Landscape Portfolio 2019

Page 1
































สภาพพื้นที่ปี 2495

เป็นสภาพพื้นที่ก่อนการทำ�เหมือง มีลักษณะ ภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนยอดโดด

สภาพพื้นที่ปี 2524

สภาพพื้นที่ปี 2549

พื้นที่ถูกใช้ประโยชน์ในการทําเหมืองหินเกิด เทือกเขาถูกทำ�ลายลงโดยการระเบิดหินเป็น มลภาวะจากกรรมวิธีการทําเหมือง การสูญเสีย จำ�นวนมาก ทำ�ให้เกิดลักษณะเว้าแหว่งหลายส่วน ทัศนียภาพ และโบราณสถานที่มีอยู่

สภาพพื้นที่ปี 2561

เป็นสภาพพื้นที่ที่ได้มีการพัฒนาแล้วในบางส่วน

CONCEPT NEW LEASE ON LIFE ECOLOGICAL

การเพิ่มความมีชีวิตชีวาของพื้นที่อุทยานหินเขางูในส่วนที่เป็นภูเขาและเทือกเขาหินปูน นอกจากจะมีการปลูกพืชเพื่อฟื้นฟูสภาพป่าธรรมชาติให้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์ ยังสามารถเพิ่ม ความมีชีวิตได้ด้วยการเชื่อมต่อพื้นที่ที่ไม่สามารถเข้าถึงได้ในบางพื้นที่ เพื่อการเข้าถึงที่จะเป็นประโยชน์ ต่อการฟื้นฟูระบบนิเวศต่อไป และเพิ่มกิจกรรมให้มนุษย์มีส่วนร่วมกับพื้นที่ในแต่ละบริเวณ

[idm] - ความมีชีวิตชีวาอีกคร แนวคิด New lease on life เป็นกา การพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ให้มีคว ถึงได้และพื้นที่ที่ยังไม่ถูกค้นพบเข้าด้วยก หลาย และฟื้นฟูสภาพธรรมชาติให้มีควา

COMMUNITY

การเพิ่มความมีชีวิตชีวาให้กับชุมชนที่อยู่ภายในพื้นที่อุทยานห การจับจ่ายใช้สอยของนักท่องเที่ยวที่เข้ามาใช้เวลาในพื้นที่ โดยเชื่อ Active ให้แก่ชุมชน โดยมีกิจกรรมร่วมปลูกป่าชุมชนเพื่อฟื้นฟูระบ นิเวศที่สมบูรณ์ในที่สุด


รั้ง, การมีชีวิตใหม่อีกครั้ง ารพัฒนาพื้นที่อุทยานหินเขางูซึ่งเป็นการต่อยอดจากที่ได้มี วามน่าสนใจที่เกิดจากการเชื่อมต่อพื้นที่ ทั้งพื้นที่ที่เปิดให้เข้า กัน เปิดมุมมองและประสบการณ์ใหม่จากเส้นทางเดินที่หลาก ามอุดมสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

หินเขางู ส่งเสริมให้เกิดการค้าขายจากชุมชน และ อมต่อเส้นทางจักรยานผ่านชุมชน สร้างความ บบนิเวศของอุทยานหินเขางู เพื่อรวมเป็นระบบ

LEGEND

1. Parking 2. Information Building 3. Wetland 4. Wetland trail 5. Plaza 6. Workshop & Nursury 7. View point area A 8. Tunnel 9. View point area B 10. Mountain trail 11. View point area C 12. Service building 13. Pavilion 14. Raft 15. Limestone trail 16. Climbing area 17. Monkey way 18. Restaurant 19. Lake trail 20. Cave trail 21. Pond 22. Indoor market 23. Outdoor market

MASTER

PLAN


PHASING

PHASE I เป็นพื้นที่ตอนใต้ ครอบคลุมในส่วน บริเวณที่มีการพัฒนาในบางส่วน พื้นที่ชุมชน และ พื้นที่ภูเขาส่วนที่มีความสำ�คัญเป็นแหล่งโบราณคดี โดยทำ�การฟื้นฟูสภาพธรรมชาติและทำ�เส้นทางเดิน ที่เชื่อมต่อกันเป็นส่วนๆ PHASE II เป็นพื้นที่ทางตอนเหนือ ซึ่งเป็นเทือกเขา ที่มีความต่อเนื่องกัน เข้าถึงได้ไม่มากนัก และค่อน ข้างมีความแห้งแล้ง ทำ�การฟื้นฟูให้มีสภาพเป็นป่า ที่ใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สุด Worship zone เป็นบริเวณที่แหล่งโบราณสถานที่สำ�คัญ ประกอบด้วย ถ้ำ�จาม ถ้ำ�จีน รอยพระพุทธบาท ถ้ำ�ฝาโถ ถ้ำ� ฤาษีเขางู และพระพุทธฉาย ทำ�เส้นทางสักการะบูชาตาม รอยแหล่งโบราณสถานที่มีอยู่ในพื้นที่ Community Zone เป็นพื้นที่ชุมชนเดิม ทำ�เส้นทางปั่นจักรยานให้ เดินทางผ่านชุมชนเพื่อเป็นการกระจายรายได้ให้แก่ท้อง ถิ่น นอกจากนี้ยังรณรงค์ให้มีการปลูกป่าชุมชน เพื่อสภาพ แวดล้อมที่ดีของชุมชนและระบบนิเวศของอุทยานหินเขางู Mountain zone เป็นพื้นที่ภูเขาหินปูนที่มีแหล่งน้ำ�จากการระเบิด หิน ทำ�การเชื่อมต่อ trail ต่างไเข้าด้วยกัน ซึ่งแต่ละ trail จะ มีความน่าสนใจที่แตกต่างกัน และเปิดมุมมองสู่ทัศนียภาพที่ สวยงามตามเส้นทางเดิน

Mountain zone

Community Zone

walking

riding bicycle

taking photo

indoor & outdoor market

planting tree

planting tree

watching fireflies at night

Worship zone 1

walking worship tour taking photo

SECTION A


SECTION A

SECTION B

Plaza ปลูกต้นแคฝรั่งเป็นจุดหยุดพักผ่อน/ถ่ายภาพ

SECTION C









Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.