World Watch Success Story
3 7
กรมอาเซียน กับพันธกิจเตรียมความพร้อมสู่ AEC ของประเทศไทย
Success Story
9
‘ธนิต โสรัตน์’ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป โลจิสติกส์ที่เข้าสู่อาเซียนมากว่า 10 ปี
Success Story
11
‘พิริยพูล’ ต่อยอดความส�ำเร็จจาก ‘พรีเมียม’ สู่ ‘แมส’
Business Funding
13
ทางเลือกการลงทุนในต่างประเทศ
Big Idea
15
การสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
TMB Report
17
ทิศทางเศรษฐกิจโลกปี 2556
Borderless Insight
23
เจาะลึก TPP-RCEP บทบาทต่อเศรษฐกิจอาเซียน-แปซิฟิก
Reflection
27
โอกาสของธุรกิจไทยในตลาดอาเซียนในยุคค่าแรงแพง
Investment Tools
29
การวางแผนการลงทุนเพื่อรองรับ AEC
Efficiency Expertise
31
Lean Six Sigma เพื่อปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ
All About Trade
33
Supply chain management with AEC 2015
TMB Movement
35
บรรณาธิการบริหาร คุณปิติ ตัณฑเกษม คุณปพนธ์ มังคละธนะกุล
Special Thanks ร.ท.อรรถยุทธ์ ศรีสมุทร คุณศุภเชษฐ์ พิริยพูล ดร.ธนิต โสรัตน์
กองบรรณาธิการ คุณเชาวพัฒน์ เลิศวงศ์เสถียร คุณมยุรฉัตร ซื่อสัตย์สกุลชัย ดร.เบญจรงค์ สุวรรณคีรี คุณวาทินี ณรงค์เกียรติคุณ คุณภัทรานิษฐ์ ไตรพิพัฒน์ คุณหนึ่งธิดา กุลเสวต
สวั ส ดี ค รั บ Borderless ฉบั บ นี้ เป็ น วารสารรู ป แบบใหม่ ที่ ที เ อ็ ม บี มี ก ารปรั บ ปรุ ง เนื้ อ หาและเพิ่ ม คอลั ม น์ ที่หลากหลายมากขึ้น ด้วยความมุ่งหวังที่จะน�ำเสนอมุมมองและเนื้อหาใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถ ตอบสนองการด�ำเนินธุรกิจส�ำหรับผู้ประกอบการธุรกิจขนาดใหญ่และผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ได้อย่างครบถ้วน ในฉบั บ นี้ ที เ อ็ ม บี น� ำ ประเด็ น เกี่ ย วกั บ AEC มาน� ำ เสนออี ก ครั้ ง ซึ่ ง เน้ น ถึ ง แนวทาง ในการเตรี ย มความพร้ อ มส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการที่ มิ ไ ด้ ป ระสงค์ จ ะลงทุ น หรื อ ไปด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ในต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น การสร้างคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ด้วยการน�ำความคิดสร้างสรรค์ และการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ (Creativity & Efficiency) มาปรั บ ใช้ เนื่ อ งจากประเทศไทย มีจุดแข็งในด้านท� ำเลที่ตั้งที่เป็นศูนย์กลางอาเซียน และมีศักยภาพสูงในการเป็นฐานการผลิต การประกอบชิน้ ส่วน และการบริการ รวมถึงเป็นศูนย์กลางในระบบขนส่งและเทคโนโลยีเพือ่ เชือ่ มโยง ภูมภิ าคนีเ้ ข้าด้วยกัน ดังนัน้ การเตรียมพร้อมเพือ่ การตัง้ รับด้วยแนวทางทีห่ ลากหลาย จึงเป็นโอกาส ที่ท้าทายไม่น้อยไปกว่าการออกไปลงทุนในต่างประเทศ ที่อาจมีปัจจัยเสี่ยงในด้านเงินทุน ความรู้ และความเข้าใจในตลาดนั้น ๆ เป็นต้น นอกจากนี้ ยั ง มี ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความตกลงหุ ้ น ส่ ว นยุ ท ธศาสตร์ ท างเศรษฐกิ จ ภาคพื้ น แปซิ ฟ ิ ก หรื อ TPP และ ความตกลงพั น ธมิ ต รทางเศรษฐกิ จ ระดั บ ภู มิ ภ าค หรื อ RCEP ที่จะเข้ามามีบทบาทต่อเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก มาน�ำเสนอ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้รับข้อมูล เพิ่มเติมถึงทิศทางการรวมกลุ่มเศรษฐกิจที่ก�ำลังได้รับความสนใจอยู่ในขณะนี้ด้วย ส� ำ หรั บ คอลั ม น์ Success Story เราได้ รั บ เกี ย รติ จ ากผู ้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ที่ ป ระสบความ ส�ำเร็จ ได้แก่ บริษทั พิรยิ พูล อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด และ บริษทั วี-เซิรฟ์ กรุป๊ จ�ำกัด ทีม่ า แบ่งปั น ประสบการณ์ ใ นการปรั บ เปลี่ ย นแนวทางการท� ำ ธุ ร กิ จ กลยุ ท ธ์ ก ารขายสิ น ค้ า และ การสร้างแบรนด์ นอกจากนี้ ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีเอ็มบี (TMB Analytics) ยังได้น�ำ ข้ อ มู ล ทิ ศ ทางเศรษฐกิ จ โลกในปี 2556 มาน� ำ เสนอ พร้ อ มทั้ ง ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการค้ า และ การลงทุนจากหน่วยงานต่างๆ ของทีเอ็มบี มาแลกเปลี่ยนข้อมูลการลงทุนในรูปแบบของตราสารหนี้ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตลอดจนยุ ท ธวิ ธี ใ นการปรั บ ปรุ ง องค์ ก รให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจากแนวคิ ด เรื่ อ ง Lean Six Sigma เพื่ อ เป็ น การตอบรั บ กั บ พฤติ ก รรมการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ของผู ้ ป ระกอบการผ่ า นช่ อ งทาง อิเล็กทรอนิกส์ ทีเอ็มบี ยังมีการเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับท่านผู้อ่านให้สามารถเข้าถึงข้อมูล ได้สะดวกยิ่งขึ้น ในรูปแบบของ E-Magazine โดยส�ำหรับผู้ใช้ระบบ IOS สามารถดาวน์โหลด ผ่านโปรแกรม Newsstand จาก App Store และ ระบบ Android ผ่าน Google Play ภายใต้ชอื่ TMB Borderless อีกทัง้ ยังสามารถติดตามการอัพเดตข่าวสารและสาระความรูต้ า่ ง ๆ ผ่านทาง แฟนเพจของ Facebook โดยพิมพ์ค�ำว่า TMB Borderless ในช่องค้นหาได้อีกด้วย แล้วพบกันใหม่ในฉบับหน้า พร้อมเรือ่ งราวทีเ่ ข้มข้นและอัดแน่นไปด้วยความรูใ้ นมุมมองทีแ่ ตก ต่างเช่นเคยครับ
อธิบดีกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ กรรมการผู้จัดการ บริษัท พิริยพูล อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ประธาน บริษัท วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป จ�ำกัด
ใช้โทรศัพท์มือถือของท่าน สแกนเพื่อดาวน์โหลดวารสาร สนใจรับวารสาร TMB BORDERLESS กรุณาส่งที่อยู่ของท่านมาที่ bizsolution@tmbbank.com
ออกแบบโดย บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย จ�ำกัด (มหาชน) 914 อาคารจีเอ็ม กรุ๊ป ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 02 241 8000 โทรสาร 02 243 9099
ดาวน์โหลดได้ที่ Apple store ของ iOS และ play store Android
facebook fanpage TMB Borderless
World Watch
กลางเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา กลุ่ม ประเทศอุตสาหกรรมชั้นน�ำ 7 ประเทศ หรือ จี-7 ได้ออกแถลงการณ์เรื่องอัตรา แลกเปลี่ ยน โดยระบุว ่า ความผั นผวนที่สู ง เกินไปและอัตราแลกเปลี่ยนที่เคลื่อนไหวอย่าง ไร้ระเบียบ ส่งผลกระทบเชิงลบต่อเศรษฐกิจและ เสถียรภาพทางการเงิน จึงเป็นเหตุผลที่ต้องให้ ความส�ำคัญกับนโยบายความร่วมมือเพือ่ ป้องกัน การแข่งขันกันลดค่าเงิน ทั้งนี้ กลุ่ม จี-7 ได้แสดงออกถึงความ พยายามที่จะบรรเทาความกลัวในเรื่องสงคราม
ค่าเงินระหว่างประเทศ ด้วยการตกลงที่จะหลีกเลี่ยง การก�ำหนดเป้าหมายอัตราแลกเปลี่ยนที่ต�่ำกว่า หรือ การท�ำให้อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศอ่อนค่าลงด้วย การผ่อนคลายนโยบายการเงินเพือ่ สร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันในตลาดโลก แต่จะท� ำเพื่อส่งเสริม อุปสงค์ภายในประเทศที่ซบเซาเท่านั้น กลุ่มจี-7 ยังเตือนด้วยว่า ความผันผวนที่ม า ก เกิ น ไปในอั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่ า งประเทศ จ ะ ส่ ง ผลกระทบต่ อ เสถี ย รภาพทางการคลั ง และเศรษฐกิ จ พร้ อ มยื น ยั น ว่ า ตลาดควรจะเป็ น ผู้ก�ำหนดอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินต่างประเทศ โดย นโยบายการเงินควรจะมุ่งเน้นไปที่เป้าหมายภายใน ประเทศ แถลงการณ์ดังกล่าวมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก การด� ำ เนิ น นโยบายการเงิ น ในเชิ ง รุ ก ของญี่ ปุ ่ น ทีท่ ำ� ให้เงินเยนอ่อนค่าลงอย่างฉับพลัน ซึง่ จุดชนวนให้ หลายฝ่าย โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและประเทศ สหรัฐฯ เกิดความกังวลว่าจะเกิดสงครามค่าเงินระหว่าง ประเทศทีม่ เี ศรษฐกิจขนาดใหญ่ เพราะเจ้าหน้าทีก่ ำ� หนด นโยบายของประเทศเหล่านี้ ต่างก็หาทางที่จะลดค่าเงิน ของตัวเองลงมา เพือ่ ให้มคี วามสามารถทางการแข่งขัน ในด้านส่งออก อย่างไรก็ดี นักลงทุนบางส่วนตีความแถลงการณ์ ดังกล่าวของกลุม่ จี-7 ว่าเป็นการยอมรับการอ่อนตัวของ ค่าเงินเยน ท�ำให้เกิดความสับสนว่าค�ำแถลงของจี-7 ครั้งนี้แปลว่าอะไรแน่ BORDERLESS
3
World Watch
อินเดีย
คาดเศรษฐกิจ ปีนี้ อาจจะแย่สุดในรอบทศวรรษ
ส� ำ นั ก งานสถิ ติ ก ลางของรั ฐ บาลอิ น เดี ย เปิ ด เผยรายงานคาดการณ์ เ ศรษฐกิ จ สิ้ น สุ ด ปี งบประมาณนีว้ า่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศในปี 2556 จะเติบโตอยู่ที่ 5% ต�ำ่ กว่า 6.2% ของปีทแี่ ล้ว ซึง่ เป็นการขยายตัวช้าที่สุด ในรอบ 10 ปี อย่ า งไรก็ ดี GDP ในปีงบประมาณนี้ ต�ำ่ กว่าทีน่ กั วิเคราะห์เอกชนคาดไว้ที่ 5.5% ก า ร ช ะ ล อ ตั ว ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง อิ น เ ดี ย มีสาเหตุมาจากความล่าช้าในการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานทางเศรษฐกิ จ ข้ อ จ� ำ กั ด ทางกฎหมายและ นโยบายรั ฐ บาลที่ ไ ม่ เ อื้ อ ต่ อ การลงทุ น โดยตรง จากต่างประเทศ และอั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายสู ง ที่ รั ฐ ตั้ ง ไว้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ภาวะเงิ น เฟ้ อ และแก้ ป ั ญ หา การขาดดุ ล บั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด และการขาดดุ ล ทาง การคลั ง ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถทุ ่ ม งบประมาณพิ เ ศษ เพื่ อ กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ซึ่ ง ปั จ จั ย เหล่ า นี้ ล ้ ว นส่ ง ผล กระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจของอินเดีย 4
BORDERLESS
สภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจของอินเดียจะ ส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจโลก เนือ่ งจากก�ำลังซือ้ ของ ชาวอินเดียในการซื้อสินค้าจากประเทศแถบยุโรป จะน้อยลง และนักลงทุนจะขาดความเชื่อมั่นใน การลงทุนในอินเดีย แต่ถงึ อย่างนัน้ กองทุนการเงิน ระหว่างประเทศ (IMF) ก็ยังระบุว่า อัตราการ เจริญเติบโตที่ 5% ของอินเดียยังมีแนวโน้มทีด่ กี ว่า เศรษฐกิจยุโรปปัจจุบันที่อยู่ในภาวะถดถอย แต่ ท ว่ า ตั ว เลขการเติ บ โตที่ 5% ก็ ยั ง ไม่ เพียงพอที่จะพัฒนาประเทศอินเดีย ซึ่งประชากร ราว 30% ของประเทศ มีค่าใช้จ่ายรายวันเฉลี่ยที่ ประมาณ 35 บาท และมี ป ระชากรกว่ า 13 ล้ า นคนที่ เ ข้ า สู ่ วั ย ท� ำ งานทุ ก ปี ดั ง นั้ น รั ฐ บาล อิ น เดี ย จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งรี บ สร้ า งงานเพื่ อ ป้ อ งกั น การเกิ ด ความไม่ ส งบในสั ง คม ‘พาลานิ พ พาน ชิตะบรม’ รัฐมนตรีคลังอินเดียคาดว่าอัตราการ เจริญเติบโตน่าจะเร็วกว่าที่คาดการณ์ไว้ที่ 5% เพราะรั ฐ บาลเริ่ ม ใช้ ม าตรการกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ มาตั้งแต่เดือนกันยายน เช่น อนุมัติให้กลุ่มร้านค้า ปลีกต่างประเทศมาเปิดสาขาในอินเดีย สายการบิน ต่างชาติเข้ามาซือ้ หุน้ ของสายการบินภายในประเทศ และขึน้ ราคาน�ำ้ มัน ทัง้ นี้ นักวิเคราะห์จากเอชเอสบีซี คาดว่า เศรษฐกิจอินเดียจะเริ่มมีการฟื้นตัวในครึ่ง หลังของปีนี้
อินเทลบอกลาธุรกิจ เมนบอร์ดพีซี ‘อิ น เทล’ ผู ้ ผ ลิ ต โปรเซสเซอร์ รายใหญ่ ป ระกาศจะเริ่ ม ถอนตั ว จ า ก ธุ ร กิ จ เ ม น บ อ ร ์ ด ส� ำ ห รั บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์ ตั้ ง โ ต ๊ ะ แ บ บ ดั้ ง เ ดิ ม (เดสก์ท็อป พีซี) โดยจะเริ่มลดสัดส่วน การผลิ ต ลงเรื่ อ ยๆ ในระยะเวลา 3 ปี ข้ า งหน้ า หลั ง บริ ษั ท เริ่ ม ปรั บ เป้ า หมาย หั น ไปให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ตลาดใหม่ อ ย่ า ง สมาร์ทโฟน, แท็บเลตและอัลตราบุ๊ค อินเทลระบุว่าจะเริ่มถอนตัวจากธุรกิจ เมนบอร์ดพีซี หลังจากเปิดชิพเซตโค้ดเนม ‘แฮสเวลล์’ (Haswell) เป็นที่เรียบร้อย ซึ่ง จะถือเป็นเมนบอร์ดยี่ห้ออินเทลรุ่นสุดท้าย โดยจะวางขายพร้อมซีพียูในครึ่งหลังของ ปีนี้ และเมนบอร์ดทุกรุน่ ของอินเทลจะยังได้ รับบริการหลังขายตลอด 3 ปีข้างหน้า ทั้ ง นี้ ค� ำ ว่ า ถอนตั ว จากการผลิ ต เมนบอร์ ด หมายถึ ง เมนบอร์ ด ยี่ ห ้ อ ของ อินเทลเองเท่านัน้ แต่อนิ เทลจะยังขายชิพเซต ส�ำหรับเดสก์ท็อปให้กับผู้ผลิตรายอื่ น อย่ า ง ASUS, ASRock, Gigabyte เพื่อน�ำไปผลิต เมนบอร์ดขายต่อไปตามปกติ นอกจากนี้ อินเทลจะยังพัฒนาบอร์ดต้นแบบ (Form Factor Reference Design) ส� ำ หรั บ โน้ตบุ๊คและแท็บเลตต่อไป
อย่ า งไรก็ ดี การประกาศหยุ ด ท� ำ เ ม น บ อ ร ์ ด เ ด ส ก ์ ท็ อ ป ข อ ง อิ น เ ท ล ไม่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ พนั ก งานในฝ่ า ย นี้ โดยอินเทลจะย้ายพนักงานไปท�ำงานใน ฝ่ายอื่นๆ แทน ความเคลื่ อ นไหวดั ง กล่ า วนั บ เป็ น ก า ร ก ้ า ว เ พื่ อ อ น า ค ต ข อ ง อิ น เ ท ล ซึ่งประสบการณ์และความเชี่ยวชาญใน ธุ ร กิ จ แผงวงจรกว่ า 20 ปี ก� ำ ลั ง จะถู ก จัดสรรใหม่ให้สอดรับอุปกรณ์ประมวลผล รูปแบบใหม่ๆ ทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ จากแรงผลักดัน หลายประการ โดยเฉพาะระบบปฏิบตั กิ าร วินโดว์ 8 และความต้องการอุปกรณ์ที่ รองรับการท�ำงานได้หลากหลายและใช้ได้ ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ขณะที่ ภ าพรวมของอุ ต สาหกรรม ยังพบว่า ตลาดพีซี โดยเฉพาะตลาดใหญ่ อย่ า งเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก มี ย อดขายรวม หดตัวครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็น ผลพวงจากเศรษฐกิ จ โลก และความ นิยมสมาร์ทโฟนและแท็บเลตสูงขึ้น
BORDERLESS
5
World Watch
American Airlines – U.S. Airways ควบรวมสู่ ‘สายการบินใหญ่สุด’ ในโลก หลังจากที่มีข่าวคราวระหว่าง American Airlines และ U.S. Airways ถึ ง การควบรวมกิ จ การมานานนั บ เดื อ น ในที่ สุ ด บอร์ ด บริ ห ารของทั้ ง 2 สายการบิ น ก็ ไ ด้ อ นุ มั ติ ข้อตกลงในการควบรวมกิจการเป็นที่เรียบร้อย ทั้งนี้ สายการบิน ภายใต้การควบรวมกิจการจะยังใช้ชื่อเดิมคือ American Airlines แต่ อ ยู ่ ภ ายใต้ ก ารบริ ห ารของนาย Doug Parker ซี อี โ อของ U.S. Airways ขณะที่นาย Tom Horton ซีอีโอของ American Airlines จะด�ำรงต�ำแหน่งประธานของบริษัทใหม่ จนถึงกลางปี 2557 การควบรวมกิจการครั้งนี้เป็นผลมาจากการที่ American Airlines ต้องขอรับความคุ้มครองการล้มละลายจากรัฐบาลสหรัฐฯ เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2554 โดยปัจจุบนั ยังคงต้องด�ำเนินกิจการ ภายใต้การดูแลของศาล ถึงมาตรการตัดลดค่าใช้จา่ ยผ่านขัน้ ตอนการ เจรจาต่อรองเรื่องค่าจ้างและผลประโยชน์ของพนักงาน เมื่ อ การด� ำ เนิ น การควบรวมกิ จ การส� ำ เร็ จ สายการบิ น American Airlines จะใหญ่โตขึ้นอย่างมาก โดยคาดว่าน่าจะ กลายเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในโลกทันที ด้วยมูลค่ารวมกัน สูงถึง 1.1 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 3.3 แสนล้านบาท และรายได้ ร วมกั น กว่ า 3.87 หมื่ น ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ หรื อ ราว 1.2 ล้านล้านบาท พร้อมด้วยจ�ำนวนฝูงบินมากกว่า 1,530 ล�ำ มีเที่ยวบินให้บริการในระดับภูมิภาค 6,700 เที่ยวบินต่อวัน และ มีพนักงานรวมกันมากถึง 95,000 คน ปัจจุบนั อุตสาหกรรมการบินพาณิชย์ของประเทศสหรัฐ-อเมริกา อยู่ภายใต้อิทธิพลของ 4 บริษัท ได้แก่ American Airlines, United Airlines, Delta Air Lines และ Southwest Airlines
6
BORDERLESS
เมเจอร์สยายปีกสู่อาเซียน รุกกัมพูชาแห่งแรก
เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) จับมือกับ ‘อิออน มอลล์’ ในการสร้างเครือข่ายโรงหนัง และเลนโบว์ลิ่งเข้าสู่กรุง พนมเปญเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา ซึ่งถือเป็นการขยาย ธุรกิจไลฟ์สไตล์เอนเตอร์เทนเมนต์ออกสู่ตลาดอาเซียนเป็นครั้งแรก โดยจะตั้งอยู่ภายในพื้นที่ของ อิออน มอลล์ ณ กรุงพนมเปญ ซึ่งพร้อม เปิดให้บริการประมาณปลายปี 2557 โดยคาดว่า ทันทีที่เปิดบริการ ทีน่ ี่น่าจะกลายเป็นศูนย์การค้าที่ทันสมัยและใหญ่ที่สุดในประเทศกัมพูชา ทั้งนี้ นายวิชา พูลวรลักษณ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า เมเจอร์ได้ร่วมเป็น พันธมิตรกับ อิออน มอลล์ ศูนย์การค้าชื่อดังจากประเทศญี่ปุ่น เปิดให้ บริการโรงภาพยนตร์สุดหรูแห่งแรกในกัมพูชา ภายใต้แบรนด์ เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ และโบว์ลิ่ง ภายใต้แบรนด์ บลูโอ ริธึม แอนด์ โบว์ ล ซึ่ ง กั ม พู ช านั บ เป็ น ประเทศแรกที่ เ มเจอร์ ซี นี เ พล็ ก ซ์ เข้ า ไป ลงทุ น เปิ ด โรงภาพยนตร์ ใ นตลาดต่ า งประเทศอย่ า งครบวงจร โดยก่อนหน้านี้ เมเจอร์ได้รว่ มทุนท�ำธุรกิจโบว์ลงิ่ ในประเทศอินเดีย ตัง้ แต่ ปี 2551 โดยการขยายธุรกิจสู่ต่างประเทศครั้งแรกนี้ เมเจอร์ฯ จะเข้าไป ด�ำเนินธุรกิจให้บริการโรงภาพยนตร์ 7 โรง ซึ่งจะเป็นโรงภาพยนตร์ รูปแบบมัลติเพล็กซ์ทที่ นั สมัยทีส่ ดุ ด้วยการฉายภาพยนตร์ในระบบดิจติ อล 2 มิติ และ 3 มิติ พร้อมด้วยเลนโบว์ลิ่ง 14 เลน รวมพื้นที่ประมาณ 6,000 ตารางเมตร ปัจจุบัน กรุงพนมเปญมีประชากรจ�ำนวนมากที่เป็นวัยรุ่น และ คนรุน่ ใหม่ ทีม่ ไี ลฟ์สไตล์ชนื่ ชอบเทคโนโลยีและความทันสมัย ด้วยเหตุนี้ เอง ผู้บริหารเมเจอร์ฯ จึงเชื่อมั่นว่า ไลฟ์สไตล์การเข้าชมภาพยนตร์ใน โรงภาพยนตร์สดุ หรูและทันสมัยอย่างโรงหนังเมเจอร์นา่ จะได้รบั การตอบรับ เป็นอย่างดีจากวัยรุ่นกัมพูชา เช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นในเมืองไทย
Success Story
ระยะเวลาอีกเพียงไม่ถึง 2 ปี ที่ประเทศไทยและ เพื่ อ นบ้ า นอี ก 9 ประเทศในภู มิ ภ าคอาเซี ย น จะรื้ออุปสรรคที่กั้นพรมแดนความเชื่อมโยง ทั้ง ทางโครงสร้าง ทางกฎหมาย และทางสังคมและ วัฒนธรรม เพื่อรวมกันเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN) ที่ มี ค วามสมบู ร ณ์ ยิ่ ง กว่ า ทุ ก ครั้ ง โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจ หรือทีค่ นุ้ เคยกันในนาม ‘ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน’ (ASEAN Economic Community: AEC) โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้าง ขีดความสามารถทางเศรษฐกิจและความเท่าเทียม ในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ชื่อของ ‘กรมอาเซียน’ กระทรวงการต่างประเทศ ในฐานะหน่วยงานที่เป็นตัวแทนของประเทศไทยบนเวที ทีว่ า่ ด้วยกรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียน และมีหน้าที่ รับผิดชอบในการเตรียมความพร้อมในทุกภาคส่วนของ ประเทศไทย จึงถูกเอ่ยถึงอยู่บ่อยครั้ง และเพิ่มความถี่ขึ้น เรือ่ ยๆ ผกผันกับช่วงเวลาเตรียมการทีเ่ หลือน้อยลงเรือ่ ยๆ “ยิ่ ง ใกล้ ป ี 2558 ภาระหน้ า ที่ ข องกรมอาเซี ย น ก็ยิ่งมากขึ้น เพราะกรอบความร่วมมืออาเซียนครอบคลุม 3 มิติ คือ มิติด้านการเมืองและความมั่นคง มิติด้าน เศรษฐกิจ และมิติด้านสังคมและวัฒนธรรม แต่ละมิติ ก็กว้างใหญ่ จึงมีกรอบความร่วมมือแตกแขนงออกไปอีก มาก กลายเป็นภาระหน้าทีเ่ พิม่ เติมของกรมอาเซียน จากเดิม ทีส่ าขาความร่วมมือจะเน้นเรือ่ งการต่างประเทศอย่างเดียว” ร.ท.อรรถยุทธ์ ศรีสมุทร อธิบดีกรมอาเซียน คนปัจจุบัน อธิบาย ความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียนใน 3 มิติ กรมอาเซียนยังมีภารกิจส�ำคัญยิ่งที่เกี่ยวกับมิติภายใน ประเทศ ได้แก่ การสร้างความตื่นตัวและความพร้อม เกีย่ วกับอาเซียน ให้กบั ทุกภาคส่วนของประเทศไทย รวมถึง ภาคประชาชน “สิ่งหนึ่งที่กรมอาเซียนเห็นก็คือ คนไทยยังไม่ตื่นตัว เรือ่ ง AEC เท่าไรนัก หลายคนยังมีความรูเ้ กีย่ วกับอาเซียน น้อยมาก และมีความรู้ที่ผิด เราจึงได้พยายามให้ข้อมูล ที่ถูกต้องมากขึ้น โดยเราจัดอบรมครู และส่งผู้บรรยาย ไปตามสถานที่ราชการ และหน่วยงานส่วนท้องถิ่น เพื่อ เตรียมความพร้อมให้มากที่สุด” อธิบดีกรมอาเซียนกล่าว ขณะเดียวกัน รัฐบาลเองก็เล็งเห็นถึงโอกาสและ ความท้าทายที่จะเข้ามากระทบกับประเทศไทย จึงถื อ โอกาสนี้ เ ป็ น วาระในการปรั บ ปรุ ง และเสริ ม สร้ า ง
กับพันธกิจ เตรียมความพร้อม สู่ AEC ของประเทศไทย BORDERLESS
7
ประสิ ท ธิ ภ าพของหน่ ว ยราชการและกระทรวงต่ า งๆ เพื่ อ พั ฒ นาขี ด ความสามารถทางการแข่งขันของประเทศไทยในเวทีอาเซียน โดยอาศัย ‘แผนแม่บทว่าด้วยความเชือ่ มโยงระหว่างอาเซียน’ (Master Plan on ASEAN Connectivity) เป็นแนวทางในการพัฒนา ทัง้ นี้ แผนแม่บทฯ ดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เสริมสร้างความเชือ่ มโยง ใน 3 มิติ ได้แก่ ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน (Hardware) ด้านกฎหมาย (Software) และด้านความเชือ่ มโยงระหว่างประชาชน (People-ware) ซึง่ นัน่ หมายความว่า อาเซียนจะเชื่อมโยงกันได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ มีโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง ไอซีที และพลังงาน ที่ดี และมีกระบวนการ ทางเอกสารส�ำหรับการเคลือ่ นย้ายสินค้าและผูค้ นข้ามพรมแดนทีล่ ดขัน้ ตอนลง รวมถึงประชาชนใน 10 ประเทศ มีความตื่นตัวที่จะเรียนรู้ รู้จัก และเข้าใจ ประเทศเพื่อนบ้าน จากแผนแม่บทฯ และจากความพยายามทีจ่ ะสร้างความเข้าใจระหว่างกัน ในสถานการณ์ปัจจุบันของมิติความเชื่อมโยงทั้ง 3 ด้าน ได้น�ำไปสู่โครงการ ‘ASEAN Workshop On Cross-Border’ ในปีทผี่ า่ นมา ซึง่ กรมอาเซียนจัดขึน้ โดยเชิญผู้แทนจาก 10 ประเทศสมาชิก ร่วมกับผู้แทนจากประเทศจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี มาร่วมแลกเปลีย่ นพูดคุยถึงอุปสรรคในการเชือ่ มโยงกันของแต่ละ ประเทศ “สิง่ ทีก่ รมอาเซียนเน้นในการท�ำเวิรก์ ช็อปคือ ให้หลายๆ ฝ่ายมาแลกเปลีย่ น พูดคุยกันว่าอุปสรรคอยู่ที่ไหนบ้าง อย่างของประเทศเพื่อนบ้าน อุปสรรค ส่วนใหญ่คือถนนยังไม่ลาดยาง และมีขนาดเล็ก ด่านหลายแห่งก็ไม่ได้เปิด ถาวร เจ้าหน้าที่ไม่มีความพร้อมเรื่องกฎหมายระหว่างต่างประเทศ ฯลฯ เราก็ได้ข้อมูลมาพอสมควร” และเพื่อเป็นการต่อยอดจากปีที่แล้ว อธิบดีกรมอาเซียนเปิดเผยว่า ปีนี้จะมีการจัด Workshop ขึ้นอีกครั้ง ในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยและระดมความคิดในการแก้ไข อุปสรรคต่างๆ ทีม่ กี ารพูดถึงในปี 2555 ทีผ่ า่ นมา มาพิจารณาดูวา่ มีจดุ ไหน ที่พอจะแก้ไขได้บ้าง และควรแก้ไขอย่างไร เช่น จุดใดที่ต้องสร้างถนน เพิม่ เติม, กรมศุลกากรควรมี One Stop Service ไหม หรือสามารถยืน่ เอกสาร ในการส่งสินค้าผ่านแดนทางอินเตอร์เน็ตได้หรือไม่ ฯลฯ ซึ่งการประชุมปีนี้ จะขยายจ�ำนวนเป็น 16 ประเทศ โดยได้เชิญผู้เชี่ยวชาญทางด้านการอ�ำนวย ความสะดวกในเรื่องการเคลื่อนย้ายตามชายแดนจากประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย มาร่วมแลกเปลี่ยนด้วย 8 BORDERLESS
ขณะที่หน่วยงานภาครัฐก�ำลังเร่งเดินหน้าขับเคลื่อนประสิทธิภาพของ องค์กรอย่างเต็มตัว เพื่อมุ่งเข้าสู่การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ท่าน อธิบดีกรมอาเซียนมองว่า ภาคเอกชนเองก็มกี ารปรับตัวขนานใหญ่ดว้ ยเช่นกัน พร้อมกับชื่นชมผู้ประกอบการไทยที่มีการปรับตัวที่เร็วกว่าภาครัฐเสียอีก “สิง่ หนึง่ ทีผ่ มอยากฝากไว้คอื อยากเตรียมความพร้อมในมิตเิ รือ่ งต่างประเทศ มากขึน้ เพราะพอเปิดเสรีอาเซียน บริษทั ต่างประเทศก็จะเข้ามาในเมืองไทย คนไทยเองก็ตอ้ งหาลูท่ างทางธุรกิจในต่างประเทศด้วย จริงๆ แล้ว โอกาสของ ธุรกิจไทยมีอยูม่ าก เพราะเพือ่ นบ้านเขาชืน่ ชมสินค้าไทย อีกหน่อยถ้าพวกเขา มีก�ำลังซื้อเยอะขึ้น ก็น่าจะซื้อสินค้าไทยมากขึ้น ดังนั้น ภาคเอกชนควร เปลี่ยนทัศนคติ โดยอย่ามุ่งแต่ในประเทศ เราต้องเรียนรู้ที่จะหาโอกาสใน ต่างประเทศด้วย” ทัง้ นี้ ร.ท.อรรถยุทธ์ยงั แนะน�ำเพิม่ เติมว่า ภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจ โลกเฉกเช่นในปัจจุบนั ซึง่ ‘ตลาด’ ทีเ่ คยมีความส�ำคัญของโลกอย่าง สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และยุโรป มีก�ำลังซื้อที่ถดถอยลง ขณะที่ตลาดจีนและตลาดอาเซียน เป็นตลาดที่มีศักยภาพอย่างมาก ดังนั้น ผู้ประกอบการไทยควรใช้ประโยชน์ จากโอกาสตรงนีห้ นั มาท�ำการค้าขายกับตลาดอาเซียนให้มากขึน้ โดยเฉพาะ เมื่อแผนแม่บทในการเชื่อมโยงของอาเซียนบรรลุผล ก็จะยิ่งท�ำให้อาเซียน กลายเป็นตลาดทีม่ ศี กั ยภาพและเป็นประโยชน์อย่างมากส�ำหรับเศรษฐกิจไทย “ปัจจุบนั ประเทศไทยส่งออกสินค้าไปอาเซียนถึง 25% ถือเป็นอันดับ 1 รองลงมาคือ ตลาดจีน 15% ส่วนตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุ่น และยุโรป เหลือเพียง แห่งละ 10% จากเดิมทีม่ สี ดั ส่วนสูงกว่า 20% หมายความว่าตลาดกลุม่ หลัง ถดถอย และประเทศไทยยังได้ดุลจากตลาดอาเซียนมาโดยตลอด 12 ปี ทีผ่ า่ นมา บวกกับมีเรื่องของ ‘การเชื่อมโยง’ มาช่วยอ�ำนวยความสะดวก ในเรื่องการขนส่ง ผมจึงมั่นใจว่า ตลาดอาเซียนจะเป็นตลาดที่ใหญ่ด้วย และดีด้วยส�ำหรับธุรกิจไทย” เพราะเล็ ง เห็ น ถึ ง ผลประโยชน์ ม หาศาลที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ เศรษฐกิ จ และประชาชนไทย หากทุกภาคส่วนมีการเตรียมตัวมาพร้อมส�ำหรับการ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ด้วยเหตุนี้ กรมอาเซียนจึงก�ำหนดพันธกิจ เร่งด่วนที่ต้องท�ำเพิ่มเติมในปีนี้จนถึงปี 2558 ได้แก่ การสร้างองค์ความรู้ ที่ถูกต้องให้กับประชาชนไทยและหน่วยงานของไทย เพื่อท�ำให้ประเทศไทย มีความสามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศได้ “ผมคิ ด ว่ า ในบริ บ ทของอาเซี ย น 10 ประเทศ เราก็ แ ข่ ง ขั น ได้ ดี พอควร แต่ขณะเดียวกันเราต้องแข่งขันในเวทีโลกด้วย ดังนัน้ ในหลายๆ เรือ่ ง เราจะต้องมีมาตรฐานสากลด้วย ไม่ใช่จะยึดเพียงมาตรฐานอาเซียนอย่างเดียว ซึง่ นีจ่ ะท�ำให้เราแข่งขันได้ทงั้ ตลาดอาเซียนและตลาดโลก” อธิบดีกรมอาเซียน คนปัจจุบัน กล่าวทิ้งท้ายเป็นข้อคิดในการเตรียมตัวเข้าสู่ AEC ส�ำหรับทุก ภาคส่วนของประเทศไทย การเปิดเสรีตลาดอาเซียนน�ำมาซึง่ โอกาสและความท้าทาย ประเทศไทย จะได้เก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากโอกาสครั้งนี้ หรือจะต้องตกอยู่ท่ามกลาง วงล้อมแห่งความท้าทาย ก็ขึ้นอยู่กับว่า ‘เราพร้อมแค่ไหน?’ เพราะ ‘โอกาส’ นั้นเป็นของคนที่พร้อมเสมอ!
Success Story
เรื่อง : กฤตสอร
วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป...
โลจิสติกส์ที่เข้าสู่อาเซียนมากว่า 10 ปี
หากกล่ า วถึ ง ธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส์ ข องไทย คนส่ ว นใหญ่ คงต้ อ งนึ ก ถึ ง ชื่ อ ‘วี - เซิ ร ์ ฟ กรุ ๊ ป ’ ผู ้ ป ระกอบการโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ มี จุ ด เด่ น ในเรื่ อ งมาตรฐานการบริ ก ารที่ ร วดเร็ ว ฉั บ ไว และ ให้ บ ริ ก ารแบบครบวงจร จากประสบการณ์ที่มีมากว่า 30 ปี ท�ำให้ วันนี้ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป ก้าวขึ้นมาอยู่ในอันดับต้นๆ ของบริการด้าน โลจิสติกส์ที่มีความพร้อมที่จะก้าวเข้าสู่การเปิดเสรีการค้าภายใต้ กรอบประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (เออี ซี ) มากที่ สุ ด ในขณะนี้
จุดเริ่มของ ‘วี-เซิร์ฟ’
‘คุณธนิต โสรัตน์’ ประธานบริษัทวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป บอกเล่าถึงความเป็นมาของ ธุรกิจโลจิสติกส์ที่อยู่ในอันดับ TOP-5 ของเมืองไทยแห่งนี้ว่า วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป ก่อตั้ง มาตั้งแต่ปี 2524 ด้วยทุนจดทะเบียนไม่ถึง 1 ล้านบาท แรกเริ่มนั้นด�ำเนินธุรกิจ ด้านชิปปิ้งเพียงอย่างเดียว ต่อมาจึงแตกไลน์ไปในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการขนส่ง สินค้า กระทัง่ เป็นธุรกิจโลจิสติกส์แบบครบวงจร ตลอดเวลาทีใ่ ห้บริการมากว่า 32 ปี นั้น วี-เซิร์ฟได้สั่งสมประสบการณ์เกี่ยวกับธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการขนส่งสินค้า ในทุกรูปแบบ ท�ำให้เข้าใจความต้องการของลูกค้าซึง่ น�ำไปสูก่ ารพัฒนาการบริการ ที่เป็นหนึ่ง ทัง้ นี้ จุดเปลีย่ นส�ำคัญทีท่ ำ� ให้บริษทั ในเครือวี-เซิรฟ์ กรุป๊ ประสบความส�ำเร็จ ในการด�ำเนินธุรกิจและเติบโตจากธุรกิจเอสเอ็มอีกลายเป็นยักษ์ใหญ่ในวงการ ก็เพราะมีการน�ำ Annual Business Plan และแผนยุทธศาสตร์มาเป็นกรอบ ในการก�ำหนดทิศทางการบริหารจัดการมาตั้งแต่ปี 2542 ส่งผลให้ธุรกิจเติบโต อย่างรวดเร็วและมีการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง “ถ้าพูดถึงคนที่ประกาศตัวเป็นโลจิสติกส์เจ้าแรกของประเทศไทย เราก็เป็น เจ้าแรกๆ เราเติบโตมาจากบริษัทชิปปิ้ง เป็นบริษัทเล็กๆ มีพนักงานแค่ 7 คน เราสร้างบริษัทมาแบบปากกัดตีนถีบ ถือกระเป๋าเป็นเซลส์แมน ไปเคาะประตูถึง หน้าบ้าน เอาของออกเอง รูปแบบธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยส่วนใหญ่จะมาจาก 3 แบบ ด้วยกัน คือ ชิปปิ้ง ขนส่ง และเทรดโบรกเกอร์ ซึ่งล้วนเป็นธุรกิจที่เชื่อมโยงกับ ระบบการขนส่งสินค้า เราก็ท�ำการพัฒนาเรื่อยมา “แต่จุดเปลี่ยนของเราจริงๆ เกิดขึ้นในปี 2542 ซึ่งผมมองเห็นแนวโน้มทาง ธุรกิจว่าในอนาคตอาเซียนจะเข้ามามีบทบาทอย่างมาก เราต้องมีการเชื่อมโยง การค้ากับประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคนี้ เพราะฉะนัน้ ถ้าคุณจะอยูใ่ นธุรกิจนีค้ ณ ุ ต้องเป็น อินเตอร์เนชั่นแนล และต้องให้บริการลูกค้าแบบครบวงจร น�ำระบบคอมพิวเตอร์ ออนไลน์มาใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ ท�ำให้ธรุ กิจของเราเติบโตอย่างรวดเร็ว” คุณธนิต เท้าความถึงที่มาของบริษัทวี-เซิร์ฟ ก่อนที่จะก้าวขึ้นมาเป็นธุรกิจโลจิสติกส์อันดับ ต้นๆ ของเมืองไทย
วิสัยทัศน์ของการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง
ทั้งนี้ ปัจจุบัน วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป ได้แตกไลน์ธุรกิจออกไปในกิจการที่ต่อเนื่องกับ โลจิสติกส์อกี หลากหลายสาขา มีบริษทั ในเครือถึง 13 บริษทั 34 สาขา ภายใต้ BORDERLESS
9
บริษัท วี-เซิร์ฟ โฮลดิ้ง จ�ำกัด เป็นแกนหลัก โดยมีทุนจดทะเบียนรวมกัน ประมาณ 64 ล้านบาท และด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารที่ให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีมาตั้งแต่ครั้งที่คอมพิวเตอร์เพิ่งเข้ามาใน ประเทศไทย จากการน�ำเครือข่ายออนไลน์มาใช้ในธุรกิจโลจิสติกส์และ การพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง กระทั่งปัจจุบันวี-เซิร์ฟได้พัฒนาไปสู่ระบบ e-Logistics ซึ่งท�ำให้วี-เซิร์ฟสามารถให้บริการแก่ลูกค้าจากทั่วโลกได้อย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ส�ำหรับปัจจัยหลักที่ท�ำให้วี-เซิร์ฟเติบโตอย่างแข็งแกร่งและก้าวขึ้นมา ยืนอยู่ในอันดับต้นๆ ของธุรกิจโลจิสติกส์ในประเทศนั้น คุณธนิตบอกว่า ประกอบการด�ำเนินการใน 4 ด้านพร้อมๆ กัน คือ 1) มีการเชื่อมโยง การบริการกับประเทศต่างๆ ทัง้ ในภูมภิ าคแถบนีแ้ ละในทวีปยุโรป 2) มีการน�ำ ระบบดิจติ อลและอินเตอร์เน็ตออนไลน์เข้ามาใช้ในการด�ำเนินการในภาคส่วน ต่างๆ ของธุรกิจ 3) มีศนู ย์ฝกึ อบรมเพือ่ พัฒนาศักยภาพของพนักงาน รองรับ การให้บริการเต็มรูปแบบ และ 4) มีการให้บริการแบบครบวงจร หรือ one stop service ทั้งในส่วนที่เป็นโลจิสติกส์และธุรกิจเกี่ยวเนื่อง “จุดเด่นของเราคือสามารถให้บริการลูกค้าแบบครบวงจร เพราะ นอกจากธุรกิจด้านโลจิสติกส์แล้ว วี-เซิร์ฟยังแตกไลน์ธุรกิจออกไปในสาขา ที่เกี่ยวเนื่องกันด้วย ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจอิมพอร์ต-เอ็กซ์พอร์ต บริการจัดวาง สินค้าลงเชลฟ์ ซึง่ เราท�ำให้หลายบริษทั เช่น บิก๊ ซี พีเอ็นจี เราเป็นผูอ้ อกแบบ แวร์เฮาส์ให้กบั หลายบริษทั นอกจากนีเ้ รายังขายวัสดุอปุ กรณ์ทจี่ ำ� เป็นต้องใช้ ในการขนส่งสินค้า เช่น กล่องกระดาษ ซึง่ ตรงนีส้ ามารถช่วยลดภาระของลูกค้าได้ มาก เพราะลูกค้าไม่ตอ้ งซือ้ วัสดุอปุ กรณ์มาเก็บสต็อกไว้ จะใช้จำ� นวนเท่าไหร่ ก็ซอื้ จากเราได้ อาทิเช่น กล่องกระดาษ หรืออุปกรณ์เครือ่ งเขียนในส�ำนักงาน ต่างๆ นอกจากนั้นเรายังมีบริษัทกฎหมายที่ว่าความในคดีศุลกากรและคดี ที่เกี่ยวกับโลจิสติกส์ให้แก่ลูกค้า บริษัทที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์ และบริษัท Training ที่จัดอบรมบุคลากร และบริษัทอีเวนต์ที่จัดการเกี่ยวกับโลจิสติกส์ “ปัจจุบันเรามีบริษัทในเครืออยู่ 13 บริษัท และมีสาขาอีก 20-30 แห่ง และยังได้ตั้งบริษัทร่วมทุน โดยมีสาขาในญี่ปุ่น ที่โอซากา รวมถึงบริษัท ในเวียดนาม กัมพูชา พม่า มาเลเซีย นอกจากนั้นการน�ำระบบอินเตอร์เน็ต เข้ามาใช้ทำ� ให้เราสามารถให้บริการลูกค้าได้ 24 ชัว่ โมง สามารถประชุมทางไลน์ กับลูกค้าแบบเรียลไทม์” คุณธนิต ผู้กุมบังเหียนวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป พูดถึงการให้ บริการที่ครบวงจรซึ่งเป็นจุดแข็งที่ท�ำให้ลูกค้าเลือกใช้บริการจากวี-เซิร์ฟ คุ ณ ธนิ ต บอกว่ า จากการแตกไลน์ ไ ปยั ง ธุ ร กิ จ ที่ ห ลากหลายท� ำ ให้ วี-เซิร์ฟเติบโตอย่างรวดเร็ว และล่าสุดก�ำลังเตรียมที่จะเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์เพื่อรองรับการเติบโตหลังจากที่ประเทศไทยก้าวเข้าสู่เออีซี โดยวี-เซิร์ฟยุคใหม่นั้นจะเป็นการเตรียมพร้อมเข้าสู่ยุค Next Generation โดยจะมีการกระจายอ�ำนาจให้แก่กรรมการใน 6 คลัสเตอร์ ได้แก่ ด้านบริหาร การตลาด การขนส่ง คลังสินค้า ด้านต่างประเทศ และทีป่ รึกษาและกฎหมาย อีกทั้งจะกระจายอ�ำนาจแบบ one stop service ให้แก่ส่วนงานต่างๆ และ สาขาต่างๆ อีก 34 สาขา เพื่อให้บริการลูกค้าอย่างครบวงจร ทั้งยังมีการ กระจายความเสี่ยงด้วยการขยายไลน์ไปสู่การลงทุนในธุรกิจ Trading Firm ซึ่งเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการจัดจ�ำหน่ายสินค้าประเภท Logistics Equipment และเพิ่มการให้บริการด้าน Domestic Logistics Service พร้อมทั้ง ขยายงานด้าน Oversea Logistics หรือการขนส่งสินค้าทางทะเล เพื่อให้ วี-เซิร์ฟ เป็นธุรกิจที่ให้บริการด้านโลจิสติกส์แบบครบวงจรอย่างแท้จริง อย่างไรก็ดี ไม่ว่าวี-เซิร์ฟจะมีการแตกไลน์ขยายธุรกิจออกไปมากมาย ขนาดไหน แต่สิ่งหนึ่งที่คุณธนิตยึดมั่นมาตลอดและถือว่าเป็นหัวใจในการท�ำ ธุรกิจโลจิสติกส์ก็คือความซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา 10 BORDERLESS
“ธุรกิจโลจิสติกส์เนี่ยเป็นเรื่องของการขายความเชื่อมั่น เพราะลูกค้า ที่เลือกเราเป็นผู้ขนส่งสินค้าให้เนี่ยเขาฝากชีวิตไว้กับเรา ฝากของไว้กับเรา ฝากเครดิตในเรือ่ งการส่งของตรงเวลาไว้กบั เรา เพราะฉะนัน้ ไม่ได้แปลว่าเรา คิดค่าบริการถูกแล้วเขาจะเลือกเรานะ แต่เขาเลือกเราเพราะเขาเชือ่ มัน่ ว่าเรา จะสามารถส่งสินค้าได้ตรงเวลาและดูแลรักษาสินค้าของเขาอย่างดี บางครั้ง สินค้าที่เขาส่งออกเนี่ย ตู้คอนเทนเนอร์เดียวมูลค่าตั้ง 10 ล้านบาท บางที เป็นเครื่องส�ำอางที่น�ำเข้ามา เขาก็ต้องมั่นใจว่าเราดูแลสินค้าของเขาดีจริง รถที่ใช้ขนส่งต้องควบคุมอุณหภูมิ สินค้าโดนแดดไม่ได้ การตรงต่อเวลาก็ ส�ำคัญ เพราะหากสินค้าทีเ่ ราจัดส่งไปถึงช้ากว่าก�ำหนดเจ้าของเขาเสียหายนะ แค่เราพลาดครั้งเดียวเนี่ยเขาไม่กลับมาใช้บริการเราอีกเลย เพราะฉะนั้น สิง่ ทีผ่ มยึดมัน่ มาตลอด 30 กว่าปีทที่ ำ� ธุรกิจนีก้ ค็ อื เรือ่ งของความซือ่ สัตย์และ ตรงต่อเวลาซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญที่ท�ำให้เราเติบโตก้าวหน้ามาจนถึงทุกวันนี้”
แนวโน้มโลจิสติกส์หลังเปิด AEC
อย่างไรก็ดี ปฏิเสธไม่ได้ว่าธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยก�ำลังจะเจอกับ ความเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังจากที่มีการเปิด เออีซีซึ่งจะท�ำให้โลจิสติกส์ของไทยต้องเผชิญกับการแข่งขันครั้งใหญ่ ทั้งนี้ จากการประเมินทิศทางเศรษฐกิจ คุณธนิตซึ่งคร�่ำหวอดอยู่ในแวดวงโลจิ สติกส์มากว่า 30 ปี เชื่อมั่นว่า หลังจากที่ไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (เออีซ)ี ธุรกิจด้านโลจิสติกส์จะโตขึน้ อีกหลายเท่าตัว แต่ขณะเดียวกัน ผูป้ ระกอบการโลจิสติกส์ของไทยก็อาจจะประสบกับปัญหาการทุม่ ตลาดของ โลจิสติกส์ตา่ งชาติ ซึง่ ตรงนีร้ ฐั บาลไทยจ�ำเป็นต้องปรับกฎเกณฑ์ขอ้ กฎหมาย เพื่อปกป้องโลจิสติกส์ของไทยไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบจากต่างชาติ “ผมคิดว่าหลังเปิดเออีซีเนี่ยธุรกิจโลจิสติกส์โตแน่นอน ขึ้นอยู่กับว่า เมือ่ โตแล้วใครจะเป็นเจ้าของ คนไทยจะเป็นเจ้าของได้หรือไม่ ตอนนีช้ อ่ งว่าง ทางธุรกิจยังมีอีกมาก เรายังเหลือเวลาอีก 3 ปีก่อนที่จะเปิดเสรีอาเซียน ผูบ้ ริหารต้องตีโจทย์ให้แตกใน 3 เรือ่ งด้วยกัน คือ 1) ตอนนีธ้ รุ กิจโลจิสติกส์ มันเป็นการขนส่งทีเ่ ชือ่ มการค้าจากนานาชาติ คุณจะมองแบบ local ไม่ได้ จึงต้องน�ำอินเตอร์เน็ตออนไลน์มาใช้ในการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลและ การสื่อสาร 2) พนักงานคือบุคลากรที่เป็นหัวใจของธุรกิจนี้ “อย่างไรก็ดี สิ่งที่มิอาจมองข้ามคือจุดอ่อนที่ท�ำให้ผู้ประกอบการไทย เสียเปรียบต่างชาติก็คือระเบียบข้อบังคับของกฎหมายที่ไม่สามารถป้องกัน ปัญหาการทุ่มตลาดของโลจิสติกส์ต่างชาติ ดังนั้นก่อนที่จะเปิดเสรีอาเซียน ในปี 2558 รัฐบาลจึงควรทีจ่ ะแก้ไขกฎหมายเพือ่ ป้องกันไม่ให้ไทยเสียเปรียบ ในการแข่งขัน เพราะที่ผ่านมาบ้านเรามีแต่กฎหมายที่ปกป้องสิทธิประโยชน์ ของผูบ้ ริโภค มีการออกกฎหมายป้องกันการตัง้ ราคาทีส่ งู เกินจริง แต่ไม่เคยมี กฎหมายที่ปกป้องผู้ประกอบการ ซึ่งในช่วงหลายปีที่ผ่านมาโลจิสติกส์ไทย เจอปัญหาการตั้งราคาที่ต�่ำเกินจริงของผู้ประกอบการต่างชาติ ท�ำให้เรา เสียเปรียบในการแข่งขัน คือโลจิสติกส์ต่างชาติที่เข้ามาท�ำธุรกิจในไทยเนี่ย มักเป็นผูป้ ระกอบการรายใหญ่ซงึ่ มีเงินทุนสูงและมีเครือข่ายธุรกิจทีก่ ว้างขวาง ครอบคลุมทุกด้าน เขาก็จะใช้วิธีลดราคาค่าบริการขนส่งสินค้าทางบก ซึ่งเป็นธุรกิจที่โลจิสติกส์ของไทยส่วนใหญ่ให้บริการอยู่เพื่อที่จะดึงลูกค้าให้ ไปใช้บริการขนส่งทางทะเลของเขา ซึง่ หลังเปิดเออีซจี ะมีผปู้ ระกอบการโลจิสติกส์ จากต่างชาติเข้ามามากขึน้ และถ้าเราไม่ผลักดันให้โลจิสติกส์เป็นอุตสาหกรรม หรือไม่มีกฎหมายออกมาป้องกันปัญหาตรงนี้ เราก็คงไม่สามารถแข่งขันกับ ต่างชาติได้” คุณธนิตกล่าวถึงปัญหาใหญ่ที่โลจิสติกส์ไทยต้องเผชิญหลังจาก เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558
Success Story
กว่า 40 ปี ของ ‘พิริยพูล’ ที่ด�ำเนินธุรกิจน�ำเข้าสินค้าอุปโภค บริโภคจากทั่วโลกกว่า 2,000 รายการ อาทิ กาแฟดาวิดอฟ กาแฟชิโบะ เนสกาแฟโกลด์ ชาเฮลาดิฟ และฮาโก-สวิส เป็นต้น แต่ปัจจุบันพิริยพูลไม่ได้เป็นเพียง ‘Importer’ เท่านัน้ หาก แต่เป็น ‘Distributor’ ที่กระจายสินค้าระดับพรีเมียม ขณะที่ นับแต่ปีนี้เป็นต้นไป พิริยพูลถึงเวลาเปลี่ยนแปลงทิศทาง ธุรกิจครัง้ ส�ำคัญ ด้วยการหันมาสร้างแบรนด์สนิ ค้าเป็นของ ตัวเองเพื่อเจาะตลาดผู้บริโภคระดับแมส และเพื่อรับมือกับ AEC ที่จะมาถึงในปี 2558 ผ่านช่องทางจ�ำหน่ายที่แข็งแกร่ง ขณะเดียวกันก็เตรียมเติบโตแบบก้าวกระโดดด้วยการเพิ่ม บทบาทของการเป็นผู้ขนส่งและกระจายสินค้าให้กับบริษัทอื่น
ภาพรวมธุรกิจปี 2555
คุณศุภเชษฐ์ พิริยพูล กรรมการบริหาร บริษัท พิรยิ พูล อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด ให้สมั ภาษณ์ พิเศษกับนิตยสาร Borderless ว่า นับตั้งแต่ ด�ำเนินธุรกิจมาจะเน้นการน�ำเข้าสินค้าอุปโภค บริโภคจากยุโรป และสหรัฐอเมริกา เป็นหลัก แต่หลายปีที่ผ่านมาเริ่มมองกลุ่มอาเซียนมากขึ้น เพราะได้ประโยชน์จากภาษีน�ำเข้าทีถ่ กู ลง โดยผล ประกอบการปี 2555 ปิดยอดขายที่ 1,000 กว่า ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโต 20% “จากการที่ ค ่ า เงิ น บาทแข็ ง ค่ า ในช่ ว ง เวลานี้ส่งผลดีส�ำหรับผู้น�ำเข้าอย่างเราอยู่แล้ว เพราะราคาต้นทุนถูกลง ทีผ่ า่ นมาเราก็โตทะลุเป้า ทุกปี กระแสเงินสดไม่สะดุด ส่วนปัญหาค่าแรง ขัน้ ต�ำ่ 300 บาท ก็ไม่ได้สง่ ผลกระทบอะไร เพราะ เป็นค่าแรงของพนักงานที่ประจ�ำคลังสินค้าซึ่งมี เพียง 100 กว่าคนเท่านั้น และได้ปรับมาก่อน หน้าอยูแ่ ล้ว โดยในปีทผี่ า่ นมาก็มกี ารลงทุนขยาย คลังสินค้าจาก 4,000 กว่าตารางเมตร เพิ่มเป็น 12,000 ตารางเมตร เพื่อรองรับธุรกิจที่เติบโต อย่างต่อเนื่อง” ถึงแม้ว่าตอนนี้ อัตราเงินบาท ที่แข็งค่าจะเอื้อประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจ ของพิริยพูลมากขึ้น ขณะเดียวกันหากเงินบาท จะอ่อนค่าลง แต่ก็ไม่ได้ส่งผลกระทบกับพิริยพูล เนื่องจากทางบริษัทเองมีการบริหารจัดการที่ดี BORDERLESS 11
กลยุทธ์การตั้งรับ AEC ของพิริยพูลในไทย
“จากปกติพิริยพูลจะน�ำเข้าสินค้าจากสหรัฐอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย มากกว่าประเทศแถบเอเชีย เนื่องจากเป็นนโยบายของบริษัทที่เน้นสินค้า พรีเมียมเป็นหลัก แต่ 1-2 ปีมานี้ เริ่มหันมามองตลาดอาเซียนอย่างจริงจัง มากขึน้ การเกิดขึน้ ของ AEC จะเป็นโอกาสของพิรยิ พูลในการออกไปด�ำเนิน ธุรกิจนอกประเทศ เพราะได้ประโยชน์ในเรื่องฟรีเทรดจากอาฟตาก่อน หน้านี้อยู่แล้ว จะขายสินค้าอะไรก็ได้ ตอนนี้เราก็นำ� เข้าสินค้าจากอาเซียน เข้ามาหลายตัว รวมถึงสินค้าไทยเองก็มกี ารเจรจากับหลายบริษทั ท�ำให้พริ ยิ พูล น�ำเข้าสินค้าพรีเมียมเกรดจากมาเลเซีย และประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้ มากขึ้น รวมถึงตอนนี้หลายบริษัทจะเล็งเห็นโอกาสจากการติดต่อค้าขาย กับประเทศจีน แต่บริษัทฯ เองยังไม่มีความพร้อมในการติดต่อหรือน�ำเข้า สินค้าจากจีน เนื่องจากยังมีอุปสรรคในเรื่องภาษา และความน่าเชื่อถือ ของสินค้าอุปโภคจากจีน” ซึ่ ง คุ ณ ศุ ภ เชษฐ์ ใ ห้ ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ว่ า ทางพิ ริ ย พู ล เลื อ กที่ จ ะ ขับเคลื่อนบริษัทให้เติบโตด้วย Local Consumption เสียก่อน แม้ตอนนี้ พิรยิ พูลยังไม่ได้ออกไปตัง้ บริษทั ลุยตลาดเองในอาเซียน แต่กม็ กี ารค้าขายข้าม ชายแดนผ่านเอเยนต์อยู่แล้ว เป้าหมายใหม่ที่ยิ่งใหญ่ของพิริยพูลในตอนนี้ คือ การสร้างแบรนด์ เป็นของตัวเองเป็นครั้งแรก จากที่ผ่านมาน�ำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ มาจ� ำ หน่ า ยเท่ า นั้ น โดยตั้ ง เป้ า ที่ จ ะเจาะลู ก ค้ า กลุ ่ ม แมส ผ่ า นช่ อ งทาง เทรดิ ชั่ น นั ล เทรด แม้ ก� ำ ไรต่ อ ชิ้ น จะต�่ ำ กว่ า สิ น ค้ า พรี เ มี ย มมาก แต่ เมื่ อ ค� ำ นึ ง ถึ ง ปริ ม าณแล้ ว จะมี มู ล ค่ า มหาศาล จึ ง คุ ้ ม ค่ า กั บ การลงทุ น “ที่ ผ ่ า นมาลงทุ น สร้ า งแบรนด์ ข องคนอื่ น มานาน แต่ ใ นระยะยาว ถ้ า เป็ น แบรนด์ ข องเราเอง เราก็ ก ล้ า ที่ จ ะลงทุ น ซึ่ ง การพั ฒ นาแบรนด์ ของตั ว เองนั้ น จะพุ ่ ง เป้ า ไปที่ สิ น ค้ า ประเภทบิ ส กิ ต สแน็ ค เนื่ อ งจาก เป็นสินค้าที่มี penetration สูง หรือเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายจ� ำนวนมาก ซึ่ ง พิ ริ ย พู ล ก็ มี ฐ านการจั ด จ� ำ หน่ า ยอยู ่ แ ล้ ว ขณะเดี ย วกั น ก็ ส นใจที่ จ ะ สร้างแบรนด์เครื่องดื่ม โดยเลือกที่จะลงทุนพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม พรีเมียมอย่างอิตาเลียน โซดา เพราะในประเทศไทยยังไม่มีใครบุกเบิก ตลาดนี้ แต่ ใ นต่ า งประเทศมี ม านานแล้ ว และได้ รั บ ความนิ ย มมาก” ช่องทางจ�ำหน่ายเป็นหัวใจที่แข็งแกร่งของพิริยพูล จึงมุ่งเน้นที่จะ เสริมเขี้ยวเล็บในส่วนนี้ให้มากขึ้น โดยปัจจุบันพิริยพูล มีช่องทางจ�ำหน่าย 3 ช่องทาง ได้แก่ ช่องทางแรกคือ โมเดิร์นเทรด แบ่งเป็นซูเปอร์มาร์เก็ต ไฮเปอร์มาร์เก็ต และคอนวีเนียนต์สโตร์ ช่องทางที่ 2 คือ เทรดิชั่นนัล เทรด แบ่งเป็นกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด และช่องทางที่ 3 คือ ฟู้ดเซอร์วิส ซึ่ ง ขณะนี้ จ ะเน้ น เฉพาะในกรุ ง เทพฯ แต่ ใ นอนาคตจะดู แ ลทั่ ว ประเทศ
การบริหารแบบธุรกิจครอบครัว ให้ประสบความสำ�เร็จ
“พิริยพูลเป็นธุรกิจครอบครัว 100% เราเติบโตมาถึงจุดหนึ่งแล้ว แต่การ ทีจ่ ะเติบโตต่อไปได้ ต้องเปลีย่ นวิธกี ารบริหารงาน ซึง่ เราวางแผนไว้วา่ ภายใน 3 ปี เราจะพยายามวางรากฐานใหม่ทั้งหมด เช่น วางระบบการขาย โลจิสติกส์ รวมถึงเปลี่ยนระบบการคิดของพนักงานว่าทุกอย่างต้องท� ำได้ และทุกอย่างเป็นไปได้ เพื่อก้าวไปสู่การบริหารงานแบบมืออาชีพมากขึ้น โดยเบือ้ งต้นได้มกี ารปรับองค์กร มีคนรุน่ ใหม่เข้ามาร่วมงานมากขึน้ เช่น เพิม่ ผูจ้ ดั การฝ่ายขาย ผูอ้ �ำนวยการฝ่ายการตลาด เข้ามาใหม่ แต่คนเก่าเราก็ไม่ได้ ทอดทิง้ เรามีแต่เพิม่ คนไม่มลี ด ซึง่ พิรยิ พูลมีคนเก่าแก่ ท�ำงานกับบริษทั มานาน บางคนอยู่มา 20-30 ปี ก็ช่วยกันสร้างพิริยพูลขึ้นมาด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเท 12 BORDERLESS
“ดั ง นั้ น เมื่ อ เก่ า กั บ ใหม่ ม าอยู ่ ด ้ ว ยกั น ก็ ต ้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว เข้ า หากั น บางครั้งมีมุมมองต่างกัน ก็ต้องพยายามสร้างสมดุลให้ดี และสุดท้ายแล้ว พวกเขาก็จะเกิดความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีเป้าหมายเดียวกัน ซึ่งความเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้นับเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งขององค์กร” คุณศุภเชษฐ์ย�้ำว่า “สิ่งหนึ่งที่ผมพยายามบอกกับพนักงานทุกคน คือ ‘อย่าไปมองเป้าถึงนะ ให้มองเป้าเกิน’ เพื่อให้เกิดความท้าทายและมีไฟ ในการท�ำงาน” เป็ น ธรรมดาที่ อ งค์ ก รที่ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ครอบครั ว จะต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความท้ า ทายในยุ ค สมั ย ที่ เ ปลี่ ย นผ่ า น เมื่ อ บริ ษั ท ต้ อ งเติ บ โต จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งอาศั ย ต้ น กล้ า ใหม่ ๆ มาเสริ ม ที ม กั บ ไม้ ใ หญ่ ที่ ยื น ต้ น เป็ น หลั ก ยึ ด ให้ กั บ บริ ษั ท มานาน โดยมี ก ารเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า ง รุ ่ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสามั ค คี ท� ำ ให้ ไ ม่ รู ้ สึ ก แปลกแยกและแตกต่ า ง พิ ริ ย พู ล ด� ำ เนิ น การวางรากฐานด้ า นต่ า ง ๆ ของบริ ษั ท ให้ แข็ ง แกร่ ง รองรับความหลากหลายของสินค้า เพื่อให้ครอบคลุมจุดขาย ต่าง ๆ มากขึน้ โดยมีการเพิม่ จ�ำนวนพนักงานประจ�ำจุดขายต่าง ๆ จากปี 2554 มี 20-30 คน เป็น 100 คน ในปี 2555 และจะเพิม่ เป็นอย่างน้อย 150-200 คน ในปีนี้ เพราะสินค้าของพิริยพูลมีหลากหลายเคเตกอรี และหลากหลาย แบรนด์ เพื่อให้ครอบคลุมจุดขายต่าง ๆ มากขึ้น
ทิศทางธุรกิจและเป้าหมายในปี 2556
พิริยพูลขับเคลื่อนธุรกิจมายาวนาน พร้อมตั้งเป้าหมายที่ท้าทายขึ้นเรื่อย ๆ โดยภายใน 3 ปีนับจากนี้ คุณศุภเชษฐ์บอกว่าจะท�ำให้พิริยพูลเติบโต 2 เท่า จากปัจจุบนั ซึง่ มีความเป็นไปได้สงู จากการต่อยอดธุรกิจด้วยการเพิม่ บริการ Warehouse รวมถึงการจัดส่งและกระจายสินค้า “ถ้าเราน�ำเสนอบริการ ที่ดี ใคร ๆ ก็อยากจะมาใช้บริการ อนาคตจะแยกในส่วนของโลจิสติกส์ ออกไป เพื่อรองรับการขนส่งและกระจายสินค้าให้กับลูกค้ารายอื่น ๆ ด้วย นอกเหนือจากสินค้าของพิริยพูลเองที่เราต้องน�ำไปกระจายเองอยู่แล้ว หาก มีสินค้าของลูกค้ารายอื่นๆ มาช่วยแชร์ ก็จะช่วยลดต้นทุนและเพิ่มรายได้ให้ กับเราได้แบบก้าวกระโดด” ส�ำหรับเป้าหมายในปี 2556 ตั้งเป้าเติบโต 20% โดยปัจจุบันพิริยพูล มีสดั ส่วนรายได้จากช่องทางโมเดิรน์ เทรด 60% เทรดิชนั่ นัล เทรด 20-30% และฟู้ด เซอร์วิส 10% และเมื่อเดินหน้าบุกตลาดแมสด้วยสินค้าแบรนด์ ของพิริยพูลเอง คาดว่าจะท�ำให้สัดส่วนรายได้จากช่องทางเทรดิชั่นนัล เทรด เพิม่ ขึน้ เป็น 40-50% เลยทีเดียว พร้อมกับการเปิดประตูสธู่ รุ กิจ ‘ขนส่งและ กระจายสินค้า’ อย่างเต็มตัว ที่ส�ำคัญปีนี้ พิริยพูลด�ำเนินธุรกิจมาครบรอบ 4 ทศวรรษ จึงเตรียมจัดงานเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ “จากปกติที่จัดอีเว้นท์ ตามงานต่างๆ เป็นประจ�ำ ต่อเนื่องตลอดปีอยู่แล้ว แต่ปีนี้พิริยพูลจะจัดงาน ใหญ่ฉลองครบรอบ 40 ปี ในเดือนพฤษภาคม ด้วยการจัดอีเว้นท์โปรโมชั่น ใหญ่ พร้อมแฟชั่นโชว์และมินิคอนเสิร์ต บนพื้นที่ราว 300-400 ตารางเมตร กระจายตามศูนย์การค้าต่าง ๆ ที่มีทราฟฟิกสูง 5 แห่ง คือ สยามพารากอน เซ็นทรัลเวิลด์ เมกาบางนา ซีดีซี และพาราไดซ์พาร์ค นอกจากนี้ยังเป็น วาระส�ำคัญที่เราจะประกาศถึงแนวทางการท�ำธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมี เป้าหมายคือ นอกจากจะเป็นการกระตุ้นยอดขายด้วยการสมนาคุณลูกค้า และโปรโมตแบรนด์ตา่ ง ๆ แล้ว ยังต้องการให้บริษทั ต่าง ๆ รูจ้ กั พิรยิ พูลในฐานะ Distributor พิรยิ พูลได้แสดงให้เห็นว่า การปรับตัวรับมือกับการเปลีย่ นแปลง และมองหาโอกาสใหม่ ๆ อยู่เสมอ จะท�ำให้บริษัทเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง และมั่นคงต่อไป
Business
Funding
เรื่อง : อลิสา ราธี, CFP ที่ปรึกษาการลงทุน ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน)
นักลงทุนส่วนมากคุ้นเคยกับการลงทุนในประเทศ ไม่ว่า จะเป็นการฝากเงิน ซื้อตราสารหนี้ หรือซื้อหุ้นไทย เพราะ เป็นการลงทุนที่ใกล้ตัวเรา และท� ำความเข้าใจกับสถานการณ์ การลงทุนได้ง่าย แต่ถ้าเราเลือกลงทุนแต่ในไทยเพียงอย่างเดียว ก็เป็นการปิดกั้นโอกาสในการลงทุนใหม่ๆ ที่อาจให้ผลตอบแทน ที่ดี และเป็นการช่วยกระจายความเสี่ยงในการลงทุน
ทำ�ไมเราถึงควรมีการกระจายการลงทุน ไปต่างประเทศ ตลาดหุ้นไทย มีขนาดตลาดเพียง 364 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือคิดเป็นเพียง 0.7% เมื่อเทียบกับขนาดตลาดหุ้นทั้งโลก ดังนั้น ถ้าเรา เลือกลงทุนแต่ในประเทศไทย ก็จะจำ�กัดโอกาสในการลงทุนอีก 99.30% เลยทีเดียว หากจำ�วิกฤติต้มยำ�กุ้งในปี 1997 ได้ วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ส่งผลให้หุ้นไทยปีนั้น ลดลงมาจาก 800 กว่าจุด เหลือ 350 จุดตอนปลายปี ดังนัน้ การลงทุนในประเทศเดียวจึงมีความเสีย่ งสูง ถ้าเรามีการกระจายความ เสี่ยงไปลงทุนในหลายๆ ประเทศ และหลายๆ สินทรัพย์อย่างเหมาะสม จะช่วยลดความเสีย่ งโดยรวมลง และเพิม่ โอกาสในการรับผลตอบแทนทีด่ ขี นึ้ 3,000
2,714
2,500 North & Latin America 22.5, 43%
Asia Pacific 15.9, 30%
European Middle East & Africa 14.1, 27%
2,000 1,500 1,000
746
720
500 0
กราฟ 2 : ขนาดตลาดหุ้นทั่วโลก ณ พฤศจิกายน 2012 หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (Trillion USD) Source : WFE, www.asiaasset.com
1,132
455
Hongkong
Korea
Singapore
Taiwan
Malaysia
424
364
228
Indonesia Thailand Phillipine
กราฟ 2 : ขนาดตลาดหุ้นเอเชีย ณ พฤศจิกายน 2012 หน่วย : พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (Billion USD) Source : WFE, SET Research BORDERLESS 13
ปี 2013 ควรเลือกกระจายการลงทุนอย่างไร ในขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังฟื้นตัวอย่างเปราะบาง : วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรมีมติผ่านร่างกฎหมายหลีกเลี่ยงภาวะ หน้าผาการคลัง (Fiscal Cliff) ด้วยการปรับลดอัตราภาษีส�ำหรับบุคคลหรือ ครัวเรือนที่มีรายได้ต�่ำ, ปรับเพิ่มอัตราภาษีส�ำหรับคนรวย, เก็บภาษีก�ำไร จากการซื้อขายหุ้น และเงินปันผลและขยายเวลาสิทธิประโยชน์ด้านการ ประกันการว่างงานและการลดหย่อนภาษีอื่นๆ เช่น บุตรและการศึกษา อันส่งผลให้นกั ลงทุนคลายความกังวลในเรือ่ งการถดถอยของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ไปบ้างแล้ว กระนั้นร่างกฎหมาย Fiscal Cliff ยังไม่ได้เป็นค�ำตอบเรื่องการแก้ปัญหา การคลังของสหรัฐฯ เนื่องจากในเดือนมีนาคม 2013 ท�ำเนียบขาวและ สภาคองเกรส ต้องกลับเข้ามาเจรจาในเรื่องการตัดลดงบประมาณรายจ่าย และการปรับเพิ่มเพดานหนี้สาธารณะขึ้น ซึ่งในช่วงสิ้นปี 2012 กระทรวง การคลังสหรัฐฯ ประวิงเวลาด้วยการชะลอการจ่ายเพื่อเลี่ยงไม่ให้สหรัฐฯ ต้องเผชิญสถานการณ์ผิดนัดช�ำระหนี้ ซึ่งจะกระทบกระเทือนอันดับความ น่าเชื่อถือของประเทศ นักเศรษฐศาสตร์ระดับโลกประเมินว่า ร่างกฎหมาย Fiscal Cliff จะส่งผล ให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ ชะลอตัวลงในครึง่ ปีแรก เนือ่ งจากการเพิม่ อัตราภาษีกบั คนรวยจะท�ำให้การบริโภคชะลอตัวลง ในขณะที่คนที่มีรายได้ปานกลาง-ต�่ำ ไม่ได้จับจ่ายใช้สอยเพิ่มขึ้น และการปรับลดการใช้จ่ายภาครัฐ จะกดดันการ เติบโต หลังจากนัน้ เศรษฐกิจจะฟืน้ ตัวในช่วงครึง่ ปีหลังปัญหาการเงินในยุโรป คลี่คลาย แต่เศรษฐกิจยังอ่อนแอ ปัญหาการเงินในยุโรปคลี่คลาย แต่เศรษฐกิจยังอ่อนแอ : การออกมาตรการช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิ น ทั้ ง จากกองทุ น กลไกรั ก ษา เสถียรภาพยุโรปของรัฐบาล และมาตรการเข้าซื้อพันธบัตรรัฐบาลของ ธนาคารกลางยุ โ รปที่ มี เ งื่ อ นไขค่ อ นข้ า งเข้ ม งวด ท�ำให้ เ ศรษฐกิ จ ค่ อ ยๆ ฟื้นตัวอย่างช้าๆ คาดว่าเศรษฐกิจยุโรปยังคงหดตัวต่อ โดยปัจจัยหลักมาจากการบริโภคที่ ลดลงตามอัตราการว่างงาน, การลงทุนที่ชะลอตัวเนื่องจากความต้องการ ซบเซา และระดับหนี้สาธารณะที่สูง เม็ดเงินลงทุนทั่วโลกไหลเข้าเอเชีย อย่างต่อเนื่อง เม็ดเงินลงทุนทั่วโลกไหลเข้าเอเชียอย่างต่อเนื่อง : สภาพคล่องที่อยู่ในระดับสูง จากมาตรการอัดฉีดสภาพคล่องของสหรัฐฯ (QE3 และ QE4) อย่างต่อเนื่อง เดือนละ 85,000 ล้านเหรียญ เป็นผล ให้เม็ดเงินลงทุนไหลเข้าสู่ตลาดการลงทุนในเอเชียที่มีโครงสร้างพื้นฐานทาง เศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง
•
•
•
พบอีกหนึ่งทางเลือกการลงทุนตามกระแส AEC ในภูมิภาคอาเซียนกับ... กองทุนเปิด ไอเอ็นจี ไทย ตราสารหนี้เอเชีย ING Thai Asian USD Bond Fund (ING FIF) ส�ำหรับช่วงเศรษฐกิจชะลอตัว แนวโน้มอัตราดอกเบีย้ ทรงตัว การลงทุน ในหลักทรัพย์ต่างประเทศที่เหมาะสมคือการเลือกลงทุนใน ‘ตราสารหนี้’ โดยภูมิภาคที่เหมาะสมกับการลงทุนก็คือ ‘การลงทุนในตราสารหนี้ใน ภูมิภาคเอเชีย’ ทัง้ นีเ้ ศรษฐกิจในภูมภิ าคนีย้ งั มีความแข็งแกร่งและมีแนวโน้มทีจ่ ะเติบโต ต่อไป โดยมีฐานะการเงินและการคลังทีม่ นั่ คง จากการทีม่ ปี ริมาณเงินส�ำรอง ระหว่างประเทศและการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดที่อยู่ในระดับสูง ดังนั้นภูมิภาคเอเชียจึงเป็นจุดหมายปลายทางของเม็ดเงินลงทุนที่จะ เข้ามาลงทุนอย่างต่อเนือ่ ง หลังจากทีเ่ ศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังคงอยูใ่ นภาวะฟืน้ ฟู และเศรษฐกิจยุโรปยังคงต้องเผชิญกับวิกฤติหนี้สาธารณะที่ส่งผลต่ออัตรา การขยายตัวทางเศรษฐกิจ กองทุนนีเ้ น้นลงทุนในตราสารหนีท้ เี่ สนอขายในสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ (USD) ของประเทศในทวีปเอเชียทั้งภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และเอกชน จึงเหมาะส�ำหรับนักลงทุนที่รับความเสี่ยงปานกลางค่อนข้างต�่ำ และ ต้องการกระจายการลงทุนไปยังตราสารหนี้ต่างประเทศ เพื่อแสวงหา ผลตอบแทนที่สูงกว่าการลงทุนภายในประเทศเป็นหลัก
• • •
กองทุนรวมตราสารหนี้นักลงทุนในต่างประเทศ กองทุนเปิด ไอเอ็นจี ไทย ตราสารหนี้เอเชีย Benchmark : JP Morgan Asia Credit Index (JACI) - Investment Grade Index
NAV 25/1/2013 18.3595
อัตราผลตอบแทนย้อนหลัง (% ต่อปี) YTD
3 เดือน 6 เดือน
3.19%
4.52%
1.45%
3.71%
1 ปี
3 ปี
5 ปี
9.21%
11.83%
8.51%
8.11%
7.81%
7.57%
10.49%
8.10%
8.41%
10.35%
* อ้างอิง ณ วันที่ 25 มกราคม 2013 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ TMB ทุกสาขา ทั่วประเทศ ‘การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน’ ผลการด�ำเนินงานในอดีต มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการด�ำเนินงานในอนาคต และการลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน 14 BORDERLESS
ตั้งแต่จัดตั้ง กองทุน
Big
Idea
เรื่อง : อรรถสิทธิ์ เหมือนมาตย์
หลายครัง้ เราจะเห็นสินค้าและบริการมีคณ ุ ภาพ แต่ขาดไอเดีย ในการเพิ่มมูลค่า (Value Added) ท�ำให้สินค้าและบริการ นัน้ ไม่สามารถก�ำหนดราคาที่ดีได้ และไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควร ที่ส�ำคัญยังเป็นลางร้ายและหนทางสู่จุดจบของธุรกิจในระยะยาว อีกด้วย เพราะเราต่างทราบกันดีว่า ‘AEC ก�ำลังจะมา’
การท�ำธุรกิจรูปแบบเดิมๆ ด้วยการพัฒนา และสินค้าบริการใหม่ๆ ไม่ได้เป็นทางออกที่ ถูกต้อง หรือค�ำตอบที่ใช่เสมอไปในการท�ำธุรกิจ ท่ามกลางการแข่งขันที่รุนแรง และเปิดโอกาส เสรีให้กับนักธุรกิจจากอาเซียนอย่างเท่าเทียม เช่นนี้ ผู้ประกอบการทั้งรายใหญ่และรายย่อย จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องแสวงหา ‘หมัดเด็ด’ ที่แตกต่างอย่างแท้จริง มาต่อเติมเสริมค่าให้ กับธุรกิจของตัวเอง ทั้งในแง่ของการปรับปรุง เทคโนโลยี ตลอดจนการคิดค้น วิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ เป็นต้น ขณะเดียวกันก็ต้องหาจุด สมดุลระหว่าง ‘คุณภาพ’ และ ‘ราคา’ ให้ได้ ทีส่ ำ� คัญต้องค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ และสถานะ ทางการเงินของบริษัทด้วย ธุรกิจอาหารนับเป็นธุรกิจที่มีโอกาสอย่าง มากจาก AEC โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์อาหาร ฮาลาล ค�ำแนะน�ำ คือ ผู้ประกอบการธุรกิจ
อาหารของไทย น่ า จะมี ก าร ลงทุนเพิม่ ไลน์ผลิตสินค้าอาหาร และเครื่องดื่มขึ้นมาใหม่ เพื่อ มุ ่ ง เน้ น ไปที่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร ฮาลาล ซึ่งเป็นตลาดใหญ่มาก ของอาเซียน รวมถึงของทั้งโลก ด้วย เพราะไม่เพียงแต่จะมีกลุม่ เป้าหมายเป็นมุสลิมแล้ว แต่ยัง รวมถึงคนรุน่ ใหม่ทใี่ ส่ใจสุขภาพ ด้วยการเลือกอาหารการกินจาก สินค้าที่มีฉลากฮาลาล เนื่องจากให้ความเชื่อมั่น ในกระบวนการผลิตตัง้ แต่ตน้ จนจบทีส่ ะอาดเพือ่ ไม่ให้ผิดหลักศาสนาอิสลาม และมีมาตรฐาน สูงกว่าอาหารทัว่ ไป ตลาดมุสลิมในอาเซียนนับว่า ใหญ่มากคิดเป็นสัดส่วน 50% ของประชากร อาเซียนทัง้ หมด เฉพาะอินโดนีเซียก็เป็นประเทศ ทีม่ จี ำ� นวนประชากรมุสลิมมากทีส่ ดุ ในโลก คือมี จ�ำนวนราว 240 ล้านคน และผลิตภัณฑ์อาหาร สดและอาหารแปรรูปต่างๆ จากประเทศไทย ก็ได้รับความนิยมในแง่ของสินค้าที่มีคุณภาพดี ระดับพรีเมียม โดยชาวมุสลิมอินโดนีเซีย นิยม ผลไม้สดและแปรรูป ข้าวสาร สัตว์ปกี สัตว์ทะเล ซอสปรุงรสต่างๆ น�้ำพริกเผา และของขบเคี้ยว ที่น�ำเข้าจากไทยเป็นอย่างมาก นักธุรกิจไทย ท่านใดที่สนใจในเรื่องนี้สามารถติดต่อขอข้อมูล หรือขอค�ำปรึกษาเพิ่มเติมได้ที่ศนู ย์วิทยาศาสตร์ ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบัน ฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ส่ ว นกรณี ศึ ก ษาที่ น ่ า สนใจมากของ ธุรกิจเอสเอ็มอีไทยด้านอาหารและเครื่องดื่ม ก็คือ ‘น�้ำเต้าหู้โทฟุซัง’ ที่เกิดจากไอเดียของ คุ ณ สุ ร นาม พานิ ช การ ที่ เ พิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ ผลิตภัณฑ์ที่ทุกคนรู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี นั่นคือ ‘น�้ำเต้าหู้’ ด้วยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ โลโก้ และมาสคอท พร้อมจ�ำหน่ายในขวดแก้ว และขวดเพ็ต ซึง่ เป็นรูปแบบทีแ่ ตกต่างจากผูเ้ ล่น รายอื่นในท้องตลาด โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ ตลาดน�้ำเต้าหู้ในภาพรวมว่า น�้ำเต้าหู้ที่จ�ำหน่าย ตามรถเข็ น มั ก จะมี ร สชาติ ห วานจนเกิ น ไป และมีข้อเสียคือไม่สามารถเก็บได้นาน ส่วน นมถั่ ว เหลื อ งบรรจุ ก ล่ อ งของแบรนด์ ดั ง ก็ มี การผสมผลถั่วเหลือง ท�ำให้ไม่ได้รสชาติแบบ น�้ ำ เต้ า หู ้ แ ท้ ๆ โทฟุ ซั ง จึ ง ใช้ วั ต ถุ ดิ บ คุ ณ ภาพ ผสมฟองเต้าหู้ เพื่อให้ได้รสชาติที่ใกล้เคียงกับ ธรรมชาติแต่สามารถเก็บไว้ได้นาน
BORDERLESS 15
สิ น ค้ า เกิ ด ใหม่ เ พี ย งไม่ กี่ ป ี อ ย่ า งโทฟุ ซั ง จึ ง ผ่ า นการคิ ด มาอย่ า งรอบคอบเพื่ อ จั บ กลุ ่ ม คนไทยที่ นิ ย มบริ โ ภคน�้ ำ เต้ า หู ้ ร ะดั บ พรี เ มี ย ม รวมถึงผูบ้ ริโภคอาเซียน เนือ่ งจากคนเอเชียแทบ ทุกประเทศคุ้นเคยกับการดื่มน�้ำเต้าหู้อยู่แล้ว นี่ จึ ง เป็ น โอกาสที่ เ ปิ ด กว้ า งมาก จากสิ น ค้ า ที่ เ ก่ า แก่ และดู เ หมื อ นว่ า จะไม่ ส ามารถน� ำ มาเพิ่ ม มู ล ค่ า ได้ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การสร้ า งตลาด Niche จากสินค้าแมสได้ อย่างน่าชม นอกจากนี้ ก าร เพิ่มมูลค่าด้วย ‘เวลา’ ที่ เ รามั ก เห็ น กั น บ่ อ ยๆ คื อ ก า ร ข ย า ย เ ว ล า รั บ ประกั น สิ น ค้ า หรื อ อย่างกระเป๋าเดินทางแซมโซไนท์บางรุ่น รับประกัน สินค้านานถึง 10 ปีก็มี หรือกรณีของตู้เย็นซัมซุง อินเวอร์เตอร์ 2 ประตู ที่ รั บ ประกั น การใช้ ง าน นานถึง 10 ปี ก็เป็นมูลค่าเพิ่มที่เด่นชัด เพราะ เป็นการรับประกันคอมเพรสเซอร์ ที่นานที่สุด ในตลาดตู้เย็น เป็นต้น หรือกรณีของร้านกาแฟ Too Fast Too Sleep ที่ตั้งอยู่ตรงข้ามจามจุรี สแควร์ ก็ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก อย่ า งรวดเร็ ว แบบปาก ต่อปาก รวมถึงสื่อต่างๆ ที่ให้ความสนใจกับ จุดขายของการเป็น ‘ร้านกาแฟ 24 ชั่วโมง’ แถมยังเลือกโลเกชั่นได้เหมาะเจาะ เพราะใกล้ กับสถานศึกษาอย่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท�ำให้มีลูกค้ากลุ่มใหญ่เป็นนิสิต แวะเวียนมา ใช้บริการทั้งวันทั้งคืน ขณะที่ ก ารเพิ่ ม มู ล ค่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ กั บ องค์กรโดยรวมด้วย ‘ซีอาร์เอ็ม’ ก็เป็นสิ่งที่ นิยมท�ำกันมาก โดยเฉพาะองค์กรใหญ่ๆ ที่มี เงินถุงเงินถัง มีงบประมาณมหาศาลในการน�ำ มาใช้ ‘เพิ่มมูลค่า’ ให้กับธุรกิจด้วยวิธีนี้ ที่นิยม ใช้ กั น ก็ เ ป็ น แนวทางหนึ่ ง ในการเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กับธุรกิจ องค์กรใหญ่ๆ อย่าง ปตท. ก็หันมา
16 BORDERLESS
ใช้กลยุทธ์นี้อย่างจริงจังมากขึ้น ด้วยการเปิด บริการบัตร PTT Blue Card บัตรสะสมคะแนน เพื่อแลกสิทธิประโยชน์ต่างๆ จาก ปตท. และ ร้านค้าในเครือข่าย รวมถึงพันธมิตรทีร่ ว่ มรายการ แต่สิ่งส�ำคัญที่พึงระวังก็คือ สิทธิประโยชน์นั้นๆ จะต้ อ งเป็ น สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ที่ ต อบสนองความ ต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง ขณะทีร่ ปู แบบการ รีดมี พอยต์ หรือแลกคะแนนสะสม จะต้องไม่อยู่ ภายใต้เงือ่ นไขทีย่ งุ่ ยาก หรือมีขอ้ แม้หลังดอกจัน ยาวเหยียด เพราะแทนที่จะเป็นการเพิ่มมูลค่า ก็จะกลายเป็นการลดทอนคุณค่าแทน หากเป็นกรณีศึกษาระดับโลกที่ร้อนแรง ในขณะนี้ ก็คือ ‘เฟอร์บี้’ ของเล่นยุคดิจิตอลที่ คืนชีพขึ้นมาอีกครั้ง ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านี้เฟอร์บี้ เคยโด่งดังมาเมื่อราว 10 กว่าปีก่อน แต่ก็เงียบ หายไปนานจนกระทั่ ง ฮาสโบร บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต น�ำมาปัดฝุ่นใหม่ ด้วยการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ จากนวั ต กรรมที่ ส อดรั บ กั บ พฤติ ก รรมของ ผูบ้ ริโภคและยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เช่น ตาเป็น จอแอลอีดี การผสานการใช้งานผ่านแอพพลิเคชัน่ ก็ทำ� ให้เฟอร์บถี้ กู ใจคนขีเ้ หงาทีม่ อี ยูม่ ากมายในยุค ดิจิตอล กลับมาดังเปรี้ยงปร้างได้อีกครั้ง แสดง ให้เห็นว่าแม้จะเป็นสินค้าเก่าที่ผลิตออกมานาน แล้ว ก็ยังมีโอกาสสร้างยอดขายให้กับบริษัทได้ อีก หากรู้จักเพิ่มมูลค่าให้ถูกวิธี หลายคนอาจนึ ก ไม่ อ อก หรื อ ไม่ รู ้ ว ่ า แล้ ว จะหาผู ้ เ ชี่ ย วชาญหรื อ หาไอเดี ย เด็ ด ๆ ดี ๆ จากไหนมาต่ อ ยอด ลองคลิ ก เข้ า ไปที่ www.tcdcconnect.com เป็ น ชุ ม ชนคน สร้างสรรค์งานศิลปะ และงานไอเดียแขนงต่างๆ ที่อาจเป็นประโยชน์กับธุรกิจของคุณ หรือไม่ก็ที่ www.creativemove.com ที่คัดสรรไอเดียล�้ำๆ จากทั่วโลกมาแบ่งปันกัน
ส่วนการเพิ่มมูลค่าให้กับการบริการ ซึ่ง เป็นสินค้าที่ไม่อาจจับต้องได้ (Intangibility) เนื่องจากเป็นเรื่องนามธรรม ซึ่งต้องอาศัยองค์ ประกอบที่ละเอียด พิถีพิถัน เพื่อเร่งเร้าให้เกิด การตอบสนองด้านบวกในทุกประสาทสัมผัส โดยมีหลักปฏิบัติส�ำคัญ คือ (ขอยกกรณีศึกษา การเปิดร้านนวด ร้านสปา เพื่อให้เห็นภาพ ชัดเจนและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน) ความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ (Reliability) ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารจะต้ อ งแสดงความน่ า เชื่ อ ถื อ และไว้วางใจได้ ควรให้บริการได้อย่างถูกต้อง ตามที่ได้ตกลงกันไว้และตรงต่อเวลา เป็นความ ซื่อสัตย์ในรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ เช่น หาก ลูกค้าซื้อแพ็คเกจสปา 2 ชั่วโมง ก็ต้องไม่โกง เวลาลู ก ค้ า เป็ น ต้ น และการให้ ค วามมั่ น ใจ (Assurance) ผู้ให้บริการต้องท�ำให้ลูกค้ามั่นใจ โดยปราศจากความเสี่ ย งอั น ตราย ตลอดจน แสดงความสามารถที่ท�ำให้เกิดความเชื่อใจได้ ในตัวผู้ให้บริการ เช่น พนักงานนวดจะต้องมี ความรูผ้ า่ นการฝึกอบรมมาอย่างเข้มข้น มีความ เชีย่ วชาญในการนวดเป็นอย่างดี โดยไม่ทำ� ให้เกิด อันตรายกับผู้ใช้บริการ หวั ง ว่ า หลากหลายไอเดี ย ที่ น� ำ เสนอใน คอลัมน์ Big Idea นี้ จะช่วยจุดประกายความ คิดในการเพิ่มมูลค่าให้กับธุรกิจไทยได้บ้าง
TMB Report
เรื่อง : ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีเอ็มบี
BORDERLESS 17
จากแรงผลักดันในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกที่ดำ� เนินมาอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้สถานการณ์เศรษฐกิจโลก ในปี 2556 มีทิศทางดีขึ้นจากปีที่ผ่านมา แต่บนเส้นทางการฟื้นตัว ยังมีความท้าทายหลายด้านที่อาจฉุดรั้งการขยายตัวให้เป็น ไปในอัตราต�่ำกว่าศักยภาพได้ในทุกขณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเศรษฐกิจที่เป็นแกนหลักของโลก ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มประเทศ G3 หรือ จีน ที่การด�ำเนินมาตรการใด ๆ หรือความพลิกผันที่เกิดขึ้นจะเป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลส่งผลกระทบขยายเป็นวงกว้าง และสร้างแรงกดดัน ต่อแนวโน้มเศรษฐกิจในหลาย ๆ ภูมิภาคของโลกอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง
เศรษฐกิจโลกฟื้นตัวต่อเนื่อง แต่ยังมีความเปราะบาง สัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกเริ่มมีความ ชัดเจนมากขึ้นในช่วงไตรมาสที่สี่ ปี 2555 หลังผ่านพ้น จุดต�่ำสุดที่เกิดจากผลกระทบของวิกฤติเศรษฐกิจยุโรป อย่างรุนแรง โดยเฉพาะการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ จีน และประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีโมเมนตัมเติบโต ต่อเนื่องไปในปี 2556 แต่บนเส้นทางการเติบโต ยังมี ความไม่แน่นอนสูง เพราะถูกกดดัน 1ด้วยความล่าช้าของ การฟื ้ น ตั ว ของเศรษฐกิ จ ยู โ รโซนเนื่ อ งจากการด� ำ เนิ น นโยบายการคลังแบบเข้มงวดของประเทศสมาชิก จนกลาย เป็นปัญหาทางการเมืองในหลาย ๆ ประเทศ เช่นเดียวกับ ญี่ปุ่นที่ยังมีข้อจ�ำกัดการฟื้นตัวจากการแข็งค่าของอัตรา แลกเปลีย่ นในปีทผี่ า่ นมา ท�ำให้ในช่วงครึง่ แรกของปี 2556 เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป และจะเร่งขึ้นในช่วงครึ่งปีหลัง ซึ่งสอดคล้องกับมุมมอง ล่าสุดในเดือนมกราคม 2556 ของกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศ (IMF) คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้ม ขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 เทียบกับร้อยละ 3.2 ในปี 2555 แต่เป็นตัวเลขที่ลดลงจากการคาดการณ์ในเดือนตุลาคม 2555 โดยมีมุมมองค่อนข้างทรงตัวส�ำหรับเศรษฐกิจ สหรั ฐ ฯ หลั ง จากสามารถเลี่ ย งความเสี่ ย งจากหน้ า ผา การคลัง (Fiscal Cliff) ไปบางส่วนได้ แต่มมี มุ มองทีแ่ ย่ลง ส�ำหรับประเทศยูโรโซน โดยเฉพาะเยอรมนีและอิตาลี ขณะทีม่ มี มุ มองทีเ่ ป็นบวกส�ำหรับประเทศในภูมภิ าคเอเชีย ที่ส�ำคัญ ได้แก่ จีน ซึ่งคาดว่าเศรษฐกิจจะเติบโตถึงร้อยละ 8.2 เทียบกับร้อยละ 7.8 ในปีก่อนหน้า ทัง้ นี้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ยังคง ไม่แข็งแกร่ง และบ่งบอกถึงการฟื้นตัวอย่างเปราะบาง ของเศรษฐกิจโลก 2สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Purchasing Manager Index : PMI) ของภาค อุตสาหกรรมในต้นปี 2556 ซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดแนวโน้ม กิจกรรมทางเศรษฐกิจในอนาคต ยังอยู่ระดับใกล้เคียงกับ 50 ซึ่งบ่งบอกถึงแนวโน้มเศรษฐกิจโลกในระยะข้างหน้า อยู่ในระดับทรงตัว ด้วยแรงฉุดจากเศรษฐกิจกลุ่มประเทศ ยุโรป รวมทั้งญี่ปุ่น 18 BORDERLESS
Latest IMF’s Economic Projections Source : IMF and TMB Analytics. Note : % change from previous projection
Germany US 2012 2.3 2014 3.0
2012 0.9 2014 1.4
2013 %chg 0.6 -0.3 %chg 0.1
Euro area
2013 %chg 2.0 -0.1 %chg 0.1
2012 -0.4 2014 1.0
2013 %chg -0.2 -0.3 %chg -0.1
Japan 2012 2.0 2014 0.7
2013 %chg 1.2 0.0 %chg -0.4
ASEAN 5 2012 5.7 2014 5.7
World 2012 3.2 2014 4.1
2013 %chg 3.5 -0.1 %chg -0.1
Advanced econ.
2012 -0.2 2014 1.9
2012 2013 %chg 2014 %chg 1.3 1.4 -0.2 2.2 -0.1
Developing & EMG econ. 2012 2013 %chg 2014 %chg 5.1 5.5 -0.1 5.9 0.0
ภาพประกอบ 1
UK
2013 %chg 1.0 -0.1 %chg -0.3
China France 2012 0.2 2014 0.9
2012 7.8 2014 8.5
2013 %chg 0.3 -0.1 %chg -0.2
อัตราการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก
2013 %chg 8.2 0.0 %chg 0.0
India 2012 4.5 2014 6.4
2013 %chg 5.9 -0.1 %chg 0.0
อัตราการฟ��นตัวของเศรษฐกิจโลก
Global Manufacturing PMI Source : IMF and TMB Analytics.
50PMI ดัชนีชี้วัดแนวโน้มกิจกรรมทางเศรษฐกิจในอนาคต ภาพประกอบ 2
ดัชนีช�้วัดแนวโนมกิจกรรมทางเศรษฐกิจในอนาคต
2013 %chg 5.5 -0.2 %chg 0.0
เศรษฐกิจสหรัฐฯ ทยอยฟื้นตัว หลังหลีกเลี่ยงเผชิญ ‘หน้าผาการคลัง’ แบบเต็มรูปแบบ 3เศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี 2555 ฟืน้ ตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยมีปจั จัย หนุนจากการเพิม่ ค่าใช้จา่ ยของภาครัฐ โดยเฉพาะการใช้จา่ ยด้านการป้องกัน ประเทศในช่วงครึ่งปีแรก และการฟื้นตัวของการบริโภคภาคเอกชนและ การลงทุนในภาคก่อสร้างในช่วงครึ่งปีหลัง กอปรกับสหรัฐฯ ยังคงด�ำเนิน นโยบายทางการเงินผ่อนคลายต่อเนื่อง ทั้งการยืนนโยบายดอกเบี้ยต�่ำ และการอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจโดยไม่มีก�ำหนดจนกว่า เศรษฐกิจจะปรับตัวดีขนึ้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ ท�ำให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ ทัง้ ปี 2555 ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 2.3 เทียบกับร้อยละ 1.8 ในปี 2554 ส�ำหรับในปี 2556 เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง โดยมี ป ั จ จั ย สนั บ สนุ น ได้ แ ก่ 1) การฟื ้ น ตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งของภาค อุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนี PMI อยู่เหนือระดับ 50 ติดต่อกันในช่วง 3 เดือนแรกของปี 2556 และมากกว่าค่าเฉลี่ยทั้งปี 2555 ซึ่งบ่งบอกถึง การขยายตัวของการผลิต 2) การปรับตัวดีขึ้นของภาคอสังหาริมทรัพย์ โดยมีความต้องการคงค้าง (Pent up demand) ที่สะสมในช่วงวิกฤติ เศรษฐกิจเป็นแรงหนุน 3) การปรับตัวดีขนึ้ ของงบดุลภาคครัวเรือนและธุรกิจ ภาคเอกชน โดยเฉพาะการลดลงของภาระหนี้สินภาคครัวเรือนที่อยู่ระดับ ต�่ำสุดนับจากปี 2547 4) การด�ำเนินมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (Quantitative Easing หรือ QE) อย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุด QE3 เป็นการ อนุมตั วิ งเงินเพือ่ ซือ้ หลักทรัพย์ทมี่ สี ญ ั ญาจ�ำนองค�ำ้ ประกัน และ QE4 เป็นการ อนุมตั วิ งเงินเข้าซือ้ พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ซึง่ รวม QE ทัง้ หมดทีธ่ นาคารกลาง สหรัฐฯ ก�ำลังด�ำเนินการ มีมูลค่าเท่ากับเดือนละ 8.5 หมื่นล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ ด้วยจุดมุง่ หมายส�ำคัญคือการดึงอัตราดอกเบีย้ ระยะยาวให้ลดลงมา เพือ่ เอือ้ ให้เกิดการลงทุน อย่างไรก็ตาม ตลาดแรงงานยังคงฟืน้ ตัวช้า สะท้อน จากอัตราการว่างงาน ณ สิ้นไตรมาสแรก 2556 ยังอยู่ต�่ำกว่าระดับร้อยละ 8 เพียงเล็กน้อย (เป้าหมายอยู่ที่ร้อยละ 6.5)
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ จากปี 2554 ถึง 2555 ภาพประกอบ 3
ทั้งนี้ สหรัฐฯ ยังคงต้องเผชิญปัจจัยเสี่ยงด้านการคลังอยู่ โดยเฉพาะ หน้าผาการคลัง (Fiscal Cliff) ซึง่ หมายถึงความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากการหมด วาระลงของชุดมาตรการผ่อนปรนภาษีในช่วงสิ้นปี 2555 และการปรับลด รายจ่ายภาครัฐที่เริ่มต้นในช่วงต้นปี 2556 เนื่องจากการแก้ปัญหาในเดือน มกราคม 2556 โดยเลือกการขึน้ ภาษีเฉพาะคนรวยแทนทีจ่ ะกระทบคนทัง้ หมด เพิ่งผ่านการพิจารณาแผนการตัดลดงบประมาณรายจ่ายเฉลี่ยปีละ 1.2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นเวลา 10 ปี เมือ่ ต้นเดือนมีนาคมทีผ่ า่ นมา เสมือน เป็นการซือ้ เวลาไม่ใช่การแก้ปญ ั หาแบบเบ็ดเสร็จ เพราะปัญหาหน้าผาการคลัง ยังคงมีอยู่ เพียงแต่ลดขนาดความรุนแรงลง และท�ำให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังคงขยายตัวต่อไป แต่จะเป็นอัตราขยายตัวที่ต�่ำ จากที่มีโอกาสที่เศรษฐกิจ สหรัฐฯ ต้องเผชิญกับภาวะถดถอยในช่วงครึง่ แรกของปี 2556 หากไม่ทำ� อะไร นอกจากนี้ ยังมีความเสี่ยงที่ต้องมีการขยายเพดานหนี้อีกต่อไป ตราบที่ ภาระหนี้สาธารณะของสหรัฐฯ ยังอยู่ในระดับสูง โดย Public Debt อยู่ที่ ร้อยละ 101.6 ของ GDP ณ สิ้นไตรมาสสามของปี 2555 แม้เหตุการณ์ ล่าสุดวุฒิสภาสหรัฐฯ อนุมัติให้ขยายเพดานหนี้จนเต็มเพดานการกู้เงิน ของรัฐบาล 16.4 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ออกไปเป็นการชั่วคราว จนถึง เดือนพฤษภาคม 2555 ก็ตาม
BORDERLESS 19
เศรษฐกิจประเทศยูโรโซน ยังคงอ่อนไหว 4เศรษฐกิจกลุ่มประเทศยูโรโซนในภาพรวมยังคงอยู่ในภาวะหดตัว ที่ร้อยละ 0.5 และอัตราการว่างงานยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยในไตรมาสสี่ ปี 2555 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 11.7 สูงสุดในรอบ 17 ปี แม้จะมีการออกมาตรการหลาย ชุดเพือ่ แก้ปญ ั หาเศรษฐกิจเมือ่ ความเสีย่ งของวิกฤติหนีย้ โู รโซนเพิม่ ขึน้ อย่างมี นัยส�ำคัญ อาทิ การประกาศรับซือ้ พันธบัตรของประเทศต่าง ๆ ในยูโรโซน โดยธนาคารกลางยุโรป (ECB) ภายใต้โครงการ Outright Monetary Transactions (OMTs) ซึ่งเป็นการซื้อโดยไม่จ�ำกัดจ�ำนวน และการท�ำ ธุ ร กรรมดั ง กล่ า วจะมุ ่ ง เน้ น ไปที่ ก ารฉุ ด ต้ น ทุ น การกู ้ ยื ม ให้ ป รั บ ตั ว ลดลง เช่นเดียวกับการตรึงอัตราดอกเบีย้ ไว้ทรี่ ะดับต�ำ่ สุดเป็นประวัตกิ ารณ์ทรี่ อ้ ยละ 0.75 อย่างไรก็ตามความหวังที่จะหลุดพ้นจากภาวะถดถอยยังต้องใช้เวลา โดยภาคเศรษฐกิจจริงยังคงอยู่ในภาวะไม่ฟื้นตัวซึ่งเป็นผลจากมาตรการ รัดเข็มขัดทางการคลังอย่างเข้มงวด สะท้อนจากดัชนี PMI ในเดือน กุมภาพันธ์ 2556 ร่วงลงสู่ระดับ 47.1 จากระดับ 48.6 ในเดือนก่อน ซึ่งระดับต�่ำกว่า 50 บ่งชี้ถึงการหดตัวของภาคธุรกิจ ขณะที่แนวโน้มการ กูย้ ืมเงินจาก ECB ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญในปี 2555 โดยเฉพาะ สเปน เนือ่ งจากเศรษฐกิจหดตัว อัตราการว่างงานสูงถึงร้อยละ 26.6 สูงสุด ในกลุ่มยูโรโซนและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อไป และรัฐบาลต้องการใช้เงินแก้ไข ปัญหาภาคธนาคาร ซึ่งมี NPL สูงราวร้อยละ 10 จากการแตกของฟองสบู่ อสังหาริมทรัพย์ ขณะทีอ่ ติ าลีมสี ภาพทีใ่ กล้เคียง โดยเศรษฐกิจหดตัวถึงร้อยละ 2.1 และอัตราการว่างงานสูงราวร้อยละ 11 ทัง้ นี้ ความต้องการใช้เงินในการ แก้ป ั ญ หาที่ ยั ง คงเพิ่ ม ขึ้ น สะท้ อ นการยื ด เยื้ อ ของวิ ก ฤติ ห นี้ ส าธารณะ สอดคล้องกับมุมมอง IMF คาดการณ์เศรษฐกิจยูโรโซนในปี 2556 จะยัง หดตัวทีร่ อ้ ยละ 0.2 ก่อนทีจ่ ะหลุดพ้นจากภาวะถดถอยได้ในปี 2557 อย่างไร ก็ตาม แม้ว่าเศรษฐกิจยูโรโชนยังคงถูกปกคลุมไปด้วยภาพของวิกฤติหนี้ ทีย่ งั คงยืดเยือ้ แต่กลไกและเครือ่ งมือในการแก้ปญ ั หาทีจ่ ะมีความพร้อมมากขึ้น น่าจะช่วยประคับประคองสถานการณ์ไม่ให้มีพัฒนาการไปในทิศทางที่แย่ลง 5โดยการประเมินความเสี่ยงที่จะมีประเทศใดประเทศหนึ่งหลุดพ้นจากกลุ่ม ยูโรโซน ซึง่ ส�ำรวจโดย Sentix Survey พบว่าโอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวลด ลงตามล�ำดับ หลังจากที่ท�ำสถิติสูงสุดของความเป็นไปได้ถึงร้อยละ 70 ในเดือนกรกฎาคม 2555 ทั้งนี้ ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นตัวแปรส�ำคัญต่อการฟื้นตัวของประเทศยูโรโซน ประกอบด้วย 1) ความล่าช้าของการส่งผ่านมาตรการต่างๆ เพื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจในแต่ละประเทศ จึงยากต่อการบรรลุเป้าหมายทางการคลัง 2) สถานการณ์ทางการเมืองที่ยุ่งยาก เนื่องจากเป็นปีที่จัดให้มีการเลือกตั้ง 20 BORDERLESS
เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศยูโรโซนยังอยู่ในภาวะหดตัว โดยเฉพาะประเทศสเปนและอิตาลี ที่มีอัตราการว่างงานสูง ภาพประกอบ 4
การประเมินความเสี่ยงที่จะมีประเทศใดประเทศหนึ่งหลุดพ้นจากกลุ่มยูโรโซน ซึ่งสถิติสูงสุดของความเป็นไปได้ถึงร้อยละ 70 ในเดือนกรกฎาคม 2555 ภาพประกอบ 5
ในอิตาลีและเยอรมนี โดยคาดว่าอาจส่งผลกระทบต่อการแก้ปญ ั หาเศรษฐกิจ ของประเทศสมาชิกในกลุ่มหากมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง โดยเฉพาะ การเลือกตั้งในอิตาลีเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2556 ที่ผลออกมาในลักษณะ ไม่มีพรรคการเมืองใดครองเสียงข้างมากในรัฐสภา สร้างความล�ำบากและ ปัญหาต่อการจัดตั้งรัฐบาล รวมถึงการบริหารประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การก�ำหนดแนวทางในการแก้ไขวิกฤติเศรษฐกิจ และเสี่ยงที่จะถูกปรับลด อันดับความน่าเชื่อถือ หากสถานการณ์ไร้ข้อยุติโดยเร็ว
เศรษฐกิจญี่ปุ่น ฟื้นตัวช้า 6เศรษฐกิจญี่ปุ่นในปี 2555 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 เทียบกับหดตัวที่ ร้อยละ 0.6 ในปี 2554 โดยได้รบั แรงหนุนจากอุปสงค์ในประเทศ โดยเฉพาะ ยอดค�ำสั่งซื้อรถยนต์ Eco-car ที่ได้รับการอุดหนุนจากรัฐบาล อีกทั้งยังมี รายจ่ายในการฟื้นฟูหลังจากภัยพิบัติ เป็นแรงกระตุ้นในช่วงครึ่งปีแรก และท�ำให้ค่าเงินเยนแข็งค่าขึ้นมาก และสร้างแรงกดดันต่อการขยายตัว ของเศรษฐกิจในช่วงครึ่งปีหลัง อย่างไรก็ตาม วิกฤติเศรษฐกิจในยุโรป และการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกที่รุนแรงขึ้นในช่วงไตรมาสสาม ได้ส่ง ผลกระทบต่อภาคส่งออกเนือ่ งจากญีป่ นุ่ ส่งออกสินค้าไปยังยุโรป สหรัฐฯ และจีน รวมกันประมาณร้อยละ 50 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด ซึ่งส่งผลต่อเนื่อง ไปยังภาคการผลิต โดยเฉพาะสินค้าอุตสาหกรรมให้ชะลอตัวลงเช่นเดียวกัน และมีแนวโน้มทีภ่ าคการผลิตอุตสาหกรรมยังต้องใช้เวลาในการฟืน้ ตัวอีกนาน กว่าจะเข้าสู่ระดับปกติ ส�ำหรับในปี 2556 รัฐบาลใหม่ภายใต้การน�ำของนายชินโซ อาเบะ มุ่งมั่นผลักดันเศรษฐกิจญี่ปุ่นให้หลุดพ้นจากภาวะถดถอยและแก้ไขปัญหา เงินฝืดที่เรื้อรังมานาน โดยด�ำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมูลค่า 10.3 ล้านล้านเยน (1.16 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) มีเป้าหมายจะกระตุ้น เศรษฐกิจให้ได้ร้อยละ 2.0 และสร้างการจ้างงาน 600,000 ต�ำแหน่ง อีกทั้งธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) ประกาศด�ำเนินนโยบายการเงินแบบ Japan GDP Growth Source : CEIC and TMB Analytics.
-0.6 yoy %
2011
2012
2.0 yoy %
เศรษฐกิจของญี่ปุ่นแต่ละไตรมาสในช่วงปี 2008 ถึง 2012 ภาพประกอบ 6
เศรษฐกิจของญี่ปุน แตละไตรมาสในชวงป 2008 ถึง 2012
ผ่อนคลายในเชิงรุกมากขึน้ โดยปรับเพิม่ เป้าหมายเงินเฟ้อ จากร้อยละ 1.0 เป็นร้อยละ 2.0 และที่ส�ำคัญ คือการ ประกาศเข้าซือ้ สินทรัพย์ทางการเงินเดือนละ 13 ล้านล้านเยน ตั้งแต่มกราคม 2557 โดยไม่ก�ำหนดระยะเวลาสิ้นสุด มาตรการ ล้วนเป็นปัจจัยทีส่ นับสนุนการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจ และท�ำให้คา่ เงินเยนมีแนวโน้มอ่อนค่าลงต่อเนือ่ ง เป็นปัจจัย บวกต่อภาคส่งออกนอกเหนือจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โลก อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของการบริโภค จะถูก ฉุดรัง้ ด้วยรายได้จากภาคการผลิตทีย่ งั คงไม่ฟน้ื ตัวเต็มทีแ่ ละ การปรับเพิม่ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ท�ำให้เศรษฐกิจญีป่ นุ่ ในปี 2556 ขยายตัวต่อเนือ่ งแต่ในอัตราทีแ่ ผ่วลงจากปี 2555 สอดคล้อง กับมุมมองของ IMF คาดการณ์เศรษฐกิจญี่ปุ่นจะขยายตัว ที่ร้อยละ 1.2 ทั้งนี้ ในระยะต่อไปญี่ปุ่นยังมีข้อจ�ำกัดในการกระตุ้น เศรษฐกิจ ด้วยระดับหนี้สาธารณะที่สูงถึงร้อยละ 230 ของ GDP ท�ำให้รัฐบาลไม่สามารถใช้จ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ต่อไปได้อีกมากนัก ในขณะที่อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่อยู่ ในระดับต�่ำที่ร้อยละ 0.1 ท�ำให้ไม่สามารถลดดอกเบี้ยลง เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจได้อีก นอกจากนี้ ปัญหาเงินฝืดของ ญีป่ นุ่ ทีเ่ ป็นตัวสะท้อนความซบเซาของการใช้จา่ ยในประเทศ นั้น เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่ยากแก่การแก้ไขให้หลุดพ้น ในระยะเวลาอันสั้น และความเป็นชาตินิยมของนายอาเบะ อาจท�ำให้ความตึงเครียดระหว่างญีป่ นุ่ กับจีนกรณีการอ้างสิทธิ ในหมู่เกาะทะเลจีนตอนใต้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น BORDERLESS 21
เศรษฐกิจจีนขยายตัวแกร่งขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกต่อเนื่อง เศรษฐกิจจีนในปี 2555 ส่งสัญญาณชะลอตัวตัง้ แต่ตน้ ปี จนถึงไตรมาส สาม ซึง่ เป็นผลจากการซบเซาของภาคส่งออกทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากวิกฤติหนี้ สาธารณะยุโรปเนือ่ งจากตลาดยุโรปมีสดั ส่วนถึงร้อยละ 18.8 ของการส่งออก รวม กอปรกับการด�ำเนินมาตรการชะลอการขยายตัวภาคอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งเป็นที่วิตกกังวลว่าเศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวอย่างรุนแรงและส่งผลกระทบ ต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจจีนเริ่มมีสัญญาณ การปรับตัวดีขึ้นในไตรมาสสุดท้าย โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการขยาย ตั ว ของการลงทุนภาครัฐภายใต้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจทางการคลัง มูลค่า 1 ล้านล้านหยวน และการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและ การส่งออก โดยมูลค่าส่งออกสินค้าในไตรมาสสี่ขยายตัวร้อยละ 9.4 เร่งขึ้น จากขยายตัวร้อยละ 4.4 ในไตรมาสสาม เช่นเดียวกับทิศทางของดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรมปรับตัวขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจากระดับ 49.0 ในเดือนกันยายน เป็น 50.6 ในเดือนมีนาคม 2556 การปรับตัวดีขึ้นในไตรมาสสุดท้าย เป็นแรงหนุนท�ำให้เศรษฐกิจจีนยังคงรักษาอัตราขยายตัวในเกณฑ์สงู ทีร่ อ้ ยละ 7.8 แม้เป็นอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ต�่ำสุดในรอบ 12 ปี ส�ำหรับในปี 2556 เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง โดยได้ รับปัจจัยสนับสนุนต่อเนื่องจากการด�ำเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายในช่วง ปี 2555 ประกอบด้วย การปรับลดอัตราเงินสดส� ำรองตามกฎหมาย การปรับลดอัตราดอกเบีย้ 2 ครัง้ ในช่วงเดือนมิถนุ ายนถึงกรกฎาคม กอปรกับ การด�ำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมูลค่า 1 ล้านล้านหยวนเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 และการเริม่ ลงทุนของโครงการลงทุนขนาดใหญ่ทไี่ ด้รบั อนุมตั ิ ในปี 2555 ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นโครงการพลังงานสะอาด นอกจากนีภ้ าคส่งออก มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง สะท้อนจากสัญญาณที่ดีในเดือนมกราคม 2556 7ทีม ่ ลู ค่าส่งออกขยายตัวในอัตราเร่งร้อยละ 25 สูงสุดในรอบ 1 ปี สอดคล้อง กับข้อมูลการปล่อยสินเชื่อใหม่ที่เพิ่มขึ้นชัดเจน
การส่งออกของจีน ในเดือนมกราคม 2556 มีมูลค่าการส่งออกขยายตัวในอัตราเร่ง ร้อยละ 25 สูงสุดในรอบ 1 ปี ภาพประกอบ 7
22 BORDERLESS
อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจและการฟืน้ ตัวของ เศรษฐกิจจีนอย่างรวดเร็ว รวมทั้งตลาดแรงงานตึงตัวอาจท�ำให้แรงกดดัน ด้านเงินเฟ้อเพิ่มขึ้น และกลายเป็นเงื่อนไขที่อาจท�ำให้มีการเปลี่ยนแปลง นโยบายการเงินเพือ่ ดูแลเสถียรภาพของเศรษฐกิจ ส�ำหรับปัจจัยด้านการเมือง การเปลี่ยนผ่านผู้น�ำระดับสูงทางการเมืองในรอบทศวรรษ คาดว่าจะไม่ ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายเศรษฐกิจของจีนอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยทางการจีนมุ่งเน้นการขยายตัวที่มีเสถียรภาพ กล่าวคือเป็นการเติบโต ที่มีความสมดุลระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งตั้งเป้าหมาย การขยายตัวที่ร้อยละ 8.0 ในปี 2556 นั้น แม้จะถูกฉุดรั้งด้วยการฟื้นตัวที่ล่าช้าของประเทศ ยูโรโซน แต่ในมุมมองของ TMB Analytics เชือ่ ว่าทิศทางเศรษฐกิจโลกใน ภาพรวมมีการฟืน้ ตัวอย่างต่อเนือ่ ง จากแนวโน้มทีด่ ขี นึ้ ในหลายๆ ประเทศ โดยเฉพาะในจีนและสหรัฐฯ แม้จะไม่เป็นไปในอัตราเร่งก็ตาม ซึ่งเป็น ปัจจัยบวกส่งผ่านไปยังภาคส่งออกในประเทศต่างๆ ให้ปรับตัวดีขึ้นจากปี ที่ผ่านมา พร้อมทั้งน่าจะเป็นสัญญาณที่ท�ำให้ประเทศต่างๆ ลดมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจได้ในระยะต่อไป
ศูนย์วิเคราะห์เศรษกิจ TMB ถูกบ่มเพาะจากความตั้งใจของทีม นักวิชาการ TMB เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ไปสู่บุคคลที่มีความสนใจ TMB Analytics ภูมใิ จเสนอบทวิเคราะห์ ครบถ้วน ลึก แต่เรียบง่าย และเข้าถึงได้ ซึ่งเกิดจากการเชื่อมโยงทางเศรษฐศาสตร์มหภาค เศรษฐกิจระหว่างประเทศ การวิเคราะห์อตุ สาหกรรม ตลาดเงิน ตลาดทุน และบริหารความเสี่ยง
Borderless
Insight
เรื่อง : อรรถสิทธิ์ เหมือนมาตย์
เป็นที่ทราบกันดีว่า ‘ความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก’ หรือ TPP (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement) ก�ำลังถูก มองว่าเป็นคลืน่ ลูกใหม่ของการรวมกลุม่ เศรษฐกิจ และเป็นรูปแบบการรวมกลุม่ เศรษฐกิจ ที่มีความโดดเด่นมาก จึงเริ่มมีการพูดถึงมากขึ้นนอกเหนือจากประเด็นเรื่อง AEC ที่พูด กันอย่างหนาหูอยู่แล้ว เพราะ TPP เป็นกลุ่มเศรษฐกิจที่มีมาตรฐานสูง และมีการเจรจา ครอบคลุมในทุกมิตเิ ศรษฐกิจ ซึง่ เป็นขอบเขตทีก่ ว้างมาก รวมถึงการเปิดเสรี โทรคมนาคม ด้วย และหลายภาคธุรกิจการค้า ซึง่ มีผลกระทบต่อความมัน่ คงทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมถึงประเด็นเรือ่ งสิทธิบตั รยาทีอ่ อ่ นไหว แม้ในปัจจุบนั ประเทศไทยยังไม่ได้เป็นสมาชิก แต่ก็ ควรมีการเจรจาและแสดงเจตนารมณ์อย่างชัดเจนในการเข้าร่วมกลุม่ นี้ เพือ่ ไม่ให้ตกขบวน หรือพลาดโอกาสส�ำคัญ และสร้างอ�ำนาจต่อรองทางการค้ามากขึน้ แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ ต้องมี การศึกษากรอบความร่วมมืออย่างชัดเจน และต้องรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนด้วย
ข ณ ะ ที่ ค ว า ม ต ก ล ง พั น ธ มิ ต ร ท า ง เศรษฐกิจระดับภูมภิ าค หรือ RCEP (Regional Comprehensive Economic Partnership) ก็เป็น อีกกรอบความร่วมมือหนึง่ ทีต่ อ้ งจับตามอง ล่าสุด ในที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอย่าง ไม่เป็นทางการ ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมือ่ เดือนมีนาคมทีผ่ า่ นมา ได้มมี ติให้จดั ตัง้ คณะ เจรจา RCEP ขึน้ ระหว่างกลุม่ ประเทศสมาชิก อาเซียน และ RCEP อีก 6 ประเทศ คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ หรือทีเ่ รียกว่า Asean+6 แต่ทง้ั นี้ ก็ตอ้ งมีการเจรจาอย่างรอบคอบ เนือ่ งจากเป็น ความตกลงที่มีผลกระทบสูงต่อภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิก เพราะมีขนาดตลาดใหญ่รวมกัน และมีฐานผูบ้ ริโภคเกือบ 3,400 ล้านคน และ มีสดั ส่วนการค้าทีม่ มี ลู ค่าเศรษฐกิจรวมกันสูงถึง 17.1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ก่อนอืน่ ต้องทำ�ความรูจ้ กั กับ TPP และ RCEP ให้มากขึน้ นับตัง้ แต่จดุ เริม่ ต้นของกรอบ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจทัง้ สองรูปแบบ BORDERLESS 23
ปฐมบทของ TPP เกิดจากการรวมตัวกันของสมาชิกผู้ก่อตั้ง 3 ประเทศ คือ สิงคโปร์ นิวซีแลนด์ และชิลี ตั้งแต่ปี 2545 ในการประชุมสุดยอดผู้นำ�กลุ่มความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก ที่เม็กซิโก เริ่มแรกเนื่องจากมีเพียง 3 ประเทศ จึงใช้ชื่อว่า Pacific Three Closer Economics Partnership (P3-CEP) ต่อมาได้เพิ่มบรูไนอีกหนึ่งประเทศเป็น P4 ก่อนจะขยายมา TPP ซึ่งประกอบด้วย 11 ประเทศในปัจจุบัน แต่แบ่งสถานะออกเป็นประเทศ สมาชิกเดิม 4 ประเทศดังที่กล่าวมา และประเทศสมาชิกที่มีสถานะเป็น ประเทศคู่เจรจา อีก 7 ประเทศ คือ เม็กซิโก แคนาดา มาเลเซีย เปรู เวียดนาม สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย โดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นหัวหอก หลักที่ต้องการถ่วงดุลอำ�นาจของจีนในภูมิภาคเอเชีย โดย TPP มีขนาด ประชากรรวมกันทั้งสิ้นราว 660 ล้านคน ถามว่า TPP สำ�คัญอย่างไร ทั้งๆ ที่ประเทศไทยยังไม่ได้เป็นสมาชิก คำ�ตอบคือ TPP เป็นรูปแบบความร่วมมือทางเศรษฐกิจทีค่ รอบคลุมการเจรจา การค้าระหว่างประเทศในทุกๆ ด้าน (Comprehensive Agreement) ซึ่งแบ่ง เป็นข้อๆ ได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้ มาตรการเยียวยาผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า (Trade Remedies) มาตรการด้านสุขอนามัยของคน สัตว์ และพืช (Sanitary and Phytosanitary Measures) มาตรการทางเทคนิค (Technical Barriers to Trade)
• • •
24 BORDERLESS
้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) • มาตรการคุ มาตรการจั ด ซื้อจัดจ้างของภาครัฐ (Government Procurement) • นโยบายด้านการแข่ (Competition Policy) • นับว่า TPP เป็งนขันกรอบการเจรจาในระดั บเข้มข้นทั้งกว้างและลึก
เรียกว่าเกินกว่ากรอบการเจรจาในเวทีองค์การการค้าโลก (WTO) หรือเรียกว่า WTO Plus Plus และ TPP จะเป็นต้นแบบสำ�หรับการเจรจาทำ�ความตกลง เปิดเสรีทางเศรษฐกิจการค้าในกลุ่มเอเปค หรือ FTAAP (Free Trade Area of the Asia Pacific) ซึ่งจะเกิดขึ้นในปี 2563 ทั้งนี้ข้อมูลสถาบันนานาชาติเพื่อเอเชียแปซิฟิกศึกษา วิเคราะห์ว่า การค้าและการส่งออกของไทย จะได้ประโยชน์จากการเจรจากรอบความ ร่วมมือ TPP ทั้งในธุรกิจสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่ไทย มีศกั ยภาพในการผลิต โดยไทยจะได้รบั ประโยชน์จากสิทธิทางภาษีและความ มั่นใจจากนักลงทุนในภูมิภาคอาเซียนและทั่วโลก แต่ในระยะยาว รัฐบาล ต้องเข้ามาดูแลการปรับกฎเกณฑ์ต่างๆ ให้มีความเป็นสากลมากขึ้น เพราะ ‘ความแตกต่าง’ และ ‘ความเหลือ่ มล�ำ้ ’ ของประเทศสมาชิกยังคงมีอยู่มาก ระหว่างประเทศที่พัฒนาแล้ว กับประเทศที่ก�ำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา
อะไรจะเกิดขึ้น หากไทย เข้าร่วมเป็นสมาชิก TPP ประโยชน์ประการแรกก็คือสินค้าบางประเภทของไทยจะมีโอกาส เจาะตลาดในสหรัฐอเมริกามากขึน้ แม้โดยภาพรวมแล้วสหรัฐอเมริกาก็มกี าร จัดเก็บภาษีในอัตราค่อนข้างต�ำ่ อยูแ่ ล้วก็ตาม โดยข้อมูลจากกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ ระบุวา่ จะท�ำให้สนิ ค้าส่งออกของไทย เช่น ถุงมือยาง อาหาร ปรุงแต่ง และเครือ่ งปรับอากาศ ได้รบั สิทธิพเิ ศษภาษีน�ำเข้าเป็นศูนย์เป็นการ ถาวรในตลาดสหรัฐอเมริกา โดยไม่ตอ้ งพึง่ พาสิทธิพเิ ศษทางภาษีศลุ กากร (GSP) ซึง่ สินค้าทีก่ ล่าวมาล้วนเป็นสินค้าส่งออกของไทยทีม่ กี ารใช้สทิ ธิ GSP สูง ซึง่ สหรัฐอเมริกานับเป็นคูค่ า้ อันดับที่ 5 ของไทย รองจากอาเซียน ญีป่ นุ่ จีน และสหภาพยุโรป และไทยส่งออกสินค้าไปสหรัฐอเมริกา คิดเป็นมูลค่า 21,857.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ข้อมูลล่าสุดเมือ่ ปี 2554) ขณะเดียวกัน การค้าระหว่างประเทศสมาชิกอืน่ ๆ ของ TPP ทีเ่ หลือ ก็คดิ เป็นสัดส่วนราว 18% ของมูลค่าส่งออกสินค้าทัง้ หมดของไทย นอกจากนีป้ ระโยชน์และโอกาสทีไ่ ทยจะได้รบั คือ การดึงดูดนักลงทุน ต่ า งชาติ โดยเฉพาะจากประเทศสมาชิกผู้ร�่ ำ รวยอย่างสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แคนาดา และสิงคโปร์ ส่วนธุรกิจภาคบริการ ซึ่งเป็นหน้าเป็นตาของไทย ก็จะมีโอกาสขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศได้ มากขึน้ ซึง่ ปัจจุบนั เอสเอ็มอีไทยหลายรายก็ลงทุนเปิดร้านอาหารและสปา ในสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลียอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมากอยูแ่ ล้ว ในอีกทางหนึง่ บริษทั ไบรอัน เคฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เผยแพร่ โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ) วิเคราะห์ไว้ว่า ผลกระทบด้าน การค้าและการลงทุนทีจ่ ะเกิดขึน้ หากไทยไม่ได้เข้าร่วมเจรา TPP คือ ไทยจะ เสียโอกาสในการขยายตลาดสหรัฐฯ ส�ำหรับสินค้าบางประเภท เช่น ผลไม้ แปรรูป อัญมณี และเครือ่ งประดับ เป็นต้น แต่กส็ ง่ ผลดีในแง่ของการลดแรง กดดันทีจ่ ะเกิดจากการแข่งขันทีส่ งู ขึน้ เช่น รถยนต์ นมและผลิตภัณฑ์นม เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ส่วนการเปิดเสรีในด้านบริการทางการเงินและการประกันภัยจะท�ำให้ นักธุรกิจไทยสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนด้วยต้นทุนทีต่ ำ�่ ลง อีกด้านหนึง่ ธุรกิจ และสถาบันการเงินต่างๆ ของไทย จะสามารถเข้าถึงความรูใ้ หม่ๆ เทคโนโลยี ตลอดจนนวัตกรรมทางการเงินได้มากขึน้ ขณะเดียวกันต้องไม่ลมื ว่า ธนาคาร ระดับโลกซึ่งมีความเชี่ยวชาญ หลายแห่งต่างจดจ้องที่จะเข้ามาเปิดบริการ ในไทย ท�ำให้สนามรบทางการเงินขยายขอบเขตกว้างกว่าทีเ่ คย เท่านัน้ ยัง ไม่พอ อาจเกิดการแย่งงานนักการเงินการธนาคารไทย จากบุคลากรทางการเงิน ชาวต่างชาติทจี่ ะหลัง่ ไหลเข้ามามากขึน้ ฝ่ายทีเ่ ห็นว่าไทยควรเข้าร่วม TPP เพราะผูบ้ ริโภคจะได้รบั ประโยชน์จาก นวัตกรรมทางการเงินทีแ่ ปลกใหม่และหลากหลาย รวมถึงจะท�ำให้ธรุ กิจไทย ทัง้ ผูป้ ระกอบการรายใหญ่และเอสเอ็มอี สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ดว้ ย ต้นทุนทีต่ ำ�่ ลง อีกทัง้ ค่าบริการทางการเงินโดยเฉพาะส�ำหรับลูกค้ารายย่อย น่าจะลดลง เนือ่ งจากผูเ้ ล่นจากต่างชาติมรี ะบบเครือข่ายทัว่ โลก ท�ำให้มตี น้ ทุน ในการท�ำธุรกิจทีต่ ำ�่ กว่า ตามหลัก Economy of Scale นอกจากนีห้ ากไทย ยังคงเพิกเฉยหรือแสดงท่าทีไม่ชดั เจน หรือตอบรับช้าเกินไป อาจจะท�ำให้เสีย โอกาสการแข่งขัน ขณะทีเ่ วียดนาม สิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย ซึง่ เป็น สมาชิกอาเซียน ก็ได้เข้าร่วมเจรจา TPP แล้ว แต่ฝา่ ยทีเ่ ห็นต่างว่าไทยควร สงวนท่าทีและไม่เข้าร่วม TPP เพราะเห็นว่า นีค่ อื มหันตภัยร้ายของธุรกิจ การเงินการธนาคารของไทยที่อาจจะต้องเผชิญกับภาวะเสี่ยงของการรักษา เสถียรภาพทางการเงินของประเทศ ขณะทีใ่ นภาพรวมภาครัฐจ�ำเป็นจะต้อง มีมาตรการด�ำเนินการทีโ่ ปร่งใส เพือ่ ส่งเสริมและคุม้ ครองการลงทุน BORDERLESS 25
ก้าวสำ�คัญสู่ RCEP
บทวิเคราะห์ส่งท้าย
ขณะที่สหรัฐอเมริกาเป็นหัวเรือใหญ่ในการเชิญชวนประเทศสมาชิก อาเซียนเข้าร่วม TPP แต่ในอีกด้านหนึง่ ก็มคี วามร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง ภูมภิ าคอาเซียนกับประเทศในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ อีก 6 ประเทศ หรือที่ รูจ้ กั กันในชือ่ Asean + 6 รวมเป็น 16 ประเทศ โดยมีเป้าหมายการบูรณาการ อาเซียนเข้ากับเศรษฐกิจโลก เพราะล�ำพังอาเซียนเอง การเติบโตย่อมมีขดี จ�ำกัด ดังนัน้ การแสวงหาความร่วมมือกับกลุม่ เศรษฐกิจอืน่ จึงมีความส�ำคัญ ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าความร่วมมืออย่างแข็งขันภายในอาเซียนเอง โดย RCEP มีจนี เป็นตลาดใหญ่ เมือ่ รวมกับประเทศสมาชิกอืน่ ๆ แล้ว จะมีประชากรมาก เกือบ 3,400 ล้านคน เหมือนเป็นอีกกลุม่ เศรษฐกิจหนึง่ ทีส่ �ำคัญและมีขนาด ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่า TPP ทัง้ นี้ RCEP พัฒนาการมาจาก การลงนามข้อตกลง Joint Declaration on the Launch of Negotiations for the Regional Comprehensive Economic Partnership ในการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียนครั้งที่ 21 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เมือ่ ปี 2555 และมีเป้าหมายบรรลุขอ้ ตกลง ในการลดก�ำแพงการค้าทัว่ ทัง้ ภูมภิ าคให้ได้ภายในปี 2558 โดยประเทศไทย มีบทบาทสูงในการเจรจานี้ โดย รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี วิเคราะห์ไว้ในคอลัมน์กระบวนทรรศน์: RCEP vs TPP หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ ซึง่ น�ำมาเรียบเรียงโดยย่อได้ความ ว่า ข้อดีของ RCEP ต่ออาเซียนและไทย คือ จะเป็น FTA ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก จะครอบคลุมประเทศคูค่ า้ ส�ำคัญของอาเซียนและไทย ท�ำให้ปริมาณการค้า ในภูมิภาคเพิ่มขึ้น และจะท�ำให้อาเซียนกลับมามีบทบาทน�ำในบูรณาการ ทางเศรษฐกิจในภูมภิ าค แข่งกับ TPP ซึง่ เป็น FTA ทีส่ หรัฐฯจะเป็นแกน กลางแข่งกับอาเซียน นอกจากนีก้ ารเจรจา RCEP มีความยืดหยุน่ สูง เพราะ เปิดกว้างทีจ่ ะให้ประเทศทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมเจรจาในตอนแรก ได้เข้าร่วมภายหลังได้ ทัง้ ประเทศคูเ่ จรจาทีม่ ี FTA อยูแ่ ล้ว และรวมทัง้ ประเทศอืน่ ๆ ด้วย RCEP จึงเป็น FTA ทีไ่ ม่ได้ปดิ กัน้ ใคร ไม่เหมือน TPP ทีพ่ ยายามแบ่งพรรคแบ่งพวก โดยเฉพาะการพยายามกีดกันไม่ให้จนี เข้าร่วม TPP
อย่างไรก็ตามแม้ TPP จะมีขนาดใหญ่ แต่บทบาทความส�ำคัญทีม่ ตี อ่ ภูมภิ าคเอเชียอาจจะยังไม่เท่ากับ RCEP เนือ่ งจากสมาชิกส่วนใหญ่ของ TPP จะเป็นประเทศทีม่ เี ศรษฐกิจเสรี อีกทัง้ สมาชิกบางส่วนยังเป็นประเทศทีม่ เี ขต การค้าเสรีแบบทวิภาคีกบั สหรัฐอเมริกาอยูแ่ ล้ว ดังนัน้ สถานะการค้าระหว่าง กันจึงอาจจะไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ท�ำให้อัตราการเติบโตด้านเศรษฐกิจ ของกลุม่ นีม้ ขี อบเขตจ�ำกัด (ประเทศพัฒนาแล้วย่อมมีอตั ราการเติบโตทาง เศรษฐกิจต�ำ่ กว่าประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่หรือก�ำลังพัฒนา) ขณะเดียวกัน TPP ก็ขบั เคลือ่ นโดยประเทศสมาชิกเดิม ไทยจึงมีสว่ นร่วมหรือมีอทิ ธิพล ในการเจรจาภายใต้กรอบเศรษฐกิจนีน้ อ้ ยกว่า RCEP ทีไ่ ทยเปรียบเสมือน หนึง่ ในตัวตัง้ ตัวตีส�ำคัญ โดยข้อมูลจากกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ระบุว่า มูลค่า การค้าขายของไทยกับกลุม่ RCEP ปัจจุบนั มีประมาณ 2.55 แสนล้านเหรียญ สหรัฐฯ หรือคิดเป็นสัดส่วน 56% ของยอดรวมการค้าไทย ซึง่ หากมีการ เปิดเสรี จะยิง่ ท�ำให้ไทยมีโอกาสขยายการค้าไปยังประเทศในกลุม่ ได้เพิม่ ขึน้ ขณะทีผ่ ลการศึกษาทีจ่ ดั ท�ำโดยสถาบันวิจยั และพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ร่วมกับกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ พบว่าจะท�ำให้จีดีพีไทยเพิ่มขึ้น 4.03% โดยสินค้าที่จะได้อานิสงส์ และมีการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ ผัก และผลไม้แปรรูป อาหารแปรรูป เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ชิน้ ส่วนยานยนต์ ยางพารา และพลาสติก เป็นต้น สุดท้ายแล้วรัฐบาลจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องชั่งน�้ำหนักอย่างรอบคอบ ระหว่างข้อดีและข้อเสียที่จะเกิดขึ้นจากการเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมเจรจา TPP ขณะทีก่ ารเดินหน้า RCEP ทีเ่ ป็นกรอบเจรจาทีใ่ กล้ชดิ ก็ตอ้ งค�ำนึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชนในระยะยาวด้วย
26 BORDERLESS
ข้อมูลจาก :
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ส�ำนักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ บริษทั ไบรอัน เคฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด สถาบันวิจยั และพัฒนาประเทศไทย (TDRI) คอลัมน์กระบวนทรรศน์ หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์, 22 มีนาคม 2556
Reflection
+
+
เรื่อง : คุณปพนธ์ มังคละธนะกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเอสเอ็มอีและซัพพลายเชน TMB
+
+
+
+
+
+
เหลือไม่ถึง 3 ปีแล้วนะครับที่ AEC จะมีผลบังคับใช้กันอย่างเป็นทางการ จนถึ ง วั นนั้น สภาพเศรษฐกิ จ และการค้ า ในแถบอาเซียนนีค้ งเปลี่ยนโฉมหน้าไปจากนี้ พอสมควร มีการพูดคุยกันถึงโอกาสของ ผู้ประกอบการจากการเปิดเสรีทางการค้า ในอาเซียนมากมาย ไหนจะตลาดทีเ่ ปิดกว้าง จากผู้บริโภคเพียง 60 ล้านคน จะเพิ่มขึ้น เป็ น 600 ล้ า นคน ภายหลั ง วั นที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็นต้นไป ไหนจะโอกาส ที่ไทยในฐานะที่มีที่ตั้งเป็นศูนย์กลางของ ภูมิภาค ถนนทุกเส้นต้องผ่านประเทศไทย ทุ ก ประเทศเชื่ อ มโยงกั น ได้ โ ดยทางบก โดยมีประเทศไทยเป็นตัวเชื่อม นัน่ เท่ากับว่า ธุรกิจต่าง ๆ ก็จะมีการย้ายฐานการผลิต หรือว่ามาตั้งสาขากันในประเทศไทยเพื่อใช้ ประโยชน์ของท�ำเลที่เป็นศูนย์กลางอย่างนี้
จากสภาวะการแข่งขันในตลาดการค้าโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ในอดีตไทยเคยเป็นประเทศแหล่งแรงงานฝีมือ ทีม่ รี าคาถูก และนัน่ คือจุดขายของไทยเรา เป็นแหล่งผลิตของสินค้าหลาย ๆ อย่างที่ส่งออกไปตลาดโลก สินค้าหลาย ๆ อย่างของประเทศไทยเราเองก็ได้ ประโยชน์จากค่าแรงทีต่ ำ�่ กว่า ท�ำให้สนิ ค้าของไทยเราเองก็สามารถส่งออกไป แข่งขันกับสินค้าจากประเทศอื่นได้ ปัจจุบันข้อได้เปรียบนั้นได้หมดไปแล้ว ธุรกิจที่อาศัยแรงงานถูก ได้ย้ายฐานผลิตไปประเทศเพื่อนบ้านเราในแถบ อินโดจีนไปหมดแล้ว ส�ำหรับผู้ประกอบการไทย การย้ายฐานผลิตไปในประเทศเพื่อนบ้าน คงเป็นเรือ่ งของ SMEs ขนาดใหญ่เสียมากกว่า ทีม่ กี ำ� ลังพอทีจ่ ะย้ายฐานผลิตได้ แต่ส่วนใหญ่การย้ายฐานผลิต น่าจะเป็นการย้ายเพื่อไปหาแรงงานที่ถูกกว่า ในประเทศเพื่อนบ้านแถบอินโดจีน ได้แก่ เขมร เวียดนาม หรือเข้าไป ตั้งโรงงานใกล้กับวัตถุดิบที่อาจมีมากกว่าในประเทศเพื่อนบ้านในแถบนี้ จากการสังเกตพฤติกรรมผูบ้ ริโภคในช่วง 2-3 ปีหลัง แนวโน้ม หรือ Trend ที่เห็นได้ชัดก็คือ ผู้บริโภคเริ่มมองหาสินค้าที่มี ‘ความพิเศษ’ มากขึ้น เรื่อย ๆ โดยยินดีที่จะจ่ายแพงขึ้นให้แก่สินค้าที่มี ‘ความพิเศษ’ ที่ว่านี้ เพื่อที่
+
+
+
+
ต้องการจะแยกตัวเองให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ซื้อหาสินค้าที่มีอยู่ดาษดื่น และผลิตโดยกระบวนการผลิตแบบเป็นจ�ำนวนมาก (Mass Production) มีคณ ุ ภาพต�่ำ หากต้องซื้อสินค้าที่ขาด ‘ความพิเศษ’ ก็จะตัดสินใจซื้อโดยใช้ ราคา และความสะดวก และง่ายในการซื้อสินค้าและบริการเหล่านั้น ในทางตรงกันข้าม สินค้าที่มี ‘ความพิเศษ’ ผู้บริโภคยินดีที่จะเสาะหา เพื่อให้ได้มาครอบครอง และยอมจ่ายในราคาที่สูงเพื่อแลกมากับคุณภาพ ที่สูงขึ้น สินค้าที่มี ‘ความพิเศษ’ อย่างหนึ่งที่ประเทศไทยเรามีอยู่ดาษดื่น ก็คือ สินค้าประเภทงานฝีมือ (Hand Made) ที่มีความประณีตและความ ละเอียดในการผลิต มีคุณภาพสูง ทั้งนี้เนื่องจากสินค้าประเภทงานฝีมือ นับวันจะเป็นสินค้าที่หายากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะงานฝีมือชั้นเลิศที่เป็น เอกลักษณ์ของท้องถิน่ ต่าง ๆ ของไทยเราเอง ก็มงี านฝีมอื ชัน้ เลิศในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น งานไม้ งานเครื่องปั้นดินเผา และอีกหลายๆ งานฝีมือที่ ควรจะอนุรักษ์ไว้ โอกาสส�ำหรับ SMEs ไทยเราในด้านสินค้าประเภทงานฝีมือนั้น ผมมี มุมมองว่าเป็นไปได้ 2 อย่างก็คือ
+
+
+
+
BORDERLESS 27
+
+
+
+
1. นำ�ทักษะในงานฝีมือเด่น ๆ มาตีความใหม่ ให้กว้างขึ้น มีลักษณะร่วมสมัยมากขึ้น
ในอดี ต สิ น ค้ า ของไทยที่ เ ป็ น งานฝี มื อ มั ก จะเป็ น งานฝี มื อ ที่ จ� ำ กั ด เฉพาะด้านและผลิตสินค้าในแบบเดิม ๆ ที่เน้นความเป็นไทยมากและดั้งเดิม แรก ๆ สินค้าประเภทนีเ้ ป็นของแปลกและของใหม่ในตลาดโลก ท�ำให้ขาย ได้ดี แต่ต้องยอมรับว่ารสนิยมของผู้บริโภคที่จะชอบสินค้าประเภทแบบนี้ ไม่ได้มีวงกว้างมาก การเติบโตก็มีโอกาสที่จะจ�ำกัดในอนาคต สิง่ ทีผ่ มคิดว่าน่าจะมีตลาดทีใ่ หญ่กว่า และมีโอกาสสดใสกว่า ก็คอื สินค้า ที่เน้นคุณภาพจากงานฝีมือเหล่านี้ แต่ปรับเปลี่ยนให้เป็นไทยร่วมสมัย หรือ เป็นสากลมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ให้เหมาะกับรสนิยมของคนส่วนใหญ่มากขึน้ สินค้า ของช่างฝีมอื คนไทย ไม่จำ� เป็นต้องเป็นลวดลายกนกเสมอไป แต่ความละเอียดอ่อน ความอ่อนช้อยของงานฝีมอื สามารถทีจ่ ะแสดงออกผ่านงานดีไซน์ทเี่ ป็นสากล มากขึ้น หรือมีความร่วมสมัยมากขึ้นได้ ประเทศที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในการท� ำ เรื่ อ งแบบนี้ ที่ ผ มอยากให้ ผู้ประกอบการไทยดูเป็นแบบอย่าง ได้แก่ ประเทศเยอรมนี ญี่ปุ่น ประเทศ ทั้งสองนี้สามารถน�ำจุดเด่นในความเป็นตัวตนของเขา น�ำเสนอผ่านสินค้าที่ ต่างกัน แต่สามารถแสดงความเป็นตัวตนที่ชัดเจนได้ หากเรานึกถึงเยอรมนี เรามักนึกถึงคุณภาพอันสูงส่ง ความเที่ยงตรง การออกแบบสินค้าที่ไม่ หวือหวาแต่ใช้งานได้จริงและทนทาน หากนึกถึงญี่ปุ่น เรามักจะนึกถึงความ ละเอียดอ่อน ความเอาใจใส่ในรายละเอียดเล็ก ๆ น้อย ๆ ความเรียบง่าย และหากเป็นสินค้าไทย ลักษณะเด่นน่าจะเป็น ความอ่อนช้อย ความง่าย และสบาย ไม่แข็งกระด้าง ซึ่งเป็นจุดเด่นของวิถีไทยอยู่แล้ว
+
+
+
+
2. เป็นผู้รับจ้างผลิตงานฝีมือระดับสูง
ตามทีไ่ ด้เกริน่ ก่อนหน้าแล้วว่า ประเทศไทยในอนาคตจะเป็นศูนย์กลาง ที่เป็นตัวเชื่อมทุกประเทศในภูมิภาคนี้ และเชื่อมไปยังโลกภายนอกอาเซียน ดังนัน้ สินค้าแบรนด์เนมของต่างประเทศทีต่ อ้ งการย้ายฐานผลิตงานฝีมอื มายัง แถบนี้ ก็จะมองมาที่ประเทศไทยก่อน (ซึ่งผมเชื่อว่าช่างฝีมือไทยในหลาย ๆ ด้าน หากไม่เหนือกว่าก็ไม่แพ้ชาติอนื่ ๆ) เมือ่ รวมความเป็นเอกทางด้านงานฝีมอื กับความเป็นศูนย์กลางในแถบนี้ ผมอยากเห็นว่าประเทศไทยเราสามารถ พัฒนาตนเองจนเป็นประเทศที่ผลิตภัณฑ์ทั่วโลกที่ต้องการงานฝีมือ จะย้าย ฐานผลิตมาทีป่ ระเทศไทย และว่าจ้างช่างฝีมอื ไทยเพือ่ ผลิตสินค้าผลิตด้วยมือ คุณภาพสูง ส่งออกไปยังอาเซียนและตลาดโลก เวลาที่มีอยู่ไม่ถึง 3 ปีนี้ จะว่าน้อยก็น้อย จะว่ามากก็มาก ในการที่จะ พัฒนา และปรับเปลีย่ นจุดเด่นในด้านงานฝีมอื ของไทยเราเพือ่ ให้แสดงความ เป็นตัวตน หรือ อัตลักษณ์ ของไทยเราให้ชัดเจน แต่อย่างที่พวกเราทุกคน ตระหนักกันดีอยู่แล้ว ความเป็นไทยของเราไม่ว่าจะเป็นความง่าย สบาย อ่อนช้อย ไม่แข็งกระด้าง นั้นมีอยู่ในสายเลือดของไทยเราทุกคนอยู่แล้ว และอยูใ่ นวิถไี ทยเรามาเนิน่ นานแล้ว เพียงแต่วา่ ท่านผูป้ ระกอบการต้องพยายาม ตีความให้กว้างขึ้น ไม่จ�ำกัดเฉพาะรูปแบบเดิม ๆ ที่เราเคยชิน เพิ่มความ เป็นสากลและร่วมสมัยเข้าไป ผมมัน่ ใจว่าสินค้าจากงานฝีมอื ของช่างไทยเรา จะท�ำให้ชาวโลกได้ตระหนักและรับรู้ถึงคุณภาพ คุณค่า และเป็นจุดขายของ ประเทศไทยเราต่อไป
คุณปพนธ์ มังคละธนะกุล
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเอสเอ็มอีและซัพพลายเชน TMB และนักเขียนบทความประจ�ำคอลัมน์ Smart SMEs หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ
+
+
28 BORDERLESS
+
+
+
+
+
+
Investment Tools : TMBAM
ในช่วงที่ผ่านมาภาครัฐได้พยายาม กระตุ้นให้ภาคธุรกิจเตรียมพร้อม รั บ มื อ กั บ การรวมตั ว เป็ น ประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น (AEC) ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างครั้ง ส�ำคัญอีกครั้งหนึ่งของเศรษฐกิจไทย ซึ่งอาจน�ำมาทั้งโอกาส และความเสี่ยง ของภาคธุรกิจไทย ซึ่งแน่นอนว่าการ เปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อ บริษัทจดทะเบียนได้ทั้งในด้านบวก และ ด้านลบ ดังนั้นเราจึงควรตระหนักถึง ความส� ำ คั ญ เพื่ อ จะได้ น� ำ มาปรั บ แผน การลงทุ น ให้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวโน้ ม ที่ ก�ำลังเกิดขึ้น
ในการเปลี่ ย นแปลงนี้ บลจ.ทหารไทย เชือ่ ว่าในด้านบวกนัน้ จะผลักดันให้มลู ค่าการค้า การลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกมีมากขึน้ ทัง้ นี้ เนือ่ งจากการลดอัตราภาษีนำ� เข้าเป็น 0% รวมถึง การพยายามลดข้อจ�ำกัดทางการค้าระหว่างกันลง จะเป็นตัวกระตุ้นให้การค้าระหว่างกันขยายตัว เพิ่ ม ขึ้ น นอกจากนั้ น การลงทุ น ในโครงสร้ า ง พื้นฐานเพื่อเชื่อมโยงประเทศไทยกับประเทศ เพื่อนบ้าน จะเป็นปัจจัยเสริมให้การขนส่งสินค้า และบริการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้ ง ในด้ า นต้ น ทุ น และระยะเวลาที่ ใ ช้ ทั้ ง นี้ ด้วยจ�ำนวนประชากรกว่า 500 ล้านคน ส่งผล ให้การลงทุนทั้งจากประเทศในกลุ่มสมาชิกเอง ก็ดี และจากประเทศอืน่ ๆ ก็ดี จะปรับตัวเพิม่ ขึ้น
เพื่อรองรับการขยายตัวของตลาดดังกล่าว ซึ่ง สังเกตได้จากมูลค่าการขอรับการส่งเสริมการลงทุน ในปี 2555 ที่มีมูลค่ากว่า 1.48 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นกว่า 133% เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2554 ที่มีมูลค่าการขอรับการส่งเสริมการลงทุนเพียง 6.34 แสนล้านบาท อย่างไรก็ตามในด้านลบนัน้ เมือ่ การแข่งขัน เพิ่มสูงขึ้น ผู้ที่จะอยู่รอดได้ก็จะต้องเป็นบริษัท ที่ มี ค วามแข็ ง แกร่ ง ในด้ า นการบริ ห ารจั ด การ มี สิ น ค้ า และบริ ก ารเป็ น ที่ ย อมรั บ ของตลาด ในขณะที่ บ ริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบก็ จ ะต้ อ งมี การปรับตัวเพื่อรักษาตลาดของตัวเองไว้ให้ได้ ค�ำถามก็คอื เราจะมีการวางแผนการลงทุนของเรา อย่างไรเพื่อให้ประสบความส�ำเร็จในการลงทุน คือสามารถเลือกลงทุนในบริษทั ทีไ่ ด้รบั ประโยชน์ จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว กระบวนการหนึง่ ที่ บลจ.ทหารไทย ใช้เพือ่ เฟ้นหาบริษัทที่เราเชื่อว่าจะเป็น ‘ผู้ชนะ’ ในการ แข่งขันทางธุรกิจทีร่ นุ แรง และมีการเปลีย่ นแปลง ที่รวดเร็ว คือการมองหา ‘คุณสมบัติร่วม’ บาง ประการที่ผู้ชนะในธุรกิจพึงมี เพื่อที่กองทุนของ เราจะสามารถเข้าลงทุนและสร้างผลตอบแทนทีด่ ี ให้กบั ผูถ้ อื หน่วยลงทุนของเราได้ ทัง้ นีค้ ณ ุ สมบัติ
ร่วมดังกล่าวในความเชือ่ ของเรานัน้ มี 2 ประการ ใหญ่ ๆ คือ 1) ขนาดของบริษัท โดยในที่นี้เรา พิจารณาตามมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (Market Capitalization) และ 2) ความสามารถ ในการท�ำก�ำไรในรูปของกระแสเงินสด ซึ่งเรา วัดโดยความสามารถในการจ่ายเงินปันผลของ บริษัทนั้น ๆ และจากความเชื่ อ ส� ำ คั ญ สองประการนี้ เราจึงได้พัฒนานโยบายการลงทุน ที่มีชื่อว่า ‘JUMBO25’ ขึ้นมา จากนั้นจึงได้มีการออก กองทุนหุ้นหลายต่อหลายกองที่ลงทุนโดยใช้ นโยบาย JUMBO25 นี้ ซึ่งได้แก่ กองทุนเปิด JUMBO25, กองทุนเปิด JUMBO25 ปันผล LTF กองทุนเปิด JUMBO Plus ปันผล LTF และ กองทุนเปิด JUMBO25 เพื่อการเลี้ยงชีพ ซึ่งกองทุนในตระกูล JUMBO25 นั้น มีขนาด สินทรัพย์รวมกันถึง 13,198 ล้านบาท (ณ วันที่ 31 มกราคม 2556) และเป็นกองทุนทีม่ ชี อื่ เสียง เป็นที่ยอมรับในหมู่นักลงทุน โดยในประเด็นความ ‘ใหญ่’ หรือขนาด ของบริษัทนั้น เราเชื่อว่าเมื่อบริษัทเป็นผู้ชนะ ในการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทจะเริ่มมีการสั่งสม คุณค่า และสะท้อนออกมาในรูปของมูลค่าบริษทั BORDERLESS 29
ทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ ในนโยบายการลงทุน JUMBO25 นัน้ เรามีพื้นที่เปิดไว้ให้กับบริษัทเพียง 25 บริษัท ทีม่ มี ลู ค่าตลาดสูงทีส่ ดุ ซึง่ ในทุก ๆ ครึง่ ปี เราจะ ท�ำการพิจารณารายชือ่ บริษทั ทัง้ 25 บริษทั ใหม่ และก็มักจะมีการเปลี่ยนรายชื่อบริษัทที่ลงทุน ประมาณ 3-4 บริ ษั ท ในการทบทวนรายชื่ อ แต่ละครั้ง ซึ่งกระบวนการตรงนี้ เราก็มักจะได้ พบบริษัทใหม่ ๆ ที่เราไม่เคยลงทุนมาก่อน ซึ่ง มีมูลค่าตลาดเติบโตขึ้น จนสามารถเข้ามาเป็น 1 ใน 25 หุ้นในพอร์ต JUMBO25 ของเราได้ ขณะเดียวกันบริษทั ทีม่ ขี นาดทีเ่ ล็กลง หรือเติบโต ได้ในอัตราที่ต�่ำกว่าบริษัทอื่น ๆ นั้นก็จะถูก คัดออกจากรายชื่อของเราไปโดยปริยาย ซึ่งเรา เชื่อว่าการด�ำเนินการในลักษณะนี้อย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้เราได้ลงทุนในบริษทั ทีม่ สี ถานะ ‘ผูช้ นะ’ อยู่ตลอดเวลา ในประเด็น ‘ความสามารถในการท�ำก�ำไร’ ซึง่ เราวัดด้วยความสามารถในการจ่ายเงินปันผล นั้น ก็เป็นอีกกระบวนการหนึ่ง ที่ช่วยเพิ่มความ มั่นใจให้กับเราว่า บริษัทใหญ่ ๆ ที่เราเลือก มานัน้ เป็นบริษทั ทีม่ ี ‘สุขภาพทางการเงิน’ ทีด่ ี เพราะทุก ๆ บริษัทที่เราจะลงทุนได้นั้น ต้อง สามารถจ่ายเงินปันผลได้ในรอบบัญชีที่ผ่านมา
ซึง่ ก็มกั จะต้องเป็นบริษทั ทีไ่ ม่เพียงแต่มกี ำ� ไร แต่ ต้องมีกระแสเงินสดที่เป็นบวกด้วย ขณะที่เรามีการกระจายการลงทุนออกไป ลงทุนในบริษัทที่เราเชื่อว่าเป็นผู้ชนะในหลาย ๆ อุตสาหกรรม เราก็ยังคงพิจารณาในเรื่องของ ความเสี่ยง ที่เราจะลงทุนในอุตสาหกรรมใด อุตสาหกรรมหนึ่งมากเกินไป ด้วยการก�ำหนด เงื่อนไขเป็น ‘ภูมิคุ้มกัน’ เพิ่มเติม โดยเราจะไม่ ลงทุนในอุตสาหกรรมใดมากกว่า 3 บริษัท เพื่อ ทีไ่ ม่ให้การลงทุนมีการกระจุกตัวในอุตสาหกรรมใด อุ ต สาหกรรมหนึ่ ง มากเกิ น ไป ทั้ ง นี้ ในกรณี ที่ อุ ต สาหกรรมใดอุ ต สาหกรรมหนึ่ ง ประสบ ปัญหาขึ้น กองทุนของเราจะยังสามารถสร้าง ผลตอบแทนที่ดีได้อยู่ จากแนวคิดและกระบวนการที่เรียบง่าย ดังที่กล่าวมา ท�ำให้กองทุนที่ใช้นโยบายการ ลงทุน JUMBO25 นั้น มีการลงทุนในบริษัท ที่เราเชื่อว่ามีความสามารถในการแข่งขันที่ดี ซึ่ง มีโอกาสสูงทีจ่ ะเป็นบริษทั ทีเ่ ป็นผู้ ‘ได้ประโยชน์’ จากการเข้าสู่ AEC ในอนาคต ในที่นี้จะขอ ยกตัวอย่างบริษทั จ�ำนวนหนึง่ ทีน่ า่ จะได้ประโยชน์ ชัดเจน คือบริษทั ทีม่ มี ลู ค่าตราสินค้าหรือ Brand Value ที่ดีในระดับภูมิภาค หรือระดับโลก อาทิ BGH หรือ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ, BH หรือ โรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์, MINT หรือ บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน)
ทีด่ ำ� เนินธุรกิจร้านอาหารและโรงแรมชัน้ น�ำ อาทิ The Pizza, Swensen’s, Dairy Queen, Sizzler, The Coffee Club ส�ำหรับธุรกิจร้านอาหาร และ Anantara, Marriott, Four Seasons, Oaks ส�ำหรับโรงแรม ซึง่ จะเห็นว่าบริษทั เหล่านีม้ คี วาม เป็น Global Players และมีความสามารถในการ แข่งขันในระดับสากล และนอกจากนัน้ ก็ยงั มีการ ลงทุนในบริษัทที่มีแผนการขยายงานออกไปยัง ประเทศในกลุ่ม AEC อย่างชัดเจน อาทิ บริษัท CPALL, BIG C และ CRC เป็นต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2556) จากที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนั้น เราจึงอยาก เสนอแนวคิดว่า นอกจากนักลงทุนจะมองหา ทางเลือกการลงทุนใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นจากการ เข้าสู่ AEC แล้ว การกลับมาให้ความส�ำคัญ กับการลงทุนในบริษัทไทยที่มีศักยภาพ ซึ่งจะ ได้ประโยชน์จาก AEC ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่น่าจะสร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับผู้ลงทุนได้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ และปัจจัยส�ำคัญอีกประการหนึ่ง คือ หลาย ๆ บริษัทที่มีศักยภาพนั้น ต่างก็เป็น บริษัทที่ถือว่าอยู่ใกล้ตัวนักลงทุนไทย ซึ่งการ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ย่อมจะท�ำได้ ง่ายกว่า และหากผู้ลงทุนประสงค์จะให้ผู้จัดการ กองทุนมืออาชีพบริหารจัดการให้ ก็สามารถเลือก ลงทุนผ่านกองทุนรวมได้ ซึง่ JUMBO25 ที่เราได้ ยกตัวอย่างมานัน้ ก็เป็นทางเลือกหนึง่ ทีเ่ ราเชือ่ ว่า จะเป็นโอกาสการลงทุนที่ดีในยุค AEC บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จ�ำกัด เป็นบริษทั จัดการกองทุนทีเ่ สนอทางเลือกในการลงทุนให้กบั ประชาชน ทั่วไป โดยยึดแนวทางการท�ำงานที่สร้างสรรค์ มีความโปร่งใสและมี อิสระในการด�ำเนินงาน
ติดต่อเพื่อสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับ การลงทุน ข้อมูลกองทุนรวมและกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน
30 BORDERLESS
Efficiency
Expertise
เรื่อง : คุณชลิต โรจนวิทย์สกุล
สวั ส ดี ท ่ า นผู ้ อ ่ า น TMB Borderless ทุ ก ท่ า นครั บ วารสารฉบั บ นี้ เ ป็ น ครั้ ง แรกที่ เ ราได้ ม าพบกั น ในคอลั ม น์ Efficiency Expertise แน่ น อนนะครั บ เราจะมาพู ด คุ ย กั น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง Efficiency ในหลากหลาย แง่ มุ ม ก่ อ นอื่ น ผมขอแนะน� ำ ตั ว เองให้ คุ ณ ผู ้ อ ่ า นทุ ก ท่ า นรู ้ จั ก กั น ก่ อ นนะครั บ ผม ชลิ ต โรจนวิ ท ย์ ส กุ ล ดู แ ลที ม Lean Six Sigma ของ TMB หลายท่านคงสงสัยว่า ขอบเขตและรายละเอียดของต�ำแหน่งนี้ต้องท�ำอะไร เพราะด้วย ต�ำแหน่งและส่วนงานของ Lean Six Sigma มันน่าจะอยู่ ในโรงงานอุตสาหกรรมมากกว่าหน่วยงานธนาคาร ในเบือ้ งต้นผมมองว่า การน�ำ Lean Six Sigma เข้ามาใช้กับธุรกิจบริการอย่างธนาคาร จะสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และกระบวนการ ต่าง ๆ อันน�ำไปสู่ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นที่สุด เพียงขอให้ทุกท่านติดตามอ่านคอลัมน์นี้ของเราครับ แล้วท่านจะได้ค�ำตอบ ว่า ธุรกิจไม่ว่าจะเล็กหรือจะใหญ่แค่ ไหน การพัฒนาประสิทธิภาพ (Efficiency) ล้วนมีความส�ำคัญกับกระบวนการท�ำงานของทุก ท่านอย่างแน่นอน
Lean Six Sigma คืออะไร?
Lean
การก�ำจัดความสูญเสีย (Waste) ในกระบวนการท�ำงาน
Six Sigma
การลดความผิดพลาดหรือของเสีย (Defects) ในกระบวนการท�ำงาน ด้วยการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
Lean Six Sigma
เมื่อน�ำ Lean และ Six Sigma มารวมกัน จะได้เครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา และปรับปรุงกระบวนการที่ดีขึ้นอย่างรวดเร็ว
BORDERLESS 31
ยิ่งโลกแห่งการแข่งขันในปัจจุบันทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ในทุก ๆ เรื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องที่ก�ำลังเป็นที่พูดถึงมากที่สุดในขณะนี้ เช่น ค่าแรงขั้นต�่ำที่เพิ่มขึ้นเป็น 300 บาท เรื่องของการปรับตัวเมื่อประเทศก้าว เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ดังนั้นผมไม่เห็นว่าจะมีบริษัทไหน ที่จะหยุดนิ่งกับการปฏิบัติงานหรือกระบวนการท�ำงานแบบเดิม ๆ ได้ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและพัฒนาการด้านต่างๆ หมุนเร็วจน มนุษย์อย่างเรา ๆ เกือบก้าวตามไม่ทัน ในองค์กรธุรกิจก็เช่นเดียวกันครับ สังเกตได้ว่าแทบทุกองค์กรจะมีการกลับมามอง ค้นหา คิดค้น วิเคราะห์ ปรับตัว ลดต้นทุน และสร้างกระบวนการต่างๆ เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายในการ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ได้อย่างมากถึงมากที่สุดอยู่ด้วยกัน แทบทั้งนั้น แนวคิดและวิธีการต่าง ๆ มากมาย ถูกน�ำมาใช้ เพื่อหาวิธีการ เพิ่มประสิทธิภาพให้องค์กรอย่างสูงสุด ไม่ว่าจะเป็น 5ส, Kaizen, (Total Productive Maintenance) เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นวิธีการในการ เพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร แต่ในคอลัมน์นี้ผมจะขอเล่าถึงแนวคิดและ วิธีการที่เป็นที่นิยมอย่างมากในบริษัทใหญ่ ๆ ไม่ว่าจะเป็น GE, Toyota หรือ Motorola ที่ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรและประสบความส�ำเร็จ มาแล้ว นั่นคือ แนวคิด Lean Six Sigma Lean Six Sigma คืออะไร หลายคนอาจเคยมีค�ำถามนี้อยู่ในใจ Lean ถ้าจะพูดกันจริง ๆ แล้วก็คือการลดความสูญเปล่า ขบวนการ ท�ำงานที่ไม่จ�ำเป็น หรือไม่มีคุณค่าในสายตาลูกค้า ออกไปจากกระบวนการ ท�ำงานของคุณนั่นเอง ซึ่งจะสามารถท�ำให้คุณมีเวลาในการท�ำงานที่มีคุณค่า แก่ลกู ค้าได้มากขึน้ ส่วน Six Sigma ก็คอื วิธกี ารในการลดของเสีย (Defect) ที่เกิดจากกระบวนการท�ำงานต่าง ๆ ซึ่งเมื่อน�ำ Lean Six Sigma มารวมกัน นั้น ก็จะเป็นเครื่องมือที่ทรงพลังที่เราจะน�ำมาใช้ในการปรับปรุงองค์กรของ เราให้มี Efficiency ที่สูงขึ้น ค้นหาและก�ำจัดความสูญเปล่า (Waste) และ ปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน เพือ่ ให้ผลิตของเสียออกมาในปริมาณทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ ส�ำหรับในภาคอุตสาหกรรมนั้น ได้มีการน�ำ Lean Six Sigma มาใช้ นานกว่า 10 ปีแล้ว โดยเริ่มต้นที่อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ก่อน ต่อมา กลุ่มธุรกิจภาคบริการ ก็เริ่มน�ำแนวทาง Lean Six Sigma มาประยุกต์ใช้ กันมากขึ้น รวมไปถึงธุรกิจทางการเงินและการบริการ เช่นเดียวกับ TMB
ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์กรภาคการเงินและการบริการ ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญ ในการน�ำแนวทางการบริหารจัดการแบบ Lean Six Sigma มาใช้ในการ เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ความ ต้องการของลูกค้าเช่นกัน ไม่เพียงเท่านั้น ประโยชน์ของการใช้แนวคิด ดังกล่าว ยังส่งผลให้มีความรวดเร็วในการท�ำงานเพื่อการบริการลูกค้าเพิ่ม ขึ้นไปด้วย คุณบุญทักษ์ หวังเจริญ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร TMB ได้น�ำแนวคิด Lean Six Sigma มาใช้เป็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญในการบริหารองค์กร และได้ จัดตั้งทีม Lean Six Sigma ขึ้นในธนาคาร เพื่อขยายแนวคิด Lean Six Sigma ให้ทวั่ ถึงในกลุม่ ผูบ้ ริหารและพนักงานในองค์กร โดยเริม่ ให้ความรูเ้ รือ่ ง Lean Six Sigma กับกลุม่ ผูบ้ ริหารก่อน และค่อย ๆ ขยายไปยังกลุม่ พนักงาน ในระดับต่าง ๆ ทั้งองค์กร มีการอบรมพนักงานให้มีความสามารถในระดับ ต่าง ๆ เช่น Black Belt, Green Belt, White Belt และ Blue Belt เพื่อ ให้คนเหล่านีส้ ามารถทีจ่ ะน�ำความรูแ้ ละวิธกี ารไปใช้ในการปรับปรุงโครงการ ต่าง ๆ เพื่อเพิ่ม Efficiency ให้แก่ธนาคาร ซึ่งจะเป็นการน�ำไปสู่การสร้าง วัฒนธรรมขององค์กรและ Brand Experience ให้กับลูกค้าร่วมกันในที่สุด โดยกรอบแนวคิดกว้าง ๆ ของ Lean Six Sigma นี้ จะประกอบด้วยขั้นตอน ต่าง ๆ คือ DMAIC ซึ่งผมจะน�ำเสนอรายละเอียดในครั้งต่อไป ทั้งนี้สิ่งที่เป็นเป้าหมายสูงสุดขององค์กรธุรกิจทุกประเภท คือการมี กระบวนการท�ำงาน ที่มีขีดความสามารถในการตอบสนองทั้งปริมาณและ ความต้องการที่หลากหลายของกลุ่มลูกค้า และด้วยความหลากหลายของ ความต้องการที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลานั้น ทุกองค์กรจึงจ�ำเป็น ต้องมีการเชื่อมโยงกระบวนการซึ่งกันและกัน พร้อมทั้งท�ำทุกวิถีทางเพื่อให้ ทุกคนในองค์กรได้รับทราบถึงเป้าหมายสูงสุดร่วมกัน ซึ่งแนวคิด Lean Six Sigma นั้นไม่ได้จ�ำกัดอยู่แค่การบริหารงานจากใครคนใดคนหนึ่งในองค์กร เท่านั้น การที่จะสร้างกระบวนการท�ำงานในองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ให้กับทั้งองค์กร และน�ำไปสู่ความเป็นเลิศเชิงกระบวนการนั้น จะต้องอาศัย ความร่วมมือร่วมใจของทุกคนในองค์กรร่วมกัน และในฉบับหน้าเราจะมาดู กันว่า หากคุณต้องการน�ำแนวคิดของ Lean Six Sigma มาปรับใช้กบั องค์กร ของคุณนั้น จะต้องเริ่มต้นอย่างไร? แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าครับ
คุณชลิต โรจนวิทย์สกุล : เจ้าหน้าที่บริหาร Lean Six Sigma, TMB
ผู้ช�ำนาญการด้าน Lean Six Sigma มีประสบการณ์ในบริษัทชั้นน�ำ อย่าง Seagate Technology, GE Capital และ Ayutthaya Capital Lease รวมทั้งเป็นผู้ที่ประยุกต์วิธีการของ Lean เข้ากับกระบวนการทางการเงินและการขายเพื่อเพิ่มยอดขายให้กับบริษัทจนประสบความ ส�ำเร็จอย่างมาก ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหาร Lean Six Sigma ของ TMB ซึ่งได้น�ำวิธีการของ Lean Six Sigma มาปรับใช้กับองค์กร ด้วยการ ฝึกอบรมพนักงานให้มีความรู้ความสามารถ ตลอดจนการจัดท�ำโครงการต่าง ๆ เพื่อเพิ่ม Efficiency ในกระบวนการท�ำงานให้ดียิ่งขึ้น หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ E-mail : efficiency_guru1@tmbbank.com 32 BORDERLESS
All About Trade
เรื่อง : คุณกิติศักดิ์ ทวีศักดิ์ ที่ปรึกษาด้านธุรกิจการค้าต่างประเทศ TMB
สวัสดีครับท่านผู้อ่าน ฉบั บ นี้ เป็ นฉบั บ แรกของ Supply chain management with AEC 2015 นะครับ ทีผ ่ า่ นมาท่านจะได้ทราบข่าวต่าง ๆ เกี่ยวกับการเตรียมการของประเทศไทย ตั้ ง แต่ ร ะดั บ รั ฐ บาลลงมาจนถึ ง ระดั บ ผูป้ ระกอบการหรือนักธุรกิจเพือ่ ท�ำให้เรา พร้อมที่จะเข้าสู่ศักราชใหม่ทางเศรษฐกิจ วารสาร Borderless เองก็วางแผนที่จะ เป็นส่วนหนึง่ ที่ท�ำให้ท่านก้าวไปสู่อาเซียน ได้อย่างมั่นใจ
เมื่อกล่าวถึงการเตรียมการนอกเหนือไป จากระดับรัฐบาลภายในประเทศแล้ว รัฐบาล ของประเทศสมาชิกต่างก็ร่วมมือกัน หรือ ได้ รับความช่วยเหลือจากสถาบันการเงินนานาชาติ เช่ น ธนาคารเพื่ อ การพั ฒ นาเอเชี ย (Asian Development Bank = ADB) ที่เป็นแหล่ง ระดมทุนเพื่อพัฒนาโครงการต่างๆ และหนึ่ง ในโครงการนั้นที่น่าสนใจก็คือ โครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจรอบแม่น�้ำโขง หรือ GMS
(Greater Mekong Sub-region) Economic Corridors ที่ประกอบไปด้วยประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม จีนตอนใต้แถวยูนนาน และ พม่า โดยมีวตั ถุประสงค์หลักทีจ่ ะพัฒนาเส้นทาง เศรษฐกิจหลายเส้นทางเพือ่ สร้างความเจริญทาง เศรษฐกิจให้แก่ประชากรราวๆ สามร้อยกว่าล้าน คน ให้เปลี่ยนจากเศรษฐกิจแบบเกษตรดั้งเดิม มาเป็นการผลิตและการค้าเชิงพาณิชย์ทที่ นั สมัย โครงการ GMS นี้แบ่งเขตเศรษฐกิจออก เป็นสามเขตใหญ่ๆ ได้แก่ ระเบียงเศรษฐกิจ เหนื อ ใต้ ตะวั น ตกตะวั น ออก และตอนใต้ ในแต่ละระเบียงเองยังแบ่งเขตย่อยออกไปอีก เพือ่ ให้สะดวกแก่การพัฒนา เช่น ระเบียงเศรษฐกิจ
BORDERLESS 33
เหนือใต้ แบ่งได้เป็น เส้นทางสายตะวันตก ที่เริ่มจากคุนหมิง มายังเชียงรายและลงมาถึง กรุงเทพฯ ผ่านลาวและพม่าเล็กน้อย สายกลาง จากคุนหมิงไปฮานอย และเส้นทางตะวันออก จากเมืองหนานหนิง มณฑลกว่างสี ไปฮานอย ส�ำหรับเส้นทางสายตะวันตกทีผ่ า่ นเชียงรายจาก ข้อมูลกระทรวงคมนาคมปี 2555 มีการปรับ ขยายถนนเป็นสี่เลนเรียบร้อยแล้ว ระเบี ย งเศรษฐกิ จ ตะวั น ตกตะวั น ออก (EWEC) ครอบคลุมตั้งแต่พม่า ไทย ลาว และ เวียดนาม มีเส้นทางหลักเพียงเส้นเดียวตั้งแต่ เมืองดานัง เมืองสะหวันนะเขต จังหวัดมุกดาหาร กาฬสินธุ์ ขอนแก่น จนถึงตาก และเมืองเมียวดี ของพม่า เมื่อเส้นทางนี้มีการก่อสร้างปรับปรุง แล้วเสร็จคาดว่าจะท�ำให้เศรษฐกิจของประเทศ เวียดนามในแถบนีเ้ ติบโตถึงร้อยเปอร์เซ็นต์ และ ท�ำให้เศรษฐกิจของจังหวัดต่างๆ บนเส้นทางนี้ ในไทยเติบโตขึ้นถึงร้อยละห้าสิบ นอกจากนี้ยัง คาดว่าการค้าระหว่างไทยเวียดนามจะเพิ่มขึ้น มาก ระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ ประกอบด้วย ไทย กัมพูชา และเวียดนาม แบ่งออกเป็นสาม เส้ น ทางที่ ตั้ ง ต้ น จากกรุ ง เทพฯ ผ่ า นกั ม พู ช า และเมืองต่างๆ ในเวียดนามที่อยู่ติดทะเลเช่น วังเตา กิยอน และนามกาน โดยมีเส้นทาง ภายในระหว่ า งกั ม พู ช าเวี ย ดนามคอยเชื่ อ ม เส้นทางทั้งสาม เมื่อพิจารณาเส้นทางเศรษฐกิจที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่ามีโอกาสในการที่ท่านจะศึกษาลู่ทาง เพื่ อ ท� ำ ธุ ร กิ จ ได้ ห ลายด้ า น เช่ น การเข้ า รั บ สัมปทานการขยายปรับปรุงถนนและทางน�้ำใน แผ่นดิน ทั้งนี้ธนาคารเพื่อพัฒนาเอเชียได้อนุมัติ
34 BORDERLESS
วงเงินกูใ้ ห้แก่ประเทศทีอ่ ยูใ่ นระเบียงเศรษฐกิจที่ เกี่ยวข้องอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ท่านอาจจะปรึกษา กั บ เจ้ า หน้ า ที่ ข องธนาคารเพื่ อ น� ำ โครงการไป ขอกู ้ เ งิ น ผ่ า น ADB อี ก ทอดหนึ่ ง หรื อ ท่ า น สามารถเข้าไปให้บริการโลจิสติกส์แก่นักธุรกิจ นอกจากนี้ในเรื่องของการค้าระหว่างประเทศ ท่านก็สามารถขยายตลาดสินค้าเพื่อการบริโภค เข้าไปสู่ประชากรส่วนใหญ่ของเขตเหล่านี้ เมื่อกล่าวถึงการค้าก็อดจะกล่าวไม่ได้ถึง เรื่องของเงื่อนไขการส่งมอบสินค้า (Incoterms 2010) ทีเ่ หมาะสม และเอกสารทีจ่ ะใช้ เนือ่ งจาก เส้นทางการขนส่งตามระเบียงเศรษฐกิจที่กล่าว มาเกื อ บทั้ ง หมดจะเป็ น ทางถนน ดั ง นั้ น ข้ อ ก�ำหนดที่ไม่สามารถใช้ได้ก็คือกลุ่มที่ใช้กับการ ขนส่งทางทะเลและทางน�้ำในแผ่นดิน ซึ่งได้แก่ FAS (Free Alongside Ship), FOB (Free On Board), CFR (Cost and Freight) และ CIF (Cost, Insurance and Freight) ส�ำหรับข้อก�ำหนดที่เหมาะสมคงจะขึ้นอยู่ กับลักษณะของสินค้า เส้นทางการขนส่ง รูปแบบ การขนส่ง ความพร้อมในการขนส่ง และความ ต้องการของผูซ้ อื้ และผูข้ าย สมมติวา่ ท่านจะขาย สินค้าให้ผู้ซื้อที่อยู่ในฮานอย เวียดนาม ถ้าท่าน ไม่อยากรับผิดชอบเรื่องการขนส่ง ท่านอาจจะ ขายสินค้าด้วยข้อก�ำหนด FCA (Free Carrier) แบบส่งมอบที่สถานที่ท�ำการของท่าน (deliver at the seller’s premises) ซึ่งท่านก็แค่รอรถ รับสินค้าของผูซ้ อื้ มาถึงแล้วท่านก็ขนสินค้าขึน้ รถ ก็ถือว่าท่านส่งมอบสินค้าแล้ว แต่ถ้าผู้ซื้ออยาก จะให้ ท ่ า นน�ำ สิ น ค้ า ขึ้ น รถที่ ท ่ า นจั ด หามาแล้ ว ขับไปถึงลานพักสินค้าของผู้รับขนส่ง จากนั้นก็ ให้เจ้าหน้าที่ของผู้รับขนส่งมาลงนามรับสินค้า
แล้ ว ขนสิ น ค้ า ลงจากรถของท่ า น ท่ า นจะใช้ แบบส่งมอบสินค้าที่สถานที่ของผู้รับขนสินส่ง (deliver at the carrier’s place) ไม่ว่าจะเป็น แบบใดความรับผิดชอบของท่านที่มีต่อสินค้า ได้ สิ้ น สุ ด ลงไปแล้ ว ต่ อ จากนั้ น จะเป็ น ความ รับผิดชอบของผู้ซื้อที่จะท�ำสัญญากับผู้รับขนส่ง ให้ขนสินค้าไปถึงคลังสินค้าในฮานอยเอง ในทางตรงกันข้ามหากท่านเป็นผู้ซื้อสินค้า จากเวียดนาม ท่านอาจจะต้องการใช้ข้อก�ำหนด DAP (Delivered at Place) เพราะท่านไม่อยาก แบกภาระเรื่องของการหาผู้รับขนส่งสินค้ามาถึง ด่านศุลกากรในประเทศไทย นอกจากนีท้ า่ นอาจ จะไม่ต้องเสียภาษีน� ำเข้าตามสนธิสัญญาของ AEC แต่ก็อย่าลืมนะครับว่าท่านต้องรับผิดชอบ ค่าภาษีผ่านแดน (in transit tax) ของประเทศ ลาว หรือ กัมพูชาด้วยหรือไม่ เมื่ อ เลื อ กข้ อ ก� ำ หนดส่ ง มอบสิ น ค้ า ที่ ถูกใจแล้ว ก็มาถึงเรื่องของเอกสารการขนส่งที่ สอดคล้องกับการค้าตามระเบียงเศรษฐกิจ ซึ่ง ไม่น่าจะเป็นรูปแบบธรรมดาที่ใช้กัน ไว้ติดตามฉบับต่อไปนะครับ ขอบคุณครับ
TMB
Movement
ทีเอ็มบีขยายช่องทางการบริการแก่ลูกค้าในสปป. ลาว ผ่าน BCEL รองรับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน นายปิติ ตัณฑเกษม (ที่ 5 จากขวา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารลูกค้าธุรกิจ ทีเอ็มบี และ ท่านวันค�ำ วอระวง (ที่ 6 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารการค้าต่างประเทศลาว หรือ BCEL ร่วมลงนามในสัญญาบันทึกความเข้าใจทีม่ อบหมายให้ BCEL เป็นตัวแทนของสถาบันการ เงิน (Banking Agent) ให้แก่ลูกค้า ทีเอ็มบี ที่ด�ำเนินธุรกิจในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว หรือ สปป.ลาว ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและให้ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศ สปป.ลาว ได้อย่างทัว่ ถึงยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ยังเป็นการขยายช่องทางการให้บริการแก่ลกู ค้า อีกทัง้ ยังพัฒนาเรือ่ ง การค้าระหว่างประเทศได้เป็นอย่างดี เพือ่ รองรับการก้าวเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึง่ ขอบเขตการให้บริการนัน้ ครอบคลุมทัง้ Cash Management Service และ Trade Finance (Transactional Banking) โดยมีนายนิสิต พงศ์วุฒิประพันธ์ (ที่ 3 จากขวา) กรรมการผู้จัดการ บริษัท พีทีที (ลาว) จ�ำกัด และ นาย เสียน อ้ายสม (ซ้ายสุด) รองกรรมการผู้จัดการ ด้านบัญชี-การเงิน บริษัท ซี.พี. (ลาว) จ�ำกัด ร่วมยินดี ณ แขวงหลวงพระบาง สปป.ลาว
ทีเอ็มบีมองนำ�เข้า-ส่งออกเติบโตสูง ส่งจีดีพีพุ่ง จัดนวัตกรรมรองรับการเติบโต ที เ อ็ ม บี พ ร้ อ มหนุ น ผู ้ ป ระกอบการน� ำ เข้ า -ส่ ง ออก ด้ ว ยนวั ต กรรม e-Guarantee และ e-Payment ช่วยลดเวลา ลดเอกสาร ท�ำการ 24 ชั่วโมง ไม่มีวันหยุด นายปิติ ตัณฑเกษม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารลูกค้าธุรกิจ ทีเอ็มบี ลงนามร่วมกับกรมศุลกากร ในการให้บริการวางค�้ำประกันค่าภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส์ และการรับช�ำระภาษีอากรน�ำเข้า ส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ SMART e-Guarantee และ e-Payment มาอ�ำนวยความสะดวก ให้กับผู้ประกอบการน�ำเข้า-ส่งออก ภายใต้การเชื่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร ผ่านระบบ NSW National Single Window ที่จะช่วยลดปริมาณงานเอกสาร ลดระยะเวลาในการเดินเอกสาร ท�ำให้เกิดความถูกต้องและความคล่องตัวให้กับ ผู้ประกอบการน�ำเข้า-ส่งออกอย่างมีประสิทธิภาพ โดยทีเอ็มบีมีความพร้อมในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านระบบ NSW กับทุกหน่วยงานได้ทันที เพราะธนาคารได้ โครงสร้างระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลตามมาตรฐาน ISO 20022 ไว้รองรับเรียบร้อยแล้ว และสามารถให้บริการได้อย่างเต็มรูปแบบทันที คือ บริการรับช�ำระภาษี อากรน�ำเข้าส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) โดยเป็นการให้บริการแบบ 24 ชั่วโมง ตลอด 7 วัน
ระยะการวาง
ทีเอ็มบีขอเสนอบริ การพิเศษเพือ่ ช่วยให้ทา่ นประหยัดค่าธรรมเนียมในการท�ำธุรกรรม รวม Blue ทัง้ รับการปรึกษาและให้ �ำแนะน�ำทางด้านการเงินทีเ่ หมาะสมส�ำหรับท่าน เพียงท่านมีเงินฝาก C100คM44 Red เงินลงทุนกับธนาคารมากกว่ า 1 ล้านบาท ท่านสามารถรับบริการพิเศษต่างๆ ทางการเงิน M100 Y81 K 4
บบริการด้านท�ำธุรกรรม สิทิเศธษิ ในการรั พ ฟรี! ค่าธรรมเนียมบัตรรายปี ตลอดอายุสมาชิกบัตร
ฟรี! ค่าธรรมเนียมถอนเงินจากเครื่อง ATM ของทุกธนาคาร ทุกจังหวัด ฟรี! ค่าธรรมเนียมการใช้บริการแจ้งเตือนผ่านโทรศัพท์มือถือ (TMB SMS ALERT)
สิทธิพิเศษในการรับบริการ SUPERIOR SERVICE เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการท�ำธุรกรรมกว่า 200 สาขา สิทธิพิเศษในการวางแผนทางการเงิน และด้านเงินตราต่างประเทศ บริการที่ปรึกษาวางแผนทางการเงินและการลงทุนจากเจ้าหน้าที่ลูกค้าสัมพันธ์ รับส่วนลดค่าธรรมเนียม 25% ในการเช่าตู้นิรภัยรายปี ณ สาขาธนาคารที่ให้บริการ รับอัตราพิเศษแลกเปลี่ยนธนบัตรเงินตราต่างประเทศใน 7 สกุลหลัก อาทิ ดอลลาร์สหรัฐฯ, ยูโร, ปอนด์สเตอร์ลิง เป็นต้น หมายเหตุ : ค่าธรรมเนียมและเงื่อนไขอื่น เป็นไปตามประกาศธนาคาร • สงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขและบริการพิเศษโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า BORDERLESS 35 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ TMB ทุกสาขา ทั่วประเทศ