นกหัสดีลิงค์กับพระเมรุล้านนา

Page 1

บทคัดยอ คติความเชื่อเรื่องของการสงพระวิญญาณสู สรวงสวรรคโดยมีสัตวหินมพานตเปนพาหนะ “นกหัสดีลิงค “ หนึ่งในสัตวหนิ มพานตที่ชาว ลานนานิยมใชในการประกอบพิธีกรรมเพือ่ เปนพาหนะของ “พระวิญญาณ” ที่สะทอน ระบบความคิด ความเชื่อ การเปรียบเทียบ การแทนคา และบริบทของสังคมลานนาผาน พิธีกรรมงานศพ และการสรางปราสาทไม

รศ.สมคิด จิระทัศนกุล อาจารยที่ปรึกษา

ศิริภัทร ศรีวรษา ๐๒๕๗๐๑๐๐ นักศึกษา

นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา ความสัมพันธทางคติความเชื่อและกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการตาย



นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ก

บทนํา “ความตาย” ถือว่าเป็ นสิง่ ทีท่ ุกคนจะหลีกเลีย่ งไปไม่ได้ เพราะเมื่อมีเกิดขึน้ ก็ย่อมมีดบั เป็ นของธรรมดาหรือตาม สภาวธรรมของสังขารทัง้ หลายทีไ่ ม่เทีย่ งแท้แน่นอน แต่คงจะมีเพียงมนุษย์เท่านัน้ ทีไ่ ด้สร้างสรรค์ประเพณีพธิ กี รรมเกีย่ วกับ การตายเพื่อสือ่ สารทัง้ กับตนเอง ญาติมติ ร ผูท้ ล่ี ่วงลับ รวมถึงสิง่ ทีส่ งู ส่งในความเชื่อของมนุษย์ในแต่ละวัฒนธรรม เมื่อมีคน เสียชีวติ ลง ในสังคมชนบทถือว่าเป็ นงานใหญ่สาหรับชุมชน ทุกคนต้องมีสว่ นร่วมช่วยกันรับผิดชอบช่วยเหลือกันโดยจัดงาน ศพให้เรียบร้อยดีงามตามจารีตประเพณีของแต่ละชุมชน การจัดงานศพในอดีตนัน้ ไม่มสี งิ่ อานวยความสะดวกเหมือนสมัย ปั จจุบนั เพราะห่างไกลจากความเจริญ เครื่องมือสือ่ สารต่างๆ ก็มไี ม่มาก ไม่สะดวก คนในสังคมต้องช่วยเหลือกัน ใครมี ความรูค้ วามสามารถ หรือพอทีจ่ ะช่วยเหลือกันได้กม็ าช่วยกัน ด้วยเหตุน้ี พิธกี รรมงานศพทีอ่ าจถูกมองโดยผิวเผินว่าเป็ น เพียงแบบแผนกิจกรรมทีท่ าํ ต่อๆ กันมาเพื่อจัดการกับศพผูต้ าย จึงแฝงด้วยความหมายมากมายสําหรับมนุษย์ในการสืบ ทอดวิถชี วี ติ และวิถชี ุมชน “พิ ธีกรรมงานศพ” ของชาวเหนือหรือทีเ่ รียกอีกอย่างหนึ่งว่า “พิ ธีกรรมงานศพแบบล้านนา” ก็เช่นเดียวกัน มี บทบาทหน้าทีท่ งั ้ ในมิตเิ ชิงสังคม ความเชื่อ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมหลายประการหากมองในเชิงสถาปั ตยกรรมทีเ่ ป็ นหนึ่ง ในเครื่องมือการแสดงออกให้เห็นถึงทัง้ ความเชื่อทางศาสนา โลกทัศน์แห่งความตาย การยกย่องผูต้ ายโดยการจัดพิธกี รรม งานศพอย่างสมฐานะ และรวมไปถึงความเชื่อในเรื่องของโลกปั จจุบนั และ โลกหน้า ผ่านการตีความทางความเชื่อสูง่ าน สถาปั ตยกรรมได้อย่างไร และจะพบว่าพิธกี รรมงานศพแบบล้านนานัน้ เป็ นสือ่ ทีเ่ ชือ่ มร้อยผูค้ นให้มปี ฏิสมั พันธ์ระหว่างกัน เป็ นสือ่ ทีส่ ง่ ความหมายสําคัญให้มนุษย์ได้รบั รูเ้ กีย่ วกับตนเอง ครอบครัว และชุมชนของตนในแง่มุมต่างๆ บทความชิน้ นี้จงึ มุ่งทีจ่ ะวิเคราะห์พธิ กี รรมงานศพแบบล้านนาในประเด็นทีม่ กี ารใช้นกหัสดีลิงค์ต่างปราสาทศพ(พระเมรุ) โดยการนําเสนอ ข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่ายๆและการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยอาศัยภาคทฤษฎีเป็ นแนวทางการวิเคราะห์ ด้วย เหตุน้ี เนื้อหาในบทความจะแบ่งออกเป็ น 9 ส่วน ประกอบด้วย 1. บทนํา 2. วัตถุประสงค์ในการศึกษา 3. โลกทัศน์เกีย่ วกับ ความตายของคนล้านนา 4. ความสําคัญของพิธกี รรมงานศพล้านนา 5. คติผพี น้ื บ้านสูค่ ติภพภูมิ 6. คติการสร้างปราสาท ศพ หรือพิมานศพ (พระเมรุ) 7. การปลงพระศพชนชัน้ สูงของล้านนา : ความเชื่อเรื่องสัตว์หนิ มพานต์ : รูปแบบของสัตว์ หินมพานต์ 8.ความเชื่อเรื่องส่งดวงพระวิญญาณของล้านนาโดยมีสตั ว์หนิ มพานต์เป็ นพาหนะ และ 9.ความเชื่อเกีย่ วกับนก หัสดีลงิ ค์

วัตถุประสงค์ที่ทาํ การศึกษา การศึกษาในครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อสํารวจสถานภาพและคุณลักษณะต่างๆ ของพิธีกรรมงานศพแบบล้านนาใน ๓ กลุ่มคือ ๑. ในชนชั้นสูง ๒. พระมหาเถระ หรื อ พระเถระ ๓. ชาวบ้านประชาชนทัว่ ไป ซึ่งทั้ง ๓ กลุ่มนี้ก็ลว้ นแต่มีการจัดทําพิธี ศพที่มีเหมือนและแตกต่างกัน โดยการศึกษาครั้งนี้มงุ่ เน้นไปที่การจัดพิธีกรรมศพแบบล้านนาที่ใช้นกหัสดีลิงค์ต่างปราสาทศพ ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของพิธีกรรมศพแบบล้านนา โดยต้องการทราบในหลายมิติไม่วา่ จะเป็ น คติความเชื่อ ที่มา จนกระทัง่ ไปถึงยัง การนําไปใช้


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ข

สารบัญ บทนําและวัตถุประสงค์ที่ทาํ การศึกษา สารบัญ บรรณานุกรม โลกทัศน์ เรื่องความตายของล้านนา โลกทัศน์เรื่องผีและวิญญาณ ความสําคัญของพิ ธีศพล้านนา พิธกี รรมการจัดงานศพในล้านนา คติ ผพี ืน้ บ้านสู่คติ ภพภูมิ คติ ความเชื่อเรื่องไตรภูมิและจักรวาลวิ ทยาพุทธศาสนา คติการสร้างปราสาทศพ หรือพิมานศพ (พระเมรุ) การปลงพระศพชนชัน้ สูงของล้านนา ความเชื่อเรื่องสัตว์หนิ มพานต์ รูปแบบของสัตว์หมิ พานต์ ความเชื่อเรื่องส่งดวงพระวิ ญญาณของล้านนา ความเชื่อเรื่องนกหัสดีลิงค์ ประเพณีและความเชื่อเกีย่ วกับนกหัสดีลงิ ค์

ก ข ค ๑ ๔ ๔ ๖ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๒๖ ๒๗ ๓๐ ๓๘ ๔๓


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ค


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑

โลกทัศน์ เรื่องความตายของล้านนา โลกทัศน์ของชาวล้านนามีความเชื่อพืน้ บ้านเดิมทีเ่ ป็ นชุดความคิดของคติซง่ึ เกีย่ วข้องกับการรับรูแ้ ละการตีความ “โลกของคนเป็ นกับโลกของคนตาย” โดยโลกของคนคาย คือชีวติ ในรูปสภาพของสภาวะทีเ่ รียกว่า “วิญญาณ” อันเป็ น ความเชื่อของกลุ่มชนไท-ลาว ทุกกลุ่ม โดยจะมีการเชื่อในเรื่องของผีในหลายๆบริบท เช่น ผีบา้ น ผีเรือน ผีน้ํา ผีภูเขา ผีปยู่ ่า ผีปตู่ า เป็ นต้น แนวความคิดเรื่องชีวติ ในโลกนี้กบั ชีวติ หลังความตายและสถานทีอ่ ยู่ของชีวติ นี้และชีวติ อื่นย่อมหนีไม่พน้ ทีจ่ ะ รับเอาอิทธิพลว่าด้วยความรูใ้ นพุทธรรมเข้ามาเป็ นโลกทัศน์สาํ คัญของชาวล้านนาดังนัน้ โลกทัศน์เบือ้ งหลังพฤติกรรมเพื่อคน ตายของชาวล้านนาจึงมีอยู่สองแนวคิดคือ ๑.โลกทัศน์ในวัฒนธรรมพืน้ บ้านดัง้ เดิมว่าด้วยชีวติ ของมนุษย์ในโลกนี้กบั ชีวติ ผีวญ ิ ญาณอืน่ ทีซ่ ่อนอยู่ในโลกนี้อนั เป็ นวัฒนธรรมชาวบ้านสามัญชน ๒.โลกทัศน์ในวัฒนธรรมของชนชัน้ ผูน้ ําว่าด้วยจักรวาลวิทยาในพุทธรรมหรือไตรภูมวิ ทิ ยา อันเป็ นวัฒนธรรมที่ นําเข้ามาโดยพระสงฆ์และชนชัน้ ผูป้ กครอง หรือเรียกกันว่าวัฒนธรรมหลวง การสิน้ ชีวติ หรือการตายเป็ นสภาวะทีเ่ กิดการหมดสภาพหรือการสูญหายไปอย่างสิน้ เชิง ทัง้ ในเชิงร่างกายและการ กระทําใด ๆ ทางสังคม ความตายเป็ นสิง่ ทีค่ นเป็ นนัน้ ยอมรับได้ยาก แต่กต็ อ้ งรับสภาพโดยไม่สามารถปฏิเสธหรือหลีกเลีย่ ง ได้ ซึง่ ก่อให้เกิดวัฒนธรรมทางสังคมหรือกลุ่มชนทีม่ เี รื่องชีวติ นี้และชีวติ อื่น และพิธกี รรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการตายหรือชีวติ หลังความตาย ทีป่ รากฏเป็ นรากฐานทางความคิดในสังคมของล้านนา เช่น การทําพิธศี พ ทีเ่ ป็ นเรือ่ งสําคัญของคนในชุมชน ้ เป็ นพิธกี รรมที่ ล้านนา 1พิธกี รรมงานศพของชาวพุทธล้านนา มีพธิ กี รรมการปฏิบตั ทิ ล่ี ะเอียดอ่อนมากมายหลายขันตอน ผสมผสานกันทัง้ ความเชื่อทางด้านพระพุทธศาสนา พราหมณ์ ผี และไสยศาสตร์ เข้ามาเกีย่ วข้อง และผสมผสานลงตัวจน กลายเป็ นประเพณีทย่ี ดึ ถือและต้องปฏิบตั ติ าม เพื่อให้เกิดความเรียบร้อยดีงามในสังคมล้านนา และการปฏิบตั ติ ามประเพณี ล้านนาในแต่ละท้องถิน่ ยังมีคติความเชื่อทีแ่ ตกต่างกันในบางอย่าง แต่สว่ นใหญ่ค่อนข้างทีจ่ ะเหมือนกัน 0

ชาวล้านนา ถือว่าการตายของคนใดคนหนึ่งในชุมชนถือเป็ นเรื่องใหญ่ทท่ี ุกคนต้องมีสว่ นรับผิดชอบช่วยเหลือใน การจัดพิธกี รรมให้เรียบร้อย ไม่ว่างานศพนัน้ จะเป็ นงานศพของใคร เจ้านาย พระภิกษุสงฆ์ หรือชาวบ้านสามัญธรรมดา ชาวบ้านล้านนานัน้ เมื่อมีคนป่ วยไข้ไม่สบาย มีอาการหนัก ก็จะไปเยีย่ มเยือนให้กาํ ลังใจ ไปดูใจ จนวาระสุดท้ายของชีวติ คือ การหมดลมหายใจ เมือทราบแน่ชดั ว่ามีการตายเกิดขึน้ ภาระหน้าทีต่ อ้ งเป็ นเรื่องของคนผูเ้ ป็ น ญาติพน่ี ้อง ชาวบ้านต้องให้ ความช่วยเหลือเจ้าภาพ นับตัง้ แต่บ่งบอกสัญญาณให้ชาวบ้านได้รบั ทราบ การส่งสัญญาณคือการร้องให้เสียงดัง เรียกว่า “การหุย” (การร้องให้ทเ่ี สียงดังพร้อมทัง้ บ่นเพ้อรําพึงรําพัน ถึงความรักความอาลัยในตัวของผูท้ จ่ี ากไป) เมื่อชาวบ้านได้ยนิ ก็ จะมาดูมาช่วยปลอบใจ และช่วยจัดพิธกี รรมตามขัน้ ตอนต่อไป การจัดงานศพของชาวล้านนานัน้ มีการจัดทีแ่ ตกต่างกัน ตามลักษณะของการตาย ซึง่ ชาวล้านนาได้แบ่งประเภทของการตายไว้ ๒ ประเภท คือ ตายดี และตายร้าย

1

อภิธาน สมใจ, งานศพล้ านนา : ปราสาทนกหัสดีลิงค์ ส่ ูไม้ ศพ, เชียงใหม่ : สํานักพิพมฺวรรรักษ์, 2543, หน้ า20-23


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒

๑.ตายดี หมายถึง การตายเพราะหมดอายุขยั ทีเ่ รียกว่าตายเพราะหมดเวรหมดกรรม ถ้าเป็ นคนทีม่ อี ายุมากก็จะ เรียกว่าตายด้วยโรคชรา การตายด้วยการป่ วยไข้ต่าง ๆ เหล่านี้คนโบราณเรียกว่าตายดี การตายดีจะมีการประกอบพิธตี าม ประเพณีได้อย่างครบถ้วน ๒.การตายร้าย หรือตายโหง เป็ นการตายทีเ่ กิดขึน้ ด้วยฉับพลันทันด่วน มีการตายด้วยอุบตั เิ หตุ การกลม การ ตายพราย ตกต้นไม้ตาย แขวนคอตาย ถูกเสือกัด หมีตะปบ ช้างฆ่า ม้าดีด วัวควายขวิด ฟ้ าผ่า ตายด้วยโรคห่า ถูกปื น ถูก หอกดาบแทงตาย ไฟไหม้ตาย งูกดั ตาย จมนํ้าตาย ตายในเดือนดับ เดือนเพ็ญ นังตาย ่ หลับตาย เรียกว่านังตายนอนตาย ่ เชื่อว่าผีมาฆ่าให้ตาย จึงจัดอยูใ่ นประเภทของการตายร้าย หรือตายโหง 2 1

การจัดพิธกี รรมศพลักษณะการตายทัง้ ๒ อย่างข้างต้นจึงมีความแตกต่างกันมาก การตายดีจะมีการจัดพิธกี รรมที่ ละเอียด พิถพี ถิ นั ให้ถูกต้องตามจารีตประเพณี ให้เมาะสมกับฐานะค่านิยมทีด่ ใี นสังคม นับตัง้ แต่พธิ กี รรม อาบนํ้าศพ การ ห้างลอย การใส่หบี ศพ การจัดดอกไม้ประดับ การสร้างปราสาทศพ การทําเรือนทาน การสวดอภิธรรมศพ ตลอดถึงการ บรรเลงดนตรีขบั กล่อมงานศพ การประชุมเพลิงหรือการเผา ตลอดจนถึงพีหลังเสร็จสิน้ การเผาศพ ก็ยงั การการเก็บกระดูก มาทําบุญ การเจริญพระพุทธมนต์ การถวายอาหารแด่พระสงฆ์ (ตานขันข้าว) ส่วนการจัดการศพคนตายร้ายดุเงียบเหงา รวบรัด ขัดสน มืดมน และมี “ขึด” ข้อห้ามบ่งเฉพาะ ดังทีอ่ าจารย์ไกรศรี นิมมานเหมินท์ นิพนธ์บทกวีเกีย่ วกับเรื่องนี้ไว้ใน หนังสือ “กาพย์เจีย้ จามเทวีและวิรงั คะ” กล่าวว่า

2

ศรี เลา เกษพรหม, ประเพณีชีวิต คนเมืองพิมพ์ ครัง้ ที่ 2, (เชียงใหม่ : โรงพิมพ์นพบุรีเชียงใหม่, 2544), หน้ า 91.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓

“ทีถ่ อื ตายไม่ดี ตายด้วย โรคปวงห่า ตายกลม ตายยังเล็ก อุบตั เิ หตุ แล้ววางวาย จารีต แต่เมินมา หากว่า ตายนัน้ ดี หากว่าตายไม่ดี มี เงียบเชียบ ขุดฝั งไว้

บ่มรี าศีโบราณว่า คนสัตว์ป่า ฆ่าตัวตาย ตายเด็ก กับตายพลาย ก็คอื ตาย มีราคี จิรกาล เรื่องตายนี้ ศพเผาได้ บ่เป็ นไร ราคี นําศพไป เผาไม่ได้ ขึดรายรอน”

การตายโหงหรือการตายผิดปกติ จึงถือเป็ นเรื่องใหญ่โตมาก เป็ นเวรเป็ นกรรมทัง้ คนตายและคนเป็ น เมื่อเป็ นผีกย็ งั ดุกว่าผีท่ี ตายธรรมชาติ ถ้าตายโหงนอกบ้านก็จะนําศพเข้ามาในบ้านไม่ได้ จะเก็บศพไว้ขา้ งคืนก็ไม่ได้ ต้องรีบนําไปฝั งในป่ าช้าใน เวลาก่อนคํ่าของวันนัน้ หากตายในเวลากลางคืน ก็จะนําไปฝั งในเวลากลางคืนของวันนัน้ โดยชาวบ้านจะช่วยกันจุดใต้คมุ กันไปฝั งทีป่ ่ าช้า ตายวันนัน้ ก็ตอ้ งฝั งในวันนัน้ หากตายในป่ าก็ให้ฝังในป่ า การนําศพชาวบ้านสามัญชน (ทัง้ ตายดีหรือร้าย) ไปป่ าช้า ต้องหามสถานเดียว การเคลื่อนศพไปจะทําเป็ นคานหาม จํานวนคนหาม ๔ คน โดยชาวบ้านเปลีย่ นคนหาม แต่ รายทีต่ ายไม่ดนี นั ้ จะไม่มพี ระสงฆ์จงู ศพไปป่ าช้า เรียกว่า “ตายบ่ได้หนั หน้าตุ๊หน้าพระ” จะทําสังฆทานก็ไม่ได้ จะทําบุญขัน ข้าวก็ไม่ได้ ทานได้อย่างเดียวคือทานข้าวดิบหรือข้าวสารทีไ่ ม่ได้น่งึ ตายโหงบางกรณีถา้ จะเผา ต้องทําพิธกี รรมบางอย่าง ก่อนจึงจะเผาได้ 3 2

3

อภิธาน สมใจ, งานศพล้ านนา ปราสาทนกหัสดีลิงค์ ส่ ูไม้ ศพ, (เชียงใหม่: กลางเวียงการพิมพ์, 2541), หน้ า 42-43.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔

โลกทัศน์ เรื่องผี วิ ญญาณ

ชาวล้านนาเชือ่ ว่ามีชวี ติ อยู่ในโลกแห่งวิญญาณท่านเป็ นลักษณะเช่นเดียวกับมนุษย์ กล่าวคือแดนนี้เป็ น ภาพเสมือนเชิงซ้อนเมื่อผีกบั คนอาศัยอยู่ในโลกเดียวกันย่อมพบปะติดต่อกันได้ บางครัง้ ก็เกือ้ กูลอาศัยซึง่ กันและกันหรือ เบียดเบียนซึง่ กันและกัน จึงพบว่าคนในชุมชนล้านนมีการสร้างหอผีให้เสือ้ บ้าน เสือ้ เมือง เสือ้ วัด หรือผีปยู่ ่าได้อยู่อาศัยใน บริเวณบ้านหรือชุมชนของตน ความเชื่อเดิมพืน้ บ้านของล้านนาโลกอื่นหรือชีวติ อื่นจะเป็ นเพียงสวรรค์เบือ้ งบนหรืออยู่บน ท้องฟ้ าไม่ได้อธิบายพิสดารไปจนถึงขัน้ ว่ามีสวรรค์ชนั ้ ต่างๆมีโลกมนุษย์และมีนรกขุมต่างๆดังเช่นคําอธิบายสัณฐานจักรวาล วิทยาในไตรภูมทิ ด่ี าํ รงอยู่ดว้ ยระบบโครงสร้างความสัมพันธ์แห่งกรรมภพตามนัยยะแห่งพุทธธรรม ซึง่ ผีของล้านนาอาจจะ แบ่งได้เป็ นสามพวกใหญ่ๆได้แก่ ๑. ผีดี อาทิเช่นพีเ่ จ้าทีด่ นิ ผีเรือนผีปยู่ ่าพีอาร์รกั ผีเสือ้ บ้านผีเสือ้ วัด ๒. ผีเจ้าบ้าน หรือ ผีเจ้านาย เป็ นผีมตี ําแหน่งและมีบทบาทหน้าทีเ่ ป็ นเสมือนผูป้ กครองรักษากฎระเบียบของสังคม หากผูใ้ ดละเมิดก็จะได้รบั การลงโทษ แต่หากปฏิบตั ดิ กี จ็ ะเจริญทัง้ ตนและคนใกล้ชดิ ๓. ผีรา้ ย เป็ นผีอสิ ระท่องเทีย่ วไปตามวิถที างแห่งตนไม่มที อ่ี ยูห่ รือสังจากอั ่ นแน่นอนผีพวกนี้คอยจะทําให้เป็ นผลร้าย แก่คนสถานเดียวหรือหากมีคนไปยุ่งหรือไปรบกวนวิถปี กติของมันมันก็จะกระทํา ให้คนทีเ่ ข้ามายุ่งได้รบั ผลร้าย

ความสําคัญของพิ ธีศพล้านนา พิธกี รรมงานศพของชาวล้านนาแบบดัง้ เดิมนัน้ กําเนิดขึน้ เพื่อสือ่ ถึงความเชื่อร่วมกันของชาวล้านนาเกีย่ วกับโลก ของคนเป็ นและโลกของคนตาย โดยมีโลกทัศน์วา่ โลกของคนเป็ นและคนตายไม่ได้แยกออกจากกันโดยเด็ดขาด แต่ยงั คงมี ความเชื่อมโยงถึงกันได้ผ่านพิธกี รรมต่างๆ เช่น ประเพณีการเลีย้ งผีปยู่ ่าเพื่อให้วญ ิ ญาณบรรพบุรุษได้รบั รูถ้ งึ ความกตัญ�ู ของลูกหลาน สิง่ นี้นบั เป็ นความเชื่อพืน้ ฐานของกลุ่มชนในวัฒนธรรมไทลาวทุกกลุม่ อย่างไรก็ดเี มื่อพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ วัฒนธรรมานนาในช่วงปลายพุทธศตวรรษที๑่ ๘ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ก็พบว่ามีการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนาทัง้ ๒ นิกาย คือเถรวาทและมหายานกับศาสนาฮินดูหรือพราหมณ์ และความเชื่อถือทางไสยศาสตร์ โชคลางต่างๆ การจัดการ ศพแบบล้านนาในอดีตเป็ นไปอย่างเรียบง่าย เนื่องจากชุมชนดัง้ เดิมจะมีบา้ นเรือนตัง้ อยู่ค่อนข้างห่างไกลกันเมื่อมีคนตาย ผู้ ทีเ่ ข้าไปมีสว่ นร่วมใกล้ชดิ นอกจากญาติพน่ี ้องแล้วก็มกั เป็ นเพื่อนบ้านใกล้เคียงเท่านัน้ พิธกี รรมการจัดการศพของล้านนานัน้ มีวธิ จี ดั การศพและขัน้ ตอนการประกอบพิธกี รรมคือ เมื่อมีคนตายญาติพ่ี น้องและคนใกล้ชดิ จะติดไฟต้มนํ้าร้อนให้เดือด รอจนนํ้าอุ่นแล้วนํามาอาบศพ สิง่ ของทีจ่ าํ เป็ นมีเสือ่ และฝ้ ายต่อง เสือ่ จะใช้ เป็ นทีร่ องศพ ส่วนฝ้ ายต่องจะใช้สาํ หรับมัดตราสัง สําหรับโลงศพนัน้ ในสมัยโบราณจะใช้ตน้ งิว้ ตัดเป็ นท่อน ขุดเบิกเป็ นโลง ขุดจาก ด้านบนลงไปจนทะลุดา้ นล่าง ส่วนก้นด้านในทําเป็ นเหงือก (กรอบรองรับตะแกรง) โดยรอบ ใช้ไม้ไผ่ผ่าเป็ นซีก ตี เป็ นระแนง ต่อมาเมื่อมีการใช้เลื่อย จึงเลื่อยต้นงิว้ ให้เป็ นแผ่นแล้วประกอบเป็ นโลงทีม่ ลี กั ษณะเป็ นหีบ 4 ขณะทีต่ งั ้ ศพบําเพ็ญกุศล จะต้องจัดหาเครื่องสักการะมาตัง้ ไว้ใกล้ศพ ซึง่ มีหลายอย่างได้แก่ ไฟยาม ตุงสามหาง บาตรพระ ถุงห่อข้าวซึง่ ทําจากผ้าขาว ใส่อาหาร เมีย่ ง บุหรี่ และเข็มเย็บผ้า ฝ้ ายจูงซึง่ เป็ นด้ายดิบสําหรับพระสงฆ์จงู ศพไป ป่ าช้า ตุงเหล็กตุงทอง และมะพร้าวสําหรับล้างหน้าศพก่อนเผา สิง่ เหล่านี้สอ่ื ถึงความคิดความเชือ่ ของคนล้านนาทีม่ ตี ่อชีวติ และความตายและความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างโลกของคนเป็ นและโลกของคนตาย เช่น เชื่อว่าคนตายต้องเดินทางไปสู่ โลกแห่งความตายจึงต้องทําถุงห่อข้าวเพื่อเป็ นเสบียงและอุปกรณ์ในการเดินทาง และตุงสามหางซึง่ เป็ นตุงทีท่ าํ จากผ้าหรือ 3

4

บุษยากร ตีระพฤติกลุ ชัย และ กาญจนา แก้ วเทพ,พิธีกรรมงานศพแบบล้ านนา,วารสารภาษาและวัฒนธรรม 14 ปี ที่ 29 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2553)


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๕ กระดาษสาสีขาว กว้างประมาณ ๕๐ เซนติเมตร สูงประมาณ ๑ เมตร ถึง ๑ เมตรครึง่ ส่วนบนตัง้ แต่หวั ถึงเอวมีลกั ษณะ คล้ายกับคน ส่วนล่างตัดเป็ นแฉกสามแฉก หรือสามหาง โดยจะนําตุงสามหางผูกติดกับปลายไม้ปักไว้ขา้ งโลงศพ เมื่อนําศพ ไปสูป่ ่ าช้าจะมีคนแบกตุงสามหางนําหน้า ดังนัน้ เมื่อใครเห็นตุงสามหางนี้กจ็ ะรูไ้ ด้ทนั ทีว่าขบวนศพกําลังจะผ่านไปทางนัน้ ความหมายเชิงสัญลักษณ์ของตุงสามหางมีผอู้ ธิบายไว้โดยอิงแง่มุมทางพุทธศาสนาว่าหางทัง้ สามของตุงสามหางเป็ น ปริศนาธรรมทีช่ ใ้ี ห้เห็นถึงโลภะ โทสะ และโมหะ อันเป็ นปั จจัยสําคัญทีท่ าํ ให้มนุษย์ยงั คงเวียนว่ายตายเกิดอยูใ่ นสังสารวัฏ ไม่ไปสูค่ วามหลุดพ้นโดยสมบูรณ์ ในขณะทีร่ ปู แบบพิธกี รรมงานศพล้านนาในอดีตนัน้ ได้แฝงเนื้อหา ความหมาย และคุณค่าด้านความเชื่อความ ศรัทธาของชาวล้านนาเกีย่ วกับพุทธศาสนาและการนับถือผีเข้าไว้ดว้ ยกันอย่างกลมกลืน เช่น การนําเงินหรือหมากใส่ไว้ใน ปากผูต้ าย ซึง่ แฝงความหมายข้อคิดว่าคนเรานัน้ เมื่อตายไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็ นทรัพย์สนิ เงินทองทีส่ ะสมไว้มากมาย หรือ แม้แต่หมากสักคํา ก็ไม่สามารถนําติดตัวไปได้ หรือการทีน่ ํากระทงใส่ขา้ วปลาอาหารไปวางไว้ใกล้เชิงตะกอนเพื่อเซ่นไหว้ผี เจีย้ งเหมีย้ ง ดังนัน้ ในยุคปั จจุบนั หากพบว่ารายละเอียดของพิธกี รรมบางอย่างได้ตกหล่นสูญหายไป ก็สะท้อนว่าเนื้อหา ความหมาย หรือคุณค่าทีเ่ คยมีอยู่กย็ ่อมตกหล่นสูญหายไปด้วย “พิ ธีศพ” หรือ “งานศพ” จึงเป็ นพิธกี รรมทีส่ าํ คัญอย่างหนึ่งของคนล้านนาทีม่ เี หตุปัจจัยในการทําพิธกี รรมมาจาก ผลกระทบระหว่างผูท้ ต่ี ายกับคนทีย่ งั มีชวี ติ อยู่ ไม่ว่าจะเป็ นคนใกล้ชดิ คนในสังคม หรือกลุ่มคนทีม่ ผี ลประโยชน์ร่วมกันซึง่ ผลกระทบทางด้านความสําพันธ์ทางสังคมกับวิถชี วี ติ ทีแ่ สดงออกให้เห็นถึงการตะหนักและระลึกถึงผูจ้ ากไปนัน้ ก็สามารถ เห็นได้จากการจัดงานศพ หรือพิธศี พ ทีม่ ที งั ้ แบบเรียบง่ายและแบบทีซ่ บั ซ้อน ขึน้ อยู่กบั ปั จจัยหลายอย่าง เช่น ฐานานุศกั ดิ ์ ทางสังคม ฐานะ ความเชื่อของพืน้ ถิน่ ต่างๆ 5 เป็ นต้น ซึง่ การจัดพิธศี พ หรืองานศพนัน้ มีจุดมุ่งหมายหลักๆอยู่ ๔ อย่างนัน่ คือ ๑.เพื่อการประกาศยืนยันว่าบุคคลนัน้ ได้จากโลกนี้ไปแล้ว ๒.เพื่อการประกาศว่าจะมีผใู้ ดมารับตําแหน่งต่อจากผูต้ าย และเป็ นการยืนยันการตายของผูต้ ายด้วย ๓. เพื่อแสดงให้เห็นคุณค่าของทัง้ คนเป็ น และคนตาย ๔.เพื่อเป็ นการประกาศเชิงนิตกิ รรม(กฎหมาย)ให้แก่สาธารณะได้รบั รู้ 4

ดังนัน้ “พิธศี พ” หรือ “งานศพ” จึง มีบทบาทหน้าทีท่ เ่ี ห็นชัดเจนหลายประการ ได้แก่ การสร้างความอบอุ่นมันคง ่ ทางจิตใจให้กบั ครอบครัวของผูต้ ายเป็ นการปลอบขวัญ คลายความกังวล และเป็ นการสืบทอดความเชื่อเรื่องผี ความศรัทธา ทางศาสนา เป็ นเวทีทป่ี ระกาศให้ชมุ ชนรับทราบถึงความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ กับครอบครัวหนึ่งๆ ซึง่ ส่งผลให้เกิดความ ช่วยเหลือ การเกือ้ กูลกันในทางทีจ่ าํ เป็ น ทัง้ ในเชิงสังคมและเชิงเศรษฐกิจ ทําให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง เป็ นทีพ่ ง่ึ ได้ มี ความเป็ นเอกภาพในชุมชน และยังเป็ นการสืบทอดอัตลักษณ์ตวั ตนของความเป็ นชาวล้านนาอีกด้วย อย่างไรก็ตาม เมื่อมี ความเปลีย่ นแปลงด้านเวลา ทําให้พธิ กี รรมงานศพแบบล้านนาก็มกี ารเปลีย่ นหน้าทีบ่ างอย่างไปด้วย ทีเ่ ห็นได้ชดั เจนคือ พิธกี รรมงานศพได้กลายเป็ นเวทีสาํ หรับแสดงอัตลักษณ์ในระดับปั จเจก ได้แก่ ความมังคั ่ งหรื ่ อความมีหน้ามีตาของผูต้ าย และครอบครัว แต่การเป็ นพืน้ ทีเ่ ปิ ดให้เกิดการช่วยเหลือเกือ้ กูลกันของคนในชุมชนกลับลดน้อยลง

5

อภิธาน สมใจ, งานศพล้ านนา : ปราสาทนกหัสดีลิงค์ ส่ ูไม้ ศพ, เชียงใหม่ : สํานักพิพมฺวรรรักษ์, 2543, หน้ า 16-19


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๖

พิ ธีกรรมการจัดงานศพในล้านนา คําว่า “พิธกี รรม” (ritual) มีความหมายอันลึกซึง้ ทีแ่ สดงให้เห็นถึงวิถที างวัฒนธรรมของเผ่าพันธุต์ ่าง ๆ เอกลักษณ์ ทีส่ าํ คัญยิง่ ของพิธกี รรมก็คอื การเป็ นช่องทางการสือ่ สารทีส่ าํ คัญทีเ่ ชื่อมโยงระหว่างมนุษย์ ธรรมชาติ และสิง่ เหนือธรรมชาติ เอริค รอตเทนบูเลอร์ (Rothenbuhler, E. W., 1998: 3-27) ได้นยิ ามว่า “พิธกี รรม” หมายถึงการแสดงอย่างมีเจตนาของ แบบแผนพฤติกรรมบางอย่างซึง่ เป็ นสือ่ สัญลักษณ์ อันมีผลกระทบหรือมีสว่ นร่วมในชีวติ สังคม พร้อมทัง้ แสดงทัศนะว่า “พิธกี รรมนัน้ เป็ นองค์ประกอบสําคัญในชีวติ มนุษย์ตงั ้ แต่เกิดจนกระทังสิ ่ น้ ชีวติ เป็ นกิจกรรมหลักทีส่ าํ คัญของชีวติ ทางสังคม” ทัง้ นี้ พิธกี รรมจะมีลกั ษณะสําคัญหลายประการ หากมองจากมิตติ ่าง ๆ เช่น พิธกี รรมคือการลงมือกระทํา มิใช่เป็ นเพียงการ คิดคํานึง และมักเป็ นการกระทําทีม่ แี บบแผนอันชัดเจน ประกอบด้วยขัน้ ตอนและกรรมวิธที ก่ี ระทําซํ้าแล้วซํ้าเล่าจน กลายเป็ นความเคยชิน หากจะมีการเปลีย่ นแปลง ก็มกั เป็ นไปอย่างเชื่องช้า นอกจากนี้ พิธกี รรมยังเป็ นการแสดง ซึง่ สือ่ ให้ เห็นถึงสถานะในการสือ่ สาร เมื่อเป็ นการแสดง พิธกี รรมย่อมเกีย่ วพันกับผูน้ ําเสนอและผูช้ ม นันคื ่ อเป็ นการแสดง “บางสิง่ บางอย่าง” สําหรับ “ใครบางคน” นันเอง ่ พร้อมกันนี้พธิ กี รรมจึงเป็ นการแสดงแบบหนึ่ง ก็มอี งค์ประกอบการแสดงครบถ้วน ทัง้ ตัวละคร ฉาก การกระทํา บทเจรจา ดนตรีประกอบ รวมถึงแก่นเรื่อง บ่อยครัง้ ทีเ่ ราพบว่าการแสดงออกทางพิธกี รรมมัก มีปัจจัยด้านคุณค่าและความงามเข้ามาเกีย่ วข้องด้วยในขณะทีม่ พี ธิ กี รรมเกิดขึน้ ผูเ้ ข้าร่วมย่อมตระหนักว่าตนได้เข้าไปมี ส่วนร่วมในพิธกี รรมนัน้ ๆ แล้ว ไม่ว่าจะในฐานะผูแ้ สดงหรือผูช้ มซึง่ เป็ นประจักษ์พยานก็ตาม แต่พธิ กี รรมมิได้เกิดขึน้ เพียง เพื่อให้ความรื่นเริงบันเทิงใจเท่านัน้ หากแต่พธิ กี รรมมีความจริงจังและความหมายบางอย่างแอบแฝงอยู่เสมอ และยิง่ ไปกว่า นัน้ พิธกี รรมต่าง ๆ ล้วนมีเป้ าหมายและโครงสร้างเชิงสังคมหรือความเป็ นกลุ่มก้อนกํากับอยู่ พิธกี รรมงานศพแบบล้านนาแต่ดงั ้ เดิมกําเนิดขึน้ เพื่อสือ่ ถึงความเชื่อร่วมกันของชาวล้านนาเกีย่ วกับโลกของคน เป็ นและโลกของคนตาย ชาวล้านนามีโลกทัศน์ว่าโลกของคนเป็ นและคนตายนัน้ ไม่ได้แยกออกจากกันโดยเด็ดขาด แต่ยงั คง มีความเชื่อมโยงถึงกันได้ผา่ นพิธกี รรมต่าง ๆ เช่น ประเพณีการเลีย้ งผีปยู่ ่าเพื่อให้วญ ิ ญาณบรรพบุรุษได้รบั รูถ้ งึ ความกตัญ�ู ของลูกหลานข้างหลัง สิง่ นี้นบั เป็ นความเชื่อพืน้ ฐานของกลุ่มชนในวัฒนธรรมไท-ลาวทุกกลุม่ และพุทธศาสนาเข้ามาสู่ วัฒนธรรมล้านนาในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ก็พบว่ามีการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนาทัง้ ๒ นิกายคือเถรวาทและมหายานกับศาสนาฮินดูหรือพราหมณ์ และความเชื่อถือทางไสยศาสตร์ โชคลางต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่อง น่าประหลาดใจ หากพบว่าในชุมชนต่าง ๆ ทางภาคเหนือตอนบนจะมีหอผีปยู่ ่าตัง้ อยูภ่ ายในบริเวณบ้านเรือนทีพ่ กั อาศัยของ ผูค้ นการจัดการศพแบบล้านนาในอดีตเป็ นไปอย่างเรียบง่าย เนื่องจากชุมชนแต่ดงั ้ เดิม บ้านเรือนตัง้ อยู่ค่อนข้างห่างไกลกัน เมื่อมีคนตาย ผูท้ เ่ี ข้าไปมีสว่ นร่วมใกล้ชดิ นอกจากญาติพน่ี ้องแล้วก็มกั เป็ นเพื่อนบ้านใกล้เคียงเท่านัน้ วิธจี ดั การศพและ ขัน้ ตอนการประกอบพิธกี รรมงานศพของชาวล้านนาในอดีตเมื่อมีคนตาย ญาติพน่ี ้องและคนใกล้ชดิ จะติดไฟต้มนํ้าร้อนให้ เดือด รอจนนํ้าอุ่นแล้วนํามาอาบศพ สิง่ ของทีจ่ าํ เป็ นมีเสือ่ และฝ้ ายต่อง เสือ่ จะใช้เป็ นทีร่ องศพส่วนฝ้ ายต่องจะใช้สาํ หรับมัด ตราสัง 6 5

6

วารสารภาษาและวัฒนธรรม 6 ปี ที่ 29 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2553) หน้ า 8-10.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๗ พิธกี รรมการจัดงานศพในล้านนานัน้ เมื่อมีคนตายก็ นิยมเอาโลงศพใส่ในเรือนศพ แล้วลากหรือหามไปสูป่ ่ าช้า ถือกัน ว่าบุคคลทีต่ ายไปแล้วควรได้อยูใ่ นเรือนทีส่ วยงาม เป็ น “ปราสาท” หรือ “เรือนยอด” อันเป็ นเกียรติยศแก่คนตาย และ เป็ นเครื่องบอกถึงความกตัญ�ูของลูกหลาน ทีไ่ ด้ทาํ เรือนศพ อย่างประณีต เรือนศพทีใ่ ช้กนั ในล้านนามีดว้ ยกันหลายประเภท ซึง่ ทุกชนิดนิยมใช้ลากไป โดยมีลอ้ เล็ก ๆ อยู่ใต้ฐานแม่สะดึง หรือแม่เรือมีเอาไว้เคลื่อนนําศพไปเผา ณ ทีใ่ ดทีห่ นึ่ง หรือ ใน บริเวณป่ าช้าของหมู่บา้ น 7 สมัยโบราณมีการห้ามไว้อย่างเดียว คือ ถ้าเป็ นไพร่หา้ มนําศพใส่ ปราสาท เพราะคนล้านนาในอดีต ถือว่ามันจะขึด คือ เป็ นการไม่สมควร จะมีกแ็ ต่เพียงศพ พระมหากษัตริย์ เจ้านายพระสงฆ์ ชัน้ ผูใ้ หญ่เท่านัน้ รูปแบบและ ประเภทของงานก็แยกตามลักษณะฐานะทางสังคมของบุคคล ผูต้ าย มี ๓ ประเภท ดังนี้ 8 ๑. ศพคนชัน้ สูงที่ต้องสร้างปราสาท ได้แก่ พระสงฆ์ สําคัญ กษัตริย์ และผูม้ เี ชือ้ สายเจ้านายเท่านัน้ ตัง้ โลง บรรจุศพไว้ในเรือนของปราสาท มีการแห่แหนด้วย เครื่องประโคมดนตรีตวั ปราสาทนัน้ ต้องมีเสาอย่าง น้อยตัง้ แต่ ๑๒ ต้นขึน้ ไป จนถึง ๒๔ ต้น หลังคามีจวั ่ ทัง้ ๔ ด้าน แต่ละจัวยั ่ งซ้อนกันขึน้ อีกหลายชัน้ ๓-๕-) (๗-๙ ชัน้ มีเครื่องหลังคา มียอด มีช่อฟ้ า ใบระกา จึง ถือเป็ นการสมควรแก่สถานภาพ ถึงกําหนดมีการชัก ลากปราสาทศพไปสูฌ ่ าปนสถาน ๒. ศพของเศรษฐี มหาเศรษฐี คหบดี คนชัน้ กลางที่ เป็ นคนสามัญธรรมดา จะมีแบบไม้ศพต่างหาก เรียก กันว่า “ไม้หลังกาย” คือไม่มลี กั ษณะเป็ นปราสาทเต็มที่ มีเสาได้ ๘ ต้น หลังคาไม่มยี อด ศพของคนสามัญนี้จะ ลากไม่ได้ จะแห่เครื่องดนตรีประโคมก็ไม่ได้ถอื ว่า “ขึด” ผิดประเพณี การนําศพไปเผาทีป่ ่ าช้าต้องใช้วธิ ี หามไป 6

7

ปราสาทศพต่างบนนกหัสดีลงิ ค์ของเจ้านาย

ปราสาทศพต่างบนนกหัสดีลงิ ค์ของครูบามหาเถระ 7 8

กมลรัตน์ อัตตปัญโญ, ปราสาทศพ, (เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547), หน้ า 24-26. สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ), พระเมรุ ทําไม? มาจากไหน, พิมพ์ครัง้ ที่ 2, (กรุงเทพฯ : เรื อนแก้ วการพิมพ์, 2551), หน้ า 13-15.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๘ ๓. ศพชาวบ้าน หรือ ไพร่ ทัวไป ่ ก็มไี ม้ศพเรียกตาม ภาษาช่างว่า “แบบกาจง” คือ มีเสาเพียง ๖-๘ ต้น มี หลังคาแต่ไม่มจี วั ่ หลังคาเป็ นแมวควบ ศพคนสามัญ ชาวบ้านชาวไพร่จะทําการชักลากไม่ได้ แห่ดนตรี ไม่ได้ เพราะจะถือว่าท “ขึด แพ้บา้ นแพ้เมือง” ถ้าศพใด ขืนทําเชื่อกันว่าความฉิบหายวายวอดจะตกแก่ญาติ มิตรลูกหลานทีอ่ ยูข่ า้ งหลัง9 การจัดพิธศี พของชาวพุทธล้านนา นัน้ สามารถแยกพิธี กรรมการจัดศพออกเป็ น ๓ ประเภทคือ การจัดศพเจ้านายชัน้ สูง หีบศพมีแมวควบต่างบนนกหัสดีลงิ ค์ของเจ้าหญิง การจัดพิธศี พของพระสงฆ์ และการจัดพิธศี พของสามัญชน ส่องหล้า ณ เชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ.๒๔๘๘ ทัวไป ่ การจัดพิธศี พนัน้ ส่วนใหญ่กม็ จี ุดมุ่งหมายอันเดียวกันคือ ต้องการส่งให้ดวงวิญญาณของผูล้ ่วงลับไปสูส้ คุ ติทด่ี ี การจัดพิธี ศพของเจ้านาย และพระสงฆ์ นัน้ จะมีความแตกต่างจากสามัญ ชนทัวไป ่ ตรงทีเ่ ครื่องสักการะศพ มีการใส่ปราสาทศพและ ปราสาทศพนัน้ มีความสูงใหญ่งดงามอลังการตัง้ บนหลังนกหัสดี ลิงค์ และมีการชักลากไปสูท่ เ่ี ผา หรือมีการจัดสร้างเมรุชวคราว ั่ ในการเผาศพ และมีการกําหนดสถานทีเ่ ผาตามแต่ฐานันดรศักดิ ์ เช่นทีว่ ดั หรือทีข่ ว่ งเมรุ หรือทีป่ ่ าช้า เป็ นต้น และมีการได้รบั พระราชทานเกียรติจากราชวงศ์ชนั ้ สูง เช่นงานพระศพพระราช ชายาเจ้าดารารัศมีเป็ นต้น ส่วนศพพระสงฆ์กไ็ ด้รบั การจัดศพที่ ยิง่ ใหญ่ไม่แพ้ศพเจ้านายเหมือนกันเพราะเป็ นทีน่ บั ถือของ ประชาชนทัวไป ่ หากเป็ นพระสงฆ์ทไ่ี ด้รบั พระราชทานสมณศักดิ ์ และพระสงฆ์ทบ่ี วชมาเป็ นเวลานานได้รบั ยกย่องให้เป็ นครูบา ส่วนงานศพของสามัญชนทัวไปก็ ่ จะจัดตามฐานะในอดีตไม่มกี าร ใส่ปราสาทศพ ไม่มกี ารลากจูง จะจัดพิธศี พต้องคํานึงจารีต ประเพณีและข้อห้ามของชุมชนเป็ นหลักเป็ นการจัดพิธศี พทีด่ ู เงียบเหงา เศร้าโศก และต่อมาในภายหลังการจัดศพไม่ว่าจะ ขบวนหามปราสาทศพในจังหวัดน่าน เป็ นศพของเจ้านาย พระสงฆ์ หรือสามัญชน ก็ดเู หมือนไม่ แตกต่างกันมากเท่าไร มีการทําบุญอุทศิ กุศล ใส่ปราสาท ชักลากไปสูท่ เ่ี ผา มีดนตรีแห่ มีการเลีย้ งอาหารแขกทีม่ าร่วมงาน เหมือนกันหมด ขึน้ อยู่กบั ฐานะของเจ้าภาพศพนัน้ ๆ ด้วยว่าจะจัดงานศพออกมาในรูปแบบไหนทีไ่ ม่ให้ผดิ จารีตประเพณี และให้สมเกียรติแก่ผวู้ ายชนและฐานะของตนเอง ในกรณีทเ่ี ป็ นศพของพระสงฆ์ ชาวบ้านถือเป็ นประเพณีสาํ คัญทีจ่ ะต้องไป ร่วมพิธลี ากปราสาทศพพระสงฆ์ หรือทีเ่ รียกว่า “ประเพณีปอยล้อ” เพราะมีลอ้ เลื่อนเพื่อความสะดวกในการลากปราสาทศพ 9

คมเนตร เชษฐพัฒนวนิช, ขึดข้ อห้ ามในล้ านนา, (เชียงใหม่ : กราฟฟิ คส์ แอนด์ สกรี น, 2539),หน้ า 61-65.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๙ ไปสูป่​่ าช้า เชื่อกันว่าถ้าได้ไปร่วมประเพณีปอยล้อแล้ว จะได้ อานิสงส์อย่างยิง่ สําหรับประเพณีปอยล้อนัน้ เป็ นงานบุญทีจ่ ดั ขึน้ ในการประชุมเพลิงพระภิกษุสงฆ์ทม่ี รณภาพโดยสานุศษิ ย์ ทัง้ หลายปรารถนาร่วมกันจัดงาน เพื่อรําลึกถึงบุญคุณและคุณ งามความดีและเป็ นการแสดงกตเวทิตาคุณก่อนจะทําการ ฌาปนกิจสรีระสังขารพระภิกษุรปู นัน้ “ปอยล้อ” จะจัดเฉพาะงาน ศพของเจ้าอาวาสหรือพระภิกษุผเู้ จริญพรรษาซึง่ ได้บาํ เพ็ญ คุณประโยชน์ต่อสังคมตามควร คณะศรัทธาและลูกศิษย์วดั จะ เป็ นผูเ้ ตรียมงานทัง้ หมดในงานมีการเฉลิมฉลองเช่นเดียวกับ งานปอยอื่น ๆ มีการเชิญชวนร่วมกันทําบุญถวายสังฆทานการ เลีย้ งภัตตาหารพระสงฆ์ทม่ี าร่วมพิธเี ลีย้ งอาหารแขกต่างบ้าน ต่างถิน่ และเปิ ดโอกาสให้ผมู้ จี ติ กุศลได้ร่วมกันบริจาคทานกัน อย่างทัวถึ ่ งตามกําลังศรัทธา

ปราสาทศพพ่อหนานควาย อดีตคือครูบาอิน่ คํา อินฺทวิชโย เจ้าอาวาสวัดแม่ขอ่ ง อําเภอสันป่ าตอง จังหวัดเชียงใหม่

แห่ปราสาทศพทางแม่น้ําปิ ง ของหมูบ่ า้ นทีอ่ ยู่สองฝั ง่ แม่น้ําปิ ง ในจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลําพูน

ชาวบ้านมาร่วมส่งสการ ครูบามหาเถระในอดีต

หามปราสาทศพข้ามแม่น้ําปิ ง เมืองนครเชียงใหม่ไปป่ าช้า

ขบวนหามปราสาทศพชาวบ้านป่ าบงน้อย อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๐

ปราสาทศพครูบามหายศ ป�ฺโญ วัดท่าวังพร้าว อําเภอสันป่ าตอง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๘๐

ปราสาทศพครูบาโสภา (เบ้า โสภโณ) เจ้าอาวาสวัด ถวายอําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่

ปราสาทศพต่างนกหัสดีลงิ ค์ของครูบาแก้ ว คุณากโร วัดบ้ านล้ อง อําเภอบ้ านโฮ่ง จังหวัดลําพูน วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๕


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๑

พระสงฆ์ถอื ไม้เท้ากางร่มนําขบวนหามโลงศพ ชาวบ้านไปฝั งทีป่ ่ าช้าบ้านแลง อําเภอเมืองลําปาง พ.ศ. ๒๔๘๐

ศพชาวบ้านใส่โลงศพแล้วสานแมวควบครอบข้างบน อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย พ.ศ. ๒๔๙๐

การหามปราสาทศพของชาวบ้านไปส่งสการ (เผา) ที่ ป่ าช้า ซึง่ เป็ นคติดงั ้ เดิมเพราะถือว่าการชักลาก ปราสาทศพใช้กบั เจ้านายหรือครูบามหาเถระ

ขบวนหามปราสาทศพของชาวบ้านยุคแรกๆ ทีม่ กี ารแห่ดนตรีเลียนแบบธรรมเนียมของเจ้านาย

ปราสาทศพของชาวบ้านในยุคแรกทีม่ กี ารผสมผสาน ระหว่างปราสาทศพทีส่ ร้างขึน้ ตามธรรมเนียม เจ้านาย กับแมวควบ

ชาวบ้านบางท้องทีใ่ นวัฒนธรรมล้านนา ยังคงใช้วธิ ฝี ั งศพไม่ได้ใส่ปราสาทศพส่งสการ (เผา) แบบเจ้านายหรือครูบามหาเถระ


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๒

ปราสาทศพครูบาเตปิ น วัดเทพินทราราม ตําบลแม่คอื อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๘๑

ปราสาทศพตัง้ ครอบบนหลุมฝั งศพของชาวบ้านห้วยบอน อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๗๘ ผสมผสานระหว่างการฝั ง ศพแบบชาวบ้านดัง้ เดิมกับรับอิทธิพลนําศพใส่ปราสาทศพจากชนชัน้ สง


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๓

ปราสาทศพต่างนกหัสดีลงิ ค์ ของครูบามหาเถระในจังหวัดลําพูน

ปราสาทศพต่างนกหัสดีลงิ ค์ ของครูบามหาเถระในอําเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลําพูน

ปราสาทศพครูบามหาเถระของจังหวัดลําพูน


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๔


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๕

คติ ผพี ืน้ บ้านสู่คติ ภพภูมิ ธรรมชาติ ของวัฒนธรรม คือ การพยายามก้าวไปตามหลักของความรูแ้ ละประสบการณ์ของมนุษย์ ซึง่ ความรูท้ ่ี เข้ามาอธิบาย ชีวติ สังคม โลก และจักวาล ของสังคมเดิมนัน้ มีอยู่อย่างจํากัด และค่อยๆเพิม่ ขึน้ ตามกาลเวลาทําให้ วัฒนธรรมของมนุษย์มกี ารเปลีย่ นแปลงและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา แต่ดว้ ยภูมปิ ั ญญา เหตุการณ์บา้ นเมือง หรือการ เปลีย่ นแปลงของบริบททางสังคม วัฒนธรรมใดทีส่ ามารถคงความเชือ่ และวิธกี ารไว้ได้นนั ้ มีการรับเอาความรูใ้ หม่ๆหรือ อิทธิพลต่างๆเข้ามาใช้ และทําให้เกิดการคลีค่ ลายสร้างสรรค์ก่อให้เกิดเป็ นวัฒนธรรมใหม่ขน้ึ และสืบทอดต่อไป 10 ยกตัวอย่างองค์ความรูเ้ รื่องกําเนิดโลกกําเนิดจักรวาลของชาวไทยเขิน ไท-ลาว และไทยล้านนา โดยมีเนื้อหาคือ หญิงชายคูแ่ รกในจักรวาล ทีช่ าวบ้านไท-ลาวท้องถิน่ ต่างๆเล่าขานสูก่ นั ในชื่อต่างๆได้แก่ “ปูสงั สาย่าสังไส้” “ปู่ สองศรีย่าสอง ไส้” “ปู่ สงั สะย่าสังไส้” “ปู่ สังกะสาย่าสังกะไส้” “ปู่ สองสีย่าสองไส้” “ปู่ สร่างสีน่าสร่างไส้” “ปู่ สงั คะสาย่าสังคะสี”ฯ 11 ความรู้ เหล่านี้ถูกจดจารึกไว้ในคัมภีร์ “โลกจักขุปฐม” “ปฐมมูลโลก” “ปฐวีปฐมโลกาพืน้ โลก” “ปฐมปั นยา” และ “ปฐมมูลมูล”ี เป็ นต้น เป็ นเอกสารบันทึกการอธิบายชีวติ สังคมโลกจักรวาลแบบพืน้ บ้านพืน้ ถิน่ ดัง้ เดิม ของกลุ่มคนเหล่านี้เอาไว้ภายใต้อทิ ธิพลของ รูปแบบพราหมณ์-พุทธ ปฐมมูลมูลี คือคัมภีรว์ ่าด้วยปฐมกําเนิดโลกจักรวาล และปฐมกําเนิดของสัตว์มนุษย์ โดยกล่าวถึงเรื่องของจิต วิญญาณตามความเชื่อแบบดัง้ เดิมแล้ววิวฒ ั นาการมาภายใต้กฎ ของการเปลีย่ นแปลงหลายชัวกั ่ ปชัวกั ่ ลป์ แต่งขึน้ ในสมัย ราชวงศ์มงั รายแห่งล้านนา โดยเนื้อหาประการแรกคือ ขัน้ ตอน การสร้างโลก ประการทีส่ องคือ การสังสอนชี ่ แ้ นะให้ดาํ รงชีวติ อย่างถูกต้องเพื่อนําไปสูเ่ ป้ าหมายอันสูงสุดคือการหลุดพ้นจาก ทุกข์ตามแนวพุทธศาสนา โดยมีเนื้อหาโดยย่อว่า “มีมนุษย์สามคนทีป่ ั น้ ขึน้ มา เขาเหล่านัน้ มีจติ ใจเป็ น อันหนึ่งอันเดียวกัน ทําบาปทํากรรมโดยฆ่าสัตว์มาเลีย้ งชีพแต่ก็ ยังไม่รจู้ กั บาปบุญเพื่อให้มนุษย์มชี วี ติ จิตใจแตกต่างกัน ผูส้ ร้าง โลกก็ใส่ธาตุต่างๆไว้ในต้นไม้เพราะวิญญาณทีไ่ ม่ได้อาศัยต้นไม้ ก็จะเกิดในท้องสัตว์เดรัจฉาน หลังจากนัน้ คนทีเ่ กิดมาก็มจี ติ ใจ ไม่เหมือนกัน จึงแยกย้ายไปตัง้ บ้างตัง้ เมืองอยู่คนละทิศคนละ ทางคนทีท่ าํ บาปมีมาก ส่วนคนทีใ่ จบุญมีน้อย เมื่อตายไปแล้ว พวกทีท่ าํ บาปก็ไปทรมานในนรกทีไ่ ม่มใี ครสร้างขึน้ มาเพราะ นรกเกิดจากอินทรียท์ งั ้ ๖ ทีม่ อี ยูใ่ นตัวมนุษย์นนเอง ั่ เมื่อสร้าง โลกมานานแล้ว ปู่ และย่าทัง้ สองก็จงึ ตัดสินใจทําลายโลกโดยให้ “ตํานานเค้าผีลา้ นนา : ปฐมมูลมูล”ี ช้างมโนสิลาหยุดหายใจ เมฆก็ไม่เกิดฝนก็ไม่ตกพระอาทิตย์ก็ เขียนโดย ดร. อนาโตล โรเจอร์ เป็ ลติเยร์ เผาไม่ตงั ้ แต่ดนิ จนถึงชัน้ อาภัสราพรหมโลก ต่อจากนัน้ ผูส้ ร้าง 9

10

10 11

อภิธาน สมใจ, งานศพล้ านนา : ปราสาทนกหัสดีลิงค์ ส่ ูไม้ ศพ, เชียงใหม่ : สํานักพิพมฺวรรรักษ์, 2543, หน้ า27-28. ตํานานเค้ าผีล้านนา ปฐมมูลมูลี, 2534, หน้ า 5.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๖ โลกก็ให้ ”ช้างมโนสิลา” หายใจเข้าออกเหมือนเดิม แผ่นดินก็ปรับเป็ นดังเก่าผูท้ ไ่ี ปอยูพ่ รหมโลกก็ลงมาเกิดบนพืน้ แผ่นดิน และทุกอย่างก็เข้าสภาพเดิม กัปทีป่ รากฏต่อกันมามีมากต่อมานับเป็ นโกฏิเป็ นอสงไขย มนุษย์กพ็ ฒ ั นามาโดยตลอดจน สามารถพูดได้รวู้ ่าใครเป็ นพ่อเป็ นแม่อะไรเป็ นบาปอะไรเป็ นบุญ มีมนุษย์ผหู้ นึ่งเกิดมาหมายจับและได้บาํ เพ็ญบารมีไว้มาก ในทีส่ ดุ ก็ตรัสรูเ้ ป็ นพระพุทธเจ้าองค์แรกคือ “ติกขธรรมะ” หลังจากตรัสรูแ้ ล้วก็ได้แสดงธรรมเทศนาเรื่องปฐมมูลมูลี แก่พระ อินทร์ พระพรหม เทวดา และมนุษย์ทงั ้ หลายได้ฟังแต่กย็ งั ไม่สามารถเข้าใจพระธรรมนี้ได้” นอกจากนี้การปฏิบตั ติ ามธรรมเนียมประเพณีและพิธกี รรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการตายยังทําให้เราได้เห็นภาพให้รเู้ ข้าใจ ลักษณะความแตกต่างทางขัดแย้งการปรับตัวการกลมกลืนการสร้างสิง่ ใหม่การตัง้ อยู่ร่วมกันอย่างสิงหาใส่กนั ระหว่างโลก ทัศน์สองกระแสคือความเชื่อเชิงผีของวัฒนธรรมพืน้ บ้านกับความรูเ้ ชิงพุทธ-พารหมณ์ของวัฒนธรรมหลวงได้เป็ นอย่างดี ดังนัน้ ในสังคมแห่งวัฒนธรรมชาวพุทธล้านนาเมื่อจบชีวติ ลงด้วยการตายผ่านพิธปี ลงศพโดยการฝั งหรือเผาความ เป็ นสัตว์บุคคลทางสรีระร่างกายและทางสังคมในอุปปั ตภิ พ ถือว่าได้หมดไปแล้วแต่ยงั คงเชื่อถือกันว่าความเป็ นบุคคลหรือ ปั จเจกภาพของเขาจะต้องเป็ นไปตามกรรมในชัน้ ภพภูมใิ หม่ทเ่ี หมาะสมไม่มสี น้ิ สุด เรื่องภพภูมแิ ห่งจิตบุคคลนี้เองทีท่ าํ ให้ สัตว์บุคคล ถูกแบ่งชนชัน้ กันตามคุณภาพ

คติความเชื่อเรื่ องไตรภูมิและจักรวาลวิทยา

เป็ นแนวคิดทีเ่ ข้ามาพร้อมกับการเผยแผ่ ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ จนเป็ นทีย่ อมรับของผูค้ นในบริเวณเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย พม่า ลาวกัมพูชา และอินโดนีเซีย มาตัง้ แต่ราวพุทธศตวรรษที่ 1912 โดยเฉพาะในบริบทของสังคม และวัฒนธรรมไทย ซึง่ เป็ นดินแดนแห่งพระพุทธศาสนาทีม่ คี วาม เจริญรุ่งเรืองสืบเนื่องมาอย่างยาวนาน ความรูจ้ ากคติความเชื่อ เรื่องไตรภูมิ มีความหมายอย่างยิง่ ในด้านการสร้างค่านิยมทาง สังคม ทัศนคติ และโลกทัศน์ของผูค้ น 13 ชาวพุทธในสังคมไทย ถ่ายทอดความรูเ้ รื่องไตรภูมิ จากพระไตรปิ ฎกและวรรณกรรม ทางพระพุทธศาสนา ทัง้ นี้ เนื้อหาในคัมภีรช์ ่วยปลูกฝั งความเชื่อ เรื่องการละเว้นจากความชัว่ การสร้างคุณงามความดีเพื่อสังสม ่ บุญบารมี ตลอดจนความเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม การรับผลของ กรรมดีและเกรงกลัวผลจากกรรมชัว่ ทีป่ ระกอบด้วย ความสุข ความทุกข์ ตลอดจนการหลุดพ้นจากความสุขและความทุกข์ คือ พระนิพพาน ซึง่ เป็ นเป้ าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา 12

12 13

สน สีมาตรัง. คติความเชื่อไตรภูมิและจักรวาลวิทยาในจิตรกรรมฝาผนังไทย. กรุงเทพฯ: คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550. หน้ า 10. ศรี ศกั ร วัลลิโภดม. พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: อัมริ นทร์ , 2544. หน้ า 121.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๗

คติ การสร้างปราสาทศพ หรือพิ มานศพ (พระเมรุ)

คติการสร้างปราสาทศพนัน้ จัดทําตามแนวคิดไตรภูมวิ ทิ ยาชนชัน้ ผูป้ กครองเมื่อตายลงจากได้ไปบังเกิดเป็ นอุปัตติ เทพในเทวภูมชิ นั ้ ต่างๆ ดังนัน้ จึงต้องมีพธิ กี รรมอันสมควรสอดคล้องกับการจากไปของผูต้ ายยืนยันความชอบธรรมแห่ง สถานภาพและความศักดิสิ์ ทธิของตนพิ ธปี ลงศพของชนชัน้ ปกครองจึงต้องแสดงออกซึง่ ความยิง่ ใหญ่และแตกต่างไปจากชน ์ ชัน้ ใต้ปกครองเฉพาะอย่างยิง่ จะต้องมีเมรุตงั ้ ศพ ตัง้ อยู่ในพิธกี รรมเพื่อแทนสัญลักษณ์ปราสาททีต่ งั ้ ของท้าวสักกะนะ ศูนย์กลางมหาจักรวาลอันหมายถึงอํานาจบุญบารมีประเพณีการตัง้ เมรุปราสาทศพครัง้ สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชนัน้ จึงมีได้ เฉพาะการปลงศพของชนชัน้ เจ้านายเท่านัน้ ซึง่ ได้ช่อื ว่าเป็ นสมมติเทพเจ้าของวัฒนธรรมชัน้ ผูน้ ําทีว่ ฒ ั นธรรมล้านนาถือว่า เป็ นของสูงและดีงามภาพศิลปกรรมตกแต่งส่วนฐานปราสาทราชวัง จึงนิยมประดับประดาด้วยรูปภาพสัตว์หมิ พานต์มี ปราสาทอยู่ศนู ย์กลางดุจดังเขาพระสุ ่ เมรุอกี ทัง้ เป็ นหลังคาเครื่องยอดเสาปราสาทราชวังมีการตกแต่งประดับประดาให้ สมควรแก่ ฐานานุศกั ดิแห่ ์ งสมมติเทพผูป้ กครองโลกทัง้ หลาย การจัดสร้างปราสาทล้านนานัน้ ขึน้ อยู่กบั ความศรัทธา กําลังทรัพย์ ความเชื่อ ความชอบ ของผูม้ รณภาพ และ สามารถแบ่งรูปแบบของปราสาท 14 ดังนี้คอื ๑. ปราสาทมียอด คือ ปราสาททีม่ ยี อดแหลมอาจมียอดเดียวหรือหลายยอดก็ได้ซง่ึ จะเป็ นไปตามระดับของศพ และ ถือว่าเจ้านาย ราชวงศ์ และพระเถระชัน้ ผูน้ ้อยให้ใช้ปราสาทยอดเดียว ๒. ปราสาทรูปนกหัสดีลงิ ค์ คือ เมรุแบบทีน่ ยิ มสร้างเป็ นรูปนกหัสดีลงิ ค์ หรือนกทีม่ งี วง มีงา เหมือนช้าง บรรทุก ปราสาททีบ่ รรจุหบี ศพ การใช้นกหัสดีลงิ ค์มาเป็ นส่วนสําคัญในการตกแต่งเมรุน้คี งใช้ตามคติความเชื่อ ทีป่ รากฏใน เรื่องไตรภูมิ ๓. ปราสาทหลังกาย เป็ นปราสาททีส่ ว่ นหลังคาโค้งคุ่มลงคล้ายฝาชี มียอดอยู่ตรงกลางและจากส่วนยอดไปหาเสาทัง้ สี่ ของปราสาทนัน้ จะเป็ นสันลู่ไปตามมุมทีล่ าดลง ส่วนมากใช้กบั ศพเจ้านาย แต่บางท่านเห็นว่าผูป้ กครอง และผูม้ ี ฐานะอันจะกินก็ใช้ปราสาทแบบนี้ ๔. ปราสาททรงอาสนะ คือ เมรุคล้ายแท่นบรรทมมีหลังคาราบเป็ นเพดาน และมีสสี นั ประดับคล้ายบัวหงาย อยู่ ด้านบน ปราสาททรงนี้มกั ใช้กบั ศพของประชาชน และบรรดาผูม้ ฐี านะ บริเวณทีต่ งั ้ เป็ นจิตกาธานสําหรับเผาร่างผูว้ ายชนม์ จะมีการปลูกประรําพิธหี รือผามเปี ยง สําหรับพักหลบแดดสําหรับ สถานทีเ่ ผานัน้ จะกัน้ รัว้ ราชวัตรกําหนดปริมณฑลเอาไว้เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั กําหนดพืน้ ทีไ่ ว้อย่างชัดเจน โดยมีผงั แบบ โบราณประเพณีคอื 15 ๑. รูปแบบการกัน้ รัว้ ราชวัตรทัง้ ๔ มุมโดยมีจติ กาธานเป็ นประธานตรงกลางแล้วกัน้ ร่มหรือฉัตรประจําไว้ในแต่ละมุม ๒. รูปแบบการกัน้ รัว้ ราชวัตรทัง้ ๔ มุมแล้วกัน้ ร่มหรือฉัตร เครื่องยศ โดยมีซมุ้ หรือบันได หรือประตูทางขึน้ สู่ จิตกาธาน อยู่ในแต่ละด้านของจิตกาธาน ๓. รูปแบบการกัน้ รัว้ ราชวัตร แล้วตัง้ ปราสาททิศไว้ในแต่ละมุมของรัว้ ราชวัตร ในปราสาททีป่ ระจําอยู่แต่ละมุมนี้ นิยม ตัง้ เครื่องยศ อิสริยาภรณ์ทม่ี ี เป็ นต้นว่า พัดยศ เครื่องสูงเช่นขันหมาก กระโถน คนโฑ ร่มฉัตร สํารับคาวหวาน เสือ่ หมอน แม่นนัง่ เป็ นต้น 13

14

14 15

อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พระเทพญาณเมธี, ผาสาทล้ านนา, (ลําพูน : โรงพิมพ์บวรวรรณพริ น้ ท์, 2553), หน้ า 11. เศรษฐมัตร์ กาญจนกุล, ศิลปะอลังการงานศพไทย, ( กรุงเทพฯ : บริ ษัทวีพริ น้ ท์ (1991) 2554),หน้ า 14-16.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๘ ทัง้ นี้ ล้วนเกีย่ วของกับผังของจักรวาล โดยทัง้ สิน้ หรือในบางกรณียงั มีการเชิญรูปเทวดาประจําทิศทัง้ ๔ หรือท้าวทัง้ ๔ ขึน้ ประจําอยู่บนปราสาททิศนี้อกี ด้วย ในกรณีทเ่ี ป็ นศพพระเถระ ภายในรัว้ ราชวัตร จะปั กเสาไม้ซางต้นใหญ่ ๔ ต้น ให้สงู กว่า ปราสาทนกหัสดีลงิ ค์ขงึ ผ้าสังฆาฏิ (ผ้าพาดบ่า) หรือผ้าจีวรของพระสงฆ์ผมู้ รณภาพ

การปลงพระศพชนชัน้ สูงของล้านนาใส่ปราสาทศพต่างบนสัตว์หิมพานต์ ที่ได้รบั อิ ทธิ พล จากพม่าในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ในล้านนานัน้ ปรากฏหลักฐานว่ามีการสร้างปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์ขน้ึ ครัง้ แรกเมื่อ พ.ศ. ๒๑๒๑ในงาน พระราชพิธปี ลงพระบรมศพของพระนางวิสทุ ธิเทวี กษัตริยล์ า้ นนาราชวงศ์มงั รายพระองค์สดุ ท้าย (พ.ศ.๒๑๐๗ – ๒๑๒๑) ซึง่ ปกครองล้านนาในฐานะเป็ นเมืองประเทศราชของพม่า และได้กลายเป็ นต้นแบบธรรมเนียมการปลงพระศพชนชัน้ สูงของ ล้านนาในช่วงเวลาต่อมา ดังมีบนั ทึกไว้ว่า “...ลุศกั ราช ๙๔๐ (พ.ศ. ๒๑๒๑) ปี ขาล สัมฤทธิศก เดือนอ้าย ขึ้นสิบสองคํา่ นางพระยาวิสทุ ธิราชเทวี ผู้ ครองนครพิงค์เชียงใหม่ถงึ แก่พริ าลัย พระยาแสนหลวงแต่งการศพทําเป็ นพิมานบุษบกตัง้ บนหลังนกหัสดิ นทร์ ขนาดใหญ่รองเลือ่ นด้วยแม่สะดึง เชิญหีบพระศพขึ้นไว้ในบุษบกฉุดชักไปด้วยแรงคชสารเจาะพังกําแพงเมืองไปถึง ทุ่งวัดโลกก็กระทําฌาปนกิจถวายเพลิง ณ ทีน่ นั ้ เผาพร้อมทัง้ รูปสัตว์และวิมานทีท่ รงศพนัน้ ด้วย...” 16 แต่ว่าการปลงพระศพเจ้านายล้านนาใส่ปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์ ก็อาจมีมาก่อนยุคพม่าปกครอง แต่ยงั ไม่มหี ลักฐาน หนักแน่นเพียงพอ เพราะปรากฏภาพสะท้อนเพียงในวรรณกรรมของล้านนาเรื่องอุสสาบารสทีม่ กี ารสันนิษฐานว่าแต่งขึน้ ในช่วง พ.ศ. ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ กล่าวถึงพิธศี พแบบปราสาทนกหัสดีลงิ ค์ไว้ว่า “...กันอวนตายหื้อพีแ่ ปลงปราสาทแก้ว เจ็ดชาย ใส่เนอ ทัง้ โกศน้อยยองปลียาย ช่อฟ้ า ประตูโขงใส่แสนลาย คําขีด งามเนอ มาใส่ตนน้องแก้ว เมือ่ มรณ์ ดาวคําทัง้ โกศเกี้ยว ภายใน ใส่เนอ ดาแต่งแปลงหัสดีลิงค์ไกว ลากน้อง ไฟม้าแต่งตามใจ เจาะก่อม อวนเนอ ดาแต่งเผาน้องแก้ว เมือมรณ์...” 17 ทีน่ ่าสังเกตคือไม่ปรากฏในตํานานพืน้ เมืองใดเลย ว่าดินแดนล้านนาตัง้ แต่ยุคแว่นแคว้นจนกระทังถึ ่ งยุค ราชวงศ์มงั รายก่อนตกเป็ นประเทศราชของพม่ามีการสร้างปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์ แต่เมื่อถึงช่วงล้านนา อยู่ภายใต้การปกครองของพม่ากลับมีปรากฏอยู่เสมอในตํานานพืน้ เมือง โดยเฉพาะในพืน้ เมืองเชียงแสนทีเ่ ขียนขึน้ ตามทัศนะของผูป้ กครองชาวพม่า 18 และขณะนัน้ มี “เจ้าฟ้ าเชียงแสน” สืบเชือ้ สายกันปกครองอยู่ภายใต้อาํ นาจและ เป็ นศูนย์กลางการปกครองล้านนาให้พม่า ซึง่ เจ้าฟ้ าเชียงแสนจะได้รบั พระราชทานเครื่องราชกกุธภัณฑ์ (เครื่องสูง) ตามแบบพม่าจากกษัตริยพ์ ม่า ดังนัน้ เมื่อเจ้าฟ้ าถึงกาลสิน้ พระชนม์การสร้างปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์เพื่อใส่ 15

16

17

พระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนาค), พงศาวดารโยนก,(พระนคร : รุ่งเรื องรัตน์, 2507), หน้ า 403. ไพฑูรย์ ดอกบัวแก้ ว , อุสสาบารสโคลงดัน้ ล้ า นนา, (เชียงใหม่ : กลางเวียงการพิมพ์, 2543), หน้ า 133. 18 สรัสวดี อ๋องสกุล (ปริ วรรต). พืน้ เมืองเชียงแสน. กรุงเทพฯ : อัมริ นทร์ , 254, หน้ า 15. 16 17


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๑๙ สรีระ ก็อาจเป็ นเครื่องแสดงฐานันดรศักดิอย่ ์ างหนึ่งตามธรรมเนียมของพม่าได้เช่นกัน ดังปรากฏในพืน้ เมืองเชียงแสน ช่วงนี้กล่าวอยู่เสมอ ถึงการปลงพระศพเจ้านายชัน้ สูงหรือครูบามหาเถระชัน้ ผูใ้ หญ่ของเมืองเชียงแสนใส่ปราสาทศพต่างบน สัตว์หมิ พานต์ เช่น ปราสาทพระศพต่างบนนกหัสดีลงิ ค์ของเจ้าฟ้ าเมืองหลวง พ.ศ. ๒๒๓๙, เจ้าฟ้ ายอดงําเมือง พ.ศ. ๒๒๗๑, เจ้าฟ้ างาม พ.ศ. ๒๓๐๓, พระราชครูเจ้าวัดหลวง พ.ศ. ๒๒๒๖, สมเด็จเจ้าวัดป่ างัวเชียง พ.ศ. ๒๒๒๖, พระมหาป่ า เจ้าวัดศรีดอนไชย พ.ศ. ๒๒๕๘, พระสังฆราชาเจ้าสบเกีย๋ ง พ.ศ. ๒๓๐๖, ครูบามหาสังฆราชากุลวงศ์ พ.ศ. ๒๓๔๖ และครู บาวัดต้นลาน พ.ศ. ๒๓๔๖ 19 หรือปราสาทศพต่างบนช้างเอราวัณของ สมเด็จมหาป่ าเจ้าวัดเชตวัน พ.ศ. ๒๒๓๙ และพระ มหาสังฆราชาเจ้าวัดป่ าแดงหลวง พ.ศ. ๒๒๖๗ เป็ นต้น โดยตํานานพืน้ เมืองเชียงแสน, ตํานานคํามะเก่าเมืองเชียงแสน และ ตํานานปั กกะตืนเชียงแสน - ละกอน กล่าวระบุไว้ดงั นี้ 18

“...สักกพทได้ ๑๐๔๕ ตัว (พ.ศ. ๒๒๒๖) ราชครูเจ้าวัดหลวงอนิจจะไปแล้ว ใส่ปราสาทนกหัสดีลิงค์ ส่งสการด้วยเรือพ่วงกลางนํ้าแม่ของแล รอดเดือน ๑๒ สมเด็จเจ้าวัดป่ างัวเชียงอนิจจกัมม์ไปก็ใส่ปราสาทรูปนก หัสดีลิงค์สง่ สการฉันเดียวแล...” “...สักกราชได้ ๑๐๕๐ ตัว (พ.ศ. ๒๒๓๑) มหาป่ าเจ้าสรีไชยตนหลวงอนิจจะแล้ว ใส่ปราสาทรูปนก หัสดีลิงค์สง่ สการด้วยพ่วงแพ...” “...สักกพทได้ ๑๐๕๗ ตัว (พ.ศ. ๒๒๓๘) ฟ้ าเมืองหลวงกินเมืองเชียงแสนได้ ๔ ปี แล้วก็จตุ ติ ายไปแล้ว ก็ ใส่ปราสาทรูปนกหัสดีลิงค์สง่ สการเสียแล...” “...สักกราชได้ ๑๐๕๘ ตัว (พ.ศ. ๒๒๓๙) สมเด็จมหาป่ าเจ้าวัดเชตวันอนิ จจกัมม์ไปแล้ว ใส่ปราสาท รูปช้างเอราวัณส่งสการด้วยเรือพ่วงกลางนํ้าแม่ของทีท่ ่าหลวง หัน้ แล...” “...สักกราชได้ ๑๐๗๖ ตัว (พ.ศ. ๒๒๖๐)...เดือนยี ่ มหาป่ าเจ้าวัดสรีไชยตนน้ อยอนิจจะไปแล้วใส่ ปราสาทต่างรูปนกหัสดีลิงค์สง่ สการแล...” “...สักกพทได้ ๑๐๘๖ ตัว (พ.ศ. ๒๒๖๗) มหาสังฆราชเจ้าวัดป่ าแดงหลวงตนใหญ่อนิจจะไปแล้ว สร้าง ปราสาทต่างรูปช้างเอราวัณส่งสการ...” “...สักกพทได้ ๑๐๙๐ ตัว (พ.ศ. ๒๒๗๑) เจ้าฟ้ ายอดงําเมืองกินเมืองมาได้ ๔ ปี อายุได้ ๒๕ ปี กจ็ ุตติ าย ไปแล้ว สร้างปราสาทต่างรูปนกหัสดีลิงค์แล้วส่งสการเสียแล...” “...สักกราชได้ ๑๑๒๒ ตัว (พ.ศ. ๒๓๐๓) ...เจ้าองค์ฅาํ เชียงใหม่กจ็ ุตติ ายปี นนั ้ แล เดือน ๔ ออก ๒ ฅํา่ วัน ๗ ไทยดับใค้ เจ้าฟ้ างามได้เสวยเมืองได้ ๒๐ ปี แล้วก็จตุ ติ ายไปก็ปีน้ ี แล้วก็สร้างมหาปราสาทใส่รปู นกหัสดีลิงค์ แล้วส่งสการเสียนอกปะตูหนองมุดหัน้ แล...” “...รอดสักกราชได้ ๑๑๒๕ ตัว (พ.ศ. ๒๓๐๖) ...เดือน ๔ แรม ๖ ฅํา่ สังฆราชาเจ้าสบเกียงอนิจจะแล้ว ใส่ ปราสาทรูปนกหัสดีลิงค์สง่ สการเสียกลางนํ้าแม่ของ วันนัน้ แล...” “...สักกราชได้ ๑๑๖๕ ตัว (พ.ศ. ๒๓๔๖) เดือน ๘ เพ็ง เม็งวัน ๗ แล ไทยกัดเหม้า ครูบามหาสังฆราชา วัดสังกามีนามกรว่า กุลวงส์ อนิจจกัมม์ไปยามรุ่งแจ้งแล้ว ก็ใส่ปราสาทห้างรูปนกหัสดีลิงค์ แล้วก็ทาํ เรือใส่สง่ สการเสียทีท่ ่าหลวงหัน้ ...” “...สกราชได้ ๑๑๖๕ ตัว (พ.ศ. ๒๓๔๖) ...เดือนยีด่ บั ครูบาต้นลานอนิจจะ เดือน ๓ ออก ๕ คํา่ ส่งสการ ใส่ปราสาทนกหัสดิ .์ ..” 20 19

19 20

พระครูสมุห์รัตนวัฒน์ พุทฺธิสิริ (ปริ วรรต), ปั คคทืนเชียงแสน – ละกอน. พ.ศ.2282 – 2428, (ลําปาง : นํ ้าโท้ งการพิมพ์, 2553), หน้ า 8. สรัสวดี อ๋องสกุล (ปริ วรรต). พืน้ เมืองเชียงแสน. กรุงเทพฯ : อัมริ นทร์ , 254, หน้ า 123-124,127-129, 232-234 และ 254.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๐

ปราสาทศพต่างบนนกการเวก ทีเ่ มืองลําปางช่วงทศวรรษ ๒๔๙๐

ปราสาทศพต่างบนพญานาค ของครูบามหาเถระเมืองลําพูนในอดีต

ปราสาทศพต่างบนหงส์(เรือสุพรรณหงส์) จังหวัดเชียงใหม่


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๑

ปราสาทศพต่างนกหัสดีลงิ ค์ของครูบาอินตา วัดนันทาราม อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๒

ปราสาทศพต่างนกหัสดีลงิ ค์ของครูบาวัดกู่คาํ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๓

ปราสาทศพต่างบนพญานาค ๓ เศียร ของเจ้าน้อยมรกฎ ณ เชียงใหม่ เหลนเจ้าหลวงคําฝั น้ เจ้าผูค้ รองนครเชียงใหมองค์ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๕ – ๒๓๖๘)


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๔ พิธศี พแบบปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์น้ีไม่ได้เน้น “วัยวุฒ”ิ แต่ให้ความสําคัญที่ “ชาติวุฒ”ิ และ “คุณวุฒ”ิ เป็ นหลัก ดังเจ้าฟ้ ายอดงําเมือง เจ้าฟ้ าเมืองเชียงแสนทีม่ พี ระชนมายุเพียง ๒๕ พรรษา แต่กใ็ ส่ปราสาทศพต่างบนนกหัสดีลงิ ค์ สามารถ สร้างใส่พระศพได้ทงั ้ เจ้านายฝ่ ายชายและเจ้านายฝ่ ายหญิง และ ปรากฏมีพธิ ปี ลงศพลักษณะนี้อยู่เสมอสืบเนื่องมาจนถึง พ.ศ. ๒๓๔๖ ก่อนเมืองเชียงแสนทีต่ งั ้ มันของพม่ ่ าในล้านนาแตกเพียง 21 หนึ่งปี ทีภ่ ายหลังเจ้านาย พระสงฆ์ ขุนนาง นักปราชญ์ราช บัณฑิต ช่างฝีมอื และชาวเมืองเชียงแสนกลุ่มใหญ่ได้กระจายไป ตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ ของล้านนา อันเป็ นปั จจัยสําคัญ ทีส่ ง่ อิทธิพลต่อการสร้างปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์ให้กบั เจ้านายและครูบามหาเถระล้านนาในยุค “เจ้าหลวง” ทีเ่ ป็ น ประเทศราชของสยาม โดยเฉพาะกลุ่มเจ้านายราชวงศ์เจ้าเจ็ด ตน แม้ว่าขณะนัน้ อิทธิพลพม่าด้านการปกครองหมดไปจาก ล้านนาโดยมีสยามเข้ามามีอทิ ธิพลแทนทีแ่ ล้วก็ตาม หลักฐานที่ ปรากฏเช่น พ.ศ. ๒๓๙๙ เมืองนครลําปางสร้างปราสาทศพต่าง บนนกหัสดีลงิ ค์ของเจ้าหญิงบัวลม ราชธิดาในเจ้าหลวงวรญาณ รังษีราชธรรม (เจ้าน้อยญาณรังษี) เจ้าผูค้ รองนครลําปางองค์ท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๓๙๓ – ๒๔๑๖) ซึง่ มีการเขียนบันทึกไว้ว่า 20

ภาพวาดปราสาทศพต่างบนพญาลวง บนผืนผ้าพระบฏของวัดกาญจนาราม จังหวัดแพร่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๖๙

“...จุลศักราช ๑๒๑๘ (พ.ศ. ๒๓๙๙) เจ้าบัวลม ธิดาเจ้าหลวงวรญาณรังษีราชธรรม ถึงแก่อนิจกรรมได้ทาํ ปราสาทรูปนกหัศดีลิงค์ชกั ลากไปประชุมเพลิง...” ทางด้านเมืองนครน่าน (ราชวงศ์ต่นื มหาวงศ์) และเมืองนครแพร่ (ราชวงศ์แสนซ้าย) ขณะนี้ยงั ไม่ปรากฏหลักฐาน บันทึกการปลงศพแบบปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์ในยุคจารีตของเจ้านายเชือ้ พระวงศ์ ปรากฏเพียงคําบอกเล่าถึงการ ปลงศพแบบปราสาทต่างบนนกหัสดีลงิ ค์ของครูบามหาเถระ ๒ รูป คือ ปราสาทศพต่างนกหัสดีลงิ ค์ของครูบาไชยทัต (พระ ไชยทัตตะภิกขุ) วัดนาหวาย อําเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน และปราสาทศพต่างนกหัสดีลงิ ค์ของครูบาวัดศรีชมุ อําเภอเมือง จังหวัดแพร่๓๘ ซึง่ อาจเป็ นภาพสะท้อนว่าในอดีตเมืองนครน่านและเมืองนครแพร่ ก็มกี ารสร้างปราสาทศพต่างสัตว์หมิ พานต์เช่นกัน เพียงแต่ไม่เป็ นทีน่ ิยมแพร่หลายเหมือนในเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลําพูน เมืองนครลําปาง เมืองเชียง แสน และเมืองเชียงราย โดยรูปแบบพิธศี พของเจ้านายล้านนามีชาวตะวันตกได้บนั ทึกไว้ในช่วง พ.ศ. ๒๔๓๘ – ๒๔๔๒ ว่า “...ศพของเจ้าผูม้ ที รัพย์สมบัตมิ งคั ั ่ งมหาศาลมั ่ กจะเก็บศพเอาไว้ตงั ้ แต่หนึ่งถึงสองปี ...ศพทีจ่ ะจัดพิธเี ผานัน้ จะถูก รักษาไว้ไม่ให้เน่าในทันทีทส่ี น้ิ ใจตามวิธกี ารของชาวพืน้ เมือง ซึง่ ง่ายดายแต่ให้ผลอย่างมีประสิทธิภาพทีส่ ดุ แล้วพวกเขาจะ วางโลงทีแ่ น่นหนาซึง่ มีเครื่องเทศทีจ่ ะช่วยรักษาสภาพศพโรยอยูร่ อบๆทีป่ ลายด้านล่างของโลงมีรเู จาะไว้ให้น้ําเหลืองซึง่ หลงเหลืออยู่ไหลออกมา และทีป่ ลายฝั ง่ ตรงข้ามมีปล่องเตาขนาดเล็กติดไว้เพื่อให้ไอและแก๊สลอยออกไปได้ ซึง่ ปล่องนี้ 21

สรัสวดี อ๋องสกุล (ปริ วรรต), พืน้ เชียงแสน, (อ้ างแล้ ว), หน้ า 129 และ 254.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๕ จะต้องสูงลอดหลังคาจากหรือกระเบือ้ ง โดยทัวไปเขาจะวางโลงศพไว้ ่ ตรงชายคาเฉลียง โลงศพมีผา้ สีสดใส ซึง่ แพรวพราว ไปด้วยเครื่องประดับแวววับคลุมอยู่และมีชุดหีบหมากและสมบัตสิ ว่ นตัวของผูต้ ายจํานวนไม่กช่ี น้ิ วางไว้โดยรอบ ในแต่ละวัน จะมีการนิมนต์พระสงฆ์มาสวดมนต์ หลังจากสองสามวันล่วงเลยไปแล้วศพทีอ่ ยูต่ รงหน้าก็จะไม่ทาํ ให้ครอบครัวของเขาทุกข์ระทม และจะไม่ทาํ ให้เกิด บรรยากาศเศร้าโศกอีกต่อไป ครอบครัวของเขาจะหัวเราะพูดคุยและวางแผนการเผาศพด้วยความเอาใจใส่อย่างจริงจัง ซึง่ ไม่ได้เป็ นการเคารพผูต้ าย แต่ในทางตรงกันข้ามพวกเขากลับพยายามทุกวิถที างทีจ่ ะจัดงานเผาศพให้ผตู้ ายอย่างประณีต และหรูหราทีส่ ดุ เท่าทีพ่ วกเขาจะมีเงินกระทําได้ ผลบุญซึง่ ได้จากการกระทําเช่นนัน้ มีสองชัน้ โดยแบ่งกันระหว่างผูม้ ชี วี ติ อยู่ และผูต้ าย บุญทีไ่ ด้รบั จะมากหรือน้อยนัน้ วัดได้จากความดีของการประทําซึง่ ปรากฏให้เห็น...ในช่วงเวลาทีศ่ พนอนอยูใ่ นโลง พวกเขาจะตระเตรียมในเรื่องการเผาศพ แท่นตัง้ ศพ) ทําด้วยไม้ไผ่และไม้ชนิดอื่นๆ ซึง่ มีน้ําหนักเบาและติดไฟง่าย มีความ สูงตัง้ แต่สบิ ถึงสามสิบฟุต มีผา้ กระดาษสีสดใส เครื่องประดับแวววับและทองคําเปลวปิ ดคลุมไว้อย่างสวยงาม ตรงกลางเป็ น ทีต่ งั ้ โลงศพ เหล่าพระสงฆ์จะประกอบพิธี ซึง่ ให้ความประทับใจอย่างลึกซึง้ ในขณะทีม่ กี ารตัง้ โลงศพไว้บนแท่นตัง้ ศพนัน้ ไม่มี พิธใี ดจะได้รบั การรอคอยด้วยความสนใจและพึงพอใจอย่างยิง่ เท่าพิธเี ผาศพ ดังนัน้ ฝูงชนจํานวนมากมายจึงมักจะมารวมกัน หนาแน่นและเพลิดเพลินไปกับการแข่งขันชกมวย ชนไก่ ฟั งพระสวดมนต์ชมการแสดงดนตรีและนาฏศิลป์ การเล่นกล การ แสดงเบ็ดเตล็ด ตลอดจนชมการแสดงต่างๆ ทีม่ ลี กั ษณะเหมาะแก่งานศพ ตลอดเวลาพระสงฆ์จะผลัดเปลีย่ นกันมาสวดมนต์ จากบทสวด และพระธรรมคําสอนบางบทด้วยสําเนียงทีส่ งู ตํ่าอย่างเสียงดนตรีและนุ่มนวลอยู่เสมอ พิธแี ละงานทําบุญเลีย้ งพระดังกล่าวนี้อาจจะสิน้ สุดในวันเดียวหรือหนึ่งสัปดาห์แล้วจึงจัดการเผาศพ พวกเขาจะลาก แท่นตัง้ ศพซึง่ อยูบ่ นแคร่เลื่อนเล็กๆ ไปยังสถานทีเ่ ผาศพ เชือกทีใ่ ช้ลากนัน้ เป็ นเส้นยาวเพื่อให้เจ้าภาพสามารถได้รบั ส่วน แบ่งผลบุญจากการร่วมลากแท่นตัง้ ศพได้ ส่วนปลายเชือกเป็ นด้ายซึง่ ทําด้วยไหมสําหรับให้ญาติทส่ี นิทสนมกับผูต้ ายมาก ทีส่ ดุ ถือไว้ เมื่อแท่นตัง้ ศพเคลื่อนไปถึงสถานทีเ่ ผาศพ เหล่าพระสงฆ์จะประกอบพิธี เพิม่ ขึน้ อีกหลายพิธี มีการนําผ้าผืนยาว จํานวน ๑๒ ผืน หรือมากกว่านัน้ มารวบปลายด้านหนึ่งเข้าด้วยกันในลักษณะเป็ นช่อแล้วสอดเข้าไปในโลงศพ ส่วนปลาย ด้านทีเ่ หลือนัน้ ให้พระสงฆ์แต่ละรูปถือและยืนรอบโลงศพเป็ นวงกลม ต่อมาก็จะมีการจุดไฟเผาแท่นตัง้ ศพให้ลุกโพลงเป็ นกองไฟ แล้วในไม่ชา้ ก็มอดลงกลายเป็ นขีเ้ ถ้า ในขณะทีม่ กี าร ถวายของทีเ่ ป็ นกุศลแด่พระภิกษุสงฆ์ ฝูงชนซึง่ มาในงานจะแยกย้ายจากกันไปอย่างรวดเร็ว คงเหลือแต่เพียงคนรับใช้สอง สามคนทีย่ งั คงรออยู่จนกระทังไฟเริ ่ ม่ คุแล้วจึงจากไป...ทีน่ ่มี กี ฎหมายคุม้ ครองสิง่ ทีย่ งั หลงเหลืออยู่จากการเผาไหม้ของเพลิง และหากผูใ้ ดไปแตะต้องถ่านทีก่ าํ ลังคุกอ็ าจจะถูกปรับและจําคุกได้ แล้วก็เกิดคําถามว่าทําไมคนถึงอยากจะไปยุ่งกับกองไฟ สําหรับคําตอบนัน้ เริม่ จะชัดเจนขึน้ เมื่อนึกขึน้ ได้วา่ มักจะมีการใส่เงินและเพชรพลอยไว้ในโลงศพเพื่อให้วญ ิ ญาณได้นําไปใช้ 22 เมื่อมีคนไปเขีย่ กองไฟให้กระจัดกระจายแม้เพียงเล็กน้อยก็จะทําให้กองไฟมอดลงอย่างรวดเร็ว...” 21

22

กรมศิลปากร. ชาวลาวทางตอนเหนือของประเทศสยาม ตอนที่ ๑. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ,2543หน้ า 171-176.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๖

ความเชื่อเรื่องสัตว์หินมพานต์ “หิ มพานต์” มาจากคาว่า “หิ มวนต” แปลว่า มีหมิ ะปกคลุม (หิม-อาลัย) ทีอ่ ยู่แห่งหิมะ รวมแล้วสัตว์ในหิมพานต์ จึงหมายถึงสัตว์ทอ่ี ยู่บริเวณทีม่ หี มิ ะปกคลุม ซึง่ สถานทีน่ นั ้ ก็คอื ภูเขาหิมาลัยซึง่ มีบางส่วนอยูใ่ นอินเดียโบราณเป็ นสถานที่ ค่อนข้างลึกลับมหัศจรรย์ จึงทาให้เกิดตานานเกีย่ วกับเทพเจ้าและสัตว์ทแ่ี ปลกประหลาด ณ ทีแ่ ห่งนี้ สัตว์ทช่ี ่างศิลป์ สร้างสรรค์มาจากธรรมชาติมคี วามบันดาลใจมาจากวรรณกรรม เช่น ในชาดก ทศชาติ เทวนิยม เป็ นต้น โดยมีการปรับปรุง แต่งให้เป็ นสัตว์ทม่ี รี ปู ร่างแปลกประหลาดไปจากสัตว์ในธรรมชาติตามจินตนาการ สัตว์ทม่ี ลี กั ษณะแปลกประหลาดทีอ่ ยู่ ภายในป่ าหิมพานต์เท่านัน้ ไม่ใช่ชนั ้ สัตว์ทม่ี อี ยู่ตามธรรมดาทัวไป ่ เช่น ช้าง , ม้า , วัว , ควาย จะเป็ นสัตว์ทแ่ี ปลกประหลาด แต่ไม่อยู่ในป่ าหิมพานต์กจ็ ะไม่จดั ว่าเป็ นสัตว์หมิ พานต์ สัตว์หมิ พานต์ในทีน่ ้หี มายถึง ภาพสัตว์ทช่ี ่างเขียนได้รงั สรรค์ตาม จินตนาการขึน้ จากธรรมชาติกบั ความคิดสร้างสรรค์ สร้างภาพทีม่ รี ปู แบบเหนือจริงกว่าธรรมชาติขน้ึ เพื่อถ่ายทอดตาม ความรูส้ กึ ทางวรรณกรรมและความรูส้ กึ ส่วนตัวของช่างเขียน การเขียนภาพการสร้างสรรค์สตั ว์ทม่ี ลี กั ษณะเหนือธรรมชาติ ซึง่ เรารวมเรียกว่า “สัตว์หมิ พานต์” ในทีน่ นั ้ ตามหลักฐานทางโบราณคดีพบว่ารูปภาพวาดงานประติมากรรมทีเ่ ก่าแก่มา ตัง้ แต่ยุดอียปิ ต์โบราณราว 5,000 ปี ก่อนคริสต์ศกั ราช สร้างรูปคนผสมกับสัตว์เป็ นรูปเทพเจ้าต่างๆ เช่น เทพเจ้าฮอลส์ มีหวั เป็ นเหยีย่ วมีตวั เป็ นคน และเทพเจ้าบางองค์มหี วั เป็ นจระเข้ มีตวั เป็ นคนบ้าง และเห็นชัดคือตัวสปริงส์มหี วั เป็ นคน ตัวเป็ น สิงโต การสร้างภาพลักษณะนี้เป็ นการสร้างขึน้ ตามตามเชื่อธรรมชาตินิยม วิญญาณนิยมผสมกับเทวนิยม กล่าวคือคนอียปิ ต์ โบราณเชื่อเรื่องในธรรมชาติทม่ี อี ทิ ธิพลเหนือการดารงชีวติ ของมนุษย์ เช่น น้า ดวงอาทิตย์ ไฟ และสัตว์ เป็ นต้น สิง่ เหล่านี้ สามารถบันดาลให้ชวี ติ เปลีย่ นแปลงการควบคุมของมนุษย์ได้ เพราะมนุษย์ยงั ไม่ทราบหลักเหตุผลทีแ่ ท้จริงจึงเกิดการเคารพ เชื่อถือขึน้ เช่นนับถือดวงอาทิตย์เป็ นเทพเจ้าทีส่ งู สุด นับถืองูเป็ นสัตว์เคารพกราบไหว้ มีพษิ ร้าย นับถือสิงโตเป็ นสัตว์ทม่ี ี ความดุรา้ ย หลังจากนัน้ จึงได้ดงึ เอาความรูส้ กึ เหล่านัน้ มาอยูใ่ นตัวมนุษย์เหมือนกับสิง่ ทีเ่ คารพเหล่านัน้ อยู่ในตัวมนุษย์ มนุษย์เป็ นตัวแทนสิง่ เหล่านัน้ ต่อมาจึงสร้างเป็ นรูปคนผสมสัตว์ และในทีส่ ดุ จึงสร้างภาพเป็ นคน ต่อมาในยุคเมโสโปเตเมียราว 3,000 ปี ก่อนคริสต์ศกั ราชก็มรี ปู สัตว์ลกั ษณะเช่นนี้เหมือนกันคือรูปหัวเป็ นรูปคน ตัว เป็ นรูปวัว และมีปีกเป็ นนกอินทรี เป็ นต้น ในยุคทีม่ อี ทิ ธิพลต่อศิลปะในเอเชียมากก็คอื ยุคของกรีกและโรมันราว 1,100 ปี ก่อนคริสต์ศกั ราช ซึง่ การนาการสร้างภาพสัตว์ตามเทพนิยาย เช่นกัน วัวซัทเทนตัวเป็ นม้า ศีรษะเป็ นคน เทพเมดูซ่ามีสว่ น ศีรษะเป็ นรูปงูเป็ นต้น ศิลปะของพวกกรีกและโรมันได้เผยแพร่เข้ามาในเอเชียเมื่อกรีกและโรมันได้เข้ามาปกครองดินแดน เอเชีย อียปิ ต์และอินเดียในหลังพุทธกาล ทาให้รปู แบบศิลปะกรีกและโรมันได้ถูกนามาใช้ในดินแดนเหล่านี้ โดยเฉพาะใน อินเดียเกิดศิลปะทีเ่ รียกว่า “แบบคันธารราษฎ์” ขึน้ ดังนัน้ จึงได้มกี ารนาเอาสัตว์ทแ่ี ปลกประหลาดในเทพนิยายมาเผยแพร่ ด้วยโดยทางศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู เช่น เมื่อครัง้ โบราณกาล การแต่งเทพนิยายเทวกาเนิดขึน้ ทาให้เกิดสัตว์และเทพเจ้า รูปประหลาด เช่น นรสิงห์ มีหวั เป็ นสิงห์มตี วั เป็ นคนบ้าง ครุฑมีหวั เป็ นนกอินทรีมลี าตัวเป็ นคนส่วนล่างเป็ นนกอินทรี รูปแบบเหล่านี้ถูกถ่ายทอดมาเรือ่ ยๆ ในดินแดนแหลมทองและเอเชียตะวันออก จีน ญีป่ ุน เกาหลี และส่วนทีม่ คี วามสัมพันธ์ กับไทยก็คอื ใน เขมร จีน ซึง่ ชนชาติเขมรถือระบอบ เทวนิยมตามทัศนคติของพราหมณ์ราชปุโรหิตาจารย์ โดยเฉพาะเรื่อง พระมหากษัตริย์ เมื่อทรงพระราชสมภพก็ถอื เป็ นทิพยเทพาวตาร ครัง้ ถึงวาระสุดท้ายแห่งพระชนม์ชพี ก็ใช้ คาว่า “สรคต” หมายความว่าเสด็จไปสูเ่ ทวลัยสถาน ณ เขาพระเมารุ ส่วนพระบรมศพนัน้ อัญเชิญไปถวายพระเพลิง ณ เข้าเมรุทไ่ี ด้จดั ทา ขึน้ ซึง่ ไปเกีย่ วข้องกับสัตว์หมิ พานต์ตรงเข้าพระเมรุน้มี เี ข้าน้อยใหญ่ลอ้ มรอบอีก 7 เขา คือ เขายุคนธร , เขาอิสนิ ธร , เขา การวิก , เขาสุทสั สนะ , เขาเนมินธร , เขาวินตก และเขาอัสสกัณฑ์ แต่ละแห่งล้วนเป็ นสถานทีม่ ภี าพเป็ นป่ าเขาลําเนาไพร


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๗ ดาษดื่นไปด้วยสิงสาราสัตว์นานาพันธุแ์ ปลกประหลาดอาศัยอยูจ่ งึ มีคติการสร้างภาพสัตว์หมิ พานต์รายล้อมพระปรางค์แทน ค่าเขาพระเมรุขน้ึ ด้วยประเพณีและความเชื่อ แนวความคิดเรื่องของชาวเขมรเริม่ มีอทิ ธิพลต่อคนไทย ในสมัยเชียงแสน สุโขทัย ราวพุทธศตวรรษที่ 17-18 จึงทาให้คนไทยเริม่ สร้างรูปภาพสัตว์หมิ พานต์ขน้ึ ดังจะเห็นได้จากลวดลายปูนปั น้ รูป หงส์รปู หน้ากาล ทีเ่ จดียพ์ ระธาตุจอมทอง และทีซ่ มุ้ ตัวเหงาทีว่ ดั มหาธาตุ จ.สุโขทัย ช่างได้ปัน้ รูปกินรี เป็ นต้น ดังนัน้ จึงนับได้ว่ารูปภาพสัตว์หมิ พานต์มอี ทิ ธิพลต่อไทยมาตัง้ แต่สมัยเชียงแสนและสุโขทัยและแล้วก็เริม่ มีบทบาทในสมัย อยุธยาราวพุทธศตวรรษที่ 19 เป็ นต้นมา ซึง่ ได้มกี ารทารูป สัตว์หมิ พานต์เป็ นประติมากรรม จิตรกรรม เครื่องประดับ มากมาย ในงานศาสนาและงานของพระมหากษัตริย์ เช่น ทารูปสิงห์ลอ้ มรอบเจดียท์ ว่ี ดั นางปลืม้ วัดธรรมปั กราช เป็ นต้น และยังมีการเขียนภาพจิตรกรรมเป็ นปุาหิมพานต์มรี ปู สัตว์กนิ รี , นักษิต , วิทยาธร , อรหัตน์ , หงส์ และสิงห์ มากมายใน งานจิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมบนสมุดข่อย และลายรดน้าจานวนมาก ตกทอดถึงสมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ ราว พุทธศตวรรษที่ 20 เป็ นต้น มาก็ได้มกี ารนามาใช้ประดับเป็ นประติมากรรม เป็ นจานวนมาก อย่างเช่นทีพ่ ระปรางค์วดั อรุณ จะมีรปู สัตว์หมิ พานต์รายล้อมเป็ นชัน้ อยู่รอบฐานขององค์พระปรางค์ ศาสนสถานต่างๆ

รูปแบบของสัตว์หิมพานต์ รูปแบบของสัตว์หมิ พานต์ถูกสร้างขึน้ จากลักษณะดังต่อไปนี้ ๑. สร้างจากการเลียนแบบธรรมชาติแล้วปรับปรุงเปลีย่ นแปลง ลดตัดทอนเพิม่ เติมบางส่วน รูปราชสีห์ , รูปหงส์ และรูปพญานาค รูปราชสีห์ ในศิลปะไทยนัน้ มีทงั ้ สิงห์ไทย สิงห์เขมร สิงโตจีน แต่ทงั ้ หมดนี้กส็ ร้างสรรค์ มาจากสิงโต เป็ นการนาเอารูปแบบสิงโตทีแ่ สดงถึงความเป็ นสัตว์ทม่ี อี านาจน่ากลัว กายา แข็งแรง โดยจาเอาลักษณะเด่นนี้ เอาไว้ แล้วก็ลดตัดทอนให้เป็ นเส้นโค้งทีแ่ สดงรายละเอียดน้อยลง ใช้เฉพาะเส้นทีจ่ าเป็ นแล้วจึงประดิษฐ์เพิม่ เติมจนดูเป็ น ลวดลายพร้อมทัง้ สร้างลวดลายประดิษฐ์เข้าไปเสริมให้ดสู ง่า และประณีตละเอียดอ่อนขึน้ จนเป็ นเอกลักษณ์แบบไทย รูปหงส์ ก็เป็ นรูปแบบทีป่ ระดิษฐ์สร้างสรรค์มาจากสัตว์ตระกูล เป็ ด ห่าน หงส์ทแ่ี สดงถึงความสง่างามแบบนุ่มนวล ดังมีคา กล่าวว่ามีความงามของคอสง่าเหมือนดังคอหงส์ หงส์ในธรรมชาติจะมีท่วงทานองสีลาการเคลื่อนไหวเกิดเส้นโค้งทีแ่ สดง ความรูส้ กึ ดังกล่าว ช่างเขียนก็นาลักษณะเด่นเหล่านี้ถ่ายทอดออกมาเป็ นเส้นโค้งให้ความรูส้ กึ ดังกล่าว พร้อมทัง้ ประดิษฐ์ เสริมแลดูให้สง่างาม อ่อนหวาน นุ่มนวลขึน้ ละเมียดละมัย ประณีต ด้วยการประดิษฐ์ลวดลายเข้าไปประกอบ จึงเกิดเป็ น แบบหงส์แบบไทยขึน้ รูปพญานาค ความรูส้ กึ ทีม่ อี ยูใ่ นตัวงู คือ ทีด่ นู ่ากลัว สง่างามเมื่อยามงูแผ่พงั พาน อ้าปากพร้อมต่อสู้ ลาตัวเลือ่ นไหล เกร็งจนเป็ นรูปหางไหลตัวเอส ไหลสะบัดปลายหางด้วย ช่างจึงจับเอาความรูส้ กึ นี้มาทาพร้อมทัง้ เพิม่ เติมลด ตัดทอน เหมือนทากับสัตว์อ่นื ๆ ทีก่ ล่าวมาแล้วก็เพื่อให้ดดู ขี น้ึ และสอดแทรกความรูส้ กึ ส่วนตัวความเป็ นบุคลิกภาพของเชือ้ ชาติลงไปด้วย ๒. สร้างจากการประสมระหว่างสัตว์ต่างประเภทกัน นกหัสดี เป็ นสัตว์ทป่ี ระสมระหว่างช้างกับนกอินทรี คือ ส่วนหัวเป็ นรูปช้าง ส่วนตัวจะเป็ นรูปนกอินทรี ซึง่ เป็ นการรวมเอา ความรูส้ กึ ทีด่ ขี องสัตว์ทงั ้ สองชนิด มารวมกันในตัวเดียวเพื่อเป็ นสัญลักษณ์แทนค่าความรูส้ กึ กล่าวคือ ช้างนัน้ ดูมนคง ั่ แข็งแรง สง่างาม สุขมุ นกอินทรีมคี วามเฉียบคม เจ้าแห่งปี กบนท้องฟูาจึงนานกหัสดีนนั ้ เป็ นสัญลักษณ์แทนค่าความรูท้ งั ้ สองอย่างในตัวนกหัสดีเพียงตัวเดียว เหมราช เป็ นสัตว์ทป่ี ระสมกันระหว่างสิงโตกับม้า คือ ส่วนหัวเป็ นหงส์ ส่วนตัวจะเป็ น รูปสิงโตหรือราชสีห์ ซึง่ รวมเอาความรูส้ กึ ทีเ่ ด่นของสัตว์ทงั ้ สองชนิดมารวมกันในตัวเดียว กล่าวคือ หงส์แสดงถึงความรูส้ กึ อ่อนหวาน ดุดนั น่าเกรงขาม สง่างาม เพื่อเปรียบเทียบถึงความรูส้ กึ ทีว่ ่าคนเรามีความกล้าหาญ ทะนง แล้วยังไม่พอใน


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๘ ขณะเดียวกันต้องมีความนุ่มนวล อ่อนหวานประกอบด้วยจะทาให้บุคลิกภาพของผูน้ าทีด่ ี เป็ นต้น ดุรงค์ไกรสร เป็ นสัตว์ท่ี ประสมกันระหว่างสิงโตกับม้า คือ ส่วนหัวเป็ นสิงโตหรือราชสีห์ ส่วนตัวจะเป็ นรูปม้า ซึง่ ก็เป็ นวิธกี ารรวมเอาความรูส้ กึ ของ สัตว์ทงั ้ สองมารวมกันเหมือนกับสัตว์ในข้างต้นทีก่ ล่าวมาแล้ว คือ ราชสีหใ์ ห้รสู้ กึ แข็งแรง สง่างาม น่าเกรงขาม ม้าแสดง ความปราดเปรียว คล่องแคล่ว และว่องไว ก็หมายถึงในความสง่างาม น่าเกรงขามแล้วยังต้องคล่องตัวและรวดเร็วทันต่อ เหตุการณ์ดว้ ย นอกจากนี้แล้วยังยังมีสตั ว์ทผ่ี สมกันวิธนี ้อี กี มากมายและหลาย ชื่อ เช่น อัสดงเหรา อัสดงวิหค สินธกนธี เหม ราอัสดร งายไส โตเทพอัสดร สีหะศักดา ทิชากรตุบท โลโต ทักทอ โต เป็ นต้น ๔. สร้างจากการประสมระหว่างสัตว์กบั มนุษย์ กินรี , กินนร เป็ นสัตว์ทป่ี ระสมกันระหว่างคนกับนก คือ ส่วนตัวท่อนบนเป็ นคน ส่วนท่อนล่างเป็ นนกเป็ นการประสาน รูปทรงทัง้ สองเข้ากันได้อย่างงดงาม อาจจะมีแนวความคิดเป็ นความรูส้ กึ ทีม่ นุษย์มคี วามฝั นจินตนาการทีม่ นุษย์อยากจะบิน ได้ เช่น ไตรภูมพิ ระร่วง พระสุธน-มโนราห์ เป็ นต้น พญาครุฑ นับว่าเทพองค์หนึ่งในเทวกาเนิด มีสว่ นประสมระหว่างคนกับ นก มีใบหน้าเป็ นนกอินทรี ลาตัวเป็ นคนทีร่ ปู ร่างกายา แข็งแรง บึกบึน ท่อนล่างเป็ นนกอินทรี เป็ นการถ่ายทอดความรูส้ กึ ความเป็ นเจ้าแห่งท้องฟูา และมีความเฉียบคมของสัตว์ปีก เปรียบเทียบ ความรูส้ กึ เป็ นคนพญาครุฑมีเรื่องเล่าในวรรณกรรม หลายเรื่อง เช่น ไตรภูมิ นางกากี รามเกียรติ ์ เป็ นต้น ๔. สร้างจากจินตนาการของจิตกร ดังทีม่ ปี รากฏในคําวินจิ ฉัยของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ ากรมพระยา นริศรานุวดั ติวงศ์ทลู ตอบสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพเกีย่ วกับสัตว์ไว้ว่า “...สัตว์หนิ มพานต์เป็ น ของทีไ่ ม่เคยเห็นตัวจริง ช่างเขียนหรือปั น้ รูปจึงอาศัยแต่ความทีบ่ ่งไว้ในชื่อเรียก หรือพรรณนาอาการและลักษณะไว้ตาม โบราณ มาประดิษฐ์รปู สัตว์หนิ มพานต์ขน้ึ ด้วยปั ญญาคน...รูปสัตว์หนิ มพานต์เดิมคงมีน้อยอย่าง ดูเหมือนจะมีแต่สตั ว์ทช่ี ่อื ปรากฏในพระบาลี และเรียกชื่อเฉพาะตัวนัน้ ๆ ทีม่ าเรียกรวมกันว่าสัตว์หนิ มพานต์น่าจะบัญญัตขิ น้ึ ต่อภายหลัง เมื่อมีรปู สัตว์พวกนัน้ เพิม่ เติมขึน้ อีกมากมาย ...เห็นว่าน่าจะเกิดแต่ทาํ เครื่องแห่พระศพ เดิมทําแต่พอจํานวนเจ้านายอุม้ ขีผ่ า้ ไตรไปใน กระบวนแห่ ตัง้ แต่เปลีย่ นเป็ นทําบุษบกวางไตรบนหลังรูปสัตว์ จึงเพิม่ จํานวนสัตว์ขน้ึ ... แล้วมาปรุงขึน้ สําหรับงานพระมุจงึ มากขึน้ เป็ นการถูกแท้ทเี ดียว ตําราสัตว์หนิ มพานต์กเ็ ห็นมีแต่ตาํ ราทําสําหรับการทําพระเมรุเท่านัน้ ตําราตัวจริงไม่เห็นมี... ได้เลยสังเกตมาแล้ว รูปราชสีห์ คชสีห์ มีมาแล้วแต่อนิ เดีย...” 23 จากความสําคัญดังกล่าวสรุปได้ว่า รูปแบบของสัตว์หมิ พานต์ เป็ นลักษณะการสร้างจากการเลียนแบบธรรมชาติ แล้วปรับปรุงเปลีย่ นแปลง ลด ตักทอน เพิม่ เติมบางส่วน เช่นพญานาค หงส์ เป็ นการสร้างจากการประสมกันระหว่างสัตว์ ต่างประเภทกัน เช่น นกหัสดี เหมราช เป็ นการสร้างจากการประสมระหว่างสัตว์กบั มนุษย์ เช่น กินรี พญาครุฑ และ จินตนาการโดยตรง 22

นริ ศรานุวดั ตวงศ์, สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้ากรมพระยา. และดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอกรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๒๐. พระนคร : องค์การค้ า คุรุสภา, 2505. หน้ า 135-137 และ หน้ า 167. 23


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๒๙


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๐

ความเชื่อเรื่องส่งดวงพระวิญญาณของล้านนา ไปสถิตบนเขาพระสุเมรุ โดยมี สัตว์หิมพานต์เป็ นพาหนะ พิธศี พถือเป็ นเกียรติยศครัง้ สุดท้ายให้แก่ผวู้ ายชนม์ ทีส่ ามารถเน้นยํ้าสิทธิธรรมประการหนึ่งของกลุ่มชนชัน้ ปกครอง ร่วมกับคติความเชื่อของล้านนาทีร่ บั อิทธิพลจากศาสนาพุทธ พราหมณ์ และผี ว่ามาสร้างสมบุญบารมี เมื่อยังมี ชีวติ อยู่ในโลกมนุษย์กไ็ ด้ประทับอยู่ในคุม้ ปราสาทหอคําทีเ่ ป็ นการจําลองสรวงสวรรค์มาไว้บนโลกมนุษย์ เมื่อถึงกาลสิน้ ชีพก็ ต้องสร้างวิมานปราสาทหรือหากพิเศษก็สร้างเป็ นวิมานปราสาทตัง้ บนหลังสัตว์หมิ พานต์รปู แบบต่างๆ โดยเฉพาะรูปนก หัสดีลงิ ค์ให้ประทับและส่งสการ 24(เผา) ไปด้วยทัง้ หมด เพราะ ในกลุ่มชนพืน้ ทีล่ า้ นนามีความเชื่อว่าสัตว์หมิ พานต์เหล่านี้ มีถนิ่ อาศัยอยู่เชิงเขาพระสุเมรุ จึงสามารถเป็ นพาหนะพาดวงพระวิญญาณและวิมานปราสาทบินเหาะขึน้ ไปสูส่ รวงสวรรค์ เพื่อให้กลับไปเป็ นเทพสถิตอยูใ่ นสรวงสวรรค์ชนั ้ ต่างๆ บนเขาพระสุเมรุ ดังสะท้อนจากคําโอกาสเวนทานปราสาทศพต่างนก หัสดีลงิ ค์ของเจ้าแม่สนุ า ณ ลําพูน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ กล่าวว่า 23

“...ส่วนตีนธอรณีปราสาท ทําเปนรูปสกุณาชาต เหมือนดังจั ่ กยกเอาปราสาทเจ้าแม่พาบิน คือว่าเปนรูปนกหัสสดีลงิ ค์ยาวใหญ่ มีปีกหางไขว่ขวางเขิง หัวเปนเซิงฝ่ ายหัตถี มีงวงยาวรีแกว่งป้ าย ซ้ายขวาหว่ายไปมา ผายบุปผาเข้าตอก ยามจักเดินออกมัคคา สองพายงาขาวผ่อง คิว้ ค้อมก่องตาไหล สองหูไกวกวัดแกว่ง เดิมตามตําแหน่งบัวราณ”... 25 24

และนอกจากการส่งสการกษัตริยห์ รือเจ้านายแล้ว ก็ยงั มีพธิ กี ารส่งสการครูบามหาเถระซึง่ ถือว่าเป็ นบุคคลพิเศษ ของสังคม เมื่อได้ถงึ แก่มรณภาพก็จะได้รบั การอุปถัมภ์ปลงศพจากกษัตริยแ์ ละเจ้านาย หรือคณะลูกศิษย์ศรัทธาตีนจองรอง วัด จึงมีการสร้างปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์เพื่อให้เป็ นพาหนะส่งดวงวิญญาณขึน้ ไปสูส่ รวงสวรรค์หรือแดนพระ นิพพานเช่นเดียวกันกับเจ้านาย ดังนัน้ การสร้างปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์ของชนชัน้ สูง จึงเป็ นการนําเอาวิมานปราสาทของพระอินทร์และ เทพยดาทัง้ หลายบนเขาพระสุเมรุ และมีสตั ว์ป่าหิมพานต์ทอ่ี ยูร่ ายรอบเชิงเขามาจําลองไว้บนโลกมนุษย์ เพื่อเป็ น ภาพเสมือนว่าผูท้ ย่ี งั มีชวี ติ อยูใ่ นโลกมนุษย์ได้พากันน้อมส่ง (ส่งสักการะ) สรีระร่าง และดวงพระวิญญาณของผูล้ ่วงลับ ให้ได้เสด็จกลับคืนไปประทับบนสรวงสวรรค์ชนั ้ ฟ้ าจนถึงทีแ่ ล้ว ตามความเชื่อของล้านนา “กษัตริย”์ หรือ “เจ้าหลวง” คือ สมมติของพระอินทร์เจ้าผูเ้ ป็ นใหญ่ ทีป่ ระทับในวิมานปราสาทบนยอดเขาพระสุเมรุ ส่วนบรรดาเจ้านายพระญาติวงศ์กค็ อื สมมติของเทพยดาผูเ้ ป็ นบริวารทีล่ งมาอุบตั ขิ น้ึ ในโลกมนุษย์ ดังปรากฏในคําโอกาสสระเกล้าดําหัวเจ้าหลวงนครเชียงใหม่ท่ี แสดงถึง กษัตริย์ หรือเจ้าหลวง คือ “พระอินทร์” ว่า ”แม่นพระปรมพิตร พระเป็ นเจ้าจักสถิตยอยูใ่ นสุวรรณผางคาปราสาท หือ้ ดูวลิ าสดังนริ ่ นทรา 26 และงานพิธปี ลงพระศพเดิมไม่ใช่งานทีเ่ น้นให้เกิดความโศกเศร้าแต่เป็ นงานเฉลิมฉลองทีย่ งิ่ ใหญ่ 25

24

“ส่งสการ ”มาจากคําว่า “ส่งสักการะ ”ที่มาของคําศัพท์นี ้ผู้เขียนสันนิษฐานว่าด้ วยแต่เดิมในล้ านนามีพิธีเผาศพใช้ กบั เจ้ านายและครูบามหาเถระซึง่ เป็ นชนชันสู ้ งของสังคม เมื่อ สิ ้นชีวิตจึงมีการสร้ างปราสาทศพและเครื่ องสักการะต่างๆ เผาส่งไปพร้ อมกับศพเพื่อเป็ นทังเครื ้ ่ องเกียรติยศและเครื่ องสักการบูชาผู้วายชนม์ รวมถึงเป็ นเครื่ องทําบุญอุทิศถวาย เพื่อส่งให้ ผ้ วู ายชนม์นําไปใช้ ในโลกหน้ า ดังนันชาวล้ ้ านนาจึงเรี ยกพิธีการเผาศพว่า ”ส่งสการ” หรื อ “ส่งสักการะ“

25

วรเทวี (ณ ลําพูน) ชลวณิช, คําเวนทานในงานศพของเจ้ าบุรีรัตน์ (เจ้ าน้ อยพรหมเทพ) และเจ้ าสุนา ณ ลําพูน, (กรุงเทพฯ อมริ นทร์ : 2553), หน้ า 43-44.

26

คําโอกาสสระเกล้ าดําหัวเจ้ าหลวงนครเชียงใหม่ พับสาวัดศรี สองเมือง อสารภี จ.เชียงใหม่ ปริ วรรตโดยศรี เลา เกษพรหม อ้ างใน กู่เจ้ าหลวงนครเชียงใหม่.,

เอกสารที่ระลึกในวันพิธีสกั การะกู่เจ้ าหลวงนครเชียงใหม่, เชียงใหม่, พ .ศ.2552, หน้ า 36.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๑ เพราะมีความเชื่อว่าผูว้ ายชนม์จะได้กลับคืนไปอยู่ถนิ่ เดิมร่วมกับบรรพบุรุษ หรือกลับคืนขึน้ ไปอุบตั เิ ป็ นพญาอินทาหรือเป็ น เทพยดาบนสรวงสวรรค์ พร้อมกับเป็ นการชดเชยพลังชีวติ ของบ้านเมืองและผูค้ นทีข่ าดหายไป เพราะได้สญ ู เสียเจ้านายผูท้ ่ี ซึง่ สามารถรับพลังชีวติ จากสิง่ เหนือธรรมชาติได้สงู กว่าบุคคลทัวไป ่ และเป็ นการปลอบขวัญผูท้ ย่ี งั มีชวี ติ อยู่ ส่วนเมื่อปลง พระศพแล้วจะมีการก่อสร้างกู่เก็บพระอัฐหิ รือสร้างหอผี (ศาล) ไว้เป็ นทีเ่ คารพสักการะ เพื่อให้ดวงพระวิญญาณของเจ้านาย ผูว้ ายชนม์นนั ้ สามารถกลับมาคืนพลังชีวติ ให้แก่แผ่นดินอีกครัง้ 27 หรือก็คอื เพื่อให้เสด็จกลับมาเป็ น ผีอารักษ์” หรือ “ผี“ ผีเมือง” คอยปกปั กรักษาดูแลบ้านเมืองและชาวเมืองตลอดไป ดังเช่น “กษัตริย”์ และปฐมต้นราชวงศ์ของเมืองนครเชียงใหม่“ เมื่อเสด็จสวรรคตก็ได้รบั การสถาปนาขึน้ เป็ น “ผีอารักษ์เมืองนครเชียงใหม่” ดังมีบนั ทึกไว้ว่า 26

“เทวดาอารักข์เชนเมืองเจ้าทังหลาย หมายมีเจ้าหลวงฅําแดงเปนเค้าเปนใหญ่กว่าอารักข์ เจ้าทังหลาย แลอารักข์หลวงเมืองแคน (”ออกเสียง“เมืองแกน)ตน ๑ เจ้าหลวงมังรายตน ๑ มังครามตน ๑ แสนพูตน ๑ ฅําฟูตน ๑ ผายูตน ๑ กือนาตน ๑ แสนเมืองมาตน ๑ สามประหญาฝั ง่ แกนตน ๑ ท้าวลกตน ๑ ท้าวยอดเชียงรายตน ๑ ท้ายอ้ายตน ๑ แก้วตาหลวงตน ๑ พระแม่กตุ น ๑ พระเมืองแก้วตน ๑ พระเมืองเกล้าตน ๑ เจ้าพระญายอดติโลกราชตน ๑ ขุนหลวงวิลงั คะตน ๑ พระเจ้าตนพ่อตน ๑ เจ้าฟ้ า หลวงชายแก้วตน ๑ พระเจ้ากาวิละองค์เถ้าปราบปถวีลา้ นนาไทตน ๑ เจ้าช้างเผือก (เจ้าหลวงธรรมลังกา)ตน ๑ เจ้ามหาเสฏฐี (เจ้าหลวงคําฝั น้ ) ตน ๑” การปลงศพบนวิมานปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์ ทีแ่ ต่เดิมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ เคยมีการสันนิษฐานว่าพิธศี พ ลักษณะนี้ของล้านนารับมาจากเขมรผ่านทางอีสาน โดยพระยาอนุมานราชธน (ยง เสถียรโกเศศ) ได้ทาํ หนังสือถวายสมเด็จ ฯ เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวตั วิ งศ์ว่า “ชาวเชียงใหม่ทาํ ศพโดยทํารูปนกหัสดีลงิ ค์ น่าจะเอาอย่างมาจากอุตตรกุรุ (อินเดีย)” สมเด็จฯ เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวตั วิ งศ์ทรงประทานคําตอบว่า “ประเพณีจากอินเดียมาสูเ่ ขมร จากเขมรเข้ามาไทยภาค อีสานแล้วทางพายัพ จึงเอาอย่างมาจากอีสาน” เพราะ “เรือ่ งนกหัสดีลงิ ค์นนั ้ รูส้ กึ เห็นชอบกลชือ่ นัน้ จะมาแต่ไหนเราเรียกกัน ว่านกหัสดินต่างหาก สงสัยว่าจะมาทางเขมรเพราะลึงค์เป็ นลิงค์ทจี ่ ะเข้ามาทางอีสานก่อน แล้วทางพายัพจึงจําเอาอย่างไป” 28 แต่หากพิจารณาจากหลักฐานตํานานพืน้ เมืองต่างๆของล้านนาโดยเฉพาะพืน้ เมืองเชียงแสน กลับให้ภาพว่าพม่า ส่งอิทธิพลการปลงศพใส่ปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์ให้แก่ลา้ นนา รัฐฉาน และล้านช้าง ซึง่ ในส่วนของล้านช้างก็ได้สง่ อิทธิพลให้กบั อีสาน (เมืองอุบลราชธานี) อีกชัน้ หนึ่ง พิธกี ารสร้างปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์กไ็ ม่ปรากฏหลักฐานว่า เคยจัดขึน้ ในเขมร ในเขมรนัน้ ปรากฏสร้างเป็ นพระเมรุทจ่ี าํ ลองเขาพระสุเมรุ ส่วนทางสยามก็สร้างเป็ นพระเมรุโดยสร้าง เลียนแบบมาจากปราสาทหินนครวัดในเขมรทีจ่ าํ ลองเขาพระสุเมรุโดยจินตนาการขึน้ จากภูเขาหิมาลัย แต่แทนทีส่ ยามจะ สร้างจากศิลาขนาดใหญ่เหมือนปราสาทหินในเขมร ก็ปรับเปลีย่ นทําเป็ นเครื่องไม้ให้อลังการอ่อนช้อยแทน มีการสันนิษฐาน ว่าเริม่ สร้างพระเมรุขน้ึ ครัง้ แรกในสยามประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๒ หรือราว พ.ศ. ๒๑๘๑ สมัยพระเจ้าปราสาททอง กษัตริยอ์ ยุธยา (พ.ศ.๒๑๗๒ – ๒๑๙๘) ปฐมราชวงศ์ปราสาททองซึง่ ปรากฏปฏิบตั สิ บื มาจนถึงปั จจุบนั 29 27

28

27

สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ), พระเมรุ ทําไม? มาจากไหน, พิมพ์ครัง้ ที่ 2 (กรุงเทพฯ : เรื อนแก้ วการพิมพ์, 2551), หน้ า 148. วัดเจดีย์หลวง, จดหมายเหตุพญานกหัสดีลิงค์ , (เชียงใหม่ : นันทพันธ์, 2553), หน้ า 8-11. 29 สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ), พระเมรุ ทําไม? มาจากไหน, พิมพ์ครัง้ ที่ 2, (กรุงเทพฯ : เรื อนแก้ วการพิมพ์, 2551), หน้ า 11. 28


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๒ โดยการสร้างปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์มาจากพม่าแล้วนํามาปรับและพัฒนาสังสมให้ ่ เหมาะกับพืน้ ฐานคติ ความเชื่อเดิมร่วมกับรสนิยมความชื่นชอบ จนมีรปู แบบทางศิลปะ คติความเชื่อ และพิธกี รรมทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละกลุ่ม รวมถึงล้านนาก็นํามาปรับพัฒนาสังสมจนเป็ ่ นเอกลักษณ์แบบล้านนาเช่นกัน ซึง่ ในล้านนาโดยเฉพาะช่วงหลัง พ.ศ. ๒๕๐๐ เริม่ ปรากฏความนิยมสร้าง “รูปสัตว์ปีเปิ้ ง” (นักษัตร) หรือรูปสัตว์ประจําปี เกิดของผูต้ ายต่างปราสาทศพเพิม่ เข้ามานอกจาก รูปสัตว์หมิ พานต์ เช่น ปราสาทศพต่างไก่ (ผูต้ ายเกิดปี เล้าหรือปี ระกา) และปราสาทศพเทียมม้า (ผูต้ ายเกิดปี เม็ดหรือปี มะเมีย) เป็ นต้น ทีแ่ ต่เดิมรูปสัตว์ปีเปิ้ งเหล่านี้จะตัดเป็ นรูปติดทีต่ ุงสามหางและทําเป็ นรูปหุ่นสัตว์ปีเปิ้ งของผูต้ ายนําขบวน ปราสาทศพ เนื่องจากชาวล้านนาให้ความสําคัญกับสัตว์ประจําปี เกิดเป็ นอย่างมาก ขณะเดียวกันแสดงถึงความคลีค่ ลายของ คติจกั รวาลในพิธกี รรมศพ ทีเ่ ดิมก่อนหน้านี้ปรากฏมีการสร้างเฉพาะรูปสัตว์หมิ พานต์ต่างปราสาทศพเท่านัน้ ส่วนในพม่าจะ รับอิทธิพลมาจากมอญอีกชัน้ หนึ่งหรือไม่นนั ้ ยังคงต้องศึกษาค้นคว้ากันต่อไป เนื่องจากหลักฐานในขณะนี้ยงั ไม่พบว่ามีการ ปลงพระศพเจ้านายหรือพระมหาเถระแบบปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์ของกลุม่ มอญ แต่ปรากฏหลักฐานทีช่ ดั เจนเป็ นของ กลุ่มพม่า ทีจ่ ดั พิธศี พแบบสร้างปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์ขน้ึ อย่างใหญ่โตแม้เป็ นเพียงพระสงฆ์ระดับเจ้าอาวาส ดังนัน้ ใน เบือ้ งต้นขณะนี้จงึ สันนิษฐานว่าล้านนาและรัฐฉานได้รบั อิทธิพลมาจากพม่าในระยะเวลาทีใ่ กล้เคียงกัน ส่วนล้านช้างอาจ ได้รบั อิทธิพลมาในช่วงเวลาใกล้เคียงกันหรือยุคหลังลงมาเล็กน้อย แล้วภายหลังล้านช้างก็ได้สง่ อิทธิพลผ่านไปให้อสี าน (เมืองอุบลราชธานี) อีกชัน้ หนึ่งในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๔

การแห่ปราสาทศพทางนํ้าไปสูป่ ่ าช้าของพม่า


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๓

ปราสาทศพต่างบนหลังช้างเผือก (ช้างเอราวัณ) ของพระมหาเถระพม่าชัน้ ผูใ้ หญ่


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๔

ปราสาทศพต่างบนหลังช้างเผือก (ช้างเอราวัณ) ของพระมหาเถระพม่าชัน้ ผูใ้ หญ่

ปราสาทศพต่างบนหลังช้างเผือก (ช้างเอราวัณ) ของพระมหาเถระพม่าชัน้ ผูใ้ หญ่


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๕

ปราสาทศพต่างบนหลังช้างเผือก (ช้างเอราวัณ) ของพระมหาเถระพม่าชัน้ ผูใ้ หญ่

ปราสาทศพของคหบดีในพม่า


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๖

รูปขบวนแห่นกหัสดีลงิ ค์คาบโลงศพในพม่า


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๗


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๘

ความเชื่อเรื่องนกหัสดีลิงค์ นกหัสดีลงิ ค์ คือ สิง่ มีชวี ติ ทีม่ ใี บหน้า หรือ ศีรษะ เป็ น ช้างและมีลาํ ตัวเป็ นนกกินเนื้อขนาดยักษ์ ทว่า จากการรวบรวม วิเคราะห์ตคี วามข้อมูลต่างๆแล้ว พบว่าความเข้าใจนัน้ คลาดเคลื่อนไปจากเดิม ทัง้ ยังมีบุคคลบางกลุ่มพยายามแยก ส่วนนกหัสดีลงิ ค์ออกจากนกหัสดิน(หัสดี)เพียงเพราะว่า นกทัง้ ๒ ชนิดนี้มใี บหน้าทีด่ แู ตกต่างกันอย่างสิน้ เชิง คือ นกหัสดีลงิ ค์ มีใบหน้า รึศรี ษะเป็ นช้าง ในขณะทีน่ กหัสดินมีใบหน้าเหมือนกับ นกธรรมดาทัวไป(ในลายจิ ่ ตรกรรม) ดังนัน้ นกหัสดีลงิ ค์ และ นก หัสดิน(หัสดี)จึงเป็ นนกชนิดเดียวกัน แต่โบราณได้กาํ หนด ลักษณะใบหน้าไว้ ๒ แบบ คือ ทัง้ แบบหน้า(คล้าย)ช้างและหน้า (คล้าย)นกอินทรี คือหน้าจริงทัง้ ๒ แบบ โดยแบ่งลักษณะของ ใบหน้าตามเพศของนก ดังนี้ ๑. นกทีห่ น้าคล้ายช้าง คือ นกหัสดีลงิ ค์เพศผู้ (ปุรสิ หัสดีลงิ ค์) ๒. นกทีห่ น้าคล้ายอินทรี คือ นกหัสดีลงิ ค์เพศเมีย (อิตถีหสั ดี ลิงค์) ลักษณะของนกหัสดีลงิ ค์เพศเมียนัน้ ถูกวาดออกมาใน รูปของนกกินเนื้อขนาดยักษ์ทม่ี ชี ่วงคอและหางยาว ใบหน้า ลักษณะคล้ายนกอินทรียผ์ สมกับนกแร้ง ในงานจิตรกรรมไทย มักวาดให้นกหัสดีลงิ ค์เพศเมียใช้กรงเล็บเท้าหิว้ ช้างไว้ดว้ ย ซึง่ เป็ นจุดเด่นเอกลักษณ์ของนกหัสดีลงิ ค์อยู่แล้วด้วย ในขณะที่ นกหัสดีลงิ ค์ต่างปราสาท ลักษณะของนกหัสดีลงิ ค์เพศผู้ ดูจะมีปัญหามากกว่า คือ ในงาน จิตรกรรมจะวาดออกมาในรูปของนกทีม่ จี ะงอยปากเป็ นงวงช้างหรือมีศรี ษะทัง้ ศีรษะเป็ นช้างดังทีป่ รากฏในคําวินิจฉัยของ ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ทลู ตอบสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงรา ชานุภาพเกีย่ วกับสัตว์ไว้ว่า “...รูปนกหัสดินก็มแี ต่หวั ไม่มวี งมีงา เป็ นอย่างนกอินทรีเท่านัน้ เว้นแต่เฉี่ยวเอาหัวช้างไปกินตัง้ สองสามตัว แสดงว่าใหญ่...มียงิ่ กว่านัน้ นกหัสดินก็แก้งาเป็ นปากนก มีงวงทับไปเป็ นปากดุจไก่งวงฉะนัน้ ทีท่ าํ เอาก็เอา หัวคชสิงห์ไปต่อเข้ากับหัวตัวนกเอาดือ้ ๆ เพราะชื่อมันแปลว่านกช้างเป็ นกําทําทีไ่ ม่ได้คดิ โดยรอบคอบ จึงนําทางไปให้เข้าใจ ไปว่า การทําปากหงส์ให้เป็ นปากนกก็ดี การแก้งานกหัสดินให้เป็ นปากนกก็ดี เป็ นของท่านครูซง่ึ เป็ นผูใ้ ห้ลายบานมุกท่าน คิดขึน้ ใหม่ ไม่ใช่ทาํ ตามแบบแผนวึง่ เคยทํามาแต่ก่อน 30 ในเรื่องของงวงนกหัสดีลงิ ค์(เพศผู)้ นัน้ แท้จริงแล้วคือ ส่วนของหงอน คล้ายกับไก่งวงเฉพาะตัวผูท้ ม่ี หี งอนย้อยลง มาคล้ายงวงช้างส่วนตัวเมียไม่มหี งอนย้อยตรงนี้ จึงทําให้ภาพนกหัสดีลงิ ค์ในการออกแบบยุคหลังๆมานี้อาจจะลาดเคลื่อน 29

นริ ศรานุวดั ตวงศ์, สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้ากรมพระยา. และดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอกรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๒๐. พระนคร : องค์การค้ า คุรุสภา, 2505. หน้ า 126-127 30


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๓๙ กลายเป็ นนกหัวช้างไป ส่วนหงอนนกหัสดีลงิ ค์เพศผูน้ ้นี ่าจะสามารถยืดได้หดได้แบบหงอนของไก่งวง จึงทําให้คนโบราณ เข้าใจว่าส่วนหงอนทีส่ ามารถขยับขึน้ ลงและแกว่งไปมาได้น้ีเป็ นเหมือนกับงวงของช้างทีข่ ยับได้นนเอง ั ่ และเนื่องด้วยว่า นก หัสดีลงิ ค์ จัดเป็ นนกยักษ์ชนิดหนึ่ง จึงเป็ นไปไม่ได้ทม่ี งี าเช่นเดียวกับช้าง จากหลักฐานซึง่ มีหลักฐานปรากฏอยู่ในงานสําริด ศิลปะยุคล้านนา จะเห็นว่าบริเวณปากนกหัสดีลงิ ค์เพศผูน้ ้ีไม่มงี าเช่นช้าง จึงคาดว่า งาช้างจะถูกแต่งเติมขึน้ มาในยุคหลังจน มีผลตอการบิดเบือนข้อมูลในยุคหลังๆจนกลายเป็ นว่า นกหัสดีลงิ ค์มงี าเหมือนช้างในทีส่ ดุ แต่ดว้ ยความคลาดเคลื่อนบาง ประการในการสือ่ สาร อาจด้วยว่าผูบ้ นั ทึกและวาดภาพของนกหัสดีลงิ ค์โดยเฉพาะเพศผูม้ องเห็นนกชนิดนี้ในระยะไกลหรือ อาจจะเป็ นการเห็นภาพจารึกของนกหัสดีลงิ ค์เพศผูแ้ บบผ่านๆ จึงทําให้ของลักษณะของนกหัสดีลงิ ค์เพศผูท้ ส่ี บื ทอดกันมา ในงานจิตรกรรมโบราณของหลายชนชาติชนั ้ ในหลังนัน้ มีความคลาดเคลื่อนไป จนทําให้ออกแบบนกหัสดีลงิ ค์กลายเป็ นนก หัวช้างไปในทีส่ ดุ

ภาพศิลปกรรมสําริดรูปนกหัสดีลงิ ค์ สมัยล้านน นกหัสดีลงิ ค์นนั ้ ปรากฏตัวตนเป็ นหลักฐานทางบันทึกครัง้ สุดท้ายในสมัยพุทธกาล โดยอยูใ่ นช่วงต้นของประวัตพิ ระ เจ้าอุเทนแห่งกรุงโกสัมพี แคว้นวังสะ ข้อมูลโดยรวมระบุว่า นกหัสดีลงิ ค์น้เี ป็ นนกยักษ์ทก่ี นิ ทัง้ เนื้อและซากศพเป็ นอาหาร (เป็ นทัง้ นักล่าและนักกินซาก) จึงชอบสีแดงเป็ นพิเศษเพราะสีแดงนัน้ ดูเหมือนเนื้อสด ฉะนัน้ เมือ่ มนุษย์คลุมกายรึแต่งกาย ด้วยผ้าสีแดงจึงทําให้นกหัสดีลงิ ค์เข้าใจผิดว่าเป็ นก้อนเนื้อจึงถูกโฉบตัวไปได้โดยง่าย มีกาํ ลังเท่าช้าง ๕ เชือก และกินช้าง เป็ นอาหารด้วย ดังนัน้ นกหัสดีลงิ ค์จงึ ไม่ควรมีใบหน้าหรือศีรษะเป็ นช้างอย่างแน่นอน เพราะนกหัสดีลงิ ค์กนิ เนื้อเป็ นอาหาร นอกจากมีใบหน้าละม้ายช้างแล้ว นกยักษ์ชนิดนี้ยงั มีเสียงร้องคล้ายช้างด้วย คาดว่าใช้เสียงเพื่อลวงช้างให้สบั สนจะได้จบั กิน โดยง่ายนันเอง ่ นกหัสดีลงิ ค์นนั ้ มีขนตามลําตัวสีขาว แต่ขนบริเวณปี กจะมีสนี ้ําตาล เพื่อประโยชน์ดา้ นการพรางตัว กล่าวคือ นกหัสดีลงิ ค์เป็ นนกกินเนื้อทีม่ ขี นาดใหญ่มาก การเข้าใกล้เหยื่อจึงเป็ นเรื่องทีย่ าก ขนสีขาวนี้จงึ ช่วยให้นกหัสดีลงิ ค์นนั ้ ดูกลืน ไปกับก้อนเมฆในยามทีบ่ นิ มองหาเหยื่อจากทีส่ งู ทีส่ าํ คัญ นกหัสดีลงิ ค์ยงั มีความจําเรื่องเส้นทางเป็ นเลิศ อ้างอิงจาก เหตุการณ์ตอนทีโ่ ฉบตัวพระเทวีผเู้ ป็ นมารดาของพระเจ้าอุเทนขณะทรงครรภ์ดว้ ยกรงเล็บนัน้ นกหัสดีลงิ ค์ตวั นัน้ บินนําตัว พระนางไปถึงแดนหิมพานต์แล้วจึงร่อนลงเกาะบนต้นไทรใหญ่ตน้ หนึ่งซึง่ มีลกั ษณะแผ่ขยายคล้ายมณฑปซึง่ เป็ นสถานที่ นก หัสดีลงิ ค์ตวั นัน้ ใช้กนิ เหยื่ออยู่เป็ นประจํา และเมื่อวางพระเทวีไว้ในระหว่างค่าคบไม้แล้ว นกหัสดีลงิ ค์ตวั นัน้ จึงแลดูเส้นทางที่ ตนบินมาแล้ว ซึง่ เป็ นนัยว่า การแลดูเส้นทางทีบ่ นิ มาแล้ว คือเรื่องปกติธรรมดาของเหล่านกหัสดีลงิ ค์(ประมาณว่า ดูเส้นทาง ตามสัญชาตญาณเพื่อจดจําตําแหน่งทิศทางทีม่ สี ามารถเดินทางไปหาอาหารกินได้)


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๐ หลายประเทศในทวีปเอเชีย มีมคี ติความเชื่อเรื่อง เกีย่ วกับนกยักษ์หรือนกประหลาดในนิยายปรัมปรา นกบางชนิด มีขนาดใหญ่พอทีจ่ ะให้มนุษย์ใช้เป็ นพาหนะบินขึน้ ไปบนสวรรค์ บางชนิดมีพลกําลังเก่งกล้าสามารถสูร้ บกับมนุษย์จาํ นวนมากได้ นกทีใ่ ช้เท้าจับช้างได้ขา้ งละเชือกนี้ทางศรีลงั กาก็มี เขาเรียกว่า “นกเอต กันทะ ลิหนิ ิยะ” (Etkanda Lihiniya) เป็ นนกทีม่ หี วั เป็ น ช้าง มีงาคูห่ นึ่ง ซึง่ อาจจะส่งอิทธิพลมายังนกมีหวั เป็ นช้างของ ล้านนา ชื่อทีเ่ รียกเขียนต่างกันไป เช่น นกหัสดี นกหัสดิ น นก หัสดีลิงค์ ในนิทานปรัมปราว่าเป็ นนกทีม่ พี ลกําลังมาก ซึง่ ก็ยงั มี ตํานานอื่นทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับทัง้ นกหัสดีลงิ ค์และการตาย ปั จจุบนั เป็ นตํานานทีป่ รากฏพอสรุปได้ ๓ กระแส คือ ตํานานนกหัสดีลิงค์กระแสที่ ๑ กล่าวว่า นกหัสดี ลิงค์นนั ้ จะมีหวั เป็ นช้างตัวเป็ นนกจะชอบกินช้างหรือสัตว์ใหญ่ เป็ นอาหาร เช่น คน เสือ ควาย เป็ นต้นครัน้ อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อ นกหัสดีลงิ ค์ได้จบั ลูกสาวเจ้าเมืองหลายต่อหลายเมืองมากินเป็ น อาหารแล้วมาหยุดพักทีป่ างทุ่งหลวงเมืองสุวรรณภูมิ เพื่อจะรอ จับลูกสาวเจ้าเมืองดังกล่าวกินเป็ นอาหาร ครัน้ เจ้าเมืองทราบข่าวจึงสืบเสาะหาบุคคลทีม่ คี วามสามารถทีจ่ ะฆ่านกหัสดีลงิ ค์ จนในทีส่ ดุ ก็มาถึงเมืองตักศิลาและลูกสาวเจ้าเมืองนัน้ ชื่อ “เจ้านางสีดา” ซึง่ ได้รบั มอบคันศรจากพระราชบิดา เพื่อจะนําไปฆ่านกหัสดีลงิ ค์ และในทีส่ ดุ เจ้านางสีดาก็สามารถฆ่า นก หัสดีลงิ ค์ได้ ภาพจิตกรรมฝาผนัง นกหัสดีลงิ ค์ ตํานานนกหัสดีลิงค์กระแสที่ ๒ กล่าวว่า ใน กาลครัง้ หนึ่งมีเมือง ๆ หนึ่งเกิดอาเพศเพราะมีนกหัสดีลงิ ค์คอย เฝ้ าจับคนเป็ นอาหาร ทําให้ผคู้ นบาดเจ็บและล้มตายเป็ นอันมาก แม้แต่เจ้าเมืองยังทรงสวรรคต พระมเหสีทรงโศกเศร้า เสียใจเป็ นอันมาก จึงคิดหาหนทางทีจ่ ะแก้แค้นโดยการฆ่านกหัสดีลงิ ค์ จึงได้ป่าวประกาศหาผูม้ คี วามสามารถมาปราบนก หัสดีลงิ ค์ได้ จะมีรางวัลสมนาคุณให้อย่างงามในทีส่ ดุ เจ้าหญิงแห่งเมืองตักศิลาได้อาสาปราบนกและสามารถปราบนก ดังกล่าวได้ โดยมีศรเป็ นอาวุธ ดังนัน้ ประเพณีเจ้าเมืองจึงได้ทาํ พิธเี ผานกหัสดีลงิ ค์พร้อมศพเจ้าเมือง โดยมีการจัดวางหีบศพ บนหลังนก และสร้างหอแก้วกัน้ หีบศพให้สวยงามและสิง่ ดังกล่าวได้สบื ทอดมาจนถึงปั จจุบนั ตํานานนกหัสดีลิงค์กระแสที่ ๓ กล่าวว่า มีนครหนึ่งชื่อส่า นครเชียงรุง้ ตักศิลา เมื่อพระเจ้าแผ่นดินสวรรคตพระ มเหสีจงึ นําพระบรมศพแห่แหนไปถวายพระเพลิงทีน่ อกเมือง นกหัสดีลงิ ค์หรือนกสักกะไดลิงค์ ซึง่ บินมาจากป่ าหิมพานต์มา เห็นจึงได้โฉบลงมาแย่งพระศพ พระมเหสีจงึ หาคนมาปราบนกทีแ่ ย่งพระศพในทีส่ ดุ ก็มหี ญิงสาวผูห้ นึ่งชื่อ“เจ้านางสีดา” มี ฝีมอื ในการยิงธนูเป็ นเยีย่ ม ได้ใช้ลกู ศรยิงนกตกลงมาตาย พระมเหสีจงึ ให้ประกอบพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพพร้อมนก


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๑ ใหญ่จงึ กลายเป็ นธรรมเนียมตัง้ แต่นนั ้ มา 31 จากตํานานทัง้ ๓ กระแสดังกล่าว ทําให้ได้ขอ้ สังเกต ๒ อย่างคือ นกหัสดีลงิ ค์มา ในลักษณะของนกทีส่ ามรถเดินทางได้เป็ นระยะทีไ่ กล และเป็ นนกทีม่ ขี นากใหญ่ ทีก่ นิ เนื้อเป็ นอาหาร(นกยักษ์กนิ ซาก) ซึง่ นอกเหนือจากตํานานทัง้ ๓ กระแสดังกล่าแล้วนัน้ ก็ยงั มีนิทานพืน้ บ้านทีม่ เี นื้อหาตอนหนึ่งทีเ่ กีย่ วกับนกหัสดีลงิ ค์ ในเชิงของ นกยักษ์กนิ ซาก เช่น 30

นิ ทานเรือ่ งพระสุธน มีเนื้อหาตอนหนึ่งว่า “พระสุธนก็ออกเดินทางเพียงลําพัง โดยผ่านป่ าทึบซึง่ มนุษย์ไม่ สามารถจะผ่านไปได้มผี ลไม้มากมายซึง่ ล้วนแล้วแต่มพี ษิ ด้วยความช่วยเหลือของลูกลิงพระสุธนก็จะเสวยผลไม้ทล่ี กู ลิงกิน ได้เท่านัน้ เมื่อมาถึงป่ าหวายซึง่ มีสงิ่ มีชวี ติ น้อยใหญ่ไม่สามารถจะผ่านไปได้เพราะล้วนแต่มหี นามพิษพระสุธนจึงใช้ผา้ กัมพล ห่มแล้วนอนนิ่ง ๆ ขณะนัน้ นกหัสดีลงิ ค์เช้าใจว่าพระสุธนเป็ นอาหารจึงคาบพระองค์ไปไว้ในรังบนยอดไม้ก่อนทีจ่ ะบ่ายหน้า ไปหาอาหารเพิม่ อีก” นิ ทานเรือ่ งแก้วหน้ ามา มีเนื้อหาตอนหนึ่งว่า “ในขณะทีพ่ ระธิดาวัยรุ่นทัง้ สามพระองค์กาํ ลังพักผ่อนอิรยิ าบถอยู่ ในพระราชอุทยาน ก็มนี กหัสดีลงิ ค์บนิ มา โฉบเอาทัง้ สามพระองค์ไปด้วยนึกว่าเป็ นเหยื่อ แต่ก่อนทีพ่ ระธิดาทัง้ สามจะถูกนก ยักษ์กลืนลงคอพระฤๅษีซง่ึ อาศัยอยู่บริเวณนัน้ ก็ออกมาช่วยไว้ทนั ” ธรรมบทภาค ๒ มีเนื้อหาตอนหนึ่งว่า “พระเจ้าปรันรัตนะเจ้าเมืองนครโกสัมพี ในประเทศอินเดีย พระองค์อยู่บน ปราสาทชัน้ สูงสุดกับพระมเหสี พระมเหสีมคี รรภ์จวนประสูติ ขณะบรรทมห่มผ้าสีแดง นกหัสดีลงิ ค์บนิ มาพบเข้าและคิดว่า เป็ นก้อนเนื้อ จึงบินมาโอบเอาพระมเหสีไปวางไว้บนคาคบต้นไม้ใหญ่ ในป่ าหิมพานต์ ตกเวลาจวนจะรุ่งเกิดลมพายุพดั ผ่าน ฝนกระหนํ่าลงมา พระนางประสูตพิ ระโอรสบนต้นไทรใหญ่นนั ้ จึงขนานนามพระโอรสว่าอุเทน เพราะเมื่อประสูตกิ ส็ ว่างพอดี คําว่าอุเทนหรืออุทยั คือเวลาจวนสว่าง เมื่อพระอุเทนซึง่ เป็ นโอรสได้เสวยราชในเมืองโกสัมพีสบื ต่อจากพระบิดาแล้ว ได้นํา พระมารดามาอยู่ในนครโกสัมพี ครัน้ เมื่อพระมารดาสวรรคตได้จดั การพระบรมศพโดยเอานกหัสดีลงิ ค์ตวั นัน้ มารองพระบรม ศพ เผาทัง้ นกหัสดีลงิ ค์กบั นางพร้อมกัน ซึง่ การทีน่ ํานกหัสดีลงิ ค์มาเผานัน้ ก็เพราะเกีย่ วข้องกับพระมารดาดังกล่าว” หรือจะเป็ นนิทานทีป่ รากฏในเนื้อหาว่ามีการใช้ “นกหัสดีลงิ ค์” ในเชิงของการเป็ นพาหนะ เพื่อใช้ในการเคลือ่ นทีไ่ ปยังอีก สถานทีห่ นึ่ง เช่น นิ ทานเรือ่ งสามลอนางอุเปี่ ยมและเจ้าสุธนนางมโนห์รา : ผูกที๒่ ใบลานที๔่ ๘ มีเนื้อหาตอนหนึ่งว่า ”คันว่าเจ้า ราชบุตรพ้นจากป่ าทีน่ นั ้ แล้ว ก็จกั ไปถึงป่ าไม้ใหญ่อนั ๑ จุ่งหือ้ เจ้าราชบุตรนุ่งผ้ารัตนกัมพลนัน้ แล้ว แม่นว่านอนก็หอ้ื นุ่ง นอนทืน เหตุดงอั ั ่ น้ ยังมีนกหัสดีลงิ ค์ตวั หนึ่งก็จกั คีบเอายังเจ้าราชบุตรไปด้วยบ่วงเล็บแห่งมัน ไปถึงป่ าไม้ใหญ่อนั หนึ่ง เล่าชะ แล คันว่าราชบุตรหากข้ามล่วงพูน้ ป่ าไม้ใหญ่ทน่ี นั ้ แล้ว ก็จกั ไปหันยังช้างสองตัวชนกันอยูช่ ะแล จุ่งหือ้ เจ้าราชบุตรทาตนแห่ง ท่านด้วยยาอันข้าหากคุลกิ รรมด้วยมนต์นนั ้ แลหือ้ ท่านแดนลอดท้องช้างสองตัวนัน้ ไปทืน” ซึง่ สรุปใจความได้ว่า จากป่ า แห่งแรก เจ้าสุธนจะมาถึงป่ าไม้ใหญ่กใ็ ห้นุ่งผ้ากัมพลตลอดเวลาแม้กระทังเวลานอน ่ จากนัน้ ก็จะมีนกหัสดีลงิ ค์มาพาเจ้าสุธน ไปยังป่ าใหญ่อกี แห่ง ก็จะพบกับช้างสองเชือกกําลังชนกัน ให้เจ้าสุธนใช้ยาของนางทาตัวก่อนลอดท้องช้าง

31

สถาบันวิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ๑๐๐ ปี ชาตกาล พระอริยานุวัตร (อารีย์ เขมจารี). โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา,2558 หน้ า 172-173.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๒


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๓

ประเพณี และความเชื่อเกี่ยวกับนกหัสดีลิงค์ นกหัสดีลงิ ค์เป็ นความเชื่อทีป่ รากฏตัง้ แต่พุทธศตวรรษที๑่ ๐-๑๓ ในแผ่นดินสุวรรณภูมิ โดยสิง่ ทีป่ รากฏนัน้ เป็ น จินตนาการของชุมชนโดยอาศัยคัมภีรจ์ กั ภวาฤทีปน์ ซึง่ เป็ นคัมภีรท์ างพุทธศสานาทีพ่ ยายามอธิบายเรื่องราวของโลกและ จักรวาลโดยเฉพาะเรื่องป่ าหิมพานต์ โดยในป่ าดังกล่าวยังได้มกี ารแบ่งสัตว์ไว้อย่างหลากหลาย เช่น ราชสีห์ เหมราอัศดร มังกรวิหก คชสีห์ สนนร สนรี และนักหัสดีลงิ ค์ จากบทบาททีโ่ ดดเด่นของวรรณกรรมทางพุทธศาสนา ทีส่ ามารถหล่อหลอม จินตนาการของช่างถูกการปรุงแต่งให้เหนือธรรมชาติทงั ้ รูปลักษณ์และปาฏิหาริย์ เพื่อจะรับความชอบธรรมในบทบาททีถ่ ูก กําหนดขึน้ เพื่อรับใช้สงั คมสืบต่อไป นกหัสดีลงิ ค์ เกิดจากการผสมคําทีม่ คี วามหมาย ๒ คํานันคื ่ อ ๑. หัสดี (หรือหัสดิน) มีความหมายว่าผูใ้ ช้งวงแทนมือ หรือผูใ้ ช้มอื ๒. ลิงค์ (หรือลึงค์) มีความหมายถึงเครื่องหมายทางเพศชาย เมื่อรวมความหมายแล้วหมายถึงนกทีม่ หี มายเป็ นช้างเป็ นองค์ประกอบสําคัญ ซึง่ หมายถึงคือนกทีม่ หี วั เป็ นช้างหรือนกทีม่ ี งวงทีป่ ากเป็ นงาช้างทีม่ องเห็นได้ชดั เจน หรือนกผูม้ งี วงเป็ นช้าง หรือครึง่ นกครึง่ ช้าง ดังนัน้ จากความหมายดังกล่าว จึงพอ สรุปได้วา่ คติในเรื่องนกหัสดีลงิ ค์นนั ้ กรอบความคิดเดิมได้องิ อยู่ในธรรมบทของพุทธศาสนาทีก่ ล่าวถึงป่ าหิมพานต์และ กล่าวถึงสัตว์นิทานและเมือ่ คตินยิ มกล่าวถึงถอดความหมายปละมีนยั ยะของชุมชนเคลื่อนอยู่ นกดังกล่าวจึงมีลกั ษณะ ผิดปกติอย่างสัตว์สามัญเป็ นรูป เพราะตัวนัน้ เป็ นนกทีม่ ปี ี กมีหาง แต่สว่ นหัวเป็ นช้างมีงวงมีงา 32 ประเพณีและความเชื่อเกีย่ วกับการสร้างนกหัสดีลงิ ค์ของเจ้าเมืองเชือ้ สายลาวจําปาสัก จนถึงเจ้าเมืองอุบลนิยม สร้างเมรุรปู นกหัสดีลงิ ค์ประกอบหอแก้ว เชิญศพขึน้ ประดิษฐาน แล้วชักลากไปเผาทีท่ ุ่ง จึงเป็ นธรรมเนียมสําหรับเจ้านาย ที่ สืบเชือ้ สายสืบมาแต่โบราณ ทีเ่ รียกว่า อัญญาสี่ ได้แก่เจ้าเมือง เจ้าอุปราชย์ เจ้าราชวงศ์ เจ้าราชบุตร และบุตรหลานทีไ่ ด้รบั ราชการงานเมืองเมื่อท่านผูใ้ ดผูห้ นึ่งถึงแก่อาสัญกรรม เจ้านายและประชาชนของเมืองอุบล จึงได้สร้างเมรุรปู นกหัสดีลงิ ค์ ประกอบหอแก้วแล้วได้ชกั เมรุออกไปเผา ณ ทุ่งศรีเมือง ต่อมาเมื่อมีการส่งผูส้ าํ เร็จราชการแผ่นดินต่างพระเนตร พระกัณฑ์ มาปกครองเมืองอุบล จึงได้หา้ มมิให้มปี ระเพณีเผาศพเจ้านายแบบนกหัสดีลงิ ค์ ทีไ่ ปเผาทีท่ งุ่ ศรีเมืองถือว่าเป็ นคล้ายกับการ ถวายพระเพลิงเจ้านายทีท่ ุ่งสนามหลวงกรุงเทพฯ เชือ้ สายเจ้าเมืองอุบลฯ หากจะทําศพแบบนกหัสดีลงิ ค์ตอ้ งไปทําทีว่ ดั ใดวัด หนึ่งทีเ่ ห็นสมควร เนื่องด้วยความเชื่อดังกล่าวปรากฏในตํานานเมืองเชียงรุง้ แสนหวี ในดินแดนล้านนาจึงได้รบั อิทธิพลความ เชื่อเกีย่ วกับนกหัสดีลงิ ค์เช่นเดียวกับดินแดนล้านช้างจําปาสัก และเนื่องจากเป็ นสายวัฒนธรรมเดียวกันซึง่ ได้แก่ เชือ้ ชาติ ศาสนา หรือแม้กระทังกษั ่ ตริยผ์ คู้ รองนครเคยปกครองดินแดนสองแคว้นในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๙๓-๒๑๑๕) เคยเสด็จเป็ นกษัตริยแ์ คว้นล้านนาเชียงใหม่ หลังจากพระราชบิดา คือพระยาโพธิสารสวรรคต ก็เสด็จ กลับมาเป็ นกษัตริยแ์ คว้นล้านช้างทีเ่ มืองหลวงพระบาง ทรงอาราธนาพระพุทธรูปสําคัญจากเมืองเชียงใหม่คอื พระแก้ว มรกต และหลังจากนัน้ ทรงย้ายราชธานีจากหลวงพระบางมาอยู่เวียงจันทน์ จากความเชือ่ ดัง้ เดิมทีเ่ คยมีมานกหัสดีลงิ ค์ถูก สร้างขึน้ ก็ต่อเมื่อบุคคล ๒ กลุ่มได้เสียชีวติ ไปคือ ๑. กลุ่มอาญาสี/่ อัญญาสี่ ซึง่ ประกอบด้วย ๑. เจ้าเมือง ๒. อุปฮาด/อุปราช ๓. ราชวงศ์ ๔. ราชบุตร ๒. เถระชัน้ ผูใ้ หญ่ของชุมชน 31

32

สถาบันวิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ๑๐๐ ปี ชาตกาล พระอริยานุวัตร (อารีย์ เขมจารี). โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา,2558 หน้ า 170.


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๔ ในการสร้างนกหัสดีลงิ ค์พธิ กี รรมต่าง ๆ จะเริม่ เมื่ออัญญาสีห่ รือเถระชัน้ ผูใ้ หญ่ได้เสียชีวติ หรือมรณภาพไปและดู เหมือนกฎเกณฑ์ดงั กล่าวจะมีการยึดถืออย่างเคร่งครัด หลังจากนัน้ ญาติพน่ี ้องต้องตัง้ ศพบําเพ็ญกุศล ๗ วัน และต้องเก็บศพ ไว้อกี ๓ เดือน เพื่อรอการทํานกหัสดีลงิ ค์และการทําหอแก้วในการเตรียมการในอดีต ส่วนใหญ่จะเป็ นการเกณฑ์วสั ดุสงิ่ ของ ไม่ว่าจะเป็ นไม้ไผ่จกั ตอก กระดาษสา หวาย ก่อนสร้างนกหัสดีลงิ ค์ ๑ วัน จะต้องมีการบวงสรวงเพือ่ เป็ นสิรมิ งคลและการ เตรียมการบวงสรวง ลักษณะของนกหัสดีลงิ ค์ ซึง่ อาจกล่าวได้วา่ ฝีมอื เชิงช่างมีความพิถพี ถิ นั สูงมาก เพราะนกหัสดีลงิ ค์ทส่ี ร้างขึน้ จะไม่ ใช้ตะปูเป็ นส่วนประกอบแต่จะใช้วธิ กี ารเข้าลิม่ และจะใช้หวายมัดแทน และลักษณะอีกประการหนึ่งคือจะต้องสร้างให้นก เหมือนมีชวี ติ จริง คือสามารถลืมตา อ้าปาก ส่งเสียงร้องและสะบัดงวงได้ดว้ ย หลังจากบวงสรวงนกแล้ว ญาติพน่ี ้องจะต้อง แต่งตัวนุ่งขาวห่มขาว เมื่อพร้อมกันแล้วญาติผใู้ หญ่จะนําขัน ๕ประกอบด้วย เทียน ๕ คู่ ดอกไม้ ๕ คู่ มาขอขมาศพ แล้วนํา ศพสูเ่ มรุนกตัง้ ศพเรียบร้อยแล้วนิมนต์พระเถระทัง้ ๔ นังบนหลั ่ งนก เพื่ออ่านคัมภีรบ์ นนกนัน้ ด้วย กระบวนแห่ศพจะต้องนํา เชือกหนังอย่างดี ผูกมัดกับฐานนก ซึง่ ทําเป็ นตะเข้ใหญ่ ๓ เส้น แล้วจัดคนเข้าตามแถวตามเส้นนัน้ ๓ แถว กระบวนแรกสุด คือต้นแถวจะมีคนหามฆ้องใหญ่ตใี ห้สญ ั ญาณนําหน้า แถวถัดมาจะเป็ นขบวนพิณพาทย์ราชตะโพน เครื่องประโคมแห่ มีคน ถือโคมแห่ มีคนถือธงสามหางและธงช่อ ธงชัย กระบวนหอกกระบวนดาบ กระบวนเครื่องยศของผูต้ าย แล้วจึงเป็ นกระบวน ชักลากด้วยเชือกสามสายดังกล่าว เมื่อได้สญ ั ญาณแล้ว ก็ดงึ นกให้เคลื่อนทีแ่ ห่ไปตามถนนจนถึงวัด กระบวนสุดท้ายคือผูท้ ่ี ใช้ท่อนไม้งดั ตะเข้ นกใหญ่หากติดขัด

ภาพการใช้ท่อนไม้งดั ตะเข้


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๕

ภาพต้นขบวนทีม่ กี ารหามฆ้องใหญ่ให้สญ ั ญาณ

ภาพการใช้เชือกสามสายชักลากตะเข้ฐานรองนกหัสดีลงิ ค์


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๖

ภาพการตัง้ โครงสร้างหลักและพืน้ ทีท่ าํ พิธกี รรม

ภาพการตัง้ โครงสร้างนกหัสดีลงิ ค์ดว้ ยไม้ไผ่


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๗

ภาพการขึน้ โครงปราสาทไม้และโครงไม้ไผ่สาํ หรับนกหัสดีลงิ ค์


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๘

ภาพการขึน้ โครงปราสาทไม้และโครงไม้ไผ่สาํ หรับนกหัสดีลงิ ค์


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๔๙


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๕๐ จากหลักฐานในขณะนี้จงึ สามารถกล่าวได้ว่า พิธศี พแบบสร้างปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์ของ ชนชัน้ สูงล้านนา เกิดจากการได้รบั อิทธิพลสําคัญมา จากพม่าผ่านจากความสัมพันธ์ทางการปกครอง เครือ ญาติและศาสนาความเชื่อ ระยะเวลาใกล้เคียงกันกับรัฐ ฉานในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๒ การสร้างปราสาทศพ ต่างสัตว์หมิ พานต์ขน้ึ ครัง้ แรกในสมัยปลาราชวงศ์มงั ราย ครัง้ งานพระราชพิธปี ลงพระศพของพระนางวิสทุ ธิ เทวี กษัตริยล์ า้ นนาพระองค์สดุ ท้าย ทีป่ กครองล้านนา ในฐานะเป็ นเมืองประเทศราชของพม่า เพราะต่อจากนี้ พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริยพ์ ม่าราชวงศ์ตองอู ก็ทรง โปรดให้ พระเจ้านรธาเมงสอ (เจ้าฟ้ าสาวัตถี) พระราช บุตรของพระองค์เป็ นกษัตริยล์ า้ นนาเชียงใหม่ (พ.ศ. ๒๑๒๑ - ๒๑๕๐) แทนเจ้านายราชวงศ์มงั ราย แต่ดว้ ย ตํานานพืน้ เมืองเชียงใหม่ในช่วงนี้จดบันทึกไว้ จึงทําให้ไม่ปรากฏหลักฐานการปลงพระศพ แบบสร้างปราสาทศพต่างสัตว์หมิ พานต์ของเจ้านาย เมืองเชียงใหม่ในยุคนี้ แต่สนั นิษฐานว่าอาจมีการจัด ภาพขบวนแห่ปราสาทศพ พิธปี ลงพระศพในลักษณะนี้เช่นกัน เนื่องจากผูท้ ม่ี า ต่างบนหลังนกหัสดีลงิ ค์ เป็ น “กษัตริยล์ า้ นนาเชียงใหม่” ในฐานะประเทศราช ของพม่าส่วนใหญ่เป็ นเจ้านายเชือ้ พระวงศ์ชนั ้ สูงของ พม่า และเหมือนกับเมืองเชียงแสนทีช่ ่วงนี้กษัตริยพ์ ม่า ได้สถาปนาให้ผปู้ กครองเป็ น “เจ้าฟ้ าเชียงแสน” จึงรับ อิทธิพลจารีตขนบธรรมเนียมบางอย่างตามแบบชน ชัน้ สูงของพม่า รวมจนถึงการปลงพระศพแบบปราสาท ต่างบนสัตว์หมิ พานต์ทไ่ี ด้รบั การอุปถัมภ์การปลงพระ ศพจากกษัตริยพ์ ม่า ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๗ มีการขับ ไล่พม่าออกจากล้านนาและนําเจ้านายเชือ้ สายเจ้าฟ้ า เชียงแสนครูบามหาเถระ ขุนนาง นักปราชญ์ราช ภาพขบวนแห่ปราสาทศพ บัณฑิต ช่างฝีมอื และไพร่พล มาไว้ในหัวเมืองต่างๆ ต่างบนหลังนกหัสดีลงิ ค์ ทัง้ เมืองนครลําปางเมืองนครลําพูน เมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครน่าน และเมืองนครแพร่ และมีการเสกสมรสระหว่างเจ้านายเชียงแสนกับเจ้านายกลุ่มใหม่ จึงส่งอิทธิพลให้เจ้านาย ทีส่ ถาปนาขึน้ ใหม่ของหัวเมืองเหล่านี้ใน “ยุคเจ้าหลวง” ได้นําเอาธรรมเนียมแบบเจ้านายเชียงแสนมาปฏิบตั ิ ถึงแม้ว่า ขณะนัน้ ล้านนาจะกลายเป็ นประเทศราชของสยามแทนพม่าแล้วก็ตาม แต่เจ้านายบางองค์รวมจนถึงครูบามหาเถระทีไ่ ม่ได้


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๕๑ รับการอุปถัมภ์ปลงศพจากกษัตริยส์ ยาม ก็ยงั คงนิยมมีพธิ กี ารปลงพระศพแบบปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์ตามทีไ่ ด้รบั อิทธิพลมาในยุคพม่าปกครอง (หรือแม้เจ้านายชัน้ สูงบางองค์ของล้านนาได้รบั การอุปถัมภ์ปลงพระศพจากกษัตริยส์ ยาม ก็ ยังนิยมปลงพระศพด้วยปราสาทศพต่างสัตว์หมิ -พานต์) จนกระทังเมื ่ ่อมีการยกเลิกระบบประเทศราชล้านนาตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๔๔๒ เป็ นต้นมา เหล่าเจ้านายล้านนาก็ถูกลดบทบาทลงและค่อยกลืนกลายเป็ นสามัญชนในรุน่ ทายาทชัน้ หลังลงมา จึง ส่งผลต่อรูปแบบธรรมเนียมปฏิบตั ติ ่างๆ ของเจ้านายล้านนารวมถึงพิธกี ารปลงพระศพเจ้านายใส่ปราสาทต่างบนสัตว์หมิ พานต์กค็ ่อยหมดลงตามไปด้วย ดังนัน้ จึงเหลือเพียงมีการสร้างปราสาทศพต่างบนสัตว์หมิ พานต์ หรือ “ปราสาทนกหัสดี ลิงค์” ของครูบามหาเถระ ทีส่ ามารถพบเห็นได้ในกลุ่มวัฒนธรรมล้านนาหรือทีเ่ รียกว่า เขตภาคเหนือตอนบนของประเทศ ไทยในยุคปั จจุบนั


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๕๒


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๕๓


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๕๔ รูปแบบปราสาทนกหัสดีลงิ ค์ในปั จจุบนั


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ๕๕ รูปแบบปราสาทนกหัสดีลงิ ค์ในปั จจุบนั


นกหัสดีลิงคกับพระเมรุลานนา | ค

บรรณานุกรม อ้างอิง กมลรัตน์ อัตตปั ญโญ, ปราสาทศพ, (เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547) กรมศิลปากร. ชาวลาวทางตอนเหนื อของประเทศสยาม ตอนที่ ๑. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัตศิ าสตร์,2543 คมเนตร เชษฐพัฒนวนิช, ขึดข้อห้ามในล้านนา, (เชียงใหม่ : กราฟฟิ คส์ แอนด์ สกรีน, 2539) คําโอกาสสระเกล้าดําหัวเจ้าหลวงนครเชียงใหม่ พับสาวัดศรีสองเมือง อ สารภี จ.เชียงใหม่ ปริวรรตโดยศรีเลา เกษพรหม. อ้างใน กู่เจ้าหลวงนครเชียงใหม่ นริศรานุวดั ตวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระยา. และดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๒๐. พระนคร : องค์การค้าคุรุสภา, 2505 บุษยากร ตีระพฤติกุลชัย และ กาญจนา แก้วเทพ,พิ ธีกรรมงานศพแบบล้านนา,วารสารภาษาและวัฒนธรรม 14 ปี ที่ 29 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2553) พระครูสมุหร์ ตั นวัฒน์ พุทฺธสิ ริ ิ (ปริวรรต), ปัคคทืนเชียงแสน – ละกอน. พ.ศ.2282 – 2428, (ลําปาง : นํ้าโท้งการพิมพ์, 2553) พระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนาค), พงศาวดารโยนก,(พระนคร : รุ่งเรืองรัตน์, 2507) ไพฑูรย์ ดอกบัวแก้ว , อุสสาบารสโคลงดัน้ ล้า นนา, (เชียงใหม่ : กลางเวียงการพิมพ์, 2543) ตํานานเค้าผีลา้ นนา ปฐมมูลมูล,ี 2534, สน สีมาตรัง. คติ ความเชื่อไตรภูมิและจักรวาลวิ ทยาในจิ ตรกรรมฝาผนังไทย. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ๑๐๐ ปี ชาตกาล พระอริยานุวตั ร (อารีย์ เขมจารี). โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา,2558 วรเทวี (ณ ลําพูน) ชลวณิช, คําเวนทานในงานศพของเจ้าบุรีรตั น์ (เจ้าน้ อยพรหมเทพ) และเจ้าสุนา ณ ลําพูน, (กรุงเทพฯ อมรินทร์: 2553) วัดเจดียห์ ลวง, จดหมายเหตุพญานกหัสดีลิงค์, (เชียงใหม่ : นันทพันธ์, 2553สถาบันวิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน วารสารภาษาและวัฒนธรรม 6 ปี ท่ี 29 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2553) ศรีศกั ร วัลลิโภดม. คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550. พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์, 2544. เศรษฐมัตร์ กาญจนกุล, ศิ ลปะอลังการงานศพไทย, ( กรุงเทพฯ : บริษทั วีพริน้ ท์ (1991) 2554) สุจติ ต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ), พระเมรุ ทําไม? มาจากไหน, พิมพ์ครัง้ ที่ 2, (กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์, 2551) สรัสวดี อ๋องสกุล (ปริวรรต). พืน้ เมืองเชียงแสน. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พระเทพญาณเมธี, ผาสาทล้านนา, (ลําพูน : โรงพิมพ์บวรวรรณพริน้ ท์, 2553) อภิธาน สมใจ, งานศพล้านนา : ปราสาทนกหัสดีลิงค์สู่ไม้ศพ, เชียงใหม่ : สํานักพิพมฺวรรรักษ์, 2543 เอกสารทีร่ ะลึกในวันพิธสี กั การะกู่เจ้าหลวงนครเชียงใหม่, เชียงใหม่, พ .ศ.255




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.