10 จุดตายสถาปนิกไทย โดย อ.รัชด ชมภูนิช

Page 1

LAW SPECIFICATIONS คำนิยมโดย อ.ยอดเยี่ยม เทพธรานนท

¨Ø ´ µÒ 10 Weakness of Thai (Archi) Tects

ʶһ¹Ô¡ä·Â

TEAM LEADER

PROGRAMMING เรียบเรียงโดย ผูชวยศาสตราจารยรัชด ชมภูนิช

DOCUMENT PAPER LOW FEE

CONSTRUCTION PROCESS

UP

NOT FOLLOW

COST 2 LANQUAGE ND

ENGLISH




¨Ø´ µÒ 10 ʶһ¹Ô¡ä·Â Weakness of Thai (Archi) Tects

เรียบเรียงโดย ผูชวยศาสตราจารยรัชด ชมภูนิช พิมพครั้งแรก พฤษภาคม 2554 ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแหงชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data รัชด ชมภูนิช 10 จุดตายสถาปนิกไทย.-- กรุงเทพฯ : ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล, 2554. 120 หนา. 1. สถาปนิก--ไทย. I. ชื่อเรื่อง. 92/.2 ISBN-978-974-350-247-7 จัดพิมพ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2717-2466 อีเมล info@ttfintl.com เว็บไซต www.ttfintl.com สงวนลิขสิทธิ์โดยผูแตง และบริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด หามการลอกเลียนไมวาสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือ นอกจากจะไดรับอนุญาต ยกเวนเพื่อใชประโยชนทางวิชาการ

พิมพที่ บริษัท พลัสเพรส จำกัด Font ภาพถาย ปก

SuperMarket & Circular www.f0nt.com ศรีรัฎฐ สมสวัสดิ์ กรรณิการ วุฒิภาดาดร



¤คÓำ¹นÔิÂยÁม ผูประสบความสำเร็จทุกคนยอมมี "จุดเดน" เปนธรรมดา แตไมมีผูประสบความสำเร็จรายใด จะยืนสงาไดยาวนาน หากมี "จุดดอย" หรือ "จุดดับ" ในชีวิตหรือความสามารถ การกลาหาจุดดอยและกำจัดมันทิ้งเสีย จึงจำเปนตอชีวิต ยอดเยี่ยม เทพธรานนท


¤คÓำ¹นÓำ¨จÒา¡ก¼ผÙู Œ¨จÑั´ด¾พÔิÁม¾พ  เมื่อซือแปในวงการสถาปนิกทานหนึ่งแจกแจงถึงแนวคิดในการจัด สัมมนาในงาน BuildTech’11 ใหฟงวาหัวขอหนึ่งของการสัมมนาจะ เปนการนำปญหา “หญาปากคอก” ของสถาปนิกไทยมาตีแผ ผมก็เห็นดวยในทันทีเลยวา หัวขอนี้จะเปนประโยชนตอวงการนัก ออกแบบทั้งหลายอยางแนนอน รวมไปถึงผูที่อยูในอาชีพอื่นดวย หาก นำเอาไปปรับใช เพราะคนเรา โดยธรรมชาติแลว มักจะ “ลืม” “มองขาม” หรือไมสนใจ ในสิ่งที่ดูเปนเรื่อง “สามัญประจำบาน” ทั้งๆที่นาจะเปนเรื่องพื้นฐานกอน ที่จะใหความสนใจในสิ่งที่ไกล-กาวหนาไปกวานั้น ในเมื่อผูรูกรุณามาชี้ “จุดตาย” ใหทุกคนไดตระหนักยอมหมายถึงการที่ ไมตองการใหทุกคนตองตาย โดยที่ยังไมสมควรตาย TTF จึงความยินดีเปนอยางยิ่งที่ไดมีสวนรวมในการเปดเผยจุดตายของ สถาปนิกไทยในการจัดสัมมนาและหนังสือเลมนี้ ดวยหวังที่จะใหทุก คนในวิชาชีพนี้อยูรอดปลอดภัย และประสพความสำเร็จในวิชาชีพตามกำลังความสามารถที่ทุกทานมี ชาตรี มรรคา กรรมการผูจัดการ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด


¤คÓำ¹นÓำ¨จÒา¡ก¼ผÙู Œàเ¢ขÕีÂย¹น ปญหาของการขาดองคความรูในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมของ สถาปนิกในประเทศไทย สามารถจำแนกไดเปน 2 สวนหลักๆ คือ ปญหาที่เกิดขึ้นจาก Hardwares หรือระบบที่เกี่ยวของในวิชาชีพไมวา จะเปนการผลิตบัณฑิตสถาปตยกรรม มาตรฐานการทำงานวิชาชีพ และระบบการสนับสนุนผูปฏิบัติวิชาชีพจากองคกรที่เกี่ยวของ สำหรับสวนที่สองเปน Softwares หรือจากตัวสถาปนิกผูปฏิบัติวิชาชีพ เอง ซึ่งเปนเรื่ององคความรูที่สะสมมาระหวางการศึกษาในสถาบันการ ศึกษาสถาปตยกรรม การสะสมประสบการณความรูระหวางการปฏิบัติ งาน และสิ่งสำคัญที่สุดคือจิตสำนึกในการพัฒนาองคความรูของตนเอง อยางตอเนื่องตลอดเวลาแหงความเปนสถาปนิกของตนเอง เนื้อหาของหนังสือเลมนี้ ไดเรียบเรียงจากการรับฟงการบรรยายจากคุณ ยอดเยี่ยม เทพธรานนท อดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม ราชูปถัมภ ในหัวขอการสัมมนา “ P.M. ฤาจะเปนทางเลือกที่งดงามของ สถานิกไทย” เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งกลาวถึงปญหาที่เปน จุดออนหรือขอดอยในการปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิกไทยจำนวน 10 ประเด็น จากการประมวลรวมผานประสบการณของทานที่ไดรับ ระหวางการทำงานในแวดวงวิชาชีพและการสอนนิสิต นักศึกษา สถาปตยกรรมมาอยางยาวนาน หลังจากนั้น ผูเขียนจึงไดตอยอดและแตกแขนงความคิดจากประเด็นดัง กลาวโดยเพิ่มเติมสวนที่มาของปญหาในแตละเรื่องราวยอนกลับไป จนถึงชวงเริ่มตนชีวิตของยุวสถาปนิกในสถาบันการศึกษา รวมทั้งได เสนอทางแกไขในมุมมองของตนเองในฐานะที่เปนอาจารยในสถาบัน การศึกษาสถาปตยกรรม เพื่อเปนการแบงปนประสบการณในฐานะที่ได มีโอกาสเพาะบมนิสิตสถาปตยกรรมในสถาบันของตนเองมายาวนาน มากกวา 10 ป ผนวกกับการที่ไดมีสวนรวมในการสนับสนุนการพัฒนา


วิชาชีพผานองคกรวิชาชีพที่เกี่ยวของไมวาจะเปนสภาสถาปนิก และ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ในระยะเวลาใกลเคียงกัน แตอยางไรก็ตาม เนื้อหาในหนังสือเลมนี้ คงเปนเพียงการเปดประเด็น เพื่อกระตุนเตือนใหบุคคลในวิชาชีพไดรับรูถึงปญหาพื้นฐานในการ ปฏิบัติวิชาชีพของตนเอง และคงจะเปนประโยชนยิ่งหากสถาปนิกทุก ทานที่มีสวนรับผิดชอบตอทั้งการใหบริการสังคมของตนเอง และการ พัฒนาวิชาชีพในภาพรวม รวมทั้งหากมีการ “คิดตอยอด” ทางแกไขใน มุมมองของผูอานเพิ่มเติมจากที่ผูเขียนไดเสนอแนะไวในสวนบันทึกทาย เนื้อหาแตละเรื่อง แลวนำมาใชใหเปนประโยนตอตนเองและแบงปนตอ ผูอื่นไดก็คงจะเปนเรื่องดีๆ ที่เราในฐานะสถาปนิกไทยไดทำใหเกิด ประโยชนตอวิชาชีพอันเปนที่รักของเราและเพื่อสังคมสาธารณะใน ฐานะ “นักวิชาชีพ” อันพึงกระทำตอไป ผูชวยศาสตราจารยรัขด ชมภูนิข เมษายน 2554



ÊสÒาÃรºบÑั­Þญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

คำนิยม คำนำจากผูจัดพิมพ คำนำจากผูเขียน กำเนิดแหงกรรม การคิดราคากอสราง ขอกฎหมายและขอกำหนด ที่เกี่ยวของกับการออกแบบ รายการประกอบแบบ การทำโปรแกรมการใชสอยอาคาร การจัดทำเอกสารประกอบงาน ภาวะผูนำ กระบวนการงานกอสราง ภาษาอังกฤษ ทำงานไมจบ (ครบวงจรงาน) คาออกแบบต่ำ (ที่สุดในโลก) ของแถมทายเลม กำจัดจุดตาย จำแนกขอมูล (การออกแบบ)…อยางผูไมรู คิดแบบ Mind Map เขาใจ ….. สถาปนิก (ตัว) เล็ก ประวัติผูเขียน

1 6 12 20 30 38 46 54 62 70 78

86 98 108 118



¡Óà¹Ô´áË‹§¡ÃÃÁ


¡กÓำàเ¹นÔิ´ดáแËห ‹§ง¡กÃรÃรÁม สถาปนิกไทยสวนใหญ มักถูกปลูกฝงผานหลักสูตรและระบบการเรียน การสอน (รวมทั้งพวกรุนพี่ๆ และอิทธิพลจากเพื่อนๆ) ใหมีความแอบชอบ ชอบ และหลงรักในวิชาออกแบบสถาปตยกรรมหรือ Project Design มากกวาวิชาเรียนอื่นๆ โดยไมรูตัว ความรูสึกนี้จะเขมขนขึ้นไปตามป เรียนที่เพิ่มขึ้นจนพัฒนากลายไปเปนความหลงรักอยางหัวปกหัวปRและ กินไมไดนอนไมหลับหากไมไดคิดแบบกันเลยทีเดียว ดังนั้นตั้งแตเริ่ม ตนการเรียนจนถึงการประกอบอาชีพ นักเรียนสถาปนิกและสถาปนิกทั้ง หลายจึงทุมเทเวลาสวนใหญใหกับการทำแบบ การ Sketch แบบ ไป จนถึงการคิดแบบรางใหเปนแบบจริงกันอยูตลอดเวลา และเมื่อเรายอนดูบรรดาสรรพหลักสูตรของสรรพสถาบันการศึกษา สถาปตยกรรมในบานเรา ยิ่งมองเห็นไดชัดเจนวาครูบาอาจารยเรา ตองการใหนิสิต นักศึกษาสถาปตยจบไปเปนสถาปนิกที่ทำงานดาน ออกแบบกันเปนสวนใหญ เพราะฉะนั้นแลวไซรเนื้อหาหลักสูตรแทบทุก สถาบันจะเนนหนักและใหความสำคัญไปที่วิชาการออกแบบ

2


(สถาปตยกรรม) รวมไปจนถึงการเตรียมโครงสรางหลักสูตรและวิชา เรียนที่เกี่ยวของจะจัดขึ้นเพื่อสนับสนุนวิชาออกแบบกันอยางออกหนา ออกตาเลยทีเดียว ดังนั้น เราจึงเห็นไดวาหนวยกิตของวิชาออกแบบสถาปตยกรรมจะมี มากกวาวิชาอื่นๆ และใชเวลาเรียนตอสัปดาหมากกวา รวมทั้งยังไมนับ รวมเวลาที่นักเรียนสถาปตยจะเอาแบบมานั่งคิดในชั่วโมงเรียนอื่น หรือ โดดเรียนไปทำงานแบบ อีกนับไมถวน จาก (เวร) กรรมดังกลาว จึงไมนาแปลกใจเลยวา นักเรียนสถาปนิกและ นักเปนสถาปนิกจึงอยากทำแตงานออกแบบกันโดยไมใสใจใฝรูในวิชา ความรูดานตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนวิธีการและพิธีกรรมใหเกิดตัวอาคาร สถาปตยกรรมจริงๆ แตอยางใด ทั้งๆ ที่งานออกแบบเปนงานเพียงสวน หนึ่งของกระบวนการสรางงานสถาปตยกรรมทั้งระบบ โดยมิไดนึกถึง งานมากมายอื่นๆ ไมวาจะเปนงานหลังการออกแบบ งานระหวางการ กอสรางและงานหลังการกอสรางแตอยางใด แหม ก็ทุมเทกันซะขนาดนี้ จะไมใหสถาปนิกไทยเราหลงใหลใฝฝน อยากเปน Superstar Architects หรือ Great Architect อยางปู Frank อยางคุณพี่ Rem หรือนา Saha คุณอา Toyo กันไดอยางไรกันละครับ ปจจุบัน ในวงวิชาชีพสถาปนิกเราจึงมีแตสถาปนิกที่ถนัดหรือไมถนัดแต คิดวาถนัดการคิดแบบ ออกแบบ ทำแบบ เพื่อใหลูกคาประทับใจในผล งานแบบของตัวเองกันเปนจำนวนมากเต็มประเทศไปหมด ราวกับ วา….เรา….. สถาปนิกไทย….. เกิดมาเพื่อสิ่งนี้ (ออกแบบ) เลยจริงๆ แตถาหากเราดูตอไปถึงเนื้อหาของงานสถาปตยกรรมที่เกิดขึ้นภายหลัง จากนั้น เชน การหาขอมูลสนับสนุนการทำงาน การศึกษาขอกฎหมาย และมาตรฐานที่เกี่ยวของ การประสานขอมูลกับวิศวกร การทำแบบ งานระบบที่เกี่ยวของ การทำแบบพิมพเขียว การทำเอกสาร Specification ตลอดจนงานอีกรอยพันอยางไปจนถึงชวงกอสรางจริง

3


เชน การประมูลงาน การควบคุมงานกอสรางใหแลวเสร็จแลวไซร จะ กลับกลายเปนวา สถาปนิกไทยเรามักจะใบรับประทานและเกิดภาวะ โรคเออฉับพลันกับงานทำแบบใหเปนอาคารจริงเหลานี้กันทุกถวนหนา อยางไรก็ตาม ในความจริงที่ปรากฎในสังคมโลกและสังคมเรา เมื่อ เปรียบเทียบความสามารถทางการออกแบบที่สถาปนิกไทยเราชื่นชอบ กันนักหนาผานทักษะ Creativity, Performance และ Skill ในการ ทำงาน ไปจนถึงมาตรฐานการปฏิบัติงานและผลงานการออกแบบ อาคารที่เปนที่ยอมรับในสากล ยังถือวาอยูในเกณฑเฉลี่ยคอนขางต่ำ อยูดีเมื่อเทียบกับสถาปนิกในภูมิภาคทั้งไกลและใกลบานของเรา ความ จริงอันนาเศรานี้สะทอนความเปนมาและเปนไป และบงบอกถึงปญหา หลายตอหลายอยางในวงการศึกษาและวงการวิชาชีพสถาปตยบานเรา ซึ่งดูเหมือนจะเปนสิ่งยากแกไขใหหมดสิ้นหรือบรรเทาเบาบางลงไดดวย ใครคนใดคนหนึ่งหรือตอใหอีกหลายๆ คนก็ตาม กรรมของสถาปนิกนี้ถูกสะสมมาตั้งแตสมัยเรียนมาเปนเวลายาวนาน ไปจนถึงตอนทำงานจริง และเปนกรรมที่กระทำซ้ำๆ กันจนติดเปนนิสัย ไปจนถึงสันดอนของตัวเอง จึงเปนเรื่องยากที่จะตัดกรรมหรือขุดสันดาน เอย สันดอนของสถาปนิกไทยใหสิ้นซากหรือเหี้ยนเตไปไดทันทีทันใดได อยางแนนอน จากผลแหงกรรมเหลานี้ คงไมใชเวลาที่เราจะมาหาแพะใหมา รอง ..แบะ..แบะ วาใครเปนผูสรางบาปนี้ใหเกิดขึ้นกับสังคมสถาปนิก ไทย เพราะจริงๆ แลว ไมวาจะเปนสถาบันการศึกษา องคกรวิชาชีพ ครูบาอาจารยสถาปตยกรรม สถาปนิกรุนพี่ รุนพอ รุนเพื่อน ในอดีตและ ปจจุบัน หรือแมแตนักเรียนสถาปนิกที่จะกลายรางเปนสถาปนิกใน อนาคต ลวนแลวแตตองมีสวนรับผิดชอบกับบาปกรรมนี้กันทุกถวน หนา เพียงแตใครจะรับไปมากหรือนอยก็คงตองมาจัดประชุมหารือเพื่อ แบงบาปกันอีกที

4


หลังจากเกริ่นนำมาพอควรแลว เมื่อลองทบทวนปญหาที่เกิดขึ้นในการ ปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมจากบาปกรรมตางๆ ที่เกิดและกอขึ้นโดย ชาวสถาปนิกในบานเรา ก็พอจะมองเห็นไดวาสถาปนิกไทยในยุค ปจจุบันมี (บาป) กรรมที่นำไปสูจุดออนหรือจุดดอยกับองคความรูดาน ตางๆ ที่ตองใชเอามาทำมาหากินในวิชาชีพสถาปนิกจำนวน 10 เรื่อง ดังตอไปนี้

5



CONSTRUCTION COST :

¡ÒäԴÃÒ¤Ò¡‹ÍÊÌҧ

1


1

CONSTRUCTION COST :

¡กÒาÃร¤คÔิ´ดÃรÒา¤คÒา¡ก ‹ÍอÊสÃร ŒÒา§ง

เรื่องการคิดราคาและประมาณราคากอสรางอาคาร เปนเหมือนยาขม หมอใหญสำหรับสถาปนิกไทยที่ชอบนึกเหมาเอาวาตนเองเปน Great Architect เขาจึงไมจำเปนตองรูเรื่องราคากอสรางใหมากไปกวาความ เชื่อที่วา การประมาณราคากอสรางคือ “เอาตารางเมตรคูณพื้นที่ กอสราง” หนำซ้ำแลวเราก็ยังเชื่ออยางฝงหัวอีกวาวิธีนี้เปนสิ่งที่ถูกตองและเชื่อถือ ได ผลกรรมที่ตามมาในชาตินี้ก็คือ แบบบานหรืออาคารที่สถาปนิก ออกแบบรอยละ 99.99 จึงเกินงบประมาณที่เคยบอกกลาวกับลูกคา เมื่อตอนแรกเริ่มตนเสมอ และเปนเหตุใหสถาปนิกเราจะถูกลูกคาตอวา เรื่องความไมนาเชื่อถือทางราคาและงบประมาณการกอสรางกันอยู เสมอ วิธีการคำนวณราคากอสรางแบบเหมารวมตอตารางเมตรที่สถาปนิก ไทยชอบใช (และเอาไปคิดตอเปนประมาณการคาแบบของตัวเองได

8


แบบเร็วๆ) ถือเปนวิธีประมาณราคาที่หยาบและไมถูกตองมากที่สุดใน บรรดาวิธีคิดราคาที่มีอยูในโลก เพราะวาในอาคารแตละประเภท หรือ การใชงานพื้นที่ในแตละจุดยอมมีตนทุนทางราคาและรูปแบบวัสดุการ ตกแตงที่ตางกัน และยังรวมไปถึงอุปกรณและการตกแตงพื้นฐานที่ควร มีในหองหรือพื้นที่ เพราะมันคงเปนไปไมไดที่เราจะใชคากอสรางตั้งแต 8,000 ไปจนถึง 15,000 หรือ 20,000 บาทตอตารางเมตรมาเหมาคิด เทากันตลอดอาคารทั้งสวนระเบียง ดาดฟากับสวนหองน้ำหรือหองนอน แหงๆ จุดเริ่มตนของกรรมนี้นาจะเกิดขึ้นจากสมัยเรียน นักเรียนสถาปนิกทั้ง หลายไมตองคำนึงถึงราคาคากอสรางอาคาร เพราะโปรแกรมการ ออกแบบที่อาจารยมอบใหทุกเทอมๆ ไมเคยมีการใหคะแนนหรือพูดคุย วิพากษวิจารณที่เกี่ยวของกับงบประมาณและราคาคากอสรางจากงาน ของนักเรียนสถาปนิกแมแตนอย สิ่งนี้จึงเปนจุดที่นักเรียนสถาปนิกซึม และซับมาโดยตลอดชีวิตการเรียน และคิดเหมาเอาวาตนเองไมตองรับ ผิดชอบเรื่องราคากอสรางแตอยางใด นอกจากนี้ทัศนคติในแงลบที่ตัวสถาปนิกมีตองานประมาณราคาก็เปน เหตุผลสำคัญ เพราะในฐานะผูออกแบบเราก็มักคิดเอาเองอีกวางาน เหลานี้เปนงานในระดับผูปฏิบัติการ ไมใชงานของหัวหนาหรือ Team Leader อยางผูออกแบบ เราจึงคิดอยางมั่นใจวางานนี้จะมีคนมาทำตอ จากเราใหแลวเสร็จ และเราก็ไมตองสนใจกับเรื่องนี้อีกตอไป ทั้งที่ความ รูความเขาใจเรื่องราคา เรื่องการเลือกใชวัสดุมีผลสำคัญยิ่งตอการ ออกแบบ การกอสรางไปจนถึงการควบคุมงบประมาณใหตรงตามเปา หมายเปนอยางยิ่ง

9


ทางแกไข : สถาปนิกเราพึงระลึกวาการประมาณราคาที่ควร จะเปน ตองตั้งอยูบนความเปนจริงของการใชงานแตละสวน ของอาคาร โดยกอนประมาณราคาแบบหยาบๆ นี้เราตอง กำหนดใหอาคารแตละสวนมีคาถวงเฉลี่ยที่มากนอยตางกัน ตามมูลคากอสรางจริงของพื้นที่นั้นๆ ซี่งตั้งอยูบนพื้นฐาน ของรูปแบบการใชสอย วัสดุตกแตงพื้นฐานสวนงาน สถาปตยกรรมและปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของตามความเปนจริง เชน การประเมินราคากอสรางอาคารสวนระเบียงบานจะมีคา ถวงเฉลี่ยเปน 0.5 ของราคากอสรางพื้นฐานตอหนึ่งหนวย พื้นที่เมื่อเทียบกับหองนอน และเชนเดียวกันที่ การประมาณ คากอสรางหองน้ำจะมีคาถวงเฉลี่ยเปน 1.5 เมื่อเทียบกับหอง นอน เปนตน นอกจากนี้ ในการเรียนการสอนสถาปตยกรรม ในวิชา ออกแบบสถาปตยกรรม สถาบันการศึกษาควรนำประเด็น เรื่องราคากอสรางเขามาเกี่ยวของกับผูเรียนโดยตลอดตั้งแต การทำแบบรางไปจนถึงแบบ Final และตองมีการ Critic แบบ และตรวจสอบขอมูลในสวนที่เกี่ยวของกับงบประมาณ กอสรางอยางจริงจัง ตั้งแต การควบคุมพื้นที่ใชอาคารให เหมาะสมกับงบประมาณ การศึกษาราคาคากอสรางและราคา วัสดุควบคูไปกับการเลือกวัสดุกอสรางในงานแบบ ไปจนถึง การเลือกวิธีการกอสราง และการประเมินราคากอสรางจาก งานที่ทำอยางเปนรูปธรรม เพื่อจำลองสภาพการเรียนใหใกล เคียงกับการปฏิบัติงานจริงใหมากที่สุด

10


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

11



BUILDING CODES :

¢ŒÍ¡®ËÁÒÂáÅТŒÍ¡Ó˹´ ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¡ÒÃÍ͡Ẻ

2


2

BUILDING CODES :

¢ข ŒÍอ¡ก®ฎËหÁมÒาÂยáแÅลÐะ¢ข ŒÍอ¡กÓำËห¹น´ด ·ท∙Õีè่àเ¡กÕีè่ÂยÇว¢ข ŒÍอ§ง¡กÑัºบ¡กÒาÃรÍอÍอ¡กáแºบºบ ยาขมหมอที่สองและเปนเรื่องที่สถาปนิกไทยมักเกิดโรคเออรับประทาน กระทันหันเมื่อตองเรียนและตองรูก็คือ ขอกฎหมายและขอกำหนดที่ใช ในการออกแบบอาคารบานเรือน ซึ่งเปนที่นาของใจของผูเขียนเปน อยางยิ่งวา เหตุใดสถาปนิกไทยถึงไมคอยชอบเรียนหรือคนควา กฎหมายอาคารกันซักเทาใด ทั้งๆ ที่เรื่องนี้เปนเรื่องขอมูลพื้นฐานที่ สถาปนิกตองคนควาและเรียนรูเพื่อใชเปนแนวทางการออกแบบอาคาร เสียกอนในลำดับตนๆ เลยทีเดียว เราจะเห็นภาวะโรคเออนี้ไดจากเวลาเรียนเมื่อพูดถึงขอกฎหมายครั้งใด นักเรียนสถาปนิกไทยจะปด Mode การรับรูดวยการไมสนใจเรียน กิน ขนม งวงเหงาซึมเซา และเมาทแตก ไปจนถึงนั่งคิดแบบหรือแมแตฝก หลับแบบไมใหอาจารยจับไดเสมอ ผลจากภาวะสมองตายทาง กฎหมายนี้จึงตอเนื่องมาที่การเรียนในวิชา Project Design เราจึงไมให ความสนใจและใสใจออกแบบ (ฝกหัด) อาคารใหถูกตองตามกฎหมาย อยางจริงจังแมแตตอนตนเองทำวิทยานิพนธเองก็ตาม

14


หลังจากนั้น เมื่อจบมาทำงานเปนสถาปนิก เราก็ยังปด Mode การรับรู ทางกฎหมายอาคารมาอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปน การไมสนใจอาน ไม สนใจศึกษาเรื่องกฎหมายเพิ่มเติม ไมทำความเขาใจกับกฎหมาย ไม Update ขอมูลกฎหมายใหม และอีกหลายๆ ไม แตในความเปนจริง สถาปนิกไทยเราจะมาตื่นเตนศึกษาคนควากฎหมายอาคารกันซักทีก็ ตอเมื่อจะตองเริ่มทำแบบกันทีหนึ่ง หลังจากนั้นแลวความตื่นเตนจะลด ระดับลงจนกลายเปนความเย็นชาและ Fade หายไปกับสายลมและ แบบรางในที่สุด จนเมื่อตองเริ่มโปรเจคใหมเราก็มาเตนและตื่นเพื่อ หาความรูกันอีกครั้งหนึ่งอยางนี้ไปเรื่อยๆ เหตุผลที่สถาปนิกไทยเราไมสนใจขอมูลกฎหมายนาจะเกิดขึ้นจาก ความเชื่อที่วา กฎหมายเปนอุปสรรคและตนตอปญหาในการสรางสรรค ผลงานระดับ Master ของตนเองอยูตลอดเวลาเพราะกฎหมายอาคาร มักมีขอหามหรือคำสั่งไมใหทำโนนทำนี่มากมายหลายอยาง และดวย เหตุที่เรา (มัก) คิดวาเราชาวสถาปนิกเปนเสรีชน ไมชอบใหใครมา บังคับ และไมชอบอยูภายใตกรอบหรือกฎระเบียบ ดังนั้น เราจึงมักมอง กฎหมายอาคารวาเปนสิ่งที่ตองพึงหลบเลี่ยงใหไดดวยวิธีใดก็ตาม ถา ใครทำไดหรือเอาชนะกฎหมายไดแลวเกง เชนเดียวกับพฤติกรรมชอบ หลบเลี่ยงกฎหมายในชีวิตประจำวันของคนไทยเรา สิ่งเหลานี้จึงสงผลใหสถาปนิกไทยออกแบบอาคารบานเรือนใหลูกคา หรือผูวาจางอยูบนพื้นฐานของการหลบและหลีกกฎหมายอาคารเปนที่ ตั้ง และเราก็ไมยอมรับและไมเขาใจวาแนวคิดของกฎหมายเหลานั้น เปนเรื่องของความปลอดภัยและสวัสดิภาพของผูใชอาคารเปนสำคัญ และเปนเพียงเกณฑขั้นต่ำใหปฏิบัติหรือออกแบบ แตไมใชขอกำหนด ใหหลีกเลี่ยงปฏิบัติหรือเปนแนวทางการทำงานใหพอผานๆ ตาม ขอกำหนดเหลานั้นไปแตอยางใด ในสังคมออกแบบบานเราจึงมักเห็นตึกแถวกวาง 4.00 เมตรตรงตาม กฎหมายเปะ หรือเจอกับอาคารที่มีความสูง 22.99999…… เมตรและ

15


มีพื้นที่ 9,999.99999…..ตารางเมตรกันเต็มประเทศ เพื่อหลบกฎหมาย (อาคารสูงและอาคารขนาดใหญพิเศษ) เชนเดียวกับการออกแบบ ความสูงฝาเพดานและความกวางที่จอดรถยนตที่เรามักออกแบบให เทากับ 2.40 ยืนพื้นเสมอ ทั้งที่ความเปนจริงเราสามารถกำหนดใหสูง กวาหรือกวางไดมากกวานี้ตามความเหมาะสมของพื้นที่ Space ที่เกิด ขึ้น และการใชงานตามความเปนจริง หลังจากออกแบบเสร็จแลว การไมเขาใจเรื่องกฎหมายอาคารอยาง ถองแท ยังสรางปญหาใหญตอมาในชวงหลังจากทำแบบแลวเสร็จ เพราะสถาปนิกเรามักตองเปนผูรับผิดชอบในการยื่นแบบและเอกสาร ขออนุญาตปลูกสรางอาคารจนไดใบอนุญาต ในขั้นตอนนี้มักเปนเรื่องที่ นาปวดหัว และนาเบื่อสำหรับคนที่รับผิดชอบเปนอยางยิ่ง เพราะแบบ อาคารของเราจะมีขอผิด ขอบกพรอง ขอแกไขใหเราตองเอาแบบกลับ มาแกไมรูกี่ครั้ง ทั้งขอกฎหมายที่เปนเรื่องใหญ เรื่องกลาง เรื่องเล็กหรือ เรื่องจิ๋วซึ่งมีทั้งที่เราเคยเห็น ไมเคยเห็นและไมอยากเห็นกันเปนปกติ วิสัย วิธีการแกปญหาเรื่องกฎหมายแบบงายๆ วิธีแรกของนักเรียนสถาปนิก และสถาปนิกไทย คือการตั้งกระทูถามเรื่องกฎหมายทั้งจากชีวิตเรียน และชีวิตจริงในเวบบอรดของสมาคมสถาปนิกสยามฯ เสมอๆ ทั้งที่คำที่ ถามเหลานั้นเปนเรื่องพื้นฐานที่เราควรรูควรทราบตั้งแตสมัยเรียน และ แนนอนวาการหาขอมูลจากการตั้งใจอานขอกฎหมายอยางจริงจังซัก 5-10 นาที ไมใชเรื่องยากกวาการตั้งกระทูในเวบบอรดเลย เพราะเรามี แหลงขอมูลใหสืบคนหรือหนังสือใหเปดอานอยางมากมายกายกอง และนาเชื่อถือกวาขอมูลในเวบบอรดที่บางทีก็ไมรูวาใครเปนคนมาตอบ เสียดวยซ้ำ สำหรับการแกปญหาวิธีที่สอง ที่ดูงายกวาไมตองตั้งกระทู ไมตองรอคน มาตอบ และปฏิบัติกันเปนที่แพรหลายมากก็คือใชเงิน (ใตโตะ) ซื้อ ปญหาเรื่องขอกฎหมายมันซะเลย วิธีนี้เปนวิธีตัดขาดจากกรรมโดยสิ้น

16


เชิงของสถาปนิกไทย เพราะเรามักไมสนุกกับการเรียนรูเรื่องกฎหมาย ไมวาจะดวยวิธีใดก็ตาม เมื่อเราไมอยากทำเราก็ตองไปหาคนอื่นมาทำ เรื่องนี้แทนเรา และคนที่นาจะรูเรื่องกฎหมายไดดีที่สุดก็นาจะเปนคนที่ ถือกฎหมายอยู ดังนั้นสถาปนิกไทยเราก็ใชวิธีการใหคนที่ถือกฎหมาย นั้นมาทำเรื่องที่ตนเองไมชอบแทนซะเลย และรับประกันไดเลยวา แบบ นี้นาจะถูกกฎหมายแนนอนรอยเปอรเซนต ไมตองมานั่งแกไขกันอีก สถาปนิกเราก็ไมตองมาเหนื่อยกับเรื่องที่ไมสนุกนี้อีกตอไป แตผูเขียนก็ ไมคอยแนใจนักวาวิธีการนี้จะเปนการแกปญหาอยางยั่งยืนหรือไม

17


ทางแกไข : เรื่องขอกฎหมายเปนเรื่องไมสนุกและสรางความ เบื่อหนายและหาวเรอทั้งคนเรียน คนสอนและคนทำงาน การแกไขกรรมนี้ ก็ตองเริ่มตนตั้งแตจุดเริ่มตนของกรรมคือ ตั้งแตสมัยเรียน โดยการเรียนการสอนวิชาออกแบบทุกๆ ชั้น ป ควรใหผูเรียนสนใจและใสใจเริ่มตั้งแต การปลูกฝงแนวคิด การใชงานกฎหมายใหเปนเครื่องมือชวยทำงานไมใช อุปสรรคในการทำงาน ตอมาในเนื้อหาการเรียนวิชาออกแบบ สถาบันการศึกษาควร ฝกใหผูเรียนมีโอกาสไดศึกษาคนควาขอมูลจากแหลงขอมูล จริงอยางเปนระบบและรูปธรรม รวมทั้งมีการประเมินผลการ ออกแบบที่มีประเด็นทางกฎหมายอยางเปนรูปธรรม หรือ อาจเพิ่มขั้นตอนการตรวจแบบอาคารเพื่อพิจารณาความถูก ตองตามกฎหมายเชนเดียวกับการทำงานจริงก็เปนได วิธีการ เหลานี้จะชวยปลูกฝงเรื่องขอกฎหมายใหเขากับพฤติกรรม การทำงานของนักเรียนสถาปนิกที่จะมีผลตอเนื่องมาถึงเมื่อ วันที่เขากลายมาเปนสถาปนิกในชีวิตจริง ที่เขาจะสามารถ ผสมผสานเรื่องกฎหมายใหกลมกลืนไปกับการทำงานของเขา ไดตอไป ตอจากนั้นเมื่อเขาสูการทำงานจริง สถาปนิกไทยเราควรเจียด เวลาวางวันละนิดวันละหนอยนั่งอานทบทวนขอกฎหมาย อาคาร ฝกหัดวิพากษวิจารณและวิเคราะหเพื่อใชขอมูล กฎหมายกับการออกแบบในหมูเพื่อนฝูง และสถาปนิกรุนพี่ๆ รวมทั้งยังตองไมลืม Update กฎหมายอาคารใหมๆ อยูเปน ประจำผานแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับวิชาชีพเราเชน กรุงเทพมหานคร กรมโยธาฯ สภาสถาปนิก และสมาคม สถาปนิกสยามฯ เปนตน ก็จะเปนประโยชนตอการทำงาน ของตนเองเปนอยางยิ่ง

18


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

19



SPECIFICATIONS :

ÃÒ¡ÒûÃСͺẺ

3


3

SPECIFICATIONS :

ÃรÒาÂย¡กÒาÃร»ปÃรÐะ¡กÍอºบáแºบºบ รายการประกอบแบบกอสรางเปนเอกสารในการทำงานที่สำคัญมากชิ้น หนึ่งของสถาปนิก เปนขอมูลที่ใชเปนบรรทัดฐานและมาตรฐานในการ ปฏิบัติสำหรับผูเกี่ยวของในการกอสรางอาคาร รวมทั้งเปนเครื่องมือที่ สถาปนิกเองจะไดใชกำหนดคุณสมบัติและลักษณะของวัสดุตางๆ ใน การออกแบบ และใชตรวจสอบการทำงานของผูรับเหมากอสราง รวม ทั้งยังเปนหลักฐานในการวางแผนการใชงานและบำรุงรักษาอาคาร ระหวางการใชงานของเจาของอาคารและผูรับผิดชอบอีกดวย แตสิ่งที่นาตกใจคือ ขอมูลที่ดูจะมีประโยชนและสำคัญมากเหลานี้เปน สิ่งที่นักเรียนสถาปนิกและสถาปนิกมักไมคอยไดเรียนรูใหเขาใจและ อยากมีความรูเรื่องนี้ใหถองแทกันเทาใดนักอีกเชนกัน สาเหตุของจุดออนนี้ คงเปนเพราะลักษณะกายภาพของขอมูลเปนตัว หนังสือ (Text) และวิธีการเรียนการสอนที่มักเปนการบรรยายแบบ One-Way Communication เปนหลัก จึงไมถูกกับจริตของ (Great)

22


Architect ทั้งหลายที่ชอบคิดแบบทำแบบรางมากกวาเรียน รวมทั้ง ชอบศึกษาและชอบเรียนรูจากภาพและขอมูล Graphic มากกวาเรียน จากตัวหนังสือ ซึ่งคงเปนปญหาคลายคลึงกับปญหาที่เกิดขึ้นในการ เรียนรูเรื่องกฎหมายของนักเรียนสถาปนิกและสถาปนิกเชนกัน นอกจากนี้ ตั้งแตสมัยเรียนในรั้วมหาวิทยาลัย นักเรียนสถาปนิกก็ไม ตองจัดทำเอกสารที่เกี่ยวของกับ Spec. ใดๆ เพื่อใชประกอบการสงงาน แบบ Project Design ตออาจารยของเรา ในเมื่อเราไมตองสงเปนงาน เอาคะแนน นักเรียนสถาปนิกก็ไมตองใหความสำคัญหรือใสใจกับเรื่อง พวกนี้ ดังนั้นเวลาทำงานจริง เราคงไมตองหวังวาสถาปนิกจะมีความรู หรือหันมาสนใจกับงานเรื่องนี้กันเทาใดนัก ปญหาความไมรูเรื่อง Specification ของนักเรียนสถาปนิกและ สถาปนิกไทย จะแบงไดเปน 2 ประเด็นคือ ประเด็นแรกคือ การอาน และทำความเขาใจกับตัวเอกสาร Spec. เนื่องจากสถาปนิกไทยเราไม เขาใจวาเอกสาร Spec. มีความสำคัญอยางไรกับงานออกแบบของ ตนเอง ไมเขาใจวาตัว Spec. มีผลตอการควบคุมคุณภาพของการแปร งานแบบในกระดาษของตนเองใหเปนงานกอสรางจริงๆ มากนอย เพียงใด นอกจากนี้ เรื่องของทัศนคติมุมมองที่มีตอเอกสารเหลานี้ สถาปนิกเรา มักมองสิ่งที่เปนขอมูลเอกสารเหมือนเปนคัมภีร หรือเปนตำราเรียนที่ไม นาแตะตองหรือยุงเกี่ยว สมควรตั้งบูชาไวที่ขางฝาและหัวเตียง และคิด เหมาเอาวาไมใชความรับผิดชอบของตนเอง ทั้งที่จริงแลวเอกสาร Spec. เหลานี้เปนขอมูลที่สถาปนิกเราหากเขาใจและเรียนรู ยอม สามารถ “ออกแบบ” เอกสารเหลานี้ไดอยางงายๆ ทั้งหมดทั้งสิ้น เพียง แตลักษณะทางกายภาพที่เราออกแบบจะไมออกมาเปนภาพหรือแบบ อาคารที่คุนเคย แตหากจะแสดงออกมาเปนตัวหนังสือ และขอมูล ตัวเลขเทานั้นเอง

23


แนนอนวา เมื่อเราไมเขาใจแนวคิดของการทำ Spec. เราก็อาน Spec. ไมเปน เมื่อเราอานไมเปนเราก็ไมสามารถเขียน Spec. ได ดังนั้น สถาปนิกไทยก็ยอมไมเขาใจการใชงานและการตรวจสอบการทำงาน และพิจารณาคุณสมบัติของวัสดุใหเปนไปตาม Spec. ซึ่งเปนงานตอ เนื่องสำคัญจากผลงานแบบของตนเองอยางแนนอน การทำงานและความรับผิดชอบในสวนงานนี้ เปนสิ่งที่สถาปนิกอาจไม เคยรูมากอนเลยวา สวัสดิภาพและความปลอดภัยของผูใชอาคารและ สังคมสาธารณะ มีความเกี่ยวของกับการเลือกใชและการตรวจสอบ ความถูกตองของวัสดุประกอบอาคารที่ตัวเองเลือกอยางหลีกเลี่ยงไมได และสถาปนิกมีสิทธิ์ไดรับโทษอาญาหรือติดคุกเอางายๆ ถาการ ออกแบบและการเลือกใชวัสดุของตนเอง ทำใหผูใชอาคารนาจะไดรับ อันตรายและสังคมไดรับความเดือดรอน ในปญหาประเด็นที่สองของเรื่องนี้ เปนขั้น Advanced กลาวคือ การ เขียน Spec. ซึ่งเปนเรื่องที่แทบจะหาคนรูและคนสอนไดยากในวงการ สถาปนิกบานเรา เพราะเราไมเคยร่ำเรียนในเรื่องที่มา ที่ไปของวัสดุ กอสรางและวัสดุอื่นๆ ที่นำมาใชกับงานของตนเองใหเขาใจถึง Concept หรือแนวคิดแตอยางใด เพราะสถาปนิกเรามักทำตัวเปน End User ในการใชงานขอมูลวัสดุประกอบอาคารอยางเต็มรูปแบบ เมื่อเราพอใจแคการเปน End User เราก็จะไมสนใจหาความรูตอไป วาที่มาของการเขียน Spec. เพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุที่มีคุณภาพที่ใชงานกัน นั้นนั้นมีสาเหตุที่มาจากอะไร เราจะเลือกกระจกใชงานตองใชมาตรฐาน ใดรองรับ ทำไมเหล็กหรือคอนกรีตตองมีมาตรฐาน มอก. ทำไมผนัง อลูมิเนียม Cladding ตองใช Series -3000 ขึ้นไป หรือแมแตจะใช ฉนวนตองดูคาการตานทานความรอนมากนอยเพียงใด และยังไม เขาใจวาคา k ที่ปรากฎในตารางคุณสมบัติวัสดุแทบทุกชนิด มีผลตอ การถายเทความรอนในอาคารอยางไร

24


เมื่อเราไมรูที่มาแลวเราก็ไมรูที่ไปตอไปวา การเลือกใชวัสดุกอสราง ตางๆ ตองใช Criteria ใดเปนแนวทางพิจารณา และสวนใหญแลว สถาปนิกก็มักไมรูวาเราสามารถกำหนดหรือเลือกไดวาเราอยากใชวัสดุ อยางไหน ประเภทใด มีคุณสมบัติอยางไร ปญหานี้จึงสงผลยอนเปนงูกินหางแสดงออกมาที่การเลือกใชวัสดุ กอสรางในอาคารบานเรือน เพราะในปจจุบันสถาปนิกเราก็ยังเคยชิน กับการ Spec. ใชอิฐมอญเปนผนังบานหรืออาคารกันเหมือนเมื่อครั้ง คุณปู คุณพอสถาปนิกของเราในอดีตเมื่อ 20-30 ปที่ผานมา แมวา ปจจุบันจะมีวัสดุผนังอาคารเกิดขึ้นใหมๆ อยางมากมาย และมี คุณสมบัติในดานตางๆ ดีกวาอิฐมอญเสียดวยซ้ำ ประเพณีหรือลัทธิ Spec. ผนังอิฐมอญนี้ อาจเปนตัวอยางที่แสดงให เห็นวา สถาปนิกบานเราใหความสำคัญกับเปลือกมากกวากระพี้ เพราะ เราจะใหความสำคัญกับ Features ที่เห็นภายนอกแตเพียงถายเดียว เรามองเห็นผนังเปนเพียงเครื่องมือในการออกแบบ Solid กับ Void ให สวยงาม แตเราไมเคยรับรูขอมูลคุณลักษณะวัสดุกอสรางอยางเพียงพอ และไมเคยมองเห็นใหลึกไปวาผนังอาคารหรือวัสดุประกอบอาคารอื่นๆ ยังมีหนาที่ปองกันความรอน ความชื้น และสิ่งไมพึงประสงคจาก ภายนอกอีกซึ่งลวนแลวแตเปนภาระหนาที่แทจริงของผนังหรือเปลือก อาคารมากกวา เปนตน วิธีการแกปญหาเรื่องความไมรูในการทำ Spec.ในบานเราที่เกิดขึ้นเปน เรื่องปกติ ก็คือการใชวิธี Cut/ Copy /Paste จากไฟลขอมูลหรือ คัดลอก จากรายการประกอบแบบเกาๆ เดิมๆ สมัยฮองเตองคไหนก็ไมปรากฎ และที่สำคัญเรายิ่งไมเคยรูเลยวาใครเปนตนฉบับ และเราก็ไมรูวาถาเรา ไมลอกแลวเราจะมีวิธีการเขียน Spec. สำหรับใชงานวัสดุตางๆ ตามที่ เราตองการอยางไร ดังนั้นจึงสงผลตอเนื่องมายังการเลือกใชวัสดุของ สถาปนิกไทยที่มักใชตามๆ กันมาทั้งที่ไมรูวาทำไมตองใชดังกลาวแลว

25


จุดออนขอนี้เปนขอเสียเปรียบใหญหลวงของสถาปนิกชาวไทย เพราะ ในอนาคตอันใกลนี้จากการเปดเสรีทางการคาจะทำใหเกิดการหลั่งไหล เขาสูประเทศของบรรดาสถาปนิกตางชาติหัวแดง หัวทอง และหัวดำที่ พูด อานภาษาฝรั่งเปนไฟที่ลวนแลวแตมีระบบ ระเบียบ ตลอดจน เอกสาร รายการประกอบแบบ ตลอดจนมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ ในระดับที่เปนสากลมากกวาของบานเรามากมายหลายขุม เมื่อเราไมเขาใจ ไมสนใจการทำเอกสาร Spec. เราอาน Spec. ไมเปน เราเขียน Spec. แบบไทยๆ ไมเปน เราก็ไมสามารถสื่อสารทำความ เขาใจ และทำใหเกิดการแกไขเปลี่ยนแปลงขอมูลที่เปนประโยชน หรือ สอดคลองกับบริบทของบานเราได ปญหาเหลานี้ยอมนำไปสูการเสีย ดุลการคาทางวัสดุกอสรางและวัสดุประกอบอาคารที่ตอง Imported มาจากตางประเทศอยางมากมาย และที่สำคัญลูกคาก็จะไมไดรับ สินคาหรือวัสดุกอสรางที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการใชงานอยาง แทจริง รวมทั้งอาคารก็จะขาดประสิทธิภาพในการใชสอยตามที่ควรจะ เปนดวยสาเหตุที่มาจากความไมรูของสถาปนิกเราเองไดในที่สุด

26


ทางแกไข : คงตองยอนกลับไปที่กำเนิดของกรรมนี้ คือสมัย เรียนสถาปตยในรั้วมหาวิทยาลัยของสถาปนิกบานเราที่ตอง จริงจังกับเรื่อง Spec. นี้ตั้งแตเด็กๆ แมวามันอาจจะเปนยา ขมอีกหนึ่งหมอก็ตาม นักเรียนสถาปนิกควรตองแบงสมองไว เรียนรูเรื่องวัสดุใหมากกวาการพิจารณารูปลักษณภายนอก เพียงอยางเดียว แตนักเรียนสถาปนิกและสถาปนิกเรา คง ตองเรียนรูถึงเกณการพิจารณาเลือกใชวัสดุแตละชนิดแตละ แบบ ตั้งแตในระดับขอมูลพื้นฐานทั่วไป เชน ความแข็งแรง ความยืดหยุน คาความเปนฉนวน คาการปองกันความรอน ปองกันเสียง ฯลฯ ไปจนถึงขอมูลตัวเลขที่แสดงถึงมาตรฐาน เฉพาะของวัสดุ และคุณสมบัติเฉพาะของวัสดุนั้นๆ ไมวาจะ เปน กระจก สแตนเลส อลูมิเนียม และอีกหลายตอหลายวัสดุ นอกจากนี้ ในการทำงานจริงสถาปนิกตองเปดหูเปดตารับ ขอมูลที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติวิชาชีพใหมากขึ้น โดยใช เวลาวางๆ จากเลน msn ในเวลาทำงาน ก็ลองไปรื้อคน เอกสารพวกนี้มาอานดูบาง หรือศึกษาหาความรูจาก Sales หรือผูแทนจำหนายวัสดุกอสรางมากกวาการพูดคุยเอาสนุก แตอยางเดียว ไปจนถึงการคนควาขอมูลจากหนังสือตำรา ตางๆ และประเด็นสุดทาย สถาปนิกไทยเราควรตั้งใจอานเอกสาร มาตรฐาน Spec. ประกอบวัสดุประกอบอาคารชนิดตางๆ ที่มี อยูอยางจริงจังและจริงใจใหจบอยางนอยหนึ่งรอบ และควร คิดตอถึงวิธีการเลือกใชงานวัสดุและการเขียน Spec. ใน ฐานะผูนำการใช ไมใชผูใชตามอีกตอไป และที่สำคัญจงอยา ลืมวา Spec. ไมใชความรัก (ที่ออกแบบไมได) เราจึง ออกแบบขอมูลวัสดุที่เปนตัวหนังสือเหลานี้ไดเหมือนงาน แบบที่เปนรูปภาพอาคารเชนกัน

27


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

28


29



PROGRAMMING :

¡Ò÷Óâ»Ãá¡ÃÁ ¡ÒÃ㪌ÊÍÂÍÒ¤ÒÃ

4


4

PROGRAMMING :

¡กÒาÃร·ท∙Óำâโ»ปÃรáแ¡กÃรÁม¡กÒาÃรãใªช ŒÊสÍอÂยÍอÒา¤คÒาÃร กนกตกไมแตก นองใหมไฟแรงแหงป 1 สถาปตยมอดินแดงหมาย มั่นปนมือจะทำแบบบานหลังแรกในชีวิตใหงามหยดยอย ดวยการ ใชโปรแกรมความตองการของผูอยูอาศัยและจำนวนหองในบานที่ ครบถวนจากอาจารยประจำวิชา เฉลิมชัยมงคล นักเรียนสถาปนิกชั้นปที่ 4 จากสถาบันดังยานคลอง บางบัว เตรียมตัวเริ่มตนออกแบบงาน Project โรงแรมหรูหราหา ดาวจำนวน 200 หอง ดวยการรับโปรแกรมที่เพียบพรอมจาก อาจารยผูสอนอีกเหมือนกัน หรือแมแต นพพรอมรศรี นักเรียนสถาปนิกวาที่เกียรตินิยมจากรั้ว จามจุรีก็ เริ่มตนทำงานออกแบบใน Studio 3 ดวยโปรเจคอาคาร สำนักงานหรูกลางใจเมืองพื้นที 15,000 ตารางเมตร ซึ่งอาจารย ผูสอนไดเตรียมโจทยเปนพื้นที่ใชสอยและ Function ตางๆ ไวแลว อยางครบถวนสมบูรณอีกแลวครับทาน

32


เรื่องเลาเมื่อเชานี้ที่เปนเรื่องจริงในตอนบาย จากการเรียนของนักเรียน สถาปนิกขางตน ทำใหเราเห็นภาพวา ไมวาจะเปนการออกแบบบาน หลังนอยๆ หรืออาคารหลังใหญๆ ยุวสถาปนิกของเราไมเคยไดทำหรือ ตองเหน็ดเหนื่อยกับการคิดโปรแกรมการใชสอยของอาคารเลย เพราะ เรามีอาจารยทานปนผูอนุเคราะหจัดทำโปรแกรม (สำเร็จรูป) ที่มีขอมูล ครบถวนทุกดานใหพวกเรายอยโดยไมตองเคี้ยวกันทั้งสิ้น แมแตการทำวิทยานิพนธที่ดูเหมือนวา นักเรียนสถาปนิกจะตองเปนผู ทำขอมูลโปรแกรมการออกแบบดวยตัวเราเอง ในความเปนจริงเราก็ไม ไดทำเองซักเทาไร เพราะเรามักลอกเอาขอมูลโปรแกรมความตองการ จากงานของรุนพี่ที่ทำงานประเภทเดียวกันมาซะเลย หรือบางทีก็ซื้อ เทียนมาแลวนั่ง (จุด) เทียนจนไดโปรแกรมก็มีไมนอย ที่สำคัญก็คือวิธี การคิดโปรแกรมในการออกแบบของเราที่เคยทำๆ กันมายอมหาความ นาเชื่อถือไดนอยเหลือเกิน เพราะเปนการคิดมุมเดียวจากนักเรียน สถาปนิกในฐานะที่ตัวเองเปนเจาของอาคารดวย (ซึ่งในชีวิตจริงไมใช แตอยางใด) โดยขาดขั้นตอนการตรวจสอบขอมูลยอนกลับจากผูใช อาคารหรือเจาของอาคารจริงๆ ในเมื่อเราไมเคยฝกหัดทำโปรแกรมการออกแบบเองมาเลยเมื่อตอน เรียน สถาปนิกไทยจึงมีความเคยชินและเรียนรูทางผิวหนังบนความเชื่อ วา ลูกคาจะเตรียมขอมูลที่ใชในการออกแบบมาใหเราอยางพรอมมูล เหมือนสมัยไดรับจากอาจารยที่เคารพของเรา แตในความเปนจริงแลว เชื่อวาสถาปนิกไทยจำนวนมากคงตองมึนและงงกับการนั่งฟงขอมูล ความตองการของลูกคาที่ลอยไปมาอยูในคำพูดโดยไมสามารถจับ ประเด็นเนื้อความเอามาใชได สิ่งสำคัญในการจัดทำโปรแกรมการออกแบบของสถาปนิกคือ เราตองมี ความสามารถในการแยกแยะขอมูลที่อยูในคำพูดคำบอกกลาวของ

33


ลูกคาใหออกมาเปนประเด็นอยางชัดเจนเพื่อนำมาใชงานตอได ซึ่ง ขอมูลเหลานี้จะประกอบดวย 4 สวนคือ 1. Concept ขอมูลแนวคิดหลักของการออกแบบอาคารซึ่งอาจมา จากเจาของหรือเราเองก็ตาม เพื่อใชเปนกรอบใหญในการ สรางสรรคงาน 2. Requirement เปนความตองการพื้นฐานในการใชงานอาคารซึ่ง ลูกคาจะบอกเรามาเองวาเขาตองการอะไรบาง และเราก็ตองศึกษา ขอมูลสวนนี้มาเพิ่มเติมเพื่อใหการใชงานอาคารสมบูรณ 3. Preferences เปนสวนของความอยากได อยากมีของลูกคา (ไม ควรมีตัวเราเขาไปเกี่ยวอยางเด็ดขาด) ซึ่งความยากในการทำงาน จริงคือเราตองแยกแยะใหออกวาอะไรเปน Requirement ที่ตองมี ในอาคารแหงๆ ไมมีไมไดเลยและมีขอมูลไหนที่เปน Preferences ที่มีก็ไดไมมีก็ได 4. Criteria คือขอกำหนดหรือมาตรฐานตางๆ ที่ใชกำกับหรือเปน แนวทางในการออกแบบอาคารใหเปนไปตามมาตรฐาน นอกจากนี้แลว สถาปนิกไทยพึงสังวรณวาปญหาสำคัญจากการไมได ฝกฝนทักษะการทำโปรแกรมการออกแบบดวยตนเองอยางเพียงพอ เปนเรื่องใหญและซีเรียส (Serious) มากในการทำงานจริง เพราะการ จัดทำโปรแกรมการออกแบบไมวาจะเปนอาคารหลังเล็กหลังใหญลวน แลวแตตองการขอมูลที่ถูกตองแมนยำ เพราะจะมีความสัมพันธกับทั้ง ผูคนในสวนของลูกคา ผูใชอาคาร ผูออกแบบสาขาอื่นๆ และผูรับเหมา กอสราง ไปจนถึงความเกี่ยวของกับเนื้อหางานทั้งแผนการทำงาน งบประมาณ เวลาการกอสราง ตลอดจนการเสียโอกาสทางธุรกิจหรือ การอยูอาศัยของลูกคาอีกดวย นอกจากนี้ ปญหาของการทำขอมูลโปรแกรมการออกแบบยังมีสวนกับ งานที่สถาปนิกไมชอบไมอยากทำไมอยากสนใจอีกหลายเรื่องหลายราว ไดแก ความเปนไปไดของขอกฎหมาย ความเปนไปไดทางการเงิน

34


รูปแบบการปลูกสรางบนพื้นที่ดิน การ Set-back ความสูงอาคาร F.A.R. O.S.R. การคิดที่จอดรถยนต การคิดหองน้ำหองสวม การจัด เตรียมพื้นที่อาคารใหเพียงพอกับการใชงานจริงของลูกคา ไปจนถึงการ ติดตอประสานกับวิศวกรระบบงานตางๆ ไมวาจะเปนการเตรียมพื้นที่ หรือความสูงอาคารใหเหมาะสมกับรูปแบบโครงสราง การเตรียมพื้นที่ อาคารใหกับอุปกรณระบบไฟฟา ประปา แอร และระบบอาคารอื่นๆ ตามการใชงานของอาคาร ดังนั้นระหวางการกอสรางอาคารจริง เราจึงมักเห็นปญหาความสับสน ในการออกแบบหลายอยาง เชน หองเครื่องไฟฟามีพื้นที่ไมพอ ระยะใต ฝาเพดานไมพอสำหรับเดินทอ หองเครื่องแอรไมมี หรือแมแตหอง A.H.U. มีความสูงนอยเกินไปอยูเสมอๆ ซึ่งปญหาเหลานี้มีสาเหตุ สำคัญประการหนึ่งมาจากการจัดทำโปรแกรมการออกแบบที่ไมถูกตอง และครบถวนเพียงพอ

35


ทางแกไข : เราก็คงยอนกลับไปที่กำเนิดของกรรมนี้เหมือนอีก หลายๆ กรรมขางตน นักเรียนสถาปนิกควรไดรับการฝกฝน ทักษะการคิดคำนวนโปรแกรมการใชสอย (ที่ถูกตอง) ซะตั้ง แตเนิ่นๆ ไมใชรอจนป 5 แลวคอยมาคิดมาทำกัน นักเรียน สถาปนิกควรถูกฝกใหทำโปรแกรมการออกแบบดวยตัวเอง ตั้งแตปเด็กๆ ครูอาจารยควรใชเวลากับการสอนวิธีการ ทำงานที่ถูกตองใหผูเรียน ความรูเรื่องการทำโปรแกรมจะ ตองถูกปลูกฝงใหอยูใน DNA ของนักเรียนสถาปนิกทุกคนเพื่อ เพาะบมใหเปนผูออกแบบที่ดีมีความรูตามมาตรฐานที่ควร จะเปนดวย เราตองนึกไวเสมอวา “เรา…สถาปนิก…เปนผู สรางบานหรืออาคารตามที่เราคิดเราฝน โดยใชเงินของลูกคา เพื่อตอบสนองความตองการใชสอยของลูกคาไมใชความ อยากหรือความตองการของตัวเราแตอยางใด” นอกจากนี้หลักการในการทำโปรแกรมการออกแบบที่สำคัญ คือ เราตองทำความเขาใจกับคุณลักษณะของขอมูลที่ไดรับ จากลูกคาเพื่อนำไปสูการแยกแยะขอมูล 4 สวนในการทำงาน ออกแบบใหไดอยางชัดเจนและถูกตองมากที่สุดดังกลาวแลว คือ Concept, Requirement, Preferences และ Criteria (ดูราย ละเอียดเพิ่มเติมไดจากของแถมทายเลม-1) เมื่อไดขอมูลจากการพูดคุยกับลูกคาแลว เราตองทำความ เขาใจใหชัดเจนวาขอมูลใดเปนอะไร และจะเอาไปใชเมื่อไร ใชตรงไหนอยางไร มีอะไรตองคนควาเพิ่มเติม ความตองการ นี้ตัดออกไดไหม ความอยากไดของลูกคาควรมีไหม ใชเงิน เทาไร เพราะเราตองไมลืมวาในชีวิตสถาปนิกจริงๆ ลูกคาไม เคยจำแนกขอมูลความตองการเหลานี้มาใหเราอยางชัดเจน แตอยางใด จึงเปนหนาที่ของเราที่ตองจัดการแบงประเภท แบงกลุมขอมูลเหลานี้ใหอยูถูกที่ถูกทาง เพื่อนำไปสูการจัดทำ ขอมูลโปรแกรมและการออกแบบที่ถูกตองไดในที่สุด และ เพื่อการออกแบบกอสรางอาคารที่เปนไปตามความตองการ ของลูกคาอยางครบถวนมากที่สุด

36


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

37



DOCUMENT PAPER :

¡ÒèѴ·ÓàÍ¡ÊÒà »ÃСͺ§Ò¹

5


5

DOCUMENT PAPER :

¡กÒาÃร¨จÑั´ด·ท∙ÓำàเÍอ¡กÊสÒาÃร»ปÃรÐะ¡กÍอºบ§งÒา¹น สุรพลภิญโญ ผูจัดการโครงการบริษัทสถาปนิกชั้นนำยานสุขุมวิท มอบหมายให อภิสิทธิ์สุดฤทธิ์สุดเดช สถาปนิกนองใหมใน สำนักงานบันทึกการประชุมการสงแบบรางโครงการศูนยการคา 5,000 ลานระหวางบริษัทเครือเซ็นเถอะกับสำนักงานของเขา อภิสิทธิ์สุดฤทธิ์เดช จะเริ่มตนอยางไร ? นภัสวันจันทรอังคารพุธ สถาปนิกสาวมั่นไดรับการวาจางให ออกแบบบานหลังใหญคาแบบ 1.5 ลานบาท ลูกคาของเธอบอกวา ใหทำรางสัญญามาใหดูเพื่อเตรียมเซ็นสัญญาจายเงินลวงหนา 30 เปอรเซนตทันที นภัสวันจันทรอังคารพุธ จะเขียนสัญญาอยางไรให เปนธรรมทั้งสองฝายและตัวเองไมโดนลูกคาโกง ?? สุเทพเปนเทือก สถาปนิกโครงการคอนโดมิเนียมหรูยานทองหลอ ตกอยูในฐานะแพะรับผิดและรับพลาด เนื่องจากผูรับเหมากอสราง โวยวายการแกไขแบบโถสวมโดยไมมีใบสั่งแกไขและพิจารณา อนุมัติจากเจาของโครงการทำใหโครงการลาชา ตองคิดราคางาน โถสวมเพิ่ม และไมสามารถโอนหองพักใหลูกคาไดตามกำหนด สุเทพเปนเทือก นั่งนึกดวยความงงวาทำไมเขาถึงสั่งเปลี่ยนโถสวม ไมไดในเมื่อเขาเปนผูออกแบบ

40


ตัวอยางเหลานี้แสดงใหเห็นถึง ความไมรูในเนื้อหางานดานเอกสาร สัญญาธรรมดาๆ ที่เกี่ยวของกับการทำงานในชีวิตจริงของสถาปนิก ธรรมดาๆ ที่เกิดขึ้นแบบธรรมดาๆ เสมอๆ และที่สำคัญตัวสถาปนิกเอง ก็ยังไมรูเรื่องรูราววางานเอกสารตางๆ เหลานี้เปนสิ่งที่มีอยูจริงและเปน ความรับผิดชอบของตนเอง นอกเหนือจากแบบพิมพเขียว หุนจำลอง และภาพ Perspective ที่คุนเคยกันอยู ทำไมเราจึงพบวา ทักษะการเขียน (ตัว) หนังสือภาษาไทยใหเปนภาษา คน (อานรูเรื่อง) ของชาวสถาปนิกไทยเรารวมไปจนถึงความสามารถใน การคิดวิเคราะหเปนตัวหนังสือ การยอความ สรุปความ และการบันทึก ความรูในการทำงานผานเอกสารนานาชนิด ดูจะเปนเรื่องลำบากยาก เย็นแสนเข็ญในชีวิตนักเรียนสถาปนิกและสถาปนิกไทยเสียเหลือเกิน เพราะเอากันแคเวลาตอบขอสอบอัตนัยสงอาจารย เราก็ไมเคยเขียนคำ ตอบไดตรงประเด็น หรือรูความเทาใดนัก หนำซ้ำเราก็ยังมีความ สามารถเขียนภาษา (คน) ไทยเปนภาษาเทพใหคนอานไดไมรูเรื่อง เสมอ แลวเราจะหวังใหสถาปนิกไทยเขียนบันทึกประชุมหรือรางสัญญา ใหไดเรื่องไดอยางไรกัน ความสามารถเรื่องการเขียนเหลานี้เปนสิ่งที่ขาดหายในชีวิตการเรียน ของนักเรียนสถาปนิก เพราะเราเคยชินกับการอธิบายความและสงงาน อาจารยเปนแบบราง แบบจริง เปนภาพ เปน Graphic กันเปนหลักและ อยางเอาเปนเอาตาย ดังนั้นเราจึงมีความเชี่ยวชาญการใชโปรแกม 3D Sketch-Up และ CAD ที่วายากๆ ไดงายเหมือนปอกกลวยและงงเออ ทันทีเมื่อตองใชงานโปรแกรมไมโครซอฟทออฟฟศพื้นฐาน ปลาดาว 3.1 และการเขียนไทยดวยลายมือ นอกจากนี้ (บาป) กรรมขอนี้ยังมีเหตุผลสำคัญจากการขาดการฝกฝน วิธีคิดใหเปนระบบผานหลักฐานงานเอกสาร เพราะเราถูกสอนใหมุงเนน ไปที่การทำงาน (ออก) แบบเปนหลักโดยขาดมิติในดานขอมูลที่เปนตัว หนังสือ ตัวเลขมาประกอบการทำงาน ทั้งที่ในกระบวนการเรียนการ

41


สอนของเราเคยชินและถูกสอนใหมีวิธีคิดเปนระบบและเปนแบบองค รวมไดมากที่สุดในบรรดาอาชีพอื่นๆ กลาวคือเราจะมองเห็นภาพของกระบวนการขั้นตอนในการทำงาน ตางๆ หรือเขาใจระบบเรื่องราวตางๆ ไดอยางรวดเร็วและชัดเจน และ สามารถอธิบายใหคนอื่นฟงไดเขาใจงายๆ ดวยภาพ แตสิ่งที่ขาดหาย คือเราไมสามารถถายทอดความเขาใจเหลานี้ออกมาเปนตัวหนังสือ ตัว อักษรได ปญหาเรื่องเอกสารการทำงาน อาจจะยังไมสงผลชัดเจนแตอยางใดใน ระยะเวลาการศึกษาของนักเรียนสถาปนิก แตจะมีผลเสียอยางชัดเจน ระหวางการทำงานวิชาชีพจริงของตนเอง ไมวาจะเปนการบันทึกประชุม การติดตอประสานงานเรื่องการจัดทำโปรแกรมการออกแบบ การจัดทำ ขอเสนอโครงการในการออกแบบ การจัดทำเอกสารสัญญาวาจาง การ จัดเตรียมเอกสารการประมูล การจัดทำราคากลางกอสราง และอีก หลายตอหลายงานชวงกอนการกอสรางอาคาร ตอจากนั้นยังมีเอกสารอีกหลายอยางที่สถาปนิกตองเขาไปเกี่ยวของ ระหวางการกอสรางไดแก เอกสารรายงานการประชุม Site เอกสารการ อนุมัติแบบ Shop Drawing และเอกสารขออนุมัติการใชวัสดุและติดตั้ง อุปกรณตางๆ ไปจนถึงเอกสารประกอบการพิจารณาปญหางานเพิ่ม งานลดและการแกปญหาที่เกิดขึ้นหนางาน เปนตน หากสถาปนิกมีความเขาใจในแนวคิดเนื้อหาและวิธีการติดตอประสาน งานเอกสารแตละชนิด จะทำใหการทำงานระหวางตนเองกับผูเกี่ยวของ แตละฝาย เชน เจาของ ที่ปรึกษาโครงการ ผูรับเหมากอสราง ฯลฯ เปนไปดวยความสะดวกรวดเร็วและถูกตอง รวมทั้งยังชวยลดขอเสีย เปรียบของสถาปนิกที่เกิดขึ้นจากการติดตอประสานงานและการเจรจา ตอรองในระหวางการทำงานอีกดวย

42


นอกจากนี้แลว ความไมชอบเขียน (ตัว) หนังสือในหมูสถาปนิกบานเรา ยังเกิดผลขางเคียงตอเนื่องมาที่การขาดวัฒนธรรมการบันทึกความรู ความสามารถในการปฏิบัติวิชาชีพของตนเอง ทั้งที่สิ่งเหลานี้จะเปน ขอมูลที่มีประโยชนตอการสั่งสมและถายทอดความรูจากรุนสูรุน ดังนั้น วงการสถาปตยกรรมบานเราจึงขาดการเรียนรูจากอดีตและจาก ประสบการณการทำงานของสถาปนิกรุนเกาๆ ไปอยางนาเสียดาย สถาปนิกรุนใหมๆ จึงไมคอยมีขอมูลหรือแหลงความรูจากสถาปนิกรุน พี่ๆ และรุนอาวุโสใหศึกษามากมายเทาผลงานของสถาปนิกตางชาติ มิหนำซ้ำยังทำใหหนังสือและตำราดานสถาปตยในบานเรามีอยูนอย และมักเปนภาษาตางประเทศทั้งสิ้น (ที่ปรากฏอยูในปจจุบันมักเปน หนังสือจากสมาคมสถาปนิกสยามฯ จากสำนักพิมพลายเสน และ สถาบันการศึกษาสถาปตยกรรมบางแหงเทานั้น) แตสิ่งสำคัญที่ขาดไป ก็คือ การสูญหายขององคความรูในวงการวิชาชีพสถาปตยกรรม การ เสียโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพและขาดการพัฒนาองคความรูจากการ ศึกษาขอผิดพลาดจากบทเรียนในอดีตของตนเองอีกดวย

43


ทางแกไข : องคความรูเรื่องเอกสารในการทำงานวิชาชีพเปน สิ่งที่สอนใหเขาใจไดยากลำบากระหวางการศึกษา เพราะ ประเด็นเหลานี้เปนเรื่องละเอียดซับซอนที่ตองเรียนรูและ ศึกษาระหวางการทำงานจริงเปนหลัก ฉะนั้นแลว การเริ่มตน เสนทางวิชาชีพของสถาปนิกใหม ดวยการเรียนรูขอมูลงาน เอกสารจากการปฏิบัติงานและเรียนรูจากสถาปนิกรุนพี่ใน สำนักงานที่มีมาตรฐานเปนสิ่งจำเปนยิ่งเพื่อความรูความ เขาใจในกระบวนการทำงานสถาปตยกรรมอยางเปนระบบ และมีประโยชนตอการสั่งสมประสบการณของตนเอง มากกวาการปฏิบัติงานโดยลำพัง นอกจากนี้อีกวิธีการหนึ่งที่มี ประสิทธิภาพก็คือการศึกษาเพิ่มเติมจากการอบรมสัมมนา หรือเอกสารหนังสือในวงการวิชาชีพสถาปตยกรรมใน ประเด็นที่เกี่ยวของ สำหรับปญหาเรื่องการขาดวัฒนธรรมบันทึกขอมูลในหมู สถาปนิกบานเรา ก็เปนสิ่งที่ตองปลูกฝงใหเกิดขึ้นอยางแพร หลายในวงการวิชาชีพ ดวยการเริ่มตนขีดๆ เขียนๆ บันทึก ขอมูลความคิดเปนตัวหนังสือควบคูไปกับการทำงานแบบ รวมทั้งฝกนิสัยการบันทึกดวยการมีสมุดคูมือเลมเล็กๆ ไวจด บันทึกเรื่องราวที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน และจดประเด็น ความคิดที่นาสนใจไวเสมอๆ ก็เปนสิ่งที่สมควรกระทำอีกเชน กัน นอกจากนี้ การฝกวิธีการคิดเปนตัวหนังสือใหเปนระบบ ดวยการเขียนแผนที่ความคิดหรือ Mind Map จะเปนเครื่อง มือที่ดีในการเริ่มตนการขีดเขียน (ดวยคำสั้นๆ ) และขยาย ความตอไปยังการเรียบเรียงและบันทึกขอมูลเปนตัวอักษร อยางเปนระบบมากยิ่งขึ้น (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากของ แถมทายเลม-2)

44


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

45



TEAM LEADER

ÀÒÇмٌ¹Ó

6


6

TEAM LEADER

ÀภÒาÇวÐะ¼ผÙู Œ¹นÓำ

เคยมีเรื่องเลาวา “สถาปนิกไทยเมื่อตองไปคุยกับ Engineer เราก็มักงัด เอาความเปน Artist เขาตอสูหักลางเพื่อเอาชนะกันทางความคิด เพราะ เรามีความรูและความคิดที่เปน Science และ Systematic นอยกวา แตเมื่อเราตองไปปรึกษาหารือเรื่องงานออกแบบกับ Interior Designer เราก็มักงัดเอาความเปนวิทยาศาสตร และขอกำหนดทางกฎหมายและ โครงสราง (ที่เราดูจะรูมากกวา) เพื่อชนะคะคานเขาเพราะตัวเรามีความ รูทางดานศิลปที่นอยกวา” เรื่องตลกรายนี้ หากเรามองในแงดีก็คงเปนเรื่องนาภูมิใจในความ เกงกาจที่เรามักนำเอาความรูอันนอยนิดของเรามาเอาตัวรอดไดเสมอๆ แตจริงๆ แลวเมื่อมองใหลึกลงไปถึงแกนแหงความจริงก็จะพบวาที่เรา รบชนะเปนเพียงการไดชัยในสนามรบเล็กๆ แตเมื่อมองในภาพรวมแลว เรากลับเปนผูพายแพในสมรภูมิใหญเสมอ (Thai Architects always win the BATTLE but lost the WAR)

48


ความจริงที่แฝงอยูในเรื่องเลานี้ คือจริงๆ แลวเรามักขาดองคความรู หลายตอหลายเรื่องที่ตองใชในการประกอบวิชาชีพ และตองนำเอา ขอมูลความรูเหลานั้นมาใชงานดวยการพูดคุยหาแนวทางแกปญหากับ ผูรวมงานที่เกี่ยวของในดานตางๆ แตปญหาคือ เมื่อเราขาดความรูใน เรื่องราวเหลานั้น เราจึงไมสามารถพูดคุยปรึกษาหารือ ไปจนถึงไม สามารถนำเสนอความคิดของเราตอผูเกี่ยวของอยางมีหลักการและเปน รูปธรรมได ดังนั้น เราจึงมีวิธีแกไขแบบ (มัก) งายดวยการใชความเปนสถาปนิก ของตนเองมาออกหนาสูกับคนอื่นเสมอๆ ดังเรื่องเลาขางตน ความจริงที่ เจ็บปวดก็คือ แมวาโดยบทบาทการทำงานสถาปนิกจะเปนผูนำทีมของ ผูออกแบบ แตเมื่อเราไมมีความรูพอจะไปใชตอสูหักลางกันทางความ คิดกับทีมงานคนอื่นไดเพียงพอ เราก็ทำไดแคเออออหอหมกไปกับเขา เพื่อรักษาฟอรมของตนเอง หรือพูดงายๆ ก็คือ สถาปนิกเราก็ทำไดแต เพียงผูตาม (ทางความคิด) ของทีมงานออกแบบเทานั้นเอง หากเรามีคำถามหรือขอสงสัยเกี่ยวกับความรับผิดชอบในฐานะ Team Leader ของตนเองวาทำไมเราถึงตองมีภาระรับผิดชอบมากมายขนาด นี้ละก็ ก็ลองยอนกลับมาดูที่คาบริการวิชาชีพของเราก็พอจะบงบอกไดวา สถาปนิกเราถูกยกยองใหมีบทบาทเปนผูนำในการประสานงาน การออกแบบ เพราะสัดสวนของคาบริการวิชาชีพที่เราไดรับจะมากกวา ทีมวิศวกรผูออกแบบอื่นๆ และที่สำคัญเราเองนับไดวาเปนผูเริ่มตนการทำงานในทุกโปรเจค และ ตองทำหนาที่ติดตอประสานขอมูลตางๆ ระหวางเจาของและทีมวิศวกร จนงานแลวเสร็จ นอกจากนี้ระหวางเจาของกับสถาปนิกนั้นเราเองก็ มีหนาที่เปนผู (แนะ) นำขอมูลที่เปนประโยชนตอการออกแบบแกลูกคา อยางชัดเจนเชนกัน

49


ดังนั้น สถาปนิกเราจึงตองตระหนักในความรับผิดชอบอันสำคัญใน ฐานะผูนำในการทำงานของเราโดยไมตองแกตัวหรืองัดเอาไมตาย ไหนๆ มาใชตอรองอีกตอไป แตเราควรไปศึกษาหาความรูเพิ่มเติมใน เรื่องเราที่เราไมรูเพื่อมาใชเอาตัวรอดในการทำงานจะเปนเรื่องที่นา กระทำเปนที่สุด

50


ทางแกไข : การฟตซอมกอนลงสนามของนักกีฬาเปนเหมือน การสะสมความพรอมกอนลงสนามฉันใด การสะสมองค ความรูระหวางการศึกษาเปนเรื่องจำเปนอยางยิ่งสำหรับ สถาปนิกฉันนั้น หลังจากนั้นเมื่อเขาสูสถานะวิชาชีพจริงเรา เองก็ตองหมั่นศึกษาหาความรูที่ขาดอยูเพิ่มเติมดวยการหมั่น อานแบบกอสราง ศึกษา Spec. ดูหนางานกอสรางเพื่อเรียนรู จากงานจริง ไปจนถึงการศึกษาปญหาที่เกิดขึ้นระหวางการ กอสราง เหลานี้ จะชวยใหสถาปนิกเรามีความมั่นใจในความ รูความสามารถของตนเองเพื่อใชในการทำงานของตนเองได ตอไป ตอจากนั้นการแกปญหาในระดับวิธีคิดของเราก็เปนสิ่งที่ตอง ฝกปฏิบัติกันตอไป วิธีที่ดีก็คือเราตองฝกฝนใหตัวเราเลิกเปน สถาปนิกเปนการชั่วคราวเมื่อตองพูดคุยปรึกษาหารือกับผู รวมงานในวิชาชีพอื่นๆ และพึงตั้งสติในการตัดสินปญหา ดวยหลักการ ความรู และความเปนเหตุผลมาถกเถียงกัน ระหวางการทำงานเปนสำคัญเพื่อใหไดวิธีการแกปญหาและ ขอสรุปที่ดีที่สุด แทนที่การใชความเปนศิลปนหรือ Artist ผานปจจัยทางอารมณ ความงาม ความรูสึกแบบสถาปนิกมา แกปญหาซึ่งไมเกิดผลดีในระยะยาวทั้งตนเองและผูเกี่ยวของ แตอยางใด

51


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

52


53



CONSTRUCTION PROCESS

¡Ãкǹ¡Òçҹ¡‹ÍÊÌҧ

7


7

CONSTRUCTION PROCESS

¡กÃรÐะºบÇว¹น¡กÒาÃร§งÒา¹น¡ก ‹ÍอÊสÃร ŒÒา§ง

อาจารยเฉลิมศักดิ์ : เกียรติศักดิ์เสนา เธอชวยอธิบายแนวคิดของ งานนี้ใหฟงหนอยซิ เกียรติศักดิ์เสนา : ออ ไดครับ จุดเริ่มตนของงานนี้ก็มาจากแรง บันดาลใจที่พบเห็นเปลือกหอยลอยเกลื่อนกลนอยูในบริบทของ วัฒนธรรม ซึ่งมีความเขมแข็งและทรงพลังในตัวมันเองอันจะ แสดงออกมาอยางชัดเจนในเสนโคงขนดปมคลายเปลือกของหอย ที่พุงเขาหา Space ที่เปน Function หลัก และขมวดเกลียวออกมา หาทางเดินหลักเพื่อนำไปสูโถงตอนรับที่ประดับประดาดวยหิน โมเสกจากประเทศโมร็อกโค ……… อาจารยเฉลิมศักดิ์ : ยอดเยี่ยมกระเทียมดองจริงๆ เออ คุณชวย อธิบายตอถึงระบบโครงสรางอาคาร วิธีการเลือกวัสดุเปลือกอาคาร คุณสมบัติกระจก และระบบการกอสรางของอาคารนี้ใหฟงหนอย เอาใหหยดยอยเหมือนตะกี้เลยนะ เกียรติศักดิ์เสนา : เออ…อา….อืม…ออ…!!!!????!!!##@@????!!! LLLNNNMMM

56


ตัวอยางคำสนทนาขณะ Jury งานออกแบบ Project Design ใน ลักษณะดังกลาวนี้เปนสิ่งที่พบเห็นกันเสมอในคณะสถาปตยแทบทุก สถาบันในบานเรา เรื่องนี้แสดงใหเห็นวานักเรียนสถาปนิกและสถาปนิก ไทยจะรับรูงานออกแบบบานและอาคารของตนเพียงแตสวนงานแบบ ในกระดาษที่มีสีสันสวยงามตามความนึกความฝนของตนเองแตเพียง อยางเดียว เพราะหากเราถามตอไปถึงรายละเอียดการเลือกใชวัสดุกอสรางวาใช ผนังแบบไหนบาง กระจกสีอะไร รุนไหน เพราะอะไร ทาสีหรือไม และ ทาสีชนิดไหนอยางไร ไปจนถึงแบบที่ออกมานี้จะสรางเสร็จในระยะ เวลาเทาไร มีวิธีการกอสรางอยางไร และอีกหลายๆ คำถามที่มุงเนนไป ที่ความเปนจริงจากสวนงานหลังงานออกแบบของตนเอง เชื่อวาคงมี สถาปนิกจำนวนไมนอยที่ตอบขอมูลเหลานี้ไมไดอยางครบถวน กระบวนความ หรือแมแตพูดอธิบายไดอยางฉาดฉานดวยความมั่นใจ และเราก็เชื่อไดอีกเชนกันวาคงมีนักเรียนสถาปนิกอีกเปนจำนวนมากที่ ทำหนาเออและมึนๆ งงๆ เบลอตอคำถามทั้งหมดนี้เวลาอาจารยถาม อยางแนนอน จุดออนนี้เกิดจากกรรมที่นักเรียนสถาปนิกทั่วไปจะดำรงตนอยางแข็ง แรงอยูในโลกแหงจินตนาการของตนเองโดยไมคำนึงถึงความจริงอัน โหดรายในการทำงานแบบใหเปนจริงขึ้นมาในชีวิตการทำงาน เพราะ พวกเขาจะทำงาน Project Design สงอาจารยแคแบบ (กระดาษ) โดย ไมตองรับผิดชอบวาแบบที่สงไปนั้น จะสรางไดยากไดงายแคไหน อยางไร เพราะเขาจะมองเห็นผลงานออกแบบขั้นสุดทายของตัวเองได เพียงจากการตัดกระดาษทำ Model หรือทำภาพ Perspective จาก Sketch -Up เทานั้นเอง จึงเปนเรื่องนาเศราที่วา สถาปนิกไทยเราไมมีความตระหนักรูถึงความ สำคัญของกระบวนการสรางงานแบบใหกลายเปนงานอาคารจริงแต อยางใด และผลเสียนี้ยังสงผลมายังการขาดองคความรูในประเด็นที่

57


เกี่ยวของกับการกอสรางอีกหลายประการ ตั้งแต การเลือกวัสดุ ประกอบอาคาร การจัดทำแบบรายละเอียดกอสราง การจัดทำเอกสาร ประกอบการกอสรางดังกลาวแลว นอกจากนี้ ประเด็นสำคัญของ (บาป) กรรมนี้ คือเมื่อนักเรียนสถาปนิก สงงานเรียบรอย เขาจะถือวาภารกิจใหญหลวงของ Great Architect อยางเขาสำเร็จเสร็จสิ้นโดยสมบูรณแลว ขอวิพากษหรือคำ Critic ที่ ไดรับจากอาจารยขณะ Jury เปนสิ่งที่อยูนอกเหนือ Mode การรับรูอีก ตอไป เหตุผลที่ไมสนใจเพราะการตัดสินงานหรือการใหเกรดของ อาจารยจบสิ้นลง ณ กระบวนการสงแบบและ Present แลวอยาง สมบูรณไปแลว ดังนั้น คำวิพากษวิจารณที่นักเรียนสถาปนิกไดรับจากอาจารยผูสอน ขณะนำเสนองานจึงเปนเหมือนคำสวดของพระภิกษุในพิธีธรรมตางๆ ซึ่งเราไมเคยเขาใจและใสใจ หนำซ้ำพวกเขาก็ยังไมเคยตองนำคำแนะนำ คำติหรือคำดาเหลานั้น มาแกไขแบบหรือทำใหงานดีขึ้นเพื่อสงอาจารย อีกครั้งแตอยางใด เพราะเมื่อพิธีการ Jury งานชิ้นปจจุบันสิ้นสุดลง วาที่ (Great) Architects ทั้งหลายจะถือวาเวรและกรรมในงานโปรเจคนั้นสิ้นสุดลง แลวอยางสมบูรณ พวกเขาเหลานั้นก็จะมาตั้งตารองานหรือโปรแกรม ออกแบบใหมจากผูสอนในแตละปการศึกษาเพื่อฝกฝนการเปน สถาปนิกตามที่ฝนไวตอไปเปนวัฏจักรแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนจบการศึกษา ตอมา เมื่อมาสูโลกแหงความจริงในอาชีพสถาปนิก จากกรรมที่สะสม มาในตอนเรียน สถาปนิกไทยจึงมักมีความเคยชินและสนุกกับการทำ แตสวนงานออกแบบ และอยากออกแบบใหมไปเรื่อยๆ และเรื่อยๆ และเรื่อยๆ เปนวัฏจักรทำแบบตอเนื่องไป โดยหลงลืมไปวาในชีวิตจริง นั้นแบบที่ตนเองออกแบบมาตองมีขั้นตอนของงานเตรียมการกอสราง การประมูลงาน และกระบวนการกอสรางอีกเปนเวลานับป และยังมี

58


ปญหาระหวางงานกอสรางที่รอใหตัวเองตองรับผิดชอบเขาไปแกไขอีก มากมายจนกวาอาคารจะสรางแลวเสร็จ งานแบบที่สถาปนิกทั้งหลายทำขึ้นมานั้นจะมีปญหาในการกอสราง มากหรือนอยก็ขึ้นอยูกับกึ๋นและประสบการณของสถาปนิกวามีมาก นอยแคไหน และที่สำคัญเมื่อเกิดปญหาแลวสถาปนิกคนนั้นจะมีวิธีการ แกไขปญหาที่เกิดขึ้นใหลุลวงไดอยางไร รวมทั้งตัวเราจะนำประสบการณความผิดพลาดนั้นมาเปนขอมูลแกไข เพื่อไมใหตนเองกระทำผิดซ้ำไดมากแคไหน แตหากเราปด Mode การ รับรูและคิดแคเพียงวางานของสถาปนิกสิ้นสุดแคทำแบบ เขียน Tive หรือตัด Model แลวละก็ คงเปนเรื่องยากที่เราจะสามารถพัฒนา คุณภาพในการทำงานใหครบถวนกระบวนความได เพราะองคความรู สวนหลักของการทำงานสถาปตยกรรมจะมีใหเราศึกษาคนควาอยูที่ใน การทำงานหลังการออกแบบและระหวางการกอสรางหนางานอีกไม นอย

59


ทางแกไข : สถาปนิกไทยเราควรจะลืมตาและตื่นจากโลกแหง การสรางสรรคและจินตนาการของตนเองเสียที และพึงรับรู วายังมีงานที่เกี่ยวของกับตนเองรออยูระหวางการกอสรางอีก เปนจำนวนมาก เพราะงานเหลานี้ไมไดถูกสอนไวเลยใน หลักสูตรดวยเหตุผลทางดานเวลาและโครงสรางหลักสูตร สถาปตยบานเรา ดังนั้น เมื่อตัวเรามีโอกาสเขามาทำงานวิชาชีพจริงๆ เราควร ใหความสนใจกับกระบวนการทำใหงานของตนเองเปนจริง ผานการกอสรางดวยการแวะเวียนเขา Site งานกอสรางที่ ตนเองออกแบบอยูเปนประจำ เพื่อเติมเต็มความรูที่ขาดหาย ไประหวางเรียนและเพื่อใหตนเองมีความเขาใจงานกอสราง อาคารตั้งแตตนจนจบสมบูรณ และเรียนรูจากความผิดพลาด ของตนเอง เปรียบเทียบขอดีขอเสียที่เกิดจากการทำงานแบบ ของตนเองกับงานในการกอสรางจริง ทั้งในแงมุมของภาพรวม ของงานกอสราง โครงสราง ไปจนถึงรายละเอียดในการ กอสรางในแงมุมตางๆ ก็จะเปนประโยชนตอการพัฒนา ความรูของเราไดในที่สุด

60


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

61



2 ND LANGUAGE : ENGLISH LANGUAGE

ÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ

8


8

2ND LANGUAGE : ENGLISH LANGUAGE

ÀภÒาÉษÒาÍอÑั§ง¡กÄฤÉษ

เมืองไทยไมเคยเปนเมืองขึ้นฝรั่งฉันใด สถาปนิกไทยจึงไมจำเปน ตองรูภาษาฝรั่งใหมากกวา YES, NO, OK และ Thank You ฉันนั้น ความภูมิใจของประเทศไทยตั้งแตอดีตมาจนปจจุบันคือ ความสามารถ ในการรักษาเอกราชของประเทศมาเปนเวลาชานาน และประเทศไทย เราก็ไมเคยตกอยูภายใตอาณานิคมและลัทธิใดๆ เหมือนประเทศ เพื่อนบานใกลเคียง ดังนั้นเราจึงไมมีความจำเปนตองใชภาษาอื่นๆ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารใหเขาใจมากมายเปนภาษาที่สอง เหมือนประเทศอื่นๆ เพราะเรามีภาษาไทยเปนภาษาราชการและใชเปน ภาษาหลักประจำชาติมาโดยตลอด ความภูมิใจเรื่องนี้จึงแพรหลายกระจายตัวมาที่วิชาชีพสถาปนิกและ นักเรียนสถาปนิกไทยอยางหลีกเลี่ยงไมได เราจึงพบวาสถาปนิกไทย และนักเรียนสถาปนิกมีทักษะความรูภาษาอังกฤษต่ำจนถึงต่ำมากหรือ ต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับสถาปนิกในประเทศเพื่อนบาน

64


ดังนั้น เวลาอานหนังสือหรือตำราภาษาอังกฤษ สถาปนิกไทยเราจึง ทำไดแคดูรูปภาพเปนหลักเพราะเราอานภาษาอังกฤษไมเขาใจ และเรา ก็พึงพอใจเพียงแคนำรูปดานหรือ Detail สวยๆ จากอาคารในตาง ประเทศมาใชแบบฉาบฉวยโดยไมเขาใจที่มาที่ไปอยางลึกซึ้ง นอกจาก นี้เราก็ยังขาดความสามารถในการอานและจับประเด็นความรูที่เปน ประโยชนตอการทำงานวิชาชีพจากตำราภาษาอังกฤษใหเขาใจได เพราะเราไมเคยถูกฝกใหเคยชินกับอานภาษาอังกฤษ (แมแตภาษาไทย ก็เชนกัน) สิ่งเหลานี้ถือไดวาเปนความเสียโอกาสทางความรูของ นักเรียนสถาปนิกและสถาปนิกบานเราเปนอยางยิ่ง ครวนี้เราลองมาดูทักษะดานการพูด (อังกฤษ) กันดูบาง มีเรื่องเลา เมื่อวานนี้ที่นาเศราเกี่ยวกับความรูในการสื่อสารภาษาอังกฤษของ สถาปนิกชาวไทยอีกเรื่อง คือมีคำกลาวของสถาปนิกตางชาติในการ ประชุมของสภาสถาปนิกแหงเอเซียหรือ Arcasia เมื่อหลายปที่ผานมา ถึงการแบงประเภทของประเทศในทวีปเอเซียที่ควรเขาไปทำงานและไม ควรเขาไปหางานทำ พบวาประเทศไทยมาเปนตัวเลือกลำดับแรกที่ สถาปนิก ตางชาติควรเขามาทำงานดวยเหตุผลวา “ Thai Architects understand English good enough to receive order, But they can’t understand English good enough to give order” หรือแปล เปนไทยไดความวา สถาปนิกไทยมีความเขาใจภาษาอังกฤษดีพอ สำหรับรับคำสั่ง และแตกลับไมสามารถใชงานไดดีอยางเพียงพอใน การออกคำสั่ง ซึ่งเปนความนัยที่นาเศราวา สถาปนิกไทยเราทำไดเพียง แครับคำสั่งจากสถาปนิกตางชาติเทานั้นเอง ลองยอนกลับมาดูปญหาที่มักพบเสมอในวงการศึกษาบานเรา เราจะ พบวานักเรียนสถาปนิกไทยมักทำหนาเหมือนกินยาขมหมอใหญ (อีก หนึ่งหมอ) หรือถือเปนเรื่องคอขาดบาดตายเสมอ เมื่ออาจารย มอบหมายใหอานบทความหรือตำราภาษาอังกฤษใหเขาใจและรูเรื่อง และในวงการวิชาชีพสถาปนิกเราเอง สถาปนิกไทยเราก็มักไมคุนและ เคยชินกับการทำความเขาใจขอมูลความรูที่เปนภาษาอังกฤษในดาน

65


ตางๆ ในทุกๆ เรื่อง ทั้งยังรวมไปจนถึงเราก็มักไมเขาใจคำศัพทเฉพาะ หรือ Technical term ที่เปนภาษาอังกฤษในการทำงานอีกดวย วิธีการแกไขของสถาปนิกไทยเราคือทำหนาเออเมื่อลูกคาหรือวิศวกร พูดคำอะไรก็ไมรูเปนภาษาอังกฤษออกมาและถามยอนกลับไปแบบ สุภาพวาคำนี้คืออะไร หรือไมงั้นเราก็รักษาฟอรมที่มีอยูมากมายดวย การพยักหนาเออออกันไปเสมือนวารูเรื่องเปนอยางดี พรอมกับการไป ตายเพราะภาษาอังกฤษเอาในดาบนี้หรือดาบหนาตอไป จุดตายหรือจุดออนนี้ขยายผลมาสูความดอยโอกาสหลายประการใน ปจจุบันของสถาปนิกไทย เพราะปจจุบันภาษาอังกฤษถือไดวาเปน ภาษาโลกและเปนภาษาหลักที่ใชในการติดตอสื่อสารปฏิสัมพันธหรือ การหางานกับชาวตางชาติ และโดยเฉพาะอยางการสืบคนขอมูล ความรูจาก Internet ที่ถือเปนแหลงขอมูลความรูขนาดอภิมหาอมตะ นิรันดรกาลใหตักตวงอยางไมสิ้นสุด นอกจากนี้ผลกระทบจากการเปดเสรีทางการคาของประเทศไทยใน ระยะเวลาอันใกลนี้ พรอมๆ กับการเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเด็นนี้จึงเปนเรื่องปกติที่สถาปนิกไทยเราจะตองพบปะหรือทำงาน รวมกับสถาปนิก วิศวกรและลูกคาจากตางชาติในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น กวาปจจุบันอยางหลีกเลี่ยงไมได ดังนั้น หากเราขาดทักษะทั้งการ สื่อสารและทักษะการอานภาษาอังกฤษกับบุคคลเหลานี้ เราลองถาม ตัวเองวาเราจะปฏิสัมพันธกับพวกเขาอยางมีประสิทธิภาพไดดวยภาษา ไทยอันเปนภาษาประจำชาติของเราอยางนั้นฤา หรือเราคิดวาเราจะใช ภาษาใบและภาษามือมาสื่อสารอธิบายความกันใหเขาใจกันหรือ อยางไรหนอ

66


ทางแกไข : ทางแกไขความกลัวที่ดีที่สุดคือ การหันหนาเขาสู หรือเอาตัวเขาไปอยูในสถานการณนั้นๆ จนกวาจะหายจาก ความกลัวดังกลาว ดังนั้นเมื่อสถาปนิกไทยเรากลัวฝรั่งและไม ชอบภาษาอังกฤษก็ตองหันหนาเขาหาภาษาอังกฤษและคน ฝรั่งดวยวิธีการตางๆ อยางเต็มรูปแบบทั้งการอาน พูดและ เขียน ซึ่งเริ่มตนไดจากการหยิบจับหนังสือภาษาอังกฤษแบบ งายๆ มาอานอยางนอยเดือนละหนึ่งเลมจนตนเองเริ่มมี ความเคยชินกับตัวหนังสือและภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น หลัง จากนั้นก็เริ่มเพิ่มความยากดวยการหัดอานตำราภาษาอังกฤษ ที่เกี่ยวของกับการทำงานซึ่งเราเองนาจะทำความเขาใจไมยาก เพราะมีพื้นฐานความรูอยูเปนทุนเดิมอยูแลว นอกจากนี้สถาปนิกไทยเราควรใหความสำคัญกับศัพทเทคนิค ทางสถาปตยกรรมและวิศวกรรม เพราะคำศัพทเหลานี้เปน เรื่องพื้นฐานในการสื่อสารทำความเขาใจระหวางตนเองกับผู รวมงาน และเปนภาษามาตรฐานที่ทุกฝายตองรับรูขอมูลรวม กันตั้งแตแรกเริ่มโดยไมตองเสียเวลาอธิบายเพิ่มเติมแต อยางใด อีกหนทางแกไขที่สำคัญคือ สรางโอกาสฝกฝนทักษะการ สื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวตางชาติหรือการเดินทาง ทองเที่ยวในตางประเทศก็เปนหนทางที่จะพัฒนาทักษะภาษา อังกฤษของตนใหดียิ่งขึ้น

67


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

68


69



NOT FOLLOW UP

·Ó§Ò¹äÁ‹¨º (¤ÃºÇ§¨Ã§Ò¹)

9


9

NOT FOLLOW UP

·ท∙Óำ§งÒา¹นäไÁม ‹¨จºบ (¤คÃรºบÇว§ง¨จÃร§งÒา¹น)

ความพึงพอใจสูงสุดยอดของสถาปนิกและนักเรียนสถาปนิก คือการ เสพ (ความ) สุข จากผลงานออกแบบอาคารของตัวเองผานภาพ Perspective และ Model เพราะเขาเหลานั้นจะถือวาความรับผิดชอบ ในการทำงานออกแบบสถาปตยกรรมของตนเองสิ้นสุดลงแลว ณ เวลา ดังกลาว หลังจากนั้นเขาเหลานั้นทั้งเขาผูหญิงและเขาผูชายก็จะเฝารอ โปรแกรมจากอาจารยหรือแสวงหางานออกแบบชิ้นใหมจากลูกคามา ทำตอไป ดังนั้นจึงเปนเรื่องปกติวิสัยที่สถาปนิกและนักเรียนสถาปนิกจะไมชอบ คิดถึงงานที่ตนเองตองทำหรือรับผิดชอบตอจากสวนงานออกแบบ ไมวา จะเปน การเขียนแบบกอสราง การทำ Spec. การคิดราคา หรือคิดตอ ไปถึงกระบวนการทำใหอาคารนั้นเกิดขึ้นหรือสามารถกอสรางไดจริงแต อยางใด เพราะสถาปนิกเราจะรับรูเสมอวาเมื่อเราทำแบบรางเสร็จแลว ก็จะมีพี่ Draftsmanใจดีมาชวยจัดการแบบรางเหลานั้นใหกลายเปนแบบจริง

72


หรือพิมพเขียวที่นำไปใชทำงานตอได และเราก็เขาใจเสมออีกวาแบบ จริงหรือแบบพิมพเขียวที่มีรายละเอียดงานสถาปตยกรรมครบถวน เหลานี้จะถูกนำไปออกแบบงานโครงสรางและระบบประกอบอาคาร ตางๆ ที่เกี่ยวของจนแลวเสร็จโดยตัวเราไมตองยุงเกี่ยวดวยความ สามารถของพี่ๆ อาๆ วิศวกรใจดีจนได และนอกจากนี้ยังมีอีกหลาย ตอหลายงานในความเปนจริงที่สถาปนิกเราตองรับผิดชอบแตเรากลับ ไมคิดอยากจะทำและรับรูถึงความมีอยูของงานนั้นแตอยางใดอยูเสมอ พฤติกรรมนี้ทำใหสถาปนิกมีความเคยชินกับการทำงานแบบครึ่งๆ กลางๆ โดยไมครบวงจร และไมเคยชินกับการติดตามงานของตนเอง หรือ Follow Up งานที่คนอื่นชวยเราทำใหสำเร็จเพราะคิดวาเปนหนาที่ ของคนอื่นไมใชหนาที่ของเรา (แลว) และมักชื่นชอบกับการมีงาน ออกแบบชิ้นใหมมาใหตนเองทำเสมอๆ โดยไมสนใจงานเกาที่ยังคางคา อยู ซึ่งดูไมแตกตางจากเด็กนอยที่เมื่อไดเลนของเลนชิ้นใหม ก็จะทิ้ง ของเลนชิ้นเกากวาไปอยางไมใยดี ดวยวิธีคิดที่ตอเนื่องกันมาจากพฤติกรรมขางตนสงผลมายังการขาด ความรับผิดชอบตั้งแตจุดเล็กๆ ในการทำงานไปจนถึงเรื่องใหญๆ ใน ระดับที่สงผลรายแรง อาทิ ไปประชุมสายหนอยก็ไมเปนไรเพราะมีคน อื่นๆ ในทีมรับภาระไปดวยอยูแลว คงชวยรับหนาแทนเราได หรือคิด เอาเองวาเราทำงานแคสวนออกแบบที่เรารับผิดชอบอยูก็มากพอ เพราะงานอื่นๆ คงมีคนอื่นๆ มาทำใหเราอยูแลวจนได รวมไปจนถึงการ หลีกเลี่ยงการรับรูปญหาที่จะเกิดขึ้นจากการทำงานทั้งของตัวเองและ ภาพรวมดวยการเพิกเฉยไมสนใจ ไมหือ ไมอืม ไมรับรู ไมรูเรื่อง และ แกลงไมรู เตะถวงรอใหเวลาเปนเครื่องแกปญหาหรือมีคนที่ทนไมไดมา ชวยแกปญหาใหลุลวงไปในที่สุด ความเชื่อเหลานี้ทำใหสถาปนิกเรายากที่จะจัดการกับงานหรือความ รับผิดชอบที่ใหญเกินไปกวางานแบบกระดาษที่อยูตรงหนาตัวเอง เพราะลำพังแคทำงานแบบรางใหเปนแบบจริงนี้ก็ตองหาคนมาลงแขก

73


ชวยใหสำเร็จลงไปจนแทบจะทั่วทั้งสำนักงานกัน แลวสถาปนิกเราจะ ไปทำงานอื่นๆ ที่ยากและซับซอนไปกวานี้ไดอยางไร นอกจากนี้งานขั้นสุดทายของกระบวนการสรางงานสถาปตยกรรมที่เรา มักไมใหความสนใจใยดีแตอยางใดก็คือ การประเมินผลการใชงาน อาคาร (Building Evaluation) ดวยวิธีคิดที่วางานของตนเองเสร็จสิ้น สมบูรณแลวเมื่อทำแบบเสร็จดังกลาว เราจึงไมมีความจำเปนตองไป ดูแลหนางานกอสราง หรือตองไปประเมินสภาพการใชงานอาคารหลัง กอสรางแลวเสร็จ และอื่นๆ อีกหลายอยางอีกตอไป ทั้งที่จริงแลวในการออกแบบสถาปตยกรรมที่ดี การที่สถาปนิกเราใน ฐานะผูออกแบบจะทราบไดวาสิ่งที่ตนเองคิดหรือตั้งสมมติฐานขึ้นเพื่อ แกปญหาของลูกคาผานงานออกแบบสถาปตยกรรมของตนเองนั้น จะ เปนจริงหรือไมจริงไดอยางไร หากเราไมมีการตรวจสอบและประเมิน ผลขอมูลจากความคิดเห็นของผูใชอาคารและผูเกี่ยวของอื่นๆ และนำ ขอมูลเหลานั้นมาคิดวิเคราะหเพื่อแกไขปรับปรุงงานใหดียิ่งขึ้นตอไป นอกจากนี้แลวกระบวนการศึกษาเหลานี้ยังจะเปนประโยชนตอการ ฝกฝนทักษะในการคนควาและการวิจัยประกอบการออกแบบ สถาปตยกรรม ซึ่งเปนสิ่งที่วงการวิชาชีพของไทยขาดหายอยูไดเปน อยางดี

74


ทางแกไข : การปลูกฝงความรับผิดชอบของสถาปนิกไทย ตองเริ่มตนกันตั้งแตสมัยร่ำเรียนในสถาบันการศึกษาใหเห็น ภาพรวมของงานและความรับผิดชอบของตนเองใน กระบวนการทำงานสถาปตยกรรมทั้งระบบ ตั้งแตเริ่มตนทำ แบบจนกอสรางเสร็จมีคนเขาไปใชงาน รวมทั้งชี้ใหเห็นถึง ความสำคัญของการติดตามและประเมินผลขอมูลอาคารที่ ตนเองออกแบบระหวางการใชงานจริงวาเปนงานของตนเอง ที่พึงกระทำใหสำเร็จลุลวง และเปนขอมูลสำคัญที่ผูออกแบบ ควรรับรูเพื่อนำมาคิดวิเคราะหและใชเปนแนวทางปรับปรุง การทำงานออกแบบของตนเองใหดียิ่งขึ้นตอไป นอกจากนี้ สถาปนิกเราควรฝกฝนทักษะการศึกษาคนควา การ วิจัยและพัฒนา (Research & Development) รวมทั้งการคิด วิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นจากการออกแบบอาคารจริงของ ตนเองใหเปนพฤติกรรมปกติวิสัย เพราะเปนความรับผิดชอบ ของผูออกแบบที่ตองรับรูรับทราบขอมูลทั้งในแงดีและแงลบ จากการทำงานของตนเอง รวมทั้งไมหลงลืมการคิดหาทาง แกไขปญหาที่ตนเองคิดวิพากษไวใหลุลวงไปดวย และควร หมั่นสะสมคำถามพรอมๆ กับการสะสมคำตอบในการทำงาน ในรูปแบบของตนเองโดยไมทิ้งปญหาที่เกิดขึ้นใหคนอื่นเปน ผูแกอยูร่ำไป

75


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

76


77



LOW FEE :

¤‹ÒÍ͡ẺµèÓ (·ÕèÊØ´ã¹âÅ¡)

10


10

LOW FEE :

¤ค ‹ÒาÍอÍอ¡กáแºบºบµต ‹Óำ (·ท∙Õีè่ÊสØุ´ดãใ¹นâโÅล¡ก)

คาแบบหรือคาบริการวิชาชีพของสถาปนิกในประเทศไทย ถือไดวาถูก ที่สุดในโลก ซึ่งคงเปนกรรมเกาที่ตกทอดกันมาตั้งแตสมัยบรรพบุรุษของ สถาปนิกไทยเรา เหตุผลดังกลาวมีสาเหตุสำคัญมาจากสังคมไทยไม (เคย) เขาใจและไมอยากทำความเขาใจกับบทบาทการทำงานของ สถาปนิกมาตั้งแตแรกเริ่มมีวิชาชีพสถาปนิก ทั้งที่เรามีสมาคมสถาปนิก สยามฯ มามากกวา 75 ปมาแลว เมื่อสังคมไมเขาใจหรือไมรูจักบทบาทการทำงานของสถาปนิก ประชาชนก็จะไมรับรูความยากลำบากในการทำงานของเราตั้งแต การ คิดแบบราง แบบจริง การคิดโปรแกรมหรือ Concept ของงานและไม เขาใจขั้นตอนและวิธีการออกแบบ จัดทำแบบ เขียนแบบ และงานอื่นๆ ที่สถาปนิกใหบริการลูกคาตั้งแตเริ่มตนจนกอสรางแลวเสร็จ รวมทั้งไม รับรูวาผูวาจางจะไดรับประโยชนมากนอยเพียงใดในการใชบริการ สถาปนิก เพราะงานนามธรรมพวกเหลานี้ลูกคาจะไมสามารถมองเห็น ไดเนื่องจากเปน กระบวนการทางความคิดที่อยูในหัวสมองของ สถาปนิกเราเปนหลัก

80


ดังนั้น คาแบบของสถาปนิกไทยเราจึงมักถูกประเมินผานเพียงสิ่งของ รูปธรรมหรือเอกสารที่ลูกคาจับตองไดไมกี่อยางไดแก แบบบาน แบบ อาคาร ภาพทัศนียภาพหรือหุนจำลองก็ตาม ซึ่งเมื่อตีมูลคาของงาน ออกแบบผานกระดาษและแบบพิมพเขียว ไปจนถึงเอกสารประกอบ แบบทั้งหลาย ก็จะดูแปรเปนตัวเงินไดไมมากมายเทาใดนัก หรือบางที ลูกคาบางรายก็ใชการนับแผนแบบอาคารคูณออกมาเปนคาแบบของ สถาปนิกเราเองเลยก็มีไมนอย เหตุเพราะลูกคามองวามันคือกระดาษ ธรรมดา ชั่งกิโลขายไดไมกี่สตางคเทานั้นเอง คำถามที่นาเศราใน ประเด็นนี้ก็คือ สถาปนิกเปนแคคนขายกระดาษจริงหรือ ??? เมื่อยอนกลับมาดูการคิดคาแบบของสถาปนิกตามมาตรฐานของ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ที่เราคุนเคยกัน ถือเปนความฝนอันสูงสุดของ สถาปนิกชาวไทย ดังนั้นเมื่อเปนความฝนแลวจึงเปนสิ่งที่ไมเคยเปนจริง ในชีวิตของเราแตอยางใด นอกจากนี้เมื่อเราดูใหไกลตอไปถึงมาตรฐาน คาออกแบบอาคารราชการที่มีคาเทากับรอยละ 1.75 ของมูลคา กอสราง ก็เปนเรื่องเศราที่อาจเรียกไดวาโศกนาฏกรรมสำหรับสถาปนิก ไทยเลยทีเดียว เพราะคาแบบจำนวนนี้ (ซึ่งตองแบงใหวิศวกร ชางเขียน

81


แบบ และที่ปรึกษาอื่นๆ อีกมากมาย) ก็ไมรูวาสถาปนิกจะหลงเหลือ ทุนรอนใดใหใชสำหรับสรางสรรคงานใหมีมาตรฐานเทียบเทาสากลได อยางไร ประการตอมา มีความนาสนใจเกี่ยวกับการคิดคาแบบของสถาปนิก ไทยอีกประการคือ เราจะคิดแบบเหมาโดยรวมเอาคาออกแบบของ วิศวกรและผูเกี่ยวของทุกอยางใหมาอยูในสวนของสถาปนิกทั้งหมด ซึ่ง ตางจากตางประเทศที่มีการจำแนกออกเปน Specialist ตางๆ ดังนั้น หากสถาปนิกตองการใหงานของตนมีเนื้อหาครบถวนสมบูรณขึ้นตาม การใชสอยที่ซับซอนขึ้น อาทิ การจางผูเชี่ยวชาญดานพลังงาน ผูเชี่ยวชาญดานเสียง ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบแสงสวาง ฯลฯ เหลานี้ คาใชจายที่เพิ่มขึ้นมาจะเปนคำถามวาใครจะเปนผูรับผิดชอบ หรือจะเปนภาระการเสียเงินของใคร ปญหาที่สำคัญอีกประการคือ ในสังคมไทยมักใชตรรกะ หรือวิธีการ ตัดสินใจเลือกสินคาหรือบริการดวยราคาหรือ Pricing เปนสำคัญโดย ไมสนใจวาสิ่งใดตองใชปจจัยทางดานราคาเปนตัวตัดสิน หรือสิ่งใดตอง ใชปจจัยดานคุณภาพมาใชตัดสิน วิธีคิดแบบนี้จึงหมายความวา สังคม เราจะตัดสินใจเลือกสถาปนิกหรือบริการของสถาปนิกดวยการดูราคา วาถูกหรือแพงเพียงปจจัยเดียวเหมือนกับซื้อผัก ซื้อหมูในตลาดนัด โดย ไมสนใจวาคุณภาพหรืองานที่ตนเองจะไดรับเปนอยางใด แตสิ่งที่นาสนใจตอมาก็คือ ถาสินคาหรือบริการนั้นเปนเรื่องเกี่ยวกับ ความเปนหรือความตาย ความสวย ความหลอ หรือความอวน ความ ผอมของตนเองเมื่อใด เชน คารักษาพยาบาล รักษาสิว ไปจนถึงซื้อ คอรสลดความอวน ไมวาแพงเทาใด คนไทยก็ยินยอมจายโดยไมมีขอ ตอรองใดทั้งสิ้น ดังนั้นจะเห็นไดวา หากสังคมไทยยังใชตรรกะดังกลาวขางตนมาตัดสิน การใหบริการของสถาปนิกและประเมินคาใชจายในการวาจางสถาปนิก

82


คนในวิชาชีพเราคงยากที่จะแสวงหาความร่ำรวยหรือความมั่นคง ทางการเงินไดเหมือนบุคคลในอาชีพอื่นๆ ที่สังคมรูจักหรือยอมรับ (ใน ประโยชนของวิชาชีพ) มากกวา ไมวาจะเปน แพทย วิศวกร นัก การ เงิน ฯลฯ แตอยางไรก็ตาม ผูเขียนยังมีความหวังวาสถาปนิกไทยเราไมควร ทอถอยหรือหมดความหวังตออนาคตทางวิชาชีพ แตเราควรยึดมั่นและ ตั้งมั่นในการใหบริการลูกคาและสังคมดวยงานที่มีคุณภาพและมี มาตรฐานอยางตอเนื่องตลอดการทำงานของตนเองและองคกร อีกทั้ง ไมควรหยุดยั้งในการพัฒนาตนเองผานการเรียนรูรูปแบบตางๆ เชน การอบรมพัฒนา การขอคำแนะนำจากผูรู ระหวางชีวิตการทำงาน ตลอดจนพึงไมละทิ้งจิตอาสาในการชวยเหลือสังคมและบำเพ็ญ สาธารณประโยชนดวยความรูทางวิชาชีพตามโอกาสอันควรอยาง สม่ำเสมอ เพื่อยกระดับความรู ความเขาใจตอบทบาทของเราและสราง เสริมความสำคัญของวิชาชีพสถาปนิกที่มีตอประชาชนและสังคมให จงได

83


ทางแกไข : การสรางการรับรูถึงความสำคัญของวิชาชีพเปน สิ่งที่สถาปนิกในระดับบุคคลและองคกรวิชาชีพตองกระทำ ควบคูกันอยางตอเนื่องโดยไมทอถอยควบคูไปกับการให บริการตอสังคมและลูกคาอยางเต็มประสิทธิภาพ เพื่อให สังคมไดรับรูประโยชนและเขาใจถึงคุณภาพของงานที่จะเกิด ขึ้นจากการใหบริการของสถาปนิก ในสวนขององคกรวิชาชีพก็คงตองผลักดันแนวคิดและ นโยบายเรื่องคุณภาพของงานสถาปตยกรรมควบคูไปกับคา ใชจายที่เปนธรรมของสถาปนิกตอหนวยงานราชการที่มีหนา ที่รับผิดชอบใหมีความรูความเขาใจ และดำเนินการแกไข ปญหานี้ใหลุลวงอยางเปนรูปธรรมตอไป

84


ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹น¤คÔิ´ด ªช ‹ÇวÂย¡กÑั¹นáแ¡ก Œ:

85



¢Í§á¶Á·ŒÒÂàÅ‹Á

¡Ó¨Ñ´¨Ø´µÒ ¨Óṡ¢ŒÍÁÙÅ (¡ÒÃÍ͡Ẻ)…Í‹ҧ¼ÙŒäÁ‹ÃÙŒ

1


¢ขÍอ§งáแ¶ถÁม·ท∙ ŒÒาÂยàเÅล ‹Áม

¡กÓำ¨จÑั´ด¨จØุ´ดµตÒาÂย ¨จÓำáแ¹น¡ก¢ข ŒÍอÁมÙูÅล (¡กÒาÃรÍอÍอ¡กáแºบºบ)…ÍอÂย ‹Òา§ง¼ผÙู ŒäไÁม ‹ÃรÙู Œ

1

จุดออนประการหนึ่งของสถาปนิกไทยคือ การขาดทักษะและความ เขาใจการทำโปรแกรมการออกแบบ เพราะสมัยเรียนเวลาออกแบบ อาคารใดๆ ก็ตาม นักเรียนสถาปนิกไมตองทำโปรแกรมการออกแบบ อาคารดวยตัวเอง เพราะครูอาจารยจะเปนผูปอนโปรแกรมความ ตองการตางๆ ใหแทบจะถึงปากนักเรียน (สถาปตย) กันเลย นิสัย(เสีย) นี้สงผลกรรมตอมายังสถาปนิกทั้งหลายตอนทำงานจริง ที่เรา สวนใหญแลวมักไมมีความรูความเขาใจในการแยกแยะขอมูลความ ตองการของลูกคาซึ่งมีอยูมากมายใหเปนงานออกแบบได ทั้งที่งานนี้ เปนภาระอันยิ่งใหญและสำคัญของสถาปนิกเรา ในกระบวนการไดมาซึ่งขอมูลในการออกแบบของสถาปนิก มักเกิดขึ้น จากการพูดคุยสัมภาษณเจาของอาคารหรือผูมีอำนาจตัดสินใจใน อาคารนั้นๆ เมื่อไดรับขอมูลมาแลวเราก็จะนำขอมูล 0 มิติที่ลองลอย เปนคำพูดในอากาศมาเรียบเรียงเปนขอมูลความตองการหรือโปรแกรม การออกแบบ

88


แตสิ่งที่ยากคือลูกคารอยละรอยยี่สิบ (หรือมากกวาทั้งหมด) ไมเคย แยกแยะขอมูลความตองการมาใหสถาปนิกวา อะไรเปน Concept หรือแนวคิด อะไรคือความตองการหลัก อะไรเปนความตองการรอง หรือขอมูลใดเปนเพียงความอยากของตนเอง ซึ่งไมเหมือนกับโปรแกรม ออกแบบตอนเรียนที่แยกแยะขอมูลใหอยางเรียบรอย วิธีการแกไขแบบอาหารจานดวน คงตองเริ่มตนจากเราตองทำความ เขาใจกับ 4 Keywords ในการทำโปรแกรมการออกแบบ ประกอบดวย Concept, Requirement , Criteria และ Preferences กันใหดียิ่งขึ้น คำสี่คำนี้มีความสำคัญอยางยิ่งในการทำงานออกแบบ และมีความ จำเปนที่สถาปนิกตองเขาใจความแตกตางของขอมูล 4 ประเด็นนี้ให ชัดเจน เพราะหากไมสามารถแยกแยะขอมูลเหลานี้ออกจากกันได เมื่อ เขาสูขั้นตอนการออกแบบแลวจะทำใหเกิดตนเองเกิดความสับสนไป จนถึงเกิดความยุงเหยิงและวุนวายโกลาหลในการทำงานไดเลยทีเดียว Concept คืออะไร เราลองมาดูความหมายของขอมูลสวนแรก จากคำวา Concept ที่เรา คุนเคยกันดีกับความหมายวาแนวความคิด เมื่อเราแยกออกเปนสองคำ จะไดวา แนว + ความคิด ซึ่งก็คือ ความคิดที่มีแนวทางหรือกรอบ สำหรับประพฤติปฏิบัติ หรืออาจกลาวไดวาเปนคำอธิบายที่แสดงถึงความคิดหลักในการ สรางสรรค ในการออกแบบอาคารที่ผูออกแบบไดกำหนดไว และผู ออกแบบจะใชแนว (ทาง) ความคิดนี้เปนจุดเริ่มตนในการสรางสรรคผล งานการออกแบบของตนเองตั้งแตเริ่มตนจนกอสรางแลวเสร็จไมวาจะ เปนบานหลังเล็กหรืออาคารหลังใหญโตก็ตาม แนวคิดในการออกแบบกับการออกแบบเปนเรื่องสำคัญที่จะทำให อาคารที่เราออกแบบมีความชัดเจน มีเอกลักษณ มีความโดดเดนและ

89


แตกตางจากอาคารที่มีรูปแบบลักษณะเดียวกัน รวมทั้งถือเปนการ สรางมูลคาเพิ่มใหอาคารและตัวผูออกแบบเองอีกดวย เมื่อพิจารณาขอมูลทั้ง 4 สวน จะพบวา ตัวแนวคิดในการออกแบบจะ เปนขอมูลที่มีความเปนนามธรรมมากที่สุดในบรรดาขอมูลทั้งหมด และ เปนกรอบใหญที่ใชกำหนดทิศทางการทำงานของผูออกแบบที่จะใชนำ ไปสูการทำงานในลำดับขั้นตอนตอไป หากเปรียบเทียบใหเขาใจงายๆ เราอาจเปรียบไดวา Concept เปน ขอมูลขั้นอุดมคติของ Preferences สวน Requirement ก็ถือเปนขอมูล ที่เปนรูปธรรมของ Preferences และมี Criteria เปนกรอบแนวทางการ ปฏิบัติการออกแบบหรือเกณฑกำกับการปฏิบัติและทำงาน Concept มีความสำคัญกับการทำงานออกแบบอยางไร แนวคิดหลักในการออกแบบจะเปนกลไกหลักในการขับเคลื่อนใหการ ออกแบบอาคารเปนไปอยางมีทิศทางที่ถูกตอง และเปนตัวรอยเรียง ความสัมพันธของขอมูลใหสอดคลองกัน การสรางแนวความคิดในการออกแบบที่ดีควรมีความเกี่ยวของกับ เนื้อหาการใชงานของอาคาร และมีคุณลักษณะสงเสริมกัน ที่มาของ Concept หรือแนวคิดในการออกแบบเกิดขึ้นไดทั้งจากธรรมชาติ สัตว สิ่งใกลตัว ไปจนถึงบริบท ประวัติศาสตรความเปนมา และวัฒนธรรม ของพื้นที่ตั้งอาคารก็เปนได และแนวความคิดนับเปนตัวกระตุนและ เปนเครื่องมือสรางแรงบันดาลใจใหผูออกแบบทำงานใหบรรลุเปา หมายที่กำหนดไวตั้งแตแรกเริ่ม การสรางแนวความคิดที่เหมาะสมกับรูปแบบการใชสอยอาคาร หรือ พฤติกรรมการอยูอาศัยของผูใชอาคารหรือประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับ อาคารหลังดังกลาวจนเปนที่ยอมรับหลังการใชงาน ถือเปนสิ่งเสริม สรางมูลคาเพิ่มใหกับตัวอาคาร เจาของอาคาร และรวมทั้งผูออกแบบ อีกดวย

90


Requirement และ Criteria เรามาทำความเขาใจกับคำวา Requirement กันกอน Requirement มี ความหมายวา Something that is required หรือสิ่งที่จำเปนตองทำ เมื่อเปนสิ่งที่ Required จึงถือวา Requirement เปนขอมูลพื้นฐานที่ผู ออกแบบตองวิเคราะหและแยกแยะประเด็นออกมาใหไดจากขอมูล ตางๆ ที่ไดรับมาจากลูกคาวาขอมูลไหนประเด็นใดเปน Requirement หรือความตองการที่แทจริงของโครงการ เพราะจากขอมูลความตองการ หลักนี้เราจะใชเปนโจทยที่ใชเปนเครื่องมือแกไขปญหาใหอาคารหลัง นั้นๆ และที่สำคัญตองอยาลืมวา ถาตั้งโจทยผิดแลวไซร ทุกงานที่ทำ ทุก Element ในการทำงานออกแบบนั้นก็จะเดินไปอยางผิดเพี้ยนไปจนจบ หรือสิ้นสุดการทำงาน ซึ่งหมายความวาบานหรืออาคารที่สรางมายอม ผิดไปจากความตองการของลูกคาที่ตั้งไวอยางแนนอน สวนคำวา Criteria หมายถึง เกณฑหรือกรอบแนวทางการปฏิบัติ ขอ กำหนดหรือมาตรฐาน ซึ่งเมื่อเราสนใจในประเด็นการออกแบบหรือ Design Criteria คำวา Criteria จะเปนขอมูลที่เปนเกณฑปฏิบัติ แนวทางการทำงาน หรือมาตรฐาน ขอกำหนดรวมทั้งกฎหมายตางๆ ที่ เกี่ยวของกับการออกแบบตาม Requirement ที่เราไดรับขอมูลมา ดังนั้น การวิเคราะหขอมูล Requirement ของอาคารตองกระทำควบคู ไปกับการคนควาขอมูล Criteria ที่ใชประกอบกับการศึกษาหรือการ ทำงานออกแบบที่เกี่ยวของกับ Requirement หรือความตองการของ โครงการในแตละประเด็น อาคารแตละชนิดแตละประเภทจะมีขอกำหนดทางการใชสอย และ ขอมูลความตองการที่แตกตางกัน และเปนเรื่องพื้นฐานที่สถาปนิกผู ออกแบบตองทราบโดยอัตโนมัติหรือตองศึกษาขอมูลเพิ่มเติมวา ดวย

91


ลักษณะรูปแบบของอาคาร ดวยความตองการของโครงการที่กำหนด มานี้ เราจะมีแนวทางหรือ Criteria ที่ตองปฏิบัติหรือตองใชในการ ออกแบบในลักษณะใดบาง ตัวอยางเชน การออกแบบโรงแรม 200 หอง ยอมมี Requirement และ Criteria ที่แตกตางกันโดยสิ้นเชิงกับคอนโดมิเนียมจำนวน 200 หองแม จะดูวาเปนอาคารที่มีการใชสอยสำหรับพักอาศัยเหมือนๆ กัน แตเมื่อ พิจารณาละเอียดถึง Function ความตองการการใชสอยก็จะมีความ แตกตางกันอยางมาก และรวมทั้ง Criteria ของโรงแรมก็จะมีกฎหมาย หรือมาตรฐานที่เกี่ยวของกับการออกแบบโรงแรมเขามาเกี่ยวของซึ่ง อาคารคอนโดมิเนียมไมตองปฏิบัติ เชนเดียวกับที่คอนโดมิเนียมก็จะมี กฎหมายบางประการเชน กฎหมายอาคารชุดซึ่งไมเกี่ยวของกับอาคาร โรงแรมแตอยางใด เราลองมาดูอีกตัวอยางในกรณีที่เปนอาคารขนาดใหญพิเศษ มีพื้นที่ 20,000 ตารางเมตรเหมือนกันทั้งสองอาคาร ในการออกแบบอาคารสูง พื้นที่ 20,000 ตารางเมตรเพื่อเปนสำนักงานยอมมีความตองการขอมูล เชิงเทคนิค (เปน Requirement) ขอกำหนดทางการออกแบบและ มาตรฐานความปลอดภัย (เปน Criteria) ที่แตกตางกันโดยสิ้นเชิงกับ โรงงาน 3 ชั้นที่มีพื้นที่ 20,000 ตารางเมตรเทากันเชนกัน ดังนั้น ถาหากสถาปนิกสามารถแยกแยะและสรุปขอมูลความตองการ ในดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการออกแบบอาคารนั้นๆ จากลูกคาไดอยาง ชัดเจน ก็จะทำใหการทำงานดำเนินไปสูเปาหมายไดอยางรวดเร็วตรง ตามวัตถุประสงค และมีความถูกตองตามมาตรฐานการใชสอยและ การใชงานตามประเภทอาคารโดยอาศัย Criteria ที่เกี่ยวของกับอาคาร เปนบรรทัดฐานในการทำงานทั้งในแงมุมเชิงการออกแบบอาคารพื้น ฐานทั่วไป และขอมูลที่มีลักษณะจำเพาะเจาะจง (Specific)

92


ยังมีขอสังเกตเพิ่มเติมที่สำคัญก็คือ ขอมูลที่เปน Requirement และ Criteria ทั้งสองประการนี้ จะเปนขอมูลเชิงรูปธรรมทางกายภาพที่มอง เห็นและจับตองไดอยางชัดเจน สรุปวาวิธีงายๆ ที่จะตรวจสอบวาขอมูลสวนใดเปน Requirement ของ โครงการ และมี Criteria อะไรบางที่ตองประพฤติปฏิบัติ และใชเปน แนวทางการออกแบบก็คือ ยอนกลับไปดูที่วัตถุประสงคหลักของ โครงการและประเภทการใชสอยของอาคาร เราก็พอจะบอกไดวา อาคารของเรามี Requirement การใชสอยหลักๆ เปนเรื่องอะไร และ ตองศึกษาขอกำหนด มาตรฐานการออกแบบ กฎหมาย ขอกำหนดและ มี Criteria เรื่องใดมาใชประกอบการออกแบบกันบาง การแยกแยะ Preferences กับ Requirement หรือ Criteria เมื่อเราพอเขาใจความหมายวาขอมูลที่ตนเองไดรับจากลูกคามีประเด็น ใดเขาขายเปน Requirement หรือไมใชอยางไรและ ตองใช Criteria ใด เปนตัวจับหรือใชเปนบรรทัดฐานในการออกแบบกันแลว ตอไปเราคง ตองมาทำความเขาใจกับขอมูลตัวสุดทายซึ่งมักสรางความสับสนใหกับ ผูออกแบบเสมอๆ ก็คือ Preference คำวา Preference แปลไดวา Something that prefer หรือเปนสิ่งที่ ชอบ สิ่งที่ตองการ สิ่งที่อยากไดหรือใฝฝนใหมี ดวยความหมายและ ลักษณะขอมูลที่ใกลเคียงกับขอมูลความตองการ จึงมักทำใหลูกคาและ สถาปนิกเองมักเขาใจผิดและสับสนกับขอมูลสองชุดนี้เสมอๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง เรามักเหมาเอาสิ่งที่เปน Preference ของลูกคามา สรุปเปน Requirement ของอาคาร หรือยกเอา Requirement มาเปน Preference เขาเลยก็มี หรือบางโครงการก็มีแต Preference โดยไมมี Requirement หรืออีกหลายกรณีที่ผสมปนเปกันไป และใชขอสรุปนี้นำ ไปสูการศึกษาขอมูลและแกไขปญหาดวยการออกแบบไปจนจบการ ทำงาน

93


ขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากความสับสนนี้ จะทำใหเราและลูกคาไมทราบ และเขาใจวา จริงๆ แลวบานหรืออาคารหลังนี้มีความตองการจริงๆ หรือมีวัตถุประสงคในการใชงานเปนอยางไร เพราะอาคารที่สรางเสร็จ ออกมาอาจมีแต Preference ที่เราแยกแยะไมออกเต็มไปหมดทั้ง อาคาร โดยไมเกิดการใชงานที่เหมาะสมตามพฤติกรรมของผูใชงาน (ซึ่งเปนขอมูลสวน Requirement ) และเปนไปอยางถูกตองตามขอ กฎหมายและมาตรฐานการออกแบบอาคาร (ซึ่งเปนขอมูลสวน Criteria)แตอยางใด ถาจะอธิบายใหเขาใจไดงายขึ้น เราอาจเทียบสองคำนี้กับคำวา Need : ความจำเปนพื้นฐาน กับคำวา Want : ความอยากหรือความ ตองการในชีวิตประจำวันของเรานั้นเอง ดังนั้นเมื่อยอนกลับมาที่การออกแบบบานหรืออาคาร กลุมขอมูลสวน Requirement ควรจะเปนขอมูลความตองการพื้นฐานของผูใช รูปแบบ การใชสอยตามลักษณะประเภทอาคาร การออกแบบอาคารปองกัน สภาพแวดลอมภายนอก การอนุรักษพลังงาน โดยมี Criteria ที่ใช ประกอบการออกแบบเปนขอมูลขนาดและพื้นที่ตามพื้นฐานการใชสอย กฎหมายอาคาร แนวทางการออกแบบอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน มาตรฐานการเลือกใชวัสดุประกอบอาคาร ฯลฯ เปนตน สำหรับขอมูลสวน Preference จะเปนขอมูลที่ตอบสนองความตองการ ของลูกคาหรือผูใชที่เกินจากขั้นพื้นฐานเชน เปนบานที่มีกระจกมาก ที่สุด เปนอาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทย เปนอาคารที่แสดงเอกลักษณ ของไทย เปนอาคารที่สรางบรรยากาศการเรียนรูใหผูใช หรือแมแต อยากสรางโรงเรียนที่มีรูปดานเหมือนโรงเรียนของแฮรี่ พอตเตอร อยาง นี้เปนตน จะเห็นไดวา เมื่อเรานึกถึงการออกแบบบานหรืออาคาร ถาเราออกแบบ แลวขาด Preference ไปบางดวยเหตุผลหรือขอจำกัดบางประการ อาคารก็คงยังใชงานไดอยูอาศัยได แตอาจจะสบายนอยไปนิด หรือไม

94


ถูกใจเจาของเต็มที่ แตถาบานหรืออาคารไมสามารถตอบสนอง Requirement ไดครบทุกขอ ก็คงไมสามารถใชงานหรืออยูอาศัยได อยางแนนอน ประเด็นการทำงานออกแบบที่นาสนใจสำหรับขอมูลสองสวนนี้ คือถา เราสามารถออกแบบอาคารใหมี Preference ครบถวนและสามารถ สนับสนุน Requirement ของอาคารไดอยางสอดคลองกลมกลืนและ เปนไปตาม Criteria ไดทุกประการ ถือไดวาอาคารหลังนี้มีความ สมบูรณแบบทุกประการ แตถาเราออกแบบอาคารดวยความเขาใจผิด โดยยกเอา Preference มาเปนโจทยตัวตั้งสำหรับออกแบบแทนที่ Requirement กรณีนี้ก็จะ ทำใหอาคารมักมีรูปแบบการใชงานหรือการออกแบบรูปลักษณที่เกิน ปกติธรรมดา และมักมีปญหาเรื่องงบประมาณกอสรางที่ถูกใชไปกับสิ่ง ที่ไมจำเปนในการออกแบบ และอาจตามมาดวยปญหาและอุปสรรคใน การใชงานอีกหลายประการ สวนกรณีความเขาใจความผิดในขอมูลที่ไดรับสถานหนัก อาจเปนไปใน รูปแบบที่เราอาจออกแบบอาคารโดยมีแตสวนที่เปน Preference แต ไมมีสิ่งที่เปน Requirement ใดๆ อยูเลย ซึ่งปญหานี้ยอมทำใหอาคารที่ เกิดขึ้นมีความผิดเพี้ยนไปในหลายรูปแบบโดยเฉพาะอยางยิ่งการใชสอย ขั้นพื้นฐานของผูใชอาคาร และเปนปญหาในระยะยาวในการใชงาน อาคารที่แกไขไดยากลำบาก

95


บทสรุปการจัดทำโปรแกรมการออกแบบ จากขอมูลมากมายที่เราไดรับจากลูกคากอนการออกแบบดังกลาวแลว การแยกแยะและสรุปประเด็นจากขอมูลที่ไดรับใหเปนกลุมกอนอยาง ชัดเจนกอนนำไปใชงานเปนหนาที่สำคัญที่ผูออกแบบพึงกระทำ เพื่อให ไดขอมูลประกอบการออกแบบสำหรับสวนงานที่ตนเองรับผิดชอบ และ ประสานขอมูลตางๆ ไปยังผูออกแบบอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งใชเปน ขอมูลพื้นฐานในการจัดทำโปรแกรมการออกแบบอาคารหลังดังกลาว ตอไป ทักษะความสามารถในการแยกแยะและจำแนกขอมูลเปนสิ่งตอง ฝกฝนอยางสม่ำเสมอเพื่อความเชี่ยวชาญ และสิ่งสำคัญคือการจัดทำ สรุปเอกสารจำแนกกลุมขอมูลดังกลาวขางตนไวศึกษาประกอบการ ทำงานไวตลอดเวลา เหมือนเปนคูมือการออกแบบอาคารหลังใดๆ ของ ตนเอง

แตกแขนงตอยอดความคิดจากการบรรยายของคุณยอดเยี่ยม เทพธรานนท เรื่อง “P.M. ..... เปนอีกทางเลือกที่งดงามของวิชาชีพ” วันที่ 02/08/08 หองประชุมใหญ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ

96


ตัวอยางการจัดทำตารางสรุปประกอบการจำแนกขอมูลเพื่อจัดทำ โปรแกรมการออกแบบ

97



¢Í§á¶Á·ŒÒÂàÅ‹Á

¡Ó¨Ñ´¨Ø´µÒÂ

¤Ô´áºº Mind Map

2


¢ขÍอ§งáแ¶ถÁม·ท∙ ŒÒาÂยàเÅล ‹Áม

¡กÓำ¨จÑั´ด¨จØุ´ดµตÒาÂย ¤คÔิ´ดáแºบºบ Mind Map

2

แผนภูมิความคิดหรือ Mind Map ถือเปนเครื่องมือชวยจัดระเบียบ ขอมูลที่ยุงเหยิงอยูในสมองของเราใหเปนระบบ เปนหมวดหมูงายตอ การนำไปใช Mind Map เปนเครื่องมือสากลที่ริเริ่มโดย Mr. Tony BUZAN นำมาใชจนแพรหลายและไดรับความนิยมไปทั่วโลก แผนภูมินี้ เลียนแบบการทำงานของสมองดวยการใชรูปภาพสัญญลักษณแทนคำ หรือเนื้อหาในเรื่องราวที่เราสนใจหรือคิดใหมีความเขาใจไดงายขึ้นเพื่อ ความสะดวกในการนำไปใชงานในลักษณะอื่นๆ ตอไป เชน แกปญหา เขียนบทความ เขียนหนังสือ และอื่นๆ นอกจากนี้ ภาพความคิดจาก Mind Map ยังทำใหเรามองเห็นกระบวนการเชื่อมโยงเนื้อหาของขอมูล ดังกลาวไดทั้งในแงภาพรวมและในแงรายละเอียด รวมทั้งยังเอื้อตอการ แตกแขนงขอมูลยอยๆ ในความคิดใหขยายตอเนื่องไปโดยไมสิ้นสุดอีก ดวย แนวคิดการนำภาพหรือกลุมคำมาแทนขอความที่มากมายและซับซอน จะเปนประโยชนอยางมากตอคนทั่วไปที่ไมคุนเคยกับภาษาภาพ ใหมอง

100


เห็นความคิด (ที่เปนตัวอักษร) เปนรูปภาพและใชภาพสื่อแทนความ หมายในความคิดของตนเองไดอยางชัดเจนและรวดเร็ว แตเมื่อ พิจารณาระเบียบวิธีคิดของสถาปนิกจะเห็นไดวา เราเคยชินกับวิธีการ คิดและการอธิบายความดวยภาพอยูแลวมาโดยตลอดทั้งการเรียนและ การทำงาน จนอาจกลาวไดวาสถาปนิกเรามีวิธีคิดแบบ Mind Map กัน อยูแลว สิ่งที่นาสนใจคือ เมื่อสถาปนิกตองการนำขอมูล (ภาพ) ในความคิด ตนเองมาอธิบายความในประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทำงานให ผูอื่นเขาใจเปนตัวหนังสือกลับเปนเรื่องยากลำบากอยางยิ่ง เพราะ สถาปนิกเรามักมีจุดดอยในการอธิบายความและถายทอดขอมูลออก มาเปนตัวอักษร ดังนั้น เราจึงควรหันมาคิดรวมกันวาจะมีวิธีการหรือ เครื่องมือใดที่สามารถทำใหสถาปนิกสื่อสารอธิบายความคิดของตนเอง ออกมาเปนตัวหนังสือไดอยางงายๆ ได ในเมื่อสถาปนิกมีระบบวิธีคิดแบบ Mind Map อยูแลว เราลองมาคิด แบบมุมกลับใหสถาปนิกเราคิดเปนตัวหนังสือโดยใช Mind Map เปน พื้นฐานโครงรางความคิด แลวตอยอดขยายความเคาโครงดวยกลุมคำ หรือคำอธิบายสั้นๆ เพื่อใชสื่อสารอธิบายความกับตัวเองและผูอื่น จึงควรจะเปนแนวทางที่ดีในการแกไขปญหาดังกลาว และยังสามารถ ประยุกตใช Mind Map ในรูปแบบตางๆ ตอเนื่องไปยังกระบวนการ ทำงานออกแบบหรือกิจกรรมอื่นๆ ของตนเองไดอีกมากมายหลายอยาง อีกดวย ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ หากสถาปนิกไทยสามารถจัดระบบ ความคิดในสมองของตนเองดวย Mind Map อยางสม่ำเสมอในชีวิต ประจำวัน ยอมสามารถชวยแกไขปญหาเรื่องการขาดพฤติกรรมบันทึก ขอมูลและประสบการณทางวิชาชีพของสถาปนิกบานเราใหลดนอย ถอยลงได และจะถือเปนมิติใหมในการเรียนรูรวมกันในวงวิชาชีพได เปนอยางดี

101


ที่ผานมาผูเขียนไดรับการบอกเลาใหฝกฝนการจดบันทึกและฝกการคิด ดวย Mind Map มาจากคุณยอดเยี่ยม เทพธรานนทมาตั้งแตป 2543 และพบวาเปนเครื่องมือที่ดีในการแกปญหาตางๆ ในการทำงาน การ วางแผน การเตรียมการสอนและการจดบันทึกเนื้อหาการบรรยาย และ การอบรมสัมมนาตางๆ เพื่อนำมาเรียบเรียงเปนบทความในเวลาตอมา รวมทั้งเปนประโยชนอยางยิ่งตอการจัดระบบความคิดของตนเองไดเปน อยางดี และไดนำความรูนี้มาเผยแพรตอยังลูกศิษยและคนใกลชิดมา โดยตลอด ตอจากนั้นอีกหลายป ไดมีโอกาสพูดคุยกับคุณชาตรี ลดา ลลิตสกุล แหงตนศิลปสตูดิโอ วาไดใชเครื่องมือนี้ประกอบการออกแบบ งานสถาปตยกรรมของตนเองเชนกัน จึงเกิดแรงบันดาลใจในการบอก เลาแนวทางการประยุกตใชเครื่องมือนี้กับเพื่อนๆ ลูกศิษยและผู ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมมาในโอกาสนี้ แนวทางการใชงาน Mind Map กับงานตางๆ 1. การใช Mind Map ในการแกปญหา: เมื่อเราตองการคิดวิเคราะห เพื่อหาแนวทางแกปญหาตางๆ ในการทำงาน การเรียนและอื่นๆ Mind Map จะชวยเริ่มตนชวยเราคิดและคนหาวิธีการแกปญหาได งายขึ้นโดยเริ่มตนจาก “ปญหา” ในสวนกลางของหนากระดาษและ คอยๆ แตกแขนงความคิดออกไปตามหัวขอที่เกี่ยวของกับปญหา หรือความคิด เชน ตองการเขาใจที่มาของปญหาวามาจากไหน เรา ก็เขียนบันทึกลงไปเปนกลุมคำสั้นๆ วาเราจะคิดหาวิธีการแกไข ปญหาไดอยางไรบาง ไปจนถึงการแสวงหาแหลงขอมูลเพื่อ สนับสนุนวิธีการแกไขไดอยางถูกตอง เปนตน นอกจากนี้ เครื่องมือ นี้จะชวยทำใหผูเขียนมองเห็นภาพรวมและความสัมพันธของขอมูล (ความคิด) ในการแกปญหาทั้งระบบไดชัดเจนและเขาใจงาย 2. การใช Mind Map ในการจดบันทึกประชุม : การบันทึกรายงาน การประชุมที่เคยประพฤติปฏิบัติจะเปนการเขียนบันทึกเนื้อหาเรียง กันไปตามระเบียบวาระเหมือนการเขียนเรียงความ แตการบันทึก ดวย Mind Map จะชวยทำใหผูบันทึกสามารถเขียนสรุปประเด็น และใจความของวาระการประชุมแตละวาระไดงายขึ้น ผูเขียนจะ

102


มองเห็นขอมูลเรื่องราวตางๆ ที่เกิดขึ้นในการประชุมนั้นๆ ไดอยาง ครบถวนพรอมมูลดวยกระดาษเพียงแผนเดียว ไมวาจะเปนวาระ การประชุม แนวทางการแกไขปญหา การสรุปการพิจารณาอนุมัติ ไปจนถึงผูรับผิดชอบดำเนินการ และสิ่งสำคัญอีกประการคือ จะ เปนประโยชนอยางยิ่งตอการนำขอมูลไปใชติดตามเรื่องหรือวาระใน การประชุมครั้งตอไป 3. การใช Mind Map ในการทำโปรแกรมการออกแบบ/ วิทยานิพนธ : การเริ่มตนการคิดขอมูลโปรแกรมการออกแบบ อาคารหรือวิทยานิพนธของสถาปนิกและนักเรียนสถาปนิก ควรเริ่ม ตนจากการเขียนหัวขอหรือแนวคิดของโครงการที่เราตองการ ออกแบบ ณ ตำแหนงกลางหนากระดาษแลวแตกแขนงประเด็น ยอยที่เกี่ยวของกับโครงการออกแบบของเราโดยควรเริ่มตนจาก ประเด็นหลักคือ Requirement, Criteria และ Preferences แลว แตกแขนงตอยอดขอมูลที่เราตองการศึกษาหรือตองการดำเนินการ (ออกแบบ) จากประเด็นเหลานั้นจนครบถวน และสามารถเพิ่มเติม ประเด็นหรือหัวขออื่นๆ ที่ผูออกแบบตองการหรือเห็นวาเกี่ยวของ อยางจำเพาะเจาะจงกับโครงการนั้นๆ ไดอีกดวย เชน หัวขอ กฎหมาย มาตรฐานที่เกี่ยวของ แนวทางการออกแบบตางๆ กลยุทธ การประหยัดพลังงาน หรือ กรณีศึกษาอาคาร เปนตน 4. การใช Mind Map ในการบันทึกขอมูลการบรรยาย/ อบรม/ สัมมนา : การบันทึกขอมูลที่ไดรับจากการบรรยาย อบรม สัมมนาที่ เขารวมดวย Mind Map จะทำใหเราเขาใจเนื้อหาของการบรรยาย ไดงายและชัดเจนกวาการเขียนบันทึกแบบ Short note เปนบรรทัด เรียงกันไปดังที่เคยปฏิบัติมา เพราะการเขียน Mind Map จะบันทึก ขอมูลเพียงการเขียนสรุปประเด็นสำคัญหรือ Keywords ของแตละ หัวขอหลักและหัวขอรองในการบรรยายนั้นๆ ตอเนื่องไปเรื่อยๆ จน จบการบันทึกขอมูลหรือเต็มหนากระดาษ พรอมกันนี้ เรายังสามารถ เพิ่มเติมประเด็นปลีกยอยที่เกี่ยวของหรือการตอยอดความคิดไดงาย รวมทั้งยังทำใหเราอานทบทวนขอมูลความคิดของเราและนำไปใช งานตอในรูปแบบอื่นๆ ไดสะดวกและรวดเร็ว

103


นอกจากนี้ จากผังความเชื่อมโยงของเนื้อหาขอมูลเหลานี้จะทำให เรามองเห็นโครงขายความสัมพันธของขอมูลทุกประเด็นในการ บรรยายไดอยางชัดเจน และเมื่อนำมาอานทบทวนก็ใชเวลาไมมาก เพราะเราจะใชเวลาทำความเขาใจเนื้อหาทุกประเด็นของเรื่องดัง กลาวดวยกระดาษแผนเดียวอีกเชนกัน 5. การใช Mind Map ในการเขียนวิทยานิพนธ/ บทความและ หนังสือ : การเขียนรายงานวิทยานิพนธในระดับปริญญามหาบัณฑิตขึ้นไปเปนขอมูลที่มีรูปแบบโครงรางเปนมาตรฐานผนวกกับ ขอมูลที่มีความซับซอนจำนวนมากสัมพันธกัน ดังนั้น การใช Mind Map จะชวยเรียบเรียงโครงรางของขอมูลวิทยานิพนธที่มีรูปแบบ มาตรฐานไดเปนหมวดหมูและเปนระบบตามรูปแบบหรือ Format ของวิทยานิพนธ ตั้งแต บทนำ การทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของ ระเบียบวิธีวิธีวิจัย เปนตน นอกจากนี้เครื่องมือนี้ยังชวยจัดลำดับ ความสัมพันธของขอมูลของวิทยานิพนธในทุกสวนและทุกมิติได ชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดทำ Literature Review ที่มี ปริมาณขอมูลเปนจำนวนมากและแสดงการเชื่อมโยงขอมูลนั้นๆ ไป ยังแหลงขอมูลอางอิงที่สืบคนมาไดอยางชัดเจนและถูกตอง เชนเดียวกันกับการเขียนบทความและหนังสือตำราตางๆ เรายอม สามารถเริ่มตนเคาโครงเนื้อหาบทความหรือหนังสือตำราของเรา จากการกระทำในลักษณะเดียวกันคือเริ่มจากหัวขอเรื่อง และ กำหนดโครงรางของเนื้อหาที่เราตองการนำเสนอจนครบหัวขอ และ แตกแขนงความคิด/ เนื้อหายอยๆ ลงไปจากโครงรางเนื้อหาหลัก และรองตอเนื่องกันไปจนครบถวน

104


ประโยชนของ Mind Map in Architecture จากแนวทางการใชงานของ Mind Map สามารถชวยสถาปนิกและ นักเรียนสถาปนิกแกปญหาที่เปนจุดดอยในระบบวิธีคิดแบบภาษาภาพ ของตนเองไดดวยการจำแนกขอมูลในสมองใหเปนระบบ และเปน หมวดหมู รวมทั้งสรางความเขาใจในความเชื่อมโยงของขอมูลทั้งในแง ภาพรวมและรายละเอียด ตามประเด็นดังตอไปนี้ 1. ชวยสรางความเขาใจกลไกความสัมพันธของขอมูลที่เปนตัวหนังสือ ในรูปแบบลักษณะภาษาภาพและกราฟฟกและระบบภาพรวม (Whole System) ที่คุนเคยกับวิธีคิดแบบปกติของสถาปนิก 2. สรางทักษะใหสถาปนิกมีความสามารถเขียนยอความ และสรุป ความและอธิบายตอผูอื่นใหเขาใจไดโดยงายดวยการเชื่อมโยงกับ รูปแบบวิธีคิดแบบภาษาภาพในสมองของตน 3. ชวยจำแนกขอมูลที่เกี่ยวของกับหัวขอ/ เรื่องราว/ ปญหาเราที่สนใจ ไดอยางเปนระบบ อยางมีระเบียบและเปนหมวดหมูหรือ สราง System Thinking ที่เปนภาษาตัวหนังสือในระบบความคิด 4. ทำใหมองเห็นภาพรวมและเขาใจภาพรวมและการเชื่อมโยงความ สัมพันธของหัวขอ/ เรื่องราว/ ปญหาเราที่สนใจไดดียิ่งขึ้นดวยการ พิจารณาขอมูลจากหนากระดาษเพียงแผนเดียว ซึ่งจะเปนประโยชน์ ตอการคิดแกไขและคิดตอยอดสิ่งที่เปนอยูไดโดยสะดวก 5. สามารถลดปริมาณการจัดเก็บเอกสารรายงานตางๆ ซึ่งเปนขอมูล จำนวนมากไดดวยการสรุปความเพียงกระดาษ A 4 จำนวน 1 แผน 6. นำขอมูลจากแผนภาพ Mind Map ไปประยุกตใชงานตอไดทั้งใน กระบวนการแกปญหา และการเขียนอธิบายความตางๆ ซึ่งชวยลด จุดดอยดานการเขียนอธิบายความของสถาปนิกไดเปนอยางดี

105


รูปแบบการใชงาน Mind Map ประกอบการทำงานของผูเขียน

" การใช mind map ประกอบการจำแนกขอมูลวิทยานิพนธการ ออกแบบสถาปตยกรรมของ น.ส.ปริยา เกียรติธีระชัย บัณฑิตคณะ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปการศึกษา 2553"

106




¢Í§á¶Á·ŒÒÂàÅ‹Á

¡Ó¨Ñ´¨Ø´µÒ ࢌÒ㨠... ʶһ¹Ô¡ (µÑÇ) àÅç¡

3


¢ขÍอ§งáแ¶ถÁม·ท∙ ŒÒาÂยàเÅล ‹Áม

¡กÓำ¨จÑั´ด¨จØุ´ดµตÒาÂย àเ¢ข ŒÒาãใ¨จ ... Êส¶ถÒา»ป¹นÔิ¡ก (µตÑัÇว) àเÅลç็¡ก

3

เล็ก

ทำไม..ตองเขาใจ (รุน) ในการบริหารจัดการองคกรสถาปตยกรรมปจจุบัน ปญหาสำคัญที่มัก จะไดยินไดฟงจากผูบริหารบริษัท หรือสถาปนิกรุนพี่ๆ เพื่อนๆ ซึ่งมี อาวุโสใกลเคียงหรือมากกวาผูเขียนอยูเสมอคือ อุปสรรคในการสื่อสาร ปฏิสัมพันธกับสถาปนิก (รุน) เล็กรุนใหมดวยความไมเขาใจใน พฤติกรรม (รวมสมัย) หลายตอหลายเรื่องของสถาปนิกรุนเล็ก รุนเด็กๆ เหลานั้น ดังจะเห็นไดจากจากตัวอยางคำบนวามากมาย เชน “ ทำไมไมมีความอดทน ทำงานแปบเดียว เดี่ยวก็เปลี่ยนงานอีกแลว” “ทำไมไมตั้งใจทำงาน ชอบทำงานแลวเปดเนท MSN แชทกับเพื่อน” “ชอบดู Clip หนัง ฟง MP3 ไปดวยเวลาทำงาน จะทำงานรูเรื่องไดยังไง” “ทำไมไมชอบอานหนังสือ ดูแต Internet อยูได”

110


“ทำไมเขียนหนังสือไมรูเรื่อง เขียนรายงานเปนวลี เขียนเปนคำๆ ไมเปน ประโยค” ………………………………………………………………….. เชนเดียวกับจากประสบการณการเรียนการสอนของตนเองในคณะ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมาเปนเวลามากกวา สิบป ผูเขียนก็ไดพบเห็นปญหาลักษณะนิสัย และพฤติกรรมการเรียน ของนิสิตตามขางตนเชนกัน ไมวาจะเปน เรื่องการขาดสมาธิ การขาด กาละเทศะ การสื่อสารทั้งการพูดและเขียน เพราะหากพิจารณาจากวัย แลวสถาปนิกรุนเล็กดังกลาวกับนิสิต นักศึกษาในสถาบันการศึกษา ตางๆ ก็สามารถจัดอยูในวัยหรือรุนราวคราวเดียวกันได จากการศึกษาทบทวนขอมูลที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมแหงยุคสมัยของ บุคคลในวัยดังกลาว ทำใหตนเองเกิดความเขาใจถึงสาเหตุแหงปญหา ที่ประสบมามากขึ้นวาแทนที่จะกลาวตำหนิบุคคลเหลานี้จากมุมมอง ของตนเพียงอยางเดียวยอมไมเกิดมรรคผลหรือทางแกไขแตอยางใด แตหากเราพยายามทำความเขาใจพวกเขาผานมุมมอง วิธีคิด หรือ พฤติกรรมการดำเนินชีวิตและสภาพแวดลอมของเขาอยางเปนกลาง ยอมจะชวยใหเกิดความเขาใจที่มาและสาเหตุแหงพฤติกรรม (ที่เราคิด วา) ไมพึงประสงคเหลานี้ รวมทั้งสามารถเปลี่ยนวิกฤติเปนโอกาสใน การสื่อสารปฏิสัมพันธ และการบริหารจัดการ สถาปนิกวัยรุนหรือรุน เล็กเหลานี้ จนสามารถทำความเขาใจและใชชีวิตอยูรวมกัน ทำงานรวม กันอยางมีความสุขพรอมกับประสิทธิภาพการทำงานที่มากขึ้นอยาง แนนอน

111


เล็ก

รูทัน…..บุคลิกลักษณะ (รุน) สถาปนิกใหมรุนเล็กในยุดปจจุบันสามารถจัดไดวาเปนผูที่อยูในยุด Y Generaion หรือ Net Generation โดยแทจริง (เกิดหลังคศ. 1980) เพราะเด็กเหลานี้เติบโตขึ้นมาในยุคดิจิตอลพรอมกับเทคโนโลยี สารสนเทศหรือ Internet และเทคโนโลยีตางๆ มากมายที่พัฒนาขึ้น อยางมากมายและรวดเร็ว ไมวาจะเปน เกมคอมพิวเตอร X Box Webcam Mobile phone Touchscreen Phone Netbook MSN และ การเปนสมาชิกสังคมออนไลนอาทิ Hi5 Facebook Twitter ระบบ เครือขายแบบ World Wide Web และ Web Blog จึงทำใหเด็กในยุคนี้ มีลักษณะพฤติกรรมที่แตกตางจากชีวิตในวัยเยาวของสถาปนิกรุนใหญ มากหรือนอยตามแตชองวางระหวางวัย ดวยเหตุดังกลาว ทำใหเราพอ จะสรุปเปนพฤติกรรมรวมยุคสมัยของเด็กในยุคสมัยดิจิตอลนี้ไดดังนี้ 1. มีความสนใจหลากหลายพรอมๆ กัน : ดวยศักยภาพของสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการเรียนรูอุปกรณไฮเทคมาตั้งแตเด็กๆ สงผลทำใหเด็กในยุคนี้ไมกลัวการเรียนรูสิ่งใหมๆ และยินดีเปดรับ เรื่องราวใหมๆที่ตนเองสนใจไดตลอดเวลาและรวดเร็ว และที่สำคัญ เด็กในวัยนี้จะมีความสนใจเรื่องราวหลายอยางไดพรอมๆ กันใน เวลาเดียวกัน เราจึงเห็นเด็กๆ ในสำนักงานของเรา Draft งานไป พรอมกับการเลน MSN และฟงเพลงจาก I-Pod ไปพรอมกับดู โทรทัศน เมาทโทรศัพทดวยอุปกรณ Bluetooth และกินขนมไป พรอมๆ กัน และแนนอนดวยพฤติกรรมรวมของชาว Internet Fever เขาจึงนั่งทำงานกับเราไปพรอมๆ กับการคิดแบบและนั่งคุยกับเพื่อน พรอมกับดื่มกินเครื่องดื่มไปพรอมกันโดยไมรูสึกวาเปนเรื่องผิดหรือ ไมถูกตองแตอยางใด และจะรูสึกไมพอใจเสมอเมื่อถูกผูสอนวา กลาวตักเตือนถึงพฤติกรรมดังกลาว 2. มีสมาธิสั้นถึงสั้นมาก : เนื่องจากสถาปนิกรุนเล็กสมัยนี้มีสื่อความ บันเทิงและอุปกรณอำนวยความสะดวกคอยบำรุงชีวิตอยาง มากมาย พวกเขาเหลานี้จึงไมสามารถจดจออยูกับอะไร (ที่ตนเอง รูสึกวานาเบื่อ) ไดนานเพราะตองจัดสรรเวลาไปปฏิสัมพันธกับสื่อ

112


เรื่องบันเทิงและอุปกรณเหลานี้ใหครบถวนในแตละวันของชีวิต ดังนั้นเด็กในยุคนี้จึงมีสมาธิจำกัด นั่งอยูเฉยๆ ไมไดนานโดยเฉพาะ การตั้งใจเรียนในหองเรียน นั่งโตะทำงานหรืออานหนังสือไดนานๆ แตเขากลับมีความสามารถนั่งเลนเกมส หรือ Chat Online หนาจอ คอมพิวเตอรไดเปนวันๆ โดยไมเบื่อเพราะเปนเรื่องสนุกและตนเอง ใหความสนใจ และชื่นชอบและเคยชินกับภาวะถูกกระตุนดวยการ ปฏิสัมพันธแบบ Interactive ที่หวือหวานาสนใจจากหนาจอ คอมพิวเตอรอยูตลอดเวลา ดังนั้นเมื่อตองถูกบังคับใหนั่งทำงาน นั่ง ประชุมในออฟฟศเปนเวลานานๆ เมื่อใด ก็มักจะเกิดอาการเบื่อหนาย งวงเหงาหาวนอน หรือตองมีอุปกรณไฮเทคตางๆ อยูใกลๆ มือเปน เครื่องชวยลดความเบื่ออยูเสมอ 3. Fast Food Habit : ดวยความเคยชินกับระบบการคลิกเพื่อสืบคน ขอมูลผาน Internet และการกดเปลี่ยน Remote Control ผสม ปนเปกับกลไกทางการตลาดที่มุงเนนกระตุนการบริโภคของสังคม ในปจจุบัน ทำใหเด็กยุคนี้เบื่องาย ขาดความอดทนรอคอย เวลาจะ ทำอะไรก็ตามตองไดมาในระยะเวลารวดเร็วเหมือนกด Remote และคลิก Mouse ของอุปกรณคอมพิวเตอร ตลอดจนการเปลี่ยนรุน อยางรวดเร็วของอุปกรณไฮเทค และเมื่อผนวกรวมกับความเคยชิน กับการใชเวลาสวนใหญในแตละวันที่หนาจอคอมพิวเตอรเพื่อทอง Internet ที่มีขอมูลปริมาณมหึมาและหลากหลาย เด็กในยุคนี้จึง ตองเรงรีบในการดูชอมูลแบบลวกๆ หรือขอไปทีเพื่อใหตนเองใช เวลาคนหาขอมูลหรือไปยังหนาเวบไซตอื่นๆ ไดอยางรวดเร็ว สิ่ง เหลานี้จึงหลอหลอมใหเกิดเด็กยุคนี้มีพฤติกรรมที่สนใจเรื่องราว ตางๆ ไดแตเพียงผิวเผินหรือเปลือกนอกโดยไมลงลึกในรายละเอียด แตอยางใด เพราะตองเรงรีบไปใหความสนใจกับเรื่องอื่นๆ ที่รออยู เปนจำนวนมากในชีวิตทั้งเรื่องที่จำเปนและไมจำเปนแตคิดวา จำเปนก็ตาม 4. ขาดทักษะการคิดวิเคราะหและการใชวิจารณญาณในการ ตัดสินใจ : เนื่องจากศักยภาพในการเขาถึงขอมูลเปนจำนวนมาก ไดอยางรวดเร็วในระดับ Terra-Bit เด็กยุคนี้จึงใชวิธีการคนควา

113


ขอมูลที่ตองการแบบเหวี่ยงแหและเอาเขาตัวไวกอน โดยไมเคย พิจารณากลั่นกรองอยางถี่ถวนวาอะไรเปนขอมูลที่ตองการหรือไม นอกจากนี้เด็กยุคนี้ยังขาดทักษะการคิดวิเคราะหขอมูลที่ตนเอง สืบคนมาไดอยางถูกตอง และดวยพฤติกรรมแบบเรงดวนในชีวิต ของตนจึงมักคิดเหมาเอาเสมอวาขอมูลที่ตนเองหามาจาก Internet หรือแหลงขอมูลใดๆ เปนสิ่งที่ถูกตองเสมอแบบลวกๆ โดยไมเคย สนใจขอมูลนั้นนำมากลั่นกรองและศึกษาทบทวนวิเคราะหความถูก ตองหรือใชหลักการทฤษฎีที่ถูกตองมาใชประกอบการพิจารณา ตัดสินใจแตอยางใด สิ่งนี้อาจจะเปนเพราะการขาด Criteria หรือ หลักการที่ใชในการตัดสินใจเรื่องราวตางๆ ในการดำเนินชีวิตของ ตนเองอีกดวย 5. ขาดทักษะการเขียน (ตัวหนังสือ) : ดวยความเคยชินจากการอาน หนา Webpage จำนวนมากตลอดเวลาในระยะเวลาอันสั้น เด็กใน ยุคนี้จึงเคยชินกับ Icon และคำวลีมากกวาตัวหนังสือที่ยืดยาว นอกจากนี้พฤติกรรมการเรียนรูของเด็กในยุคนี้ก็เปลี่ยนแปลงไป จากการซึมซับความรูผานตัวหนังสือในตำราไปสูการเรียนรูจากหนา จอคอมพิวเตอร เด็กในยุคนี้จึงไมสนใจและใสใจกับทักษะการเขียน อธิบายความในรูปแบบตางๆ ที่ใชในการเรียนการสอนแตอยางใด เพราะตัวเขาคุนเคยกับการใชคำวลีสั้นๆ ในการอธิบายความใน แบบฉบับการสื่อสารของตนเอง ดังนั้นเราจึงพบเห็นการตอบคำถาม แบบอัตนัยดวยภาษาแบบคอมพิวเตอรหรือภาษา Chat ที่เปน เอกลักษณแหงยุคสมัย เชน หึ หึ หุ หุ ครึ ครึ ฯลฯ และสอดแทรก ความบันเทิงลงไปในเนื้อความคำตอบของตนเองอยูเสมอ 6. Blur Effect1 & Virtual Social Network : ดวยความเคยชินกับ การทำอะไรหลายๆ อยางพรอมกันโดยเฉพาะเมื่อตองอยูรวมกับ อุปกรณไฮเทคตางๆ ควบคูไปกับการใชชีวิตทามกลางสังคมเสมือน เชน Facebook Hi 5 ฯลฯ ในโลกออนไลนของเขาตลอดเวลาในชวง เวลาพรอมๆ กัน เราจึงมักมองเห็นวาเด็กยุค Y Generation มัก 1 พร วิรุกษ : Global Trend & : Property Development

การบรรยายพิเศษ รายวิชา 2401597 สัมมนานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วันที่ 11 พฤศจิกายน 2552

114


ไมคอยใหความสนใจหรือปฏิสัมพันธกับสังคมแวดลอมของตนเอง เทาใดนัก และมักเห็นภาพการมึนๆ งงๆ ซึมๆ ถามไมตอบ ตอบ แบบมึนๆ ของบุคคลเหลานี้เมื่อปราศจากการติดตอกับอุปกรณ ไฮเทคของตนเอง ไปจนถึงการไมใสใจความเปนไปของตนเอง (ผม ยุงเหยิง เสื้อยืด รองเทาแตะ) รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของสังคม และโลกแตอยางใด ผลแหงสภาวะนี้คือสิ่งที่ผูใหญอยางเรามัก ตำหนิวาเด็กๆ เหลานี้ไมมีมารยาท ไมรูจักกาละเทศะ รวมทั้งขาด จิตสำนึกสาธารณะที่ โดยที่เขาเองมิไดคิดวาพฤติกรรมเหลานี้เปน เรื่องที่ไมถูกตอง ไมควรปฏิบัติ (ในสายตาผูใหญ) แมแตนอย 7. ชอบแสดงออกและกลาเรียนรู : ขอดีของเด็กในยุคสมัยนี้คือ มี ความกลาในการเรียนรูและทดลองของใหมๆ โดยไมกลัวความผิด พลาด อันเนื่องมาจากความอิสระในระบบความคิดที่เกิดขึ้นตั้งแต วัยเยาวและศักยภาพดานเครื่องมืออุปกรณและสื่อในการคนควา ขอมูลที่เพียบพรอม และรวมถึงการติดนิสัยมาจากการใช คอมพิวเตอรที่สามารถ Delete และ Restart ไดใหมตลอดเวลา ดัง นั้นการมอบหมายงานใหมีโอกาสทดลองและทาทายใหคิดเรื่องราว ความรูใหมๆ ในระยะเวลาสั้นๆ จึงเปนสิ่งที่ถูกกับจริตของเด็กๆ เหลานี้ที่สมควรพิจารณานำมาใชใหเหมาะสมกับความตองการของ การทำงานเปนอยางยิ่ง รูทัน….แลวรูทำ จากการทำความเขาใจวิธีคิดและวิถีทางความคิดของเด็กในยุค Net Generation จะชวยใหเราทำความเขาใจหรือรูทันในตัวสถาปนิกรุนเล็ก ของเราเองไดดียิ่งขึ้น เมื่อเราเขาใจเขามากขึ้นจะทำใหเราเขาใจสาเหตุ แหงปญหาไดในระดับหนึ่ง และเมื่อเราเขาใจเหตุแหงปญหาหรือสมุทัย แลวเราก็จะสามารถแสวงหานิโรธเพื่อนำไปสูมรรคาในการแกไขปญหา ของเราไดอยางลุลวงไดในที่สุด ทั้งนี้ ผูเขียนขอนำเสนอวิธีการเบื้องตน ในการปรับปรุงรูปแบบการบริหารจัดการองคกรและการปฏิบัติงาน รวมทั้งวิธีการอยูรวมกับสถาปนิกรุนเล็กเหลานี้ไดอยางเทาทันไมเกิด ชองวางระหวางวัย และสามารถพัฒนาศักยภาพที่มีอยูของสถาปนิก เด็กๆ เหลานี้จากเล็กธรรมดาๆ ใหกลายเปนเล็ก..พริกขี้หนูไดดังตอไปนี้

115


1. รูปแบบการทำงาน และการบริหารจัดการแบบ Online : เพื่อให ถูกจริตกับสถาปนิกยุคใหมในปจจุบัน การปฏิบัติงานตามรูปแบบ ปกติวิสัยที่เคยใชกันมากอาจตองปรับเปลี่ยนใหทันสมัยขึ้น เริ่ม ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงเวลาทำงานที่แนนอนจาก 9 โมงเชาถึง 6 โมงเย็นเปนใหมีความยืดหยุนกับพฤติกรรมที่หลากหลายของบุคคล เหลานี้มากขึ้นโดยพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ของงาน หรือควบคุม ผาน Time Sheet ที่แสดงจำนวนชั่วโมงการปฏิบัติงานตาม Project มากกวาการควบคุมแบบเดิมๆ นอกจากนี้วิธีการบริหาร สั่งการ การสงงานและตรวจแกไขผานระบบ Network ขององคกรใน ลักษณะ Push Mail หรือทาง E-mail ก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่สมควรนำมา ใชแทนที่เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานไดอยางทุกสถานที่และ ทุกเวลามากขึ้น วิธีการมอบหมายงานอีกประการที่ผูเขียนประยุกตจากวิธีการ ทำงานของตนเอง คืออันเนื่องมาจากสภาวะสมาธิสั้น ขี้เบื่อของ สถาปนิกรุนใหมเหลานี้ เราจึงควรการมอบหมายงานหลายชิ้น หรือ งานหลายลักษณะใหบุคคลเหลานี้ทำพรอมๆ กัน เพื่อลดความเบื่อ หนายในการทำงานชิ้นเดิมๆ เปนเวลานาน และยังปองกันมิให บุคคลเหลานี้ตองใชเวลาอยูกับงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะมากเกิน ไป ขอดีที่เกิดขึ้นคือสามารถใชศักยภาพของเขาไดอยางเต็มที่ ลด ความเบื่อหนายในการทำงานเดิมๆ และทำงานหลายๆ ชิ้นไดสำเร็จ พรอมกันหรือในระยะเวลาใกลเคียงกัน 2. การจัดการสภาพแวดลอม Play @ Work : รูปแบบของสถานที่ ทำงานของคนรุนใหมควรพิจารณาใหสอดคลองกับสถานที่ที่บุคคล ในรุนนี้มีความคุนเคยก็คือศูนยการคา ราน Net สถานที่บันเทิง และ บานของตนเอง ดังนั้นเราจึงมักเห็นเด็กๆ ยุคนี้นั่งทำงานหรือประชุม อยางเครงเครียดในรานกาแฟหรูๆ บรรยากาศสบายๆ เหมือนบาน พรอมกับการใหบริการInternet ดังนั้นสำนักงานยุคใหมจึงจำเปน ตองมีระบบ Wi-Fi ความเร็วสูงใหเขาไดใชทำงานควบคูไปกับการ พักผอน พรอมกับการตกแตงภายในใหมีบรรยากาศสบายๆ ไม เครงเครียดและมีกิจกรรมภายในที่ทำใหเกิด Movement จากทั้ง

116


การมองเห็นระหวางกัน เสียงเพลง และการขับเคลื่อนดวยกิจกรรม และสภาพแวดลอมที่สนุกสนานภายในองคกร อาทิ การมีลูวิ่ง บันไดเลื่อน ในสำนักงานใหญแหงใหมของบริษัทโทรคมนาคมแหง หนึ่งในบานเรา 3. การพัฒนาศักยภาพรวมกัน : Reverse Mentor 2 แนวคิดนี้เปน สิ่งที่สามารถเชื่อมโยงการปฏิสัมพันธและลดชองวางระหวางวัยของ คนรุนเกากับคนรุนใหมไดเปนอยางดี หากเพียงแตเราเปดกวางและ ยอมรับในทักษะความสามารถ (ที่เราขาดอยู) ของบุคคลเหลานี้ ดวยการเปดโอกาสใหคนรุนใหมไดมีโอกาสแนะนำคนรุนเกาได ทดลองใชเครื่องมือสื่อสารไฮเทค การโหลดเพลง โหลดบิท การ เขียน Blog ไปจนถึงการเขารวมเปนสมาชิกในสังคมออนไลนตางๆ ยอมจะเปนการสรางปฏิสัมพันธในองคกรเพิ่มมากขึ้น เพิ่มโอกาสใน การเรียนรูและทำความเขาใจตัวตนและมุมมองระหวางกัน และการ เปดโลกทัศนและโอกาสการเรียนรูใหมของคนรุนเกาที่สามารถ พัฒนาและตอยอดออกไปไดไมมีที่สิ้นสุด รวมทั้งเปนการสราง ความยอมรับในองคกรของสถาปนิกรุนเล็กเหลานี้ไดเปนอยางดี 4. การเปดโอกาสการแสดงออก และการยกยองความสามารถ : สถาปนิกรุนเล็กและนิสิต นักศึกษาปจจุบันมีขอแข็งคือชอบการ ทาทาย ชอบทดลอง และชอบแสดงออก ดังนั้นการใชประโยชนจาก ศักยภาพเหลานี้ผานการมอบหมายงานใหคิดคนและคนควาขอมูล หรือเรื่องราวใหมๆ มานำเสนอ การคิดแบบรางหลายๆ แบบมา แขงขันกัน หรือการพัฒนางานแบบของลูกคาดวยการแขงขัน ประกวดแบบภายในองคกรพรอมกับการยกยองความสามารถ นอกจากนี้การมีพื้นที่แสดงออกทางความสามารถที่หลากหลาย ดานตางๆ นอกเหนือจากงานประจำของเขา เชน การถายภาพ การ รองเพลง การเขียนหนังสือ การทำหนังสือทำมือ การเขียนการตูน เหลานี้จะทำใหบุคคลรุนใหมนี้มีความกระตือรือรนในการปฏิบัติ งาน มีการพัฒนาการเรียนรู และมีความเชื่อมั่นในศักยภาพความ สามารถของตนเองมากยิ่งขึ้น 2 อางแลว

117


»ปÃรÐะÇวÑัµตÔิ¼ผÙู Œàเ¢ขÕีÂย¹น : เมื่อจบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยในป 2528 ไดเขาสอบผานเขา ศึกษาตอในคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจนสำเร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร เมื่อป 2533 หลังจากทำงานวิชาชีพไดชวงเวลาหนึ่งจึงเขาศึกษาตอจนจบการศึกษาระดับ ปริญญาโทสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีทางอาคาร จาก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป 2542 ทั้งนี้ระหวางการศึกษาและหลังจบการศึกษา ในระดับปริญญาตรีไดรวมแสดงละคอนเวทีประจำปของคณะเปนเวลายาวนานตอ เนื่องกันมากกวา 14 เรื่อง ประสบการณบริหารงานภายนอกในชวงแรกจะเปนการปฏิบัติวิชาชีพ สถาปตยกรรมในสำนักงานสถาปนิก โดยมีผลงานการออกแบบ/ ดูแลการกอสราง เปนอาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ และอาคารสาธารณะหลายอาคาร ซึ่งมี พื้นที่การออกแบบอาคารที่รับผิดชอบรวมกันมากกวา 80,000 ตารางเมตร จนได รับการเลื่อนระดับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมจากภาคีสถาปนิกเปน สามัญสถาปนิกจนในปจจุบัน หลังจากจบการศึกษาในระดับปริญญาโทไดสมัครเขาปฏิบัติราชการในคณะ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ตั้งแตป 2543 จนถึงปจจุบัน ใน ระหวางการปฏิบัติราชการไดรับความไววางใจใหดำรงตำแหนงงานสำคัญๆ ใน คณะมาโดยตลอดอาทิ ผูชวยคณบดีและรองคณบดีฝายกิจการนิสิต รองคณบดี ฝายวิชาการ และรองคณบดีฝายบริหาร จนในปจจุบันดำรงตำแหนงคณบดี คณะ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรในวาระป 2552-2556 งานดานสังคมวิชาชีพไดเขาสนับสนุนกิจกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ใน พระบรมราชูปถัมภมาตั้งแตป 2543 จนปจจุบัน เริ่มตั้งแตตำแหนงผูชวย ประชาสัมพันธรับผิดชอบการจัดทำ “จดหมายเหตุอาษา” ของสมาคมฯ ระหวางป 2543-44 รับผิดชอบกิจกรรม ASA Student Workshop หลายปติดตอกัน จนดำรง ตำแหนงกรรมการบริหารของสมาคมในหนาที่อุปนายกฝายวิชาการ ในป 2547-49 ในวาระการบริหารของพลเรือตรีฐนิธ กิตติอำพน (ยศขณะนั้น) โดยมีผลงานที่ สำคัญคือการจัดกิจกรรมอบรมสัมมนาทางวิชาการของสมาคม “ ASA สุดสัปดาห วิชาการ”


ตอมาไดรับการมอบหมายใหดำรงตำแหนงเลขาธิการ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ชวงป 2549-50 ในวาระการบริหารของคุณสิน พงษหาญยุทธ และไดปรับเปลี่ยน บทบาทเปนอุปนายก ดูแลกิจกรรมสถาปนิกภูมิภาคและไดรับการแตงตั้งเปนรอง ประธานจัดงานสถาปนิก 51 เพื่อรับผิดชอบกิจกรรมและการแสดงนิทรรศการ ตางๆ ของสมาคมในวาระป 49-51 ในงานสถาปนิก 51 และรับผิดชอบการจัดทำ หนังสือและสิ่งพิมพของสมาคมฯ เพื่อใชจำหนายและเผยแพรในงานสถาปนิก 51 จำนวน 6 รายการ ซึ่งมีหนังสือที่มีสำคัญตอการเผยแพรวิชาชีพตอสาธารณะ “รูจัก…สถาปนิก” รวมยอดพิมพ 3 ครั้งมากกวา 30,000 เลม สำหรับกิจกรรมของสภาสถาปนิกไดเขารวมเปนอนุกรรมการในคณะกรรมการชุด ตางๆ หลายคณะตั้งแตป 2547 จนปจจุบัน อาทิ อนุกรรมการฝกอบรม อนุกรรมการประสานความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษา อนุกรรมการจัดสอบ ความรู และสอบเทียบวิทยฐานะผูขอรับใบอนุญาตฯ ฯลฯ พรอมกับไดรับมอบ หมายเปนหัวหนากองบรรณาธิการวารสารวิชาการของสภาสถาปนิกหรือ ACT Journal เพื่อเผยแพรขอมูลความรูทางวิชาชีพสถาปตยกรรมแกสมาชิก 4 สาขา วิชาชีพ งานทางสังคมวิชาชีพที่ดำเนินการอยูในปจจุบันเปนผูทรงคุณวุฒิ ประจำสถาบัน สถาปนิกสยาม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ รับผิดชอบวางแผน อำนวยการและกำกับดูแลการจัดอบรมสัมมนาวิชาการของสถาบันสถาปนิกสยาม สำหรับรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณที่เคยไดรับ เคยไดรับรางวัลชมเชย งาน ประกวดแนวความคิดทางสถาปตยกรรม “บานรักหัวใจ” จัดโดยสมาคมสถาปนิก สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ และกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2544 ไดรับการเสนอชื่อเขารับรางวัลนิสิตเกาดีเดน ประเภทวิชาการ จากสมาคมนิสิตเกา คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2552 ในปตอมาได รับรางวัลบุคลากรดีเดนผูทำชื่อเสียงใหแกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ป พ.ศ. 2553 และไดรับการยกยองเปน “คนดีศรีสวนฯ” จากสมาคมศิษยเกาโรงสวน กุหลาบวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภในปเดียวกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อกำจัดจุดตายสถาปนิกไทยไดที่ ratchot@gmail.com และ www.facebook/Ratchot Chompunich


บร�ษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด



จัดพิมพโดย

บร�ษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.