การแพทย์ทางเลือก

Page 1

ล เง

ก อื

ผูจัดทํา

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

 นส.ฐิตินาถ เกตพิบูลย 08530028

 นส.จารุนี อรรถอาภรณ 08530022  นส.นลัทพร ภูชื่น 08530076  นายปฐมพงษ ปน กอง 08530091


ล เง

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

การแพทยทางเลือกคืออะไร

ก อื

การแพทยทางเลือก (Alternative Medicine) คือ การรักษาพยาบาลอีกรูปแบบหนึง่ แตกตางไปจากการแพทย แผนปจจุบัน (Conventional Medicine) ซึ่งผูที่ใหการรักษา จะตองสําเร็จการศึกษาวิชาชีพแพทย และไดรับใบ ประกอบโรคศิลปะ เปนแพทยทั่วไป หรือแพทยเฉพาะทาง สวนแพทยทางเลือก เปนวิทยาการผสมผสานใหใกลเคียง กับการดํารงชีวิตของมนุษย มิใชการแพทยที่ใหการรักษาโดยใชยาแผนปจจุบัน ผูใหการรักษาไมจําเปนตองจบวุฒิ ทางการแพทยแผนปจจุบัน แตเปนผูที่ผานการอบรม และไดรับการฝกฝนจนเปนที่ชํานาญในแตละสาขา หรือ การแพทยทางเลือก คือ การแพทยที่ไมใช การแพทยแผนปจจุบัน การแพทยแผนไทยและการแพทย พืน้ บานไทย การแพทยอื่น ๆ ที่เหลือถือเปนการแพทยทางเลือกทั้งหมด

ความเปนมาของแพทยทางเลือก

แพทยทางเลือกถือกําเนิดจากประเทศทางตะวันออกก็ประเทศ ทางเอเชียโดยเฉพาะประเทศจีน ประชาชน ชาวไทยและประชากรทัว่ โลกไดหนั มาสนใจการรักษาแบบแผนโบราณทัง้ การฝงเข็ม โยคะ รําไทเกก การทําสมาธิ สมุนไพร ชีวจิต ฯลฯ ปญหามีอยูวาการรักษาแพทยทางเลือกชนิดใดที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับราคา


การพิจารณาเลือกใชการแพทยทางเลือก การพิจารณาเลือกใชการแพทยทางเลือกควรคํานึงถึงหลัก 4 ประการ คือ 1. ความนาเชื่อถือ ( RATIONAL) โดยดูจากที่วา วิธีการหรือองคความรูดานการแพทยทางเลือกชนิดนั้น ประเทศตน กําเนิดใหการยอมรับหรือไม หรือมีการใชแพรหลายหรือไม ใชมาเปนเวลานานแคไหน มีการบันทึกไวหรือไม อยางไร 2. ความปลอดภัย (SAFETY) เปนเรื่องสําคัญมาก วามีผลกับสุขภาพของผูใชอยางไร การเปนพิษแบบเฉียบพลันมี หรือไม พิษแบบเรื้อรัง มีเพียงไร อันตรายที่จะเกิดขึ้นในระยะยาวมีหรือไม หรือวิธีการนั้นทําใหเกิดภยันอันตรายตอ รางกายหรือไม เปนตน 3. การมีประสิทธิผล (EFFICACY) เปนเรื่องที่จะตองพิสูจน หรือมีขอพิสูจนมาแลว วาสามารถใชไดจริง มีขอมูล ยืนยันไดวาใชแลวไดผล ซึ่งอาจตองมีจํานวนมากพอหรือใชมาเปนเวลานานจนเปนที่ยอมรับ จากการศึกษาวิจัย หลากหลายวิธีการ เปนตน 4. ความคุมคา (Cost - Benefit - Effectiveness) โดยเทียบวา คาใชจายที่เกิดดวยวิธีนั้นๆ คุมคา สําหรับผูปวยนั้นๆ หรือไม ในโรคที่ผูปวยที่ตองทนทุกขทรมาน โดยอาจเทียบกับ เศรษฐฐานะของผูปวยแตละคน เปนตน

ก อื

ล เง

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

ประเภทของแพทยทางเลือก

การจําแนกการแพทยทางเลือกนัน้ จําแนกไดหลายแบบ 1. จําแนกตามการนําไปใช

1.1 Complementary Medicine คือ การแพทยทางเลือกที่นําไปใชเสริมหรือใชรวมกับการแพทยแพทยแผนปจจุบัน 1.2 Alternative Medicine คือ การแพทยทางเลือกที่สามารถนําไปใชทดแทนการแพทยแผนปจจุบันได โดยไมตอง อาศัยการแพทยแผนปจจุบัน 2. การจําแนกตามกลุมของการแพทยทางเลือก หนวยงานของ National Center of Complementary And Alternative Medicine (NCCAM) ของสหรัฐอเมริกา ไดจาํ แนกออกเปน 5 กลุมดังนี้ เมื่อป 2005 2.1. Alternative Medical Systems คือ การแพทยทางเลือกที่มีวิธีการตรวจรักษาวินิจฉัยและการบําบัดรักษาที่มี หลากหลายวิธกี าร ทั้งดานการใหยา การใชเครื่องมื่อมาชวยในการบําบัดรักษาและหัตถการตางๆ เชน การแพทยแผน โบราณของจีน (Traditional Chinese Medicine) การแพทยแบบอายุรเวช ของอินเดีย เปนตน


การแพทยแผนโบราณของจีน (Traditional Chinese Medicine) การแพทยแผนโบราณจีนเปนระบบแพทยศาสตรที่มีลักษณะเฉพาะของประชาชาติจีนที่ไดสะสม รวบรวม และสรุปจากการตอสูกับโรคภัยไขเจ็บ ชนิดตางๆเปนเวลาอันยาวนาน

ก อื

ล เง

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

การแพทยแผนโบราณจีนเปนชื่อรวมของแพทยแผนโบราณของชนชาติตางๆของจีน ที่สําคัญรวมทั้ง การแพทยแผนโบราณของชาวฮั่น ชาวทิเบต ชาวมองโกเลีย และชาวอุยกูรเปนตน เนื่องจากชาวฮั่นมีประชากรมาก ที่สุด มีตัวอักษรกอนใครเพื่อนและมีประวัติคอนขางยาวนาน ดังนั้น การแพทยแผนโบราณ ของชาวฮั่นจึงมีอิทธิพล มากที่สุดในจีนตลอดจนในโลกดวย หลังจากแพทยศาสตรทันสมัยของตะวันตกเผยแพรไปสูประเทศจีนเมื่อศตวรรษ ที่ 19 เปนตนมา การแพทยแผนโบราณของชาวฮั่นจึงไดชื่อวา” การแพทยแผนโบราณจีน” เพื่อใหเกิดความแตกตาง กับแพทยแผนตะวันตก


ยาจีน ยาจีนเปนสารประกอบประเภทยาที่ใชในการปองกัน วินิจฉัยและรักษาโรค ของแพทยแผนโบราณ จีน ที่สําคัญมาจากสมุนไพรธรรมชาติและผลิตภัณฑยาแปรรูป ซึ่งรวมทั้งยาที่มาจากพืช ยาที่มาจากสัตว ยา ที่มาจากแรธาตุและผลิตภัณฑยาที่ไดจากสารเคมีบางสวนกับยาที่ผลิตจากสิ่งมีชีวิตเปนตน การคิดคนและ

ก อื

การประยุกษใชยาจีนในประเทศจีน มีประวัติมานานหลายพันปแลว แตคําวา”ยาจีน”เปนคําที่เกิดขึ้นใน ภายหลังคอนขางมาก หลังจากการแพทยแผนตะวันตกเผยแพรเขาสูจีนแลว เพื่อแยกการแพทยสอง

ล เง

ประเภทออกจากกัน จึงไดมีคําวา”ยาจีน”เกิดขึ้น

า ์ย ท ท พ แ ร า ก


ก อื

ล เง

ทุยหนา

ทุยหนาคือการใชวิธีการนวดโดยเฉพาะในจุดตําแหนงบนรางกายหรือขยับรางกายบางสวนในการปองกัน

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

และรักษาโรคและบํารุงสุขภาพ หรือเรียกงายๆวา การนวด สรรพคุณของทุยหนาไดแก

1.เสริมสมรรถนะของอวัยวะภายในรางกาย การแพทยแผนโบราณจีนเห็นวา ความเปนโรคไมสบายเกิดขึ้น เพราะสมรรถนะของอวัยวะภายในรางกายไมสมดุล ทุยหนาก็คือใชวิธีการนวดใหอวัยวะตางๆ ภายในรางกายกลับคืน สูสภาวะสมดุล เพื่อบรรลุเปาหมายในการรักษาโรคภัยไขเจ็บและบํารุงสุขภาพ

วิธีการของทุยหนา


2.ทําใหเลือดลมหมุนเวียนไดดี เลือดลมถือเปนสารสําคัญที่ทําใหชีวิตดํารงอยูได เสนสายเลือดลมเปนชอง ทางการหมุนเวียน ถายทอดและเชื่อมประสานของเลือดลมในรางกายมนุษย เมื่อเสนทางเลือดลมเกิดผิดปกติ โรค ภายนอกก็จะเขาสูรางกายไดงาย และหากอวัยวะภายในเปนโรค ก็จะแสดงออกโดยผานเสนเลือดลมได ทุยหนาก็คือ ใชวิธีนวด เพื่อกระตุนใหเสนเลือดลมฟนฟูสมรรถนะการทํางานใหเปนปกติ จะชวยใหปองกันและรักษาโรคได

ล เง

า ์ย ท ท พ แ ร า ก วิธีการของทุยหนา

ก อื

3.ปรับและเสริมกลามเนื้อ เอ็นและไขขอใหแข็งแรงขึ้น การนวดตามผิวภายนอก ทําใหขอ พับปรับตัว การ นวดตามกลามเนื้อ จะทําใหเลือดลมหมุนเวียนไดคลอง และการนวดยังสามารถปรับเอ็นและกระดูกที่ถูกทําลายจน ผิดที่ใหกลับสูสภาพปกติ ดังนั้น ทุยหนาหรือการนวดจะสามารถรักษาทั้งโรคภายในและอาการฟอกฟกบวดเจ็บไดช้ํา ดวย

วิธีการของทุยหนา


การแพทยแบบอายุรเวช ของอินเดีย อายุรเวช (Ayurveda) เปนคําที่มาจากภาษาสันสกฤต ซึ่งหมายถึง ระบบการรักษาโรคแบบดัง้ เดิมของคน อินเดียในอนุทวีป และเผยแพรไปยังภูมิภาคตางๆ ทัว่ โลก ในรูปแบบของการแพทยทางเลือก ซึ่งอายุรเวชเปนระบบ วิธีรักษาโดยธรรมชาติที่สืบทอดมานานกวา 5000 ปมาแลวและอินเดียก็ถือไดวาเปนตนตํารับของอายุรเวช ที่มีกําเนิด มาจากวัฒนธรรมในยุคพระเวท แมวาจะหยุดยั้งไปในชวงที่วิธีการรักษาแบบตะวันตกเขามา แตอายุรเวชก็ยังคงไดรับ การสืบทอดและฟนฟูทั้งในอินเดียและแพรขยายไปในที่ตางๆ

ก อื

นอกเหนือจากการรักษาโรคภัยไขเจ็บ อายุรเวช ยังเปนศาสตรแหงชีวิต อายุร (Ayur) หมายถึง ชีวิตที่ยืนยาว และ เวช (Veda) หมายถึง ศาสตร หรือ ความรู การใหภูมิปญญาแกรางกาย ที่ออกแบบมาเพื่อชวยเหลือผูคนใหคง ความมีชวี ติ ชีวา ขณะเดียวกันก็ตระหนักถึงศักยภาพอันเต็มเปยมของมนุษย ใหแนวทางในการดําเนินชีวิตประจําวัน และประจําฤดูกาล อาหารการกิน พฤติกรรม และการใชประสาทสัมผัสไดอยางเหมาะสม อายุรเวชทําใหเราตระหนัก วาสุขภาพคือการประสานกันอยางสมดุลและมีพลังระหวาง สิ่งแวดลอม รางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

ล เง

ดวยความตระหนักวามนุษยนั้นเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ อายุรเวช อธิบายถึงพลังงานพืน้ ฐาน 3 ประการ ที่ ควบคุมบังคับสิ่งแวดลอมทั้งภายในและภายนอกของเรา นั่นคือ การเคลื่อนไหว การเปลี่ยนรูป และโครงสราง ซึ่งใน ภาษาสันสกฤตเรียกวา วาตะ (Vata) หมายถึง ลม พิตตะ (Pitta) หมายถึง ไฟ และ คัปภะ (Kapha) หมายถึง ดิน อํานาจ พื้นฐานนี้ที่ทําใหเกิดคุณลักษณะเฉพาะของรางกายและจิตใจของเรา พวกเราแตละคนจะมีสัดสวนของอํานาจทั้งสาม นี้แตกตางกันที่ทําใหเกิดอุปนิสัยเฉพาะของเรา


กง เปนตน

2.2. Mind-Body Interventions คือ วิธีการบําบัดรักษาแบบใชกายและใจ เชน การใชสมาธิบําบัด โยคะ ชี่

สมาธิ สมาธิแปลวา การมุงมั่นกระทําดวยความตั้งใจ แนวแนของจิต เกิดขึ้นครั้งแรกในภูมิภาคตะวันออก โดยเฉพาะทางศาสนา ศาสนาแรกทีม่ กี ารบันทึกไวถงึ การทําสมาธิคอื ศาสนาฮินดู ในประเทศอินเดีย ซึ่งตอมาไดถูก ดัดแปลงและนํามาใชนอกเหนือบริบททางศาสนา เชนการนํามาใชในการออกกําลังกาย เชน หัตโยคะ ชีก่ ง การทํา สันสกฤตยานา (Sanskrit dhayana) หรือศิลปะแขนงตางๆ ของประชาชนพื้นบานในแถบเอเซีย (martial art) เปนตน โดยเนนเรื่องความสงบเยือกเย็นและการเขาถึงจิตวิญญาณของธรรมชาติ

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

ล เง

ก อื


โยคะ

ล เง

ก อื

โยคะ คือ การบริหารกาย ลมหายใจ และ การผอนคลาย (อาสนะ และ ปรารณายาม) โดยเวนหรือขามสวนที่ เปนการฝกจิตโดยตรง ขณะเดียวกันยังคงแฝงนัยแหง การฝกจิดโดยออมอยูอยางครบถวน คําวา อาสนะ มาจากรากศัพทภาษาสันสกฤตวา อาส ซึง่ หมายถึง มีอยู อาศัยอยูใ น นัง่ เงียบ ๆ อยูอาศัย พํานัก ตาม ศัพท อาสนะ หมายถึง การนั่งหรือนั่งในทาใดทา หนึ่ง ในเรือ่ งโยคะอาสนะ หมายถึง ทาและตําแหนงตางๆ ในการฝก โยคะ เชน การยืนดวยศีรษะ (ศีรษะอาสนะ) ทาดอกบัว (ปทมอาสนะ) ฯลฯ อาสนะนับเปนหนึ่งในแปดแขนงของโยคะแบบดั้งเดิม ในตําราโยคะสูตร มีสวนที่ วาดวยปรัชญาของโยคะ คือ "ปธัง ชลี" ซึ่งใหคําจํากัดความอาสนะดวยคํา 2 คํา คือ เสถียร และสุขุม เสถียรหมายถึง ความมั่นคง ความคงที่ ความแนวแน โดยมากจากราศัพทวา สถ ซึ่งหมายถึงการยืน สุขุมหมายถึงการผอนคลาย สบาย ความสุขเมื่อจิตของกายอยูในสภาวะ ที่ตรงขามกับเสถียรและสุขุม กลาวคือ อยูในสภาวะไมคงที่จํากัด รอนรนและไมมีสมาธิจะทําใหเรามีแนวโนมที่จะใช ชีวิตอยางยาก ลําบาก ขัดแยง เครียด และขาดความสุข การฝกโยคะชวยสรางความคงที่และผอนคลายที่สัมผัสได ผาน จิตของกาย อันจะกอประโยชนทั้งดานสมาธิและชีวิตประจําวันโดยทั่วไป การฝกโยคะนั้นตางจากการออกกําลังกายแบบอื่นๆ ที่เปนที่นิยมกัน เชน แอโรบิค ยกน้ําหนัก หรือวิ่งอยางสิ้นเชิง จุดประสงคของการฝกอาสนะไมใชการพัฒนาความแข็งแรงของกลาม เนือ้ หรือความแข็งแรงของกลามเนื้อหัวใจ (แมโยคะจะมีประโยชนเชนนั้นดวยก็ตาม) แตโยคะมีจุด ประสงคเพื่อฟนฟูจิตของกายใหกลับมาสูสภาวะความ เปนอยูที่ดี ผอนคลาย และตื่นตัวอยูเสมอ การฝกโยคะมีผลตอจิตของกายในทุกๆ ดาน เชน ดานรางกายโดยผอนคลาย รักษา และสรางความแข็งแรง ยืดเสนยืด สายระบบกระดูก กลามเนื้อ กลามเนื้อหัวใจ ระบบการยอยอา หาร ตอมตางๆ ในรางกาย และระบบประสาท ผล ทางดานจิตใจ จะเกิดผานการสรางจิตใจที่สงบ ความตื่นตัวและสมาธิ ผลทางดานจิตวิญญาณ คือ การเตรียมพรอม สําหรับการทําสมาธิ และสรางความแข็งแกรงจาก "ภายใน"

า ์ย ท ท พ แ ร า ก


2.3. Biologically Based Therapies คือวิธกี ารบําบัดรักษาโดยการใช สารชีวภาพ สารเคมีตา ง ๆ เชน สมุนไพร วิตามิน Chelation Therapy , Ozone Therapy หรือแมกระทั้งอาหารสุขภาพเปนตน

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

ล เง

ก อื


2.4. Manipulative and Body-Based Methods คือ วิธกี ารบําบัดรักษาโดยการใช หัตถการตางๆ เชน การ นวด การดัด การจัดกระดูก Osteopathy ,Chiropractic เปนตน

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

ล เง

ก อื


2.5. Energy Therapies คือวิธีการบําบัดรักษา ทีใ่ ช พลังงาน ในการบําบัดรักษา ทีส่ ามารถวัดไดและไมสามารถ วัดได ในการบําบัดรักษา เชน การสวดมนตบาํ บัด พลังกายทิพย พลังจักรวาล เรกิ โยเร เปนตน การไปวัด การไหวพระ สวดมนต แผเมตตา เปนกิจกรรมที่ชาวพุทธเราปฏิบัติกันเปนประจําใน ชีวิตประจําวัน การสวดมนตเราอาจจะสวดมนตทําวัตร เชา - เย็น, สวดมนตบทแผเมตตา, บทสรรเสริญคุณพระ รัตนตรัย อิตปิ โ ส ภควา สวดคาถาพาหุงมหากาฯ สวดพระปริตรธรรม บทตาง ๆ เหลานี้ ชาวพุทธเราจะคุน เคย กันดี สําหรับศาสนาอืน่ ก็สวดบทสวดในศาสนาของตน แตปจ จุบนั สภาพสังคมเปลีย่ นไป คนมีเวลานอยลง สนใจ ทํากิจกรรมทางอื่นกันมากกวา การไหวพระสวดมนต บานกับวัดเริม่ หางกัน วิทยาศาสตรกบั ศาสนา เริม่ หางกัน ศรัทธาในศาสนาและการปฏิบัติธรรมเริ่มหางออกไปจากมนุษยในยุคปจจุบัน คนกับพระก็ตางคนตางอยู หางกัน ออกไป อยางไรก็ตามการวิจยั ของแพทยในยุคปจจุบนั นีก้ ลับพบวา การไหวพระสวดมนต การไปวัดทํากิจกรรมทาง ศาสนามีผลทําใหสุขภาพดี และรักษาโรคไดดวย

ก อื

ล เง

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

การสวดมนต (Prayer) ถือวาเปนกิจกรรมสําหรับพัฒนาทางจิตวิญญาณ ในศาสนาตาง ๆ จะมีการสวดมนต กันเปนประจํา ไมวาจะเปนพราหมณ ฮินดู พุทธ คริสต อิสลาม ลวนแตมีกิจกรรมอันนี้ มนุษยรูจักการสวดมนต มาเปนพัน ๆ ป ตัง้ แตครัง้ โบราณ การสวดมนตทาํ ใหเราผอนคลาย จิตเปนสมาธิ นอกจากสวดมนตเราก็ไปฟง ธรรม หรือเรียนคําสอนของศาสนา ไปทําบุญแลวรูส กึ สบายใจ ไปรักษาศีลในวันสําคัญ ไปฝกสมาธิ วิปส สนา ซึง่ การฝกสมาธิ วิปส สนาไดกลาวไปในบทกอน ๆ แลว ในบางศาสนาก็มกี จิ กรรมชวยคนดอยโอกาส ในดานการศึกษา ในดานการรักษาโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ ซึ่งเปนกิจกรรมที่ทําใหเรารูสึกสบายใจ หรือที่เรียกกันวา ไดบุญคือทําให


คุณภาพจิตใจดีขึ้น ชวยใหสละกิเลสตัณหาไดในบางขณะนั่นเอง ซึ่งจะต

องฝกไปจนกวาจะละไดโดยเด็ดขาดตาม

หลักศาสนาของตนซึ่งคําสอนแตละศาสนาก็แตกตางกันไป อยางไรก็ตามนักวิทยาศาสตรทางสุขภาพพบวา การทํา กิจกรรมเหลานี้มีผลตอสุขภาพของคนเรา ปจจุบันนี้การสวดมนตเพื่อบําบัดโรค (Prayer Healing) เริม่ นํามาใชมากขึน้ โดยเฉพาะจิตแพทยในอเมริกา จากการ สํารวจพบวารอยละ 72 เริม่ ใชวธิ กี ารทางศาสนาเขารวมกับการบําบัดทางจิตของตนุ แตอยางไรก็ตามยังมีชอ งวางทาง ความคิดอยางมากระหวางแพทยและความตองการทางศาสนาของคนไข King และคณะ พบวา แพทยอเมริกันรอย

ก อื

ละ 83 มีการพูดคุยเกี่ยวกับศาสนากับคนไขนอยมาก ในจํานวนนี้รอยละ 93 ยอมรับวาควรใหความสําคัญกับประเด็น ของความเชือ่ ทางศาสนาตอสุขภาพของผูป ว ย7 การศึกษาตอมาของคิงส พบวารอยละ 77 ของผูปวย เห็นวาแพทย ควรใหความสนใจตอความตองการทางศาสนาในแงสขุ ภาพของคนไข8

ล เง

อยางไรก็ดีตั้งแตปค.ศ. 1990 เปนตนมา

งานวิจัยเกี่ยวกับ เรื่องของกิจกรรมทางศาสนากับสุขภาพเริ่มมากขึ้นชี้ใหเห็นถึงผลดีของการทํากิจกรรมทางศาสนา (

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

Religiosity and Spirituality) ตอสุขภาพ เชน งานวิจัยในผูที่นับถือคริสต แบบเซเวนเดย แอดเวนติส ( Seventh day Adventists ) พบวา ผูที่ปฏิบัติตามหลักศาสนานี้มีผลดีตอสุขภาพ เปนโรคมะเร็งและโรคเรื้อรังนอย อายุยืนขึ้น พวกนี้รับประทานมังสวิรัติ หยุดงานวันเสารและปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อของตน


Reference http://www.thaicam.go.th/index.php?option=com_content&view=frontpage&Itemid=1 http://pineapple-eyes.snru.ac.th/alo/index.php?q=node/23 http://thai.cri.cn/chinaabc/chapter13/chapter130101.htm http://learningpune.com/?p=19481

า ์ย ท ท พ แ ร า ก

ล เง

ก อื


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.