WEAVING LIFE - the Journey

Page 1

“นิรมิตภูษา มนตราเมืองเงิน” ธรรมนิติ์ ภูวเสถียร 22-26 ธันวาคม 2561 หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่

THUMMANIT PHUVASATIEN

“WEAVING LIFE - the Journey”

December 22-26, 2018, Chiang Mai City Arts & Cultural Centre



งาน “นิรมิตภูษา มนตราเมืองเงิน” เป็นการนำ�เสนอผลงาน แสดงเสื้อผ้าที่มาจากแรงบันดาลใจ และแนวความคิด ของคุณธรรมนิต์ิ ภูวเสถียร ทีเ่ กิดมาจากความรูส้ กึ สำ�นึก ในพระมหากรุ ณาธิ คุ ณของสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช ทีท่ รงอุทศิ ช่วยฟืน้ ฟูสง่ิ ทอพืน้ บ้านเพือ่ ให้ งานสิ่งทอเป็นที่นิยม และมีชีวิตยืนยาวต่อไปในแผ่นดิน คุณธรรมนิติ์ ภูวเสถียร จึงพยายามที่จะลองนำ�เอาผ้า ที่สั่งสมไว้หลายชนิด มาทดลองออกแบบชุดตามสไตล์ ความชอบของตนขึน้ มา โดยนำ�ศิลปะในรูปแฟชัน่ ทีน่ า่ สนใจ เป็นงานที่เริ่มจากการมีความคิดทางการดีไซน์ว่าอยากได้ สิง่ ต่าง ๆ อย่างไร ได้พากเพียรทำ�ขึ้นมาจากฝีมือตนเอง อาศัยความตั้งใจมุ่งมั่นในที่สุดก็เกิดการเรียนรู้ในการสร้าง ชุดตัวแรกขึน้ มาสำ�เร็จ งาน “นิรมิตภูษา มนตราเมืองเงิน” ครัง้ นี้ กระผมได้รบั เกียรติ จากคุณธรรมนิต์ิ ภูวเสถียร ให้เขียนคำ�นิยม จึงมีความซาบซึง้ เป็นอย่างยิง่ และขอแสดงความชืน่ ชมคุณธรรมนิต์ิ ภูวเสถียร ที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้ผู้คนเกิดแรงบันดาลใจทางแฟชั่น จากสิง่ ทอพืน้ บ้าน รู้จักคุณค่าและการประยุกต์ดัดแปลง นำ�มาใช้งานได้จริง เพื่อต่อยอดให้งานสิ่งทอทุกประเภท เกิดความศรัทธานิยม และ การขยายตัวจากเล็กไปสูค่ วาม เป็นทีช่ น่ื ชอบอย่างกว้างขวางในอนาคต โดยทีบ่ คุ คลท่านนี้ ถือว่ามีบทบาทสำ�คัญโดยตรง และสมควรได้รบั การยกย่อง เชิดชูและดำ�รงอยู่อย่างมั่นคงเพื่อการครองชีวิตตน ชีวติ ครอบครัว และชีวติ ของคนในชาติอย่างมีเกียรติ ความมุง่ มัน่ ศรัทธา เป็นเกียรติคุณแก่ชาติบ้านเมืองไทยสืบไป

หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ (๒๕๕๓ - ๒๕๕๕) ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๑


‘’มหัศจรรย์งานสร้างสรรค์ภูษาภัตราภรณ์ ของ ธรรมนิติ์ ภูวเสถียร’’ ศาตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร เมือ่ ผมเริม่ เขียนบทความนี้ ผมก็เริม่ มีปญ ั หากับตัวเองเสียแล้ว ประการแรก คือ ผูท้ ผ่ี มจะเขียนถึง ท่านบอกว่า ท่านไม่มีความรู้เรื่องศิลปะ และไม่เคยเรียนศิลปะมาก่อนเลย อย่างนี้แล้วผมจะไปกล้าวิจารณ์ อะไรได้ เพราะหากว่าผมไปวิพากษ์ติเตียนเข้า ก็จะกลายเป็นผมไปรังแกคนที่อ่อนแอกว่า ประการที่สอง คือ ตัวผมเอง ต้องยอมรับว่าไม่ได้ร่ำ�เรียนมาทางด้านงานออกแบบเสื้อผ้า หรือ ด้านพัตราภรณ์เลย ซ้ำ�ส่วนตัวแล้วก็ไม่ได้เป็นไก่แจ้หรือนกยูงที่ชอบแต่งขนไซ้คอให้สวยงาม รู้ก็แต่เรื่อง ศิลปะของตัวเอง แล้วผมจะเอาอะไรไปวิจารณ์คนที่ทำ�งานมุ่งมั่น โดยที่ไม่หวังผลประโยชน์ขนาดนั้น แต่จะอย่างไรก็ตาม ผมก็ได้ตัดสินใจแล้วว่าจะใช้ความรู้ทาง “ศิลปะ” ที่ผมมีอยู่ ผลักดันให้ผม แก้ผ้าเอาหน้ารอดไปจนได้ เลยรับปากว่าจะเขียนให้ ผมรู้จักคุณน้อย หรือคุณธรรมนิติ์ ภูวเสถียร มานานนมแล้ว จะกี่ทศวรรษผมจำ�ไม่ได้ รู้แต่ว่า เคยไปพักทีโ่ รงแรมสวนดอยเฮ้าส์ ถนนห้วยแก้ว เชียงใหม่ โรงแรมที่คุณน้อยบริหารอยู่ รู้จักคุณน้อยที่นั่น และรู้ว่าชอบศิลปะ ผมมีงานชุดใหม่ก็เอาสูจิบัตรไปฝาก ก็ไม่ได้สนิทกันขนาดนั่งโต๊ะนอนคุยกัน แต่ก็รู้ว่ามี ใจรักศิลปะด้วยกัน ดูจากภายนอกก็เห็นว่าคุณน้อยมีรสนิยมอยู่ในขั้นไฮท์ แต่ก็แปลกที่วันหนึ่งผมได้ปะกับ คุณน้อยกลางถนนราชดำ�เนินตรงมุมอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เมื่อตอนที่การเมืองกำ�ลังเข้มข้น นั่นแสดงว่า คุณน้อยอยู่บนที่สูงแต่ก็ยังติดดินด้วย เป็นที่ประหลาดใจแก่ผมในช่วงเวลานั้นมาก แต่มาประหลาดใจอีกครั้ง เมื่อคุณน้อยส่งข้อความมาบอกว่าจะจัดนิทรรศการผลงานออกแบบ เสื้อผ้าของตัวเอง โดยเชิญชวนให้ผมเป็นผู้เขียนคำ�นิยมให้ลงพิมพ์ในหนังสือสูจิบัตร ซึ่งแสดงว่างานนี้ จริงจังไม่เล่น ๆ สนุก ๆ ผมก็คิดต่อไปอีกว่า แล้วคุณน้อยจะเอาอะไรมาแสดง เพราะไม่เคยเห็นคอลเล็คชั่น ของคุณน้อยปรากฎอยู่ที่ห้องเสื้อที่ไหนเลย เห็นก็แต่ชุดหรูอลังการณ์ที่คุณน้อยสวมใส่เมื่อตอนออกงานหรือ ใช้เดินทางไปต่างประเทศ โดยเฉพาะญี่ปุ่น แต่ก็ทำ�ให้เข้าใจได้ว่า เสื้อผ้าทีค่ ุณน้อยใส่อยู่นั้น คุณน้อยใส่ได้ เพียงคนเดียว ใครจะไปกล้าใส่ และแล้วนิทรรศการออกแบบพัตราภรณ์ก็เริ่มต้นภายใต้ชื่อ “นิรมิตภูษา มนตราเมืองเงิน” เนรมิตภูษาพัตราภรณ์ด้วยตัวเองและเพื่อตัวเอง ประโยคแรกคงจะพอเข้าใจความหมายที่คุณน้อยสื่อความมาถึง คือน่าจะเป็นงานสร้างสรรค์ เสื้อผ้าพัตราภรณ์ นิรมิตภูษา ส่วนมนตราเมืองเงิน ดูจะเป็นส่วนสำ�คัญที่เกี่ยวข้องกับความลุ่มหลงชื่นชมกับส่วนของศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรมอันเป็นสิ่งที่มีค่า มีความลึกล้ำ�ของที่ใดสักที่หนึ่งที่เรียกว่า “เมืองเงิน” เมืองเงินอยู่ที่ไหนเอ่ย เมืองเงินอยู่บริเวณพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว ตั้งอยู่บนฝั่งขวาของแม่น้ำ�โขง ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เเขวงไชยบุรี ทิศใต้ติดกับไทย ทีจ่ ังหวัดน่าน อยู่ระหว่างแม่น้ำ�โขงกับแม่น้ำ�น่าน ชุมชนมีส่วนผสมทางวัฒนธรรมทั้ง ลาว ไทย และจีน ทีอ่ ยูด่ า้ นบนเมืองเงินเคยเป็นส่วนหนึง่ ของอาณาจักรล้านนาเช่นเดียวกับเชียงใหม่ ปกครองโดยเจ้าเมืองไทลือ้ แต่ต่อมาตกอยู่ในความปกครองของสยามจนถึงปีพ.ศ.๒๔๔๗ และในยุคอาณานิคมดินแดนฝั่งขวาของ แม่น้ำ�โขงจึงตกอยู่ภายใต้อำ�นาจของฝรั่งเศส ซึ่งทำ�ให้เป็นความเจ็บปวดของฝ่ายสยาม - ไทย ที่มี



ข้อตกลงว่า แผ่นดินทีง่ อกเงยอยูก่ ลางแม่น�ำ้ โขง เช่นเกาะแก่งของแม่น�ำ้ ทัง้ หมด จะเป็นของฝรัง่ เศสและลาว ทีจ่ ริงหากย้อนไปสูอ่ ดีตอันไกลโพ้น ดินแดนและวัฒนธรรมเดิมก่อนเมืองเงิน น่าจะเป็นชนชาติขมุ ซึง่ เป็นชุมชนทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ ในสุวรรณภูมิ ขมุอาศัยอยูท่ ง้ั ใน จีน เวียดนาม ลาว และไทย ชาวขมุทม่ี ถี น่ิ กำ�เนิด จากสิบสองปันนา ตั้งแต่ ๒๕๐ - ๓๐๐ ปีมาแล้ว ต่อมากลายเป็นชาวไทลื้อสร้างเมืองเชียงรุ่ง และอพยพ มาสู่เมืองเงิน กลายเป็นภาพรวมของล้านนา ชาวขมุเดิมเกือบจะไม่มีใครรู้จักแล้ว ชื่อที่ยังอยู่ในทุกวันนี้กลายเป็นชาวไทลื้อ วัฒนธรรมที่เห็น กันอยู่อย่างชัดเจนก็คือ การทอผ้าแต่งกายแบบไทลือ้ เมืองเงิน ใช้เสือ้ ผ้าทอสีดำ�ซึ่งไทลื้อเรียกว่า “เสื้อเมือง’’ ผู้ชายสวมเสื้อแขนยาว คอตั้ง สีดำ�หรือสีเข้ม ชาวไทลื้อถักทอผ้าเพื่อใช้กันเองในครอบครัว ใช้ในวาระสำ�คัญ หรือมอบเป็นของขวัญแก่ผู้ใหญ่ และญาติพน่ี อ้ ง หรือทำ�ถวายวัดเพือ่ การกุศลแก่ผลู้ ว่ งลับ ความงดงามของผ้าถักทอและชุดแต่งกายของไทลือ้ นี้แสดงถึงฐานะความสำ�คัญทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองอีกด้วย แต่สำ�หรับชาวล้านนาโดยรวมแล้ว มีการโผกผ้าบนศรีษะที่เรียกว่า “ผ้าเคี่ยนหัว” มีทั้งที่ตกแต่งหรูหรา และเรียบง่าย เดิมประเพณีโผกผ้าขาว มาจากชาวพม่า คนไทยล้านนาจะโผกผ้าสีแดง วัฒนธรรมการถักทอเสื้อผ้าของชาวไทลื้อ และชาวล้านนา ยังคงสืบต่อให้เห็นอยู่ในประเพณี วัฒนธรรมร่วมสมัย ทำ�ให้เห็นถึงความเป็นตัวของตัวเอง ซึง่ มีความแตกต่างระหว่างคนไทยภาคกลาง และ ภาคเหนืออย่างเด่นชัด และกลายเป็นความภาคภูมิใจในความเข้มแข็งของวัฒนธรรมล้านนา และเเล้วก็มาถึง “นิรมิตภูษา มนตราเมืองเงิน” ศิลปกรรมบนเรือนร่างของคุณธรรมนิต์ิ ภูวเสถียร ซึ่งผมขอเรียกว่า “คุณน้อย’’ ดูจะคุ้นเคยกันมากกว่า คุณน้อยเป็นคนในศตวรรษที่ ๒๑ สิ่งที่คุณน้อยได้แสดงให้เห็นในศิลปกรรมบนเรือนร่างของ ตนเองนี้ เป็นการสืบทอดอารยธรรมวัฒนธรรมของชาวล้านนาเมืองเงินอย่างไม่มขี อ้ สงสัย ทัง้ ๆ ที่ คุณน้อย จบการศึกษาระดับปริญญาโทด้านการตลาดจาก Wagner College, Staten Island นิวยอร์ค จบแล้ว ก็มาเป็นอาจารย์ประจำ�ทีม่ หาวิทยาลัยพายัพ สาขาบริหารงานบุคคลและการตลาดอยู่ระยะหนึ่ง แล้วมา ทำ�งานบริหารงานโรงแรมสวนดอยเฮ้าส์จนถึงปัจจุบัน ซึ่งทั้งหมดไม่มีความเกี่ยวข้องกับงานด้านศิลปะ ตรงไหนเลย นั่นแสดงว่างานออกแบบพัตราภรณ์ที่ทำ�อยู่นี้เป็นความรักความชอบส่วนตัวจริง ๆ ผมได้เรียนรูจ้ ากชุดเสือ้ ผ้าของคุณน้อยว่า งานออกแบบเสือ้ ผ้านีช่ า่ งมีอสิ ระภาพมากมายเหลือเกิน มนุษย์จะทำ�อย่างไรกับสิ่งที่ปกปิดร่างกายของเราทั้งส่วนบนและส่วนล่าง แม้แต่สิ่งที่อยู่บนหัวก็ทำ�อะไรได้ มากมายให้สวยสดงดงาม ผมยังจำ�ได้ว่าครั้งหนึ่งเมื่อศิลปินใหญ่ท่านหนึ่งให้สัมภาษณ์แก่นักข่าวถึงประเด็น ที่ว่า ทำ�ไมเหล่าศิลปินทั้งหลายจึงมีชุดที่แปลกและสวยงามประจำ�ตัวของตน ศิลปินท่านนั้นตอบว่า มนุษย์ นั้นเจริญกว่าหมูหมากาไก่ และศิลปินก็ไม่ใช่ทนายหรือนักค้าหุ้นหรือนายธนาคาร เขาเป็นนักสร้างสรรค์ ทำ�ไมเขาจึงจะหาสิ่งสวย ๆ มาปกปิดร่างกายไม่ได้ ผมก็เห็นว่างานออกแบบเสื้อผ้าของคุณน้อย ไม่ใช่เพียงแต่สิ่งที่นำ�มาปกปิดร่างกายเท่านั้น หาก แต่เป็นเสื้อผ้าที่ยิ่งกว่าเสื้อผ้า มีสุนทรียภาพ มีคุณค่า ยกระดับให้สูงส่งมากกว่าปกติธรรมดา เป็นเช่น งานศิลปะทั้งหลาย เช่น งานจิตรกรรม ประติมากรรม สื่อผสม และศิลปะการแสดง ที่เริ่มต้นจากความ บันดาลใจไปสู่กระบวนการสร้างสรรค์ เกิดแนวทางของความคิด การสร้างสรรค์ และพัฒนาไปสู่ความ สำ�เร็จในเชิงศิลปะ แรงบันดาลใจเริ่มแรกของคุณน้อย น่าจะมาจากความรักความชอบในการถักทอประดิษฐ์เสื้อผ้า ให้กบั ตนเอง แต่แรงบันดาลใจทีผ่ ลักดันให้คณ ุ น้อยต้องทำ�งานนีอ้ ย่างจริงจังเช่นการทำ�งานศิลปะอืน่ ๆ ก็คือ



จากแรงกระตุน้ ทีม่ าจากความรูส้ กึ สำ�นึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พ์ิ ระบรมราชินนี าถ แห่งสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงอุทิศพระองค์ฟื้นฟูงานสิ่งทอพื้นบ้าน ทำ�ให้ทุกคนได้เห็นคุณค่า เห็นความงามที่แต่ก่อนเคยมองข้ามไป จนกลายเป็นที่นิยม กลายเป็นงาน ประเพณีวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่า มีชีวิตสืบต่อไปอีกยาวนาน งานผ้าบางชิ้นเหมาะสำ�หรับคนธรรมดาทั่วไป แต่บางชิ้นหยิบจับไม่ได้ คล้ายกับเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องกราบไหว้ คุณน้อยเริ่มสะสมผ้าพื้นบ้านโบราณที่ เห็นว่างามตามเสด็จ สะสมแล้วก็อยากเอามาสวมใส่ มองไปรอบข้างไม่มีใครก็ต้องเอาตัวเองเป็นนายแบบ แบบผ้าโบราณก็เหมาะกับคนโบราณ เมื่อจะนำ�มาสวมใส่ในยุคปัจจุบันก็จำ�เป็นต้องดัดแปลงให้เหมาะสม กับกาลเวลา จนกลายเป็นนักออกแบบพัสตราภรณ์โดยไม่รู้ตัว หน้าทีห่ รือบทบาททีส่ �ำ คัญของศิลปะก็คอื การนำ�ออกสูส่ าธารณะ หรือออกโชว์ตามวงจรของศิลปะคือ ศิลปะ ศิลปิน

คนดู

และหากไม่ครบปัจจัยดังกล่าว ก็จะเป็นผลงานศิลปะไม่ได้เพราะไม่ครบวงจร คุณน้อยเริม่ ใช้วธิ คี ดิ แบบคนทำ�งานศิลปะ มีผลงานของศิลปินร่วมสมัยต่างชาติลงภาพของเขาใน โลกโซเชียล ภาพเสือ้ ยืดของเขาทีพ่ มิ พ์สถานทีท่ เ่ี ขาจะไป เช่นภาพหอไอเฟลบนเสือ้ กับภาพถ่ายกับหอไอเฟล ทีฝ่ รัง่ เศส ภาพโรงละครโอเปร่าทีซ่ ดิ นีก่ บั สถานทีจ่ ริง ภาพสโตนเฮนจ์หนิ มหัศจรรย์ทอ่ี งั กฤษ แต่นเ่ี ป็นเรือ่ ง สนุก ๆ แบบง่าย ๆ สำ�หรับคนทีม่ หี วั ศิลปะ เป็นลักษณะศิลปะเคลือ่ นทีท่ อ่ี ยูใ่ นแนวคิดแบบ Conceptual Art แต่งานศิลปะการออกแบบของคุณน้อยจริงจังกว่านั้น เห็นผ้าอันสวยงามจากพม่า ไทยใหญ่ เมืองเงิน และประเทศต่างๆที่ไปรับสัมผัสมา ก็ซื้อสะสมเก็บไว้ นอกจากผ้าอันทรงคุณค่าจากเมืองเงินล้าน นาที่สะสมอยู่แล้ว ก็จะมีจากภูฎาน อินเดีย จีน เวียดนาม พม่า และญี่ปุ่น เริ่มสนุกเป็นครั้งแรก ๆ ก็คือความประทับใจจากภาพพิมพ์ผ้าจากญี่ปุ่น เรื่องราวของ “เทพเจ้า แห่งลมพายุ’’ คุณน้อยซื้อภาพพิมพ์บนผ้าของญี่ปุ่นมาแล้วกลับมาออกแบบเอางานภาพพิมพ์นั้นผสม เข้าไป เริ่มตัดเย็บด้วยฝีมือของตนเอง ในความนึกคิดนั้นก็คือจะนำ�เสื้อผ้าชุดนี้ไปใส่โชว์ด้วยตนเองที่ญี่ปุ่น ตนเองเป็นนายแบบ เป็นผู้แสดงไม่ให้ใครแทน กลายเป็นงานศิลปะที่ครบวงจร คือ ตนเองเป็นผู้สร้าง เป็น ศิลปิน เสื้อผ้าเป็นงานศิลปะ โดยมีนักท่องเที่ยวทั้งญี่ปุ่นและชาวต่างชาติที่ผ่านไปมาเป็นผู้ชม เมื่อทำ�ได้ครั้งหนึ่งแล้วก็เกิดความฮึกเหิม อยากท่องเที่ยวไปในที่ต่าง ๆ แล้วนำ�สิ่งที่เรียกว่าเป็น ศิลปะออกแสดง โดยไม่ต้องจัดนิทรรศการ งานศิลปะของคุณน้อยเป็นงานที่ต้องต่อสู้กับตัวเอง โดยที่ ยังไม่เห็นจุดหมายของความสำ�เร็จเลย ตั้งแต่ไม่มีพื้นฐานทางศิลปะ ได้แต่ชอบความสวยงาม ชอบแฟชั่น และไม่รู้ว่าสิ่งที่ตนเองทำ�อยู่นี้เป็นศิลปะได้หรือไม่ แต่จากความรักและการเรียนรู้ ทำ�ให้ได้บรรลุด้วย ตนเองว่า งานออกแบบเป็นเช่นศิลปะที่ไม่มีกฎเกณฑ์ อิสระ มีจินตนาการ และสนุก


ผลงานทั้ ง หมดได้ ห อบหิ้ ว นำ � ไปใส่ โชว์ ที่ญี่ปุ่น ภูฏาน อินเดีย จีน เวียดนาม และพม่า กลายเป็นงานศิลปะการออกแบบเสื้อผ้าที่ท้าทาย กาลเวลา ไม่มีเพศ ไม่มีอายุ ไม่มีกาลเวลา มีแต่ เรื่องราว และความคิดฝันจินตนาการ ผลงานออกแบบทีท่ �ำ มาเรือ่ ย ๆ โดยไม่มี จุดหมายทีจ่ ะเอาไปทำ�อะไร สุดท้ายก็เกิดนิทรรศการ “นิรมิตภูษา มนตราเมืองเงิน” มีผลงานทัง้ หมด เกือบ ๑๐๐ ชุด ทั้งหมดไม่มีเจตนาเพื่อการจำ�หน่าย ไม่มหี อ้ งโชว์เสือ้ ผ้าเช่นนักออกแบบทัง้ หลาย เสือ้ ผ้า เกือบทั้งหมดเป็นผ้าโบราณที่รัก จึงสะสมไว้นาน นับสิบปี หวงไม่อยากให้สิ่งที่มีคุณค่านี้กลายเป็น พาณิชย์ศลิ ป์ ต้องการเพียงให้เกิดประโยชน์ในงาน ออกแบบเท่านัน้ พูดภาษาชาวบ้านก็คอื “ไม่ขาย” ด้วยหลักการณ์ อุดมการณ์ และ แนวคิด ดังที่ผมกล่าวมาทั้งหมดนี้ ผมจึงมีความเห็นว่า ในประเทศนี้หรืออาจจะในโลกนี้ ยังไม่มใี ครทำ�ได้ แบบนี้ ผมเห็นว่างานออกแบบพัสตราภรณ์ของ คุณน้อย จึงไม่ใช่งานออกแบบเสื้อผ้าธรรมดา ๆ ที่ อยู่ในตู้โชว์ของห้างสรรพสินค้าหรู ๆ หากเเต่เป็น งาน ศิลปะบริสทุ ธิ์ งานวิจติ รศิลป์ หรือทีเ่ ราเรียกว่า เป็น Fine Arts หรือ Pure Art นั่นเอง นับเป็นผลงานทีม่ เี จตนาบริสทุ ธิ์ เริม่ ต้น ด้วยความรัก ความมุง่ มัน่ ไม่มคี วามตัง้ ใจทีจ่ ะอวดใคร และไม่มีผลประโยชน์ที่จะทำ�เพื่อธุรกิจการค้า เป็น งานศิลปะทีง่ ดงาม สง่างาม มีคณ ุ ค่า เป็นศิลปะ ที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ประเพณีวัฒนธรรม และทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ก็คอื มีความเป็นตัวเองอย่างทีส่ ดุ


ผมเชื่อว่าใครที่รู้จักคุณน้อย ธรรมนิติ์ภูวเสถียร ก็ คงต้องรู้จักตัวตนของเขาเป็นอย่างดีโดยเฉพาะ การแต่งตัวทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะและไม่เหมือนใคร อาภรณ์อันงดงามแปลกตาที่ก่อให้เกิดแฟนคลับ จำ � นวนมากมายที่ ก ดติ ด ตามความเคลื่ อ นไหว เนื่องจากเจ้าตัวเนรมิตรขึ้นให้เข้ากับเมืองต่าง ๆ ที่ ได้ไปท่องเที่ยวและถ่ายรูปมาให้ชมกันในแฟนเพจ ด้วยคุณภาพแบบมืออาชีพ ไม่ใช่ถ่ายเล่น ๆ ความพิ ถี พิ ถั น และใส่ ใจในรายละเอี ย ดของเขา นี่เอง ทุกครั้งที่เราได้เห็น ได้ชื่มชมผลงานที่ เปรียบเสมือนงานศิลปะแบบนิทรรศการเคลื่อนที่ ไม่ใช่เฉพาะแฟนคลับที่เฝ้ารอการอัพฟีดเท่านั้น ชาวบ้านและนักท่องเที่ยวที่ได้เห็นการปรากฎตัว ของเขาล้วนมีความตื่นเต้นและแตกตื่นในทุก ๆ สถานที่ การออกแบบอาภรณ์อันงดงามและแปลกแหวก แนวนี่เองที่ผมพยายามไม่ใช้คำ�ว่าเสื้อผ้า หรือ แฟชั่น เพราะแฟชั่นหมายถึงสมัยนิยม รูปแบบ หรือความนิยมของคนส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นเพียงช่วง เวลาหนึ่งเท่านั้น แต่งานของน้อยธรรมนิติ์เป็น งานศิลปะที่เหนือกาลเวลา จะใช้คำ�ว่า Costume ก็มีน้ำ�หนักไปในทางการแสดง งานของเขาเป็น ชีวิตจริง ๆ ไม่ใช่การแสดง น้อยธรรมนิติ์จึงเป็น ศิลปินที่รังสรรค์ศิลปะแนว Fantastic Art หรือ ศิลปะอัศจรรย์ในแวดวงศิลปินในเมืองไทย แม้ ศิ ล ปะอั ศ จรรย์ เดิ ม จำ � กั ด อยู่ เฉพาะแต่ ง าน จิตรกรรม และขยายรวมไปถึงภาพถ่ายทีม่ เี นือ้ หา ที่เกี่ยวกับแฟนตาซีก็ตาม ผมก็ยังอยากจะคิดหา คำ�นิยามให้ตรงกับแนวที่ศิลปินใช้ในการสร้างงาน ศิลปะ เพราะงานที่เห็นล้วนเกิดจากความคิด รวบยอดทีเ่ ป็นจินตนาการแนวแฟนตาซี บนพืน้ ฐาน ของศิลปะพืน้ บ้านทีเ่ ขารูจ้ กั และเข้าใจอย่างถ่องแท้ โดยทัว่ ไปแล้ว Folk Art ศิลปะพืน้ ถิน่ หรือพืน้ บ้านนัน้


นอกจากความคิด ฝีมือ ความเรียบง่าย และ ประโยชน์ใช้สอยแล้ว ความงามบนพื้นฐานของ ธรรมชาติแวดล้อม สังคมขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะพื้นบ้านจึงมีความหมายต่อการดำ�รงชีวิต และมีคุณค่า เป็นศิลปกรรมที่มีการศึกษาและ สืบสานที่เป็นไปในเชิงวัฒนธรรม ผลงานการออกแบบของน้อยธรรมนิติ์ เป็นงาน ฉลาดคิดในการนำ�งานฝีมือพื้นถิ่นต่าง ๆ มา ประยุกต์ให้เป็นอาภรณ์ที่เหนือการคาดคิด แล้ว ยังใช้ตวั เองเป็น Muse เพือ่ ถ่ายทอดจินตนาการ ที่มีเรื่องราวที่ทรงคุณค่ามากเกินกว่ามูลค่าจะ มากำ�หนดได้ การนำ� Folk Art มาเป็นวัตถุดิบในการสร้าง Fantastic Art ของน้อยธรรมนิติ์จึงเดินไปด้วย กันได้อย่างกลมกลืนและอาจจะมองเหนือจริง อยู่บ้าง ซึ่งเป็นเสน่ห์สำ�คัญในการทำ�ความ เข้ า ใจกั บ การเล่ า เรื่ อ งของศิ ล ปิ นที่ มี อ ารมณ์ ละเมียดและซ่อนความลับให้มีการค้นหาความ ซับซ้อนนั้น เป็นเรื่องราวจนเกือบจะต้องรวม Happening Art เอาไว้ดว้ ยกัน “นิรมิตภูษา มนตราเมืองเงิน” นิทรรศการเครือ่ ง แต่งกาย และ ศิลปะสิง่ ทอลือ้ เมืองเงิน เป็น นิทรรศการที่แปลกและแหวกจากเรื่องอื่น ๆ ทีห่ อศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่จดั ขึน้ มา และ แน่นอนว่าใครที่ไม่ได้มาชม ก็อาจจะต้องรอให้ ศิลปินมีองค์ลงขึน้ มาอีกรอบ เฉพาะการเนรมิตร และรวบรวมผลงานเกือบร้อยผลงานครัง้ นี้ รวมทัง้ เครือ่ งเงินคอลเลคชัน่ สำ�คัญทีร่ วบรวมมาแสดงให้ ชืน่ ชมพร้อมกันในระยะเวลาจำ�กัด นับเป็นบุญตา และอาหารสมองที่สำ�คัญในวงการแฟชั่นและ สิง่ ทอ

ขอบคุณศิลปินธรรมนิติ์ ภูวเสถียร และทีมงาน ทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลังทุกท่านที่ทุ่มเทแรง กายแรงใจนำ�ศิลปะที่งดงามและมีคุณค่าในการ เชื่อมโยงให้เกิดความรักขึ้นมาในสังคม สมกับ ความตั้งใจของศิลปินเองที่จะสืบทอดพระราช ปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ ที่ทรงมีแนวพระ ราชดำ�ริให้มีการส่งเสริม และเชื่อมโยงไปถึง การฟื้นฟูวิธีการทอผ้า ที่เป็นเอกลักษณ์ของ เฉพาะถิ่นต่าง ๆ ทั่วประเทศ ความรักในจุดเล็ก ๆ ของศิลปินนี่เองที่จะเป็น จุดเชื่อมโยงระหว่างวัฒนธรรมทั้งใหม่และเก่า ให้คงอยู่และเดินไปด้วยกันได้ เพราะศิลปะก็คือ วัฒนธรรมที่เชื่อมโยงความรักที่มีอิทธิพลต่อ การพัฒนาสังคม ลึก ๆ แล้วผมก็เชื่อว่าศิลปินเองก็ตั้งใจนำ�ของ ในตัวหรือสิ่งที่ตัวเองถนัดออกมาพัฒนาสังคม รอบตัว แม้จะดูเหมือนกุศโลบายในการเยียวยา และซ่อมแซมก็ตาม อาหารตาและอาหารสมองในการเข้ า ชม นิทรรศการในครั้งนี้ย่อมเป็นเครื่องยืนยันได้ อย่างดีว่า ความรักและมิตรภาพยังคงเป็นสิ่ง สวยงามอยู่เสมอ สังคมจึงขาดศิลปะไม่ได้ ศักดิ์ชัย กาย ๒๗.๐๙.๒๕๖๑





I am writing, while it is raining, thinking about how I have come to know Thummanit Phuvasathien. And what drives us to continue a special friendship. Through a mutual friend, we came to know each other. And with great delight, he told me he had come to know my dear friend, whom unexpectedly passed away long time ago - she was someone we both very much admired. And that was a start of our friendship. When he told me what his interest was, I looked at his work with jubilance. I then decided to ask him to participate along with others in the 2017 International Thai Studies Conference (ITSC) For the ITSC preparation - we worked closely together, listening to each other’s ideas. He took me to his plane of imagination. The intensity of our conversations often reminded me of how he liked to push himself beyond his limits - to be brave, releasing his creativity and uniqueness. Thummanit strikes me as being passionate about his craft. I call it ‘art’ and whatever he defies it - he must have realised that his work is an art form. At first glance, we see his signature by using the same pattern – a tunic with Chinese collar. He uses colours to express his motives in design - to allow us to see how colours blend in harmoniously. Then he prepares us to be amazed at his ethnic textiles - be they from China, Japan, Vietnam, Laos or Thailand. On looking closely, we can see how he preserves them with refreshing interpretations. It is the art of ‘seeing’ combined with ‘design’, which gives his collection a new life - a new expression, as if he painted them with new hues, new shades, new motifs. Indeed, he gives his design a new grammar, hence a new narrative. It is an expression of love. I suppose, he wants to be the best version of himself. The expression in his work is quiet and harmonious - it seems there is a discipline behind his work. He talks a great deal about how he values the authenticity of the textiles. He presents to us with his art on his body - he makes his clothes for himself to wear. He is a subject and an object of ‘desire’. He shows us how he imagines himself in his work - he becomes his own art. Thammanit Phuvasatien, an artist in his own right, whose designs bring to mind the ideas of the French philosopher Gilles Deluze (1925-1995) has elegantly put forward a sense of ‘becoming’. His work bears connections like machines he has assembled, which Deleuze defines ‘connections’ as ‘abstract machines’ - they are ‘built from many local connections’, and they are always bound to a time and a place, to particular desires (J.Rajchman, 2016). His work represents a plane of how ‘his creativity’ can thrive, albeit on a small scale, He commits to the idea of ‘preserving’ the soul of old textiles, old patterns, hence the eternal returns - indeed, it is the sublime. Walaiporn Tantikanangkul



ตะวันพราว ดาวเด่น แรเพ็ญเฉลา เนางาม ธรรมนิติ์ นิมิตสมัย เฉลิมศิลป์ รินค่า ศรัทธาละไม ฉลักใจ ฉลองงาม เติมความรัก ชะลอ “ลื้อ” เป็น “เรา” เย้ามนตร์เสน่ห์ เห่งาม เมืองเงิน เพลินใจประจักษ์ หมื่นถ้อย ร้อยลำ�นำ� แสนคำ�ทัก จำ�หลัก ล้านค่า ล้านนาเมือง ผศ.วิลักษณ์ ศรีป่าซาง ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๑



I am in awe of Thummanit’s works and I have a couple of reasons to feel that way. First, as teenagers growing up in the same period and social environment, I have no knowledge of his interests in traditional textiles and sewing. Secondly, I know for sure that he has had no professional training in dressing making or tailoring. But I guess there have been some clues for his genius use of traditional, exquisite textiles. In retrospect, he has always been very artistic in his style and tastes of things. He is instrumental in his mother’s wardrobe, which is always beautiful and striking. I love the way his passion quietly started and blossomed into a unique art exhibition that we see today. The cultural value of the textiles he has collected is priceless. This exhibition does not only showcases art but at the same time an individual artistic expression, a passion and love, and a breakthrough in clothes making. I am very proud and honored to have a dear friend who is as talented as Thummanit. Asst. Prof. Dr. Wilailak Saraithong English Department, Chiang Mai University October 09, 2018




























































































































































































ผมมองเห็นรายละเอียดความงดงามของเสื้อผ้ากลุ่มชาติพันธุ์ สิ่งทอต่าง ๆ ทั้งในพื้นถิ่นและต่าง ประเทศ ว่าเป็นความงามที่มีความพิเศษ และความงดงามนั้นไม่ได้หยุดนิ่งเพียงแค่เสื้อผ้าที่สร้าง ขึ้นมาเพื่อบ่งบอกถึงความแตกต่างด้านชาติพันธุ์ แต่ผมมองเห็นการผสมผสานความงามที่เพิ่ม ทวีคูณขึ้นด้วยการนำ�มาใช้เป็นส่วนผสมที่มีการดัดแปลง ประยุกต์ และแลกเปลี่ยน เพื่อเกิดมิติใหม่ ในการสร้างเสน่ห์ให้กับการแต่งกาย สำ�หรับผมแล้ว การแต่งกายเป็นการบ่งบอกธรรมชาติในตัวตน เป็นเสมือนการเดินทางจากวัฒนธรรมหนึง่ ไปสู่อีกวัฒนธรรมหนึ่ง เป็นการเรียนรู้แลกเปลี่ยนรายละเอียดเชิงศิลปะสิ่งทอ และยังทำ�ให้เกิด การผสมผสานซึ่งรากฐานของเทคนิคการทอในลักษณะต่าง ๆ เข้าด้วยกันทำ�ให้เกิดสิง่ ใหม่ทางเชิงศิลป์ บ่อยครั้งที่ผมได้แรงบันดาลใจในการออกแบบจากธรรมชาติ เช่น นกกระเรียน นกยูง งู หรือแม้แต่ จากสัตว์ในนิยาย เช่น มังกร กิเลน รวมไปถึงความเชือ่ เทพเจ้า เช่น Raijin เทพเจ้าแห่งสายฟ้า และ Fujin เป็นเทพเจ้าแห่งลม นอกจากนี้ก็เป็นการนำ�เอาอิทธิพลของวัฒนธรรมแห่งชาติพันธุ์หลาก หลายมาผสมผสานให้เกิดชุดในรูปแบบพิเศษทางการออกแบบ ทุกครั้งที่ได้ทำ�ชุดแต่ละชุดขึ้นมา ผมตระหนักยิ่งถึงความสำ�คัญของพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถแห่งสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ที่ทรงอุทิศพระองค์ ทรงช่วยฟื้นฟูงานสิ่งทอพื้นบ้านให้กลับมาเป็นที่นิยมของสากลโลกให้ได้ ผมจึง พยายามนำ�เอาผ้าในศูนย์ศิลปาชีพฯมาประยุกต์ใช้กับการออกแบบ และ ยังพยายามนำ�เอาผ้าทอ จากพืน้ ถิน่ ชุมชนต่าง ๆ รวมถึงผ้าโบราณทีส่ ง่ั สมมาร่วมใช้ดว้ ยกันเพือ่ ให้เกิดเป็นมิตใิ หม่ของการทำ� ชุดแต่งกาย นิทรรศการ “นิรมิตภูษา มนตราเมืองเงิน” ที่ได้จัดขึ้นครั้งนี้ ทำ�ขึ้นได้ด้วยใจรัก และด้วยความ สนับสนุนของเดและแม่ของผม ที่ให้พลัง ความสามารถ ใช้ทำ�สิ่งที่รัก และได้รับความอนุเคราะห์ ช่วยเหลือจากหมู่มวลกัลยาณมิตรทุกท่านของผม ผมปรารถนายิ่งว่า หากมีสิ่งอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมในโลกของสิ่งทอพื้นถิ่น และชุมชนด้วยเพราะ การจัดนิทรรศการครั้งนี้แล้ว ผมขอน้อมถวายคุณความดีทั้งหมดนี้ ถวายแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ด้วยความ จงรักภักดีและเทิดทูนสูงสุด ธรรมนิติ์ ภูวเสถียร ๒๑ ตุลาคม ๒๕๖๑



คำ�ขอบคุณ ขอขอบพระคุณ และ ขอบคุณ This is the story of my journey, discovering the beauty of old handicrafts, textiles, and silver jewellery. A sense of wonder has let me think of how I can preserve them, and yet give them the new life.

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิไลลักษณ์ สาหร่ายทอง ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Assist. Prof. Dr. Wilailak Saraithong English Department, Faculty of Humanities, Chiang Mai University

This motivation drives me to learn from designers (east and west alike) and learn to create the new look. The series you will see are based on my tastes and my imagination without delving deep into the history of their weaving.

รองศาสตราจารย์ธงชัย ยุคันตพรพงษ์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Assoc. Prof. Thongchai Yukantapornpong Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University

This journey, cultivating with love and care, has been with me more than ten years now. Although it has been a gradual process, it brings me with great delight and joy. This exhibition “Weaving Life - the Journey” would not have happened, had it not been for the following people. I am so grateful for their tremendous help and inspirations. คุณพ่อ สิโรจน์ ภูวเสถียร เดผู้ให้กำ�เนิด Mr. Siroj Phuvasatien My father คุณแม่ สิริรัตน์ ภูวเสถียร แม่ผู้ให้ชีวิต Mrs. Sirirat Phuvasatien My mother คุณยาย กิมลี้ หาญกิติวัฒน์ ยายผู้เป็นต้นแบบการเย็บผ้า Mrs. Kimlee Harnkitivat My grandmother ร้อยเอก หม่อมหลวง ปนัดดา ดิศกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๕๕ ) Capt. M.L. Panadda Diskul Chiang Mai Provincial Governor (ค.ศ.2010 - 2012) คุณ ศักดิ์ชัย กาย บรรณาธิการบริหาร ผู้ก่อตั้งนิตยสาร Lips นักจัดดอกไม้ และ ช่างภาพ Mr. Sakchai Guy Founder & Editor-in-Chief of LIPS Magazine, Florist & Photographer ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร Emr. Prof. Pishnu Supanimit Silpakorn University

คุณมานิต พัวสุริยัน คุณวงเดือน พัวสุริยัน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของ สถาบันสอนเปียโน Absolute Piano Mr. Manit Puasuriyan Mrs. Wongduan Puasuriyan Founder & Owner of Absolute Piano ผศ.วิลักษณ์ ศรีป่าซาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ เจ้าของเฮือนเจียงลื้อ เวียงกุมกาม Assist. Prof. Wiluck Sripasang Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai คุณอุสา ศรีสุวรรณ ข้าราชการ พิพิธภัณฑ์พระตำ�หนักดาราภิรมย์ เจ้าดารารัศมี Mrs. Usa Srisuwan Civil Servant Dara Pirom Palace Museum อาจารย์ วลัยภรณ์ ตันติคณางกูร เจ้ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งสำ � อางธรรมชาติ IZAR Ms. Walaiporn Tantikanangkul Owner of IZAR, Natural Skincare

คุณหงส์คำ� ไชยวุดทิ ทายาทผู้สืบทอดชาวลื้อเมืองเงิน Mr. Hongkham Xayvoutthi Cultural Event Organiser, German - Lao Cultural Centre คุณพีระพรรณ ตั้งสุวรรณ คุณสุริยงค์ ตั้งสุวรรณ Mrs. Peerapan Tungsuwan Mr. Suriyong Tungsuwan Principal Baker & McKenzie Ltd. Attorneys at Law คุณธีรยุทธ ยุคันตพรพงษ์ ช่างภาพอิสระ Mr. Teerayut Yukuntapornpong Freelance Photographer คุณวันเอก จันทรทิพย์ ออกแบบสิ่งพิมพ์ Mr. Wonaek Juntaratip Graphic Design I would also like to thank : หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ Chiang Mai City Arts & Cultural Centre สวนดอยเฮ้าส์ โรงแรม และ รีสอร์ท เชียงใหม่ Suan Doi House Hotel & Resort Chiang Mai Finally, I would like to thank people, for whom I haven’t mentioned here. They all have contributed to this exhibition. With the energy created for this exhibition, I truly hope you enjoy it. Thummanit Phuvasatien

คุณพุทธวรรณ จารุชาต นักออกแบบ และ ช่างตัดเสื้อ ร้าน อารีวรรณ Ms. Phuttawan Charuchat Designer & Dressmaker of Areewan คุณเทิดศักดิ์ อินแสง ร้านฝ้ายเงิน จังหวัดน่าน Owner of Fai Gnoen, Nan คุณอัญชลี ศรีป่าซาง สีสันพรรณไม้ จังหวัดเชียงใหม่ Mrs. Anchalee Sripasang Owner of Srisan Panmai, Chiang Mai

นิรมิตรภูษา มนตราเมืองเงิน



Luminance - Kimono Of Love Textiles of My Mother I carry you in my heart I carry you through my life For you and you only You are the love of my life Your love is my love Your life is my life I see your sorrow, When your life is snatched away He’s gone - only love lasts I see your past I see your present I see your grace I see your beauty Life is luminous, Beyond dark shadow You carry me in your heart You carry me through your life Your love is my love Your life is my life.

Words by Walaliporn Tantikanangkul inspired by E.E. Cummings’ poem “I carry your heart with me” E.E. Cumming is an American poet (October 14, 1894 – September 3, 1962) The Kimono is a tribute to my mother, who single handedly looked after me, since I was 17 years old. It has taken me 2 months to piece these fabrics, which are parts of my mother’s dresses.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.