T R
O P
O I L
O F
K E A E S A D R A SO ANW R R I E H N G I ES
Y L H P P P A A R G R O F
D IC
PROFILE
\SORASAK HIRANWADEE \AGE:24 Yrs. \+66879784377 \thecrystul@gmail.com \EDUCATION:
computer graphic of fine art and apllied at dhurakij pundit university
\QUALIFICATION PS :
Ai ID AE CI
: : : :
\past work : sqi group
www.sqigroup.com
STEARIN TEALIGHT
STEARIN TEALIGHT 50 stk. & 100 stk. STEARIN TEALIGHT
6 hr.
6 hr.
BIG BIH 37TH
APRIL 2014
AT BITEC BANGNA No.Booth
J26,28 K25,27
Relax your mind Enjoy your life
รายการเครื่องดื่ม D RIN KS เอสเปรสโซ อเมร�กาโน คาปูช�โน มอคคา ลาเต ชานม ชาเข�ยว โกโก นมเย็น
ITALIAN SODA เชอรเบตแคนตาลูป เชอรเบตกีว�่ เชอรเบตสตอเบอรร�่ เข�ยวโซดา แดงโซดา แคนตาลูปโซดา สตอเบอรร�่โซดา กีว�่โซดา แอปเปลโซดา บลูเบอรร�่โซดา บลูเลมอนโซดา
ใสเพิ่ม
ว�ปคร�ม น้ำเช�่อม
ขอขอบคุณ
RE COMME ND E D กาแฟภูเขาไฟ โอวัลตินภูเขาไฟ โกโกภูเขาไฟ ชาแคนตาลูป ชาสตอเบอรร�่ ชาแอปเปล ชากีว�่ ชาบลูเบอรร�่ ชาบลูเลมอน ชาสม ชาเข�ยวมะลิ
Motion Graphic
THESIS PROJECT Thai Deaf TV เป็นสถานีโทรทัศน์สำ�หรับคนพิการทางการได้ยินโดยเฉพาะ ออกแบบไตเติ้ลเข้าช่องของสถานี โดยเน้นการออกแบบให้ดูสนุกสนาน มีสีสัน ไม่น่าเบื่อ แต่ยังคงรักษาภาพลักษณ์และความน่าเชื่อถือขององค์กรไว้ Title 1 : นำ�การสื่อสารในเรื่องของการเป็นชุมชนที่ได้รับข่าวสาร จึงเปรียบให้เป็นชุมชนคนหูหนวกที่ได้รับข่าวสารมาจาก Thai Deaf TV เปรียบเสมือนช่องเป็นศูนย์กลางในการรับรู้ข่าวสารทั้งหลาย จึงทำ�ให้คนหูหนวกได้รับข่าวสารที่หลากหลาย
Title 2 : นำ�ในเรื่องของประเพณีสงกรานต์ ที่แสดงออกมามีเอกลักษณ์เด่นที่บ่งบอกถึงความเป็นไทย และสอดคล้องไปถึงคนหูหนวกที่เล่น สาดน้ำ�เหมือนคนหูดีทั่วไป จึงสื่อออกมาให้มีความเป็นไทยและสื่อให้เห็นว่าสามารถดำ�รงชีวิตได้เหมือนปกติเหมือนกับคนหูดีทั่วๆไป เพื่อ ให้สอดคล้องกับทางชื่อช่อง Thai Deaf TV
Title 3 : นำ�รูปมือที่เป็นภาษามือมาเรียงให้เป็นคำ� เข้ามาเล่นร่วมกับกราฟิกอื่นๆเพิ่มเติม เพื่อเป็นการย้ำ�โลโก้ จึงเอาภาษามือมาเรียงให้ เป็นคำ�ว่า Thai Deaf TV
STILL WORK AT BARRACKS 15th field artillery battalion (since nov,2014-june,2015)
ทุนการศึกษาประเภทผลการเรียนดี บุตร-ธิดา กำลังพล ป.พัน.๑๕
โดย ผบ.ป.พัน.๑๕ เมื่อ ๑๕ พ.ค. ๕๘ ระดับ ป.๑ ถึง ป.๖ ด.ญ.กชกร ชูดวง
จำนวน ๓,๐๐๐ บาท
รางวัลการประกวดการจัดสำนักงาน ตามกิจกรรมโครงการ ๕ ส. หน่วย ป.พัน.๑๕
โดย ผบ.ป.พัน.๑๕ เมื่อ ๑๕ พ.ค. ๕๘
ชนะเลิศอันดับ ๑ ฝ่ายยุทธการ ป.พัน.๑๕
จำนวน ๓,๐๐๐ บาท
นิทรรศการถาวร
โครงการอันเน�องมาจากพระราชดำริ และโครงการพัฒนาเพ�อความมั่นคง เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว วัตถุประสงค 1.เพื่อเผยแพรพระเกียรติคุณ พระอัจฉริยภาพและพระมหากรุณาธิคุณ ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ ใหแผไพศาล 2.เปนแหลงเรียนรูเกี่ยวกับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและโครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง ของกองทัพไทย และ บช.ตชด. ที่ดำเนินการอยูในปจจุบันทั่วประเทศ 3.เปนสถานที่ศึกษาเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนและกำลังพลในกองทัพไทยที่สนใจในพื้นที่ กทม และใกลเคียง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จากฟา สูมหานที
โครงการอั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ ที ่ ท รงมองภาพรวมป ญ หาความเสื ่ อ มโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบและหาทางแก ไขปญหาอยางเชื่อมโยง โดยใชกฎของธรรมชาติเพื่อสรางความสมดุลในเรื่อง ดิน น้ำ และปาใหกับสิ่งแวดลอมเริ่มตนจาก ฝนหลวงพระราชทาน การปลูกปา 3 อยาง ประโยชน 4 อยาง การสรางฝายชะลอความชุมชื้น การปลูกหญาแฝก การสรางเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ โครงการแกมลิง โครงการเกษตรทฤษฎีใหม และการปลูกปาชายเลนเพื่อบำบัดน้ำเสีย
โครงการอันเน�องมาจากพระราชดำริและโครงการ พัฒนาเพ�อความมั่นคงของกองทัพไทย และกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
กองบัญชาการกองทัพไทย ศูนยประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและความมั่นคง เปนศูนยการในการประสานงานระหวาง กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน กับสำนักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื ่ อ ประสานงานโครงการอั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ ตลอดจนส ว นราชการที ่ เ กี ่ ย วข อ ง เพื่อบูรณาการแผนงาน/โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งพลเรือน ตำรวจ และทหาร หนวยบัญชาการทหารพัฒนา ดำเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและโครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง โดยนอมนำ แนวพระราชดำริ “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน หลักในการปฏิบัติ
“๘ ทศวรรษแหงการพัฒนา” ทศวรรษที่ ๑ ทศวรรษที่ ๒ ทศวรรษที่ ๓ ทศวรรษที่ ๔ ทศวรรษที่ ๕ ทศวรรษที่ ๖
พระราชสมภพ นพมหาจักรี ทรงพระปรีชาชาญเพิ่มพูน แรกเริ่มทรงเรียนรูเพื่อประชาชน ทรงสงเสริมการศึกษา และพัฒนางานสวนพระองค กษัตริยผูทรงงานหนักในการสรางรากฐานการพัฒนา ทรงคนควารูปแบบการบริหารจัดการแนวใหมศูนยศึกษาการพัฒนา : พิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต ทศวรรษที่ ๗ ทรงสาธิตแนวทางแกปญหาทรัพยากรธรรมชาติ (ดิน น้ำ ปา) ทศวรรษที่ ๘ ๘๐ พรรษา ปวงประชาเปนสุขศานต หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว การทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงยึดการดำเนินงานในลักษณะทางสายกลางที่ สอดคลองกับสิ่งที่อยูรอบตัวและสามารถปฏิบัติงานไดจริง ทรงมีความละเอียดรอบคอบ และทรง คิดคนแนวทางพัฒนาเพื่อมุงมั่นสูประโยชนตอประชาชนสูงสุด โดยมีแนวทางในการทรงงานดังนี้ ๑. ศึกษาขอมูลอยางเปนระบบ ๒. ระเบิดจากขางใน ๓. แกปญหาที่จุดเล็ก ๔. ทำตามลำดับขั้น ๕. ภูมิสังคม ๖. องครวม ๗. ไมติดตำรา ๘. ประหยัด เรียบงาย ไดประโยชนสูงสุด ๙. ทำใหงาย ๑๐. การมีสวนรวม ๑๑. ประโยชนสวนรวม ๑๒. บริการรวมที่จุดเดียว ๑๓. ทรงใชธรรมชาติชวยทำงาน ๑๔. ใชอธรรมปราบอธรรม ๑๕. ปลูกปาในใจคน ๑๖. ขาดทุนคือกำไร ๑๗. การพึ่งตนเอง ๑๘. พออยูพอกิน ๑๙. เศรษฐกิจพอเพียง ๒๐. ความซื่อสัตย สุจริต จริงใจตอกัน ๒๑. ทำงานอยางมีความสุข ๒๒. ความเพียร : มหาชนก ๒๓. รู รัก สามัคคี
กองทัพบก
ใหความสำคัญสูงสุดตอโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและถือเปนความเรงดวนแรก ที่ตองดำเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคโดยเร็วที่สุดโดยเร็วที่สุดซึ่งโครงการที่ประสบความสำเร็จ แลวกองทัพบกจะสงมอบใหสวนราชการที่เกี่ยวของรับไปดำเนินการตอไปขณะเดียวกันในแตละป ก็จะมีโครงการเกิดขึ้นใหมตามพระราชดำริเพื่อขยายผลใหกวางมากยิ่งขึ้น อันจะกอประโยชน ในการ สรางความกินดีอยูดีใหกับประชาชนอยางยั่งยืน ประกอบดวยกลุมงาน ดังนี้ ๑. กลุมงานสงเสริมศิลปาชีพ เปนการจัดการใหราษฎรรวมกันเปนกลุมเพื่อสงเสริมศิลปาชีพ ที่โดดเดนเนนเอกลักษณของทองถิ่น เชน กลุมทอผาใหม กลุมเครื่องปนดินเผา กลุมจักสาน กลุมแกะสลักไมและกลุมเครื่องเงิน ๒. กลุมงานพัฒนาคุณภาพชีวิต เปนการสงเสริมและพัฒนาอาชีพใหกับราษฎรตามแนวพระราชดำริ เชน การเลี้ยงสัตว การปลูกมอนเลี้ยงไหม การทำไรนาสวนผสมตามทฤษฎีใหม การพัฒนา แหลงน้ำเพื่อเกษตรกร การขยายพันธุสัตวและการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ๓. กลุม งานการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เปนการปฏิบตั เิ พือ่ ปองกันและปราบปราม การตัดไมทำลายปา การฟนฟูสภาพปา การปลูกปา การปลูกพืช อาหารสัตว การอนุรักษสัตวปา การฟนฟูสภาพดินและการปลูกฝงใหราษฎรอยูรวมกับปาดวยการพึ่งอาศัยกัน
กองทัพเรือ
โครงการใน สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ
สนองพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยจัดสรางเรือตรวจการณ ใกลฝง เฉลิ ม พระเกียรติ ๘๐ พรรษาซึ ่ งต อ ยอดมาจากโครงการกอสรางเรือตรวจการณ ใ กลฝง ชุ ด เรือ ต.๙๑-ต.๙๙ โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุ ม ารี สนองพระราชปณิ ธ านใน พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู ห ั ว เพื ่ อ ให ม ี ก าร ดำเนิ น งานอนุ ร ั ก ษ พ ั น ธุ ไ ม บ นเกาะ โครงการเต า ทะเล กองทั พ เรื อ ได ใ ช พ ื ้ น ที ่ เ กาะแสมสาร และเกาะขางเคียงจำนวน ๙ เกาะ เปนพื้นที่ดำเนินโครงการ
กองทัพอากาศ รวมปฏิบัติการทำฝนหลวงพระราชทานเพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนน้ำของราษฎรในการอุปโภค บริโภคและการเกษตร ตามแนวพระราชดำริ โดยใชอากาศยาน ปฏิบัติการทำฝนหลวงจากเมฆอุน และปฏิบัติการทำฝนหลวงจากเมฆเย็น ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนากระสุนสารฝนหลวงทดแทน การจัดซื้อจากตางประเทศไดเปนผลสำเร็จ
กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
พระมหากรุณาธิคุณของพระองคทานที่มีตอพสกนิกรชาวไทยประกอบดวยโครงการตาม พระราชเสาวนีย ไดแก โครงการธนาคารอาหารชุมชน เนนสงเสริมใหคนในชุมชนอนุรักษ น้ำ ดิน ปา พอเมื่อ ปาไมมีความอุดมสมบูรณปาก็จะเปนแหลงผลิตอาหาร ใหกับชุมชนไดอยางยั่งยืน โครงการบานเล็กในปาใหญ เปนการสงเสริมใหคนกับปาสามารถอาศัยอยูรวมกันโดยที่ คนไม เ ข า ไปบุ ก รุ ก ทำลายป า ช ว ยกั น อนุ ร ั ก ษ ป า ให ม ี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ ซ ึ ่ ง เป น การพึ ่ ง พา อาศัยกันระหวางคนกับปา โครงการอนุ ร ั ก ษ น ้ ำ เพื ่ อ แม ข องแผ น ดิ น มี ว ั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่ อ การอนุ ร ั ก ษ ป า ต น น้ ำ ให ม ี ความอุดมสมบูรณ โดยไดมีการสงเสริมใหมีการปลูกปา ๓ อยาง ประโยชน ๔ อยางขึ้น กลุมงานศิลปาชีพ ซึ่งสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ ทานสงเสริมใหราษฎรเหลานี้ เขามาฝกอบรม เพื่อเพิ่มพูนความรูแลทักษะ ในงานหัตถกรรมดานตางๆ เพื่อใหงานมีคุณภาพ มากขึ้น เชน กลุมงานหัวโขน งานไม งานเซรามิก งานผา งานเปาแกว เปนตน
สนองโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ พัฒนาฟนฟูพื้นที่ถิ่นธุรกันดารรวมกับศูนยศึกษาการ พัฒนาหวยทรายฯ และการดำเนินงานของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน พรอมทั้งแจกจายสิ่งของ พระราชทานชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติตางๆ
“.......การจะเปนเสือนั้นไมสำคัญ สำคัญอยูที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความวา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกับตัวเอง”
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชีถ้ งึ แนวทางการดำเนินชีวติ และวิถปี ฏิบตั ทิ พ่ี ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั มีพระราชดำรัสชี้แนะแดพสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกวา ๓๐ ป แนวทางการดำเนิ น ชี ว ิ ต และวิ ถ ี ป ฏิ บ ั ต ิ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เมื ่ อ พิ จ ารณาดู แ ล ว เปนการปฏิบัติตามหลักธรรมหรือคำสอนของศาสดาของศาสนาอื่นๆ ก็มีแนวทางมิไดตางจาก พุทธศาสนาดังนั้นคนไทยทุกคน ทุกชนชั้นไมวาจะนับถือศาสนาใดเชื้อชาติใดก็สามารถนำปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง มาเปนวิถีปฏิบัติได ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ สรุปวาเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไมประมาท โดยคำนึงถึงหลักการ ๓ อยาง คือ ๑ ความพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล ๓. การสร า งภู ม ิ ค ุ ม กั น ที ่ ด ี ใ นตั ว โดยมี ค วามรู ความรอบคอบ และคุ ณ ธรรมเป น เงื ่ อ นไข สำคัญในทางปฏิบัติ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน
ความรู รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง
คุณธรรม ซื่อสัตยสุจริต ขยันอดทน สติปญญา แบงปน นำสู
เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดลอม/วัฒนธรรม สมดุล/พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีใหม : ชีวิตที่พอเพียง ทฤษฎีใหมเปนแนวทางหรือหลักการในการบริหารจัดการทีด่ นิ และน้ำเพือ่ การเกษตรในทีด่ นิ ขนาดเล็ก ใหเกิดประโยชนสงู สุด แบงเปน ทฤษฎีใหมขน้ั ตน ( ขัน้ ที่ ๑ ) และทฤษฎีใหมขน้ั กาวหนา ( ขัน้ ที่ ๒ และ ๓ )
ขั้นที่ ๑ : มีความพอเพียงเลี้ยงตัวเองไดบนพื้นฐานของความประหยัด เปนระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรสามารถเลี้ยงตัวเองได ในระดับที่ประหยัดกอน โดยการจัดสรรพื้นที่อยูอาศัยและที่ทำกินออกเปน ๔ สวนตามความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศ และสภาพแวดลอมในแตละทองถิน่ ไดแก พืน้ ทีเ่ ก็บกักน้ำคิดเปน ๓๐ % พืน้ ทีป่ ลูกขาวคิดเปน ๓๐% พื้นที่ปลูกพืชผักผลไมคิดเปน ๓๐% พื้นที่อยูอาศัยและอื่นๆ คิดเปน ๑๐% ขั้นที่ ๒ รวมพลังในรูปกลุม เพื่อทำการผลิต การตลาด เมื่อเกษตรเขาใจในหลักการและไดลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่ ๑ ในที่ดินของตนจนไดผลแลว เกษตรกรก็จะสามารถพัฒนาตนเองสูขั้นพออยูพอกินและตัดคาใชจายลงเกือบหมดมีอิสระจาก สภาพป จ จั ย ภายนอก และเพื ่ อ ให ม ี ผ ลสมบู ร ณ ย ิ ่ ง ขึ ้ น จึ ง ควรที ่ จ ะต อ งดำเนิ น การตามขั ้ น ที ่ ๒ และขั้นที่ ๓ ตอไปตามลำดับ โดยในขั้นที่ ๒ นั้นไดแกการใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุมหรือ สหกรณ รวมแรงรวมใจกันดำเนินการในดานตางๆ ไดแก การผลิต การตลาด ความเปนอยู สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา ขั้นที่ ๓ สรางเครือขายกลุมอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เมื่อดำเนินการผานพนขั้นที่ ๒ แลว เกษตรกรหรือกลุมเกษตรก็ควรพัฒนากาวหนาไปสูขั้นที่ ๓ ไดแก ติดตอประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหลงเงิน เชน ธนาคารหรือบริษัท หางรานเอกชน มาชวยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ประโยชนของทฤษฎีใหม ๑ ใหประชาชนพออยูพอกิน สมควรแกอัตภาพ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒ ในหนาแลงสามารถเอาน้ำที่เก็บกักไวมาปลูกพืชตางๆ ได ๓ ในปที่ฝนตกตาฤดูกาล ทฤษฎีใหมนี้ก็สามารถสรางรายได ใหร่ำรวยขึ้นได ๔ ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถฟนตัวและชวยตัวเองได ในระดับหนึ่ง บานเศรษฐกิจพอเพียง ศกร. ประกอบดวย ๑. การปลูกพืชไมผลและไมยืนตน เชน มะมวง, มะกอก, มะยม, ไมกิมจู, มะดัน, ตนยอ ฯลฯ พืชผักสวนครัว เชน คะนา, กวางตุง, ผักบุง, โหระพา, มะเขือ, กระเจี๊ยบ,มะนาว, ผักไรดิน ฯลฯ ๒. การเลี้ยงสัตว การเลี้ยงไกไข ไกพื้นเมือง การเลี้ยงปลา การเลี้ยงกบ ๓. กิจกรรมเสริมรายได การเพาะเห็ดนางฟา การเพาะเห็ดฟาง การผลิตปุยชีวภาพการเพาะถั่วงอก การปลูกพืชสมุนไพร
โครงการปารักน้ำ พระราชดำริในสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ โดยการชักชวนประชาชนและขาราชการ สวนตางๆ รวมกันปลูกปาตัวอยางเพื่อเปนการชักชวนใหประชาชนเกิดความรูสึกรักและหวงแหนปาไม โดยทำพิธีครั้งแรกที่ บ.ถ้ำติ้ว ต.สงดาว อ.สองดาว จ.สกลนคร โดยมุงเนนการปลูกปา ๓ อยาง ประโยชน ๔ อยาง ใหพออยูพอกิน พอใช และเปนประโยชนตอระบบนิเวศน โดยเปนแนวคิดของ การผสมผสานการอนุรกั ษดนิ น้ำ และการฟน ฟูทรัพยากรปาไม ควบคูไ ปกับความตองการดานเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อปองกันมิใหเกิดการบุกรุกทำลายปาไม อันเปนแหลงตนน้ำลำธารและสงเสริมใหคนไทย รูจักการนำทรัพยากรปาไมมาใช ใหเกิดประโยชนสูงสุดในการดำเนินชีวิต ปา ๓ อยาง มีดังนี้ ๑ ปาไม ใชสอย อาทิ ไมไผ ไมโตเร็วอยางสะเดา เปนตน ๒ ปาไมกินได ไดแก ไมผล และผักกินใบหรือกินหัวชนิดตางๆ ๓ ปาไมเศรษฐกิจ คือ ไมทป่ี ลูกไวขาย ไมวา จะเปนไมเศรษฐกิจและไมทป่ี ลูกไวขายเนือ้ ไม เชน ไมสกั เปนตน ประโยชน ๔ อยาง มีดังนี้ ๑ ประโยชน ในการเปนไม ใชสอย โดยนำมาสรางบาน ทำเลาเปด เลาไก ดานจอบ เสียม ทำหัตกรรม หรือกระทั้งเปนฟนในการหุงตม ๒ ประโยชน ในการเปนอาหาร ทั้งพืชกินใบ กินผล กินหัวและเปนยาสมุนไพร ๓ ประโยชน ในการเปนแหลงรายไดของครัวเรือน เปนพืชที่สามารถนำมาจำหนายไดซึ่งควรปลูกพืช หลากหลายชนิดเพื่อลดความเสี่ยงเรื่องราคาตกต่ำและไมแนนอน ๔ ประโยชน ในการชวยอนุรกั ษดนิ และน้ำ การปลูกพืชทีห่ ลากหลายอยางเปนระบบชวยสรางความสมดุล ของระบบนิเวศน ในสวน ชวยปกปองผิวดินใหชุมชื้น ดูดซับน้ำฝนและคอยๆ ปลดปลอยความชื้นสู สวนเกษตรกรรม
กองพันทหารปืนใหญท่ ี่ ๑๕
โลหะและอโลหะ เช่น
ขยะรีไซเคิล ขวดแก้วบรรจุเครื่องดื่ม เช่น
กระดาษ เช่น
พลาสติก เช่น
Solar cell
"พลังงานแสงอาทิตย์"
เป็นสิ่งประดิษฐ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำซึ่งสามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ (หรือแสงจากหลอดแสงสว่าง) ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยตรงและไฟฟ้าที่ได้นั้นจะเป็นไฟฟ้ากระแสตรง จัดว่าเป็นแหล่งพลังงานทดแทนชนิดหนึ่ง สะอาดและไม่สร้างมลภาวะใดๆ ขณะใช้งาน
อุปกรณ์
1. แผงโซล่าเซล ขนาด 80 W. 2. อินเวอร์เตอร์แปลงไฟ 5,000 W. 3. แบตเตอร์รี่ขนาด 130 Amp.
หลักการทำงาน
แผงโซล่าเซลขนาด 80 W. ใช้รบั แสงอาทิตย์ได้ 5 ชม.ในการชาร์จ อุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมในการชาร์จ อยู่ที่ 25 องศาเซลเซียส ในช่วงเวลากลางวันสามารถใช้ไฟได้โดยตรง ส่วนในเวลากลางคืนสามารถใช้ไฟ ของแบตเตอร์รี่จากแผงโซล่าเซล โดยใช้กระแสไฟตรงหรือกระแสไฟสลับ แต่สามารถใช้ไฟไม่เกิน 70% ของแบตเตอร์รี่ ขึ้นอยู่กับการใช้งานในแต่ละครั้ง
คุณธรรม นำความรู้ ... สู่ความพอเพียง
กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๑๕
ขับขี่ปลอดภัย ใส่หมวกกันน็อค กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๑๕
“…คำว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ไม่มีในตำรา ไม่เคยมีระบบเศรษฐกิจพอเพียง. มีอย่างอื่นแต่ไม่ใช้คำนี้. ปีที่แล้วพูดว่า เศรษฐกิจพอเพียงเพราะหาคำอืน่ ไม่ได้.และได้พดู อย่างหนึง่ ว่า เศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้ปฏิบตั เิ พียงผูเ้ ดียว คือ ไม่ตอ้ งทัง้ หมด หรือแม้จะเศษหนึ่งส่วนสี่ก็พอ. ในคราวนั้นเมื่อปีที่แล้วนึกว่าเข้าใจคำแต่เมื่อไม่นาน เดือนที่แล้ว มีผู้ที่ควรจะรู้ เพราะว่า ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนา มาช้านานแล้ว มาบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ดีมาก แล้วก็เข้าใจว่าปฏิบัติเพียงเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็พอนัน้ หมายความว่า ถ้าทำได้เศษหนึง่ ส่วนสีข่ องประเทศก็จะพอ.ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง และทำได้เพียงเศษหนึง่ ส่วนสี่ ก็พอนั้น ไม่ได้แปลว่าเศษหนึ่งส่วนสี่ของพื้นที่ แต่เศษหนึ่งส่วนสี่ของการกระทำ…” “…คำว่าเพียงพอมีความหมายอีกอย่างหนึง่ มีความหมายกว้างออกไปอีก. ไม่ได้หมายถึงการมีพอสำหรับใช้เองทำนัน้ แต่มีความหมายว่าพอมีพอกิน. พอมีพอกินนี้ ถ้าใครได้มาอยู่ที่นี้ในศาลนี้ เมื่อ เท่าไหร่ ๒๐ ๒๔ ปี เมื่อปี ๒๕๑๗. ๒๕๑๗ ถึง ๒๕๔๑ นี้ ก็ ๒๔ ปี ใช่ไหม. วันนั้นได้พูดว่า เราควรจะปฏิบัติให้พอมีพอกิน. พอมีพอกินนี้ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเอง. ถ้าแต่ละคนพอมีพอกิน ก็ใช้ได้. ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะไม่พอมีพอกิน. บางคน ก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย. สมัยก่อนนี้พอมีพอกิน มาสมัยนี้ชักจะไม่พอมีพอกิน. จึงต้องมีนโยบายที่จะทำเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อที่จะให้ทุกคนมีพอเพียงได้…” “…คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มคี วามโลภน้อย เมือ่ มีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอืน่ น้อย. ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนีไ้ ม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ไม่สดุ โต่ง ไม่โลภอย่างมากคนเราก็อยูเ่ ป็นสุข. พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็ พอเพียง ทำอะไรก็ได้พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง…” พระราชดำรัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิตาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต วันศุกร์ ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑