บันทึกธรรมจากหลวงปู่
พระราชญาณวิสทุ ธิโสภณ ( หลวงปู่ท่อน ญาณธโร ) วัดศรีอภัยวัน จ.เลย หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
คำนำ บันทึกธรรมจากหลวงปู่ เป็นข้อธรรมทีท่ รง คุณค่าของพระเดชพระคุณ พระราชญาณวิสทุ ธิโสภณ (หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร) ทีแ่ สดงไว้ในโอกาสต่างๆ รวบรวมมาในหนังสือเล่มเล็กๆ นี้ เพือ่ เป็นการถวาย มุทติ าสักการะและเพือ่ เป็นอนุสรณ์ เนือ่ งในงานอายุ วัฒนมงคลครบ ๘๐ ปี ของพระราชญาณวิสทุ ธิโสภณ ในวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ขอกุศลผลบุญที่ เกิดจากหนังสือเล่มนี้ จะเป็นพลวปัจจัยให้หลวงปู่ มีอายุยนื ยาว สุขภาพแข็งแรง อยูเ่ ป็นร่มโพธิร์ ม่ ไทร ของลูกศิษย์ตลอดนานเท่านาน ขออนุโมทนาในกุศลเจตนาของผู้ม ีจ ิต ศรัทธาบริจาคทรัพย์และทีม่ สี ว่ นร่วมทุม่ เท แรงกาย แรงใจ ดำเนินการในส่วนต่างๆ จนหนังสือเล่มนี้ สำเร็จมาอำนวยประโยชน์แก่ทา่ นผูอ้ า่ น ๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ขออำนาจบารมีธรรมหลวงปู่ ได้นำให้ ทุกท่าน พบแสงสว่างแห่งธรรมส่องนำทางชีวติ ไปสูค่ วามวิมตุ ติ หลุดพ้นด้วยกันทุกท่าน เทอญ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๓
หลวงปูผ ่ ใู้ ห้ พระราชญาณวิสุทธิโสภณ (หลวงปู่ท่อน ญาณธโร) เกิดเมือ่ วันเพ็ญเดือน ๖ ตรงกับวันอังคาร ที่ ๓ พฤษภาคม ๒๔๗๑ ที่ บ.หินขาว ต.สาวัตถี จ.ขอนแก่น นามเดิมท่อน ประเสริฐพงษ์ เป็นบุตร คุณแม่ทา คุณพ่อแจ่ม ประเสริฐพงษ์ เป็นบุตรคนที่ ๖ มีพน่ี อ้ งรวม ๑๙ คน หลวงปูบ่ วชเมือ่ อายุ ๒๑ ปี ทีว่ ดั ศรีจนั ทราวาส มีหลวงปูค่ ำดี ปภาโส วัดป่าชัยวัน เป็นพระอาจารย์สอนวิปสั นากรรมฐานให้แก่หลวงปู่ นำเข้าป่าและถ้ำต่างๆเพือ่ ปฏิบตั ธิ รรมหลายต่อหลายปี หลวงปู่ได้ช่วยหลวงปู่คำดีสร้างวัดถ้ำผาปู่จวบจน หลวงปูค่ ำดีมรณภาพ ปี ๒๕๐๐ ญาติโยมนิมนต์ให้หลวงปูท่ อ่ น ไปอยู่ที่ป่าช้านาโป่ง จ.เลย หลวงปู่และญาติโยม ได้รว่ มกันก่อสร้างวัดศรีอภัยวันขึน้ ณ ป่าช้านาโป่ง แห่งนั้น ในเนื้อที่ประมาณ ๔๐ ไร่เศษ ภายหลัง ได้ขยายเพิม่ เป็น ๖๐ ไร่เศษ ๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปู่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะ ทีพ่ ระญาณทีปาจารย์ เมือ่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๓๕ และทีพ่ ระราชญาณวิสทุ ธิโสภณ เมือ่ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ หลวงปู่เป็นผู้มีเมตตาธรรมสูงยิ่ง ใครได้ อยูใ่ กล้หลวงปู่ จะรูส้ กึ ฉ่ำเย็นเป็นสุขสงบตามจริยวัตร ทีง่ ดงามของหลวงปู่ มีอารมณ์ดอี ยูเ่ ป็นนิจ เมตตา ต่อทุกสรรพสิง่ เสมอกัน เมตตาทีจ่ ะโปรดญาติโยม โดยไม่คำนึงถึงองค์หลวงปู่เองว่าจะลำบากลำบน ทุกข์เข็ญเช่นไร เป็นหลวงปูผ่ มู้ แี ต่ให้โดยแท้ ลูกศิษย์ ของหลวงปูร่ ดู้ วี า่ “ญาณวิสทุ ธิโสภณ” ของหลวงปูน่ น้ั เด่นชัดประจักษ์ใจประจักษ์ตาเพียงใด ธรรมะจาก หลวงปู่จงึ บริสทุ ธิแ์ ละทรงคุณค่าสูงยิง่ บันทึกธรรมะ จากหลวงปูเ่ ล่มนี้ จึงมีคุณูปการเป็นอเนกอนันต์ ต่อผู้ใฝ่ประพฤติ ปฏิบัติธรรม ตามรอยสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยคำสอนของหลวงปู่ ผูเ้ ป็นทีร่ กั และเคารพยิง่ ของเรา หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๕
ญาณธราศิรวาท สิบนิว้ น อมประนมก มลงกราบ รำลึกภาพบำเพ็ญดับเข็ญขันธ บัวบุญจึงเบ งบานกลางธารธรรม ทัว่ ชนชัน้ ทุกถิน่ ฐานเนิน่ นานปี พิสทุ ธิแ์ ห งพุทธศาสน ประกาศก อง ชนแซ ซ องสดับธรรมนำวิถี ตลอดอายุวฒ ั นะแปดสิบปี สุขเกษมเปรมทวีอริยคุณ พระราชญาณวิสทุ ธิโสภณ ผู เปีย่ มล นเมตตาธรรมนำเกือ้ หนุน ขอพระรัตนตรัยอวยชัยในผลบุญ ประสิทธิส์ นุ ทรีศาสน พิพฒ ั น ชัย ขอพระอยู เป็นมิง่ เกล าของเหล าศิษย์ ชุบชีวติ ส องธรรมทางสว างไสว บังบาปเบิกบุญพ องทัว่ ผองไทย เทิดถวายชัยพรหลวงปูท่ อนเทอญ
๖
ร้อยกรองบูชา
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๗
๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
บันทึกธรรมจากหลวงปู่ พ่อแม่ทา่ นมีเมตตาให้แก่เรา เราจึงได้เกิด ได้เติบโต ในตอนทีแ่ ม่อมุ้ ท้องเรา ๙ เดือน แม่ต้องลำบากขนาดไหน? จะกินอะไรก็ ระวัง แม้ของที่แม่ชอบ ถ้ากินแล้วจะไม่ ดีตอ่ ลูก แม่กอ็ ดใจไม่กนิ เวลาจะทำอะไร ก็ลำบากทรมาน แต่แม่ไม่เคยบ่น ยิง่ เวลา คลอด แม่ลำบากขนาดไหนแม่เจ็บปวด รวดร้าวขนาดไหน? แม่เสียเลือดเสียกำลัง ไปขนาดไหน? แม่สลบไสลกีค่ รัง้ แม้ปานนี้ แม่ ก ็ ย ั ง ไม่ โ กรธลู ก เลยที ่ ท ำให้ แ ม่ ต ้ อ ง เจ็บปวดรวดร้าวขนาดนี้ ขอเพียงให้ลกู ของ แม่ปลอดภัยก็พอแล้ว ลูกงอแงเวลาไหน มือแม่ถึงสายเปลเวลานั้น คอยไกวเปล เห่กล่อมจนลูกแม่หลับ ถึงทาเล็บสวยๆ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๙
ถ้าลูกแม่ออึ อกมาแม่กล็ ยุ เลยไม่มรี งั เกียจ ของๆลูก ไม่ว่าน้ำมูกน้ำลายแม่ก็เช็ดเอา งมเอา บางทีใช้ปากดูดน้ำมูกให้ลูกก็มี พ่อกับแม่ท่านช่วยกันดูแลฟูมฟักรักษา ริ้นไม่ให้ไต่ไรไม่ให้ตอม เพราะท่านรัก ท่านเมตตาเราอย่างสุดหัวใจ ดัง่ พระราชนิพนธ์ทล่ี น้ เกล้ารัชการที๖่ ทรง ประพันธ์ไว้ดงั นี้ อันความกรุณาปรานี จะมีใครบังคับก็หาไม่ หลัง่ มาเองเหมือนฝนอันชืน่ ใจ จากฟากฟ้าสุราลัยสูแ่ ดนดิน บุญคุณของพ่อของแม่มใี ห้กบั เรามากมาย มหาศาลขนาดนี้ เราผูเ้ ป็นลูกจะเนรคุณท่าน ได้หรือ? ให้รจู้ กั คุณของพ่อแม่แล้วกตัญญู ตอบแทนพระคุณท่าน ๑๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูไ่ ด้เลือ่ นสมณศักดิ์ ญาติโยมพากัน ตืน่ เต้นดีใจ หลวงปูเ่ มตตาให้สติ “เลือ่ นชัน้ ก็เหมือนเก่านั้นแหละ คนก็คนเดิม กิเลส ก็ยังเหมือนเดิม ไม่ได้ลดไปด้วยเลย ถ้า เห่อเหิม กิเลสมันจะยิ่งเจริญขึ้นไปอีก ไม่น้อยไปเบาไปได้เลย เมายศหมดสง่า เมาสุ ร าหมดสำคัญ เมาพนันหมดตัว เมาผัวลืมพ่อ เมาเมียลืมแม่ เมาวั ย ลื ม แก่ เมากระแช่ลืมกัญชา เป็นเพียงแค่ สมมติกันขึ้น เพื่อช่วยกันทำงานให้พ ระ ศาสนาเท่านั้นแหละ” คำพูดที่ไม่ได้พิจารณา ก็ย่อมกระทบ กระเทือนผู ้ อ ื ่ น ให้ พ ิ จ ารณากลั ่ น กรอง ให้ดีเสียก่อนจึงค่อยพูด หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๑
เวลาที่หลวงปู่ท่านกลับมาวัด หลังจากไป กิจนิมนต์นานๆ ท่านมักจะดูออ่ นแรงเสมอ พระรูปหนึง่ กราบเรียนถามท่านว่าหลวงปู่ ไม่เหนื่อยหรือครับที่อายุตั้งขนาดนี้แล้ว (๘๐ปี) ยังต้องไปกิจนิมนต์นานๆตลอด? หลวงปูเ่ มตตาตอบว่าเหนือ่ ยก็สว่ นเหนือ่ ย ใจก็ส่วนใจสิ มันเหนื่อยพอกินข้าวแล้ว พักผ่อนก็หาย นอนไปในรถก็ได้ แต่เรา ต้องไปโปรดญาติโยม ญาติ โ ยมเพี ย ง คนเดียวถ้าได้พบหลวงปู่แล้วโยมเขา หายทุกข์ก็คุ้มแล้ว
๑๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เราไม่คุย เราไม่นอกลู่นอกทาง รักษา ความสงบไว้อย่างนัน้ ไม่ตอ้ งคุยโอ้อวดผูใ้ ด อย่าไปคุยโอ้อวดมันจะเสื่อม เสื่อมเลย มันไม่สงบอีกแล้ว ไม่ตอ้ งคุยโอ้อวดผูใ้ ดเลย ไม่ต้องยกตนเทียมท่าน ไม่ต้องยกตน ข่มท่าน โอ้อวดใครก็ไม่ใช่ มันรู้เรื่องอยู่ มันรู้เรื่องราวอยู่อย่างนั้นๆ เราก็สบาย ของเรา ยิม้ อยูแ่ ค่นน้ั ใครจะว่าอะไรก็ยม้ิ จิตจะอยูเ่ หนือโลก เหนือธรรม ไม่หวัน่ ไหว กับโลกธรรมทั้งหลาย ขอให้ทำไปเถิด อย่าได้โอ้อวดตกใจ ดีใจ ภูมใิ จ มันจะเป็น วิปลาส นิพพานใจจะต้องเด็ดเดีย่ วมากนะ ต้อง ไม่ห่วงใคร จะต้องไปคนเดียว หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๓
การปฏิบัติธรรมนั้น นอกจากการตั้งสติ แล้วไม่มอี ย่างอืน่ ยิง่ ไปกว่า ไม่วา่ ยืน เดิน นัง่ นอน ก็มสี ติระลึกได้ ถ้าเดินนึก เดินคิด นัง่ นึก นัง่ คิด นอกนึก นอนคิด ไม่ชอ่ื ว่า ปฏิบตั ธิ รรม เขาเรียกกันว่าฟุง้ ซ่านไปตาม สัญญาอารมณ์ ถ้ามีสติระลึกได้ทุกเมื่อ มี ส ั ม ปชั ญ ญะประกอบด้ ว ยยิ ่ ง ดี ใ หญ่ เป็นการปฏิบตั ธิ รรมโดยแท้ เกิดบังดับ โลกบังธรรม งามบังผี ดีบงั จริง สมมติบงั วิมตุ ติ หลักธรรมบังพระนิพพาน แม้ภเู ขาสูงแสนสูง หากบุคคลผูม้ คี วามเพียร พยายามปีนป่ายขึน้ ไปจนถึงยอด ภูเขาสูง แสนสูงก็ตอ้ งอยูใ่ ต้ฝา่ ตีนของคนผูน้ น้ั ๑๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
การละบาปนั้น บาปมันมายังไง บาปมา ทางจิตใจเกิดที่จิตใจ โลภ โกรธ หลง มันเป็นบาป ชำระบาปทั้งหลายได้ด้วย การปฏิบัติธรรมรักษาศีลไม่ให้มันกำเริบ เสิบสาน ไม่ให้มันแก่กล้าขึ้น หากปล่อย ไปตามอำนาจมัน ทำให้เดือดร้อนทำลาย ตัวเอง กิเลสเป็นเหมือนสนิมเกาะกินใจมนุษย์ อยู่ตลอดเวลา หากปล่อยให้มันเกาะกิน จิตใจไม่รู้จักระวังรักษา ใจของเราย่อม หมดคุณภาพ เป็นใจเสื่อมโทรม กิเลส มันร้อน มันเป็นไฟ ต้องระวังอย่าลุอำนาจ กิเลส อันจะทำให้กระทบกระเทือนผูอ้ น่ื เขา
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๕
จิตหรดี คือ จิตที่เด็ดเดี่ยว ตั้งมั่น ไม่หวัน่ ไหวไปกับอะไร เป็นมงคลอย่างยิง่ หลวงปู ่ ม ั ก เตื อ นว่ า คนดี ช อบแก้ ไ ข คนจัญไรชอบแก้ตัว คนชั่วชอบทำลาย คนมั ก ง่ า ยชอบทิ ้ ง คนจริ ง ชอบทำ คนระยำชอบติ อย่าส่งจิตออกนอก ส่งออกมันเป็นบ่วง แห่งมาร อย่ากินของร้อน อย่านอนบนไฟ ให้ไปอย่างแร้ง แสวงหาบริสุทธิ์ ๑๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
(ราคะ โทสะ โมหะ) (โลภ โกรธ หลง) (ไม่ตดิ ไม่สะสม) (ของที่ชอบธรรม)
อย่าไปรีบ ไปเร่ง อย่าไปเคร่ง ไปเครียด ให้ปฏิบัติไปเรื่อยๆ เวลาจะได้ มาเอง นั่นแหละ อย่าไปยึดมั่นในสิ่งใดๆแม้ การปฏิบตั ิ อย่าไปสนใจจิตของผู้อื่น จงสนใจจิต ของตน การประพฤติปฏิบัติตนของบุคคลที่ได้ ชื่อว่าเป็นภิกษุที่ยึดเหนี่ยวแนวทางของ หลวงปู่ คือ มีนอ้ ยใช้ตามน้อย มีมากเอา ไว้สงเคราะห์ผู้ไม่มี อยู่ไปตามมีตามได้ พอใจในสิ่งที่มีอยู่ ไม่ขอใคร ยินดีกับ ความเพียรเพือ่ หวังความพ้นทุกข์
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๗
อาหารบิณฑบาตประเสริฐกว่ารับนิมนต์ หรือเขามาส่งตามวัด หลวงปู่ไปเมตตาคนป่วยด้วยคำเตือนใจ สั้นๆว่า รู้อยู่ที่ใจได้ไหม ใครจะเป็นอย่างไรก็ยิ้ม ยืนยิม้ ดูไปเฉยๆ ปฏิบัติพอเริ่มรู้เริ่มเข้าใจ ให้ระวังตัว มานะทิฏฐิว่าคนอื่นดีไม่เท่าตัวเองหมด ขาดความเคารพ แม้ภายนอกจะดูอ่อน น้อมแต่จติ ใจเย่อหยิง่ มันเป็นจิตวิปลาส สัญญาวิปลาส เราคนเดียวเทีย่ วรัก เทีย่ วโกรธหาโทษใส่ตัว ๑๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ให้มสี ติอยูใ่ นกาย เวทนา จิต ธรรม เอาจิต อยูก่ บั ๔ อย่างนีใ้ ห้ตลอดเวลา พิจารณา โดยแยบคายพิจารณาอย่างนี้ ทำอยูอ่ ย่างนี้ จะสบาย เอาธรรมเป็นผูต้ ดั สินเสมอๆ ให้มีสติตามดูจิต เหมือนคนเดินบนถนน ลืน่ ๆต้องระวังทุกก้าว ให้มีสติจดจ่อไม่ วาง ดูจติ มันจะปรุงไปไหน จะคิดไปไหน จดจ่อดูมันก็ได้ แน่ๆจะไปไหน ถ้ามัน ดือ้ นัก ถ้ายังไป เราจะไม่นอนให้นะ การมีสติรตู้ วั พร้อมจึงเรียกทำความเพียร ไม่จำเป็นว่านั่งสมาธิ เดินจงกรมจึงเรียก ทำความเพียร ถ้าไม่มีสติรู้ตัวฟุ้งคิดไป เรือ่ ยก็ไม่เรียกทำความเพียร เมือ่ อิรยิ าบถ ใดจะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอนมีสติรู้ตัว พร้อม จึงเรียกว่าทำความเพียร หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๙
การแผ่ เ มตตาต้ อ งแผ่ เ ป็ น อั ป ปมั ญ ญา ถ้ามีวา่ คนนีร้ กั ให้มากๆ คนไม่ชอบใจ ไม่ให้ แสดงถึงความมีอคติ ต้องให้เท่าเทียม ไม่เจาะจง ให้หมด ใจจึงเป็นกลาง ให้หมด แหละ แผ่เมตตาให้เต็มดวง พ่อแม่จะได้บญ ุ น้อยลงไปไหม? ไม่หรอก เหมือนพระอาทิตย์ ส่องโลก มันก็สว่างไปหมดทั่วทุกมุมโลก ทุกคนก็เห็นความสว่างเท่ากันหมด (หลวงปู ่ เ ล่ า เรื ่ อ งนางปั ฏ ฏาจาราเถรี ) ทุกข์ทเ่ี กิดขึน้ กับเธอในครัง้ นีใ้ ครทำ ไม่ใช่ เธอทำเองหรือ เพราะความรัก ความยึด มั่นในสิ่งรัก จึงทำให้ทุกข์ มี ร ั ก ที ่ ไ หน มีทุกข์ที่นั่น
๒๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๒๑
เมือ่ เราเพียรเพ่งดูจติ ดูความคิด ความนึก ของตัวตลอดไม่ยอมให้หลุดจากจิต แล้วเรา จะเข้าใจสังขาร อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง มันปรุงให้เรา ดีใจ เสียใจ ร้องไห้ หัวเราะ โศกเศร้า มันปรุงเราได้ๆ เวลาไหนเราไม่ปรุงไม่แต่งไปตามสังขาร ราคะ โทสะ โมหะ สังขารปรุงไม่ได้ เรียก นิพพานชัว่ ขณะ
๒๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ให้มสี ติแนบกับความรู้ ให้เป็นหนึง่ เดียวกัน รวมเป็นก้อนเดียว เอาก้อนนี้มาพิจารณา กายคตาสติ พิจารณาลมหายใจเป็นไตรลักษณ์ หรือมองกระดูกเอามันจุดเดียว ไม่ตอ้ งนึก ต้องคิด มันจะแจ้งมันเอง เห็นหมดในร่างกาย แจ้งในความไม่มีอะไรเป็นเรา มีแต่ของ สกปรก เอาให้เห็นความโง่บรมโง่ของเรา ของมันเน่ามันเปื่อย มีแต่ของสกปรก เราหลงรักหลงยึด จนจะตายกับของไม่เทีย่ ง แถมไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มีแต่ของโสโครก อีกอย่างทำให้ชำนาญในฌานการเข้าการออก การดำรงในฌาน ให้พิจารณาจนเห็นทุกข์ในโลก เห็นโทษ ของกาม หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๒๓
ทีว่ า่ ว่างๆนัน้ คือมันว่างจากอารมณ์ ยินดี ยินร้าย แต่ความรูไ้ ม่วา่ ง รูช้ ดั ทุกลมหายใจ หายใจเข้าก็รชู้ ดั หายใจออกก็รู้ชัด รู้อยู่ ตลอดเวลา แต่วา่ งจากอารมณ์ ยินดี ยินร้าย เหมือนดังชามทีว่ า่ ง ไม่มอี ะไรเลย ให้มคี วามเมตตาปรารถนาดีกบั สรรพสัตว์ จริงๆอย่างไม่มปี ระมาณ ไม่วา่ คนนัน้ สัตว์นน้ั จะดีกบั เราแค่ไหนหรือร้ายกับเราขนาดไหน ก็ ใ ห้ เ มตตาปรารถนาดี เ ท่ า เที ย มกั น อย่าให้มีเลือกที่รักมักที่ชังแม้แต่น้อย ให้เหมือนดังแม่เมตตาลูก ไม่คดิ จะทำให้ ทุกข์แม้แต่นอ้ ย ทัง้ กาย วาจา ใจ
๒๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
รักษาจิตให้ดี มีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นทีอ่ ยูข่ องใจ สำรวมอินทรีย์ พิจารณาวิปัสสนาภูมิ อริยสัจ ๔ มรรค ๘ คือ ทางเดิน ตามดูอาการหลับให้ละเอียด มันค่อยๆ หลับไปอย่างไร เมือ่ เกิดความปรุงแต่ง ก็ให้รู้ รูแ้ ล้วพิจารณา ตลอดสาย พิจารณาให้เกิดปัญญา รูแ้ ล้วดับ สมาธิ คือ สมาธิ ยังเป็นสมุทยั พอถอนให้ พิจารณากาย เอาให้มันเบื่อหน่าย ไม่งั้น จะเกิดทิฏฐิวา่ ตัวได้ ตัวถึง เป็นวิปลาส หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๒๕
ให้ดกู ระดูกอย่างเดียว ดูจดุ เดียว อย่าไป พิจารณากาย ๓๒ งานมันมาก เอาอย่างเดียว เอามันให้แจ้ง มันก็คลายได้ เอามันอยู่ อย่างนั้น จะเดินจงกรม ไม่เดินจงกรม พิ จ ารณาให้ เ ห็ น ว่ า กายมั น ไม่ ใ ช่ เ รา มั น ไม่ ใ ช่ ข องเรา มั น ไม่ ม ี อ ะไรเลยที ่ น่ายึดมั่น มันแค่เครื่องอาศัยชั่วคราว เร่งทำให้มาก เอาให้จริง พระรู ป หนึ ่ ง ชมขาบาตรหลวงปู ่ ว ่ า สวย หลวงปูก่ ม้ ลงไปถามขาบาตรอย่างอารมณ์ดี “สวยเหรอๆ ขาบาตรมันก็ไม่ว่ามันสวย มันก็เฉยๆ อยู”่
๒๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
รูปก็สกั ว่ารูป เสียงก็สกั แต่วา่ อย่าไปยินดี ยินร้าย มีความรูช้ ดั อยูอ่ ย่างนัน้ ให้ดคู วามรู้ ให้ดๆ ี จีล้ งไปๆ จะเกิดความมหัศจรรย์ ทำจิตตัง้ มัน่ ให้รู้ รูอ้ ยูอ่ ย่างเดียว ให้มจี ติ ดวงเดียวให้มนั ใสแหน๋วอยูด่ วงเดียวเท่านัน้ รูว้ า่ ใสอยูต่ ลอด ดังน้ำบนใบบัว กลมใสแหน๋ว รูอ้ ยูอ่ ย่างนัน้ ผ้าจีวรให้เป็นผ้าขี้ริ้ว ผ้าราคาถูกแค่ไหน แพงหรือดีแค่ไหน กายมันก็ไม่รอู้ ะไรด้วย เอามาคลุมกายกายมันก็เฉยๆอยู่ มันไม่เห็น ว่ า อะไร มี แ ต่ ก ิ เ ลสมั น ไปยึ ด โน้ น ยึ ด นี ้ ยึดสมมติทางโลก ต้องอย่างนัน้ ดี อย่างนี้ ไม่ดี แล้วก็ทกุ ข์เอง
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๒๗
กิเลส (ราคะ โทสะ โมหะ) มันเกิดขึ้น ทีหลังจิตเรา จิตจริงๆมันบริสุทธิ์ กิเลส ไม่ใช่จติ เรา มันมาปรุงมาแต่ง มันเกิดมา ทีหลัง เราจะยอมให้มนั มาเป็นใหญ่กว่าจิต เราได้อย่างไร มันมาทำฟอร์มเป็นเพือ่ นเรา เพือ่ นกินเพือ่ นกันเพือ่ นรูไ้ ม่ทนั เพือ่ นกัน เอาไปกิน รู้ทันมันเอาครึ่ง รู้ไม่ถึงมัน เอาหมด ให้รทู้ นั มัน เมือ่ มันเกิดให้รใู้ ห้ทนั เมือ่ เขาด่าเรา ทำเราโกรธ จริงๆมันก็ตวั เขา ไม่ใช่ของเรา จิตเรายังเป็นหนึง่ ยังนิง่ เป็นหนึง่ ดังกับเขาตบมือข้างเดียว เราไม่เอามือไปรับ มันก็ไม่ดงั มันก็ไม่ถงึ เรา กิเลสมันไม่ใช่เรา มันไม่ใช่ของเรา มันเกิดขึน้ ไม่นานมันก็ดบั เราเคยโกรธมาตัง้ มากเดีย๋ วนีม้ นั ไปไหน หมด ๒๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ถ้าเราเสียเปรียบเราดีใจ ถ้าเราได้เปรียบ เราเสียใจ อันไหนดีให้เขา ของเราอย่างไร ก็ได้ นี่เรียกคนใจเจริญ ให้เขานิดเดียว เราเอามากๆไม่ดเี ลย เราผิดธรรม ตำหนิ ตัวเองใจเราเสื่อม ใจเราไม่ดี ให้เอาชนะ ความตระหนีเ่ หนียวแน่นด้วยความเสียสละ ถ้ายังคิดว่าเราจะเอาชนะคนอื่นด้วย การเอารัดเอาเปรียบเขา ก็ได้ขึ้นชื่อว่า เป็นผูแ้ พ้ (ตนเอง) ตลอดไป พึ ง ชนะความโกรธด้ ว ยความไม่ โ กรธ พึงเอาชนะความเบียดเบียนด้วยความ ไม่เบียดเบียน ชนะคนไม่ดีด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ด้วยการให้
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๒๙
การปฏิบัติอย่าอยากได้ อยากเห็น อยากเป็นใดๆเลย ให้รมู้ นั อยูอ่ ย่างเดียว มีอะไรก็ชา่ ง รูอ้ ยูอ่ ย่างเดียว ถ้าอยากก็ไม่ ไปไหน เป็นสมาธิอยูก่ ห็ ลุดจากสมาธิ เรา ปฏิบตั เิ พือ่ ความปล่อยวาง เพือ่ ละความ ยึดมั่นต่างๆ เพื่อละความยินดียินร้าย เราเป็นผูด้ ไู ม่ใช่ผบู้ งั คับให้มนั เป็น ครั้งหนึ่งหลวงปู่นั่งภาวนา แต่ในหมู่บ้าน ตีกลองเสียงดังมาก หลวงปูจ่ งึ เปลีย่ นเสียง ที่รำคาญใจเป็นเสียงธรรม หูได้ยินอยู่แต่ มันดังเป็นเสียงธรรมทีใ่ จ ป๊ะโทนๆป๊ะโทนๆ (เสียงกลอง) เวลามาดังทีใ่ จ เป็นทำจริงๆ ได้ผลจริงๆ เสียงนกตัวหนึง่ ร้อง คิดคักๆ คิดคักๆ ตัวหนึ่งตอบออกมาว่า คิดแล้ว คิดๆ คิดแล้วคิดอีกๆ ๓๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ไม่มีห่วง ไม่มีดีใจ เสียใจ ไม่มีพอใจ ไม่พอใจ ไม่มหี วั เราะ ไม่มรี อ้ งไห้ ไม่มบี ญ ุ ไม่มีบาป ไม่มีดี ไม่มีเลว จึงใกล้พระ นิพพาน ถ้ายังห่วงแสดงว่ายังไกลอยูน่ ะ ยังเก็บ ยังกอบ ยังกำ ยังโกยอยู่แสดง ว่ายังห่างอยู่มาก เราจะไม่ให้มีความห่วง อยู่เลย จะไม่ให้มีความตระหนี่ถี่เหนียว มาเป็นใหญ่กว่าใจเราได้เลย เราจะขูด ออกขัดออก จิตปรุงกิเลส คือ จิตเริม่ คิดก่อน คิดชอบ คิดไม่ชอบ เมือ่ ความคิดเกิดจึงปรุงให้เกิด กิเลส โลภ โกรธ หลง เมือ่ กิเลสเกิดขึน้ เรา ไม่มีสติสัมปชัญญะพอจะดับกิเลส มันก็ ปรุงจิตให้คดิ วุน่ วายไปเรือ่ ย ไม่ผอ่ งใส พอ จิตคิด มันก็ปรุงให้กเิ ลสเพิม่ ขึน้ ๆ หมุนกัน เป็นเกลียว จนกว่าจะมีสติ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๓๑
มี พ ระกราบเรี ย นถามหลวงปู ่ เ รื ่ อ งของ สถานที่ ทีน่ ด่ี ไี หมครับ ? หลวงปูเ่ มตตาว่า ดี...ดี มันไม่เคยด่าใคร ไม่บ่นให้ใคร ฝนตกก็เฉย แดดออกก็เฉย ใครจะทำ ความสะอาดก็เฉย ใครทำสกปรกก็เฉย ไม่ดใี จ ไม่เสียใจ ไม่รสู้ กึ ใดๆกับอะไรทัง้ สิน้ น้ำใสน้ำนิง่ จะเห็นปลา เห็นทรายชัด ถ้าน้ำ กระเพือ่ มก็ไม่เห็น เปรียบกับจิตทีเ่ ป็นหนึง่ หยุดนิง่ ย่อมรูห้ มดมีอะไรรูห้ มด รูจ้ ติ ผูอ้ น่ื ต้องทำให้เป็นวสีจงึ จะรูไ้ ด้ตลอด จิตมันใส กลมบ้าง เป็นจุดสว่างบ้าง ไม่มี รูปร่างที่แน่นอน ถ้ามันมีความรู้ชัดแจ้ง ดีในตัวมัน นีแ่ หละตัวจิต แต่ถา้ มีความรู้ ไปรูม้ นั มันเป็นนิมติ ๓๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ถ: มีสิทธิ์รู้ได้ไหมครับว่า ใครดี ใครไม่ดี ใครจะโกงเรา ต: รู้อยู่ รู้ได้อยู่ที่ใจ แต่นักปราชญ์ท่านไม่ รุกรานเขาหรอก ถ้าเขาชั่วก็ชั่วของเขา ถ้าเขาไม่ยอมกลับตัว มันก็ต ัวของเขา ครู บ าอาจารย์ ก ็ บ อกไม่ ไ ด้ แ ล้ ว เขาทำ ตัวเขาเอง เรื่องของเขา เวลาภาวนาต้องไม่มีตัวไม่มีตนไม่มีอะไร เป็นอาการว่างไปหมด แต่ความรู้ไม่ว่าง ให้ยอ้ นเข้ามาพิจารณาธรรมะว่า เราตกอยู่ ในกองทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เราเป็นผูร้ ู้ ผูเ้ ดียว แม้ทส่ี ดุ ก็ไม่มเี ราในรูน้ น้ั ไม่ยดึ มัน่ ยึดถืออะไรอีก วางหมด มันเบาไม่หนักแล้ว
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๓๓
ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นน่าฟังน่าใส่ใจ หากใครได้ฟังธรรมะแล้วมีจิตใจชื่นบาน ท่านว่าคนนั้นมีบุญมาก เพราะได้สัมผัส ความสงบเย็นชุ่มฉ่ำแห่งอมฤตรสวารีของ องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ดุม่ เดิน ดัน้ ด้น เด็ดเดีย่ ว เดียวดาย ดีเด่น โด่งดัง ดึงดูด ในทีส่ ดุ ก็ดว่ นดับ อย่าดีดดิน้ ดือ้ ด้าน ดักดาน ถือตัว อันเป็นทางตรงกัน ข้ามกับธรรมะ วาจาใดทีท่ ำให้ตนเองบ้าง ทำให้ผอู้ น่ื บ้าง ไม่สบายหู ไม่สบายใจ วาจานัน้ ถือว่าเป็น วาจาที่ไม่ควรพูด
๓๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
พึงชนะความโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะความเบียดเบียน ด้วยความไม่เบียดเบียน หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๓๕
เมื่อนกจับต้นไม้ต้นใด มันก็ถือว่าสักแต่ จับอยู่เท่านั้น เมื่อบินไปแล้วก็หมดเรื่อง ไม่มีความอาลัยกับต้นไม้นั้น อริยทรัพย์ ๗ คือ ศรัทธา ความเชื่อที่มี เหตุผล มัน่ ใจในหลักทีถ่ อื ในความดีทท่ี ำ ศีล รักษากายวาจาใจให้เรียบร้อย ประพฤติ ถูกต้องดีงาม หิริ ความละอายใจต่อ การกระทำชั่วทั้งปวง โอตตัปปะ สะดุ้ง กลัวต่อการทำบาปทุกชนิด พาหุสัจจะ เป็นผูไ้ ด้ยนิ ได้ฟงั มามาก จาคะ การเสียสละ ช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้อื่นให้ทานเสมอๆ ปัญญา รอบรูใ้ นกองสังขารและสรรพสิ่ง รูบ้ าป รูบ้ ญ ุ รูค้ ณ ุ รูโ้ ทษ เป็นตัวกรอง ไม่ใจเบา อย่าให้ถกู กิเลสหลอกลวง ขบคิดพิจารณา ในเหตุผล ดีชว่ั ถูกผิด รูค้ ดิ รูพ้ จิ ารณา ๓๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
อริยทรัพย์ เป็นทรัพย์อนั ประเสริฐอยูภ่ ายใน จิตใจ ดีกว่าทรัพย์ภายนอก เพราะไม่มผี ใู้ ด แย่งชิงได้ ไม่สญ ู หายไปด้วยภัยอันตรายใดๆ ทำใจให้ไม่อ้างว้างยากจน เป็นทุนสร้าง ทรัพย์ภายนอกได้ดว้ ย ทำกายทำจิตให้สบายไม่ขัดข้อง มีโอกาส ได้ทำความเพียร นั่งสมาธิ เจริญภาวนา พิจารณาอสุภะ ดูของเน่าของเปื่อยของเหม็น การอยู่ป่าช้าเป็นที่เหมาะแก่การภาวนา ทำให้จิตเกิดธรรมะ ธรรมะเป็นสัปปายะ เกิดความสลดสังเวช เห็นอสุภะเห็น เขาชำแหละคน ผู้หญิงทั้งหลายก็แค่นี้ ผู้ชายทั้งหลายก็แค่นี้
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๓๗
สติระลึกได้ ใจไม่ลอยไปทางอืน่ ไม่เผลอ ไม่หลง มีความระลึกได้ถี่ยิบเป็นมหาสติ หากรู้ตัวว่าเราทำอะไรอยู่คิดปรุงอะไรอยู่ เป็ น สั ม ปชั ญ ญะ สติ ส ั ม ปชั ญ ญะเป็ น ธรรมมีอุปการะมาก ถ้าพร่ำเพ้อเจ้อเป็น คนขาดสติ สติ ต ้ อ งทำขนาดไหน ทำ ให้ เ หมื อ นเราเดิ น ไปในที ่ ล ื ่ น ๆ ต้ อ ง เอาเท้าจิกดินหากพลาดก็ลื่นล้ม อย่างนี้ เรียกว่าการตัง้ สติ หายใจเข้า รู้ กำหนดพุท หายใจออก รู้ กำหนดโธ เป็นการตั้งสติ อย่าหายใจทิง้ เฉยๆ ถ้ามัวคิดไปอย่างอืน่ ใจลอย ฟุง้ ซ่าน เขาเรียกว่า นอกลูน่ อก ทางไม่อยู่ในทาง ต้ อ งรวมพลั ง จิ ต ไปอยู ่ จ ุ ด เดี ย วจึ ง เกิ ด พลังพิเศษ จึงเห็นธรรม ๓๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เหตุทม่ี รี กั มีชงั ยินร้าย ยินดี ก็เพราะมันมี สมมติ ถ้าวิมตุ ติไปแล้วก็เฉยๆ เหมือนผม ที ่ โ กนออกจากหั ว แล้ ว เล็ บ ที ่ ต ั ด แล้ ว เอาไปกองไว้ ไม่วา่ ดี ชัว่ ตัดออกจากเจ้าของ ไปแล้ว ใครจะว่า ดี ชัว่ สกปรก มันก็อยูอ่ ย่าง นัน้ คนไปสำคัญว่า ดี ชัว่ สกปรก กันเอง ใจวิมุตติหลุดพ้นไม่ยึดไม่ถือ วางแล้ว สบาย ทำใจให้วางอยู่ทุกวัน มีชีวิตอยู่ก็ วางอยู่ วางแต่ยังไม่ตายวางได้สบายมาก เหมื อ นดั ง คนที ่ ต ายแล้ ว หั ด ทำใจให้ เป็นไปอย่างนี้เสมอๆ วางอยู่เสมอๆ เราก็จะไม่มี เราก็จะไม่ทุกข์ ไม่สุข ไม่หวง ไม่ห่วง ไม่ติดในห้วงมหรรณพ สักว่าแต่อยู่ สักว่าแต่ใช้อาศัยไปเฉยๆ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๓๙
ไปยืนดูสมมติอยู่ เป็นเรื่องปวดหัวจริงๆ ทวนกระแสเข้ า มาหาตั ว ว่ า ตั ว ไปรั บ รู ้ อะไรบ้าง มากมายขนาดไหน ไม่มีอะไร น่ า ยึ ด ถื อ จะไปหายึ ด อะไรกั น นั ก หนา ถ้าไม่ยดึ ไม่ถอื อะไรเลย วางได้แล้ว ถ้าปล่อย ถ้าวางแล้ว ใจก็ว่าง อยู่ด้วยความว่าง ถ้ า ใจวางก็ เ หมื อ นคนตายแล้ ว ไม่ ม ี อะไรจะยึดถือ ว่าง...วางเฉย ทำจิตให้ว่างจากสมมติ ไม่มีดีไม่มีชั่ว คนไปสำคั ญ มั ่ น หมายเอาเอง ไม่ ม ี ความสำคัญ ไม่มั่น ไม่หมายในสิ่งใด อยู ่ เ หมื อ นหลั ก เหมื อ นตอ วางลงได้ ขนาดนัน้ วางได้กเ็ บาสบายไม่มอี ะไรหนัก ธาตุขันธ์ร่างกายก็ไม่หนัก พร้อมที่จะวาง อุปทานขันธ์ พร้อมเสมอแล้วทีจ่ ะตาย ๔๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ความสันโดษ มักน้อยเป็นทรัพย์อัน ประเสริฐของผูต้ อ้ งการความพ้นทุกข์ ผูใ้ ดได้รบั ความสงบมากๆคนนัน้ คนรวย ผูใ้ ดสะสมกองกิเลสมากๆมีรปู เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์มากๆฟุม่ เฟือย อยู่ในกามสุข คนนั้นคนจน มีหนทางถึง หายนะแน่นอน บวชแล้ว ถ้าไม่ยินดีในความสงบสงัด ไม่สนั โดษมักน้อย มักมากมักใหญ่ใฝ่สงู ไม่หลีกเร้์ นทำความเพียร คลุกคลีมวั เมา ทำให้เกิดอารมณ์น านั ป การ ไม่ ไ ด้ ร ั บ ความสงบ เมื่อไรจะเบาบางสักที กิเลส ก็หนาแน่นขึ้นๆ เป็นดินพอกหางหมู เมื่อไรจะถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะกิเลส หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๔๑
ภิ ก ษุ ใ นธรรมวิ น ั ย ต้ อ งเป็ น ผู ้ ส ั น โดษ มั ก น้ อ ยไม่มักมาก นอนน้อย กินน้อย ยินดีในที่สงบสงัด จะได้รับความสงบ ให้กาย วาจา ใจ อยู่ด้วยความสงบ ไม่ลุอำนาจแก่กิเลสทั้งหลาย เป็นเหตุ ให้ เ กิ ด ความสลดสั ง เวชเกิ ด ขึ ้ น ในใจ ได้เห็นธรรม เป็นธรรมเป็นวินัยแล้ว
ให้คดิ ทุกอย่างก่อนพูด แต่อย่าพูดทุกอย่างทีใ่ จคิด
๔๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เพียรแผดเผากิเลสในใจของเรานี่แหละ มันปรุงไป แต่งไป มีความรัก มีความชัง ความยินร้าย ความยินดี ดีใจ เสียใจ ร้องไห้ หัวเราะเหล่านีม้ นั เป็นกิเลส ไม่นกึ ไปตาม มันแผดเผามันไปเลย เอาอยู่กับพุทโธ นี่แหละ หายใจเข้าเป็นพุท หายใจออก เป็นโธ เรือ่ งอืน่ อย่ามาปรุงเรา เราไม่ไป ถ้ า ไปก็ เ รี ย กว่ า ตามใจมั น ใส่ ฟ ื น ใส่ เชื้อเพลิงให้มัน ไอ้พวกกิเลสก็ได้กำลัง ถ้าไม่ไปตามมันก็น้อยลงๆจนไม่มีเลย ไม่ ม ี น ึ ก คิ ด ไปทางนอกเลย เรี ย กว่ า เอาชนะมันได้
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๔๓
ถ: ผมเฝ้าดูเฝ้ารู้อยู่ที่จิต สติอยู่กับจิต รู้ที่รู้ ดูเข้าไปเรื่อยๆ มันละเอียดเข้าๆมันก็ ใสขึ้นๆครับ ต : ตามรู้มันอยู่ ไม่เผลอ มันก็ใสขึ้นมา ไม่ขุ่นไม่มัว ไม่มืด ให้ดูอยู่ทุกขณะ ให้รอู้ ยูท่ กุ เมือ่ อย่าหลง ถ: ผมตามดู ผมเห็ น ความคิ ด ที ่ ม ั น ผุ ด ออกมาจากตรงนี้ ถ้าเราตามดูอยู่ต รงนี ้ ความคิดมันจะก่อรูปได้ไม่ มากครับ ได้ยิบแย๊บก็ดับไปเลยครับ ต: เขาเรียกว่าสัมปชัญญะความรู้ตัว ถ้าสติ สัมปชัญญะไม่เผลอหนักๆเข้ามันได้กำลัง เอาจนไม่เผลอ ไม่หลงไป ตามสัญญาอารมณ์ มันจะมายัว่ ยุแนวนัน้ แนวนีก้ เ็ ฉย รูท้ นั มัน อยู่ ดูเป็นเพียงทีย่ ว่ั ยุเฉยๆยุให้รำ ตำให้รว่ั ๔๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ยั่วให้แตก เราไม่ไปตามมันแล้ว เราอยู่ อย่างนี้เขาเรียกว่า ชนะกิเลสตัวเอง อวิชชา คือความไม่รู้ ถ้ารูอ้ ยูเ่ ป็นวิชชา ให้มีสติ ความระลึกได้ มีสัมปชัญญะ ความรู้ตัวอยู่เสมออย่าให้เผลอ จิตเป็น หนึ่งอยู่ รู้อยู่ เป็นหนึ่งอยู่ รู้ตัวอยู่ เรียก ว่าไม่เผลอ ไม่หลง ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่ปล่อย ออกนอกลู่นอกทาง อยู่ในฌานอยู่เสมอ กำหนดเวลาไหนก็ได้เวลานัน้ ถีเ่ ข้าๆจนไม่มี ช่องว่างพอให้สังขารเข้าแทรกได้เลย
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๔๕
มัวแต่หว่ งโลกอยู่ เลยไม่ได้ไปพระนิพพาน ผู้จะไปพระนิพพานได้ท่านไม่ห่วง ไม่มี ห่วงโลกห่วงใดๆทัง้ นัน้ เรือ่ งรูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ท่านตัดขาด พรวดไปเลย ไม่มีอีกแล้ว เรียกว่า ตัด กิเลสตายคลายกิเลสหลุด ถึงวิมุตติ มรรคผลนิพพาน สว่างโร่ไม่มดื อีกแล้ว ผู้เจริญย่อมไม่เบียดเบียนใคร ไม่อาฆาต ใครไม่พยาบาทใคร ให้อภัยแก่คนทุก จำพวก ไม่เอาเรือ่ งเอาราวอะไรกับใครเลย ต้องพร้อมทีจ่ ะให้อภัยอยู่เสมอ อย่างนี ้ ใจเราสบาย ใจมันต้องเผ็ดเด็ดเดี่ยวลงไป ทำความ เพียรแผดเผากิเลสให้หนักแน่น ๔๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หัวใจมันข้องอันนั้น อันนี้ เรียกว่าผู้ยังมี ภาระอยู่มากมาย ไปไหนหนามก็เกี่ยว วางไม่ได้เลย เกีย่ วเกาะอยูอ่ ย่างนัน้ แหละ รู้จักว่ามันเป็นเครื่องผูก ก็ยังไปยึดอยู่ได้ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านี้ เครื่องผูกเครื่องข้อง เครื่องถ่วงความ เจริญให้ตดิ อยู่ ในวัฏฏสงสาร จงอยูก่ บั พระวินยั ให้เคร่งครัด พิจารณาอสุภะให้มากๆเอาให้กิเลสคลาง ไปเลย ไม่นอนตามกิเลส ไม่ฉนั ตามกิเลส ไม่เอาความสบายเพื่อกิเลส ทรมานมัน อดตาหลับขับตานอน นั่งภาวนาก็ให้ มันได้นานๆหน่อย ไม่ใช่พอง่วงก็หลับเลย ทำความเพียรให้เข้มแข็ง ทำข้อวัตรปฏิบตั ิ ให้มนั จริงจัง เอาจนกิเลสมันเหือดแห้งไป หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๔๗
ถ: กิเลสชอบหลอกจิตให้คิดมากให้กังวล หลอกให้เป็นทุกข์ จิตก็รู้ว่ามันมาหลอก อีกแล้ว แต่จติ ก็ชอบยอมให้กเิ ลสหลอกลวง ต: ก็ธรรมดาแหละ เราเป็นพวกเดียวกับเขา มานานแล้ว แต่นี่เราจะหนีจากเขาไป นิพพาน เขาก็รมุ เรา เขาไม่อยากให้เราไป เขาก็เพียรพยายามจะดึงดูดเราไว้ ถ: กิเลสชอบหลอกว่ามันทุกข์ไม่เท่าไรหรอก ทุกข์นดิ หน่อย ไม่ตอ้ งกลัวมัน ต: อะไรเป็นกิเลส กิเลสอย่างอื่นก็ไม่เท่าไร หรอก ใจเราเป็นกิเลสเอง ใจเสียดาย ใจยัง ห่วงยังอาวรณ์กบั โลกอยู่ ไปไม่ได้แล้ว กิเลส รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ก็ไม่เท่าไรหรอก แต่กิเลสใจของเรานี่สิ มันเป็นโมหะอยู่ กิเลสเป็นของร้อนเผา ตัวเอง ให้รเู้ ท่ามัน มันก็ไม่มารบกวนหรอก ๔๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ผู้จะไปพระนิพพานต้องไม่มีอะไรข้อง สักอย่าง รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ก็ไม่ขอ้ ง ต้องเป็นผูเ้ ลีย้ งง่าย กินง่าย อยูง่ า่ ย นอนง่าย มีแต่งา่ ยๆ มันก็ไม่ขอ้ ง หวง ห่วง ห้วง หวง เรามีของแล้ว ไม่อยาก ให้ใครได้ดว้ ย หวงเมีย หวงลูก ไม่อยากให้ ใครมายุง่ ห่วง คิดถึง ลูกได้กนิ อะไรบ้าง ไหมหนอ? ห่วงไปห่วงมามันข้องเป็น ห้วงมหรรณพ ติดไปไหนไม่ได้ กามโอฆะ ภวโอฆะ ทิฏฐิโอฆะ อวิชชาโอฆะ โอกแอ่ง แก่งกันดาร
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๔๙
มีรกั ทีไ่ หนมีทกุ ข์ทน่ี น้ั ความรักความใคร่ มันโตขึ้นมาได้ รักน้อยๆต่อไปมันก็รัก มากเข้าๆ เมื่อไรจะออกจากกันได้ ถ้าจะ ออกจากกันก็เป็นห่วงเป็นทุกข์ ความผูก ความพันมันเหนียวแน่นมาก เหนียวแน่น จนลืมตัวเอง ใครจะว่าชัว่ ก็ตามที ใครจะว่าดีกต็ ามชัง อยูอ่ ย่างนัน้ แหละไม่มดี ี ไม่มชี ว่ั ตามใคร ทัง้ นัน้ โลกธรรมถูกต้องไม่หวัน่ ไหว สบายตัว คนเดียวก็พอ
๕๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
คนเราชอบหลงหาเรือ่ งข้องใส่ตวั เอง เห็น รูปถูกใจๆก็ไปข้อง เห็นเสียงถูกใจๆก็ไปข้อง ได้กลิน่ หอมๆถูกใจก็ไปข้อง รสอร่อยๆ ก็ไปข้อง โผฏฐัพพะเครือ่ งถูกต้องร่างกาย อยากได้ผา้ ดีๆทีน่ อนดีๆก็เป็นเครือ่ งข้อง โลกทัง้ หลายเขาอยูด่ ว้ ย ราคะ โทสะ โมหะ ติดกันอยูแ่ ค่น้ี เขาทำไปตามอำนาจกิเลส เขาจะไปไหนๆทำอะไร ก็เอากิเลสออกหน้า ใส่ปุ๋ยให้ราคะ โทสะ โมหะ มันก็ใหญ่โต ไปเรือ่ ยๆเพราะตามใจมันทุกอย่าง ทำให้หลง หลงรัก หลงใคร่ หลงอยากได้ หลงยินดี หลงหาทัง้ ตาปี ไม่รเู้ บือ่ เชือ่ ตัณหา หลงแล้ว ก็ตดิ ติดในรูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ พอมันพลัดพรากจากเราไป ก็เป็นทุกข์ เพราะความหลง ถ้าไม่เพ่ง ไม่ตดั มันเสียก่อน มันก็มกี ำลังอยูอ่ ย่างนัน้ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๕๑
พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งแผดเผา กิเลส ไม่ได้เผลอได้หลงไปไหน อยู่กับ อารมณ์อนั นัน้ แผดเผาอยูอ่ ย่างนัน้ ตลอด วันตลอดคืน ต่อแต่นั้นความสงสัยของ พราหมณ์ย่อมสิน้ ไป ถ้าไม่เพ่งไม่แผดเผา ก็สงสัยเรือ่ ยไป ยังให้ราคะ โทสะ โมหะ มันกำเริบเสิบสาน มันปรุงมันแต่งเรา ได้อยู่ก็ชื่อว่าไม่แผดเผามั น ต้ อ งไม่ ตามใจมัน มันก็หมดอำนาจ ไม่ให้กำเริบ เสิบสานไปทางอื่น แผดเผาจนว่ามันตาย จนมันยอม กิเลสของเราก็หมดไป ถ้าตั้งสติอยู่ทุกเมื่อ สัมปชัญญะรู้ตัวอยู่ ทุกเมื่อ วิเศษวิโส กิเลสจะเบาไปบางไป สติเมื่อมันแก่กล้าขึ้นมาแล้ว ไม่เผลอ ไม่หลง หายใจเข้า รู้ หายใจออก รู้ จะว่า พุทโธไม่วา่ ก็รู้ เอาความรูน้ น้ั แหละเป็นสติ ๕๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ มันล้อมเราอยู่ เรามีความรู้ตัวอยู่เสมอ ไม่เผลอ ไม่หลง ตายเมื ่ อ ไรก็ ต ายได้ ถ้ า ตายเวลาเผลอ มันก็หลง ถ้าหลงห่วงบ้าน ก็ต้องไปเกิด เป็นลูกหลานบ้านนัน้ อีก หรืออาจเป็นจิง้ จก ตุก๊ แกก็ได้ พระรูปหนึง่ ปลูกอ้อย อ้อยเจริญ เติบโตดี พระเกิดมรณภาพ ก่อนมรณภาพ เกิดห่วงหวงต้นอ้อยเลยไปเกิดเป็นด้วงอยู่ ที่ต้นอ้อนนั้น นี่ความเผลอ ความหลง ความหวง ความห่วง มันเป็นอันตราย อย่างยิง่ อย่าให้ตายด้วยความหลง ให้ตาย ด้วยความรู้
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๕๓
ถ: ผมเฝ้าดูจิต เห็นความชอบไม่ชอบเกิด ยิบแย๊บขึ้นที่ใจ ถ้าเห็นทันมันก็ปรุงให้ เราทุกข์ไม่ได้ ถ้าไม่เห็นมันก็หลงปรุงครับ ต: ถ้าสติสัมปชัญญะรวมเป็นหนึ่ง พิจารณา อะไรขึ ้ น มาก็ เ ป็ น ของจริ ง พิ จ ารณา ธรรมภายนอกได้ถูกต้อง มันเป็นญาณ ความรู้เป็นอนาคตังสญาณ มันรู้มาก่อน รูเ้ ท่าทันมันเย็น ถ้ารูไ้ ม่เท่ามันเป็นของร้อน รู้ไม่เท่าราคะ โทสะ โมหะมันก็เผาผลาญ ตัวเอง ถ้ารู้ทันก็ไม่หลงเอามันมาใช้
๕๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ถ้าตัง้ สติแล้วไม่หว่ งใคร ใครจะเป็นใครจะตาย มันเรือ่ งของเขา เรือ่ งของเรามีหน้าทีภ่ าวนา สมมติ กับ วิมตุ ติ มันก็มานำกัน เมือ่ วาง สมมติออกได้แล้ว จิตก็วมิ ตุ ติ จิตก็หลุดพ้น ถ้ามีสมมติอยู่ มีเขา มีเราอยู่ มีดี มีชั่ว ก็ยังอยู่ในสมมติ ถ้าเลยดีเลยชั่ว ไม่มีดี ไม่มชี ว่ั มันก็หลุดพ้นจากสมมติ สมมติกนั เอาเองว่ามันดี สมมติกนั เอาเองว่ามันชัว่ ถ้าดีมาก็ถกู ใจ ถ้าไม่ดมี าก็เสียใจ อยูแ่ ค่น้ี แหละ สมมติทำให้ ดีใจ เสียใจ ร้องไห้ หัวเราะ ถ้าวิมุตติแล้วไม่มีโศกเศร้า โศกาอะไรเลย วางเฉยได้ อะไรดีก็ไม่มี อะไรชั่วก็ไม่มี ไม่มีดีใจ เสียใจ ร้องไห้ หัวเราะ ไม่มภี าคภูมอิ ะไรเลย เหมือนขอนไม้ ทีต่ ายแล้วมันไม่ทกุ ข์รอ้ นกับอะไรทัง้ นัน้ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๕๕
เกิดเป็นมนุษย์ใช้ร่างกายให้คุ้มค่า ศีลของเราดีหรือเปล่า ? ทานของเราดีหรือเปล่า ? ภาวนาของเราตัง้ ใจมัน่ หรือเปล่า ? ถ้าไม่แน่วแน่ ยังวอกแวกไม่เป็นอันเดียว มันก็งมโข่งไปเรือ่ ย ถ้าเราแน่วแน่ในใจ เต็มที่ ไว้วางใจตนเอง เป็นที่เชื่อมั่นใน ตัวเองไม่ขอ้ งเกีย่ วอะไร มีดวงจิตดวงเดียว เท่านัน้ เวลาตายยิม้ ตาย ไม่กลัวอะไรเลย ความเกษมสุข ความไม่เศร้าโศก เป็น มงคล ใจจะรื่นเริงเสมอ ถ้าเศร้าโศก จะ เสียมงคลไปหมด เหมือนต้นไม้มันเฉา แล้วน่าดูไหม เอาน้ำมารด เอาปุ๋ยมาใส่ ชุ่มชื่นขึ้นมามันเป็นยังไง มันสดชื่นน่าชม
๕๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๕๗
ถ: การเฝ้าดูเฝ้ารูจ้ ติ บางทีกม็ ผี เู้ ข้าไปเห็นจิต บางทีกม็ แี ต่ความรูต้ วั เฉยๆ ไม่มผี ดู้ แู ต่ก็ รูจ้ ติ อยูร่ กู้ ารเคลือ่ นไหวของจิตอยู่ ต: เหมือนเราเดินผ่านไฟ มันมีเงาไปด้วย เพราะมีไฟส่อง ความรูข้ องเรามันมีอยู่แล้ว จิตเราเป็นผู้รู้ แต่เงาไม่รู้อะไรกับเราเลย เอามาใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้หรอก ตัวเรา รูว้ า่ เราเดินผ่านไฟไปนี่ ถ: หมายถึงว่ายังเป็นนิมติ หรือครับ ต: เป็นนิมิตก็ดีเป็นอะไรก็ดี ของเหล่านั้น ไม่ใช่เราหรอกอย่าไปถือว่าเป็นเรา มันไม่ รู้อะไร มันแค่ปรากฏเป็นตนเป็นตัวขึน้ มา เป็นภาพลวงตา ลวงใจเราให้ไปหลงมัน ซือ่ ๆหรอก อย่าหลงตะครุบเงา อย่าหลง ไปตามสัญญาอารมณ์ ส่งออกนอก เห็นนัน้ ๕๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เห็นนี่ ตัวไหนไปเห็น ตัวเราเนี่ยไปเห็น เอาความรูน้ ่ี รูเ้ ท่าเอาทันมันอย่างเดียวพอ หายใจเข้าพุทรู้ หายใจออกโธรู้ ดูอยู่ที่นี่ รูอ้ ยูท่ น่ี ่ี จิตมันรูอ้ ยู่ มันสัน้ หรือมันยาวก็รู้ รูล้ ะเอียดลงไปๆ อริยมรรคจะเกิดขึน้ เป็น หนทาง หายใจเข้า รู้ หายใจออก รู้ อย่าหลง เอามาเป็นเรา เพียงไปเห็นเฉยๆ ถ้าเอาลม มาเป็นเรา ก็ตะครุบเงาไม่ได้ ตะครุบตัวจริง ใจต้องให้ขาดจากความเกี่ยวความข้อง ตัดน้ำยังตัดไม่ขาด สายสวาทตัดขาดอย่างไร ตัดบัวก็ยังไว้ใย ตัดน้ำใจยังมีเมตตา มีเมตตาอยู่ ข้องอยู่ ติดอยูน่ น้ั แหละ
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๕๙
ถ้ามีความโกรธ ต้องรักษาใจให้มันเย็น อย่าให้มนั ร้อน หาอุบายแก้ไขด้วยปัญญา น้ำทีต่ ม้ เดือดออกมาจากเตาแล้ว ไม่นาน ก็เย็นลง ถ้าใส่ตู้เย็นก็เป็นน้ำแข็งได้ ใจเราก็เหมือนกัน มันเดือดแล้วก็เย็นได้ เย็นแล้วก็สบาย อย่าลุอำนาจแก่ความโกรธ เด็ดขาด สติอย่ามืดอย่างเดียว อย่าเอา ความโกรธมาใช้งานเลย โทสะเป็นไฟ อย่าตามใจมัน พอความโกรธหายไป บาปไม่หาย ตกนรกอย่างเดียว ความโกรธเป็นอันตรายแก่ธรรมะทัง้ หลาย ชือ่ เสียง เกียรติยศ รสนิยม พังไปตามๆกัน เพราะความโกรธมันทำลายอะไรต่ออะไร ได้ตามอำเภอใจ กำลังความโกรธรุนแรง เพราะมันเป็นไฟ อย่าไปลุอำนาจแก่มัน ๖๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เด็ดขาด ความโกรธทำลายผิวพรรณ ขี้โกรธผิวพรรณจะขี้ริ้ว เป็นไฝ เป็นฝ้า ไม่ดี ถ้าไม่มีความโกรธ สีสัน วรรณะ จะดี ไม่เปลืองเครือ่ งสำอางใดๆ เลย อย่าเอาแต่จะชนะอย่างเดียว เสียงแข็งขึน้ เพราะจะเอาชนะกัน ยิง่ แข็งยิง่ แตกหักง่าย
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๖๑
กิเลสมันเหนียวมันแน่น ความตระหนี่ ถี่เหนียว เป็นต้น เอาอะไรมาขัดมันออก มันเหนียว เหนียวจริงๆ ท่านจึงบัญญัติ ว่า ทานัง เทติ ให้ ท านเป็ น เครื ่ อ งขั ด เครื่องเกลากิเลสในหัวใจ ความตระหนี่ ก็จะเบาบางไป จึงควรทำทานอยู่บ่อยๆ ขัดเกลากิเลสในหัวใจด้วยการรักษาศีล เว้นการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม เว้นจาก การกล่าวโป้ปดมดเท็จใดๆไม่พูด เว้น จากการดื ่ ม กิ น สุ ร าเมรั ย ถ้ า เว้ น ได้ ท ั ้ ง ๕ ข้อจิตใจจะเป็นยังไง จิตมันจะสบาย ขึ้นหรือเปล่า มันสบายขึ้นกว่าเดิมไม่ สลึมสลือเหมือนแต่ก่อน
๖๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ขั ด เกลากิ เ ลสในหั ว ใจด้ ว ยการภาวนา ภาวนาเป็น บุญสูงสุดเพราะมันไม่ติด ไม่ข้องอะไร มันก็ได้บุญแล้ว กิเลสมีอยู่ ในตัวเราทุกคน การปฏิบัติธรรมจำศีล ภาวนาเพื่อต้องการชำระกิเลส ความชั่ว ความมัวหมอง ให้ออกจากจิตใจของเรา ต้องการแค่นี้ พระพุทธศาสนาที่ให้มา ประพฤติปฏิบัติอยู่ ก็ต้องการให้ชำระ กาย วาจา ใจให้ถงึ ความบริสทุ ธิ์ เท่านัน้ การละบาปนัน้ บาปมันมายังไง บาปเกิดที่ จิตใจ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เป็นบาป ชำระบาปทั้งหลายได้ด้วยการ ปฏิบัติธรรม รักษาศีล ไม่ให้มันกำเริบ เสิบสาน ไม่ให้มันแก่กล้าขึ้น หากปล่อย ไปตามอำนาจมัน จะทำให้เดือดร้อน ทำลายตัวเอง
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๖๓
ถ: มีอุบายอย่างไรที่จะทำอาสวะให้สิ้นได้ โดยเร็ว ต: เราไม่มีอุบายอะไร เราจะเอาชนะมันทุก อย่างนั้นแหละ เราจะเอาชนะความโลภ ความโกรธ ความหลง ความรัก ความชัง ความยิ น ร้ า ย ความยิ น ดี ความดี ใ จ ความเสียใจ ความร้องไห้ ความหัวเราะ เศร้าโศก โศกา อะไรก็ไม่ให้มันมีเลย โดดเดี ่ ย วอยู ่ อ ย่ า งนั ้ น ไม่ ม ี อ ะไรมา ปรุ ง แต่ ง เราได้ แ ล้ ว เรารู ้ ห น้ า ตามั น หมดแล้ว ก็ไปพระนิพพานได้ ถ้ า ผู ้ ใ ดล่ ว งรู ้ อ ำนาจของบาปทั ้ ง หลาย แล้วจะรูว้ า่ มันทำลายตัวเอง ท่านทัง้ หลาย ที่ยังไม่รู้จักว่าทำลายแบบไหน ก็เห็นอยู่ อย่างชัดเจนแล้ว ไม่ว่าประเทศไหนเอา ๖๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ความโลภเป็นหัวหน้าปฏิบตั งิ านพังทุกราย ความโลภเป็นอันตรายแก่ธรรมทั้งหลาย แก่ความเจริญทั้งหลาย โลภมากเท่าไร เป็นอันตรายแก่ตัวเองเท่านั้นรีบกำจัด ความโลภด้วยการทำทานขัดเกลากิเลส อย่าให้ความตระหนีถ่ เ่ี หนียวมาเป็นนาย กุญแจปิดกุญแจแห่งกุศลของเรา
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๖๕
เห็ น อะไรก็ อ ย่ า ปล่ อ ยไปตามมั น เห็ น ปรากฏอยู่เฉยๆ อย่าคิดคาดคะเนไป ทางอื่นใด ดูมนั เฉยๆ เห็นอะไร รูอ้ ะไร ก็ ส ั ก ว่ า แต่ เ ห็ น สั ก ว่ า แต่ ร ู ้ อย่ า ไป สำคัญมั่นหมายในสิ่งที่รู้ที่เห็นเอามา เป็นตัว มันไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน มันเป็น เพี ย งสั ญ ญาอนิ จ จา สั ง ขาราอนิ จ จา ธรรมาอนัตตา ธรรมย่อมรักษาผูป้ ฏิบตั ธิ รรม ไม่ให้ตกไป สูโ่ ลกชัว่ ทุรกันดาร กรรมฐานอะไรมันถูกจริต อะไรมันเป็นที่ สบายก็เอาอันนัน้ ไม่มกี ฏบังคับกันหรอก ใครจะว่าจะนินทา เฉยไว้ก็ดีเอง ๖๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
การทำความเพียร อย่าหลอกลวงตัวเอง ให้เอาจริงเอาจังกับมัน ถ้าปล่อยใจคิดไปทางอื่นก็ใช้ไม่ได้ ทำให้ เราหลง หมดท่า ไม่มีประโยชน์อะไรเลย สนิมกินเหล็ก กิเลสกินใจ ความโกรธ ความโลภ ความหลง ดีใจ เสียใจ ยินร้าย ยินดี ไม่ใช่ใจ ไม่ใช่ ตั ว ของเรา มั น เกิ ด ขึ ้ น โดยอั ต โนมั ต ิ ต่ า งหากล่ ะ ตาเห็ น รู ป เป็ น น่ า กำหนั ด ก็ไปกำหนัด เห็นรูปน่าชังก็ไปชัง พอพอ อย่าไปคิดมัน มันคว้าน้ำเหลว ขืนคิด ออกไปจะไม่กนิ ข้าวให้นะ ตัง้ ใจขึน้ แบบนี้ มันจึงค่อยอยู่กับเนื้อกับตัว มีความรู้ตัว หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๖๗
เวลาฟังเทศน์ ให้นง่ั สบายๆไม่ตอ้ งพนมมือ ก็ได้ เรานั่งภาวนาหรือนั่งสมาธิอย่างไร ก็นั่งฟังเทศน์อย่างนั้น ให้ได้ยินอยู่ที่หู ให้ได้รอู้ ยูท่ ใ่ี จ ใจเป็นผูร้ ู้ อย่างอืน่ ไม่รดู้ ว้ ย มีจติ เท่านัน้ เป็นผูร้ ู้ หูฟงั เฉยๆเพียงได้ยนิ เรื่องราว แต่จิตเป็นผู้รู้ ตัวจิตนั่นแหละ เป็ น ตั ว บั น ทึ ก เป็ น ตั ว กำหนดจดจำเอา พระธรรมเทศนา หรือ คำสอนนั้นๆ มนุ ษ ย์ เ ป็ น ผู ้ ท ี ่ ม ี ค วามหลงในความรั ก ความชัง ความโกรธ เกลียด ผูกพยาบาท อิจฉา ริษยา โลภ ต่างๆ เหล่านี้ ถ้าเราสามารถ ขจัดสิง่ เหล่านี้ ออกจากใจไปได้ แล้วลองคิด ดูซวิ า่ เราจะประเสริฐได้ไหม? ได้แน่นอน พระอริยเจ้าจึงเกิดขึ้นในโลก ๖๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
การเจริญเมตตาปรานี ต้องให้ม ีไมตรี จิ ต มิตรภาพปรารถนาดีในเพื่อนมนุษย์ ทั้งหลาย เมื่อมีเมตตามากๆ ความยินดี ในความโกรธอาฆาตพยาบาทจะหมดไป เมือ่ เราทำเช่นนีม้ ากๆความตระหนีถ่ เ่ี หนียว ก็จะหายไป จะกลายเป็นผู้เสียสละอยู่ อย่างนัน้ เมือ่ เป็นเช่นนี้ ราคะ โทสะ ก็จะ เบาบางด้วยการแผ่เมตตาปรารถนาดีให้ กันและกันเสมอๆ เมือ่ ไม่มคี วามโกรธแล้ว แต่ความหลงยังมี อยูน่ ะ หลงโลภ หลงรัก หลงชัง อะไรต่างๆ เหล่านีเ้ ป็นกิเลส เป็นตัณหา เป็นกิเลสวัฏฏะ เป็นตัวจักรของกิเลสซึ่งเป็นเหตุให้ทำ กรรมไปต่างๆ เพราะฉะนัน้ เราจึงต้องมาทำ กรรมฐาน ทำสมาธิภาวนากัน หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๖๙
หมากัดขาเรา เราอย่าไปกัดขาหมาตอบ ถ้าไปกัดคงน่าเกลียดจริงๆ หมากัดขาเรา ก็รักษาแผลไป ไม่ต้องไปกัดขาหมาตอบ เช่นเดียวกัน ถ้ามีคนอืน่ ตำหนิเรา เราอย่าไป ตำหนิเขาตอบ ใครทำให้เราโกรธเราอย่าหลง ไปโกรธเขาตอบ ตบมือข้างเดียวไม่ดงั หรอก กรรมฐานทีเ่ ป็น “มูลกรรมฐาน” มีอยูห่ า้ อย่าง คือ พิจารณา ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง โดย พิจารณา ให้เป็นของที่น่าเกลียด น่าชัง น่าขยะแขยง ถ้าไม่ได้ขัดล้างตัดออกบ้าง มันจะสกปรกแค่ไหน น่ารังเกียจไหม ถ้ามัน หล่นอยูใ่ นอาหารเรา เราจะกินมันได้ไหม น่าขยะแขยงไหม พิจารณาทบทวนไปมา อยูน่ น่ั แหละ จนเห็นจริงเข้า ก็จะเกิดความ ๗๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เบื่อหน่ายคลายกำหนัด จนเกิดสลด สังเวชจริงๆ ธรรมะก็จะเกิดในตอนนัน้ อ้อ! เรามาถือสิง่ แบบนีว้ า่ เป็นของดี จึงหลงยินดี กับมัน เสียเวลาดูแลบำรุงรักษา พอพิจารณา จนเห็นจริงแล้ว มันไปถือของสกปรกว่าเป็น ตัวเราเชียวหนอ น่าทุเรศจริง น่าสงสารตัวเอง จริงนะ ทำไมถึงหลงขนาดนีน้ ะ เมือ่ เป็นเช่น นี้นิพพิทาญาณก็เกิดขึ้น จะรู้สึกได้เองว่า ร่างกายของตนไม่มสี าระ ไม่มแี ก่นสาร ไม่จรี งั ยัง่ ยืนอะไรเลย เราอาศัยเขาอยูไ่ ป วันๆเท่านัน้ เอง
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๗๑
เราได้อาศัยร่างกายที่มีแต่ของเน่าๆ เปือ่ ยๆ มาทำประโยชน์ไปวันๆเท่านัน้ เอง ยังน่าปลื้มใจ ที่อาศัยไหว้พระสวดมนต์ รักษาศีล ทำบุญให้ทาน ทำสมาธิภาวนา ทำคุณความดีเพื่อประโยชน์ตนบ้าง เพื่อ ประโยชน์ผู้อื่นบ้าง ยังน่าปลื้มนะ ให้ทำ ความดีเยอะๆ ทำบุญให้ทาน นั่งสมาธิ และรักษาศีลให้บริสุทธิ์ให้มากๆ อย่าได้ ประมาทเลยพยายามทำให้ต่อเนื่อง มัน จะแก่กล้าขึ้นการทำอย่างที่ว่ามานี้ เขา เรียกว่า อบรมบ่ ม อิ น ทรี ย ์ ใ ห้ แ ก่ ก ล้ า สร้างบุญบารมี ให้ใหญ่โต
๗๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
อัคคังฐานังมนุสเสสุ อัคคังสัตตะวิสทุ ธิยา อัครฐานอันเลิศอยู่ที่มนุษย์สามารถจะทำ ให้คุณสมบัติอันเป็นมนุษย์นี้ กลายเป็น อริยบุคคลได้ ก็เพราะร่างกายของเราที่ ไม่มีแก่นสารนี้แหละ เราจึงต้องเร่งสร้าง ร่างกายสังขารอันนี้ ให้เป็นของดีของวิเศษ ขึน้ มาจนถึงความบริสทุ ธิข์ องจิตได้ขน้ึ อยูท่ ่ี ตัวของเรานีแ้ หละ จิตตัง ทันตัง สุขาวหัง จิตของเรานี้ ของปุถุชนคนธรรมดาที่ยังมีกิเลสหนา ปัญญาทึบ แต่เมื่ออบรมให้เต็มกำลัง สติปัญญาของเราแล้ว ย่อมนำสุขมาให้ ทันโต เสฏโฐ มนุสเสสุ มนุษย์ทั้งหลาย ที่ฝึกฝนอบรมตนดีแล้ว เป็นผู้ประเสริฐ น่ากราบ น่าไหว้ น่าสักการะ ประเสริฐจริงๆ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๗๓
ถ้าเราพิจารณากายให้ลกึ ลงไปให้เห็นลงไป จริงๆ ลงไปถึง ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า เหล่านีม้ นั มีอะไรวิเศษนัก จึงถือ ทิฏฐิมานะไม่ยอมกราบไหว้ผอู้ น่ื ทำไมยึดถือ ของเน่าๆอยู่เต็มตัว จนไม่ยอมกราบไหว้ เคารพนับถือผูอ้ น่ื ก็ได้รา่ งกายเน่าๆนีแ่ หละ พิจารณาให้ซง้ึ ให้ถงึ แก่นเถอะ ให้ช่ำชอง ชำนาญในการเข้าและออกจนจิตใจผ่องใส ไม่มมี ลทินโทษแล้ว ทิฏฐิบริสทุ ธิญ ์ าณทัศนะ ธาตุกจ็ ะบริสทุ ธิ์ ตายแล้วกระดูกเป็นพระธาตุ แน่นอน พระคุณต้องทดแทน ถ้าเคียดแค้นต้อง อโหสิ อเวรัง อะสัมปัตตัง พระพุทธเจ้า ทรงสอนให้พวกเราเป็นผูไ้ ม่มเี วร ไม่จองเวร เป็นผู้อโหสิ ๗๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
จิตมีพลังอำนาจยิง่ ใหญ่ เราต้องพัฒนาจิต ด้วยการใช้สติ สมาธิ วิรยิ ะ ปัญญา และศรัทธา ให้รักษาศีล ๕ และ กุศลกรรมบท ๑๐ ต้องฝึกใจ ฝืนใจจากกิเลส ให้มสี ติ อย่าให้ เผลอ อย่าให้หลงไปตามสัญญาอารมณ์ ทานังเทติ การให้ทานเป็นเครือ่ งขัดเกลา อันแรก ทำบ่อยๆ จะเกิดความไม่เห็นแก่ตวั รูจ้ กั เสียสละ ไม่หวงแหน ไม่เหนียวแน่น
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๗๕
สีลงั รักขติ เครือ่ งขัดทีส่ องให้รกั ษาศีล ๕ ให้ครบ เพราะศีล ๕ เป็นหลักประกันของ สั ง คมให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขรักใน ทุกๆชีวติ เหมือนเป็นญาติของตน ศีลมีอยู่ ๓ แบบคือ สัมปัตตวิรตั คือ งดเว้นเอาเอง ตัง้ ใจงด โดยไม่ต้องขอศีลจากพระ สมาทานวิรัต คือ สมาทานศีลกับพระ สมุทเฉทวิรตั คือ ศีลของเหล่าพระอริยเจ้า ไม่ต้องสมาทานอีกแล้ว
๗๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เจริญภาวนาเพือ่ พัฒนาจิตเอาชนะนิวรณ์ ๕ อันเป็นเครือ่ งกีดขวางความเจริญของใจ คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจะ กุกกุจจะ และวิจกิ จิ ฉา ต้องขจัดด้วยภาวนา ผูถ้ งึ พร้อมด้วยทาน ศีล ภาวนา ได้ชอ่ื ว่า มีใจที่พัฒนาแล้วเจริญแล้ว จะไม่มีทาง เอารัดเอาเปรียบ มีแต่การเสียสละ จะอยู่ ร่วมกันได้โดยสงบสุข จิตของเราทุกคนนั้น มันลอยเคว้งคว้าง ในสังสารวัฏมานานไม่มีที่จบสิ้น เพราะ อาสวะกิเลสยังมีอยู่ในหัวใจ ถ้าเราทำ ให้หมดอาสวะกิเลสได้ในภพชาติน้ี จะมี แต่สุขล้วนๆ ไม่มีราคะ โทสะ โมหะเลย เราก็จะไม่เวียนว่ายตายเกิดอีก หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๗๗
การทำความเพี ย รโดยฝึ ก หั ด ดั ด แปลง ฝึกปรือ ขัดเกลาตนเองให้เหือดแห้งไปจาก อาสวะ พระพุทธเจ้าท่านทรงให้แนวทาง ไว้หลายวิธี เช่น ได้บญ ั ญัตเิ รือ่ งการธุดงค์ ให้ พ ระสงฆ์ ฉ ั น มื ้ อ เดี ย ว ก็ ท ำให้ ก ิ เ ลส เบาบางลงได้ เพราะไม่กงั วลเรือ่ งการบริโภค หรือการนอนให้นอ้ ย แต่ควรรูจ้ กั ความพอดี เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลาง ไม่เคร่งเกินไป หาเวลาพักผ่อนบ้าง ยืน เดิน นัง่ นอน ก็อย่าถือเอาสิง่ ไหนมากเกินไป ทำทัง้ ๔ อย่าง ให้พอดีแก่ร่างกาย ใจก็จะสงบ ใจก็สุข ไม่ยึด ไม่ถือ ไม่ยึดมั่นในทุกสิ่ง เป็นการอยูง่ า่ ย กินง่าย ไม่มกั มาก ในการอยู่ การกิน การหลับ การนอน
๗๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
การทำสมาธิเป็นพุทธบูชา ให้นง่ั เป็นเวลา พอสมควร ไม่ใช่นง่ั แป๊ปเดียว นัง่ ให้ได้รบั ความสงบ ทีแรกก็มวี ติ กเสียก่อน แล้วถึงวิจารณ์ เรือ่ งของสังขารร่างกายของเรา พอใจสงบ ก็เกิดปีตอิ ย่างไม่เคยเป็น ซาบซ่านไปหมด อย่างนี้เรียกว่า ปีติ จะมีแต่สุขล้วนๆไม่ มีความทุกข์เจือปนเลย เป็นเอกัคคตาจิต เป็นหนึ่ง คือ มีแต่รู้อย่างเดียวสติระลึก ได้ว่า รู้อยู่อย่างนั้น มีอารมณ์เดียวเป็น เอกัคคตารมณ์ มีอานิสงส์มาก ใจเราตายไม่เป็น ใจเราเป็นอมตธาตุ เวลา ปฏิบัติลงไปถึงที่ จะมีเพียงจิตดวงเดียว เอกายะโน เอยังมัคโค เป็นหนึง่ เดียวไม่มสี อง ถ้าเราทำใจอย่างนีไ้ ด้ ก็เป็นการภาวนา ระงับ ทัง้ โสมนัสและโทมนัสได้ ทุกอย่างจะระงับ ไปได้ เป็นทีน่ า่ อัศจรรย์ยง่ิ นัก หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๗๙
๘๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ครูบาอาจารย์ท่านสอนให้เราพิจารณาถึง อสุภะ อสุภงั หมายถึงร่างกายของเราทุกคน เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีการสึกกร่อน เน่าเปื่อยอยู่ทุกๆวินาที อาหารที่เรากิน ไปทุกวันไม่สามารถหยุดยั้งความเสือ่ ม ความเน่าเปื่อยไปได้ จึงให้คิดทบทวน เสมอๆ ให้คดิ พิจารณาอาหารเหล่านัน้ เป็น ปฏิกลู เราไม่ควรเป็นผูเ้ ลีย้ งยาก กินง่าย อยู่ง่าย โดยเฉพาะเมื่อเราบวชเป็นพระเป็นเณร ผู้ปฏิบัติธรรมแล้วต้องเป็นผู้เลี้ยงง่าย กินง่าย อยูง่ า่ ย ไม่เป็นภาระหนักใจแก่ผอู้ น่ื นั่นแหละเป็นธรรมวินัยของพระสัมมา สัมพุทธเจ้า
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๘๑
พระตถาคตเจ้าท่านกล่าวไว้อย่างนี้ ธรรมใด เป็นไปเพือ่ ความเลีย้ งยาก เพือ่ ความมักมาก มักใหญ่ ธรรมนั้นไม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินัย ไม่ใช่คำสั่งสอนของเราตถาคต สำหรับ พระภิกษุสามเณรและผู้มาปฏิบัติธรรม อาหารทีเ่ รารับประทานนัน้ ได้มาจากผูท้ ม่ี ี จิตศรัทธามีเมตตาจิต นี่ก็เสมือนว่าผู้อื่น เขาเลีย้ งเรา เพราะฉะนัน้ เมื่อเขาศรัทธานำ อาหารมาเลี ้ ย งดู ก็ อ ย่ า ให้ เ ขาหนั ก ใจ มีอะไรให้เรากิน อร่อยหรือไม่ ถูกปากเรา หรือไม่ ก็ต้องไม่เป็นไร ถ้าเราเป็นคน เลีย้ งยาก เรือ่ งมากแม้แต่เรือ่ งกินนัน่ ก็เป็น กิเลส ซึ่งจะเป็นตัวขวางการปฏิบตั ธิ รรม การภาวนาของเรา เพราะทุกอย่างไม่สะดวก สบายเหมือนอยูบ่ า้ น ซึง่ ทำให้ เรายึดติด กับความสบายก็เท่ากับเป็นการเลี้ยงดู กิเลส ต้องมีคนปรนนิบัติถูกใจนั่นก็คือ ถูกใจกิเลส ไม่เป็นธรรมไม่เป็นวินยั น่ะซิ ๘๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
บุคคลใดเป็นคนเลี้ยงง่าย มีกิจวัตร ประจำวันที่เรียบง่าย ใจจะสบาย การ ปฏิ บ ั ต ิ ก ็ รวมใจเป็นหนึ่งได้ง่าย ความ วุน่ วายก็นอ้ ยลง ความกังวลยึดติดจะไม่มี บุญคือความสุข ความสะอาด ความผ่องใส กุศลคือความฉลาดเฉลียวมีสติมีปัญญา บุญกุศลมันหมดไปได้นะ แต่เหตุที่บุญ ไม่หมด เพราะเราสร้างใหม่เพิ่มเข้าไว้ ทั้งบุญกุศลก็เหมือนทรัพย์ภายนอกเป็น ข้ า วของเครื ่ อ งใช้ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ของใช้ ของเราทุกอย่าง ที่มีอยู่ได้เพราะหามา เพิม่ เอาไว้ ถ้ามีแต่ใช้ไม่หาเพิม่ แม้เงินทอง ทุกอย่าง ก็หมดไปได้ทง้ั นัน้ เช่นเดียวกับ บุญกุศลนั่นแหละ เราใช้ไปทุกวันแต่ไม่ แสวงหา ไม่ทำเพิม่ ก็หมดได้นะ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๘๓
ทำจริงๆได้ผลจริงๆ ทำอะไรต้องทำให้ มันจริง ไม่สง่ ออกไปดูเขาโน้น ดึงใจมาไว้ท่ี เราพิจารณาอยู่ตรงนี้ ให้พิจารณาทุกลม หายใจเข้าออก ถ้าไม่ได้ ก็ให้มันเผลอ น้อยทีส่ ดุ การทำความเพียรไม่ใช่เดินจงกรม หรือนั่งสมาธิ ไม่ใช่ทำทั้งวันทั้งคืนหรอก ถ้ายังเดินคิดนัง่ คิด ก็จดั ว่าเป็นความเพียร ไม่ได้ เรียกว่าฟุ้งซ่าน การทำความเพียร หมายถึงการมีสติ ทำอะไรทำอย่างมีสติ ระลึ ก ได้ อ ยู ่ จะก้ า วหน้ า จะถอยหลั ง เหลียวซ้าย แลขวา จะพูดจาอะไรมีสติ กำหนดรู้ทั่วอยู่ระลึกได้อยู่เสมอ นี่เรียก ว่าทำความเพียร ทุกอิริยาบทจดจ่ออยู่ อย่าเผลอ ร่างกายมันพักผ่อน ใจก็ยงั มีสติ อยูน่ เ่ี รียกว่าความเพียร ๘๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เพราะเราเป็นมนุษย์ เราสามารถทำความดี สร้างบุญกุศลได้ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เขาทำ อย่างเราไม่ได้ เกิดเป็นมนุษย์นน้ั ยากเย็นมาก ต้องมีบุญเท่านั้น ถึงได้เกิดเป็นมนุษย์ และมี บ ุ ญ มากยิ ่ ง ที ่ ไ ด้ เ กิ ด มาพบพระ พุทธศาสนา เกิดมาเป็นผูท้ ม่ี ไี ตรสรณคมน์ ทีม่ น่ั คงไม่หวัน่ ไหว บุญกุศลทีเ่ ราได้บำเพ็ญ มาประพฤติปฏิบัติธรรมแบบนี้ถึงเรียก ได้วา่ เป็นทีพ่ ง่ึ ของผูอ้ น่ื ได้ ทรัพย์ภายใน ท่านว่า แสวงรู้ แสวงอ่าน แสวงฟัง แสวงเรียน นี่เป็นทรัพย์ภายใน แต่ถา้ ท่านผูใ้ ด ปล่อยให้วันเวลาล่วงไปๆ ไม่แสวงหาทรัพย์เหล่านี้ไว้ในใจ ก็จะโง่ ไม่ฉลาด จะทำให้เป็นคนจนได้ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๘๕
ทีพ่ ง่ ึ อันประเสริฐสุด ก็คอื พระรัตนตรัย ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ นีค่ อื ทีพ่ ง่ึ อันสูงสุด มีอานุภาพมากไม่สามารถประมาณได้ เป็นทีอ่ ศั จรรย์ยง่ิ นัก ให้มแี ต่พระรัตนตรัย จะเอาอะไรมาดีกว่านี้ไม่มีแล้ว คนที่ไม่มี พระรัตนตรัย เป็นทีพ่ ง่ึ จะเป็นทีพ่ ง่ึ ของใคร ไม่ได้ พึง่ ตัวเองก็ไม่ได้ ไม่มที างออก บางคน พอคิดอะไรไม่ออกก็คิดสั้นฆ่าตัวตายไป ให้เป็นวิบากกรรมติดตามไปในภพหน้า ชาติหน้าต่อไปอีกชัว่ กาลนาน ศรัทธาคือความเชือ่ เชือ่ ว่าทำดีได้ดี ทำชัว่ ได้ชว่ั เชือ่ ว่าบาป บุญ เวรกรรมนัน้ มีจริง ต้องสร้างศรัทธาให้เข้มแข็งขึ้น จึงจะเป็น แรงบันดาลใจให้เราทำแต่ความดี ถ้าไม่ตดิ ในตัวเจ้าของ ก็ไปได้แล้ว...สบาย ๘๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
มีหลายคนแล้วที่ประสบกับปัญหาเข้าขั้น วิกฤติ ยามเข้าตาจนแล้วรอดปลอดภัยจาก เหตุการณ์จากปัญหาร้ายแรงมาได้อย่างคาด ไม่ถึง เป็นเพราะเขาระลึกนึกถึงคุณของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นทีพ่ ง่ึ บ่อยๆ เพียงน้อมระลึกนึกถึงก็ได้บญ ุ กุศล ทำให้ ผ่านพ้นวิกฤติได้อย่างน่าอัศจรรย์ใจ ศีล แปลว่า ปกติ คนไม่มศี ลี ก็เรียกได้วา่ เป็นคนไม่ปกติ ศีล ๕ ก็คือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลกั ทรัพย์ ไม่ประพฤติผดิ ในกาม ไม่พดู โกหก ไม่ดื่มเหล้าเมายา ทำได้ก็จะนำ ความเจริญมาสูต่ วั เรา สูค่ รอบครัว ครอบครัว ก็มคี วามสุข ธรรมทั้งหลายมีใจถึงก่อน จะทำบาป ทำบุญก็ใจเป็นไปก่อน หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๘๗
หิริ คือ ความละอายต่อการทำบาป อะไรที่ เป็นบาปไม่ทำ ถึงไม่มใี ครรูใ้ ครเห็นแต่บาป นัน้ จะถูกบันทึกไว้ในใจเรา เวลาเราจะสิน้ อายุขยั ภาพบาปบุญทีท่ ำไว้จะฉายให้เราเห็น ก่อนทีเ่ ราจะละโลก ถ้าใครทำบาปไว้ ก็จะ เห็นภาพนัน้ ใจก็จะเศร้าหมอง ส่งผลให้ตอ้ ง ตกไปนรกในอบายภูมิ ส่วนใครทำบุญ ทำสมาธิ ภาวนา รักษาศีล ก็จะเห็นนิมติ ทีด่ ี ใจก็เป็นสุข ส่งผลให้ไปดีไปสบาย โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวต่อการทำบาป ไม่กล้าทำบาป แม้ถกู จ้างวาน ถ้ารูว้ า่ เป็นบาป เราก็ไม่กล้าทำยอมอด เราจะเกิดโอตตัปปะ เพราะฉะนัน้ จิตใจเราจะสะอาดบริสทุ ธิม์ าก
๘๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ถ: ตัวจิตเป็นยังไงครับ? ตัวไหน ?แบบไหน? ต: จิต ผูร้ บั รู้ หลวงปูท่ า่ นตีแขนโยมแล้วถาม ว่า รูไ้ หมเนีย่ ใครเป็นผูร้ ู้ ?กายเขาไม่รอู้ ะไร ด้วยเลย จิตนัน่ แหละเป็นผูร้ ู้ ถ: “ความคิด” กับ “จิต” คือตัวเดียวกัน ใช่ไหมครับ? ต: ความนึก ความคิดมันเป็น ตัวจิตนัน่ แหละ ตัวจิตเองนัน่ แหละทีเ่ ป็นผูป้ รุงผูแ้ ต่ง
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๘๙
ถ: เวลานั่งสมาธิแล้วมันเหน็บชา ถ้าผมนั่ง ไปเรือ่ ยๆ มันจะหายไหมครับ? ต: ถ้ามันเหน็บมันชาขึ้นมา ให้เราอดกลั้น ไว้ก่อน อย่าพึ่งออก พอใจมันรวมเข้าไป เป็นหนึง่ แล้ว ไม่มรี า่ ง ไม่มกี าย ไม่มแี ข้ง ไม่มขี า ความเจ็บแข้ง เจ็บขาหายไปหมด เบาสบายเลยทีน่ ้ี เวลาพูด ให้พูดด้วยความมีสติ มันจึงเป็น สาระเป็นประโยชน์ ถ้าพูดด้วยความไม่มี สติมันเฟ้อ ดูอย่างเวลาที่หลวงปู่มั่นท่าน พูด ไม่ว่าที่ไหนๆเป็นสาระออกมาน่าฟัง ทัง้ นัน้ เพราะท่านพูดด้วยความมีสติ ถ้าตัง้ ใจทีจ่ ะภาวนา อย่าส่งจิตไปทางอืน่ ให้รอู้ ยูใ่ นกายในใจของเรานีแ่ หละ ถ้ายัง ตามความคิดอยูไ่ ม่ใช่ภาวนา ๙๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ยืน เดิน นัง่ นอน ให้พจิ ารณาธรรม ไม่ตอ้ ง อ้ า งว่ า นั ่ ง เสี ย ก่ อ นจึ ง พิ จ ารณาธรรมะ นอนเสียก่อนจึงพิจารณาธรรมะ พิจารณา ได้ทุกเมื่อทุกอริยาบถ ให้พิจารณาทุกขัง ชาติความเกิดเป็นทุกข์ พิจารณาอนิจจัง ความไม่เทีย่ ง เวลาทีค่ วามโลภ ความโกรธ ความหลง มันเกิดขึ้นแล้ ว เป็ น อย่ า งไร เวลาที ่ ม ั น หมดไปดั บ ไปเป็ น อย่ า งไร? อย่างเวลาโกรธมันร้อนเป็นพืนเป็นไฟ แต่ พ อมั น หยุ ด แล้ ว ทำไมมั น ไม่ โ กรธ? มันหายไปไหนละ?ราคะ โทสะ โมหะ มันดับเป็น มันไม่เทีย่ ง พิจารณาอนัตตา มันไม่ใช่ตัวของเราเลยเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ใช่ตัวของเราที่ไหนเลย ให้พจิ ารณา ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา ของ สังขาร พิจารณาอย่างนีอ้ ยูท่ กุ เมือ่ อย่าไป อ้างกาลอ้างเวลา หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๙๑
ถ้าคนมีสติแล้วไม่พูดพล่ามอะไรหรอก อยูก่ บั สติของตัว ไม่พดู ...เสียเวลา ฟังด้วยดียอ่ มได้ปญ ั ญา ให้เคารพต่อการ ฟังธรรมด้วยใจจริง ไม่สง่ จิตไปทางอืน่ เพือ่ ให้ได้เนือ้ หาสาระเข้ามาสูใ่ จของเราจริงๆ เรือ่ งการปฏิบตั ธิ รรม ปฏิบตั อิ ะไร ปฏิบตั ิ จิต ปฏิบัติใจของเรานี่แหละ ทำอย่างไร ใจของเราจะสะอาดหมดจด ปราศจาก มลทิน ปราศจากโทษทัง้ ปวง ผู้ที่มีจิตใจผ่องใส สะอาด ไม่มีโทษจะมี หน้าตาผ่องใส ไม่เศร้าหมอง ไม่ขนุ่ ไม่มวั เป็นทีน่ า่ คบค้าสมาคมด้วย บุคลิกลักษณะ นัน้ บ่งบอกถึงความสุขของใจ ๙๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ถ: เวลาเหนือ่ ยๆเพลียๆสติจะหายบ่อยต้องทำ อย่างไรครับ ต: เพลียก็เป็นเรื่องของเพลีย สติยังมีอยู่นี่ มันเพลียก็ระลึกได้อยู่ ไม่ใช่มันหายไป ให้รู้จักว่ามันเพลีย พอระลึกได้ก็กำหนด ความเพลี ย เข้ า ไปสิ ทำไมมั น จึ ง เพลี ย มันเพลียอยู่อย่างนี้ทุกวันหรือ มันเป็น บางครั้งบางคราวเท่านั้น มันไม่เที่ยง จะ เอาอะไรกับมัน อย่าไปยึดไปถือมาเป็นตัว เป็นตน
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๙๓
ถ: ผมรู ้ ส ึ ก ว่ า มั น จะมารู ้ อ ยู ่ ท ่ า มกลางอก เวลาที่รับรู้อะไร มันจะมาสะเทือนอยู่ตรง นีค้ รับ ผมเฝ้าดูเฝ้ารูเ้ ขาไป เวลาทีม่ คี วาม คิดความปรุงอะไรเกิดขึ้นไม่ใส่ใจ ถ้าทำ อย่างนี้ได้ไหมครับ? ต: ไม่ส่งออกไปจากความรู้ กำหนดรู้อยู่ ใจเป็นผู้รู้ ถ้ามันไม่รู้ก็ไม่ใช่ใจ กำหนด จิตอยูก่ บั ความรู้ ถ้ากำหนดแล้วไม่รอู้ ะไร เลย มันไม่ใช่แล้ว การกำหนดต้องรู้อยู่ เสมอ หายใจเข้า รู้ หายใจออก รู้ มีสติรู้ อยูน่ น้ั เป็นปัจจุบนั ธรรม ไม่สง่ ไปทางอืน่ ก็ใช้ได้แล้ว ถ้าทำได้นานๆมันเป็นฌาน กำหนดอยูใ่ นรูป เรียกรูปฌาน ถ้ากำหนด อยู่ในไม่มีรูป มีแต่รู้ เรียกว่าอรูปฌาน ไม่ ม ี อ ายตนะต่ อ ไปอื ่ น เพิ ่ น ว่ า มั น ใช้ ได้แล้วถูกทาง ได้กำลัง ต้องการให้เป็น อย่างนัน้ กำหนดใจให้รอู้ ยูต่ รงนัน้ แหละ ๙๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ถ: เวลาทีเ่ ราเฝ้าดูเฝ้ารูอ้ ยูท่ ใ่ี จ ถ้าเราไม่เผลอ จิตจะไม่สง่ ออกไปครับ แต่ถา้ เผลอเหมือน สติมนั เคลือ่ นออกไปจากความรู้ ต: ถ้ายังส่งไปโน่น ส่งไปนี้ มันเป็นสังขาร จิตตสังขาร ปรุงแต่งไป ไม่ได้อยูก่ บั ที่ ถ้ามี เหตุมนั จึงค่อยไป มันจึงค่อยดู ถ้าไม่มเี หตุ มันไม่ไป มันไม่ดู ถ: ตอนทีม่ นั ไม่ไป ไม่ดู มันว่างเลยหรือครับ ต: อือ..มันว่าง ถ้าดูอยู่เฉยๆมันวาง ไม่ยึด ไม่ถือ เมื่อวางได้แล้วมันก็ว่าง จิตมันว่าง แล้ว อะไรๆมันก็ไม่เป็นของเราทั้งนั้น อย่าไปสำคัญมัน่ หมายว่าเรารูแ้ ล้ว เฉยๆ ไว้ ถ้าใจเป็นอย่างนี้ มันสุขหรือมันทุกข์ ใจวาง ใจว่างมันจะเกิดสุขพิเศษขึ้นมา มันอยู่ที่นี่เอง ตามหามันมาพอแรงแล้ว ในที่สุดก็เจอ คำว่ารู้ มันเป็นใจเป็นจิตแท้ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๙๕
ถ: จิตรวม คือสติเขารวมกับจิตใช่ไหมครับ ต: มันไม่สง่ ออกไปไหน มันรวมแล้ว มันรูแ้ ล้ว มันไม่ส่ง มันอยู่แต่รู้อย่างเดียว มีแต่รู้ แจ่มชัดลงไปเรือ่ ยๆ จนกว่าจะสิน้ สงสัย ผู้รู้นั้นเป็นจิต ส่วนผู้ไม่รู้อะไรกับเขา มันเป็นสังขารหรอก มันปรุงมันแต่งเฉยๆ มีแต่เรารู้ของภายนอก ตัวของมันไม่รู้เรา ของเหล่านัน้ มีแต่เรารูม้ นั แล้วจะเอามัน มาเป็นเราได้ไง ระลึกอย่างนี้ก็ได้ รู้เท่า เอาทันให้ตดิ ต่ออยูอ่ ย่างนี้ มันจะเป็นพลัง ต้องการให้อยู่ มันก็อยู่ ต้องการให้ไปมัน ก็ไป จะว่ามันปรุงแต่งก็ใช่อยู่ แต่ว่ามัน ปรุงแต่งตามความเป็นจริง ไม่ได้ปรุงแต่ง นอกออกไปหรอก รูป้ จั จุบนั ธรรมอยูอ่ ย่าง นัน้ แหละ ๙๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หายใจเข้ารู้ หายใจออกรู้ จะเอามันมาเป็นเรา หรือเปล่า เราเพียงไปเห็นเฉยๆ ถ้าเอามัน มาเป็นเราก็ตะครุบเงา ไม่ได้ตะครุบตัวจริง เราวิ่งเร็ว มันก็วิ่งเร็วตามเราแต่ตะครุบ ก็ไม่ทนั อีก สัญญาอนิจจา สังขาราอนิจจา รูเ้ ท่าเอาทันมัน รูไ้ ม่เท่ามันเอาครึง่ ถ้ารูไ้ ม่ ถึงมันเอาหมด หลงตามมันไปหมด เรือ่ งจิตไม่ใช่เรือ่ งอะไร นอกจาการตัง้ สติ ไม่ให้เผลอ จะทำกิจอันใด ก็ทำด้วยความรู้ ไม่ใช่ทำด้วยโมหะ โมหะคือความหลง ความไม่รู้ เมือ่ เราไม่รมู้ นั ก็ปรุงเราแต่งเรา วาง.... เฉย มันก็ไม่ตดิ ภพติดชาติ
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๙๗
ให้รู้อยู่กับปัจจุบัน อดีตที่ล่วงไปแล้วไม่ ให้คดิ อนาคตที่ยังไม่มาถึงก็อย่าไปคิด อยู่กับปัจจุบันธรรม หายใจเข้ารู้ หายใจ ออกรู้ ลมหายใจมันสั้น หรือ มันยาวก็รู้ หายใจโปร่งดี สบายดีกร็ ู้ หายใจอิม่ หายใจ ไม่อม่ิ ก็รู้ เอาอยูก่ บั พุทโธ (รู้ ตืน่ เบิกบาน) นีแ่ หละ หายใจเข้ารู้ หายใจออกรู้ แค่นน้ั พอ สติจะแก่กล้าขึน้ มาเอง เวลาเรายืนเราก็มีสติ เราเดินเราก็มีสติ เรานัง่ เราก็มสี ติ เรานอนเราก็มสี ติ จนกว่า จะหลับไป อยูก่ บั สติปฏั ฐาน ๔ มีสติรอู้ ยู่ ในกาย เวทนา จิต ธรรม นีแ่ หละ หลวงปูม่ กั เมตตาเตือนพระเณร ให้รจู้ กั ตน รูจ้ กั บุคคล รูจ้ กั กาล รูจ้ กั ประมาณ ๙๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ตามประวัติของพระอานนท์ท่านปฏิบัติ แทบล้ ม แทบตาย เวลาจะได้ จ ริ ง ๆ หมดอาลั ย ตายอยาก โอ๊ ย !เราไม่ ไ ด้ สำเร็จแล้ว หมดอาลัยแล้ว ท่านเลยนอน พอวางแล้ว หัวยังไม่ถงึ หมอน วาบไปเลย พอวางหมดแล้วนิพพานอยู่ตื้นๆนี่เอง เพราะความอยากสำเร็จ มันจึงไม่ไปไหน มั น คาความอยาก มั น เป็ น สั ค ควรณ์ มรรควรณ์ (กั้นสวรรค์, กั้นนิพพาน) ถ้ายังอยาก ยังยึดถืออยู่ มันคาความ อยาก คาความยึด คาความถือ นิพพาน มันจึงอยู่ลึก คนเราถ้ า ไม่ ป ฎิ บ ั ต ิ ธ รรมแล้ ว เรี ย กว่ า ย่ำต้นกินผล เหยียบย่ำต้น กินแต่ผล ย่ อ มมี แ ต่ จ ะเสื ่ อ มไปสิ ้ น ไป ถ้ า ปฏิ บ ั ต ิ ธรรมแล้ ว เรียกว่า บำรุงต้นให้งามจึง ออกดอกออกผลให้ได้บริโภคใช้สอย หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๙๙
พระเราสิ่งใดที่พอเหมาะพอดี เราก็เอา สิง่ นัน้ อย่าให้มนั เกินไป เป็นธรรม เราอยู ่ ใ นโลก อย่ า ฝื น โลก ถ้ า ฝื น โลก มันผิดธรรมดา ฝืนธรรมดา ถ้าเป็นพระควรพิจารณาในการรับ แต่ถ้า เป็นแพะเอาแหลกทุกอย่าง ผิดธรรม ผิดวินัยก็ไม่ใส่ใจ สิง่ ใดทีผ่ ดิ ธรรมผิดวินยั พวกเราอย่าทำ อย่าฝ่าฝืนคำสัง่ คำสอนของพระบรมศาสดา ทำตามธรรมตามวินัย ให้เป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ก็เป็นธรรมไปเรือ่ ยๆ ไม่เหยียบไม่ยำ่ จะมีแต่ความเจริญ
๑๐๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๐๑
อธิศลี สิกขาสิกขิตตัพพา ศึกษาศีลอย่าง เคารพยิ่ง ให้ยินดีในการรักษาศีลให้ยิ่ง ทีส่ ดุ ยิง่ กว่าชีวติ โน้นแหละ อธิจิตตสิกขาสิกขิตตัพพา ฝึกหัดจิต ให้ยิ่ง ทำสมาธิให้ยิ่งอย่าให้ย่อหย่อนได้ ให้ ม ั น ตึ ง ไปเรื ่ อ ยๆ ไม่ ง ั ้ น มั น จะไหล ไปทางสายต่ำ ต้องฝืนมันบ้าง รักษาจิต ให้ยง่ิ จะทำให้เกิดปัญญา อธิ ป ั ญ ญาสิ ก ขาสิ ก ขิ ต ตั พ พา ศึ ก ษา ปัญญาอย่างเคารพยิ่ง ไม่ทำอ้อๆแอ้ๆ ต้องเอาชีวติ เข้าแลก อย่างทีค่ รูบาอาจารย์ ท่านทำมา จนรู้ว่าสิ่งนี้ถูกต้อง สิ่งนี้ไม่ ถูกต้อง สิ่งนี้ไม่ใช่ทาง สิ่งนี้เป็นทางเดิน เพื่อความพ้นทุกข์ ทั้งสามอย่างนี้เป็น เครือ่ งบรรลุคณ ุ ธรรม ๑๐๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ราคะไม่มี โทสะไม่มี โมหะไม่มี ความดึงดูด ของโลกดูดไม่ได้เลย เพราะไม่มีสิ่งที่จะ ดึงดูดกันได้แล้ว เพราะฉะนัน้ พระอริยเจ้า ท่านไปไหนมาไหน ท่านเหาะเอาเพราะโลก ไม่ดงึ ดูด มัวแต่คิดจะต่อต้านผู้อื่น ทำไมไม่คิด ต่อต้านกิเลสตัวเอง เอาชนะกิเลสตัวเอง ทำอย่างไรความโลภมันจึงจะเบาบางลง ทำอย่างไรความโกรธมันจึงจะเบาบางลง ทำอย่างไรความหลงมันจึงจะเบาบางลงไป นีค่ อื หน้าทีข่ องเราโดยตรง ผูภ้ าวนาชัน้ ยอด ท่านเพียรฆ่าความโกรธ ให้ ม ั น หมด ฆ่ า ความโลภให้ ม ั น หมด ฆ่าความหลงให้มันหมด หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๐๓
ไปเดือดร้อนอะไรกับคนนินทา ใครนินทา เราไม่ได้ยินไม่ใส่ใจก็สบาย คนนินทา น่ะเป็นยาชูกำลัง ที่จะเตือนตัวเอง เขา ติดีกว่าเขาชมจะได้รู้ตัว ถ้าเราเป็นอย่าง นัน้ จะได้ ปรับปรุง เราจะไปโกรธเขาทำไม ถ้าไปโกรธเขาก็เรียกว่าเราแพ้ตัวเอง เรามาอาศั ย กายนี ้ ท ำคุ ณ งามความดี ร่างกายนี้ไม่ได้อยู่กับเรานานเท่าไรนะ มันคร่ำคร่าชราภาพไปเรื่อย มันเดินตาม ทางมันไปอยูแ่ ล้ว ห้ามมันไม่อยู่ มันไม่ใช่ ตัวไม่ใช่ตน ไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ สั ต ว์ ไม่ ใ ช่ บ ุ ค คล มั น เป็ น สภาพสู ญ ห้ า มไม่ อ ยู ่ ดั ง นั ้ น จงรี บ ทำความเพี ย ร ให้อาสวะกิเลสมันสิ้นไปโดยเร็ว
๑๐๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
สังขารความคิดปรุงแต่งมันไม่ใช่เรา แต่ มันลากเราให้ตดิ ให้ทกุ ข์ ไม่รจู้ กั จบจักสิน้ เพราะฉะนัน้ จงอย่าเชือ่ สังขาร เดินจากกุฏิไปศาลา ก็เดินด้วยความมีสติ ถึงศาลาจะทำกิจอันใด ปัดกวาด เช็ดถู ปูอาสนะ ก็ทำด้วยความมีสติ เสร็จแล้ว นั่งภาวนาคอยหมู่ หมู่มาก็ครองผ้าอุ้ม บาตรด้วยความมีสติ เดินภาวนาไปเรื่อย จนไปถึงในหมูบ่ า้ นโน้นแหละ เดินสำรวม ไป มองดูข ้างหน้าระยะสายตาพอมอง เห็นได้ เอาอยูอ่ ย่างนัน้ แหละ มีสติ อย่าทิง้ เรียนทางโลก เรียนไปๆก็ยิ่งหนาไปเรื่อย ไม่เบาบางได้เลย เรียนทางธรรมเรียนละ ละโลภ ละโกรธ ละหลง ละกิเลสตัณหา มันก็เบาไปๆ จนไม่มภี าระ หมดภาระ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๐๕
ใจให้เด็ดเดีย่ ว ไม่กงั วลไม่สนใจกับใคร อยู่เหมือนอยู่คนเดียว เงียบทั้งวันทั้งคืน ให้พิจารณากรรมฐานตัวเอง พิจารณา ร่างกาย พิจารณาจิต มันฟุ้งซ่านไปไหน มาไหนให้รู้จักมัน รู้เท่าทันกับกิเลส สู้ กับมัน ให้กเิ ลสมันยอม ใครเป็นคนประคบประหงม ใครเป็นคน เช็ ด ขี ้ เ ช็ ด เหยี ่ ย ว ใครเป็ น คนดู แ ลให้ ความปลอดภัย ผูน้ น้ั คือ บิดา มารดา การฟังธรรม ให้ตั้งใจฟังจึงเข้าใจ จึงได้ รับประโยชน์ ภาชนะคือใจเป็นผู้รองรับ เอาธรรมะ ถ้าใจยังวอกแวกอยู่ ใจยังแตก ยั ง ร้ า วอยู ่ ถึ ง จะเทน้ ำ ใส่ ภ าชนะที ่ แ ตก ที่ร้าว ที่รั่ว มันจะอยู่ได้นานขนาดไหน มันไหลหนีหมด ไม่ได้กกั ขังน้ำไว้ได้เลย ๑๐๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
อวดดี ที่ไม่มีดีในตัว อวดเก่งก็ไม่มีเก่ง ในตัว อวดรู้ แต่กไ็ ม่มคี วามรูอ้ ะไรในตัว คนโง่ดกั ดานแต่ชอบอวดฉลาด พระเรา อวดอุตตริมนุสสธรรม คืออวดธรรมที่ ไม่มีในตัว อวดหมู่ว่าตนได้ตนถึง แต่ที่ จริงมันไม่ได้อะไร คว้าน้ำเหลว ไปมือเปล่า มามือเปล่า แต่ว่าอวดว่าตัวได้ตัวถึง นั้น เรียกว่า อวดดีแท้ ไม่เข้าท่าเลย โง่ไม่เป็น เป็นใหญ่ยาก ไม่ต้องรู้อะไรมาก รู้ภายในน้อยๆ รู้ตาม คำสั่งสอนน้อยๆ มันก็กว้างออกมาได้ รูท้ กุ ขัง รูอ้ นิจจัง รูอ้ นัตตารูแ้ ค่นก้ี ใ็ ช้ได้แล้ว
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๐๗
หลวงปูม่ กั นำคติธรรมขององค์หลวงปูม่ น่ั ภูรทิ ตั โต มาเตือนพระเณร ว่า แก้ให้ตกเน้อ แก้บต่ กคาพกเจ้าไว้ แก้บไ่ ด้ แขวนคอต่องแต่ง แก่บพ่ น้ คาก้นย่างยาย คาย่างยายเวียนตายเวียนเกิด เวียนเอากำเนิดในภพทัง้ สาม ภพทัง้ สามเป็นเฮือนเจ้าอยู่ ภพทัง้ ๓ มี กามภพ ยินดีในรูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ อันเราลอยคออยู่ รูปภพ ออกจากกามมาแล้ว แต่มาติดอยู่ ในรูป รูปร่างกายอันนี้ ดูรูปอยู่นี่แหละ อรูปภพ ไม่มีรูปร่าง เป็นจิตดวงเดียว จิตดีจิตเด่น แต่มันยังไม่หลุด ยังเป็น เฮือนเจ้าอยู่ ถ้าวิมุตติจริงๆแล้วไม่ลูบคลำอีก ถ้ายัง ๑๐๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ลูบคลำเรียกว่าสงสัยอยู่ อย่างเราไปจับงู ยังสงสัยอยู่ว่าเทียนหรืองู พอเราลูบคลำ มัน มันก็กัดเรา กิเลสเป็นงู ราคะ โทสะ โมหะเป็นงู ถ้าไปลูบคลำมันเข้า มันก็กดั เจ็บปวดมาก มันเป็นพิษ ถึงบวชเป็นพระอยู่ ก็ยงั ลอยคออยูใ่ นกาม ติดใน รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ อันเป็นเครือ่ งสัมผัสทีค่ ฤหัสถ์ เขาสะสมห่วงและหวงแหน ไม่มแี ก่นสาร เลย ติดกันอยูแ่ ค่นแ้ี หละ ไม่ยอมยกสมมติ เหล่านัน้ ออกจากจิตเลย หากสักว่าแต่รปู สักว่าแต่รส สักว่าแต่กลิ่น สักว่าแต่เสียง จิตใจจะโปร่งเบา ผ่องใสเป็นอย่างยิง่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๐๙
คนเราถ้าจิตเศร้าหมองขุน่ มัว ใจเป็นทุกข์ นั้นเป็นอกุศล ทุคติเป็นอันหวังได้ ถ้า จิตใจผ่องใส ใจไม่ขนุ่ ใจไม่มวั เป็นกุศล สุ ค ติ เ ป็ น อั น หวั ง ได้ แม้ ย ั ง ไม่ ต ายก็ ม ี ความสุขเกิดปีติปราโมทย์ รู้จักมัน จับ มันได้ เอาตัวมันไม่เศร้าหมอง เอาตัวมัน ผ่องใส ถ้าไม่ม ีท ุกข์โทษทางอื่น เราก็ ผ่ อ งใสอยู ่ ไ ด้ ถ้ า มี ท ุ ก ข์ โ ทษอยู ่ ใ นใจ มั น ก็ ข ุ ่ น มั ว ราคะ โทสะ โมหะ ของ เหล่านี้เป็นของเศร้าหมอง ถ้าเอาใจไป แส่ ส ่ า ยตามมั น เรี ย กว่ า ตามอกุ ศ ลไป ตามบาปไป ยึดเอาความบาปมาเป็นตน เป็นตัว เรียกว่า ยึดผิด ถือผิด
๑๑๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ให้พากันรักษาศีล รักษาธรรม งดเว้น ปาณาติบาต ไม่ฆ่าใครแล้ว ไม่ฆ่าสัตว์ เราอยากกินอะไร ก็หาซือ้ เอา หมู ปลา ไก่ เขามีวางขายอยู่ทั่วไป เราแค่เอาซากสัตว์ มาทำฌาปนกิจเท่านั้นเอง ไม่มีเจตนาจะ ฆ่าหรือทำร้ายใครเลย เวลาใด ใจผ่อง ใจใส ใจสะอาด ใจสบาย สงบเยือกเย็น ไม่เศร้า ไม่หมอง ไม่ขนุ่ ไม่มวั ไม่วนุ่ ไม่วาย กับใครๆ เป็นธรรม ขึน้ ในใจเวลานัน้ จะนัง่ เป็นสุข นอนเป็นสุข กินเป็นสุข ทำงานเป็นสุข สุขไปหมดไม่ เดือดร้อนอะไรทีไ่ หนเลย นีเ่ ป็นกุศลาธรรมา ถ้าจิตใจเศร้าหมอง ขุน่ มัว เคียดให้คนโน้น โกรธให้คนนี้ กลายเป็นพยาบาทไป เป็น อกุศลาธรรมา แปลว่า โง่ ไม่ฉลาด ลุอำนาจ แก่กเิ ลสของตัว ไปตามมันเป็นบาป หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๑๑
ถ: ทำสมถะมากๆ มันแช่ในอารมณ์ นิง่ ไปเลย มันติดในสมาธิ ต: มันจะแช่อะไร เราวุ่นวายมาตั้งเท่าไหร จะทำความสงบให้ใจ มันจะแช่อะไร สมถะ นีแ่ หละตัวสมาธิ ให้ใจมันสงบ ให้ใจมันแน่ เสียก่อน จึงค่อยวิปสั สนา พิจารณาร่างกาย ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ผม มันสวยงามตรงไหน ถ้าไม่สระ ไม่ลา้ ง ๔-๕ วัน กลิน่ มันจะเป็นอย่างไร เวลามัน หล่นลงมาใส่อาหาร กินได้หรือเปล่า ถ้ามีผมก็ต้องคอยบริหารผม ทรงนั้นดี ทรงนี้ดี มีแต่เราว่ามันดีเองเฉยๆ แต่ตัว ของมันไม่ได้รู้อะไรด้วยเลย ๑๑๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ขน ทีอ่ ยูท่ ว่ั ในร่างกายเรานี้ มันงามตรงไหน ถ้าหล่นไปใส่อาหารแล้ว กินได้หรือเปล่า ทำไมติดกันเหลือเกิน เล็บ ทีอ่ ยูป่ ลายมือ ปลายเท้าเรา เวลาเกา อะไรๆ ขีเ้ หงือ่ ขีไ้ คล มันเข้าไปติดในเล็บ ทั้งดำ ทั้งเหม็น ถ้าไปหยิบอาหารจะน่า กินไหม ฟัน เวลากินอาหาร เศษอาหารมันเข้าไป ติดในซอกฟัน ถ้าไม่ได้แปรงฟัน ๒-๓ วัน กลิ่นมันจะเป็นอย่างไร ต้องแปรงมันอยู่ ทุกวัน ตื่นนอนขึ้นมาก็ต้องแปรง เพราะ มันเหม็น กินข้าวเสร็จก็ตอ้ งแปรง จะนอน ก็ตอ้ งแปรง หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๑๓
หนัง หุ้มอยู่ทั่วร่างกาย ถ้าหนังไม่หุ้มไว้ เลือดก็จะเยิ้มออกมา ถ้าดึงหนังออกมา กองทั้งตัว ก็เหลือแต่เนื้อกับกระดูกที่มี น้ำเลือดน้ำหนองไหลเยิม้ ไปหมด พิจารณา ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง อย่างนี้ ให้มากๆ จนเห็นติดตา พิจารณาให้ละเอียด ก็จะเกิดเบือ่ เกิดหน่าย เกิดคลายกำหนัด ไม่ยินดีแล้วในร่างกาย แม้ร่างกายคนอื่น ก็เหมือนกัน
๑๑๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปู ่ เ มตตาแจกรู ป ภาพหลวงปู ่ ใ ห้ แก่ญาติโยม หลวงปูป่ รารถกับญาติโยมว่า รุ่นนี้ดีจริงๆ ไม่เคยติ ไม่เคยบ่น ไม่เคย เหล่ใครเลย ไม่เคยโกรธให้ใคร ไม่เคย เคียดให้ใคร เขาเอาไปทำอะไรก็เฉย เขาเอาไปตากแดดก็เฉย เอาไปแช่น้ำก็ เฉย นั่งทับก็เฉย ใครจะทำอะไรก็เฉย เลยว่าดี ดีจริงๆ ถ้าตัวจริงนะลองดูสิ ใคร มาทำไม่ดี สู้นะ ธรรมะแสดงอยู่ทุกเมื่อ เกิดอยู่เสมอ ผู้มี ปัญญาย่อมโอปนยิโกคือ น้อมเข้ามาใส่ ตัวเอง น้ อ มเข้ า มาพิ จ ารณาในตั ว เอง เมื่อพิจารณามากเข้าก็จะปัจจัตตัง คือ รู้ได้เฉพาะตน
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๑๕
พระพุทธศาสนาสอนอะไรบ้าง สอนให้คน ละชัว่ กระทำดี ทำจิตให้ผอ่ งใส ความชัว่ ทั้งหลายไม่กระทำอีกแล้ว ใจจะสะอาด เพราะไม่แปดเปือ้ นด้วยกิเลส ราคะ โทสะ โมหะ มันเป็นโคลนตม ถ้าใครไปตกใน ราคะ โทสะ โมหะ มันก็แปดเปือ้ นขีโ้ คลน จนลืมหูลมื ตาไม่ขน้ึ อาสวะเครือ่ งหุม้ ห่อ จิตใจให้มืดมิดปิดปัญญา กิเลส ความโลภ ความโกรธ ความหลง เป็นอันตรายเด้อลูกหลานเอ๋ย เป็นกิเลส อย่างน่ากลัว ร้อนกว่าไฟ ใสกว่าแก้ว บ่มี เขีย้ วกัดกินคน กิเลสมันกัดกินคน เราจะ ทำตามมันอยู่หรือ เราต้องฝืนมันบ้างสิ อย่าไปตามใจมัน ๑๑๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
โลโภ ธัมมานัง ปริปันโถ ความโลภเป็น อันตรายแก่ธรรมทัง้ หลาย เป็นอันตรายแก่ ความเจริญทัง้ หลาย โกโธ ธัมมานัง ปริปนั โถ ความโกรธเป็นอันตรายแก่ สติแก่ปัญญา ของตัวเอง ถ้าไปลุอำนาจแก่มนั เป็นการ ทำลายตัวเองอย่าง เฟอร์ดนิ านด์ มาร์กอส ประธานาธิ บ ดี ข องประเทศฟิ ล ิ ป ปิ น ส์ เป็นใหญ่มอี ำนาจมาก แต่โกงกินแผ่นดิน จนประชาชน เดือดร้อนอย่างมาก ต่อมา ประชาชนรวมตัวกันขับไล่ จนต้องหนีออก นอกประเทศ เงินทีโ่ กงกินแผ่นดินมาถูกยึด คืนหมด ในที่สุดก็ตายอย่างหมาข้างถนน ความโลภเป็นอันตรายแก่ความเจริญ ทั้งหลาย ทำลายชื่อเสียง เกียรติยศ รสนิยมพังไปตามๆกัน ทำทานรักษาศีล เจริญภาวนาก็เพื่อกำจัดกิเลส หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๑๗
ถ: ติดสุขแก้อย่างไรดีครับ(พระถาม) ต: สุขไม่เที่ยงหรอก ทุกข์ไม่เที่ยงหรอก ทั้งสุขทั้งทุกข์ก็เสื่อมอยู่ ประเดี๋ยวสุข ประเดี๋ยวทุกข์ไม่เที่ยงหรอก ต้ อ งถึ ง นิพพานเสียก่อน ถ: ผมรักดนตรีมากครับ พอได้ฟังได้เสพ ก็ จ ะมี ค วามสุ ข พอไม่ได้เล่นไม่ ไ ด้ ฟ ั ง ไม่ได้สนองตัณหามันก็ทุกข์หนัก ต: มันไม่ใช่ธรรมะหรอก มันเป็นเรื่องของ กิเลส ถ้าไปตามอำนาจของกิเลส ก็พอ อยู่กันได้เฉยๆ แต่มันเป็นทุกขัง อนิจจัง อนัตตา ไม่ใช่เราไม่ใช่เขาหรอก เป็นเพียง เครือ่ งปรุงแต่ง ถ: แล้วผมจะแก้อย่างไรดีครับ มันทรมาน มากๆ ๑๑๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ต: มั น อยากไปทางนั ้ น ก็ ล องดู ใ ห้ ม ั น ได้ เห็ น มรรคเห็ น ผล ลองดู ตามมั น ไป หลายๆจะเกิ ด วิ ป ลาส สั ญ ญาวิ ป ลาส ทิ ฏ ฐิ ว ิ ป ลาส จิ ต ตวิ ป ลาส มั น ผิ ด จาก แนวทาง มั น ไม่ ใ ช่ ม รรคปฏิ ป ทา ไป ยึดเอาของไม่จริงมาเป็นจิต มันปรุง มันแต่งของมันเอง ของจริงมันไม่ปรุง ไม่ แ ต่ ง อะไร มั น รู ้ อ ยู ่ อ ั น เดี ย วเฉยๆ มี แ ต่ ร ู ้ อ ั น เดี ย ว ไม่ ต ิ ด อะไรที ่ ไ หน เหมือนหยดน้ำกลิ้งอยู่บนใบบัว ไม่ว่า จะกลิ้งไปทางไหนก็เป็นหนึ่งอยู่อย่างนั้น ใสบริสทุ ธิส์ ะอาดอยูอ่ ย่างนัน้ ไม่แปดเปือ้ น อะไรกับใครเลย นีอ่ บุ ายโง่ๆของผมหรอก
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๑๙
โยมกล่าวอาราธนาศีลจากหลวงปู่ หลวงปู่ ถามโยมว่า ใครจะรับศีลแบบถาวรได้บา้ ง ไม่ตอ้ งสมาทานอีกแล้วมีไหมหนอ ไม่ขาด ไม่ด่าง ไม่พร้อยแต่อย่างใดอีกเลย สัตว์ ทัง้ หลายเราไม่มเี จตนาจะฆ่าจะเบียดเบียน มันอีกแล้ว แต่ถ้าเผลอมองไม่เห็น ไป เหยียบมันเข้า ก็ธรรมดา ไม่ได้มีเจตนา ถ้าไม่มเี จตนา ศีลไม่ขาดหรอก ถ้ามีเจตนา ศี ล ถึ ง ขาด ไม่ ม ี เ จตนาจะลั ก ของเขา ไม่มีเจตนาจะประพฤติผิดในกาม ไม่มี เจตนาโกหกใคร ไม่มีเจตนาจะกินเหล้า รวมถึง ฝิน่ เฮโรอีน ยาบ้าทุกชนิด เรางด เว้นเด็ดขาดไม่กระทำอย่างนั้นอีกแล้ว เรียกว่าศีลถาวรหรือนิจศีล อย่าให้ขาด ให้ด่าง ให้พร้อยได้ อยากให้ตั้งเจตนา อย่างนีน้ ะ ๑๒๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
บุญกุศลเกิดขึน้ ทีใ่ จเรา ถ้าใจเรามีศลี มีสมาธิ มันก็เกิดปัญญาขึน้ มา ถ้าใจของเราไม่มศี ลี ไม่มสี มาธิ ไม่มคี วามมัน่ คงอะไรเลย มันก็ ไม่เกิดปัญญา ไม่สน้ิ สงสัยได้ มีศีล มีธรรม มีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา แก่เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน จึงเป็น คนดีได้ ถ้าไม่มีก็ไม่ต่างอะไรกับ สัตว์ เดรัจฉานๆเห็นกันก็กัดกัน มีอาหาร กินมันก็ไม่แบ่งใคร มันหวงแต่ตัวคน เดียว กินไม่หมดโน้นแหละจึงให้เขา
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๒๑
ไวปากเสียศีล ไวตีนตกต้นไม้ เขามาว่า หรือทำไม่ดีกับเราก็สาธุๆไว้ อย่าไปโกรธ เขา เราจะไม่โกรธ จะไม่ต่อสู้ใครเลย แม้แต่ยุงมากัด ก็ไม่คิดทำร้ายมันเลย ถ: เวลานัง่ สมาธิ ชอบไปนึกถึงอะไรทีม่ นั ไม่ดี ใจมันเลยไม่นง่ิ แก้อย่างไรดีคะ ต: ชอบนึกไปทางอืน่ ส่งออก นึกออกนอกลู่ นอกทางมันก็ผดิ ทาง ใจเป็นผูส้ ง่ ออกไป ไปแล้วได้อะไรมา ออกไปทำไม เราจะอยู่ กับเนือ้ กับตัว ไม่ต้องถามปัญหาอะไรหลาย ไม่มีปัญหา ไม่ต้องสงสัยอะไร มีความสงสัยเกิดขึ้น รู้อยู่ อย่าไปตาม ถ้าปล่อยให้มันสงสัย มันก็สงสัยเรือ่ ยไป รูเ้ ท่าทันความสงสัยพอ ๑๒๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๒๓
อยู่ในผ้าเหลืองเป็นเพศอันสงบ เป็น เพศอันสบาย เป็นเพศอันอุดม ให้รู้จัก รักษา รูจ้ กั ทำความเพียร ถ้าละความเพียร ก็จะเวียนไปหาความมักมาก ความตายที ่ แ ท้ จ ริ ง คื อ อะไร อะไรตาย ไม่ ใ ช่ แ ค่ ร ่ า งกายนอนตาย นั ่ น มั น แค่ ร่างกายแตกดับเฉยๆ ความตายแท้ๆคือ ไม่ตอ้ งมาเกิดอีก ตัวไหนตัวไม่มาเกิดอีก? ตามเข้าไปๆ อ๋อตัวผู้รู้นี่เอง จิตเราระลึก ว่าพุทโธเราก็รู้ หายใจเข้าเราก็รู้ ประกอบ ด้วยพุท หายใจออกเราก็รู้ ประกอบด้วย โธ ให้ระลึกรู้อย่างนี้ไปเรื่อยๆจนจิตรวม มั น จะลื ม พุ ท ลื ม โธ มี แ ต่ ร ู ้ อ ย่ า งเดี ย ว รู ้ ว ่ า เราไม่ เ ผลอไม่ ห ลง ตั ว รู ้ น ี ่ แ หละ ๑๒๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ตัวไม่ตาย ตายไม่เป็น เป็นอมตธรรม เป็นอมตธาตุ เมื่อสิ้นอาสวะก็ไปนิพพาน รูจ้ ริงๆแล้วมันสว่างไสวไม่มกี ลางวันกลาง คืน ใจมันสว่างไสวอยูอ่ ย่างนัน้ ถ้าความรู้ ดับไป มันก็มืด ถ้าความรู้ยังรู้อยู่ มัน ก็สว่างไสวขึ้นมา ถ้าสว่างแจ้งโลกแล้ว สิน้ สงสัย ไม่มบี าป บุญ คุณ โทษ ความเศร้า หมองของใจไม่มี อิม่ อยูอ่ ย่างนัน้ นัง่ อยูก่ ย็ ม้ิ นอนก็ยม้ิ ความโกรธความอาฆาตพยาบาท จองเวรจองกรรม มันหายไปหมดเลย มีแต่ สุขล้วนๆ ไม่มที กุ ข์เลย พอตาเห็นรูปสวยๆก็พอใจเป็นกิเลสแล้ว พอหูฟังเสียงไพเราะก็พอใจ ฟังเสียงไม่ ดีก็ไม่ชอบใจอีก กิเลส พอใจ ไม่พอใจ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๒๕
มันมาทีหลังเรา มาทำตีสนิททำตัวคุน้ เคย ว่ามาเป็นเรา ว่าเรารัก เราชอบใจ เรายินดี เรายินร้าย พอนานๆเข้ามันก็เลยมาฆ่าเรา เพือ่ นกินเพือ่ นกัน เพือ่ นรูไ้ ม่ทนั เพือ่ นกัน เอาไปกิน รูท้ นั มันเอาครึง่ รูไ้ ม่ถงึ มันเอา หมด มันยึดรัฐประหารเสียเลย เราเลย หมดอำนาจ เขาเป็นใหญ่ ความโกรธ ความ โลภ ความหลงเป็นใหญ่กว่าใจ ใจก็เลย เป็นลูกน้องเขาไปเลย อย่าฟังคำยุคำยง ใดๆทั้งนั้น พระบรมศาสดาไม่ให้เชื่อ ความโกรธ ความโลภ ความหลง ความรัก ความชั ง เพราะเขาจะมายึ ด อำนาจเรา ไม่เห็นมันจีรังยั่งยืนอะไร มันเกิดขึ้น ชัว่ วูปชัว่ คราว มันก็หายไปเท่านัน้ เราอด ไว้เสียดีกว่า ๑๒๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
วิบากของกรรมเป็นผู้ตกแต่ง ถ้าเราทำ กรรมดี ก็ได้รูปสมประกอบชอบใจครบ ถ้วนบริบรู ณ์ ถ้าเราทำกรรมไม่ดเี บียดเบียน ทรมานสัตว์ วิบากของกรรมจะตกแต่งเราให้ หูหนา ตาเหล่ แข้งขาติด ปากแหว่ง จมูกวิน่ พวกชอบกินเหล้าก็จะเกิดปัญญาอ่อน แต่ก็ ั ญาดี มีเมตตา อย่าไปดูถกู กัน มนุษย์ผมู้ ปี ญ กรุณา มีโอกาสควรช่วยอนุเคราะห์สงเคราะห์ ช่วยเหลือเพือ่ นมนุษย์ดว้ ยกัน ใจที่มันหยุดนึกหยุดคิด มันสบายจริงๆ ไม่มเี รือ่ งร้อนมาปรุงตัวเอง นัง่ สบาย นอน สบายเป็นเสรีเต็มตัว กิเลสมันปรุงออก ไปมันร้อน พอเห็นหน้ามันมาก็รู้ทันที พอแล้วๆ ตัวเองสอนตัวเอง รูเ้ ท่าเอาทัน อย่าให้มนั ปรุง หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๒๗
ราคะ กองไฟสุมหัวใจคน ผู้หญิงสมัยนี้ แทบไม่นงุ่ อะไรเลย ทำไปตามตัณหาของตน เพื่อยั่วยุให้ผู้อื่นลุ่มหลง ให้เกิดไฟตัณหา ไอ้พวกที่มีความกำหนัดในรูปอยู่ ราคะก็ ลุกฮือขึน้ เอาโดยตรงไม่ได้กเ็ อาโดยอ้อม ปลุกปล้ำทำชำเรา บางทีอาจมีถึงเสพสม ให้กันดู เพราะความเสื่อมในใจมันมาก ทำไงจะเห็นเป็นเพียงซากกระดูกเขาเสพกัน เขากอดกัน ความสกปรกโรคร้ายก็ออกมา ให้เห็นอยู่ ประจำเดือนเหม็นคาวขนาด ไหนให้พจิ ารณาดู เมือ่ ได้อะไรมาก็วา่ ของกูๆ ไม่ปล่อยไม่วาง ได้เลย กอดทุกข์อยูน่ น้ั แล้ว ปล่อยไม่ได้เลย
๑๒๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ถ : ความโกรธ กับความหลง อันไหนฆ่ายาก กว่ากันครับ ต : ความโกรธ ความโลภ มันสงบระงับได้ ส่วน ความหลง เมือ่ มันยังไม่สว่างแจ้ง รูแ้ จ้งโลก เสียก่อน มั น ยั ง หลงอยู ่ อ ย่ า งนั ้ น แหละ หลงรัก หลงใคร่ หลงอยากได้ หลงยินดี หลงหาทั ้ ง ตาปี ไม่ ร ู ้ เ บื ่ อ เชื ่ อ ตั ณ หา หลงรักจูบกอด ตาบอดใจบ้า เป็ น ข้ า ความรัก เหนือ่ ยหนักไม่รู้ อดสูเ้ สียเปล่า อย่าเดาความผิด อย่าคิดเบียนกัน
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๒๙
คนเราชอบขอพึ่งบารมีของครูบาอาจารย์ ไม่รจู้ กั พึง่ ตัวเอง ไม่ขดั เกลาตัวเอง ไม่ชำระ ตัวเอง ให้จิตใจสะอาดบริสุทธิ์ จากราคะ โทสะ โมหะ ครั้งหนึ่งญาติโยมกราบขอ บารมีจากหลวงปูใ่ ห้ชว่ ยเรือ่ งธุรกิจ หลวงปู่ พูดเรียบๆว่า เราไม่มบี ารมีอะไรเลย จะเป็นพระ เณร อุบาสก อุบาสิกา ทีด่ ไี ด้ ต้องมี สติสัมปชัญญะ ระลึกได้อยู่เสมอ รูต้ วั อยูเ่ สมอ ต้องฝึกให้ยง่ิ บวชให้พอ่ ให้แม่ อย่าทำศีลของเราให้ขาด มันไม่ดี อย่าเห็นแก่ความสนุกสนาน กิเลส มันบังคับไปอย่างนัน้ อย่างนี้ จะทำไปตาม อำนาจกิเลสมันไม่ถกู อดกลัน้ ไว้บา้ ง ๑๓๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ธรรมทีท่ ำให้งามคือ ขันติ ความอดกลัน้ ทนทานไม่โกรธง่าย โสรัจจะ ความสงบเสงีย่ มเจียมตัว อ่อนน้อม สะอาดเรียบร้อย คนวู่วามทำตามใจตน เป็นคนโกรธง่าย ขาดขันติไม่งามเลย คนเราถึงแม้หน้าตา จะดีแค่ไหน ให้แต่งตัวสวยๆใส่เครื่อง ประดับราคาแพงมากมายขนาดไหนก็ตาม แต่ถ้าขาดความเสงี่ยมเจียมตัว หยิ่งยโส แข็งกระด้าง มีผใู้ หญ่นง่ั อยู่ เวลาเดินผ่าน ไม่มีก้มศรีษะ เดินคอแข็งผ่านไปเฉยเลย ดูงามไหมหล่ะ ดูไม่ได้เลย ไม่งามเลย อย่ากินสมอยาก อย่าปากสมเคียด เป็น คำทีห่ ลวงปูเ่ ตือนลูกศิษย์ลกู หาเสมอๆ
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๓๑
หลวงปู่มักนำโอวาทขององค์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต มาตักเตือนลูกศิษย์ที่ปฏิบัติ อุปัชฌายวัตรว่า “กินเข้าไปเต็มกระบุง แล้วมันก็ปรุงออกมา” คือกินอารมณ์ อารมณ์รกั ก็กนิ ได้ อารมณ์ชงั ก็กนิ ได้ ยินดี ยินร้าย ดีใจ เสียใจ ร้องไห้ หัวเราะ เข้ามา อยูท่ ใ่ี จเราหมด ถ้าเราปล่อยใจไปนึกไปคิด ก็เรียกว่ากินอารมณ์ ไม่วางสักที มันปรุง มันแต่งอะไรออกมา ก็โดดไปตามมัน ไม่ได้อยูส่ งบสงัดอะไร ถ้าอารมณ์มนั เข้า มาให้ดูมัน ให้รู้มัน ว่ามันมาปรุงมาแต่ง อะไรเรา พิจารณาใคร่ครวญว่ามันเป็น เราเป็ น เขาจริ ง หรื อ อย่ า งนี ้ เ รี ย กว่ า เฟ้ น ไม่ ไ ด้ ก ิ น อารมณ์ เฟ้ น ดู ว ่ า มั น มี ประโยชน์ ห รื อ ไม่ ม ี อะไรดี ก ็ ใ ห้ น ำมา พิจารณาใคร่ครวญ อะไรไม่ดกี ป็ ล่อยไป ๑๓๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
พ่อแม่ให้มรดกแก่เราแล้ว คือ ร่างกายนี้ เราจะเอาไปเรียนไปทำมาหากินให้เจริญ เท่าไรก็ได้ขึ้นอยู่กับเรา ยิ่งถ้าเราเอาจริง เอาจั ง กับการพิจารณาร่างกายนี้เอาจน แจ่มแจ้ง กระดูกจะกลายเป็นพระธาตุ เราได้รับมรดกอันล้ำค่ามหาศาลจากพ่อ จากแม่ แ ล้ ว จะได้ ม รรคผลนิ พ พานก็ เพราะธาตุ เ หล่ า นี ้ ถ้ า เราไม่ ร ู ้ จ ั ก คิ ด ก็ จะไป แก่งแย่งเอามรดกจากพ่อจากแม่ อีกถ้าท่านไม่ให้ก็โกรธ บางรายถึงกับ ฆ่าพ่อฆ่าแม่ก็มี
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๓๓
ถ : ก่อนตายควรนึกถึงอะไรดีคะหลวงปู?่ ต: พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า ธัมมานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรม สังฆานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ สีลานุสสติ ระลึกถึงความดีของศีล จาคานุสสติ ระลึกถึงทานทีเ่ ราเคยทำ ให้เอาสิ่งเหล่านี้มาเป็นเครื่องระลึกนึกถึง ถ้าเวทนาไม่แก่กล้า เราก็กำหนดความรู้ ของเราเฉยๆ ความรู้อยู่ที่หัวใจเรานั่น แหละ มีแต่รู้อันเดียวเท่านั้นที่จะช่วย เราได้ อย่างอืน่ ไม่มี ความรักก็ดี ความชัง ก็ดี ยินดี ยินร้ายเหล่านั้นช่วยเราไม่ได้ ความรู้อย่าให้ลืม ให้มีสติทุกเมื่อ ให้ กำหนดรู ้ อ ยู ่ ท ี ่ ล มหายใจ หายใจเข้ า รู ้ หายใจออกรู้ เวทนาอย่างอืน่ ก็จะเบาไปๆ เหมือนเรานอนหลับไปเฉยๆ อย่าได้ตาย โดยความหลง ให้ตายด้วยความรูเ้ ท่า ๑๓๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เรือ่ งทีแ่ ล้วไปแล้ว มันก็แล้วไปแล้ว จะเอา มาคิดอะไรอีก ผ่านไปแล้ว อย่าเอามาคิด จิตจะฟุ้งซ่านขุ่นมัว ถ้าหากคนเราประพฤติปฏิบัติตามธรรมะ ได้จริงแล้วสังคมจะไม่เดือดไม่ร้อน เหตุ ที่มีปัญหาอย่างโน้นอย่างนี้ เป็นเพราะว่า สังคมไม่ยอมรับนับถือและไม่ประพฤติ ปฏิบัติตามคำสั่งคำสอน ของพระบรม ศาสดาหรือครูบาอาจารย์ ถ้าจิตใจเศร้าโศกไม่เบิกบานร่าเริงแล้ว เสียมงคลไปหมด ใจอาภัพ แต่ถ้าจิตใจ ไม่เศร้าไม่โศก มีแต่รา่ เริงเกษมสำราญ แล้วเป็นมงคลอย่างยิง่ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๓๕
อย่าลุอำนาจแก่ความโกรธเป็นอันขาด โกรธขึ้นแล้วมันมืดมิดปิดปัญญา จะเอา ชนะอย่างเดียว ทั้งที่จริงมันแพ้ตัวเอง แพ้ความโกรธของตัว ฆ่าความโกรธได้ อยู่เป็นสุข เพราะฉะนั้นอย่าเอาความ โกรธมาเป็ น ตั ว ของตั ว เป็ น อั น ขาด ความโกรธมันหายเป็น แต่นรกมันหาย ไม่เป็นนะ
๑๓๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เยจิ ต ตั ง สั ญ ญะเมตสั น ติ โมกขั น ติ มารพันธนา ถ้าจิตส่งออกไปนอก ส่งออก จากร่างจากกายไปตามรูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ถูกบ่วงแห่งมาร มารตัวนี้ คือ ราคะ โทสะ โมหะ มันจะมัด มือมัดตีนมัดศอก ไปไม่ได้แล้ว มันจะผูก จะคล้องเราให้สร้างโลกต่อไป ให้อยู่กับ รู้ หายใจเข้า รู้ กำกับด้วยพุท หายใจออกรู้ กำกับด้วยโธ เอาอยูอ่ ย่างนีไ้ ม่สง่ ไปทางอืน่ ธรรมดาคนหลงทั้งหลายเขาไม่เคยพอ มีหนึง่ มีสองแล้วเขายังหาเอาใหม่ตอ่ ไปอีก เรียกว่าคนโลภมาก โลภในกาม ไม่รู้จัก เบื่อจักหน่าย เมื่อไหร่ที่มันเบื่อมันหน่าย จะรูจ้ กั เองหรอก โอ! มันทุกข์ขนาดนีห้ นอ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๓๗
ผู้ชายก็มีผู้หญิงเป็นมาร ผู้หญิงก็มีผู้ชาย เป็นมาร หากไปติดเขาแล้วก็ข้องอยู่ อย่างนัน้ แหละ ไปไหนไม่ได้ ติดแล้วก็อาสา ขอให้เขามาอยูด่ ว้ ย อาสาทำงานทำนาเลีย้ ง เรียกว่า เป็นควายไถนาให้เขา ไม่ใช่ควาย ตัวออกหน้านะ ควายตัวขับหางไถนีส่ ำคัญ จริงๆ มันหากองทุกข์ใส่ตวั เองนัน้ แหละ แต่งงานแล้วมันสุขหรือทุกข์ มันทุกข์หนัก จริงๆ สุขนิดเดียวเอง อุม้ ท้องก็ลำบากแสน สาหัส พอคลอดลูกก็แทบล้มแทบตาย ไปสร้างโลกเรียกว่า สร้างกองทุกข์ ต้องพิจารณาให้เห็นทุกข์ในโลกเห็นโทษ ของกามเสียก่อน จึงอยูส่ บายในพรหมจรรย์ ๑๓๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
มัวแต่พดู สอนคนอืน่ ตัวเองยังสงสัยอยู่ เลย ยังไม่สน้ิ อาสวะ ไม่ดเี ท่าไรหรอก มีสุขอยู่ที่ไหน มีทุกข์อยู่ที่นั่น หาสุขจาก กาม หาสุขในโลก จะได้มาจากไหน มัน คือการหาสุขในทุกข์ สุขไม่มี ตัวของ เราไม่มีในนั้น ถ้ายังเป็นข้าทาสของสังขารอยู่ มันก็ทุกข์ อยู่ร่ำไปนั่นแหละ
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๓๙
การออกบวชได้ตลอดชีวิต นี่ดีเป็นบารมี ได้ออกจากกาม ออกจากรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ที่มันมายั่วยุ เราหนีออกจากมันซะปลอดโปร่งดี ได้กนิ ก็กินไปวันๆ ได้อยู่ก็อยู่ไปวันๆ ไม่มี พันททัยทางไหนเลย ไม่สะสมกองกิเลส ใดๆทัง้ สิน้ จะได้รบั ความสุข สุขหนอๆ การทำความเพียรอย่าหลอกตัวเอง ให้เอา จริงเอาจังกับมัน ว่าจะตั้งก็ต้องตั้งสิ ว่าจะกำหนดก็ต้องกำหนดสิ ให้สติมัน แก่กล้า ทำสัมปชัญญะให้มนั แจ้ง เห็นคนอื่นเห็นสัตว์อื่นมีความสุข เราผู้ นั่งดูก็สุขด้วย ๑๔๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ลูกศิษย์ทั้งหลาย ถ้าฝ่าฝืนครูบาอาจารย์ ไม่ทำตามทีค่ รูบาอาจารย์ทา่ นสัง่ ท่านสอน เป็นคนหัวดือ้ หัวรัน้ มีแต่จะเสือ่ ม แต่ถา้ ไม่ฝ่าไม่ฝืน ทำตามทุกอย่าง ก็เรียกว่า เป็นคนว่าง่าย สอนง่าย ย่อมเจริญ หลวงปู ่ ม ั ก นำข้ อ คิ ด ของคนโบราณมา เตือนว่า ทำดีไว้ให้ลกู ทำถูกไว้ให้หลาน พัฒนาการไว้ให้ชาติบ้านเมือง ทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนาเป็นเครือ่ ง ชำระจิตใจให้สะอาด บริสทุ ธิ์ ผ่องใส ทีเ่ รา ทำกันนัน้ มีความหมาย ถ้าทำแล้วกำจัด กิเลสของตัวได้เป็นการดี แต่ถ้าทำแล้ว กำจัดไม่ได้กช็ อ่ื ว่ามาทำเล่นๆ ไม่ดี หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๔๑
ให้พากันรักษาศีลเด้อ ถ้าไม่มีศีลก็เรียก ได้วา่ จิตใจยังสกปรกอยู่ ศีลเป็นเครือ่ งมือ สำหรับกำจัดกิเลสได้อย่างดี คนที่มีศีล แล้วไม่สามารถทำบาปทำกรรมได้ วิธวี างจิตก่อนตาย ให้ปล่อยวางธาตุขนั ธ์ ให้วางตั้งแต่ยังรู้ตัวอยู่นี่แหละดี อย่าไป โวยวายกับธาตุ ธาตุจะแตกจะดับก็เรื่อง ของมัน แต่ใจเราไม่ได้ดับ ใจเรารู้อยู่ ความโวยวาย มันอุปาทานขันธ์ ถ้าวาง อุปาทานเสียได้ ไม่ยึดถือขันธ์เสียแล้ว มีแต่ใจดวงเดียว ไม่ยดึ ใครถือใคร ใช้ได้
๑๔๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
พวกเราจงเป็นสาวกของพระพุทธเจ้าที่ ซื่อสัตย์สุจริต อย่าเป็นผู้ทุจริตไม่ซื่อสัตย์ ทำความเพียรไปเถอะ จะตรัสรูช้ า้ หรือเร็ว อยู่ที่ข้อวัตรปฏิบัติของเราเอง ทำอะไร ให้ทำเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ดูตัวเองสิปัญญาเรามีไหม เราพิจารณา ได้ไหม ทำอย่างนี้จะเจริญจริงไหม ทำ อย่างนี้จะเสื่อมไหม พิจารณาไตร่ตรอง ด้วยปัญญาอันชาญฉลาดของตนเองดู เราไม่เก็บ ไม่กำ ไม่กอบ ไม่โกย ไม่โกง ไม่กนิ ไม่เอาเปรียบผูใ้ ดเลย แต่ถา้ เราเก็บ กำ กอบ โกย โกง กิน ตัวเองก็มีแต่จะ เสือ่ ม หมดสง่าราศี หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๔๓
เรื่องของสังขารมันเป็นอยู่อย่างนี้ ใจเรา มาอุปาทาน มายึดมาถือมัน เลยเป็น ทุกข์ มีครอบครัวมันก็ สมมติกันขึ้นมา หรอก เอาทุกข์มาใส่เราต่างหาก ถ้าไม่มี อะไรเลยเราจะสบายกว่านี้ เราแทบเป็น บ้าเป็นบอก็เพราะห่วงเขารักเขา มันเป็น ทุกข์ ไปห่วงมันทำไม ไปหาหอบหาพาย กับของไม่เป็นตนเป็นตัวอะไรเลย สังขารทัง้ หลายไม่เทีย่ งหนอ ก่อเกิดแล้ว กลับกลาย ดุจฟองแห่งน้ำหมาย (ฟองน้ำ ทีเ่ กิดเมือ่ ฝนตกกระทบน้ำ) ฟองแตกดับ วับกระเด็น เครือ่ งประดับใดๆในโลก ก็สธู้ รรมะไม่ได้ ถ้ามีธรรมะประดับใจตนแล้ว ย่อมเป็นผู้ เจริญรุง่ เรืองแน่นอน ๑๔๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๔๕
ฆราวาสธรรมมี ๔ ข้อ สัจจะ ทโม ฐิติ จาโค o สัจจะ ความซือ่ สัตย์จริงใจต่อกัน o ทโม รู้จักข่มใจตนเอง เมื่อประสบ กับอารมณ์อนั ไม่พงึ ปรารถนา o ฐิติ ขันติ ความอดทนอดกลัน้ o จาโค การเสียสละเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ผอู้ น่ื หากบุคคลใดมีฆราวาสธรรมครบทัง้ ๔ ข้อ แล้ว ทำมาค้าขึน้ ซือ้ ง่ายขายคล่อง เทวดา นิยมชมชอบคอยดูแลช่วยเหลือ ทำน้อยๆ ก็ได้มามาก หากไม่มฆี ารวาสธรรม แม้ทำ แทบแย่ แต่ก็ได้มานิดเดียว เฮ็ดเพียง ตี น มั น ก็ ข ึ ้ น มาเพี ย งตา เฮ็ ด เพี ย งตา มันก็ได้มาเพียงตีน ผู้ปฏิบัติต้องฝึกหัด สติ กันทั้งนั้นแหละ ๑๔๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
อบรมตนเองให้รจู้ กั ข้อวัตรปฏิบตั ิ ให้รจู้ กั ผิดชอบชั่วดี อะไรที่มันผิดเราก็จะต้อง พยายามละ ไม่ทำตามความคิดฝ่ายต่ำ ของตัวเอง ทำแต่คุณงามความดี อย่าปล่อย สติ ให้มันเป็นไปตามความ ชอบใจของมั น เอง ทำอะไรก็ ใ ห้ ม ี ส ติ ทำข้อวัตรปฏิบัติอะไรก็ให้มีสติ จับแก้ว ก็ ใ ห้ ม ี ส ติ จะวางตรงไหนก็ ใ ห้ ม ี ส ติ ถ้าไม่มีสติเวลาวางเสียงจะดัง ข้าวของ อาจเสี ย หายได้ ผู ้ ท ี ่ ไ ม่ ป ล่ อ ยสติ ใ ห้ เลินเล่อ ดูแล้วงาม
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๔๗
คนโบราณสอนไว้แต่ปางก่อนว่า อัศจรรย์ ใจโอ้โสนในหนองน้ำสิเกิดเป็นไม้แก่น พร้ากะสิป่านขวานกะสิเป้เพย่อนแก่น โสน ต้นดอกโสนเป็นไม้อ่อนใจกลาง ลำต้นลู่ลม เปรียบดังคนหรือพระที่เคย อ่อนน้อมถ่อมตน พอนานๆไปกลับแข็ง กระด้างไม่ลงใคร แม้มดี ขวานก็บน่ิ เมือ่ ไป ฟาดฟัน เพราะความแข็งกระด้างของคน เหล่านั้น มีทิฏฐิมานะมาก ดื้อรั้นดันทุรัง ไม่ฟังใคร ย่อมมีแต่ความเสื่อม ฟังเทศน์ถ้ามีสมาธิในการฟังชื่อว่าเคารพ แล้ว อย่าเอาใจส่งไปไร่นาไปทีไ่ หน ให้ใจ อยู่กับเนื้อกับตัว ได้ยินอยู่ที่หู รู้อยู่ที่ใจ ใช้วิจารณญาณอยู่ในตัว คบคิดเนื้อหา อยูก่ บั ตัวนัน่ แล เรียกว่าได้ความเคารพ ๑๔๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ของกินดีอย่าสะแพงเมือหน้า ผ้าผืนกว้าง อย่าเผื่อไว้ห่มผัวลุนเด้อ ของกินบ่กิน มันสะเน่า ของเก่าบ่เล่ามันสะลืมเด้อ ต้ อ งอย่ า หวงแหนอย่ า เป็ น คนตระหนี ่ ถี ่ เ หนี ย วเก็ บ กั ก ไว้ ไม่ เ ป็ น ประโยชน์ อย่าสะหวงแหนไว้ในใจขี้ตระหนี่ ให้มี ใจแผ่กว้างให้แก่ฝูงลุงและป้า อาวอา เพิน่ จัง่ หล่ำเฮาแหล๋ว ผูม้ ใี จแผ่กว้างญาติ และมิตรต่างรักใคร่เมตตา เวลาเจ็บป่วย มีแต่คนอยากดูแล ถ้าเป็นคนขี้ตระหนี ่ ไม่มใี ครอยากเข้าใกล้ เห็นเงินหน้าดำ เห็นคำหน้าเศร้า เห็นข้าวตาโต พาโลอยากได้ เป็นคำที่หลวงปู่มักนำมาเตือนพระเณร ไม่ให้ตกเป็นทาสของความโลภ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๔๙
หลวงปูม่ กั เตือนพระเณรเสมอๆ บวชเล่น บวชลอง บวชครองประเพณี บวชหนีสงสาร บวชผลาญข้าวสุก บวชสนุกเฮฮา บวชหา แต่ลาภ ให้พิจารณาตัวเองบวชแบบไหน มี โ ยมกราบเรี ย นหลวงปู ่ ว ่ า ช่ ว งนี ้ ห นู เครียดมากขายของไม่ได้เลยค่ะ หลวงปู่ เมตตาว่า อย่าไปเครียด ถ้าเครียดแล้ว ทรัพย์สมบัติเข้าไม่ได้ ถ้าทำใจสบายๆ ไม่เครียดไม่กังวล ทรัพย์สมบัติจึงไหล เข้ามาได้ทกุ ทิศทุกทาง โกรธเขาเราทุกข์เองนั่นแล ถ้าไม่โกรธ ก็ไม่ทุกข์ สบาย ฆ่าความโกรธได้อยู่เป็น สุ ข เราจะชนะความโกรธของเขาด้วย ความไม่โกรธของเรา ๑๕๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ไม่เผลอ ไม่หลง ไม่ส่ง ไม่ส่าย ไม่วุ่น ไม่วายกับเรื่องใดๆทั้งนั้น ก็สบายแฮ อยูอ่ ย่างนัน้ ... สบาย กินหลายบ่หายอยาก (รูป รส กลิน่ เสียง สัมผัส) นอนมากบ่รู้ตื่น รักคนอื่นกว่า รักตัว สิง่ ควรกลัวกลับกล้า (ราคะ โทสะ โมหะ) ของสัน้ สำคัญว่ายาว (ชีวติ )
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๕๑
รู้ ดวงเดียวเท่านัน้ เป็นหนทางตรัสรู้ รูๆ ้ ๆ รู้แจ๋วอยู่อย่างนั้น แล้วแต่สังขารมันจะ เป็นไป แต่ใจเราหลุดออกจากสังขารแล้ว อุปาทานความยึดถือไม่มีแล้ว สักแต่ว่า อาศัยกันเฉยๆ เจ้าจะหลุดไปเมื่อไหร่ ก็เมือ่ นัน้ แหละ ไม่หว่ ง รักษาเนื้อรักษาตัวให้มันแข็งแรงเอาไว้ ทำงานเพื่อเลี้ยงตัวเอง เลี้ยงพ่อเลี้ยงแม่ ทำงานเพื่อตอบแทนบุญคุณพ่อแม่ ถ้า เราไม่มีโอกาสได้บวชเรียนเขียนอ่าน ก็ ให้จำศีลภาวนา ทำบุญอุทิศให้พ่อแม่เรา อย่างนัน้ แหละผูเ้ จริญ มาตาปิตอุ ปุ ฏั ฐานัง การบำรุงดูแลพ่อแม่เป็นมงคลชีวิต
๑๕๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
ถ้ามีศรัทธาความเชื่อมั่นแล้ว ทำให้ไม่ ลำบากในการบำเพ็ญกุศล เพราะไม่ม ี สิ่งมากีดขวาง สัปปายะ ๕ ได้แก่ อาหารเป็นทีส่ บาย อากาศ เป็นทีส่ บาย เสนาสนะเป็นทีส่ บาย บุคคล เป็นทีส่ บาย ธรรมะเป็นทีส่ บาย ท่านว่าอยู่ ได้ มีโอกาสเจริญจิตภาวนาไปได้สะดวก เมือ่ ใจสงบลงไปแล้ว จะเห็นบาปเป็นบาป เห็นบุญเป็นบุญ ถ้าจะสึก ตัวเป็นโยมแต่ใจเป็นพระได้ไหม มักน้อย ไม่แสวงหา ไม่แต่งตัว ไม่หว่ งหล่อ ห่วงสวย ถ้าไม่ได้กอ็ ยูอ่ ย่างนีด้ กี ว่า
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๕๓
การนั่งสมาธิ ให้ไหว้พระสวดมนต์ก่อน แล้วอธิษฐานว่า ข้าพเจ้านั่งสมาธิเพื่อ ปฏิบตั บิ ชู าพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และครูบาอาจารย์ ขอให้จิตของข้าพเจ้า จงสงบเยือกเย็นเป็นสมาธิ ณ กาลบัดนี้ วางมือลง กล่าวพุทโธ ธัมโม สังโฆ ๓ จบ แล้วให้ รู้ ลมหายใจ หายใจเข้าพุท หายใจ ออกโธ อย่าให้คดิ ทางอืน่ อยูก่ บั อารมณ์น้ี เท่านั้น นั่งให้ได้นานๆ ถึงลืมร่างลืมกาย เกิดความรูอ้ ยูท่ ใ่ี จ ลมหายใจจะอ่อนไปๆ จนไม่มีลมหายใจ เป็นความวาบไปเฉยๆ วาบเข้าวาบออกอยู่อย่างนั้น มันจะเป็น เองของมัน พอหนักเข้าจะรู้สึกกายเป็น เหมือนร่างแห ลมพัดผ่านไปเลย ใจมัน ว่าง มันเบา อยู่อย่างนี้ไม่เผลอ ดูความ สงบ ไม่คิดอย่างอื่น เรียกว่าภาวนาเป็น ๑๕๔
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
แล้ ว รวมแล้ ว ถ้ า ปฏิ บ ั ต ิ จ ริ ง ปฏิ บ ั ต ิ จ ั ง หลุ ด พ้ น ไปหลายแล้ ว พ้ น จากอาสาวะ กิเลส ไม่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิดอีกแล้ว จิตเอ๋ย จิตเขลา นอนในกายเน่า เฝ้า สมบัติดิน กินอสุจิ ตริไม่เห็นเลย หลง เชยชมงาม เดินตามทางรก หมุ่นหมก ไม่รู้ อดสู้เสียเปล่า อย่าเดาความผิด อย่าคิดเบียนกัน อย่าดันทุรัง กินอสุจิ คือกินน้ำลาย มีน้ำลายจึงอร่อย ถ้าไม่ มีน้ำลายไม่อร่อย ตริไม่เห็นเลยคือไม่ เห็นความเป็นจริง กายของเรามันเน่ามัน เหม็น ถ้าไม่เชือ่ ก็ลองตดออกมาดมว่ามัน เหม็ น แค่ ไ หน มั น หมั ก หมมอาหารใน กายไว้อย่างไร ยังไม่ตายก็เหม็นแล้ว ถ้า ตายแล้วจะเหม็นแค่ไหน ยังจะติดอยูห่ รือ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๕๕
ถ้าตัดกิเลสตายคลายกิเลสหลุดถึงวิมุตติ มรรคผลนิพพานก็ไม่เวียนมาเกี่ยวข้อง กับโลกเขาอีกแล้ว ไม่มีความยินดีใน รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ เฉยๆไปหมดทุ ก อย่ า ง วางไปหมดทุ ก อย่างเรียกว่าวางได้แล้ว หลุดพ้น ไม่มี อะไรแปดเปื้อนอีกแล้ว อะไรมาหลอก ไม่ได้อีกแล้ว อาสวะไม่มาเกี่ยวข้องได้ ราคะ โทสะ โมหะไม่มาเกี่ยวข้องก็สบาย ครูบาอาจารย์เพิ่นไปอย่างนี้ ดับหมดทุก อย่าง เหมือนดังเมล็ดถั่วที่เอามาคั่วจน แห้งแล้ว เอาไปหว่านที่ไหนก็ไม่เกิด ถ้า เราคั ่ ว จิ ต ให้ ม ั น แห้ ง แล้ ว หมดแล้ ว จาก อาสวะกิเลสไม่มีเชื้อแล้ว มันก็ไม่ต้อง เกิดอีกแล้ว
๑๕๖
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เวลาภาวนา ต้องไม่มตี วั ไม่มตี นไม่มอี ะไร เป็นอาการว่างไปหมด แต่ความรู้ไม่ว่าง ให้ยอ้ นเข้ามาพิจารณาธรรมะว่า เราตกอยู่ ในกองทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เราเป็นผูร้ ู้ ผูเ้ ดียว แม้ทส่ี ดุ ก็ไม่มเี ราในรูน้ น้ั ไม่ยดึ มัน่ ยึดถืออะไรอีก วางหมด มันเบาไม่หนักแล้ว
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๕๗
หลวงปู่มักยกคำหลวงปู่มั่นมาเตือนพระ เณรว่า ลิงคะลิงคัง ลิงติดตัง ติดหนังนารี ผู้หญิงติดหนังผู้ชายๆก็ติดหนังผู้หญิง ไม่รู้จักเบื่อไม่รู้จักหน่าย อย่าได้ติดเลย ต้องพิจารณา ให้มันเบื่อให้มันหน่าย ให้ รอดจากโอฆะให้ได้ กามโอฆะ ภวโอฆะ ทิฏฐิโอฆะ อวิชชาโอฆะ ที่ทำให้เราต้อง มาเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในห้วงมหรรณพ ไปอีกกี่ภพกี่ชาตินับไม่ถ้วน ดังนั้นเรา ต้องเพียรมีสติกำกับตัวเอาไว้เสมอ ถ้า สติแก่กล้าก็สามารถข้ามโอฆะได้ แต่ถา้ ขาดสติกจ็ ะหลงรัก หลงใคร่ หลงอยากได้ หลงยินดี หลงหาทั้งตาปี ไม่รู้เบื่อเชื่อ ตัณหา พิจารณาให้เห็นอสุภะอสุภังให้ ชัดแจ้งไป ให้สิ้นสงสัยก็สบาย ๑๕๘
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
เวลานอนให้กราบพระ แล้วนอนภาวนา หายใจเข้ า รู ้ กำหนดพุ ธ หายใจออกรู ้ กำหนดโธ เอาอยู ่ แ ต่ ก ั บ อารมณ์ อ ั น นี ้ เวลาละเอี ย ดแนบเนี ย นเข้ า ไป เอาจน แข้ ง ขา ตี น มื อ หายไม่ ร ู ้ ส ึ ก ตั ว หาย แต่ความรู้ไม่หาย รู้ที่หัวใจอย่างเดียว เข้าภวังค์หลับไปเลย พอตื่นก็ทำความ เพียรต่อไป ตื่นก็ให้รู้ให้รู้อยู่ตลอด ใจ มีสภาพรู้อย่างเดียว อารมณ์อะไรเกิด ขึน้ มา เฉยๆไว้เดีย๋ วก็ดบั ไปเอง มันไม่ใช่ เราหรอก ให้รู้เท่าอย่างนี้ไว้มันก็ไม่เลย เถิดไป ต้องมีสติ มีสัมมปชัญญะ รู้ตัว อยูเ่ สมอ ไม่ทำนอกรีต นอกรอย ไม่ออก จากกรอบ
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๕๙
ความโมโหพาตัวตกต่ำ อย่าไปโมโหโกรธ ผู้อื่นมันเป็นไฟ มันจะไหม้หัวใจเจ้าของ เอง ถ้าเขาไม่ดมี นั เป็นเรือ่ งของเขา ไม่ใช่ เรือ่ งของเรา ต้องตัง้ ใจรักษาศีลโดยเจตนา ไม่ใช่เล่นๆ บางคนทีบ่ อกกำลังรักษาศีลอยู่ ปากกำลัง รักษาศีล แต่ฝา่ ฝืนซะแล้วยังพูดไม่จบเลย ตบยุงตายซะแล้ว ดังนัน้ ปากว่าศีลหัวใจก็ ต้องมีความตัง้ ใจจริงๆด้วย ทำทานแล้วต้องรักษาศีลด้วย เหมือนเอา ถ้วยชามมาใส่ของ ใส่อย่างเดียว ไม่ลา้ งถ้วย ล้างชาม ก็ไม่นา่ ใช้
๑๖๐
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
นัตถิสันติปรมังสุขัง สุขอื่นยิ่งกว่าความ สงบไม่มี ทำใจให้เป็นไปอย่างนัน้ เด้อ พิจารณาให้เห็นความเป็นจริง ให้เบื่อ หน่ า ยคลายกำหนั ด กิ น ข้ า วอยู ่ ท ุ ก วั น กินไปให้พออยู่ได้เฉยๆ แต่ถ้าพิจารณา ให้ถ่องแท้แทบจะกลืนไม่ลง ที่มันอร่อย เพราะน้ำลายของเราออกมาผสม เคี้ยว แล้วก็กลืนเอาน้ำลายตัวเองเข้าไป เวลา กัดลิ้นเจ้าของ เลือดออกมาก็เคี้ยวกลืน ไป พิจารณาอย่างนี้ ไม่ใช่พิจารณาสวย พิจารณางาม พิจารณาอย่างนัน้ เป็นกาม กิเลส ติดในรูป ติดในเสียง ติดในกลิ่น ติดในรส ติดในโผฏฐัพพะ ติดธรรมารมณ์ ติดกันอยูแ่ ค่นแ้ี หละ หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๖๑
เผลอๆ หลงๆ ลืมๆขาดสติ แล้วจะเอา ปัญญาทีไ่ หนปัญญาไม่เกิด ปัญญาจะเกิด ต้องอยู่ด้วยความนิ่งเสียก่อน เหมือนดั่ง น้ำนิ่ง ถ้าน้ำมันกระเพื่อมอยู่ มันก็ดูเงา ตัวเองไม่ได้ไม่ชัด จะดูอะไรๆก็ไม่ชัด แม้ธรรมะก็คิดปรุงไปหมด เป็นวิปลาส คลาดเคลือ่ นไม่เป็นของจริง ต้องให้มนั นิง่ ก็ดูเงาได้ชัดเจน ฉันใดถ้าใจเราไม่จดจ่อ ดูอะไรก็ไม่ชดั ถ้าใจนิง่ เห็นอะไรๆชัด เห็น สังขารตามความจริงมีโอกาสสิน้ สงสัย ขันธ์ทั้งห้าเป็นภาระอันหนัก ต้องรู้จักวาง รู้จักเฉยซะ หากวางได้ จะเบากายเบาใจ อย่างยิง่
๑๖๒
บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร
๑๖๓
หนังสือ บันทึกธรรมจากหลวงปู่ พระราชญาณวิสทุ ธิโสภณ (หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร) รวบรวมบันทึก ดำเนินการจัดพิมพ์เป็นธรรมทาน โดย พระสุทธิพนั ธุ์ สุทธิมโน และศิษยานุศษิ ย์
พิมพ์ครัง้ แรก เมษายน ๒๕๕๑ จำนวน ๖,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์ที่:
๑๖๔
ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จำกัด ๔๙ หมู่ ๑ เพชรเกษม ๖๙ หนองแขม กทม. ๑๐๑๖๐ โทร. ๐๒-๔๔๔๔-๓๓๕๑-๙ บันทึกธรรมจากหลวงปู่
หลวงปูท่ อ่ น ญาณธโร