริ​ิหารงานแบบคนรุ่​่�นใหม่​่ เข้​้าใจวิ​ิกฤต THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


INTERVIEW

บริ​ิษัทั บี​ีบ๊อ๊ กซ์​์ ปริ้​้น� ติ้​้�ง จำำ�กัดั ได้​้เริ่​่ม� ดำำ�เนิ​ินกิ​ิจการ เมื่​่อ� ปี​ี 2561 โดยมุ่​่�งเน้​้นด้​้านบรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์ โดยเฉพาะ บรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์อาหาร ที่​่�ผลิติ ด้​้วยกระดาษฟู้​้�ดเกรด ที่​่�มี​ีใบรั​ับรองจากผู้​้�ผลิ​ิตกระดาษโดยตรง เพื่​่อ� ความปลอดภั​ัยต่​่อผู้​้บ� ริ​ิโภค ทางบริ​ิษัทั เป็​็นทั้​้�งผู้​้�ผลิติ และนำำ� เข้​้าบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์รั​ักษ์​์โลก โดยเน้​้นช่​่องทางการจั​ัดจำำ�หน่​่ายสิ​ินค้​้า ผ่​่านทางโซเชี​ียล มี​ีเดี​ีย เพื่​่�อเจาะกลุ่​่�ม SME รุ่​่�นใหม่​่ ที่​่�ใส่​่ใจสิ่​่�ง แวดล้​้อม ใช้​้บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์ที่​่�เป็​็นมิ​ิตร สามารถย่​่อยสลายได้​้ ภายใต้​้การดำำ�เนิ​ินงานของ บริ​ิษั​ัท พงศ์​์พั​ัฒน์​์การพิ​ิมพ์​์ จำำ�กั​ัด ได้​้ก่​่อตั้​้�งขึ้​้�นเมื่​่�อปี​ี พ.ศ. 2523 โดยมุ่​่�งเน้​้นการเป็​็น One Stop Service หรื​ือที่​่�เรี​ียกว่​่าการบริ​ิการแบบครบวงจร รวมถึ​ึงการ ให้​้ความใส่​่ใจต่​่อกระบวนการผลิ​ิตทุ​ุกขั้​้�นตอน โดยที​ีมงานมื​ือ อาชี​ีพ ไม่​่ว่​่าจะเป็​็นกระบวนการก่​่อนพิ​ิมพ์​์ ระหว่​่างพิ​ิมพ์​์ และ หลั​ังพิ​ิมพ์​์ โดยมี​ีเป้​้าหมายหลั​ัก ที่​่�มุ่​่�งเน้​้นการให้​้การบริ​ิการและ ความพึ​ึงพอใจของลู​ูกค้​้า และสามารถติ​ิดตามงานพิ​ิมพ์​์ได้​้อย่​่าง ใกล้​้ชิดจ ิ ากบุ​ุคคลากรต่​่างๆ ของโรงพิ​ิมพ์​์ ทำำ�ให้​้เราสามารถสร้​้าง ฐานลู​ูกค้​้าได้​้อย่​่างยั่​่ง� ยื​ืน และได้​้รับั ความไว้​้วางใจจากลู​ูกค้​้าของ เราด้​้วยดี​ีตลอดมา ภายใต้​้ slogan ที่​่�ว่​่า “Think of Boxes, Think of Beebox.”

73

� งเน้​้นการให้​้ เป้​้าหมายหลั​ัก ที่​่มุ่​่� การบริ​ิการและความพึ​ึ งพอใจ ของลู​ูกค้​้า และสามารถติ​ิดตาม งานพิ​ิ มพ์​์ได้​้อย่​่างใกล้​้ชิ​ิดจาก บุ​ุคคลากรต่​่างๆ ของโรงพิ​ิ มพ์​์ ทำำ�ให้​้เราสามารถสร้​้างฐานลู​ูกค้​้า ได้​้อย่​่างยั่​่�งยื​ืน และได้​้รั​ับ ความไว้​้วางใจจากลู​ูกค้​้า ของเราด้​้วยดี​ีตลอดมา ภายใต้​้ slogan ที่​่�ว่​่า “Think of Boxes, Think of Beebox.”

www.thaiprint.org


74

INTERVIEW

อุ​ุตสาหกรรมบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เติ​ิบโต สวนกระแสกั​ับวิ​ิกฤตโลก

แม้​้ว่​่าจะเกิ​ิดวิ​ิกฤตการณ์​์โรคโควิ​ิด – 19 ที่​่�ระบาดไปทั่​่�วโลก แต่​่ทางบี​ีบ๊​๊อกซ์​์ ไม่​่ได้​้รั​ับผลกระทบมากนั​ัก น่​่าจะเรี​ียกได้​้ว่​่า อุ​ุตสาหกรรม Food Packaging หรื​ือ บรรจุ​ุภัณ ั ฑ์​์สำำ�หรับั อาหาร นั้​้�นสวนกระแสกั​ับวิ​ิกฤตโลก เติ​ิบโตขึ้​้น� 200 – 300 % เนื่​่อ� งจาก ในยุ​ุคโควิ​ิด – 19 ในช่​่วงแรก ๆ นั้​้�น ผู้​้�คนส่​่วนใหญ่​่ต้​้องกั​ักตั​ัว อยู่​่�แต่​่ในบ้​้าน ส่​่งผลให้​้พฤติ​ิกรรมการบริ​ิโภคเปลี่​่�ยนแปลงไป ต้​้องใช้​้บริ​ิการส่​่งของซึ่​่�งมี​ีบรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์เป็​็นส่​่วนประกอบ หลั​ั ก ใหญ่​่  ๆ ที่​่� ทำำ� ให้​้ บี​ี บ๊​๊ อ กซ์​์ ยั​ั ง คงยื​ืนหยั​ั ด อยู่​่�ได้​้ เนื่​่� อ งจาก เราเป็​็นโรงงานที่​่�ผลิ​ิตและขายสิ​ินค้​้าด้​้วยตั​ัวเอง และมี​ีการใช้​้ โซเชี​ียลมี​ีเดี​ียทำำ�การตลาดมาแล้​้วเป็​็นเวลา 3 ปี​ี จึ​ึงเรี​ียกได้​้ว่​่า ค่​่อนข้​้างที่​่�จะติ​ิดตลาดพอสมควร

ออนไลน์​์และออฟไลน์​์ต้​้องรวมกั​ัน

แต่​่ถึงึ จะเป็​็นเช่​่นนั้​้�น ก็​็ต้อ้ งมี​ีการปรั​ับตั​ัวในการทำำ�ธุรุ กิ​ิจ โดยเน้​้น ทางด้​้านออนไลน์​์ หรื​ือ โซเซี​ียลมี​ีเดี​ียมากขึ้​้�น การติ​ิดต่​่อกั​ับ ลู​ูกค้​้ า หรื​ือการทำำ� การตลาดส่​่ ว นใหญ่​่ จ ะใช้​้ ช่​่ อ งทางโซเชี​ี ย ล มี​ีเดี​ียมากกว่​่า 80% ไม่​่ว่า่ จะเป็​็นโฆษณา ประชาสั​ัมพั​ันธ์​์ผ่า่ นทาง อิ​ินสตราแกรม หรื​ือเฟซบุ๊​๊�ก และช่​่องทางโซเชี​ียลมี​ีเดี​ียอื่​่�น ๆ รวมไปถึ​ึงการทำำ� CRM หรื​ือ การบริ​ิการหลั​ังการขาย หากเกิ​ิด กรณี​ีที่​่�มี​ีการคื​ืนสิ​ินค้​้า หรื​ือ ลู​ูกค้​้าได้​้รั​ับสิ​ินค้​้าที่​่�ไม่​่ดี​ี ส่​่วนอี​ีก 20% จะเป็​็นการขายออฟไลน์​์ส่​่งสิ​ินค้​้าให้​้กั​ับยี่​่�ปั๊​๊�วหรื​ือสายส่​่ง ที่​่�มี​ีอยู่​่�ทั่​่�วประเทศ และส่​่งออกไปยั​ังประเทศเพื่​่�อนบ้​้าน

“ที​ีมงาน” ที่​่�จะช่​่วยกั​ันผ่​่านวิ​ิกฤต TEAM WORK IS THE BEST

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


INTERVIEW

ทุ​ุกคนเป็​็น “ที​ีมงาน” ที่​่�จะช่​่วยกั​ันผ่​่านวิ​ิกฤต

การดำำ�เนิ​ินธุ​ุรกิ​ิจในสถานการณ์​์ปั​ัจจุ​ุบั​ันของประเทศไทย หรื​ือ อาจจะรวมไปถึ​ึงทั่​่�วโลกนั้​้�น อาศั​ัยหลั​ักการที่​่�ว่​่า Right time at the right place หรื​ือถู​ูกที่​่�ถู​ูกเวลา ในการทำำ�งานของบี​ีบ๊​๊อกซ์​์ จะเรี​ียกทุ​ุกคนว่​่า “ที​ีมงาน” ไม่​่แบ่​่งว่​่าเป็​็นลู​ูกจ้​้าง หรื​ือนายจ้​้าง เนื่​่�องจาก Team Work is the Best หากเป็​็นลู​ูกน้​้อง การเสนอ ไอเดี​ียอาจจะถู​ูกลดทอนลงไป แต่​่เมื่​่�อทุ​ุกคนคื​ือที​ีมงาน ทำำ�ให้​้ กล้​้าคิ​ิดและกล้​้าที่​่�จะตั​ัดสิ​ินใจมากขึ้​้�น ด้​้วยความที่​่�เป็​็นคนรุ่​่�นใหม่​่ การทำำ�งานไม่​่เข้​้มงวดเท่​่าใดนั​ัก สามารถใช้​้เวลาส่​่วนตั​ัวในเวลาทำำ�งานได้​้บ้​้างแต่​่ต้​้องทำำ�งาน ในความรั​ับผิ​ิดชอบให้​้เสร็​็จเรี​ียบร้​้อยเสี​ียก่​่อน ต้​้องพู​ูดคุ​ุยและสื่​่อ� สารกั​ันภายในให้​้ชัดั เจนว่​่ามี​ีเป้​้าหมาย Company Target เป็​็นแบบไหน ต้​้องมี​ีการวางแผนงานล่​่วงหน้​้าอย่​่างน้​้อย 2 ปี​ี ว่​่าจะเดิ​ินไปทางไหน ทุ​ุกคนมี​ีความพร้​้อมมากน้​้อยแค่​่ไหน ในด้​้านการกระจายสิ​ินค้​้าบี​ีบ๊อ๊ กซ์​์จะมี​ีทีมี งานเป็​็นของตั​ัวเอง ทั้​้�งที​ีม House และ Outsource โดยส่​่วนตั​ัวแล้​้วมองเห็​็นว่​่าการกระจาย สิ​ินค้​้า หรื​ือ โลจิ​ิสติกิ ส์​์ ตอนนี้​้�ค่อ่ นข้​้างที่​่�จะเติ​ิบโตมากเช่​่นเดี​ียวกั​ัน

75

Asian Print Awards ต่​่อยอดธุ​ุรกิ​ิจ และ “รางวั​ัล” ของคนทำำ�งาน

นอกเหนื​ือการผลิ​ิตชิ้​้�นงานให้​้กั​ับลู​ูกค้​้าแล้​้ว ทางบี​ีบ๊​๊อกซ์​์เอง มี​ีความสนใจในเรื่​่�องของส่​่งงานเข้​้าประกวด เริ่​่�มจาก Thai Print Awards ที่​่�ร่​่วมส่​่งผลงานเข้​้าประกวดทุ​ุกปี​ี และเริ่​่�ม เข้​้าสู่​่�ระดั​ับอาเซี​ียนหรื​ือ Asian Print Awards ในการเลื​ือก ผลงานเพื่​่�อส่​่งเข้​้าประกวดนั้​้�น เราจะรู้​้�อยู่​่�แล้​้วว่​่างานชิ้​้�นไหนที่​่� น่​่าจะได้​้รั​ับรางวั​ัล ดั​ังนั้​้�น จึ​ึงต้​้องดู​ูแลทุ​ุกขั้​้�นตอนเป็​็นอย่​่างดี​ี ไม่​่ว่​่าเป็​็นขั้​้�นตอนก่​่อนการพิ​ิมพ์​์ ระหว่​่างพิ​ิมพ์​์และหลั​ังพิ​ิมพ์​์ จนเสร็​็จทุ​ุกขั้​้�นตอน รางวั​ั ลที่​่� ไ ด้​้รั​ั บ มานั้​้� น สามารถนำำ� มาต่​่ อ ยอดให้​้กั​ั บ ธุ​ุ ร กิ​ิ จ ได้​้เป็​็นอย่​่างมาก อั​ันดั​ับแรก คื​ือ มี​ีการประกาศรายชื่​่�อทาง โซเชี​ี ย ลมี​ี เ ดี​ี ย ซึ่​่� ง ถื​ื อ ว่​่ า เป็​็ น การประชาสั​ั ม พั​ั น ธ์​์ ไ ปในตั​ั ว นอกเหนื​ื อไปจากนั้​้� นแล้​้ว ยั​ั ง เป็​็ นรางวั​ั ล เป็​็ นกำำ�ลั​ั ง ในให้​้ ที​ี ม งานรู้​้� สึ​ึ กภู​ู มิ​ิ ใจในตั​ั ว เองที่​่� ไ ด้​้มี​ี ส่​่ ว นกั​ั บ รางวั​ั ลนี้​้� และมี​ี ความยิ​ิ น ดี​ี ที่​่� จ ะพั​ั ฒ นาการทำำ� งานของตั​ั ว เองให้​้ดี​ี ม ากขึ้​้� น ให้​้สมกั​ับรางวั​ัลที่​่�ได้​้รั​ับมา www.thaiprint.org


76

NEWS

ส.อ.ท.จี้​้เ� ร่​่ง 3 เครื่​่�องยนต์​์หลั​ัก เคลื่​่�อนเศรษฐกิ​ิจไทยปี​ี 65 ฟื้​้�น โต้​้คลื่​่�น FDI หด โดย คุ​ุณเกรี​ียงไกร เธี​ียรนุ​ุกุ​ุล รองประธานสภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


NEWS

สภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่งประเทศไทยวิ​ิเคราะห์​์ทิ​ิศทางการฟื้​้�น ตั​ัวของเศรษฐกิ​ิจไทยโค้​้งสุ​ุดท้​้ายปี​ีนี้​้� และปี​ี 2565 หลั​ังโควิ​ิด คลี่​่�คลาย ภาคส่​่งออก การลงทุ​ุน ท่​่องเที่​่�ยว จะยั​ังเป็​็นความหวั​ัง ของไทยได้​้หรื​ือไม่​่ และอะไรคื​ือความท้​้าทายในระยะยาว ของไทย ต้​้องจั​ับตาความเคลื่​่�อนไหวทางเศรษฐกิ​ิจโค้​้งท้​้าย (ต.ค.-ธ.ค.) ปี​ี 2564 ที่​่�จะเป็​็นแรงหนุ​ุนส่​่งต่​่อไปยั​ังปี​ี 2565 ขณะเดี​ียวกั​ัน ต้​้องยอมรั​ับว่​่า ความล่​่าช้​้าของวั​ัคซี​ีน, การกลายพั​ันธุ์​์�ของไวรั​ัส, ภาวะการเงิ​ินอาจตึ​ึงตั​ัวอย่​่างรวดเร็​็ว (จากการประเมิ​ินแนวโน้​้ม นโยบายการเงิ​ินในประเทศที่​่�พั​ัฒนาแล้​้วที่​่�คาดการณ์​์เงิ​ินเฟ้​้อ เพิ่​่�มขึ้​้�นเร็​็วกว่​่าที่​่�คาดการณ์​์ไว้​้) และการระบาดของโควิ​ิด-19 ทำำ�ให้​้การฟื้​้�นตั​ัวของประเทศที่​่�กำำ�ลั​ังพั​ัฒนาและตลาดเกิ​ิดใหม่​่ ช้​้ากว่​่าที่​่�คาด คุ​ุณเกรี​ียงไกร เธี​ียรนุ​ุกุ​ุล รองประธานสภาอุ​ุตสาหกรรมแห่​่ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) ฉายภาพรวมทางเศรษฐกิ​ิจผ่​่าน “ฐาน เศรษฐกิ​ิจ” โดยได้​้โฟกั​ัสถึ​ึงเครื่​่�องยนต์​์หลั​ักในการขั​ับเคลื่​่�อน เศรษฐกิ​ิจไทยและทิ​ิศทางเศรษฐกิ​ิจโลกนั​ับจากนี้​้�อย่​่างน่​่าสนใจ

77

รองประธาน ส.อ.ท. กล่​่าวว่​่า จากรายงาน World Economic Outlook (WEO) ของ IMF คาดการณ์​์ว่​่าเศรษฐกิ​ิจโลกปี​ี 2564 จะเติ​ิบโตที่​่�ระดั​ับ 6% ซึ่​่�งสู​ูงขึ้​้�นแบบก้​้าวกระโดดจากที่​่�หดตั​ัว -3.2% ในปี​ี 2563 โดยเศรษฐกิ​ิจสหรั​ัฐฯ จะขยายตั​ัวที่​่� 7% เพิ่​่�มขึ้​้น� จากการคาดการณ์​์เมื่​่อ� เดื​ือนเมษายนที่​่�ระดั​ับ 6.4% ส่​่วน เศรษฐกิ​ิจของกลุ่​่�มยู​ูโรโซนคาดจะเติ​ิบโต 4.6% หลั​ังจากหดตั​ัว 6.5% ปี​ีที่​่�แล้​้ว ขณะที่​่�เศรษฐกิ​ิจจี​ีนและอิ​ินเดี​ีย คาดจะขยายตั​ัว ที่​่�ระดั​ับ 8.1% และ 9.5% ตามลำำ�ดั​ับ ส่​่วนในแถบเอเชี​ียตะวั​ันออกเฉี​ียงใต้​้ 5 ประเทศ ได้​้แก่​่ อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย มาเลเซี​ีย ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ เวี​ียดนาม และไทย IMF คาดการณ์​์ว่​่าจะ ขยายตั​ัวที่​่�ระดั​ับเฉลี่​่�ย 4.3% ลดลง 0.6% (จากการคาดการณ์​์ เมื่​่� อ 3 เดื​ือนก่​่ อน) และประเมิ​ิ นว่​่ าภาพรวมเศรษฐกิ​ิจโลก ในปี​ี 2565 จะขยายตั​ัวได้​้ที่​่� 4.9% แต่​่รู​ูปแบบของการฟื้​้�นตั​ัว จะยั​ั ง คงไม่​่ ทั่​่� ว ถึ​ึ ง และมี​ี ค วามแตกต่​่ า งกั​ั น ในรายประเทศ เศรษฐกิ​ิ จ กลุ่​่�มประเทศพั​ั ฒ นาแล้​้ วจ ะมี​ี ทิ​ิ ศ ทางการเติ​ิ บ โต ของเศรษฐกิ​ิจที่​่�แข็​็งแกร่​่งขึ้​้�นในปี​ี 2565

www.thaiprint.org


78

NEWS

3

เครดิ​ิตภาพประกอบ https://www.thansettakij.com/columnist/499956

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

เครื่​่�องยนต์​์สำำ�คั​ัญ

ขั​ับเคลื่​่�อนเศรษฐกิ​ิจไทยปี​ี 2565


NEWS

เร่​่ง 3 ตั​ัวช่​่วยขั​ับเคลื่​่�อนเศรษฐกิ​ิจ

79

2. ภาคการท่​่องเที่​่�ยว

ย้​้ อ นมามองไทย คุ​ุ ณ เกรี​ี ย งไกร กล่​่ า วว่​่ า จำำ� เป็​็ น ต้​้ อ งเร่​่ ง 3 เครื่​่� อ งยนต์​์ ขั​ั บ เคลื่​่� อ นเศรษฐกิ​ิ จก่​่ อ นโดยเฉพาะปี​ี 2565 ไล่​่ตั้​้�งแต่​่ 1. การส่​่งออก

ภาคการท่​่องเที่​่�ยว เป็​็นภาคที่​่�ได้​้รั​ับผลกระทบมากที่​่�สุ​ุดในปี​ี 2563 - 2564 เนื่​่�องจากโครงสร้​้างเศรษฐกิ​ิจไทยพึ่​่�งพาการท่​่อง เที่​่�ยวเป็​็นหลั​ัก ทำำ�ให้​้ภาคการท่​่องเที่​่�ยวหดสู​ูงถึ​ึงร้​้อยละ -36.6 โดยมี​ีจำำ�นวนนั​ักท่​่องเที่​่�ยวต่​่างชาติ​ิเดิ​ินทางเข้​้าสู่​่�ประเทศไทย ทั้​้�งสิ้​้�นเพี​ียง 6.7 ล้​้านคน ในขณะที่​่�นั​ักท่​่องเที่​่�ยวไทยเดิ​ินทาง เที่​่�ยวในประเทศราว 95-100 ล้​้านคน-ครั้​้�ง ส่​่งผลให้​้รายได้​้รวม จากการท่​่องเที่​่�ยวลดลงราว 70-80% จากปี​ี 2562 ดั​ั ง นั้​้� น ภายใต้​้ เ งื่​่� อ นไขของการฉี​ี ดวั​ั ค ซี​ี น 3 แสนโดสต่​่ อ วั​ั น จะทำำ�ให้​้ไทยสามารถเปิ​ิดประเทศได้​้เต็​็มรู​ูปแบบในไตรมาสแรก ปี​ี 2565 โดยจะมี​ียอดสะสมผู้​้�ได้​้รั​ับวั​ัคชี​ีนคิ​ิดเป็​็นร้​้อยละ 77 ของประชากรทั้​้�งหมดจะช่​่วยดึ​ึงให้​้ภาคการท่​่องเที่​่�ยวฟื้​้�นตั​ัว ได้​้เร็​็วขึ้​้�น ประกอบกั​ับเศรษฐกิ​ิจโลกมี​ีแนวโน้​้มเติ​ิบโตต่​่อเนื่​่�อง และการกระจายวั​ัคซี​ีนได้​้เร็​็วในประเทศเศรษฐกิ​ิจหลักั เป็​็นผลดี​ี ต่​่อนั​ักท่​่องเที่​่�ยวที่​่�เป็​็นตลาดหลั​ักของไทย อาทิ​ิ ยุ​ุโรป จี​ีน เครื่​่�องยนต์​์สำำ�คั​ัญที่​่�ทำำ�หน้​้าที่​่�ในการขั​ับเคลื่​่�อนการเติ​ิบโตของ เศรษฐกิ​ิจไทยที่​่�จะส่​่งต่​่อไปในปี​ี 2565 ได้​้ดี​ี หลั​ังจากที่​่�หลาย เครื่​่�องยนต์​์ต้​้องสะดุ​ุดลง โดยมี​ีปั​ัจจั​ัยที่​่�ช่​่วยขั​ับเคลื่​่�อนให้​้ภาค การส่​่งออกของไทยกลั​ับมาเติ​ิบโตได้​้อย่​่างแข็​็งแกร่​่งอี​ีกครั้​้�ง โดยเฉพาะเศรษฐกิ​ิ จข องประเทศคู่​่�ค้​้ า หลั​ั ก สำำ�คั​ั ญ ของไทย เริ่​่�มฟื้​้�นตั​ัวดี​ีขึ้​้�น ทั้​้�งสหรั​ัฐฯ ยุ​ุโรป และจี​ีน ขณะที่​่�ภาคการผลิ​ิตทั่​่�วโลกยั​ังคงขยายตั​ัวดี​ีจากดั​ัชนี​ีผู้​้�จั​ัดการ ฝ่​่ายจั​ัดซื้​้�อภาคการผลิ​ิตโลก (Global Manufacturing PMI) ที่​่�อยู่​่�เหนื​ือระดั​ับ 50 ต่​่อเนื่​่อ� งเป็​็นเดื​ือนที่​่� 13 โดยการผลิ​ิตสิ​ินค้​้า เพื่​่�อการอุ​ุปโภคบริ​ิโภค สิ​ินค้​้าวั​ัตถุ​ุดิ​ิบ และสิ​ินค้​้าเพื่​่�อการลงทุ​ุน ปรั​ับตั​ัวดี​ีขึ้​้�น ด้​้านเงิ​ินบาทที่​่�อ่​่อนค่​่าลงกลายเป็​็นอี​ีกปั​ัจจั​ัยที่​่�ช่​่วยสนั​ับสนุ​ุน ภาคการส่​่งออกของไทย เช่​่นเดี​ียวกั​ับที่​่�ราคาน้ำำ��มั​ันดิ​ิบในตลาด โลกที่​่�ยังั คงอยู่​่�ในระดั​ับสู​ูงส่​่งผลดี​ีต่อ่ ราคาสิ​ินค้​้าส่​่งออกของไทย โดยเฉพาะกลุ่​่�มที่​่�เกี่​่�ยวเนื่​่�องกั​ับน้ำำ��มั​ันที่​่�ทำำ�ให้​้ได้​้ราคาดี​ีขึ้​้�น

3. การลงทุ​ุนภาคเอกชน

การลงทุ​ุนภาคเอกชนที่​่�ธนาคารแห่​่งประเทศไทย ประเมิ​ินว่​่า การลงทุ​ุนภาคเอกชนจะฟื้​้�นตั​ัวต่​่อเนื่​่�องที่​่�ร้​้อยละ 7.0 และ 6.0 ในปี​ี 2564 และ 2565 ตามลำำ�ดั​ับ สอดคล้​้องกั​ับการส่​่งออก สิ​ินค้​้าที่​่�ขยายตั​ัวดี​ีขึ้​้�นมาก ทั้​้�งนี้​้�ประเมิ​ินว่​่าตั้​้�งแต่​่ช่​่วงครึ่​่�งหลั​ัง ของปี​ี 2564 การลงทุ​ุนภาคเอกชนจะขยายตั​ัวตามการส่​่งออก สิ​ินค้​้าที่​่�ขยายตั​ัวสู​ูง และการบริ​ิโภคภาคเอกชนที่​่�ทยอยฟื้​้�นตั​ัว www.thaiprint.org


80

NEWS

การลงทุ​ุนในอุ​ุตสาหกรรม ต่​่อยอดที่​่�ไทยมี​ีซั​ัพพลายเชน ครบวงจรอยู่​่แ � ล้​้ว ซึ่​่�งประเทศไทย ก็​็ยั​ังมี​ีจุ​ุดแข็​็งอยู่​่ที่ � สิ ่� ทธิ ิ ป ิ ระโยชน์​์ ทางภาษี​ีในการลงทุ​ุนใน อุ​ุตสาหกรรมที่​่�ใช้​้เทคโนโลยี​ี ขั้​้�นสู​ูง โครงสร้​้างพื้​้� นฐานที่​่� ครบครั​ัน และซั​ัพพลายเชน ที่​่�ครบวงจรในอุ​ุตสาหกรรม ยานยนต์​์ อุ​ุตสาหกรรม � งใช้​้ไฟฟ้​้าและอิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ เครื่​่อ ในบางประเภทสิ​ินค้​้า

เศรษฐกิ​ิจโลกแบ่​่ง 3 ขั้​้�วชั​ัดเจนขึ้​้�น

คุ​ุณเกรี​ียงไกร กล่​่าวอี​ีกว่​่า เศรษฐกิ​ิจโลกจะถู​ูกแบ่​่งเป็​็น 3 ขั้​้�ว ตามภู​ูมิ​ิภาคชั​ัดเจนมากขึ้​้�นคื​ือ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา จี​ีน และยุ​ุโรป ซึ่​่ง� ส่​่งผลต่​่อการค้​้าและห่​่วงโซ่​่อุปุ ทาน มาตรฐานและกฎเกณฑ์​์ เทคโนโลยี​ีและบทบาทของภาครั​ัฐผ่​่านช่​่องทางเครดิ​ิตแต่​่ละ ประเทศและอุ​ุ ต สาหกรรม โดยแนวโน้​้ ม การพึ่​่� ง ตั​ั ว เองของ เศรษฐกิ​ิจ 3 ขั้​้�วหลั​ังจากสถานการณ์​์โควิ​ิด-19 คลี่​่�คลายลงจะ ส่​่ ง ผลเสี​ี ย ต่​่ อ ความสั​ั ม พั​ั น ธ์​์ ท างเศรษฐกิ​ิ จ ระหว่​่ า งประเทศ ทำำ�ให้​้ผลประโยชน์​์ของ 3 ประเทศเสาหลั​ักไม่​่ตรงกั​ันมากขึ้​้�น (divergent interest) และการค้​้าภายในภู​ูมิ​ิภาคจะมี​ีความ แน่​่ น แฟ้​้ น มากขึ้​้� น ทดแทนการค้​้ า ระหว่​่ า งภู​ูมิ​ิ ภ าคที่​่� ล ดลง รวมถึ​ึงปั​ัจจัยั ทางการเมื​ืองที่​่�ส่ง่ ผลต่​่อการลงทุ​ุนและการเคลื่​่อ� นที่​่� ของเงิ​ิ น ทุ​ุ น ดั​ั ง นั้​้� น ทิ​ิ ศ ทางการเปลี่​่� ย นแปลงของการลงทุ​ุ น โดยตรงจากต่​่างประเทศ (FDI) โลกในอนาคตจึ​ึงมี​ีแนวโน้​้มเกิ​ิด การกระจายการลงทุ​ุนออกจากจี​ีนมากขึ้​้�นเพื่​่�อลดการพึ่​่�งพา สิ​ินค้​้าหรื​ือฐานการผลิ​ิตในจี​ีน

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

สำำ�หรั​ับประเทศไทย เนื่​่�องจากกระแสการลงทุ​ุนของโลกหลั​ัง โควิ​ิด-19 จะทำำ�ให้​้เกิ​ิดการปรั​ับเปลี่​่�ยนซั​ัพพลายเชนจากรู​ูปแบบ ห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิตโลกที่​่�มีจี​ี นี เป็​็นศู​ูนย์​์กลาง มาเป็​็นห่​่วงโซ่​่การผลิ​ิต ในระดั​ับภู​ูมิ​ิภาคกระจายตั​ัวทั่​่ว� โลก โดยคาดการณ์​์ว่า่ ประเทศไทย จะได้​้รั​ับเม็​็ดเงิ​ินลงทุ​ุนต่​่างชาติ​ิไหลเข้​้าเพิ่​่�มขึ้​้�นรวมประมาณ 1,100 - 1,400 ล้​้านดอลลาร์​์สหรั​ัฐฯ ในช่​่วงปี​ี 2564 - 2566 หรื​ือเพิ่​่�มขึ้​้�น 0.7 - 0.8% เมื่​่�อเที​ียบกั​ับเม็​็ดเงิ​ินลงทุ​ุนไหลเข้​้า ของไทยในช่​่วง 3 ปี​ีที่​่�ผ่​่านมา (ปี​ี 2561-2563) โดยส่​่วนใหญ่​่เป็​็นการลงทุ​ุนในอุ​ุตสาหกรรมต่​่อยอดที่​่�ไทยมี​ี ซั​ัพพลายเชนครบวงจรอยู่​่�แล้​้ว ซึ่​่ง� ประเทศไทยก็​็ยังั มี​ีจุดุ แข็​็งอยู่​่�ที่​่� สิ​ิทธิ​ิประโยชน์​์ทางภาษี​ีในการลงทุ​ุนในอุ​ุตสาหกรรมที่​่�ใช้​้เทคโนโลยี​ี ขั้​้น� สู​ูง โครงสร้​้างพื้​้�นฐานที่​่�ครบครั​ัน และซั​ัพพลายเชนที่​่�ครบวงจร ในอุ​ุตสาหกรรมยานยนต์​์ อุ​ุตสาหกรรมเครื่​่�องใช้​้ไฟฟ้​้าและ อิ​ิเล็​็กทรอนิ​ิกส์​์ในบางประเภทสิ​ินค้​้า เนื่​่�องจากอุ​ุตสาหกรรม เหล่​่านี้​้�มีซัี พพ ั ลายเชนที่​่�สลับั ซั​ับซ้​้อน ไม่​่สามารถสร้​้างขึ้​้น� ใหม่​่ได้​้ ภายในช่​่วงเวลาไม่​่กี่​่�ปี​ี จึ​ึงทำำ�ให้​้นั​ักลงทุ​ุนต่​่างชาติ​ิบางส่​่วนยั​ังคง เลื​ือกประเทศไทยเป็​็นฐานการผลิ​ิตในภู​ูมิ​ิภาคอาเซี​ียนอยู่​่�


NEWS

81

จั​ับตาความท้​้าทายระยะยาว

ส่​่วนในระยะยาว ประเทศไทยยั​ังต้​้องเผชิ​ิญความท้​้าทายใน การรั​ักษาเม็​็ดเงิ​ินลงทุ​ุนต่​่างชาติ​ิในอุ​ุตสาหกรรมหลั​ักเหล่​่านี้​้� เนื่​่�องจากกระแส Diversification จะทำำ�ให้​้มี​ีฐานการผลิ​ิต ในภู​ูมิ​ิ ภ าคต่​่ า ง ๆ เพิ่​่� มขึ้​้� นทั่​่� วโลก เช่​่ น การตั้​้� ง ฐานการผลิ​ิ ต ที่​่�เม็​็กซิ​ิโกเพื่​่อ� ตอบโจทย์​์ตลาดในภู​ูมิ​ิภาคอเมริ​ิกาเหนื​ือ หรื​ือการ ตั้​้�งฐานการผลิ​ิตในยุ​ุโรปตะวั​ันออกเพื่​่�อตอบโจทย์​์ตลาดยุ​ุโรป จึ​ึงทำำ�ให้​้เม็​็ดเงิ​ินลงทุ​ุนต่​่างชาติ​ิถู​ูกกระจายไปยั​ังภู​ูมิ​ิภาคต่​่าง ๆ มากขึ้​้�น ส่​่งผลให้​้ไทยอาจได้​้รั​ับเม็​็ดเงิ​ินลงทุ​ุนในการผลิ​ิตสิ​ินค้​้า กระแสหลั​ักลดลงในอนาคต

นอกจากนี้​้� กระแส Reshoring หรื​ือกระแสเจ้​้าของเทคโนโลยี​ี ขั้​้� น สู​ูงย้​้ า ยโรงงานกลั​ั บ ประเทศในสิ​ิ น ค้​้ า นวั​ั ต กรรมจะเริ่​่� ม ทวี​ีความรุ​ุนแรงขึ้​้�นเรื่​่�อย ๆ ทำำ�ให้​้โอกาสในการดึ​ึงดู​ูดเม็​็ดเงิ​ิน ลงทุ​ุนต่​่างชาติ​ิในเทคโนโลยี​ีขั้​้�นสู​ูงหรื​ือสิ​ินค้​้านวั​ัตกรรมจะมี​ี น้​้ อ ยลงตามลำำ�ดั​ั บ ดั​ั ง นั้​้� น ในระยะต่​่ อ ไปทางออกที่​่� ยั่​่� ง ยื​ืนใน การพั​ั ฒ นาประเทศไทยคื​ือการมี​ี เ ทคโนโลยี​ี ขั้​้� น สู​ูงเป็​็ น ของ ตั​ัวเอง จากปั​ัจจุ​ุบันั บริ​ิษัทั ชั้​้น� นำำ�ของไทยต่​่างพยายามมุ่​่�งสู่​่�ธุ​ุรกิ​ิจ ที่​่�สร้​้างนวั​ัตกรรมมากขึ้​้�น

ที่​่�มา : หน้​้า 9 ฐานเศรษฐกิ​ิจ ฉบั​ับที่​่� 3,723 วั​ันที่​่� 17 - 20 ตุ​ุลาคม พ.ศ. 2564

www.thaiprint.org



40 Ad Seethong Pc4.indd 1

24/11/2561 20:44:48


84 INDUSTRIAL

ตลาดส่​่งออก 20 อั​ันดั​ับแรก ของไทยรายประเทศ พ.ศ. 2561 - 2564 (ม.ค. - ก.ย.) ประเภทหนั​ังสื​ือและสิ่​่ง � พิ​ิ มพ์​์ บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์กระดาษ (หี​ีบ กล่​่อง ซองฯ) กระดาษและผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์กระดาษ

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133


INDUSTRIAL 85

ตลาดส่​่งออก 20 อั​ันดั​ับแรกของไทยรายประเทศ หนั​ังสื​ือและสิ่​่ง � พิ​ิ มพ์​์ พ.ศ. 2561 - 2564 (ม.ค. - ก.ย.)

อันดับ ที่

มูลค่า : ล้านบาท

ประเทศ

2561

2562

2564

2563

2563

(ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)

1 ฮ่​่องกง 403.53 541.89 379.20 271.04 278.90 2 สหรั​ัฐอเมริ​ิกา 140.46 186.09 206.15 169.22 222.18 3 กั​ัมพู​ูชา 187.96 187.23 166.52 127.64 152.52 4 ฟิ​ิลิปปิ ิ ินส์​์ 519.87 168.27 140.06 103.21 106.71 5 ญี่​่�ปุ่​่�น 206.86 205.57 139.03 110.75 97.58 6 อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย 229.88 108.18 82.70 64.18 73.15 7 เวี​ียดนาม 145.55 69.37 58.71 41.03 44.89 8 จี​ีน 28.83 36.80 49.69 38.57 43.98 9 เมี​ียนมา 95.04 118.78 68.82 41.98 39.07 10 สิ​ิงคโปร์​์ 97.67 74.69 65.95 42.66 37.83 11 ศรี​ีลั​ังกา 15.10 27.62 32.47 22.32 25.02 12 ปากี​ีสถาน 4.26 8.63 21.12 17.97 22.46 13 สหราชอาณาจั​ักร 50.10 66.22 30.80 24.90 21.51 14 มาเลเซี​ีย 118.90 83.23 31.67 22.52 21.14 15 ลาว 40.44 67.30 30.18 25.63 16.87 16 ฝรั่​่�งเศส 12.37 17.52 18.59 14.33 15.14 17 เยอรมนี​ี 35.77 29.30 21.82 13.75 14.95 18 เบลเยี่​่�ยม 19.60 26.41 24.69 22.32 14.78 19 ออสเตรเลี​ีย 36.57 33.13 18.58 14.36 14.03 20 อิ​ินเดี​ีย 45.20 48.87 17.16 14.92 9.09 รวม 20 รายการ 2,434.0 2,105.1 1,603.9 1,203.3 1,271.8 รวมอื่นๆ 211.0 214.6 123.4 95.1 84.9 รวมทุกประเทศ 2,644.97 2,319.71 1,727.31 1,298.42 1,356.67

อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%) 2563 2564 2561 2562 2563 2563 2564 2561 2562 2563 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) 9.44 -1.04 64.87 376.05 -16.83 -33.68 42.83 -10.05 67.22 40.91 5.54 -49.77 -66.91 34.14 3.22 15.55 -53.86 39.87 -10.22 -27.03 16.11 3.85 15.03

34.28 32.49 -0.39 -67.63 -0.63 -52.94 -52.34 27.66 24.98 -23.53 82.92 102.49 32.18 -30.00 66.43 41.68 -18.09 34.75 -9.40 8.12 -13.51 1.72 -12.30

-30.02 10.78 -11.06 -16.76 -32.37 -23.55 -15.37 35.04 -42.06 -11.70 17.57 144.79 -53.50 -61.95 -55.15 6.08 -25.52 -6.54 -43.92 -64.88 -23.81 -42.51 -25.54

-33.57 22.22 -7.42 -19.05 -33.54 -23.96 -17.70 80.17 -58.12 -21.20 3.01 747.44 -58.91 -69.64 -28.45 11.39 -37.25 -5.06 -49.32 -63.22 -25.26 -42.25 -26.84

2.90 31.30 19.49 3.39 -11.90 13.97 9.39 14.02 -6.94 -11.33 12.11 24.97 -13.61 -6.14 -34.18 5.69 8.73 -33.78 -2.32 -39.06 5.69 -10.76 4.49

15.26 23.36 21.95 5.31 8.02 11.93 7.11 8.07 9.64 19.66 7.25 8.11 7.82 8.86 8.05 8.69 4.66 4.79 5.50 2.99 3.40 1.09 1.59 2.88 3.59 5.12 3.98 3.69 3.22 3.82 0.57 1.19 1.88 0.16 0.37 1.22 1.89 2.85 1.78 4.50 3.59 1.83 1.53 2.90 1.75 0.47 0.76 1.08 1.35 1.26 1.26 0.74 1.14 1.43 1.38 1.43 1.08 1.71 2.11 0.99 92.02 90.75 92.86 7.98 9.25 7.14 100.00 100.00 100.00

20.87 13.03 9.83 7.95 8.53 4.94 3.16 2.97 3.23 3.29 1.72 1.38 1.92 1.73 1.97 1.10 1.06 1.72 1.11 1.15 92.67 7.33 100.00

20.56 16.38 11.24 7.87 7.19 5.39 3.31 3.24 2.88 2.79 1.84 1.66 1.59 1.56 1.24 1.12 1.10 1.09 1.03 0.67 93.74 6.26 100.00

่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ

ตลาดส่​่งออก 20 อั​ันดั​ับแรกของไทยรายประเทศ หนั​ังสื​ือและสิ่​่�งพิ​ิ มพ์​์ พ.ศ. 2564 (ม.ค. - ก.ย.)

ฮ่องกง

กัมพูชา

278.90 ล้านบาท

152.52

สหรัฐอเมริกา

ล้านบาท

222.18

ฟิลิปปินส์

3

ล้านบาท

อินโดนีเซีย

73.15

12

5

13

14

สหราชอาณาจักร

ล้านบาท

ล้านบาท

21.51

ปากีสถาน

22.46 ล้านบาท

มาเลเซีย

21.14 ล้านบาท

ล้านบาท

สิงคโปร์

43.98

37.83

ล้านบาท

6 15

39.07

จีน

ล้านบาท

4

ศรีลังกา

25.02

ล้านบาท

เมียนมา

44.89

ล้านบาท

2 11

เวียดนาม

106.71

ล้านบาท

1

ญี่ปุ่น

97.58

7 16

8 17

ลาว

เยอรมนี

ล้านบาท

ล้านบาท

16.87

ล้านบาท

9 18

15.14 ล้านบาท

19

20

ออสเตรเลีย

14.95

ฝรั่งเศส

10

14.03

เบลเยี่ยม

14.78 ล้านบาท

ล้านบาท

อินเดีย

9.09 ล้านบาท

www.thaiprint.org


86 INDUSTRIAL

ตลาดส่​่งออก 20 อั​ันดั​ับแรกของไทยรายประเทศ

บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์กระดาษ (หี​ีบ กล่​่อง ซองฯ) พ.ศ. 2561 - 2564 (ม.ค. - ก.ย.) อันดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ประเทศ

มูลค่า : ล้านบาท 2562 2563 2563

2561

อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%) 2563 2564 2561 2562 2563 2563 2564 2561 2562 2563 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)

2564

(ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)

อิ​ินโดนิ​ิเซี​ีย 2,233.20 2,429.23 2,170.96 1,541.45 1,936.29 12.84 8.78 -10.63 เวี​ียดนาม 2,929.10 2,142.83 1,705.06 1,105.52 1,635.26 11.33 -26.84 -20.43 เกาหลี​ีใต้​้ 694.12 766.33 934.16 679.50 767.87 20.23 10.40 21.90 สหรั​ัฐอเมริ​ิกา 188.07 327.45 359.66 297.40 395.54 -3.68 74.12 9.84 มาเลเซี​ีย 374.81 393.83 364.52 279.94 278.32 12.53 5.08 -7.44 ลาว 373.60 368.84 304.33 226.52 272.17 37.96 -1.27 -17.49 ออสเตรเลี​ีย 64.86 52.92 155.86 84.63 245.49 -12.36 -18.41 194.52 ญี่​่�ปุ่​่�น 263.64 259.76 240.52 179.29 153.77 2.87 -1.47 -7.41 อิ​ินเดี​ีย 23.92 87.84 125.44 75.21 141.38 46.54 267.27 42.81 ไต้​้หวั​ัน 159.37 153.09 118.17 86.58 126.57 -3.01 -3.94 -22.81 สิ​ิงคโปร์​์ 98.26 89.81 18.97 13.40 101.00 -15.84 -8.60 -78.88 กั​ัมพู​ูชา 70.09 97.17 107.08 73.94 92.50 5.52 38.64 10.20 จี​ีน 81.87 103.06 108.62 90.85 87.58 18.26 25.89 5.39 เมี​ียนมา 107.79 103.17 97.77 69.33 72.36 11.14 -4.29 -5.24 บั​ังกลาเทศ 101.13 57.45 64.13 53.94 60.10 26.16 -43.19 11.63 ฟิ​ิลิ​ิปปิ​ินส์​์ 46.68 76.57 72.21 57.81 41.15 128.66 64.02 -5.69 สหราชอาณาจั​ักร 8.81 8.55 14.02 5.57 32.83 -12.71 -3.01 64.11 ฮ่​่องกง 59.99 46.82 37.30 26.96 27.01 -89.94 -21.96 -20.33 ฝรั่​่�งเศส 9.61 12.05 10.58 9.45 23.68 -8.74 25.46 -12.24 สหรั​ัฐอาหรั​ับเอมิ​ิเรตส์​์ 22.98 22.44 12.96 8.86 16.10 -22.82 -2.33 -42.27 รวม 20 รายการ 7,911.9 7,599.2 7,022.3 4,966.2 6,507.0 4.18 -3.95 -7.59 รวมอื่นๆ 240.1 177.9 141.6 108.9 107.8 -24.20 -25.91 -20.36 รวมทุกประเทศ 8,151.93 7,777.07 7,163.95 5,075.08 6,614.72 3.05 -4.60 -7.88

-13.79 -19.63 20.16 25.95 -6.67 -18.56 102.10 -5.19 92.26 -30.31 -84.46 8.01 30.22 -13.46 1.24 -6.05 -2.46 -25.40 17.33 -46.75 -8.44 -16.86 -8.63

25.61 47.92 13.01 33.00 -0.58 20.15 190.07 -14.23 87.99 46.20 653.48 25.09 -3.60 4.38 11.41 -28.83 489.06 0.19 150.67 81.74 31.03 -1.07 30.34

27.39 31.24 30.30 35.93 27.55 23.80 8.51 9.85 13.04 2.31 4.21 5.02 4.60 5.06 5.09 4.58 4.74 4.25 0.80 0.68 2.18 3.23 3.34 3.36 0.29 1.13 1.75 1.96 1.97 1.65 1.21 1.15 0.26 0.86 1.25 1.49 1.00 1.33 1.52 1.32 1.33 1.36 1.24 0.74 0.90 0.57 0.98 1.01 0.11 0.11 0.20 0.74 0.60 0.52 0.12 0.15 0.15 0.28 0.29 0.18 97.06 97.71 98.02 2.94 2.29 1.98 100.00 100.00 100.00

30.37 21.78 13.39 5.86 5.52 4.46 1.67 3.53 1.48 1.71 0.26 1.46 1.79 1.37 1.06 1.14 0.11 0.53 0.19 0.17 97.85 2.15 100.00

29.27 24.72 11.61 5.98 4.21 4.11 3.71 2.32 2.14 1.91 1.53 1.40 1.32 1.09 0.91 0.62 0.50 0.41 0.36 0.24 98.37 1.63 100.00

่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ

ตลาดส่​่งออก 20 อั​ันดั​ับแรกของไทยรายประเทศ

บรรจุ​ุภั​ัณฑ์​์กระดาษ (หี​ีบ กล่​่อง ซองฯ) พ.ศ. 2564 (ม.ค. - ก.ย.) อินโดนีเซีย

เกาหลีใต้

1,936.29 ล้านบาท

767.87 เวียดนาม

ล้านบาท

1,635.26 2 11 สิงคโปร์

101.00 ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

278.32

สหรัฐอเมริกา

4 13

ไต้หวัน

126.57

ล้านบาท

6

7 16

ล้านบาท

8

9

17

18

10 19

จีน

บังกลาเทศ

สหราชอาณาจักร

ฝรั่งเศส

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

87.58 กัมพูชา

ล้านบาท

153.77

ล้านบาท

15

141.38 ญี่ปุ่น

272.17 5

14

อินเดีย

245.49

ลาว

ล้านบาท

3 12

ออสเตรเลีย

395.54

ล้านบาท

1

มาเลเซีย

92.50 ล้านบาท

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 133

60.10

เมียนมา

72.36 ล้านบาท

32.83

ฟิลิปปินส์

41.15 ล้านบาท

ฮ่องกง

27.01 ล้านบาท

23.68

20

สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์

16.10 ล้านบาท


INDUSTRIAL 87

ตลาดส่​่งออก 20 อั​ันดั​ับแรกของไทยรายประเทศ กระดาษและผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์กระดาษ พ.ศ. 2561 - 2564 (ม.ค. - ก.ย.)

อั​ันดั​ับ ที่​่�

ประเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

เวี​ียดนาม จี​ีน อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย เกาหลี​ีใต้​้ มาเลเซี​ีย กั​ัมพู​ูชา ลาว ไต้​้หวั​ัน อิ​ินเดี​ีย ฟิ​ิลิปปิ ิ ินส์​์ สหรั​ัฐอเมริ​ิกา ออสเตรเลี​ีย ญี่​่�ปุ่​่�น เมี​ียนมา สิ​ิงคโปร์​์ สหรั​ัฐอาหรั​ับเอมิ​ิเรตส์​์ ฮ่​่องกง บั​ังกลาเทศ เบลเยี่​่�ยม ปากี​ีสถาน รวม 20 รายการ รวมอื่​่�นๆ รวมทุ​ุกประเทศ

มูลค่า : ล้านบาท 2562 2563 2563

2561

(ม.ค.-ก.ย.)

2564

(ม.ค.-ก.ย.)

10,044.12 7,992.03 7,504.38 5,300.71 6,123.62 4,870.59 4,594.64 6,667.24 4,968.68 4,805.84 4,860.32 4,426.41 4,273.68 3,127.05 3,876.11 4,372.17 4,307.56 4,401.67 3,240.55 3,208.36 5,050.72 4,255.78 4,072.91 2,896.84 2,931.52 2,809.24 2,839.19 2,693.13 1,943.00 2,190.43 2,219.88 2,015.16 2,260.09 1,665.85 1,858.93 2,383.74 2,042.25 2,048.16 1,500.58 1,700.08 2,670.69 2,075.04 1,697.01 1,048.87 1,626.49 2,159.85 1,777.60 1,667.97 1,226.60 1,474.09 2,786.04 3,263.57 1,872.55 1,414.87 1,422.39 2,945.88 2,585.85 1,866.15 1,495.04 1,255.95 1,381.91 1,366.34 1,307.12 960.60 995.99 2,227.04 2,288.86 1,829.31 1,489.33 921.95 1,049.69 1,042.96 822.55 639.79 823.91 1,391.53 1,013.53 737.60 526.01 721.02 1,078.68 843.13 713.35 543.21 552.26 401.87 357.84 373.15 282.33 473.40 539.80 499.93 681.42 429.48 376.12 441.56 360.28 310.63 217.05 240.51 55,685.3 49,948.0 47,800.1 34,916.4 37,579.0 6,558.8 5,652.1 4,010.6 3,097.8 2,812.8 62,244.08 55,600.06 51,810.68 38,014.22 40,391.76

อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%) 2563 2564 2561 2562 2563 2563 2564 2561 2562 2563 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) 5.45 -20.43 22.46 -5.67 10.06 -8.93 -3.83 -1.48 11.60 -15.74 17.19 1.07 14.85 -9.22 -0.46 -14.33 33.89 -22.30 21.38 -17.70 9.12 17.14 0.59 -12.22 -12.99 -1.13 -5.79 2.78 -6.57 -0.64 21.03 -27.16 -32.69 -21.84 -31.17 -10.95 -7.94 -7.39 17.74 -18.41 6.38 -10.30 -9.93 -13.82 4.39 -10.67

-6.10 45.11 -3.45 2.18 -4.30 -5.14 12.15 0.29 -18.22 -6.17 -42.62 -27.83 -4.33 -20.08 -21.13 -27.22 -15.39 4.28 36.30 -13.78 -4.30 -29.04 -6.82

-6.52 49.24 -4.33 1.29 -10.66 -8.69 6.46 -4.42 -35.22 -9.69 -47.94 -24.90 -6.13 -14.06 -21.41 -30.98 -17.03 3.39 13.16 -20.80 -7.07 -28.09 -9.23

15.52 -3.28 23.95 -0.99 1.20 12.73 11.59 13.29 55.07 20.18 0.53 -15.99 3.68 -38.10 28.78 37.07 1.67 67.68 -12.42 10.81 7.63 -9.20 6.25

16.14 14.37 14.48 7.82 8.26 12.87 7.81 7.96 8.25 7.02 7.75 8.50 8.11 7.65 7.86 4.51 5.11 5.20 3.57 3.62 4.36 3.83 3.67 3.95 4.29 3.73 3.28 3.47 3.20 3.22 4.48 5.87 3.61 4.73 4.65 3.60 2.22 2.46 2.52 3.58 4.12 3.53 1.69 1.88 1.59 2.24 1.82 1.42 1.73 1.52 1.38 0.65 0.64 0.72 0.87 0.90 1.32 0.71 0.65 0.60 89.46 89.83 92.26 10.54 10.17 7.74 100.00 100.00 100.00

13.94 13.07 8.23 8.52 7.62 5.11 4.38 3.95 2.76 3.23 3.72 3.93 2.53 3.92 1.68 1.38 1.43 0.74 1.13 0.57 91.85 8.15 100.00

15.16 11.90 9.60 7.94 7.26 5.42 4.60 4.21 4.03 3.65 3.52 3.11 2.47 2.28 2.04 1.79 1.37 1.17 0.93 0.60 93.04 6.96 100.00

� า : ศู​ูนย์​์เทคโนโลยี​ีสารสนเทศและการสื่​่�อสาร สำำ�นั​ักงานปลั​ัดกระทรวงพาณิ​ิชย์​์ โดยความร่​่วมมื​ือจากกรมศุ​ุลกากร ที่​่ม

ตลาดส่​่งออก 20 อั​ันดั​ับแรกของไทยรายประเทศ กระดาษและผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์กระดาษ พ.ศ. 2564 (ม.ค. - ก.ย.)

เวียดนาม

อินโดนีเซีย

ล้านบาท

ล้านบาท

6,123.62

มาเลเซีย

3,876.11

จีน

4,805.84 1

2 11

เกาหลีใต้

ล้านบาท

3 12

4 13 ญี่ปุ่น

1,422.39

ออสเตรเลีย

1,255.95 ล้านบาท

ล้านบาท

6 15

823.91 เมียนมา

921.95 ล้านบาท

ล้านบาท

1,626.49 ล้านบาท

ไต้หวัน

1,700.08 7

16

8 17

ล้านบาท

9 18

721.02 ล้านบาท

20

เบลเยี่ยม

552.26 ล้านบาท

10 19

ฮ่องกง

สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์

ฟิลิปปินส์

1,474.09

ล้านบาท

สิงคโปร์

995.99 ล้านบาท

ล้านบาท

กัมพูชา

5 14

อินเดีย

1,858.93

2,190.43

ล้านบาท

สหรัฐอเมริกา ล้านบาท

2,931.52

3,208.36

ล้านบาท

ลาว

376.12

บังกลาเทศ

473.40 ล้านบาท

ล้านบาท

ปากีสถาน

240.51 ล้านบาท

www.thaiprint.org


THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020

แหล่งรวมข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ หนังสือ “THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020” เล่มใหม่ล่าสุดที่รวมรายชื่อข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ทั้งก่อนการพิ มพ์ หลังการพิ มพ์ รวมทั้งผู้จ�ำหน่ายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ด้านการพิ มพ์ และการซ่ อ มบ� ำ รุ ง เหมาะส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น คู่ มื อ การซื้ อ และ เป็นประโยชน์ต่อองค์กรของท่าน

พิ เศษเพี ยง

500 บาท/เล่ม ใบสั่งซื้อหนังสือ

*

จ�ำนวน ................... เล่ม

ชื่อ - นามสกุล...................................................................................... บริษัท.................................................................................................. เลขประจ�ำตัวผู้เสียภาษี......................................................................... ที่อยู่.................................................................................................... โทรศัพท์..................................โทรสาร.................................................

รายละเอียดการช�ำระเงิน

วิธีการชำ�ระเงิน

THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020

• ราคา 500 บาท/เล่ม • ค่าจัดส่ง 100 บาท/เล่ม

*ราคานีย้ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่

โอนเงินผ่านธนาคาร ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพ์ไทย” บัญชี ออมทรัพย์035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาสุขุมวิท ซอย 71

้ ได้ทส สั่งซือ ี่ มาคมการพิ มพ์ ไทย

311, 311/1 ซ.ศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688

หมายเหตุ: กรุณาส่งแฟกซ์หลักฐานการโอนเงินพร้อมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ

20191025_TP-Directory_final.indd 1

10/25/19 10:52


2): ) :+&< ) &č H * THE THAI PRINTING ASSOCIATION caaŲcaaŵa &+8+:)i 5*ae Ů 5*0A!*č/< 9*dů Ŵ&+8+:)i E / ": 8#Ā D 3Ċ/* /: +@ D &7 a`ca` F +09& č `ųbgaiųffehųg F +2:+ `ųbgaiųffhh D- =LŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ

G"2)9 +2): <

/9! =LŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ

Ċ:&D Ċ: Ů ?L5ų2 @-ů ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ Q:E3!ĉ ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ 2 :! =L < ĉ5 D- =L ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ +5 ŵ 5* ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ !! ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ Q:"-ŵE / ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ 5Q:D(5ŵD ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ 9 3/9 ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ +392H#+1 =*č ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ F +09& č ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ F +2:+ ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ G!!:) 5 "+<19 Q: 9 ŵ 3Ċ: 3@Ċ!2ĉ/! ŵ +Ċ:! Ů(:1:H *ů ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ Ů(:1:59 ,1ů ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ #+8D( @+ < Ģ F $AĊ Q:3!ĉ:*/92 @ ŵ 5@# + č Ċ:! :+&<)&č Ů+8"@ů ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ F "/! :+ ĉ5! :+&<)&č Ů+8"@ů ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ F F+ &<)&č F "/! :+3-9 :+&<)&č Ů+8"@ů ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ Q:!/!&!9 :! Ů+8"@ůŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ 2 :! =L 9M @+ < D- =L ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ +5 ŵ 5* ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ !! ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ Q:"-ŵE / ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ 5Q:D(5ŵD ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ 9 3/9 ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ +392H#+1 =*č ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ F +09& č ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ F +2:+ ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ ĭųŕʼnőŔ ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ

52)9 +D#đ!2): < 2:)9

5 Ů ĉ:- 8D"=*!2)9 +2): < b`` ": E-8 ĉ :"Q:+@ 2): < +:* b #ā cŲ``` ": +: :!=*M 9 H)ĉ+/ĉ )(:1=)-A ĉ:D&<)L ů

Ċ:&D Ċ:*<! =# <"9 < :) Ċ5"9 9" 5 2): )7 E-8 82!9"2!@! :+ Q:D!<! :! 5 2): )7 D&?L5#+8F* !čE ĉ2ĉ/!+ĉ/) @ #+8 :+ G! :+!=M Ċ:&D Ċ: F D K D#đ! Q:!/!D <! ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ ": 29L ĉ:*G!!:) 2): ) :+&<)&čH * F G3ĊH#D K" ĉ:2): < H Ċ =L ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ 3: #+: /ĉ: 8 ++) :+# <D2 =L 8+9"D Ċ:D#đ!2): < Ċ:&D Ċ: 8H Ċ+9"D <! ?!G!2ĉ/! =L Q:+8E-Ċ/ :) Q:!/! 9 -ĉ:/ Ċ: Ċ! &+Ċ5)G"2)9 +!=M Ċ:&D Ċ:H Ċ2ĉ D5 2:+D&?L5#+8 5" :+&< :+ : 9 !=M F 2Q:D!:3!9 2?5+9"+5 "+<19 F E$! =LE2 =L 9M 5 2 :!#+8 5" :+ F G"5!@ : #+8 5" < :+F+ :! F 2Q:D!:"9 =+:* ?L5$AĊ ?53@Ċ! F +A# ĉ:*2 :!#+8 5" :+ Ů Ċ:)=ů - ?L5ŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴ$AĊ2)9 + ŮŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴŴů

74_Pc4.indd 1

23/5/2561 9:04:18




เครื่องตัดฉลากมวนดิจิตอลดวยใบมีด

รุน RBJ-350

High speed die-cutting

ระบบการตัด 6 ใบมีด ความเร็วสูง ตอบทุกโจทยงานพิมพดิจิตอลมวน หัวตัดใบมีด ไมตองใชบล็อกตัด ระบบแยกเศษสติกเกอรและเคลือบลามิเนต จบงานไดในขั้นตอนเดียว มาพรอมฟงกชั่น ตัดแผนในตัว ( Roll to Sheet ) เพิ่มความคลองตัวในการทํางาน โครงสรางเครื่องแข็งแรงระดับอุตสาหกรรม รองรับมวนวัสดุขนาดใหญ ความแมนยําในการตัดสูง ลดปริมาณของเสียจากการตั้งงาน

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 5 ซอยสุขุมวิท 54 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงใต้ กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 02-332-4470 โทรสาร 02-331-4626

Nationwide

www.nationwide.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.