Spe

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปัญหาพิเศษ

การควบคุมภายในกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ กรณีศึกษาสหกรณ์ โคนมบ้ านบึง จํากัด INTERNAL CONTROL THE PRODUCTION PROCESS OF MILK PASTEURIZATION CASE STUDY COOPERATIVE KO-NOM BANBUNG LTD.

โดย นางสาวปิ ยะมาศ

ปลัง่ กลาง

นางสาวสุ ภาภรณ์

แดงสี แก้ว

นางสาวณัฏฐิมา

ดีช่วย

นางสาวอุบลพรรณ

ศุภสิ ทธิ์ธนะกุล

รายงานผลการศึกษานีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555




รายงานผลการศึกษารายวิชาปัญหาพิเศษ

การควบคุมภายในกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ กรณีศึกษาสหกรณ์ โคนมบ้ านบึง จํากัด INTERNAL CONTROL THE PRODUCTION PROCESS OF MILK PASTEURIZATION CASE STUDY COOPERATIVE KO-NOM BANBUNG LTD.

โดย

นางสาวปิ ยะมาศ

ปลัง่ กลาง

นางสาวสุ ภาภรณ์

แดงสี แก้ว

นางสาวณัฏฐิ มา

ดีช่วย

นางสาวอุบลพรรณ

ศุภสิ ทธิ์ธนะกุล

รายงานผลการศึกษานีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


(1)

บทคัดย่ อ

ชื่อเรื่ อง ชื่อผูจ้ ดั ทา

ปี การศึกษา อาจารย์ที่ปรึ กษา

การควบคุมภายในกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ กรณี ศึกษาสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด นางสาวปิ ยะมาศ ปลัง่ กลาง นางสาวสุ ภาภรณ์ แดงสี แก้ว นางสาวณัฏฐิมา ดีช่วย นางสาวอุบลพรรณ ศุภสิ ทธิ์ธนะกุล 2555 อาจารย์พีรญา พงษ์ปรสุ วรรณ์, บธ.ม.

ในการศึ ก ษาปั ญหาพิ เศษ เรื่ อง การควบคุ มภายในกระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ ไ รส์ กรณี ศึกษาสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด มีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาถึงการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO โดยทาการศึกษาค้นคว้า โดยการสัมภาษณ์ ผูจ้ ดั การและพนักงานในสายกระบวนการผลิ ต และจากทางหนังสื อ บทความ ประกาศ งานวิจยั ที่เกี่ ยวข้อง เอกสารทางวิชาการที่เผยแพร่ ผา่ นทาง อินเตอร์เน็ต ผลการศึกษาพบว่า สหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด ได้ปฏิบตั ิตามการควบคุมภายในด้านการ ปฏิ บตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและนโยบายของสหกรณ์ กาหนดให้หน่ วยรับตรวจจัดวาง ระบบการควบคุ มภายในโดยใช้มาตรฐานการควบคุมภายใน โดยอย่างน้อยต้องแสดงข้อมูล ดังนี้ สรุ ปภารกิ จและวัตถุ ประสงค์การดาเนิ นงานที่สาคัญ มีขอ้ มูลเกี่ ยวกับสภาพแวดล้อมการควบคุ ม โดยเฉพาะเกี่ ยวกับความซื่ อสัตย์ และจริ ยธรรมของบุคลากร โครงสร้างการจัดองค์กรในสหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด ความรู ้และความสามารถของบุคลากร ความเสี่ ยงที่สาคัญที่มีผลกระทบต่อการ บรรลุ วตั ถุ ประสงค์ของการควบคุ มภายใน รวมทั้งข้อมูลสรุ ปผลการประเมินแต่ละองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน ประกอบด้วย 1) สภาพแวดล้อมของการควบคุม มีความเหมาะสมเพียงพอ มีการจัดโครงสร้างและสายการบังคับบัญชาที่ชดั เจน แต่สิ่งที่สหกรณ์ไม่มีนน่ั ก็คือการจัดฝึ กอบรม พนักงานใหม่ ส่ งผลให้พนักงานไม่มีการพัฒนาตนเอง สหกรณ์ควรมีการปรับปรุ งการจัดฝึ กอบรม พนักงานใหม่ให้มีความเหมาะสม 2) การประเมินความเสี่ ยง ซึ่ งสหกรณ์มีการระบุปัจจัยความเสี่ ย ง ให้อยูใ่ นเกณฑ์ที่ยอมรับได้ แม้วา่ สหกรณ์จะมีการประเมินความเสี่ ยงเพื่อเป็ นการควบคุมภายในของ


(2)

การปฏิบตั ิงานกระบวนการผลิต แต่ก็ยงั คงมีความเสี่ ยงที่ยงั คงเหลืออยูใ่ นเรื่ องของกระบวนการรับ น้ านมดิ บ ซึ่ ง ปริ ม าณและคุ ณภาพของน้ านมดิ บในแต่ละวันไม่เท่ ากัน 3) กิ จกรรมการควบคุ ม มีประสิ ทธิ ภาพ โดยมีการกระจายอานาจ กาหนดวิธีการปฏิบตั ิงานและการควบคุมในแต่ละขั้นตอน มีการแบ่งแยกหน้าที่ อย่างชัดเจน มีการป้ องกันและดูแลรักษาทรัพย์สินอย่างรัดกุมและเพียงพอ แต่สหกรณ์ ยงั มีส่วนที่ให้ความสนใจไม่เพียงพอนัน่ ก็คือการวัดผล ซึ่ งสหกรณ์จะมีการวัดผลเพียง ครั้งเดียวจากงบการเงินเมื่อสิ้ นปี ซึ่ งอาจทาให้เกิดปั ญหาที่แก้ไขได้ยาก จึงควรที่จะมีการวัดผลเพิ่ม เป็ นปี ละ 2 ครั้ ง เพื่ อ ให้ ส หกรณ์ ส ามารถควบคุ ม และป้ องกั น ความเสี่ ยงที่ อ าจเกิ ด ขึ้ นได้ 4) สารสนเทศและการสื่ อ สาร สหกรณ์ มี ก ารสื่ อ สารกับ พนัก งานทุ ก คนโดยการติ ด บอร์ ด ประชาสัมพันธ์ข่าวต่างๆให้ทุกคนได้รับรู้โดยทัว่ กัน แต่สหกรณ์ตอ้ งปรับปรุ งในด้านการสื่ อสาร ของฝ่ ายผลิตเนื่องจากในแต่ละแผนกย่อยจะมีการสื่ อสารโดยปากเปล่า ไม่มีการเขียนเป็ นลายลักษณ์ อัก ษร ซึ่ ง อาจจะรวดเร็ วกว่า ก็ จริ งแต่ ก็ค วรที่ จะป้ องกันความผิดพลาดที่อาจเกิ ดขึ้ นและ 5) การ ติดตามประเมินผล รวมทั้งจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้อมข้อเสนอแนะและแผนการ ปรับปรุ งระบบการควบคุมภายในสหกรณ์มีการติดตามผลในระหว่างปฏิบตั ิงานและการตรวจสอบ การปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายอย่างสม่าเสมอ วิก ฤตการณ์ อาหารที่ เกิ ดขึ้ น ท าให้เกษตรกรผูเ้ ลี้ ย งโคนมลดน้อยลง ซึ่ ง มี ส าเหตุ ม าจาก สภาวะเศรษฐกิ จในปั จ จุ บ นั ท าให้ป ริ ม าณน้ า นมดิ บ ที่ ส หกรณ์ ไ ด้รับ มี จานวนลดน้อยลงและมี ปริ มาณน้ านมดิบมีจานวนไม่เท่ากันในแต่ละวัน วิกฤตการณ์อาหารที่เกิดขึ้นไม่ได้ส่งผลกระทบต่อ สหกรณ์มากนัก เพราะสหกรณ์มีการควบคุมภายในที่ดีและมีประสิ ทธิ ภาพตามทฤษฎีการควบคุม ภายในตามแนวคิ ด COSOโดยมี ก ารก าหนดปริ ม าณน้ านมดิ บ ที่ จะนาไปแปรรู ปในแต่ ล ะวันให้ เท่ากัน เพื่อที่จะผลิตสิ นค้าออกมาให้เพียงพอต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภค มีการจัดสรรทรัพยากร ที่มีอยูใ่ ห้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดได้ และคาดว่าในอนาคตสหกรณ์จะมีการเจริ ญเติบโต มากขึ้น เป็ นที่รู้จกั ของเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนมเป็ นอย่างมากและสามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้


(3)

กิตติกรรมประกาศ การศึ ก ษาปั ญ หาพิ เ ศษ เรื่ อ ง การควบคุ ม กระบวนการผลิ ต ในครั้ งนี้ ส าเร็ จ ลงได้ด้ว ย ความกรุ ณาและการอนุ เ คราะห์ ช่ ว ยเหลื อ จากบุ ค คลหลายฝ่ าย ผู้มี พ ระคุ ณ ท่ า นแรกคื อ อาจารย์พีรญา พงษ์ปรสุ วรรณ์ ที่กรุ ณาให้คาปรึ กษาและชี้แนะแนวทาง รวมไปถึงแก้ไขข้อบกพร่ อง ปั ญหาพิเศษฉบับนี้มาโดยตลอด คณะผูศ้ ึกษาขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้ศึ ก ษาขอขอบพระคุ ณ คณาจารย์ส าขาการบัญ ชี บ ริ ห าร คณะวิ ท ยาการจัด การ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา ทุกท่านที่ได้ประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาแขนงต่างๆ ให้คณะ ผูศ้ ึกษาได้เรี ยนรู้และประสบความสาเร็ จในที่สุด คณะผูศ้ ึกษาขอขอบพระคุณผูจ้ ดั การและพนักงานในสายกระบวนการผลิต สหกรณ์โคนม บ้านบึง จากัดที่ให้ความอนุเคราะห์ และให้ความร่ วมมือเป็ นอย่างดีในการให้สัมภาษณ์ ตลอดจนให้ การสนับสนุนการศึกษาในครั้งนี้เป็ นอย่างดียงิ่ คณะผูศ้ ึ ก ษาขอขอบพระคุ ณ คุ ณ บิ ด า คุ ณ มารดา และขอบคุ ณ เพื่ อนๆทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ก าร สนับสนุน ช่วยเหลือ และเป็ นกาลังใจให้แก่คณะผูศ้ ึกษามาโดยตลอด คุณประโยชน์อนั พึงมีของปั ญหาพิเศษฉบับนี้ คณะผูศ้ ึกษาขอมอบสักการะแด่พระคุณของ คุณบิดา คุ ณมารดา และญาติพี่นอ้ ง ซึ่ งเป็ นกาลังใจให้กบั คณะผูศ้ ึกษาเสมอ พร้อมทั้งเชิ ดชูพระคุณ บูรพาจารย์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ที่ได้ประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาแขนงต่างๆ ให้คณะผูศ้ ึกษา จนทาให้ ปั ญหาพิเศษครั้งนี้สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี คณะผู้ศึกษา มีนาคม 2556


(4)

สารบัญ

บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ วิธีการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา นิยามศัพท์ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับวิกฤตการณ์อาหารโลก แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการควบคุมภายใน แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับโครงสร้างการควบคุมภายในตามแนว COSO แนวทางการควบคุมภายในด้านการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและนโยบายของสหกรณ์ งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 กรณีศึกษา ประวัติความเป็ นมาของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานในกระบวนการผลิตของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด วิกฤตการณ์อาหารที่ส่งผลต่อการควบคุมภายในสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด บทที่ 4 ผลการศึกษาค้ นคว้า ผลการศึกษา

หน้า (1) (3) (4) (6) (7) 1 2 3 3 4 4 5 39 44 56 144 149 153 183 184


(5)

สารบัญ (ต่ อ) หน้า บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษา ปั ญหาและข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง

194 197 200


(6)

สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 2.15 2.16

การควบคุมด้านบัญชี การควบคุมด้านบริ หารจัดการ การควบคุมด้านทรัพยากรบุคคล การควบคุมด้านการปฏิบตั ิตามกฎหมายข้อบังคับ ระเบียบและนโยบาย การควบคุมด้านการเงิน การควบคุมด้านธุ รกิจสิ นเชื่อ การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล การควบคุมด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า การควบคุมด้านธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร การควบคุมด้านธุ รกิจเงินรับฝาก การควบคุมด้านเงินลงทุน การควบคุมด้านที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การควบคุมด้านเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ มื การควบคุมด้านสมาชิกและทุนเรื อนหุ ้น การควบคุมด้านโปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์

60 65 66 67 68 75 83 94 105 115 120 125 130 135 138 141


(7)

สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 2.1 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7

ระบบการควบคุมภายในสหกรณ์ภาคการเกษตร โครงสร้างองค์กร ผังกระบวนการทางานแผนกรับน้ านมดิบ แผนภาพการล้างทาความสะอาดในส่ วนการรับน้ านมดิบหลังการใช้งาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานการปรุ งผสมนม แผนผังการปฏิบตั ิงานการพาสเจอร์ไรส์ แบบฟอร์มบันทึกอุณหภูมิห้องเย็น และปริ มาณผลิตภัณฑ์ แผนภาพการทางานแผนกบรรจุและเก็บรักษานมพาสเจอร์ ไรส์

58 150 159 161 170 171 178 181


บทที่ 1 บทนำ ทีม่ ำและควำมสำคัญ ปั จจุ บนั ภาวะวิกฤตการณ์ อาหารยังมีความรุ นแรงมากขึ้นเรื่ อยๆ เนื่ องจากปั ญหาน้ ามันที่ แพงขึ้นอย่างต่อเนื่ องซึ่ งส่ งผลให้วตั ถุดิบที่ใช้ในการผลิ ตอาหารมีราคาสู งขึ้ น และสิ่ งที่ตามมาคือ อาหารที่มีราคาแพงด้วยเช่นกัน อีกสาเหตุหนึ่งคือจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบวกกับประชากร โลกที่เพิ่มขึ้น ในอนาคตอาจทาให้เราเกิดภาวะขาดแคลนอาหารได้ เนื่องจากในปั จจุบนั มีประชากร ที่อยู่ในภาวะขาดแคลนอาหารเกื อบ 1,000 ล้านคน ซึ่ งถ้ามีประชากรเพิ่มขึ้นก็จะมีคนขาดแคลน อาหารเพิ่มขึ้นไปด้วย แต่วิกฤตที่เกิดขึ้นนี้ ถือเป็ นโอกาสของประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยที่มี ภู มิ ป ระเทศเหมาะสมกับ การเกษตรและถื อ ว่ า ดี ที่ สุ ดแห่ ง หนึ่ งของโลก ท าให้ ผ ลผลิ ต จาก ประเทศไทยมี คุ ณภาพดี และเป็ นที่ย อมรั บ ของทัว่ โลก ซึ่ ง เราควรเร่ ง พัฒนาด้านการเกษตรของ ประเทศไทยให้ดีย่ิงขึ้น เพื่อตอบสนองกับความต้องการของตลาดโลกและเพื่อแก้วิกฤตการณ์ทาง อาหารให้เป็ นโอกาสในการสร้ างมูลค่าของผลิตภัณฑ์เกษตรให้สูงขึ้น และในปั จจุบนั ยังมีอีกหนึ่ ง ธุรกิจทางการเกษตรที่น่าจับตามอง ซึ่ งเป็ นตลาดที่มีการแข่งขันกันอย่างรุ นแรงตลอดเวลา นัน่ ก็คือ ธุ รกิจโคนม นมพาสเจอร์ ไรส์ เป็ นหนึ่ งในผลิ ตภัณฑ์ซ่ ึ งได้รับการส่ งเสริ มอย่างจริ งจังจากทางภาครัฐ เพื่อให้ค นไทยมี สุ ขภาพดี จากการบริ โภคนม รวมทั้งส่ งเสริ ม อาชี พให้แก่ ป ระชาชนในประเทศ จึงได้มีการจัดตั้งสหกรณ์โคนมหลายแห่ ง ซึ่ งจะช่วยเพิ่มรายได้ให้กบั เกษตรกรจากการนาน้ านมดิบ มาจ าหน่ า ยให้ ส หกรณ์ เ พื่ อ จะน าไปสู่ ก ระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ ไรส์ ที่ มี คุ ณ ภาพและ ออกจาหน่ายสู่ ชุมชนในราคาที่ยอ่ มเยา อีกทั้งสหกรณ์ยงั ดาเนินการเป็ นตัวกลางในการส่ งวัตถุดิบที่ มีคุณภาพให้กบั บริ ษทั นมชั้นนาต่างๆภายในประเทศ เพื่อนาไปสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่ามากยิ่งขึ้น ซึ่ งการที่สหกรณ์เป็ นตัวกลางในการผลิต จึงต้องมีการควบคุมภายในที่ดีเพื่อควบคุมต้นทุนและลด


2

ปั ญหาต่างๆที่อาจเกิ ดขึ้น การควบคุมภายในมีความจาเป็ นในการบริ หารจัดการองค์กรเป็ นอย่างยิ่ง เห็ นได้จากโครงสร้างขององค์กรที่มีขนาดใหญ่จะมีคณะกรรมการตรวจสอบ คอยตรวจสอบและ กากับดูแลกิจการ เพื่อให้การดาเนิ นงานเกิ ดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล โดยการบริ หารงานที่ดี เราควรมี การปลูกฝังจิตสานึกของบุคลากรให้มีความเชื่อมัน่ ในองค์กรและปฏิบตั ิตามวัตถุประสงค์ ที่วางไว้ซ่ ึ งหากละเลยการควบคุ ม ภายในไปอาจท าให้เกิ ดความเสี ย หายในการดาเนิ นงานและ ความเสี่ ยงที่ อาจเกิ ดขึ้นอีกหลายประการ คณะผูศ้ ึกษาจึงมุ่งเน้นศึกษาเกี่ ยวกับการควบคุ มภายใน กระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ ไ รส์ ข องสหกรณ์ ท าให้ จ ะได้รั บ รู้ ถึ ง ปั ญ หาต่ า งๆที่ เ กิ ด จาก การผิ ด พลาดในการควบคุ ม ภายในไปใช้ ใ นการปรั บ ปรุ งจะช่ ว ยให้ ก ระบวนการผลิ ต นั้น มี ประสิ ท ธิ ภาพสู ง สุ ด ทั้ง นี้ ก ารศึ ก ษาจะเป็ นประโยชน์ก ารวางแผนการควบคุ ม ภายในกระบวน การผลิตของ สหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด วัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ 1. เพื่อศึกษาการควบคุมภายในกระบวนการผลิตของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด 2. เพื่อศึกษาวิเคราะห์ ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของการควบคุ มภายในกระบวน การผลิตของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด 3. เพื่อเสนอแนะข้อบกพร่ องต่างๆ สามารถนาไปปรับปรุ งและแก้ไขการควบคุมภายใน ของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัดให้ดียงิ่ ขึ้น 4. เพื่อศึกษาวิกฤตการณ์ อาหารที่มีผลกระทบต่อการควบคุ มภายในกระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ไรส์


3

ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับ 1. ทาให้ทราบถึงการควบคุมภายในกระบวนการผลิตของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด 2. ทาให้ทราบถึงประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิ ผลของการควบคุมภายในกระบวนการผลิต ของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด 3. ทาให้ทราบข้อบกพร่ องต่ างๆของการควบคุ มภายในกระบวนการผลิ ต ให้สหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด เพื่อจะได้นาไปปรับปรุ งให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลในการทางาน มากที่สุด 4. ท าให้ ท ราบถึ ง วิ ก ฤตการณ์ อ าหารที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การควบคุ ม ภายในกระบวน การผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ 5. ทาให้ทราบถึงแนวทางการบริ หารงานควบคุมภายในของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด วิธีกำรศึกษำ การศึกษาค้นคว้าทาปั ญหาพิเศษนี้ เป็ นการศึกษาค้นคว้าข้อมูลในระดับปฐมภูมิ (Primary Level) โดยการสัมภาษณ์ผจู้ ดั การและพนักงานในสายกระบวนการผลิต และศึกษาในระดับทุติยภูมิ (Secondary Level) ซึ่งจะศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากทางหนังสื อ บทความ ประกาศ งานวิจ ัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารทางวิชาการที่เผยแพร่ ผา่ นทางอินเตอร์เน็ต


4

ขอบเขตของกำรศึกษำ การศึ ก ษาปั ญ หาพิ เ ศษ เรื่ อ ง การควบคุ ม ภายในกระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ ไ รส์ กรณี ศึกษาสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด คณะผูศ้ ึกษาได้ศึกษาและค้นคว้า โดยขอบเขตของการศึกษา ปัญหาพิเศษ คือ ศึกษาถึงการควบคุมภายในกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ กรณี ศึกษาสหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด ตามแนวคิด COSO ให้เหมาะสมกับลักษณะและธุรกิจของสหกรณ์ นิยำมศัพท์ การศึ ก ษาปั ญ หาพิ เ ศษ เรื่ อ ง การควบคุ ม ภายในกระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ ไ รส์ กรณี ศึกษาสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด เพื่อให้คณะผูศ้ ึกษาและผูอ้ ่านเกิดความเข้าใจตรงกัน จึงได้ ให้นิยามศัพท์ไว้ ดังต่อไปนี้ “กำรควบคุมภำยใน” หมายถึง กระบวนการที่ผกู้ ากับดูแล ฝ่ ายบริ หารและบุคลากรของ หน่วยรับตรวจ กาหนดให้มีข้ ึน เพื่อให้ความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดาเนินงานของหน่วย รับตรวจจะบรรลุวตั ถุประสงค์ “สหกรณ์ กำรเกษตร” หมายถึง องค์การที่ผปู้ ระกอบอาชีพทางการเกษตรรวมกันจัดตั้งขึ้น และจดทะเบี ย นเป็ นนิ ติ บุ ค คล ต่ อ นายทะเบี ย นสหกรณ์ ต ามกฎหมายว่ า ด้ว ยสหกรณ์ โดยมี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ ให้ ส มาชิ ก ด าเนิ น กิ จ การร่ วมกั น และช่ ว ยเหลื อ ซึ่ งกั น และกั น เพื่ อ แก้ ไ ข ความเดือดร้อนในการประกอบอาชีพของสมาชิก และช่วยยกฐานะความเป็ นอยูข่ องสมาชิกให้ดีข้ ึน “กำรผลิต” หมายถึง กระบวนการที่ทาให้เกิ ดมูลค่าเพิ่ม ทั้งที่เป็ นมูลค่าหรื อประโยชน์ใช้ สอย และมูลค่าในการแลกเปลี่ ยน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุ ษย์ใน การด ารงชี วิต เพราะฉะนั้นการผลิ ต จึ ง เป็ นการสร้ า งคุ ณค่ า ของสิ นค้า ที่ ส ามารถสนองตอบ ความต้องการของมนุษย์


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึ ก ษาปั ญ หาพิ เ ศษ เรื่ อ ง การควบคุ ม ภายในกระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ ไ รส์ กรณี ศึกษา สหกรณ์ โคนมบ้านบึง จังหวัดชลบุรี คณะผูศ้ ึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษา ค้นคว้า และตรวจสอบเอกสารต่างๆ ทั้งแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อนามากาหนดเป็ น กรอบความคิดการดาเนินงานการศึกษาปัญหาพิเศษครั้งนี้ คือ 1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับวิกฤตการณ์อาหารโลก 2. แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 3. ทฤษฎีการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO 4. แนวทางการควบคุ ม ภายในด้า นการปฏิ บ ัติ ต ามกฎหมาย ข้อ บัง คับ ระเบี ย บและ นโยบายของสหกรณ์ 5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับวิกฤตการณ์อาหารโลก ความมั่นคงทางอาหาร พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เนื่ อ งจากอาหารมี ค วามส าคัญ กั บ การด ารงชี วิ ต อยู่ ข องมนุ ษ ย์ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ นทร-มหาภูมิ พลอดุ ลยเดชมีพ ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ.2522 ขึ้นไว้โดยคาแนะนา และยินยอมของสภานิติบญั ญัติแห่ งชาติทาหน้าที่รัฐสภา เพื่อ สร้างความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทยมีรายละเอียดดังนี้


6

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้ให้ความหมายว่า “อาหาร” หมายถึง ของกิ น หรื อ เครื่ องค้ าจุนชีวติ ได้แก่ 1. วัตถุ ทุกชนิ ดที่คนกิ น ดื่ม อม หรื อนาเข้าสู่ ร่างกายไม่ว่าวิธีใดๆ หรื อในรู ปลักษณะ ใดๆ แต่ไม่รวมถึ งยา วัตถุ ออกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาท หรื อยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วย การนั้นแล้วแต่ กรณี 2. วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้หรื อใช้เป็ นส่ วนผสมในการผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปน อาหาร สี และเครื่ องปรุ งแต่งกลิ่นรส มาตรา 6 เพื่อประโยชน์แก่การควบคุมอาหาร ให้รัฐมนตรี มีอานาจประกาศใน ราชกิจจานุ เบกษา 1. กาหนดอาหารควบคุมเฉพาะ 2. กาหนดคุณภาพหรื อมาตรฐานของอาหารควบคุมเฉพาะตามชื่อ ประเภท ชนิ ด หรื อ ลัก ษณะของอาหารนั้น ๆ ที่ ผ ลิ ต เพื่ อ จ าหน่ า ย น าเข้า เพื่ อ จ าหน่ า ย หรื อ ที่ จ าหน่ า ย ตลอดจน หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย 3. กาหนดคุ ณภาพหรื อมาตรฐานของอาหารที่มิใช่ เป็ นอาหารตาม 1. และจะกาหนด หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย ด้วยหรื อไม่ก็ได้ 4. กาหนดอัตราส่ วนของวัตถุ ที่ใ ช้เป็ นส่ วนผสมอาหารตามชื่ อ ประเภท ชนิ ด หรื อ ลัก ษณะของอาหารที่ ผ ลิ ตเพื่ อจาหน่ า ย นาเข้า เพื่อจาหน่ า ย หรื อที่ จาหน่ า ยรวมทั้ง การใช้สี และ เครื่ องปรุ งแต่งกลิ่นรส 5. กาหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการใช้วตั ถุเจือปนในอาหาร การใช้วตั ถุกนั เสี ย และวิธี ป้ องกันการเสี ย การเจือสี หรื อวัตถุ อื่นในอาหารที่ ผลิตเพื่อจาหน่ าย นาเข้าเพื่อจาหน่ าย หรื อที่จาหน่าย


7

6. กาหนดคุ ณภาพหรื อมาตรฐานของภาชนะบรรจุและการใช้ภาชนะบรรจุ ตลอดจน การห้ามใช้วตั ถุใดเป็ นภาชนะบรรจุอาหารด้วย 7. กาหนดวิธีก ารผลิ ต เครื่ องมื อเครื่ องใช้ใ นการผลิ ต และการเก็ บ รัก ษาอาหารเพื่อ ป้ องกันมิให้อาหารที่ผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้าเพื่อจาหน่าย หรื อที่จาหน่าย เป็ นอาหารไม่บริ สุทธิ์ ตามพระราชบัญญัติน้ ี 8. กาหนดอาหารที่หา้ มผลิต นาเข้า หรื อจาหน่าย 9. ก าหนดหลัก เกณฑ์ เงื่ อ นไข และวิ ธี ก ารในการตรวจ การเก็ บ ตัว อย่า ง การยึ ด การอายัด และการตรวจวิเคราะห์ทางวิชาการ ซึ่ งอาหาร รวมทั้งเอกสารอ้างอิง 10. ก าหนดประเภทและชนิ ด อาหารที่ ผ ลิ ต เพื่ อ จ าหน่ า ย น าเข้า เพื่ อ จ าหน่ า ย หรื อ ที่ จาหน่ าย ซึ่ งจะต้องมีฉลากข้อความในฉลากเงื่อนไข และวิธีการแสดงฉลาก ตลอดจนหลักเกณฑ์ และวิธีการโฆษณาในฉลาก การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต มาตรา 14 ห้ามมิให้ผใู ้ ดตั้งโรงงานผลิตอาหารเพื่อจาหน่ าย เว้นแต่ได้รับใบอนุ ญาตจาก ผูอ้ นุญาต การขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน กฎกระทรวง มาตรา 15 ห้ามมิให้ผใู ้ ดนาเข้าซึ่ งอาหารเพื่อจาหน่าย เว้นแต่ จะได้รับใบอนุญาตจาก ผูอ้ นุ ญาต การขออนุ ญาตและการอนุญาตให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน กฎกระทรวง มาตรา 16 บทบัญญัติมาตรา 14 และมาตรา 15 ไม่ให้ใช้บงั คับแก่ 1. การผลิตอาหารหรื อนาเข้าซึ่งอาหารเฉพาะคราว ซึ่ งได้รับใบอนุญาตเฉพาะคราว จาก ผูอ้ นุญาต


8

2. การผลิ ตอาหารหรื อนาเข้าหรื อส่ งออกซึ่ งอาหารเพื่อเป็ นตัวอย่าง สาหรับการขึ้น ทะเบียนตารับอาหารหรื อเพื่อพิจารณาในการสั่งซื้อ ผูท้ ี่ ได้รับการยกเว้นตาม 1. และ 2. ต้องปฏิ บตั ิตามหลักเกณฑ์ วิธี ก าร และเงื่ อนไขที่ กาหนดในกฎกระทรวง การควบคุมอาหาร มาตรา 25 ห้ามมิให้ผใู ้ ดผลิต นาเข้าเพื่อจาหน่าย หรื อจาหน่าย ซึ่ งอาหารดังต่อไปนี้ 1. อาหารไม่บริ สุทธิ์ 2. อาหารปลอม 3. อาหารผิดมาตรฐาน 4. อาหารอื่นที่รัฐมนตรี กาหนด มาตรา 26 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็ นอาหารไม่บริ สุทธิ์ 1. อาหารที่มีส่ิ งที่น่าจะเป็ นอันตรายแก่สุขภาพเจือปนอยูด่ ว้ ย 2. อาหารที่มีสารหรื อวัตถุเคมีเจือปนอยูใ่ นอัตราที่อาจเป็ นเหตุให้คุณภาพของอาหารนั้น ลดลง เว้นแต่การเจือปนเป็ นการจาเป็ นต่อกรรมวิธีผลิต การผลิ ต และได้รับอนุ ญาตจากพนักงาน เจ้าหน้าที่แล้ว 3. อาหารที่ได้ผลิต บรรจุ หรื อเก็บรักษาไว้โดยไม่ถูกสุ ขลักษณะ 4. อาหารที่ผลิตจากสัตว์ที่เป็ นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้


9

5. อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้วยวัตถุน่าจะเป็ นอันตรายแก่สุขภาพ มาตรา 27 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็ นอาหารปลอม 1. อาหารที่ได้สับเปลี่ ยนใช้วตั ถุอื่นแทนบางส่ วน หรื อคัดแยกวัตถุ ที่มีคุณค่าออกเสี ย ทั้งหมดหรื อบางส่ วน และจาหน่ายเป็ นอาหารแท้อย่างนั้น หรื อใช้ชื่ออาหารแท้น้ นั 2. วัตถุหรื ออาหารที่ผลิตขึ้นเทียมอาหารอย่างใดอย่างหนึ่ ง และจาหน่ ายเป็ นอาหารแท้ อย่างนั้น 3. อาหารที่ได้ผสมหรื อปรุ งแต่งด้วยวิธีใดๆ โดยประสงค์จะปกปิ ดซ่ อนเร้นความชารุ ด บกพร่ องหรื อความด้อยคุณภาพของอาหารนั้น 4. อาหารที่มีฉลากเพื่อลวงหรื อพยายามลวงผูซ้ ้ื อให้เข้าใจผิดในเรื่ องคุณภาพปริ มาณ ประโยชน์ หรื อลักษณะพิเศษอย่างอื่น หรื อในเรื่ องสถานที่และประเทศที่ผลิต 5. อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรื อมาตรฐานที่รัฐมนตรี ประกาศ มาตรา 28 อาหารผิดมาตรฐาน ได้แก่ อาหารที่ไม่ถูกต้องตามคุ ณภาพหรื อมาตรฐานที่ รัฐมนตรี ประกาศกาหนดตามมาตรา 6(2) หรื อ (3) แต่ไม่ถึงขนาดดังที่กาหนดไว้ในมาตรา 27(5) มาตรา 29 อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็ นอาหารตามมาตรา 25(4) 1. ไม่ปลอดภัยในการบริ โภค หรื อ 2. มีสรรพคุณไม่เป็ นที่เชื่อถือ หรื อ 3. มีคุณค่าหรื อคุณประโยชน์ต่อร่ างกายในระดับที่ไม่เหมาะสม


10

การพักใช้ ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต มาตรา 46 เมื่ อปรากฏต่อผูอ้ นุ ญาตว่า ผูร้ ับ อนุ ญาตผูใ้ ดไม่ ปฏิ บตั ิ ตามพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวงหรื อประกาศซึ่ งออกตามพระราชบัญญัติน้ ี หรื อในกรณี ที่ ปรากฏผลจากการตรวจ พิสูจน์วา่ อาหารซึ่ งผลิตโดยผูร้ ับอนุญาตผูใ้ ดเป็ นอาหารไม่บริ สุทธิ์ ตามมาตรา 26 เป็ นอาหารปลอม ตามมาตรา 27 เป็ นอาหารที่ผิดมาตรฐานตามมาตรา 28 เป็ นอาหารหรื อภาชนะบรรจุที่น่าจะเป็ น อันตรายต่อสุ ขภาพหรื อผิดอนามัยของประชาชน ผูอ้ นุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมี อานาจสัง่ พักใช้ใบอนุ ญาตได้โดยมีกาหนดครั้งละไม่เกินหนึ่ งร้อยยี่สิบวัน หรื อในกรณี ที่มีการฟ้ อง ผูร้ ั บอนุ ญาตต่อศาลว่าได้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี จะสั่ง พักใช้ใบอนุ ญาตไว้รอค า พิพากษาอันถึงที่สุดก็ได้ ในกรณี ที่มีคาพิพากษาของศาลอันถึงที่สุด ผูร้ ับอนุญาตผูใ้ ดได้กระทาความผิดตามมาตรา 26 หรื อมาตรา 27 ผูอ้ นุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้ ผูร้ ับอนุญาตซึ่ งถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรื อเพิกถอนใบอนุญาตมีสิทธิ อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี ภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ที่ทราบคาสั่ง รัฐมนตรี มีอานาจสั่งให้ยกอุทธรณ์หรื อแก้ไขคาสั่งของ ผูอ้ นุญาตให้ เป็ นคุณแก่ผอู ้ ุทธรณ์ได้ คาวินิจฉัยของรัฐมนตรี ให้เป็ นที่สุด การอุ ท ธรณ์ ค าสั่ง ต่ อรั ฐมนตรี ตามวรรคสี่ ไ ม่ เป็ นการทุ เ ลาการบัง คับ ตามค าสั่ง พัก ใช้ ใบอนุญาตหรื อคาสัง่ เพิกถอนใบอนุญาต ให้ถือว่า การผลิ ต นาหรื อสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อจาหน่ าย ซึ่ งอาหารควบคุ ม เฉพาะในระหว่า งถู ก สั่ ง พัก ใช้ใ บอนุ ญาตหรื อ ถู ก เพิก ถอนใบอนุ ญาต เป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 14 วรรคหนึ่ง หรื อมาตรา 15 วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหาร อยู่หลายฉบับ และอยู่ในอานาจหน้า ที่ข องหลายหน่ วยงานในกระทรวง ทบวง กรมต่ า งๆ แต่ มี ลักษณะของการปฏิบตั ิงานเกี่ ยวกับอาหารในมิติที่แตกต่างกันในขอบเขตจากัด ขาดการบูรณาการ


11

ขาดความเป็ นเอกภาพ และประสิ ทธิ ภาพในการกากับดูแล การดาเนินงานในห่ วงโซ่ อาหารทั้งด้าน คุณภาพและความปลอดภัยของอาหารเพื่อการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค การส่ งเสริ มและสนับสนุนการค้า และอุตสาหกรรมเกี่ ยวกับอาหารทั้งภายในและระหว่างประเทศประกอบกับยังขาดนโยบายและ ยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับความมัน่ คงด้านอาหารทั้งในยามปกติและยามฉุ กเฉิ น ตลอดจนการป้ องกันการ ใช้อาหารในการก่อการร้าย รวมทั้งการให้การศึกษาด้านอาหารให้ทนั ต่อสถานการณ์ของสังคมโลก ที่ เปลี่ ย นแปลงอย่า งรวดเร็ ว สมควรให้มี กฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการอาหารแห่ ง ชาติเพื่อเป็ น องค์กรหลักและกลไกของประเทศในการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่เกี่ ยวกับอาหารทุกมิติ ดังกล่าวเบื้องต้น โดยครอบคลุ มห่ วงโซ่ อาหารอย่างมีเอกภาพและประสิ ทธิ ภาพในลักษณะบูรณา การของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติน้ ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็ นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พระราชบัญญัติน้ ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ ยวกับการจากัดสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 41 และมาตรา 43 ของรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย บัญญัติ ให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิติบญั ญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัติน้ ี “อาหาร” หมายความว่า อาหารตามกฎหมายว่าด้วยอาหาร “คุณภาพอาหาร” หมายความว่า อาหารที่มีคุณลักษณะทางกายภาพและส่ วนประกอบที่ พึงจะมีรวมถึงมีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม “ความปลอดภัยด้ านอาหาร” หมายความว่า การจัดการให้อาหาร และสิ นค้าเกษตรที่นามา เป็ นอาหารบริ โ ภคส าหรั บ มนุ ษ ย์มี ค วามปลอดภัย โดยไม่ มี ล ัก ษณะเป็ นอาหารไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ ตาม


12

กฎหมายว่าด้วยอาหาร และตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง อาหารที่มีลกั ษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ดว้ ย 1. อาหารที่มีจุลินทรี ยก์ ่อโรคหรื อสิ่ งที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพเจือปนอยู่ 2. อาหารที่มีสารหรื อวัตถุเคมีเจือปนอยู่ตามกฎหมายที่เกี่ ยวข้องในปริ มาณที่อาจเป็ น เหตุให้เกิดอันตราย หรื อสามารถสะสมในร่ างกายที่ก่อให้เกิดโรค หรื อผลกระทบต่อสุ ขภาพ 3. อาหารที่ ไ ด้ผ ลิ ต ปรุ ง ประกอบ บรรจุ ขนส่ ง หรื อ มี ก ารเก็ บ รั ก ษาไว้โ ดยไม่ ถู ก สุ ขลักษณะ 4. อาหารที่ผลิตจากสัตว์ หรื อผลผลิตจากสัตว์ที่เป็ นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้ 5. อาหารที่ผลิต ปรุ ง ประกอบจากสัตว์และพืช หรื อผลผลิตจากสัตว์และพืชที่มีสารเคมี อันตรายเภสัชเคมีภณั ฑ์ หรื อยาปฏิชีวนะตกค้างในปริ มาณที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ 6. อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้วยวัตถุที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ “ความมั่นคงด้ านอาหาร” หมายความว่า การเข้าถึงอาหารที่มีอย่างเพียงพอสาหรับการ บริ โภคของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมตาม ความต้องการตามวัยเพื่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมทั้งการมีระบบการผลิตที่เกื้อหนุน รักษาความสมดุล ของระบบนิ เวศวิทยาและความคงอยู่ของฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติ ของประเทศ ทั้งใน ภาวะปกติหรื อเกิดภัยพิบตั ิสาธารณภัยหรื อการก่อการร้ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร มาตรา 12 ในภาวะที่เกิดภัยพิบตั ิ สาธารณภัย หรื อการก่อการร้ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร อันเป็ นภัยที่ร้ายแรงและฉุ กเฉิ นอย่างยิง่ ให้นายกรัฐมนตรี โดยคาแนะนาของคณะกรรมการและโดย ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอานาจประกาศกาหนดให้เขตพื้นที่ใดเป็ นเขตพื้นที่ที่จาเป็ นต้อง สงวนไว้เพื่อประโยชน์ดา้ นความมัน่ คงด้านอาหารเป็ นการชัว่ คราว รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการใช้ประโยชน์ในเขตพื้นที่ดงั กล่าว ทั้งนี้ ต้องมีแผนที่แสดงแนวเขตพื้นที่ที่จาเป็ นต้อง สงวนไว้น้ นั แนบท้ายประกาศด้วย


13

ในการออกประกาศตามวรรคหนึ่ ง ให้ ด าเนิ น การเพี ย งเท่ า ที่ จ าเป็ น เพื่ อ บรรลุ ต าม วัตถุประสงค์ โดยกระทบกระเทือนสิ ทธิ ของเจ้าของ ผูค้ รอบครอง หรื อผูใ้ ช้ประโยชน์ในเขตพื้นที่ ดังกล่าวน้อยที่สุด ประกาศตามวรรคหนึ่งให้ใช้บงั คับได้ไม่เกินหนึ่งปี นับแต่วนั ที่ประกาศมีผลใช้บงั คับและ อาจขยายได้อีกครั้งละไม่เกินหนึ่งปี ในกรณี ที่ภยั ร้ายแรงและฉุกเฉินอย่างยิ่งนั้นยังคงมีอยูแ่ ละให้ปิด ไว้ ณ สถานที่ดงั ต่อไปนี้ 1. ที่ทาการของหน่วยงานตามมาตรา 15 วรรคสาม 2. ศาลาว่า การกรุ ง เทพมหานคร ส านักงานเขต และที่ ท าการแขวง หรื อศาลากลาง จังหวัด ที่วา่ การอาเภอหรื อกิ่งอาเภอ ที่ทาการกานัน และที่ทาการผูใ้ หญ่บา้ นแห่ งท้องที่ที่เขตพื้นที่ที่ จาเป็ นต้องสงวนไว้น้ นั ตั้งอยูแ่ ล้วแต่กรณี 3. สานักงานที่ดินกรุ งเทพมหานคร และสานักงานที่ดินกรุ งเทพมหานครสาขา หรื อ สานักงานที่ดินจังหวัด สานักงานที่ดินจังหวัดสาขา และสานักงานที่ดินอาเภอแห่ งท้องที่ที่เขตพื้นที่ ที่จาเป็ นต้องสงวนไว้น้ นั ตั้งอยูแ่ ล้วแต่กรณี มาตรา 13 ในเขตพื้นที่ใดที่ได้มีประกาศกาหนดตามมาตรา 12 ห้ามบุคคลใดใช้ประโยชน์ หรื อกระทาการใดๆ ในเขตพื้นที่น้ นั ผิดไปจากหรื อขัดกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนด ไว้ในประกาศดังกล่าว มาตรา 14 ผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา 13 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรื อปรับไม่เกินสี่ หมื่น บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ


14

ความสาคัญของความมั่นคงทางอาหาร ความสาคัญในระดับสากล อาหารเป็ นปั จ จัย ที่ ส าคัญ ส าหรั บ มนุ ษย์ใ นการด ารงชี วิ ต อยู่ เป็ นพลัง งานให้ ม นุ ษ ย์ ใช้ประกอบกิจกรรมเพื่อดาเนินชีวติ ประจาวันต่างๆ ทั้งยังมีส่วนช่วยสร้างความคิดพัฒนาสติปัญญา ของมนุ ษย์เพื่อสนองความต้องการความเจริ ญก้าวหน้าอื่นๆ ในอดีตวิถีชีวิตของคนไทยทั้งในเมือง และชนบทมีชีวติ อยูบ่ นผืนดินอันอุดมสมบูรณ์ มีการหาอาหารและน้ าจากธรรมชาติ มีพ้ืนที่เพื่อการ เพาะปลูกพืชผักสวนครัวไว้เพื่ออยูเ่ พื่อกิน ครอบครัวมีการประกอบอาหารและถนอมอาหารภายใน ครัวเรื อน แต่การพัฒนาประเทศที่เน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้านอย่างรวดเร็ ว มีการนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างฟุ่ มเฟื อยเพื่อให้เศรษฐกิจเติบโต สังคมไทย จึ ง เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงสภาพการด าเนิ น ชี วิต จากการพึ่ ง พาตนเอง เพาะปลู ก ตามธรรมชาติ เพื่อบริ โภคในครั วเรื อนเป็ นหลัก มาเป็ นการผลิ ตเพื่อการค้า ที่ตอ้ งพึ่ งพิงปั จจัยการผลิ ตทั้ง ด้า น เงินทุน เทคโนโลยี พลังงานเชื้ อเพลิง และระบบตลาด เพื่อให้เกิดการซื้ อขายอาหารเพื่อการบริ โภค มากขึ้น ทาให้เศรษฐกิจโลกได้เข้ามามีบทบาท ดังจะเห็นได้จากวิกฤตการณ์ขา้ วขาดแคลนของโลก และสถานการณ์ ปั ญ หาราคาน้ ามัน ที่ ส่ ง ผลกระทบไปในทุ ก ภาคส่ ว นทั้ง ภาคอุ ต สาหกรรม เกษตรกรรม การขนส่ งต่างมี ผลทาให้ราคาสิ นค้าเพื่อการอุปโภคบริ โภคทัว่ ประเทศต่างปรับตัว สู งขึ้ นตามไปด้วย ราคาอาหารทั้งปลี ก และส่ งแพงขึ้ นเป็ นเงาตามตัว ค่าครองชี พของประชาชน ปรับตัวสู งขึ้น และมีแนวโน้มจะสู งขึ้นเรื่ อยๆ ในอนาคต อันเนื่องมาจากปั จจัยหลายประการ ทั้งจาก ราคาน้ ามันที่ ผ นั ผวน ความไม่ม น่ั คงของสถานการณ์ ก ารเมื อง และภาวะเศรษฐกิ จโลกถดถอย สิ่ งเหล่านี้ได้ก่อให้เกิ ดผลกระทบต่อความมัน่ คงของประชาชน โดยเฉพาะความมัน่ คงด้านอาหาร (Food Security) ซึ่ งถื อว่าเป็ นปั จจัยพื้นฐานหลักที่สาคัญ เพราะถ้าในชีวิตประจาวันการหาอาหาร เพื่อประทังชีวติ เป็ นเรื่ องที่ยากลาบากแล้ว ยังเป็ นสิ่ งที่แสดงให้เห็นว่าการดาเนินชีวิตจะต้องประสบ ความยากล าบากมากขึ้ น ไปอี ก ดัง ที่ โครงการพัฒ นาแห่ ง สหประชาชาติ (United Nations Development Program : UNDP) ได้เน้นย้ าว่า ประชาชนต้องสามารถที่จะดูแลตนเอง ตอบสนอง ความต้องการพื้นฐานที่สาคัญของตน และสามารถเลี้ยงชีพตนเองได้ เนื่องจากคนจนหรื อผูม้ ีรายได้ น้อยเป็ นผูท้ ี่ได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณ์น้ ีมากกว่าคนในกลุ่มอื่น โดยเฉพาะคนจนในเมือง ต้องเผชิ ญกับความยากลาบากเพิ่มขึ้ นอีกจากความเสี่ ยงที่รายได้ของครอบครัวลดลง รายจ่ายและ ภาระหนี้ สินของครอบครั วที่ เพิ่ม ขึ้ น เนื่ องจากระดับการบริ โภคอาหารมีความสัมพันธ์กบั ความ ยากจน ที่ไม่ใช่ เรื่ องปริ มาณอาหารเพียงอย่างเดียว แต่หมายความว่าเมื่อเกิดวิกฤติราคาอาหารแพง


15

คนจนจะเป็ นกลุ่มแรกๆที่จะได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก เนื่องจากไม่มีเงินที่จะซื้ ออาหาร เพราะ รายได้อาจจะไม่เพิ่มขึ้นหรื อเพิ่มขึ้นอย่างจากัด นอกจากนี้ปัญหาการเข้าถึงอาหารของผูบ้ ริ โภคใน ชุมชนเมืองต้องพึ่งพาระบบตลาด เช่น ตลาดสด ร้านอาหาร หาบเร่ แผงลอย ซุ ปเปอร์ มาร์ เก็ต ซึ่ งไม่ สามารถควบคุ ม ชนิ ด คุ ณ ภาพ ความปลอดภัย และราคาของอาหารได้ด้วยตนเอง ซึ่ ง สิ่ ง เหล่ า นี้ ชี้ให้เห็นถึงความไม่มน่ั คงทางอาหารได้ชดั เจน ความมัน่ คงทางอาหาร (Food Security) เป็ นประเด็นหนึ่งที่องค์การระหว่างประเทศทัว่ โลก ให้ความสนใจ ซึ่งองค์การสหประชาชาติได้ทาการพยากรณ์ในปี 1993 ว่าในปี 2020 จะมีประชากร โลกถึ ง 8 พันล้านคน ร้ อยละ 93 ของจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นจะเกิ ดในประเทศที่กาลังพัฒนา โลกจะถู ก ท้า ทายให้ ผ ลิ ต อาหารให้เ พี ย งพอกับ จ านวนประชากรที่ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น ปี ละ 90 ล้า นคน ความสามารถในการผลิ ต อาหารจะต้อ งเพิ่ ม ขึ้ น ในอัต ราที่ สู ง กว่ า การเพิ่ ม ขึ้ น ของประชากร เพื่อตอบสนองความต้องการที่ เพิ่ม ขึ้ นเนื่ องจากการมีรายได้เพิ่มขึ้น การขยายตัวของเมือง และ รู ปแบบการดารงชีวิตที่เปลี่ยนไป องค์การสหประชาชาติ ถือว่าการได้รับอาหารอย่างพอเพียงนั้น เป็ นสิ ทธิ สากลของมวลมนุ ษย์และเป็ นความรับผิดชอบร่ วมกัน ทุกคนมีสิทธิ ที่จะได้ดารงชี พตาม ระดับมาตรฐานที่พอเพียงต่อสุ ขภาพและความเป็ นอยูท่ ี่ดีของตนเองและครอบครัว ซึ่ งรวมถึงการ ได้รับ อาหารด้วย ท าให้เกิ ดการประชุ ม สุ ดยอดว่า ด้วยเรื่ องความมัน่ คงด้า นอาหาร ซึ่ ง จัดขึ้ น ณ กรุ ง โรม ประเทศอิตาลี เมื่ อ 3-5 มิ ถุ นายน 2551 ได้จดั ทาปฏิ ญญาว่า ด้วยความมัน่ คงด้า นอาหาร (Declaration on World Food Security) เพื่อให้เกิ ดสภาวะความมัน่ คงด้านอาหาร ที่เพียงพอและ สามารถรองรับความต้องการของประชากรที่หิวโหย โดยมีมาตรการทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และ ระยะยาว เน้น เพิ่ ม การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อด้า นอาหาร การเตรี ย มการเพาะปลู ก การเสริ ม สร้ า ง ความสามารถของประชาชนในการรั บ มื อกับ ปั ญ หา การแก้ไ ขปั ญ หาการบิ ด เบื อ นตลาดและ ข้อจากัดด้านการค้าระหว่างประเทศ การมีโครงข่ายรองรับทางสังคม และการเสริ มสร้างระบบการ ผลิ ต และเพิ่มการสนับสนุ นการลงทุน วิจยั และพัฒนาการบริ หารจัดการน้ าและที่ดิน การจัดหา แหล่งเงิ นระหว่างประเทศเพื่อระดมทุนและจัดการกับปั ญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ เชื้อเพลิงชีวภาพ สถานการณ์ความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทย นวลน้อย ตรี รัตน์ (2551) กล่าวว่า หลังจากราคาพลังงานได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลา หลายปี ตอนนี้ โลกก าลัง เผชิ ญกับ ปั ญหาใหม่ ที่ อาจจะรุ นแรงมากกว่า คื อปั ญหาราคาอาหารที่


16

เพิ่มขึ้นอย่างมากมาย และอาจจะถึ งขั้นขาดแคลนอาหาร ทาให้เราต้องหันกลับมาพูดกัน ถึ งเรื่ อง ความมัน่ คงทางอาหารอีกครั้งหนึ่ ง หลังจากที่การพูดถึงเรื่ องความมัน่ คงทางอาหาร ได้ห่างหายไป เป็ นเวลานาน สาเหตุที่ทาให้ปัญหานี้กลับมาทวีความสาคัญมาจากปั จจัยต่างๆ จานวนมาก เริ่ มตั้งแต่เป็ น ผลมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของราคาน้ า มัน อย่า งต่ อ เนื่ อ งและรุ น แรง มี ผ ลท าให้มี ก ารเปลี่ ย นพื้ น ที่ เพาะปลู ก พื ช อาหาร ไปเป็ นพื ช พลัง งานเพิ่ ม ขึ้ น เพราะพืช พลัง งานเหล่ า นั้น มี ร าคาเพิ่ ม สู ง ขึ้ น ขณะเดี ยวกันราคาพลังงานที่ เพิ่มสู งขึ้นก็ส่งผลกระทบต่อต้นทุน ในการผลิ ตของสิ นค้าทางด้าน เกษตรและอุตสาหกรรม การเปลี่ ยนแปลงภาวะภูมิอากาศ หรื อที่เราเรี ยกกันสั้นๆ ว่า โลกร้ อน ซึ่ งมีผลกระทบต่อ สภาพภูมิอากาศ ทั้งฝนแล้ง และอุ ทกภัย พายุต่างๆ สารพัด ซึ่ งกระทบต่อผลผลิ ตทางการเกษตร ซึ่งแม้วา่ จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรเพิ่มมากขึ้น แต่ก็ยงั ต้องพึ่งธรรมชาติเป็ นด้านหลัก การสู ญเสี ยพื้นที่เพาะปลูกให้กบั การพัฒนาเมืองและภาคอุตสาหกรรม ทาให้พ้ืนที่การเพาะปลูก ลดลง การเติบโตของประชากรโลก ตลอดจนการขยายตัวทางเศรษฐกิ จอย่างมาก ของประเทศที่มี ประชากรรวมกันเกื อบครึ่ งโลก อย่างจีนและอิ นเดี ย ปั จจัย เหล่ า นี้ ล้วนมีส่ วนส่ ง ให้ราคาอาหาร เพิ่มขึ้นเป็ นอย่างมาก ผลกระทบที่ มี ต่อประเทศไทย ซึ่ ง เป็ นประเทศที่ ผลิ ตอาหารที่ ส าคัญ แห่ ง หนึ่ ง ของโลก มีหลายระดับ ในแง่ของผูผ้ ลิตเอง ดูเหมือนว่าจะได้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เพราะสามารถขายผลผลิตได้ ในราคาที่สูงขึ้น แต่ก็ข้ ึนอยูก่ บั ว่าผลประโยชน์เหล่านั้นไปตกอยูก่ บั ใคร ตกอยูก่ บั เกษตรกรมากน้อย เพียงใด ตกอยูก่ บั พ่อค้าคนกลาง และผูท้ ี่ทาการส่ งออกเป็ นจานวนเท่าใด ส่ วนในด้านผูบ้ ริ โภคได้รับความเดือดร้อนอย่างแน่นอน แต่จะมากน้อยแค่ไหน อาจจะต้อง กล่าวว่าขึ้นอยูว่ า่ มีฐานะทางเศรษฐกิจอย่างไร คนจนย่อมต้องเดือดร้อนหนัก เพราะรายได้อาจจะไม่ เพิ่มขึ้นหรื อเพิ่มขึ้นอย่างจากัด ถ้าดูจากการขึ้นค่าจ้างขั้นต่าที่ผ่านมา จะเห็นได้วา่ ขึ้นน้อยกว่าดัชนี เงินเฟ้ อที่เพิ่มขึ้น ซึ่ งก็แสดงว่ารายได้ที่แท้จริ งของคนกลุ่มนี้ลดลง


17

สาหรั บ บางประเทศ โดยเฉพาะประเทศยากจนที่ต้องซื้ ออาหารจากประเทศอื่ น ได้รับ ผลกระทบหนักหน่ วงรุ นแรงทีเดี ยว เช่ นคนยากจนชาวเฮติจานวนหนึ่ งไม่มีเงินที่จะซื้ ออาหารที่มี ราคาสู งรับประทานได้ ต้องหันมาบริ โภคคุกกี้ที่ทามาจากดินเพื่อประทังความหิวโหย ประเทศไทยเมื่ อหลายปี ก่อนก็เคยเผชิ ญกับปั ญหานี้ มาก่อน เมื่อเด็กเล็กๆ ในครอบครัวที่ ยากจน ไม่มีอะไรจะกิน ก็กินดินแทน นามาสู่ โรคภัยสารพัด หรื อการประท้วง จลาจลในอีกหลายๆ ประเทศที่มีฐานะยากจน ที่เกี่ยวเนื่องกับวิกฤตทางด้านอาหาร มี ขอ้ สรุ ป ร่ วมกันว่าระดับ การบริ โภคอาหารมีความสัมพันธ์กบั ความยากจน ไม่ ใช่ เรื่ อง ปริ มาณอาหารเพียงอย่างเดี ยว นัน่ หมายความว่าเมื่อเกิ ดวิกฤตราคาอาหารแพงขึ้น คนจนก็จะเป็ น กลุ่มแรกๆ ที่จะได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก เพราะแม้ในช่วงที่โลกไม่ได้เผชิญกับปั ญหาวิกฤต ทางด้านอาหารเหมือนปั จจุบนั ประชากรจานวนไม่นอ้ ยกว่า 800 ล้านคน อยูใ่ นภาวะอดอยาก และ หิ วโหย และประเด็นปั ญหาไม่ได้อยูท่ ี่ เราไม่มีอาหารพอที่จะเลี้ยงคนทั้งโลกได้ แต่อยูท่ ี่คนยากจน เหล่านั้น ไม่มีเงิ นที่จะซื้ ออาหาร ทั้งนี้ เป็ นผลมาจากการที่โลกไม่สามารถจะกระจาย ผลของการ พัฒนาไปสู่ ประชากรโลกได้อย่างทัว่ ถึ ง มีการกระจุกอยู่ในมือของคนกลุ่มหนึ่ งที่สามารถสะสม ความมัง่ คัง่ ไว้ได้ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีกลายเป็ นเครื่ องมือของประเทศพัฒนาแล้วที่จะดูด ทรัพยากรโลกมาอยู่ มาใช้อย่างฟุ่ มเฟื อยในประเทศของตนเองและเมื่อวิกฤตทางด้านอาหารมาเยือน จานวนผูค้ นที่อดอยากหิ วโหยจะเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ปัญหาเสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมก็จะตามมา ปวรรัตน์ พรรธนประเทศ (2555) กล่าวถึง สาเหตุของความไม่มน่ั คงทางอาหาร ดังนี้ 1. ปัญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร 1.1 การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ 1.2 การเสื่ อมโทรมของดิน 1.3 ปั ญหาของทรัพยากรน้ า


18

2. ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน 2.1 ปัญหาพันธุกรรมในการผลิตอาหาร 2.2 การพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตร 2.3 การลดลงของเกษตรกรรายย่อยและการขยายตัวของธุรกิจการเกษตรขนาดใหญ่ 3. ปั ญหาโครงสร้างของที่ดินทากินและสิ ทธิในการเข้าถึงทรัพยากร 4. บทบาทของค้าปลี กขนาดใหญ่และโมเดิร์นเทรดที่มีบทบาทมากขึ้นในระบบกระจาย อาหาร 5. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร 6. ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร 7. ปั ญหาสุ ขภาวะที่เกิดจากระบบอาหาร 8. การแผ่ขยายของอาณานิคมทางอาหาร 9. วัฒนธรรมอาหารต่างชาติครอบงาวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น 10. การขาดนโยบายเกี่ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร สาเหตุความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทย ความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทยในปั จจุบนั ตามปกติแล้วประเทศไทยแทบไม่เจอ ภาวะความขาดแคลนทางอาหาร เนื่ องจากความแข็งแกร่ งในภาคการผลิตอาหารภายในประเทศ อาหารตามธรรมชาติ ที่ประชาชนสามารถเข้าถึ งได้และความสามารถในการนาเข้าอาหารที่มีไม่


19

เพียงพอภายในประเทศ แต่จากการเพิ่มขึ้นของราคาน้ ามันหลังปี 2540 ทาให้รัฐบาลไทยพยายามหา พลังงานทางเลื อกแทนน้ ามันซึ่ งพืชที่สามารถนามาผลิ ตเป็ นพลังงานแทนน้ ามันได้ เช่ น ข้าวโพด อ้อย มันสาปะหลัง และน้ ามันปาล์ม นอกจากนี้ ยงั มีการประมาณการณ์ว่าความต้องการเชื้ อเพลิ ง ชีวภาพเหล่านี้จะเพิม่ สู งขึ้นอีกมากส่ งผลให้เกษตรกรจานวนไม่นอ้ ยหันไปปลูกพืชพลังงานทดแทน พืชอาหารเดิ มเช่ น ในภาคใต้ซ่ ึ งเป็ นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันส่ วนใหญ่ของประเทศอยูแ่ ล้วทาให้เกิ ด การบุ ก รุ ก พื้ น ที่ ชุ่ ม น้ า และปลู ก ปาล์ม น้ า มัน ในนาข้า ว ในภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ เกษตรกร บางส่ วนเริ่ มปลูกมันสาปะหลังภายหลังจากการการเก็บเกี่ยวจากเดิมเคยปล่อยดินให้พกั ฟื้ น กระแสความนิ ย มพื ช พลัง งานอาจส่ ง ผลต่ อความมัน่ คงทางอาหารของประเทศได้โดย ประเทศไทยซึ่ งเป็ นประเทศผลิตอาหารสาคัญก็อาจตกเป็ นเป้ าหมายของการเข้ามาแย่งยึดที่ดินและ ครอบครองระบบเกษตรกรรมและอาหารในรู ปแบบต่างๆรวมถึงเกิดจากปั ญหาเชิงนโยบายของรัฐ ระบบเกษตรกรรม และยังเผชิญกับสถานการณ์ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติที่รุนแรงและมีจานวนครั้งมาก ขึ้นเรื่ อยๆ แม้วา่ ประเทศไทยจะมีอาหารเพียงพอแต่เมื่อลงรายละเอียดในระดับตัวบุคคลหรื อครัวเรื อน แล้วประชากรมากกว่าหนึ่งในสามและส่ วนมากอยูใ่ นเขตชนบท มีความเสี่ ยงต่างๆที่จะส่ งผลให้เกิด ความไม่มน่ั คงทางอาหารโดยทัว่ ไปกลุ่มเสี่ ยงนี้ ก็คือคนจนที่มีระดับรายได้ต่าหรื อไม่ก็มีค่าใช้จ่าย ด้านอาหารสู ง ในระดับ บุ ค คลและครั ว เรื อ น เกษตรกรรมยัง่ ยืน สามารถสร้ า งความหลากหลายของ พืชพันธุ์ในแปลงสร้ างความมัน่ คงทางอาหารให้ดีข้ ึนและยังช่ วยสร้างเกราะคุ ม้ กันต่อราคาตลาด และสภาพอากาศที่แปรปรวนมากกว่าการปลูกพืชเชิ งเดี่ยวรวมถึงยังลดต้นทุนการผลิ ตและภาวะ หนี้ สินอีกด้วย ในภาวะที่การแข่งขันในตลาดสู งขึ้นจากการเปิ ดเสรี ทางการค้า เกษตรกรรมยัง่ ยืน สามารถเป็ นทางเลื อกของเกษตรกรรายย่อยและครอบครัวได้สาหรับการผลิตและบริ โภคอาหาร ของครัวเรื อน เมื่อประเทศมีการพัฒนามากขึ้นในฐานะที่ไทยเป็ นประเทศผูผ้ ลิตอาหารดังนั้นรัฐบาลควร ที่ จะสนใจแก้ปั ญหาการใช้ป ระโยชน์จากดิ น ทรัพ ยากรทะเล อากาศและทรั พยากรอื่ นๆที่ ม าก เกินไปและส่ งเสริ มสนับสนุนวิถีการผลิตและการบริ โภคและเกษตรกรรมที่ยงั่ ยืน


20

ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่ มั่นคงทางอาหาร ผลจากวิกฤตอาหารที่สะท้อนให้เห็นชัดเจนที่สุ ด คือ การเกิดเหตุการณ์จลาจลอย่างรุ นแรง ขึ้นในประเทศเฮติ เนื่องจากขาดแคลนอาหารและราคาอาหารที่แพงลิบลิ่ว จนก่อให้เกิดการประท้วง เพื่อโค่นล้มรัฐบาลเฮติ ถึงขั้นต้องปรับเปลี่ยนนายกรัฐมนตรี เพื่อแก้ปัญหาปากท้องให้แก่ประชาชน นอกจากนี้ยงั มีเหตุจลาจลที่เกิดขึ้นในทวีปแอฟริ กาและประเทศอื่นๆ อีก ตามที่ปรากฏในสื่ อต่างๆ ทุกครั้งที่ มีวิกฤตราคาพลังงานเกิ ดขึ้ น วิกฤตด้านราคาอาหารก็จะเกิ ดตามมาเป็ นวัฏจักร เนื่ องจากการเคลื่ อนย้า ยของธุ รกิ จ พลัง งานเข้า มาแย่ง วัตถุ ดิบ ไปจากพื ช อาหารเพื่ อเอาไปผลิ ต พลังงาน ส่ งผลให้ราคาอาหารเพิ่มสู งขึ้น ปั จจุ บ นั ภาวะราคาอาหารที่ แพงสู ง ขึ้ น หรื อที่ เรี ย กว่า “ภาวะราคาอาหารเฟ้ อ” (Food Inflation) พุง่ ขึ้นเป็ นประวัติการณ์ จะเห็นได้วา่ ดัชนีเฉลี่ยราคาอาหารขององค์การอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ ในช่วงมีนาคม 2551 เท่ากับ 220 โดยเมื่อเทียบกับช่วงเดือนมีนาคมของปี ก่อนๆ เพิ่มขึ้นถึ งร้ อยละ 57 โดยดัชนี อาหารเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มตั้งแต่ช่วงต้นปี 2551 ซึ่ งสาเหตุหลักมาจาก ความไม่สมดุลระหว่างผลผลิตและความต้องการใช้ที่แตกต่างกัน ราคาอาหารที่ แพงสู ง ขึ้นและคาดว่าจะยัง คงอยู่ในเกณฑ์สู งอย่า งต่อเนื่ อง เกิ ดจากปั จจัย สาคัญที่ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง สวนทางกับความต้องการบริ โภคที่มีแนวโน้มสู งขึ้น และเกิดจาก ปัจจัยแทรกซ้อนหลายๆ ปัจจัยภายใต้กระแสโลกาภิวฒั น์ คือ 1. การเก็งกาไรและสภาวะเงินดอลลาร์ของสหรัฐอเมริ กาที่ตกต่า 2. นโยบายเรื่ องการส่ งเสริ มพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 3. สภาวะโลกร้อนที่ส่งผลให้สภาพอากาศแปรปรวน 4. ราคาน้ ามันที่แพงขึ้นและดูจะต่อเนื่องยาวนาน จนต้องหันไปใช้ไบโอดีเซลทดแทน 5. การบริ โภคสิ นค้าที่เพิ่มขึ้นมากของบรรดากลุ่มประเทศตลาดใหม่


21

วิกฤตการณ์อาหารในวันนี้ มาจากปั ญหาภาคการเกษตรที่ถูกปรับเปลี่ยนจากการเพาะปลูก เพื่อการส่ งออก มาแทนการเพาะปลูกเพื่อการบริ โภคภายในประเทศ การเปลี่ยนมาเป็ นอุตสาหกรรม การเกษตรขนาดใหญ่ที่ปลูกพืชเชิ งเดี่ยว ต้องสิ้ นเปลืองปุ๋ ย ยาฆ่าแมลง และแหล่งน้ า เบียดเบียนวิถี เกษตรเพื่อชุมชน สู่ ภาค “ธุ รกิจการเกษตร” อย่างไร้เหตุผล นอกจากจะไม่บรรเทาความอดอยากแล้ว ยังทาให้ประชาชนหลายล้านคนในประเทศที่ส่งออกอาหาร เช่น ประเทศอินเดีย ประชากร 1 ใน 5 ต้องอดมื้อกิ นมื้อ แม้แต่เด็กอายุต่ ากว่า 5 ปี อีก 48% ยังต้องประสบภาวะทุพโภชนาการ และใน ประเทศโคลัมเบีย ประชากรถึง 13% ก็ประสบภาวะนี้ เช่นกัน แนวทางแก้ไขปั ญหาเร่ งด่วนอีกทางหนึ่งก็คือ การประชุมสุ ดยอดของสหประชาชาติวา่ ด้วย “วิกฤตอาหาร” ที่จดั ขึ้น ณ กรุ งโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 5 มิถุนายนที่ผา่ นมา ผูน้ าของโลกได้ให้ คามัน่ ว่า จะลดอุ ปสรรคทางการค้า และจะส่ งเสริ ม การผลิ ตภาคการเกษตรให้มากขึ้ น เพื่อสู้ ก ับ วิก ฤตการณ์ อาหารที่ ท าให้ เกิ ด ภาวะอดอยากและน าไปสู่ ก ารก่ อ ความไม่ ส งบรุ นแรงในหลาย ประเทศทัว่ โลก ที่ประชุ มได้ผา่ นความเห็นชอบในปฏิญญาร่ วมกันที่จะแก้ปัญหาวิกฤตอาหารแพง และส่ งเสริ มการลงทุนในภาคการเกษตรให้มากยิ่งขึ้น ตลอดจนสร้างความสมดุลในประเด็นปั ญหา ที่มีการถกเถี ยงกันในเรื่ องของเชื้ อเพลิงชี วภาพ และการเรี ยกร้องให้ช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยใน ประเทศยากจนที่มีความต้องการเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ ย และอาหารสัตว์ในช่วงฤดูกาลเพาะปลูก ซึ่ งเชื่อว่าจะ ช่ วยบรรเทาวิกฤตอาหารที่โลกกาลังเผชิ ญอยู่ได้ อย่างไรก็ตาม องค์การสหประชาชาติเคยจัดการ ประชุมสุ ดยอดอาหารโลกมาแล้วเมื่อปี ค.ศ. 1996 เพื่อสร้างอธิ ปไตยทางอาหาร โดยมีวตั ถุประสงค์ ให้เน้นการบริ โภคภายในประเทศ การคุ ม้ ครองปกป้ องสิ ทธิ มนุ ษยชน และสร้ างหลักประกันให้ ประชาคมโลกเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยมีคุณค่าและเหมาะสมทางวัฒนธรรม วิกฤตการณ์อาหารโลกไม่ใช่ ปัญหาระยะสั้นๆ เพราะประชาคมโลกต่างให้ความสนใจและ ตระหนักถึงประเด็นปั ญหาเหล่านี้ ดว้ ยความวิตกกังวล บ้างก็วิเคราะห์วา่ เกิดจากการนาเอาพลังงาน ทดแทน (Biofuel) มาใช้ ทาให้ธัญพืช (Grains) ลดปริ มาณลงและเกิดการขาดแคลนอยู่ตลอดเวลา เช่น บรรดาประเทศในแถบทะเลทรายซาฮารา เป็ นต้น ปั ญหานี้ คือ ปั ญหาฉุ กเฉิ นที่ตอ้ งการการแก้ไข แต่อุปสรรคสาคัญอยู่ที่ เงินทุนช่ วยเหลื อ ด้านการวิจยั ที่มีงบประมาณน้อยมาก การพัฒนาด้านการเกษตรดูเหมือนจะถูกละเลย การบริ หาร จัดการก็เป็ นไปภายใต้กรอบของกระบวนการ โลกาภิวตั น์ เนื่องจากนานาประเทศหันมาพึ่งการค้า


22

มากกว่าการพึ่งพาตนเอง ผลกระทบจากการใช้พลังงานทดแทนที่เห็นได้ชดั ก็คือ กรณี ของประเทศ สหรัฐอเมริ กาที่ ใช้พ้ืนที่ เพื่อพลังงานทดแทนมากขึ้น ทาให้พ้ืนที่ปลูกข้าวโพดเพื่อเป็ นอาหารคน และ สัตว์กว่า 30% ถู กแปรเปลี่ ยนไป จากกรณี ดงั กล่ าวย่อมส่ งผลกระทบกับแหล่ งผลิ ตอาหาร แน่นอน เนื่องจากสหรัฐอเมริ กาเป็ นแหล่งผลิตอาหารที่สาคัญของโลก แม้แต่ในยุโรปเองก็ยงั สนับสนุนนโยบายด้านการผลิต เอทานอล โดยกาหนดให้มีส่วนผสม ของเอทานอล อย่างน้อย 10% ดังนั้นพื้นที่เพาะปลูกอาหารเพื่อบริ โภค จึงกลายมาเป็ นการปลูก ปาล์มน้ ามัน อ้อย ข้าวโพด มันสาปะหลัง เพื่อเป็ นพลังงานทดแทน เช่นกัน องค์การอาหารโลกแห่ ง สหประชาชาติ (WFP) ได้ต้ งั ชื่ อวิก ฤตการณ์ น้ ี ว่า เป็ น “Silent Tsunami” หรื อ “สึ นามิเงียบ” ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้เตรี ยมการรับมือไว้ก่อน นับว่าท้าทาย ความสามารถของผูท้ ี่เกี่ยวข้องในการวางนโยบายเพื่อความอยูร่ อดของประชาคมโลกเป็ นอย่างยิง่ จากนี้ ไป ประชาคมโลกคงต้องจับตามองอย่างใกล้ชิดว่า องค์กรต่างๆ ระดับโลก จะใช้ มาตรการและยุทธศาสตร์ ใดเพื่อแก้ไขวิกฤตการณ์น้ ี ส าหรั บ ประเทศไทย ซึ่ งเป็ นที่ รั บ รู้ ข องประชาคมโลกว่ า อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ว ยพื ช พัน ธุ์ ธัญญาหาร เพราะเราเป็ นผูผ้ ลิ ตและผูส้ ่ งออกสิ นค้าภาคเกษตรรายใหญ่ของโลก ย่อมหนี ไม่พน้ กับ ผลกระทบด้านราคาอาหารแพง ผูท้ ี่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคงไม่พน้ ประชาชนผูย้ ากจน รวมไป ถึงชนชั้นกลาง ซึ่ งถือว่าเป็ นความจาเป็ นอย่างยิง่ ที่รัฐบาลต้องกาหนดมาตรการเพื่อวางนโยบายและ ดาเนิ นการอย่างถูกต้อง เพื่อป้ องกันความเดือดร้อนจากราคาอาหารที่แพงสู งขึ้น แต่ไม่สอดรับกับ รายได้ข องประชาชน โดยเฉพาะนโยบายเศรษฐกิ จ ในระดับ รากหญ้า ขณะนี้ คงต้อ งเน้น ที่ ความสาคัญของการบริ หารจัดการ เพื่อปรับปรุ งประสิ ทธิภาพและรักษาไว้ซ่ ึ งความมัน่ คงทางอาหาร (Food Security) ของประเทศ เพื่อส่ งเสริ มผูท้ ี่เป็ นเกษตรกรและผูผ้ ลิต ให้คงได้รับผลประโยชน์จาก ภาคการตลาด ส่ วนประชาชน ผูบ้ ริ โภคทั้งหลาย ก็ ตอ้ งเข้า ถึ งอาหารทั้งโอกาสและการกระจาย รายได้ที่เพิม่ ขึ้น เช่นกัน แต่ถึงอย่างไรก็ตามน่ าจะเป็ นโอกาสที่ดีของประเทศไทยมากกว่า ที่ได้เกิ ด “วิกฤตการณ์ อาหารโลก” ขึ้น เนื่ องจากเราเป็ นประเทศผูผ้ ลิตอาหารส่ งออกที่สาคัญของโลก มีปริ มาณอาหาร เพียงพอทั้งการบริ โภคภายในประเทศ และส่ งออกได้พร้อมๆ กัน อีกทั้งเรายังมีพ้ืนที่นิเวศน์อนั อุดม


23

สมบูรณ์ ดว้ ยสัตว์เลี้ ยงที่เป็ นอาหารมากมายนานาชนิด “ข้าว” ซึ่ งนับว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สามารถ สร้างรายได้และแปรวิกฤตให้เป็ นโอกาสได้ ภายใต้แผนพัฒนาด้ านศักยภาพของความเป็ นแหล่ ง อาหารโลกเพื่อรองรั บแนวโน้มทางการเปลี่ ยนแปลงในอนาคต เพราะอาหารก็คือทรัพยากรที่มี ความสาคัญมากขึ้นทุกๆวัน รั ฐ บาล ควรก าหนดนโยบายพัฒ นาประเทศที่ เ ป็ นระบบ ท าให้เ รากลายเป็ นประเทศ เกษตรกรรมที่มีเอกภาพ เน้นการเพิ่มผลผลิ ตด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ขยายพื้นที่ภาคการเกษตร ควบคู่กบั การบริ หารจัดการน้ า และร่ วมกันส่ งเสริ มทุกภาคส่ วน โดยเน้นการจัดแบ่งพื้นที่เพาะปลูก พืช ธัญญาหารให้มากกว่าพื้นที่ปลูกพืชพลังงานทดแทน แม้ไทยเราจะเป็ นผูน้ าเข้าด้านพลังงานสุ ทธิ แต่ก็ควรให้ความสาคัญกับการปลูกพืชพลังงานทดแทนเสมอกัน ทั้งนี้ เนื่องมาจากสาเหตุปัจจัยจาก ความเคลื่อนไหวของราคาน้ ามันทัว่ โลกที่ยงั ไม่หยุดนิ่ง การปลูกพืชพลังงานทดแทน เช่น อ้อยและมันสาปะหลังสามารถนามาผลิตเป็ นเอทานอล ได้อย่างพอเพียง เนื่องจากพื้นที่สาหรับการเกษตรของเรามีเป็ นจานวนมาก เมื่อวิกฤตการณ์พลังงานแผ่ขยายไปทัว่ โลก นโยบายด้านการผลิตเอทานอลจึงเป็ นนโยบาย ในระยะยาวที่ตอ้ งจัดให้เป็ นวาระแห่งชาติ เพื่อเตรี ยมการแก้ไขและป้ องกันไปพร้อมๆ กับการแก้ไข วิกฤตการณ์ พลังงานและวิกฤตการณ์อาหาร ประเทศไทยมีพ้ืนที่ภาคการเกษตรถึง 7 ล้านไร่ เศษ ดังนั้น นับเป็ นความจาเป็ นที่ตอ้ งจัดสรรงบประมาณ สู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน ภาครัฐควรส่ งเสริ มและมี มาตรการให้กู้ยืม ในอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ า เพิ่มศักยภาพด้วยเทคโนโลยีส มัยใหม่ วางแผนจัดการ ทรั พยากรน้ า จากัดและควบคุ มราคาปุ๋ ย ตลอดจนช่ วยลดรายจ่ายให้พี่น้องเกษตรกรในทุกๆด้าน อันจะเป็ นการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ได้ ภายใต้นโยบายที่เข้มแข็ง อ้อยที่เรานามาผลิตเป็ นน้ าตาล ใช้บริ โภคภายในประเทศ นอกจากนั้นยังสามารถส่ งออกได้ เป็ นส่ วนใหญ่ เพราะเรามีพ้ืนที่ปลูกอ้อยที่ไม่กระทบต่อพื้นที่นา ในภาคอีสานเราก็ปลูกพืชพลังงาน ได้มากกว่าภาคอื่นๆ อาศัยบรรดาผูป้ ระกอบการเป็ นผูส้ ่ งเสริ ม โดยแบ่งแยกสัดส่ วนให้ชดั เจน ผูผ้ ลิต น้ าตาลจะไม่เกี่ยวข้องกับโรงงานผลิตเอทานอล การอาศัยความร่ วมมือจากทุกภาคส่ วนนั้น ต้องจัด สัมมนาขึ้น เพื่อระดมสมองและสรรพกาลังต่างๆ ทาการวิเคราะห์คน้ คว้า วิจยั อันจะนาไปสู่ ผล ทางการแก้ไขที่มีท้ งั ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิผล


24

จะเห็นได้วา่ เราต้องใช้ทุนจากกระทรวงการคลังจานวนถึง 25,000 ล้าน เพื่อลดต้นทุนด้าน ผลผลิ ตอย่างเต็มที่ นอกจากนี้ ยงั อาศัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ทางภาคเกษตร สร้าง ความมัน่ ใจให้แก่ประเทศที่เป็ นพันธมิตรทางการค้า โดยยึดหลักความเป็ นธรรมกับทุกฝ่ าย ทั้งผูท้ ี่ รับผลประโยชน์และผูท้ ี่เสี ยผลประโยชน์ แม้ในหลายประเทศทัว่ โลกจะตกอยู่ในสถานการณ์ที่ลาบาก โดยไม่สามารถจะคาดเดาได้ ว่าอนาคตข้างหน้านั้นจะเป็ นอย่างไร แต่สาหรับประเทศไทย คงต้องเปลี่ยนวิกฤตให้เป็ นโอกาส เช่ น ไม่ควรจากัดการส่ งออก ไม่บิดเบือนราคาตลาด แสวงหาพันธมิตรที่เป็ นประเทศผูผ้ ลิ ตภาค การเกษตรเพื่ อ แลกเปลี่ ย นความรู้ และการตลาดซึ่ ง กัน และกัน แม้ว่า วิก ฤตการณ์ อาหารท าให้ เกษตรกรไทยได้รับผลประโยชน์มากขึ้นก็ตาม แต่ในขณะเดียวกันผลกระทบยังคงตกอยูก่ บั คนจน ในเมือง เพราะยังคงต้องจ่ายค่าอาหารในราคาที่สูงขึ้นถึง 43% และในที่ประชุมสหประชาชาติว่า ด้วยการค้าและการพัฒนา (อังค์ถดั ) ที่กรุ งอักกรา สาธารณรัฐกานา ยังแสดงความเห็นเช่นเดียวกันว่า ในระยะยาวนั้น การเจรจาเปิ ดตลาดการค้านับเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุด ส่ งผลให้บรรดาเกษตรกรมีคุณภาพ ชี วิ ต ที่ ดี ข้ ึ น เพราะราคาพื ช ผลทางการเกษตรจะได้ร าคาดี ต ามผลผลิ ต ที่ มี ป ริ ม าณเพิ่ ม มากขึ้ น อันนับว่าเป็ นผลประโยชน์ที่ดี แก่ประเทศไทยทั้งสิ้ น นับว่าเป็ นความโชคดี ของเราที่เป็ นประเทศส่ งออกอาหารสุ ทธิ ที่สาคัญของโลก จึงได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตการณ์อาหารน้อยมากเมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศอื่นๆ อีกหลายๆ ประเทศ การ บริ โภคภายในประเทศจึงไม่ตอ้ งเผชิญกับภาวะขาดแคลน และยังได้รับอานิสงส์จากราคาสิ นค้าภาค เกษตรที่สูงขึ้นด้วย เพราะอาหารไม่ใช่ เพียงโภคภัณฑ์ แต่อาหารเป็ นหัวใจของการอยู่รอดของประชากรโลก ปั ญหาที่เกิ ดขึ้นไม่ได้เกิ ดขึ้น ณ ที่หนึ่ งที่ใด หากแต่กลายเป็ นปั ญหาใหญ่ทางสังคม และ การเมือง ที่แผ่ขยายไปทัว่ โลก การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน สภาโลกว่าด้วยสิ่ งแวดล้อมกับการพัฒนา ได้ให้ความหมายของการพัฒนาแบบยัง่ ยืนว่า “การพัฒนาแบบยัง่ ยืนหมายถึงการพัฒนาที่สนองตอบต่อความต้องการของคนในรุ่ นปั จจุบนั โดย ไม่กระทบกระเทื อนความสามารถของคนรุ่ นต่ อไป ในการที่จะสนองตอบความต้อ งการของ


25

ตนเอง” (Sustainable development is development which meets the needs of the present generation without compromising the ability of future generations to meet their own needs) การพัฒนาแบบยัง่ ยืนตามความหมายดังกล่าว ประกอบด้วยแนวคิดอย่างน้อย 3 ประการ คือ ประการแรก เป็ นแนวคิดเกี่ ยวกับความต้องการของมนุษย์ ประการที่สอง เป็ นแนวคิดเกี่ ยวกับ ขีดจากัด และ ประการที่สาม เป็ นแนวคิดเกี่ยวกับความยุติธรรมในสังคม แนวคิดประการแรก การพัฒนาแบบยัง่ ยืนคานึงถึงแนวคิดเกี่ยวกับความต้องการของมนุษย์ ซึ่ งอาจเป็ นความต้องการพื้นฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหาร เครื่ องนุ่งห่ ม ที่อยูอ่ าศัย ยารักษาโรค การมีงานทา และความต้องการที่จะมีมาตรฐานความเป็ นอยูท่ ี่ดีกว่าเดิม ความต้องการทั้ง 2 ประการ นั้น ล้วนต้องอาศัยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม โดยทัว่ ไปคนรวยกับคนจนมีความต้องการที่แตกต่างกัน แต่ท้ งั คนรวยและคนจนก็มีความ ต้องการพื้นฐานซึ่ งเป็ นความจาเป็ นในการดารงชีวิตเหมือนๆ กัน ไม่แตกต่างกัน คนที่ร่ ารวยกว่า ย่อมต้องการดารงชี วิตอยูอ่ ย่างมีมาตรฐานความเป็ นอยูท่ ี่สูง มีสิ่งอานวยความสะดวกสบายมากมาย นอกเหนื อจากสิ่ งที่จาเป็ นต่อการครองชี พ คนจนก็เช่ นเดียวกัน เมื่อได้รับการสนองตอบความ ต้องการขั้นพื้นฐานแล้วเขาก็มีสิทธิ์ ที่จะพัฒนาตนเองหรื อได้รับการพัฒนา ให้มีมาตรฐานการ ดารงชีวติ ที่สูงขึ้นกว่าขั้นความจาเป็ นพื้นฐาน แนวคิดประการทีส่ อง เกี่ยวกับขีดจากัดของสิ่ งแวดล้อม สิ่ งแวดล้อม จะทาหน้าที่อย่างน้อย 2 ประการ คือ 1. เป็ นผูใ้ ห้ทรัพยากรแก่กระบวนการพัฒนา 2. เป็ นที่รองรับของเสี ยจากกระบวนการพัฒนา ระบบสภาพแวดล้อมมีขีดจากัดในการให้ ทรัพยากร และมีขีดจากัดในการรองรับของเสี ย ในกระบวนการพัฒนา ย่อมจะต้องนาเอาทรัพยากร สิ่ งแวดล้อมมาใช้ประโยชน์ และเมื่อมี การพัฒนา จะต้องมีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมทางกายและชีวภาพเกิดขึ้นมากบ้างน้อยบ้าง แล้วแต่ ระดับเทคโนโลยีที่ใช้ แล้วแต่อตั ราและปริ มาณการใช้ประโยชน์จากทรั พยากรธรรมชาติและ


26

สิ่ งแวดล้อม แล้วแต่ความสามารถในการบริ หารจัดการกับผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมที่อาจเกิ ดขึ้น การพัฒนาแบบยัง่ ยืนจะต้องไม่กระทบต่อความสามารถของคนรุ่ นต่อๆ ไป ที่จะมาจัดใช้ประโยชน์ จะต้องไม่เกิ นศักยภาพที่ระบบนิ เวศนั้นจะทาให้งอกงามและฟื้ นฟูข้ ึนมาใหม่ได้ ไม่เกิ นขอบขีด ความสามารถ ที่ระบบนิเวศจะรองรับได้ จะต้องไม่เกินขีดสมดุลของธรรมชาติ แนวคิดประการที่สาม เกี่ยวกับความยุติธรรมในสังคม เพราะการพัฒนาโดยทัว่ ไปเป็ นการ ปรับปรุ งเปลี่ยนให้สภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคมดีข้ ึน มีคุณภาพชีวิตดีข้ ึน แนวทางการพัฒนาแบบ ยัง่ ยืนมี หลักการใช้ประโยชน์ทรัพยากรในปริ มาณเท่าที่ฟ้ื นฟูเกิ ดใหม่ได้ ความยัง่ ยืนนั้นไม่อาจ มัน่ คงอยูไ่ ด้ หากปราศจากนโยบายการพัฒนาที่คานึงถึงปัจจัยทางสังคม - วัฒนธรรมเข้ามาพิจารณา ด้วย อาทิ โอกาสของการเข้าถึงและได้ใช้ทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน การกระจายการลงทุนและ ผลประโยชน์ตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาอย่างเหมาะสม การพัฒนาแบบยัง่ ยืนจึงต้องคานึงถึง หลักความยุติธรรมระหว่างชนรุ่ นปั จจุบนั กับชนรุ่ นต่อ ๆ ไป (Intergenerational Equity) และ หลักการความยุติธรรมระหว่างชนรุ่ นเดียวกัน (Intergenerational Equity) ตามหลัก การความยุ ติธ รรมระหว่า งชนรุ่ นปั จจุ บ ันกับ ชนรุ่ น ต่ อไป ชนรุ่ นปั จ จุ บ นั มี ภาระหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ คนรุ่ น ต่ อ ไปในการที่ จ ะต้อ งมอบมรดกทางธรรมชาติ แ ละ สิ่ งแวดล้อมในปริ มาณ และคุณภาพที่ไม่ดอ้ ยไปกว่ายุคปั จจุบนั การทาลายความสุ ขสมบูรณ์ของชน รุ่ นหลังนับว่าเป็ นสิ่ งที่ไม่ยตุ ิธรรมอย่างยิง่ ส่ วนหลักความยุติธรรมระหว่างคนรุ่ นเดียวกันจะต้องมุ่งไปที่การแก้ไขปั ญหาความยากจน และการสนองความต้องการของประชากรผูย้ ากไร้ดอ้ ยโอกาส เพื่อลดความไม่เท่าเทียมกัน การที่จะ ให้คนยากจนชื่ นชมกับธรรมชาติ รักษาสภาพแวดล้อมทั้งๆที่ปากท้องยังหิ วอยู่เป็ นเรื่ องที่ขดั ต่อ ความรู้สึก ฝื นต่อความต้องการตามธรรมชาติของเขา เมื่อใดที่สามารถพัฒนาให้หลุดพ้นจากวงจร แห่ งความชัว่ ร้ าย (โง่ เจ็บ จน) ได้ คนยากจนก็จะมีโอกาสใช้ทรัพยากรและสภาพแวดล้อมใน ลักษณะที่ยง่ั ยืนได้ การพัฒนาแบบยัง่ ยืนสนับสนุ นค่านิ ยมที่มีก ารส่ งเสริ มให้มีม าตรฐาน ในการบริ โภค ทรัพยากรที่ไม่ฟุ่มเฟื อยที่อยูใ่ นขอบขีดความสามารถของระบบนิ เวศที่จะรองรับได้ ตามคากล่าว ของมหาตมะคานธี ที่วา่ “โลกเรานี้ มีทรัพยากรเพียงพอสาหรับสนองความต้องการของมนุษย์ แต่มี ไม่เพียงพอส าหรั บความโลภของมนุ ษย์” มนุ ษย์เราจึงต้องเปลี่ ย นแปลงให้มีค่ านิ ย มแบบใหม่


27

เศรษฐศาสตร์ ที่เน้นเรื่ อง “ยิ่งมากยิ่งดี” (The economics of more and more) จะต้องกลายเป็ น เศรษฐศาสตร์ของความพอดี (The economics of enough) ซึ่ งตรงกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ในเรื่ องมัตตัญญุตา คือ ความเป็ นผูร้ ู้จกั ประมาณ คือ ความพอเหมาะพอดี การพัฒนาแบบยัง่ ยืนจะต้องคานึ งถึ งประโยชน์ของประชาชนเป็ นใหญ่หรื อมีประชาชน เป็ นศูนย์กลาง (People centered development) การพัฒนาที่มีครอบครัวเป็ นรากฐาน (family – based development) เพราะประชาชนส่ วนใหญ่ควรจะได้รับผลการพัฒนาอย่างทัว่ ถึงและเป็ นธรรม การพัฒนาจึงจะยัง่ ยืน โดยที่ครอบครัวและชุ มชนเป็ นรากฐานที่สาคัญของสังคม จึงควรพัฒนา ครอบครัวและชุมชนให้มนั่ คง เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยง่ั ยืน ลาพังการพัฒนาโดยรัฐบาลฝ่ ายเดียว โดยที่ประชาชนไม่มีส่วนร่ วมด้วยจะไม่ทาให้เกิดการ พัฒนาที่ยง่ั ยืน โดยที่ประชาชนเป็ นผูร้ ับผลประโยชน์ของการพัฒนา รู้ปัญหาและความต้องการของ ตนดี การพัฒนาที่ยง่ั ยืนจึงต้องส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของประชาชน (People participation) และ ส่ งเสริ ม บทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนา ภาคเอกชนประกอบด้วยองค์ก รเอกชน (nongovernment organization หรื อ NGO) องค์กรธุ รกิจ (business organization) และองค์กรประชาชน (people organization) ดังนั้นภาครัฐบาล องค์กรเอกชน และองค์กรธุ รกิจ ควรจะร่ วมกันส่ งเสริ ม องค์กรประชาชนให้สามารถดาเนินงานอย่างเข้มแข็งและมีประสิ ทธิภาพ การพัฒ นาแบบยัง่ ยื น จะต้อ งเป็ นการพัฒ นาที่ ส มดุ ล โดยมี ก ารพัฒ นาที่ ส มดุ ล และ ผสมผสานในด้านต่าง ๆ ไม่จาเป็ นต้องพัฒนาที่เน้นหนักไปในด้านเศรษฐกิจจนเกินไป เพราะลาพัง การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิ จเพียงด้านเดียว ไม่อาจจะบรรลุถึงการ พัฒนาแบบยัง่ ยืนได้ ไม่อาจจะรั กษาคุ ณภาพของสิ่ งแวดล้อมและคุ ณภาพชี วิตของประชาชนได้ จาเป็ นต้องมีการพัฒนาด้านอื่นควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะการพัฒนาด้านสังคมและการพัฒนาด้าน วัฒนธรรมและจิตใจ มีผกู ้ ล่าวว่า สาเหตุที่สาคัญของปั ญหาสิ่ งแวดล้อม คือพฤติกรรมของมนุ ษย์ (Human behavior) เช่น การเห็ นแก่ความสะดวกสบาย ความเห็นแก่ตวั ความเห็นแก่ได้ การขาดความ รับผิดชอบ การขาดจิตที่สานึ กต่อส่ วนรวม จึงมีคากล่าวว่า “ตัวเราเองเป็ นศัตรู ที่ร้ายแรงที่สุดของ เรา” (We are own worst enemy) เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน จึงต้องมีการเร่ งรัดการพัฒนาด้าน


28

วัฒนธรรมและจิตใจ เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างความเจริ ญก้าวหน้าด้านเศรษฐกิจและด้านจิตใจ เกิดความมัง่ คัง่ ทางจิตใจ (spiritual wealth) ให้สมดุลกับความมัง่ คัง่ ทางวัตถุ (material wealth) นโยบายการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน การพัฒนาที่ จะก่ อให้เกิ ดผลที่ยง่ั ยืนยาวนาน จะต้องไม่ก่อให้เกิ ดความเสื่ อมโทรมแก่ คุณภาพของสิ่ งแวดล้อมและต้องกระทาอย่างจริ งจัง การพัฒนาปรับปรุ งคุณภาพของสิ่ งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่ อมโทรม มีดงั นี้ 1. การควบคุ มการเพิ่มประชากร การเพิ่มประชากรทาให้เกิ ดการใช้ทรัพยากรอย่าง กว้างขวาง ต้องมีการผลิ ตอาหารเพิ่มขึ้น ต้องการที่อยู่อาศัย ต้องการน้ าดื่มน้ าใช้เพิ่มขึ้น ฯลฯ ความต้องการที่ เพิ่ม ขึ้ นเหล่ า นี้ ไ ด้ก่ อให้เกิ ดการร่ อยหรอขาดแคลนทรั พ ยากร เกิ ดสารพิษ ใน สิ่ งแวดล้อม และทาให้ธรรมชาติหรื อสิ่ งแวดล้อมขาดความสมดุลในที่สุด การหยุดยั้งการเติบโต หรื อการหยุดยั้งการเพิ่มประชากรมนุษย์ จะช่วยลดความเสื่ อมโทรมของสิ่ งแวดล้อมและลดปริ มาณ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติลง 2. การพืน้ ฟูสภาพแวดล้ อม สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่อยูใ่ นสภาพเสื่ อม โทรม เช่น ป่ าไม้ แหล่งน้ า การพังทลายของหน้าดินจะต้องได้รับการป้ องกันมิให้เกิดสภาพเสื่ อม โทรมขึ้นต่อไป และจะต้องฟื้ นฟูพฒั นาปลูกป่ า ขุดลอกหาแหล่งน้ า การใช้ที่ดินเพื่อกิจการต่าง ๆ ต้องเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เป็ นต้น 3. การป้องกันกาจัดสารพิษ สารพิษที่แพร่ กระจายในอากาศ แหล่งน้ าและที่อยูใ่ นวงจร อาหารจะต้องกาจัดออกไป โดยการป้ องกัน ควบคุ มการใช้ส ารพิษเหล่ านั้นทั้งในการเกษตร อุตสาหกรรม และในบ้านเรื อน มีแหล่งรวบรวม จัดการ และขจัดสารพิษเหล่านั้นมิให้แพร่ กระจาย ออกไป 4. การวางแผนการใช้ ทดี่ ินและนา้ ที่ดินที่มีอยูท่ ว่ั ประเทศทั้งในชนบทและในเมืองจะต้อง มีการจัดสรรการใช้ให้เหมาะสมกับสมรรถนะของดิน ไม่วา่ จะเพื่อประโยชน์ทางเกษตรกรรมหรื อ อุตสาหกรรมการใช้เป็ นชุ มชนที่อยูอ่ าศัย และการใช้เพื่อการสาธารณูปโภค จะต้องเป็ นไปอย่าง สอดคล้องเหมาะสม และให้ประโยชน์สูงสุ ด น้ าที่ใช้ท้ งั เพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม และอุปโภค


29

จะต้องมีการวางแผนการใช้ให้เกิดความเป็ นธรรม พอเหมาะแก่ฤดูกาล และเหมาะกับวัตถุประสงค์ ของการใช้ ทั้งป้ องกันมิให้มีการแพร่ กระจายสารพิษ หรื อป้ องกันน้ าเสี ยมิให้แพร่ กระจายไปสู่ แหล่งน้ าธรรมชาติ 5. การประหยัดการใช้ ทรั พยากร การใช้ทรัพยากรทุกชนิดไม่วา่ จะเป็ นน้ า ไฟฟ้ า หรื อ พลังงานอื่น ๆ การกิน และการใช้เครื่ องใช้ในชีวิตประจาวันทุกชนิด จะต้องเป็ นไปอย่างประหยัด และใช้ประโยชน์ให้ได้นานคุม้ ค่ามากที่สุด 6. การพัฒ นาเทคโนโลยี ที่เ หมาะสม เทคโนโลยี ที่ จ ะน ามาใช้ท้ ัง ในภาคเกษตร อุตสาหกรรมการสื่ อสาร คมนาคมและในครัวเรื อน จะต้องเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และไม่ ส่ งผลกระทบต่อคุ ณภาพสิ่ งแวดล้อม ทั้งจะต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิ ภาพในการ แก้ไข และฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมได้ดว้ ย 7. ค่ านิยมและวัฒนธรรมทีเ่ หมาะสม ค่านิยมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิต และการใช้ปัจจัยในการดารงชีวิต จะต้องเป็ นไปอย่างพอเหมาะกับกาลังการผลิตที่เกิดขึ้นในระบบ นิเวศน์ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่ก่อให้เกิดค่านิยมฟุ่ มเฟื อย ควรถือว่าเป็ นการมุ่งทาลายการดารง อยูข่ องมนุษยชาติโดยส่ วนรวม 8. การควบคุมอาวุธสงคราม อาวุธที่ใช้ทาสงครามและเพื่อประโยชน์ในการทาลายล้าง กันจะต้องถูกควบคุมจากัดการสร้าง การใช้ และการซื้ อขายกัน เพื่อป้ องกันการข่มขู่รุกราน การ ได้เปรี ยบในการใช้ทรัพยากร และผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมที่เกิ ดขึ้ นจากการใช้อาวุธสงคราม เหล่านั้น 9. การให้ การศึกษา การให้การศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบ นิเวศน์สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี หรื อวิชาการด้านอื่น ๆ จะต้องผสมผสานกันอย่างถูกต้องและ เป็ นไปเพื่อการดารงชี วิตที่มีคุณภาพก่อให้เกิดสติปัญญา ก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในชี วิตและ ธรรมชาติโดยรอบตัวอย่างถ่องแท้ และก่อให้เกิดทักษะที่จาเป็ นแก่การดารงชีวติ ที่แท้จริ ง


30

หลักเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง หมายถึ ง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึ งความจาเป็ นที่จะต้องมี ระบบภู มิ คุ ้ม กันในตัว ที่ ดี พ อสมควร ต่ อการมี ผลกระทบใด ๆ อันเกิ ดจากการเปลี่ ย นแปลงทั้ง ภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่า ง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนิ นการทุก ขั้นตอน และขณะเดี ยวกัน จะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุ รกิจใน ทุกระดับให้มีสานึ กในคุณธรรม ความซื่ อสัตย์สุจริ ตและให้มีความรอบรู้ ที่เหมาะสม ดาเนิ นชี วิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับ การเปลี่ ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรมจาก โลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิ จพอเพียง คือ การพัฒนาที่ต้ งั อยูบ่ นพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึ งถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสิ นใจและการกระทา

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่ วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัช ญาที่ช้ ี แนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิ บตั ิตนในทางที่ควรจะ เป็ น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และ เป็ นการมองโลกเชิ งระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมัน่ คง และ ความยัง่ ยืน ของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ิตนได้ในทุกระดับ โดยเน้น การปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน


31

3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้ 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกิ นไปโดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ 3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้อง เป็ นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึ ง ถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ 3.3 การมี ภูมิคุม้ กันที่ ดีในตัว หมายถึ ง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงือ่ นไข การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูใ่ นระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้ง ความรู ้ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ 1. เงื่ อนไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้องอย่างรอบ ด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู ้ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบตั ิ 2. เงื่ อนไขคุ ณธรรม ที่ จะต้องเสริ มสร้ างประกอบด้วย มี ความตระหนัก ในคุ ณธรรม มี ความซื่ อสั ต ย์ สุ จริ ตและมี ค วามอดทน มี ค วามเพี ย ร ใช้ ส ติ ปั ญญาในการด าเนิ นชี วิ ต แนวทางปฏิ บั ติ / ผลที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ จากการน าปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมา ประยุก ต์ใช้ คื อ การพัฒนาที่ ส มดุ ล และยัง่ ยืน พร้ อมรั บ ต่อการเปลี่ ย นแปลงในทุ ก ด้าน ทั้ง ด้า น เศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี


32

แนวทางการประยุกต์ ใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิ จพอเพียงในระดับบุคคล ระดับชุ มชน และระดับประเทศมี แนวทางดังนี้ 1. ระดับบุคคล 1.1 รู้จกั “พอ” ไม่เบียดเบียนผูอ้ ื่น 1.2 พยายามพัฒนาทักษะ ความรู้ ความเข้มแข็งของตนเอง 1.3 ยึดทางสายกลาง พอใจกับชีวติ ที่พอเพียง 2. ระดับชุมชน 2.1 รวมกลุ่มใช้ภูมิปัญญาของชุมชน 2.2 เอื้อเฟื้ อกัน 2.3 พัฒนาเครื อข่ายความร่ วมมือ 3. ระดับประเทศ 3.1 ชุมชนร่ วมมือกัน 3.2 วางระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง 3.3 พัฒนาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็ นค่อยไป 3.4 เติบโตจากข้างใน


33

แนวทางการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1. แนวทางการปฏิบตั ิตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีดงั นี้ 1.1 ยึดหลักสามพอ พออยู่ พอกิน พอใช้ 1.2 ประหยัด 1.3 ประกอบอาชีพสุ จริ ต 1.4 เน้นหาข้าวหาปลาก่อนหาเงินหาทอง 1.5 ทามาหากินก่อน ทามาค้าขาย 1.6 ใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ที่ดิน คืนทุนสังคม 1.7 ตั้งสติมน่ั คง ทางานอย่างรู้ตวั ไม่ประมาท 1.8 ใช้ปัญญาใช้ความรู้แท้ 1.9 รักษาสุ ขภาพให้แข็งแรงทั้งกายและใจ 2. แนวทางการประกอบอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.1 ทางานอย่างผูร้ ู ้ ใช้ปัญญาทางานอย่างมืออาชีพ 2.2 อดทนมุ่งมัน่ ยึดธรรมะและความถูกต้อง 2.3 อ่อนน้อมถ่อมตน เรี ยบง่าย ประหยัด


34

2.4 มุ่งประโยชน์ของคนส่ วนใหญ่เป็ นสาคัญ 2.5 รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น 2.6 ตั้งใจ ขยันหมัน่ เพียร 2.7 สุ จริ ต กตัญญู 2.8 พึ่งตนเอง ส่ งเสริ มคนดี และคนเก่ง 2.9 รักประชาชน (ผูร้ ับบริ การ) 2.10 เอื้อเฟื้ อซึ่ งกันและกัน สรุ ปได้วา่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสาคัญอย่างมากในการพัฒนาคนได้ ทั้งการ พัฒนาระดับบุคคล ระดับชุมชน และระดับประเทศชาติ โดยยึดหลัก 3 ห่ วง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว 2 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม ซึ่ ง ถ้านาไปปฏิ บตั ิ อย่า งจริ งจัง แล้วทุ กคนในชาติหรื อในระดับโลกจะเป็ นบุคคลที่มี จิตสาธารณะที่ มองเห็นประโยชน์ต่อส่ วนรวมเป็ นที่ต้ งั และจะนามาซึ่ งความสงบสุ ขของคนในสังคม หลักการพึง่ พาตนเอง คณะกรรมการพิเศษเพื่อการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (2554: 21) ได้ให้หลักการพึ่งพาตนเองตามแนวพระราชดาริ ดังนี้ 1. ด้า นจิ ต ใจ ท าตนให้เป็ นที่ พ่ ึ งตนเอง มี จิ ตส านึ ก ที่ ดี สร้ างสรรค์ใ ห้ต นเองและชาติ โดยรวม มีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็ นสาคัญ 2. ด้านสังคม แต่ละชุ มชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่อมโยงเครื อข่ายชุ มชนให้แข็งแรง และเป็ นอิสระ


35

3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างชาญฉลาด พร้อมทั้ง หาทางเพิ่มมูลค่า อยูบ่ นพื้นฐานของความยัง่ ยืน 4. ด้านเทคโนโลยี สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว เทคโนโลยีใหม่ที่เข้า มามีท้ งั ดี และไม่ดีจึงต้องรู ้ จกั แยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้านและเลือกใช้ให้สอดคล้อง กับความต้องการตามสภาพแวดล้อมและควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง 5. ด้า นเศรษฐกิ จ เดิ มนัก พัฒนามุ่ งที่ จะเพิ่ มรายได้ และไม่มุ่ งที่ จะลดรายจ่ า ยในภาวะ เศรษฐกิจเช่นเวลานี้ จึงต้องปรับทิศทางการพัฒนาใหม่ คือ ต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็ นสาคัญ โดยยึด หลักพออยูพ่ อกิน วิทยา อธิ ปอนันต์ และคณะ (2543: 8-9) ได้ให้หลักการพึ่งพาตนเอง 5 ประการ ซึ่ ง สอดคล้องกับหลักการข้างต้น ดังนี้ 1. ความพอดีดา้ นจิตใจ ประกอบด้วย 1.1 มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ 1.2 มีจิตสานึกที่ดี 1.3 มองโลกอย่างสร้างสรรค์ 1.4 เอื้อเฟื้ อ เผือ่ แผ่ 1.5 ประนีประนอม 1.6 นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นที่ต้ งั


36

2. ความพอดีดา้ นสังคม ประกอบด้วย 2.1 ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน 2.2 เชื่อมโยงเครื อข่าย 2.3 สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน 2.4 รู้รักสามัคคี 3. ความพอดีดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ประกอบด้วย 3.1 รู้จกั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ 3.2 เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้เกิดความยัง่ ยืนสู งสุ ด 3.3 ระวังไม่ให้กิจกรรมกระทบสิ่ งแวดล้อม-ขยะ 3.4 น้ าเน่าเสี ย ฯลฯ 3.5 ฟื้ นฟู พัฒนา ทรัพยากร 4. ความพอดีดา้ นเทคโนโลยี ประกอบด้วย 4.1 รู ้จกั ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม 4.2 พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ของเราเองก่อน 4.3 ก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก


37

5. ความพอดีดา้ นเศรษฐกิจ ประกอบด้วย 5.1 มุ่งลดรายจ่าย 5.2 ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ 5.3 ไม่ใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได้ 5.4 หารายได้เพิม่ อย่างค่อยเป็ นค่อยไป 5.5 หลีกเลี่ยงการก่อหนี้ โดยไม่มีผลตอบแทนที่คุม้ ค่า 5.6 บริ หารความเสี่ ยงอย่างเข้มงวด ทั้งนี้ การประยุกต์ใช้แนวทางพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง จะประสบผลสาเร็ จได้จะต้อง ขั้นตอนต่างๆ 3 ขั้นตอนคือ 1. การพึ่ ง ตนเอง คื อประชาชนแต่ ล ะคนต้องเข้า ใจในหลัก การของแนวทางดัง กล่ า ว ประพฤติปฏิบตั ิได้ 2. การพึ่งพากันเอง กล่าวคือ เมื่อทุกคนปฏิบตั ิตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ต้องมา รวมกลุ่มกันเป็ นกลุ่ม เป็ นองค์กร เป็ นชุมชน เพื่อก้าวเข้าสู่ ข้ นั ตอน 3. การเติบโตอย่างมัน่ คงสมบูรณ์ มูลนิ ธิชัยพัฒนา (2547: 1-3) ได้ให้หลักการพึ่งพาตนเองซึ่ งสอดคล้องกันกับหลักการ ข้างต้นว่า หลักการพึ่งพาตนเองนั้นหันกลับมายึดเส้นทางสายกลาง (มัชฌิมา ปฏิ ปทา) ในการ ดารงชีวติ ให้สามารถพึ่งตนเองได้ โดยใช้หลักการพึ่งตนเอง 5 ประการคือ


38

1. ด้านจิตใจ ตนให้เป็ นที่พ่ ึงของตนเอง มีจิตใจที่เข้มแข็ง มีจิตสานึกที่ดี สร้างสรรค์ให้ ตนเองและชาติโดยรวมมีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม ซื่ อสัตย์สุจริ ตเห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็ น ที่ต้ งั ดังกระแสพระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เกี่ยวกับการพัฒนาคน ความว่า “ บุคคลต้องมีรากฐานทางจิตใจที่ดี คือความหนักแน่นมัน่ คงในสุ จริ ตธรรมและความ มุ่งมัน่ ที่ จะปฏิ บตั ิหน้าที่ให้จนสาเร็ จ ทั้งต้องมีกุศโลบายหรื อวิธีการอันแยบยลในการปฏิ บตั ิงาน ประกอบพร้อมด้วยจึงจะสัมฤทธิ์ ผลแน่นอน และบังเกิดประโยชน์อนั ยัง่ ยืนแก่ตนเองและแผ่นดิน” 2. ด้านสังคม แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกันเชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่ายชุมชนที่ แข็งแรงเป็ นอิสระ ดังกระแสพระราชดารัส ความว่า “เพื่อให้งานรุ ดหน้าไปพร้อมเพรี ยงกันไม่ลดหลัน่ จึงขอให้ทุกคนพยายามทางานใน หน้า ที่ อย่า งเต็ม ที่ และให้มี ก ารประชาสัม พันธ์ ก ัน ให้ดี เพื่อ ให้ง านทั้ง หมดเป็ นงานที่ เกื้ อหนุ น สนับสนุนกัน” 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาดพร้อมทั้ง การเพิ่มมูลค่าโดยให้ยึดหลักการของความยัง่ ยืนและเกิ ดประโยชน์สูงสุ ด ดังกระแสพระราชดารัส ความว่า “ถ้ารักษาสิ่ งแวดล้อมให้เหมาะสม นึกว่าอยูไ่ ด้อีกหลายร้อยปี ถึงเวลานั้นลูกหลานของ เราก็อาจหาวิธีแก้ปัญหาต่อไป เป็ นเรื่ องของเขาไม่ใช่เรื่ องของเราแต่เราก็ทาได้ ได้รักษาสิ่ งแวดล้อม ไว้ให้พอสมควร” 4. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ วเทคโนโลยีเข้ามาใหม่มีท้ งั ดี และไม่ดี จึงต้องแยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้านและเลื อกใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับ ความต้องการของสภาพแวดล้อมภูมิประเทศ สังคมไทย และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญา ของเราเอง ดังกระแสพระราชดารัสความว่า “ การเสริ มสร้ างสิ่ งที่ชาวบ้านชาวชนบทขาดแคลนและต้องการ คือ ความรู้ในด้าน เกษตรกรรมโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็ นสิ่ งที่เหมาะสม ”


39

“ การใช้เทคโนโลยีอย่างใหญ่โตเต็มรู ปหรื อเต็มขนาดในงานอาชีพหลักของประเทศ ย่อมจะมีปัญหา ” 5. ด้านเศรษฐกิจ แต่เดิมนักพัฒนามักมุง่ ที่การเพิม่ รายได้และไม่มีการมุง่ ที่การลด รายจ่าย ในเวลาเช่นนี้จะต้องปรับทิศทางใหม่ คือจะต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็ นสาคัญและยึดหลักพอ อยูพ่ อกินพอใช้และสามารถอยูไ่ ด้ดว้ ยตนเองในระดับเบื้องต้น ดังกระแสพระราชดารัส ความว่า “การที่ตอ้ งการให้ทุกคนพยายามที่จะหาความรู้และสร้างตนเองให้มนั่ คงนี้ เพื่อตนเอง เพื่อที่จะให้ตวั เองมีความเป็ นอยูท่ ี่กา้ วหน้า ที่มีความสุ ข พอมีพอกินเป็ นขั้นหนึ่ งและขั้นต่อไป ก็คือ ให้มีเกียรติวา่ ยืนได้ดว้ ยตนเอง” “หากพวกเราร่ วมมื อร่ วมใจกันทาสักเศษหนึ่ งส่ วนสี่ ประเทศชาติของเราก็สามารถ รอดพ้นจากวิกฤติได้” แนวคิดเกีย่ วกับการควบคุมภายใน คานิยามของการควบคุมภายใน (Internal Control) มีผใู้ ห้ไว้หลากหลาย ดังนี้ AICPA (1948) อ้างใน จันทนา สาขากร นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรี จนั่ เพชร (2551: 2-2) ได้ให้คาจากัดความของการควบคุมภายใน ไว้วา่ การควบคุมภายใน คือ แผนการจัด หน่ วยงาน วิธี ปฏิ บ ตั ิ ง านที่ ประสานสัมพันธ์ก ันและมาตรการต่ างๆที่กิ จการกาหนดขึ้ น และถื อ ปฏิบตั ิภายในองค์กร เพื่อปกปั กรักษาทรัพย์สินของกิจการ รวมทั้งสอบทานความถูกต้องและเชื่อถือ ได้ของข้อมูลทางการบัญชี เพิ่มพูนประสิ ทธิภาพในการดาเนินงาน และส่ งเสริ มให้มีการดาเนินงาน ตามนโยบายที่ฝ่ายบริ หารได้กาหนดไว้ สุ ชาย ยังประสิ ทธิ์ กุล (2552: 2-1) ได้ให้ความหมายของระบบการควบคุมภายใน ไว้วา่ ระบบการควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิ (การควบคุมภายใน) ซึ่ งผูบ้ ริ หารของ กิจการกาหนดขึ้นเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของผูบ้ ริ หารที่จะทาให้เกิดความมัน่ ใจเท่าที่สามารถทา ได้วา่ การดาเนิ นธุ รกิ จเป็ นไปอย่างมีระเบียบและมีประสิ ทธิ ภาพซึ่ งรวมถึงการปฏิบตั ิตามนโยบาย ของผูบ้ ริ หาร การป้ องกันทรั พ ย์สิ น การป้ องกันและการตรวจพบทุ จริ ตและข้อผิดพลาด ความ


40

ถูกต้องและความครบถ้วนของการบันทึกรายการบัญชี และการจัดทาข้อมูลทางการเงินที่เชื่อถือได้ อย่างทันเวลา วัชนีพร เศรษฐสักโก (2537: 139-140) ได้ให้ความหมายของระบบการควบคุมภายใน ไว้วา่ การควบคุ มภายใน หมายถึง กระบวนการปฏิ บตั ิงานที่ผู้บริ หารทุกระดับและพนักงานทุกคนใน องค์กรกาหนดขึ้นเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้ าหมายที่สาคัญ 4 ประการ คือ 1. เพื่ อดู แลรั ก ษาทรั พย์สิ นและข้อมูล ให้อยู่ใ นสถานที่ที่ ป ลอดภัย จากการทุ จริ ตของ ผูบ้ ริ หาร พนัก งาน หรื อบุ ค คลภายนอก การมี ระบบควบคุ มภายในที่ ดี จะท าให้ทราบถึ งความ เสี ยหายที่เกิดขึ้นในองค์กรเร็ วที่สุด 2. เพื่อให้มนั่ ใจว่าการจัดทาสารสนเทศทางการบัญชีมีความถูกต้องเชื่อถือได้และนาเสนอ ได้ทนั เวลา การมีระบบควบคุมภายในที่ดีจะทาให้ผใู้ ช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ตรง ตามเวลาที่กาหนด 3. เพื่ อ สนับ สนุ น ให้ มี ก ารปฏิ บ ัติ ง านตามนโยบาย และข้อ บัง คับ ของกิ จ การหรื อ ข้อกาหนดของกฎหมายอย่างต่อเนื่ อง การมีระบบการควบคุมภายในที่ดีจะป้ องกันไม่ให้เกิ ดผล เสี ยหายจากการละเว้นการปฏิบตั ิงานตามนโยบาย และข้อบังคับของกิจการ หรื อตามข้อกาหนดของ กฎหมาย 4. เพื่อส่ งเสริ มให้มีการปฏิบตั ิงานในองค์กรอย่างมีประสิ ทธิภาพระบบการควบคุมภายใน ที่ดีจะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรขององค์กร อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประหยัด และบรรลุเป้ าหมายของ องค์กร พลพธู ปี ยวรรณ และสุ ภาพร เชิงเอี่ยม (2550: 79) ได้ให้ความหมายของระบบการควบคุม ภายใน ไว้วา่ ระบบการควบคุมภายใน (Internal Control System) ประกอบด้วยนโยบาย การปฏิบตั ิ และกระบวนการที่ใช้ในองค์กรเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ต่อไปนี้


41

1. เพื่อปกป้ องสิ นทรัพย์ของกิจการ 2. เพื่อให้เกิ ดความมัน่ ใจว่ารายการบัญชี ที่บนั ทึกและข้อมูลทางการบัญชีมีความถูกต้อง และเชื่อถือได้ 3. เพื่อให้การดาเนินงานของกิจการเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ 4. เพื่ อให้ มี ก ารปฏิ บ ตั ิ ต ามนโยบายและขั้นตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านที่ ผูบ้ ริ หารก าหนดไว้ การขาดระบบการควบคุมภายในที่ดี เป็ นเหตุให้เกิดความเสี่ ยงประเภทต่าง ๆ Henri Fayol อ้างใน ดรรชนี บุญเหมือนใจ (ม.ป.ป.: 37) กล่าวว่า การควบคุมเป็ นหน้าที่ หนึ่ ง ทางการบริ ห าร (Management Function) โดยที่ ก ารควบคุ ม หมายถึ ง ภาระหน้าที่ ใ นการที่ จะต้องกากับให้สามารถประกันได้วา่ กิจกรรมต่างๆ ที่ทาไปนั้น สามารถเข้ากันได้กบั แผนที่ได้วาง ไว้แล้ว ส่ วนคาว่าการควบคุมภายในนั้นจะเน้นไปในทางที่ทาให้การดาเนินงานมีประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ท ธิ ผ ล เพื่ อ ให้ร ายงานทางการเงิ น มี ค วามเชื่ อ ถื อได้ และมี ก ารปฏิ บตั ิ ต ามกฎหมายและ ข้อบังคับที่กาหนดไว้ ในตาราฝรั่งหลายเล่มมีการใช้คาว่าการควบคุมภายในความหมายหลัง จึงดู เหมือนว่าจะมีความกลมกลืนกันทั้งการควบคุมและการควบคุมภายในเพราะต่างก็เกี่ยวข้องกับความ ต้องการบรรลุเป้ าหมายขององค์กรที่ต้ งั ไว้ ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และสมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย (2548: 28) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายในไว้ว่า การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการหรื อ ขั้นตอนการทางานที่เป็ นผลมาจากการออกแบบโดยคณะกรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคลากรอื่นๆ ขององค์กร เพื่อก่อให้เกิ ดความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่า องค์กรจะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ ได้คือ ความมี ประสิ ท ธิ ผลและประสิ ท ธิ ภาพของการดาเนิ นงาน ความเชื่ อถื อได้ของ รายงานทางการเงิน และการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ และนโยบายที่ใช้บงั คับองค์กรนั้นๆ COSO (1994) อ้างใน อุษณา ภัทรมนตรี (2552: 6-2) เกี่ยวกับความหมายของการควบคุม ภายในไว้ว่ า การควบคุ ม ภายใน หมายถึ ง กระบวนการปฏิ บ ัติ ง านที่ มี ผ ลต่ อ ทุ ก คนตั้ง แต่ คณะกรรมการองค์การฝ่ ายบริ หารทุกระดับ และพนักงานทุกคนในองค์การ สร้างขึ้นเพื่อสร้างความ มัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลเกี่ยวกับการบรรลุวตั ถุประสงค์ 3 ด้าน คือ


42

1. ความมีประสิ ทธิผลประสิ ทธิภาพของการปฏิบตั ิงาน (O Objective) 2. ความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินการบัญชี (F Objective) 3. การปฏิบตั ิตามกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (C Objective) สุ รีย ์ วงศ์วณิ ช (ม.ป.ป.: 86) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายในว่า การควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิ (การควบคุมภายใน) ซึ่ งผูบ้ ริ หารของกิจการกาหนดขึ้น เพื่อช่วย ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของผูบ้ ริ หารที่จะให้เกิดความมัน่ ใจเท่าที่จะสามารถทาได้วา่ การดาเนินธุ รกิจ เป็ นไปอย่างมีระเบียบและมีประสิ ทธิภาพ วิไล วีระปรี ย จงจิตต์ หลีกภัย และประจิต หาวัตร (2549: 9) ได้ให้ความหมายของการ ควบคุ มภายในไว้สอดคล้องกับ พยอม สิ งห์เสน่ ห์ (2548: 6-2) ไว้วา่ การควบคุมภายในหมายถึง นโยบายและวิธีการที่ผบู ้ ริ หารของกิจการได้กาหนดขึ้นเพื่อให้ความเชื่อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่าจะ ทาให้กิจการได้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายที่กาหนดไว้ นนทพล นิ่มสมบุญ (2539: 1-6) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายในไว้วา่ การควบคุม ภายใน หมายถึ ง กระบวนการ แผนการจัดองค์กร ระบบงาน และ วิธีการซึ่ งมีอยู่ภายในองค์การ รวมถึงการกระทาใดๆ โดยผูบ้ ริ หาร ที่มีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อให้เกิดความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผล ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งหรื อหลายเรื่ อง เมธสิ ทธิ์ พูลดี (2550: 23) ได้อธิ บายความหมายของการควบคุ ม ภายในว่า หมายถึ ง กระบวนการปฏิบตั ิงานที่ผบู ้ ริ หารทุกระดับและพนักงานทุกคนในองค์กรกาหนดขึ้นเพื่อให้องค์กร บรรลุเป้ าหมายที่สาคัญ เจริ ญ เจษฎาวัลย์ (2546: 34) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายในไว้วา่ การควบคุม ภายใน หมายถึง กระบวนการที่ดาเนินการโดยคณะกรรมการบริ ษทั หรื อโดยฝ่ ายจัดการ หรื อโดย บุคคลผูซ้ ่ ึ งมีฐานะเหมาะสมที่สามารถให้ประกันได้ว่า สามารถดาเนิ นการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ กาหนดไว้ได้


43

มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช (2543: 245) ได้มีการกล่าวถึงความหมายของการควบคุม ภายในไว้ว่า หมายถึ ง แผนการจัดแบ่งส่ วนงาน วิธีการปฏิ บ ตั ิงานที่ป ระสานสอดคล้องกันและ มาตรการต่างๆ ที่นามาใช้ในองค์การ เพื่อดูแลรักษาสิ นทรัพย์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความ เชื่ อถื อได้ข องข้อมูล เพื่อเพิ่มประสิ ท ธิ ภาพการดาเนิ นงาน และเพื่อส่ งเสริ มให้มีการปฏิ บ ตั ิตาม นโยบายที่ฝ่ายบริ หารที่กาหนดไว้ นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรี จนั่ เพชร (2548: 5-12) ได้ให้ความหมายของการ ควบคุมภายในไว้วา่ การควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิซ่ ึ งผูบ้ ริ หารของกิจการ กาหนดขึ้น เพื่อช่วยให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของผูบ้ ริ หารที่จะให้เกิดความมัน่ ใจเท่าที่จะสามารถทาได้ ว่าการดาเนินธุ รกิจเป็ นไปอย่างมีระเบียบและมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งรวมถึงการปฏิบตั ิตามนโยบายของ ผูบ้ ริ หาร การป้ องกันรักษาทรัพย์สิน การป้ องกันและการตรวจพบการทุจริ ตและข้อผิดพลาด ความ ถูกต้องและความครบถ้วนของการบันทึกบัญชี และการจัดทาข้อมูลทางการเงินที่เชื่ อถื อได้อย่าง ทันเวลา วิทยากร เชียงกุล (2546: 215) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายใน ไว้วา่ การควบคุม ภายใน หมายถึง การพยายามเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลูกจ้าง เพื่อทาให้ลูกจ้างเต็มใจที่จะทางาน ให้ได้มาตรฐานที่บริ ษทั วางไว้ ก่อเกี ยรติ พานิ ชกุล (2542: 257) ได้ให้ความหมายของการควบคุ มภายใน ไว้วา่ การ ควบคุ มภายใน หมายถึ ง ระบบการควบคุ มของบริ ษทั ที่มีประสิ ทธิ ภาพ การบริ หารดี การรักษา ทรัพย์สินให้อยูใ่ นสภาพเดิม การดาเนินกิจการที่มีเสถียรภาพ ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ (2547: 420) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายใน ไว้วา่ การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการซึ่ งสมาชิกขององค์การกาหนดมาตรฐานของการทางาน เป็ นแนวทางสาหรับพฤติกรรมเพื่อการตอบสนองความต้องการเพื่อให้เกิดอิทธิ พลภายนอกที่มีต่อ พฤติกรรม นพฤทธิ์ คงรุ่ งโชค (2549: 316) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายใน ไว้วา่ การควบคุม ภายใน หมายถึง กระบวนการที่เป็ นผลมาจากการกระทาโดยคณะกรรมการดาเนินงาน ฝ่ ายจัดการ


44

และบุคลากรอื่น โดยทาการออกแบบกระบวนการเพื่อให้เกิดความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่าจะทา ให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อเป้ าหมายขององค์กร ดังต่อไปนี้ 1. การดาเนินงานจะต้องมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล 2. รายงานทางการเงินจะต้องน่าเชื่อถือ 3. ปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายอย่างเคร่ งครัด สุ ขุม โพธิ สวัสดิ์ (2553: 143) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายใน ไว้วา่ การควบคุม ภายใน หมายถึง เป็ นแผนงานขององค์กรในการออกแบบวิธีการปฏิ บตั ิงานและรวบรวมวิธีการ ต่ า งๆ เพื่ อ ที่ จ ะป้ องกันและรั ก ษาสิ นทรั พ ย์ข องกิ จ การ รวมทั้ง การบัน ทึ ก บัญชี ใ นระบบข้อมู ล ทางการบัญชี ให้มีความถูกต้องและสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆที่อาจจะเกิ ดขึ้น และเข้าสู่ การ บันทึกบัญชีในบัญชีประเภทต่างๆ ตลอดจนงบการเงินของกิจการด้วย ทฤษฎีการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO องค์ประกอบของการควบคุ มภายในตามแนวคิด COSO (Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission) มี 5 ประการที่สัมพันธ์กนั ดังนี้ 1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Control Environment) สุ ชาย ยังประสิ ทธิ์ กุล (2552: 2-2) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมการควบคุมไว้ ว่า สภาพแวดล้อมการควบคุม หมายถึง ทัศนคติโดยรวม การตระหนักและการปฏิบตั ิของกรรมการ และผูบ้ ริ หารเกี่ ยวกับระบบการควบคุ มภายและความสาคัญของระบบการควบคุมภายในที่มีต่อ กิจการ ดรรชนี บุญเหมือนใจ (ม.ป.ป.: 40) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมการควบคุม ไว้วา่ สภาพแวดล้อมการควบคุม หมายถึง ปั จจัยต่างๆ ซึ่ งร่ วมกันส่ งผลให้เกิดการส่ งเสริ มหรื อการ ลดหย่อนในประสิ ทธิ ภาพของการควบคุมภายในปัจจัยดังกล่าวได้แก่ ปรัชญาและวิธีการทางานของ


45

ผูบ้ ริ หาร ความซื่ อสัตย์และจริ ยธรรมของบุคลากร ความรู้และความสามารถของบุคลากร วิธีการที่ ผูบ้ ริ หารมอบหมายอานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ โครงสร้ างการจัดองค์กร คณะกรรมการการ ตรวจสอบ นโยบายและวิธีการบริ หารงานบุคคล ปั จจัยภายนอก เช่ น กฎหมายหรื อระเบียบของ หน่วยงานกากับดูแล เป็ นต้น จันทนา สาขากร นิ พนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรี จนั่ เพชร (2551: 2-5) ได้ให้ ความหมายของสภาพแวดล้อมการควบคุม ไว้วา่ สภาพแวดล้อมของการควบคุมเป็ นแกนหลักของ องค์ประกอบอื่น เน้นที่จิตสานึ กและคุณภาพของคน ซึ่ งเป็ นหัวใจของแต่ละกิ จกรรม ถ้าองค์กรมี บุคลากรที่ดียอ่ มเป็ นพื้นฐานและกาลังผลักดันให้เกิดสิ่ งดีๆขึ้นในองค์กรได้ แต่ถา้ ระบบทุกอย่างใน องค์กรดี เพียงแต่มีบุคลากรที่ไม่ดี ไม่เหมาะสม ระบบที่มีอยู่อาจล้มเหลวและส่ งผลให้เกิ ดการล่ม สลายขององค์กรได้ในที่สุด ดังนั้น สภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดีจึงเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการสร้าง ความตระหนัก ให้ บุ ค คลเกิ ด จิ ต ส านึ ก ที่ ดี ใ นการปฏิ บ ัติ ต ามความรั บ ผิ ด ชอบ และการสร้ า ง บรรยากาศของการควบคุมโดยผูบ้ ริ หารระดับสู ง ตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยและสมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ ง ประเทศไทย (2548: 29) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมการควบคุม ไว้วา่ ปั จจัยต่างๆ ซึ่ งร่ วมกันส่ งผลให้ เกิ ดทีท่าขององค์กรที่มีต่อการควบคุมภายใน หรื อทาให้บุคลากรในองค์กรให้ความสาคัญต่อการ ควบคุมมากขึ้น สภาพแวดล้อมการควบคุม เป็ นรากฐานที่มีผลต่อองค์ประกอบอื่นๆของการควบคุม ภายในให้อยู่ได้อย่างมัน่ คง ทาให้เกิ ดระเบียบวินยั ซึ่ งบุคคลต้องยอมรับและนาไปปฏิ บตั ิ รวมทั้ง ก่อให้เกิดโครงสร้างของการควบคุมที่ตามมา วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมการควบคุม มี 7 ปั จจัย ดังต่อไปนี้ 1.1 ความซื่อสั ตย์ และจริยธรรม (Integrity and Ethical Value) ความซื่ อสัตย์และ จริ ยธรรมเป็ นเรื่ องของจิตสานึ กและคุณภาพของคนที่เป็ นนามธรรมมองเห็นได้ยาก แต่ก็สามารถ นามาแสดงให้เห็ นโดยผูบ้ ริ หารจะต้องทาตนให้เป็ นตัวอย่างอย่างสม่าเสมอ ทั้งโดยคาพูดและการ กระทา มี การกาหนดเป็ นนโยบายและข้อกาหนดด้านจริ ยธรรมไว้อย่างชัดเจน รวมถึ งมีขอ้ ห้าม พนักงานมิให้ปฏิบตั ิ อันจะถือว่าอยูใ่ นสถานะที่ขาดความซื่ อสัตย์และจริ ยธรรม พร้อมทั้งมีการแจ้ง ให้พนักงานทุกคนรับทราบและเข้าใจในหลักการที่กาหนดไว้


46

1.2 ความรู้ ทักษะและความสามารถ (Commitment and Competent) ความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากรเป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผลขององค์กร มิใช่แต่บุคลากรไม่มีความรู ้ ทักษะและความสามารถจะเป็ นสิ่ งอันตราย ถ้าบุคลากรมีความรู้ ทักษะ และความสามารถมากเกิ น ไปไม่ เ หมาะสมกับ หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบก็ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลได้เช่นกัน ดังนั้นองค์กรจึงจาเป็ นต้องกาหนดระดับความรู้ ทักษะที่ จาเป็ นและความสามารถที่ เหมาะสมสาหรั บแต่ล ะงานไว้อย่างชัดเจน เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการ พิจารณาบรรจุ แต่งตั้งให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยการจัดทาคาบรรยายลักษณะงาน หรื อข้อกาหนดคุณลักษณะงาน (Job Description) ทุกตาแหน่งไว้อย่างชัดเจน 1.3 การมีส่วนร่ วมของคณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการตรวจสอบ (Board of Director and Audit Committee Participation) คณะกรรมการตรวจสอบที่มีประสิ ทธิ ภาพ จะต้อ งเป็ นอิ ส ระจากผูบ้ ริ หาร เป็ นผูต้ รวจสอบการปฏิ บ ัติ งานของผูบ้ ริ หาร ซึ่ งเป็ นผูม้ ี ห น้า ที่ รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มีระบบการควบคุ มภายในที่ ดีในองค์กร ดัง นั้น คณะกรรมการ บริ หารและคณะกรรมการตรวจสอบ จึงเป็ นตัวจักรสาคัญต่อบรรยากาศของการควบคุม โดยเฉพาะ การส่ งเสริ มให้การตรวจสอบภายในและการสอบบัญชี เป็ นไปอย่างมีอิสระและปฏิบตั ิงานได้ตาม มาตรฐานของวิชาชีพ 1.4 ปรั ชญา และรู ปแบบการทางานของผู้บริ หาร (Management Philosophy and Operation Style) ปรัชญา และรู ปแบบการทางานของผูบ้ ริ หารย่อมมีผลกระทบที่สาคัญต่อระบบ การควบคุ ม ภายในขององค์ก ร เพราะผูบ้ ริ หารมี หน้า ที่โดยตรงในการก าหนดนโยบาย จัดให้มี มาตรการและวิธี ก ารควบคุ ม ความแตกต่ า งในทัศ นคติ และวิธี ก ารท างานของผูบ้ ริ ห าร จะเป็ น ตัวกาหนดระดับความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ในองค์กร อันนาไปสู่ รูปแบบของการควบคุมภายในที่จดั ให้ มีข้ ึน ผูบ้ ริ หารบางคนเป็ นพวกอนุ รักษ์นิยม บางคนกล้าได้ กล้าเสี ย กล้าเสี่ ยง และระดับของความ กล้าก็ยงั แตกต่างกันไป จึงทาให้ระดับของการควบคุมแตกต่างไปด้วย 1.5 โครงสร้ างการจัดองค์ กร (Organization Chart) การจัดโครงสร้างองค์กรที่ เหมาะสมกับ ขนาดและการด าเนิ นงานขององค์ก รเป็ นพื้ นฐานส าคัญ ที่ เ อื้ อ อานวยให้ผูบ้ ริ หาร สามารถวางแผน สั่งการ และควบคุมการปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและมีประสิ ทธิ ผล การ จัดโครงสร้างขององค์กรนอกจากจะเป็ นการจัดแบ่งสายงานหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละ หน่ วยงานแล้ว ยังเป็ นตัวกาหนดระดับความรู้และความสามารถของบุคคลในองค์กร เช่น การจัด


47

โครงสร้างแบบรวมศูนย์อานาจการตัดสิ นใจย่อมต้องการคุณสมบัติของตัวบุคคลมากกว่าโครงสร้าง องค์ก รที่ จดั ในรู ป แบบการกระจายศูนย์อานาจการตัดสิ นใจ ซึ่ ง ระบบขั้นตอนการท างาน และ กระบวนการในการติดตามผลจะมีความสาคัญมากกว่าคุณสมบัติของตัวบุคคล 1.6 การมอบอานาจและความรั บ ผิด ชอบ (Assignment of Authority and Responsibility) บุคลากรทุกคนที่ปฏิบตั ิหน้าที่ต่างๆ จะต้องเข้าใจอย่างชัดเจนถึงกรอบและขอบเขต ของอานาจและความรับผิดชอบของตนเอง ต้องทราบด้วยว่างานของตนมีส่วนสัมพันธ์กบั งานของ ผูอ้ ื่นอย่างไรเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดความซ้ าซ้อนในการปฏิบตั ิงานหรื อมีการละเว้นการปฏิบตั ิงาน งานใดงานหนึ่ง ฝ่ ายบริ หารอาจใช้วธิ ีจดั ทาคาบรรยายลักษณะงานของพนักงานแต่ละระดับไว้อย่าง ชัดเจน เพื่อเป็ นแนวทางให้พนักงานอ้างอิงในการปฏิบตั ิงาน สาหรับงานที่มีความซ้ าซ้อน หรื อต้อง ใช้เ ทคโนโลยี สู ง หรื อ ลงทุ น ด้วยเงิ น จานวนมาก อาจต้องมี ก ารจัด ท าคู่ มื อ ระบบงาน (System Documentation) ไว้ดว้ ย ส่ วนการมอบอานาจจะต้องให้เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบใน แต่ละตาแหน่ง 1.7 นโยบายและวิธีบริหารงานด้ านทรัพยากรมนุษย์ คนเป็ นปัจจัยสาคัญที่สุดต่อการ ปฏิบตั ิงานในทุกด้าน ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของการควบคุมภายในจะถูกกระทบอย่างมาก ด้วยพฤติ กรรม และอุ ปนิ สัยของบุคลากรในองค์กร การกาหนดนโยบายและวิธีปฏิ บตั ิในส่ วนที่ เกี่ยวกับการบริ หารงานด้านทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่การคัดเลือกบุคลากรเข้าทางาน การประเมินผล การปฏิ บ ัติง าน การฝึ กอบรม การพัฒนาความรู้ ข องพนัก งาน การเลื่ อ นต าแหน่ ง การก าหนด ค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่น เพื่อให้ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมกับตาแหน่ง หน้าที่ และเพื่อให้สามารถรักษาไว้ซ่ ึ งบุคลากรที่มีคุณภาพ 2. การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) ดรรชนี บุญเหมือนใจ (ม.ป.ป. : 40) ได้ให้ความหมายของการประเมินความเสี่ ยงไว้วา่ หมายถึ ง กระบวนการที่ ใ ช้ ใ นการระบุ แ ละวิ เ คราะห์ ค วามเสี่ ย งที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การบรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์กร รวมทั้งการกาหนดแนวทางที่จาเป็ นต้องใช้ในการควบคุมความเสี่ ยง ทั้งนี้ ผูบ้ ริ ห ารต้อ งประเมิ น ความเสี่ ย งทั้ง จากปั จ จัย ภายในและภายนอก เพื่ อ นามาตรการควบคุ ม ที่ เหมาะสมมาใช้เพื่อให้เกิ ดความมัน่ ใจว่าความเสี ยหายหรื อความผิดพลาดจะไม่เกิ ดขึ้น หรื อหาก เกิดขึ้นก็อยูใ่ นระดับที่ไม่เป็ นอันตราย


48

พลพธู ปี ยวรรณ และสุ ภาพร เชิงเอี่ยม (2550: 79) กิจการต้องมีการประเมินความเสี่ ยง เพื่อระบุ วิเคราะห์ และบริ หารจัดการความเสี่ ยงที่เกี่ ยวข้องกับรายงานทางการเงิน ความเสี่ ยงอาจ เกิ ดขึ้นหรื อเปลี่ ยนแปลงไปจากเหตุการณ์ต่างๆ เช่ น การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อม บุคลากร ใหม่ ที่ ย ัง ไม่ เ ข้า ใจในระบบการควบคุ ม ภายใน การน าระบบสารสนเทศใหม่ ที่ มี ผ ลต่ อ การ ประมวลผลรายการมาใช้ การนาหลักสู ตรใหม่มาใช้ เป็ นต้น วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) ผูบ้ ริ หารต้องประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ ยงที่จะ ทาให้องค์กรไม่บรรลุ เป้ าหมายที่ตอ้ งการ ความเสี่ ยงนี้ อาจเกิ ดจากปั จจัยภายในองค์กรและปั จจัย ภายนอกองค์ก ร ความเสี่ ย งที่ เกิ ด จากปั จจัย ภายใน ประกอบด้วย ความไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของ คณะอนุ ก รรมการตรวจสอบ การเปลี่ ย นแปลงในความรั บผิดชอบของผูบ้ ริ หาร การขาดความ ซื่อสัตย์และจริ ยธรรมของผูบ้ ริ หารการเปลี่ยนแปลงระบบการประมวลข้อมู ล พนักงานไม่มีคุณภาพ การขาดการฝึ กอบรมรวมทั้งการขาดขวัญและกาลังใจในการทางาน ส่ วนความเสี่ ยงที่เกิดจากปั จจัย ภายนอกประกอบด้ ว ยการเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ การเปลี่ ย นแปลงด้ า นเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายหรื อการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากภัยธรรมชาติ ปั จจัยเหล่านี้ มีผลกระทบ ต่อระบบการควบคุ มภายในของกิ จการ เพราะระบบการควบคุ มภายในจะมีประสิ ทธิ ภาพภายใต้ เงื่ อนไขอย่า งหนึ่ ง แต่ ถ้า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเงื่ อนไขไปแล้ว ระบบการควบคุ ม ภายในอาจไม่ มี ประสิ ทธิ ภาพก็ได้ ผูบ้ ริ หารของกิจการต้องรับผิดชอบในการประเมินความเสี่ ยงและผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยภายในและภายนอก รวมทั้งต้องเตรี ยมหาวิธีการล่วงหน้าที่ จะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและหาทางลดผลเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นด้วย วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) การประเมินความเสี่ ยงเป็ นการประเมินเพื่อให้ทราบ ว่า องค์ก รมี ค วามเสี่ ย งอย่า งไรและความเสี่ ย งนั้น ๆ อยู่ใ นกิ จ กรรมหรื อ ขั้น ตอนใดของงาน มี ผลกระทบต่ อ การบรรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์ข ององค์ก รมากน้อ ยเพี ย งใด เพื่อ น ามาพิ จ ารณาก าหนด แนวทางที่ จ าเป็ นต้องใช้เ พื่ อให้ เกิ ด ความมัน่ ใจอย่า งสมเหตุ ส มผลว่า ความผิด พลาดหรื อ ความ เสี ยหายจะไม่เกิ ดขึ้น หรื อหากเกิ ดขึ้นก็จะอยู่ในระดับที่ไม่เป็ นอันตราย หรื อไม่เป็ นอุปสรรคต่อ ความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร วัชนี พร เศรษฐสักโก (2551: 144) องค์กรทุกองค์กรไม่วา่ จะประกอบการในธุ รกิ จ ประเภทใด เป็ นธุ รกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม หรื อขนาดใหญ่ก็ตาม นอกจากต้องเผชิญกับความเสี่ ยง


49

ตามรู ปแบบของธุ รกิ จแล้วยังต้องเผชิ ญกับความเปลี่ ยนแปลงที่อาจเกิ ดขึ้นได้ตลอดเวลา อาจเป็ น ความเปลี่ ย นแปลงจากฝ่ ายบริ ห ารองค์ก รเอง หรื อ จากฝ่ ายบริ หารประเทศ หรื ออาจเป็ นความ เปลี่ ยนแปลงจากสภาพเศรษฐกิ จ สังคม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการที่เกี่ ยวข้อง ผูบ้ ริ หาร จึงจาเป็ นที่ จะต้องได้ขอ้ มูลความเสี่ ยงที่ถูกต้องตรงกับสภาพที่เป็ นอยูจ่ ริ งในทุกขณะ เพื่อ นามากาหนดมาตรการหรื อปรับเปลี่ยน เพื่อเสริ มสร้างระบบการควบคุมภายในให้สอดคล้องและ เหมาะสมกับสถานการณ์ ดังนั้น องค์กรจึงจาเป็ นต้องทาการประเมินความเสี่ ยงและต้องกระทาอย่าง ต่อเนื่องและสม่าเสมอ วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) ปัจจัยสาคัญในการประเมินความเสี่ ยง คือ ผูป้ ระเมิน จะต้องเข้าใจในวัตถุประสงค์ขององค์กรโดยถ่องแท้ องค์กรต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ไว้อย่าง ชัดเจนขึ้นก่อน โดยทัว่ ไปวัตถุประสงค์ขององค์กรแบ่งเป็ น 2 ระดับ คือ วัตถุประสงค์ระดับกิจการ โดยรวม (Entity-Wide Level Objectives) เป็ นวัตถุประสงค์ของการดาเนิ นงานในภาพรวมของ องค์กร และวัตถุประสงค์ระดับกิจกรรม (Activity-Level Objectives) เป็ นวัตถุประสงค์เฉพาะของ การด าเนิ น งานทางธุ ร กิ จ ในแต่ ล ะกิ จ กรรมภายในองค์ ก รซึ่ งต้อ งสอดคล้อ งและสนับ สนุ น วัตถุประสงค์ระดับองค์กรรวม วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ ยง มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การระบุปัจจัยความเสี่ ยง (Risk Identification) การเข้าใจว่าองค์กรมีความเสี่ ยง หรื อไม่ จะไม่มีประโยชน์เพียงพอ ถ้าไม่สามารถระบุได้วา่ ความเสี่ ยงนั้นๆ มีสาเหตุจากปั จจัยอะไร เนื่ อ งจากปั จ จัย ความเสี่ ย งแต่ ล ะชนิ ดมี ผ ลกระทบไม่ เ ท่ า เที ย มกัน ปั จ จัย ความเสี่ ย งบางชนิ ด มี ผลกระทบต่ อวัต ถุ ป ระสงค์ใ นระดับ กิ จ การโดยรวม ในขณะที่ บ างชนิ ด มี ผ ลกระทบในระดับ กิจกรรมเท่านั้น นอกจากนี้ปัจจัยบางชนิดจะมีผลกระทบเพียงในระยะสั้น บางตัวส่ งผลในระยะยาว และอาจมีบางตัวส่ งผลทั้งในระยะสั้นแล้วต่อเนื่ องไปจนถึงระยะยาว ดังนั้นจึงต้องทาความเข้าใจ และสามารถระบุได้วา่ ความเสี่ ยงนั้นๆ มีสาเหตุจากปัจจัยใด เป็ นปัจจัยภายในองค์กร หรื อเป็ นปั จจัย ภายนอกองค์กร 2.2 การวิเคราะห์ ความเสี่ ยง (Risk Analysis) เมื่อสามารถระบุปัจจัยความเสี่ ยงได้ แล้ว ขั้นต่อไปคือการนาปั จจัยความเสี่ ยงนั้นมาวิเคราะห์ว่ามีผลกระทบต่อองค์กรแค่ไหน เพียงใด โดยการกาหนดระดับความสาคัญของความเสี ยหายที่จะเกิดจากความเสี่ ยงและโอกาสที่จะเกิดควา


50

เสี่ ยงดังกล่าวว่ามีหรื อไม่ ถ้ามี มีมากหรื อน้อยเพียงใด เพื่อนามาพิจารณาหาวิธีที่จะรับมือหรื อจัดการ กับความเสี่ ยงที่มีสาระสาคัญ มีโอกาสที่จะเกิดสู ง โดยเทคนิคในการวิเคราะห์ความเสี่ ยงมีหลายวิธี จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม เพราะบางครั้งผลกระทบของความเสี่ ยงที่มีต่อองค์กร หรื อโอกาสที่จะ เกิดความเสี่ ยงอาจไม่สามารถวัดได้เป็ นตัวเลข จึงต้องใช้วธิ ีวเิ คราะห์โดยการประเมินเป็ นระดับ เช่น สู งมาก สู ง ปานกลาง น้อย หรื อน้อยมาก 2.3 การบริ หารความสี่ ยง (Risk Management) การบริ หารความเสี่ ยงเป็ นการ กาหนดแนวทางที่ จะรั บ มื อหรื อจัดการกับ ความเสี่ ยงที่ มี ส าระส าคัญ มี โอกาสที่ จะเกิ ดสู ง อย่า ง เหมาะสม โดยทัว่ ไปแล้วถ้าเป็ นความเสี่ ยงที่เกิ ดจากปั จจัยภายใน จะใช้วิธีจดั ระบบการควบคุ ม ภายใน กรณี เป็ นความเสี่ ยงจากปัจจัยภายนอกจะใช้วธิ ีการบริ หารความเสี่ ยง 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) สุ ชาย ยังประสิ ทธ์กุล (2552: 2-3) ได้ให้ความหมายของกิ จกรรมการควบคุม ไว้วา่ กิ จกรรมการควบคุ ม หมายถึ ง นโยบายหรื อวิธี การปฏิ บตั ิ ที่ฝ่ ายบริ หารก าหนดขึ้ นและนามาใช้ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของกิจการ ทาให้ลดหรื อป้ องกันความเสี่ ยงหรื อข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ดรรชนี บุญเหมือนใจ (ม.ป.ป.: 40) ได้ให้ความหมายของกิจกรรมการควบคุม ไว้วา่ กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบายและวิธีการต่างๆที่ฝ่ายบริ หารกาหนดให้บุคลากรปฏิบตั ิเพื่อ ลดหรื อควบคุมความเสี่ ยง กิจกรรมควบคุมต้องมีอยูใ่ นทุกหน้าที่และทุกระดับของการดาเนิ นงาน ในองค์ก ร เนื่ องจากการดาเนิ นงานทุกส่ วนล้วนมีค วามสาคัญต่อผลส าเร็ จขององค์กรทั้งสิ้ น จึ ง จาเป็ นต้องจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมอย่างเหมาะสมและเพียงพอกับระดับความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้น พรสิ ริ ปุณเกษมและคณะ (2550) ได้ให้ความหมายของกิ จกรรมการควบคุม ไว้ว่า กิ จ กรรมการควบคุ ม หมายถึ ง การก าหนดนโยบายและวิธี ป ฏิ บ ัติ ใ นการควบคุ ม ภายในและ การสื่ อสารนโยบายและวิธีปฏิบตั ิไปยังหน่วยงานและพนักงานในองค์กร เพื่อให้ผปู้ ฏิบตั ิงานใช้เป็ น แนวทางการปฏิ บ ตั ิ ง านตามนโยบายและวัตถุ ป ระสงค์ข ององค์ก รและหน่ ว ยงาน รวมทั้ง เป็ น แนวทางสาหรับฝ่ ายจัดการในการกากับดูแล ติดตามผลและป้ องกันแก้ไขความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้น วัชนี พร เศรษฐสักโก (2551: 144) กิ จกรรมการควบคุมเป็ นนโยบาย มาตรการและ วิธีการดาเนินงานต่างๆ ที่ฝ่ายบริ หารนามาใช้ เพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่ามาตรการต่างๆ ที่กาหนดขึ้น


51

สามารถลด หรื อควบคุ มความเสี่ ยงและได้รับการตอบสนองและปฏิบตั ิตาม กิ จกรรมการควบคุม ประกอบด้วย 3.1 การกาหนดนโยบายและแผนงาน (Policies and Plans) ฝ่ ายบริ หารจะกาหนด นโยบาย จัดท าแผนงาน และการจัดท างบประมาณ เพื่ อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิ บตั ิ งาน เป็ น เครื่ องมือในการควบคุ ม ติดตามและประเมินผล ทั้งนี้โดยมีการกาหนดผลงานที่คาดหมายไว้อย่าง ชัดเจนทั้งในรู ปจานวนผลงาน และระยะเวลาปฏิบตั ิตามแผนงานดังกล่าว เพื่อให้เกิดความชัดเจน 3.2 การสอบทานโดยผู้ บ ริ ห าร (Information Processing) การสอบทานโดย ผูบ้ ริ หาร เป็ นกิจกรรมการควบคุ มที่ผบู้ ริ หารเป็ นผูก้ ระทา โดยผูบ้ ริ หารระดับสู งจะใช้วิธีวิเคราะห์ เปรี ย บเที ย บผลการปฏิ บ ตั ิ ง านจริ ง กับ แผนงาน งบประมาณที่ ไ ด้จ ัดท าไว้ล่ ว งหน้า เพื่อให้เห็ น ภาพรวมของการดาเนิ นงานว่ามี ปั ญหาใหญ่ๆในด้านใด เพื่อนามาพิจารณาแก้ไ ขและเตรี ย มรั บ สถานการณ์ในอนาคตได้ ส่ วนผูบ้ ริ หารระดับกลางก็ใช้วิธี สอบทานรายงานผลการปฏิบตั ิงานของ พนั ก งานในสายบัง คับ บัญ ชาของตนว่ า การปฏิ บ ัติ ง านเป็ นไปตามนโยบาย แผนงานและ งบประมาณ ตลอดจนวิธีปฏิบตั ิงานจริ งเป็ นไปตามระเบียบข้อบังคับที่กาหนด ซึ่ งการสอบทานของ ผูบ้ ริ หารระดับกลางจะกระทาบ่อยครั้งเพียงใด ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของความเสี่ ยง โดยการประมวลผล ข้อมู ล ในที่ น้ ี ครอบคลุ ม ทั้ง ข้อมู ล ทางบัญชี ก ารเงิ นและข้อมูล อื่ นที่ จาเป็ นส าหรั บ ประกอบการ ตัดสิ นใจทางการบริ หาร ซึ่ งต้องการข้อมูลที่มีความถูกต้อง สมบูรณ์ กะทัดรัด มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง กับการตัดสิ นใจและต้องได้ทนั เวลาที่ตอ้ งการ ดังนั้นการควบคุมการประมวลผลข้อมูลจึงต้องเริ่ ม จากการอนุ มตั ิรายการ การบันทึกรายการ การสอบยันข้อมูลระหว่างกัน การเก็บรักษาและควบคุม ข้อมูลที่สาคัญ การออกแบบและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยในการประมวลผลข้อมูล 3.3 การควบคุมทางกายภาพ (Physical Control) การควบคุมทางกายภาพ คือ การ ดูแลรักษาและป้ องกันสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนจากการทาลายหรื อสู ญหายและมีสภาพพร้อมสาหรับการ ใช้งาน กิจกรรมการควบคุมจึงรวมทั้งวิธีที่ใช้เพื่อการป้ องกัน ค้นหา แก้ไขและสนับสนุน เช่น การ จัด ให้ มี ส ถานที่ จ ัด เก็ บ อย่ า งปลอดภัย เหมาะสม การมี เ วรยามรั ก ษาการณ์ การตรวจนับ การ เปรี ยบเทียบจานวนจริ งกับทะเบียนหรื อหลักฐานทางการบัญชี การทาประกันภัย 3.4 การแบ่ งแยกหน้ า ที่ (Segregation of Duties) การแบ่ง แยกหน้าที่ เป็ นการ แบ่งแยกหน้าที่ระหว่างบุคคลหรื อหน่วยงาน โดยจัดให้มีการสอบยันความถูกต้องระหว่างกัน ไม่ให้ บุคคลคนเดียวปฏิ บตั ิงานตั้งแต่ตน้ จนจบ เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงต่อข้อผิดพลาดและการทุจริ ต หรื อ


52

การกระทาที่ไม่เหมาะสม ควรใช้ในกรณี ที่มีงานมีลกั ษณะเสี่ ยงต่อความผิดพลาดหรื อเสี ยหายได้ง่าย โดยแยกหน้าที่การอนุ มตั ิ การจดบันทึก การเก็บรักษา และการสอบทานออกจากกัน เช่น พนักงาน คนเดี ยวไม่ควรมีหน้าที่อนุ มตั ิ การจ่ายเงิน เก็บรักษาเงิ น นาเงินฝากธนาคาร บันทึกบัญชี ธนาคาร ลูกหนี้ และจัดทางบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร 3.5 ดั ช นี วั ด ผลการด าเนิ น งาน (Performance Indicators) ดัช นี ว ัด ผลการ ดาเนิ นงาน เป็ นเครื่ องมือที่ใช้บ่งบอกให้ทราบว่าสภาวะขององค์กรเป็ นอย่างไร อยู่ในระดับที่น่า พอใจหรื อไม่ ควรให้ความสนใจในเรื่ องใดเป็ นพิเศษ เพื่อนามาพิจารณาสั่งการแก้ไขปั ญหาได้ทนั กาล ดัชนี วดั ผลการดาเนิ นงานที่นิยมใช้มกั อยูใ่ นรู ปของอัตราส่ วนต่างๆที่แสดงความสัมพันธ์ของ ข้อมูลทางการเงิน หรื อการดาเนินงานอย่างหนึ่งกับข้อมูลอีกอย่างหนึ่ง 3.6 การจัดทาเอกสารหลักฐาน (Documentation) การจัดทาเอกสารหลักฐาน เป็ น การควบคุมโดยกาหนดให้กิจกรรมหรื อระบบงานที่มีความสาคัญ ต้องจัดทาเอกสารไว้เป็ นหลักฐาน เอกสารทาหน้าที่ เป็ นตัวส่ งผ่านข้อมูลในองค์ก รและระหว่า งองค์ก รเป็ นหลัก ฐานเพื่อใช้อา้ งอิ ง ตรวจสอบหรื อเป็ นแนวทางให้ปฏิ บตั ิงานได้อย่างถูกต้อง เช่ น การทาสัญญาซื้ อ- ขาย การจัดทา เอกสารระบบงาน การจัดทาคู่มือปฏิบตั ิงาน การกาหนดแบบฟอร์ มเอกสาร ตลอดจนการกาหนด เลขที่เอกสารที่เรี ยงลาดับไว้ล่วงหน้า 3.7 การตรวจสอบการปฏิ บั ติงานอย่ า งเป็ นอิสระ (Independent Checks on Performance) การตรวจสอบการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ นอิสระหรื อการตรวจสอบภายใน เป็ นวิธีหนึ่ ง ในกิ จกรรมการควบคุ ม โดยผูท้ าหน้าที่ตรวจสอบจะต้องเป็ นอิสระจากกลุ่มผูร้ ับผิดชอบงาน หรื อ ผูป้ ฏิบตั ิงานนั้นๆ 4. สารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communication) ตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยและสมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ ง ประเทศไทย (2548: 30-31) ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารมีความสาคัญต่อการปฏิบตั ิงานของบุคลากรไม่วา่ จะเป็ นผูบ้ ริ หาร หรื อผูป้ ฏิ บตั ิงานในทุกระดับ ระบบสารสนเทศต่อให้เกิ ดรายงานที่ให้ขอ้ มูลซึ่ ง เป็ นไปได้ ทั้ง ข้อ มู ล ทางการเงิ น ข้อ มู ล การปฏิ บ ัติ ง านและข้อ มู ล เกี่ ย วกับ การปฏิ บ ัติ ง านตาม กฎระเบี ยบต่ างๆ ที่ จะช่ วยควบคุ มให้ธุรกิ จดาเนิ นไปได้ การสื่ อสารที่ มีประสิ ท ธิ ผลจาเป็ นต้อง


53

กระทาในเชิงกว้าง บุคลากรทั้งหลายควรจะได้รับข้อมูลข่าวสารที่ชดั เจนจากผูบ้ ริ หารระดับสู ง และ ต้องเข้าใจบทบาทของตนในระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งความเกี่ยวเนื่องของกิจกรรมควบคุม ต่ า งๆนอกจากการสื่ อ สารภายในองค์ก รแล้ว ยัง จ าเป็ นต้อ งมี ก ารสื่ อ สารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลกับ บุคคลภายนอก ได้แก่ ลูกค้า ผูข้ าย เจ้าหน้าที่รัฐ ตลอดจนผูถ้ ือหุน้ ด้วย จันทนา สาขากร นิ พ นั ธ์ เห็ นโชคชัย ชนะ และ ศิล ปพร ศรี จน่ั เพชร (2550: 2-11) ผูบ้ ริ หารควรกาหนดให้มีการบันทึกข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับองค์การ ไม่วา่ จะมาจากแหล่ง ภายในหรื อภายนอกองค์การ และกาหนดให้มีการสื่ อสารในรู ปแบบที่เหมาะสมและทันกาล เพื่อให้ บุคลากรตอบสนองต่อเหตุการณ์ต่างๆได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิภาพ พลพธู ปี ยวรรณ และสุ ภาพร เชิ งเอี่ยม (2550: 80) ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ประกอบด้วย รายการบัญชีและวิธีการที่ใช้ในการบันทึกรายการคุณภาพของข้อมูลสารสนเทศที่ได้ จากระบบสารสนเทศทางการบัญชีมีผลกระทบต่อการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารในการดาเนินงานและ ความน่าเชื่อถือของงบการเงิน วัชนี พร เศรษฐสักโก (2551: 148) ผูบ้ ริ หารทุกระดับในองค์กรมีความจาเป็ นต้องใช้ สารสนเทศ ในการ ตัดสิ นใจ วางแผน ควบคุมการปฏิบตั ิงาน และสั่งการ เพื่อให้งานที่อยูใ่ นความ รับผิดชอบ บรรลุตามเป้ าหมายและนโยบายขององค์กร ดังนั้นสารสนเทศที่ดีจะต้องมีคุณภาพในแง่ ของความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ รวมทั้งสามารถสื่ อสารไปยังบุคคลที่เกี่ยวข้องได้ทนั เวลา ตามที่ ตอ้ งการ สารสนเทศทางการบัญชี น้ ี เป็ นผลลัพธ์ที่ได้ออกมาจากระบบสารสนเทศทางการ บัญชี ดังนั้นการจัดให้มีการควบคุมภายในของระบบสารสนเทศทางการบัญชีจึงเป็ นสิ่ งสาคัญ วัช นี พ ร เศรษฐสัก โก (2551: 144) ข้อมูลสารสนเทศ เป็ นสิ่ ง จาเป็ นส าหรั บการ บริ หารงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นยุคที่ผใู้ ช้ขอ้ มูลได้ขอ้ มูลข่าวสารที่รวดเร็ วและ ถูกต้องทาให้สามารถช่วงชิงโอกาสได้ก่อนผูอ้ ื่น ข้อมูลสารสนเทศหมายความรวมถึงข้อมูลข่าวสาร ทางการเงิ น และข้อมูลที่เกี่ ยวกับการดาเนินงานอื่นๆที่มาจากทั้งแหล่งข้อมูลภายใน และภายนอก องค์กร ข้อมูลสารสนเทศมีความสาคัญต่อการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารและผูป้ ฏิบตั ิงานในทุกระดับ ผูบ้ ริ หารใช้ขอ้ มูลสารสนเทศในการพิจารณาสั่งการ และวางแผน ส่ วนผูป้ ฏิบตั ิงานใช้เพื่อเป็ นเครื่ อง ชี้นาในการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ


54

การมีสารสนเทศที่มีคุณภาพเป็ นหัวใจสาคัญของการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารและการ ประเมิ นความเสี่ ย ง และหลายกิ จการจึ ง ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ใ นการประมวลผลและสื่ อสารที่ ทันสมัย สารสนเทศที่มีคุณภาพมีลกั ษณะดังนี้ 1. เหมาะสมกับการใช้ คือ มีเนื้อหาสาระที่จาเป็ นต่อการตัดสิ นใจ 2. มี ค วามถู ก ต้อ ง สมบู รณ์ สะท้อ นผลตามความจริ ง และมี ร ายละเอี ย ดที่ จ าเป็ น ครบถ้วน 3. เป็ นปั จจุบนั คือ ให้ขอ้ มูลล่าสุ ด หรื อใกล้เคียงกับวันที่ตดั สิ นใจมากที่สุด 4. ทันเวลา คือ ได้ขอ้ มูลที่ตอ้ งการทันเวลาที่จะใช้ 5. เหมาะสมในการเข้าถึง คือ ควรง่ายสาหรับบุคคลที่มีอานาจเกี่ ยวข้องและสมควร เข้าถึงแต่มีระบบการควบคุมป้ องกันสาหรับผูไ้ ม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องไม่ให้เข้าถึงข้อมูลดังกล่าว การสื่ อสาร หมายความรวมทั้ง การสื่ อสารกับบุค คลหรื อหน่ วยงานทั้ง ภายในและ ภายนอกองค์กร ข้อมูลสารสนเทศจะมีประโยชน์เมื่อองค์กรมีระบบการสื่ อสารที่สามารถส่ งถึงผู้ สมควรได้รับและสามารถนาข้อมูลไปใช้เป็ นประโยชน์ได้ การสื่ อสารที่ดีตอ้ งเป็ นการสื่ อสารสอ ทาง คือ มีการรับและส่ งข้อมูลแบบตอบโต้กนั ได้ การติดต่อสื่ อสารทั้งภายในและภายนอกองค์กร ควรมีการประเมินเป็ นระยะๆอย่างสม่าเสมอ เพื่อทราบประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของระบบการ สื่ อสารที่องค์กรใช้อยู่

5. การติดตามประเมินผล (Monitoring)


55

ตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยและสมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ ง ประเทศไทย (2548: 31) การประเมินอย่างต่อเนื่ องจะเกิ ดในช่ วงของการปฏิบตั ิงานซึ่ งได้แก่ การควบคุมการ ปฏิ บตั ิงานโดยผูบ้ งั คับบัญชาและกิ จกรรมใดๆ ที่บุคลากรต้องกระทาในขณะปฏิ บตั ิงาน รวมถึ ง กิ จกรรมในทางการบริ หารและการกากับดูแลโดยผูบ้ ริ หารด้วย ส่ วนขอบเขตและความถี่ ในการ ประเมินแบบแยกประเมิ นนั้น ขึ้ นอยู่กบั การประเมินความเสี่ ยงและประสิ ทธิ ผลของการประเมิน แบบต่อเนื่ อง จากการประเมินดังกล่าว ควรจะต้องมีการรายงานจุดบกพร่ องของระบบควบคุมให้ ผู ้บ ัง คับ บัญ ชาทราบและถ้ า เป็ นประเด็ น ที่ ร้ า ยแรงก็ ต้อ งรายงานให้ ผู้บ ริ หารระดับ สู ง และ คณะกรรมการขององค์กรทราบโดยด่วน สุ รีย ์ วงศ์วณิ ช (ม.ป.ป. : 96) ได้ให้ความหมายของการติดตามและประเมินผล ไว้วา่ ระบบการควบคุ ม ภายใน จ าเป็ นต้อ งมี ก ารติ ด ตามและประเมิ น ผล เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง ความมี ประสิ ทธิ ผลของมาตรการและระบบการควบคุ มภายในที่อาจแปรเปลี่ ยนไปได้เสมอๆ ซึ่ งทาให้ ผูบ้ ริ หารมีความมัน่ ใจได้ อย่างสมเหตุสมผล วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 149) เพื่อให้ทราบถึงประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผลของ การควบคุ มภายในที่ใช้ในกิจการว่าสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ หรื อไม่ เพียงใด กระบวนการติดตาม และประเมินผลนี้ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ประเภทแรกเป็ นการติดตามและประเมินผลระหว่างการ ปฏิบตั ิงาน (Ongoing monitoring activities) ส่ วนประเภทที่ 2 เป็ น การติดตามและประเมินผลตาม ช่ วงเวลา (Separate evaluation) เพื่ อประเมินประสิ ทธิ ภาพการควบคุ มภายในของระบบงาน ขอบเขตและความถี่ ของการติดตามและประเมินผลตามช่ วงเวลานี้ ข้ ึนอยู่กบั ขนาดของความเสี่ ยง และความสาคัญของการควบคุมที่จะถูกประเมิน วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) ไม่มีการควบคุมภายในขององค์กรใดองค์กรหนึ่ งจะ มีความสมบูรณ์ และเหมาะสมตลอดกาลเนื่ องจากสถานการณ์ ที่เปลี่ยนไป ทั้งในองค์กรเอง และ สภาวะแวดล้อมภายนอก แม้แต่การควบคุมที่เพิ่งกาหนดขึ้นและใช้ถือปฏิ บตั ิตาม จึงจาเป็ นต้องมี ระบบการติดตามและประเมินผล เพื่อช่วยให้ผบู้ ริ หารมีความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลอยูต่ ลอดเวลา ว่าการควบคุมภายในยังมีประสิ ทธิ ภาพอยู่ วัชนี พร เศรษฐสักโก (2551: 144) การติดตามจะใช้สาหรับมาตรการหรื อระบบที่อยู่ ระหว่างการออกแบบหรื ออยูร่ ะหว่างการปฏิบตั ิงาน (Ongoing Monitoring)


56

วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) การประเมินผล (Evaluation) จะใช้สาหรับมาตรการ หรื อระบบการควบคุมที่ใช้ไปแล้วเป็ นระยะเวลาหนึ่ง ซึ่ งสมควรที่จะได้รับการประเมินว่ายังมีความ เหมาะสมหรื อไม่ เพียงใด วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) นอกจากนี้ COSO ได้กาหนดให้ตอ้ งมีการจัดทา รายงานการติดตามและประเมินผล เสนอผูบ้ ริ หารที่รับผิดชอบ โดยชี้แจงหรื ออธิ บายให้ทราบว่ามี ความแตกต่างระหว่างการปฏิบตั ิจริ งกับประมาณการหรื อแผนงานอย่างไร มีสาเหตุจากอะไร และ ใครเป็ นผูร้ ั บผิดชอบ เพื่อให้เกิ ดการสั่งการแก้ไข ซึ่ งถื อเป็ นหัวใจสาคัญของการควบคุมด้านการ บริ หาร แนวทางการควบคุมภายในด้ านการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้ อบังคับ ระเบียบและนโยบายของสหกรณ์ คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ตอ้ งจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดีในสหกรณ์โดย ให้แทรกอยูใ่ นกระบวนการปฏิบตั ิงานตามปกติ และต้องสร้างจิตสานึกกระตุน้ ให้เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ตระหนักถึ งความสาคัญของการควบคุ มภายใน รวมทั้งปฏิบตั ิตนให้เป็ นตัวอย่างที่ดีเพื่อให้การ ดาเนินงานของสหกรณ์เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล แม้วา่ ระบบการควบคุมภายใน จะมีความจาเป็ นและเกี่ ยวข้องกับความสาเร็ จในการดาเนิ นงานของสหกรณ์ แต่หากใช้อย่างไม่ ถูกต้อง เช่ น เข้มงวด หรื อเคร่ งครัดเกินสมควร อาจทาให้การปฏิบตั ิงานติดขัด ล่าช้า หรื อไม่ คล่องตัว ในทางตรงกันข้ามหากปล่อยปละ ละเว้นไม่ปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายในที่กาหนด ก็อาจทาให้มีความเสี่ ยงที่จะเกิดความเสี ยหาย หรื อการทุจริ ตขึ้น ดังนั้นคณะกรรมการดาเนินการ สหกรณ์จะต้องทาให้เกิดความสมดุลระหว่างความคล่องตัวในการปฏิบตั ิงานกับระดับการควบคุม ภายในที่มีประสิ ทธิ ผล จึงจาเป็ นต้องศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของการควบคุมภายในที่ดี การควบคุม ภายในแต่ละด้านและข้อจากัดของการควบคุมภายใน เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ในการบริ หารงานสหกรณ์

ลักษณะของการควบคุมภายในทีด่ ี


57

การจัดให้มีระบบการควบคุมภายในขึ้นในสหกรณ์ คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ควร พิจารณาถึงลักษณะของการควบคุมภายในที่ดี ดังนี้ 1. ไม่เสี ยค่า ใช้จ่า ยเกิ นควร วิธี การควบคุ มภายในที่ กาหนดหากมากเกิ นไปจะทาให้ สิ้ นเปลืองทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย รวมถึงการควบคุมที่มากเกินไปอาจทาให้เจ้าหน้าที่ขาดกาลังใจใน การปฏิบตั ิงาน 2. ควบคุ ม ในจุดที่ สาคัญ วิธี ก ารควบคุ ม ภายในที่ กาหนดควรฝั ง หรื อแทรกอยู่ใ น กระบวนการปฏิบตั ิงานตามปกติ โดยเฉพาะจุดที่สาคัญ ซึ่ งหากไม่ควบคุมแล้วจะมีผลกระทบที่ สาคัญ เกิดความเสี ยหาย การสู ญเสี ย การรั่วไหล หรื อการทุจริ ตได้ง่าย 3. เหมาะสมและเข้าใจง่าย วิธีการควบคุมภายในที่กาหนดควรให้ผปู้ ฏิบตั ิงานเข้าใจง่าย สามารถสะท้อนผลจากการประเมินได้อย่างชัดเจน เป็ นธรรม ถูกต้องและทันกาล เพื่อให้ทราบถึง ผลเสี ยหายและสามารถแก้ไขได้โดยเร็ ว 4. สอดคล้องกับเป้ าหมาย วิธีการควบคุมภายในที่กาหนดควรมีการเชื่อมโยง สอดคล้อง กับแผนงาน วัตถุประสงค์ เป้ าหมายและตัวชี้วดั ที่กาหนด รวมทั้งให้ผลการประเมินที่แม่นยา 5. ทันกาล ผลการประเมินที่ล่าช้า ไม่ทนั กาลย่อมไม่เกิดประโยชน์ การควบคุมในปั จจุบนั จึงนิยมการควบคุมในระหว่างการปฏิบตั ิงานเพื่อสามารถทราบผล และแก้ไขได้ทนั ท่วงที ระบบการควบคุมภายในสหกรณ์ ภาคการเกษตร การก าหนดระบบการควบคุ ม ภายในสหกรณ์ ภ าคการเกษตรแบ่ ง ออกเป็ น 3 ด้า น ประกอบด้วย การควบคุมด้านบัญชี การควบคุมด้านบริ หารและการควบคุมเฉพาะเรื่ อง

แผนภาพแสดงระบบการควบคุมภายในสหกรณ์ภาคการเกษตร 1. การควบคุมด้านบัญชี 2. การควบคุมด้านบริ หาร

2.1 การควบคุมด้านบริ หารจัดการ

การควบคุมด้านการจัดการ


58

การควบคุมด้านทรัพยากรบุคคล การควบคุมด้านการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและนโยบาย การควบคุมด้านการเงิน 2.2 การควบคุมด้านบริ หารธุ รกิจ

การควบคุมด้านธุรกิจสิ นเชื่ อ การควบคุมด้านธุรกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย การควบคุมด้านธุรกิจรวบรวมผลิตผล การควบคุมด้านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรและการผลิตสิ นค้า การควบคุมด้านธุรกิจให้บริ การและ ส่ งเสริ มการเกษตร การควบคุมด้านธุรกิจเงินรับฝาก

3. การควบคุมเฉพาะเรื่ อง

การควบคุมด้านเงินลงทุน การควบคุมด้านที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ การควบคุมด้านเงินเบิกเกินบัญชี ธนาคารและ เงินกูย้ มื การควบคุมด้านสมาธิและทุนเรื อนหุ้น การควบคุมด้านการใช้โปรแกรมระบบบัญชี คอมพิวเตอร์

ภาพที่ 2.1 ระบบการควบคุมภายในสหกรณ์ภาคการเกษตร การควบคุมด้ านบัญชี 1. การควบคุมด้ านบัญชี


59

การควบคุมด้ านบัญชี เป็ นการกาหนดวิธีการและมาตรการต่าง ๆ เพื่อใช้ในการ ป้ องกัน ดูแลรักษาสิ นทรัพย์และเอกสารหลักฐานของสหกรณ์ให้ปลอดภัยจากการทุจริ ต ผิดพลาด ทั้งปวง และเนื่ องจากคณะกรรมการดาเนิ นการมีหน้าที่รับผิดชอบให้มีการจัดทาบัญชี และงบ การเงินตามกฎหมายสหกรณ์ และระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ รวมทั้งรับผิดชอบต่อความถูกต้อง และความครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินด้วยซึ่งการควบคุมด้านบัญชีทาให้การจัดทาบัญชีและงบ การเงินของสหกรณ์เป็ นไปอย่างถูกต้องและเชื่อถือได้

วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การจัดทาบัญชีและงบการเงินเป็ นไปตามกฎหมายสหกรณ์และระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ รวมถึงมีความถูกต้องและเชื่อถือได้ 2. นโยบายการบัญชีที่ถือปฏิบตั ิในการจัดทาบัญชีเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่ รับรองทัว่ ไปและระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 3. การแสดงรายการในงบการเงินเป็ นไปตามรู ปแบบที่นายทะเบียนสหกรณ์ กาหนดและเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอ ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. กาหนดนโยบายการบัญชีไม่เหมาะสม 2. ไม่มีการควบคุมเอกสารทางบัญชี ทาให้มีเอกสารสู ญหาย เสี ยหาย 3. เอกสารประกอบการบันทึกบัญชีไม่สมบูรณ์ ไม่ถูกต้อง หรื อไม่ครบถ้วน 4. บันทึกรายการบัญชีโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 5. การบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง หรื อไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


60

6. การบันทึกบัญชี การจัดทาบัญชียอ่ ยและทะเบียนต่าง ๆ ไม่เรี ยบร้อย ไม่เป็ น ปัจจุบนั 7. ยอดรวมบัญชียอ่ ยไม่ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภททัว่ ไป (บัญชีคุมยอด) เป็ นประจา 8. การจัดทางบการเงินไม่เป็ นไปตามรู ปแบบที่นายทะเบียนสหกรณ์กาหนด 9. การเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงินไม่เพียงพอ 10. ไม่สามารถปิ ดบัญชีประจาปี ได้ทนั ตามกาหนด ตารางที่ 2.1 การควบคุมด้านบัญชี กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การจัดทาบัญชีและงบการเงิน

ตารางที่ 2.1 การควบคุมด้านบัญชี (ต่อ)

แนวทางการควบคุมด้ านบัญชี - การจัดทาบัญชีเป็ นไปตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖๕ และมาตรา ๖๖ รวมถึง เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - มีการกาหนดนโยบายการบัญชีเพื่อใช้เป็ น แนวทางในการจัดทาบัญชีเหมาะสมกับลักษณะ การดาเนินธุรกิจ และเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่ รับรองทัว่ ไปและระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบเก็บรักษาเอกสารทาง บัญชีที่ยงั ไม่ได้ใช้อย่างชัดเจน - มีการอนุมตั ิการเบิกใช้เอกสารทางบัญชีโดยผูม้ ี


61

กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านบัญชี (ต่ อ) อานาจ - มีการจัดทาทะเบียนคุมเอกสารทางบัญชีแต่ละ ประเภทเป็ นปัจจุบนั เช่น ทะเบียนคุม ใบเสร็ จรับเงิน ทะเบียนคุมใบกากับสิ นค้า ทะเบียนคุมสมุดคู่มือสมาชิก ทะเบียนคุมเช็ค เป็ นต้น - เอกสารทางบัญชีมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ ล่วงหน้า และใช้เอกสารนั้นโดยเรี ยงตามลาดับ เลขที่ - มีการอนุมตั ิโดยผูม้ ีอานาจก่อนที่จะบันทึก รายการบัญชี เช่น การอนุมตั ิเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี การอนุมตั ิการบันทึกบัญชีและสรุ ปรายการ บัญชีก่อนผ่านรายการจากสมุดบัญชีข้ นั ต้นไป บัญชีแยกประเภททัว่ ไป เป็ นต้น - มีการจัดทาบัญชีเรี ยบร้อย เป็ นปัจจุบนั มี เอกสารประกอบการบันทึกบัญชีสมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถ้วน -มีการตรวจสอบความถูกต้องในการบันทึก บัญชีและการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท ทัว่ ไป บัญชียอ่ ยและทะเบียนต่าง ๆ สม่าเสมอ -มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยให้ถูกต้อง ตรงกับบัญชีคุมยอด(บัญชีแยกประเภททัว่ ไป) อย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หา สาเหตุ - มีการตรวจสอบยอดคงเหลือตามบัญชีกบั เอกสารจากบุคคลภายนอกเช่น ใบแจ้งยอดเงิน

ตารางที่ 2.1 การควบคุมด้านบัญชี (ต่อ)


62

กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านบัญชี (ต่ อ) ฝากธนาคาร/สมุดคู่บญั ชีเงินฝาก หนังสื อยืนยัน ยอดเจ้าหนี้ ทุนเรื อนหุ ้น ลูกหนี้ เงินรับฝาก เป็ น ต้น กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการจัดทางบทดลองประจาเดือน - มีการจัดทางบการเงินและแสดงรายการตาม รู ปแบบที่นายทะเบียนสหกรณ์กาหนดโดย เปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ เข้าใจง่ายและ หลีกเลี่ยงการเสนอข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดการ เข้าใจผิด

2. การควบคุมด้ านบริหาร การควบคุมด้ านบริ หาร เป็ นการจัดแบ่งส่ วนงานภายใน การแบ่งแยกหน้าที่ความ รับผิดชอบการกาหนดระเบียบปฏิบตั ิ วิธีการและมาตรการต่าง ๆ ที่ทาให้การดาเนินงานและการ ดาเนิ นธุ รกิ จของสหกรณ์ เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล รวมถึ งส่ งเสริ มให้มีการ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ระเบียบของสหกรณ์และนโยบายที่ กาหนด ซึ่ งการควบคุมด้านบริ หารแบ่งเป็ น 2 ด้านคือ การควบคุมด้านบริ หารจัดการ และการ ควบคุมด้านบริ หารธุ รกิจ 2.1 การควบคุมด้ านการจัดการ การควบคุมด้านบริ หารจัดการของสหกรณ์ภาคการเกษตรแบ่งเป็ น 4 ด้าน คือ การควบคุ ม ด้า นการจัด การ การควบคุ ม ด้า นทรั พ ยากรบุ ค คล การควบคุ ม ด้า นการปฏิ บ ัติต าม กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและนโยบาย การควบคุมด้านการเงิน ซึ่ งมีวตั ถุประสงค์ของการควบคุม ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และแนวทางการควบคุม ดังนี้ วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า


63

1. การจัดแบ่งส่ วนงานภายในสหกรณ์เป็ นไปอย่างเหมาะสม 2. การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่สหกรณ์เป็ นไปอย่าง เหมาะสม 3. การกาหนดระเบียบของสหกรณ์ครอบคลุมการดาเนินงานและการดาเนิน ธุ รกิจทุกด้าน รวมถึงเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดในข้อบังคับสหกรณ์ 4. การบริ หารบุคลากรของสหกรณ์เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ 5. การกาหนดนโยบาย แผนงาน หรื อเป้ าหมายและงบประมาณประจาปี เป็ นไปอย่างชัดเจน เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั 6. การปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และนโยบายที่กาหนด 7. การควบคุมภายในด้านการเงินเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น 1. การจัดแบ่งส่ วนงานภายในสหกรณ์ไม่เหมาะสม 2. การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่สหกรณ์เป็ นไปอย่างไม่ เหมาะสมหรื อไม่ได้คานึงถึงการควบคุมภายในที่ดี 3. การกาหนดระเบียบของสหกรณ์ไม่ครอบคลุมการดาเนินงานและการ ดาเนินธุ รกิจทุกด้าน หรื อไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดในข้อบังคับสหกรณ์ 4. มีการดาเนิ นการที่นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ที่กาหนดในข้อบังคับสหกรณ์ 5. การบริ หารทรัพยากรบุคคลของสหกรณ์ไม่มีประสิ ทธิภาพ


64

6. การกาหนดนโยบาย แผนงาน หรื อเป้ าหมายและงบประมาณประจาปี ไม่ ชัดเจนไม่เหมาะสม และไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั 7. เจ้าหน้าที่สหกรณ์ละเว้น หรื อไม่ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และนโยบายที่กาหนด 8. เจ้าหน้าที่การเงินทาหน้าที่รับ – จ่ายและเก็บรักษาเงินและบันทึกบัญชี 9. รับเงินแล้วไม่บนั ทึกบัญชี หรื อบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน 10. บันทึกการรับเงินต่ากว่าจานวนเงินที่รับจริ ง 11. เก็บรักษาเงินสดในมือเกินกว่าวงเงินที่กาหนด 12. รายจ่ายที่เกิดขึ้นไม่ใช่รายจ่ายของสหกรณ์ 13. จ่ายเงินโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ ไม่มีหลักฐานการจ่าย จ่ายเงิน ซ้ า หรื อจ่ายเงินเกิน 14. บันทึกการจ่ายเงินสู งกว่าจานวนเงินที่จ่ายจริ ง 15. มีการปลอมแปลงเอกสารการจ่ายเงิน 16. การรับเช็คและการจ่ายเช็คไม่เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ 17. บันทึกทะเบียนคุมเอกสารและทะเบียนคุมเช็คไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ นปั จจุบนั


65

18. ถอนเงินฝากธนาคาร/เงินฝากสหกรณ์อื่นโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ี อานาจ 19. เงินสดขาดบัญชี หรื อเงินสดเกินบัญชีโดยไม่ทราบสาเหตุ 20. การตัดเงินสดขาดบัญชีไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ตารางที่ 2.2 การควบคุมด้านบริ หารจัดการ กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การจัดแบ่งส่ วนงานภายใน

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ

แนวทางการควบคุมด้ านการจัดการ - มีการจัดแบ่งส่ วนงานภายในเหมาะสมกับ ขนาด ปริ มาณธุรกิจและลักษณะการดาเนิน ธุรกิจ - มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของ เจ้าหน้าที่ในตาแหน่งต่าง ๆตามส่ วนงานที่ กาหนดอย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงการควบคุม ภายในที่ดี แบ่งแยกหน้าที่ผมู้ ีหน้าที่ดูแลทรัพย์สิน ได้แก่ เจ้าหน้าที่การเงินและเจ้าหน้าที่เก็บรักษา สิ นค้าออกจากผูม้ ีหน้าที่บนั ทึกบัญชี แบ่งแยกหน้าที่ผมู้ ีอานาจอนุมตั ิออกจากผูม้ ี หน้าที่ดูแลทรัพย์สิน แบ่งแยกหน้าที่ผรู้ ับผิดชอบด้านปฏิบตั ิการ ได้แก่ เจ้าหน้าที่สินเชื่อเจ้าหน้าที่จดั ซื้ อ เจ้าหน้าที่ตลาดออกจากผูม้ ีหน้าที่บนั ทึกบัญชี

ตารางที่ 2.2 การควบคุมด้านบริ หารจัดการ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านการจัดการ (ต่ อ)


66

แบ่งแยกหน้าที่ภายในฝ่ ายบัญชี โดยแยกผูม้ ี หน้าที่จดั ทาบัญชียอ่ ยออกจากผูม้ ีหน้าที่จดั ทา บัญชีคุมยอด กรณี เป็ นสหกรณ์ขนาดใหญ่

ตารางที่ 2.3 การควบคุมด้านทรัพยากรบุคคล กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกาหนดระเบียบของสหกรณ์

การบริ หารทรัพยากรบุคคล

แนวทางการควบคุมด้ านทรัพยากรบุคคล - มีการกาหนดระเบียบของสหกรณ์อย่างชัดเจน เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิให้ครอบคลุม การดาเนินงานและการดาเนินธุรกิจทุกด้าน รวมถึงเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดใน ข้อบังคับสหกรณ์ - มีการแจ้งเวียนให้เจ้าหน้าที่ทราบและถือปฏิบตั ิ ให้เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ที่กาหนด - มีการกาหนดระเบียบปฏิบตั ิการบริ หาร ทรัพยากรบุคคลไว้ชดั เจนเกี่ยวกับการสรรหา คัดเลือก บรรจุแต่งตั้ง หลักประกันการทางาน ผลตอบแทน การเลื่อนตาแหน่งและพัฒนา บุคลากร รวมถึงมาตรการลงโทษ และมีการ ปรับปรุ งให้สอดคล้องกับสภาวะการณ์ปัจจุบนั - มีการจัดทาสัญญาจ้างเจ้าหน้าที่ และเรี ยก หลักประกันการทางานอย่างเหมาะสม เพียงพอ กับหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่แต่ละ ตาแหน่งเพื่อป้ องกันความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้น - มีการมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้ เจ้าหน้าที่เป็ นรายบุคคลในตาแหน่งต่าง ๆ ที่

ตารางที่ 2.3 การควบคุมด้านทรัพยากรบุคคล (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านทรัพยากรบุคคล(ต่ อ)


67

กาหนดเป็ นลายลักษณ์อกั ษร - มีการควบคุม ดูแลการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่ ให้เป็ นไปตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมาย - มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนเจ้าหน้าที่ใน ตาแหน่งต่าง ๆ เป็ นครั้งคราวตามความ เหมาะสม เพื่อเป็ นการตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน ซึ่ งกันและกัน - มีการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ เจ้าหน้าที่อย่างสม่าเสมอโดยเปรี ยบเทียบผลการ ปฏิบตั ิงานกับแผนงานที่กาหนด - มีการปรับปรุ ง แก้ไขการปฏิบตั ิงานของ เจ้าหน้าที่อย่างเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ - มีการพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะ ในการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่อย่างสม่าเสมอ ตารางที่ 2.4 การควบคุมด้านการปฏิบตั ิตามกฎหมายข้อบังคับ ระเบียบและนโยบาย กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านการปฏิบัติตาม กฎหมายข้ อบังคับ ระเบียบและนโยบาย การกาหนดนโยบายการดาเนินงาน - มีการกาหนดนโยบายการดาเนินงานสหกรณ์ อย่ า งชัด เจนและเป็ นไปตามวัต ถุ ป ระสงค์ ที่ กาหนดในข้อบังคับ การกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมาย - มีการกาหนดแผนงานหรื อเป้ าหมายทั้งระยะ สั้น ระยะปานกลางและระยะยาวอย่างชัดเจน การกาหนดงบประมาณประจาปี - มีการกาหนดงบประมาณรายรับ - รายจ่าย ประจาปี อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับแผนงาน ตารางที่ 2.4 การควบคุมด้านการปฏิบตั ิตามกฎหมายข้อบังคับ ระเบียบและนโยบาย (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านการปฏิบัติตาม


68

การควบคุมการปฏิบตั ิของเจ้าหน้าที่

กฎหมายข้ อบังคับ ระเบียบและนโยบาย(ต่ อ) หรื อเป้ าหมายและสถานการณ์ปัจจุบนั โดย ได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมใหญ่สหกรณ์ - มีการประชุมชี้ แจงถึงนโยบายการดาเนิ นงาน แผนงาน หรื อเป้ าหมายและงบประมาณรายรับ – รายจ่ายประจาปี ซึ่ งกาหนดโดยที่ประชุมใหญ่ สหกรณ์ให้เจ้าหน้าที่ทราบและถือปฏิบตั ิ - มีการควบคุม ดูแลการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่ เป็ นไปตามกฎหมายข้อ บัง คับ ระเบี ย บ มติ ที่ ประชุมและคาสัง่ ของสหกรณ์

ตารางที่ 2.5 การควบคุมด้านการเงิน กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกาหนดระเบียบของสหกรณ์

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ

เงินสดรับ

แนวทางการควบคุมด้ านการเงิน - มีการกาหนดระเบียบของสหกรณ์วา่ ด้วยการ รับจ่ายและเก็บรักษาเงินเพื่อใช้เป็ นแนวทาง ปฏิบตั ิ - มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง เจ้าหน้าที่การเงินและเจ้าหน้าที่บญั ชีอย่างชัดเจน - การบันทึกบัญชีและการอนุมตั ิกระทาโดยผูท้ ี่ มิได้ทาหน้าที่รับ - จ่ายและเก็บรักษาเงิน - เอกสารการรับเงิน ได้แก่ ใบเสร็ จรับเงิน ใบรับ เงินขายสิ นค้า ใบสาคัญการให้บริ การ ใบส่ งเงิน ฝาก เป็ นต้น มีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับเงินในเอกสารการรับ เงิน


69

ตารางที่ 2.5 การควบคุมด้านการเงิน (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

เงินสดจ่าย

แนวทางการควบคุมด้ านการเงิน(ต่ อ) -กรณี ยกเลิกเอกสารการรับเงินได้นาต้นฉบับมา แนบติดไว้กบั สาเนาครบถ้วนและประทับตรา "ยกเลิก" - มีการจัดทาทะเบียนคุมเอกสารการรับเงินเป็ น ปัจจุบนั - การรับเช็ค หรื อเช็คลงวันที่ล่วงหน้าเป็ นไป ตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการจัดทาทะเบียนคุมเช็ครับเป็ นปั จจุบนั - มีการกาหนดวงเงินขั้นสู งที่จ่ายเป็ นเงินสดได้ อย่างเหมาะสม - มีการตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของ เอกสารการจ่ายเงิน ได้แก่ ใบเสร็ จรับเงิน ใบเบิก เงิน ใบถอนเงินฝาก เป็ นต้น ก่อนเสนอเพื่อ อนุมตั ิ - มีการอนุมตั ิจ่ายเงินโดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไป ตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับเงินและประทับตรา "จ่ายแล้ว" ในเอกสารการจ่ายเงิน - มีการจัดทาทะเบียนคุมเอกสารการจ่ายเงินเป็ น ปัจจุบนั - มีการเปรี ยบเทียบรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริ งกับ งบประมาณอย่างสม่าเสมอในระหว่างปี เพื่อ ควบคุมการใช้จ่ายให้อยูใ่ นวงเงินงบประมาณที่ กาหนด - การจ่ายเช็คเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการกาหนดวงเงินขั้นสู งที่จ่ายเช็คได้อย่าง เหมาะสม


70

ตารางที่ 2.5 การควบคุมด้านการเงิน (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การเก็บรักษาเงินสด เอกสารการเงิน

เงินสดคงเหลือ

แนวทางการควบคุมด้ านการเงิน(ต่ อ) - มีการอนุมตั ิจ่ายเช็คโดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไป ตามระเบียบของสหกรณ์โดยไม่มีการลงลายมือ ชื่ออนุมตั ิในเช็คจ่ายไว้ล่วงหน้า - มีการจ่ายเช็คตามลาดับเลขที่และระบุชื่อผูม้ ี สิ ทธิรับเงิน โดยขีดคาว่า "ผูถ้ ือ" ออก พร้อมกับ บันทึกรายละเอียดในต้นขั้วเช็คให้ถูกต้อง ครบถ้วน - กรณี มีการยกเลิกเช็คจ่ายได้มีการประทับตรา "ยกเลิก" ในเช็คนั้น และนามาติดไว้กบั ต้นขั้ว เช็ค - มีการจัดทาทะเบียนคุมเช็คจ่ายเป็ นปัจจุบนั - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการเก็บรักษา เงินสด และควบคุมการใช้และเช็ค เอกสาร การเงินของสหกรณ์อย่างชัดเจน - มีการเก็บรักษาเงินสด เอกสารการเงินและเช็ค ที่ยงั ไม่ได้ใช้ไว้ในที่ซ่ ึ งมัน่ คง ปลอดภัย - มีการกาหนดวงเงินเก็บรักษาไว้อย่างเหมาะสม และเพียงพอ - มีการเก็บรักษาเงินสดในมือตามวงเงินที่ กาหนด กรณี มีเงินสดเกินกว่าวงเงินเก็บรักษาได้ ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการอนุมตั ิเบิกใช้เอกสารการเงินโดยผูม้ ี อานาจและเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการจัดทารายงานการรับ - จ่ายและเงินสด คงเหลือเสนอที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ อย่างสม่าเสมอ


71

ตารางที่ 2.5 การควบคุมด้านการเงิน (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ เงินสดขาดบัญชี /เงินสดเกินบัญชี

การฝากเงิน

การถอนเงิน

เงินฝากธนาคาร/เงินฝากสหกรณ์อื่น

แนวทางการควบคุมด้ านการเงิน(ต่ อ) - มีการปฏิบตั ิกรณี เงินสดขาดบัญชี หรื อเงินสด เกินบัญชี รวมถึงการและการตัดเงินสดขาดบัญชี ตัดเงินสดขาดบัญชีเป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ - มีการตรวจสอบจานวนเงินที่นาฝากธนาคาร/ ฝากสหกรณ์อื่นบันทึกในสมุดคู่ฝากถูกต้อง ครบถ้วน - มีการอนุมตั ิถอนเงินฝากธนาคาร/เงินฝาก สหกรณ์อื่นโดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไปตาม ระเบียบของสหกรณ์ - มีการเปรี ยบเทียบยอดคงเหลือเงินฝากธนาคาร/ เงินฝากสหกรณ์อื่นคงเหลือ ตามใบแจ้งยอดเงิน ฝาก หรื อสมุดคู่บญั ชีเงินฝากให้ถูกต้องตรงกับ บัญชีแยกประเภททัว่ ไปโดยสม่าเสมอ กรณี พบ ข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการจัดทางบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร/เงิน ฝากสหกรณ์อื่น กรณี ยอดคงเหลือตามใบแจ้ง ยอดเงินฝาก หรื อสมุดคู่บญั ชีเงินฝากแตกต่าง จากบัญชีแยกประเภททัว่ ไป - มีการยืนยันยอดคงเหลือเงินฝากธนาคาร/เงิน ฝากสหกรณ์อื่น


72

2.2. การควบคุมด้ านบริหารธุรกิจ การควบคุ มด้านบริ หารธุ รกิ จของสหกรณ์ภาคการเกษตรแบ่งเป็ น 6 ด้าน คือ การ ควบคุ ม ด้า นธุ รกิ จสิ นเชื่ อ การควบคุ ม ด้านธุ รกิ จจัดหาสิ นค้า มาจาหน่ า ย การควบคุ ม ด้า นธุ รกิ จ รวบรวมผลิ ตผล การควบคุมด้านธุ รกิ จแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า การควบคุ ม ด้านธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร การควบคุมด้านธุ รกิจเงินรับฝาก ซึ่ งมีวตั ถุประสงค์ของ การควบคุม ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นและแนวทางการควบคุม ดังนี้ 2.2.1 การควบคุมด้ านธุรกิจสิ นเชื่อ ธุ รกิ จสิ นเชื่ อ เป็ นธุ ร กิ จ ที่ ส หกรณ์ ใ ห้เ งิ น กู้ หรื อสิ นเชื่ อการเกษตรแก่ ส มาชิ ก ตาม ระเบียบของสหกรณ์เพื่อให้สมาชิกนาไปประกอบอาชีพ หรื อใช้จ่ายที่จาเป็ น โดยแบ่งประเภทเงินกู้ ตามระยะเวลาการให้กูไ้ ด้แก่ เงินกูร้ ะยะสั้น เงินกูร้ ะยะปานกลางและเงินกูร้ ะยะยาว ซึ่ งเงินกูแ้ ต่ละ ประเภทมีเงื่ อนไขแตกต่างกันไปตามที่กาหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์ นอกจากนี้ สหกรณ์ ยงั สามารถให้ส หกรณ์ อื่นกู้ยืม เงิ นได้โดยปฏิ บ ตั ิ ใ ห้เป็ นไปตามระเบีย บของสหกรณ์ ที่ ได้รับ ความ เห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านธุ รกิจสิ นเชื่อมีประสิ ทธิภาพ 2. การดาเนิ นธุรกิจสิ นเชื่อเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์และแผนงาน หรื อ เป้ าหมายที่กาหนด 3. การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจสิ นเชื่อเป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4. ลูกหนี้เงินให้กคู้ งเหลือมีอยูจ่ ริ งและสิ ทธิเรี ยกร้องเป็ นของสหกรณ์ 5. มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ในจานวนที่เพียงพอสาหรับการขาดทุนที่ อาจเกิดขึ้นและเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


73

6. การตัดจาหน่ายหนี้สูญเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การให้สินเชื่อแก่สมาชิก หรื อสหกรณ์อื่นไม่เป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์ 2. การดาเนิ นธุรกิจสิ นเชื่อไม่เป็ นไปตามแผนงาน หรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. เจ้าหน้าที่สินเชื่อทาหน้าที่จ่ายเงินให้กู้ รับชาระหนี้และบันทึกบัญชียอ่ ย ลูกหนี้เงินให้กู้ 4. จ่ายเงินให้กโู้ ดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากที่ประชุมคณะกรรมการเงินกู้ 5. จ่ายเงินให้กเู้ กินกว่าวงเงินที่ได้รับอนุมตั ิ 6. จ่ายเงินให้กโู้ ดยไม่มีหลักประกันการกูเ้ งิน หรื อหลักประกันการกูเ้ งินไม่ เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ 7. ประเมินราคาอสังหาริ มทรัพย์ที่ใช้เป็ นหลักประกันการกูเ้ งินสู งกว่าความ เป็ นจริ ง 8. มีการปลอมแปลงสัญญาเงินกูแ้ ละลายมือชื่อผูอ้ นุมตั ิ 9. บันทึกบัญชียอ่ ยลูกหนี้เงินให้กไู้ ม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ นปัจจุบนั 10. รับชาระหนี้จากลูกหนี้เงินให้กแู้ ล้วไม่บนั ทึกบัญชี หรื อบันทึกบัญชีไม่ ถูกต้องไม่ครบถ้วน


74

11. รับชาระหนี้เงินให้กนู้ อกที่ทาการสหกรณ์โดยไม่มีมติที่ประชุม คณะกรรมการดาเนินการให้กระทาได้ 12. การคานวณดอกเบี้ยเงินให้กแู้ ละค่าปรับเงินให้กไู้ ม่ถูกต้อง 13. ลูกหนี้เงินให้กนู้ าเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ 14. ลูกหนี้เงินให้กไู้ ม่สามารถชาระหนี้ได้ตามกาหนด (ผิดนัดชาระหนี้ ) 15. ลูกหนี้เงินให้กปู้ ฏิเสธการเป็ นหนี้ 16. ลูกหนี้เงินให้กไู้ ม่มีตวั ตน 17. การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้เงินให้กู้ ดอกเบี้ยเงินให้กคู้ า้ งรับและ ค่าปรับเงินให้กคู้ า้ งรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 18. การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้เงินให้กไู้ ม่เป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์


75

ตารางที่ 2.6 การควบคุมด้านธุ รกิจสิ นเชื่อ กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกาหนดระเบียบของสหกรณ์เพื่อใช้เป็ น แนวทางปฏิบตั ิ

การกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมาย

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ

การจ่ายเงินให้กู้

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจสิ นเชื่อ - มีการกาหนดระเบียบเกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจ สิ นเชื่อ ได้แก่ เพื่อใช้เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการให้เงินกูแ้ ละ ดอกเบี้ยเงินกู้ ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการให้สหกรณ์ อื่นกูย้ มื เงิน - มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยเงินให้กแู้ ต่ละ ประเภทและอัตราค่าปรับเงินให้กู้ พร้อมกับติด ประกาศไว้ในที่เปิ ดเผย - มีการกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมายการ ดาเนินธุ รกิจสิ นเชื่ออย่างชัดเจนและมีความ เป็ นไปได้ - มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง เจ้าหน้าที่สินเชื่อ เจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บญั ชีอย่างชัดเจน - การจ่ายเงินให้กู้ การรับชาระหนี้ และการ บันทึกบัญชียอ่ ยลูกหนี้เงินให้กกู้ ระทาโดยผูท้ ี่ มิได้ทาหน้าที่ดา้ นสิ นเชื่อ - มีการตรวจสอบคาขอกู้ สัญญาเงินกู้ วงเงินให้ กู้ สิ ทธิผกู้ แู้ ละผูค้ ้ าประกัน รวมทั้งหลักประกัน การกูเ้ งินให้เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการจัดทาทะเบียนคาขอกู้ และรายงานการขอ กูเ้ งินเป็ นปั จจุบนั - มีการอนุมตั ิเงินให้กแู้ ต่ละประเภทโดยมติที่ ประชุมคณะกรรมการเงินกูแ้ ละเป็ นไปตาม ระเบียบของสหกรณ์


76

ตารางที่ 2.6 การควบคุมด้านธุ รกิจสิ นเชื่อ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การจ่ายเงินให้กู้

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจสิ นเชื่อ(ต่ อ) - มีการบันทึกรายงานการประชุมเกี่ยวกับการอนุมตั ิเงินให้กู้ - มีการบันทึกจานวนเงินที่อนุมตั ิในคาขอกูโ้ ดยผูม้ ีอานาจอนุมตั ิ - มีการตรวจสอบใบรับเงินกูก้ บั สัญญาเงินกู้ และมติคณะกรรมการ เงินกูใ้ ห้ถูกต้องตรงกันก่อนจ่ายเงินให้กู้ - มีการจัดทาทะเบียนจ่ายเงินให้กเู้ ป็ นปัจจุบนั - มีการจัดทาหนังสื อค้ าประกันตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการประเมินราคาอสังหาริ มทรัพย์ที่ใช้เป็ นหลักประกันการกูเ้ งิน - อสังหาริ มทรัพย์ที่ใช้เป็ นหลักประกันการกูเ้ งิน เช่น บ้าน ที่ดินได้ มีการจดทะเบียนจานอง - มีการจัดทาทะเบียนผูค้ ้ าประกัน และทะเบียนคุมหลักประกันเป็ น ปัจจุบนั - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับเงิน หรื อผูร้ ับมอบอานาจในใบรับเงินกู้ ถูกต้องตรงตามสัญญาเงินกูแ้ ต่ละประเภท - มีการจัดทาสมุดคู่มือสมาชิกเป็ นปัจจุบนั - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยลูกหนี้เงินให้กเู้ ป็ นปัจจุบนั


77

ตารางที่ 2.6 การควบคุมด้านธุ รกิจสิ นเชื่อ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การรับชาระหนี้เงินให้กู้ ดอกเบี้ยเงินให้กู้ และ ค่าปรับเงินให้กู้

การติดตาม ทวงถามการชาระหนี้

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจสิ นเชื่อ(ต่ อ) - มีการคานวณดอกเบี้ยเงินให้กแู้ ละค่าปรับเงิน ให้กใู้ นอัตราที่กาหนดตามระเบียบของสหกรณ์ - การรับชาระหนี้ ตน้ เงินกู้ ดอกเบี้ยเงินให้กู้ และ ค่าปรับเงินให้กจู้ ากลูกหนี้เงินให้กแู้ ต่ละประเภท เป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญาเงินกูแ้ ละ ระเบียบของสหกรณ์ - กรณี ที่มีการรับชาระหนี้เงินให้กนู้ อกที่ทาการ สหกรณ์จะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการให้รับชาระหนี้ เงินให้กนู้ อกที่ทาการ สหกรณ์ได้ โดยกาหนดแนวทางปฏิบตั ิอย่าง ชัดเจนและเหมาะสม - ใบเสร็ จรับเงินมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ ล่วงหน้า - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับชาระหนี้เงินให้กู้ ดอกเบี้ยเงินให้กแู้ ละค่าปรับเงินให้กู้ (ถ้ามี) ใน ใบเสร็ จรับเงิน รวมถึงบันทึกบัญชียอ่ ยลูกหนี้ เงินให้กทู้ ุกครั้งที่รับชาระหนี้ - มีการติดตามการใช้เงินกูใ้ ห้เป็ นไปตาม วัตถุประสงค์ของการกูเ้ งิน - มีการติดตาม ทวงถาม หรื อเร่ งรัดลูกหนี้ที่ชาระ หนี้ไม่เป็ นไปตามกาหนดในสัญญาเงินกูแ้ ละหนี้ ที่คา้ งนาน - มีการจัดทารายงานการติดตามหนี้ที่ถึงกาหนด ชาระเสนอที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ


78

ตารางที่ 2.6 การควบคุมด้านธุ รกิจสิ นเชื่อ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

ลูกหนี้เงินให้กคู้ งเหลือดอกเบี้ยเงินให้กคู้ า้ งรับ และค่าปรับเงินให้กคู้ า้ งรับ

การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ

การตัดจาหน่ายหนี้สูญ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจสิ นเชื่อ(ต่ อ) - มีการจัดทารายงานหนี้ที่เกินกาหนดตามสัญญา (ผิดนัดชาระหนี้ )เสนอที่ประชุมคณะกรรมการ - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยลูกหนี้เงิน ให้กแู้ ต่ละประเภทให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยก ประเภททัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี ที่พบข้อ แตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการสอบทานหนี้กบั สมาชิกโดยตรง หรื อขอ ยืนยันยอดลูกหนี้เงินให้กอู้ ย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง - มีการคานวณดอกเบี้ยเงินให้กคู้ า้ งรับ และ ค่าปรับเงินให้กคู้ า้ งรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีใน อัตราที่กาหนดตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการวิเคราะห์สภาพของลูกหนี้เงินให้กแู้ ละ หลักประกันการกูเ้ งินเป็ นครั้งคราว - การตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้เงินให้กู้ ค่า เผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญดอกเบี้ยเงินให้กคู้ า้ งรับ และ ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญค่าปรับเงินให้กคู้ า้ งรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชี เป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ - การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้เงินให้กู้ เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


79

2.1.2 การควบคุมด้ านธุรกิจจัดหาสิ นค้ ามาจาหน่ าย การควบคุ มด้านธุ รกิ จจัดหาสิ นค้ามาจาหน่ าย เป็ นธุ รกิ จที่สหกรณ์ จดั หา หรื อจัดซื้ อ เครื่ องจักรกลการเกษตรวัสดุ อุปกรณ์การเกษตร เคมีการเกษตร เครื่ องมือเครื่ องใช้ในการประมง น้ ามันเชื้อเพลิง และหล่อลื่น ตลอดจนสิ นค้าอุปโภคบริ โภคและอื่น ๆ ที่จาเป็ น เพื่อนามาจาหน่ายให้ สมาชิ กและผูม้ ิใช่สมาชิ กตามที่กาหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์ โดยจาหน่ายในราคาที่เหมาะสม สาหรับประเภท ชนิดและคุณภาพสิ นค้าเป็ นไปตามความต้องการของสมาชิก วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านธุรกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่ายมีประสิ ทธิภาพ 2. การดาเนิ นธุ รกิ จจัดหาสิ นค้ามาจาหน่ ายเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ และแผนงานหรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. การบันทึกรายการบัญชี เกี่ ยวกับธุ รกิ จจัดหาสิ นค้ามาจาหน่ ายเป็ นไปอย่าง ถูกต้องครบถ้วน 4. ลูกหนี้การค้าคงเหลือมีอยูจ่ ริ งและสิ ทธิเรี ยกร้องเป็ นของสหกรณ์ 5. สิ นค้าคงเหลือมีอยูจ่ ริ งและเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของสหกรณ์ 6. มีการตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญไว้ในจานวนที่เพียงพอสาหรับการขาดทุนที่ อาจเกิดขึ้นและเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 7. การตัดจาหน่ ายหนี้ สูญและการตัดสิ นค้าขาดบัญชี หรื อสิ นค้าเสื่ อมสภาพ/ ชารุ ด/ล้าสมัยเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


80

ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การจัดหาสิ นค้ามาจาหน่ายให้สมาชิกไม่เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ 2. การด าเนิ น ธุ ร กิ จ จัด หาสิ น ค้า มาจ าหน่ า ยไม่ เ ป็ นไปตามแผนงาน หรื อ เป้ าหมายที่กาหนด 3. เจ้าหน้าที่จดั ซื้อสิ นค้าทาหน้าที่เก็บรักษาสิ นค้าและบันทึกทะเบียนคุมสิ นค้า 4. ซื้อสิ นค้าไม่ตรงตามความต้องการของสมาชิก หรื อตลาด 5. ซื้ อสิ นค้าจากผูข้ ายสิ นค้าเพียงรายเดียว หรื อกลุ่มเดียวทั้งที่สามารถหาจาก แหล่งอื่นได้ 6. ซื้อสิ นค้าในราคาสู งกว่าท้องตลาด 7. ซื้อสิ นค้าโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 8. บันทึกบัญชี ซ้ื อสิ นค้าไม่ถูกต้อง ส่ งผลให้การจัดทารายงานภาษีซ้ื อและยื่น แบบแสดงรายการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ถูกต้อง จึงต้องเสี ยเบี้ยปรับเงินเพิ่มให้กบั กรมสรรพากร 9. บันทึกบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้การค้าไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ นปัจจุบนั 10. จ่ายชาระหนี้ค่าสิ นค้าเกินกว่าหนี้ที่มีอยู่ 11. เจ้าหนี้การค้าไม่มีตวั ตน 12. การเก็บรักษาสิ นค้าไม่เหมาะสม ไม่ปลอดภัย 13. บันทึกทะเบียนคุมสิ นค้าไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ นปัจจุบนั


81

14. การประกันภัยสิ นค้าและสถานที่เก็บสิ นค้าไม่เหมาะสม 15. ขายสิ นค้าเงินเชื่อโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 16. ขายสิ นค้าเกินกว่าวงเงินขายเชื่อที่ได้รับอนุมตั ิ 17. ขายสิ นค้าก่อนบันทึกซื้อสิ นค้า หรื อก่อนบันทึกทะเบียนคุมสิ นค้า 18. ขายสิ นค้าต่ากว่าราคาทุนโดยไม่มีมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการให้ กระทาได้ 19. รับเงิ นค่าขายสิ นค้า หรื อรับชาระหนี้ จากลูกหนี้ การค้าแล้วไม่บนั ทึกบัญชี หรื อบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน 20. การคานวณค่าปรับลูกหนี้การค้าไม่ถูกต้อง 21. ลูกหนี้การค้าไม่สามารถชาระหนี้ได้ตามกาหนด (ผิดนัดชาระหนี้) 22. ลูกหนี้การค้าปฏิเสธการเป็ นหนี้ หรื อลูกหนี้การค้าไม่มีตวั ตน 23. การตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญลูกหนี้ การค้าและค่าปรับลูกหนี้ การค้าค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 24. การตัดจาหน่ ายหนี้ สูญจากบัญชี ลูกหนี้ การค้าไม่เป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ 25. ไม่ มี ก ารควบคุ ม สิ นค้า คงเหลื อ ท าให้มี สิ นค้า ไม่ เ พี ย งพอจ าหน่ า ย หรื อ คงเหลือมากไป


82

26. การตี ร าคาสิ น ค้า คงเหลื อ ณ วัน สิ้ น ปี บัญ ชี ไ ม่ เ ป็ นไปตามระเบี ย บนาย ทะเบียนสหกรณ์ 27. มีสินค้าขาดบัญชี หรื อสิ นค้าเกินบัญชีจานวนมาก 28. มีสินค้าเสื่ อมสภาพ ชารุ ด หรื อล้าสมัยจานวนมาก 29. ลดหย่ อ นความรั บ ผิ ด ชอบสิ นค้ า ขาดบั ญ ชี โดยไม่ มี ม ติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการดาเนินการและไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 30. การตัดสิ นค้าขาดบัญชี สิ นค้าเสื่ อมสภาพ ชารุ ด หรื อล้าสมัยไม่เป็ นไปตาม ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


83

ตารางที่ 2.7 การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกาหนดระเบียบของสหกรณ์เพื่อใช้เป็ น แนวทางปฏิบตั ิ

การกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมาย

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ

การซื้ อสิ นค้าและการจ่ายชาระหนี้ค่าสิ นค้า

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจจัดหา สิ นค้ ามาจาหน่ าย - มีการกาหนดระเบียบเกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจ จัดหาสิ นค้ามาจาหน่ายเพื่อใช้เป็ นแนวทาง ปฏิบตั ิ ได้แก่ ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการจัดหาสิ่ งของ ที่สมาชิกต้องการมาจาหน่าย ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการจาหน่าย สิ นค้าเป็ นเงินเชื่อ - มีการกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมายการ ดาเนินธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่ายอย่างชัดเจน และมีความเป็ นไปได้ - มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง เจ้าหน้าที่จดั ซื้ อสิ นค้าเจ้าหน้าที่ตลาด เจ้าหน้าที่ การเงิน และเจ้าหน้าที่บญั ชีอย่างชัดเจน - การเก็บรักษาสิ นค้ากระทาโดยผูท้ ี่มิได้ทา หน้าที่จดั ซื้อสิ นค้า และผูท้ ี่มิได้ทาหน้าที่บนั ทึก บัญชี - มีการสารวจความต้องการสิ นค้าของสมาชิก หรื อตลาดก่อนจัดซื้ อ - มีการตรวจสอบรายการและปริ มาณสิ นค้าที่ ควรสัง่ ซื้อ - ไม่มีการซื้อสิ นค้าจากผูข้ ายเพียงรายเดียวเป็ น ระยะเวลา - มีการเปรี ยบเทียบราคาสิ นค้าจากผูข้ ายที่ขาย สิ นค้าชนิดเดียวกันก่อนตัดสิ นใจจัดซื้ อ - มีการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดซื้ อ สิ นค้า


84

ตารางที่ 2.7 การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจจัดหา สิ นค้ ามาจาหน่ าย(ต่ อ) - มีการกาหนดวงเงินในการจัดซื้ อสิ นค้าเป็ นเงิน สด - มีการพิจารณาระยะเวลาการได้รับเครดิตใน การซื้ อสิ นค้าเป็ นเงินเชื่อ - มีการอนุมตั ิส่งั ซื้อสิ นค้าโดยผูม้ ีอานาจและ เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - ใบสั่งซื้อสิ นค้ามีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ ล่วงหน้า - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการตรวจรับ สิ นค้า หรื อตั้งคณะกรรมการตรวจรับสิ นค้า - มีการตรวจสอบคุณภาพ ปริ มาณและราคา สิ นค้าที่ได้รับถูกต้องตรงกับใบสั่งซื้อสิ นค้า/ ใบเสร็ จรับเงิน หรื อใบส่ งของ/ใบกากับสิ นค้า ของผูข้ ายสิ นค้า - กรณี สินค้าที่ได้รับไม่ถูกต้อง หรื อชารุ ด เสี ยหาย ผูจ้ ดั ซื้ อสิ นค้าแจ้งให้ผขู้ ายเปลี่ยนสิ นค้า


85

ตารางที่ 2.7 การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

เจ้าหนี้การค้าคงเหลือ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจจัดหา สิ นค้ ามาจาหน่ าย(ต่ อ) ส่ งคืน เรี ยกชดเชย หรื อหักเงิน - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ การค้าเป็ นปั จจุบนั การจ่ายชาระหนี้ค่าสิ นค้าเป็ นไปตามระยะเวลา และเงื่อนไขกาหนดและการจ่ายชาระหนี้ค่า สิ นค้า - มีการตรวจสอบบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้การค้า และ เอกสารการเป็ นหนี้ก่อนเสนอเพื่ออนุมตั ิ - มีการอนุมตั ิจ่ายชาระหนี้ค่าสิ นค้าโดยผูม้ ี อานาจและเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับชาระหนี้ค่าสิ นค้าใน ใบเสร็ จรับเงินของผูข้ ายสิ นค้า - มีการจัดทารายงานภาษีซ้ือ และยืน่ แบบแสดง รายการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มรายเดือนภายใน ระยะเวลาที่กาหนด - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ การค้าให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภททัว่ ไป อย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หา สาเหตุ - มีการขอยืนยันยอดเจ้าหนี้การค้าอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง


86

ตารางที่ 2.7 การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การเก็บรักษาสิ นค้า

การจาหน่ายสิ นค้า

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจจัดหา สิ นค้ ามาจาหน่ าย(ต่ อ) - มีการจัดเก็บสิ นค้าไว้ในสถานที่เก็บสิ นค้าอย่าง เหมาะสม ปลอดภัย - มีการตรวจนับสิ นค้าก่อนนาเข้าสถานที่เก็บ สิ นค้า - มีการจัดเก็บสิ นค้าโดยแยกเป็ นหมวดหมู่เพื่อ ความสะดวกในการเบิกจ่ายและตรวจนับ - มีการกาหนดผูม้ ีอานาจในการเบิกสิ นค้าออก จากสถานที่เก็บสิ นค้า - มีการจัดทาทะเบียนคุมสิ นค้า หรื อบัตรสิ นค้า เป็ นปัจจุบนั - มีการตรวจสอบสภาพสถานที่เก็บสิ นค้า และ จัดทารายงานผลการตรวจสอบสภาพสถานที่ เก็บเสนอที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ - มีการจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยสถานที่ เก็บสิ นค้า - มีการประเมินความสามารถในการชาระหนี้ และหลักประกันของผูซ้ ้ือก่อนการขายเชื่อสิ นค้า - มีการอนุมตั ิวงเงินขายเชื่อสิ นค้าให้ผซู้ ้ื อแต่ละ รายโดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์ - มีการตรวจสอบสัญญาขายสิ นค้าเงินเชื่อ และ หลักประกันของผูซ้ ้ือที่ได้รับอนุมตั ิวงเงินขาย เชื่อให้เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - กรณี มีการขายสิ นค้าเกินกว่าวงเงินขายเชื่อ


87

ตารางที่ 2.7 การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การรับชาระหนี้ค่าสิ นค้า และค่าปรับลูกหนี้ การค้า

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจจัดหา สิ นค้ ามาจาหน่ าย(ต่ อ) จะต้องได้รับอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ - มีการกาหนดราคาขายสิ นค้าแต่ละประเภทและ การให้ส่วนลดอย่างชัดเจน - มีการตรวจสอบราคาขาย - กรณี ที่ขายสิ นค้าลดราคา หรื อจัดโปรโมชัน่ เพื่อส่ งเสริ มการขายสิ นค้าจะต้องได้รับอนุมตั ิ จากผูม้ ีอานาจ - กรณี ที่ขายสิ นค้าต่ากว่าราคาทุนจะต้องมีมติที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการให้ขายสิ นค้าต่า กว่าราคาทุนได้ - เอกสารการขายสิ นค้าเป็ นเงินสดและเงินเชื่อมี การเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า (ใบรับเงินขาย สิ นค้า/ใบกากับสิ นค้า) - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับมอบสิ นค้าในใบกากับ - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยลูกหนี้ การค้าเป็ นปั จจุบนั - มีการจัดทารายงานขายสิ นค้าประจาวัน เพื่อ เปรี ยบเทียบยอดรวมขายสิ นค้าในแต่ละวันให้ ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภททัว่ ไป กรณี พบ ข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการจัดทารายงานภาษีขาย และยืน่ แบบแสดง รายการเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ รายเดือนภายใน ระยะเวลาที่กาหนด - มีการคานวณค่าปรับลูกหนี้การค้าในอัตราที่ กาหนดตามระเบียบ ของสหกรณ์ - การรับชาระหนี้ค่าสิ นค้าเป็ นไปตามข้อกาหนด ในสัญญาขายสิ นค้าเงินเชื่อและระเบียบของ


88

ตารางที่ 2.7 การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การติดตาม ทวงถามการชาระหนี้

ลูกหนี้การค้าคงเหลือ และค่าปรับลูกหนี้การค้า ค้างรับ

สิ นค้าคงเหลือ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจจัดหา สิ นค้ ามาจาหน่ าย(ต่ อ) สหกรณ์ - ใบเสร็ จรับเงินมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ ล่วงหน้า - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับชาระหนี้ค่าสิ นค้าและ ค่าปรับ (ถ้ามี) ในใบเสร็ จรับเงิน รวมถึงบันทึก บัญชียอ่ ยลูกหนี้การค้าทุกครั้งที่รับชาระหนี้ - มีการติดตาม ทวงถาม หรื อเร่ งรัดการชาระหนี้ ค่าสิ นค้า - มีการจัดทารายงานหนี้ที่เกินกาหนดตามสัญญา (ผิดนัดชาระหนี้ )เสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการเป็ นประจาทุกเดือน - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยลูกหนี้ การค้าให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภททัว่ ไป สม่าเสมอ กรณี ที่พบข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการขอยืนยันยอดลูกหนี้การค้าอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง - มีการคานวณค่าปรับลูกหนี้การค้าค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีในอัตราที่กาหนดตามระเบียบ ของสหกรณ์ - มีการจัดทารายงานสิ นค้าคงเหลือและรายงาน สิ นค้าที่ไม่เคลื่อนไหวเสนอที่ประชุม คณะกรรมการดาเนินการอย่างสม่าเสมอ - มีการจัดทารายงานสิ นค้าและวัตถุดิบ รายละเอียดสิ นค้าคงเหลือในระบบ ภาษีมูลค่าเพิม่ ตามรู ปแบบที่กรมสรรพากร กาหนด


89

ตารางที่ 2.7 การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจจัดหา สิ นค้ ามาจาหน่ าย(ต่ อ) - มีการเก็บสิ นค้าเสื่ อมสภาพ/ชารุ ด/ล้าสมัย แยก จากสิ นค้าปกติ - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนับสิ นค้า คงเหลือ - ไม่ตรวจนับสิ นค้าต่อไปนี้ รวมเป็ นสิ นค้า คงเหลือ สิ นค้ารับฝากขาย วัสดุที่มีไว้ใช้ในสานักงานและโรงงาน สิ นค้าที่ลงบัญชีขายแล้ว แต่ผซู้ ้ือยังไม่ได้ รับสิ นค้าไป สิ นค้าที่ได้รับแล้ว แต่ยงั ไม่ได้บนั ทึกบัญชี ซื้อในปี ปัจจุบนั สิ นค้าเสื่ อมสภาพ/ชารุ ด/ล้าสมัยที่ตดั บัญชี แล้ว เป็ นต้น - มีการเปรี ยบเทียบผลการตรวจนับสิ นค้า คงเหลือแต่ละประเภทในระหว่างปี และ ณ วัน สิ้ นปี ทางบัญชีตามใบตรวจนับให้ถูกต้องตรงกับ ทะเบียนคุมสิ นค้า กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หา สาเหตุ - มีการวิเคราะห์สินค้าคงเหลือตามราคาขาย กรณี พบข้อแตกต่างที่เป็ นสาระสาคัญให้คน้ หา สาเหตุ - มีการตีราคาสิ นค้าคงเหลือสภาพปกติ และ สิ นค้าเสื่ อมสภาพ/ชารุ ดล้าสมัย ณ วันสิ้ นปี ทาง บัญชี เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


90

ตารางที่ 2.7 การควบคุมด้านธุ รกิจจัดหาสิ นค้ามาจาหน่าย (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ

การตัดจาหน่ายหนี้สูญ การตัดสิ นค้าขาดบัญชี หรื อสิ นค้าเสื่ อมสภาพ/ ชารุ ด/ล้าสมัย

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจจัดหา สิ นค้ ามาจาหน่ าย(ต่ อ) - มีการวิเคราะห์อายุหนี้ของลูกหนี้การค้า - การตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้การค้า ค่า เผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญค่าปรับลูกหนี้การค้าค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชี เป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ - การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้การค้า เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - การลดหย่อนความรับผิดชอบสิ นค้าขาดบัญชี จะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ และเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - การตัดสิ นค้าขาดบัญชี หรื อสิ นค้าเสื่ อมสภาพ/ ชารุ ด/ล้าสมัยเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียน สหกรณ์

2.2.3 การควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวมผลิตผล ธุ รกิจรวบรวมผลิตผล เป็ นธุรกิจที่สหกรณ์รวบรวม หรื อรับซื้ อผลิตผลและผลิตภัณฑ์ การเกษตรของสมาชิกเพื่อนาไปจาหน่ายให้ได้ราคาดี รักษาผลประโยชน์ของสมาชิกและเป็ นกลไก ในการต่อรองราคารวมทั้งให้ความเป็ นธรรมในด้านการชัง่ ตวง วัด และคัดคุณภาพผลิตผลของ สมาชิกตามที่กาหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์


91

วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผลมีประสิ ทธิภาพ 2. การดาเนิ นธุรกิจรวบรวมผลิตผลเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์และ แผนงาน หรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจรวบรวมผลิตผลเป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4. ลูกหนี้ค่าผลิตผลคงเหลือมีอยูจ่ ริ งและสิ ทธิเรี ยกร้องเป็ นของสหกรณ์ 5. ผลิตผลคงเหลือมีอยูจ่ ริ งและเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของสหกรณ์ 6. มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ในจานวนที่เพียงพอสาหรับการขาดทุนที่ อาจเกิดขึ้นและเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 7. การตัดจาหน่ายหนี้สูญและการตัดผลิตผลขาดบัญชี หรื อผลิตผลยุบตัวตาม สภาพ/เสื่ อมสภาพเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การรวบรวมผลิตผลและผลิตภัณฑ์ของสมาชิกไม่เป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์ 2. การดาเนิ นธุรกิจรวบรวมผลิตผลไม่เป็ นไปตามแผนงาน หรื อเป้ าหมายที่ กาหนด 3. เจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผลทาหน้าที่เก็บรักษาผลิตผลและบันทึกทะเบียนคุม ผลิตผล


92

4. รับซื้อผลิตผลโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 5. รับซื้อผลิตผลนอกที่ทาการของสหกรณ์โดยไม่มีมติที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการให้กระทาได้ 6. บันทึกบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ค่าผลิตผลไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ น ปัจจุบนั 7. จ่ายชาระหนี้ค่าผลิตผลเกินกว่าหนี้ที่มีอยู่ 8. เจ้าหนี้ค่าผลิตผลไม่มีตวั ตน 9. การเก็บรักษาผลิตผลไม่เหมาะสม ไม่ปลอดภัย 10. บันทึกทะเบียนคุมผลิตผลไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ นปัจจุบนั 11. การประกันภัยผลิตผลและสถานที่เก็บผลิตผลไม่เหมาะสม 12. เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้รวบรวมผลิตผลชารุ ด เสี ยหาย หรื อใช้งานไม่ได้ 13. ขายผลิตผลเป็ นเงินเชื่อโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 14. ขายผลิตผลเกินกว่าวงเงินขายเชื่อที่ได้รับอนุมตั ิ 15. ขายผลิตผลก่อนบันทึกซื้อผลิตผล หรื อก่อนบันทึกทะเบียนคุมผลิตผล 16. ขายผลิตผลเป็ นเงินเชื่อโดยไม่มีหลักประกันของผูซ้ ้ือ หรื อหลักประกันไม่ เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์


93

17. ขายผลิตผลต่ากว่าราคาทุนโดยไม่มีมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ ให้กระทาได้ 18. รับเงินค่าขายผลิตผล หรื อรับชาระหนี้จากลูกหนี้ค่าผลิตผลแล้วไม่บนั ทึก บัญชี หรื อบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน 19. การคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าผลิตผลไม่ถูกต้อง 20. ลูกหนี้ค่าผลิตผลไม่สามารถชาระหนี้ได้ตามกาหนด (ผิดนัดชาระหนี้ ) 21. ลูกหนี้ค่าผลิตผลปฏิเสธการเป็ นหนี้ 22. ลูกหนี้ค่าผลิตผลไม่มีตวั ตน 23. การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้ค่าผลิตผลและค่าปรับลูกหนี้ค่าผลิตผล ค้างรับณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 24. การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ค่าผลิตผลไม่เป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ 25. ไม่มีการควบคุมผลิตผลคงเหลือ ทาให้มีผลิตผลไม่เพียงพอจาหน่าย หรื อมี ผลิตผลคงเหลือมากเกินไป 26. การตีราคาผลิตผลคงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีไม่เป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ 27. มีผลิตผลขาดบัญชี หรื อผลิตผลเกินบัญชีจานวนมาก 28. มีผลิตผลยุบตัวตามสภาพ หรื อเสื่ อมสภาพจานวนมาก


94

29. ลดหย่อนความรับผิดชอบผลิตผลขาดบัญชีโดยไม่มีมติที่ประชุม คณะกรรมการดาเนิ นการและไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 30. การตัดผลิตผลขาดบัญชี ผลิตผลยุบตัวตามสภาพ หรื อเสื่ อมสภาพไม่เป็ นไป ตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ตารางที่ 2.8 การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวม ผลิตผล การกาหนดระเบียบของสหกรณ์เพื่อใช้เป็ น - มีการกาหนดระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วย แนวทางปฏิบตั ิ การรวบรวมผลิตผลหรื อผลิตภัณฑ์ของ สมาชิก การกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมาย - มีการกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมายการ ดาเนินธุ รกิจรวบรวมผลิตผลอย่างชัดเจนและ มีความเป็ นไปได้ การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ - มีการแบ่งแยกหน้าที่รับผิดชอบระหว่าง เจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผลเจ้าหน้าที่ตลาด เจ้าหน้าที่การเงิน และเจ้าหน้าที่บญั ชีอย่าง ชัดเจน - การเก็บรักษาผลิตผลกระทาโดยผูท้ ี่มิได้ทา หน้าที่รวบรวมผลิตผลและผูท้ ี่มิได้ทาหน้าที่ บันทึกบัญชี การรวบรวม หรื อรับซื้ อผลิตผล และการจ่ายชาระ - มีการสารวจความต้องการของตลาดก่อน หนี้ค่าผลิตผล รวบรวมผลิตผล - มีการวางแผนหาตลาดเพื่อรองรับผลิตผลที่ รวบรวม - มีการสื บราคาผลิตผลจากพาณิ ชย์จงั หวัด หรื อพ่อค้าคนกลางก่อนกาหนดราคารับซื้อ - มีการกาหนดราคารับซื้อผลิตผลแต่ละ


95

ตารางที่ 2.8 การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวม ผลิตผล(ต่ อ) ประเภทและติดประกาศไว้ในที่เปิ ดเผย - มีการอนุมตั ิรวบรวมผลิตผลโดยผูม้ ีอานาจ และเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - กรณี มีการรวบรวมผลิตผลนอกที่ทาการ สหกรณ์ตอ้ งมีมติที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการให้รวบรวมผลิตผลนอกที่ทาการ สหกรณ์ได้โดยกาหนดแนวทางปฏิบตั ิอย่าง ชัดเจนและเหมาะสม - เจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผลมีความรู้ ความ ชานาญในการพิจารณาคุณภาพของผลิตผล แต่ละประเภท - มีการตรวจสอบคุณภาพของผลิตผล รวมถึง ความชื้นและสิ่ งเจือปนก่อนกาหนดราคารับ ซื้อให้สอดคล้องกับคุณภาพผลิตผล เช่น น้ า ยาง มีการทดสอบหาเปอร์ เซ็นต์เนื้อยางแห้ง หรื อน้ านมดิบมีการทดสอบหาสิ่ งปลอมปน เพื่อกาหนดราคารับซื้อได้อย่างเหมาะสม เป็ น ต้น - มีการกาหนดวงเงินยืมทดรองเพื่อใช้ในการ รวบรวมผลิตผล - มีการกาหนดให้เจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผล นาส่ งเอกสารการรวบรวมผลิตผลให้ เจ้าหน้าที่บญั ชี และนาส่ งจานวนเงินคงเหลือ ให้เจ้าหน้าที่ การเงินทุกสิ้ นวัน หรื อเช้าของวันถัดไป - มีการจัดทาเอกสารการรวบรวมผลิตผล


96

ตารางที่ 2.8 การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

เจ้าหนี้ค่าผลิตผลคงเหลือ

การเก็บรักษาผลิตผล

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวม ผลิตผล(ต่ อ) ถูกต้อง ครบถ้วน - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ ค่าผลิตผลเป็ น ปัจจุบนั - การจ่ายชาระหนี้ค่าผลิตผลเป็ นไปตาม ระยะเวลาและเงื่อนไขกาหนด - มีการตรวจสอบบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ค่าผลิตผล และเอกสารการเป็ นหนี้ก่อนเสนอเพื่ออนุมตั ิ - มีการอนุมตั ิจ่ายชาระหนี้ค่าผลิตผลโดยผูม้ ี อานาจและเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ ค่าผลิตผลให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยก ประเภททัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อ แตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการจัดเก็บผลิตผลไว้ในสถานที่เก็บอย่าง เหมาะสมและปลอดภัย - มีการตรวจนับ หรื อคานวณปริ มาณผลิตผล ก่อนนาเข้าสถานที่เก็บ - มีการจัดเก็บผลิตผลโดยแยกตามประเภท และคุณภาพ เพื่อความสะดวกในการเบิกจ่าย และตรวจนับ - มีการกาหนดผูม้ ีอานาจเบิกผลิตผลออกจาก สถานที่เก็บผลิตผล - มีการจัดทาทะเบียนคุมผลิตผลเป็ นปัจจุบนั - มีการทดสอบการยุบตัวตามสภาพ/การ สู ญเสี ยน้ าหนักของผลิตผลแต่ละประเภท


97

ตารางที่ 2.8 การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การใช้และการดูแล บารุ งรักษาเครื่ องมือและ อุปกรณ์

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวม ผลิตผล(ต่ อ) - มีการตรวจสอบคุณภาพของผลิตผลเป็ น ระยะ - มีการประกันภัยผลิตผลและสถานที่เก็บ ผลิตผลอย่างเหมาะสม - มีการตรวจสอบสถานที่เก็บผลิตผล และ จัดทารายงานผลการตรวจสอบสภาพสถานที่ เก็บเสนอที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ - มีการจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยสถานที่ เก็บผลิตผล - มีการจัดทาทะเบียนคุมสิ นทรัพย์ (เครื่ องชัง่ ตวง วัด และอุปกรณ์รวบรวมผลิตผล) เป็ น ปัจจุบนั - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการตรวจสอบ สภาพการใช้งาน รวมทั้งดูแลและบารุ งรักษา สิ นทรัพย์ดงั กล่าวอย่างชัดเจน - มีการทดสอบการใช้งานสิ นทรัพย์ดงั กล่าว อย่างสม่าเสมอและจัดทารายงานผลการ ทดสอบเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการ - มีการประกันภัยสิ นทรัพย์ที่มีจานวนมาก หรื อมูลค่าสู งจนมีนยั สาคัญอย่างเหมาะสม และจัดทาทะเบียนกรมธรรม์ประกันภัยเป็ น ปัจจุบนั


98

ตารางที่ 2.8 การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การจาหน่ายผลิตผล

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวม ผลิตผล(ต่ อ) - มีการกาหนดมาตรการเพื่อรองรับในกรณี ที่ สิ นทรัพย์ดงั กล่าวชารุ ดหรื อเสี ยหาย - มีการคานวณค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์แต่ละ ประเภทในอัตราที่กาหนดตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ - มีการประเมินความสามารถในการชาระหนี้ และหลักประกันของผูซ้ ้ือก่อนการขายเชื่อ ผลิตผล - มีการอนุมตั ิวงเงินขายเชื่อผลิตผลให้ผซู้ ้ื อแต่ ละรายโดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไปตามระเบียบ ของสหกรณ์ - มีการตรวจสอบสัญญาขายผลิตผลเงินเชื่อ และหลักประกันของผูซ้ ้ือที่ได้รับอนุมตั ิ วงเงินขายเชื่อให้เป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์ - กรณี มีการขายผลิตผลเกินกว่าวงเงินขายเชื่อ จะต้องได้รับอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ - มีการกาหนดราคาขายผลิตผลแต่ละประเภท และติดประกาศไว้ในที่เปิ ดเผย - มีการตรวจสอบราคาขายที่ใช้ในการคานวณ มูลค่าของผลิตผลที่ขายในเอกสารการขาย ตรงกับราคาขายที่กาหนด - การขายผลิตผลต่ากว่าราคาทุนจะต้องมีมติที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการให้ขาย ผลิตผลต่ากว่าราคาทุนได้ - เอกสารการขายผลิตผลเป็ นเงินสดและเงิน


99

ตารางที่ 2.8 การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การรับชาระหนี้ค่าผลิตผล และ ค่าปรับลูกหนี้ค่าผลิตผล

การติดตาม ทวงถามการชาระหนี้

ลูกหนี้ค่าผลิตผลคงเหลือ และ ค่าปรับลูกหนี้ค่า ผลิตผลค้างรับ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวมผลิตผล (ต่ อ) เชื่อมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า (ใบรับเงิน ขายสิ นค้า/ใบกากับสิ นค้า) - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับมอบผลิตผลในใบกากับ สิ นค้า - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยลูกหนี้ ค่าผลิตผลเป็ น ปัจจุบนั - มีการคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าผลิตผลในอัตรา ที่กาหนดตามระเบียบของสหกรณ์ - การรับชาระหนี้ค่าผลิตผลเป็ นไปตาม ข้อกาหนดในสัญญาขายผลิตผลเงินเชื่อและ ระเบียบของสหกรณ์ - ใบเสร็ จรับเงินมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ ล่วงหน้า - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับชาระหนี้ค่าผลิตผลและ ค่าปรับ (ถ้ามี) ในใบเสร็ จรับเงิน รวมถึงบันทึก บัญชียอ่ ยลูกหนี้ค่าผลิตผลทุกครั้งที่มีการ รับชาระหนี้ - มีการติดตาม ทวงถาม หรื อเร่ งรัดการชาระหนี้ ค่าผลิตผล - มีการจัดทารายงานหนี้ที่เกินกาหนดตามสัญญา (ผิดนัดชาระหนี้ ) เสนอที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยลูกหนี้ค่า ผลิตผลให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภท ทัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อแตกต่างให้ ค้นหาสาเหตุ


100

ตารางที่ 2.8 การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

ผลิตผลคงเหลือ

การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ

การตัดจาหน่ายหนี้สูญ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวมผลิตผล (ต่ อ) - มีการขอยืนยันยอดลูกหนี้ค่าผลิตผลอย่างน้อย ปี ละ 1 ครั้ง - มีการคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าผลิตผลค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีในอัตราที่กาหนดตามระเบียบ ของสหกรณ์ - มีการจัดทารายงานผลิตผลคงเหลือเสนอที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการโดยสม่าเสมอ - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนับผลิตผล - มีการเปรี ยบเทียบผลการตรวจนับ หรื อคานวณ ปริ มาณผลิตผลคงเหลือแต่ละประเภทใน ระหว่างปี และ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีตามใบตรวจ นับให้ถูกต้องตรงกับทะเบียนคุมผลิตผล กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการตีราคาผลิตผลคงเหลือสภาพปกติ และ ผลิตผลเสื่ อมสภาพ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชี เป็ นไป ตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - มีการวิเคราะห์อายุหนี้ของลูกหนี้ค่าผลิตผล - การตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้ค่าผลิตผล และค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญค่าปรับลูกหนี้ค่า ผลิตผลค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชี เป็ นไปตาม ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ค่า ผลิตผลเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


101

ตารางที่ 2.8 การควบคุมด้านธุ รกิจรวบรวมผลิตผล (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การตัดผลิตผลขาดบัญชี หรื อ ผลิตผลยุบตัวตามสภาพ/เสื่ อมสภาพ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจรวบรวมผลิตผล (ต่ อ) - การลดหย่อนความรับผิดชอบผลิตผลขาดบัญชี จะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ และเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - การตัดผลิตผลขาดบัญชี หรื อผลิตผลยุบตัวตาม สภาพ/เสื่ อมสภาพเป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์

2.2.4 การควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้ า การควบคุ ม ด้า นธุ ร กิ จ แปรรู ป ผลิ ต ผลการเกษตรและการผลิ ต สิ น ค้า เป็ นธุ ร กิ จ ที่ สหกรณ์ นาผลิ ต ผลที่ ร วบรวมหรื อ รั บ ซื้ อ จากสมาชิ ก มาแปรรู ป เป็ นสิ น ค้า ส าเร็ จ รู ป เพื่ อ นาไป จาหน่ า ยให้ได้ราคาดี รวมทั้ง ส่ ง เสริ มให้สมาชิ ก ผลิ ตสิ นค้าเพื่อนามาจาหน่ า ยให้สหกรณ์ ตามที่ กาหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์ วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้ามี ประสิ ทธิภาพ 2. การดาเนิ นธุรกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้าเป็ นไปตาม แผนงานหรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการ ผลิตสิ นค้าเป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน


102

4. ลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือมีอยูจ่ ริ งและสิ ทธิเรี ยกร้องเป็ นของสหกรณ์ 5. วัตถุดิบ สิ นค้าระหว่างผลิตและสิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือมีอยูจ่ ริ งและเป็ น กรรมสิ ทธิ์ ของสหกรณ์ 6. มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ในจานวนที่เพียงพอสาหรับการขาดทุนที่ อาจเกิดขึ้นและเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 7. การตัดจาหน่ายหนี้สูญ การตัดวัตถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ปขาดบัญชี หรื อ วัตถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ปเสื่ อมสภาพเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การดาเนิ นธุรกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้าไม่เป็ นไปตาม แผนงานหรื อเป้ าหมายที่กาหนด 2. เจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผลทาหน้าที่เก็บรักษาผลิตผลและบันทึกทะเบียนคุม ผลิตผล 3. ซื้อผลิตผล/วัตถุดิบโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 4. ซื้อผลิตผล/วัตถุดิบนอกที่ทาการของสหกรณ์โดยไม่มีมติที่ประชุม คณะกรรมการดาเนินการให้กระทาได้ 5. ซื้อผลิตผล/วัตถุดิบที่ไม่มีคุณภาพ 6. บันทึกบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ น ปัจจุบนั 7. จ่ายชาระหนี้ค่าวัตถุดิบเกินกว่าหนี้ที่มีอยู่


103

8. เจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบไม่มีตวั ตน 9. สิ นค้าสาเร็ จรู ปคุณภาพไม่ดี 10. การเก็บรักษาวัตถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ปไม่เหมาะสม ไม่ปลอดภัย 11. บันทึกทะเบียนคุมวัตถุดิบ ทะเบียนคุมสิ นค้าสาเร็ จรู ปไม่ถูกต้อง ไม่ ครบถ้วน หรื อไม่เป็ นปั จจุบนั 12. การประกันภัยวัตถุดิบ สิ นค้าสาเร็ จรู ปและสถานที่เก็บไม่เหมาะสม 13. เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผล รวมถึงเครื่ องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปรรู ป/ผลิตสิ นค้าชารุ ด เสี ยหาย หรื อใช้งานไม่ได้ 14. ขายสิ นค้าสาเร็ จรู ปเป็ นเงินเชื่อโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 15. ขายสิ นค้าสาเร็ จรู ปเกินกว่าวงเงินขายเชื่อที่ได้รับอนุมตั ิ 16. ขายสิ นค้าสาเร็ จรู ปเป็ นเงินเชื่อโดยไม่มีหลักประกันของผูซ้ ้ือ หรื อ หลักประกันไม่เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ 17. ขายสิ นค้าสาเร็ จรู ปต่ากว่าราคาทุนโดยไม่มีมติที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการให้กระทาได้ 18. รับเงินค่าขายสิ นค้าสาเร็ จรู ป หรื อรับชาระหนี้จากลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป แล้วไม่บนั ทึกบัญชี หรื อบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน 19. การคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปไม่ถูกต้อง


104

20. ลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปไม่สามารถชาระหนี้ได้ตามกาหนด (ผิดนัดชาระ หนี้ ) 21. ลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปปฏิเสธการเป็ นหนี้ 22. ลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปไม่มีตวั ตน 23. การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้คา่ สิ นค้าสาเร็ จรู ปและค่าปรับลูกหนี้ค่า สิ นค้าสาเร็ จรู ปค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 24. การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปไม่เป็ นไปตาม ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 25. ไม่มีการควบคุมวัตถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือ ทาให้มีไม่เพียงพอใช้ผลิต/ จาหน่ายหรื อคงเหลือมากเกินไป 26. การตีราคาวัตถุดิบ สิ นค้าระหว่างผลิต สิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 27. มีวตั ถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ปขาดบัญชี หรื อเกินบัญชีจานวนมาก 28. มีวตั ถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ปเสื่ อมสภาพจานวนมาก 29. ลดหย่อนความรับผิดชอบวัตถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ปขาดบัญชีโดยไม่มีมติที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการและไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 30. การตัดวัตถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ปขาดบัญชี หรื อวัตถุดิบ/สิ นค้าสาเร็ จรู ป เสื่ อมสภาพไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


105

ตารางที่ 2.9 การควบคุมด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมาย

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ

การรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลและ การจ่ายชาระหนี้ค่าวัตถุดิบ/ผลิตผล

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรฯ - มีการกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมายการ ดาเนินธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและผลิต สิ นค้าอย่างชัดเจนและมีความเป็ นไปได้ - มีการแบ่งแยกหน้าที่รับผิดชอบระหว่าง เจ้าหน้าที่รวบรวมผลิตผลเจ้าหน้าที่ผลิต เจ้าหน้าที่ตลาด เจ้าหน้าที่การเงิน และเจ้าหน้าที่ บัญชีอย่างชัดเจน - การเก็บรักษาวัตถุดิบ/ผลิตผลกระทาโดยผูท้ ี่ มิได้ทาหน้าที่รวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลและผูท้ ี่ มิได้ทาหน้าที่บนั ทึกบัญชี - มีการสื บราคาวัตถุดิบ/ผลิตผลจากพาณิ ชย์ จังหวัดหรื อพ่อค้าคนกลางก่อนกาหนดราคารับ ซื้อ - มีการกาหนดราคารับซื้อวัตถุดิบ/ผลิตผลแต่ละ ประเภท และให้ติดประกาศไว้ในที่เปิ ดเผย - มีการอนุมตั ิรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลโดยผูม้ ี อานาจและเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - กรณี มีการรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลนอกที่ทา การสหกรณ์จะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการให้รวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลนอก ที่ทาการสหกรณ์ได้ และกาหนดแนวทางปฏิบตั ิ อย่างชัดเจน เหมาะสม


106

ตารางที่ 2.9 การควบคุมด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรฯ(ต่ อ) - เจ้าหน้าที่รวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผลมีความรู้ ความชานาญในการพิจารณาคุณภาพของ ผลิตผลแต่ละชนิด - มีการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบ/ผลิตผล รวมถึงความชื้นและสิ่ งเจือปนก่อนกาหนดราคา รับซื้อให้สอดคล้องกับคุณภาพของผลิตผล - มีการกาหนดวงเงินยืมทดรองเพื่อใช้ในการ รวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผล - มีการกาหนดให้เจ้าหน้าที่รวบรวมวัตถุดิบ/ ผลิตผลนาส่ งเอกสารการรวบรวมวัตถุดิบ/ ผลิตผลให้เจ้าหน้าที่บญั ชี และนาส่ งจานวนเงิน คงเหลือให้เจ้าหน้าที่การเงินทุกสิ้ นวัน หรื อเช้า ของวันถัดไป - มีการจัดทาเอกสารการรวบรวมวัตถุดิบ/ ผลิตผลถูกต้อง ครบถ้วน - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ ค่าวัตถุดิบเป็ น ปัจจุบนั - การจ่ายชาระหนี้ค่าวัตถุดิบ/ผลิตผลเป็ นไปตาม ระยะเวลาและเงื่อนไขกาหนด - มีการตรวจสอบบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบและ เอกสารการเป็ นหนี้ก่อนเสนอเพื่ออนุมตั ิ


107

ตารางที่ 2.9 การควบคุมด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

เจ้าหนี้ค่าวัตถุดิบคงเหลือ

การแปรรู ป/ผลิตสิ นค้าสาเร็ จรู ป

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรฯ(ต่ อ) - มีการอนุมตั ิจ่ายชาระหนี้ค่าวัตถุดิบ/ผลิตผล โดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์ - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ค่า วัตถุดิบให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภท ทัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อแตกต่างให้ ค้นหาสาเหตุ - มีการสารวจความต้องการของตลาดก่อนแปร รู ป/ผลิตสิ นค้าสาเร็ จรู ป - มีการวางแผนการแปรรู ป/ผลิตสิ นค้าสาเร็ จรู ป ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด - มีการอนุมตั ิให้ดาเนินการแปรรู ป/ผลิตสิ นค้า โดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์ - มีการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบ/ผลิตผล ก่อนนาไปแปรรู ป/ผลิตสิ นค้าสาเร็ จรู ป - มีการควบคุมขั้นตอนการแปรรู ป/ผลิตสิ นค้า สาเร็ จรู ป - มีการทดสอบการแปรรู ป/ผลิตสิ นค้าเพื่อหา อัตราร้อยละของปริ มาณสิ นค้าสาเร็ จรู ปแต่ละ ประเภทที่ได้จากการแปรรู ป/ผลิต และอัตราร้อย ละของสิ่ งสู ญเสี ย แล้วกาหนดเป็ นมาตรฐานการ ผลิตของสหกรณ์ - มีการจัดทารายงานการใช้วตั ถุดิบ/ผลิตผล และ จัดทารายงานผลการแปรรู ป/ผลิตสิ นค้าเสนอ ผูร้ ับผิดชอบ/ผูจ้ ดั การ


108

ตารางที่ 2.9 การควบคุมด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การเก็บรักษาวัตถุดิบ/ผลิตผลและ สิ นค้า สาเร็ จรู ป

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรฯ(ต่ อ) - มีการเปรี ยบเทียบปริ มาณสิ นค้าสาเร็ จรู ปที่ได้ จากการแปรรู ป/ผลิตสิ นค้าแต่ละครั้งกับ มาตรฐานการผลิตของสหกรณ์ กรณี สินค้า สาเร็ จรู ปมีปริ มาณต่ากว่ามาตรฐานการผลิต อย่างมีนยั สาคัญให้คน้ หาสาเหตุ - มีการจัดทารายงานผลแตกต่างระหว่างปริ มาณ สิ นค้าที่ผลิตได้จริ งกับมาตรฐานการผลิตของ สหกรณ์เสนอผูร้ ับผิดชอบ/ผูจ้ ดั การ - มีการตรวจสอบคุณภาพของสิ นค้าสาเร็ จรู ป อย่างสม่าเสมอ - มีการจัดการผลิตผลพลอยได้จากการแปรรู ป/ ผลิตสิ นค้าเหมาะสม - มีการจัดเก็บวัตถุดิบ/ผลิตผล และสิ นค้า สาเร็ จรู ปไว้ในสถานที่เก็บอย่างเหมาะสม ปลอดภัย - มีการตรวจนับ หรื อคานวณปริ มาณวัตถุดิบ/ ผลิตผล สิ นค้าสาเร็ จรู ปก่อนนาเข้าสถานที่เก็บ - มีการจัดเก็บวัตถุดิบ/ผลิตผล และสิ นค้า สาเร็ จรู ปแยกตามประเภทและคุณภาพเพื่อความ สะดวกในการเบิกจ่ายและตรวจนับ - มีการกาหนดผูม้ ีอานาจเบิกวัตถุดิบ/ผลิตผล สิ นค้าสาเร็ จรู ปออกจากสถานที่เก็บ - มีการจัดทาทะเบียนคุมวัตถุดิบ/ผลิตผล ทะเบียนคุมสิ นค้าสาเร็ จรู ปเป็ นปัจจุบนั - มีการทดสอบการยุบตัวตามสภาพ/การสู ญเสี ย น้ าหนักของวัตถุดิบ/ผลิตผล


109

ตารางที่ 2.9 การควบคุมด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การใช้และการดูแล บารุ งรักษา เครื่ องมือ เครื่ องจักรและอุปกรณ์

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรฯ(ต่ อ) และสิ นค้าสาเร็ จรู ปแต่ละประเภท - มีการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบ/ผลิตผล สิ นค้าสาเร็ จรู ปอย่างสม่าเสมอ - มีการประกันภัยวัตถุดิบ/ผลิตผล สิ นค้า สาเร็ จรู ปและมีการประกันภัยสถานที่เก็บอย่าง เหมาะสม - มีการตรวจสอบสถานที่เก็บวัตถุดิบ/ผลิตผล สิ นค้าสาเร็ จรู ป จัดทารายงานผลการตรวจสอบ สภาพสถานที่เก็บเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการ - มีการจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยสถานที่ เก็บวัตถุดิบ/ผลิตผลและสิ นค้าสาเร็ จรู ป - มีการจัดทาทะเบียนคุมสิ นทรัพย์ (เครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวบรวมวัตถุดิบ/ผลิตผล รวมถึงเครื่ องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปร รู ป/ผลิตสิ นค้า) เป็ นปัจจุบนั - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการตรวจสอบ สภาพการใช้งาน รวมทั้งดูแลและบารุ งรักษา สิ นทรัพย์ดงั กล่าวอย่างชัดเจน - มีการทดสอบการใช้งานสิ นทรัพย์ดงั กล่าว อย่างสม่าเสมอและจัดทารายงานผลการทดสอบ เสนอที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ - มีการประกันภัยสิ นทรัพย์ที่มีจานวนมาก หรื อ มูลค่าสู งจนมีนยั สาคัญอย่างเหมาะสมและจัดทา ทะเบียนกรมธรรม์ประกันภัยเป็ นปัจจุบนั - มีการกาหนดมาตรการเพื่อรองรับในกรณี ที่


110

ตารางที่ 2.9 การควบคุมด้านธุรกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การจาหน่ายสิ นค้าสาเร็ จรู ป

การรับชาระหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป และค่าปรับลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรฯ(ต่ อ) สิ นทรัพย์ดงั กล่าวชารุ ดหรื อเสี ยหาย - มีการคานวณค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์แต่ละ ประเภทในอัตราที่กาหนดตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ - กรณี มีการขายสิ นค้าสาเร็ จรู ปเกินกว่าวงเงิน ขายเชื่อจะต้องได้รับอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ - มีการกาหนดราคาขายสิ นค้าสาเร็ จรู ปแต่ละ ประเภท และการให้ส่วนลดอย่างชัดเจน - มีการตรวจสอบราคาขายที่ใช้ในการคานวณ มูลค่าของสิ นค้าสาเร็ จรู ปที่ขายในเอกสารการ ขายตรงกับราคาขายที่กาหนด - การขายสิ นค้าสาเร็ จรู ปต่ากว่าราคาทุนจะต้องมี มติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการให้ขายต่า กว่าราคาทุนได้ - เอกสารการขายสิ นค้าสาเร็ จรู ปเงินสดและเงิน เชื่อมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า (ใบรับเงิน ขายสิ นค้า/ใบกากับสิ นค้า) - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับมอบสิ นค้าสาเร็ จรู ปใน ใบกากับสิ นค้า - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยลูกหนี้ ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป เป็ นปัจจุบนั - มีการคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป ในอัตราที่กาหนดตามระเบียบของสหกรณ์ - การรับชาระหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปเป็ นไปตาม ข้อกาหนดในสัญญาขายสิ นค้าเงินเชื่อและ ระเบียบของสหกรณ์


111

ตารางที่ 2.9 การควบคุมด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การติดตาม ทวงถามการชาระหนี้

ลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือ ค้างรับ

วัตถุดิบ สิ นค้าระหว่างผลิต และ สิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรฯ(ต่ อ) - ใบเสร็ จรับเงินมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ ล่วงหน้า - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับชาระหนี้ค่าสิ นค้า สาเร็ จรู ปและค่าปรับ (ถ้ามี)ในใบเสร็ จรับเงิน รวมถึงบันทึกบัญชียอ่ ยลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป ทุกครั้งที่รับชาระหนี้ - มีการติดตาม ทวงถาม หรื อเร่ งรัดการชาระหนี้ ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป - มีการจัดทารายงานหนี้ที่เกินกาหนดตามสัญญา (ผิดนัดชาระหนี้ )เสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการ - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยลูกหนี้ค่า สิ นค้าสาเร็ จรู ปให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยก ประเภททัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี มีขอ้ แตกต่าง ให้คน้ หาสาเหตุ - มีการขอยืนยันยอดลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง - มีการคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ป ค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีในอัตราที่กาหนด ตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการจัดทารายงานวัตถุดิบ สิ นค้าระหว่างผลิต และสิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือเสนอที่ประชุม คณะกรรมการดาเนินการโดยสม่าเสมอ - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนับวัตถุดิบ สิ นค้าระหว่างผลิตและสิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือ - มีการเปรี ยบเทียบผลการตรวจนับวัตถุดิบ


112

ตารางที่ 2.9 การควบคุมด้านธุ รกิจแปรรู ปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสิ นค้า (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจแปรรู ปผลิตผล การเกษตรฯ(ต่ อ) สิ นค้าระหว่างผลิต และสิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือ แต่ละประเภทในระหว่างปี และ ณ วันสิ้ นปี บัญชีตามใบตรวจนับให้ถูกต้องตรงกับทะเบียน คุม กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการตีราคาวัตถุดิบ สิ นค้าระหว่างผลิต และ สิ นค้าสาเร็ จรู ปคงเหลือสภาพปกติ และ เสื่ อมสภาพ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีเป็ นไปตาม ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ - มีการวิเคราะห์อายุหนี้ของลูกหนี้ค่าสิ นค้า สาเร็ จรู ป - การตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้ค่าสิ นค้า สาเร็ จรู ปและค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญค่าปรับ ลูกหนี้ค่าสิ นค้าสาเร็ จรู ปค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทาง บัญชี เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ การตัดจาหน่ายหนี้สูญ - การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ค่า สิ นค้าสาเร็ จรู ปเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียน สหกรณ์ การตัดวัตถุดิบขาดบัญชี หรื อยุบตัว ตามสภาพ/ - การลดหย่อนความรับผิดชอบวัตถุดิบและ เสื่ อมสภาพการตัดสิ นค้าสาเร็ จรู ปขาดบัญชีหรื อ สิ นค้าสาเร็ จรู ปขาดบัญชี จะต้องมีมติที่ประชุม เสื่ อมสภาพ คณะกรรมการดาเนินการและเป็ นไปตาม ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - การตัดวัตถุดิบขาดบัญชี หรื อวัตถุดิบยุบตัว ตามสภาพ/เสื่ อมสภาพเป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์สาเร็ จรู ปเสื่ อมสภาพเป็ นไป ตามระเบียบนาย


113

2.2.5 การควบคุมด้ านธุรกิจให้ บริการและส่ งเสริมการเกษตร การควบคุมด้านธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร เป็ นธุ รกิจที่สหกรณ์ให้บริ การ แก่สมาชิกในด้านการเพาะปลูกและการประมง เช่น ให้บริ การสู บน้ า ปรับพื้นที่เพาะปลูก จัดระบบ ส่ งน้ า ขออนุ ญาตสัมปทานจับสัตว์น้ า เป็ นต้น โดยคิดค่าตอบแทนในอัตราที่สมเหตุสมผล รวมทั้ง ช่วยเหลือในด้านการเผยแพร่ ความรู้ ส่ งเสริ มการเกษตร วางแผนเพาะปลูกและบารุ งที่ดินเพื่อให้เกิด ประโยชน์แก่สมาชิกตามที่กาหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์ วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตรมี ประสิ ทธิภาพ 2. การดาเนิ นธุรกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตรเป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์และแผนงาน หรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร เป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4. ลูกหนี้ค่าบริ การคงเหลือมีอยูจ่ ริ งและสิ ทธิเรี ยกร้องเป็ นของสหกรณ์ 5. มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ในจานวนที่เพียงพอสาหรับการขาดทุนที่ อาจเกิดขึ้นและเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 6. การตัดจาหน่ายหนี้สูญเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


114

ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การให้บริ การแก่สมาชิกไม่เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ 2. การดาเนิ นธุรกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตรไม่เป็ นไปตามแผนงาน หรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. เจ้าหน้าที่ให้บริ การทาหน้าที่รับค่าบริ การและบันทึกบัญชียอ่ ยลูกหนี้ ค่าบริ การ 4. ให้บริ การเป็ นเงินเชื่อโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 5. ให้บริ การเป็ นเงินเชื่อเกินกว่าวงเงินที่ได้รับอนุมตั ิ 6. เครื่ องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริ การใช้งานไม่ได้ ชารุ ด เสี ยหาย 7. รับเงินค่าบริ การ หรื อรับชาระหนี้จากลูกหนี้ค่าบริ การแล้วไม่บนั ทึกบัญชี หรื อบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน 8. การคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าบริ การไม่ถูกต้อง 9. ลูกหนี้ค่าบริ การไม่สามารถชาระหนี้ได้ตามกาหนด (ผิดนัดชาระหนี้ ) 10. ลูกหนี้ค่าบริ การปฏิเสธการเป็ นหนี้ 11. ลูกหนี้ค่าบริ การไม่มีตวั ตน 12. การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้ค่าบริ การและค่าปรับลูกหนี้ค่าบริ การ ค้างรับณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์


115

13. การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ค่าบริ การไม่เป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ ตารางที่ 2.10 การควบคุมด้านธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกาหนดระเบียบของสหกรณ์เพื่อใช้เป็ น แนวทางปฏิบตั ิ การกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมาย

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ

การให้บริ การ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจให้ บริการและ ส่ งเสริมการเกษตร - มีการกาหนดระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการ ให้บริ การแก่สมาชิก - มีการกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมายการ ดาเนินธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร อย่างชัดเจนและมีความเป็ นไปได้ - มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง เจ้าหน้าที่ให้บริ การเจ้าหน้าที่การเงิน และ เจ้าหน้าที่บญั ชีอย่างชัดเจน - มีการอนุมตั ิวงเงินเชื่อค่าบริ การให้แก่ ผูร้ ับบริ การแต่ละรายโดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไป ตามระเบียบของสหกรณ์ - กรณี มีการให้บริ การเกินกว่าวงเงินเชื่อ ค่าบริ การจะต้องได้รับอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ - มีการกาหนดอัตราค่าบริ การใช้เครื่ องจักรและ อุปกรณ์แต่ละประเภทพร้อมกับติดประกาศไว้ ในที่เปิ ดเผย - มีการตรวจสอบอัตราค่าบริ การที่ใช้ในการ คานวณในเอกสารการให้บริ การตรงกับอัตรา ค่าบริ การที่กาหนด


116

ตารางที่ 2.10 การควบคุมด้านธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การรับชาระหนี้ค่าบริ การ และ ค่าปรับลูกหนี้ค่าบริ การ

การติดตาม ทวงถามการชาระหนี้

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจให้ บริการและ ส่ งเสริมการเกษตร(ต่ อ) - เอกสารการให้บริ การเป็ นเงินสดและเงินเชื่อมี การเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ล่วงหน้า (ใบเสร็ จรับเงิน/ ใบสาคัญการให้บริ การ) - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับบริ การในใบสาคัญการ ให้บริ การ - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยลูกหนี้ ค่าบริ การเป็ น ปัจจุบนั - มีการคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าบริ การในอัตราที่ กาหนดตามระเบียบของสหกรณ์ - การรับชาระหนี้ค่าบริ การเป็ นไปตาม ข้อกาหนดในการให้บริ การและระเบียบของ สหกรณ์ - ใบเสร็ จรับเงินมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ ล่วงหน้า - มีการลงลายมือชื่อผูร้ ับชาระหนี้ค่าบริ การและ ค่าปรับ (ถ้ามี) ในใบเสร็ จรับเงิน รวมถึงบันทึก บัญชียอ่ ยลูกหนี้ค่าบริ การทุกครั้งที่มีการรับชาระ หนี้ - มีการติดตาม ทวงถาม หรื อเร่ งรัดการชาระหนี้ ค่าบริ การ - มีการจัดทารายงานหนี้ที่เกินกาหนดตามสัญญา (ผิดนัดชาระหนี้ )เสนอที่ประชุมคณะกรรมการ


117

ตารางที่ 2.10 การควบคุมด้านธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การใช้และการดูแล บารุ งรักษาเครื่ องจักรและ อุปกรณ์เครื่ องจักรและอุปกรณ์

ลูกหนี้ค่าบริ การคงเหลือ และค่าปรับลูกหนี้ ค่าบริ การค้างรับ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจให้ บริการและ ส่ งเสริมการเกษตร(ต่ อ) - มีการจัดทาทะเบียนคุมสิ นทรัพย์ (เครื่ องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริ การ) เป็ นปัจจุบนั - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการตรวจสอบ สภาพการใช้งาน รวมทั้งดูแลและบารุ งรักษา สิ นทรัพย์ดงั กล่าวอย่างชัดเจน - มีการทดสอบการใช้งานสิ นทรัพย์ดงั กล่าว อย่างสม่าเสมอ และจัดทารายงานผลการ ทดสอบเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการ - มีการประกันภัยสิ นทรัพย์ที่มีจานวนมาก หรื อ มูลค่าสู งจนมีนยั สาคัญอย่างเหมาะสมและจัดทา ทะเบียนกรมธรรม์ประกันภัยเป็ นปัจจุบนั - มีการกาหนดมาตรการเพื่อรองรับในกรณี ที่ สิ นทรัพย์ดงั กล่าวชารุ ดหรื อเสี ยหาย - มีการคานวณค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์แต่ละ ประเภทในอัตราที่กาหนดตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชี ยอ่ ยลูกหนี้ ค่าบริ การให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภท ทัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อแตกต่างให้ ค้นหาสาเหตุ - มีการสอบทานหนี้กบั สมาชิกโดยตรง หรื อขอ ยืนยันยอดลูกหนี้ค่าบริ การอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง - มีการคานวณค่าปรับลูกหนี้ค่าบริ การค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีในอัตราที่กาหนดตามระเบียบ ของสหกรณ์


118

ตารางที่ 2.10 การควบคุมด้านธุ รกิจให้บริ การและส่ งเสริ มการเกษตร (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ

การตัดจาหน่ายหนี้สูญ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจให้ บริการและ ส่ งเสริมการเกษตร(ต่ อ) - มีการวิเคราะห์อายุหนี้ของลูกหนี้ค่าบริ การ - การตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญลูกหนี้ค่าบริ การ ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญค่าปรับลูกหนี้ค่าบริ การ ค้างรับ ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชี เป็ นไปตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์ - การตัดจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ค่าบริ การเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียน สหกรณ์

2.2.6 การควบคุมด้ านธุรกิจเงินรับฝาก ธุ รกิ จเงินรับฝาก เป็ นธุ รกิ จที่สหกรณ์ระดมเงินทุนด้วยการส่ งเสริ มให้สมาชิ ก ออม ทรัพย์โดยให้บริ การรับฝากเงินจากสมาชิกประเภทเงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจา ซึ่ ง ก าหนดระยะเวลาการฝากและอัตราดอกเบี้ ย เงิ นรั บ ฝากแต่ ล ะประเภทจะแตกต่ า งกันไปตามที่ กาหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์ รวมทั้งสหกรณ์สามารถรับฝากเงินจากสหกรณ์อื่นได้ โดยปฏิบตั ิ ให้เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านธุ รกิจเงินรับฝากมีประสิ ทธิภาพ 2. การดาเนิ นธุรกิจเงินรับฝากเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์และแผนงาน หรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจเงินรับฝากเป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน


119

4. เจ้าหนี้ เงินรับฝากคงเหลือมีอยูจ่ ริ งและเป็ นภาระผูกพันที่สหกรณ์ตอ้ งชดใช้ ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การรับฝากเงินจากสมาชิก หรื อสหกรณ์อื่นไม่เป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์ 2. การดาเนิ นธุรกิจเงินรับฝากไม่เป็ นไปตามแผนงาน หรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. เจ้าหน้าที่การเงินทาหน้าที่รับ – จ่ายเงินฝาก เก็บรักษาเงินและบันทึกบัญชี ย่อยเจ้าหนี้ เงินรับฝาก 4. รับฝากเงินจากบุคคลภายนอก 5. รับฝากเงินนอกที่ทาการสหกรณ์โดยไม่มีมติที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการให้กระทาได้ 6. รับเงินฝากแล้วไม่บนั ทึกบัญชี หรื อบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน 7. เจ้าหน้าที่นาเงินฝากของสมาชิกเข้าบัญชีตนเอง หรื อสมาชิกรายอื่น แล้ว ถอนเงินฝากไปใช้ส่วนตัว 8. เจ้าหน้าที่เก็บรักษาสมุดคู่ฝากของสมาชิก หรื อสหกรณ์อื่นไว้ 9. บันทึกบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้เงินรับฝากไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ น ปัจจุบนั 10. เจ้าหนี้ เงินรับฝากไม่มีตวั ตน


120

11. การคานวณดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝากไม่ถูกต้อง หรื อไม่เป็ นไปตามระเบียบ ของสหกรณ์ 12. คานวณดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝากสู งกว่าความเป็ นจริ ง แต่จ่ายให้สมาชิก ถูกต้องตามความเป็ นจริ ง ส่ วนต่างของดอกเบี้ยนาไปใช้ส่วนตัว 13. มีการปลอมแปลงลายมือชื่อผูถ้ อนเงินในใบถอนเงินฝาก 14. จ่ายคืนเงินรับฝากให้ผทู้ ี่มิใช่เจ้าของบัญชีโดยไม่มีใบมอบฉันทะแสดง 15. จ่ายคืนเงินรับฝากและดอกเบี้ยที่ถึงกาหนดให้สมาชิก/สหกรณ์อื่นโดยไม่ ผ่านการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจและไม่เป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ ตารางที่ 2.11 การควบคุมด้านธุ รกิจเงินรับฝาก กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกาหนดระเบียบของสหกรณ์เพื่อใช้เป็ น แนวทางปฏิบตั ิ

การกาหนดแผนงานหรื อเป้ าหมาย

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจเงินรับฝาก - มีการกาหนดระเบียบเกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจ เงินรับฝาก ได้แก่ ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยเงินฝากออม ทรัพย์และเงินฝากประจา ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยเงินฝากออม ทรัพย์พิเศษ ระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการรับฝากเงิน จากสหกรณ์อื่น - มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยเงินรับฝากแต่ละ ประเภทและติดประกาศ ไว้ในที่เปิ ดเผย - มีการกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมายการ ดาเนินธุ รกิจเงินรับฝากอย่างชัดเจนและมีความ เป็ นไปได้


121

ตารางที่ 2.11 การควบคุมด้านธุ รกิจเงินรับฝาก (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ การเปิ ดบัญชี

การรับฝากเงิน

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจเงินรับฝาก(ต่ อ) - มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง เจ้าหน้าที่การเงินและเจ้าหน้าที่บญั ชีอย่างชัดเจน - มีการจัดทาบัตรตัวอย่างลายมือชื่อผูฝ้ ากเงิน และจัดทาสมุดคู่ฝากให้สมาชิก/สหกรณ์อื่นใน การเปิ ดบัญชีเงินฝากแต่ละประเภท - เจ้าของบัญชีเป็ นผูจ้ ดั ทาใบส่ งเงินฝาก เว้นแต่ รายที่เขียนไม่ได้อาจให้เจ้าหน้าที่สหกรณ์เขียน แทน แต่เจ้าของบัญชีตอ้ งเป็ นผูล้ งลายมือชื่อ หรื อลายนิ้วมือของตนเองตามบัตรตัวอย่าง ลายมือชื่อ - มีการตรวจสอบจานวนเงินขั้นต่าที่ขอเปิ ดบัญชี เงินฝากแต่ละประเภทเป็ นไปตามระเบียบของ สหกรณ์ - ไม่มีการรับฝากเงินจากบุคคลภายนอก - การรับฝากเงินกระทาที่สานักงานสหกรณ์และ ในระหว่างเวลาทาการของสหกรณ์ - กรณี ที่มีการรับฝากเงินนอกที่ทาการสหกรณ์ จะต้องมีมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ ให้รับฝากเงินนอกที่ทาการสหกรณ์ได้โดย กาหนดแนวทางปฏิบตั ิอย่างชัดเจนและ เหมาะสม - มีการลงลายมือชื่อผูฝ้ ากเงินและผูร้ ับเงินในใบ ส่ งเงินฝาก แล้วบันทึกรายการฝากเงินในสมุดคู่ ฝากและบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้เงินรับฝาก - ไม่มีการเก็บรักษาสมุดคูฝ่ ากของสมาชิก/ สหกรณ์อื่นไว้ที่สหกรณ์ - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ เงินรับฝากแต่ละ


122

ตารางที่ 2.11 การควบคุมด้านธุ รกิจเงินรับฝาก (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การจ่ายดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก

การถอนเงินฝาก

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจเงินรับฝาก(ต่ อ) - มีการคานวณดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝากแต่ละ ประเภทในอัตราที่กาหนดตามระเบียบของ สหกรณ์ - มีการบันทึกดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝากแต่ละ ประเภทเมื่อถึงกาหนดในบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ เงินรับ ฝาก - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมดอกเบี้ยจ่ายเงินรับ ฝากแต่ละประเภทให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยก ประเภททัว่ ไป กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หา สาเหตุ - การถอนเงินฝากกระทาที่สานักงานสหกรณ์ และในระหว่างเวลาทาการของสหกรณ์ - เจ้าของบัญชีเป็ นผูจ้ ดั ทาใบถอนเงินฝาก เว้นแต่ ในรายที่เขียนไม่ได้อาจให้เจ้าหน้าที่สหกรณ์ เขียนแทน แล้วเจ้าของบัญชีเป็ นผูล้ งลายมือชื่อ หรื อลายนิ้วมือของตนเองตามบัตรตัวอย่าง ลายมือชื่อ - มีการตรวจสอบลายมือชื่อผูถ้ อนเงินในใบถอน เงินฝากเปรี ยบเทียบกับบัตรตัวอย่างลายมือชื่อ ให้ตรงกันทุกครั้ง - มีการจัดทาใบมอบฉันทะทุกครั้งที่เจ้าของ บัญชีไม่สามารถมาทาการถอนเงินฝากด้วย ตนเอง - มีการตรวจสอบบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้เงินรับฝาก เงื่อนไขการถอนเงินฝากแต่ละประเภทก่อน เสนอเพื่ออนุมตั ิ


123

ตารางที่ 2.11 การควบคุมด้านธุ รกิจเงินรับฝาก (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การปิ ดบัญชี

เจ้าหนี้ เงินรับฝากคงเหลือ

แนวทางการควบคุมด้ านธุรกิจเงินรับฝาก(ต่ อ) - มีการอนุมตั ิถอนเงินฝากและดอกเบี้ยที่ถึง กาหนดโดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไปตามระเบียบ ของสหกรณ์ - มีการลงลายมือชื่อผูถ้ อนเงินและผูจ้ ่ายเงินใน ใบถอนเงินฝาก บันทึกรายการถอนเงินในสมุดคู่ ฝากและบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้เงินรับฝาก - เจ้าของบัญชีจดั ทาใบถอนเงินฝากและระบุวา่ "เพื่อปิ ดบัญชี " เว้นแต่ในรายที่เขียนไม่ได้อาจให้ เจ้าหน้าที่สหกรณ์เขียนแทน แล้วเจ้าของบัญชี เป็ นผูล้ งลายมือชื่อ หรื อลายนิ้วมือของตนเอง ตามบัตรตัวอย่างลายมือชื่อ - มีการยกเลิกสมุดคู่ฝากของสมาชิก/สหกรณ์อื่น - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้เงิน รับฝากแต่ละประเภทให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี ที่พบ ข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ -มีการยืนยันยอดเจ้าหนี้เงินรับฝากอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง

3. การควบคุมเฉพาะเรื่อง การควบคุมเฉพาะเรื่อง นอกจากการควบคุมด้านบัญชีและการควบคุมด้านบริ หารแล้ว คณะกรรมการดาเนิ นการสหกรณ์ควรให้ความสาคัญกับการควบคุมเฉพาะเรื่ อง ได้แก่ การควบคุม ด้านเงินลงทุนการควบคุมด้านที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การควบคุมด้านเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเงิ นกูย้ ืม การควบคุมด้านสมาชิ กและทุนเรื อนหุ ้น รวมถึงการควบคุมด้านการใช้โปรแกรม ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์


124

3.1 การควบคุมด้ านเงินลงทุน วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านเงินลงทุนมีประสิ ทธิภาพ 2. การลงทุนเป็ นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์และประกาศคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.) กาหนด โดยได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมใหญ่สหกรณ์ หรื อที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ 3. การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนเป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4. เงินลงทุนในหลักทรัพย์คงเหลือมีอยูจ่ ริ งและเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของสหกรณ์

ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การลงทุ นไม่เป็ นไปตามกฎหมายและประกาศคณะกรรมการพัฒนาการ สหกรณ์ แห่ งชาติ (คพช.) กาหนด หรื อไม่ ได้รับอนุ มตั ิ จากที่ประชุ ม ใหญ่สหกรณ์ /ที่ประชุ ม คณะกรรมการดาเนินการ 2. ลงทุนในหลักทรัพย์โดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 3. ลงทุนในหลักทรัพย์ที่ไม่เหมาะสมและมีความเสี่ ยงสู ง 4. เอกสารเงินลงทุนไม่ครบถ้วน เสี ยหาย หรื อสู ญหาย 5. ได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนไม่เป็ นไปตามข้อตกลง หรื อเงื่อนไขที่ กาหนด


125

6. การคานวณมูลค่าเงินลงทุนคงเหลือไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียน สหกรณ์ 7. การจาหน่ายและตัดจาหน่ายเงินลงทุนไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียน สหกรณ์ ตารางที่ 2.12 การควบคุมด้านเงินลงทุน กิจกรรม/วิธีดาเนินการ แนวทางการควบคุมด้ านเงินลงทุน การกาหนดวิธีปฏิบตั ิดา้ นเงินลงทุนของสหกรณ์ - มีการกาหนดวิธีปฏิบตั ิเกี่ยวกับการนาเงินของ สหกรณ์ไปลงทุน การกาหนดแผนการลงทุน - มีการศึกษาสภาวะทางเศรษฐกิจที่อาจส่ งผล กระทบต่อการลงทุนและวิเคราะห์ผลตอบแทน จากการลงทุนเพื่อวางแผนการลงทุน - มีการกาหนดแผนการลงทุนอย่างชัดเจน เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั การลงทุนและผลตอบแทนจากการลงทุน - การลงทุนในหลักทรัพย์ใด ๆ เป็ นไปตามมติที่ ประชุมใหญ่สหกรณ์หรื อมติที่ประชุม คณะกรรมการดาเนินการ - มีการตรวจสอบหลักทรัพย์ที่สหกรณ์ลงทุนว่า เป็ นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์และประกาศ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.) กาหนดโดยได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุม ใหญ่สหกรณ์ หรื อที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการก่อนเสนอเพื่ออนุมตั ิ - กรณี ลงทุนในหลักทรัพย์ที่นอกเหนือจาก ประกาศคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์ แห่งชาติ (คพช.) ต้องได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุม ใหญ่และได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน สหกรณ์


126

ตารางที่ 2.12 การควบคุมด้านเงินลงทุน (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

เงินลงทุนคงเหลือ

แนวทางการควบคุมด้ านเงินลงทุน(ต่ อ) - มีการมอบอานาจในการจัดการเกี่ยวกับการ ลงทุนในหลักทรัพย์อย่างชัดเจนและเหมาะสม - มีการอนุมตั ิการลงทุนในหลักทรัพย์โดยผูม้ ี อานาจและเป็ นไปตามวิธีปฏิบตั ิที่กาหนด - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการเก็บรักษา เอกสารเงินลงทุนไว้ในที่มน่ั คงและปลอดภัย - มีการอนุมตั ิการเบิกจ่ายเอกสารเงินลงทุนโดยผู้ มีอานาจและเป็ นไปตามวิธีปฏิบตั ิที่กาหนด - มีการจัดทาทะเบียนคุมเงินลงทุนแต่ละประเภท เป็ นปัจจุบนั - มีการตรวจสอบเงินลงทุนที่มีกาหนดอายุการ ไถ่ถอนอย่างสม่าเสมอและจัดทารายงานเสนอที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ - กรณี นาเงินลงทุนไปค้ าประกันจะต้องมีมติที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการให้นาเงิน ลงทุนนั้นไปค้ าประกันได้ - มีการติดตามความเคลื่อนไหวของเงินลงทุน อย่างสม่าเสมอ - มีการตรวจสอบผลตอบแทนจากการลงทุนที่ ได้รับว่าเป็ นไปตามข้อตกลง หรื อเงื่อนไข - มีการตรวจนับเอกสารเงินลงทุนเปรี ยบเทียบ กับทะเบียนคุมเงินลงทุนเป็ นครั้งคราว - การตีราคาและคานวณมูลค่าเงินลงทุนคงเหลือ แต่ละประเภท ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีเป็ นไปตาม ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมเงินลงทุนแต่ละ ประเภท ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีตามทะเบียนคุม


127

ตารางที่ 2.12 การควบคุมด้านเงินลงทุน (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การจาหน่ายเงินลงทุน

การตัดจาหน่ายเงินลงทุน

แนวทางการควบคุมด้ านเงินลงทุน(ต่ อ) เงินลงทุนให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภท ทัว่ ไปกรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - กรณี มีการเก็บรักษาเอกสารเงินลงทุนไว้กบั บุคคลภายนอก เช่นศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ นายหน้าค้าหุน้ เป็ นต้น และจานวนเงินลงทุน นั้นเป็ นสาระสาคัญให้ทาหนังสื อขอยืนยันยอด - มีการจัดทาข้อมูลการจาหน่ายเงินลงทุนเสนอที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ - มีการอนุมตั ิการจาหน่ายเงินลงทุนโดยผูม้ ี อานาจ - การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายจากการจาหน่าย เงินลงทุนในระหว่างปี เป็ นไปตามระเบียบนาย ทะเบียนสหกรณ์ - การตัดจาหน่ายเงินลงทุนเป็ นไปตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์

3.2 การควบคุมด้ านทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มีประสิ ทธิภาพ 2. การดาเนิ นการเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็ นไปตามข้อบังคับ ระเบียบมติที่ประชุม รวมถึงแผนงาน หรื อเป้ าหมายและงบประมาณรายจ่ายที่กาหนด


128

3. การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็ นไปอย่าง ถูกต้องครบถ้วน 4. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์คงเหลือมีอยูจ่ ริ งและเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของสหกรณ์ ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การจัดซื้ อ จัดจ้าง หรื อก่อสร้างสิ นทรัพย์ไม่เป็ นไปตามวิธีปฏิบตั ิ หรื อ หลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดเกี่ยวกับสิ นทรัพย์ของสหกรณ์ 2. การจัดซื้ อ จัดจ้าง หรื อก่อสร้างสิ นทรัพย์ไม่เป็ นไปตามแผนงาน งบประมาณรายจ่ายประจาปี ที่กาหนด 3. ไม่มีการกาหนดนโยบายรายจ่ายที่เป็ นสิ นทรัพย์อย่างชัดเจน 4. จัดซื้ อ จัดจ้าง หรื อก่อสร้างสิ นทรัพย์ในราคาสู งกว่าที่ควร 5. จัดซื้ อ จัดจ้าง หรื อก่อสร้างสิ นทรัพย์โดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 6. การบันทึกมูลค่าสิ นทรัพย์ไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 7. บันทึกบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ค่าสิ นทรัพย์ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ น ปัจจุบนั 8. บันทึกทะเบียนคุมสิ นทรัพย์ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ นปัจจุบนั 9. จ่ายชาระหนี้ค่าสิ นทรัพย์โดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ 10. จ่ายชาระหนี้ค่าสิ นทรัพย์ไม่เป็ นไปตามกาหนด


129

11. จ่ายชาระหนี้ค่าสิ นทรัพย์เกินกว่าหนี้ที่มีอยู่ 12. เจ้าหนี้ค่าสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน 13. หนังสื อสาคัญแสดงกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นทรัพย์ เอกสารเกี่ยวกับการจัดซื้ อ จัด จ้าง หรื อก่อสร้างสิ นทรัพย์เสี ยหาย หรื อสู ญหาย 14. มีการนาสิ นทรัพย์ของสหกรณ์ไปใช้ส่วนตัว 15. การดูแล บารุ งรักษาสิ นทรัพย์ไม่เหมาะสม 16. การประกันภัยสิ นทรัพย์ไม่เหมาะสม 17. มีสินทรัพย์ชารุ ด เสี ยหาย ใช้งานไม่ได้ หรื อสู ญหาย 18. นาสิ นทรัพย์ไปค้ าประกันโดยไม่มีมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการให้ กระทาได้ 19. จาหน่ายสิ นทรัพย์ที่เลิกใช้โดยไม่มีมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการให้ กระทาได้และไม่เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ 20. จาหน่ายสิ นทรัพย์ที่เลิกใช้ในราคาต่าเกินไป


130

ตารางที่ 2.13 การควบคุมด้านที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านทีด่ ิน อาคารและ อุปกรณ์ การกาหนดวิธีปฏิบตั ิดา้ นสิ นทรัพย์ของสหกรณ์ - มีการกาหนดวิธีปฏิบตั ิเกี่ยวกับสิ นทรัพย์ของ สหกรณ์ หรื อกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ จัดซื้ อ จัดจ้าง หรื อก่อสร้างสิ นทรัพย์ของ สหกรณ์ การกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมาย - มีการกาหนดแผนการจัดซื้ อ จัดจ้าง หรื อ ก่อสร้างสิ นทรัพย์อย่างชัดเจน เหมาะสมและ สอดคล้องกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี - มีการกาหนดนโยบายรายจ่ายที่เป็ นสิ นทรัพย์ เช่น บันทึกบัญชีเป็ นสิ นทรัพย์เมื่อจ่ายซื้อเกิน กว่า 1,000.00 บาท และคาดว่าสิ นทรัพย์น้ นั นั้นใช้ประโยชน์ได้มากกว่าหนึ่งรอบปี บัญชี เป็ นต้น การได้มาซึ่งสิ นทรัพย์ - มีการแต่งตั้งกรรมการจัดซื้ อ จัดจ้าง หรื อ ก่อสร้างสิ นทรัพย์ - มีการอนุมตั ิจดั ซื้อ จัดจ้าง หรื อก่อสร้าง สิ นทรัพย์โดยผูม้ ีอานาจและเป็ นไปตามระเบียบ ของสหกรณ์ - มีการตรวจสอบคุณภาพ ปริ มาณและราคา สิ นทรัพย์ที่ได้รับถูกต้องตรงกับใบสั่งซื้อ สัญญา จัดจ้าง หรื อสัญญาก่อสร้าง - มีการบันทึกมูลค่าสิ นทรัพย์อย่างถูกต้อง ครบถ้วนและเป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียน สหกรณ์


131

ตารางที่ 2.13 การควบคุมด้านที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) - มีการระบุหมายเลขรหัส หรื อหมายเลข ครุ ภณั ฑ์กากับไว้ที่สินทรัพย์เพื่อความสะดวกใน การค้นหาและตรวจนับ - มีการจัดทาทะเบียนคุมสิ นทรัพย์เป็ นปัจจุบนั - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ ค่าสิ นทรัพย์เป็ น ปัจจุบนั - การจ่ายชาระหนี้ค่าสิ นทรัพย์เป็ นไปตาม เงื่อนไขและข้อกาหนดในการจัดซื้ อ สัญญาจัด จ้าง หรื อสัญญาก่อสร้าง - มีการตรวจสอบบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ค่าสิ นทรัพย์ และเอกสารการเป็ นหนี้ก่อนเสนอเพื่ออนุมตั ิ - มีการอนุมตั ิจ่ายชาระหนี้ค่าสิ นทรัพย์โดยผูม้ ี อานาจและเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - มีหนังสื อสาคัญแสดงกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นทรัพย์ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน - กรณี มีการรับบริ จาคสิ นทรัพย์ หรื อนาเงินที่ ได้รับบริ จาคไปจัดหาสิ นทรัพย์ การปฏิบตั ิ เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - กรณี มีการนาสิ นทรัพย์ไปค้ าประกันต้องมีมติที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการให้นาสิ นทรัพย์


132

ตารางที่ 2.13 การควบคุมด้านที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ เจ้าหนี้ค่าสิ นทรัพย์คงเหลือ

การใช้สินทรัพย์ และการดูแลบารุ งรักษา สิ นทรัพย์

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์คงเหลือ

แนวทางการควบคุมด้ านทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ค่า สิ นทรัพย์ให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภท ทัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อแตกต่างให้ ค้นหาสาเหตุ - มีการขอยืนยันยอดเจ้าหนี้ค่าสิ นทรัพย์อย่าง น้อยปี ละ 1 ครั้ง - มีการใช้สินทรัพย์เพื่อการดาเนินงานของ สหกรณ์ - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการตรวจสอบ สภาพการใช้งาน รวมทั้งดูแลและบารุ งรักษา สิ นทรัพย์อย่างชัดเจน - มีการทดสอบการใช้งานสิ นทรัพย์อย่าง สม่าเสมอ และจัดทารายงานผลการทดสอบ เสนอที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ - มีการประกันภัยสิ นทรัพย์แต่ละประเภทอย่าง เหมาะสมและจัดทาทะเบียนกรมธรรม์ ประกันภัยเป็ นปัจจุบนั - มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการเก็บรักษา สิ นทรัพย์ไว้ในที่มน่ั คงและปลอดภัย - มีการกาหนดมาตรการเพื่อรองรับในกรณี ที่ สิ นทรัพย์ชารุ ด เสี ยหายหรื อสู ญหาย - มีการจัดทารายงานสิ นทรัพย์คงเหลือเสนอที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนับสิ นทรัพย์ คงเหลือ - มีการเปรี ยบเทียบจานวนสิ นทรัพย์คงเหลือแต่


133

ตารางที่ 2.13 การควบคุมด้านที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

การเลิกใช้และการจาหน่ายสิ นทรัพย์ที่เลิกใช้

แนวทางการควบคุมด้ านทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) ละประเภทที่ตรวจนับในระหว่างปี และ ณ วัน สิ้ นปี ทางบัญชีตามใบตรวจนับให้ถูกต้องตรงกับ ทะเบียนคุมสิ นทรัพย์ กรณี พบข้อแตกต่างให้ ค้นหาสาเหตุ - มีการคานวณค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์แต่ละ ประเภทอย่างถูกต้องและเป็ นไปตามระเบียบ นายทะเบียน - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมสิ นทรัพย์แต่ละ ประเภท ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีตามทะเบียนคุม สิ นทรัพย์ให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภท ทัว่ ไปกรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการจัดทารายงานสิ นทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้งาน/ ชารุ ด/เสี ยหาย พร้อมทั้งระบุสาเหตุและเสนอ แนวคิดในการจัดการสิ นทรัพย์น้ นั - การจาหน่ายสิ นทรัพย์ที่เลิกใช้จะต้องมีมติที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการและเป็ นไป ตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ - มีการตรวจสอบราคาจาหน่ายสิ นทรัพย์ที่เลิก ใช้ได้เหมาะสมกับสภาพของสิ นทรัพย์


134

3.3 การควบคุมด้ านเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยมื วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ มื มีประสิ ทธิภาพ 2. เงินกูย้ มื อยูภ่ ายในวงเงินกูย้ มื หรื อค้ าประกันที่ได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุม ใหญ่สหกรณ์และได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ 3. รายการกูย้ มื เงินเกิดขึ้นจริ งและบันทึกรายการบัญชีอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร/เงินกูย้ มื คงเหลือมีอยูจ่ ริ งและเป็ นภาระผูกพันที่ สหกรณ์ตอ้ งชดใช้ ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. กูย้ มื เงินเกินกว่าวงเงินกูย้ มื หรื อค้ าประกันประจาปี ที่กาหนด 2. กูย้ มื เงินโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการ 3. มีการปลอมแปลงสัญญาเงินกูย้ มื 4. มีการปลอมแปลงลายมือชื่อผูม้ ีอานาจลงนามแทนสหกรณ์ในการกูย้ มื 5. การใช้เงินกูย้ มื ไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการกูย้ มื เงิน 6. บันทึกบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้เงินกูย้ มื ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ นปัจจุบนั 7. จ่ายชาระหนี้เงินกูย้ มื โดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ


135

8. จ่ายชาระหนี้เงินกูย้ มื และดอกเบี้ยไม่เป็ นไปตามกาหนด 9. จ่ายชาระหนี้เงินกูย้ มื เกินกว่าหนี้ที่มีอยู่ 10. การคานวณดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ และดอกเบี้ยเงินกูค้ า้ งจ่ายไม่ถูกต้อง ตารางที่ 2.14 การควบคุมด้านเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ มื กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกูย้ มื เงิน

การใช้เงินกูย้ มื

แนวทางการควบคุมด้ านเงินเบิกเกินฯ และเงินกู้ยมื - มีการกาหนดวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และ วงเงินกูย้ มื - มีการตรวจสอบยอดรวมเงินกูย้ มื ให้อยูภ่ ายใน วงเงินกูย้ มื /ค้ าประกันประจาปี ที่ได้รับอนุมตั ิจาก ที่ประชุมใหญ่สหกรณ์ และได้รับความเห็นชอบ จากนายทะเบียนสหกรณ์ก่อนกูย้ มื เงิน - มีการอนุมตั ิการกูย้ มื โดยมติที่ประชุม คณะกรรมการดาเนินการและมีการกาหนดผูม้ ี อานาจลงนามแทนสหกรณ์ในการกูย้ มื - มีการกาหนดวัตถุประสงค์ของการกูย้ มื เงิน อย่างชัดเจน - มีการจัดทาสัญญาเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร/ สัญญาเงินกูย้ มื ไว้เป็ นหลักฐาน - มีการจัดทาบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้ เงินกูย้ มื เป็ น ปัจจุบนั - การใช้เงินกูเ้ ป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการ กูย้ มื เงิน รวมถึงเป็ นไปตามเงื่อนไขและ ข้อกาหนดในสัญญาเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร/ สัญญาเงินกูย้ มื


136

ตารางที่ 2.14 การควบคุมด้านเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ มื (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การชาระหนี้ เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารเงินกูย้ มื และดอกเบี้ย

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร/เจ้าหนี้เงินกูย้ มื คงเหลือ และดอกเบี้ยเงินกูค้ า้ งจ่าย

แนวทางการควบคุมด้ านเงินเบิกเกินฯ และเงินกู้ยมื (ต่ อ) - การจ่ายชาระหนี้เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร/เงิน กูย้ มื และดอกเบี้ยเป็ นไปตามเงื่อนไขและ ข้อกาหนดในสัญญาเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร/ สัญญาเงินกูย้ มื - มีการตรวจสอบบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้เงินกูย้ มื และ เอกสารการเป็ นหนี้ก่อนเสนอเพื่ออนุมตั ิ - มีการทดสอบการคานวณดอกเบี้ยตามอัตราที่ กาหนดไว้ในสัญญาเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร/ สัญญาเงินกูย้ มื - มีการอนุมตั ิจ่ายชาระหนี้เงินเบิกเกินบัญชี ธนาคาร/เงินกูย้ มื และดอกเบี้ยโดยผูม้ ีอานาจ และเป็ นไปตามระเบียบของสหกรณ์ - มีการเปรี ยบเทียบเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร คงเหลือตามใบแจ้งยอดของธนาคารให้ถูกต้อง ตรงกับบัญชีแยกประเภททัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หาสาเหตุ - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมบัญชียอ่ ยเจ้าหนี้เงิน กูย้ มื ให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภททัว่ ไป อย่างสม่าเสมอ กรณี ที่พบข้อแตกต่างให้คน้ หา สาเหตุ - มีการขอยืนยันยอดเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเจ้าหนี้เงินกูย้ มื อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง - มีการคานวณดอกเบี้ยเงินกูค้ า้ งจ่าย ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีในอัตราที่กาหนดตามสัญญาเงิน เบิกเกินบัญชีธนาคาร/สัญญาเงินกูย้ มื


137

3.4 การควบคุมด้ านสมาชิกและทุนเรือนหุ้น วัตถุประสงค์ ของการควบคุม เพื่อให้มนั่ ใจว่า 1. การควบคุมภายในด้านสมาชิกและทุนเรื อนหุน้ มีประสิ ทธิภาพ 2. การดาเนิ นการเกี่ยวกับสมาชิกและทุนเรื อนหุน้ เป็ นไปตามข้อบังคับ สหกรณ์และแผนงาน หรื อเป้ าหมายที่กาหนด 3. การบันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับทุนเรื อนหุ ้นเป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4. ทุนเรื อนหุ ้นคงเหลือมีอยูจ่ ริ ง ข้ อผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ 1. การดาเนิ นการเกี่ยวกับสมาชิกและทุนเรื อนหุน้ ไม่เป็ นไปตามข้อบังคับ สหกรณ์หรื อไม่เป็ นไปตามแผนงาน หรื อเป้ าหมายที่กาหนด 2. การรับสมาชิกไม่เป็ นไปตามข้อบังคับสหกรณ์ 3. รับเงินค่าหุ น้ และค่าธรรมเนียมแรกเข้าจากสมาชิกแล้วไม่บนั ทึกบัญชี หรื อ บันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน 4. บันทึกทะเบียนสมาชิกและทะเบียนหุ ้นไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรื อไม่เป็ น ปัจจุบนั 5. การคานวณเงินปันผลตามหุ ้นไม่ถูกต้อง 6. ให้สมาชิกลาออกโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากที่ประชุมคณะกรรมการ ดาเนินการ


138

7. ให้สมาชิกลาออกโดยที่ยงั มีภาระผูกพันกับสหกรณ์ 8. จ่ายคืนค่าหุ น้ ให้สมาชิกที่ลาออกโดยไม่ผา่ นการอนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจ ตารางที่ 2.15 การควบคุมด้านสมาชิกและทุนเรื อนหุน้ กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมาย

การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ การรับสมาชิก

การรับเงินค่าหุ น้ และค่าธรรมเนียมแรกเข้า

แนวทางการควบคุมด้ านสมาชิก และทุนเรือนหุ้น - มีการกาหนดแผนงาน หรื อเป้ าหมายเกี่ยวกับ สมาชิกและทุนเรื อนหุน้ อย่างชัดเจนและมีความ เป็ นไปได้ - มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง เจ้าหน้าที่การเงินและเจ้าหน้าที่บญั ชีอย่างชัดเจน - มีการตรวจสอบผูส้ มัครเป็ นสมาชิกสหกรณ์วา่ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมกลุ่ม และมี คุณสมบัติตามข้อบังคับสหกรณ์ - มีการอนุมตั ิรับเข้าเป็ นสมาชิกสหกรณ์โดยมติ ที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการและเป็ นไป ตามข้อบังคับสหกรณ์ - มีการจดบันทึกรายงานการประชุมเกี่ยวกับการ อนุมตั ิรับสมาชิก - การชาระเงินค่าหุน้ และค่าธรรมเนียมแรกเข้า รวมถึงการเพิ่มหุ ้นของสมาชิกเป็ นไปตาม ข้อบังคับสหกรณ์ - ใบเสร็ จรับเงินมีการเรี ยงลาดับเลขที่ไว้ ล่วงหน้า - มีการลงลายมือชื่อสมาชิกที่ชาระเงินค่าหุ ้นและ ค่าธรรมเนียมแรกเข้าหรื อเพิ่มหุน้ รวมถึงผูร้ ับ เงินในใบเสร็ จรับเงิน - มีการจัดทาทะเบียนสมาชิกและทะเบียนหุน้


139

ตารางที่ 2.15 การควบคุมด้านสมาชิ กและทุนเรื อนหุน้ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ สมาชิกและทุนเรื อนหุน้ คงเหลือ

การจ่ายเงินปั นผลตามหุ น้

การจ่ายคืนเงินค่าหุ น้

แนวทางการควบคุมด้ านสมาชิก และทุนเรือนหุ้น(ต่ อ) - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมทุนเรื อนหุ ้นใน ทะเบียนหุน้ ให้ถูกต้องตรงกับบัญชีแยกประเภท ทัว่ ไปอย่างสม่าเสมอ กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หา สาเหตุ - มีการตรวจสอบจานวนสมาชิกที่เพิ่ม - ลดใน ระหว่างปี และสมาชิกคงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ทาง บัญชี - มีการสอบทานโดยตรง หรื อขอยืนยันยอดทุน เรื อนหุน้ กับสมาชิกอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง - มีการคานวณเงินปั นผลตามหุน้ ในอัตราที่ได้รับ จัดสรรจากกาไรสุ ทธิประจาปี ตามมติที่ประชุม ใหญ่สหกรณ์ - มีการจัดทารายละเอียดเงินปันผลตามหุน้ ตรงตาม จานวนที่ได้รับจัดสรรจากกาไรสุ ทธิประจาปี - มีหลักฐานการจ่ายเงินปันผลตามหุน้ ให้สมาชิก ถูกต้อง ครบถ้วน - มีการเปรี ยบเทียบยอดรวมเงินปันผลตามหุ ้นค้าง จ่าย ณ วันสิ้ นปี ทางบัญชีให้ถูกต้องตรงกับบัญชี แยกประเภททัว่ ไป กรณี พบข้อแตกต่างให้คน้ หา สาเหตุ - มีการตรวจสอบใบลาออก ทะเบียนหุน้ และภาระ ผูกพันของสมาชิกที่ลาออก/ให้ออกในฐานะเจ้าหนี้ ลูกหนี้และผูค้ ้ าประกันก่อนเสนอเพื่ออนุมตั ิ


140

ตารางที่ 2.15 การควบคุมด้านสมาชิกและทุนเรื อนหุน้ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

5.

แนวทางการควบคุมด้ านสมาชิก และทุนเรือนหุ้น(ต่ อ) - มีการอนุมตั ิให้สมาชิกลาออก/ให้ออกโดยมติที่ ประชุมคณะกรรมการดาเนินการและเป็ นไป ตามข้อบังคับสหกรณ์ - มีการจดบันทึกรายงานการประชุมเกี่ยวกับการ อนุมตั ิให้สมาชิกลาออก/ให้ออก - มีการอนุมตั ิจ่ายคืนเงินค่าหุ ้นให้สมาชิกภาย หลังจากได้รับอนุมตั ิให้ลาออก/ให้ออกโดยผูม้ ี อานาจและเป็ นไปตามข้อบังคับสหกรณ์ - มีการลงลายมือชื่อสมาชิกที่ลาออก/ให้ออก ซึ่ง รับคืนเงินค่าหุน้ และผูจ้ ่ายเงินในใบเบิกเงิน พร้อมทั้งประทับตรา "ลาออก" และ "จ่ายแล้ว" ในแผ่นทะเบียนหุ ้นของสมาชิก โดยแยกเก็บไว้ ต่างหาก

การควบคุมด้ านโปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์

ในปั จ จุ บ ัน สหกรณ์ ภาคการเกษตรมี ก ารน าระบบบัญ ชี คอมพิ วเตอร์ ม าใช้ใ นการ ประมวลผลข้ อ มู ล ทางการบัญ ชี แ ละจัด ท างบการเงิ น ซึ่ งอาจจะก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี่ ยงและ ความเสี ย หายต่ อ ข้อ มู ล ที่ ส าคัญ ของสหกรณ์ ไ ด้ หากไม่ มี ม าตรการป้ องกัน ความเสี่ ย งระบบ สารสนเทศไว้ล่วงหน้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพเพียงพอสหกรณ์จึงควรมีการบริ หารจัดการและควบคุม งานด้า นคอมพิ ว เตอร์ อ ย่า งเป็ นระบบและเหมาะสมตามสภาพแวดล้อ มที่ ไ ด้เ ปลี่ ย นแปลงไป ในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยมาตรฐานขั้นต่าในการควบคุมภายในและการรักษาความปลอดภัยสาหรับสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ ประมวลผลข้อมูล พ.ศ. 2553 ซึ่ งกาหนดให้มีการ ควบคุมด้านโปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ ดังนี้


141

ตารางที่ 2.16 การควบคุมด้านโปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ กิจกรรม/วิธีดาเนินการ การปฏิบตั ิตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์วา่ ด้วยมาตรฐานขั้นต่าในการควบคุมภายในและ การรักษาความปลอดภัยสาหรับสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชี คอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูล พ.ศ. 2553

แนวทางการควบคุมด้ านการใช้ โปรแกรมฯ คอมพิวเตอร์ - มีการกาหนดนโยบาย หรื อระเบียบปฏิบตั ิใช้ ควบคุมการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการรักษาความ ปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของ สหกรณ์ที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร - มีระบบรักษาความปลอดภัยทางกายภาพที่ เพียงพอแก่การป้ องกันมิให้บุคคลที่ไม่มีอานาจ หน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้เข้าถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ที่สาคัญ - มีระบบป้ องกันความเสี ยหายจากภาวะ แวดล้อมหรื อภัยพิบตั ิต่าง ๆให้แก่อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่สาคัญ - มีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลใน ระบบคอมพิวเตอร์และระบบเครื อข่ายที่เพียงพอ แก่การป้ องกันมิให้บุคคลที่ไม่มีอานาจหน้าที่ เกี่ยวข้องได้เข้าถึง ล่วงรู้ ใช้ประโยชน์ หรื อ แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรื อ ระบบดังกล่าวได้ - มีมาตรการควบคุมการพัฒนา หรื อแก้ไข เปลี่ยนแปลงที่เพียงพอเพื่อให้ระบบบัญชี คอมพิวเตอร์มีการประมวลผลที่ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็ นไปตามความต้องการของ ผูใ้ ช้งาน - มีการสื่ อสาร หรื อฝึ กอบรมเกี่ยวกับระบบบัญชี คอมพิวเตอร์ให้แก่ ผูเ้ กี่ยวข้องได้รับทราบอย่าง ทัว่ ถึง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง


142

ตารางที่ 2.16 การควบคุมด้านโปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านการใช้ โปรแกรมฯ คอมพิวเตอร์ (ต่ อ) - มีการจัดทาเอกสารสนับสนุนการปฏิบตั ิงาน ได้แก่ เอกสารด้านฐานข้อมูลของระบบบัญชี คอมพิวเตอร์ ซึ่ งแสดงถึงรายละเอียดการจัดเก็บ ข้อมูลที่เป็ นสาระสาคัญทางบัญชีเพื่อให้สหกรณ์ สามารถเข้าถึงโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลของ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยูแ่ ละใช้ อ้างอิงเพื่อแก้ไขปัญหาได้ โดยเอกสารที่ จาเป็ นต้องมีคือ โครงสร้างฐานข้อมูล (Data Structure) หรื อพจนานุกรมข้อมูล(Data Dictionary) หรื อตารางแสดงรายละเอียดของ ข้อมูลตามแบบที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์กาหนด (ภาคผนวก) คู่มือการใช้ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์เพื่อเป็ น เอกสารประกอบการทางานของผูใ้ ช้งานในการ บันทึกข้อมูล ประมวลผลข้อมูลและสามารถ ออกรายงานได้อย่างถูกต้อง - มีการควบคุม ดูแลเอกสารสนับสนุนการ ปฏิบตั ิงาน โดยจัดให้มีสถานที่เก็บรักษาและ ปรับปรุ งเอกสารให้ถูกต้องและทันสมัยอยูเ่ สมอ - สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลของระบบบัญชี คอมพิวเตอร์ได้และสามารถ - นาข้อมูลออกจากฐานข้อมูลในรู ปแบบที่อ่าน เข้าใจได้ - มีการสารองข้อมูลของระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ เพื่อสามารถรองรับ


143

ตารางที่ 2.16 การควบคุมด้านโปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ (ต่อ) กิจกรรม/วิธีดาเนินการ

แนวทางการควบคุมด้ านการใช้ โปรแกรมฯ คอมพิวเตอร์ (ต่ อ) - การประกอบธุ รกิจได้อย่างต่อเนื่อง มี ประสิ ทธิภาพและทันเหตุการณ์ - มีการดูแล รักษาข้อมูลชุดสารองให้มีความ ปลอดภัย - มีการป้ องกันไม่ให้นาข้อมูลชุดสารองมาใช้ อย่างไม่ถูกต้อง - กรณี มีการใช้บริ การงานเทคโนโลยีสารสนเทศ จากผูใ้ ห้บริ การที่เป็ นบุคคลภายนอกต้องกาหนด หลักเกณฑ์การคัดเลือกและพิจารณาความ เหมาะสมของผูใ้ ห้บริ การ - มีการควบคุมและตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของ ผูใ้ ห้บริ การอย่างเข้มงวดเพื่อมัน่ ใจว่าผูใ้ ห้บริ การ สามารถปฏิบตั ิตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ นี้ได้ - มีการตรวจสอบคอมพิวเตอร์โดยหน่วยงาน ภายในของสหกรณ์ หรื อผูต้ รวจสอบที่เป็ น บุคคลภายนอกเพื่อทาหน้าที่ตรวจสอบความ เสี่ ยงด้านเทคโนโลยีโลยีสารสนเทศทุกประเภท ที่อาจเกิดขึ้นได้


144

งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง ดีใหม่ อินทรพาณิ ชย์ (2551) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง สภาพและปั ญหาการดาเนินการควบคุม ภายในของโรงเรี ยนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 พบว่า สภาพการดาเนินงาน การควบคุมภายในของโรงเรี ยน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 โดยรวมอยูใ่ น ระดับเป็ นที่น่าพอใจ กล่าวคือ ในการบริ หารจัดการที่มีความสลับซับซ้อนและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา โอกาสที่ จะเกิ ดการทุ จริ ต ผิดพลาดจึ งมี ไ ด้ง่าย ฝ่ ายบริ หารจึ ง ต้องมี ก ารควบคุ ม การ ดาเนินงานให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้โดยอาศัยกระบวนการควบคุมภายใน เพราะการ ควบคุมภายในจะช่วยให้ผบู ้ ริ หารหรื อผูน้ าองค์กรได้ทราบความเคลื่อนไหว ผลการดาเนินงานและ อุปสรรคข้อขัดแย้งต่างๆ ดังนั้นประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจึงผูกพันกับระบบการควบคุมที่ดี ซึ่ งการ ดาเนินงานระบบการควบคุมภายในของโรงเรี ยนเมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่ามีการควบคุมที่ดีทุก ด้านเรี ยงลาดับ จากมากไปหาน้อย คือ ด้านสารสนเทศและการสื่ อสาร ด้านสภาพแวดล้อมการ ควบคุ ม ด้านกิจกรรมการควบคุม ด้านการประเมินความเสี่ ยง และด้านการติดตามและประเมินผล เนื่ องจากคณะกรรมการฝ่ ายบริ หารของโรงเรี ย นได้มี ก ารก ากับ ดู แล รวมถึ ง การใช้เทคนิ ค การ ควบคุมภายในเพื่อช่วยให้การดาเนินงาน รวมถึงการใช้ทรัพยากรเกิดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล อีกทั้งหน่ วยงานต้นสังกัด คือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 ได้มีการกากับ ติดตาม นิเทศให้การดาเนินงานของโรงเรี ยนเป็ นไปตามระเบียบ กฎหมาย นโยบายและแนวปฏิบตั ิ โดยการ ส่ งเสริ มทั้งด้านข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องทันสมัย รวดเร็ ว น่ าเชื่ อถือ อีกทั้งมีการพัฒนาบุคลากรใน โรงเรี ยนทุกระดับให้มีความรู้ความสามารถในการดาเนินงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของภารกิจ


145

ถิราวุฒิ ทองทรง (2547 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาสภาพและปั ญหาของระบบการควบคุม ภายใน ศึกษากรณี บริ ษทั ไปรษณี ยไ์ ทย จากัด โดยผลการศึกษาสภาพและปั ญหาของระบบการ ควบคุ ม ภายใน พบว่า พนัก งานบริ ษ ทั ไปรษณี ย ์ไ ทย จากัด ส่ วนใหญ่ เป็ นผูป้ ฎิ บ ตั ิ การมากกว่า ผูบ้ ริ หาร และส่ วนใหญ่สังกัดอยูด่ า้ นปฏิบตั ิการ พนักงานบริ ษทั ไปรษณี ยไ์ ทย จากัด ที่มีสถานภาพ ส่ วนบุคคล ได้แก่ ตาแหน่งและด้านหน่ วยปฏิบตั ิงานที่สังกัด ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพของระบบการควบคุมภายในทั้ง 5 ด้าน สามารถเรี ยงลาดับสภาพที่ปฏิบตั ิจากมากไปน้อยตาม ความคิดเห็นของพนักงานบริ ษทั ไปรษณี ยไ์ ทย จากัด คือ ด้านกิจกรรมควบคุม ด้านสภาพแวดล้อม ของการควบคุม ด้านการประเมินความเสี่ ยง ด้านสารสนเทศและการสื่ อสาร และด้านการติดตาม ประเมินผล เนื่องจากสภาพแวดล้อมของการควบคุมได้สร้างบรรยากาศของการควบคุมเพื่อให้เกิ ด ทัศนคติ ที่ดีต่อการควบคุ มภายใน โดยส่ งเสริ มให้พนักงานเกิ ดจิตสานึ กที่ดีในการปฏิ บตั ิงานใน ความรับผิดชอบและตระหนักถึงความจาเป็ นและความสาคัญของการควบคุมภายใน และได้มีการ ประเมินความเสี่ ยงจากปั จจัยภายนอกและปั จจัยภายในที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์จึง ได้จดั ให้มีกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลเพื่อป้ องกันหรื อลดความเสี ยหาย ความผิดพลาดที่ อาจเกิ ดขึ้น ส าหรั บกิ จกรรมการควบคุ ม ในเบื้ องต้นจะต้องแบ่ งแยกหน้า ที่ง าน ภายในองค์กรอย่างเหมาะสมจึงจาเป็ นต้องมีสารสนเทศอย่างเพียงพอและมีการสื่ อสารให้พนักงาน ทราบกันอย่างทัว่ ถึ งและจะต้องมี การติดตามและประมวลผล โดยมี การติ ดตามในระหว่า งการ ปฏิ บตั ิ งานซึ่ งมี ก ารประเมิ นผลจากการประเมินตนเอง และการประเมินการควบคุ ม อย่างอิสระ ส่ วนปั ญหาของระบบการควบคุมภายในโดยรวม เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านสามารถเรี ยงลาดับปั ญหา จากมากไปหาน้ อ ยตามความคิ ด เห็ น ของพนั ก งานบริ ษัท ไปรษณี ย ์ไ ทย จ ากั ด คื อ ด้ า น สภาพแวดล้อมของการควบคุม ด้านสารสนเทศและการสื่ อสาร ด้านการประเมินความเสี่ ยง ด้าน กิ จกรรมควบคุ ม และด้า นการติ ดตามประเมิ นผล เนื่ องจากพนัก งานส่ วนใหญ่ มีค วามคิดเห็ น เกี่ยวกับสภาพของระบบการควบคุมภายในมากที่สุด ประดิษฐ์ ศิริคุปต์ ร.น. (2549) ได้ศึกษาความรู้ความเข้าใจของข้าราชการ สรส.ที่มีต่อการ ควบคุ มภายในตามมาตรฐานที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด ผลการศึกษาแนวทางการ ส่ งเสริ มความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมภายใน พบว่า ข้าราชการ สรส. เห็นด้วยกับแนวทาง ด้านการสร้างสภาพแวดล้อม การควบคุมด้านการพัฒนาบุคลากร และด้านการติดตามประเมินผล เป็ นส่ วนใหญ่ แต่ยงั มี บางหัวข้อที่ ยงั ไม่ชัดเจน คือ การปฏิ บตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่ กาหนดไว้อาจเกิ ดความเสี่ ยงและมีขอ้ ผิดพลาดขึ้นได้ จึงอาจเป็ นไปได้ว่าการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ บางฉบับอาจจะล้าสมัยไม่เหมาะสมที่จะใช้ในการปฏิบตั ิงานในปั จจุบนั รวมทั้ง


146

อาจมี ข ้อความคลุ มเครื อยากต่อการวินิจฉัย ตีค วาม ท าให้เกิ ดความไม่ ม น่ั ใจว่า ปฏิ บตั ิ ไ ปแล้วจะ ถูกต้องหรื อไม่สาหรับข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ หน่ วยงานและผูบ้ ริ หารระดับต่างๆ ควร เน้นการพัฒนาและฝึ กอบรมข้าราชการในสังกัดเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุม ภายใน รวมทั้งพิจารณาทบทวน แก้ไข กฎระเบียบ กฎหมายหรื อข้อบังคับต่างๆที่ใช้ในการปฏิบตั ิ ราชการให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบนั พนารัตน์ วสุ วฒั นศรี (2551 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาแนวทางการดาเนิ นงานการควบคุม ภายในของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด โดยศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินงานการควบคุม ภายในศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด ผลการวิจยั พบว่า สภาพการดาเนินงานการควบคุมภายใน ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด โดยรวมเห็นว่าด้านสภาพแวดล้อมภายในอยู่ในระดับการ ดาเนิ นงานมากกว่าด้านอื่น เนื่ องจากมีการดาเนิ นงานตามนโยบายและวิธีบริ หารด้านบุคลากรที่ เป็ นไปในลักษณะการพัฒนาความรู้ความสามารถเพื่อประสิ ทธิ ผลของการควบคุมภายใน รองลงมา ได้แก่ ด้านสารสนเทศและการสื่ อสาร เนื่ องจากการสื่ อสารให้บุคลากรทุกคนทราบและเข้า ใจ บทบาทหน้าที่ของตนเกี่ยวกับการควบคุมภายในเป็ นสิ่ งสาคัญ รองลงมาเป็ นเรื่ องของการสอบทาน งานโดยผูบ้ ริ หารแต่ละระดับอย่างต่อเนื่องเป็ นประจา การมีส่วนร่ วมในการวิเคราะห์ความเสี่ ยงใน กิ จกรรมที่รับผิดชอบ และ การรายงานผลการปฏิบตั ิงานให้ผบู้ งั คับบัญชาทราบทุกขั้นตอน ส่ วน การด าเนิ นงานการควบคุ ม ภายในของศู น ย์ก ารศึ ก ษาพิ เ ศษประจ าจัง หวัด พบว่า ปั ญหาการ ดาเนิ นงานการควบคุมภายใน ในภาพรวมเห็นว่าด้านการประเมินความเสี่ ยงมีปัญหามากกว่าด้าน อื่น โดยเฉพาะในเรื่ องการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในแต่ละกิจกรรม รองลงมาได้แก่ ด้านกิจกรรม การควบคุมในเรื่ องการพิจารณากาหนดแนวทางการควบคุมเพื่อป้ องกันความเสี่ ยง รองลงมาเป็ น ด้านอื่นๆเป็ นปั ญหาเรื่ อง การทบทวนปรับเปลี่ยนข้อมูลที่รวบรวมได้ให้เป็ นปัจจุบนั อยูเ่ สมอ การนา ข้อมูลที่ได้จากการปฏิ บตั ิงานมาพิจารณากาหนดแนวทางในการดาเนิ นการแก้ไข และปั ญหาเรื่ อง สุ ดท้ายคือ การกาหนดนโยบายและวิธีบริ หารด้านบุคลากรที่เป็ นไปในลักษณะการพัฒนาความรู้ ความสามารถเพื่อประสิ ทธิผลของการควบคุมภายใน ในการบริ หารงานของแนวทางการดาเนินงาน การควบคุมภายในของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด ควรดาเนินการในรู ปของคณะกรรมการ และมี ก ารแต่ ง ตั้ง ผูร้ ั บ ผิ ดชอบอย่า งชัด เจนเป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษรให้ทุ ก คนได้มี ส่ วนร่ ว มในการ ดาเนินงานการควบคุมภายในทุกขั้นตอนตามมาตรฐานของการควบคุมภายใน พรพรรณ นงนุช (2551) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง ปั ญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการ ควบคุ ม ภายใน พบว่า ปั ญหาและอุ ป สรรคในการนาระบบการควบคุ ม ภายในไปปฏิ บ ตั ิ ข อง


147

หน่วยงานราชการในจังหวัดสมุทรสาคร ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม และด้านการประเมินความ เสี่ ยง มีปัญหามาก ซึ่ งเกิดจากการที่บุคลากรในหน่วยงานที่ปฏิบตั ิงานไม่ตรงตามตาแหน่งงาน มีการ จัดทาคู่มือการปฏิบตั ิงานแต่ไม่มีการนามาใช้ประโยชน์จริ ง การส่ งบุคลากรเข้ารับ การฝึ กอบรมไป แล้วไม่นามาปฏิบตั ิงาน หรื อผูเ้ ข้ารับการอบรมไม่ตรงกับงานที่ปฏิบตั ิ และหลังจาก กลับฝึ กอบรม มาแล้วไม่กลับมาถ่ายทอดให้บุคลากรในหน่วยงานทราบ ด้วยปั ญหาทาง ด้านสภาพแวดล้อมการ ควบคุม ส่ งผลให้ประสบปั ญหาทางด้านการประเมินความเสี่ ยง ซึ่ งประเมินความเสี่ ยงเพียงภายใน หน่ วยงานอย่างเดี ยว ไม่มองความเสี่ ยงจากภายนอกที่จะส่ งผลกระทบ ต่อหน่ วยงาน ส่ วนด้าน กิจกรรมการควบคุม ด้านสารสนเทศและการสื่ อสาร และ ด้านการติดตามประเมินผล เป็ นปั ญหา รองลงมา ซึ่ งเกิ ดจากผูบ้ ริ หารมอบหมายให้ เจ้าหน้าที่คนเดียวดาเนิ นงานหลายด้านแต่ไม่มีการ กาหนดการควบคุมอื่นที่เหมาะสม กิจกรรมการควบคุมที่หน่วยงานมีอยูไ่ ม่สอดคล้องกับความเสี่ ยง ที่พบในการประเมินความเสี่ ยง การสอบทานงานของผูบ้ ริ หารไม่สามารถดาเนิ นการได้อย่า ง ต่อเนื่ องและสม่าเสมอ การที่หน่วยงานไม่มีช่องทางให้บุคลากรแสดงความคิดเห็นได้ และการไม่ แจ้งให้บุค ลากรทุกคนใน หน่ วยงานทราบและเข้า ใจบทบาทหน้าที่ของตนเกี่ ยวกับระบบการ ควบคุมภายใน ซึ่ งอาจมีผลมาจากปั ญหาทางด้านประสิ ทธิ ภาพของบุคลากรในองค์กร ที่ยงั อยู่ ระหว่างการปรับตัวให้เข้าการ บริ หารงานสมัยใหม่ที่นามาใช้กบั ระบบราชการ ภัท ราวรรณ วัฒ นศัพ ท์ (2548) ได้ท าการศึ ก ษาเรื่ อ งปั จ จัย ที่ มี ผลต่ อการปนเปื้ อนของ เชื้ อจุ ลินทรี ยใ์ นกระบวนการผลิ ตนมพาสเจอร์ ไ รส์ ของโรงงานแปรรู ปนมขนาดเล็ก พบว่า จาก การศึ กษาครั้ งนี้ ควรมี การขยายผลจากการศึกษา โดยอบรมกับผูป้ ระกอบการโรงงานแปรรู ปนม ขนาดเล็ก ให้มีความรู ้ และความเข้าใจในการล้างทาความสะอาดและฆ่าเชื้ ออุปกรณ์อย่างเข้มงวด รวมทั้งสุ ขลักษณะการผลิ ต การควบคุมคุ ณภาพที่ถูกต้องเพื่อลดความเสี่ ยงของการปนเปื้ อนของ เชื้อจุลินทรี ยใ์ นกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ของโรงงานแปรรู ปนมขนาดเล็ก ภมรมาศ จิตรอาพร (2552) ได้ทาการศึกษาเรื่ องปั ญหาและแนวทางแก้ไขในการจัดการ ธุ รกิจผลิตภัณฑ์นมของสหกรณ์โคนม หนองโพ ราชบุรี จากัด (ในพระบรมราชูปถัมภ์) พบว่า จาก การบริ หารจัดการของสหกรณ์ ที่ไม่ประสบผลสาเร็ จก่อให้เกิ ดปั ญหาต่างๆได้แก่ สมาชิ กสหกรณ์ เลิ ก เลี้ ยงโคนมและไปประกอบอาชี พอื่ นแทนเนื่ องจากไม่ส ามารถปรั บตัวกับต้นทุนการผลิ ตที่ สู งขึ้นได้ หรื อสมาชิ กบางส่ วนไม่จงรักภัคดี กบั สหกรณ์ขายน้ านมดิบให้แก่ ผผู้ ลิตรายอื่น การใช้ ทรัพย์สินของสหกรณ์ไม่เกิดประโยชน์ เช่น มีที่ดินไม่ใช้ประโยชน์ เป็ นต้น ในบางขั้นตอนของการ ปฏิ บ ตั ิ ง านมี แรงงานมากเกิ นความจาเป็ น นอกจากนี้ สหกรณ์ ยงั ประสบปั ญหาน้ า นมดิ บไม่ ไ ด้


148

คุ ณ ภาพตามมาตรฐาน หรื อ แม้แต่ ก ารสู ญ เสี ย ปริ ม าณน้ า นมและการสู ญ เสี ย คุ ณ ภาพน้ า นมใน กระบวนการผลิต ปั ญหามาตรฐานภาชนะและบรรจุภณั ฑ์ไม่เป็ นไปตามที่ตอ้ งการนอกจากบุคลากร ในระดับบริ หาร (คณะกรรมการ)และบุคลากรที่เป็ นสมาชิกสหกรณ์แล้ว บุคลากรที่เป็ นฝ่ ายจัดการ สหกรณ์ เองยังไม่สามารถปฏิ บตั ิงานตอบสนองนโยบายที่แท้จริ งของสหกรณ์ได้ ซึ่ งส่ งผลให้เกิ ด ปั ญหาต่างๆ เช่น ระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกับการจาหน่าย และการซื้ อขายนมโครงการอาหาร เสริ ม (นม) ไม่รัดกุมมีหนี้คา้ งชาระสู ง สิ นค้าคงคลังสู ง สิ นค้าประเภทผลิตภัณฑ์นมเสื่ อมชารุ ดสู ง และการตลาดยังไม่มีประสิ ทธิ ภาพเพียงพอ วิราภรณ์ พึ่งพิศ (2550) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง ปั ญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการ ควบคุมภายในของ บริ ษทั บูรพาอุตสาหกรรม จากัด พบว่า ระดับความคิดเห็ นต่อปั ญหาและ อุปสรรคในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน ของบริ ษทั บูรพาอุตสาหกรรม จากัด ของพนักงาน บริ ษทั บูรพาอุตสาหกรรม จากัด โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับไม่แน่ใจ เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ ในระดับไม่แน่ ใจทุ กด้านโดยค่าเฉลี่ ยสู งสุ ดคือ ด้านกิ จกรรมการควบคุม รองลงมาคือ ด้าน สภาพแวดล้อมการควบคุม และด้านการประเมินความเสี่ ยงต่าสุ ด ซึ่ งไม่สามารถระบุได้อย่างชัดเจน ว่า ใช่ ปั ญหาหรื อไม่ ใช่ ปั ญหาเนื่ องมาจากการรับ รู้ ในเรื่ องความรู้ ความเข้า ใจเกี่ ย วกับระบบการ ควบคุมภายในทาได้ยากและพนักงานบริ ษทั บูรพาอุตสาหกรรม จากัดส่ วนมากอยู่ในตาแหน่ ง ระดับพนักงาน ตรงกับการวิเคราะห์ผล การรับรู้เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในปรากฏว่าอยูใ่ น ระดับรับรู้ได้นอ้ ย อนุสอน เทพสุ วรรณ์ (2551: บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง ปั ญหาของการควบคุมภายใน ทางการบัญชี ของสหกรณ์ การเกษตรในจังหวัดพิษณุ โลก พบว่า มีปัญหามากในการควบคุมภายใน เรื่ องการขาดความรู ้ ในการซื้ อสิ นทรัพย์ถาวรประเภทเทคโนโลยี และรองลงมาเป็ นปั ญหาการ ควบคุมภายในเรื่ องการไม่ทบทวนความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอ การ บัน ทึ ก รายงานการประชุ ม ไม่ ส มบู ร ณ์ แ ละไม่ เ ป็ นปั จจุ บ ัน ผูต้ รวจสอบกิ จการปฏิ บ ัติ หน้า ที่ ตรวจสอบและติดตามการดาเนินงานของสหกรณ์ได้ไม่ครบถ้วน ในการเก็บรักษาเงินสดไม่มีระบบ การรักษาความปลอดภัยที่ดี และไม่มีการตรวจนับเงินสดคงเหลือประจาวันให้ตรงกันกับรายงาน การรับเงินประจาวัน ไม่มีการทบทวนหลักทรัพย์ค้ าประกันของพนักงานที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับเงินสด การจัดเก็บเอกสารไม่สมบูรณ์ หรื อไม่ได้จดั ทาอย่างครบถ้วน สิ นค้าเสื่ อมคุณภาพ และล้าสมัย การ ละเลยการตรวจสอบสิ นค้าคงคลังอย่างสม่าเสมอ การสู ญหายของสิ นทรัพย์ถาวร การละเลยการ ตรวจสอบลูกหนี้ เงิ นให้กูย้ ืมและไม่มีแผนการติดตามแก้ไขลูกหนี้ คา้ งชาระ ซึ่ งระบบการควบคุ ม


149

ภายในทางการบัญชี เป็ นเครื่ องมือของฝ่ ายบริ หารที่จะช่วยป้ องกันความเสี ยหายที่อาจจะเกิดขึ้นกับ กิจการได้เป็ นอย่างดี แต่ในทางปฏิ บตั ิแล้วยังพบปั ญหาในหลายกิ จกรรมทางการบัญชี ซึ่ งเกิ ดจาก พนักงานไม่ปฏิ บตั ิ ตามระบบการควบคุ มภายใน และกิ จการไม่มีบทลงโทษแก่ผูท้ ี่ไม่ปฏิ บตั ิตาม อย่างเข้มงวด ซึ่ งปั จจัยเหล่านี้ส่งผลให้การควบคุมภายในทางการบัญชีไม่มีประสิ ทธิภาพ


บทที่ 3 กรณีศึกษา การศึกษาการควบคุมภายในกระบวนการผลิตของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด ครั้งนี้ เป็ น การศึกษาการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO เพื่อทราบถึงสภาพและปั ญหาของการจัดระบบการ ควบคุมภายในกระบวนการผลิต ประวัติความเป็ นมาของสหกรณ์โคนมบ้ านบึง จากัด เริ่ มจัดตั้งโดยการพัฒนาจากศูนย์รวมน้ านมดิ บของกรมปศุสัตว์ ซึ่ งเป็ นผลสื บเนื่ องจาก โครงการร่ วมมือทางเศรษฐกิ จระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิ กสมาคมอาเซี ยนกับรัฐบาลออสเตรเลีย ซึ่ งได้จดั สรรเงินให้ศูนย์แห่ งนี้ 35,000 เหรี ยญหรื อประมาณ 750,000 บาท และได้รับบริ จาคที่ดิน จานวน 5 ไร่ จากนายดรงศ์ สิ งห์โตทอง เพื่อใช้เป็ นสถานที่จดั ตั้งศูนย์ เริ่ มดาเนินการรวบรวมน้ านม ดิบ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2527 ในรู ปของกลุ่มเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนมร่ วมกันถือหุ ้น ต่อมาในปี 2531 คณะกรรมการร าโดย คุ ณ สุ ร ชัย ศิ ริ ม ัย ได้ด าเนิ น การขอจดทะเบี ย นเป็ นสหกรณ์ เ มื่ อ วัน ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2531 เลขที่ทะเบียนสหกรณ์ที่ สทส (ก) 20/2531 สถานที่ต้ ัง สหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด 24/15 หมู่1 ตาบลหนองซาก อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี 20170 วิสัยทัศน์ เป็ นสถาบันเกษตรกรผลิตนมโคมีคุณภาพ สร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ พัฒนาคุณภาพ ชีวติ เพื่อสมาชิกสหกรณ์ พันธกิจ สร้างสรรค์นมที่มีคุณภาพสู่ สังคม


150

โครงสร้ างองค์ กร ประธานกรรมการ นายจเร นันทพิศาล คณะกรรมการ 10 ท่าน ผูจ้ ดั การ นายกฤชสฤษฎ์ ปิ ดตามาตา รองผูจ้ ดั การ นายประเสริ ฐ เหตุอาหลี แผนกผลิต

แผนกผลิตซ่อมบารุ งช่าง ไฟฟ้ า นายไพศาล ศรี สวัสดิ์ นายสุพจน์

แผนกรับน้ านมดิบ

แผนกพาสเจอร์ไรส์

นายคาบาง ศรี สวัสดิ์ หัวหน้าฝ่ าย นายรุ จิโรจน์ พงศ์พรอนันต์

แผนกควบคุมคุณภาพ นางสาวแจ่มจันทร์ บุตรพุม่ แผนกบรรจุและเก็บ รักษานมพาสเจอร์ไรส์

แผนกบัญชี/ธุรการ นายประเสริ ฐ เหตุอาหลี หัวหน้าฝ่ าย นางสุปรี ญา นาดี นางสาวเพิ่มจันทร์ นางสาวอภิญญา มงคลศิลป์

นายไพศาล ศรี สวัสดิ์ หัวหน้าฝ่ าย นายประนอม นายกวิน ศรัณยโชติ นายชาตรี เจริ ญศิลป์ หัวหน้าฝ่ าย นางสุมาริ นทร์ สุทธิกรม

นางสาวน้ าย้อย แซ่ต้ นั นางราตรี ศรี บุญ นายโกวิทย์ โสภี นางสาวสุวรรณา ริ นโยธา นางปราณี สบประเสริ ฐ (แม่บา้ น)

ภาพที่ 3.1 โครงสร้างองค์กร


151

คาอธิบายอานาจหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบในแผนกผลิต แผนกรับนา้ นมดิบ 1. รั บ ผิ ด ชอบในการวบรวมน้ า นมดิ บ จากสมาชิ ก ตามคุ ณ ภาพ เพื่ อ จ าหน่ า ยให้ ก ับ บริ ษทั เนสท์เล่ (ประเทศไทย) จากัด ขายสดและนาไปผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ 2. รับผิดชอบดูแลควบคุม และส่ งเสริ มการทาน้ านมคุณภาพกาตรวจสอบคุณภาพน้ านม ดิบทั้งจากทั้งสมาชิกและของสหกรณ์ ตลอดจนนมพาสเจอร์ไรส์ที่สหกรณ์ผลิตจาหน่าย 3. ควบคุ มสต็อกน้ านมดิ บเข้าและรับผิดชอบในการจ่ายน้ านมดิ บออกไปผลิ ตนมพาส เจอร์ ไรส์ให้กบั ฝ่ ายผลิต ขายสด และส่ งบริ ษทั เนสท์เล่ (ประเทศไทย) จากัด 4. ควบคุมและติดตามรับผิดชอบในการรับยอดผลิตจากสายส่ งนม ลูกค้าอื่นๆ เพื่อนามา ผลิตตามยอดที่ส่ังโดยให้รับแจ้งยอดจานวนน้ านมดิบที่จะใช้ในการผลิตให้ฝ่ายน้ านมดิบทราบเป็ น การด่วนที่สุด เพื่อแผนกน้ านมดิบจะได้บริ หารสต็อกการใช้น้ านมดิบได้อย่างถูกต้อง 5. ควบคุมดูแลเครื่ องทาความเย็น บ่อน้ าเย็น (Ice Bank) ชิลเลอร์ ระบบ CIP ถัง Cooling Tank และบริ เวณที่รับนมดิบ 6. รับผิดชอบในการล้างน้ ากรองตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ 7. ควบคุมดูแลพนักงานมนความรับผิดชอบให้ปฏิบตั ิหน้าที่อย่างมีประสิ ทธิภาพ 8. อื่นๆที่ได้รับมอบหมาย


152

แผนกพาสเจอร์ ไรส์ 1. ควบคุ ม ดู แลขบวนการผลิ ตนมพาสเจอร์ ไ รส์ เครื่ อ งพาสเจอร์ ไ รส์ ทั้ง ระบบให้มี คุณภาพในการผลิตที่ดี 2. รับผิดชอบดูแลควบคุ มหม้อไอน้ า สาหรับใช้ในขบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ ให้มี ประสิ ทธิ ภาพมีความพร้อมมีความปลอดภัยที่จะผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 3. รับผิดชอบเรื่ องการสอบเทียบเครื่ องมือ และอุปกรณ์ทุกปี 4. รับผิดชอบในการล้างน้ ากรองตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ 5. ควบคุมพนักงานในความรับผิดชอบให้ปฏิบตั ิหน้าที่อย่างมีประสิ ทธิภาพ 6. อื่นๆที่ได้รับมอบหมาย แผนกบรรจุและเก็บรักษานมพาสเจอร์ ไรส์ 1. รับผิดชอบในขบวนการบรรจุนมพาสเจอร์ ไรส์ให้มีประสิ ทธิ ภาพทั้งด้านปริ มาณ ซี ซี. และขนาดของถุงอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 2. รับผิดชอบดู แลควบคุ ม เครื่ องบรรจุ นมพาสเจอร์ ไรส์ ท้ งั 4ตัว ให้มีความพร้ อมที่จะ ทางานได้อย่างมีคุณภาพ 3. รับผิดชอบดูแลทาความสะอาดห้องเย็น เครื่ องทาความเย็นของห้องเย็นเก็บรักษานม พาสเจอร์ ไรส์ให้ได้ตามเกณฑ์ของความเย็นที่กาหนด 4. ทาความสะอาดเก็บรักษากระบะบรรจุนมพาสเจอร์ไรส์ให้สะอาดพร้อมที่จะใช้งานได้ ตลอดเวลา


153

5. นมพาสเจอร์ ไรส์ ที่ร่ัวในขบวนการบรรจุให้ตดั ใส่ ภาชนะที่สะอาดให้แผนกพาสเจอร์ ไรส์นากลับไปพาสเจอร์ ไรส์ใหม่ (ห้ามเทลงในถังนมที่พาสเจอร์ไรส์แล้วเด็ดขาด) 6. ให้หัวหน้าฝ่ ายรับผิดชอบดูแลระบบไฟฟ้ าของโรงงานและเครื่ องปั่ นไฟฟ้ าเป็ นกรณี พิเศษด้วย 7. ควบคุมดูแลพนักงานในความรับผิดชอบให้ปฏิบตั ิหน้าที่อย่างมีประสิ ทธิภาพ ขั้นตอนการปฏิบัติงานในกระบวนการผลิตของสหกรณ์โคนมบ้ านบึง จากัด กระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ การปฏิ บ ตั ิ ง านในกระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ ไ รส์ ใ ห้มี ม าตรฐานและถื อปฏิ บ ัติ ใ น แนวทางเดียวกัน ทั้งกาหนดกฎ รายละเอียดขั้นตอนการทางาน การเตรี ยมเครื่ องมือและอุปกรณ์ใน กระบวนการผลิต วิธีการปฏิบตั ิงาน การออกบิลและการบันทึกการปฏิบตั ิงานลงในแบบฟอร์ ม การ ตรวจสอบแบบฟอร์ ม ของแต่ ล ะแผนก เพื่ อ ความครบถ้ ว นและสามารถตรวจสอบระบบ กระบวนการผลิตได้ 1. แผนกรับนา้ นมดิบ รายละเอียดขั้นตอนการทางาน หลังจากพนักงานรับน้ านมดิบฆ่าเชื้ อถังเก็บน้ านมดิบแล้ว ให้ปฏิบตั ิตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ การเตรี ยมเครื่ องจักร เครื่ องมือ และอุปกรณ์ ก่อนที่จะมีการรับน้ านมดิบทุกครั้ง พนักงาน รับน้ านมดิบต้องเตรี ยมเครื่ องจักร เครื่ องมือ และอุปกรณ์ดงั นี้ 1. จัดหาผ้าขาวบางที่สะอาดไม่มีกลิ่นเหม็นหรื อคราบสกปรก ขึงด้านในของอ่างรับน้ านม ดิบแล้วใช้ตวั หนีบ หนีบไว้กบั ของอ่างให้แน่น 2. ปิ ดวาล์วบริ เวณช่องปล่อยนมออกจากอ่างรับน้ านมดิบ


154

3. ใส่ ที่กรองนมบริ เวณท่อส่ งน้ านมดิบ 4. ต่อท่อน้ านมดิบเข้า RM20 , RM3 5. ปรับน้ าหนักของตราชัง่ โดยปฏิบตั ิดงั นี้ วิธีการปรับน้ าหนักของตราชัง่ 1. เสี ยบปลัก๊ ไฟ

หน้าจอโชว์.............

2. กด SET

หน้าจอโชว์ SEE

3. กด SM

หน้าจอโชว์ CHL ZERO

4. กด ZERO

หน้าจอโชว์ CHL O

5. กด SET

หน้าจอโชว์ 0000.00

6. ใส่ ลูกตุม้ 20 กิโลกรัม กดใส่ น้ าหนักโดยการกด + / 7. กด SET

หน้าจอโชว์ 20.00 กิโลกรัม

8. เปิ ดวาล์วท่อน้ าเย็นให้น้ าเย็นไหลเข้าสู่ เครื่ องแลกเปลี่ ยนความร้ อน (PHE) เพื่อทา หน้าที่ลดอุณหภูมิน้ านมดิบที่รับเข้ามา การตรวจสอบคุณภาพน้ านมดิบและรับน้ านมดิบ เมื่อสมาชิ กนาน้ านมดิบมาส่ ง ให้สมาชิ กวางถังน้ านมดิบลงบนรางรับน้ านมดิบ พนักงาน รับน้ านมดิบต้องตรวจสอบคุณภาพก่อนการรับซื้อทุกถัง ดังนี้


155

1. ตรวจสอบความสะอาด ของน้ านมดิบ น้ านมดิบต้องไม่มีสิ่งเจือปน เช่นมูลวัว แมลง หรื อเศษใบไม้ เป็ นต้น 1.1 ถ้าน้ านมดิบถังนั้น สกปรก มีสิ่งเจือปนถือว่าน้ านมดิบถังนั้นไม่ผา่ นการรับซื้อ 1.2 ถ้าน้ านมดิบถังนั้นไม่มีสิ่งสกปรก ไม่มีส่ิ งเจือปน ถือว่าน้ านมดิบถังนั้นผ่านการ รับซื้อให้ทาการตรวจสอบตามข้อ 2 ต่อไป 2. ตรวจสอบกลิ่นสี ของน้ านมดิบ 2.1 สี ตอ้ งเป็ นสี ขาวไม่มีสีอื่น เช่น สี ชมพู สี เหลือง สี เทา เจือปน 2.2 กลิ่นต้องเป็ นกลิ่นธรรมชาติของนม ไม่มีกลิ่นเหม็น กลิ่นเปรี้ ยวหรื อกลิ่นฉุน 2.3 ถ้าน้ านมดิบถังนั้นมีสีและกลิ่นผิดไปจากที่ระบุขา้ งต้นถือว่านมดิบถังนั้นไม่ผา่ น การรับซื้อ 2.4 ถ้าน้ านมดิ บถังนั้นมีสีและกลิ่ นเป็ นไปตามที่ระบุขา้ งต้นถือว่าน้ านมดิบถังนั้น ผ่านให้ทาการตรวจสอบตามข้อ 3 ต่อไป 3. ตรวจสอบด้วย 75% แอลกอฮอล์ โดยปฏิบตั ิดงั นี้ 3.1 นา 75% แอลกอฮอล์ใส่ แอซิดมิเตอร์ 3.2 ให้ปลายของแอซิ ดมิเตอร์ จุ่มลงในถังน้ านมดิบของสมาชิกให้อยูใ่ นแนวตั้งฉาก แล้วยกลง แอลกอฮอล์กบั น้ านมดิบจะไหลรวมกันดูการตกตะกอน ถ้า ตกตะกอน ถื อ ว่ า น้ า นมดิ บ ไม่ ผ่ า นการรั บ ซื้ อ พนัก งานรั บ น้ า นมดิ บ ต้อ งแจ้ง พนักงานควบคุมคุณภาพ ให้ตรวจสอบซ้ าโดยวิธีการตรวจสอบ COB


156

ถ้าตรวจ75% แอลกอฮอล์ไม่ตกตะกอน ถือว่าน้ านมดิบผ่านการรับซื้ อให้พนักงานรับ น้ านมดิบ ปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไป 4. ตรวจสอบด้วย CMT โดยปฏิบตั ิดงั นี้ 4.1 ใช้กระบวนการดักน้ านมดิบใส่ จานหลุมผสมกับน้ านาCMT ในปริ มาณเท่าๆกัน 4.2 แกว่งถาดหลุมช้าๆ อ่านผลภายใน 5-10 นาที ดูความหนืดของน้ านมดิบ ถ้าหนืด ถื อว่า น้ านมดิ บไม่ผ่านการรั บซื้ อ ถ้าตรวจ CMT ไม่หนื ดหรื อเหนี ยว ถือว่าผ่านการรับซื้ อ ให้ พนักงานรับน้ านมดิ บปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปความถี่ในการตรวจ จะต้องตรวจอย่างน้อยสัปดาห์ ละ 1 ครั้ง 4.2.1 กดปุ่ ม “TARE” ที่เครื่ องชัง่ เพื่อให้หน้าจอแสดงตัวเลข “0.00” แล้วจึง ให้พนักงานรับน้ านมดิบ เทน้ านมดิบสมาชิกที่ผา่ นการรับซื้อลงในอ่างชัง่ น้ านมดิบ 4.2.2 รอจนกระทัง่ ตัวเลขที่ ข้ ึ นหน้า จอของเครื่ องชั่ง คงที่ อ่า นค่ า ที่ ไ ด้แล้ว ปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไป

การออกบิลและบันทึกการปฏิบตั ิงานลงแบบฟอร์ม 1. บันทึกลงแบบฟอร์ มในรับน้ านมดิบรายสมาชิ ก เมื่อทาการชัง่ น้ าหนักน้ านมดิบของ เกษตรกรแต่ละรายสมาชิกเสร็ จให้พนักงานรับน้ านมดิบออกบิลคือ 1.1 บันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์มเลขที่ F-PM-04 แบบฟอร์มใบรับน้ านมดิบ 1.2 เมื่อรับน้ านมดิบในช่วงเย็นเสร็ จให้รวมน้ านมดิบของสมาชิกที่รับเข้าช่วงเช้าและ ช่วงเย็นของวันนั้นแล้วแจ้งให้หวั หน้าฝ่ ายรับน้ านมดิบทราบ


157

1.3 ในแต่ละอาทิตย์ให้นาแบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-04 แบบฟอร์ มใบรับน้ านมดิบส่ ง ให้ฝ่ายธุ รการดาเนินการต่อไป 2. บันทึกผลการตรวจสอบคุณภาพน้ านมดิบรายสมาชิกในแบบฟอร์ม 2.1 บันทึกผลการตรวจคุณภาพน้ านมดิบลงในแบบฟอร์ ม F-PM-05 แบบฟอร์ มการ ตรวจรับและการเก็บรักษาน้ านมดิบ 2.2 เมื่อบันทึกข้อมูลการตรวจสอบคุณภาพน้ านมดิบของเกษตรครบทุกรายแล้วให้ นาเสนอต่อหัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพทุกสัปดาห์ หลังเสร็ จการรับน้ านมดิบในช่วงเย็น บันทึกการเก็บรักษาน้ านมดิบลงในแบบฟอร์ม ทุ กครั้งเมื่ อมี การเก็บ รั กษาน้ านมดิ บในถัง เก็บรักษาน้ านมดิ บพนักงานรับน้ านมดิ บต้อง บันทึกอุณหภูมิน้ านมดิ บลงในแบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-06 แบบฟอร์ มการบันทึกอุณหภูมิการเก็บ รักษาน้ านมดิบ โดยการบันทึกทุกๆชัว่ โมงและให้นาเสนอหัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพทุกสัปดาห์

การตรวจสอบแบบฟอร์ม เมื่อหัวหน้าฝ่ ายควบคุ มคุณภาพและธุ รการได้รับแบบฟอร์ มจากพนักงานรับน้ านมดิบแล้ว ให้ดาเนินการดังนี้ 1. หัว หน้ า ฝ่ ายควบคุ ม คุ ณ ภาพตรวจสอบและลงชื่ อ ในแบบฟอร์ ม เล ขที่ F-PM-05 แบบฟอร์ มการตรวจรับและการเก็บรักษาน้ านมดิบและแบบฟอร์ ม F-PM-06 แบบฟอร์ มการบันทึก อุณหภูมิการเก็บรักษาน้ านมดิบแล้วดาเนินการจัดเก็บเข้าแฟ้ ม 2. ธุ รการตรวจสอบและลงชื่อในแบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-04 แบบฟอร์ มเก็บรักษาน้ านม ดิบแล้วจัดเก็บเข้าแฟ้ ม


158

การลดอุณหภูมิน้ านมดิบและเก็บรักษาน้ านมดิบในถังเก็บน้ านมดิบ เมื่ อทาการออกบิ ลและบันทึกผลการตรวจสอบคุ ณภาพน้ านมดิ บในแบบฟอร์ มดังกล่ าว เสร็ จให้พนักงานรับน้ านมดิบปั๊ มน้ าไปเก็บในถังเก็บน้ านมดิบโดยผ่านเพลทเย็นเพื่อลดอุณหภูมิของ น้ านมดิบเหลือ 4°C และเก็บในถังเก็บรักษาน้ านมดิ บโดยรักษาไว้ที่อุณหภูมิ ≤ 4°C และไม่นาน เกิน 36 ชม. โดยปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่างๆดังนี้ 1. ปล่ อยน้ า นมดิ บ เข้า สู่ ถ ัง เก็ บ น้ า นมดิ บ ดู ข้ นั ตอนการเก็ บ รั ก ษาน้ า นมดิ บ จากอ่ า งรั บ น้ านมดิบถึงถังเก็บน้ านมดิบที่กาหนด RM 0 , RM3 ตามรู ปภาพที่แสดงทิศทางการไหลของนมใน ส่ วนของการรับน้ านมดิบและเก็บรักษาน้ านมดิบจากนั้นให้พนักงานรับน้ านมดิบนาป้ ายมาติดไว้วา่ ถังใดมีน้ านมดิบเก็บรักษาน้ านมดิบ 2. การไล่น้ านมดิ บค้างท่อและเพลท ต่อท่อการไล่น้ าตาม รู ปภาพแสดงทิศทางการไหล ของน้ าเพื่อไล่ น้ านมดิ บออกจากท่อและเพลท จากนั้นทาการล้างทาความสะอาดในส่ วนการรับ น้ านมดิบโดยปฏิบตั ิตามการล้างทาความสะอาดในส่ วนการรับน้ านมดิบหลังการใช้งาน


159

ผังกระบวนการทางานแผนกรับนา้ นมดิบ

1. รับน้ านมดิบจากเกษตรกร ในแบบฟอร์มใบรับ น้ านมดิบ F-PM-04 โดย : พนักงานรับน้ านมดิบ 2. ชัง่ น้ าหนัก และตรวจสอบคุณภาพน้ านมดิบ โดย : พนักงานรับน้ านมดิบ

3. ส่งคืนนมให้เกษตรกรนาไปเลี้ยงลูกวัว ไม่ผไม่า่ นผา่ น

โดย : พนักงานรับน้ านมดิบ

ผ่ผ่าานน 3. กรองน้ านมดิบลงในพาชนะที่เตรี ยมไว้ กรองด้วย ผ้าขาวบาง โดย : พนักงานรับน้ านมดิบ 4. ส่งนมผ่านท่อที่มีการฆ่าเชื้อเพือ่ ไปยังถังเก็บ น้ านมดิบชัว่ คราว โดย : พนักงานรับน้ านมดิบ 5. เก็บรักษาน้ านมดิบในถังเก็บน้ านมดิบ อุณหภูมิ น้อยกว่าหรื อเท่ากับ 4 องศาเซลเซียส นานไม่เกิน 30 ชม. โดย : พนักงานรับน ้านมดิบ 5.1 บันทึกอุณหภูมิการเก็บรักษาน้ านมดิบ ใน แบบฟอร์ม F-PM-06 โดย : พนักงานรับน้ านมดิบ

ภาพที่ 3.2 ผังกระบวนการทางานแผนกรับน้ านมดิบ

5.2 ตรวจสอบแบบฟอร์ม F-PM-04, F-PM-05 , F-PM-06 โดย : ธุรการและหัวหน้าฝ่ ายควบคุม คุณภาพ


160

การล้างทาความสะอาดในส่ วนการรับน้ านมดิบหลังการใช้งาน 1. เครื่ องจักร เครื่ องมือ อุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ 1.1 ปั๊ ม (Pu1,Pu2,Pu3,Pu4,Pu5) 1.2 สายยาง 2 เส้น 1.3 นาฬิกา 1.4 ถัง CIP ชุด 1 1.5 ถ้วยตวงสารเคมี 1.6 สารทาความสะอาดชนิดด่าง โซเดียมดรอกไซด์ (โซดาไฟชนิดเกล็ด) 99% 1.7 สารทาความสะอาดชนิดกรด (Phosphonic Acid36%) Pat39 1.8 กระดาษลิตมัสสี แดง 1.9 กระดาษลิตมัสสี น้ าเงิน


161

2. แผนภาพการล้างทาความสะอาดในส่ วนการรับน้ านมดิบหลังการใช้งาน 2.1 ประกอบท่อและสายยางเตรี ยมทาการล้างทาความสะอาด โดย พนักงานรับน้ านมดิบ 2.2 ล้างคราบน้ านมดิบด้วยน้ าสะอาด โดย พนักงานรับน้ านมดิบ

ตรวจสอบความเข้มข้นของสารเคมี โดย พนักงานควบคุมคุณภาพ

2.3 ล้างด้วยด่างความเข้มข้น 1% ที่อุณหภูมิ 80-90°C นาน 20 นาที โดย พนักงานรับน้ านมดิบ 2.4 ล้างคราบด่างด้วยน้ าสะอาด นาน 10 นาที โดย พนักงานรับน้ านมดิบ

ภาพที่ 3.3 แผนภาพการล้างทาความสะอาดในส่ วนการรับน้ านมดิบหลังการใช้งาน


162

ต่อ ตรวจสอบด้วยกระดาษลิตมัสสี แดง เปลี่ยนเป็ นสี น้ าเงิน ไม่เปลี่ยนสี 2.5 ล้างด้วยกรด (สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) ความเข้มข้น 0.7% ที่อุณหภูมิ 80-90°C นาน 20 นาที โดย พนักงานรับน้ านมดิบ 2.6 ล้างคราบกรดด้วยน้ าสะอาดนาน 10 นาที โดย พนักงานรับน้ านมดิบ

ตรวจสอบด้วยกระดาษลิตมัสสี น้ าเงิน

เปลี่ยนเป็ นสี แดง

ไม่เปลี่ยนสี 2.7 บันทึกผลลงในแบบฟอร์ม (F-Cl-01) โดย พนักงานรับน้ านมดิบ

2.8 ตรวจสอบแบบฟอร์ม (F-Cl-01) โดย หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพ

ภาพที่ 3.3 แผนภาพการล้างทาความสะอาดในส่ วนการรับน้ านมดิบหลังการใช้งาน (ต่อ)


163

3. รายละเอียดขั้นตอนการทางาน ก่อนที่พนักงานรับน้ านมดิบจะทาการล้างทาความสะอาดด่างและกรดให้แจ้งพนักงาน ควบคุมคุณภาพตรวจสอบความเข้มข้นของสารเคมีและบันทึกผลลงในแบบฟอร์ ม โดยปฏิบตั ิตาม เอกสารเลขที่ Wf-OC-Cl-Cc เรื่ องตรวจสอบความเข้มข้นสารเคมีล้างทาความสะอาดเครื่ องจักร เครื่ องมือและอุปกรณ์ และต้องล้างกรดทุกสัปดาห์หลังจากล้างด่างเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว โดยปฏิบตั ิ ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.1 ประกอบท่อและสายยางเตรี ยมล้างทาความสะอาด 3.1.1 ประกอบท่อและสายยางเตรี ยมล้างทาความสะอาดท่อและเพลทของ การรับน้ านมดิบเสร็ จแล้ว 1)

ประกอบท่อบริ เวณสวิงเพลทชุด 3 ให้อยูภ่ ายหน้าเพลท

2) โดยดู ข้ นั ตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านตามเอกสารเลขที่ Rf-Cl-03 เรื่ อ ง รู ปภาพแสดงทิศทางการไหลของสารทาความสะอาดในส่ วนท่อและเพลทของการรับน้ านมดิบ 3.1.2 ประกอบท่ อ และสายยางเตรี ย มล้า งท าความสะอาดถัง เก็ บ น้ า นมดิ บ หลังจากใช้น้ านมดิบหมดถังแล้ว 1) ประกอบท่อบริ เวณสวิงเพลท ชุด 1 ให้เข้ากับหัวสเปรย์บอตและ ถังเก็บน้ านมดิบของชุดที่จะทาการล้างและทาความสะอาด 2) โดยดู ข้ นั ตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านตามเอกสารเลขที่ Rf-Cl-02 เรื่ อ ง รู ปภาพแสดงทิศทางการไหลของสารทาความสะอาดในส่ วนของถังเก็บรักษาน้ านมดิบ 3.1.3 ประกอบท่อและสายยางเตรี ยมล้างทาความสะอาดในส่ วนของการรับ น้ านมดิบ


164

1) ประกอบบริ เวณสวิงเพลทชุด 1 ให้อยูใ่ นสายหน้าถึง RM20,RM3 แล้วนาสายยางต่อจากสวิงเพลท ชุด 2 เข้าท่อรับน้ านมดิบบริ เวณอ่างรับน้ านมดิบ 2) ในกรณี มีการล้างทาความสะอาดถังน้ านมดิบพร้อมท่อและเพลท ให้นาสายยางยาวประกอบ ยูเนียนใส่ ปั๊ม Pu2 แล้วนาปลายอีกด้านต่อเข้ากับสวิงชุด 1 ของหัวสเปรย์ บอลของถังรับน้ านมดิบเพื่อทาให้ด่างและกรดวนเข้ามาใส่ ถงั ชุด CIP 3) โดยดู ข้ นั ตอนการปฏิ บ ตั ิ ง านตามเอกสารเลขที่ Rf-Cl-04 เรื่ อ ง รู ปภาพแสดงทิศทางการไหลของสารทาความสะอาดและสารฆ่าเชื้อในส่ วนของการรับน้ านมดิบ 3.1.4 ประกอบและสายยางเตรี ยมล้างทาความสะอาดรถบรรทุกน้ านมดิบ 1)

ประกอบท่อบริ เวณสวิงเพลท ชุด 1 ให้อยูร่ ายหน้าเพลท

2) นาสายยางประกอบใส่ สวิงเพลทชุ ด 2 แล้วนาปลายสายยางอี ก ด้านหนึ่งประกอบเข้าหัวสเปร์ยบอลของรถ 3) นาสายยางอี ก เส้ น ต่ อบริ เวณท่ อ น้ า นมดิ บ ออกจากรถ แล้ว น า ปลายสายยางอีกด้านหนึ่งต่อเข้ากับปั๊ ม Pu2 3.2 ล้างคราบน้ านมดิบด้วยน้ าสะอาด เปิ ดวาล์วท่อปล่อยนมแล้วใช้น้ าสะอาดไล่น้ า จนหมดคราบนม 3.3 ล้างด่างความเข้มข้น 1 % ในน้ าร้อนอุณหภูมิ 80-90°C นาน 20 นาที 3.3.1 เปิ ดน้ าสะอาดด้านบนปริ มาณ 300 ลิตรใส่ ถงั ชุด CIP ชุด 1 ชนิดด่างที่ อุณหภูมิ 80-90°C แล้วเทสารทาความสะอาดชนิดด่างไหลเวียนในส่ วนของการรับน้ านมดิบเป็ น เวลา 20 นาที


165

3.3.2 โดยดูข้ นั ตอนการล้างทาความสะอาดในส่ วนของการรับน้ านมดิบตาม เอกสารเลขที่ Rf-Cl-04 เรื่ อง รู ปภาพ แสดงทิศทางการไหลของสารทาความสะอาดและสารฆ่าเชื้ อ ในส่ วนของการรับน้ านมดิบ 3.3.3 เมื่ อครบเวลาที่กาหนดปิ ดปั๊ ม Pu5 แต่ให้ป๊ั ม Pu4,Pu3,Pu2 ทางานต่อ เพื่อปั๊ มสารทาความสะอาดชนิดด่างให้ไหลกลับมาอยูท่ ี่ถงั CIP ชุด 1 ตามเดิม 3.3.4 กรณี ที่ใช้สารครั้งที่2 ให้ดูป้ายที่พนักงานควบคุ มคุ ณภาพแขวนไว้ว่า ความเข้มข้นของสารมี เท่าไหร่ ถ้าความเข้มข้นไม้ได้ตามที่กาหนดให้เติมสารให้ได้ความเข้มข้น ตามที่กาหนด 3.4 ล้างคราบด่างด้วยน้ าสะอาด นาน 10 นาที 3.4.1 ปิ ดปั๊ ม Pu4,Pu3,Pu2 เปิ ดวาล์วน้ าสะอาดและปั๊ ม Pu5 ล้างสารทาความ สะอาดแกให้หมดในส่ วนของการรับน้ านมดิบ จับเวลา 10 นาที 3.4.2

ใช้กระดาษลิตมัสสี แดงแตะน้ าบริ เวณท่อน้ าทิ้งเพื่อตรวจดูสารเคมีตด

ค้าง โดยดูผลดังนี้ 1) ถ้ากระดาษลิตมัสสี แดงเป็ นสี น้ าเงินแสดงว่ายังมีด่างตกค้างอยูใ่ ห้ ล้างน้ าสะอาดต่ออีก 5 นาที จนกระทัง่ เมื่อตรวจด้วยกระดาษลิตมัสไม่เปลี่ยนสี 2) ถ้า กระดาษลิ ต มัส ไม่ เ ปลี่ ย นสี แสดงว่ า สารเคมี ถู ก ล้ า งออก หมดแล้ว 2.1) กรณี ไม่มีการล้างด้วยกรดให้ปล่อยน้ าค้างท่อและประกอบ ท่อให้เหมือนเดิม 2.2) กรณี ที่วนั นั้นมีการล้างด้วยกรดต่อให้ปฏิบตั ิตามข้อ 6.5 ต่อไป


166

3.5 ล้างกรดความเข้มข้น 0.7% ในน้ าอุณหภูมิ 80-90°C นาน 20 นาที 3.5.1 เปิ ดน้ าสะอาดปริ มาณ 300 ลิตร ใช้ถงั CIP ชุ ด1 ชนิ ดกรดที่อุณหภูมิ 80-90°C แล้วเทสารทาความสะอาด กรดจานวน 6 ลิตร ลงในถัง CIP ชุด1 3.5.2 เปิ ดปั๊ ม Pu5,Pu4,Pu3,Pu2 แล้วจับเวลาให้สารทาความสะอาดชนิดกรด ไหลเวียนในส่ วนของการรับน้ านมดิบ เป็ นเวลา 20 นาที 3.5.3 เมื่อครบเวลาที่กาหนดปิ ดปั๊ ม Pu5 แต่ให้ป๊ั ม Pu4,Pu3,Pu2 ทางานต่อ เพื่อปั๊ มสารทาความสะอาดชนิดกรดให้ไหลกลับมาอยูท่ ี่ถงั CIP ชุด 1 ตามเดิม 3.6 ล้างคราบกรดด้วยน้ าสะอาด นาน 10 นาที 3.6.1 ปิ ดปั๊ ม Pu4,Pu3,Pu2 เปิ ดวาล์วน้ าสะอาดและปั๊ ม Pu5 ล้างสารทาความ สะอาดออกให้หมดในส่ วนของการรับน้ านมดิบ จับเวลา 10 นาที 3.6.2 ใช้กระดาษลิตมัสสี น้ าเงินแตะน้ าบริ เวณท่อน้ าทิ้งเพื่อตรวจดูสารเคมี ตกค้าง โดยดูผลดังนี้ 1) ถ้ากระดาษลิตมัสสี น้ าเงินเป็ นสี แดงแสดงว่ายังมีด่างตกค้างอยูใ่ ห้ ล้างน้ าสะอาดต่ออีก 5 นาที จนกระทัง่ เมื่อตรวจด้วยกระดาษลิตมัสไม่เปลี่ยนสี 2) ถ้ากระดาษลิตมัสไม่เปลี่ยนสี แสดงว่าสารเคมีถูกล้างออกหมดแล้ว 2.1) เปิ ดวาล์วให้น้ าสะอาดไหลออกจากท่อให้หมดจึงปิ ดวาล์ว ให้เรี ยบร้ อยในการเลื อกใช้การล้างทาความสะอาดในส่ วนของการรับนมดิบในแต่ละส่ วนนั้นให้ เลือกใช้ดงั นี้


167

2.2) การล้างทาความสะอาดถังเก็บน้ านมดิบให้ดูข้ นั ตอนการ ปฏิบตั ิงานตามเอกสารเลขที่ Rf-Cl-02 เรื่ อง รู ปภาพ แสดงทิศทางการไหลทาความสะอาดในส่ วน ของถังเก็บรักษาน้ านมดิบ 2.3) การล้างทาความสะอาดในส่ วนท่อและเพลทของการรับน้ า ยมดิ บ ให้ดูข้ นั ตอนการปฏิ บตั ิงานตามเอกสารเลขที่ Rf-Cl-03 เรื่ อง รู ปภาพแสดงทิศทางการไหล ของสารทาความสะอาดในส่ วนของท่อและเพลทของการรับน้ านม 2.4) การล้างทาความสะอาดและการฆ่าเชื้ อในส่ วนของการรับ น้ านมดิบให้ดูข้ นั ตอนการปฏิบตั ิงานตามเอกสาร เลขที่ Rf-Cl-04 เรื่ อง รู ปแสดงทิศทางการไหลของ สารทาความสะอาดและสารฆ่าเชื้อในส่ วนของการรับน้ านมดิบ 3.7 บันทึกลงในแบบฟอร์ม ทุกครั้งหลังจากล้างทาความสะอาดในส่ วนของการรับน้ านมดิบเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วให้ ลงบันทึกในแบบฟอร์ ม F-Cl-01 แบบฟอร์ มการล้างทาความสะอาดและการฆ่าเชื้ อในส่ วนของการ รับน้ านมดิบนาเสนอต่อหัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพตรวจสอบทุกสัปดาห์เพื่อดาเนินการต่อไป 3.8 ตรวจสอบแบบฟอร์ม เมื่ อหัวหน้าฝ่ ายควบคุ มคุณภาพ ได้รับแบบฟอร์ มจากพนักงานรับน้ านมดิบแล้วให้ ดาเนินการตรวจสอบและลงชื่อในแบบฟอร์มเลขที่ F-Cl-01 แบบฟอร์ มการล้างทาความสะอาดและ การฆ่าเชื้อในส่ วนการรับน้ านมดิบและการปรุ งผสมนมฟลูออไรด์ และดาเนินการจัดเก็บเข้าแฟ้ ม


168

2. แผนกพาสเจอร์ ไรส์ เมื่อเตรี ยมความพร้ องของเครื่ องพาสเจอร์ ไรส์ โดยพนักงานตรวจสอบคุณภาพของน้ านม ดิ บ การวัดนมรสจืด และคุ ณภาพนมปรุ งรสผ่านพนักงานพาสเจอร์ ไรส์ นานมพาสเจอร์ ไรส์ ปรุ ง ผสม โดยเรี ยงลาดับ คือ นมพาสเจอร์ไรส์ นมจืด นมหวาน นมสตรอเบอรี่ และนมโกโก้ โดยปฏิบตั ิ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. เปิ ดปั๊ ม PU 7 ปั๊ มนมพาสเจอร์ไรส์ 2. ปั๊ มขนส่ งนมเข้าการพาสเจอร์ไรส์ข้ นั ที่ 3 เพื่อเพิ่มอุณหภูมิไปตามลาดับโปรดักซ์ 3. เข้าโฮโมจิไนซ์ ใช้ความดัน 1,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว 4. เข้าการพาสเจอร์ ไรส์ ข้ นั ที่ 4 เพื่อเพิ่มอุณหภูมิโปรดักซ์กบั กับน้ าร้อนที่ 75-80 °C เป็ น เวลา 20 นาที 5. เข้ า ผ่ า นแผ่ น แลกเปลี่ ย นความร้ อ นด้ า นเย็ น จะไหลไปยัง ถัง รอบรรจุ อุ ณ หภู มิ นมเย็น5 °C การเปลี่ยนรสนม หลังจากทราบยอดผลิตและเบิกของแล้วพนักงานแผนกผลิตทาการผลิตและ ปรุ งผสม โดย เรี ยงลาดับ คือ รสจืด รสหวาน นมสตรอเบอรี่ และนมโกโก้ 1. เปิ ดปั๊ มนมดิบ Pu7 ตามปริ มาณที่ใช้ ตามจานวนที่ตอ้ งการผลิตและปรุ งผสม แต่ละรส 2. กรณี รสจืด ดึงเข้าระบบพาสเจอร์ไรส์โดยผ่านถัง Mixและถัง SB 3. กรณี นมรสหวานให้เทน้ าตาลทรายที่ชง่ั แล้วเทลงไปในถังMixและเปิ ดใบพัดตีผสม เพื่อให้น้ าตาลทรายละลาย


169

4. กรณี นมรสโกโก้ให้เทผงโกโก้พร้อมกับน้ าตาลทรายตามปริ มาณที่คานวณสู ตรไว้ลง ผสมกับนมดิ บจานวน 200 ลิตร ในถัง SB แล้วเปิ ดใบพัดตีผสมเพื่อให้น้ าตาลทรายกับผงโกโก้ ละลายเข้ากับนมดิบ จากนั้นปั๊มนมดิบเข้าเพิ่มตามปริ มาณที่ตอ้ งการปรุ งผสม โดยใช้อุณหภูมิไม่เกิน 10˚C เวลาไม่เกิน 30 นาที 5. เมื่อปรุ งผสมเสร็ จให้แจ้งพนักงานควบคุมคุณภาพทราบ เพื่อทาการตรวจสอบคุณภาพ ตามเอกสารเลขที่ WI-QC-Pr-Mix เรื่ องการตรวจสอบคุณภาพการปรุ งผสม 6. กรณี ไม่ผา่ น ให้พนักงานแผนกผลิต ทาการแก้ไข และปรับอัตราส่ วนใหม่ 7. กรณี ผ่าน ให้ดาเนิ นการต่อไป ตาม แบบฟอร์ ม (F – PM - 07) เรื่ อง การพาสเจอร์ ไรซ์ หลังจากทาการผลิตเสร็ จ ให้ทาการล้างตามเอกสาร WI-Cl-CIP-Mix-02 เรื่ องการล้างทา ความสะอาดถังปรุ งผสมและถังรอพาสเจอร์ไรซ์หลังการใช้งาน


170

ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานการปรุ งผสมนม

1. รับยอดผลิตนมปรุ งผสม กาหนดปริ มาณ และคานวณสูตรในการปรุ งผสม โดย : พนักงานแผนกผลิต

การปั๊ มน้ านม

2. เบิกวัตถุดิบสาหรับการปรุ งผสม โดย : พนักงานแผนกผลิต

3. ปรุ งผสมนม อุณหภูมิไม่เกิน 8°C นาน 20 นาที โดย : พนักงานแผนกผลิต

ตรวจสอบคุณภาพหลังการปรุ งผสม โดย: พนักงานควบคุมคุณภาพ ผ่าน 4. บันทึกปริ มาณวัตถุดิบที่ใช้ลงในแบบฟอร์ม (F – PM - 07)โดย: พนักงานปรุ งผสม 5. ตรวจสอบแบบฟอร์ม (F – PM - 07) โดย: หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพ

ภาพที่ 3.4 ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานการปรุ งผสมนม

เตรี ยมวัตถุดิบ โดย: พนักงานปรุ งผสม

ไม่ ผ่าน

คานวณสูตรใหม่ โดย : หัวหน้าฝ่ ายผลิต


171

แผนภาพการปฏิบตั ิงานการพาสเจอร์ไรส์

1. เตรี ยมความพร้อมชุดพาสเจอร์ไรส์ และลง บันทึกแบบฟอร์ม (F – PM - 08) โดย : พนักงานพาสเจอร์ไรส์ ไม่ ผ่าน ตรวจสอบประสิ ทธิภาพของ นมพาสเจอร์ไรส์ โดย: พนักงานควบคุมคุณภาพ

2. พาสเจอร์ไรส์นมที่อุณหภูมิ 75-80 C เวลา 20  วินาทีนมเย็นออก< 5 C และเปลี่ยนรสนม โดย : พนักงานพาสเจอร์ไรส์ อุณหภูมิและ

ผ่าน

3. เก็บรักษาในถังรอบรรจุอุณหภูมิไม่เกิน 7 C โดย : 

พนักงานพาสเจอร์ไรส์

4. บันทึกการทางานของเครื่ องพาสเจอร์ไรส์ ใน แบบฟอร์ม (F – PM - 08) โดย : พนักงานพาสเจอร์ไรส์ 5. ตรวจสอบแบบฟอร์ม (F – PM - 08) โดย: หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพ

ภาพที่ 3.5 แผนภาพการปฏิบตั ิงานการพาสเจอร์ไรส์

เวลา


172

3. แผนกบรรจุและเก็บรักษานมพาสเจอร์ ไรส์ หลังจากที่พนักงานบรรจุฆ่าเชื้ อเครื่ องบรรจุตามเอกสารเลขที่ WI-Cl-CIP-Pac-01 เรื่ องการ ฆ่าเชื้อเครื่ องบรรจุก่อนการใช้งานเรี ยบร้อยแล้ว ให้ปฏิบตั ิตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. เตรี ย มเครื่ องจัก ร เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ก ารบรรจุ น ม เมื่ อมี ก ารบรรจุ ทุ ก ครั้ งให้ พนักงานบรรจุทาการเตรี ยมอุปกรณ์ดงั ต่อไปนี้ 1.1 เตรี ยมถังนม Reprocess มาวางไว้บริ เวณใกล้เครื่ องบรรจุ 1.2 เตรี ยมเครื่ องบรรจุถุงอัตโนมัติ 1.2.1 ตั้งวันหมดอายุที่เครื่ องบรรจุ โดยนับจากวันที่ทาการผลิต ไม่เกิน 10 วัน รวมวันที่ผลิต 1.2.2 เปิ ดเบรคเกอร์ที่แผงควบคุมในตาแหน่ง ON 1.2.3 วางกระบะเพื่อใส่ ถุงนมชิ ดหน้าเครื่ องบรรจุ เพื่อรองรับนมถุงที่บรรจุ เสร็ จแล้ว 1.2.4 เปิ ดวาล์วส่ งนมที่ลงั พักรอบรรจุ ทีมีรสนมที่ตอ้ งการบรรจุเข้าสู่ ปั๊มนม ตามเอกสารเลขที่ Rf-PM-14 รู ปภาพแสดงทิศทางการไหลของนมในส่ วยการบรรจุนมพาสเจอร์ ไรส์ลงถุง 1.3 เบิกบรรจุภณั ฑ์ 1.3.1 สารวจจานวนฟิ ล์มนมที่เหลื อ คานวณฟิ ล์มที่ตอ้ งเบิกเพิ่ม แล้วไปทา การเบิกที่สโตร์และบันทึกลงแบบฟอร์มเลขที่ F-PM-03 แบบฟอร์ มใบขอเบิก (วัตถุดิบ/บรรจุภณ ั ฑ์/ สารเคมี) 1.3.2 เมื่อได้รับของแล้ว ให้ทาการตรวจสอบคุณภาพดังนี้


173

1) ภาชนะบรรจุ : ภาชนะบรรจุ ภ ัณ ฑ์ ได้ แ ก่ กล่ อ งกระดาษ ถุงพลาสติก ต้องสะอาดไม่มีคราบสกปรก ฝุ่ นละออง รอยหนูกดั แทะ ถ้าพบข้อบกพร่ องดังกล่าวให้ แจ้งพนักงานและทาการเบิกของใหม่ 2) บรรจุ ภณ ั ฑ์ภายใน : บรรจุ ภณ ั ฑ์ที่ บรรจุ ภายใน ได้แก่ ฟิ ล์ม นม และถุ งหู หิ้ว ต้องสะอาดไม่มีรอยฉี กขาด ไม่มี คราบน้ ามันหรื อคราบสกปรก มีการพิมพ์ด้วยสี ที่ ถูกต้อง ได้แก่ ฟิ ล์มนมฟลูออไรด์ (นมโรงเรี ยน) พิ ม พ์ด้ว ยสี น้ า เงิ น ,เขี ย ว ฟิ ล์ ม นมรสจื ด (นม โรงเรี ยน) พิมพ์ดว้ ยสี น้ าเงิน,เขียว ฟิ ล์มนมรสจืด (นมพานิชย์) พิมพ์ดว้ ยสี เขียว ฟิ ล์มนมรสหวาน พิมพ์ดว้ ยสี น้ าเงิน ฟิ ล์มนมสตรอเบอร์รี่ พิมพ์ดว้ ยสี แดง ฟิ ล์มนมรสโกโก้ พิมพ์ดว้ ยสี น้ าตาล ถ้าพบข้อบกพร่ องดังกล่าวให้แจ้งพนักงานสโตร์และเบิกของใหม่ 2.1) ใส่ ฟิล์มนมรสที่ตอ้ งการบรรจุที่แกนเหล็กหลังเครื่ องบรรจุ โดยหันด้านที่ไม่มีลายออกด้านนอก 2.2) ใส่ ฟิล์มด้านหลังเครื่ องบรรจุออกสู่ ดา้ นหน้าเครื่ องบรรจุโดย พนักงานต้อง ฉีดฆ่าเชื้อมือด้วยแอลกอฮอล์ 75% ก่อนทุกครั้ง 1.4 การบรรจุ นมลงถุง ตรวจสอบน้ าหนักและรอยซี ล เมื่อพนักงานบรรจุตามข้อ 1.1 และ 1.2 เรี ยบร้อยแล้ว ให้ปฏิบตั ิตามข้อต่อไปนี้บรรจุลงถุง และตรวจสอบความสมบูรณ์ของถุง นม 1.4.1 รี บแจ้งรสนมและขนาดถุงจากฝ่ ายธุรการจึงดาเนินการขั้นต่อไป 1.4.2 เปิ ดสวิตช์ปั๊มนม ให้นมไหลเข้าสู่ ถงั ปรับระดับบรรจุ 1.4.3 ใส่ แผ่นชิบตั้งปริ มาณปล่อยนมให้ได้น้ าหนักที่ตอ้ งการ 1.4.4 เปิ ดสวิตช์เดินเครื่ องบรรจุนม


174

1.4.5 เปิ ดสวิตช์ซีล แนวตั้งที่ เครื่ องบรรจุนม และปรับ ระดับ ความร้ อนให้ ฟิ ล์มติดกันพอดี 1.4.6 เปิ ดสวิตช์ซีลแนวนอนที่เครื่ องบรรจุนม และปรับระดับความร้อนให้ ฟิ ล์มขาดออกจากกันพอดี 1.4.7 เมื่อฟิ ล์มพลาสติกช่วงที่ต่อกันเลย ชีลแนวนอนแล้วให้ดนั โยกขึ้นเพื่อ ปล่อยน้ าที่คา้ งท่อและน้ าปนนม จานวน 5 ถุงแรกของแต่ละเครื่ องให้ตดั ทิ้ง 1.4.8 จากนั้นให้เก็บนมถุงที่ตกลงถังรองรับบรรจุภณ ั ฑ์หน้าเครื่ องบรรจุใส่ กระบะ โดยใส่ 60 ถุง ต่อ 1 กระบะ 1.4.9 ระหว่ า งที่ เ ก็ บ นมใส่ ก ระบะ ให้ พ นัก งานหน้า กระบะสุ่ ม ตัว อย่ า ง ผลิตภัณฑ์จานวน 5 ถุง เพื่อตรวจสอบดังนี้ 1) รอยรั่วซึม : ตรวจโดยการบีบถุงแรงๆ เพื่อดูรอยรั่วซึมหรื อรอยซีล 2) น้ าหนักบรรจุ : ตรวจโดยนาไปชัง่ น้ าหนักด้วยเครื่ องชัง่ สปริ ง ซึ่ ง ผลิตภัณฑ์ขนาด 200 ซี ซี จะมีน้ าหนักอยูใ่ นช่วง 210-220 กรัม 1.4.10 กรณี ตรวจสอบแล้วพบข้อบกพร่ องให้หยุดการบรรจุแล้วแก้ไข 1.4.11 ผลิตภัณฑ์ที่พบข้อบกพร่ องให้นาไปใส่ ในถัง 1.4.12 กรณี ตรวจสอบแล้วไม่พบข้อบกพร่ องให้นาไปใส่ กระบะ 1.4.13 กรณี ไฟฟ้ าดับจะต้องนาผลิตภัณฑ์เข้าห้องเย็นภายใน 5 นาที


175

ข้อกาหนดการบรรจุภณั ฑ์โดยเครื่ องบรรจุภณั ฑ์อตั โนมัติ 1. กาหนดวันหมดอายุ ไม่เกิน 10 วัน รวมวันที่ผลิต 2. ทิ้งผลิตภัณฑ์ 5 ถุงแรกก่อนการบรรจุ 3. บรรจุผลิตภัณฑ์ 60 ถุง / 1 กระบะ 4. ตรวจสอบปริ มาตร, น้ าหนักและรอยรั่วซึ มทุกๆ 60 ถุง (อุณหภูมิผลิตภัณฑ์ไม่เกิ น 8 องศาเซลเซียส) 1) ปริ มาตร 200 – 210 มิลลิลิตร 2) น้ าหนัก 210 – 220 กรัม 5. จัดเก็บม้วนฟิ ล์มทุกครั้งหลังใช้งาน โดยใช้ถุงพลาสติกหุม้ และปิ ดปากถุงให้มิดชิด การนานมทีบ่ รรจุแล้ วมีปัญหามาเข้ ากระบวนการใหม่ 1. เมื่อนมหมดจากถังรอบรรจุในขณะที่บรรจุนมสังเกตจากตัวโซลีนอยแล้วจะเปิ ดตลอด ทาการบรรจุต่อไปเรื่ อยๆ จนกว่านมจะหมดจากถังปรับระดับโดยสังเกตจากน้ าหนักนมจะลดลง เรื่ อยๆ 2. เมื่อทาการชัง่ น้ าหนักดูแล้วไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดให้หยุดบรรจุและปิ ดเครื่ อง 3. ปิ ดวาล์วจ่ายนมของถังรอบรรจุที่หมดแล้ว และเปิ ดวาล์วจ่ายนมของถังรอบรรจุถงั ต่อไปเพื่อจะทาการบรรจุนมรสต่อไป 4. เปลี่ยนม้วนฟิ ล์มนมรสใหม่แทนม้วนฟิ ล์มนมรสเดิม


176

5. เปิ ดปั๊ มนมมาเพื่อปั๊ มนมรสใหม่เข้าสู่ ถงั ปรับระดับ 6. เริ่ มดาเนินการบรรจุนมรสใหม่ตามขั้นตอนเดิม 7. เมื่อบรรจุนมรสสุ ดท้ายแล้วให้ปิดปั๊ มนม และปิ ดสวิตช์เครื่ องบรรจุท้ งั หมด 8. ตัดม้วนฟิ ล์มนมที่เหลือในเครื่ องออกแล้วนาไปเก็บในถุงพลาสติก มัดปากถุงด้วยยาง ให้สนิท เพื่อรอการบรรจุครั้งต่อไป 9. สาหรับนมที่อยู่ในถังนม Reprocess ให้ตดั ถุงแล้วเทนมที่เหลือใส่ ถงั นม Reprocess จากนั้นทาการพาสเจอร์ ไรส์ ใหม่โดยนาไปเทใส่ ถุงปรุ งผสมและควบคุมอุณหภูมินม Reprocess ให้ ไม่เกิ น 8 องศาเซลเซี ยส ก่อนนาไปพาสเจอร์ ไรส์ ใหม่ ระยะเวลาไม่เกิ น 30 นาที กรณี ที่เก็บไว้ใน ห้องเย็นระยะเวลาเกิ น 24 ชัว่ โมง หรื อชุ ดพาสเจอร์ ไรส์ได้ทาการล้างทาความสะอาดแล้วจะนาไป เลี้ยงวัว 10. เมื่อทาการบรรจุนมทุกรสเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วทุกครั้งให้ทาการไล่นมออกจากท่อและ เครื่ องบรรจุ โดยปฏิบตั ิตามเอกสารเลขที่ Rf-PM-15 (รู ปภาพแสดงทิศทางการไหลของน้ าเพื่อไล่ นมพาสเจอร์ ไรส์ออกจากท่อและบรรจุ) 11. และให้ลา้ งทาความละอาดเครื่ องบรรจุโดยปฏิบตั ิ ตามเอกสารเลขที่ WI-Cl-CIP-Pac02 เรื่ องการล้างทาความสะอาดเครื่ องบรรจุหลังการใช้งาน จัดเรียงผลิตภัณฑ์ เก่าในห้ องเย็น ก่อนการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ ใหม่ เข้ าช่ องเย็น ทุกครั้งเมื่อมีการผลิตให้พนักงานบรรจุจดั เรี ยงผลิตภัณฑ์เก่าในห้องเย็นก่อนที่จะมีการนา ผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าห้องเย็น โดยให้จดั ตามระบบ First In First Out : FIFO คือผลิตภัณฑ์ก่อนนา ออกจาหน่ายก่อน โดยดูได้ตามเอกสารเลขที่ Rf-PM-16 เรื่ อง รู ปภาพแสดงการจัดเรี ยงผลิตภัณฑ์ใน ห้องเย็น


177

จัดเก็บและบันทึกจานวนผลิตภัณฑ์เข้าห้องเย็นอุณหภูมิหอ้ งเย็นไม่เกิน 4 องศาเซลเซียส เมื่อพนักงานบรรจุนาผลิตภัณฑ์ใส่ ลงกระบะจนครบ 12 กระบะ (1 รถเข็น) แล้วให้เข็นเข้า ห้องเย็นและบันทึกจานวนผลิตภัณฑ์ในแต่ละเที่ยว ในแบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-09 แบบฟอร์ มบันทึก จานวนผลิตภัณฑ์เข้าห้องเย็น 1. ในการนาผลิตภัณฑ์ลงกระบะระยะเวลาไม่เกิน 15 นาที หรื ออุณหภูมิผลิตภัณฑ์ตอ้ งไม่ เกิน 8 องศาเซลเซียส 2. จัดเรี ยงกระบะผลิตภัณฑ์ตามเอกสารเลขที่ Rf-PM-16 เรื่ องรู ปภาพแสดงการจัดเรี ยง ผลิ ตภัณฑ์ในห้องเย็น โดยทาการจัดเรี ยงดังนี้ ให้จดั เรี ยงกระบะห่ างจากผนังห้องแต่ละด้าน 2 นิ้ ว และระยะห่ า งระหว่า งแถวไม่ น้อ ยกว่า 2 นิ้ ว สู ง ไม่ เกิ น 12 กระบะ เพื่ อให้อากาศเย็น สามารถ หมุนเวียนได้ โดยแยกตามชนิดผลิตภัณฑ์และขนาดบรรจุ ซึ่ งจัดเก็บผลิตภัณฑ์ตามระบบ FIFO โดย จัดเก็บผลิตภัณฑ์ที่บรรจุเสร็ จก่อนไว้ดา้ นนอกและผลิตภัณฑ์ที่บรรจุเสร็ จหลังจัดเก็บไว้ดา้ นในทุก ครั้ง 3. ในระหว่างการจัดเรี ยงห้ามเปิ ดประตูรอนานเกิน 3 นาที เพื่อป้ องกันอุณหภูมิห้องเย็น สู งขึ้น ติดป้ ายแสดงสถานะผลิตภัณฑ์ ทุกครั้งเมื่ อมี การจัดเรี ยงกระบะใส่ ผลิ ตภัณฑ์จนครบตามจานวนแล้ว ให้บนั ทึกข้อมูลที่ เกี่ยวข้องลงในแบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-11 แบบฟอร์ มแสดงสถานะผลิตภัณฑ์ในห้องเย็นและแขวน ป้ ายที่หน้าแถวแต่ละแถว 1. กรณี ที่ในแถวนั้นมีนมรสต่างกัน หรื อวันที่ผลิตต่างกันให้แขวนป้ ายของแต่ละรสหรื อ แต่ละวันที่ผลิตไว้หน้าแถว โดยแขวนป้ ายแสดงสถานะของผลิตภัณฑ์ที่อยูด่ า้ นในสุ ดไว้บนสุ ด เพื่อ สะดวกต่อการดูในการเบิกจ่ายผลิตภัณฑ์ 2. เมื่ อจัดเรี ยงผลิ ตภัณฑ์แล้วให้ปิ ดประตูห้องเย็นทันที บันทึก อุ ณหภูมิ ห้องเย็น และ ปริ มาณผลิตภัณฑ์ท้ งั หมดในห้องเย็นลงในแบบฟอร์ม


178

ป้ายแสดงสถานะผลิตภัณฑ์ในห้ องเย็น ชนิดผลิตภัณฑ์ …………………………………………………………………………………. วันที่ผลิต …………………………………………………………………………………………. วันหมดอายุ…………………………………………………………………………………….. ขนาด……………………………………………………………………………………………… จานวน……………………………………………………………………………………………. ผู้เบิก…………………………………………. วันที… ่ ……./………../……….

ภาพที่ 3.6 แบบฟอร์มบันทึกอุณหภูมิหอ้ งเย็น และปริ มาณผลิตภัณฑ์ บันทึกอุณหภูมิหอ้ งเย็น ทุกๆวันที่ มีการปฏิ บตั ิ งานและมีการเก็บผลิ ตภัณฑ์ในห้องเย็น ให้พนักงานบรรจุบนั ทึก อุณหภูมิห้องเย็นทุกๆชัว่ โมงในแบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-10 แบบฟอร์ มการตรวจสอบอุณหภูมิห้อง เย็น ในกรณี อุณหภูมิภายในห้องเย็นสู งเกิ น 4 องศาเซลเซี ยส ให้พนักงานฝ่ ายบรรจุปฏิ บตั ิ ดังต่อไปนี้ 1. ตรวจหาสาเหตุ ว่าอุ ณหภูมิ สู งเกิ น 4 องศาเซลเซี ย ส เพราะเหตุใ ด พร้ อมบันทึ ก ลง ฟอร์ม F-PM-10 แบบฟอร์ มการตรวจสอบอุณหภูมิหอ้ งเย็นในช่องบันทึกเพิ่มเติม 2. พนักงานฝ่ ายบรรจุทาการสุ่ มตรวจเช็คอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์ภายในห้องเย็น ต้องไม่ เกิน 8 องศาเซลเซียส พร้อมบันทึกลงฟอร์ม F-PM-10 แบบฟอร์มการตรวจสอบอุณหภูมิหอ้ งเย็น 3. เมื่อพนักงานฝ่ ายบรรจุทาการตรวจเช็คถึงสาเหตุแล้วพบว่าขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ งเกิด ปั ญหาให้แจ้งรองผูจ้ ดั การพร้อมกับดาเนินการแก้ไขทันที บันทึกลงฟอร์ ม F-PM-10 แบบฟอร์ มการ ตรวจสอบอุณหภูมิหอ้ งเย็น และแนวทางแก้ไขปัญหาในช่องบันทึกเพิม่ เติม


179

บันทึกปริ มาณผลิตภัณฑ์ท้ งั หมดในห้องเย็น เมื่อเสร็ จสิ้ นการบรรจุในแต่ละวันให้บนั ทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้องลงในแบบฟอร์ มเลขที่ F-PM12 แบบฟอร์ มการรับ – จ่ายผลิ ตภัณฑ์ในห้องเย็น เมื่อบันทึกแล้วให้นาเสนอต่อหัวหน้าฝ่ ายบรรจุ และนาเสนอหัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพเพื่อดาเนินการต่อไป โดย 1. แบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-10 แบบฟอร์ มการตรวจสอบอุณหภูมิห้องเย็น ให้นาเสนอทุ ก สัปดาห์ 2. แบบฟอร์มเลขที่ F-PM-12 แบบฟอร์มการรับ-จ่ายผลิตภัณฑ์ในห้องเย็น ให้นาเสนอทุก สัปดาห์ ตรวจสอบแบบฟอร์ม เมื่อหัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ได้รับแบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-09 แบบฟอร์ มบันทึกจานวน ผลิ ตภัณฑ์เข้าห้องเย็น แบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-10 แบบฟอร์ มการตรวจสอบอุณหภูมิห้องเย็น แบบฟอร์ มเลขที่ F-PM-12 แบบฟอร์ มการรับ-จ่ายผลิตภัณฑ์ในห้องเย็น แล้วให้ทาการตรวจสอบ ลงชื่อในช่องผูต้ รวจสอบและจัดเก็บเข้าแฟ้ มต่อไป ข้อกาหนดการจัดเรี ยงผลิตภัณฑ์ภายในห้องเย็น 1. อุณหภูมิหอ้ งเย็น 4 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิผลิตภัณฑ์ 8 องศาเซลเซียส) 2. วางกระบะผลิตภัณฑ์บนกระบะที่ไม่มีบรรจุภณั ฑ์ในกระบะชั้นล่างสุ ด 3. วางกระบะห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 12 นิ้ว สู งไม่เกิน 12 กระบะ ระยะห่ างระหว่างแถว ไม่นอ้ งกว่า 2 นิ้ว 4. มีบริ เวณ/อุปกรณ์สาหรับเก็บผลิตภัณฑ์ รอ Reprocess


180

5. ติดป้ ายแสดงสภานะทุกครั้ง 6. นาผลิตภัณฑ์ออกจากห้องเย็นตามระบบ First In First Out ข้อกาหนดการขนส่ งผลิตภัณฑ์หน้าโรงงาน 1. อุณหภูมิผลิตภัณฑ์ ไม่เกิน 8 องศาเซลเซียส ข้อกาหนดนม Reprocess สี : สี ธรรมชาติของน้ านม 75 % Alcohlo test : ไม่ตกตะกอน

กลิ่น : ไม่มีกลิ่นเปรี้ ยว Clot on Boiling : ไม่ตกตะกอน


181

แผนภาพการทางานแผนกบรรจุและเก็บรักษานมพาสเจอร์ ไรส์

1.เตรี ยมเครื่ องจักร เครื่ องมือ และ อุปกรณ์การบรรจุ โดย : พนักงานบรรจุ

2.คนบรรจุภณ ั ฑ์ โดย : พนักงานบรรจุ

รี บแจ้งรสนม ขนาดถุงและปริ มาณนมที่ตอ้ งการ บรรจุ จากฝ่ ายธุรการ

3.การบรรจุนมลงถุง ตรวจสอบน้ าหนักและรอยซีล โดย : พนักงานบรรจุ

เปลี่ยนรสนม 4.จัดเรี ยงผลิตภัณฑ์เก่าในห้องเย็นห่อนการจัดเก็บ ผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าห้องเย็น โดย : พนักงานบรรจุ

5.จัดเก็บและบันทึกจานวนผลิตภัณฑ์เข้าห้องเย็น อุณหภูมิหอ้ งเย็นไม่เกิน 4 องศาเซลเซียส ลงใน แบบฟอร์ม F-PM-09

โดย : พนักงานบรรจุ

Reprocess


182

ภาพที่ 3.7 แผนภาพการทางานแผนกบรรจุและเก็บรักษานมพาสเจอร์ไรส์

6.ติดป้ ายแสดงสถานะผลิตภัณฑ์ในห้องเย็น F-PM-11 โดย : พนักงานบรรจุ

7.บันทึกอุณหภูมิหอ้ งเย็นและปริ มาณผลิตภัณฑ์ ทั้งหมดในห้องเย็นลงในแบบฟอร์ม F-PM-10 และ F-PM-12

โดย : พนักงานบรรจุ

8.ตรวจสอบแบบฟอร์ม F-PM-9, F-PM-10 และ F-PM-12 โดย : หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพ

ภาพที่ 3.7 แผนภาพการทางานแผนกบรรจุและเก็บรักษานมพาสเจอร์ไรส์ (ต่อ)


183

วิกฤตการณ์ อาหารทีส่ ่ งผลต่ อการควบคุมภายในสหกรณ์ โคนมบ้ านบึง จากัด ความพร้อมอุตสาหกรรมโคนมไทยกับการก้าวสู่ การเป็ นประชาคมอาเซียน ( AEC )ปี 2558 นั้นมีหลายอุตสาหกรรมที่เราสามารถแข่งขันได้ และมีหลายอุตสาหกรรมที่เราต้องปรับตัวอย่าง เร่ งด่วน หนึ่ งในนั้นคืออุตสาหกรรมโคนมไทยซึ่ งเป็ นอีกอุตสาหกรรมตัวหนึ่ งที่ตอ้ งปรับตัวโดย ด่วนการเลี้ยง โคนมเป็ นอาชีพที่สร้างรายได้ให้กบั เกษตรกรตลอดทั้งปี ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมาไม่ ว่าจะเป็ นภาครั ฐหรื อเอกชนต่างให้ความสนใจและให้การสนับสนุ นการเลี้ยงโคนมมาโดยตลอด จนทาให้การเลี้ ยงโคนมของไทยเป็ นผูน้ าในประเทศเพื่อนบ้านในสถานการณ์ ปัจจุบนั เรามีเกษตร ผูเ้ ลี้ยงโคนมอยูป่ ระมาณ 23,000 ครัวเรื อน และมีโคนมอยูป่ ระมาณ 536,720 ตัว มีสหกรณ์ซ่ ึ งเป็ นผู้ รวบรวมน้ า นมดิ บ อยู่ 104 สหกรณ์ ใน 43 จัง หวัด และมีโรงงานแปรรู ปอยู่ 81 โรงงานซึ่ งเป็ น โรงงานของสหกรณ์โคนม 16 แห่ ง ในการแปรรู ป นั้นปั จจุบนั เราแปรรู ป 3 ประเภท ด้วยกันคือ นมสดพาสเจอร์ไรส์ นมยูเอชที และนมสดสเตอรี ไรซ์ ด้านปั ญหาในการเลี้ยงโคนม ส่ วนใหญ่อยูท่ ี่ ต้นทุนการผลิตอาหารข้นซึ่งใช้ในการเลี้ยงโคนม และปัจจุบนั เรามีตน้ ทุนในการผลิตที่สูง ซึ่ งต้นทุน ในการผลิ ตน้ านมดิ บ เฉลี่ ยต่อกิ โลกรัมละ 8.60 บาท แต่ สามารถแก้ไขปั ญหานี้ ได้โดยต้องมีการ พัฒนาทั้งระบบ เพื่อให้ได้คุณภาพของน้ านมที่ดี และลดต้นทุนในการผลิต และการขนส่ ง เพื่อให้ สามารถแข่งขันได้ จากการศึกษาวิกฤตการณ์อาหารไม่ส่งผลต่อการควบคุมภายในด้านการประเมินความเสี่ ยง แม้จะมี การขาดแคลนน้ านมดิ บเนื่ องจากปั จจุบนั เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนมลดน้อยลง เพราะประสบ ปั ญหาต้นทุนในการผลิตเพิ่มมากขึ้น ส่ วนใหญ่ตน้ ทุนมาจากอาหารโคนม ทาให้เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโค นมไม่สามารถแบกรับภาระที่เกิดขึ้นได้ จึงส่ งผลมาถึงปริ มาณน้ านมดิบที่ไม่ตรงกับความต้องการ ของสหกรณ์ที่จะนาไปผลิต อย่างไรก็ตามผลกระทบนี้ ทาให้สหกรณ์คิดวางแผนควบคุมการผลิตใน แต่ละวันให้ได้ตามความต้องการของตลาด โดยสหกรณ์ตอ้ งวิเคราะห์และประเมินความเสี่ ยงในการ รั บน้ านมดิ บไว้ล่วงหน้าโดยวางแผนการผลิ ตน้ านมในแต่ละวันให้มีปริ มาณที่เพียงพอต่อความ ต้องการเพื่อตอบสนองความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นให้อยูร่ ะดับที่เหมาะสมและยอมรับได้


บทที่ 4 ผลการศึกษา การศึ ก ษาปั ญ หาพิ เ ศษเรื่ อง การควบคุ ม ภายในกระบวนการผลิ ต นมพาสเจอร์ ไ รส์ กรณี ศึกษาสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด คณะผูศ้ ึกษาได้ทาการรวบรวมข้อมูล กระบวนการผลิตนม พาสเจอร์ ไรส์ ของสหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด ทั้งหมดแบ่งเป็ น 3 แผนก คือ แผนกรับน้ านมดิ บ แผนกพาสเจอร์ไรส์ และแผนกบรรจุ การควบคุมภายในของสหกรณ์ โคนมบ้ านบึง จากัด จากการวิเคราะห์องค์ประกอบการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO ทั้ง 5 องค์ประกอบ คือ 1) สภาพแวดล้อมการควบคุม 2) การประเมินความเสี่ ยง 3) กิจกรรมการควบคุม 4) สารสนเทศ และการสื่ อสาร 5) การติดตามประเมินผล ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้างความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผล ว่า การดาเนินงานจะบรรลุวตั ถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิ ทธิ ผลและประสิ ทธิ ภาพ ของการดาเนินงาน และการใช้ทรัพยากรในการวิเคราะห์องค์ประกอบการควบคุมภายใน นาข้อมูล ที่ได้มาวิเคราะห์ดงั ต่อไปนี้ องค์ ประกอบที่ 1 สภาพแวดล้ อมการควบคุม สหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด ได้กาหนดองค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม โดย ผูบ้ ริ หารได้สร้ างบรรยากาศของการควบคุ มเพื่อให้เกิ ดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุ มภายใน โดยให้ ความส าคัญกับ ซื่ อสัตย์และจริ ย ธรรมของบุ คลากร โครงสร้ างการจัดองค์ก รในสหกรณ์ โคนม บ้านบึ ง จากัด ความรู้ และความสามารถของบุคลากร วิธีการที่ผูบ้ ริ หารมอบหมายอานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ เห็นได้จากกระบวนการผลิตของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด มีคาอธิ บายอานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบในฝ่ ายกระบวนการผลิต ทั้งนี้ เพื่อเป็ นมาตรฐานและเป็ นแนวทางปฏิบตั ิ ของบุคลากรของสหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด โดยทฤษฏีการควบคุมภายในตามแนวคิดของ COSO สภาพแวดล้อมการควบคุมแบ่งเป็ น 7 ด้าน


185

1. ด้านความซื่อสัตย์และจริ ยธรรมของบุคลากร สหกรณ์ไม่มีการจัดฝึ กอบรมบุคลากรใน องค์กรแต่พนักงานส่ วนใหญ่เป็ นพนักงานที่ทางานกันมานานแล้วจนเกิดความชานาญ ซึ่ งทาให้เกิด วัฒนธรรม ค่านิ ยมสร้ างสรรค์ในการทางาน มีจิตใต้สานึกที่ดีของพนักงาน พนักงานปฏิบตั ิงานมี ประสิ ทธิภาพเยีย่ งผูป้ ระกอบการ เพื่อให้เกิดความรักในหน้าที่ในองค์กร 2. ด้านความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากร สหกรณ์ไม่มีการอบรมพนักงาน แต่พนักงานส่ วนใหญ่เป็ นผูท้ ี่มีประสบการณ์การทางาน ปฏิบตั ิงานจนเกิดความชานาญและสามารถ ถ่ายทอดประสบการณ์ ให้แก่พนักงานต่างๆ สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ แม้ฝีมือยัง ไม่พฒั นา แต่ก็สามารถควบคุมงาน เครื่ องมือและอุปกรณ์ต่างๆได้อย่างไม่ขาดตกบกพร่ อง 3. ด้านการมีส่วนร่ วมของคณะกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการตรวจสอบ สหกรณ์มี คณะกรรมการตรวจสอบจากบุคคลภายนอก ซึ่ งเป็ นองค์กรตรวจสอบในสังกัดสหกรณ์โดยเฉพาะ ซึ่ ง มาจากกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ และกรมตรวจบัญชี ส หกรณ์ ย งั ช่ วยในเรื่ องการจัดระบบการ ควบคุมภายในของสหกรณ์ให้ปฏิบตั ิงานได้อย่างราบรื่ น 4. ด้านปรัชญา และรู ปแบบการทางานของผูบ้ ริ หาร ผูบ้ ริ หารจะเป็ นผูค้ วบคุมการทางาน และคอยดูการปฏิบตั ิงานในแต่ละวันอย่างใกล้ชิด สร้างความสัมพันธ์อนั ดีให้กบั พนักงานระดับล่าง เป็ นแบบอย่ า งที่ ดี ใ ห้ พ นั ก งานปฏิ บ ัติ ต าม เนื่ อ งจากผู้บ ริ หารมี ก ารท างานและสอนงานใน สายการผลิ ตแก่พนักงานทุกคน จึงทาให้พนักงานรับฟั งและรักในการทางานเสมือนกับการทางาน ในครอบครัว 5. ด้านโครงสร้ า งองค์ก ร สหกรณ์ มีก ารจัดโครงสร้ างและสายงาน การบังคับบัญชาที่ ชัดเจนและเหมาะสมกับขนาดและลักษณะการดาเนินงาน ซึ่ งในแต่ละสายงานมีการจัดทาเอกสารคา บรรยายลัก ษณะงาน ของแต่ ล ะตาแหน่ ง และเป็ นปั จจุ บ นั รวมทั้ง มี ก ารแจ้ง ให้พ นัก งานทราบ เกี่ยวกับความรู ้ ทักษะและความสามารถที่ตอ้ งการสาหรับการปฏิบตั ิงาน 6. ด้านการมอบอานาจและความรับผิดชอบ บุคลากรทุกคนมีความเข้าใจถึงอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของตนเอง เนื่องจากทางองค์กรมีการจัดทาเอกสารคาบรรยายลักษณะงานเป็ น ลายลักษณ์ อกั ษร ให้ทราบว่าส่ วนงานแต่ละส่ วนเป็ นอย่างไรและมีความสัมพันธ์กบั ส่ วนงานอื่น อย่างไร เพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของพนักงานอย่างชัดเจน


186

7. ด้านนโยบายและวิธีบริ หารงานด้านทรั พยากรมนุ ษย์ สหกรณ์ มีการคัดเลื อกคนเข้า ทางานโดยจะมีการสัม พาษณ์ และดูวุฒิการศึกษาว่าเหมาะสมกับสายงานที่จะทาหรื อไม่ แต่ทาง สหกรณ์ จะไม่มีการฝึ กอบรมพนักงาน แต่จะให้เรี ยนรู้ งานจากพนักงานผูเ้ ชี่ ยวชาญและทาความ เข้าใจเกี่ยวกับองค์กรด้วยเอกสารคาบรรยายลักษณะงานหรื อจากการสอนงานจากผูเ้ ชี่ยวชาญในสาย งาน เมื่อมีความรู้ ความสามารถเพิ่มขึ้นจะมีการพิจารณาจากอายุงานเพื่อเลื่ อนตาแหน่ งหรื อเพิ่ม ค่าตอบแทนให้เป็ นกาลังใจแก่พนักงานในองค์กร ดัง นั้น สภาพแวดล้อ มการควบคุ ม โดยรวมของสหกรณ์ โ คนมบ้า นบึ ง จ ากัด มี ค วาม เหมาะสมเพียงพอ มีการจัดโครงสร้ างและสายงานบังคับบัญชาที่ชัดเจน มีการมอบหมายอานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบให้บุคลากรตรงตามตาแหน่งงาน มีการพัฒนาความรู้ความสามารถของ บุคลากรและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน โดยพิจารณาถึงความซื่อสัตย์และจริ ยธรรม แต่ก็ยงั คงมีสิ่งที่ สหกรณ์ ละเลยไปในเรื่ องของการจัดฝึ กอบรบพนักงานใหม่ ซึ่ งทางสหกรณ์จะให้พนักงานใหม่ เรี ยนรู้งานจากผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละสายงานเอง ถึงแม้วา่ จะมีส่วนที่ได้ละเลยไปทางสหกรณ์ ก็ยงั คงมี การควบคุมด้านสภาพแวดล้อมที่มีความสอดคล้องกับการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO องค์ ประกอบที่ 2 การประเมินความเสี่ ยง สหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด ได้กาหนดองค์ประกอบการควบคุมภายในด้านการประเมิน ความเสี่ ยง ซึ่ งมีการกาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมายของสหกรณ์ และวัตถุประสงค์ระดับกิจกรรม ที่ชดั เจนสอดคล้องและเชื่ อมโยงกัน โดยทฤษฎีการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO การประเมิน ความเสี่ ยง แบ่งเป็ น 3 ขั้นตอน 1. การระบุ ปัจจัยความเสี่ ย ง ผูบ้ ริ หารส่ วนร่ วมในการดาเนิ นงาน โดยมีก ารระบุปัจจัย ความเสี่ ยงจากปั จจัยภายในและภายนอกที่อาจเกิดปั ญหา หรื อส่ งผลกระทบต่อการบรรลุผลสาเร็ จ ตามวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ ปั จจัยความเสี่ ยงที่สหกรณ์ได้ระบุไว้มีอยู่ 3 เรื่ อง 1.1 ความผันผวนของราคานม 1.2 งบประมาณรายจ่ายของสหกรณ์


187

1.3 การเกิดความผิดพลาดของเครื่ องจักร แต่มีความเสี่ ยงหนึ่ งที่ผบู้ ริ หารไม่ได้ระบุไว้คือความเสี่ ยงในกระบวนการรับน้ านมดิบ ซึ่งในแต่ละวันสหกรณ์จะรับน้ านมดิบและผลิตได้ไม่เท่ากันทุกวัน ทาให้เกิดความเสี่ ยงในการผลิต นมไม่เพียงพอต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภค 2. การวิเคราะห์ความเสี่ ยง ผูบ้ ริ หารมีการวิเคราะห์ ความเสี่ ยงที่อาจเกิ ดขึ้ นจากการใช้ ทรัพยากรและงบประมาณที่อาจเกิ ดขึ้นของสหกรณ์วา่ มีความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ในระดับไหน มาก น้อยเพียงใด เป็ นระดับที่สหกรณ์ยอมรับได้หรื อไม่ 2.1 ความผันผวนของราคานม ผูบ้ ริ หารได้วิเคราะห์ไว้ว่าราคานมไม่ได้ผนั แปรตาม วิกฤตการณ์ อาหารที่ เกิ ดขึ้ น หมายความว่าราคานมไม่ ได้เพิ่มขึ้ นในราคาสู งเมื่ อเปรี ยบเทีย บกับ ต้นทุนในการผลิต และราคานมมีความผันผวนอยูเ่ สมอ ซึ่ งความเสี่ ยงนี้มีโอกาศที่จะเกิดขึ้นมากและ ส่ งผลให้กบั สหกรณ์ อย่างรุ นแรงความเสี่ ยงนี้ จึงอยู่ในระดับที่มีความเสี่ ยงสู ง สหกรณ์ตอ้ งมีการ แก้ไขและรับมือกับความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นให้มากที่สุด 2.2 งบประมานรายจ่ายของสหกรณ์ สหกรณ์ มีการตั้งเป้ าในการใช้จ่ายให้น้อยที่สุด เนื่องจากว่าสหกรณ์เป็ นองค์กรที่ช่วยเหลือเกษตรกร โดยไม่หวังผลตอบแทนที่เป็ นกาไรมาก แต่จะ เน้นไปในทางส่ งเสริ มและพัฒนาความรู้ให้เกษตรกรมีช่องทางการเพิ่มรายได้ให้กบั ตนเองมากขึ้น สหกรณ์ จึงมีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในเรื่ องของ การจัดอบรม และการช่ วยเหลือเกษตรกร สหกรณ์ จึง ต้องมี ก ารควบคุ ม ค่า ใช้จ่า ยในส่ วนนี้ ให้อยู่ใ นปริ มาณที่พ อเหมาะและไม่ ทาให้ส หกรณ์ ข าดทุ น โอกาสที่จะเกิดความเสี่ ยงนี้ มีมากแต่ไม่ได้ส่งผลให้สหกรณ์มากนัก เนื่องจากสหกรณ์เป็ นองค์ครที่ จัดขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร จึงวิเคราะห์ได้วา่ ความเสี่ ยงนี้จดั อยูใ่ นระดับปานกลาง 2.3 การเกิ ด ความผิ ด พลาดของเครื่ อ งจัก ร สหกรณ์ วิเ คราะห์ ค วามเสี่ ย งจากการที่ เครื่ องจักรจะใช้งานไม่ได้และเกิ ดปั ญหาขัดข้องในระหว่างการผลิต ซึ่ งอาจทาให้มีผลกระทบต่อ ปริ มาณสิ นค้าที่จะผลิ ตได้ในวันที่เครื่ องจักรเกิดความเสี ยหาย และส่ งผลให้สหกรณ์ผลิตนมไม่ได้ ตามจานวนที่ต้ งั เป้ าไว้ในแต่ละวัน โดยโอกาสในการเกิดการทางานผิดพลาดของเครื่ องจักรมีนอ้ ย แต่ถา้ เครื่ องจักรมีการทางานผิดพลาดก็จะทาให้มีผลกระทบมากต่อสหกรณ์ จึงจัดให้ความเสี่ ยงนี้ อยู่ ในระดับปานกลาง


188

3. การบริ หารความเสี่ ยง ผูบ้ ริ หารมีการบริ หารความเสี่ ยงโดยการให้พนักงานทุกคนรับรู้ ถึงความเสี่ ยงที่อาจเกิ ดขึ้น เพื่อให้พนักงานตระหนักถึงความเสี่ ยงที่อาจเกิ ดขึ้นและระมัดระวังใน การทางานมากขึ้น 3.1 ความผันผวนของราคานม ผูบ้ ริ หารเล็งเห็นว่าราคาตลาดของนมมีความไม่แน่นอน เราจึงต้องมีการป้ องกันและแก้ไขเพื่อรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการทาให้ตน้ ทุนในการเลี้ยงโคน มลดน้อยลง เพื่อไม่ให้มีผลกระทบในขณะที่ราคาตลาดของนมลด และยังช่วยเพิ่มกาไรให้มากขึ้น ในขณะที่ราคาตลาดนมเพิ่มขึ้น ผูบ้ ริ หารมีการบริ หารความเสี่ ยงในเรื่ องนี้ โดยการให้เกษตรกรมา รวมกลุ่มกัน คือกลุ่มผูผ้ ลิต เช่นเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนม เกษตรกรผูป้ ลูกมันสาปะหลัง เกษรกรผูป้ ลูก หญ้าเลี้ ยงสัตว์ เกษตรกรผูอ้ ดั ฟางก้อน เกษตรกรผูผ้ ลูกข้าวโพด หากเราสามารถรวมกลุ่มเกษตรกร ได้เราก็จะสามารถผลิตอาหารสัตว์ได้ในราคาที่ถูกลงกว่าราคาตลาด และให้นกั วิชาการด้านการผลิต อาหารสัตว์มาเป็ นวิทยากร ให้ความรู้ในการผลิตอาหารสัตว์ ทาให้เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนมสามารถลด ต้นทุนในได้และยังช่วยสร้างรายได้ให้เกษตรกรกลุ่มอื่นๆอีกด้วย ความเสี่ ยงที่เกิดขึ้นนี้ ถึงจะจัดอยู่ ในความเสี่ ยงที่มีระดับสู ง แต่ก็ยงั อยูใ่ นระดับที่สหกรณ์สามารถยอมรับได้ 3.2 งบประมานรายจ่ายของสหกรณ์ ผูบ้ ริ หารได้มีการบริ หารความเสี่ ยงโดยการให้ พนักงานในองค์กร ศึ กษาความรู ้ ต่างๆจากที่ได้เชิ ญวิทยากรมาบรรยายให้เกษตรกรฟั ง และเมื่อ พนักงานในองค์กรได้รับความรู้ และนามาปรับใช้ในสหกรณ์ หรื อการที่ได้ปฏิบตั ิงานอย่างใกล้ชิด กับ เกษตรกรก็ จะเกิ ด ความช านาญในด้า นนั้น ๆขึ้ น ท าให้ใ นระยะยาวเราจึ ง ไม่ จ าเป็ นต้อ งเสี ย ค่าใช้จ่ายไปกับการจ้างวิทยากรมาบรรยาย แต่จะเป็ นการให้พนักงานของสหกรณ์มาบรรยายเพิ่อ เพิ่มความรู ้ให้กบั เกษตรกร และช่วยเหลือเกษตรในเวลาที่เกิดปั ญหา ความเสี่ ยงนี้ ที่สหกรณ์ได้มีการ จัดให้อยูใ่ นระดับปานกลาง ซึ่ งเมื่อสหกรณ์มีการบริ หารความเสี่ ยงแล้วจึงจัดอยูใ่ นระดับที่สหกรณ์ ยอมรับได้และไม่ส่งผลกระทบในระยะยาวให้สหกรณ์ 3.3 การเกิดความผิดพลาดของเครื่ องจักร ผูบ้ ริ หารบริ หารความเสี่ ยงในด้านนี้ โดยจะมี การตรวจเช็คเครื่ องจักรก่อนการทางานทุกครั้ง เพื่อป้ องกันปั ญหาและข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น แต่ ถึงจะตรวจสอบอย่างดี แล้วก็ยงั มีปัยหาที่สหกรณ์ตอ้ งเจอทุกวันนัน่ ก็คือการผิดพลาดระหว่างบรรจุ โดยสิ่ งที่เกิดขึ้นคือ บรรจุภณั ฑ์รั่ว บรรณจุภณ ั ฑ์ไม่เป็ นไปตามรู ปทรง แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็ นปั ญหา เพี ย งเล็ ก น้อ ย ซึ่ งสหกรณ์ ส ามารถแก้ไ ขได้แ ละท าการบรรจุ ต่ อ ได้เ ลย สาเหตุ เ กิ ด จากการใช้


189

เครื่ องจักรเป็ นเวลานานไม่ได้พกั จึงทาให้เกิ ดข้อพิดพลาดในทางเทคโนโลยี แต่ปัญหาที่เป็ นเป็ น ปั ญหาที่ไม่ร้ายแรงและ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ จึงไม่ส่งผลกระทบต่อการผลิตของสหกรณ์ สหกรณ์ มี การระบุ ปั จจัย ความเสี่ ย งไว้ 3 เรื่ อง คื อ 1) ความผันผวนของราคานม 2) งบประมาณค่าใช้จ่ายของสหกรณ์ 3) การเกิ ดความผิดพลาดของเครื่ องจักร ซึ่ งสหกรณ์ได้มีการ วิเคราะห์ระดับ ความเสี่ ยงของทั้ง 3 ปั จจัย ซึ่ งความเสี่ ยงทั้งหมดอยู่ในเกณฑืที่ยอมรับได้และ สหกรณ์ ก็ ไ ม่ มี ก ารรองรั บ และแก้ไ ขความเสี่ ย งที่ อาจเกิ ดขึ้ น ท าให้ก ารประเมิ นความเสี่ ย งของ สหกรณ์ เป็ นสิ่ งที่ เหมาะสมแต่ ถึงแม้ว่าสหกรณ์ จะมี การประเมิ นความเสี่ ยงเพื่ อเป็ นการควบคุ ม ภายในของการปฏิ บ ตั ิงานกระบวนการผลิ ต แต่ก็ย งั คงมี ค วามเสี่ ยงที่ย งั คงเหลื ออยู่ในเรื่ องของ กระบวนการรับน้ านมดิ บ ซึ่ งปริ มาณและคุณภาพของน้ านมดิบในแต่ละวันไม่เท่ากัน สหกรณ์ จึง ควรสนใจปั ญหาที่เกิดขึ้นนี้และเตรี ยมรับมือกับความเสี่ ยงในการรับน้ านมดิบให้เพียงพอ เพื่อจะไม่ เป็ นปั ญหาร้ายแรงต่อการดาเนินงานในอนาคตได้ องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการควบคุม สหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด มีนโยบายและวิธีปฏิบตั ิงานที่ทาให้มนั่ ใจว่าเมื่อนาไปปฏิบตั ิ แล้วจะเกิ ดผลส าเร็ จตามที่ ฝ่ายบริ หารกาหนดไว้ กิ จกรรมเพื่อการควบคุ ม จะ โดยกิ จกรรมการ ควบคุมได้กาหนดขึ้นตามวัตถุประสงค์และผลการประเมินความเสี่ ยง ซึ่ งบุคลากรทุกคนทราบและ เข้าใจวัตถุประสงค์ของกิจกรรมการควบคุม มีการจัดทาคู่มือการปฏิบตั ิงานของแต่ละตาแหน่งงาน มีการแบ่งแยกหน้าที่การปฏิบตั ิงานที่สาคัญหรื องานที่เสี่ ยงต่อความเสี ยหาย โดยอาศัยอานาจหน้าที่ มีมาตรการติดตามและตรวจสอบให้การดาเนิ นงานขององค์กรเป็ นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ ซึ่งพนักงานทุกคนจะได้รับรู ้ข้ นั ตอนต่างๆจากคู่มือการปฏิบตั ิงาน โดยทฤษฎีการควบคุมภายในตาม แนวคิด COSO กิจกรรมการควบคุมแบ่งเป็ น 7 ประเภท 1. การก าหนดนโยบายและแผนงาน ฝ่ ายบริ หารมี การกาหนดนโยบาย และการจัดทา งบ ประมาณเพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ชี้ ให้ผปู้ ฏิบตั ิงานเห็นความเสี่ ยงที่อาจเกิ ดขึ้นใน การปฏิบตั ิงาน เพื่อให้เกิดความระมัดระวังและสามารถปฏิบตั ิงานให้สาเร็ จตามวัตถุประสงค์ 2. การสอบทานโดยผูบ้ ริ หาร ในการดาเนิ นงานแต่ ละขั้นตอนจะมีก ารตรวจสอบการ ดาเนิ นงาน เป็ นการตรวจสอบผลการปฏิ บตั ิ งานของผูบ้ ริ หารระดับกลางและพนัก งานในสาย


190

การบังคับบัญชาว่าการปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามนโยบายข้อบังคับที่กาหนดหรื อไม่ แล้วจึงประมวลผล ส่ งไปให้ผบู ้ ริ หารพิจารณา 3. การควบคุมทางกายภาพ มีมาตรการป้ องกันและดูแลรักษาทรัพย์สินอย่างรัดกุมและ เพียงพอ มีคู่มือการใช้เครื่ องมือให้ถูกวิธีเพื่อรักษาสิ นทรัพย์ให้มีระยะเวลาใช้งานให้ยาวนาน มีเวร ยามรักษาการณ์ 4. การแบ่งแยกหน้าที่ ในแต่ละส่ วนงานมีการแบ่งแยกหน้าที่กนั อย่างชัดเจน ไม่ให้บุคคล เดี ยวปฏิ บตั ิงานตั้งแต่ตน้ จนจบ เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงต่อข้อผิดพลาดหรื อการทุจริ ต อย่างเช่ นใน ขั้นตอนการรั บน้ านมดิ บ ทางสหกรณ์ จะมี แบบฟอร์ ก ารลงเวลา น้ า หนัก นม และการจ่า ยเงิ นให้ เกษตรกร ซึ่ งพนักงานที่รับน้ านมดิบกับพนักงานที่จ่ายเงินให้เกษตรกรไม่ใช่บุคคลเดียวกัน เพื่อเป็ น การป้ องกันการทุจริ ตที่อาจเกิดขึ้นได้ 5. ดัช นี วดั ผลการดาเนิ นงาน สหกรณ์ มี ก ารวัด ผลการด าเนิ นงานปี ละครั้ ง โดยการดู ความสัมพันธ์ของข้อมูลทางการเงินที่เกิดขึ้นภายใน 1 ปี จากคณะกรรมการตรวจสอบ อาจจะทาให้ สหกรณ์ แก้ไขความผิดพลาดได้ไม่ทนั กาล จึงควรที่จะมีการวัดผลอย่างน้อยปี ละ2ครั้ง อาจจะเป็ น โดยการตรวจสอบจากงบการเงินที่ทาทุกสิ้ นเดือน เนื่องจากหากเกิดข้อผิดพลาดจะได้รู้ทนั ทีวา่ ส่ วน ไหนที่เราควรให้ความสนใจมากขึ้น และสามารถแก้ไขได้ทนั เวลา 6. การจัดทาเอกสารหลักฐาน สหกรณ์ มีการจัดทาเอกสารทุกขั้นตอนไว้เว้นแม้แต่การ ผลิต ตั้งแต่รับน้ านมดิบ พาสเจอร์ ไรส์ จนกระทัง่ บรรจุ มีการลงรายละเอียดทุกอย่างในแบบฟอร์ ม ทั้งสิ้ น เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบเอกสารหรื อปั ญหาที่อาจเกิดขึ้น และเพื่อเป็ นหลักฐานอ้างอิงใน การปฏิบตั ิงาน 7. การตรวจสอบการปฏิ บตั ิงานอย่างเป็ นอิสระ สหกรณ์ไม่มีการตรวจสอบภายใน จะมี การตรวจสอบงบการเงินตอนสิ้ นงวดเท่านั้น ซึ่ งต้องมาจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์เท่านั้น องค์ประกอบการควบคุมภายในด้านกิจกรรมการควบคุมของสหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด มีกิจกรรมการควบคุมที่เหมาะสมเพียงพอและมีประสิ ทธิ ภาพ โดยมีการกระจายอานาจ กาหนด


191

วิธีการปฏิบตั ิงานและการควบคุมในแต่ละขั้นตอน มีการแบ่งแยกหน้าที่อย่างชัดเจน มีการป้ องกัน และดูแลรักษาทรัพย์สินอย่างรัดกุมและเพียงพอ การจัดทาหลักฐานเอกสารสามารถตรวจสอบได้ แต่สหกรณ์ ยงั มีส่วนที่ให้ความสนใจไม่เพียงพอนัน่ ก็คือการวัดผล ซึ่ งสหกรณ์จะมีการวัดผลเพียง ครั้งเดียวจากงบการเงินเมื่อสิ้ นปี ซึ่ งอาจทาให้เกิดปั ญหาที่แก้ไขได้ยาก จึงควรที่จะมีการวัดผลเพิ่ม เป็ นปี ละ 2 ครั้ง เพื่อให้สหกรณ์สามารถควบคุมและป้ องกันความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ และถึงแม้วา่ สหกรณ์จะไม่มีการตรวจสอบภายในซึ่ งเป็ นการผิดจากหลักการควบคุมภายในที่ดี แต่สหกรณ์จะมี การตรวจสอบอย่างเคร่ งครัดจากกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ และยังมีการสอบทานจากผูบ้ ริ หารซึ่ งจะ เป็ นการสุ่ มตรวจการควบคุมภายใน รวมถึงการปฏิบตั ิงานของพนักงาน จึงถือว่าเป็ นการทดแทนกัน ได้และไม่เป็ นผลกระทบต่อกับกิจกรรมการควบคุมของสหกรณ์ เป็ นสิ่ งที่สามารถยอมรับได้ องค์ ประกอบที่ 4 สารสนเทศและการสื่ อสาร สหกรณ์ โคนมบ้า นบึ ง จากัด มี ระบบข้อ มูล สารสนเทศที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกับ การปฏิ บ ตั ิ ง าน เหมาะสมต่อความต้องการของผูใ้ ช้และมีการสื่ อสารไปยังฝ่ ายบริ หารและผูท้ ี่เกี่ยวข้องในรู ปแบบที่ ช่วยให้ผรู ้ ับข้อมูลสารสนเทศปฏิบตั ิหน้าที่ตามความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผล และบรรลุวตั ถุประสงค์ ซึ่งทางสหกรณ์จะใช้สารสนเทศในการสื่ อสารกับผูบ้ ริ หารโดยการส่ งอีเมล์ เพื่อเป็ นการรับส่ งข้อมูลโต้ตอบกันได้ ที่กิจกาจเลือกใช้อีเมล์ในการตอบโต้กบั ผูบ้ ริ หารนั้นเพื่อให้ ผูบ้ ริ หารได้ขอ้ มูลที่เป็ นปั จจุบนั และทันเวลา ในการตัดสิ นใจเรื่ องต่างๆที่เร่ งรี บ แต่ในส่ วนงานอื่นๆ สารสนเทศที่ใช้เพื่อเป็ นการบอกข้อมูลข่าวสารที่เป็ นปั จจุบนั จะเป็ นการใช้บอร์ ดประชาสัมพันธ์ใน พนักงานทุ กคนในได้รับรู ้ ข่าวที่เกิ ดขึ้น เป็ นการส่ งสารครั้งเดี ยวแต่ทุกคนรับรู้พร้อมกัน และทาง สหกรณ์จะมีช่องทางให้พนักงานสามารถแสดงความคิดเห็นหรื อข้อเสนอแนะโดยการมีกล่องรับ ความคิดเห็ นติดคู่กบั บอร์ ดประชาสัมพันธ์ และการสื่ อสารในฝ่ ายผลิตจะไม่มีสารสนเทศที่ใช้ใน การสื่ อสารที่ทนั สมัย จะเป็ นการโทรศัพท์ หรื อการบอกด้วยบอร์ ดประชาสัมพันธ์มากกว่า ซึ่ งการที่ ทางสหกรณ์ ไม่ใช้สารสนเทศในการสื่ อสารไม่ได้ส่งผลต่อการผลิตให้สหกรณ์ เนื่ องจากพื้นที่ใน การผลิ ตเป็ นพื้นที่ๆสามารถเดิ นหากันได้ การที่สหกรณ์จะใช้การสื่ อสารโดยการบอกปากเปล่าก็ ไม่ได้ส่งผลทระทบให้กบั การผลิตอย่างไร และทางสหกรณ์มีการจัดทาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ การดาเนินงานการผลิต และการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ไว้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนและเป็ น ปัจจุบนั โดยจะติดไว้ที่แต่ละแผนกเพื่อให้เข้าใจไปในทางเดียวกัน แต่ทางผูศ้ ึกษามีขอ้ เสนอแนะ คือ บางครั้งอาจจะเกิดความผิดพลาดในการสื่ อสารได้ เมื่อแต่ละฝ่ ายได้มีการสื่ อสารกันก็ควรที่จะเขียน


192

ลงในบอร์ ดประชาสัมพันธ์เพื่อป้ องกันความผิดพลาดอีกทางหนึ่ งด้วย ซึ่ งจะช่ วยทาให้การสื่ อสาร ของแต่ละฝ่ ายมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น องค์ ประกอบที่ 5 การติดตามประเมินผล สหกรณ์ โคนมบ้านบึ ง จากัด ได้มีก ารติดตามผลการปฏิ บตั ิงานของพนักงานทุกฝ่ ายใน สหกรณ์ โดยเฉพาะฝ่ ายผลิ ตซึ่ ง เป็ นหัวใจหลักของการปฏิ บ ตั ิง าน จึง ต้องมี การติ ดตามผลอย่า ง ใกล้ชิดเพื่อป้ องกันปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นและจะสามารถแก้ไขได้ทนั เวลา อย่างเช่นในกระบวนการรับ น้ านมดิบซึ่ งน้ านมที่สหกรณ์ได้รับในแต่ละวันมีคุณภาพต่างกัน ทาให้สหกรณ์ตอ้ งมีการตรวจสอบ และติดตามผลทุกวัน โดยสหกรณ์จะมีแผนกวิจยั และตรวจสอบคุณภาพนมที่ได้รับมา เมื่อมีปัญหา เกิดขึ้นเช่นน้ านมดิบที่รับมาไม่ได้มาตรฐานมีกลิ่นหรื อสี ที่แปลกไปจากเดิม ก็จะต้องนาน้ านมดิบอ ยกไว้เพื่อตรวจสอบในขั้นตอนต่อไป และแผนกวิจยั จะมีการประเมินคุณภาพการผลิตโดยการสุ่ ม ตรวจนมพาสเจอร์ไรส์ ทุกรสอาทิตย์ละ 2 ครั้ง เพื่อตรวจดูวา่ นมที่ผลิตออกมานั้นยังมีคุณภาพและมี คุ ณค่าสารอาหารที่ เป็ นประโยชน์มากเท่า ที่ กาหนดไว้หรื อไม่ และในฝ่ ายอื่นๆสหกรณ์ จะมีการ ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงานของพนักงานเป็ นระยะ โดยการให้พนักงานประเมินตนเอง หรื อให้หวั หน้าฝ่ ายประเมินลูกน้องถึงการทางานที่มีประสิ ทธิ ภาพ เมื่อถึงเวลาสิ้ นปี ก็จะมีการเพิ่ม โบนัสเพื่อเป็ นขวัญกาลังใจให้แก่พนักงานในการทางานต่อไป และทางสหกรณ์ยงั มีการประเมิน การควบคุมอย่างเป็ นอิสระอย่างน้อยปี ละครั้ง จากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และมีการรายงานผลการ ประเมินการไม่ปฏิบตั ิ ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมีการกระทาอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อองค์กร อย่างมีนยั สาคัญ วิกฤตการณ์ อาหารทีส่ ่ งผลต่ อการควบคุมภายในสหกรณ์โคนมบ้ านบึง จากัด วิกฤตการณ์อาหารที่เกิดขึ้นในปัจจุบนั มีความรุ นแรงขึ้นเรื่ อยๆ จากราคาน้ ามันที่เพิ่มสู งขึ้น ทาให้ราคาข้าวของมีราคาแพงขึ้นไปด้วย และส่ งผลมาถึงเกษตรกรของไทย เนื่องจากวิกฤตการณ์ อาหารนี้ทาให้เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนมมีจานวนลดน้อยลง เนื่ องจากต้นทุนการเลี้ยงโคนมที่สูงขึ้นจาก ค่าอาหาร ค่าที่ดิน ดอกเบี้ยเงิ นกู้ และราคาสิ นค้าเกษตรที่แพงขึ้น ทาให้เกษตรกรผูเ้ ลี้ ยงโคนมไม่ สามารถแบกรั บ ภาระที่ เกิ ดขึ้ นได้ จึ งส่ งผลให้น้ า นมดิ บที่ สหกรณ์ ไ ด้รับในปั จจุบนั มีจานวนลด น้อยลงไปด้วย และวิกฤตการณ์อาหารที่เกิ ดขึ้นทาให้ตอ้ งเพิ่มการผลิตอาหารของโลกขึ้นอีก 50% เพื่อสนองความต้องการที่เพิ่มสู งขึ้นเรื่ อยๆ การที่ราคาอาหารที่แพงขึ้นเกิดจากการที่ผลผลิตลดลง


193

สวนทางกับ ความต้อ งการบริ โ ภคที่ สู ง ขึ้ น ซึ่ งสิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้ส่ ง ผลกระทบที่ ร้ า ยแรงให้ก ับ สหกรณ์ จากการวิเคราะห์การควบคุ มภายในของสหกรณ์ พบว่าวหกรณ์ มีการควบคุ มภายในที่ดี และอยู่ในเกณฑ์ที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง ทาให้วิเคราะห์ได้ว่าสหกรณ์ จะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้ เพียงพอต่อความต้องการของตลาดได้ สามารถขับเคลื่อนธุ รกิจนมพาสเจอร์ ไรส์ให้ดาเนินต่อไปได้ ในอนาคต ถึงแม้วา่ ในปั จจุบนั จะมีเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนมลดน้อยลง แต่ในอนาคตคาดว่าสหกรณ์จะ สามารถติดต่อกับเกษตรกรรายใหม่ได้ และสามารถควบคุมความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นจากวิกฤตการณ์ อาหารนี้ได้ดีเช่นกัน วิกฤตการณ์อาหารที่เกิ ดขึ้นนี้อาจจะเป็ นโอกาสให้เกษตรกรไทยมีรายได้เพิ่มมากขึ้น จาก การเปิ ดเสรี ทางการค้า ระหว่า งประเทศสมาชิ ก อย่างเสรี เนื่ องจากประเทศไทยเป็ นประเทศที่ มี ความอุ ด มสมบู ร ณ์ แ ละเป็ นประเทศที่ ผลิ ต อาหารส่ ง ออกที่ ส าคัญของโลก และในปั จจุ บ นั นี้ มี การส่ งเสริ มแนวทางการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรแบบใหม่ เพื่อส่ งออกไปในตลาดโลก ดังนั้นเรา ทางสหกรณ์ ซ่ ึ ง มี ก ารควบคุ ม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพอยู่แล้วจึ ง ต้องเร่ ง พัฒนาการควบคุ มให้ดี ยิ่งขึ้นไปอีกเพื่อที่ จะเป็ นผูส้ ่ งออกนมคุ ณภาพดีไปยังประเทศในกลุ่มอาเซี ยน และเพื่อเพิ่มรายได้ ให้กบั เกษตรกรไทย การเจรจาเปิ ดการค้าเป็ นสิ่ งที่สาคัญที่สุดที่จะส่ งผลให้เกษตรกรมีคุณภาพชี วิต ที่ ดียิ่งขึ้ น แม้หลายประเทศจะตกอยู่ใ นสถาณการณ์ ที่ ลาบาก แต่ ป ระเทศไทยควรจะใช้วิก ฤติ น้ ี เปลี่ยนให้เป็ นโอกาสใน การเพิ่มรายได้ของเรา


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ การศึกษาปั ญหาพิเศษเรื่ อง การควบคุมภายในกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ กรณี ศึกษา สหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด คณะผูศ้ ึกษาได้ทาการรวบรวมข้อมูล กระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ ไรส์ ของสหกรณ์โคนมบ้านบึง จากัด ทั้งหมดแบ่งเป็ น 3 แผนก คือ แผนกรับน้ านมดิบ แผนกพาสเจอร์ ไรส์ และแผนกบรรจุ สามารถสรุ ปได้ดงั นี้ สรุ ปผลการศึกษา สหกรณ์ โคนมบ้านบึ ง จากัด ได้ปฏิ บตั ิตาม กฎระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายของสหกรณ์ โดยต้องแสดงข้อมูล แต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ประกอบด้วย 1) สภาพแวดล้อมของ การควบคุม 2) การประเมิ นความเสี่ ยง 3) กิ จกรรมการควบคุม 4) สารสนเทศและการสื่ อสาร และ5) การติ ดตามประเมินผล รวมทั้งจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้อมข้อเสนอแนะและ แผนการปรับปรุ งระบบการควบคุมภายใน การควบคุ ม ภายในด้ า นสภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม ของ สหกรณ์ โ คนมบ้า นบึ ง จ ากั ด มีความเหมาะสมเพียงพอ มีการจัดโครงสร้างและสายการบังคับบัญชาที่ชดั เจน จัดโครงสร้างองค์กร แบบกระจายอานาจ มอบหมายอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้กบั บุคลากรตรงตามตาแหน่งงาน โดยแบ่งแยกหน้าที่และลักษณะการดาเนินงานอย่างชัดเจน มีการจัดทาขั้นตอนการปฏิบตั ิงานขึ้นอย่าง เป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษร การพัฒนาความรู้ ความสามารถของบุ คลากรและประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ งาน โดยจะพิจารณาถึงความซื่ อสัตย์และจริ ยธรรม และสิ่ งที่สหกรณ์ไม่มีนน่ั ก็คือการจัดฝึ กอบรมพนักงาน ใหม่ ซึ่ งทางสหกรณ์ ควรจะมี การอบรมเตรี ยมความพร้ อมสาหรับพนักงานใหม่เกี่ ยวกับขั้นตอนการ ทางานและอานาจหน้าที่ของแต่ละฝ่ าย \


195

การควบคุมภายในด้านการประเมินความเสี่ ยง สหกรณ์มีการระบุปัจจุยความเสี่ ยงไว้ 3 เรื่ อง คือ 1.) ความผันผวนของราคานม 2.) งบประมาณค่าใช้จ่ายของสหกรณ์ 3.) การเกิดความผิดพลาดของ เครื่ องจักร ซึ่ งสหกรณ์ได้มีการวิเคราะห์ ระดับความเสี่ ยงของทั้ง 3 ปั จจัย ซึ่ งความเสี่ ยงทั้งหมดอยูใ่ น เกณฑ์ที่ยอมรับได้และสหกรณ์ ก็ไม่มีการรองรับและแก้ไขความเสี่ ยงที่อาจเกิ ดขึ้น ทาให้การประเมิน ความเสี่ ยงของสหกรณ์เป็ นสิ่ งที่เหมาะสม แต่ถึงแม้วา่ สหกรณ์จะมีการประเมินความเสี่ ยงเพื่อเป็ นการ ควบคุมภายในของการปฏิบตั ิงานกระบวนการผลิต แต่ก็ยงั คงมีความเสี่ ยงที่ยงั คงเหลืออยูใ่ นเรื่ องของ กระบวนการรับน้ านมดิบ ซึ่ งปริ มาณและคุณภาพของน้ านมดิบในแต่ละวันไม่เท่ากัน สหกรณ์ จึงควร สนใจปั ญหาที่เกิ ดขึ้ นนี้ และเตรี ยมรับมือกับความเสี่ ยงในการรับน้ านมดิบให้เพียงพอ เพื่อจะไม่เป็ น ปัญหาร้ายแรงต่อการดาเนินงานในอนาคตได้ การควบคุ มภายในด้านกิ จกรรมการควบคุ ม มีกิจกรรมการควบคุ มที่เหมาะสมเพียงพอและ มีประสิ ทธิ ภาพ โดยมีการกระจายอานาจ กาหนดวิธีการปฏิ บตั ิงานและการควบคุ มในแต่ละขั้นตอน มี ก ารแบ่ ง แยกหน้า ที่ อ ย่า งชัด เจน มี ก ารป้ องกัน และดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์สิ น อย่า งรั ด กุ ม และเพี ย งพอ การจัดทาหลักฐานเอกสารสามารถตรวจสอบได้ แต่สหกรณ์ยงั มีส่วนที่ให้ความสนใจไม่เพียงพอนัน่ ก็ คือการวัดผล ซึ่ งสหกรณ์จะมีการวัดผลเพียงครั้งเดียวจากงบการเงินเมื่อสิ้ นปี ซึ่ งอาจทาให้เกิดปั ญหาที่ แก้ไขได้ยาก จึงควรที่จะมีการวัดผลเพิ่มเป็ นปี ละ 2 ครั้ง เพื่อให้สหกรณ์สามารถควบคุ มและป้ องกัน ความเสี่ ยงที่อาจเกิ ดขึ้นได้ และถึ งแม้ว่าสหกรณ์จะไม่มีการตรวจสอบภายในซึ่ งเป็ นการผิดจากหลัก การควบคุมภายในที่ดี แต่สหกรณ์จะมีการตรวจสอบอย่างเคร่ งครัดจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และยังมี การสอบทานจากผูบ้ ริ หารซึ่ งจะเป็ นการสุ่ มตรวจการควบคุมภายใน รวมถึงการปฏิบตั ิงานของพนักงาน จึงถื อว่าเป็ นการทดแทนกันได้และไม่เป็ นผลกระทบต่อกับกิ จกรรมการควบคุมของสหกรณ์ เป็ นสิ่ งที่ สามารถยอมรับได้ การควบคุ ม ด้า นสารสนเทศและการสื่ อสาร สหกรณ์ มี การใช้สารสนเทศในการสื่ อสารกับ พนักงานทุ กคนโดยการติ ดบอร์ ดประชาสัมพันธ์ข่าวต่างๆให้ทุกคนได้รับรู้ โดยทัว่ กัน โดยพนักงาน สามารถแสดงความคิดเห็ นหรื อข้อเสนอแนะด้วยการเขียนใส่ กล่องแสดงความคิดเห็นที่ทางสหกรณ์ เตรี ยมไว้ และการสื่ อสารกับผูบ้ ริ หารจะใช้การส่ งอีเมล์เพื่อเป็ นการรับส่ งข้อมูลที่สามารถโต้ตอบกันได้ และรวดเร็ วทันเวลา แต่สหกรณ์ ตอ้ งปรับปรุ งในด้านการสื่ อสารของฝ่ ายผลิตเนื่ องจากในแต่ละแผนก ย่อยจะมีการสื่ อสารโดยปากเปล่า ไม่มีการเขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ซึ่ งอาจจะรวดเร็ วกว่าก็จริ งแต่ก็


196

ควรที่ จะป้ องกันความผิดพลาดโดยเขียนข้อความไว้ที่บอร์ ดด้วย เพื่อเพิ่มการมีประสิ ทธิ ภาพในการ สื่ อสารมากยิง่ ขึ้น การควบคุมภายในด้านการติดตามประเมินผล มีการติดตามผลในระหว่างปฏิบตั ิงานและการ ตรวจสอบการปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายอย่างสม่าเสมอโดยเฉพาะแผนกผลิตจะมีการติดตามเป็ น พิเศษ เนื่ องจากต้องมี การวิจยั คุ ณภาพน้ านมดิบที่รับมาและเมื่อพาสเจอร์ ไรส์ แล้วก็ตอ้ งนามาวิจยั หา คุณภาพนมอีกครั้ง เพื่อตรวจสอบว่านมที่พาสเจอร์ ไรส์ แล้วมีประโยชน์ตามที่กาหนดไว้หรื อไม่ และ ในฝ่ ายอื่นๆจะมีการติดตามประเมินผลการบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กรเป็ นระยะ โดยการประเมิน การควบคุมด้วยตนเอง ประเมินจากหัวหน้าประเมินลูกน้อง และการประเมินการควบคุมอย่างเป็ นอิสระ อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง สภาพและปั ญหาการด าเนิ นงานรวมทั้ งวิ ธี การแก้ ปั ญหาการควบคุ ม ภายในของ สหกรณ์ โคนมบ้านบึง จากัด ในการดาเนิ นงานมีปัญหาในแผนกรับน้ านมดิบ คือ ปริ มาณและคุณภาพ ของน้ านมดิ บที่รับในแต่ละวันมีไม่เท่ากัน ทาให้สินค้าสาเร็ จรู ปในแต่ละวันไม่เท่ากัน มีการแก้ปัญหา คือ สหกรณ์ควรที่จะมีการกาหนดระดับน้ านมดิบที่จะนาไปแปรรู ปในแต่ละวันให้เท่ากัน เพื่อที่จะผลิต สิ นค้าออกมาจาหน่ ายให้เพียงพอต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภค และติดต่อกับเกษตรกรผูเ้ ลี้ ยงโคนม ในพื้นที่ต่างๆให้มากขึ้นเพื่อป้ องกันความเสี่ ยงกรณี ที่มีน้ านมดิบจากสมาชิกสหกรณ์ไม่เพียงพอ วิก ฤตการณ์ อ าหารที่ เ กิ ดขึ้ น ท าให้เ กษตรกรผูเ้ ลี้ ย งโคนมลดน้อ ยลง สาเหตุ ม าจากสภาวะ เศรษฐกิ จในปั จ จุ บ ันจึ ง ท าให้ ป ริ มาณน้ า นมดิ บ ที่ ส หกรณ์ ไ ด้รับ มี จ านวนลดน้อยลง อย่า งไรก็ ต าม วิก ฤตการณ์ อาหารที่ เกิ ดขึ้ น ไม่ ไ ด้ส่ ง ผลกระทบต่ อสหกรณ์ มากนัก จากการศึ ก ษาพบว่า สหกรณ์ มี การควบคุมภายในที่ดีและมีประสิ ทธิ ภาพตามทฤษฎี การควบคุมภายในตามแนวคิด COSO ทาให้ วิเคราะห์ได้วา่ สหกรณ์จะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดได้ และคาดว่า ในอนาคตสหกรณ์ จะมีการเจริ ญเติบโตมากขึ้นและเป็ นที่รู้จกั ของเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนมเป็ นอย่างมาก ทาให้สหกรณ์สามารถขับเคลื่อนธุ รกิจนมพาสเจอร์ไรส์เพื่อให้แข่งขันกับตลาดโลกได้


197

ข้ อเสนอแนะ 1. การควบคุมภายในของสหกรณ์มีหลายแห่ ง ควรจะศึกษาสหกรณ์ อื่นให้ครบถ้วน เพื่อให้ เกิดความเข้าใจการควบคุมภายในของสหกรณ์อื่นๆ ด้วย 2. ศึ ก ษาเปรี ยบเที ย บระหว่ า งหน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน เกี่ ย วกั บ การจัด ระบบ การควบคุมภายในว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร


เอกสารอ้างอิง กองบรรณาธิการ. (2551, 15 เมษายน). ผวาภัยฟู้ ดไครซิสสะเทือน 100 ล.คน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ จาก : http://www.thaipost.net/index.asp?bk=thaipost&iDate=2551&news_id=157167&cat_id= (วันที่คน้ ข้อมูล : 21 สิ งหาคม 2551). ก่อเกียรติ พานิชกุล. 2542. ศัพท์ ธุรกิจและตลาดหลักทรัพย์ . พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั บพิธการพิมพ์ จากัด. จันทนา สาขากร. 2551. การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด ทีพีเอ็น เพรส. เจริ ญ เจษฎาวัลย์. 2546. การบริหารความเสี่ ยง. พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั พอดี จากัด. ชูศกั ดิ์ หงส์มาลา. 2546. สภาพการบริหารงานพัสดุตามมาตรฐานการควบคุมภายในของสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินในสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จังหวัดร้ อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตร มหาบัณฑิต, คณะกรรมการบัณฑิต มหาวิทยาลัยภัฎสุ รินทร์ . ดรรชนี บุญเหมือนใจ. 2549. “การควบคุมภายใน:กลไกลดความเสี่ ยง”. วารสารการจัดการ สมัยใหม่ 4 (1) หน้า 37-48. ดีใหม่ อินทรพานิชย์. 2551. สภาพและปัญหาการดาเนินงานควบคุมภายในของโรงเรียน สั งกัด สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขา การบริ หารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2548. แนวทางการตรวจสอบภายใน. พิมพ์ครั้งที่ 1. ปทุมธานี: ดูมายเบส.


199

ถิราวุฒิ ทองทรง. 2547. สภาพและปัญหาของระบบการควบคุมภายใน ศึกษากรณี: บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด. วิทยานิพนธ์บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทัว่ ไป มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. นพฤทธิ์ คงรุ่ งโชค. 2549. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี . กรุ งเทพมหานคร: ท้อป. นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรี จนั่ เพชร. 2545. การสอบบัญชี . จานวน 3,000 เล่ม. พิมพ์ ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: ม.ป.ท. ปานปรี ย ์ พหิทธานุกร. เตรียมรับมือวิกฤตการณ์อาหารโลก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/parnpree/2008/04/24/entry-1.(วันที่คน้ ข้อมูล : 21 สิ งหาคม 2551). ประดิษฐ์ ศิริคุปต์. 2549. ความรู้ความเข้ าใจของข้ าราชการ สรส. ทีม่ ีต่อการควบคุมภายในตาม มาตรฐาน ทีค่ ณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด. ปัญหาพิเศษ ปริ ญญารัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารทัว่ ไป วิทยาลัยการบริ หารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. พนารัตน์ วสุ วฒั นศรี . 2551. แนวทางการดาเนินงานการควบคุมภายในของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม. พรพรรณ นงนุช. 2551. ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน. การค้นคว้า อิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต, คณะบริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสิ นทร์ . พรสิ ริ ปุณเกษม และคณะ. 2550. แนวทางการควบคุมภายใน เพือ่ การจัดทารายงานการเงินทีม่ ี คุณภาพ. กรุ งเทพมหานคร: พี.เอ.ลีฟวิง่ .


200

พลพธู ปี ยวรรณ และสุ ภาพร เชิงเอี่ยม. 2550. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: วิทยพัฒน์. พริ้ มเพรา ธงไชย. 2549. ศึกษาสภาพการดาเนินงานการควบคุมภายในด้ านการเงินและบัญชีของ สถานศึกษาในสั งกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ประจาปี 2547. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริ หารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. 2536. เอกสารการสอนชุ ด การบริหารการตลาด. จานวน 3,500 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. วัชรี พร เศรษฐสักโก. 2551. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี . พิมพ์ครั้งที่ 7. วิทยากร เชียงกุล. 2548. อธิบายศัพท์เศรษฐกิจ ธุรกิจ การเงิน และการธนาคาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์สายธาร. วิราภรณ์ พึ่งพิศ. 2550. ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน ของ บริษัท บูรพาอุตสาหกรรม จากัด. วิทยานิพนธ์บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทัว่ ไป มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. วิไล แจ้งสุ ทธิวรวัฒน์. 2545. ทัศนคติของผู้ตรวจสอบภายในต่ อการควบคุมภายในตามแนว COSO. วิทยานิพนธ์บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. วีระยุทธ งามล้าน. 2550. การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐาน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ของสถานศึกษา สั งกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ยโสธร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริ หารการศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี . ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ. 2547. ศัพท์การบริหารธุรกิจ. กรุ งเทพมหานคร: ธรรมสาร.


201

สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน. 2544. คาแนะนา: การนามาตรฐานการควบคุมภายในไปใช้ ในเชิง ปฏิบัติ. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สุ ขมุ โพธิ สวัสดิ์. 2553. การวางระบบบัญชี . พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือน ตุลา. สุ ชาย ยังประสิ ทธ์กลุ . 2552. การสอบบัญชี . พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส. อนุสอน เทพสุ วรรณ์. 2551. ปัญหาการควบคุมภายในทางการบัญชีของสหกรณ์การเกษตร ใน จังหวัดพิษณุโลก. การค้นคว้าแบบอิสระปริ ญญาบัญชีมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อุษณา ภัทรมนตรี . ม.ป.ป. การตรวจสอบภายในสมัยใหม่ . พิมพ์ครั้งที่ 3. ม.ป.ท.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.