Builder Magazine Vol.07 issue , May 2014

Page 1






AD builder_6-7.ai

2

2/19/14

6:13 PM





PROPERTY 26 28 34 40

BUILDER REPORT 5 à·¤â¹âÅÂÕ à»ÅÕè¹á»Å§Í¹Ò¤μ¡ÒÃÍ͡Ẻ DEVELOPER TALK ÊÌҧ´Õ ´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ãËÞ‹ËÃ×ÍàÅç¡ÍÂÙ‹·¤Õè ÇÒÁ¤Ô´ PROPERTY FOCUS »˜¨¨Ñ´ŒÒ¹μŒ¹·Ø¹¢Í§â¤Ã§¡ÒÃÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ áÅСÒâҴá¤Å¹áç§Ò¹ PROJECT REVIEW ‘ºŒÒ¹ªÒ¹’ ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ¾Åѧ§Ò¹áʧÍÒ·Ôμ 5 ¡ÔâÅÇÑμμ

CONSTRUCTION

THE SPECIALIST à·ÇÃÔ·¸ÔìÈÅÔ »Ò¡Òà §Ò¹ºÃÔ¡ÒÃÈÔŻзÕ蹋ҨѺμÒ 52 BUILDING CODES & CONCEPT 100 PROJECT IN PROGRESS

PRODUCT 44

88

48

90

DETAILS FAAC »ÃÐμÙÍÑμâ¹ÁÑμÔ Ãкºà«ç¹à«Íà ¾ÔàÈÉ·Ò§àÅ×Í¡ãËÁ‹ IN TREND ÇÑÊ´Ø¡‹ÍÊÌҧÍÒ¤ÒÃÂÍ´ÎÔμ ¢Í§Ê¶Ò»¹Ô¡ªÑé¹¹íÒÃдѺâÅ¡ BUILDER HILIGHT ‘The Ooho’

92

ÇÑÊ´ØãËÁ‹·´á·¹¢Ç´¹éíÒ¾ÅÒÊμÔ¡ INNOVATION FOCUS ‘Preventol® B5’

GREEN 54

GREEN PRODUCTS Want Innovation? Go to tradeshow

56

ECO GREEN »ÃÒ¡®¡Òó à¡ÒÐÌ͹

(Heat Island Effect) 58 62

10

GREEN IDEA GREEN ºŒÒ¹ GREEN àÁ×ͧ 5 ¤íÒ¶ÒÁ ¡Ñº 2 ·ÈÇÃÃÉ Ê¶Ò»˜μ à¡ÉμÃ

¹ÇÑμ¡ÃÃÁ»¡»‡Í§¡ÒÃÃÑÇè «ÖÁÊǹº¹ËÅѧ¤Ò 94 INNOVATIVE PRODUCTS 136 ࢌÒμÅÒ´


Schindler 3300 AP lift Bringing sustainability to your building With the Machine-Room-Less design, gearless motor and innovative traction media technology, Schindler 3300 AP lift is built to be highly efficient in every respect; be it performance, space or energy usage. Schindler 3300 AP helps you save on energy cost and reduces your building’s environmental impact throughout its entire life cycle. Jardine Schindler (Thai) Ltd. 20th Floor, Times Square Building 246 Sukhumvit Road, Klongtoey Bangkok 10110,Thailand Tel + 66 2 685 1600 Fax + 66 2 685 1601 info@th.schindler.com

www.schindler3300ap.com


MISCELLENEOUS

16 18 20 32 38

98

BUILDER NEWS BUILDER GOSSIP AROUND THE WORLD LES MISCELLANEOUS TALKING WITH ARCHAN MANOP “ÃÒ¤Ò·Õè´Ô¹” ᾧËÃ×Ͷ١ ËÅѧÈÒÅÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞμÑ´ÊÔ¹ UPDATE IT

Crowd funding

114 VIEWPOINT

ËÑÇËÁÒ 116 HANG OUT CAFÉ Tut’s Café

·ÑμÊ ¤Ò࿆ ÍÕÂÔ»μ ÊäμÅ 120 HANG OUT PLACE

Candide Books & Cafe

124 ONCE UPON A TIME Bangkok Tree House 126 PHOTOMANIAS 128 IN THE BOX 130 ÃͺÃÑéÇ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 134 áǴǧÊÁÒ¤Á 140 BUILDER CLUB

12

DESIGN 66

COVER STORY

¨ÑºμÒÁͧÊÔ¹¤ŒÒ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ¹‹Òʹ㨠㹧ҹʶһ¹Ô¡’ 57

102 TALK TO TALK

àÁ×èͤԴ¹Í¡¡Ãͺ ¨Ò¡ÊÔºãˌÌÍ ºÍ¡ÃŒÍÂãËŒ¾Ñ¹

106 DESIGNER HUB 110 DESIGNED BY The New Experience of Creative Living


TM


Tradeshow §Ò¹áÊ´§ÊÔ¹¤ŒÒ กลางเดือนเมษายนหลังจากหลบไปพักร อนกันมาแล ว ช วงปลายเดือน ก็ได มกี ารจัดงานแสดงเทคโนโลยีกอ สร างทีย่ งิ่ ใหญ กับงานสถาปนิก’ 57 ทีร่ วบรวมผลิตภัณฑ นวัตกรรมการออกแบบและก อสร างจากทัว่ โลกมา ณ อาคารชาเลนเจอร ฮอลล อิมแพ็ค เมืองทองธานี งานนี้คนในวงการ ก อสร างและการออกแบบย อมไม พลาดเป นแน

คณะผู จัดทําฝ ายบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮ าส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469

เพื่อให สอดคล องกับแนวคิดของหนังสือที่จะเป นแหล งรวบรวมข อมูล ทางด านสินค าวัสดุก อสร าง ดังนั้น Builder Magazine ในเล มนี้ เราจึงนําเสนอว าด วยเรื่องของงานสถาปนิก’ 57 โดยการนําสินค าและ นวัตกรรมที่น าสนใจ ที่เจ าของผลิตภัณฑ แต ละบริษัท แต ละองค กร นํามาจัดแสดงภายในงาน ให แก ท านผู อ านได รับทราบกัน หากใคร อาจพลาดกับการจัดงานดังกล าวก็สามารถติดตามข อมูลสินค าไปที่ แต ละบริษัทกันได ณ ที่นี้ด วย นอกจากนี้ภายในเล มยังมีเรื่องราวของ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม ให ได ติดตามอ านกันอีกด วย

คณะที่ปรึกษา: ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา รศ.มานพ พงศทัต อ.ชวพงศ ชํานิประศาสน ศ.ดร.บัณฑิต จุลาสัย ผศ.รัชด ชมภูนิช ชวลิต สุวัตถิกุล สุกิจ ทรัพย เพิ่มพูน ผศ.ดร.จตุวัฒน วโรดมพันธ

สุดท ายทีมงาน Builder หวังเป นอย างยิง่ ว านิตยสารเล มนีจ้ ะเป นแหล ง รวบรวมข อมูลสินค านวัตกรรมให แก ท านผู อ านได ไม มากก็น อยนะคะ

ทีมงานฝ ายบริหาร: กรรมการผู จัดการ รองกรรมการผู จัดการ รองกรรมการผู จัดการ Publishing Director

คุณชาตรี มรรคา คุณศุภแมน มรรคา คุณศุภวาร มรรคา คุณป ยะนุช มีเมือง

ฝ ายขายโฆษณา: Sales Director

คุณศุภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com

ณัชชา นันทกาญจน หัวหน ากองบรรณธิการ editor.buildernews@gmail.com

ติดต อฝ ายขายโฆษณา โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดต อฝ ายสมาชิก โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดต อฝ ายบรรณาธิการ โทรศัพท (66) 87716-9976

คณะผู จัดทําฝ ายกองบรรณาธิการ: บริษัท แท็งค ดีไซน แอนด โปรดักชั่น จํากัด 1104/31 หมู บ านโนเบิล คิวบ ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2187 2531 โทรสาร (66) 2186 6741

แยกสี / เพลท โรงพิมพ

14

บริษัท สุรศักดิ์ฟ ล ม จํากัด บริษัท กรังด ปรีซ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด

ทีมงานฝ ายกองบรรณาธิการ: หัวหน ากองบรรณาธิการ คุณณัชชา นันทกาญจน กองบรรณาธิการ คุณหนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้ คุณณัฐธยาน รุ งรุจิไพศาล คุณภัณฑิรา มีลาภ อาร ตไดเรคเตอร คุณยิ่งยศ จารุบุษปายน กราฟฟ กดีไซเนอร คุณธีรภัทร สลัดทุกข

natcha.tank@gmail.com



äÃÁ͹ Ᏼ ¿˜¹¸§·íÒàŷͧÊͧ½˜›§à¨ŒÒ¾ÃÐÂÒÊØ´ÎÍμ â¤Ã§¡ÒÃãËÁ‹àμÃÕÂÁ»˜¡ËÁØ´¡Ç‹Ò 5 ËÁ×è¹ÅŒÒ¹ นายไซมอน เดอร วลิ เล รองผูอ าํ นวยการฝ ายพัฒนาธุรกิจของไรมอน แลนด กล าวว าพืน้ ทีร่ มิ ฝ ง แม นา้ํ เจ าพระยา เป นทําเลที่ได รบั ความ สนใจจากบรรดานักลงทุนและผู ประกอบการอสังหาริมทรัพย รายใหญ ของไทย ที่ต างพากันจับจองที่ดินริมสองฝ งแม น้ําเพื่อพัฒนา โครงการที่พักอาศัย ศูนย การค า และโรงแรมหรูมากมาย ซึ่งทําเลที่โดดเด นที่สุดคือช วงเจ าพระยาตอนกลาง โดยเฉพาะตามแนว ถนนเจริญกรุง และเจริญนคร ซึง่ ป จจุบันเป นที่ตั้งของโรงแรมชือ่ ดัง รวมถึงเอเชียทีคที่กลายเป นแลนด มาร คของกรุงเทพฯ ไปอย าง รวดเร็ว ความร อนแรงของทําเลริมแม นา้ํ เจ าพระยาตอนกลางนัน้ ยังคงไม เจือจางลงแม แต นอ ย เมือ่ เป นทีค่ าดกันว าในป นจี้ ะมีการพัฒนา โครงการใหม ๆ ในพื้นที่ดังกล าวคิดเป นมูลค ารวมกันกว า 50,000 ล านบาท ในขณะที่ไรมอนแลนด ซึ่งมีโครงการที่อยู อาศัยใน ทําเลริมน้ําเจ าพระยาอย าง “เดอะริเวอร ” ก็มีแผนที่จะเป ดตัวเซอร วิสเรสซิเดนซ ภายในโครงการดังกล าว ภายใต แบรนด “แคลพสัน” (Klapsons) จากประเทศสิงคโปร เช นกัน

áʹÊÔÃÔ ªÕé¤Í¹â´ÁÔà¹ÕÂÁàÁ×ͧμÒ¡ÍÒ¡ÒÈã¹ËÑÇËÔ¹-ÀÙà¡çμ ÂÍ´â͹·ÐÅÑ¡ ÎÍμÃѺ«ÑÁàÁÍà นายอุ ทั ย อุ ทั ย แสงสุ ข รองกรรมการผู จั ด การอาวุ โ ส สายงานพั ฒ นาธุ ร กิ จ และพั ฒ นาคอนโดมิ เ นี ย ม บริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน) เป ดเผยว าหลังจากที่บริษัทฯ ได เป ดตัวการขายโครงการที่อยู อาศัย รวมถึง คอนโดมิเนียมตากอากาศทีค่ รอบคลุมทุกความต องการของลูกค าในทุกระดับราคา โดยมีการสร างแบรนด และการ รับรู เกี่ยวกับโครงการที่อยู อาศัยที่มีคุณภาพถึงกลุ มลูกค าเป าหมายอย างต อเนือ่ ง ส งผลให โครงการที่อยู อาศัยทุก ประเภทประสบความสําเร็จในด านการขายโดยเฉพาะคอนโดมิเนียมในเมืองตากอากาศ ซึ่งป นี้มีความคึกคักเป น อย างมาก เห็นได จากยอดโอนที่เพิ่มขึ้นอย างต อเนื่อง โดยเฉพาะทําเลท องเที่ยวยอดนิยมอย างหัวหินและภูเก็ต โดยหัวหินมียอดโอนเฉลี่ยถึง 85% ขณะที่ภูเก็ตหลังจากที่โครงการ เดอะเบส ดาวน ทาวน ภูเก็ต สร างเสร็จ 100% ในเดือนมีนาคมที่ผ านมา ปรากฏว ามียอดโอนไปแล วถึง 50% จึงช วยย้ําภาพความเป นผู นําและความสําเร็จของ การขยายธุรกิจของแสนสิริได เป นอย างดี

GROHE Group ËÇÁ¼¹Ö¡¡íÒÅѧ¡Ñº LIXIL ÁØ‹§ÁÑè¹à´Ô¹Ë¹ŒÒ¹íÒ¼ÅÔμÀѳ± ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ¤Ø³ÀÒ¾ÊÙ§ ࢌÒÊÙ‹μÅÒ´»ÃÐà·Èä·Â นายบิจอย โมฮาน ประธานบริษัท GROHE ประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟ ก ได กล าวถึงการร วมเป นพันธมิตรระหว าง LIXIL Corporation ทีเ่ พิง่ จะซือ้ หุน ใน GROHE Group กับ GROHE นัน้ เพือ่ จุดประสงค ในการประสานการทํางาน ร วมกันที่ดี ในการที่จะเสริมสร างความแข็งแกร งให กับผลิตภัณฑ ของตนเอง และอาศัยเครือข ายการจัดจําหน ายที่ กว างขวางของแต ละฝ าย เพื่อก าวขึ้นเป นผู นําในอุตสาหกรรมเครื่องสุขภัณฑ ทั่วโลก โดยยังยึดมั่นในหลักการผลิต สินค าคุณภาพระดับสูงจากเยอรมัน และสร างความยั่งยืนอย างมีความรับผิดชอบแบรนด ต างๆ ของ GROHE Group ให เป นผู นําในตลาดและเป นที่รู จักและไว วางใจของลูกค าทั่วทุกมุมโลกต อไป

16


à«ç ¹ ·ÃÑ Å àÍç Á ºÒÊ«Õ à»Ô ´ μÑ Çâ¤Ã§¡Òà “äͤ͹¹Ô ¤ ÃÕ à ·Å áŹ´ Á Òà ¤ ” Ᏼ ÁÒà ¤áË‹§àÍàªÕ ÁÙŤ‹Ò 18,000 ź. นายชาติ จิราธิวฒ ั น กรรมการผูจ ดั การ โครงการเซ็นทรัล เอ็มบาสซี เป ดเผยว า ด วยวิสยั ทัศน ของ กลุม เซ็นทรัลคือการป กธงประเทศไทยเป นผูน าํ ด านการท องเทีย่ วแบบลักชัวรีไ่ ลฟ สไตล จึงได พลิก โฉมใหม แห งวงการลักชัวรี่รีเทล ด วยการเป ดตัว “เซ็นทรัล เอ็มบาสซี” ปรากฏการณ ใหม ของไลฟ สไตล แห งการช อปป งระดับหรู และเป นความตื่นตาตื่นใจ ของประเทศไทยในฐานะ ไอคอนนิคแลนด มาร คร วมสมัยที่ไม เคยมีมาก อน เพื่อยกระดับกรุงเทพฯ ให เป นจุดหมายใหม แห งสุดยอดลักชัวรี่ช อปป งของเอเชียที่ทั่วโลกจะต องจับตามอง กับโครงการ “ไอคอนนิค รีเทล แลนด มาร ค” ภายใต คอนเซ็ปต “Infinite Possibilities” ทุกความเป นไปได จะเกิดขึ้นที่นี่กับ สินค าแบรนด ระดับไฮเอนด กว า 200 ร านค าบนพื้นที่ใจกลางเซ็นทรัลแบงค็อก ด วยมูลค า โครงการรวมกว า 18,000 ล านบาท พร อมตั้งเป าดันไทยขึ้นสู เมืองแห งการช อปป งระดับโลก

¾Ä¡ÉÒÏ à»Ô´μÑÇ “¾ÅÑÁ ¤Í¹â´” ÅØÂμÅҴ‹ҹ¾ÃÐÃÒÁ 2 ¾ÃŒÍÁªÙ¹ÇÑμ¡ÃÃÁÃкºËŒÍ§¹éíÒ ÃٻẺãËÁ‹ นายเลอศักดิ์ จุลเทศ รองประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูอ าํ นวยการ บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) เป ดเผยว า ได เป ดตัวโครงการ “พลัม คอนโด เอ็กซ ตร า พระราม 2 (Plum Condo Extra Rama 2)” ภายใต คอนเซ็ปต “Extra Bright Side of Life” มิติใหม ของที่อยู อาศัยที่ตอบสนองไลฟ สไตล ของคนรุ นใหม บนเนื้อที่กว า 23 ไร จํานวน 2,044 ยูนติ มูลค าโครงการรวม 3 เฟส 3,200 ล านบาท ซึง่ ถือเป นการขยายตลาดคอนโดเป นโครงการแรก สําหรับทําเล ถ.พระราม 2 ที่มีการเจริญเติบโตอย างต อเนื่อง เพราะใกล แหล งงานและแวดล อมไปด วยสิ่งอํานวย ความสะดวกสบาย นอกจากนีย้ งั เน นการออกแบบโครงการให ลงตัวผสานไปกับพืน้ ทีส่ เี ขียว รวมถึงการนํานวัตกรรมใน การผลิตของโรงงาน Precast ของบริษัทฯ มาใช เป น Total Precast System และนํานวัตกรรมระบบห องน้ําจาก พันธมิตรรูปแบบใหม มาใช ในการก อสร างอีกด วย

ÊÁÒ¤Á¹ÒÂ˹ŒÒÏ àμÃÕÂÁ¨Ñ´ÃдѺÍÒªÕ¾¹ÒÂ˹ŒÒ à¾×èÍÊÌҧ¤ÇÒÁÁѹè ã¨ãËŒ¡Ñº¼ÙŒ«×éÍ-¢ÒºŒÒ¹Á×ÍÊͧ นายแพทย สมศักดิ์ มุนีพีระกุล นายกสมาคมนายหน าอสังหาริมทรัพย ไทย เป ดเผยว า ตลอดเวลาที่ผ านมาสมาคมฯ ได ตระหนักเสมอ ว าอาชีพนายหน ามีความสําคัญมากต อเศรษฐกิจของประเทศ และอสังหาริมทรัพย เป นสมบัตชิ นิ้ สําคัญของประชาชน จึงมีความพยายาม ในการผลักดัน พ.ร.บ. นายหน าอสังหาริมทรัพย มาโดยตลอด แต ภาครัฐยังไม ได ให ความสําคัญในเรื่องดังกล าว จึงต องหามาตรการ ต างๆ เพือ่ สร างความน าเชือ่ ถือและยกระดับวิชาชีพนายหน าให เป นทีย่ อมรับของประชาชน โดยเตรียมจัดระดับและการสร างมาตรฐาน การทํางานเพือ่ ทําให นายหน ามีความรู และความสามารถในการทํางาน ซึง่ จะสามารถสร างความมัน่ ใจให กบั ผูซ อื้ และผูข ายบ านมือสอง ได เป นอย างดี นอกจากนี้แล วยังได ร วมกับมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จัดหลักสูตรการเรียนในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท สําหรับวิชาชีพนายหน า เพื่อเป นแนวทางในการพัฒนาวิชาชีพต อไป

17


Njҡѹ´ŒÇÂàÃ×èͧ¢‹ÒǤÃÒÇã¹áǴǧÃͺæ μÑÇàÃÒ ã¹©ºÑº¹Õé ฝ ากระแสการเมืองร อนๆ “เฟรเกรนท พร็อพเพอร ต”ี้ โชว พรีเซล “เซอร เคิล สุขุมวิท 31” เพียงวันเดียวก็ได ยอดขาย กว า 80% งานนี้ประธานเจ าหน าที่บริหาร เฟรเกรนท พร็อพเพอร ตี้ อย าง มร.เจมส ดูอัน เตรียมสานต อความสําเร็จ ผุดอีก 2 โครงการใหม ในไตรมาส 3 และไตรมาส 4 ป นี้ พร อมมุ งมั่นที่จะพัฒนาโครงการทั้งหลายให แล วเสร็จตาม เวลาที่กําหนดไว ให สมกับที่ลูกค าให ความไว วางใจ มร.เจมส ดูอัน ประธานเจ าหน าที่บริหาร เฟรเกรนท พร็อพเพอร ตี้

คุณภัทรกร เนตระชาติ ผู จัดการทั่วไป บริษัท แอลอีดี สเปกตรัม จํากัด ผู ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับ หลอด LED (Light Emitting Diode) และ Solar Cell ในรูปแบบ Solution เพื่อใช เป น พลังงานทางเลือก ภายใต แบรนด SPECTRUM เตรียมแผนรับป นี้ด วยการเป ดตัวผลิตภัณฑ “Panel Light” ในงานสถาปนิก 57 อย างเป นทางการ ซึง่ เป นผลิตภัณฑ ใหม ทมี่ คี วามโดดเด นด วย ดีไซน ล้ําสมัย สามารถเปลี่ยนไซส ได ตามความต องการของลูกค า ประหยัดพลังงาน และเหมาะ สําหรับออฟฟ ศสมัยใหม ผู ที่สนใจสามารถสัมผัสของจริงได ที่ บูธ L205 ทางเข าชาเลนเจอร 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ซึ่งจะมีขึ้นวันที่ 29 เมษายน - 4 พฤษภาคม 2557

คุณภัทรกร เนตระชาติ ผู จัดการทั่วไป บริษัท แอลอีดี สเปกตรัม จํากัด

ต องขอแสดงความยินดี กับ คุณไตรเตชะ ตั้งมติธรรม กรรมการบริหาร บริษัท ศุภาลัย จํากัด (มหาชน) ที่ได รับการแต งตั้งให ดํารงตําแหน งเป น รองกรรมการผู จัดการคนใหม งานนี้ศุภาลัย เตรียมความพร อมรับมือกับสถานการณ ในป จจุบนั และความเหมาะสมในการรองรับการขยายตัว ของบริษัทฯ ในอนาคตอย างเต็มที่ โดยมีผลตั้งแต วันที่ 1 เมษายน 2557 เป นต นไป คุณไตรเตชะ ตั้งมติธรรม กรรมการบริหาร บริษัท ศุภาลัย จํากัด (มหาชน)

ด วยวิสัยทัศน อันกว างไกลของ คุณชาตรี มรรคา กรรมการบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร เนชัน่ แนล จํากัด ผูจ ดั งานสถาปนิก’57 ทีไ่ ด นาํ เทคโนโลยีระบบแอพพลิเคชัน่ บนมือถือสมาร ทโฟน iOS และ Android มาใช ในการจัดงานครั้งนี้ โดยได เป ดตัวครั้งแรกกับ Architect Expo App ทีจ่ ะทําให คณ ุ ไม พลาดกับทุกข าวสารความเคลือ่ นไหว ทัง้ กิจกรรมและงานสัมมนา พร อมทัง้ ข อมูลของผู แสดงสินค าภายในงาน โดยเป ดให ดาวน โหลดกันได ฟรีๆ ทาง App Store และ Google Play งานนี้อย าช า ทีทีเอฟ ทุ มจัดงานอย างเต็มที่ คุณชาตรี มรรคา กรรมการบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด ผู จัดงานสถาปนิก’57

หลังจากที่แต ละท านได ไปร วมทริปศรีลังกา กับทางสมาคมสถาปนิกฯ เมื่อวันที่ 1-6 เมษายน ที่ผ านมา ก็ได ยินทุกท านพูดเป นเสียง เดียวกันว า เป นทริปที่สนุกสนานมาก ตื่นตาตื่นใจ ทั้งได ประสบการณ ดีๆ และต องขอบคุณผู จัดและทุกคนที่ร วมเดินทางไปด วยกัน อย างนี้คนที่พลาดไปคงเสียดาย 18



เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

China Pavilion 㹧ҹ ‘Milan Expo 2015’

มหาวิทยาลัย Tsinghua และบริษทั สถาป ตยกรรม Link-Arc จากนิวยอร กได รบั เลือกให เป นผูช นะการออกแบบ Pavilion ของประเทศจีน สําหรับงานระดับโลก ‘Milan Expo 2015’ ซึง่ จะมีขน้ึ ในป หน านี้ ภายใต แนวคิด ‘The Land of Hope’ โดยผสมผสานการออกแบบของสถาป ตยกรรมจีนโบราณ และเทคโนโลยีสมัยใหม ด วยหลังคาแบบลอยตัว ซึ่งถูก ออกแบบให เป นโครงสร างไม ท่ีคล ายกับการพลิ้วไหวของ รวงข าว สะท อนถึงสถาป ตยกรรมและอารยธรรมของจีน ด วยพืน้ ทีก่ ว า 4,000 ตารางเมตร ภายใน Pavilion แห งนีจ้ ะถูก ใช เป นสถานที่จัดแสดงเรื่องราวทางวัฒนธรรมของมณฑล ต างๆ ทัว่ ประเทศจีน อีกทัง้ ยังมีการติดตัง้ มัลติมเี ดียสําหรับ การฉายภาพยนตร อกี ด วย Source: http://www.archdaily.com/484524/milan-expo2015-studio-link-arc-teams-with-tsinghua-university-todesign-china-pavilion.

‘Google Glass’ ¡ÅÒÂ໚¹μŒ¹àËμآͧ¡ÒÃÁÕ»Ò¡àÊÕ§¡Ñ¹

เมือ่ ไม นานมานี้ Sarah Slocum ทีป่ รึกษาทางด านโซเชียลมีเดียได อา งว าเธอถูกโจมตีดว ยคําพูด และถูกชายผูห นึง่ ดึงแว น Google Glass ออกจากหน าของเธอภายในบาร แห งหนึง่ ในเมืองซานฟราน ซิสโก แต หลังจากที่เธอเผยคลิปวิดีโอที่เธอถ ายจากแว นตาดังกล าวระหว างการมีปากเสียงกัน จะเห็นได วา จริงๆ แล ว ตัวเธอเองก็ใช คาํ พูดทีย่ ว่ั โทสะไม ใช นอ ย จึงเป นเหตุให ชายผูน น้ั ดึงแว นตาออก จากหน าของเธอ ซึง่ จากแหล งข าวได วเิ คราะห วา สาเหตุหนึง่ ของการมีปากเสียง อาจเกิดจากการที่ ชาวเมืองซานฟรานซิสโกบางกลุม ไม คอ ยพอใจบริษทั Google อยูแ ล ว ในเรือ่ งของรถ Google Bus รับส งพนักงานในเมือง ทีเ่ ป นเหตุให การจราจรติดขัดมากขึน้ กว าแต กอ น จึงเป นทีม่ าของการเกิดการ ปะทะคารมนีข้ น้ึ แต ประโยชน ของแว นก็สามารถทําให เธอบันทึกภาพเหตุการณ ทเ่ี กิดขึน้ ไว ได ทนั ที Source: http://www.dezeen.com/2014/03/10/women-attacked-in-san-francisco-for-wearinggoogle-glass

‘ R o y a l R i c e F i e l d ’ Ë ¹Œ Ò Í Ò ¤ Ò Ã SCG Experience

Source: http://www.contemporist.com/2014/02/21/royal-rice-field-by-apostrophys 20

บริษทั ออกแบบสัญชาติไทย Apostrophy’s ได ทาํ การออกแบบ ผลงาน ‘Royal Rice Field’ ซึง่ เป นการติดตัง้ ไฟแสงสว างทีบ่ ริเวณ ด านหน าของอาคาร SCG experience ในกรุงเทพมหานคร เพือ่ เป นการเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพในด านการเกษตรกรรม ของพระบาทสมเด็จพระเจ าอยูห วั โดยการออกแบบแท งไฟรูป ทรงรวงข าว ประกอบด วยแท งโลหะสีเหลืองทองทีเ่ ปรียบเสมือน ลําต นและหลอดไฟ LED สีเหลืองทองยึดติดกับแผ นอะคริลกิ ใส รูปทรงรวงข าว และเพือ่ เลียนแบบการพริว้ ไหวของต นข าวให ดู สมจริง แท งไฟจึงถูกออกแบบให โน มเอียงและมีระดับความสูง ทีต่ า งกัน โดยแท งไฟจะถูกติดตัง้ เป นกลุม ๆ อยูบ นแท นรูปทรง กลม 15 แท นทีล่ อ มรอบด วยน้าํ นอกจากนีท้ างด านหน ายังมี ข อความ “Long live the King” ซึง่ จะส องแสงสีทองอร ามทัง้ ในตอนกลางวันและกลางคืนอีกด วย


‘Green Medellin’ Êǹá¹ÇμÑ駷ÕèÊ٧໚¹Íѹ´ÑºÊͧ¢Í§âÅ¡

Living Wall หรือสวนแนวตัง้ นับวันก็จะได รบั ความนิยมมากขึน้ มีอาคารประเภท สวนแนวตัง้ เกิดขึน้ มากมายทัว่ โลก และล าสุด Groncol และ Paisajismo Urbano ได ออกแบบสวนแนวตั้งที่สูงเป นอันดับสองของโลก ในประเทศ โคลัมเบียชือ่ ว า ‘Green Medellin’ ทีเ่ ป นสวนแนวตัง้ สูง 92 เมตร บนอาคาร ที่พักอาศัย ประกอบด วยพืชนานาชนิดที่ทนต อสภาพอากาศและลมแรง ได เป นอย างดี ซึ่งผู พักอาศัยสามารถมองเห็นสวนนี้จากระเบียงภายในห อง นับว าเป นการเพิม่ จุดเด นให กบั อาคารได ดที เี ดียว Source: Images courtesy of Groncol

àËÅ‹ Ò ¹Ñ ¡ Í͡ẺáÅÐʶһ¹Ô ¡ Ë Ç Á¡Ñ ¹ μ‹ Í μŒ Ò ¹¡ÒÃÃ×é Í ¶Í¹ Shukhov Radio Tower

เหล านักออกแบบและสถาปนิก ประกอบด วย Tadao Ando, Rem Koolhaas, Kengo Kuma, Thom Mayne และ Elizabeth Diller ร วมกันต อต านการรื้อถอนเสารับส งสัญญาณวิทยุ Shukhov Radio Tower ในกรุงมอสโคว ประเทศรัสเซีย โดยพวกเขาได เขียนจดหมายเป ดผนึก ถึงประธานาธิบดีแห งรัสเซีย Vladimir Putin เรียกร องให อนุรกั ษ เสาสัญญาณวิทยุโครงสร างเหล็ก สูง 160 เมตรนีไ้ ว เสาสัญญาณวิทยุถกู สร างโดย Vladimir Shukhov เมือ่ ป 1922 ซึง่ ถือได วา เป น หนึง่ ในสัญลักษณ ของกรุงมอสโควเลยทีเดียว Source: http://www.dezeen.com/2014/03/18/ando-koolhaas-kuma-moscow-shukhov-tower

ÍÕ¡äÁ‹¹Ò¹à¡Ô¹Ã͡ѺËÍäÍà¿ÅÃÙ»â©ÁãËÁ‹

ใกล เสร็จสมบูรณ เต็มทีกับการอัพเกรดชั้นหนึ่งของหอไอเฟลให เป นพื้นที่สาธารณะที่มีร าน อาหาร, ร านค าทีด่ ทู นั สมัยกว าเดิม รวมถึงพืน้ ทีส่ าํ หรับจัดงานต างๆ โดยสตูดโิ อออกแบบฝรัง่ เศส Moatti-Riviere Architects ได จดั สรรพืน้ ทีใ่ หม ปรับปรุงโครงสร างบางส วนและเนรมิตบางส วน ของพืน้ ให เป นกระจก เพือ่ ให นกั ท องเทีย่ วได สมั ผัสกับประสบการณ ทน่ี า ทึง่ เหมือนเดินอยูก ลาง อากาศในระดับความสูง 57 เมตร นอกจากนีย้ งั ได นาํ ระบบเทคโนโลยีแบบยัง่ ยืนมาใช อาทิ การใช พลังงานแสงอาทิตย สร างความร อน, พลังงานลม, พลังงานน้าํ ในการขับเคลือ่ นเครือ่ งกลอีกด วย ซึง่ การปรับปรุงหอไอเฟลครัง้ นีใ้ ช งบประมาณไปกว า 25 ล านยูโร เพือ่ ให ความประทับใจแก ผม ู าเยือน Source: http://www.dezeen.com/2014/03/07/eiffel-tower-first-floor-overhaul-moatti-rivierearchitects

21


»ÃÐμÔÁÒ¡ÃÃÁÂÑ¡É ÅÍ¡ÅÒ§ÍÒ¡ÒÈ

ศิลป นชาวอเมริกัน Janet Echelman สร างสรรค ผลงานประติมากรรม ชิน้ ล าสุดและชิน้ ใหญ ทส่ี ดุ ของเธอ งานประติมากรรมนีไ้ ด แรงบันดาลใจมาจาก แหจับปลา เธอพัฒนาชิน้ งานโดยการเลือกใช เส นใยทีม่ นี าํ้ หนักเบา ทนต อสภาพ แรงลม และมีความแข็งแรงเพียงพอทีจ่ ะยึดติดระหว างอาคารสองอาคารได เป นงานประติมากรรมรูปทรงพริ้วไหว ยั่วยวน สีสันสดใส ขนาดใหญ ยักษ ลอยอยูก ลางอากาศ งานศิลปะชิน้ นีจ้ ะถูกจัดแสดงริมฝ ง แม นาํ้ ระหว างโรงแรม Fairmont Waterfront และอาคาร Vancouver Convention Center ทีเ่ มือง แวนคูเวอร ประเทศแคนาดา Source: Image coutesy of Ema Peter / Studio Echelman http://www.archdaily.com/486749/janet-echelman-s-largest-aerial-sculptureto-premiere-in-vancouver

Shigeru Ban ÃѺÃÒ§ÇÑÅ Pritzker Prize »Õ 2014

Shigeru Ban สถาปนิกชาวญีป่ น ุ ได รบั คัดเลือกให ได รบั รางวัล Pritzker Prize ในป 2014 รางวัลนีเ้ ป นรางวัลทีม่ อบเป นเกียรติ แก สถาปนิกทีส่ ร างสรรค งานสถาป ตยกรรมดีเด นทีม่ คี ณ ุ ภาพ ในระดับสากล โดยส วนหนึ่งของเกณฑ ในการพิจารณาให รางวัล คือการสร างนวัตกรรมทีด่ แี ละมีคณ ุ ภาพ เสริมสร าง และบูรณาการการใช เทคโนโลยีทด่ี ใี นการก อสร าง ผลงานชิน้ เด นของเขาได แก โบสถ Cardboard Cathedral ทีป่ ระเทศ นิวซีแลนด , อาคาร Centre Pompidou Metz ทีป่ ระเทศ ฝรัง่ เศส เขาเป นสถาปนิกชาวญีป่ น ุ คนที่ 2 ทีไ่ ด รบั รางวัลนี้ ต อจาก Toyo Ito ผูท ไ่ี ด รบั รางวัลนีเ้ มือ่ ป ทแ่ี ล ว ซึง่ เขาจะได รบั เงินรางวัล 100,000 ดอลล าร สหรัฐ ในงานวันที่ 13 มิ.ย.57 ที่ Rijksmuseum กรุงอัมสเตอร ดมั ส ประเทศเนเธอร แลนด Source: http://www.dezeen.com/2014/03/24/shigeru-ban-wins-pritzker-prize-2014

Toyo Ito ÃѺÃÒ§ÇÑÅ Thomas Jefferson Medalist in Architecture 2014

Toyo Ito สถาปนิกชาวญีป่ น ุ ได รบั คัดเลือกให ได รบั รางวัล Thomas Jefferson Medalist in Architecture ประจําป 2014 โดย University of Virginia ร วมกับ มูลนิธิ Thomas Jefferson Foundation การมอบรางวัลจะมีข้นึ ในทุกๆ ป ให กับสถาปนิกผู ออกแบบสถาป ตยกรรมที่โดดเด น ซึ่งป น้ีรางวัลตกเป นของ Toyo Ito เนือ่ งจากผลงานของเขามีความโดดเด น น าทึง่ ใช งานได จริง สามารถ สร างแรงบันดาลใจให กับผู คน อีกทั้งยังช วยให เราสามารถจินตนาการถึง ประสบการณ รปู แบบใหม ๆ ได Source: http://www.archdaily.com/487226/toyo-ito-awarded-2014-thomasjefferson-medal-in-architecture

22


ª‹Ò§ÀÒ¾ªÒÇÊÔ§¤â»Ã ¤ÇŒÒÃÒ§ÇÑÅ Sony Award Photography Awards 2014

ผลงานภาพถ ายอาคารทีอ่ ยูอ าศัย Jalan Bukit Ho Swee ในประเทศสิงคโปร ของช างภาพ Daniel Chia ได รบั รางวัล ทีส่ ามในประเภท National Award จากการประกวด Sony Award Photography Awards 2014 ซึง่ ภาพนีเ้ ป น 1 ใน 24 ภาพทีไ่ ด รางวัลจากการคัดเลือกภาพถ ายทัง้ หมดทัว่ โลกกว า 70,000 ภาพ Source: http://www.archdaily.com/488175/image-of-woh-hup-complex-wins-sony-world-photography-award

¼ÙŒ¡‹ÍμÑ駺ÃÔÉѷʶһ¹Ô¡ MAD ä´ŒÃѺÃÒ§ÇÑÅ Young Global Leader 2014

สถาปนิกชาวจีน Ma Yansong ผูก อ ตัง้ บริษทั สถาปนิก MAD ได รบั เลือกให ได รบั รางวัล Young Global Leader 2014 จาก World Economic Forum (WEF) รางวัลนีจ้ ะคัดสรรจากคนรุน ใหม หลากหลายอาชีพทัว่ โลก ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป น ผูน าํ ในองค กรระดับโลก อายุไม เกิน 40 ป มีแนวคิดทีจ่ ะทําให โลกน าอยู และให ความสําคัญกับงานด านสังคมและ สิง่ แวดล อม ในป นม้ี ผี น ู าํ ทีไ่ ด รบั การเสนอชือ่ 214 คน จาก 66 ประเทศ และ Yangsong ก็เป นสถาปนิกชาวจีนคนแรก ทีไ่ ด รบั เกียรติให ได รบั รางวัลนี้ Source: http://www.archdaily.com/486276/mad-s-ma-yansong-named-2014-young-global-leader

LuciteLux JUST IMAGINE Awards 2014

การประกวด LuciteLux® JUST IMAGINE Awards เป นการประกวดทีจ่ ดั ขึน้ โดยบริษทั Lucite International ผูจ าํ หน ายอะคริลกิ แบรนด LuciteLux® ทีเ่ ป นอะคริลกิ หลากสี มีความหนา แข็งแรงทนทาน ป องกันรอยขีดข วนและแสง UV โดยมีจดุ ประสงค การประกวดเพือ่ นําเสนอผล งานของบรรดาดีไซเนอร ทอ่ี อกแบบผลงานสร างสรรค ตา งๆ โดยการใช อะคริลกิ LuciteLux® คณะกรรมการจะตัดสินจากความโดดเด นและความคิดสร างสรรค ทง้ั ในส วนของโปรเจ็กต และ การประยุกต ใช อะคริลกิ ซึง่ ผลงานชนะเลิศเมือ่ ป ทแ่ี ล ว ได แก ผลงาน Light at Play ของ Yona Appletree สําหรับผูท ส่ี นใจสามารถส งผลงานเข าประกวดได จนถึงวันที่ 15 ก.ย. 57 หรือศึกษา รายละเอียดเพิม่ เติมได ท่ี www.lucitelux.com Source: http://design-milk.com/announcing-2014-lucitelux-just-imagine-awards http://www.youtube.com/watch?v=8fAbJL_h7Sw

23


¡ÒûÃСǴ Liget Budapest International Design Competition

The Museum of Fine Arts Budapest และ Varosliget Zrt. ประกาศเป ดรับสมัครผูเ ข าแข งขันทัว่ โลกในการออกแบบอาคารพิพธิ ภัณฑ 5 อาคาร ภายใต แนวความคิดของ Liget Budapest Project ทีจ่ ะถูกสร างขึน้ บริเวณ City Park Budapest อาคารดังกล าวได แก The New National Gallery, The Ludwig Museum - Museum of Contemporary Art, The Museum of Ethnography, The Hungarian Museum of Architecture & Fotomuzeum Budapest และ the House of Hungarian Music ผูเ ข าแข งขันสามารถเลือกออกแบบอาคารใดอาคารหนึง่ หรือออกแบบทัง้ หมด ก็ได ผูท ส่ี นใจสามารถส งผลงานเข าประกวดได ภายในวันที่ 27 พ.ค. 57 หรือผูท ส่ี นใจสามารถดู รายละเอียดเพิม่ เติมได ท่ี http://www.ligetbudapest.org/ Source: http://design-milk.com/announcing-2014-lucitelux-just-imagine-awards

¼ÙŒª¹ÐàÅÔÈ¡ÒûÃСǴ eVolo 2014 Skyscraper

นิตยสาร Evolo ผู จัดการแข งขันการออกแบบอาคารระฟ าครั้งที่ 9 ได ประกาศผลผู ชนะเลิศ eVolo 2014 Skyscraper แล ว ในป นม้ี ผี ส ู ง โปรเจ็กต เข าประกวด 525 โปรเจ็กต จากทัง้ หมด 43 ประเทศ โดยมีผช ู นะเลิศ 3 รางวัลดังนีค้ อื

รางวัลชนะเลิศ ได แก โปรเจ็กต ‘Vernacular Versatility’ ของ Yong Ju Lee จากประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ เป นการออกแบบอาคารระฟ าเพือ่ ใช เป นอาคาร Mixed-use ที่เน นโครงสร างสถาป ตยกรรมดั้งเดิมของเกาหลี

รางวัลที่สอง ได แก โปรเจ็กต ‘Car and Shell: or Marinetti’s Monster’ ของ Mark Talbot และ Daniel Markiewicz จากประเทศสหรัฐอเมริกา ที่เป นการนําเสนอเมืองบนท องฟ าในเมืองดีทร อยท รัฐมิชิแกน

รางวัลที่สาม ได แก โปรเจ็กต ‘Propagate Skyscraper’ ของ YuHao Liu และ Rui Wu จากประเทศแคนาดา ทีเ่ ป นออกแบบอาคารทีไ่ ด แรงบันดาลใจ จากโครงสร างคาร บอนไดออกไซด Source: http://www.archdaily.com/488822/evolo-2014-skyscrapercompetition-winners 24


120 HOURS ¡ÒûÃСǴ¼Å§Ò¹´ŒÒ¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁÊíÒËÃѺ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒ

120 HOURS เป นการประกวดผลงานด านสถาป ตยกรรมสําหรับนักเรียน นักศึกษาจากทัว่ ทุกมุมโลก ซึง่ ในป นโ้ี จทย กค็ อื การออกแบบ งานสถาป ตยกรรมแบบยัง่ ยืนสําหรับงานเทศกาลดนตรี Oya Music Festival ในประเทศนอร เวย ป นม้ี ผี ส ู ง ผลงานเข าประกวด 2,989 ชิน้ จาก 83 ประเทศ และผลงานทีไ่ ด รบั รางวัล ได แก

รางวั ล ชนะเลิ ศ ได แ ก ผลงาน Architecture ของ Antariksh Tandon และ Jennifer Tu Anh Phan โครง ยกพืน้ และเปลญวน ช วยสร างบรรยากาศทีผ่ อนคลายให กับงานเทศกาลดนตรี อีกทั้งยังทําให ผู คนที่มาร วมงาน ได ค นหาความหมายของ “การออกแบบที่ยั่งยืน” ด วย

รางวัลที่สอง ได แก ผลงาน Music Stars ของ Marco Ferrari แพลตฟอร มที่ยกสูงสร างทัศนียภาพใหม ให กับสังคมเมือง แต ในขณะเดียวกันก็ได แฝงไว ซึ่งการ ออกแบบที่ ยั่ ง ยื น โดยการแปลงพลั ง งานเสี ย งจาก เทศกาลดนตรีให เป นพลังงานที่ทําให ท องฟ าที่เต็มไป ด วยดวงดาว (ที่ประดิษฐ ขึ้น) สว างไสว

รางวัลที่สาม ได แก The Greenest Red Festival ของ Pawel Bussold, Lola Conte และ Horia Spirescu ทัศนียภาพสีแดงอาจจะทําให เกิดคําถามว ามันเกีย่ วข อง กับความยัง่ ยืนทีม่ าคูก บั สีเขียวอย างไร แต สดุ ท ายผูท มี่ า ร วมงานและผูอ ยูอ าศัยในเมืองจะเข าใจ เพราะอีกไม นาน สีแดงนัน้ จะค อยๆ จางหายไปและนําพาทุกคนร วมสัมผัส ประการณ ดนตรี Oya ครั้งนี้

Source: Image courtesy of Archdaily http://www.archdaily.com/487100/120-hours-competitionwinners-announced

25


เรื่อง: ปฏิทิน เวลา

ã¹Í¹Ò¤μà·¤â¹âÅÂÕÊÒÁÒöà»ÅÕè¹âÅ¡ä´Œ ´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕàËÅ‹Ò¹ÕéÊÒÁÒö·íÒãËŒà¡Ô´§Ò¹´Õ䫹 áÅСÒÃ㪌§Ò¹Í‹ҧ ·ÕèäÁ‹à¤Â໚¹ÁÒ¡‹Í¹ ÍÒ·Ô ËØ‹¹Â¹μ ¶‹Ò·íÒÀҾ¹μà à¤Ã×èͧ¾ÔÁ¾ 3D ÊíÒËÃѺÊÌҧà«ÅÅ ËÃ×Íà¤Ã×èͧÊÇÁãÊ‹ ÊíÒËÃѺ·Òá «Ö觹ÇÑμ¡ÃÃÁãËÁ‹æ ÁÑ¡à¡Ô´¢Ö¹é ä´ŒÍÂÙ‹àÊÁÍ áÅÐàÁ×èÍàÃçÇæ ¹Õé ä´ŒÁÕ¡ÒèѴ¡ÒûÃЪØÁ Bloomberg BusinessWeek’s Design Conference ¢Ö¹é 㹫ҹ¿ÃÒ¹«ÔÊâ¡ à¾×Íè ¹íÒàʹÍà·¤â¹âÅÂÕ·¨Õè Ðà¡Ô´¢Ö¹é ã¹Í¹Ò¤μáÅÐ ¨Ð໚¹Ê‹Ç¹ÊíÒ¤ÑÞ㹡ÒüÅÑ¡´Ñ¹Í¹Ò¤μ¢Í§¡ÒÃÍ͡Ẻμ‹Íä» ในขณะที่เทคโนโลยีเหล านี้จะนําแนวทางใหม ๆ สําหรับการออกแบบ โดยที่นักออกแบบจะเป นคนทําให โครงสร างและแพลตฟอร ม เหล านี้สร างประสบการณ อันล้ําค าให กับผู ใช งาน เช นเดียวกับที่ Timothy Morey ผู บริหารบริษัท Frong’s AVP of Innovation and Strategy ได กล าวว า “นักออกแบบจะต องเป นจุดเริม่ ต นของการเปลีย่ นแปลงนีเ้ พือ่ ทีเ่ ขาจะสามารถสร างสิง่ ทีม่ คี วามเป นมนุษย ขนึ้ มา” หากมีการสร างเครื่องจักรกลที่เป นประโยชน หรือการพัฒนาเครื่องพิมพ 3D ขึ้นมาในอนาคตก็อาจก อให เกิดการปฏิวัติอุสาหกรรม ใหม ครั้งต อไปได เช นกัน และนี่คือ 5 เทคโนโลยี ที่จะนําทางสําหรับนักออกแบบใช สร างสรรค ผลงานผลิตภัณฑ ทั้งหลายในอนาคต อันได แก

Sensor Tech

เทคโนโลยีเซ็นเซอร เซ็นเซอร ขนาดเล็กทีม่ รี าคาถูก จะกลายเป นสิง่ ทีฝ่ ง อยูใ น ทุกแห ง ทัง้ ในอุปกรณ ในสภาพแวดล อม หรือแม แต ในร างกาย ระบบเหล านี้ จะเต็มไปด วยข อมูลซึง่ จะเปลีย่ นวิธกี ารออกแบบผลิตภัณฑ และวิธกี ารสือ่ สาร ตอบโต ระหว างผูใ ช สอยและเครือ่ งมือนัน้ ๆ เซ็นเซอร ตามร างกายแบบนีจ้ ะมี การเปลีย่ นแปลงไปตามวิธกี ารใช งานด วยคอมพิวเตอร ซึง่ จะเปลีย่ นเป นส วน บุคคลมากขึน้ โดยอาจเป นเครือ่ งสวมใส หรือเป นส วนหนึง่ ของร างกายไปเลย ก็ว าได อย าง Jawbone ของ Hosain Rahman ซึ่งเขาได เคยกล าวไว ว า “ต อ ไปจะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น จากอิ น เตอร เ น็ ต ที่ เ ป น วั ต ถุ สู อินเตอร เน็ตที่เป นคุณแทน” การเชื่อมต อผลิตภัณฑ สําหรับร างกายใหม นี้ เพิ่ ง จะเริ่ ม ต น มาได ไ ม น าน โดยในการประชุ ม ที่ ซ านฟรานซิ ส โกครั้ ง นี้ นักออกแบบ Gadi Amit ได นาํ เสนอผลงาน ‘The Sproutling’ ซึง่ อุปกรณ ใน การจัดเก็บข อมูลของทารก โดยจะใช ตดิ ตามอัตราการเต นของหัวใจ อุณหภูมิ ของร างกาย และการขยับตัวของทารกด วย Source from www.gigaom.com Source Video: http://www.youtube.com/watch?v=bujDB258xxw

Robotics

เครื่องจักรกลจะกลายเป นส วนสําคัญในการเชื่อมต อระหว างอุปกรณ ขั้น พื้นฐานที่คุณเองก็อาจไม คาดคิดเอาไว เช น อุปกรณ อย าง Nest’s Smart thermostat หรือ รถยนต อเิ ล็คทริก ของ Lit Motors ทีม่ กี ารใช เครือ่ งจักรกล มาใช ในการบาลานซ ตัวยานพาหนะ และคอมพิวเตอร ควบคุมยานพาหนะ ซึง่ Danny Kim ผูก อ ตัง้ และ CTO ของบริษทั ได มานําเสนอภายในงานประชุม ครั้งนี้ด วย นอกจากนี้ในการถ ายทําภาพยนตร ยังได มีการนําเครื่องจักรกล IRIS มาติดตั้งเป นกล องหลักระหว างการถ ายทําสภาพแรงโน มถ วงอีกด วย โดยเป นการทํางานร วมกันของบริษัทผู ออกแบบเครื่องจักรกล Bot & Dolly และบริษัทออกแบบ Framestore ในการสร างเครื่องมือสําหรับถ ายทําฉาก ของนักบินอวกาศในภาพยนต ไร แรงโน มถ วงเหล านั้น Photo courtesy of Bot & Dolly Source Video: http://www.youtube.com/watch?v=VuWWlYLbxUo

26


3D Printing

การพิมพ 3 มิติ เป นระบบการพิมพ แบบ 3 มิติ ซึ่งก็มีอยู แล วและเป น ธุรกิจขนาดใหญ ที่กําลังเติบโต ด วยบริษัทอย าง Autodesk, Makerbot, Shapeway และบริษัทอื่นๆ ที่ขายฮาร ดแวร และซอฟต แวร การพิมพ 3D ต างก็เร งทําตลาดกันอยู แต ในอนาคตเครื่องมือเหล านี้จะมีราคาถูกลงและ สามารถเข าถึงได ง าย อีกทั้งคนทั่วไปสามารถกลายเป นนักประดิษฐ ได และ จะกลายเป นเครือ่ งมือทีส่ าํ คัญสําหรับนักออกแบบ จากในทีป่ ระชุมครัง้ นี้ Bre Pettis ผู บริหารซีอีโอของ Makerbot ได เป ดเผยถึงผลิตภัณฑ ชิ้นล าสุดของ บริษทั ‘Replicator’ ทีม่ ลี กั ษณะคล ายกับมือถือสมาร ทโฟน ทีม่ กี ารเชือ่ มต อ และระบบคอมพิวเตอร ในตัว ด วยเทคโนโลยีการเชื่อมต อและการพิมพ แบบ 3D ที่มารวมกันไว ในเครื่องเดียว จะทําให การผลิตสามารถกลายเป นที่แพร หลายและเป นที่นิยมส วนใหญ ในอนาคตได Photo courtesy of MakerBot Source Video: http://www.youtube.com/watch?v=3o6pcbhylmQ

Synthetic Biology

ชีววิทยาสังเคราะห ต อไปการออกแบบจะไม ใช แค เครื่องมือสําหรับวัสดุและ โลกดิจิตอล แต สามารถกลายเป นสิง่ สําคัญของโลกชีวภาพได นักชีววิทยา ทางโมเลกุลของ Autodesk ชื่อ Andrew Hessel ได ท าให นักออกแบบและ นักประดิษฐ ทํางานกับนักวิทยาศาสตร วิศวกรรมในการเขียนโปรแกรมใหม ของสสาร ซึง่ สามารถสร างสิง่ ใหม ขนึ้ มาได แม แต การพิมพ เซลล ใหม และบาง ส วนของไวรัส โดย Hessel ได แสดงให เห็นว ามีสองสิง่ ทีเ่ ริม่ ต นในการทํางาน ในการพิมพ ด วยหลักชีววิทยา อย าง Gen9 และ Organovo

Crowd-funding

ต อไปในอนาคตลักษณะของการระดมทุนจะเปลีย่ นรูปแบบของวิถศี ลิ ปะ ภาพยนตร และผลิตภัณฑ ที่ถูกสร างขึ้น และยังเปลี่ยนแปลงวิถีของการสร างสรรค ผลงานการออกแบบของนักออกแบบ อีกด วย รวมทั้งยังนําเสนอการค นหาแนวทางใหม ๆ ยกตัวอย างเช น James Ramsey ประธาน ของ RAAD และผู สร าง Lowline Project (สวนใต ดินแห งแรกของโลก) ก็ได ให Kickstarter ซึ่งเป น Crowd Funding Site ช วยในการหาผู ที่สนใจ ร วมลงทุนและสนับสนุนไอเดีย รวมทั้ง ยังหาเงินลงทุนสร างแนวคิดต นแบบของ Lowline Project ขึ้นมา หรืออย าง Lit Motors ก็ได มีการทดสอบแนวคิดต นแบบบน Kickstarter ด วยเช นกัน ด วยเทคโนโลยีทั้งหลายที่ล้ําหน าไปอย างรวดเร็ว สิ่งที่เราไม เคยคิดว าจะเป นจริงไปได ก็สามารถเกิดขึ้นได หากในอนาคตข างหน า เราอาจเข าไปในโลกแบบแมตทริกซ กันก็อาจเป นไปได ไม ยาก

27


เรื่อง: ณัฐธยาน รุ งรุจิไพศาล ภาพ: กัณฑ ตนนท สุรัชต วิรากูล

¤Ø³ÈØÀ¡Ô¨ ÃÇÕÍËÒÁÇ§È áÅФس¹ØªÔμ ¹Ò¤à¾çªÃ ¾ÙÅ

28


áÁŒ μ ÅÒ´ÍÊÑ § ËÒÃÔ Á ·ÃÑ ¾  㠹»˜ ¨ ¨Ø ºÑ ¹ ¨ÐÃŒ Í ¹áçà¾Õ  §ã´ àÃÒ¡ç ÂÑ § ¤§àËç ¹ àËÅ‹ Ò ¹Ñ ¡ ¾Ñ ² ¹Ò ÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ ½ÕÁ×Í´ÕÃÒÂãËÁ‹æ ÍÂÙ‹àÊÁÍ Ë¹Öè§ã¹¹Ñ¡¾Ñ²¹Ò·Õ蹋ҨѺμÒÁͧ ¤§äÁ‹á¾ŒÊͧ˹؋Á ÍÒÃÁ³ ´ÕáË‹§ºÃÔÉÑ· ÊÌҧ´Õ ´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨íÒ¡Ñ´ áÅÐ ºÃÔÉÑ· ´Ô àÍÊàμ· ´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨íÒ¡Ñ´ ¤Ø³ÈØÀ¡Ô¨ ÃÇÕÍËÒÁÇ§È ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà áÅÐ ¤Ø³¹ØªÔμ ¹Ò¤à¾çªÃ ¾ÙÅ Ãͧ¡ÃÃÁ¡Òà ¼Ù¨Œ ´Ñ ¡Òà Çѹ¹ÕÊé ͧ˹ØÁ‹ ¹Ñ¡¾Ñ²¹ÒÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ ä¿áÃ§ä´Œà»´Ô âÍ¡ÒÊãËŒ¾Ç¡àÃÒ䴌èٌ ¡Ñ ¡ÑººÃÔÉ·Ñ Ï ÁÒ¡¢Öé¹ ด วยจุดเริ่มต นจากการเป นโบรคเกอร หรือนายหน าในวงการอสังหาริมทรัพย “ชั่วคราว” ในระหว างที่ทํางานประจํา ภายหลังก าวออกจากรัว้ เศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ทัง้ คุณศุภกิจและคุณนุชติ ค อยๆ ซึมซับและเรียนรู การเป นโบรคเกอร จากประสบการณ การทํางาน “เราเริ่มจากการที่คนรู จักอยากซื้อขายที่ จนเกิดเป นความสงสัยว า เวลาคนซื้อที่มาแปลงหนึ่ง เขาเอาไปพัฒนาอะไรต อ ทําไมจึงซื้อตรงนี้ เราก็เลยถามเขาไปเรื่อย และเราก็ค อยๆ เรียนรู สะสมความคิดของคนเหล านั้นมา ในตอนที่เป นโบรคเกอร เราก็ทําบริการค อนข างจะเต็มรูปแบบคือ พอสร างความพอใจระหว างผู ซื้อกับผู ขายได แล ว เราก็จัดการทุกอย างให ลูกค า ไม ว าจะเป นเรื่องกฎหมายหรือที่ดิน ลูกค าเพียงแค พาตัวมานั่งเซ็นต เป นอันจบ” จนกระทั่งมีลูกค าที่จะมาซื้อที่รายหนึ่งพูดคุยกับคุณศุภกิจและ คุณนุชิตจนถูกคอ จึงได ชักชวนมาร วมลงทุนด วย “ในตอนนั้นเราสองคนมีโครงการที่อยากจะทําไว ในใจอยู แล ว จึงเริม่ ศึกษาอย างหนักว าโครงการต องลงทุนอะไร อย างไรบ าง แต ปรากฏว าพอเราคิดกันเสร็จ ทางนัน้ กลับเปลีย่ นใจ ไม ลงทุน แต เราสองคนยังไม อยากหยุด เราจึงหาเพื่อนร วมทุนใหม แทน จนในที่สุดก็เกิดเป นโครงการแรกขึ้นมา” แบรนด ไลบรารี่ เฮ าซ เกิดจากการจดเป นบริษัท สร างดี ดีเวลลอปเมนท จํากัด โครงการแรกเป นโครงการอาคาร พาณิชย ในช วงต นป พ.ศ.2555 โดยหลักการในการพัฒนาที่ดินของบริษัท ทั้งคุณศุภกิจและคุณนุชิตได กล าวว า “เราดูทาํ เลเป นหลัก เราไม เน นว าจะทําแค อาคารพาณิชย เพียงอย างเดียว” ภายหลังโครงการอาคารพาณิชย สองแห ง แรกเสร็จสมบูรณ ซึง่ ก็ได ผลลัพธ ออกมาประสบความสําเร็จเป นอย างดี บริษทั จึงเริม่ โครงการคอนโด ไลบรารี่ เฮ าซ ขึ้นในย านประชาอุทิศ “เราถนัดพื้นที่แถวนี้มาก เพราะเราก็อาศัยอยู แถวนี้ เราเลยเข าใจคนซื้อและวิถีชีวิตของคน แถวนี้ ในตอนแรกเราตั้งใจจะทําโครงการอาคารพาณิชย เหมือนเดิม แต เมื่อลองคิดคํานวณความเป นไปได แล ว ไม คมุ ประกอบกับทําเลแถวนีเ้ หมาะในการทําคอนโด เพราะใกล มหาวิทยาลัย และห องเช ายังขาดอีกเยอะ พูดง ายๆ คือ ดีมานด ยังเยอะ แต ไม มีซัพพลาย เราเลยตัดสินใจทําคอนโดแทน” คุณศุภกิจกล าว คุณนุชติ ยังกล าวอีกว า “แม วา เราจะเป นบริษทั ใหม แต เราก็มที ปี่ รึกษาอาวุโสค อนข างเยอะ ไม วา จะเป นด านการตลาด ด านกฎหมาย และเรายังมีพาร ทเนอร ที่ดีที่ไว ใจได ทั้งทีมสถาปนิก ทีมการตลาด ที่ปรึกษา รวมไปถึงผู รับเหมา” ทัง้ คุณศุภกิจและคุณนุชติ จึงมัน่ ใจว า บริษทั จะสามารถผ านยอดหนึง่ พันล านภายในสามป ขา งหน าได เนือ่ งจากตอนนี้ ทางบริษทั ก็ได พยายามผลักดันให เกิดโครงการใหม ๆ ทุกป อย างไรก็ตามทางบริษทั ไม เน นการทําโครงการในปริมาณ มาก แต มองศักยภาพของตัวบริษัทเองเป นอันดับแรกก อน คุณศุภกิจกล าวว า “อย างในตอนนี้เรามีโครงการ คอนโดอยูก จ็ ริง แต เราก็ได ทาํ โครงการอาคารพาณิชย ควบคูไ ปด วย เพราะเป นตลาดพืน้ ฐานทีเ่ ราถนัดและทําได งา ย”

29


นอกจากนี้เมื่อกล าวถึงความยากหรืออุปสรรคในการ ทํ า งาน คุ ณ นุ ชิ ต ได ก ล า วว า “จริ ง ๆ ตอนโครงการ ขึ้นแล ว ไม มีอะไรเลย แต ก อนขึ้นโครงการนี่สิ 50% ของการทําโครงการอยู ที่ขั้นตอนของการเตรียมงาน ทั้งหมด เราและทีมงานเตรียมงานกันหามรุ งหามค่ํา โดยเฉพาะการหาที่ ไม ใ ช ว า เราหาที่ ไ ด ดี แล ว เรา จะทํ า อะไรก็ ไ ด เราต อ งมองด ว ยว า โครงการที่ จ ะทํ า เหมาะกั บ กลุ ม เป า หมายในพื้ น ที่ บ ริ เ วณนั้ น หรื อ ไม ” ทางบริษัทไม ได มองเพียงแค จะขายสินค าเพียงอย าง เดี ย วแต ยั ง มองไปถึ ง การใช ง านจริ ง ของผู อ ยู อ าศั ย ด วย คุณศุภกิจได ยกตัวอย างโครงการอาคารพาณิชย วา แม ว าจะเป นอาคารพาณิชย แต ต องมีผู มาอาศัยอยู จริง ไม ทงิ้ ร าง ดังนัน้ ทําเลจะต องเป นจุดศูนย กลางของพืน้ ที่ หรือถนนเส นนัน้ ๆ โดยในแต ละพืน้ ทีก่ แ็ ตกต างกันออกไป

และพัฒนาเพื่อเอื้อกับผู อยู อาศัยจริงมากกว า อีกทั้งยัง เป นการสร างความน าเชื่อถือให กับลูกค าว าโครงการจะ ขายได การสร างแบรนด และความน าเชื่อถือเป นป จจัย สําคัญของบริษัทใหม ๆ ในขณะที่โครงการในอนาคตก็มี ความเป นไปได ตั้งแต โครงการบ านเดี่ยว ไปจนถึง บูทิค โฮเทล เนื่องจากทั้งคุณศุภกิจและคุณนุชิตมีความสนใจ ค อนข างหลากหลาย

เมื่ อ พู ด ถึ ง เรื่ อ งเขตเศรษฐกิ จ เสรี อ าเซี ย นที่ จ ะเริ่ ม ขึ้ น ในป ห น า คุ ณ นุ ชิ ต กล า วว า “แน น อนว า การแข ง ขั น น าจะสูงขึ้น แต ข อดีก็มีเพราะเราเป นองค กรเล็ก เราจึง สามารถปรับตัวได งา ย แม เราจะเสียเปรียบโครงการใหญ ในด านการลงทุน แต การปรับแผนของบริษัทจะง ายกว า บริษัทใหญ อยู แล ว” สุดท ายสองผู บริหารหนุ มได ฝากให คอยจับตามอง บริษทั สร างดี ดีเวลลอปเมนท จํากัด และ ด า นการทํ า การตลาด บริ ษั ท มี จุ ด ยื น และคอนเซ็ ป ต บริษัท ดิ เอสเตท ดีเวลลอปเมนท จํากัด ให ดีเพราะ ที่ชัดเจน มีเรื่องราว ในทุกๆ โครงการ โดยคุณนุชิตได เร็วๆ นีจ้ ะมีโครงการใหม ๆ ด วยแนวความคิดทีแ่ ตกต าง ยกตัวอย างโครงการคอนโด ไลบรารี่ เฮ าซ ว า เนื่องจาก ป อนสู ตลาดอย างแน นอน คอนโดอยู ใกล มหาวิทยาลัย ดังนั้น กลุ มเป าหมายหลัก ต องเป นนักศึกษาที่ต องการที่สงบเงียบเป นส วนตัวไว ใช อา นหนังสือหรือติวหนังสือได เน นความเป นส วนตัวสูง แม ผู ซื้ อ ตั ว จริ ง จะเป น เหล า นั ก ลงทุ น ที่ ซื้ อ เพื่ อ เก็ ง กําไรไว ให เช าก็ตาม แต ผู อยู อาศัยจริงเป นนักศึกษา เสียเป นส วนใหญ ดังนั้น บริษัทจึงมุ งเน นการออกแบบ

30



เรื่องชาวบ าน: ศ.ดร.บัณฑิต จุลาสัย

ผมชอบใจที่ Sarah Williams Goldhagen วิจารณ งานออกแบบ ส วนขยายหอศิลป Kimbell ที่เพิ่งสร างเสร็จที่เมือง Fort Worth ว าเป นเสมือนคําพูดที่อ อนหวานของสถาปนิก ด วยหอศิลป หลัง เก านั้นเป นผลงานชั้นครู ฝ มือของ Louis Kahn ที่สร างไว เมื่อป 1972 ที่มีรูปแบบสถาป ตยกรรมสมัยใหม หรือนวยุคกระแสแรง ในเวลานั้น อาคารรูปสี่เหลี่ยม เรียบง าย ผังอาคารตรงไปตรงมา พื้นที่แสดง งานศิลปะที่เป นโถงใหญ โล ง คลุมด วยโครงสร างคอนกรีตช วง กว างแบบโค งประทุน ภายในเป ดโล งจะให เห็นความงามของ โครงหลังคา จากภายนอกจะเห็นเป นอาคารชั้นเดียว เพราะส วน อื่นๆ ของอาคารที่ซ อนอยู ใต ดิน เป นอาคารที่อ อนน อมถ อมตน และเคารพสภาพแวดล อม ครั้นกิจการหอศิลป เจริญก าวหน า จําเป นต องขยับขยายพื้นที่ เคยมีสถาปนิกเสนอรูปแบบอาคารมาแล วมากมาย ทั้งรูปทรง ทันสมัยล้าํ ยุค ทัง้ ลอกแบบรูปทรงเดิม แต กโ็ ดนวิจารณ และบรรดา สถาปนิกชั้นนําคัดค าน กว าจะมาเป นภาระรับผิดชอบของ Renzo Piano สถาปนิ ก ที่ ภั ณ ฑารั ก ษ ทั่ ว โลกชื่ น ชอบและชื่ น ชมด ว ย รูปแบบอาคารที่มุ งเน นไปที่พื้นที่สําหรับแสดงผลงานมากกว า อวดโอ รูปทรงให โดดเด น คงต องโทษพ อแม สมัยนี้ ที่พยายามยัดเยียดความโด งดัง โดดเด นให กับลูก มุ งมั่น ส งเรียนดนตรี เต นระบํา คํานวณเลข ฝ กภาษาทีส่ องทีส่ าม บีบบังคับให กล าแสดงออก อาคารส วนขยายฝ มือของ Renzo Piano จึงไม ได สร างประชิดติด ส งไปเป นยุวทูตแฟนต า ส งประกวดเดอะวอยซ คิดส ดันดารา (เด็ก) นางนพมาศจิ๋ว กับอาคารเดิม หากอยู ห างออกไปไกลกว า 50 เมตร แม ว าจะมี โดยเฉพาะดรัมเมเยอร โรงเรียนอนุบาล ความต องการพื้นที่ใช สอยมากและหลากหลาย ทั้งโถงแสดงงาน ห องประชุม 300 ที่นั่ง ที่จอดรถ และส วนบริการอื่นๆ รวมแล ว ส งผลให เด็กกล าแสดงออกจนเกินงาม ชอบทําตัวโดดเด นให เป นทีส่ นใจ มุง มัน่ จะเป น สามหมืน่ ตารางเมตร สถาปนิกก็เลือกทีจ่ ะอ อนน อมถ อมตน และคง ที่หนึ่งหรืออยู แถวหน า โดยไม คํานึงหรือเคารพเพื่อนที่อยู ข างๆ จนกลายเป นปมเด น ความสูงอาคารหลังใหม ให ใกล เคียงกับอาคารเดิม ทั้งหอประชุม หรือปมด อยติดตัวเมื่อเติบใหญ ส งผลให เด็กวัยรุ นหลายคนยังติดอยู กับบรรยากาศ และลานจอดรถ จึงกดลึกลงไป เดิมๆ พูดเสียงดัง ใช คําหยาบ ตะโกนโหวกเหวก เรียกร องความสนใจ ไม คิดคํานึง ถึงผู อื่น ไม ใยดีกับผู คนรอบข าง สําหรับโถงแสดงงานที่เป นการใช สอยหลักยังคงแนวคิดเดิม คือ เป นโครงสร างช วงกว างที่ยาวถึง 30 เมตร โดยปรับเปลี่ยนวัสดุ ส งผลให สถาปนิกรุ นใหม หลายคน มุ งเน นสร างความแปลกใหม และแปลกแยก สร าง และใช เทคโนโลยีสมัยใหม เป นคานคอนกรีตอัดแรง มุงหลังคา ความโดดเด นโดยการข มอาคารข างเคียง แสดงความกล าท าทายที่มักจะพังทลาย ด วยแผ นกระจกฝ า จะได รับแสงธรรมชาติ ผนังเป นหินอ อนขาว กลายเป นความคิดสร างสรรค ที่ทําลายสภาพแวดล อมอย างที่เห็นและเป นอยู ท่วั ไป จากอิตาลี ส วนพืน้ เป นไม โอ คสีออ น ภายในอาคารจึงสว างไสวตาม ธรรมชาติและวัสดุธรรมชาติ จึงดูเหมือนว าอาคารใหม ทเี่ รียบง าย นัน้ ตอบรับกับอาคารเดิม เหมือนกับว าอาคารทัง้ สองหลังกําลังคุย กันค อยๆ หวานๆ สถาปนิก Renzo Piano ย้ําว าการออกแบบครั้งนี้ มุ งไปที่การ แสดงความเคารพ RESPECT งานสถาป ตยกรรมชั้นครู อาคาร ใหม ที่เคารพอาคารเก า (สถาปนิก) รุ นน อง เคารพ (สถาปนิก) รุ นพี่ จึงกลายเป นคําพูดที่อ อนหวาน เกิดบรรยากาศแห งความ เอื้ออาทรและสมานฉันท

32



เรื่อง: วสันต คงจันทร กรรมการผู จัดการ บจก.โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ คอนซัลแตนท www.m-property.co.th

ตลาดอสังหาริมทรัพย ยังมีป จจัยลบจากการขาดแคลนแรงงานอย างมาก ในป จจุบัน รวมทั้งป จจัยวัสดุก อสร างปรับตัวสูงขึ้น อันส งผลต อต นทุน ในการก อสร างที่สูงขึ้นอย างมากในธุรกิจอสังหาริมทรัพย ป จจุบัน ป ญหา ขาดแคลนแรงงานกําลังกลายเป นวิกฤตป ญหาระดับชาติ โดยเฉพาะในธุรกิจ อสังหาริมทรัพย การขาดแคลนแรงงานสะท อนออกมาจากตัวเลขการ จดทะเบียนทีอ่ ยูอ าศัยใหม ตง้ั แต ชว งต นป ทผ่ี า นมาลดลงอย างเห็นได ชดั เป นผล มาจากการขาดแคลนแรงงาน การก อสร างล าช าไม แล วเสร็จตามกําหนดเวลา

กระทรวงแรงงานจึงได พยายามแก ป ญหาโดยลงนาม บันทึกความเข าใจ (เอ็มโอยู) ร วมกับ 3 ประเทศ ได แก ลาว พม า กัมพูชา เพื่อนําเข าแรงงานอย างถูกกฎหมาย แต ก็ มี ข อ จํ า กั ด เนื่ อ งจากรั ฐ บาลลาวและกั ม พู ช าไม สนับสนุนให แรงงานออกนอกประเทศ ดังนั้น แรงงาน ที่นําเข าหลักๆ จึงมาจากพม า แต การที่มีแรงงานจาก ประเทศใดประเทศหนึ่ ง เข า มามากก็ จ ะส ง ผลลบต อ ประเทศ ซึ่งจะต องสร างสมดุลด านแรงงานให เกิดขึ้น ป ญหาการแย งตัวแรงงานโดยเฉพาะแรงงานต างด าวทีไ่ ม ได ขนึ้ ทะเบียนจาก ไม ใช แรงงานจากประเทศใดประเทศหนึ่งมากเกินไป ไซต งานหนึ่งไปยังอีกไซต งานหนึ่ง เพราะมีการเสนอค าจ างที่สูงกว า อีกทั้ง การเคลื่อนย ายแรงงานในภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย หรือรับเหมาก อสร าง จากการเปลี่ยนแปลงดัชนีวัสดุก อสร างรายป จากสํานัก จะได รับผลกระทบมากสุด เพราะต องมีการเคลื่อนย ายแรงงานไปยังพื้นที่ ดัชนีเศรษฐกิจการค า กระทรวงพาณิชย ทําให พบได ว า ก อสร าง แต การเคลื่อนย ายก็ไม คล องตัว เพราะมีข อจํากัดเรื่องการจํากัด มีการปรับตัวสูงขึ้นมาตั้งแต ป 2548 และในต นป 2557 พื้นที่ของแรงงาน (ข ามเขตไม ได ) วัสดุก อสร างไม ว าจะเป นไม ซีเมนต คอนกรีต เหล็ก วัสดุกระเบื้อง ไฟฟ าประปา หรือสุขภัณฑ ต างก็ปรับขึ้น นอกจากนี้ ไม เฉพาะแต แรงงานไร ฝ มือเท านั้นที่ขาดแคลน โฟร แมนหรือ ราคาอย างต อเนื่อง วัสดุที่มีการปรับตัวสูงขึ้นอย างมาก หัวหน าช างก็ขาดแคลนด วย ต องจ างวิศวกรมาทํางานด านโฟร แมน ทําให ได แก หมวดสุขภัณฑ หมวดไม และหมวดวัสดุก อสร าง ต นทุนสูงขึ้น รวมถึงแรงงานที่มีฝ มือ อย างช างตอกเสาเข็ม ช างปูกระเบื้อง อื่นๆ นอกจากนี้ต นทุนราคาน้ํามัน อันเป นต นทุนสําคัญ ทาสี ฉาบปูน ก็ประสบป ญหาขาดแคลนเช นกัน ป ญหาขาดแคลนผู รับเหมา ของภาคอสังหาริมทรัพย ก็ยังส งผลกระทบมาซ้ําอีก ก็เป นป ญหาสําคัญ ป จจุบันในการเป ดประมูลงานเพื่อคัดเลือกผู รับเหมาใน การก อสร างนั้นพบว ามีผู รับเหมามาเสนองานน อยราย

อย างไรก็ตาม ผู พัฒนาโครงการพยายามปรับตัวด วยการนําระบบก อสร าง กึง่ สําเร็จรูปมาใช แต กม็ ปี ญ หาเรือ่ งการยอมรับของตลาด เนือ่ งจากคุณภาพ งานมีปญ หาจากรอยต อชิน้ ส วนต างๆ ทีม่ กี รณีนา้ํ รัว่ ซึมได เนือ่ งจากไทยเป น เมืองร อนชื้นฝนตกมากกว าแถบยุโรปเจ าของเทคโนโลยีต นแบบ อนึ่ง ป จจุบันมีจํานวนผู ขึ้นทะเบียนแรงงานต างด าวที่ถูกต องตามกฎหมาย 1.3 ล านคน จากการสํารวจความต องการใช แรงงานต างด าวอย างไม เป น ทางการพบว า ผู ประกอบการยังมีความต องการใช แรงงานต างด าวเพิ่มอีก 2.1 ล านกว าคน มีแรงงานต างด าวทีข่ นึ้ ทะเบียนแล วเพียง 5 แสนคน ยังเหลือ ความต องการแรงงานอีกกว า 1.5-1.6 ล านคน

34


แผนภูมิสถิติราคาน้ํามัน ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (http://www.eppo.go.th/info/8prices_stat.htm)

แนวโน มราคาน้ํามันยังคงมีทิศทางปรับตัวเพิ่มขึ้น อันเป นป จจัยลบสําคัญต อธุรกิจอสังหาริมทรัพย ผนวกกับการ ขาดแคลนแรงงาน การขาดแคลนผูร บั เหมา เนือ่ งจากป จจัยด านต นทุนเป นอุปสรรคทีส่ าํ คัญในการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย ในยุคป จจุบัน

แผนภูมิดัชนีวัสดุก อสร างเฉลี่ยรายป ที่มา: สํานักดัชนีเศรษฐกิจการค า กระทรวงพาณิชย (http://www.indexpr.moc.go.th/price_present/csi/stat/other/conyear.asp) 35


สุดท าย ข อพิจารณาสําคัญสําหรับตลาดอสังหาริมทรัพย ในอนาคต คือ ป จจัยด านมหภาคอันอาจส งผลลบต อตลาดอสังหาริมทรัพย ได อย าง มาก แม จะมีฟองสบู จากการเก็งกําไรในตลาดอยู บ างแต สัดส วนยังน อย ดังกล าวแล ว แต ตลาดอสังหาริมทรัพย ซึ่งมีแปรผันตรงกับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจก็อาจมีปญ หาได ในระยะเวลาอันสัน้ หากมีการหดตัวทางเศรษฐกิจ อย า งรุ น แรงหรื อ เกิ ด ภาวะเศรษฐกิ จ ตกต่ํ า ในอนาคต เนื่ อ งจากตลาด อสังหาริมทรัพย ในยุคข อมูลข าวสาร มีกระแสการเปลี่ยนแปลงอย างรวดเร็ว การซือ้ อสังหาริมทรัพย จากกลุม นักลงทุนจะออกจากตลาดอย างรวดเร็วหาก มีทิศทางสถานการณ ที่ไม ดี ในขณะที่กําลังซื้อเพื่อการอยู อาศัยจริง (Real Demand) ก็อาจตัดสินใจชะลอการซื้ออสังหาริมทรัพย หากสถานการณ ทาง เศรษฐกิจชะลอตัวลง เนื่องจากส งผลต อความเชื่อมั่น ผนวกกับหนี้สินครัว เรือนที่สูงขึ้นมาก ส งผลต อการจับจ ายใช สอยในป จจุบัน นอกจากนี้ เนื่องด วยธรรมชาติของตลาดอสังหาริมทรัพย ในประเทศไทย กลุม ผูซ อ้ื ส วนใหญ ตอ งใช เงินกูจ ากสถาบันการเงิน หากเศรษฐกิจมีปญ หา รายได ลดลงหรือหากไม มีงานทํา กลุ มผู ที่ซื้ออสังหาริมทรัพย ในช วงหลายป ที่ ผ านมาคาดว าจะประสบป ญหาการผิดนัดชําระเงินกู ดังกล าวแล ว ดังนั้น ทิศทางตลาดอสังหาริมทรัพย จึงมีความสัมพันธ โดยตรงต อทิศทาง เศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งยังต องพึ่งพาเศรษฐกิจโลก ที่ทิศทางการส งออก มีแนวโน มชะลอตัวอย างต อเนื่อง (โดยเฉพาะอเมริกัน ยุโรป ญี่ปุ น ที่ยัง ไม ดีขึ้น ส วนจีนเริ่มมีทิศทางชะลอลงอีก) ส วนภาคการบริโภคในประเทศ ซบเซาลง ด านการใช จ ายของภาครัฐในโครงการน้ํา 3.5 แสนล านบาท และ โครงการเงินกู 2.2 ล านล าน ยังมีความไม แน นอน ป ญหาทางการเมืองที่ ยังคงมีสถานการณ ความขัดแย งอยู ต อไป คงเหลือเพียงภาคการท องเที่ยว ที่ยังมีการขยายตัว

36


AD .pdf

1

2/20/14

9:09 PM


เรื่อง: รศ.มานพ พงศทัต

ขณะนีข้ า วเรือ่ งกูเ งิน 2.2 ล านล านบาท ของรัฐบาลทีไ่ ม ผา นศาลรัฐธรรมนูญมีผลกระทบมาก โครงการทัง้ หลายโดยเฉพาะรถไฟคู- รถไฟ ความเร็วสูง-รถไฟหัวจรวด รวมทั้งระบบขนส งมวลชนถูกชะลอไปโดยปริยาย คาดกันว าขนส งมวลชน ในกรุงเทพฯ 10 สาย จะเหลือ แค 2-3 สาย ที่เหลือก็เข างบประมาณปกติ-กู ประจําป จากกําหนดเดิมที่ต องใช เวลา 7 ป คงจะกลายเป นสัก 21 ป เพิ่มขึ้น 3 เท า ซึ่งเดิมก็จะล าช าอยู แล ว ด วย พรบ. ลงทุน 1,000 ล านบาท รัฐบาลหมายมั่นจะใช เป นกฎหมายรวบอํานาจ ให นายกได ตัดสินใจเองว า อะไรร วมได อะไรจะได รับยกเว น ผลกระทบกับอสังหาฯ ก็คอื ความหวังทีค่ าดกันไว หมดลง ทัง้ การพัฒนารอบสถานีรถไฟ ทัง้ มวลชน และรถไฟต างจังหวัด รวมทัง้ สถานี หัวจรวด ซึง่ จะเป นจุดการลงทุนกระตุน เศรษฐกิจ เมือ่ ผลของศาลออกมาก็จะเกิดผลกระทบรุนแรงจากนักลงทุนเก็งกําไร ทัง้ นักการเมือง ท องถิน่ และนักลงทุนจากส วนกลาง “ทีซ่ อื้ ทีไ่ ว เก็งกําไร” ทีว่ างมัดจําไว คงจะต องมีปญ หาขาดทุนการเก็งกําไร ผลก็คอื แล ว “ราคาที่ดนิ จะลดลงไหม” 2-3 ป ผ านมา ในบางจังหวัด ที่ดินเขตในเมืองและจุดที่สําคัญ ราคาแพงขึ้น 2-3 เท า ทั้งรอบสถานีในอนาคต และเมือง ชายแดนแถบอีสานที่ต อเชื่อมกับเพื่อนบ านต างประเทศที่มีสะพานข ามแม น้ําโขง 3-4 แห ง ตั้งแต หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และ ที่เชียงแสน รวมทั้งชายแดนพม าติดเชียงราย แม สอด แม สาย เป นต น ที่เก็งกําไรกันสนุก คําถามคือ ต อไปราคาที่ดินจะแพงหรือถูก ทฤษฎีราคาที่ดินอธิบายว า “ราคาที่ดินที่แท จริง” คือ ราคาที่ผู ซื้อผู ขายพอใจ และการรับรู และเข าถึงข อมูลทีเ่ ท ากัน หมายถึงเมือ่ ผูข ายจะขายก็จะต องรูว า รถไฟ และสถานีจะมาไหม ผังเมืองรวมกําหนดเป นสีอะไร ทําอะไรได บา ง จะมีการเวนคืนไหม จะมีถนนตัดใหม หรือไม ผูซ อื้ ก็จะต องรูข อ มูลและราคาทีต่ กลงกัน ซึง่ เรียกว า “ราคาตลาด หรือ Marketing Price” ราคาตัวยืนก็มี คือ “ราคาที่รัฐบาลประเมินเพื่อเสียภาษี” เดิมประมูลเป นรายบล็อก ป จจุบันเริ่มประเมินรายแปลง โดยเฉพาะเมือง ชั้นใน ราคาประเมินนี้ไม ถือว าเป นราคาตลาด แต กฎหมายการประเมินก็ให อ างอิงราคาตลาดไว เป นราคาไม ยืดหยุ น ประเมินไว แล ว ใช ตลอด 5 ป และยังมีอีก 2 ราคาที่เป นราคาปลีกย อย คือ “ราคาที่ผู ขายอยากจะได แต อาจจะแพงจนเกินไป ซื้อไปแล วทําอะไรไม คุ ม หรือผู ซื้ออยากจะซื้อ ก็กดราคาจนต่ํากว าราคาประเมิน หรือเป นราคาขายที่ผู ขายอยากจะขายทิ้ง เพราะทะเลาะกันจะเอาเงินไปแบ ง สมบัติ ก็อาจจะต่ําเป นพิเศษ ราคาที่ปรากฏอยู ในหน าหนังสือพิมพ ที่มีค ายประเมินให ข อมูลว า เขตชั้นใน ตารางวาละ 1.5 ล าน หรือ 2 ล านต อตารางวา อาจจะ เป นราคาเพียงพื้นที่เล็กๆ ที่ผู ซื้อจําต องซื้อเพื่อเป ดทางเข า เพื่อแต งแปลงให สวย เพื่อเป ดถนนกว างให สร างเป นอาคารใหญ ได ราคา พวกนีม้ ใิ ช เป นราคาตลาดแต เป นราคาเฉพาะกิจเฉพาะเรือ่ ง นํามาอ างอิงเป นราคากลางไม ได ในประเทศทีเ่ จริญแล วการซือ้ ขายจะต อง บันทึกถึงราคาและเวลาซื้อขาย การติดจํานองจํานําในโฉนด ก็จะสามารถนําราคาที่ซื้อขายมาประเมินเป นราคากลางได แต ถ าใครจะ ร วมมือกันบันทึกราคาที่อยากจะเสียภาษีน อย ก็จะมีภาษีอีกประเภท เรียกว า “Capital Gain Tax” คือ ขายเมื่อไร ถ าราคาขายสูงมาก เมื่อเทียบกับราคาที่ซื้อในเวลาอันสั้น จะเสียภาษีมูลค าเพิ่มจากผลต างอีกครั้ง เพื่อกําราบผู เก็งกําไรว าต องคืนผลเก็งกําไรต อสังคม เวลาจะเก็งกําไรจะได ไม คิดแต ข างเดียว จนทําให ราคาที่ดินแพงกว าเหตุ และไม สามารถจะเอามาทําอะไรให คุ ม เพราะตลาดโตไม พอ และโตไม ทัน เช น ราคาที่ดินป จจุบัน ดังนัน้ ทีว่ า ทีด่ นิ แพงหรือถูก จะขึน้ อยูก บั ความพอใจทั้ง 2 ฝ าย และภาวะตลาดที่จะนําไปพัฒนาแล วได ผลกําไรตามทีค่ าดหวัง ถ าจะเก็ง กําไรที่ดินทั้งเขต ทั้งอําเภอ การพัฒนาบ านเมืองก็จะชะงัก เช น ญี่ปุ น ในอดีตที่ดินแดนแถบชินจุกุมีราคาแพงที่สุดในโลก หรือแถว เยาวราชของเรา ป จจุบันที่ซื้อไปทําอะไรก็ไม คุ ม การลงทุนก็จะหยุดนิ่ง ธุรกิจก็จะไม มีการสร างเพิ่มเติม ขณะนี้ที่ดินที่จะถูกลงคือที่ดินที่ถูกเก็งกําไรแล วผิดหวัง ที่ดินที่จะแพงขึ้นคือที่ดินที่รอการพัฒนาในเขตเมืองชุมชนที่เจริญแล ว ดังนั้น ขอให เลิกอัตตะ เลิกทะเลาะ เลิกเอาประชาชนมามอมเมาใช ต อรองอํานาจของตัวเองกันเลยนะครับ

38



เรื่อง: ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ วน)

“บ านชาน” ใช พลังงานเพียง 5 กิโลวัตต นวัตกรรมบ านพลังงานแสงอาทิตย หรือ “บ านชาน” บ า นที่ ถู ก ออกแบบขึ้ น มาภายใต แ นวคิ ด ของวิ ถี ชี วิ ต บ านเรือนไทยแบบดั้งเดิมสูง 2 ชั้น เพื่อรองรับการอยู อาศัยสําหรับ 5-6 คน บนพื้นที่ใช สอยประมาณ 110 ตารางเมตร ที่เน นออกแบบให ประหยัดพลังงานด วย การนํ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย หรื อ แผงโซล า เซลล ม า ช ว ยในการออกแบบ ผนวกกั บ นํ า หลั ก การออกแบบ ด านสถาป ตยกรรม วิศวกรรมศาสตร การออกแบบ พลังงาน และวัสดุเข ามาช วยจนก อกําเนิดเป นบ านชาน “บ านชาน” นวัตกรรมบ านพลังงานแสงอาทิตย บ านที่ออกแบบมาเพื่อ ทีใ่ ช พลังเพียงแต 5 กิโลวัตต ขนึ้ มา ซึง่ เป นบ านทีต่ อบโจทย สภาพภูมิอากาศของเขตอบอุ นและร อนชื้น โดยยึดหลักการใช อยู อาศัย ไลฟ สไตล โลกอนาคตได เป นอย างดี อย างยั่งยืนในพื้นที่น้ําท วมในภาคกลางของประเทศไทย ด วยการปรับใช ภูมิป ญญาดั้งเดิมของไทยมาผสมผสาน เพื่อให เป นการออกแบบที่อยู อาศัย ในชุมชนอย างยั่งยืน และหยัดพลังงานโดยใช พลังงานแสงอาทิตย เพียง 5 กิโลวัตต ซึ่งออกแบบและคิดค นโดยนักศึกษาคณะสถาป ตยกรรม ป 3-4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล าธนบุรี (KMUTT) บ านประหยัดพลังงานถูกกล าวถึงและมีการตื่นตัวอย างมากในช วง 2–3 ป ทีผ่ า นมานับว ากระแสแรงพอๆ กับกระแสโลกร อนทีเดียว ส งผลให ทงั้ ภาครัฐ และเอกชนต างผลิตแบบบ านประหยัดพลังงาน อาคารเขียว บ านพอเพียง ฯลฯ ออกสู ตลาดให เกลื่อนตา มีหลากหลายรูปแบบให เลือกตามความ พึงพอใจ บ างให ดาวน โหลดฟรี บ างให สมัครสมาชิกเพือ่ รับแบบบ าน ฯลฯ เพือ่ ให ผบู ริโภคเกิดการตืน่ ตัวและใช พลังงานน อยลง ดังนัน้ ฉบับนีจ้ ะขอนําเสนอ บ านพลังงานแสงอาทิตย ที่ใช พลังงานเพียงแค 5 กิโลวัตต ที่คิดค นโดย คนไทยและคาดว ามีอนาคตไกล นั้นก็คือ บ านชาน ซึ่งมีความโดดเด นด าน นวัตกรรมและเทคโนโลยี

40


ระเบียงบ านเป ดแบบดั้งเดิม บ านชาน ถูกออกแบบให เหมาะสมกับสภาพภูมอิ ากาศสําหรับเขตอบอุน และ ร อนชืน้ เพือ่ ให สามารถอยูอ าศัยในชุมชนได อย างยัง่ ยืนในฤดูนา้ํ ท วมและช วย เหลือซึง่ กันและกันได ในในช วงภัยพิบตั ิ ด วยเหตุนจี้ งึ ออกแบบพืน้ ทีอ่ ยูอ าศัย ในชุมชนให สามารถใช สิ่งอํานวยความสะดวกร วมกันได เช น พื้นที่สวน ภู มิ ทั ศ น และพื้ น ที่ ใ ช ส อยร ว มกั น ระหว า งลู ก บ า นแต ล ะหลั ง ส ว นวั ส ดุ ที่ เลือกใช นนั้ จะเน นวัสดุทอ งถิน่ ทีม่ รี าคาไม สงู หาเปลีย่ นได งา ย เช น ไม ไผ หรือ วัสดุที่มีคุณสมบัติไม รั่วซึมน้ํา มีการบํารุงรักษาต่ําเมื่อเกิดน้ําท วม ส วนระเบียงบ านถูกออกแบบให เป นระเบียงเป ด เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของ อากาศตามธรรมชาติ ซึง่ เอือ้ ให เกิดการระบายอากาศเข าไปในบ านเพือ่ สร าง สภาพแวดล อมทีด่ ี สะดวกสบาย ลดการใช พลังงาน และเพือ่ ให มพี นื้ ทีใ่ ช สอย สําหรับกิจกรรมในเวลากลางวันภายในครอบครัว ทําให ผอู ยูอ าศัยใกล ชดิ กับ ธรรมชาติ และยังเป นการส งเสริมให ผู อยู อาศัยได ตระหนักถึงธรรมชาติและ ลดความจําเป นในการใช พลังงานเครื่องปรับอากาศเมื่อไม จําเป น ด วยการ ระบายอากาศแบบธรรมชาติผา นหน าต าง และช องรับแสง เพือ่ ให สอดคล อง กับการออกแบบสู ความยั่งยืน

รองรับครอบครัวใหญ ถึง 4 ชั้น นอกจากนี้บ านชานยังสามารถต อขยายเพิ่มเติมได มากถึง 4 ชั้น เพื่อรองรับ สมาชิกครอบครัวทีเ่ พิม่ ขึน้ ได ดี เนือ่ งจากโครงสร างได ออกแบบไว เพือ่ รองรับ การขยายตัวบ านในอนาคต โดยการใช โครงเหล็กระบบโมดูล าร (บ าน สําเร็จรูป) ซึ่งมีความแข็งแกร ง ทนทาน ก อสร างรวดเร็ว และปรับเปลี่ยน ได งา ย อีกทัง้ ยังเป นมิตรกับสิง่ แวดล อม เคลื่อนย ายได สะดวก ขนส งได ทกุ ที่ ทั่วโลก อาทิ ทางเรือ รถบรรทุก รถไฟ ส วนของหลังคานัน้ จะมีทงั้ แบบทีเ่ ป นแบบสแตนอโลน เพือ่ ให สามารถระบาย น้ําฝนได ดี และหลังคาแบบไม มีระบบระบายน้าํ ฝน ซึ่งจะเป นการออกแบบ หลังคาให ตดิ ใต ชอ งเพดานเพือ่ เพิม่ ความสูงของเพดานมากขึน้ และกันสาด จะเน นรูปแบบลายไทยแบบดัง้ เดิมเพือ่ ให แสงสว างผ านเข ามาได ในปริมาณที่ มากขึน้ นอกจากนีบ้ า นชานยังถูกออกแบบให เป นบ านพลังงานแสงอาทิตย จงึ สามารถผลิตไฟฟ าใช เองได และตอบโจทย การประหยัดพลังงาน และสามารถ ชาร ตแบตเตอรี่ร วมกับรถไฟฟ าในชุมชนได อีกด วย รวมทั้งยังผลิตเครื่อง ปรับอากาศพิเศษเพื่อให ใช พลังงานน อยลงได ด วย พร อมนํากระบวนการ ระบายความร อนจากเครื่องปรับอากาศมาทําระบบน้ําร อนไว ในในบ าน อีกด วย นับเป นบ านนวัตกรรมที่น าสนใจอย างยิ่ง 41


ด วยแนวคิดและการออกแบบทีท่ าํ ให ประหยัดพลังงานโดยการใช พลังงานเพียง 5 กิโลวัตต แล ว บ านชานยังเป นนวัตกรรมบ านพลังงาน แสงอาทิตย ที่คิดค นโดยฝ มือคนไทย โดยนักศึกษาคณะสถาป ตยกรรม ป 3-4 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล าธนบุรี (มจธ. หรือ KMUTT) ซึ่งถือเป นการออกแบบที่ไม ธรรมดาและน าจับตาอย างยิ่ง เพราะบ านชานได รับการคัดเลือกให เป น 1 ใน 20 ทีมจาก ทัว่ โลก หรือติดหนึง่ ใน 4 ทีมของเอเชีย และเป นหนึง่ เดียวในอาเซียนของการแข งขัน Solar Decathlon Europe 2014 เป นทีเ่ รียบร อย ไปแล ว ล าสุดกําลังจะเข าร วมแข งขันรองชิงชนะเลิศ ป 2014 ซึ่งจะเริ่มขึ้นในเดือนมิถุนายน 2557 ณ เมืองแวร ซายส ประเทศฝรั่งเศส หากบ านชานได รบั รางวัลชนะเลิศป น้ี เชือ่ ว าจะสร างชือ่ เสียงให คนไทย อีกทัง้ ยังเป นการันตีถงึ ฝ มอื การออกแบบคนไทยไม แพ ตา งชาติแน แท สํ า หรั บ ผู ที่ ส นใจและต อ งการข อ มู ล รายละเอี ย ดในการแข ง ขั น ครั้ ง นี้ เ พิ่ ม เติ ม สามารถติ ด ต อ ได ที่ ค ณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี วิ ท ยาเขตบางขุ น เที ย น หรื อ ติ ด ตามการแสดงผลงานภายในงานสถาปนิ ก ’57 ณ อิมแพค เมืองทองธานี ในวันที่ 29 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2557 ตั้งแต เวลา 11.00 น. – 21.00 น. ขอขอบคุณข อมูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน 83 หมู 8 ถนนบางขุนเทียน-ชายทะเล แขวงท าข าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร 10150 โทร. 02 470 7333 42


113 jeab.pdf

1

2/19/14

11:49 PM


เรื่อง: ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ วน)

ป จจุบันประตูบานเลื่อนอัตโนมัติมีการพัฒนาด วยเทคโนโลยีใหม ๆ มากขึ้น เพื่อตอบสนองไลฟ สไตล ของคนเมืองในยุคป จจุบันที่ต องการความสะดวก รวดเร็ว และมีความปลอดภัยมากขึ้น ด วยเหตุนี้ จึงทําให ระบบประตู บานเลือ่ นอัตโนมัตไิ ด รบั ความนิยมอย างแพร หลาย มีดไี ซน ทโี่ ดดเด น ด วยการ ออกแบบบานเลือ่ นให เคลือ่ นไปตามผนังด านข าง ซึง่ ทําให สะดวกต อผูใ ช งาน ดูแลรักษาง าย พร อมทั้งมีระบบความปลอดภัยหลายรูปแบบ

ประตูบานเลื่อนอัตโนมัติ แบรนด FAAC เป นประตู อัตโนมัติ (AUOTOMATIC DOOR) ที่ถูกพัฒนาและ ออกแบบมาเพื่อสําหรับใช งานหนัก หรือมีการใช งาน ด วยความถี่สูงตลอด 24 ชั่วโมง โดยผลิตภัณฑ ดังกล าว สามารถใช งานเป ด–ป ดได มากกว า 2 ล านครั้งจากผล การทดสอบของทางบริ ษั ทที่ ได ทํ า การทดสอบการใช งานเบื้องต นในห องทดสอบ ก อนทีจ่ ะนํามาติดตัง้ ใช งาน ด วยคุณสมบัติสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ตอบโจทย ทุกไลฟ สไตล จึงทําให ครัง้ แรกทุกตัว ทัง้ นีป้ ระตูอตั โนมัตยิ งั มีให เลือกหลายรุน ประตูบานเลื่อนอัตโนมัติได รับการตอบรับและเป นที่นิยม ทําให มีความ และหลายแบบ อาทิ ต องการใช อย างแพร หลาย ทําให มผี ผู ลิตและผูจ าํ หน ายในตลาดมากขึน้ ทัง้ ที่ นําเข าจากต างประเทศและผลิตในประเทศ มีสนิ ค าให เลือกหลายทัง้ คุณภาพ ประตูบานเลือ่ นอัตโนมัติ FAAC รุน A140 AIR ซึง่ เป น และราคา ซึ่งนับเป นผลดีต อผู บริโภคอย างมาก เนื่องจากมีสินค าทางเลือก ระบบบานเลื่อ นที่ถูก วิ จัย และพั ฒ นามาเพื่อ คํ า นึ ง ถึ ง หลากหลายตอบโจทย ไลฟ สไตล ได เป นอย างดี อีกทั้งยังบ งบอกรสนิยมของ สิง่ แวดล อมเป นหลัก ซึง่ มีความโดดเด นเฉพาะตัว ด วยการ เจ าของบ านได อีกด วย ออกแบบผลิตภัณฑ โดยใช ระบบเซ็นเซอร พิเศษสําหรับ เป ด -ป ด โดยการคํ า นึ ง ทิ ศ ทางการเดิ น ของผู ใ ช ง าน ดังนั้นในคอลัมน Details ฉบับนี้ จึงขอแนะนํา ประตูบานเลื่อนอัตโนมัติ เป นหลัก โดยระบบดังกล าวจะช วยให เจ าของโครงการ แบรนด FAAC โดยบริษัท วีรศา จํากัด ซึ่งเป นผลิตภัณฑ ระบบบานเลื่อน ประหยัดค าใช จ ายด านพลังงานได อย างมหาศาล พร อม อีกทางเลือกที่น าสนใจ ที่ได รับการออกแบบและพัฒนามาโดยคํานึงถึง ทั้ ง ยั ง ช ว ยลดการสู ญ เสี ย ของพลั ง งานแอร ไ ด อีก ด ว ย สิ่งแวดล อม ด วยระบบเซ็นเซอร พิเศษสําหรับเป ด–ป ดอัตโนมัติที่คํานึงถึง ซึ่ ง ระบบเซ็ น เซอร พิ เ ศษนั้ น ถู ก ออกแบบให ส ามารถ ทิศทางการเดินของผู ใช งาน และสามารถช วยลดการสูญเสียของแอร ได ดี เชื่อมต อกับระบบเน็ตเวิร คได จึงทําให สามารถควบคุม จึงเป นการประหยัดพลังงานอีกทางหนึ่ง การเป ด–ป ดของประตูได อตั โนมัติ เนื่องจากถูกสั่งการ ใช งานผ านระบบคอมพิวเตอร ซึ่งทําให สะดวกสบาย ด วยประสบการณ และความเชีย่ วชาญด านอุปกรณ มอเตอร ประตูรโี มท ประตู ต อการใช งานภายในอาคาร อัตโนมัติ ไม กั้นอัตโนมัติ และอื่นๆ อีกมากมาย จึงทําให บริษัท วีรศา ได รับ ความไว วางใจ และได รับการแต งตั้งเป นตัวแทนจําหน ายผลิตภัณฑ FAAC ประตูอตั โนมัติ A100 แบบบานเดีย่ ว ซึง่ เป นผลิตภัณฑ จากประเทศอิตาลี แต เพียงผู เดียวในประเทศไทย โดยยึดหลักการดําเนิน ที่ อ อกแบบมาเพื่ อ รองรั บ การใช ง านหนั ก ที่ มี ข นาด ธุรกิจที่คํานึงถึงความสะดวกสบายของผู ใช งานเป นหลัก กลุ มลูกค าจะเน น น้ําหนัก 110 กิโลกรัม เจาะกลุม เจ าของบ าน โครงการบ าน คอนโดมิเนียม ห างสรรพสินค า เป นต น ประตูอตั โนมัติ A100 แบบบานคู ผลิตภัณฑ ทอี่ อกแบบ มาเพื่อรองรับน้ําหนัก 70 x 70 กิโลกรัม

44


ประตูอัตโนมัติ A104 แบบบานคู

อุปกรณ รีโมท เป ด–ป ด ประตูบานเลื่อน รุ น 740 EZ16

อุปกรณ รีโมท เป ด–ป ด ประตูบานเลื่อน รุ น 844 ER

นอกจากประตูบานเลือ่ นอัตโนมัตแิ ล ว สิง่ ทีข่ าดไม ได กค็ งต องเป นมอเตอร ประตูรโี มท เนือ่ งจากต องใช งานควบคูก นั เป นอีกระบบที่เจ าของโครงการนิยมใช งาน ไม ต างไปจากประตูบานเลื่อนอัตโนมัติ ซึ่งบริษัท วีรศา มีมอเตอร ประตูรีโมท FAAC มาแนะนําในตลาดเช นกัน มอเตอร ประตูรีโมท FAAC เป นผลิตภัณฑ ที่ออกแบบด วยระบบคอยน้ํามัน (Oil Bath) จากอิตาลี ซึ่งถูกออกแบบ มาเพือ่ รองรับน้าํ หนักได สูงถึง 1,800 กิโลกรัม โดดเด นด วยระบบอัตโนมัติเรียบง าย ปลอดภัยในทุกสภาวะ ไม ต อง ดัดแปลงแก ไขเหมาะสมกับอาคารประเภททีพ่ กั อาศัย สามารถติดตัง้ หน าทางเข าบ านพักอาศัย หรือคอนโดมิเนียมได มอเตอร ประตูรีโมท FAAC มีความแข็งแกร ง ทนทานสูง มีอายุการใช งานที่ยาวนาน จึงได รับการไว วางใจจาก ผู ใช งานและเรียกใช บริการอย างต อเนื่อง ด วยเหตุนี้จึงทําให บริษัท วีรศา มุ งมั่นและนําสินค าคุณภาพออกสู ตลาด อย างต อเนื่องเพื่อตอบสนองความต องการและความพึงพอใจของลูกค าอย างไม หยุดนิ่ง โดยมอเตอร ประตูรีโมท FAAC มีให เลือกใช ในหลายรุ น อาทิ อุปกรณ รีโมท เป ด–ป ด ประตูบานเลื่อน 844 ER ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับน้ําหนักประตูได สูงสุด 1,800 กิโลกรัม หรือประตูที่มีขนาด 6 - 8 เมตร อุปกรณ รีโมท เป ด–ป ด ประตูบานเลื่อน รุ น 740 ถูกออกแบบมาสําหรับเจาะกลุ มที่อยู อาศัย ซึ่งสามารถรองรับ น้ําหนักประตูได 500 กิโลกรัม อุปกรณ รีโมท เป ด–ป ด ประตูบานเลื่อน รุ น 741 ถูกออกแบบมาสําหรับเจาะกลุ มที่อยู อาศัย ซึ่งสามารถรองรับ น้ําหนักประตูได 900 กิโลกรัม สําหรับการติดตั้งประตูบานเลื่อนอัตโนมัติและมอเตอร ประตูรีโมทนั้น หลายคนอาจสงสัยว าจะช วยลดการทํางาน ของเครื่องปรับอากาศและช วยประหยัดพลังงานได อย างไร หากเมื่อติดตั้งประตูรีโมทบานเลื่อนหรือบานสวิง ไปแล วจะเสียค าไฟฟ าต อเดือนเป นเงินเท าไหร นี่อาจเป นคําถามที่ทุกคนที่คิดจะติดตั้งประตูรีโมทเกิดขึ้นในใจได ดังนั้นเราจึงมีเกร็ดความรู เล็กๆ น อย เกี่ยวกับการคํานวณค าไฟฟ ามาฝากกันด วย 45


สูตรในการคิดค าไฟฟ าของการไฟฟ านครหลวง วัตต หรือกําลังไฟฟ าทีใ่ ช งาน x จํานวนอุปกรณ / 1000 x จํานวนชั่วโมงทีใ่ ช งาน = หน วยของไฟฟ า ยกตัวอย าง เมือ่ ติดตัง้ ประตูรโี มทบานเลือ่ นขนาดกําลังขับของมอเตอร 450 วัตต จํานวน 1 ชุด ทีป่ ระตูรวั้ หน าบ าน ขนาดความกว าง 5 เมตร และมีการเป ด–ป ด จํานวน 20 ครั้งต อวัน การคํานวณเป นดังนี้ • วัตต ของมอเตอร = 450 • จํานวนของมอเตอร = 1 • จํานวนชั่วโมงที่ใช งาน = มอเตอร ความเร็ว 12 เมตรต อนาที เป ดประตูกว างสุด 1 ครั้ง ใช เวลา 25 วินาที ป ด 1 ครัง้ ใช เวลา 25 วินาที (*ตามรายละเอียดของสินค าแต ละรุน ) ดังนัน้ การเป ด–ป ด จํานวน 20 ครัง้ ต อวัน ใช เวลา = 50 วินาที x 20 ครั้ง = 1000 วินาที หรือ 16 นาที หรือคิดเป น 0.27 ชั่วโมง จึงแทนค าสูตรได ดังนี้ 450 x 1 / 1000 x 0.27 = 0.12 หน วย ภายในระยะเวลา 1 เดือน จะคิดได เป น 30 x 0.12 = 3.6 หน วย ดังนั้นหากค าไฟฟ าหน วยละ 4.96 บาท ใน 1 เดือน เราจะต องเสียค าไฟฟ า 4.96 x 3.6 = 18.70 บาท เพียงเท านั้นเอง สําหรับผู ที่สนใจประตูบานเลื่อนอัตโนมัติและมอเตอร ประตูรีโมท ของบริษัท วีรศา สามารถติดตาม ชมผลิตภัณฑ FAAC ได ที่บูธ D501/1 งานสถาปนิก 57 อิมแพค เมืองทองธานี ในวันที่ 29 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2557 ตั้งแต เวลา 11.00 น. – 21.00 น. ขอขอบคุณข อมูล บริษัท วีรศา จํากัด OFFICE: 2077 ถนนเพชรบุรีตัดใหม บางกะป ห วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 SERVICE CENTER: 232/1 ซอยรามคําแหง 4 ถนนรามคําแหง สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 Tel. (662) 369-4041-7 Fax : (662) 369-4049 E - Mail: techasit@ksc.th.com Website: http://www.virasa.co.th FAAC: http://www.faacgroup.com

46



เรื่อง: ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ วน)

¢Öé ¹ ª×è Í Ç‹ Ò §Ò¹ÈÔ Å »Ð¤§äÁ‹ μŒ Í §ºÃÃÂÒÂÁÒ¡ÁÒ¡ç à »š ¹ ÍÑ ¹ ࢌ Òã¨´Õ Ç‹ Ò ÁÕ ¤ ÇÒÁÊǧÒÁ ʧ‹ Ò Í‹Í¹ªŒÍÂáÅÐÁÕ¤ÇÒÁ໚¹àÍ¡Åѡɳ ੾ÒÐμÑÇÁÒ¡ÁÒÂà¾Õ§äÃÂÔè§ÊÍ´ÃѺ¡Ñº§Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ ÀÙÁÔʶһ˜μ¡ÃÃÁ´ŒÇÂáÅŒÇÂÔ觷ç¤Ø³¤‹Ò¤ÇÃá¡‹¡ÒÃà¡çºÃÑ¡ÉÒà¾ÃÒЧҹÈÔÅ»Ðáμ‹ÅЪÔ鹡NjҨРÊÌҧÊÃä ¢Öé¹ÁÒä´ŒμŒÍ§ÍÒÈÑ»ÃÐʺ¡Òó ¤ÇÒÁªíÒ¹ÒÞࢌÒÁÒà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§·Ñ駹Ñé¹ ÂÔè§à»š¹§Ò¹ ÈÔŻзÕμè ÍŒ §¡ÒÃÊÌҧ¤ÇÒÁâ´´à´‹¹ÁÕàÍ¡Åѡɳ ੾ÒÐÂÔ§è μŒÍ§ãªŒàÇÅÒáÅзíÒ¤ÇÒÁࢌÒ㨡Ѻ਌Ңͧ §Ò¹Í‹ҧÁÒ¡»˜¨¨ØºÑ¹ÁÕ¼ÙŒãËŒºÃÔ¡ÒçҹÈÔÅ»ÐÃдѺÊÙ§äÁ‹ÁÒ¡¹Ñ¡ã¹·ŒÍ§μÅÒ´ ´Ñ§¹Ñé¹àÃÒ¨Ö§¢Í á¹Ð¹íÒ ºÃÔÉÑ· à·ÇÃÔ·¸ÔìÈÔŻҡÒà ¨íÒ¡Ñ´ Íա˹Ö觼ٌàªÕèÂǪÒÞ§Ò¹´ŒÒ¹»ÃÐμÔÁÒ¡ÃÃÁ·ÕèÊ×èͶ֧ Êѧ¤ÁÇѲ¹¸ÃÃÁ ¤ÇÒÁÃÙŒÊÖ¡¹Ö¡¤Ô´áÅШÔμ㨢ͧÁ¹ØÉ «Öè§à»š¹á¢¹§Ë¹Öè§ã¹§Ò¹´ŒÒ¹ÇÔ¨μÔ ÃÈÔÅ»Š (Fine Art) บริษัท เทวริทธิ์ศิลปาการ จํากัด เกิดขึ้นจากการรวมตัวของศิษย เก าสํานักจิตรกรรมฯ ศิลปากรกลุ มเล็กๆ 3 คน ประกอบไปด วย ลักษณ คูณสมบัติ (ประติมากร) เกรียงไกร เผ าจินดา(จิตรกร) ลลิตา นิมมานเหมินท (กราฟฟ ก ดีไซน เนอร ) และ อรช กระแสอินทร จากฟากสํานัก ID จุฬา (เพื่อนของลักษณ ตั้งแต สมัยเรียนสาธิตเกษตร) รวมตัว จัดตั้งเป นบริษัทขึ้น เมื่อ พ.ศ.2552 ถือเป นเรื่องหายากที่เด็กจิตรกรรมฯ ศิลปากร จะออกมาเป ดออฟฟ ศ แต ทั้งนี้ ด วยแรงผลักดันจากเพือ่ นอย างอรช รวมถึงความช วยเหลือและคําแนะนําต างๆอย างมากมายเกี่ยวกับการทําธุรกิจ ทําให พวกเขาสามารถดําเนินกิจการจนย างเข าสูป ท ี่ 5 อย างเติบโต และสามารถผลักดันผลงานศิลปะออกสูส งั คมได มากยิ่งขึ้น โดยมีทีมงานและเครือข ายทางศิลปะกว างขวางยิ่งขึ้น ซึ่งก็ตรงกับแนวคิดของพวกเขาตั้งแต แรกที่ มุ งหวังให เทวริทธิ์ศิลปาการ เป นศูนย ร วมการสร างสรรค ทางศิลปะของพี่น องจากสํานักเดียวกัน งานธุรกิจหลักของที่นี่คือให บริการออกแบบและจัดสร างประติมากรรม เพื่อใช ประกอบในงานสถาป ตยกรรมและ งานแลนด สเคป ทั้งงานภายในอาคารและงานกลางแจ ง เกือบทั้งหมดของงานเป นงานสั่งสร างเฉพาะเป นชิ้นๆ ไป มีหลากหลายขนาดตัง้ แต ขนาดย อมๆ จนขนาดสูงเท าตึกสองสามชั้น มีในหลายรูปแบบทั้งงานแบบศิลปะ สมัยใหม อย าง งานนามธรรม(Abstract) จนถึงงานแบบเหมือนจริง (Realistic) สามารถทําออกมาได ด วยวัสุด มากมาย เช น โลหะสําริด ทองเหลือง เหล็ก ไม หิน ซีเมนต FRP ทีบ่ า นเราเรียกกันติดปากว างานไฟเบอร เรียกได วา น าจะเกือบทุกวัสดุสามารถนํามาสร างสรรค งานประติมากรรมได ขึ้นอยู กับความคิด จินตนาการและความเหมาะ สมของรูปทรงทีจ่ ะสร าง (ว าวัสดุสามารถรองรับได หรือไม ) นอกจากนีก้ ย็ งั มีการขยายงานไปสูง านจิตรกรรมตบแต ง อาคาร ซึ่งเริ่มมีมากขึ้น บริการออกแบบงานศิลปะขั้นสูง สําหรับรูปแบบในการบริการออกแบบงานประติมากรรมขั้นสูงนั้น แบ งขั้นตอนการทํางานประติมากรรมทั้งหมด ออกเป น 6 ขั้นตอน ซึ่งประกอบด วย 1. ขั้นตอนการพูดคุยกับเจ าของโครงการ เป นขั้นตอนที่สําคัญอย างยิ่งเนื่องจากต องรู ความต องการของเจ าของโครงการ เจ าของที่อยู อาศัย และผู ออกแบบ โครงการเพื่อหาโจทย คร าวๆ ในการสร างงานประติมากรรมเพราะงานแต ละชิ้นมีความยากง ายและมีอิสระใน การทํางานทีแ่ ตกต างกัน รวมทัง้ มีกรอบการทํางานทีก่ ว างกว าจึงทําให สามารถทํางานออกแบบได สมบูรณ มากกว า มีความเป นประติมากรรมขัน้ สูงและซับซ อนกว า ฉะนัน้ การคุยงานครั้งแรกหากได คยุ กับเจ าของโครงการโดยตรงก็ จะสามารถสรุปงานได เร็วขึ้น เช น งานออกแบบภายนอกควรคุยงานกับสถาปนิก และคุยกับมัณฑนากรหากเป น งานการตกแต งภายใน 2. ขั้นตอนการร างต นฉบับ หลังจากได คอนเซปต การสร างงานประติมากรรมแล ว ขั้นตอนถัดมา คือ การทําภาพร างต นแบบ (Sketch) เพือ่ ศึกษาความเป นไปได ของงานประติมากรรม ซึง่ เราทําได ดว ยการวาดเส นแบบดัง้ เดิม (งานดินสอ) หรือ Charcoal บนกระดาษวาดรูปทุกครัง้ ทัง้ นีก้ ม็ บี างงานทีต่ อ งร างเส นแล วลงสีนา้ํ เพือ่ ให เห็นมิตขิ องงานที่สมบูรณ ขนึ้ เนือ่ งจาก การทําภาพร างส วนใหญ จะมีภาพร างหลายชิ้น เพื่อเลือกใช ชิ้นงานที่ดีที่สุดเพียงชิ้นเดียว 3. ขั้นตอนการนําแบบเสนองาน มาถึงขั้นตอนการนําเสนอแบบให กับเจ าของชิ้นงานเพื่อเลือกชิ้นงานในส วนของการขยาย โดยการพูดคุยเชิง ปรึกษาเพื่อหาข อดีข อเสีย แล วทําภาพร างเพิ่มหากแบบไม ลงตัว 48


ภาพร างรายเส นงาน เทวี

ประติมากรรม เทวี ของป ญญ ปุริ

ประติมากรรมประดับโถงอาคาร สํานักงานใหญ กลุ มผลิตไฟฟ าราชบุรี

งานนู นต่ําจากลายเส นอาจารย สุรเดช

4. ขั้นตอนการทําต นแบบขนาดเล็ก เมื่อได แบบขยายที่ลงตัวแล ว ขั้นตอนต อมาเป นการจัดทําประติมากรรมต นแบบขนาดเล็ก (Models) เป นการนําแนวความคิดจาก ภาพร างสองมิตทิ ดี่ ที สี่ ดุ หรือทีไ่ ด รบั การเลือกแล วมาป น เป นงานสามมิตดิ ว ยดินน้าํ มัน เพราะภาพร าง 2 มิติ กับ 3 มิติ มีความแตกต างกัน ค อนข างสูง หากขยายชิ้นงานเท าขนาดของจริงอาจจะลงตัวยากและอาจทําให ต องปรับแก ตัวการป นชิ้นงานนานเกินไป ทั้งนี้การทําให แบบประติมากรรมจบในรูปร างขนาดเล็กจะควบคุมง ายกว า และสามารถพัฒนารูปทรงตัดทอนเพิ่มเติมรูปเพื่อความสมบูรณ แบบของ ประติมากรรมได รวดเร็วกว า 5. ขั้นตอนการขยายงานตามประติมากรรมต นแบบขนาดเล็ก ถัดมาเป นการขยายงานตามประติมากรรมต นแบบขนาดเล็ก ด วยดินเหนียวเฉพาะหรือดินน้ํามัน (Pasticine) แนวทางการขยายแบบ มี 2 ลักษณะ ประกอบด วย - ขยายแบบโดยตามต นแบบให ใกล เคียงที่สุด โดยการใช วัดสัดส วนอย างละเอียดทุกจุดขยายตามอัตราส วน และมีการปรับแบบบ าง ซึ่งก็เป นส วนน อย งานแบบนี้ส วนใหญ เป นงานอนุสาวรีย หรืองานจริงที่มีขนาดใหญ ทั้งนี้การปรับขยายแบบงานจริงนั้นค อนข าง ยุ งยากมากเนือ่ งด วยขนาด จึงต องใช นั่งร านหรือรถกระเช า อีกทัง้ ยังเสีย่ งและอันตรายค อนข างสูงในการทํางานหากมีการเปลีย่ นแบบ มากเกินไป - ขยายแบบตามต นแบบเชิงประมาณการ เป นการขยายแบบให เหมือนงานต นแบบขนาดเล็กเป นแนวทางในการป น เพือ่ ให มกี ารขยาย สัดส วนตามอัตราส วนคล ายวิธีแรก แต วัดเฉพาะความสูง ความกว าง และความยาว ส วนหลักๆ ของงานจากนั้นเป นการปรับตาม หน างานจริง โดยยึดโครงหลักจากต นแบบแต สว นลายละเอียดของเส นโค งเว า ความลึกตืน้ ของรูปทรง ซึง่ จะขึน้ อยูก บั ดุลพินจิ ของประติมากร ที่ทําการขยายแบบเพื่อให เกิดรูปทรงที่สมบูรณ ที่สุดตามอุดมคติ 6. ขั้นตอนกระบวนการหล อ ขั้นตอนสุดท ายเป นการเข าสูกระบวนการหล อ ซึ่งมีหลายขั้นตอนด วยกัน และงานต นแบบชิ้นเดียวกันสามารถหล อได หลากหลายวัสดุ และหลายแบบ เช น วัสดุที่มาจากดินเหนียว ดินน้ํามัน โลหะชนิดต างๆ FRP, GRC, หินทรายเทียม, พลาสเตอร ซึ่งวัสดุแต ละชนิด มีคุณสมบัติและความรู สึกที่แตกต างกัน และให ความรู สึกออกมาในงานชิ้นเดียวต างกัน 49


งานน้ําพุที่ Pickadaily Community Mall (อ อนนุช)

ผลงานที่ผ านมา กลุ มเทวริทธิ์ศิลปาการ ได สร างสรรค ผลงานต อเนื่องมาจนเริ่มมีชื่อเสียง และมีผลงานที่น าสนใจอยู มากมาย อาทิงานประติมากรรม ประดับโถงอาคารสํานักงานใหญ RATCH (กลุ มผลิตไฟฟ าราชบุรี) ซึ่งงานดังกล าวเกิดขึ้นจากความร วมมือระหว างเจ าของอาคาร ประติมากรและผูอ อกแบบอาคาร เพือ่ ให ได ประติมากรรมทีม่ รี ปู ทรงลงตัวกับพืน้ ทีว่ า งภายใน โดยออกแบบให ลอ ไปกับงานสถาป ตยกรรม และแฝงความหมายถึงกิจการของกลุ ม RATCH ที่เกี่ยวข องกับพลังงาน เห็นได เลยว างานชิ้นนี้มีขนาดใหญ โตมากสําหรับงานภายใน อาคาร หรืออย างงานประติมากรรม “เทวี” ของป ญญ ปุริ สปา ภายใต การทํางานร วมกันอย างเป นระบบของทั้ง 3 ฝ าย คือเจ าของ (คุณวรวิทย ) มัณฑนากร และศิลป น ซึ่งงานดังกล าวสร างความประทับใจให กับทุกๆ ฝ ายเป นอย างมาก เพราะนอกจากจะแสดงให เห็นแนวคิดของแบรนด ป ญญ ปุริ แล วยังแสดงถึงความขลังแบบตะวันออกด วยเทคนิคประติมากรรมหล อหินทรายในรูปทรงกึ่งเทวรูป ที่สามารถอยู ได อย างลงตัวในพื้นที่สมัยใหม แบบตะวันตก นอกจากนี้กลุ มเทวริทธิ์ศิลปาการ ยังได รับความไว วางใจจากอาจารย สุรเดช แก วท าไม จิตรกรผู มีชื่อเสียง ด วยการนําลายเส นของ อาจารย ซึ่งเป นงานจิตรกรรม 2 มิติ มาแปรค าเป นงานประติมากรรมนูนต่ํา 3 มิติ โดยยังคงไว ซึ่งภาพลายเส นที่สะท อนถึงเอกลักษณ เฉพาะของอาจารย ด วยการเปลีย่ นลายเส นทีพ่ ลิว้ ไหวเป นร องรอยการป น ทีย่ งั คงความสดความมีชวี ติ ชีวา ภายใต คาํ แนะนําจากอาจารย อย างใกล ชิด เพื่อให ได งานที่เป นที่พอใจของทุกๆ คน อีกผลงานทีส่ ร างชือ่ เสียงให เป นทีร่ จู กั กันในวงกว างมากยิง่ ขึน้ คืองานน้าํ พุที่ Pickadaily Community Mall (อ อนนุช) ซึง่ ทางทีมงานต อง ค นคว าข อมูลเพือ่ เขียนแบบขึน้ มาใหม และทําการถอดแบบเอง ซึง่ ความเป นประติมากรรมของตัวน้าํ พุนนั้ มีความซับซ อนค อนข างมาก ต องป นต นแบบแยกกันหลายสิบชิ้น โดยให ช างป นหลายคน อีกทั้งในส วนของการหล อประกอบมีความยุ งยากเช นกัน ต องแบ ง เป นชิ้นๆ บางส วนต องไปประกอบหน างาน ซึ่งผลงานชิ้นนี้ไม ได จบแค งานประติมากรรม แต ยังต องทํางานร วมกับฝ ายระบบน้ําด วย นับเป นงานที่ท าทายมาก ด วยประสบการณ และความเชี่ยวชาญของทีมงานจึงทําให งานสําเร็จและผ านพ นไปด วยดี จึงกล าวได ว างานที่ผ านมาของเทวริทธิ์ศิลปาการ ช วยนิยามความหมายของประติมากรรมกับสถาป ตยกรรมอย างชัดเจน ในรูปแบบ ช วยส งเสริมซึ่งกันและกันได เป นอย างดี อย างไรก็ตามเรื่องราวและผลงานของเทวริทธิ์ศิลปาการ ไม ได มีผลงานโดดเด นเพียงเท านี้ ยังมีงานศิลปะอีกมากมายรอให คนในวงการได ไปรับรู และสัมผัส ขอขอบคุณข อมูล บริษัท เทวริทธิ์ศิลปาการ จํากัด Devaridh Artisan Co.,Ltd. 5 ซอยพหลโยธิน 24 แยก 2-1 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 50



เรื่อง: อ.ชวพงษ ชํานิประศาสน

¼ÙŒ ·Õè ä ´Œ ÃÑ º ¼Å¡Ãзº·Õè à ¡Ô ´ ¨Ò¡¡ÒÃ¨Ñ ´ ·í Ò ÃÒ§ҹ¼Å¡Ãзº ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ´ŒÒ¹ÍÒ¤Òà ¡ÒèѴÊÃ÷Õè´Ô¹áÅкÃÔ¡ÒêØÁª¹ จากที่ผมเคยกล าวมาก อนหน านี้แล ว ถึงผลกระทบจากการทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดล อม ทําให มีผู ทไี่ ด รับผลกระทบ อันได แก ผู ซื้อ โครงการ ผู ประกอบการ หรือเจ าของโครงการ ผู จัดทํารายงานผลกระทบ สถาปนิก วิศวกร ผู รับจ างเหมาก อสร าง หรือรัฐที่เกี่ยวข อง ก็ตามนั้น ต างก็ได รับความเสียหายนั้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการต อผู ซื้อ มีทั้งผลกระทบต อความเป นอยู และกระทบต อสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษย ในการเลือก ถิ่นฐานที่อยู อาศัย ตามบทบัญญัติแห งรัฐธรรมนูญ การเสียโอกาส การสูญเสียทางเศรษฐกิจส วนตัว ได แก การต องเตรียมตัวจัดทํา เงินทุนในการจะซื้อห องพักที่เชื่อว าเป นที่อยู อาศัยที่เหมาะสมในการทํากิจการเลี้ยงชีวิต เพื่อลดป ญหาค าใช จ ายและเวลาในการ เดินทาง เพือ่ สร างความมัน่ คงให กบั ชีวติ เพือ่ ความปลอดภัยทีไ่ ด อยูร ว มกัน พึง่ พาอาศัยกัน สิง่ เหล านีจ้ ะสูญเสียไปทันทีทโี่ ครงการทีผ่ ซู อื้ โครงการมั่นหมายและได ลงทุนในการจัดซื้อไว ยาวเกินไป ข อสําคัญทีค่ ณะกรรมการผูช าํ นาญการชุดนีไ้ ม ได คาํ นึงถึงก็คอื สิทธิเสรีภาพในการเลือกทีอ่ ยูอ าศัย สิทธิเสรีภาพนัน้ ย้าํ ไว แสดงไว ชดั เจน ในรัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทยและกฎหมายผังเมือง ได แก การกําหนดให พื้นที่ใดใช ประโยชน เพื่อกิจการประเภทใด หรือให ใช เพื่อการอยู อาศัย สิทธิเสรีภาพของประชาชนนี้จึงถูกริดรอนโดยการใช อํานาจที่ไม มีบทบัญญัติแห งกฎหมายรองรับที่ไม เป นธรรม ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการต อผู ประกอบการหรือเจ าของโครงการ คณะกรรมการผู ชํานาญการฯ มักจะมีทัศนคติเป นอคติต อ เจ าของโครงการในทางที่มิควร (ผู ที่เข าชี้แจงรายงานผลกระทบสิ่งแวดล อมต อคณะกรรมการผู ชํานาญการจะทราบและรู ดีถึงทัศนคติ ในทางลบของการตั้งคําถามในเชิงดูหมิ่น ไม เชื่อในความสุจริตในโครงการ ตั้งข อสงสัยเจ าของโครงการจะหลบเลี่ยงการปฏิบัติโดย การติดสินบนเจ าหน าที่ ค ากําไรเกินควร) เห็นผู ประกอบการมีวัตถุประสงค เพียงแสวงหากําไรสูงสุดโดยไม คํานึงถึงเรื่องอื่นใด ทั้งที่ใน ความเป นจริง สภาพการแข งขันในการสร างความเชื่อถือและเชื่อมั่นของผู ขายและผู ซื้อที่จะต องได สิ่งที่ดีที่สุด เป นหลักเกณฑ ที่สําคัญ ทางการตลาดทีจ่ ะทําให ผปู ระกอบการต องแสดงความชัดเจน ความเป นธรรมและความซือ่ ตรงในการประกอบการ หรือเห็นผูป ระกอบการ มีเจตนาซ อนเร น ปกป ด หลอกลวง หลีกเลี่ยง การให บริการที่เรียกว าเป นการกระทําแบบศรีธนนชัย เป นต น เมื่อทัศนคติของคณะกรรมการผู ชํานาญการเป นเช นนั้น การวินิจฉัยจึงเป นการตั้งข อสงสัย สั่งการแก ไขรูปแบบโดยไม พิจารณาถึง ความถูกต องตามข อกําหนดกฎเกณฑ ทางกฎหมาย เรียกหาการสํารวจ วิจยั ทีเ่ กินความสามารถและความรับผิดชอบของผูป ระกอบการ เรียกร องหลักฐานเอกสารขณะที่ยังไม มีความจําเป นหรือถึงระยะเวลาที่จะต องกระทําการในเรื่องนั้น ผลของความเสียหายก็คือ - ทําให เพิ่มมูลค าการลงทุน - เสียโอกาสทางเศรษฐกิจ - เสียค าใช จ ายในการบริหารจัดการ ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ส งผลต อไปยังกําลังซื้อของผู จะซื้อโครงการ ในผลกระทบต อผูจ ดั ทํารายงานผลกระทบ สถาปนิก วิศวกร และผูร บั จ างเหมา หรือผูเ กีย่ วข องในโครงการต างๆ ต องทราบกันดีวา การที่ จะเป นผูม สี ทิ ธิในการจัดทํารายงานผลกระทบสิง่ แวดล อม ต องขึน้ ทะเบียนเป นผูไ ด รบั อนุญาตจากสํานักงานนโยบายสิง่ แวดล อม ซึง่ เป น ตัวแทนของคณะกรรมการสิง่ แวดล อม ดังนั้นในส วนนีก้ ค็ อื การใช ช องทางทางกฎหมายทีจ่ ะควบคุมมิให ผจู ัดทํารายงานผลกระทบสิง่ แวดล อมกล าโต แย ง หรือแสดงความไม เห็นด วยในการสัง่ การของคณะกรรมการ เพราะกลัวว าจะถูกถอดถอนหรือไม ยอมให ตอ ทะเบียน รายงานผลกระทบ (ในที่ประชุมชี้แจงการจัดทํารายงานผลกระทบรายใดกล าโต แย งคําสั่ง คําถามของคณะกรรมการผู ชํานาญการ)

52


ผลของการต องยอมรับฟ งโดยไม อาจอธิบายหรือโต แย งความถูกต องของการจัดทํารายงานผลกระทบ ผูจ ดั ทํารายงานผลกระทบจึงต อง ยอมรับและสัง่ การให สถาปนิกหรือวิศวกรผูอ อกแบบในโครงการนัน้ ต องแก ไขแบบแปลน รูปแบบ ตลอดจนรายการต างๆ (ทัง้ ๆ ทีไ่ ม ขดั ต อกฎหมายใดๆ) การจัดทํารายงานผลกระทบแต ละครั้งจะต องจัดทําเป นเอกสารขนาด A4 ส งกรรมการจํานวน 15 ชุด และเก็บ เป นเอกสารหลักฐานฝ ายผู ขออนุญาตไว ไม น อยกว า 6 ชุด รวม 21 ชุด มีความหนาชุดละ 300-400 หน า ซึ่งในข อเท็จจริงไม ปรากฏ ว าคณะกรรมการผู ชํานาญการได เคยตรวจสอบหรืออ านข อมูลหลักฐานหลักเกณฑ ในรายงานสิ่งแวดล อมเหล านั้นก อนการประชุม คณะผู ชํานาญการจะเป ดหน าเอกสารแล วตั้งประเด็นคําถามตามทัศนคติ อคติ ของตนเองตามความพึงพอใจเป นส วนใหญ สรุปเป นผลก็คือ ต องมีการแก ไขเอกสารรายงานผลกระทบนั้นใหม แล วดําเนินการเช นเดียวกับการจัดส งรายงานผลกระทบครั้งแรก คือ จัดพิมพ 21 ชุด นั่นก็คือ การเสียเวลา เสียโอกาส ยุ งยาก สับสน เกินความจําเป นทางวิชาการ และที่สําคัญก็คือ เอกสารการจัด ทํารายงานนั่นเองเป นส วนหนึ่งของการสูญเปล าของสิ่งแวดล อม สุดท ายก็เก็บเอกสารเหล านั้นใส ห องเก็บเอกสารไป ผลกระทบต อรัฐ ที่เกี่ยวข องกับโครงการในส วนอื่นๆ ได แก 1. เป นการใช อํานาจที่ไม เป นธรรม ตามกรณีที่ได ชี้แจงไว ก็คือ ไม มีกฎหมายรองรับ ใช ทัศนคติวินิจฉัยสั่งการเอาโดยทัศนคติส วนตน กระทําตัวอยู เหนือกฎหมาย (ในกรณีดังกล าวคณะกรรมการผู ชํานาญการจะท าทายผู ประกอบการในการเข าชี้แจงว า หากไม พอใจก็ไป ฟ องร องเอา กรณีอย างนี้คนไทยทั้งหลายมักจะมีนิสัยเป นผู กลัวเกรงข าราชการอยู โดยปกติใครจะกล า) 2. คณะกรรมการไม สนใจว าการสั่งการโดยที่ตนใช อํานาจเกินกว ากฎหมายรองรับ ไม ผ านรายงานผลกระทบสิ่งแวดล อมนั้น มีผล กระทบต อภาคเศรษฐกิจการลงทุน (ทั้งๆ ที่ในคณะกรรมการดังกล าวมีผู เชี่ยวชาญด านเศรษฐศาสตร สิ่งแวดล อม) ทั้งนี้เพราะการลงทุนในอสังหาริมทรัพย นั้น ส วนหนึ่งที่มีผลต อรัฐก็คือ 1. การสร างงาน 2. การสร างมูลค าทางเศรษฐกิจจากการลงทุนของประเทศ 3. การช วยเหลือภาครัฐในการจัดหาที่อยู อาศัยให แก ประชาชน 4. ทําให การจัดการของเสียที่จะเกิดขึ้นจากผู คนที่มารวมกันอยู อาศัยร วมกัน มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 5. กรณีที่โครงการอยู ในเขตชุมชนเมือง ผังเมืองรวม ลดป ญหาการจัดการและสูญเสียของสาธารณูปโภค สาธารณูปการ 6. ให ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย สินของผู อยู อาศัยร วมกันอย างมีประสิทธิภาพ 7. สุดท ายก็คอื โครงการทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีเ่ มือง ชุมชนเมือง หรือผังเมืองรวม แท จริงนัน้ เป นการรักษาและส งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล อม โดยรวม ลดการกระจายตัวไปสู ชานเมือง ควบคุมการสัญจรได อย างเป นระบบ เป ดพื้นที่ว างของเมืองมากขึ้น จึงสรุปได วา ผลกระทบทีไ่ ด กล าวมานัน้ ไม เคยมีผใู ดทีก่ ล าจะโต แย ง ยกเลิกหรือปรับเปลีย่ นทัศนคติ วิธกี ารพิจารณาของคณะกรรมการ ผู ชํานาญการด านอาคาร การจัดสรรที่ดิน และบริการชุมชน ให เกิดประโยชน ต อการรักษาและส งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล อมอย างจริงจัง อาจเป นเพราะกลัวว าสังคมจะประณาม จะดูถูก จะกล าวหาว าตนเองเป นผู เห็นแก ประโยชน ตนไม รักษาโลก

53


เรื่อง: อรช กระแสอินทร

¨ÑèÇËÑÇÁÒÍ‹ҧ¹Õé ¡ç¤Ô´Ç‹Ò·‹Ò¹¼ÙŒÍ‹Ò¹¤§·ÃÒºáÅŒÇÇ‹Ò¤ÃÑ駹Õé¼Á¨ÐªÇ¹¤Ô´ã¹àÃ×èͧÍÐäà ¤ÃѺ ¼Á¨ÐªÇ¹·‹Ò¹¼ÙŒÍ‹Ò¹ä» à´Ô¹§Ò¹áÊ´§ÊÔ¹¤ŒÒ ËÃ×Í·ÕèàÃÕÂ¡Ç‹Ò Tradeshow ¡Ñ¹ áμ‹¡ç¤Ø¡ѹẺNjÒËÒ¡àÃÒä»à»š¹¼ÙŒáÊ´§ÊÔ¹¤ŒÒËÃ×ͺÃÔ¡Òà 㹧ҹ àÃÒ¨Ðà¡çºà¡ÕèÂÇä´ŒÍÐäèҡ§Ò¹àËÅ‹Ò¹Ñé¹ ก อนอืน่ หัวเรือ่ งทีว่ า Want Innovation? Go to a Tradeshow นี้ ผมขอยืมมาจาก Gary Shapiro จากบทความชือ่ นี้ ที่ได เขียนลงในเว็บไซต ของ Forbes เมื่อป ที่แล ว (http://www.forbes.com/sites/garyshapiro/2012/01/04/ want-innovation-go-to-a-tradeshow) ซึ่งได เขียนเกี่ยวกับงาน International CES ที่จัดโดย Consumer Electronics Association ของสหรัฐ ที่เป นงานแสดงเทคโนโลยีสินค าอุปโภคที่ใหญ ที่สุดในโลก จัดที่ Las Vegas ซึ่งผู ผลิตสินค านวัตกรรมและเทคโนโลยีทั้งหลาย ไม ว า Apple Samsung Nokia Motorola และอื่นๆ ก็มักจะนํา เอาของเจ งๆ ของตัวเองไปเป ดตัวหรือจัดแสดงในงานนี้เช นกัน สิ่งที่ Gary Shapiro ได เขียนในบทความนี้ แสดงถึงการที่ธุรกิจต างๆ ได นําเอาเทคโนโลยีที่แม ว าจะยังไม ออกสู ตลาด แต นํามาจัดแสดงทดสอบตลาด การที่ธุรกิจเกิดใหม ใช ประโยชน จากโอกาสในการที่ได เจอกับลูกค าหรือผู ใช โดยตรง เพื่อแนะนําผลิตภัณฑ ของตนเอง และนําเอาคําติชมต างๆ ไปพัฒนาผลิตภัณฑ ของตนเองต อไป ย อนกลับ มาที่วงการวัสดุก อสร าง ผมมองความสัมพันธ ระหว างลูกค ากับผู ผลิตไม ต างกัน การไปเดินงานและร วมออกงาน แสดงสินค านั้น ให ประโยชน กับคนในวงการได มาก โดยเฉพาะกรณีที่คุณต องการไอเดียแนวคิดอะไรใหม ๆ ในการไปเดินดูงานแสดงสินค า คุณจะได เห็นผลิตภัณฑ ของคู แข ง ได เห็นผลิตภัณฑ ใหม ของคู แข ง ได เห็นทั้งรูป ร างหน าตา และยังได ทดลองใช งานและสัมผัสจริง แตกต างจากที่คุณเป ดนิตยสารแล วดูโฆษณาหรือที่เห็นจากใน อินเตอร เน็ท นอกจากนี้ สิง่ ทีผ่ มคิดว าสําคัญคือคุณยังจะได ทดสอบทีมงานของคูแ ข งคุณจากการพูดคุยตอบคําถาม เป นการทดลองเปรียบเทียบดูได ว าทีมงานของเรานั้นเตรียมการดีแล วหรือไม จากประสบการณ ในวงการนี้ ผมก็ใช งานสถาปนิกหรืองานอืน่ ๆ เป นท่หี าข อมูลของผลิตภัณฑ จากคูแ ข ง บางอย างเหมือน เป นการเป ดตัวในงาน ก็เป นโอกาสที่จะได เตรียมพร อมรับมือต อสินค าเหล านั้น ผลิตภัณฑ บางอย างที่เป นระบบ ซับซ อน เช น ระบบควบคุมไฟฟ า ก็เป นโอกาสให ได ทดลองใช งานระบบของคูแ ข งทีป่ กติกอ็ าจจะไม ได มโี อกาสเท าใดนัก นอกจากนี้ การไปเดินงานแสดงสินค า ทําให เราได แนวคิดใหม ๆ จากการเห็นผลิตภัณฑ อนื่ ๆ ทีอ่ าจจะอยูน อกเหนือ กลุม สินค าของคุณ สิง่ ทีค่ ณ ุ ได เห็นจะช วยสร างแนวคิดทีจ่ ะนํามาประยุกต ใช กบั ผลิตภัณฑ ของเรา ผมยกตัวอย างงาน จริงก็เช นการเดินงานทําให ได สรี นุ ใหม ทผี่ สมสารช วยในสะท อนความร อนได หากคุณเป นผูผ ลิตกระเบือ้ งมุงหลังคา ก็เป นโอกาสที่จะสอบถามดูเลยว าจะเอาสีของเขามาเคลือบกระเบื้องของเราได หรือไม การไปเดินงานแสดงสินค าอื่นๆ ก็อาจให แรงบันดาลใจกับคุณได งานแสดงสินค าหัตถกรรม อาจจะทําให คุณได แนวทางในการพัฒนาสินค าที่เป นงานออกแบบใหม ๆ โดยอาศัยรูปแบบหัตถกรรมก็เป นได หรือการไปงานของ แต งบ าน ก็จะทําให เราได เห็นเทรนด หรือแนวทางของงานออกแบบบ านและการแต งบ านที่แปลกใหม และกําลัง เป นที่นิยมได สําหรับในฐานะที่คุณออกงาน โอกาสที่จะเจอกับลูกค านั้น เป นช วงเวลาที่ล้ําค าเป นอย างมาก น อยครั้งที่คุณจะเจอ กับลูกค าหลายรายในเวลาอันสั้น ไม รวมกับคนที่เดินชมในงานและมีโอกาสเป นลูกค าของคุณในอนาคตอีกจํานวน มาก สิ่งสําคัญของการออกงานในฐานะผู จัดแสดงนั้น คือการเตรียมตัวเองให พร อมทุกด าน

54


ผลิตภัณฑ ทจี่ ะออก ควรเป นผลิตภัณฑ ทใี่ หม หน อยเพือ่ เรียกความสนใจได การออกงานแสดงสินค าเพือ่ เป ดตัวสินค า ใหม เป นช วงเวลาทีด่ ี อาจจะออกก อนเป ดตัวสักนิดเพือ่ ทดสอบตลาดไปในตัวก็ยงิ่ ดี แต สงิ่ สําคัญคือต องระวังการเข า มาล วงความลับจากคูแ ข ง (ซึง่ คุณก็ทาํ เช นกัน) ผลิตภัณฑ ใหม หรือแนวคิดใหม ทจี่ ดั แสดงนัน้ ควรได รบั การคุม ครอง ทรัพย สินทางป ญญา เช น การจดสิทธิบัตรแล วถึงนําออกมาจัดแสดงได การเตรียมตัวทีมงานนั้นก็สําคัญ ควรเตรียมพร อมด านความรู ในผลิตภัณฑ อาทิ จุดขาย การผลิต วัสดุ ผลกระทบ ต อสิง่ แวดล อม การติดตัง้ การจัดส ง และราคา ซึง่ เหล านีเ้ ป นคําถามทีค่ าดได วา จะถูกถามค อนข างแน นอน แต อย า เตรียมบทแล วให ทอ งนะครับ การทีท่ มี งานของเราท องไปตอบ ลูกค าจะรูส กึ ว ารูไ ม จริง ไม นา สนใจ การเตรียมพร อม ต องทําให ทีมงานที่ส งไปรับลูกค ามีความเข าใจมากกว าจดจํา ส วนรูปแบบของบูธและวิธีการจัดแสดง ผมคงข าม ข อนีไ้ ป เพราะท านผูอ า นโดยเฉพาะทีม่ าจากสายวัสดุกอ สร างคงมีความรูม ากกว าผมแน แต ทแี่ น นอนคือขอให ลกู ค า รู ว านําเสนออะไรนะครับ บางงานผมเห็นว าพริตตี้เด นกว าของที่ขายมากมาย นอกจากนี้ การออกงานแสดงสินค า ก็เป นการสร างความสัมพันธ กับลูกค าผ านกิจกรรมได เช นการออกบัตรเชิญลูกค าไป ซึ่งหากลูกค านําบัตรเชิญเข า ก็เตรียมของขวัญให และการได พูดคุยกับลูกค าก็เป นโอกาสที่จะทําความรู จักกับลูกค าได มากขึ้นไปด วย โดยส วนตัว ผมเป นคนชอบเดินงานแสดงสินค า ไม จํากัดเฉพาะสิ่งที่ตัวเองทํางานอยู แต หากมีโอกาส งานรถยนต เครื่องจักร อาหาร หรือแม แต OTOP ผมก็ชอบที่จะไปดู ดูว ามีอะไรใหม มีอะไรที่เราเก็บเกี่ยวมาใช ประโยชน ได ผมเชือ่ ว าการได เห็นสิง่ ทีแ่ ตกต าง จะช วยขยายวิสยั ทัศน ของเราให ได เห็นการคิดค น Solution ใหม ๆ เพือ่ แก ปญ หาของ คนเราในอุตสาหกรรมหรือวงการต างๆ ทีไ่ ม แน วา แนวทางเหล านัน้ ก็อาจจะนํามาใช ในวงการก อสร างได นอกจากนี้ ผมต องบอกว างานแสดงสินค าของประเทศไทยนั้น มีการสร างบูธและกิจกรรมต างๆ ที่ไม แพ ระดับโลกเลย ยังไม รวมถึงทีมงานที่แต งตัวสวยงามรอรับการเยือนพื้นที่แสดงสินค าของเขา เพราะฉะนั้น การไปงานแสดงสินค าให อะไรมากกว าที่คุณคิดนะครับ Image source: 01. The largest HVACR show in the United States, 66thInternational Air Conditioning, Heating, Refrigeration Exposition in New York City (January 21-23, 2014), from AHR Expo 02. A French Pavilion in London at the Insight Show and another one at the In-Store Show, at Olympia in Central London on 29-30 June 2011,from www.ubigrance.com 03. CES 2014 , from Intel Free Press 04. CES 2014 , from http://news.webershandwick.com/ 55


เรื่อง: ผศ.ดร.จตุวัฒน วโรดมพันธ PhD. LEED AP, TREES Founder คุณอภินันท ปานสาย M. Eng. TREES-A

ป จจุบนั ปรากฎการณ เกาะร อน หรือ Heat Island Effect ซึง่ บางท านคงเคยได ยนิ คําว า โดมความร อน กําลังเป นที่โจทย ขานกันในวงสนทนา ไม ว าจะเป นประเด็นทางด านสิ่งแวดล อม ประเด็น ทางด านสภาพลักษณะของอากาศที่แปรเปลี่ยนไป หรือแม กระทั่งประเด็นในการออกแบบทาง ด านสถาป ตยกรรม ปรากฎการณ เกาะร อน หรือ Heat Island นัน้ อันทีจ่ ริงแล วเป นผลมาจากการสะสมความร อนใน ตัวของวัสดุ โดยเฉพาะวัสดุหลังคา หรือวัสดุคลุมทับผิวหน า ทัง้ ยังผลให สภาพหรือสภาวะโดยรอบ อาณาบริเวณนั้น มีอุณหภูมิสูงขึ้นกว าปกติเมื่อเทียบกับกรณีของธรรมชาติเพียงป จจัยเดียว หากเปรียบเทียบการวัดอุณหภูมิอากาศโดยรอบ ในกรณีที่เป นบริเวณพื้นที่สวนหลังคา หรือ Green Roof เปรียบเทียบกับอุณหภูมิบนพื้นที่ดาดแข็งคอนกรีตธรรมดาแบบที่เราๆ ท านๆ เห็นอยู กันโดยทั่วไป ก็จะพบว าอุณหภูมิที่อ านได มีค าแตกต างกัน ซึ่งในกรณีของ Green Roof จะมีแนวโน มอุณหภูมิที่ต่ํากว า ปรากฎการณ เกาะร อน คือ ปรากฎการณ ทพี่ นื้ ทีใ่ นเขตบริเวณนัน้ มีอณ ุ หภูมสิ งู กว าบริเวณโดยรอบ อย างมีนัย ความแตกต างของอุณหภูมิที่สูงกว านั้น จะมีความชัดเจนในตอนเวลากลางคืน มากกว าเวลากลางวัน และในฤดูหนาวมากกว าฤดูร อน สาเหตุสําคัญจริงๆ ของปรากฏการณ ดังกล าว ได แก การดูดซับและสะท อนกลับของความร อนในตัวของวัสดุ โดยเฉพาะวัสดุหลังคา ดังกล าวไปแล วข างต น ในบางครั้งจะมีกรณีของอาคารสูงบังลม และความร อนที่ปลดปล อย มาจากการใช พลังงานต างๆ ร วมเป นป จจัยเสริมด วย ดังนั้น การออกแบบในเชิงสถาป ตยกรรมจึงเข ามามีบทบาทสําคัญ และเป นอีกกลไกหนึ่งที่จะ ลดทอนถึงประเด็นป ญหาดังกล าวได ผ านการออกแบบวัสดุหลังคาที่มีความเหมาะสมและมี คุณสมบัตใิ นการดูดซับความร อนได ตา่ํ ในทีน่ จี้ ะกล าวถึงวัสดุหลังคาทีม่ คี า Solar Reflectance Index (SRI) หรือค าดัชนีการสะท อนรังสีดวงอาทิตย ที่สูง นอกเหนือจากกรณีของ Green Roof ที่ใช กันอย างแพร หลายในป จจุบัน แต บางอาคารอาจจะติดประเด็นเกี่ยวกับพื้นที่ ความลาดชัน การบํารุงดูแลรักษาต นพืชที่ปลูก จนเป นสาเหตุและอุปสรรคที่ทําให ไม สามารถใช กรณีของ Green Roof ได หลักในการออกแบบวัสดุหลังคา ที่มีคุณสมบัติค า SRI สูง ยกตัวอย างตามข อกําหนด LEED ของสหรัฐอเมริกา กล าวง ายๆ สําหรับในกรณีหลังคา (Heat Island Effect-Roof) สามารถ แบ งได เป น 2 กรณี (1) กรณีหลังคาที่ความชันต่าํ กว า 2:12 (แนวตัง้ :แนวนอน) ต องใช วสั ดุหลังคาที่มคี า SRI ตัง้ แต 78 ขึ้นไป สังเกตง ายๆ ลักษณะสีของวัสดุหลังคาจะออกสีเกือบขาว และ (2) กรณีที่หลังคาที่มีความชันมากกว า 2:12 ต องใช วัสดุหลังคาที่มีค า SRI ตั้งแต 29 ขึ้นไป สังเกตง ายๆ อีกครัง้ คือ ลักษณะสีของวัสดุหลังคาออกจะออกโทนสีออ น เช น สีเทาอ อน, สีครีม หรือ สีน้ําตาลอ อน เป นต น ในป จจุบัน ผู ผลิตวัสดุหลังคาหลายรายในประเทศไทย ก็หันมามองประเด็นนี้มากยิ่งขึ้น เริ่มพัฒนาวัสดุผลิตภัณฑ ของตนเอง โดยเฉพาะวัสดุหลังคาที่มีค า SRI สูงๆ ในหลายหลาก เฉดสี ให ครอบคลุมถึงความต องการของผู บริโภคในวงกว าง ซึ่งเราก็สามารถตรวจสอบ คุณสมบัติของวัสดุดังกล าวได จากผู ผลิตโดยทั่วไปครับ

56



เรื่อง: ผศ.ณัฐธร ธรรมบุตร

Casulo: Funiture 㹡ŋͧ

ดูๆ แล วก็เหมือนไม มอี ะไรเลย แต ภายในกล องใบนีม้ ที งั้ อาร มแชร โต ะทํางาน Stool แบบปรับความสูงได ชัน้ หนังสือ เตียง และอุปกรณ เครือ่ งนอนครบ ในชือ่ ว า “Casulo” โดยนักออกแบบ Marcel Krings & Sebastian Muhlhauser ภายในกล องใบนีซ้ อ นเฟอร นเิ จอร ทงั้ หมดทีจ่ ะพร อมใช ใน Apartment ในขนาดกล อง 80 X 120 เซนติเมตร เพียงใช แค คนสองคนก็สามารถย ายเฟอร นิเจอร ทั้งหมดและประกอบกลับได อย างง ายดาย โดยที่เฟอร นิเจอร แต ละชิ้นใช เวลาแค 10 นาที ในการประกอบต อชิ้นโดยไม ต องอาศัยเครื่องมือใดๆ (หวังว าคู มือจะอธิบายได ดีกว าของ IKEA) แม กระทั่งตัวกล องเองก็ถูกใช งานได ไม มีอะไรเสียเปล าเลย Casulo ได รับรางวัล Abraham & David Roentgen Award ในป 2007 สําหรับไอเดียความคิดที่แสนจะเรียบง าย แหล งทีม่ า: http://www.treehugger.com/sustainable-product-design/casulo-an-entire-apartments-furniture-in-one-small-box.html

Eco Whisper Wind Turbine

หากอยากได พ ลั ง งานจากลมแต ท นเสี ย งหนวกหู ข องกั ง หั น ลมไม ไ ด Eco Whisper สามารถแก ป ญ หาได ผลงานออกแบบของ Australia Renewable Energy Solution ด วยรูปร างประหลาดที่มีแนวคิดมาจาก Turbine Form ของเครื่องพิมพ เจท สามารถผลิตกําลังได 20 วัตต ที่ทํางานได อย างเงียบสนิท มันมีขนาดเส นผ าศูนย กลาง 61 เมตร และมีความสูงของ Tower ทีร่ ะดับ 23 เมตร คาดว าความเงียบจะเป นจุดขายสําหรับการนํามาใช ในชุมชน ที่ไม ชอบความวุ นวายและเสียงรบกวน แหล งที่มา: http://www.treehugger.com/wind-technology/30-blade-eco-whisper-turbine-virtually-silent.html

58


Philips One Space แนวคิดใหญ ที่น าสนใจนี้ถูกพัฒนาขึ้นที่ Philips กล าวคือ แนวคิดเรื่องการพัฒนาประโยชน ใช สอยของผลิตภัณฑ LED หรือ Light Emited Dioad ที่มีอายุการใช งานยาวนาน นานกว าผลิตภัณฑ ที่ใช แสงชนิดอื่นๆ และยาวนานพอๆ กับ อายุของอาคาร แนวคิดของ Philips ก็คือ การอาศัยอายุการใช งานอันยาวนาน ผนวกผลิตภัณฑ เข ากับอาคารเลย โดยผนวกผลิตภัณฑ ให เข าไปเป นส วนหนึ่งของอาคารมากกว าอุปกรณ ที่มาติดตั้งภายหลัง และ Philips ได แนะนํา ผลิตภัณฑ ที่ชื่อว า One Space โดยแนวคิดนี้จะรวมร างกับแผ นไฟเบอร กลาส และมาร วมเป นส วนหนึ่งของผิวผนัง ไม ได เป นแค อุปกรณ หรือระบบแสงอีกต อไป และไม เหมือนอุปกรณ Built-in อื่นๆ อุปกรณ ของ Philips นี้จะเป นส วน หนึ่งของการใช งานในพื้นที่ ยกตัวอย างเช น ทําเป นคล ายแผงฝ าเพดาน ที่สามารถหย อนแผงลงมาที่ระดับพื้นเมื่อจะ ต องการเซอร วิส แนวคิดดังกล าว เคยมีการใช มาก อนในผลิตภัณฑ ชื่อ “Luminus” ตั้งแต สมัย 60’s แต ด วยความที่ ต องมีการบํารุงรักษาสูงและมีค าใช จ ายแพงมาก ซึ่งแตกต างจาก One Space ที่ผลิตภัณฑ ดังกล าวมาในรูป Panel ขนาด 3x10 เมตร และมีความหนาราว 10 เซนติเมตรเท านั้น สามารถผลิตแสงที่สม่ําเสมออย างต อเนื่อง ด วย ประสบการณ การได ทํางานภายใต คุณภาพแสงที่ดีและน าประทับใจ จะทําให การทํางานน าสนุกขึ้น เรื่องนี้นับว าใกล จินตนาการของ Sci-Fi เข าไปทุกที ดังที่ Isac Azimov กล าวไว ตงั้ แต ป 1964 ว า “สักวันผนังและฝ าเพดานในอนาคตจะ เรืองแสงและปรับได แค ปลายนิ้วสัมผัส” เรื่องนี้นับว าใกล ความจริงเข ามาทุกทีแล ว แหล งที่มา: http://www.treehugger.com/interior-design/lighting-becomes-building-philips-onespace.html

59


Wind Turbine »Õ¡áÁŧ»Í The Libellula ( แมลงปอ) เป น Wind Turbine ที่ออกแบบโดยสถาปนิกดัง Renzo Piano Building Workshop (RPBW) ภายใต การสนับสนุน ของหน วยงาน Enel Green power เป นการออกแบบใบกังหัน สําหรับติดตัง้ ในเมืองที่มีแรงลมต่ํา แต ก็สามารถผลิตกําลังไฟได ถึง 55 Kw เพียงพอ สําหรับบ าน 15 หลัง เป นการออกแบบโดยใช วัสดุชนิดเบา เช น Carbon Polycarbonate ด วยเส นผ าศูนย กลางของเสาแค 35 เซนติเมตร สําหรับ ความสูง 20 เมตร ด วยใบพัดแค 2 ใบ จากปกติ 3 ใบ เมื่อไม มีลมใบจะ ตั้งตัวในแนวดิ่ง และจากการศึกษาการบ านของป กแมลงปอ ใบของ Wind Turbine จึงมีบางส วนทีใ่ สและบุดว ย Plexiglass เพือ่ แสดงให เห็นโครงสร าง แบบโครงป ก เพือ่ ให ได ความแข็งแรงในขนาดของวัสดุทเี่ ล็ก ระหว างท อกลาง สามารถผลิตกําลังได ถึง 1200 KWh แหล งที่มา: http://www.treehugger.com/wind-technology/dragonfly-windturbine-aims-blend-produce-power-low-wind-conditions.html

Êоҹ¾ÅѧáʧÍÒ·Ôμ ·Õè London เรามาสู ยุคที่กําลังจะเปลี่ยนจากการใช พลังงาน Fossil มาสู ยุคของพลังงานสะอาด ที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสําหรับประเทศอังกฤษถือได ว าเป นประเทศแรกที่ปฏิวัติอุตสาหกรรม Iconic ที่สําคัญ ได แก รถไฟในยุค เครื่องจักรไอน้ํา และอีกครั้งกับสะพานรถไฟเก าได ที่ถูกแปลงให เป น Solar Cell Farm ที่ใหญ ที่สุดในโลก “Blackfriars Bridge” โดยการบูรณะสะพานเก าดังกล าว ทําให สามารถผลิตพลังงานได 900,000 kWh ต อป ด วย พืน้ ทีก่ ว า 6,000 ตารางเมตร ของ Solar Cell แบบ PV ทําให กาํ ลังผลิตเป น 50% ของพลังงานทีส่ ถานี Blackfriars Station ใช งาน ถือได ว าเป นแผง Solar Cell ที่ใหญ ที่สุดใน London ประเทศอังกฤษ เพราะจะหาที่โล งๆ ที่ใหญ ๆ พอจะ ติดตั้ง Solar Cell ใน London คงจะไม ใช เรื่องง ายๆ ผู พัฒนาแนวคิดดังกล าว คือ Derry Newman จาก Solar Century โดยมีแนวคิดที่ว าสะพานดังกล าว เป นทั้งสัญลักษณ ของการใช พลังงานไอน้ําจากถ านหิน, รถไฟ ซึ่งเป น ที่ว างขนาดใหญ ของ Urban Area และติดต อกับสถานีรถไฟ Blackfriars โปรเจ็กต นี้จะเป นการประชาสัมพันธ และ เป นตัวอย างของการใช พลังงาน Solar Cell และจะนําไปสู ความเข าใจในการใช งานต อในอนาคต แหล งที่มา: http://www.treehugger.com/renewable-energy/worlds-largest-solar-bridge-now-officially-launched.html

60



เรื่อง: ผศ.รัชด ชมภูนิช คณบดีคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

¤³Ðʶһ˜μ¡ÃÃÁÈÒÊμà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉμÃÈÒÊμà ¡‹Í¡íÒà¹Ô´¨Ò¡ÊÒ¢ÒÇÔªÒºÃÔËÒá‹ÍÊÌҧ ˹Öè§ã¹ÊÒ¢ÒÇÔªÒã¹ÀÒ¤ÇÔªÒÇÔÈÇ¡ÃÃÁâÂ¸Ò ¤³ÐÇÔÈÇ¡ÃÃÁÈÒÊμà μÒÁ¹âºÒ¡ÒâÂÒÂâÍ¡ÒÊ ·Ò§¡ÒÃÈÖ¡ÉҢͧÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉμÃÈÒÊμà μÑé§áμ‹»Õ ¾.È. 2537 à¾×èÍà»Ô´âÍ¡ÒÊ·Ò§¡Òà ÈÖ¡ÉÒ áÅТÂÒÂͧ¤ ¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ¤ÃºÇ§¨Ãã¹°Ò¹ÐÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¢ͧÃÑ°ã¹ÅíÒ´ÑºμŒ¹ áÅЪ‹ÇÂàμÔÁàμçÁ »ÃѪÞÒ´Ñé§à´ÔÁ¢Í§ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉμÃÈÒÊμà ·ÕèÁØ‹§ÊÌҧÊÃä “¤ÇÒÁÍÂÙ‹´Õ ¡Ô¹´Õ ÁÕÊØ¢” ¢Í§»ÃЪҪ¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â´ŒÇÂÈÒÊμà ´ÒŒ ¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ à¹×Íè §ã¹ÇÒÃФúÃͺ©Åͧ·ÈÇÃÃÉ ã¹¡Òá‹ÍμÑ駤³Ðʶһ˜μ¡ÃÃÁÈÒÊμà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉμÃÈÒÊμà “Êͧ·ÈÇÃÃÉ...ʶһ˜μ à¡ÉμÔ ·Õäè ´ŒÁ§Ø‹ ÁÑ¹è ¼ÅÔμºÑ³±Ôμʶһ˜μ¡ÃÃÁà¾×Íè ÊÔ§è áÇ´ÅŒÍÁ áÅл¯ÔºμÑ ÀÔ ÒáԨʹѺʹعǧ¡Òà ÇԪҪվʶһ˜μ¡ÃÃÁÁÒÍ‹ҧμ‹Íà¹×èͧ ¨Ö§¢Í㪌âÍ¡ÒʹÕéá¹Ð¹íÒ¤³Ðʶһ˜μ à¡ÉμÃãËŒ·‹Ò¹¼ÙŒÍ‹Ò¹ ä´ŒÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñ¹ÁÒ¡¢Öé¹¼‹Ò¹ 5 ¤íÒ¶ÒÁ μ‹Í仹Õé ความแตกต างระหว างคณะสถาป ตย เกษตร กับคณะสถาป ตย จากสถาบันอื่นๆ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร ได กําหนดวิสัยทัศน ของคณะไว ว า “เป นผู นําด านการวิจัย วิชาการ และบูรณาการ องค ความรูใ นวิชาชีพด านการออกแบบสถาป ตยกรรมยัง่ ยืน และสภาพแวดล อม ทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติ ตลอดจน มีภารกิจในการจัดการเรียนการสอนในศาสตร ด านสถาป ตยกรรมและที่เกี่ยวข อง เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีจิตสํานึก ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล อม มีคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบด านวิชาชีพต อสังคม และศึกษาวิจัยเพื่อ พัฒนาองค ความรู ตอบสนองการเรียน การสอน ด านการออกแบบที่เป นมิตรกับสิ่งแวดล อม” ดังนั้น จึงจะเห็นได ว าผลผลิตบัณฑิตของคณะจะถูกปลูกฝ งและมุ งเน นผ านการเรียนการสอน และการศึกษาวิจัย ให มีจิตสํานึกที่ดีในการสงวนรักษาสิ่งแวดล อม ควบคู ไปกับการออกแบบที่คํานึงถึงประโยชน สาธารณะและสังคม เป นสําคัญ ความแตกต างทีเ่ ห็นชัดเจนนอกเหนือจากตัวเนือ้ หาหลักสูตร และรายวิชาทีเ่ น นการออกแบบสถาป ตยกรรม เพื่อความยั่งยืนตั้งแต ชั้นป ตน แล ว การเรียนสถาป ตย ในสถาบันอื่นๆ สอนให ออกแบบเป น สอนให สร างได สอนให ทํางานได ซึง่ มิได มคี วามแตกต างจากการเรียนการสอนสถาป ตย ทวั่ ไป แต สถาป ตย เกษตรจะเติมเต็มความรูใ ห นสิ ติ รูจ กั สภาพแวดล อม รูจ กั ธรรมชาติ รูจ กั กายภาพรอบตัว เพือ่ ให นสิ ติ เข าใจกระบวนการว าจะออกแบบสถาป ตยกรรม เข าไปตั้งอยู หรือผสมผสานกับที่ตั้งและสภาพแวดล อมได อย างไร และคณะฯ ยังสอนนิสิตให รู จักดิน หิน ทราย ซึ่งเป นวัสดุธรรมชาติมากกว า คอนกรีต เหล็ก กระจก ซึ่งเป นวัสดุสังเคราะห ดังนั้นจึงสามารถสรุปได ว าเอกลักษณ ของบัณฑิตคณะสถาป ตยกรรมศาสตร ที่มีความแตกต างอย างชัดเจนกับ บัณฑิตจากสถาบันอื่นๆ คือ “การมุ งมั่นสร างสรรค สถาป ตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล อม” ซึ่งผู จบการศึกษาจากสถาบัน ทุกคนจะถูกเพาะบ มผ านเนือ้ หาการเรียนการสอน งานออกแบบทีไ่ ด รบั มอบหมาย กิจกรรมองค กร และองค ประกอบ ด านสภาพแวดล อมต างๆ อย างครบถ วน สถาป ตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล อม เป นอย างไร ในองค ประกอบของความยั่งยืนจะประกอบด วย 3 ส วนหลักๆ คือ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล อม ดังนั้น สถาป ตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล อมที่มีจุดมุ งหมายคือการสร างความยั่งยืนของสังคม จะมีผลมาจากการสร างสรรค งานสถาป ตยกรรม ภูมสิ ถาป ตยกรรม และเมือง โดยใช เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมผสานความต องการของมนุษย เข ากับ ธรรมชาติได อย างกลมกลืน และเกิดผลกระทบต อสิ่งแวดล อมน อยที่สุด หากเปรียบเทียบให เห็นภาพชัดเจนสามารถกล าวได ว า การออกแบบสถาป ตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล อมนั้น จะมองตัว อาคารสถาป ตยกรรมเป นส วนหนึง่ ของธรรมชาติแวดล อม และเป นส วนหนึง่ ของระบบนิเวศและสังคม สถาป ตยกรรม ไม ใช มแี ค อาคารแต เพียงอย างเดียว สถาป ตยกรรมยังรวมถึงต นไม ใบหญ า ธรรมชาติแวดล อม และชีวติ ทีเ่ กีย่ วข อง กับสถาป ตยกรรม ดังนั้น สถาป ตยกรรมที่ดีจะผนวกรวมตัวเองเข าไปเป นส วนหนึ่งของสภาพแวดล อม จะสร าง ความกลมกลืนกับสภาพแวดล อมได อย างไร ใช ทรัพยากรให น อยและคุ มค าอย างไร สร างความยั่งยืนให กับชุมชน และสังคมผ านการใช งานในสถาป ตยกรรมได อย างไร สถาป ตยกรรมอาจนํามาใช เป นสื่อกลางในการบูรณาการ ความรูจ ากหลายสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพือ่ นําไปสูก ารสร างสภาพแวดล อมและสังคมทีย่ งั่ ยืนต อไป 62


จุดเด นของสถาป ตย เกษตรคืออะไร เนื่องจากคณะสถาป ตยกรรมศาสตร ถือกําเนิดภายใต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อันอุดมไปด วยทรัพยากรทาง วิชาการทางด านนิเวศวิทยา เกษตรกรรม สิ่งแวดล อม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีอย างครบถ วน จึงถือได ว า เป นข อได เปรียบในการบูรณาการองค ความรู จากหน วยงานภายในมหาวิทยาลัย เข ามาเติมเต็มสิ่งที่มิติด าน การออกแบบมิได กล าวถึงไว ได อย างครบถ วน นอกจากนี้ยังเป นโอกาสให คณาจารย และนิสิตได มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู จากสรรพวิชาที่มีความหลากหลาย ภายในมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาและต อยอดได กว างขวางกว าหลายๆ สถาบัน อีกทั้งยังเป นโอกาสในการใช องค ความรู ที่หลากหลายเหล านี้ออกแบบเป นนวัตกรรมทางการออกแบบได อย างมากมายทั้งเชิงสถาป ตยกรรม ภูมสิ ถาป ตยกรรม วัสดุกอ สร างทีเ่ ป นมิตรกับสิง่ แวดล อม ฯลฯ จากผลงานการศึกษาของนิสติ ทัง้ ในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท สถาป ตย เกษตรในอนาคตจะเป นอย างไร หลังจากผ านระยะเวลาช วง 10 ป แรก ในการก อร างสร างคณะที่เกี่ยวข องกับการจัดหาอาคารถาวร การสร างความ เข มแข็งของบุคลากรทัง้ นิสติ และคณาจารย ระยะเวลา 10 ป ให หลัง คณะได ใช เวลาไปกับการพัฒนาระบบงานประจํา และงานสนับสนุนผ านระบบการตรวจสอบและการประกันคุณภาพการศึกษาควบคูไ ปกับการสร างความชัดเจนของ องค ความรู ตามปรัชญาคณะมาอย างต อเนื่อง และยังได เห็นความเจริญงอกงามของบรรดาศิษย เก าที่เริ่มมีผลงาน ด านสถาป ตยกรรม ภูมิสถาป ตยกรรม และการออกแบบปรากฏมากขึ้นในสังคม เพื่อเป นการตอกย้ําความชัดเจน ของแนวทางการสร างสรรค สถาป ตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล อมขององค กรต อสาธารณะมากขึ้น 63


แต อย างไรก็ตามเพื่อให เท าทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย างรวดเร็วของสังคมโลกและเทคโนโลยีสารสนเทศ วงการสถาป ตยกรรมและคณะสถาป ตยกรรมศาสตร ใน 10 ป ต อจากนี้ จะได รับผลกระทบจากการเป ดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนอย างหลีกเลีย่ งไม ได และยังรวมไปถึงการเข าสูร ปู แบบมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ถือป จจัยหลักทีค่ ณาจารย นิสติ และบุคลากรแห งคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จําเป นต องการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและบทบาท ควบคู กับความต องการยกระดับมาตรฐานทางวิชาการของตนเองและ สถาบันการศึกษาของตนให เข าสู สากล ด วยการสร างสรรค ผลงานวิจัย สินทรัพย ทางป ญญา เพื่อการพัฒนาทักษะ ความรูข องทุกภาคส วน ผนวกเข ากับการเพิม่ ศักยภาพในการหารายได แหล งทุนเพิม่ เติม พร อมกับการแสวงหาเครือข าย เพิ่มเติมจากภายในมหาวิทยาลัย จากสถาบันการศึกษาสถาป ตยกรรมในอาเซียน และหน วยงานเอกชนภายนอก ซึ่งสามารถสรุปเป น Roadmap ในอนาคตของคณะ ได ดังนี้ 4.1 การได รับการจัดงบประมาณ 167 ล านบาท จากมหาวิทยาลัยในการก อสร างอาคารนวัตกรรมทางการออกแบบ อุตสาหกรรม จะเป นกลไกสําคัญในการสร างสรรค หลักสูตรใหม ของคณะ (ออกแบบอุตสาหกรรม) เพือ่ เป นการต อยอด การเติมเต็มความรู และสร างสรรค ผลงานด านการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล อมในแง มุมของผลิตภัณฑ และบริการ ที่มีส วนสําคัญในการบูรณาการองค ความรู เข ากับสรรพวิชาอื่นๆ ภายในมหาวิทยาลัย 4.2 การสร างเครือข ายความรู ผ านการศึกษาวิจัยโดยเฉพาะกลุ มประเทศเพื่อนบ านอาเซียน ถือเป นช วงเวลาสําคัญใน การนําศักยภาพและจุดแข็งขององค กรออกไปเผยแพร สู โลกภายนอก ควบคู ไปกับการผสมผสานองค ความรู เหล านี้ เพื่อให เกิดเครือข าย หลักสูตร กิจกรรมความร วมมือด านต างๆ และการเรียนการสอนในรูปแบบใหม ที่สอดคล องกับ ความเปลี่ยนแปลง และเพื่อสร างโอกาสในทางวิชาการและวิชาชีพให แก คณาจารย และนิสิตต อไป 4.3 การสร างสรรค สถาป ตยกรรมเพือ่ สิง่ แวดล อม ยังมีมติ ทิ สี่ าํ คัญคือการพัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องคนในชุมชน และ สังคมด วยการแบ งป นองค ความรูเ พือ่ พีน่ อ งประชาชนในสังคม การผนวกรวมแนวทางการออกแบบเพือ่ ผูพ กิ ารและผูส งู อายุในชุมชน การสร างสุขภาวะที่ดใี นเมืองและชุมชน เป นประเด็นโจทย จากสังคมที่คณะสามารถใช เป นเวทีฝ กปฏิบัติ ให กบั ทัง้ คณาจารย และนิสติ ได อย างมากมาย อีกทัง้ การเรียนรูจ ากชุมชนยังถือเป นโอกาสอันดีทจี่ ะนําองค ความรูจ าก ชาวบ านเหล านั้น มาเผยแพร สู สาธารณะเพื่อสร างความเข มแข็งให กับประเทศต อไป 4.4 การสร า งสรรค ม หาวิ ท ยาลั ย สี เ ขี ย ว (Green University) เป น ภาระหน า ที่ สํ า คั ญ อี ก ประการที่ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร พร อมกับหน วยงานทีเ่ กีย่ วข อง สามารถใช ศาสตร ดา นการออกแบบเพือ่ สภาพแวดล อมกับการ ปรับปรุงมหาวิทยาลัย สูม หาวิทยาลัยสีเขียวอย างเต็มรูปแบบ ควบคูไ ปกับการออกแบบอาคารและการปรับปรุงอาคาร เพื่อการประหยัดพลังงานของหน วยงานภายในมหาวิทยาลัยได อย างมากมาย รวมทั้งยังสามารถลดงบประมาณด าน พลังงานที่ถูกใช ไปอย างเปล าประโยชน เป นจํานวนมาก 4.5 จากการออกแบบทางกายภาพเป นตัวอาคารสถาป ตยกรรม และการออกแบบสภาพภูมทิ ศั น แวดล อมทีเ่ คยกระทํา อยูเ ดิม โอกาสในการสร างสรรค ผลงานจากจินตนาการและองค ความรูข องคณะสถาป ตยกรรมศาสตร ยงั มีอกี มากมาย อันเนื่องมาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และหน วยงานภายใน จําเป นต องปรับตัวเพื่อมุ งหาช องทางหารายได เพิ่ม เติมจากทรัพยากรที่มอี ยู ดังนั้น กลไกในการสร างการธุรกิจบริการในรูปแบบต างๆ ด วยการออกแบบ (Design & Service) และการสร างมูลค าเพิม่ จากการออกแบบ (Value Added by Design) ทีเ่ กิดขึน้ ได ทงั้ จากการพัฒนารูปแบบ ธุรกิจหรือผลิตภัณฑ เดิม (อาทิ การออกแบบพืน้ ทีเ่ พือ่ หารายได ของหน วยงานต างๆ และการปรับปรุงงานเกษตรแฟร ) ไปจนถึงการสร างธุรกิจใหม จากความคิดสร างสรรค จะเป นโอกาสครั้งสําคัญของการตอบโจทย ความต องการ ของลูกค าใหม ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

64


ผศ.รัชด ชมภูนิช คณบดีคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

20 AKU Green Projects คืออะไร และจะเป นประโยชน กับสังคมได อย างไร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เป นหนึ่งในมหาวิทยาลัยของรัฐที่ได รับการจัดสรรงบประมาณที่มาจากเงินภาษีอากร ของพี่น องประชาชน ดังนั้น การใช องค ความรู และทรัพยากรขององค กรตอบแทนกลับสู สังคมถือเป นภารกิจหลัก ประการหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในสังคม ควบคู ไปกับการใช องค ความรู ด านการออกแบบออก เผยแพร และสร างความรู ความเข าใจในวิชาชีพสถาป ตยกรรมผ านป ญหาใกล ๆ ตัว เราจึงริเริ่มโครงการ 20 AKU Green Projects ขึ้น แนวทางดังกล าวจะเริ่มจากการประกาศรับสมัครโจทย และความต องการทางการออกแบบจากประชาชนทั่วไป หน วยงานภาครัฐและเอกชน จํานวน 20 โครงการ เพื่อนํามาพิจารณาคัดเลือกและมอบหมายสู คณาจารย และนิสิต ในแต ละสาขาวิชาที่มีความเกี่ยวข องกับประเด็นป ญหาดังกล าว และใช กระบวนการทางการเรียนการสอนและการ ศึกษาวิจัยระหว างภาคการศึกษาเพื่อแก ป ญหาความต องการดังกล าว ร วมกับเจ าของป ญหา ภายใต กรอบแนวคิด การสร างสรรค สถาป ตยกรรมและการออกแบบเพือ่ สิง่ แวดล อม จนได ผลงานขัน้ สุดท ายทีส่ ามารถนําไปใช งานได จริง ไม ว าจะเป น บ านพักอาศัยขนาดเล็ก อาคาร ที่อยู อาศัย และอาคารสาธารณะขนาดกลางและเล็ก การออกแบบ ภูมทิ ศั น รปู แบบต างๆ การพัฒนาผลิตภัณฑ ทเี่ ป นมิตรกับสิง่ แวดล อม เป นต น เพือ่ เป นการตอบแทนคืนกลับสูส งั คม เพื่อให เกิดประโยชน อย างยั่งยืนต อไป

65


เรื่อง: ปฏิทิน เวลา

㹪‹Ç§»ÅÒÂà´×͹àÁÉÒ¹¶Ö§μŒ¹à´×͹¾ÄÉÀÒ¤Á¹Õé ·ÕèÍÒ¤ÒêÒàŹà¨Íà ÎÍÅÅ ÍÔÁá¾ç¤ àÁ×ͧ·Í§¸Ò¹Õ ä´ŒÁÕ §Ò¹áÊ´§à·¤â¹âÅÂÕ¡Í‹ ÊÌҧ·ÕÂè §Ôè ãËÞ‹·ÊÕè ´Ø ã¹ÍÒà«Õ¹ «Ö§è ÃǺÃÇÁ¼ÅÔμÀѳ± ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ¡ÒÃÍ͡ẺáÅС‹ÍÊÌҧ ¨Ò¡·ÑèÇâÅ¡ â´ÂÁռٌËÇÁáÊ´§ÊÔ¹¤ŒÒ¡Ç‹Ò 600 ÃÒ ÁÒãˌ䴌ÊÁÑ ¼ÑÊáÅÐàÅ×Í¡ÊÃáѹ Builder ã¹àÅ‹Á¹Õ¨é Ö§¢Í ¹íÒàʹÍáÅФѴÊÃÃμÑÇÍ‹ҧÊÔ¹¤ŒÒ·Õè¹Ò‹ ʹã¨ã¹§Ò¹ÁÒẋ§»˜¹ãˌᡋ¼ÙŒÍÒ‹ ¹¢Í§àÃÒ à»š¹¹éÒí ¨ÔéÁ¡Ñ¹àÅç¡æ ¹ŒÍÂæ

SOLAR ROOF TOP à¾ÒàÇÍà ÃÙ¿ ·çÍ» สินค านวัตกรรม: การอนุรักษ และประหยัดพลังงาน ผลิตภัณฑ หลังคาพลังงานแสงอาทิตย ระบบ Solar Rooftop เป นผลิตภัณฑ ของทางบริษทั โซลาร เพาเวอร รูฟ จํากัด ซึ่งเป นบริษัทในเครือของบริษัท เอสพีซีจี จํากัด (มหาชน) ผู นําในการดําเนินธุรกิจทางด านระบบผลิตไฟฟ า พลังงานแสงอาทิตย (โซล าร ฟาร ม) ที่ใหญ ที่สุดทั้งในประเทศไทยและอาเซียน โดยให บริการออกแบบ จัดหา ติดตัง้ บริการหลังการขาย เกีย่ วกับระบบผลิตไฟฟ าโดยพลังงานแสงอาทิตย บนหลังคาทุกประเภท ทัง้ บ านอยูอ าศัย อาคารธุรกิจขนาดเล็ก และอาคารธุรกิจขนาดกลาง-ใหญ ระบบผลิตไฟฟ าจากแสงอาทิตย เพาเวอร รูฟ ท็อป ผลิตด วยอุปกรณ และการติดตั้งที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล จากทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญ มีความปลอดภัยสูง พร อมด วยการรับประกันนานถึง 25 ป

66


คุณสมบัตอิ นั โดดเด นของหลังคานี้ นอกจากจะช วยประหยัดค าไฟฟ าแล ว ยังช วยลดภาวะโลกร อน ซึง่ ประโยชน ของการติดตัง้ หลังคาติดตั้งระบบ Solar Rooftop มีดังนี้ ประโยชน ทางตรง 1. ช วยลดค าไฟฟ ารายเดือน จากการผลิตไฟฟ าจากแสงอาทิตย 2. ช วยลดปริมาณการใช ไฟฟ าในช วง Peak Rate คือ ตั้งแต เวลา 9.00 น.–22.00 น. ของวันจันทร –วันศุกร 3. แผงเซลล แ สงอาทิ ต ย บ นหลั ง คา ช ว ยบั ง แสงอาทิ ต ย ที่ ต กกระทบบนหลั ง คาโดยตรง ช ว ยลดความร อ นของหลั ง คา เป นการลดการทํางานของเครื่องปรับอากาศ และช วยประหยัดค าไฟฟ าทางอ อม 4. ผลตอบแทนจากการลงทุนสูง เฉลี่ยประมาณ 7% ต อป (สูงกว าอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล) 5. ค าใช จ ายในการดูแลรักษาหลังจากติดตั้งต่ํา รวมทั้งมีอายุการใช งานยาวนานสูงประมาณ 25-30 ป ประโยชน ต อสังคมและสิ่งแวดล อม 1. ลดภาวะโลกร อน ลดการปล อยก าชเรือนกระจกสู บรรยากาศโลก 2. ผลิตพลังงานสะอาดไม มีมลพิษ ไร ผลข างเคียงต อสิ่งแวดล อมและสังคม 3. เพื่อความมั่นคงด านพลังงานแก ประเทศ และลดการพึ่งพาการนําเข าพลังงานจากต างประเทศ บริษัท โซลาร พาวเวอร รูฟ จํากัด (SPR) 333/22 อาคารยูไนเต็ดทาวเวอร ซ.สุขุมวิท 55 ถ.สุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 Tel. 02-712-6202-8 Fax. 02-712-6088 67


เครื่องกรองน้ํา รุ น WPU-8240F

เครื่องกรองน้ํา รุ น WPU-6440F

Mazuma Magic ÁÒ«ÙÁ‹Ò áÁ¨Ô¡ สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยี เครื่องกรองน้ําระดับโมเลกุลนาโน ที่สามารถกรองสิ่งสกปรกที่เล็กที่สุดได จากบริษัท มาซูม า (ประเทศไทย) จํากัด ปลอดภัยต อ สิง่ แวดล อมด วยสารทําความเย็น R134a (Non CFC) เป นมิตรต อสิง่ แวดล อม พร อมด วยดีไซน สวยล้าํ สมัย อีกทัง้ ยังประหยัดพลังงาน ด วย LG Compressor ป องกันไม ให เครื่องทํางานเกินกําลัง พร อมด วยสุดยอดเทคโนโลยีระบบกรองน้ํา Nanoceram® ที่ได รับการพัฒนาโดยองค การนาซ า ร วมกับ Argonide Corporation ประเทศสหรัฐอเมริกา เป นการรีไซเคิลน้ําจากการชําระล างในยานอวกาศให กลายเป นน้ําที่ใสสะอาดและปลอดเชื้อโรค โดยใช หลักการ ไฟฟ าที่เป นประจุไฟฟ าบวก (+) ยึดเกาะสิ่งสกปรกปนเป อนที่เป นประจุไฟฟ าลบ (-) มีความสามารถในการกําจัดสารปนเป อนที่มีอยู ใน น้ําได สูง รวมทั้งแบคทีเรีย ซีสต ไวรัส และอนุภาคคอลลอยด เพื่อที่จะได น้ําสะอาด ปราศจากกลิ่น สี และเชื้อโรคเจือปน นอกจากนี้ Nanoceram® ยังได รับรางวัลเกียรติยศ US Space Foundation Hall of Frame Award ในป 2005 ว าเป นสุดยอด เทคโนโลยีระบบกรองน้ําด านไส กรองที่ใช หลักการประจุไฟฟ าบวก ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงในการขจัดสิ่งสกปรกและเชื้อโรคขนาดเล็กได ด วยเทคโนโลยีการกรองชั้นโมเลกุลนาโน ที่สามารถกรองสิ่งสกปรกที่เล็กที่สุดถึง 99.9999% ระดับไมครอนต่ําสุด 0.002 ไมครอน โดยยังคงแร ธาตุที่มีประโยชน ต อร างกาย อย างแคลเซียม แมกนีเซียม เป นต น 68


รุ น WPU-8240F เครื่องกรองน้ําแบบ Stand Alone ที่ถูกออกแบบมาด วยดีไซน ที่บางเฉียบ เพียง 255 มิลลิเมตร (Super Slim Design) สามารถกรองได ทั้งน้ําร อนน้ําเย็น ที่มาพร อมระบบป องกันเด็กจากการถูกน้ําร อนลวก (Chld Lock System) ตัวถังปราศจากสนิมและสารก อมะเร็ง (Stainless Steel Water Tank) ฟ งก ชั่นประหยัดพลังงาน (Energy Saving Dual Switch) ระบบ ป องกันคอมเพรสเซอร ทํางานเกินกําลัง (LG Compressor) อุปกรณ ช วย ควบคุมอุณหภูมิให คงที่ (Themostat) และยังใช สารทําความเย็นที่เป นมิตร ต อสิ่งแวดล อม (R134a – Non CFC) และพิเศษด วยไฟแสดงสถานะ การทํางานของความร อน-เย็น (LED Type of Power) พร อมระบบการกรอง โดยเครื่องกรองน้ําที่มาแนะนําภายในงานนั้นจะเป น 4 ไส กรอง Sediment กรองตะกอนขั้นต น, Ceramic & GAC Filter กรอง สินค าเครื่องกรองน้ําร อน-น้ําเย็น พร อมระบบกรอง 4 เชื้อโรค แบคทีเรีย คลอรีน รส กลิ่น สี และ Nanoceram – PAC® Filter ไส กรอง 6 ขัน้ ตอน Magic รุน WPU-6440F และ Magic กรองเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย ที่มีขนาดเล็ก รุ น WPU-8240F ระบบ 3 ไส กรอง 6 ขั้นตอน ขนาดสินค า 255 x 482 x 1,150 เซนติเมตร รุ น WPU-6440F น้ําหนักสินค า สุทธิ 20 กิโลกรัม / น้ําหนักรวม 23 กิโลกรัม เครื่องกรองน้าํ แบบ Stand Alone ทีไ่ ด รับแรงบันดาลใจ ขนาดความจุ น้ําร อน 2.5 ลิตร / น้ําเย็น 4 ลิตร มาจากเครื่ อ งชงกาแฟของอิ ต าลี (Italian Design) ใช พลังงาน น้ําร อน 450 วัตต / น้ําเย็น 80 วัตต สามารถกรองได ทั้งน้ําร อน-น้ําเย็น ที่มาพร อมระบบ อัตรากรองน้ํา มากกว า 40 ลิตร / ชั่วโมง ป องกันเด็กจากการถูกน้าํ ร อนลวก (Chld Lock System) อุณภูมิความเย็น 4-10 ๐C ตัวถังปราศจากสนิมและสารก อมะเร็ง (Stainless Steel อุณภูมิความร อน 70-90 ๐C Water Tank) ฟ งก ชนั่ ประหยัดพลังงาน (Energy Saving Dual Switch) ระบบป องกันคอมเพรสเซอร ทํางานเกิน และนี่ จึ ง เป น เหตุ ผ ลที่ ทํ า ให ต อ งเลื อ กใช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ Mazuma Magic กําลัง (LG Compressor) อุปกรณ ช วยควบคุมอุณหภูมิ อันมีคุณสมบัติที่โดดเด น คือ สะอาดปลอดภัยด วยเทคโนโลยี Nanoceram ให คงที่ (Themostat) และยังใช สารทําความเย็นที่เป น – PAC® และปราศจากสนิมด วยการขึ้นรูปแบบ Deep Draw ที่ไม มีรอย มิตรต อสิ่งแวดล อม (R134a – Non CFC) อีกด วย เชื่อมต อ ที่มาพร อมกับดีไซน สวยเหมาะสมกับการใช งานในบ านพักอาศัย พร อมระบบการกรอง 4 ไส กรอง Sediment กรองตะกอน สํานักงาน อาคาร และโรงพยาบาล ช วยให ประหยัด คุ มค า เพราะระบบไม มี ขั้นต น, Activated Carbon Block Filter กรองคลอรีน น้าํ เหลือทิง้ ให สนิ้ เปลือง พร อมด วยการรับรองคุณภาพสูงด วยมาตรฐานระดับ รส กลิ่น สี, Ceramic & GAC Filter กรองเชื้อโรค โลก อีกทัง้ ยังมีบริการหลังการขายโดยทีมงานมืออาชีพทีช่ าํ นาญการกว า 20 ป แบคทีเรีย คลอรีน รส กลิ่น สี และ Nanoceram – จึงหายห วง หมดกังวล กับผลิตภัณฑ Mazuma Magic PAC® Filter กรองเชือ้ ไวรัสและแบคทีเรีย ทีม่ ขี นาดเล็ก ระบบการกรองน้ําในหลายระดับ ได แก ระดับที่ 1 Sediment กรองตะกอนขั้นต น ระดับที่ 2 Activated Carbon Block Filter กรองคลอรีน รส กลิ่น สี ระดับที่ 3 Ceramic & GAC Filter กรองเชื้อโรค แบคทีเรีย คลอรีน รส กลิ่น สี ระดับที่ 4 Nanoceram – PAC® Filter กรองเชือ้ ไวรัส และแบคที เ รี ย ที่ มี ข นาดเล็ ก ที่ สุ ด ระดั บ ไมครอนต่ําสุดที่ 0.002 ไมครอน

ขนาดสินค า น้ําหนักสินค า

350 x 438 x 1,230 เซนติเมตร สุทธิ 24 กิโลกรัม / น้ําหนักรวม 27 กิโลกรัม ขนาดความจุ น้ําร อน 2.5 ลิตร / น้ําเย็น 4 ลิตร ใช พลังงาน น้าํ ร อน 450 วัตต / น้าํ เย็น 80 วัตต อัตรากรองน้ํา มากกว า 40 ลิตร / ชั่วโมง อุณภูมิความเย็น 4-10 ๐C อุณภูมิความร อน 70-90 ๐C

บริษัท มาซูม า (ประเทศไทย) จํากัด 747/96 ถ.กรุงเทพฯ-นนทบุรี บางซื่อ กทม. 10800 Tel. 02-911-4100-3 Fax. 02-586-9743 Email. info@mazuma.co.th

69


PANO TOUCH VDO WALL ¾Òâ¹ ·Ñª ÇÔ´ÕâÍ ÇÍÅÅ สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ สมาร ทมีเดีย พาโน ทัช วิดีโอ วอลล เป นผลิตภัณฑ ของทาง บริษัท วินโดพลัส จํากัด ผู สร างสรรค เทคโนโลยีใหม ๆ ให กับ อุตสาหกรรมฟ ล มกรองแสงและฟ ล มติดกระจก ด วยสินค าและนวัตกรรมใหม ล าสุด เช น ฟ ล ม LCD Smart Film และเริ่มต อเนื่องมา ทางด านสมาร ทมีเดียอย างวิดโี อวอลล นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังมีการลงทุนในนวัตกรรมอย างต อเนือ่ ง ด วยการจัดตัง้ หน วยงานกราฟฟ ก สามมิติ และเป ดตัวจอสามมิติแบบไร แว นอีกด วย และด วยผลิตภัณฑ ตัวใหม ที่จะมาเปลี่ยนกําแพงผนังเรียบๆ ที่ว างเปล าให มีชีวิตชีวา ด วยระบบสั่งงานอัจฉริยะ (Smart Interaction) ที่นําเอาจอ TV มาประกอบกันเป นจอหลายขนาดใน 1 หน าจอ หรือหลายหน าจอ สามารถติดตั้งได ทั้งแนวตั้งและแนวนอน อีกทั้ง สามารถเป น TOUCH SCREEN ในตัวและแสดง Content ได อย างต อเนื่องในหลายๆ รูปแบบ เช น ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง ข อความ วิ่งต างๆ เป นต น ด วยคุณสมบัติอันโดดเด นที่สามารถควบคุมการทํางานด วยการเชื่อมต อกับ iPad เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการใช งาน และทําให ผู ใช งานสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถประยุกต ใช เป นเกมส เพื่อสร าง Interaction กับผู ใช งานกลุ มอื่นๆ ได อีกด วย พาโน ทัช วิดีโอ วอลล ระบบ Smart Interaction ที่จะพาคุณก าวเข าไปสู โลกแห งจินตนาการ และเป ดประสบการณ ใหม กับเทคโนโลยี สุดล้ํา ที่เตรียมพร อมให คุณได สัมผัสจริงแล ว ณ โชว รูม คริสตัล ดีไซน เซ็นเตอร อาคาร F ห อง 212 โทร. 02-102-2158 บริษัท วินโดพลัส จํากัด อาคาร F1 ชั้น 2 คริสตัลดีไซน เซ็นเตอร บางกะป กทม. 10150 Tel. 02-102-2158 info@windopluz.com 70


Roca â¶ÊØ¢Àѳ± Roca สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยี โถสุขภัณฑ Roca แนวคิดใหม จาก Haco Group บริษัทผู นําเข าผลิตภัณฑ แบรนด ชั้นนําระดับโลก นํานวัตกรรมเทคโนโลยีใหม เพื่อผลลัพธ สูงสุดของความยั่งยืน นั่นคือ โถสุขภัณฑ ที่ประหยัดน้ําและประหยัดพื้นที่มานําเสนอภายในงานอีกด วย ด วยนวัตกรรมการนําน้ําจากอ างล างหน า กลับมาใช ในการชําระล างโถสุขภัณฑ โดยการเติมระบบตัวกรองน้ําในอ างล างหน า เพื่อให น้ําใสสะอาดอีกครั้ง พร อมด วยการดีไซน ในรูป “ตัว L” ที่เป นเอกลักษณ พิเศษ ไม เคยมีใครคิดมาก อน อันบ งบอกถึงอิสระของรูปทรง ผลิตภัณฑ ซึ่งเป นการผสมผสานที่ซับซ อนของชิ้นงานและความรักษ โลก สินค า รุ น W+W อ างล างหน าและโถสุขภัณฑ ทถี่ กู ออกแบบด วยแนวคิดอย างยัง่ ยืนให เป นสุขภัณฑ ชนิ้ เดียวกัน โดยมีจดุ เด นอยูท รี่ ปู ทรงของสุขภัณฑ ดว ย ลายเส นทีล่ ะเอียดอ อน บวกกับนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม เพือ่ ให ได ผลลัพธ สงู สุดของความยัง่ ยืน คือ การประหยัดน้าํ และประหยัดพืน้ ที่ ด วยการเติมระบบตัวกรองน้ําในอ างล างหน า เพื่อนําน้ํากลับมาใช ในการชําระล างโถสุขภัณฑ การใช งานของสุขภัณฑ เป นแบบ Dual Flush 3/6 ลิตร ถูกออกแบบมาให สวยงามและประหยัดพื้นที่ใช สอย ด วยรูปทรงตัว “L” น้าํ ทีใ่ ช แล วบริเวณอ างล างหน า จะถูกนํามาใช ตอ ในการกดชักโครกได ดว ยการผ านระบบตัวกรอง น้าํ ทีใ่ ช แล วจะกลายเป นน้าํ สะอาดเพือ่ สามารถนํามาชะล างโถสุขภัณฑ ได ต อไป ทั้งนี้เรายังสามารถเลือกเป ด-ป ด ให น้ําผ านตัวกรองหรือไหลทิ้งได อีกด วย

71


นอกจากนี้ยังมีโถสุขภัณฑ ที่มีความพิเศษโดดเด นอีกหนึ่งรุ นมานําเสนอ กับแนวคิดของการใช งานอย างมีความสุข โดยนําสีสันและ ผิวสัมผัสมาผสมผสานกัน สินค ารุ น KHROMA โถสุขภัณฑ ที่มาพร อมกับสีสัน และผิวสัมผัสที่ทําจากวัสดุชนิดพิเศษของฝารองนั่งและพนักพิง สําหรับการใช งานภายในห องน้ํา โดยเฉพาะ ให ความรูส ึกนิม่ อุน และสะอาดในการสัมผัส โดยตัวฝารองนัง่ สามารถถอดเปลีย่ นได และมีระบบควบคุมอุณหภูมิ ประกอบ กับสีสันที่โดดเด น ให อารมณ สุข อิสระ และโปร งสบาย นอกจากนี้ระบบน้ํายังเป นแบบ Flush อัตโนมัติ พร อมมี Remote Control สําหรับควบคุมการใช งาน

72


สินค า รุ น Foreste (ฟอเรสเต )

สินค า รุ น Marino (มารีโน)

นอกจากนี้ HACO GROUP ยังมีสนิ ค าใหม มาแนะนํา ซึง่ เป นผลิตภัณฑ ในแบรนด dhanabadee X on square กระเบือ้ งเนือ้ พอร ซเลน ที่ผลิตด วยงานแฮนด เมดจากประเทศไทย ในรุ น Foreste (ฟอเรสเต ) และ Marino (มารีโน) สินค า รุ น Foreste (ฟอเรสเต ) กระเบื้องที่ผลิตด วยงานแฮนด เมด เนื้อกระเบื้องพอร ซเลน ทําให ได มาซึ่งอายุการใช งานที่ยาวนาน และทนทานต อทุกสภาวะอากาศ รุ นฟอเรสเต ใช สีน้ําตาลแสดงถึงการนําเอาพื้นผิวของไม หิน กรวด และพื้นผิวอื่นๆ ของธรรมชาติ มาถ ายทอดลงบนผิวเซรามิค ให เกิดความรู สึกที่ใกล ชิดธรรมชาติ ลดการใช ไม เพื่อช วยอนุรักษ สิ่งแวดล อมมาใช กับผลิตภัณฑ เซรามิคที่สามารถทําความสะอาดได ง ายกว าผลิตภัณฑ ไม สินค า รุ น Marino (มารีโน) กระเบื้องที่ผลิตด วยงานแฮนด เมด เนื้อกระเบื้องพอร ซเลน ทําให ได มาซึ่งอายุการใช งานที่ยาวนาน และทนทานต อทุกสภาวะอากาศ รุน มารีโน ทีน่ าํ เอาพืน้ ผิวของลายสางอันละเอียดผสมผสานลวดลายผ าทอ และเฉดสีขาว น้าํ เงิน เทา มาถ ายทอดอารมณ ของท องทะเล ลงบนผิวเซรามิค ที่สามารถประดับตกแต งบ านเรือนแล วดูทันสมัย หากผูท สี่ นใจสามารถเยีย่ มชมบูธของ HACO GROUP ภายในงานสถาปนิก’57 ได หรือติดต อสอบถามข อมูลเพิม่ เติมได โดยตรงทีบ่ ริษทั HACO GROUP (1991) CO., LTD. 33/4 ชัน้ 28 TNB01-04 อาคารเดอะไนน ทาวเวอร แกรนด พระราม 9 ถ.พระรามเก า ห วยขวาง กทม. 10310 Tel. 02-168-1368 Fax. 02-168-1374 Email. info@haco.co.th

73


Kudos â¶ÊØ¢Àѳ± Kudos สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยี / การอนุรักษ และประหยัดพลังงาน โถสุขภัณฑ แบรนด KUDOS จากบริษัท ซี.ไอ.ที. จํากัด บริษัทผลิตสินค าสุขภัณฑ คุณภาพเยี่ยม ที่สร างจากกระบวนการทางความคิด สังเกต ตั้งคําถาม วิเคราะห ผ านความต องการในเชิงลึกของมนุษย แล วจึงสร างสรรค หรือค นหาสิ่งที่ดีที่สุดมาทําให เป นจริง เพื่อนํา เสนอให กับผู บริโภค ด วยการสร างแรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นจากการเข ามาสัมผัสและรับรู ประสบการณ ด วยการออกแบบและประยุกต ใช ให เหมาะสมกับรูปแบบความต องการของมนุษย เพื่อจินตนาการที่ไร ขอบเขต และมีเอกลักษณ พิเศษเฉพาะตัว ในงานสถาปนิก 2557 ครั้งนี้ บริษัท ซี.ไอ.ที. จํากัด เป ดตัวสินค าใหม ทั้งหมด 3 กลุ มด วยกัน เพื่อตอบโจทย ของการเป น Bathroom Solution อันได แก สินค าในกลุ มแรก คือ อ างล างหน า อ างอาบน้ํา โดยมีจุดแข็งในเรื่องของดีไซน ที่โดดเด น มีเอกลักษณ แตกต างอย างชัดเจน พร อม คุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ที่มาพร อมเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย สินค ากลุ มที่ 2 คือ อ างล างจานที่ทําจากวัสดุ Solid Surface ช วยดูแลในเรื่องของความสะอาดในการทําครัวแบบ Ultra Hygienic และป องกันรอยขีดข วนจากของมีคมได อย างมีประสิทธิภาพ สินค ากลุ มสุดท าย คือ ก อกน้ํา Sensor พลังงานสีเขียว สินค านวัตกรรมอัจริยะที่ช วยในเรื่องของการประหยัดน้ําและไฟฟ า ในเวลาเดียวกันตอบโจทย การอนุรักษ สิ่งแวดล อมอย างยั่งยืน อ างอาบน้ํา อ างล างหน า KUDOS Creation Series by Marmorin ผลิตภัณฑ อ างอาบน้ําและอ างล างหน า ที่ผลิตภายใต มาตรฐานยุโรปซึ่งเป นที่ยอมรับในระดับสากล โดยมีคุณสมบัติพิเศษเด นๆ ได แก Non-flammable ด วยดีไซน ทมี่ เี อกลักษณ พเิ ศษเฉพาะตัว หลุดข อจํากัดของการออกแบบเดิมๆ ทีเ่ คยมีมา ทําให ดไี ซน ของอ างล างหน า KUDOS แตกต าง จากสินค าทีม่ อี ยูใ นตลาด ตอบสนองความต องการทีแ่ สดงถึงเอกลักษณ เฉพาะตัวบุคคล ทีต่ อ งการในเรือ่ งของความโดดเด น แตกต าง และนําสมัย โดยมีขนาดและดีไซน ให เลือกหลากหลาย เพื่อให เหมาะกับการใช งานในแต ละพื้นที่และการออกแบบ Ultra Hygienic ด วยวัสดุ Solid Surface ซึ่งเป นหินธรรมชาติผสมหินสังเคราะห มีความสวยงามและแข็งแรงทนทาน ผสานด วยสารเคลือบพิเศษ ที่เรียกว า Gel Coat ซึ่งใช เทคโนโลยีพิเศษในการผลิตเคลือบทับที่ผิววัสดุชั้นบนอีกชั้นหนึ่ง ทําให ผลิตภัณฑ ทุกชิ้นมีสัมผัสที่อ อนนุ ม ราบเรียบ และไร รโู พรงอันเป นสาเหตุของการฝ งตัวของคราบแบคทีเรีย ซึง่ ได รบั รางวัลมาตรฐานความสะอาดระดับสากล และวัสดุทเี่ รียบ เนียนนั้นสามารถทําความสะอาดได อย างง ายดาย Recoverable ซ อมแซมได เมื่อเกิดการชํารุดเสียหาย เพราะอุบัติเหตุสามารถเกิดขึ้นได ถ าหากเราไม ระวัง สมมุติว าเราเผลอทําของแข็งหลุดมือไป กระแทกกับอ างจนเกิดการกระเทาะเสียหาย รับรองว าคุณจะไม ต องทนหงุดหงิดเห็นอ างบิ่นๆ ไปตลอดการใช งาน หรือไม ต องจ ายเงิน ใหม อีกแพงเพื่อซื้อใบใหม เพราะวัสดุสามารถซ อมแซมให กลับมาเหมือนใหม ได เลยทีเดียว นอกจากคุณสมบัติเด นๆ ที่กล าวมาแล วยังมีในเรื่องของวัสดุที่มีความยืดหยุ นสูง สามารถป องกันการแตกร าวจากการสลับสัมผัส น้ําร อน-น้ําเย็นในเวลาเดียวกัน รวมทั้งมีประสิทธิภาพป องกันรอยขีดข วนจากของมีคมจากการใช งานได มากขึ้นจากเดิมประมาณ 35% อ างล างหน า และอ างอาบน้าํ KUDOS จึงเป นคําตอบเพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ กี ว า และนวัตกรรมด านการออกแบบทีโ่ ดดเด น แตกต าง อย างที่ไม เคยมีมาก อน เป นที่สุดของการสร างจินตนาการที่ไร ขอบเขต และเอกลักษณ พิเศษเฉพาะตัว ช วยประหยัดค าใช จ ายใน เรื่องของการดูแลรักษาในระยะยาวได อย างมีประสิทธิภาพ

74


Think Impossible, Free Creativity อิสระทางความคิด ผ านจินตนาการที่ไร ขีดจํากัดด านการออกแบบ สู อ างบนพื้นที่ความคิดนอกกรอบ โดดเด น แตกต าง ตอบโจทย สุนทรียภาพทุกด านของชีวิต 75


76


อ างล างจาน Solid Surface ครัง้ แรกกับอ างล างจานวัสดุใหม ทที่ าํ จาก Solid Surface บอกลาป ญหาเรือ่ งรอยขีดข วน และกลิน่ อันไม พงึ ประสงค พร อมความสะอาด แบบ Ultra Hygienic ทําให การทําครัว สะอาด สนุก และมีอนามัยสูง ก อก Sensor อัจฉริยะประหยัดพลังงานน้ําและไฟฟ า นวัตกรรมพลังงานสีเขียวแบบยั่งยืน ก อกน้ํา Sensor ที่มีระบบจับความเคลื่อนไหวอย างแม นยํา ทําให การเป ด-ป ดน้ํา เป นไปอย างมีประสิทธภาพ ประหยัดมากขึ้นจากการ ใช เท าที่จําเป น ด วยเทคโนโลยีการสร างสายน้ํา จากการสะสมพลังงานในแบตเตอรี่ที่ต อมากับตัวเครื่อง ซึ่งสามารถใช งานได ถึง 10 ป โดยไม ต องชาร จไฟ เพราะเป นการชารจ ด วยตัวเองจากพลังงานจลน ของการไหลเวียนของน้ําจากการใช งานตามปกติ (บนพื้นฐานการ ไหลของน้ํา 3.5 ลิตร/นาที สําหรับการใช ที่ 2.5 วินาที 10 ครั้งต อวัน) ซึ่งถือเป นนวัตกรรมที่ช วยประหยัดการใช พลังงานไฟฟ าไปในตัว และถึงแม จะเกิดไฟฟ าดับก อกน้ํา Sensor ของ KUDOS ก็ยังใช งานได ตามปกติ เป นก อกน้ํา Sensor ที่ใช งานได อย างสะดวกสบาย และสามารถรักษาความสะอาดได ดีกว า จากการที่ไม ต องสัมผัสวัสดุในขณะใช งาน โดยเฉพาะในพื้นที่สาธารณะ และการติดตั้งก็สามารถทําได ง าย C.I.T. Corporation Limited 1/5-6 ซ.นาคราช ถ.บํารุงเมือง แขวงคลองมหานาค เขตป อมปราบ กทม. 10100 Tel. 0-2224-0111 Fax. 0-2224-7978

77


DCN multimedia ªØ´»ÃЪØÁẺ˹ŒÒ¨ÍÊÑÁ¼Ñʨҡ Bosch สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยีการสื่อสาร ชุดประชุมแบบหน าจอสัมผัสที่ผสมผสานการใช งานด านวิดีโอ, เสียง, ข อมูลการประชุมและการเชื่อมต อกับ Internet ได ด วยสุดยอด เทคโนโลยีนวัตกรรมสําหรับเสียงพูดที่ชัดเจน โดยถูกสร างขึ้นบนโครงข ายในรูปแบบ IP-Based OMNEO ที่เป นเอกลักษณ เป นนวัตกรรมทางด านการสื่อสาร สําหรับการประชุมในยุคดิจิตัลที่รองรับและสอดคล องกับรูปแบบการทํางานในป จจุบัน ในฐานะผู นําตลาดมานานกว า 60 ป โรเบิร ต บ อซ โดยแผนกระบบรักษาความปลอดภัย จึงได เป ดตัวระบบชุดประชุมใหม ล าสุด DCN multimedia ซึง่ เป นการปฏิวตั โิ ฉมหน าระบบชุดประชุมด วยรูปแบบ IP-Based OMNEO และอุปกรณ ชนิดหน าจอระบบสัมผัสทีง่ า ยต อ การใช งานบนระบบปฏิบัติการ Android™ ด วยทักษะความเชีย่ วชาญระดับโลก บ อซได นาํ เสนอโซลูชนั่ ทีค่ รอบคลุมทุกรูปแบบของการประชุมมาอย างต อเนือ่ ง จนถึงป จจุบนั บริษทั ฯ ได ตอ ยอดขยายผลิตภัณฑ เพิม่ เติมด วยการเป ดตัวในส วของระบบชุดประชุม DCN multimedia ทีไ่ ด ผสมผสานการใช งานวิดโี อ, เสียง, ข อมูลการประชุมและระบบหน าจอสัมผัส ทั้งหมดร วมกันเป นชุดประชุมได อย างลงตัว ด วยหน าจอความละเอียดสูงและหน าจอแบบ สัมผัสแบบ Capacitive ทําให ผู ใช สามารถนําเสนอข อมูลตามความต องการผ านทางปลายนิ้วสัมผัส สามารถแบ งป นข อมูล นําเสนอ ข อมูลในรูปแบบ Presentation รวมถึงการเชื่อมต อข อมูลผ านทางอินเตอร เน็ตได DCN multimedia โดดเด นด วยคุณภาพเสียงระดับสุดยอดที่มีการพัฒนาผ านมาตรฐานภายใต ผลิตภัณฑ ของ Bosch ด วยเทคโนโลยี ไมโครโฟนขั้นสูง และลําโพงชนิดสองทางที่ Built-in ภายในอุปกรณ การปรับสัญญาณเสียงให เหมาะสมตามแต ละการใช งาน ระบบ ป องกันเสียงย อนกลับที่ช วยให เสียงที่ดัง และยังคงไว ด วยคุณภาพ

78


ส วนระบบ IP-Based ซึง่ พัฒนาอยูบ นมาตรฐานของ OMNEO โดย DCN multimedia ใช ประโยชน จากเทคโนโลยีโครงข ายทีไ่ ด มาตรฐาน สําหรับการทํางานเชื่อมต อกับระบบอื่นๆ ได อย างง ายดาย การติดตั้งและดูแลรักษาที่ไม ยุ งยาก นอกจากนั้นระบบยังรองรับการขยาย ระบบร วมกับอุปกรณ เสียงอื่นๆ ภายใต มาตรฐาน OMNEO และกลุ มอุปกรณ ที่รองรับเทคโนโลยี Dante™ ฟ งก ชั่นการใช งานใน รูปแบบต างๆ สามารถเพิม่ เติมไปยังอุปกรณ ชดุ ประชุมแบบมัลติมเี ดียผ านซอฟต แวร และผสมผสานร วมกับอุปกรณ Third Party หรือ แม กระทั่งแอพพลิเคชั่นแบบ Customization ได อีกด วย นอกจากนี้ในแง ของความปลอดภัยของข อมูล สัญญาณเสียงและการควบคุม ทัง้ หมดจะได รบั การเข ารหัสป องกันการลักลอบข อมูล หรือการเข าถึงโดยไม ได รบั อนุญาต ตามมาตรฐานสากลทีเ่ กีย่ วกับความปลอดภัย DCN multimedia รองรับความต องการของลูกค าได ในอนาคต เนือ่ งด วยระบบถูกพัฒนาโดยการใช มาตรฐานและเทคโนโลยีแบบเป ด ที่ควบรวมความสามารถทางด านมัลติมีเดีย เพื่อยกระดับประสบการณ การประชุมซึ่งจะเป นตัวเลือกที่ใช สําหรับในป จจุบันและอนาคต โดยได วางกลุม เป าหมายผูใ ช งานไว อาทิ ชุมชนเมือง สภาเทศบาลเมือง/ภูมภิ าค หน วยงานราชการและเอกชน ร วมทัง้ ห องประชุมบอร ด ของหน วยงานต างๆ อีกด วย Source of Video 1. https://www.youtube.com/watch?v=MZVOMeoOycM 2. http://video.boschsecurity.asia/video/DCN-multimedia-testimonial-%E2%80%93-Inform/281cd2 c535f550211d4703a51e56bf0a 3. http://video.boschsecurity.asia/video/DCN-multimedia-testimonial-%E2%80%93-Impress/5953 ac2f61a59e4cc3476078d482030b 4. http://video.boschsecurity.asia/video/DCN-multimedia-testimonial-%E2%80%93-Inspire/8b76d 3a967bb4ac4e26eb28fe610c69b

บริษัท โรเบิร ต บ อช จํากัด อาคารลิเบอร ตี้สแควร ชั้น 11 เลขที่ 287 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรงเทพฯ 10500 Tel. 02-639-3111 Fax. 02-631-2030 Email. Info.security@th.bosch.com www.th.boschsecurity.com

79


Daikin Ãкº»ÃѺÍÒ¡ÒÈ สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยี Daikin ผู นําระบบปรับอากาศจากญี่ปุ น แนะนําระบบปรับอากาศที่ใช ชุดคอยล ร อน 1 ชุด สามารถต อเข ากับชุดคอยล เย็นได หลายตัว มาพร อมกับนวัตกรรมล าสุดเทคโนโลยีควบคุมอุณหภูมิน้ํายา Variable Refrigerant Temperature ซึ่งเป นเจ าแรกในโลก กับสินค า Daikin VRV IV และ Daikin VRV Residential Daikin VRV IV ระบบปรับอากาศที่ใช ชุดคอยล ร อน 1 ชุด สามารถต อเข ากับชุดคอยล เย็นได หลายตัว มาพร อมกับนวัตกรรมล าสุด เทคโนโลยีควบคุม อุณหภูมิน้ํายา VRT (Variable Refrigerant Temperature) ที่ยกระดับมาตรฐานระบบปรับอากาศอย างเหนือชั้น ทั้งประสิทธิภาพใน การประหยัดพลังงานและความสะดวกสบาย ความคงทนทีเ่ พิม่ มากขึน้ และการเชือ่ มต อ (Integration) กับระบบควบคุมอาคารอัจฉริยะ BAS (Building Automation System) รวมทั้งการรักษาสิ่งแวดล อม Line up มี ใ ห เ ลื อ ก 3 ประเภท Hi-COP, Standard และ Space Saving ตามความเหมาะสมของงาน โดยมี ข นาด Capacity : 6 HP – 60 HP (56,000 btu – 570,000 btu) จุดเด นของผลิตภัณฑ คือ ช วยประหยัดพลังงาน ด วยระบบ VRV และ VRT ที่เพิ่มประสิทธิภาพด านความคงทนของคอมเพรสเซอร ให มคี วามแข็งแกร งขึ้นจากรุ นก อน พร อมทั้งการออกแบบตัวระบายอากาศใหม (Heat Exchanger) ให มีพนื้ ที่ระบายอากาศเพิ่มขึ้น 13-24% และเปลี่ยนระบบระบายความร อนที่แผงควบคุม (PCB) ด วยระบบหล อเย็น อีกทั้งมีการเคลือบน้ํายาที่แผงควบคุม (PCB) เพื่อป องกันฝุ น น้ํา และแมลงอีกด วย 80


Daikin VRV Residential ระบบปรับอากาศทีใ่ ช ชดุ คอยล รอ น 1 ชุด สามารถต อเข ากับชุดคอยล เย็นได หลายตัว ด วยเทคโนโลยีการปรับน้าํ ยาสารทําความเย็นตาม ภาระโหลดจริง ทําให ประหยัดพลังงาน และลดการเสียพื้นที่ในการติดตั้งคอยล ร อน ด วยคอยล ร อนที่มีขนาดกะทัดรัด เหมาะสําหรับ ที่อยู อาศัยในป จจุบันที่ต องการใช พื้นให ได ประโยชน สูงสุด จุดเด นของผลิตภัณฑ คือ สามารถเดินท อน้าํ ยาแอร ได ไกลสุด 50 เมตร จึงใช พนื้ ทีใ่ นการติดตัง้ เพียงเล็กน อย สามารถเชือ่ มต อกับระบบ ควบคุมส วนกลางได อีกทั้งสามารถเชื่อมต อระบบปรับอากาศได ทั้งแฟนคอยล ได 2 และ 3 ตัวได ตามความต องการ ผูท ส่ี นใจสามารถตามไปเยีย่ มชมได ทบ่ี ธู ภายในงานสถาปนิก’ 57 หรือหากต องการข อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับสินค าสามารถติดต อได โดยตรง บริษัท สยามไดกิ้นเซลส จํากัด 22 ซอยอ อนนุช 55/1 ถ.อ อนนุช ประเวศ กรุงเทพฯ 10250 Tel. 0-2715-3200 Fax. 0-2721-7607-8 e-mail: coolline@daikin.co.th

81


»ÃÐμÙÃÑéÇÍÅÙÁÔà¹ÕÂÁºÒ¹Â¡ÊíÒàÃç¨ÃÙ»´ŒÇÂÃÕâÁ·ä¿¿‡Ò â´Â ÍÑÅà¹ç¡« Alnex Lift Front Gate สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยี อั ล เน็ ก ซ เป ด ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระตู รั้ ว อลู มิ เ นี ย มบานยกสํ า เร็ จ รู ป ด ว ยรี โ มทไฟฟ า โดย อั ล เน็ ก ซ นํ า อลู มิ เ นี ย มสํ า เร็ จ รู ป เพื่ อ งานสถาป ต ยกรรมภายนอก ที่ ฉี ก รู ป แบบเดิ ม ๆ กั บ ความลงตั ว ของการคํ า นวณทางวิ ศ วกรรมและการออกแบบเพื่ อ ให ได ความสวยงามทางสถาป ตยกรรม ด วยการคิดค นนวัตกรรมใหม ประตูรั้วบานยก เพื่อความสะดวกสบายและดีไซน ทันสมัยเหมาะ กับที่อยู อาศัยทุกรูปแบบ นวัตกรรมใหม ล าสุด ประตูรั้วบานยกผลิตจากอลูมิเนียมดีไซน เรียบเท ห ปลอดสนิมตลอดอายุการใช งานในรูปแบบของบานยก โดยอัลเน็กซ หมดป ญหากับการเป ดประตูรั้วบ านในวันฝนตกหรือถือของหนัก เพียงกดสวิตช ประตูรั้วทั้งบานก็จะถูกยกขึ้นด วยกลไก ทางวิศวกรรม สามารถนํารถเข าไปจอดในบ านได สบายๆ ประตูบานยกขณะป ดจะทําหน าที่เป นรั้วบ าน

ประตูบานยกขณะเป ด จะยกขึ้นตามด วยแขนสองข างในแนวดิ่ง ประตูรวั้ บานยก อัลเน็กซ ได รบั การออกแบบมาเพือ่ ให รถสามารถลอดผ านได อย างปลอดภัย กลไกขับเคลือ่ นการยกจะอยูท เี่ สาตัง้ สองต น โดยระบบมอเตอร ไฟฟ าแบบ DC 12 โวลต พร อมหม อแปลง เพื่อความปลอดภัย ไม เป นอันตรายต อผู ใช งาน สามารถต อตรงเข ากับ ไฟบ าน หรือผ านสวิตช เป ดป ด พลังงานจะถูกถ ายแรงขับการยกไปทีแ่ ขน โดยทีแ่ ขนเชือ่ มติดอยูก บั หน าบานประตู หลักการออกแบบได ผ านการคํานวณตามหลักวิศวกรรม โดยคํานึงถึงความปลอดภัย และความสะดวกสบายของผู ใช เป นหลัก ประตูรั้วบานยกใช เวลายก จากจุดเริ่มต น (ประตูป ด) ไปจนถึงจุดสูงสุด ด วยระยะเวลาแค 15 วินาที

82


ประตูป ด

¤ÇÒÁÊÙ§¢Í§ºÒ¹»ÃÐμÙÃÑéÇ 1.40 àÁμà 1.40 àÁμÃ

ประตูกําลังยก

ประตูยกขึ้นสูงสุด

¤ÇÒÁ¡ÇŒÒ§¢Í§ºÒ¹»ÃÐμÙÃÑéÇ àÃÔèÁμŒ¹ 2.7-3.3 àÁμà àÃÔèÁμŒ¹ 5.7-6.3 àÁμÃ

ส วนของประตูรั้ว จะมีความสูงรวมจากพื้นดินที่ 1.50 เมตร มีความกว างตั้งแต 3.3 เมตร สําหรับรถหนึ่งคัน เหมาะสําหรับบ าน ทาวเฮาส และ ทาวโฮมที่มีระยะและพื้นที่หน าบ านจํากัด และความกว างสูงสุดที่ 6.3 เมตร นอกจากนี้ยังเหมาะสําหรับบ านเดี่ยว รถสองคันสามารถวิ่งผ านได พร อมกัน น้าํ หนักของชุดประตูได รบั การออกแบบมาเพือ่ ให ผหู ญิงเพียง 1 คน สามารถยกเป ดได ในกรณีไฟดับด วยเทคนิกการทดแรงซึง่ เป นลิขสิทธิ์ เฉพาะของอัลเน็กซ ส วนกระบวนการทําสีและดูแลผิวงาน อัลเน็กซ เลือกใช งานพ นสีฝุ น (Powder Coating) ที่เหมาะกับการใช งานกลางแจ ง รับประกัน คุณภาพสีกว า 10 ป ไม กะเทาะ หรือหลุดร อน ทําความสะอาดง าย และกระบวนการผลิตทั้งหมดไม ใช สารที่ก อให เกิดมะเร็ง สีผลิตภัณฑ Colour/Texture • Black Space สีดําสเปซ / ผิวเงา • Grey Sahara สีเทาซาฮาร า / ผิวทราย • Cream Almond สีครีมอัลมินด / ผิวเงา • Dark Oak Brown สีไม โอ คเข ม / ผิวเงา • Teak Brown สีไม โอ คอ อน / ผิวเงา นอกจากนี้ ประตูรวั้ บานยก อัลเน็กซ สามารถเลือกใช คกู บั กลุม ระแนงอลูมเิ นียมสําเร็จรูปอัลเน็กซ หรือกลุม สินค ารัว้ อลูมเิ นียมสําเร็จรูป โปรเฟนซ ได อีกด วย ขั้นตอนการออกแบบและผลิตทั้งหมด ควบคุมโดย บริษัท ไทยเม็ททอล ผู ผลิตอลูมิเนียมเส นครบวงจรชั้นนําในอาเซียน (One Stop Service for Aluminium Products) ซึ่งมีประสบการณ ในการผลิตและส งออกอลูมิเนียมเส นตามมาตรฐานสากล มานานกว า 30 ป ด วยกระบวนการผลิตคุณภาพ ISO 9001; 14001; TS16949 พบกับนวัตกรรมเทคโนโลยีประตูรวั้ อลูมเิ นียมบานยกสําเร็จรูป และกลุม ผลิตภัณฑ อลูมเิ นียมสําเร็จรูปเพือ่ งานสถาป ตยกรรมภายนอก โดย อัลเน็กซ ได ที่บูธ S309 ภายในงานสถาปนิก’57 หรือติดต อสอบถามข อมูลเพิ่มเติมได โดยตรงที่บริษัท สอบถามข อมูลเพิ่มเติมติดต อ อัลเน็กซ โดย บริษัท ไทยเม็ททอล จํากัด 205 หมู 2 ถนนแพรกษา ต.ท ายบ านใหม อ.เมือง สมุทรปราการ 10280 โทรศัพท 02-1368899; 092-2808445 www.alnex.co.th www.alnex.thaimetal.com www.thaimetal.com 83


Enzon by ArtKUSTEG ¼ÅÔμÀѳ± ¼¹Ñ§ÊíÒËÃѺ´Ù´«ÑºàÊÕ§ÃдѺ¾ÃÕàÁÕèÂÁ สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยี Enzon by ArtKUSTEG นวัตกรรมใหม ของผลิตภัณฑ ผนังสําหรับดูดซับเสียงระดับพรีเมี่ยมจาก Unipro Manufacturing ผลิตจาก เส นใยโพลีเอสเตอร 100% ซึง่ ได รบั การยอมรับว าเป นวัสดุทไี่ ม เป นพิษต อร างกายมนุษย จงึ ไม กอ ให เกิดอาการระคายเคืองและปลอดภัย ต อสุขภาพ อีกทั้งเส นใยโพลีเอสเตอร ยังมีความเหนียวและทนทานสูงจึงทําให มีอายุการใช งานยาวนานกว า 50 ป Enzon by ArtKUSTEG ถูกออกแบบให สามารถใช งานได ในทุกๆ พืน้ ที่ที่มีปญ หาเรื่องเสียงก องหรือเสียงสะท อน ไม วา จะเป นบ าน พักอาศัย สถานศึกษา อาคารสํานักงาน ห องประชุม ห องโฮมเธียร เตอร ห องสตูดิโอ ฯลฯ นอกจากจะแก ป ญหาในเรื่องเสียงก องเสียง สะท อนได อย างดีเยี่ยมแล ว Enzon by ArtKUSTEG ยังเลือกใช วสั ดุปด ผิวเป นผ ากันไฟเกรดพรีเมี่ยมที่มคี วามสวยงาม ตอบโจทย ความต องการในเรื่องของการตบแต ง ดีไซน และความล้ําสมัยได อีกด วย Enzon by ArtKUSTEG เป นผลิตภัณฑ ทเี่ ป นมิตรกับสิง่ แวดล อม เป นนวัตกรรมใหม ของผนังดูดซับเสียงซึง่ ผลิตโดยเส นใยโพลีเอสเตอร ที่ ไ ด จ ากการรี ไ ซเคิ ล ขวดพลาสติ ก ที่ เ หลื อ ใช Enzon by ArtKUSTEG จึ ง กลายเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ต อสิง่ แวดล อมอย างสูง ช วยลดปริมาณขยะพลาสติก ลดการใช พลังงานซึง่ สอดคล องกับแนวความคิดในป จจุบนั ทีใ่ ห ความสําคัญต อการนํา วัสดุที่ใช แล วกลับมาใช ใหม อย างมีประสิทธิภาพ 84


Enzon by ArtKUSTEG มีคุณสมบัติเด นดังนี้ - ปลอดภัยต อสุขภาพ ไม ระคายเคืองต อผิวหนังหรือระบบทางเดินหายใจเนื่องจากผลิตจากเส นใยโพลีเอสเตอร 100% อีกทั้งยังไม มีการใช สารเคมีที่เป นอันตราย สารเคมีไอระเหย หรือกาวในการผลิต - ไม ดูดซับความชื้นซึ่งเป นต นเหตุของการเกิดเชื้อราและเชื้อโรคชนิดต างๆ - เส นใยโพลีเอสเตอร ไม ลามไฟจึงไม เป นเชื้อเพลิง รวมถึงเพิม่ การใช วสั ดุป ดผิวเป นผ ากันไฟเกรดพรีเมีย่ มจึงมัน่ ใจ ในความปลอดภัยขณะเกิดเพลิงไหม - สามารถดูดซับเสียงก องหรือเสียงสะท อน (Sound Absorbtion) ที่เกิดขึ้นในพื้นที่หรือห องลักษณะต างๆ ได อย าง ดีเยี่ยม โดยมีค า NRC (Noise Reduction Coefficient) สูงสุดที่ประมาณ 0.89 - มีน้ําหนักเบา ติดตั้งง าย และไม ตอ งใช อุปกรณ ป องกันพิเศษใดๆ ในขณะติดตั้ง สนใจสอบถามข อมูลเพิ่มเติมติดต อ Unipro Manufacturing Co.,Ltd 43/9 หมู 3 คลองอุดมชลรัชกร อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24001 Tel. 038-846-125

85


Intercontinental Resort หัวหิน

Pergola System ËÅѧ¤Ò¼ŒÒ㺪¹Ô´ÁŒÇ¹à¡çºä´Œ สินค านวัตกรรม: เทคโนโลยี ระบบ Pergola System หลังคาผ าใบชนิดม วนเก็บได จากบริษัท โอเชี่ยน นิวไลน ที่ให ความสวยงามแบบมี บุคลิกแก บ านและสวน สร างบรรยากาศภายนอกให น าอยู ยิ่งขึ้น ปกป องคุณจากแสงแดดยามบ าย ความร อน และรังสียูวี เพิ่มความสุขกับกิจกรรมภายนอกบ านได มากขึ้น เหมาะอย างยิ่งสําหรับงานภูมิสถาป ตย และตกแต ง พื้นที่ภายนอกของบ านพักอาศัย เช น พื้นที่บริเวณสระว ายน้ํา จากุซซี่ ระเบียงริมน้ํา นอกจากนี้ยังเป นที่นิยมสําหรับ สวนอาหาร โรงแรม และ รีสอร ทต างๆ พื้นที่กิจกรรมของห างสรรพสินค า Community Mall ต าง ๆ สถาบันการ ศึกษา มหาวิทยาลัย โรงเรียน โรงพยาบาล หรือ องค กรต างๆ ที่ต องการสร างบรรยากาศความแตกต างที่สวยงาม สําหรับพื้นที่ใช สอยภายนอกอาคาร สามารถตอบโจทย ความต องการได หลากหลายรูปแบบและพื้นที่ ด วยระบบ Pergola System นั้นมีให เลือกหลาย ขนาดและรูปแบบที่แตกต างกัน เริ่มตั้งแต ขนาด 4x4 เมตร หรือ ขนาดสั่งทําพิเศษตามขนาดพื้นที่ สามารถทํา ขนาดใหญ พิเศษได มากถึง 10x13 เมตร อย างต อเนื่องโดยไม มีเสากลาง หรือหากนํามาต อกันก็จะได ชุดใหญ มากถึง 20x13 เมตร หรือต อไปได มากกว านั้นอีก โครงสร างทําด วยวัสดุอลูมิเนียมทําสี Powder Coated ตาม สีมาตรฐานหรือสั่งทําเป นสีพิเศษ ตามความต องการได อีกด วย นอกจากนี้ยังมีโครงสร างชนิดที่เป นเนื้อไม แท ให ความงดงามและเข าถึงธรรมชาติได อย างแท จริง 86


Siam Kempinski Hotel กรุงเทพฯ

นอกจาก Pergola System จะให ความสวยงามโดยเสาหรือโปรไฟล ตา งๆ ได รบั การออกแบบมาอย างดี ให ความสวยงามแล วยังตอบโจทย ฟ งก ชนั่ การทํางานได อย างครบครัน บางรุน ทําหน าทีเ่ ป นเสาและช องระบายน้าํ ฝนได ในตัว และยังมีอปุ กรณ เสริมพิเศษในบางรุน สามารถ ติดตั้งไฟ LED ให แสงสว างสวยงาม หรือแม แต การติดตั้งระบบเครื่องเสียง MP3 เพื่อเพิ่มความรื่นรมย ให พื้นที่พักผ อนอย างแท จริง การทํางานแสนสะดวก เพียงปลายนิ้วสัมผัส เนื่องจากระบบหลังคาผ าใบ Pergola System ติดตั้งด วยระบบมอเตอร RTS และควบคุมการเป ด-ป ดได ง ายดาย ด วยระบบรีโมทคอนโทรล ซอมฟ จากประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป นผู นําด านระบบอัตโนมัติ Home Automation พร อมทั้งการติดตั้งงานโครงสร าง Pergola System และหลังคาผ าใบชนิดเป ด-ป ดได โดยเจ าหน าที่ผู ชํานาญงาน และ ผูน าํ ด านการป องกันแสงแดดมากว า 50 ป จึงมัน่ ใจได วา Pergola System จากบริษทั โอเชีย่ นนิวไลน จะสร างบรรยากาศความรืน่ รมย ที่แตกต างให กับภูมิสถาป ตย ได อย างลงตัว สนใจสอบถามข อมูลเพิ่มเติมติดต อ บริษัท โอเชี่ยน นิวไลน จํากัด 4026 ถ.พระราม 4 พระโขนง คลองเตย กทม. 10110. Tel. 0-2671-6008-9 Fax. 0-2671-6006-7 Email. info@oceannewline.com www.oceannewline

87


เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

àÁ×Íè äÁ‹¹Ò¹ÁÒ¹Õé àÇçºä«μ ArchDaily ä´Œà»Ô´μÑÇá¤μμÒÅçÍ¡ÊÔ¹¤ŒÒãËÁ‹ “ArchDaily Materials” ¨Ö§ä´ŒËÂԺ¡ ¼Å§Ò¹·Õèâ´´à´‹¹ã¹¡ÒÃàÅ×͡㪌ÇÑÊ´Ø¡‹ÍÊÌҧÍÒ¤Òâͧ 6 ʶһ¹Ô¡ª×èʹѧÃдѺâÅ¡ ÁÒáÊ´§ãËŒ¤Ø³ä´ŒàËç¹ ¶Ö§¼Å§Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁÍѹ¹‹Ò·Öè§ ·Õèà¡Ô´¨Ò¡äÍà´Õ¡ÒÃÍ͡Ẻ·ÕèÊÌҧÊÃä ¼ÊÁ¼ÊÒ¹¡Ñº¡ÒÃàÅ×͡㪌ÇÑÊ´Ø ·Õâè »Ã´»ÃÒ¹¢Í§¾Ç¡à¢Ò ÅͧÁҴ١ѹNjÒÇÑÊ´ØẺä˹·Õè·Òí ãËŒ¾Ç¡à¢Ò¡ÅÒÂ໚¹Ê¶Ò»¹Ô¡·ÕèÁÕªèÍ× àÊÕ§ÃдѺâÅ¡ä´Œ 01 CONCRETE

วัสดุคอนกรีตของ Oscar Neimeyer แม ว า สถาปนิ ก หลายคนจะโปรดปรานและเลื อ ก ใช วั สดุ ค อนกรี ตในการก อ สร า งอาคาร แต สํ า หรั บ Oscar Neimeyer สถาปนิกชาวบราซิล ผลงานการใช วั ส ดุ ค อนกรี ต ของเขานั้ น จะมี ค วามโดดเด น ต า ง จากผลงานของสถาปนิกอื่นๆ จากผลงานหลายชิ้น ของเขา แสดงให เ ห็ น ว า เขามี ค วามเข า ใจอย า ง ถ องแท ถึงความงดงามและศักยภาพทางโครงสร าง ของคอนกรีต ทําให เขาสามารถสร างสรรค ผลงานที่ มีเอกลักษณ เฉพาะได อย างสมบูรณ แบบ Neimeryer ได เลือกใช วสั ดุคอนกรีตครัง้ แรกในป ค.ศ 1956 ในการ ก อ สร า งสั ญ ลั ก ษณ แ ห ง ความทั น สมั ย สํ า หรั บ เมื อ ง หลวงแห ง ใหม ที่ มี ชื่ อ ว า “Brasilia” ของประเทศ บราซิล ตัวอย างผลงานของเขาได แก Cathedral of Brasilia, Niemeyer Center, Matarazzo Pavilion, UN Headquaters ในนิวยอร ก เป นต น Image: Niemeyer Center from www.fotopedia.com

02 BRICK

วัสดุอิฐของ Alvar Aalto ด วยเหตุที่ Alvar Aalto เป นนักออกแบบ, ประติมากร และจิตรกร จึงทําให ผลงานทุกชิ้นของเขามีความ เป นเอกลักษณ ที่สร างจากความเข าใจในศิลปะการ ออกแบบ ที่ใส ใจในรายละเอียดทุกชิ้นตั้งแต ชิ้นที่เล็ก ที่สุดไปจนถึงใหญ ที่สุด เห็นได จากการที่เขาออกแบบ สิ่งของตกแต งภายในอาคารไปจนถึงการออกแบบ สิ่งของชิ้นเล็กๆ อาทิ โคมไฟและเครื่องแก ว ผลงาน ส วนใหญ ของเขาจะสร างขึ้นจากอิฐ อย างเช น บ านที่ เกาะ Muuratsalo ประเทศฟ นแลนด และมหาวิทยาลัย Jyvaskyla ที่ ใ ช ลู ก เล น การหั ก เหลี่ ย มมุ ม ของอิ ฐ เป นต น Image: Courtesy of the goatisbad

88


03 METAL

วัสดุโลหะของ Frank Gehry อันที่จริงผลงานที่สร างชื่อเสียงมากที่สุดให กับ Frank Gehry น าจะเป นการใช วัสดุไททาเนียมห อหุ มเปลือก อาคารของพิพิธภัณฑ Guggenheim ที่ Bilbao ประเทศ สเปน อย างไรก็ตามเขาก็มผี ลงานมากมายทีเ่ ลือกใช วสั ดุ โลหะในการห อหุม เปลือกอาคาร ไม วา จะเป นวัสดุสแตนเลส สตีลที่ห อหุ มเปลือกอาคารของ Walt Diney Concert Hall ในลอสแอนเจลิส หรือคลินกิ Cleveland Clinic Lou Ruvo Center for Brain Health ในลาสเวกัสที่ใช โลหะ สีเงินแวววับ รูปทรงบิดเบี้ยวขนาดใหญ ห อหุ มอาคาร สร างความโดดเด นให กับเมืองได มากทีเดียว Image: Cleveland Clinic Lou Ruvo Center for Brain Health Image Courtesy of Matthew Carbone

04 WOOD

วัสดุไม ของ Kengo Kuma เมื่อไม กี่ป มานี้ สถาปนิกชาวญี่ปุ น Kengo Kuma ได สร างผลงานที่ทําให โลกต องตะลึงด วย การสร างอาคารทีท่ าํ จากไม เขาเชีย่ วชาญในการทําให วสั ดุทหี่ นักและหนา ปรากฏขึน้ เป นสิง่ ที่ ดูเบาและนุม นวล ส งผลให หลายงานของเขาติดอันดับโลก ผลงานทีโ่ ดดเด นได แก ศูนย ศลิ ปะ และวัฒนธรรม Cite des Arts et de la Culture ในประเทศฝรั่งเศส ที่เป นการใช ไม ในการ ออกแบบเปลือกอาคาร , GC Prostho Museum Research Center ที่ประเทศญี่ปุ น หรือ ร านสตาร บัคส ที่จังหวัดฟุกุโอกะ ประเทศญี่ปุ น Image: GC Prostho Museum Research Center Image Courtesy of Daici Ano

05 GLASS

วัสดุกระจกของ SANAA SANAA เป นบริษัทสถาปนิกญี่ปุ นที่มีชื่อเสียงทางด านการ ใช วัสดุกระจก ตัวอย างผลงานได แก แกลอรี่ Louvre Lens ในพิพิธภัณฑ Louvre ประเทศฝรั่งเศส ที่เป นการใช กระจก และรายละเอียดที่ถูกซ อนไว ในการเปลี่ยนกระจกให กลาย เป นวัสดุที่ไม เหมือนกระจก เช นเดียวกับพิพิธภัณฑ New Art Museum ในเมืองนิวยอร ก ที่ใช การผสมผสานกันของ กระจก, ตะแกรงอะลูมิเนียม และผนังทาสีขาว ส งผลให อาคารส องแสงแวววาวในลักษณะกึ่งโปร งแสง Image: New Art Museum Image Courtesy of Dean Kaufman

06 COMPOSITE FIBER

วัสดุคอมโพสิตไฟเบอร ของ Zaha Hadid ผลงานของ Zaha Hadid มีความโดดเด นในการใช วัสดุใหม ๆ ในการนําเสนอผลงาน สถาป ตยกรรมรูปทรงเรขาคณิตที่มีความซับซ อน แม ว าเธอจะมีชื่อเสียงในการทําให วัสดุ คอนกรีตกลายเป นสิ่งที่ไร น้ําหนัก แต เธอก็ได สร างผลงานการออกแบบอาคารมากมายที่ ใช คอมโพสิตไฟเบอร เป นวัสดุห อหุ มอาคาร ตัวอย างเช น อาคาร Heydar Aliyev Center ในเมืองบากู ประเทศอาเซอร ไบจาน ที่ใช วัสดุเสริมแรงกลาสไฟเบอร (GFRP) ในการสร าง ภายนอกอาคารที่เคลื่อนไหวแบบไร รอยต อ หรืออาคาร Serpentine Sackler Gallery ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษที่ใช เทคนิคเดียวกัน Image: Heydar Aliyev Center Image Courtesy of Iwan Baan 89


เรื่อง: กองบรรณาธิการ

ÇÑ ¹ ¹Õé à ÃÒä´Œ ¾ º¡Ñ º á¹Ç¤Ô ´ ¢Í§ÇÑ Ê ´Ø ã ËÁ‹ ·Õè ·í Ò ÁÒà¾×è Í ·´á·¹¾ÅÒÊμÔ ¡ PET ·Õè ·í Ò ¢Ç´¹éí Ò ´×è Á «Öè§à»š¹§Ò¹·Õ蹋Òʹã¨à¾ÃÒзíÒ¨Ò¡¸ÃÃÁªÒμÔ áÅÐÊÒÁÒö·Ò¹ä´ŒÍÕ¡´ŒÇ กลุม นักออกแบบอุตสาหกรรมในเมืองลอนดอนได สร างสรรค ขวด บรรจุน้ําดื่มแบบใหม ที่สามารถพร อมทานได ด วยการผลิตจาก สาหร ายตามกรรมวิธีเทคนิคที่ใช กันทั่วไป โดยฝ มือของ Ferran Adria พ อครัวแห ง El Bulli ที่มีชื่อว า ‘The Ooho’ ‘The Ooho’ สร างขึ้นโดย Rodrigo Garcia Gonzalez, Pierre Paslier และ Guillaume Couche ซึง่ เป นการหุม น้าํ ด วยเมมเบรน โปร งใส ที่สามารถสร างได หลากหลายขนาดที่แตกต างกันไป บอลลูนที่ทานได นี้ ทําขึ้นโดยใช เทคนิคที่เรียกว า Spherification คือ วิธกี ารสร างรูปทรงของเหลวใส ในวัสดุทรงกลม ซึง่ การพัฒนา ครัง้ แรกทําโดยนักวิทยาศาสตร ในป 1946 ซึง่ ได รบั แนวความคิด นี้จากการใช ในสูตรอาหารที่ร านอาหาร Adria’s ในประเทศสเปน วิ ธี ก ารสร า ง Ooho คื อ ทํ า น้ํ า ให เ ป น น้ํ า แข็ ง และวางลงใน สารละลายแคลเซียมคลอไรด และสาหร ายสีน้ําตาลแล ว เมื่อน้ํา ทีแ่ ช แข็งถูกทําปฏิกริ ยิ าเคลือบแข็ง สารละลายแคลเซียมจะทําให เกิดเปลือกบางๆ ชั้นนอกรอบก อนน้ํา ในรูปแบบผิวบางๆ ที่มี ความยืดหยุ น ผลที่ได คือแพคเกจที่ “ง าย ทน สุขอนามัย ย อย สลายได และกินได ด วย”

ส วนวิธีการจะดื่มน้ําจาก Ooho เพียงผู ใช แค ใช แรงดันเบาๆ ไปที่ก อนทรงกลม เพื่อทําให น้ําที่ อยู ภายในทะลุผ านออกมา เทคนิคนี้ยังสามารถ ใช ในการประยุกต ทานกับการประกบระหว างเจล 2 ชั้นได ด วย นั กออกแบบเชื่ อ ว า เทคนิ ค นี้ สามารถนํา มาใช แทนขวดน้ํ า พลาสติ ก แบบดั้ ง เดิ ม ได อ ย า ง สิน้ เชิง เนือ่ งจาก Ooho แต ละก อนมีตน ทุนต่าํ ใน การผลิต และ Ooho เป นหนึ่งใน 12 ผู ชนะการ ประกวดรางวัล Lexus Design Award ประจําป ครัง้ ทีส่ อง และจะถูกนําไปทดลองขายในบอสตัน ในช วงปลายป นี้อีกด วย

แหล งข อมูล http://www.dezeen.com/2014/04/01/edible-water-bottle-uses-algae-to-create-biodegradable-alternative-to-plastic-containers/ http://www.youtube.com/watch?v=T4AVSDYLVQU

90



เรื่อง: ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ วน)

“Preventol® B5” นวัตกรรมป องกันการหยั่งของรากพืช ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อการสร างสวนสวยบนหลังคาโดยไม ทําอันตราย ต อพืช สามารถปกป องแผงปูพื้นยางมะตอยจากการชอนไชของรากพืชได อย างมีประสิทธิภาพ ป องกันความร อนและแรงดันไอน้ําต่ํา พร อมทั้งบํารุงรักษาง าย สามารถใช ได กับงานอาคารทุกประเภท ป จจุบนั อาคารเขียว (Green Building) สถาป ตยกรรมเพือ่ สิง่ แวดล อม กําลังเป นประเด็นสําคัญอันดับต นๆ ในเรือ่ งของการใช พลังงาน มากทีส่ ดุ จากการเทียบสัดส วนการผลิตไฟฟ าของไทย โดยพบว าการใช พลังงานในอาคารคิดเป น 45% ของการผลิตไฟฟ าทัง้ หมด ทัง้ นี้ การใช พลังงานในอาคารสามารถแบ งออกได เป น 3 ระยะ คือ 1.พลังงานทีใ่ ช ในการผลิตวัสดุและการก อสร างอาคาร 2. พลังงานทีใ่ ช ใน การดําเนินการใช อาคาร และ 3. พลังงานที่ใช ในการนําอาคารกลับมาใช ใหม หรือใช ในการรื้อถอนทําลายอาคารบ านเรือน ซึ่งพลังงานที่ใช ส วนใหญ ภายในอาคาร คือ พลังงานจากไฟฟ าเป นหลัก ได แก ไฟฟ าที่ใช สําหรับระบบทําความเย็นปรับอากาศ คิดเป น 50-70% ของการใช พลังงานไฟฟ าทั้งหมดในอาคาร รองลงมา ได แก ไฟฟ าที่ใช สําหรับระบบไฟฟ าแสงสว างและสําหรับอุปกรณ ไฟฟ า อื่นๆ ดังนั้นหากทุกคนร วมมือกันและช วยกันประหยัดพลังงาน ช วยลดการใช พลังงานในอาคารรวมถึงบ านเรือนต างๆ นอกจากจะ เป นการประหยัดค าใช จ ายเรื่องค าไฟฟ าแล ว ยังช วยลดป ญหาโลกร อนได อีกด วย เมือ่ ตระหนักว าการใช พลังงานในอาคารได สง ผลกระทบมากมายต อสิง่ แวดล อม สถาปนิกและผูท เี่ กีย่ วข องจึงมีความต องการออกแบบ อาคารให เป นมิตรต อสิ่งแวดล อม โดยใช นวัตกรรมใหม ๆ ทําให เกิด GREEN BUILDING อาคารสีเขียวเพื่อสภาวะแวดล อม การประหยัดพลังงาน ส วนหนึง่ ของการสร างอาคารสีเขียวทีเ่ ป นมิตรกับสิง่ แวดล อมทีน่ อกเหนือจากเทคโนโลยีตา งๆ แล ว การทําสวนบนหลังคาเป นอีกทางเลือก หนึ่งที่เจ าของอาคารโรงงานอุตสาหกรรมสามารถสร างขึ้นเพื่อตอบโจทย อาคารสีเขียวได การทําสวนบนหลังคานั้นให ประโยชน หลายด านทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล อม เช น ช วยดูดซับคาร บอนไดออกไซด ช วยลดปรากฏการณ เกาะร อน (Heat Island Effect) และลดระดับโอโซน ลดความร อนและลดต นทุนในการทําความเย็นของตัวอาคาร นอกจากนี้ยังลดมลพิษในอากาศและภาวะ เรือนกระจก ช วยเพิ่มคุณภาพอากาศ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพายุฝนและคุณภาพน้ํา อีกทั้งยังเป นฉนวนควบคุมเสียงได อีกด วย แต ปญ หาหนึง่ ของการทําสวนบนหลังคาของอาคารต างๆ คือ การทีร่ ากพืชทีป่ ลูกไว ชอนไชผ านแผ นรองพืน้ ยางมะตอยก อให เกิดป ญหา น้ํารั่วซึมผ านสู พื้นหลังคาและสร างความเสียหายให กับหลังคาอีกด วย ด วยเหตุนี้หน วยธุรกิจผลิตภัณฑ ปกป องวัสดุของแลงเซส บริษัทผู ผลิตเคมีภัณฑ เฉพาะทางระดับโลกจากประเทศเยอรมนี ได ทําการ คิดค นนวัตกรรมที่สามารถป องกันการหยั่งของรากพืชได และไม เป นอันตรายต อพืชพันธุ ตามธรรมชาติ “Preventol® B5” เป นผลิตภัณฑ ที่ได รับการพัฒนาจากประสบการณ หลายสิบป และมีประสิทธิภาพที่ได รับการพิสูจน แล วสามารถ ตอบโจทย ความต องการใช งานกันรัว่ ซึมของสวนบนหลังคาซึง่ ผลิตภัณฑ ปอ งกันการหยัง่ รากพืช สามารถปกป องแผงปูพนื้ ยางมะตอย จากการชอนไชของรากพืชได อย างมีประสิทธิภาพถือเป นแนวคิดการปกป องวัสดุขนั้ สูงทีช่ ว ยสร างโอกาสในการบํารุงรักษาได หลากหลาย รูปแบบไม ว าจะใช งานกับอาคารประเภทใดก็ตาม ผลิตภัณฑ ปอ งกันการหยัง่ รากพืช “Preventol® B5” ให ประโยชน หลายประการ ได แก ป องกันวัสดุกอ สร างจากการชอนไชของรากพืชโดย ไม ทําอันตรายต อพืชให การป องกันในระยะยาวคงประสิทธิภาพสูงแม มีสภาพอากาศที่เลวร าย (มีความสําคัญโดยเฉพาะกับการทําสวน บนหลังคา) ป องกันความร อนและมีแรงดันไอน้ําต่ํา อีกทั้งยังป องกันการรั่วซึมได ดี สามารถใช งานร วมกับวัสดุก อสร างแบบ ยางมะตอยได เกือบทั้งหมด มีประสิทธิภาพที่ความเข มข นต่ํา ผ านการพิสูจน คุณภาพตามข อกําหนดโดยการทดสอบ Lupine และ FLL หรือ Forschungsgesellschaft Landschaftsentwicklung Landschaftsbau ซึ่งเป นการประเมินคุณสมบัติต านทานรากพืชของ แผ นหลังคาหรือสารเคลือบที่ใช กับหลังคา โดยประเมินการชอนไชทั้งชนิดชอนไชเต็มรูปแบบและชอนไชบางส วนและสอดคล องกับ มาตรฐาน DIN EN 13948 อันเป นมาตรฐานทีใ่ ช ในยุโรปสําหรับการกําหนดคุณสมบัตคิ วามต านทานของแผ นหลังคาหรือสารเคลือบทีใ่ ช กบั หลังคาสีเขียวมีการประเมินเฉพาะการชอนไชเต็มรูปแบบเท านั้น

92


Preventol® B5 ป อ งกั น วั ส ดุ ก อ สร า งจากการชอนไชของรากพื ช หนึ่ ง ในคุ ณ สมบั ติ ข องการสร า งสวนบนหลั ง คา โดยไม ทําอันตรายต อพืช Preventol® B5 helps protect construction คือ ช วยลดมลพิษในอากาศและภาวะเรือนกระจก materials from undesirable root penetration without damaging One of benefits of building roof top garden is to help reduce air pollution and greenhouse emissions.

ภาพผลิตภัณฑ Preventol® B5

ภาพแผ น รองพื้ น ยางมะตอยที่ ใ ช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ Preventol® B5 ซึ่งจะช วยป องกันการชอนไชของ รากพืช ได อย างมีประสิทธิภาพ Bitumen roof sheeting with Preventol® B5

วัสดุ Preventol® B5 ช วยป องกันแผ นรองพื้น ยางมะตอย ไม ให รากพืชทําการชอนไช อันเป น สาเหตุให เกิดน้ํารั่วซึมสู พื้นอาคาร และสร างความ เสียหายได With Preventol® B5, bitumen roof sheeting can easily be made resistant to root penetration.

ภาพแผ น รองพื้ น ยางมะตอยที่ ไ ม ใ ช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ Preventol® B5 แสดงให เห็นว า รากพืชทําการ ชอนไชไปทั่ว ก อให เกิดป ญหาน้ํารั่วซึมสู พื้นอาคาร Bitumen roof sheeting without Preventol® B5

อย างไรก็ตามการรับรองมาตรฐานทั้งสองแบบถือเป นป จจัยสําคัญต อการตัดสินใจของบริษัทก อสร างและสถาปนิกในการเลือกใช วัสดุ สําหรับการสร างสวนบนหลังคา ทั้งนี้การทําสวนบนหลังคาจะขึ้นอยู กับความต องการใช งานแบบเฉพาะเจาะจงของอาคารแต ละแห ง และตัวผู ใช งานเอง ป จจุบันมีระบบการสร างสวนบนหลังคาสองประเภท โดยแบ งตามระดับของวัสดุที่ใช ปลูกและความถี่ในการซ อม บํารุง ได แก ระบบการการทําสวนบนหลังคาแบบหนาแน น (Intensive) จะใช ดนิ ปลูกทีม่ คี วามลึกและซับซ อนกว าพร อมกับมีพชื พันธุ ที่หลากหลายมากกว า และระบบการทําสวนบนหลังคาแบบกว างขวาง (Extensive) จะมีดินที่บางและต องการการบํารุงรักษาต่ํา ซึ่งระบบการทําสวนบนหลังคาแบบกว างขวางนี้เป นที่นิยมใช กันอย างแพร หลายมากที่สุด ในขณะทีโ่ จทย ของการก อสร างทีเ่ ป นมิตรกับระบบนิเวศน คือการเลือกปกป องวัสดุอย างเหมาะสมการเลือกใช วสั ดุกอ สร างต องตอบสนอง ความต องการทีห่ ลากหลายซึง่ ครอบคลุมถึงความเป นมิตรกับสิง่ แวดล อมมีการปกป องทีด่ แี ละมีอายุใช งานยาวนาน “Preventol® B5” นับเป นอีกผลิตภัณฑ ทางเลือกที่ช วยลดโลกร อนและเป นมิตรกับสิ่งแวดล อม ขอขอบคุณข อมูล แลงเซส (LANXESS) http://www.facebook.com/LANXESS สําหรับผู ที่สนใจสามารถอ านข อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ แลงเซส (LANXESS) ใน WebMagazine ได ที่ http://webmagazine.lanxess.com และสามารถติดตามความเคลื่อนไหวของแลงเซส ตามช องทางออนไลน Facebook, Twitter, YouTube ได ที่ http://www.facebook.com/LANXESS, http://www.twitter.com/LANXESSnews, http://www.youtube.com/LANXESSTV

93


เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

‘Siri’ «Í¿μ áÇà CarPlay ãËÁ‹¨Ò¡ Apple

Apple ได เป ดตัวซอฟต แวร สําหรับรถยนต CarPlay ที่ทําให ผู ใช สามารถ ซิ้งค ข อมูลจาก iPhone เชื่อมต อเข ากับเครื่องเล นมัลติมีเดียบนรถได อย าง สมบูรณ แบบ โดยแสดงผลบนหน าจอคอนโซล ทําให สามารถควบคุม iPhone ผ านทางคอนโซลรถได ทนั ที โดย Siri จะทําหน าทีเ่ ป นผูช ว ยให ผขู บั ขีส่ ามารถ เข าถึงข อมูลรายการเบอร โทร การต อสายโทรศัพท หรือการเป ดกล อง ข อความเสียง สามารถนําทางไปยังจุดหมายที่ต องการได โดยสามารถสั่ง Siri ให ออกเสียงนําทางแบบ turn-by-turn ผ านหน าจอในรถยนต ส วนระบบ เพลงก็สามารถเล นเพลงผ านแอพ Music, iTunes Radio รองรับ iOS 7 กับ iPhone ที่ใช พอร ต Lightning (iPhone 5s, iPhone 5c, iPhone 5) ในช วงแรกระบบ CarPlay ได รบั การสนับสนุนโดย Ferrari, Mercedes-Benz และ Volvo แต ในอนาคตอันใกล จะสามารถใช งานได กบั รถยนต เกือบทุกค าย Image courtesy of Mercedes-Benz and Apple Source Video: Apple CarPlay Demonstration - Mercedes-Benz 2015 C-Class - http://www.youtube.com/watch?v=Y1f6L_PnOG0

‘Slap It’ â¤Á俷çºÑé¹·ŒÒÂ

Joseph Begley นักออกแบบจากกรุงลอนดอน สร างสรรค โคมไฟสุดทะเล น ที่ใช ชื่อว า ‘Slap It’ โดยการออกแบบให มีรูปทรงคล ายกับบั้นท าย เมื่อผู ใช ต องการเป ด-ป ดไฟ ก็ทําได โดยการตี จับ บีบ ผลิตจากซิลิโคนธรรมชาติ มีให เลือกทัง้ หมด 8 สี คือ สีขาว, แดง, น้าํ เงิน, เขียว, ฟ าอมเขียว, ม วงแดง, เหลือง และส ม นับว าเป นไอเดียการออกแบบทีส่ ร างอารมณ ขนั ให แก ผพู บเห็น ได มากทีเดียว Source: http://design-milk.com/slap-cheeky-interactive-lights-joseph-begley Source Video: ‘Slap It’ Joseph Begley - http://www.youtube.com/ watch?v=5FXl_kc2fYg

à»ÅÕè¹ÊÔ觢ͧÀÒÂ㹺ŒÒ¹ãˌ໚¹à¤Ã×èͧ´¹μÃÕ

ดีไซเนอร Nick Brennan พัฒ นาเซ็ ทอุ ป กรณ Sound Pegs ที่ สามารถ เปลี่ยนสิ่งของต างๆ ภายในบ านให เป นเครื่องดนตรีได Sound Pegs ประกอบ ไปด วยลําโพง, ไม หนีบ และเครื่องแปลงสัญญาณ หลักการทํางานคือ เมื่อนํา ไม หนีบไปหนีบกับสิง่ ของต างๆ ไม ว าจะเป นหนังสือ, แผ นเสียง หรือแม กระทั่ง รองเท า เซ็นเซอร ในไม หนีบจะตรวจจับการสั่นสะเทือนของวัตถุ ส งไปที่เครื่อง แปลงสัญญาณทีท่ าํ หน าทีส่ ง ต อสัญญาณดิจติ อลไปยังเครือ่ งคอมพิวเตอร ทตี่ ดิ ตัง้ ซอฟต แวร Garageband ของ Apple ที่จะทําการเปลี่ยนสัญญาณดังกล าวเป น เสียงดนตรี อาทิ เสียงกลอง, เป ยโน, กีตาร ออกมาทางลําโพงนั่นเอง Source: http://www.dezeen.com/2014/03/08/household-objects-become-musicalinstruments-with-sound-pegs-nick-brennan

94


¾ÃÁÍѨ©ÃÔÂÐμÃǨ¨Ñº¡ÒÃà¤Å×è͹äËÇẺàÃÕÂÅä·Á

บริษัทสัญชาติเยอรมัน Future-Shape ได พัฒนาพรมอัจฉริยะ SensFloor ที่ สามารถตรวจจับและวิเคราะห ข อมูลจากการเหยียบบนพรมได แบบเรียลไทม พรมหนาขนาด 2 มิลลิเมตร ที่ถูกออกแบบเพื่อติดตั้งที่ด านล างของพรม มาพร อมเซ็นเซอร ขนาดเล็กฝ งไว ภายใน ที่ทําหน าที่แปลงสนามแม เหล็กและ ส งต อไปยังเครือ่ งควบคุมผ านทางคลืน่ วิทยุ ซึง่ เมือ่ ไม นานมานี้ พรม SenFloor ได ถกู นําไปติดตัง้ ทีศ่ นู ย พกั ฟ น ผูป ว ยทีป่ ระเทศฝรัง่ เศส เพือ่ ช วยติดตามผูท พี่ กั ฟ น อยูท นี่ ี่ ซึง่ เมือ่ พวกเขาหกล ม ระบบจะส งเสียงเตือนเพือ่ ให เจ าหน าทีส่ ามารถ เข าช วยเหลือได ทันที นอกจากนี้ยังสามารถใช เป นกล องวงจรป ดรักษาความ ปลอดภัย โดยการแจ งเตือนผ านสมาร ทโฟนได อีกด วย Source: http://www.dezeen.com/2014/03/07/future-shapesensfloor-conductiverug-turns-floor-into-giant-touchscreen

¡ÒêÒà ¨áºμÊÁÒà ·â¿¹áººãËÁ‹à¾Õ§ᤋ¡´º¹Ë¹ŒÒ¨Í

ทีมนักวิทยาศาสตร จากมหาวิทยาลัย Gerogia Tech พัฒนาเครื่องกําเนิด ไฟฟ ารูปแบบใหม ที่สามารถชาร ตแบตเตอรี่ สมาร ทโฟน ได เพียงการกดหรือ พิมพ บนหน าจอ โดยการใช เทคโนโลยี Triboelectric ที่สามารถสร างกระแส ไฟฟ าได จากการเสียดสีของวัตถุสองชนิดทีแ่ ตกต างกัน และเพือ่ ให ได ผลลัพธ ที่ มีประสิทธิภาพมากขึน้ พวกเขาได คดิ ค นอุปกรณ ผลิตพลังงานทีเ่ รียกว า TENG (Tribioelectic Nana Generator) ทีส่ ามารถผลิตพลังงานทีท่ าํ ให หลอดไฟ LED สว างได มากถึง 1,000 หลอด เพียงการย่ําเท าลงบนพื้นเพียงครั้งเดียวเท านั้น ซึ่งวัสดุสองชนิดที่ก อให เกิดกระแสไฟฟ านี้ สามารถเป นได ทั้งกระดาษ, โลหะ, ผ า หรือ PVC ส งผลให พวกเขาขยายผลการทดลองกับของใช ประจําวัน อาทิ พื้นในของรองเท า, พรม และเป สะพายหลัง อีกด วย Source: http://www.dezeen.com/2014/03/18/future-smartphones-could-becharged-by-stroking-them Source Video: Harnessing everyday motion to power mobile devices - http:// www.youtube.com/watch?v=AVhJ4G-7na4

¤Í¹á·¤àÅ¹Ê Night-Vision ·Õè¼ÅÔμ¨Ò¡¡ÃÒ¿Ô¹

นักวิศวกรจากมหาวิทยาลัยมิชิแกน ได ใช Graphene (กราฟ นคือหนึ่งชั้นของ อะตอมคาร บอน) ในการพัฒนาเซ็นเซอร ที่สามารถตรวจจับสเป กทรั่มของแสง ได เต็มรูปแบบ เซ็นเซอร จะตรวจจับแสงโดยการวัดพฤติกรรมของอิเล็กตรอน และการเปลีย่ นแปลงระหว างวัตถุสองชัน้ ซึง่ โดยปกติแล ว เซ็นเซอร อนิ ฟราเรด อย างที่พบในแว นตาสําหรับใช ตอนกลางคืน (Night-Vision Goggles) จะต อง มีระบบที่ทําให เย็นเพื่อป องกันการโอเวอร ฮีท ส งผลให เซ็นเซอร มีขนาดใหญ ในขณะที่เซ็นเซอร กราฟ น ไม จําเป นต องมีระบบดังกล าว จึงทําให เซ็นเซอร นั้น มีขนาดเล็ก ในขณะนี้อยู ระหว างการพัฒนาขนาดให เล็กเพียงพอที่จะนําไปฝ ง ในคอนแท็คเลนส หรือเลนส ของกล องในสมาร ทโฟน เพื่อให สามารถมองเห็น ภาพได อย างชัดเจนในเวลากลางคืน Source: http://www.dezeen.com/2014/03/18/graphene-sensors-could-createnight-vision-contact-lenses/

95


ÊÌҧÈÔÅ»ÐÂÒÁ¤èíҤ׹ §‹ÒÂàËÁ×͹㪌¤·ÒËÒÂÁ¹μÃ

นักวิศวกร Phillip Burgess ได คิดค นอุปกรณ NeoPixel Painter ที่เป น อุปกรณ ที่ใช วาดภาพในยามค่ํา โดยภาพที่เกิดขึ้นจะเป นภาพลายเส นของ แสงไฟ LED วิธกี ารใช งานคือ นําอุปกรณ ทมี่ ขี นาดเท ากับฝ ามือชิน้ นี้ วาดภาพใน อากาศ เพียงเท านี้ก็จะปรากฏภาพศิลปะเรืองแสงขึ้น ซึ่งจากภาพข างบนจะ เห็นว า Phillip เขาไม ได ใช อปุ กรณ นวี้ าดภาพในอากาศแบบธรรมดาๆ แต เขาได นํามันไปติดตัง้ ไว กบั รถจักรยานของเขาและควบคุมภาพผ านทางคอมพิวเตอร ทําให เกิดภาพขณะที่เขากําลังป นจักรยานนั่นเอง Source: http://www.popsci.com/article/technology/light-graffiti-made-wavemagic-wand

¡ÃШ¡ÊÕ¾Åѧ§Ò¹áʧÍÒ·Ôμ ÃٻẺãËÁ‹

โดยทั่วไปแผงพลังงานแสงอาทิตย จะมีสีดํา และจะถูกติดตั้งไว บนหลังคา แต เมื่อเร็วๆ นี้ ทีมนักวิจยั แห งมหาวิทยาลัยมิชแิ กน ได เผยถึงการพัฒนาแผงพลังงานแสงอาทิตย รปู แบบใหม ทีค่ ล าย กับกระจกสี Stained Glass แต ถา พูดถึงเรือ่ งศักยภาพของมัน คงจะสูแ ผงพลังงานแสงอาทิตย แบบดั้งเดิมไม ได ยกตัวอย างจากภาพที่สีแดงและสีน้ําเงินรูปธงชาติประเทศอเมริกานั้นเป น เซลล แสงอาทิตย แต ประสิทธิภาพการทํางานมีเพียง 2 เปอร เซ็นต เท านั้น อย างไรก็ตาม คุณก็ สามารถนํามันไปติดทีห่ น าต าง เพิ่มความสวยงามให กบั บ านของคุณได อีกทั้งกระจกยังเปลีย่ น สีไปตามมุมที่มองเห็นอีกด วย Source: http://www.popsci.com/article/science/stained-glass-windows-double-solar-panels Source Video: Solar-powered color | MconneX | MichEpedia - http://www.youtube.com/ watch?v=H78TvsaZExw

ÍØ»¡Ã³ ᨌ§àμ×͹ÊíÒËÃѺ¼ÙŒ»†ÇÂâäÅÁªÑ¡

บริษัทผู เชี่ยวชาญด านเทคโนโลยีสัญชาติอเมริกัน Artefact พัฒนาอุปกรณ ที่ มีชื่อว า Dialog เป นอุปกรณ ช วยผู ป วยโรคลมบ าหมูหรือโรคลมชัก ให สามารถ เข าใจสภาพร างกายของตนได ดขี นึ้ สามารถคาดการณ เกีย่ วกับอาการชักทีอ่ าจ เกิดขึ้นและสามารถเตือนให คนในครอบครัวหรือผู ดูแลรู ได เป นอุปกรณ ขนาด เล็กที่มาพร อมเซ็นเซอร ที่ทํางานร วมแอพพลิเคชั่นบนสมาร ทโฟนในการแจ ง เตือนต างๆ เช น เวลาในการทานยา หรือแจ งข อมูลที่จาํ เป นในการรับมือกับ อาการชัก นอกจากนี้ยังสามารถให ข อมูลการปฐมพยาบาลเบื้องต นแก ผู เห็น เหตุการณ ในยามฉุกเฉินอีกด วย ผู ใช สามารถแปะอุปกรณ นี้ไว ที่ผิวหนังหรือ สวมใส เหมือนกับนาิกาข อมือ ซึง่ ขณะนี้ Dialog ยังอยูร ะหว างการพัฒนาและ ทดสอบระบบการใช งาน Source: http://www.dezeen.com/2014/03/14/epilepsy-aid-uses-wearabletechnology-to-predict-seizures

¶Ø§Á×ÍÇÔàÈÉ à»ÅÕè¹·‹Ò·Ò§Á×Í໚¹àÊÕ§´¹μÃÕ

Imogen Heap นักร อง นักแต งเพลงชาวอังกฤษ ได พัฒนาถุงมืออิเล็กทรอนิกส เวอร ชั่นล าสุดที่ มีชื่อว า ‘Mi.Mu’ ที่สามารถเปลี่ยนท าทางมือเป นเสียงดนตรีได ถุงมือนี้ประกอบด วยเซ็นเซอร ที่คอยติดตามตําแหน ง, ทิศทาง, ความเร็วของการเคลื่อนไหวของมือ, ระดับความเอียงของนิ้ว และระยะห างระหว างนิว้ และส งข อมูลไปยังเครือ่ งคอมพิวเตอร , คียบ อร ดและเครือ่ งดนตรีตา งๆ ส งผลให นักดนตรีสามารถสร างเสียงเพลงได โดยการเคลื่อนไหวมือ แทนการเล นเครื่องดนตรี แบบดัง้ เดิม ซึ่ง ถุงมือ ‘Mi.Mu’ เพิ่งเป ดตัวแคมเปญ Kickstarter เพื่อระดมทุนสําหรับการ พัฒนาและผลิตเมื่อไม นานมานี้ Source: http://www.dezeen.com/2014/03/20/imogen-heap-funding-drive-for-gloves-that-turngestures-into-music Source Video: The Mi.Mu Musical Glove - Kickstarter - http://www.youtube.com/ watch?v=vJWzxMVDq8I 96


87 jeab.pdf

1

2/19/14

11:09 PM


เรื่อง: กฤษณ นาคะชาต

àÃ×èͧÃÒÇÁѹà¡Ô´¨Ò¡¼ÁªÍºàÊÒÐËÒÍØ»¡Ã³ ¨Ñ¡ÃÂÒ¹·Õ蹋Òʹã¨μÒÁàÇçºä«μ μÒ‹ §»ÃÐà·È ÃÇÁ·Ñé§ Gadget ãËÁ‹æ ·Ñ§é ʹ㨨Ы×Íé ËÒáÅйíÒÁÒàÅ‹ÒÊÙ¡‹ ¹Ñ ¿˜§ ËÅÒ¤Ãѧé ä´Œμ´Ô μÒÁä»´ŒÇ¤ÇÒÁʹ㨠¨¹ä´Œ´ÇÙ ´Ô âÕ Íá¹Ð¹íÒ¼ÅÔμÀѳ± ËÅÒÂªÔ¹é ·Õè¼Áʹã¨ÁÒ¡áÅÐÍÂÒ¡«×éÍËÒÁÒ㪌 ¾Í¡´ÅÔ§¤ ࢌÒä»à¾×èÍÊÑ§è ¢Í§ ¡ç¨Ðà¨Í¡Ñº Kick Starter Project ÂѧäÁ‹ÁÕ ¨íÒ˹‹Ò·ÑèÇä»ÍÂÙ‹»ÃШíÒ ¨Ö§Í´Ê§ÊÑÂäÁ‹ä´ŒÇ‹ÒÁѹ¤×ÍÍÐäà Kick Starter คือ Crowd Funding Site แล ว Crowd Funding ล ะมันคืออะไร เอาแบบเข าใจง ายตรงตัวนะครับ ก็คือการระดมทุน จากคนทั่วไปที่สนใจในไอเดียของเรานั่นเอง เพื่อสนับสนุนให ไอเดียดีๆ ได เกิด และเป นการทดลองตลาดลดความเสี่ยงของเจ าของ ไอเดียหรือผูผ ลิตในการลงทุน ซึง่ อาจกลายเป นธุรกิจทีป่ ระสบความสําเร็จขึน้ มาได ในทีส่ ดุ หรือหากโครงการไม ประสบความสําเร็จ ผูท าํ โครงการก็ไม ตอ งรับผิดชอบคืนเงินแต อย างใด อันทีจ่ ริงแล วก็ไม เชิงธุรกิจไปทัง้ หมดนะครับ อาจเป นกิจกรรมซึง่ จะส วนตัวหรือการกุศล ก็แล วแต ขอให โดนใจและสร างสรรค พอทีจ่ ะทําให สงั คมสนับสนุนด วยเงินทุนนัน่ เอง คนละนิดละหน อยก็เป นร อยเป นพัน บางโครงการ ระดมทุนได เกินเป าหมายก็รํา่ รวยกันไปครับ มาดู Crowd Funding Site ดังๆ จากการจัดอันดับของ Forbes ในป 2014 กันครับ ว ามีอะไรบ าง เผื่อว าท านที่มีไอเดียเด็ดๆ ต องการเข าไประดมทุน หรือท านที่มีทุนต องการ Product ใหม ๆ ลองเข าไปชมกันนะครับ เป นเว็บไซต ระดมทุนที่ได รับความนิยมมากที่สุด ค าใช จ าย 5% ของการ ระดมทุน แต หากโครงการไม ประสบความสําเร็จ บวกเพิ่มอีก 3-5% ครับ ข อดีคือมีผู สนใจมากที่สุด โอกาสที่จะได ทุนมากอย างที่ตั้งใจค อนข างสูง หากไอเดียของคุณเข าตากรรมการ แต มีข อจํากัดคือ รับเฉพาะโครงการที่ อยู ในอเมริกาและอังกฤษ แต อันที่จริงน าจะหมายถึงผู เป ดโครงการอยู ใน 2 ประเทศนี้มากกว า เพราะผมแอบเห็นหลายโครงการอยู ในเมืองไทยก็มีครับ เป นเว็บไซต ทมี่ คี วามยืดหยุน สูง เป ดกว างรับผูต อ งการระดมทุนจากทัว่ โลก ค าใช จ ายของ Indiegogo คือ 4% ของการระดมทุนหากโครงการประสบ ความสําเร็จ 9% หากโครงการไม ประสบความสําเร็จ และมีค าธุรกรรมเพิ่ม ขึ้นอีก 3% ข อดีที่ชัดเจนหากใครมีไอเดียเด็ดและต องการระบบทุนที่เว็บนี้ แน นอน คนไทยอย างเราก็มีสิทธิ์ครับ ข อเสียก็ชัดเจนคือการหักเปอร เซ็นต ค อนข างสูงครับ เป นเว็บไซต ระดมทุนที่แตกต างออกไปเฉพาะด าน มีการร วมมือกับ A&E Network ซึ่งเป นช องเคเบิลทีวี เพื่อนําเสนอโครงการ และมีเครื่องมือเพื่อ สนับสนุนการสร างและประกอบธุรกิจให ประสบความสําเร็จ เรียกได วา ถ าคุณ จริงจัง Rocket Hub ก็หวังช วยให คณ ุ ประสบความสําเร็จอย างเต็มที่ แต ขอ เสีย ก็คงเพราะไม ดงั เท าสองรายแรกนัน่ เอง ส วนค าใช จา ย 4% ของการระดมทุน และ 8% สําหรับแคมเปญพิเศษ และอีก 4% เป นค าธรรมเนียม แอบเก็บ เปอร เซ็นต สูงเหมือนกันนะครับ สําหรับเว็บไซต แห งนี้เน นไปที่โครงการไม หวังผลกําไรนะครับ เพื่อการกุศล นั่นเอง เช น น องๆ วงโยฯ ที่ไหนสักแห งต องการเงินเพื่อเดินทางไปแข งขัน ระดับโลก ก็สามารถระดมทุนได ที่นี่เลยครับ ค าใช จ าย 5% ไม ว าโครงการ จะสําเร็จหรือไม นะครับ และค าธรรมเนียมอีกนิดหน อย

เน นเพื่อให ผู ประกอบการและนักลงทุนได มาเจอกัน และได ทํางานร วมกัน เพือ่ ประกอบโครงการให กลายเป นธุรกิจครับ ค าใช จา ย 5% จากการระดมทุน และ 1.3% ค าธรรมเนียม 98


ผมประทับใจเว็บไซต นี้มาก เน นสําหรับผู ประกอบการทางสังคม ไม หวังผล กําไร ผูใ ห ทนุ น าจะมาจากบริษทั ทีค่ ดิ จะทํา CSR เน นการมุง มัน่ เปลีย่ นแปลง ทางสังคมให ดีขึ้น จุดเด นของที่นี่คือ เป ดสําหรับทั่วโลกครับ

แนะนํากันมาตั้งเยอะ ผู อ านคงจะเห็นภาพของ Crowd Funding Site แล วใช ไหมครับ แต เอ! หลายท านอาจจะงงว า นี่มัน IT Update ตรงไหน อันที่จริงแล วก็ทั้งเกี่ยวและไม เกี่ยวครับ ทั้งตัว Crowd Funding Site เอง ก็เป นผลพลอยได จากสังคมออนไลน ทําให ผู ผลิต นักออกแบบ ผู บริโภค นักลงทุนได มาเจอกัน ทําให อุปกรณ ไอทีเจ งๆ หลายชิ้นมีจุดเริ่มที่การระดมทุนแบบ Crowd Funding นั่นเอง แต มันไม ได หยุดอยู แค นั้น ลองคิดดูหากท านมีไอเดียดีๆ อยากจะทําให เกิดขึ้นจริง แต ขาดพื้นที่ โอกาส ขาดทุนทรัพย หรือไม กล า เสี่ยงลงทุนก็ตาม Crowd Funding จึงเป นอะไรที่เหมาะมากกว าไหมครับ เรามาลองดูกันดีกว ามีโครงการอะไรที่น าสนใจ และ ประสบความสําเร็จกันแล วบ างครับ น าจะเห็นภาพมากขึ้น

Structure Sensor: Capture the world in 3D

โครงการนี้หลายท านอาจจะเคยเห็นผ านตามาบ างแล วจากสังคมออนไลน และ YouTube อุปกรณ ตวั นีเ้ ปลีย่ น iPad ของคุณให กลายเป นเครือ่ ง Scan 3D ขนาดเล็ก และยังสามารถเล น Augmented Reality Game ได อีกด วย บอกตรงๆ ครั้งแรกที่เห็นอยากได มากครับ เสียดายที่ไม มี เพราะเป น Kick Starter Project ถ าไปซื้อต อจากผู สนับสนุนก็คงแพงขึ้นอีกหลายตังครับ โครงการนีต้ งั้ เป าการระดมทุนไว ที่ 100,000 เหรียญ แต สามารถทําเงินได ถงึ 1,290,439 เหรียญ

PowerUp 3.0 - Smartphone Controlled Paper Airplane

Boy Toy ทีอ่ ยากได มากๆ เห็นเจ าเครือ่ งบินกระดาษนีค่ รัง้ แรกก็แอบจะเป ด หาใน E-Bay ครับ อดอีกตามเคย เพราะเป น Kick Starter Project อีกเช นกัน แต ห ลั ง จากโครงการประสบความสํ า เร็ จ ตอนนี้ รู สึ ก ว า จะ Pre-Order ได แล วนะครับ รีบเก็บเงินโดยด วน โครงการนีไ้ ด รบั รางวัล The Best of Toy Fair 2013 เป นประกัน เชื่อมต อกับโทรศัพท ด วย Bluetooth และควบคุม ด วยแอพพลิเคชั่น โครงการนี้ตั้งเป าไว ที่ 50,000 เหรียญ แต ทําเงินได ถึง 1,232,612 เหรียญ

Pebble: E-Paper Watch for iPhone and Android

ผมเคยนําเสนอเจ า Pebble แล วครั้งหนึ่ง ในบทความ Smart Watch แต เพิ่งทราบทีหลังเหมือนกันครับ ว าความสําเร็จของ Pebble มีจุดเริ่มต น มาจาก Crowd Funding ถือว าประสบความสําเร็จทีเดียว ถึงกับส งของ ทันบ างไม ทนั บ าง บางยอดถล มทลาย ระดมทุนได เกินเป า เป นอีกหนึง่ ความ สําเร็จจริงๆ ครับ Pebble ตั้งเป าไว ที่ 100,000 เหรียญ แต ทําเงินไปได ถึง 10,266,845 เหรียญ

Brydge + iPad: Do more.

สําหรับอุปกรณ ตัวนี้ หลายท านที่ใช งาน iPad อยู ก็คงต องแอบชําเลือง ดูหน าตาแล วนึกว า MacBook Air รุ นใหม ความต องการพื้นฐานง ายกับ ดีไซน ทลี่ งตัวครับ จึงทําให โครงการนีป้ ระสบความสําเร็จ ระดมทุนได เกินเป า ไปหลายเท า คือต องการเพียง 9,000 เหรียญ แต ได ไปถึง 797,979 เหรียญ เป นไงครับ เกีย่ วกับไอทีจริงๆ ใช ไหมครับ ในทีส่ ดุ ผมก็รอดตัวไป อันทีจ่ ริงแล วมีโครงการอีก มากมายนะครับ ไม เฉพาะเรือ่ งเทคโนโลยีเท านัน้ เช น Art, Comics, Dance, Design, Fashion, Film & Video, Food, Games, Music, Photography, Publishingม Theater และอีก มากมาย ผมหวังว าเราอาจเห็นโครงการดีๆ มากมายเกิดขึน้ โดยคนไทยบ างนะครับ ในโอกาส หน าผมจะลองรวบรวมโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับคนไทยหรือเมืองไทยมาเล าสู กันฟ งนะครับ สุดท ายนี้ในบทความนี้ท านอาจจะไม พบลิงค ไปยังเว็บไซต อ างอิงเหมือนเคย ผมขอแปะเป น QR Code แทนนะครับ เนื่องจากในหนังสือท านก็คงไม สามารถกดลิงค ไปยังเว็บได อยู แล ว ถ าใช สมาร ทโฟนอ าน QR code น าจะสนุกกว า อุ ย! แอบไอทีอัพเดทนะเนี่ย 99


เรื่อง: กองบรรณาธิการ

Project in Progress ©ºÑº¹Õé àÃÒ¨ÐμÒÁ´Ùâ¤Ã§¡Òù‹Òʹã¨ã¹ºÃÔàdzâ´ÂÃͺ¾×é¹·Õè‹ҹ¾ÃÐÃÒÁ 9 ¡Ñ¹ ¾×é¹·Õè·Õè͹Ҥμ¨Ð¡ÅÒÂ໚¹ New CBD μÒÁ·Õè¹Ñ¡¼Ñ§àÁ×ͧáÅйѡÇÔà¤ÃÒÐË ÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ ¤Ò´¡Òó ¡Ñ¹àÍÒäÇŒ àÃÒÁҴ١ѹNjÒÁÕâ¤Ã§¡ÒÃã´·ÕèÍÂÙ‹ÃÐËÇ‹Ò§¡ÒÃÍ͡ẺËÃ×Í¡Òá‹ÍÊÌҧ·Õèã¡ÅŒáÅŒÇàÊÃç¨ÍÂÙ‹ºŒÒ§

ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่โครงการ ผู พัฒนาโครงการ เริ่มพัฒนาโครงการ คาดว าแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

โครงการอาคารสํานักงานใหญ ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ถ.รัชดาภิเษก ห วยขวาง กทม. ประมาณ 5.3 ไร ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ป 2554 ป 2557 อยู ระหว างการตกแต งภายใน

ลักษณะโครงการ อาคารสํานักงานแห งใหม นี้ มีความสูง 29 ชัน้ โดยมีแรงบันดาลใจ ในการออกแบบ และพัฒนาเป นอาคารจากตราสัญลักษณ ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ตัวอาคารมีความโดดเด นด านสถาป ตยกรรมชัน้ นําของกรุงเทพมหานคร มีรปู แบบเชิงสัญลักษณ เฉพาะของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย เพือ่ เป นศูนย กลางการซือ้ ขายหลักทรัพย ให บริการ ธุรกรรม และกิจกรรมเกี่ยวข องตลาดทุนแบบอเนกประสงค เช น โถงต อนรับ ศูนย บริการครบ วงจรแบบ One Stop Services ห องสมุด พิพิธภัณฑ โถงนิทรรศการ จัดแสดงงานสินค าและ บริการ ห องประชุม การจัดอบรมสัมมนา จัดเลีย้ งและจัดงานแถลงข าว และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข อง กับการพัฒนาตลาดทุนในระยะยาว รวมถึงเป นแหล งเรียนรู ด านการวางแผนทางการเงิน และ การลงทุนแก นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่ได มาที่อาคารแห งนี้ด วย

ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่โครงการ ผู พัฒนาโครงการ เริ่มพัฒนาโครงการ คาดว าแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

โครงการเอไอเอ แคปป ตอล เซ็นเตอร ถ.รัชดาภิเษก ห วยขวาง กทม. ประมาณ 10 ไร กลุ มธุรกิจ เอไอเอ ป 2555 กลางป 2557 อยู ระหว างการตกแต งภายใน

ลักษณะโครงการ อาคารสูง 34 ชั้น มีพื้นที่ใช สอยทั้งหมดกว า 100,000 ตารางเมตร ด วยพื้นที่สํานักงานให เช าต อชั้น ประมาณ 1,800 - 1,900 ตารางเมตร โดยจัดสรรพื้นที่ ให เช าเป นสํานักงานเกรดเอทั้งสิ้น 54,000 ตารางเมตร และพื้นที่ให เช าสําหรับร านค าปลีก อีกเกือบ 5,000 ตารางเมตร รวมพื้นที่ใช สอยทั้งสิ้นกว า 100,000 ตารางเมตร ครบครันทั้ง ธนาคาร, ร านอาหาร, ร านกาแฟ, ศูนย ออกกําลังกาย และร านสะดวกซื้อ

100


ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่โครงการ ผู พัฒนาโครงการ เริ่มต นก อสร าง ก อสร างแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

โครงการ Ivy Ampio ถ.รัชดาภิเษก ห วยขวาง กทม. 2 ไร 93 ตารางวา บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) ป 2555 ป 2557 อยู ระหว างการตกแต งภายใน

ลักษณะโครงการ คอนโดมิเนียมสูง 29 ชั้น 1 อาคาร จํานวน 289 ยูนิต ในระดับ Luxury Class ที่อยู รายรอบด วยแหล งชอปป ง และแหล งอาคารชุดพักอาศัย ไม ว าจะเป น Belle Grand, Aspire พระราม 9 หรือ IDEO Mobi พระราม 9 ตั้งอยู บนทําเลที่ดีติดถนนรัชดาภิเษก ใกล สถานีรถไฟฟ าใต ดินศูนย วัฒนธรรม ด วยการออกแบบห องที่ลงตัวน าอยู ซึ่งเป นสิ่งที่ แตกต างจากคอนโดมิเนียมทั่วไปตามท องตลาด

ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ บนเนื้อที่โครงการ ผู พัฒนาโครงการ เริ่มก อสร าง คาดว าแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

โครงการ Noble Revolve Ratchada ถ.รัชดาภิเษก ห วยขวาง กทม. 3-1-66.2 ไร บริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ป 2556 ป 2560 อยู ระหว างการก อสร าง

ลักษณะโครงการ โครงการคอนโดมิเนียม สูง 38 ชั้น 2 อาคาร จํานวน 755 ยูนิต เป นคอนโดทําเลดี ติดถนนใหญ ใกล สถานีรถไฟฟ า MRT ศูนย วัฒนธรรม อีกทั้งยังใกล กับห างสรรพสินค าและแหล งสํานักงาน ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ บนเนื้อที่โครงการ ผู พัฒนาโครงการ คาดว าแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

โครงการ ทีซีกรีน คอนโดมิเนียม ถ.พระราม 9 ห วยขวาง กทม. 16 ไร บริษทั เทียนเฉิน อินเตอร เนชัน่ แนล พร็อพเพอร ต้ี (ไทยแลนด ) จํากัด ป 2557 อยู ระหว างการก อสร าง

ลักษณะโครงการ เป นคอนโดมิเนียมติดถนนใหญ ใกล รถไฟฟ าใต ดิน (MRT) จุดขึ้น ลงทางด วน แอร พอร ตลิ้ง และห างสรรพสินค ามากมาย พร อมสาธรณูปโภคครบครัน โครงการ เฟส 1 เป นอาคารชุดพักอาศัยสูง 32 ชั้น จํานวน 2 อาคาร และอาคารชุดพักอาศัยสูง 3 ชั้น จํานวน 3 อาคาร เฟส 2 อาคารชุดพักอาศัยสูง 33 ชั้น 1 อาคาร และ 35 ชั้น 1 อาคาร รวม 1,700 ยูนิต ร านค าอีก 47 ยูนิต

101


เรื่อง: ปฏิทิน เวลา ภาพ: กัณฑ ตนนท สุรัชต วิรากูล

´ŒÇ¡Ò÷íҧҹ͋ҧ·Ø‹Áà· ¤Ô´¹Í¡¡ÃͺãËŒà˹×Í¡Ç‹Ò⨷ ·ÕèÅÙ¡¤ŒÒÇÒ§àÍÒäÇŒ ¤Ø³ÇÕéÑμà ¾ÃËÁÈà (¤Ø³¨ ͺ) ¹Ñ¡Í͡ẺáÅмٌºÃÔËÒÃ˹؋Á áË‹§ºÃÔÉÑ· àÍÊà¸μÔ¤ ÍÒà ¤Ôà·¤ ¨íÒ¡Ñ´ ¨Ö§à»š¹ÁÒ¡¡Ç‹Ò¤¹´Õ䫹 μÖ¡ คุณจ อบเริม่ ต นกับความฝ นทีอ่ ยากจะทําอาชีพสถาปนิก กอปรกับความชอบ วาดรูปตัง้ แต วยั เด็ก จึงทําให ตดั สินใจเลือกเรียนทางด านการออกแบบทีค่ ณะ สถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ณ สถานศึกษาแห งนีท้ าํ ให มโี อกาส ได พบกับอาจารย ที่ปรึกษาอย าง ผศ.ณัฐธร ธรรมบุตร อาจารย ประจําคณะ สถาป ตยกรรมศาสตร และผู ก อตั้ง บริษัท เอสเธติค อาร คิเทค จํากัด และ เมื่ อ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาได เ ข า ทํ า งานในบริ ษั ท เอสเธติ ค อาร คิ เ ทค โดยเริ่มจากตําแหน งจูเนียร อาร คิเทค และต อมาไม นานในช วงวิกฤต เศรษฐกิจป 2540 จึงได ตัดสินใจเดินทางไปศึกษาต อที่ประเทศออสเตรเลีย ในระดับปริญญาโท สาขา Urban Design ที่ University of New Castle หลั ง จากสํ า เร็ จ การศึ ก ษาแล ว ได เ ดิ น ทางกลั บ มาพั ก ผ อ นที่ เ มื อ งไทย และครัง้ นัน้ เมือ่ ได พบกับ ผศ.ณัฐธร ท านจึงได ชกั ชวนให กลับมาทํางานทีบ่ ริษทั เอสเธติค อาร คิเทค อีกครั้งหนึ่ง โดยเสนอตําแหน งหุ นส วนของบริษัทฯ ให ซึ่งคุณจ อบเองก็ได ตอบรับและเข ามามีส วนร วมอย างจริงจังในช วงป ที่ 10 ของการเป ดบริษัทฯ นั่นเอง ป จจุบันบริษัท เอสเธติค อาร คิเทค เป ดดําเนินการมาแล ว 25 ป ผลงานที่ ผ านมาของบริษทั นัน้ มีมากมายและหลากหลายรูปแบบ ไม วา จะเป นโรงแรม รีสอร ท หรือคอนโดมิเนียม รวมทั้งกลุ มพร็อพเพอร ตี้และดีเวลลอปเปอร ที่หลากหลาย แต ในช วงหลังมานี้ บริษัทยังมีผลงานโครงการที่น าสนใจ ประเภท Edutainment มากขึ้น อาทิ โครงการ KidsZania โครงการ อาคารเรียน ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ หรือ Snake Farm & Complex ที่ลาดกระบัง เป นต น ตั้งแต ช วงแรกที่คุณจ อบได มีโอกาสกลับมาร วมงานกับทางบริษัท เอสเธติค อาร คิเทค อีกครั้งหนึ่ง นอกจากการทํางานในสายการออกแบบแล ว ก็ได มีโอกาสเข าสู สายงานบริหารจัดการองค กร วางแผนแนวทางการบริหาร สํานักงานและวางวิสัยทัศน ร วมกับ ผศ.ณัฐธร อีกด วย จนเป นที่ไว วางใจ และได รับการมอบหมายแต งตั้งเป นกรรมการผู จัดการบริษัทฯ ในที่สุด ซึ่งเป นการรับช วงในการบริหารบริษัทต อจาก ผศ. ณัฐธร ต อไป คุณจ อบ กล าวถึงแนวคิดในการทํางานบริหารไว ว า “ผมต องยอมรับอย างหนึ่งว าเรา ถูกสอนมาให ออกแบบ ไม ใช นกั ธุรกิจเสียทีเดียว ดังนัน้ ความรักในงานดีไซน และความสุขที่ได ทําการออกแบบนั้นย อมมีมากกว าการทํางานบริหารอยู แต ในการทํางานให ออกมาสําเร็จได นน้ั เราต องบริหารจัดการ ดูแลและเอาใจใส บุคลากรในทีมด วย ไม สามารถก มหน าก มตาทําดีไซน ได เพียงอย างเดียวซึ่ง ในการบริหารบุคคลนัน้ เป นเรือ่ งทีค่ อ นข างยากสําหรับนักออกแบบ บางครัง้ ในการจัดการองค กร เราก็ตอ งศึกษาหรือดูตวั อย างจากบริษทั อืน่ ๆ ทีป่ ระสบ ความสําเร็จอยู ก อน หรือบริษัทที่ดําเนินธุรกิจคล ายกันกับเรา เพื่อเป นกรณี ศึกษา และนําส วนที่ดีและเป นประโยชน มาประยุกต ใช สําหรับภายในองค กร ของเราเองด วย เพื่อให บริษัทเกิดการพัฒนาและเติบโตต อไป”

102

ด ว ยความมุ ง มั่ น ในการทํ า งานทั้ ง สองด า น ทั้ ง การ ออกแบบและการบริหารสํานักงานไปพร อมกัน บวกกับ ใจรักในสายวิชาชีพ ทําให คุณจ อบมีมุมมองและแนวคิด ในการทํางานแบบนอกกรอบ แนวคิดในการออกแบบ และสไตล ในการทํางานที่ขึ้นอยู กับงานและโจทย ที่ได รับจากลูกค าที่แตกต างกันออกไปได ไม จํากัด เพราะ ‘Design up value’ นี่คือนิยามที่คุณจ อบได กล าวไว “เพราะเรามีหน าที่ที่จะทําให ผลงานนั้นๆ ออกมาให สวยงามและตอบสนองกั บ โจทย ที่ ไ ด รั บ ตามความ ต อ งการของลู ก ค า ไม ว า โจทย ที่ ไ ด นั้ น จะเป น งาน สถาป ตยกรรม หรือ งานตกแต ง ภายในก็ตาม เราก็ ออกแบบให ได เพราะโดยส วนตัวผมเชื่อว า เราถูกสอน มาให ออกแบบเป น ดังนั้นเราควรจะมีรสนิยมที่สามารถ ทําให ทุกอย างออกมาสวยงามและลงตัวได ถึงแม อาจ จะไม ดีเท ากับอินทีเรียร ดีไซเนอร แต เราสามารถขายมุม มองและสัดส วนในการออกแบบจัดวางภายในพื้นที่ว าง ได เช นกัน” ด วยการทํางานแบบสิบให รอ ย จากร อยให พนั ทําให ลูกค าของบริษัท เอสเธติค อาร คิเทค จะได ผลงาน การออกแบบที่มากกว าโจทย ที่ตั้งเอาไว ซึ่งมักจะเป น ส วนทีด่ เี สียด วย การทํางานนอกจากกรอบทีก่ าํ หนดเอาไว นี่เอง ทําให ได รับความวางใจจากลูกค าให ออกแบบ ผลงานดีๆ อยู เสมอ คุ ณ จ อ บเล า เสริ ม ว า “ด ว ยลู ก ค า กลุ ม เป า หมายของ บริษทั ฯ มีหลากหลาย ทัง้ ดีเวลอปเปอร และโฮเทล โอเปอเรเตอร ด วย ซึ่งกลุ มลูกค าเหล านี้จะอยู ในวงการเล็กๆ หากมี ผลงานที่ โ ดดเด น ขึ้ น มาหนึ่ ง งาน ก็ จ ะมี ก ารอ า งอิ ง ผลงาน บอกกันปากต อปาก ทําให ลกู ค าทีเ่ ข ามาของทาง บริษทั ฯ นั้นมีจากหลายช องทาง ทั้งคอนเนคชั่นส วนตัว ของ ผศ.ณัฐธร และของตัวผมเองด วย ซึ่งในการทํา ผลงานออกแบบโครงการหนึ่ง ผมพยายามบาลานซ กัน ระหว าง Commercial และ Design เพือ่ ให งานทีอ่ อกมา ไม ใช คดิ แต เพียงกําไร-ขาดทุนเท านัน้ แต ลกู ค าบางกลุม เราก็ต องปรับแนวคิดให เหมาะสมกับโครงการด วย เช น กลุ มดีเวลลอปเปอร เรื่องของยอดขายและงบประมาณ โครงการเป นสิ่งสําคัญที่ต องคํานึงถึง หากเป นอีกกลุ ม อาจใส คอนเซปต ลงไปในดีไซน ได อย างเต็มทีม่ ากกว าซึง่ อันนี้เราต องเข าใจในลักษณะของลูกค าด วย” ด วยความ ที่มีแนวคิดนอกกรอบ คุณจ อบบอกกับเราว า “อยากเป น มากกว าคนที่ดีไซน ตึก อยากที่จะใส แนวคิด ไอเดียและ ที่มาที่ไปลงไปในผลงานการออกแบบอาคารมากกว า แค ออกแบบเท านัน้ ” ซึง่ นัน่ จึงกลายเป นทีม่ าของแนวคิด การออกแบบในสไตล ของตนเอง


ÇÕéÑμà ¾ÃËÁÈà Managing Director ºÃÔÉÑ· àÍÊà¸μÔ¤ ÍÒà ¤Ôà·¤ ¨íÒ¡Ñ´

103


“¼ÁÍÂҡ໚¹ÁÒ¡¡Ç‹Ò¤¹·Õè´Õ䫹 μÖ¡” ด วยความทีจ่ บมาทางด าน Urban Design ดังนัน้ การออกแบบโครงการหนึง่ คุณจ อบจึงไม ได มองแค เพียงผืนทีด่ นิ รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ า แต จะมองรวมถึงบริบทโดยรอบตลอดทั้งบล็อคของที่ดิน มุมมองที่จะสื่อออกมาและ ผลกระทบต อชุมชนเมืองอีกด วย ซึง่ ในหลายโครงการทีไ่ ด ออกแบบแล วนัน้ จึงมีการนํารูปแบบของ Urban Design ผสมผสานลงไปในงานดีไซน ดว ย อาทิ สํานักงานเขตปทุมวัน ซึง่ ตัง้ อยูบ ริเวณตลาดสามย าน ทีเ่ ป นเสมือนพืน้ ทีเ่ ชือ่ ม ต อระหว างพื้นที่โดยรอบมากกว าเป นอาคารแห งหนึ่งที่มีรั้วล อมรอบ ผู คนในชุมชนสามารถเดินเชื่อมถึงกันได หรือ การออกแบบโครงการ ลานคนเมือง (BMA Office Plaza) ที่มีการออกแบบพื้นที่ว างหน าอาคารสํานักงานศาลา ว าการกรุงเทพมหานคร ให เกิดเป นพลาซ าที่มีฟ งก ชั่นและกิจกรรมการใช สอยภายในบริเวณนั้น ทั้งยังเป นจุดรวม ของผู คนในชุมชน โดยแนวคิดนีค้ ณ ุ จ อบได นํามาจากการออกแบบ Urban Space ของเมืองใหญ ที่แต ละเมืองจะมี พื้นที่ Public Space เพื่อเป นแลนด มาร กให คนในเมืองมีพื้นที่มาทํากิจกรรมร วมกัน ซึ่งจะเป นพื้นที่ว างสําหรับ เชื่อมต อระหว างชุมชนกับคนในเมืองใหญ นอกจากนี้คุณจ อบยังได เล าถึงผลงานที่ประทับใจอีกหนึ่งโครงการให ฟ งด วย นั้นคือ คิดส ซาเนียร (KidsZania) โครงการเมืองจําลองสําหรับเด็ก ที่จะต องเสมือนเมืองจริงๆ ด วย ในโครงการนี้เป นโครงการที่ใช เวลาในการ ทุม เทกว า 5 ป ภายในประกอบด วยอาคารย อส วนจํานวนกว า 60 หลัง จึงมีความซับซ อนและใช เวลาก อสร างอยูน าน ทําให เกิดเป นความประทับใจตลอดเวลาที่ได ทํางานอยู เพราะอยากจะเห็นวันที่โครงการนี้แล วเสร็จเหลือเกิน นอกจากความทุ ม เทในการทํ า งานในแต ล ะวั น คุ ณ จ อ บยั ง หาเวลาหมั่ น เดิ ม ไอเดี ย ของตั ว เองอยู เ สมอ “ดี ไ ซน อ ยู ที่ ไ ลฟ ส ไตล มุ ม มองการใช ชี วิ ต และการฝ ก ฝนตนเองให เ ป น ดี ไ ซเนอร ต อ งรู จั ก สั ง เกตและคิ ด ให บอ ย ฝ กดีไซน ให มาก รูจ กั หาข อมูลใหม ๆ มาสะสมอยูเ สมอ อัพเดทเทรนด สถานทีท่ นี่ า สนใจก็เดินทางไปเยีย่ มชม เพือ่ เป นแรงบันดาลใจในการสร างสรรค ผลงานยามเมือ่ เราต องลงมือออกแบบจริงๆ” และเมือ่ ทํางานอย างหนักแล ว ผูช ายคนนีจ้ ะหาเวลาว างให กบั ตนเองพักผ อนกับครอบครัว การเดินทางท องเทีย่ ว เปรียบเสมือนการชาร จพลังงาน ให กลับมาสดชื่น พร อมลุยงานหนักอีกครั้ง คุณจ อบได ฝากข อคิดแก นกั ออกแบบรุน ใหม ไว อย างน าสนใจ “อยากให นอ งๆ ถามตัวเองก อนว า นีค่ อื สิง่ ทีช่ อบจริงๆ หรือเปล า เพราะการทํางานเป นนักออกแบบนีค้ อ นข างหนักและต องทุม เท และในส วนของการออกแบบมีงานอยูห ลาย ส วนทั้งงานดีไซน งานเขียนแบบ งานทําภาพ Perspective ซึ่งหากน องๆ ชอบที่จะทําอะไรหรือมีความฝ นอยาก จะเป นอย างไร ก็อยากให เชื่อมั่นและฝ กฝนตนเองให เป นดีไซเนอร วันหนึ่งก็จะสามารถสําเร็จได เช นกัน”

104



¾×¹é ·Õàè »´Ô ¡ÇŒÒ§ãˌᡋ¹¡Ñ ¤Ô´ ¹Ñ¡Í͡Ẻ ËÇÁÊ‹§¼Å§Ò¹à¢ŒÒÁÒà¾×Íè à¼Âá¾Ã‹ÊÊ‹Ù ÒÂμÒ¼ÙÍŒ Ò‹ ¹ ໚¹¡ÒùíÒàʹͼŧҹ·Õ¹è Ò‹ ʹ㨷ѧé ã¹ÁØÁ¢Í§ ¡ÒÃÍ͡Ẻ§Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ §Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁμ¡á싧ÀÒÂã¹ §Ò¹ÀÙÁÊÔ ¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ 仨¹¡ÃÐ·Ñ§è §Ò¹Í͡ẺÇÑÊ´Ø ÊÔ¹¤ŒÒ §Ò¹Í͡Ẻ»‡ÒÂáÊ´§ÊÑÞÅѡɳ ËÃ×ͧҹÍ͡Ẻ¡ÃÒ¿¡Ô áÅÐÊ×Íè ÊÔ§è ¾ÔÁ¾ ·§éÑ ËÅÒ ÊÒÁÒöʋ§¼Å§Ò¹à¢ŒÒËÇÁä´Œ áÅÐÊͺ¶ÒÁ ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔÁè àμÔÁä´Œ·èÕ www.builderclick.com/designerhub

ออกแบบโดย ติดต อ

SAKDA FUANCHOMPOO Tel: 085 315 3408 E-mail: sakda_at@hotmail.com

ชื่อโครงการ อาคารพิพิธภัณฑ ธรรมชาติวิทยา ลักษณะงาน Architectural Design โครงการอนุรักษ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อปกป กพันธุกรรมพืช ศูนย ฝ กหนองระเวียง อําเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา

ออกแบบโดย ติดต อ

คุณกมลวรรจน โตบุญช วย 122/28 เมืองเชียงใหม 50300 E-mail: kamolwat@gmail.com

ชื่อโครงการ ร านกาแฟพาคามาร า เชียงใหม Pacamara Cafe ลักษณะงาน Architectural Design คอนเซปต ของลูกค า คือ ต องการทําร านกาแฟทีม่ คี วามเป นตัวเองสูง แม ไม ใช กาแฟแบรนด ใหญ แต ก็สามารถทําคุณภาพ รสชาติและบริการให สามารถสู กับแบรนด ดังๆ ได โดยเลือก ที่จะสร างสาขาแรกที่เชียงใหม แทนที่จะเป นกรุงเทพ ลักษณะการตกแต งใช การตกแต ง ตัวอาคารเป นเมืองเก าที่มีความอบอุ น โดยเลือกใช ไม และงานปูน แต สามารถร วมเข า กับเฟอร นิเจอร สมัยใหม ได อย างลงตัว http://www.hungryfatguy.com/2012/06/pacamara-boutique-coffee-roasters/ https://www.facebook.com/pacamaracoffee

106


ออกแบบโดย ติดต อ

คุณเกริกศักดิ์ เพียซ าย Tel: 0817339421 E-mail: piasai_arch@hotmail.com

ชื่อโครงการ ปรับปรุงอาคารพาณิชย หนองกี่ บุรีรัมย ลักษณะงาน Architectural Design โครงการปรับปรุงอาคารพาณิชย สูง 4 ชั้น

ออกแบบโดย ติดต อ

คุณชนะ ชื่นสนธิ์ 42/166 ซอยนิมิตร 40 ถนนนิมิตรใหม คลองสามวา กทม. 10510 Tel: 0868936050 Web: www.facebook.com/CoconsArchitecture

ชื่อโครงการ เรือนไทยอีสาน ไม จริงทั้งหลัง ลักษณะงาน Architectural Design เรือนไทยอีสาน ทีอ่ อกแบบเพือ่ ปลูกสร างด วยไม เก าทีร่ อื้ จากโรงเรือนเก า เป นการ REUSED วัสดุเดิมที่ไม ได ใช ดีกว าปล อยให ผุพังไปตามกาลเวลา

ออกแบบโดย ติดต อ

คุณตู 445/9 ริมใต แม ริม เชียงใหม 50180 Tel: 086-9733661 E-mail: iamonetotree@hotmail.com Web: http://www.onetotree.com

ชื่อโครงการ ผ าทอมือ ลักษณะงาน Product Design เราคือกลุ มชาวบ าน ที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมทางการทอผ าด วยมือ ตั้งแต ขั้นตอนการย อม เส นฝ ายและขึ้นทอด วยกี่ไม ในรูปแบบที่สะท อนชีวิตของคนไทยในชนบท สลับกับการทํา เกษตรกรรมที่เป นวิถีชีวิตดั้งเดิม ดังนั้นผ าพันคอฝ าย 100% ทอมือทุกผืนที่ท านได สัมผัสเป นเสมือนลมหายใจแห งศิลปะ วัฒธรรมพื้นบ านไทย ที่ยังคงเหลืออยู ให เห็นไม มาก นักในป จจุบัน

107


ออกแบบโดย ติดต อ

คุณสรรเสริญ เหรียญทอง 40/4 หมู 1 หนองตางู บรรพตพิสัย นครสวรรค 60180 E-mail: zoodstudio@gmail.com Web: www.zoodstudio.com

ชื่อโครงการ Landscape ลักษณะงาน Product Design ในป 2013 สรรเสริญ เหรียญทอง (ซู ดดู ซ) และ Michael O’Dwyer ได รับการว าจ างให สร างสรรค ผลงานศิลปะบนผนังตึก ให กับ Lend Lease ซึ่งตั้งอยู ที่ Lifestyle Working Collins Street Building, Dockland, Melbourne, Australia โดยติดต อผ านทาง RMIT University สาขา Art in Public Space ศิลป นทัง้ สองได สร างสรรค ผลงานภาพสองมิตแิ ละ รูปทรงสามมิติแบบ Pixel Art โดยได รับแรงบันดาลใจมาจาก วิวทิวทัศน และบรรยากาศ ของ Docklands ทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวของสิง่ ต างๆ ภายในนัน้ ศิลป นได สร างภาพลวงตาโดย สร างภาพนูนต่ําของสิ่งที่สามารถเห็นได ในพื้นที่ อาทิ รถยนต เรือ ต นไม ฝูงนก ผู คน ฯลฯ ลงบนผนังตึก แล วปกป ดด วยภาพท องฟ า หมู เมฆ และพื้นน้ําที่ Docklands ด วยสีสันที่ ร อนแรง สดใส เพือ่ สร างกิจกรรมให ผคู นทีเ่ ดินผ านไปมา ได คาดเดา จินตนาการ นอกจากนัน้ เพื่อต องการให อาคารพาณิชย Lifestyle Working Collins Street มีชีวิตชีวา และปลุกเร า ความกระหายอยากและกระตือรือร นในการทํางาน ให กับผู คนบริเวณนั้น

ออกแบบโดย ติดต อ

Mediums: Concret wall, Acrylic Colors, Acrylic Sheets Dimension: Height: 4.6m, Width: 36m, Depth: 12mm.

บริษัท บัตเตอร ไฟร จํากัด 118 ซ.ร มเกล า 36 ถ.ร มเกล า แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กทม. 10520 Tel: 0 2737 5874 E-mail: info@butterfire.com Web: www.butterfire.com

ชื่อโครงการ CAFFE’ Molinari Packaging Design ลักษณะงาน Graphic Design งานออกแบบบรรจุภณ ั ฑ CAFFE’ Molinari ชิน้ นีเ้ ป นการออกแบบให สามารถสือ่ ได ถงึ ความ เป นกาแฟชัน้ ดีจากอิตาลี ดังนัน้ แนวทางการใช ภาพงานศิลปะมาเป นตัวสือ่ สารกลุม สินค าจึง เป นแนวทางที่ถูกเลือกนํามาใช เพื่อให แตกต างจากการใช ภาพแก วกาแฟหรือเมล็ดกาแฟ ตรงๆ เป นภาพหลักแบบที่นิยมในบ านเรา อีกทั้งได เพิ่มภาพของกลุ มเป าหมายของสินค า ในบริเวณด านข างกล องเพื่อเป นตัวช วยสื่อสารการแบ งแยกชนิดของสินค าได อีกทางหนึ่ง ส วนกล องสินค าในเกรดพรีเมี่ยมนั้นทางเราออกแบบโดยใช เทคนิคการพิมพ ทับหน าลง บนกระดาษเงินและกระดาษทองเพื่อเพิ่มความหรูหรามีระดับเหมาะสมกับราคาของสินค า

ออกแบบโดย ติดต อ

คุณรุ งนภา อัศวสันติชัย 89/83 ม.จินดาทาวน 2 บางชัน คลองสามวา กทม. 10510 Tel: 081-567-5906 E-mail: kungrungnapa@gmail.com

ชื่อโครงการ Website Mediaspex.com ลักษณะงาน Graphic Design เว็บไซต Mediaspex เป นเว็บไซต Showcase ผลงานของบริษัททางด านออนไลน ใน ประเทศแคนาดา

108


AD Designer hub.pdf

1

2/19/14

11:58 PM


เรื่อง: กองบรรณาธิการ ภาพ: SCG Experience

ËÒ¡ã¤ÃÁÕ â Í¡ÒÊä´Œ ¼‹ Ò ¹ä»·Ò§¶¹¹àÅÕ Â º·Ò§´‹ Ç ¹àÍ¡ÁÑ Â -ÃÒÁÍÔ · ÃÒ ¤§¨Ðà¤ÂÊÑ § à¡μàËç ¹ ÍÒ¤Òä͹¡ÃÕμà»Å×ÍÂÃÙ»·Ã§á»Å¡μÒ·ÕèμÑé§ÍÂÙ‹ÀÒÂã¹â¤Ã§¡ÒäÃÔÊμÑÅ´Õ䫹 à«ç¹àμÍà ¡Ñ¹ºŒÒ§ áÅзռè Ò‹ ¹ÁÒËÅÒ¤¹¤§¨ÐÁÕâÍ¡ÒÊ㪌ºÃÔ¡ÒÃʶҹ·Õáè Ë‹§¹Õé SCG Experience áËÅ‹§ÊÌҧÊÃä »ÃÐʺ¡Òó ¢Í§¤¹ÃÑ¡ºŒÒ¹

110


ในป 2014 นี้ เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ ได มีการปรับโฉมและเป ดตัวกับการ ตกแต งภายในรูปแบบใหม ด วยคอนเซ็ปต ใหม ภายใต แนวคิด The New Experience of Creative Living โดยมีการปรับเปลี่ยนการจัดพื้นที่ 6,200 ตารางเมตร สร างบรรยากาศร มรื่น สบายๆ เป นกันเอง ที่เต็มไปด วย แรงบันดาลใจในการนําเสนอไอเดีย ความรู และเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย เพือ่ มุง เน น ให สถานที่นี้เป นจุดนัดพบและแหล งรวมข อมูลของคนรักบ าน นักออกแบบ และสถาปนิกโดยเฉพาะ เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ เป ดให บริการอีกครัง้ ด วยแนวคิดสร างสรรค และความรู ที่ตอบโจทย ความต องการของกลุ มเป าหมาย ซึ่งได แก กลุ มเจ าของบ าน ตั้งแต คนที่กําลังคิดจะสร างบ าน ดัดแปลงบ าน จนถึงซ อมแซมบ าน และ กลุ มสถาปนิก นักออกแบบที่ต องการแรงบันดาลใจ ไอเดียใหม ๆ รวมถึง ข อมูลของวัสดุและนวัตกรรมทางการก อสร าง ทีน่ นี่ อกจากเป นเสมือนแหล ง ข อมูลของคนเหล านี้แล ว นอกจากนี้ยังมีการจัดพื้นที่บริการพิเศษต างๆ ไว ให กับสมาชิกและผู ที่มาใช บริการ ตั้งแต ห องสมุดเพื่อยืมวัสดุ ไปจนถึงห อง ประชุมไว รับรองลูกค าอีกด วย

ด วยแนวคิดทีต่ อ งการให สถานทีน่ สี้ ร างบรรยากาศทีเ่ ป น กันเอง สบายๆ และสร างความเฟรนลี่กับลูกค าให มาก ทีส่ ดุ ทางเอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ จึงได มองหานักออกแบบ ตกแต งภายในผูท มี่ คี วามรูแ ละเชีย่ วชาญในการออกแบบ ร านค าและคอมมูนิตี้มอลล มารับหน าที่ในการปรับโฉม ใหม ซึ่งได แก บริษัท คอนทัวร จํากัด โดยให มีการปรับ พื้นที่การใช งานภายในและตกแต งภายในใหม ทั้งหมด ตั้งแต โถงทางเข า ซึง่ ได มกี ารวางผังเข า-ออกใหม เพื่อ ให เกิดการเข าถึงอาคารได งา ยและสร างความเป นกันเอง ให กับผู มาใช บริการ หรือการปรับสภาพแวดล อมภายใน อาคารให เกิดภาวะน าสบาย ทั้งเรื่องของแสงสว างที่ ส องเข าสู อาคารและความร อนที่เข ามา เพื่อให เกิดความ เหมาะสมและเป นประโยชน ในการใช สอยพื้นที่ในแต ละ ส วนสูงทีส่ ดุ ซึง่ ในการออกแบบจึงได มกี ารแบ งพืน้ ทีข่ อง เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ ออกเป น 3 ชั้น ได แก 111


ชั้นล าง เป นส วนที่จัดไว สําหรับคนรักบ าน (Home Lover Experience) ด วยบรรยากาศสบายๆ ใกล ชิดธรรมชาติแบบ Green Environment ของ สวนแนวตัง้ และแสงธรรมชาติ เหมาะแก การนัง่ คุยกัน จิบกาแฟ อ านหนังสือ และชมนิทรรศการ เพื่อเป นการสร างแรงบันดาลใจให กับคนรักบ าน ในชั้นนี้ สามารถนําจักรยานเข ามาจอดในอาคารได ด วย (Bike-Thru) นอกจากนี้ยัง มีพื้นที่สําหรับจัดนิทรรศการและเวิร คช็อปรองรับกิจกรรมต างๆ หมุนเวียน ตลอดทั้งป อาทิ ห อง Auditorium สําหรับการจัดประชุม สัมมนา ที่เป ด บริการให กับสถาบันการศึกษา นักออกแบบ และบุคคลทั่วไป ในการจัด กิจกรรมที่เกี่ยวข องกับบ านและการออกแบบ, พื้นที่ Material Gallery จัด แสดงวัสดุในเครือซิเมนต ไทย ให ขอ มูลด วยเทคโนโลยีการ Scan ผ านระบบ QR Code, SCG Showcase พืน้ ทีจ่ ดั นิทรรศการกึง่ ถาวร ซึง่ ในขณะนีก้ าํ ลัง จัดแสดงในหัวข อ Eco Living ภายใต แนวคิด Reuse Reduce Recycle และโซน “SCG Eldercare Solution” ที่นําเสนอแนวคิดการออกแบบและ ปรับปรุงที่อยู อาศัยให เหมาะสมกับผู สูงอายุ, ส วนจัดแสดงภาพ 100 อาคาร ที่แสดงให เห็นถึงวิวัฒนาการของสถาป ตยกรรมไทยในช วง 100 ป ที่ผ านมา ของการก อตั้งเครือซิเมนต ไทย (พศ.2455-2555) อีกทั้งยังมีบริการมุม นิตยสาร ที่รวบรวมนิตยสารที่เกี่ยวกับบ านและการออกแบบจากทั่วโลกให เลือกอ าน และสุดท ายกับบริการเพื่อเจ าของบ าน โดย Dream Driver ทีม สถาปนิกผูเ ชีย่ วชาญ ทีใ่ ห บริการคําปรึกษาฟรีกบั ทุกเรือ่ งบ าน สําหรับเจ าของบ าน ที่กําลังจะสร างบ าน ต อเติม หรือซ อมแซมบ านอีกด วย ชัน้ ที่ 2 เน นการให ไอเดียการตกแต งตามเทรนด ลา สุด (Trend & Decorative Experience) ประกอบด วยห อง Lifestyle Trend 4 ประเภท ซึ่งเป นการ ทดสอบให รู จักตัวตนของคุณ ผ านเทคโนโลยีล้ําสมัยเพื่อตอบโจทย การอยู อาศัยในแบบที่คุณเป น ห องสมุด และ Designer Club ที่มีหนังสือทั้งใน ประเทศและต างประเทศ เกี่ยวกับการออกแบบกว า 2,500 เล ม พร อมห อง ประชุมทางด านในที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครัน นอกจากนี้ยังมีการ จัดแสดงสินค าประเภทต างๆ อาทิ Kitchen Solution เป นการจัดแสดง ผลิตภัณฑ ครัวของ Cotto อย างหลากหลาย โดยมีรปู แบบตัง้ แต ครัวสําเร็จรูป ครัวปูน ไปจนถึงครัวโครงอลูมิเนียม หรือที่เรียกว า Smart Frame พร อม บริการออกแบบชุดครัวตามพื้นที่ของลูกค า, Bathroom & Accessory นําเสนอสินค าสุขภัณฑ แบรนด Cotto หลากหลายคอลเลคชัน่ ตามการใช งาน พร อม Shower Testing Zone, Decorative Tiles โชว รูมกระเบื้องตกแต ง พืน้ และผนัง ทีม่ กี ารจัดพืน้ ทีใ่ ห ทดลองเทียบสี ด วยแสงธรรมชาติ และทดสอบ ความลืน่ เมือ่ เป ยกน้าํ พร อมบริการออกแบบห องน้าํ ตามพืน้ ทีข่ องลูกค า และ Cotto Italia Zone ส วนจัดแสดงกระเบือ้ งนําเข าจากอิตาลีทใี่ หญ และสมบูรณ แบบทีส่ ดุ ในประเทศไทย สีและลายของกระเบือ้ งโดดเด นด วยดีไซน ทสี่ วยงาม แข็งแกร ง และมีเอกลักษณ เฉพาะตัว 112


ส วนชั้นที่ 3 เป นส วนของการให ความรู ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับบ าน (Home Knowledge Experience) ตั้งแต พื้นถึง หลังคา และเจาะลึกไปถึงเรื่องของโครงสร าง งานระบบ งานตกแต งด วยวัสดุและเทคนิคต างๆ อาทิ บ านแข็งแรง ทีเ่ ป นการจําลองบ านในแนวคิด Under Construction เพือ่ แสดงให เห็นขัน้ ตอนของการก อสร างบ านทัง้ กระบวนการ งานระบบไฟฟ า ประปา และส วนประกอบโครงสร างต างๆ ไปจนถึงงานตกแต งผนังด วยปูนฉาบหลากหลายสไตล โดยมีสถาปนิกคอยให ขอ มูลและคําแนะนํา, Mix and Match Touch Table สําหรับการทดลองจับคูส ขี องกระเบือ้ ง หลังคา สีบ าน และวงกบ ประตู-หน าต าง, Roof Solution แหล งรวมข อมูลทุกเรื่องเกี่ยวกับหลังคาบ าน ตั้งแต การ เตรียมโครงสร างและพืน้ ทีห่ น างาน การติดตัง้ ฉนวนกันความร อน รางน้าํ ฝนไปจนถึงการมุงหลังคาด วยวัสดุประเภท ต างๆ รวมทั้งการจัดแสดงให เห็นถึงสาเหตุและการแก ไขป ญหาหลังคารั่ว พร อมบริการให คําปรึกษา ประเมินราคา และติดตั้งอย างครบวงจร และ Floor, Wall and Ceiling เป นการจัดแสดงวัสดุปูพื้น ผนัง และฝ าเพดานพร อม ตัวอย างการใช งาน การติดตั้ง และการตกแต ง ทั้งภายในและภายนอกอาคาร โครงการ:

เจ าของโครงการ: ผู ออกแบบตกแต งภายใน: ตกแต งแล วเสร็จ:

เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ 1444 โครงการคริสตัลดีไซน เซ็นเตอร ถ.ประดิษฐ มนูธรรม (เลียบทางด วนเอกมัย-รามอินทรา) แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กทม. 10240 บริษัท เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ จํากัด บริษัท คอนทัวร จํากัด 865 ถ.พัฒนาการ เขตสวนหลวง กทม. 10250 โทร. 02 319 3240 ป 2014 ขอขอบคุณข อมูลจาก: เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ โทร. 02 101 9922 เป ดบริการทุกวัน ตั้งแต เวลา 10.00 ถึง 19.00 น.

113


เรื่อง: ผศ.รัชด ชมภูนิช คณบดีคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

㹧ҹ “Êͧ·ÈÇÃÃÉ...ʶһ˜μ à¡ÉμÔ ·Õ褳Ðʶһ˜μ¡ÃÃÁÈÒÊμà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉμÃÈÒÊμÃ μŒ¹Êѧ¡Ñ´ ¢Í§¼Á¨Ñ´¢Öé¹à¾×èÍà©ÅÔÁ©ÅͧÇÒÃÐáË‹§¡ÒäúÃͺ¡Òá‹ÍμÑ駤³ÐÏ ÀÒÂ㹧ҹ¹Í¡à˹×ͨҡ¡Ô¨¡ÃÃÁàªÔ´ªÙ à¡ÕÂÃμԤس¼ÙŒ·Ã§¤Ø³ÇزԷÕèÁÕʋǹËÇÁ㹡Òá‹ÍμÑé§ áÅÐÇÒ§ÃÒ¡°Ò¹¤³ÐÁÒáμ‹à´ÔÁáÅŒÇ ÂѧÁÕ¹Ô·ÃÃÈ¡Ò÷ҧ ÇÔªÒ¡ÒÃáÅСԨ¡ÃÃÁÊÑÁÁ¹Ò·Õ蹋Òʹã¨ÍÕ¡ÁÒ¡ÁÒ ¹Í¡¨Ò¡¹Õé ¡Ô¨¡ÃÃÁ Highlight ·Õèä´ŒÃѺ¤ÇÒÁʹã¨Í‹ҧ ÅŒ¹ËÅÒÁ¨¹ÅŒ¹·ÐÅѡˌͧ¨Ò¡¼ÙàŒ ¢ŒÒËÇÁÊÑÁÁ¹Ò·Ñ§é ÀÒ¹͡áÅÐÀÒÂ㹤³Ðàͧ Í‹ҧ¡Ô¨¡ÃÃÁ AKU Innovation Talk: When Design meets Business «Öè§à»š¹¡ÒÃÃǺÃÇÁÁÇÅÁËÒà«àÅ»¹Ñ¡Í͡Ẻ ¹Ñ¡¤Ô´ ¹Ñ¡ÊÌҧÊÃä áÅйѡ¸ØáԨ·Õãè ªŒ¡ÒÃÍ͡Ẻ໚¹°Ò¹¤Ô´ÁÒ¾Ù´¤Ø¡ѹÁÒ¡ÁÒ¶֧ 20 ·‹Ò¹ ÁÒ¾Ù´¤Ø¡ѹ¼‹Ò¹ÊäÅ´ 20 ÀÒ¾ ÇÔ·ÂÒ¡ÃËÅÒ·‹Ò¹ÅŒÇ¹à»š¹·ÕèÃÙŒ¨Ñ¡¤ØŒ¹à¤ÂÍÂÙ‹ã¹áǴǧ¡ÒÃÍ͡Ẻ Ê×èÍÊÔ觾ÔÁ¾ áÅÐǧ¡ÒøØáԨ ÊÌҧÊÃä ÍÒ·Ô ¤Ø³ÞÒÃÔ¹´Ò ºØ¹¹Ò¤, ¤Ø³ÊáŠʹØÅÂÒ¹¹· (˹؋ÁàÁ×ͧ¨Ñ¹· ), ¤Ø³»ˆÍ¡ ¤º¤§ÊѹμÔ ¨Ò¡ T.R.O.P. , ¤Ø³ÇزԪÂÑ ËÒÞ¾Ò¹Ôª ਌ҢͧáºÃ¹´ Harnn, ´Ã.ÊÔ§Ë ÍÔ¹·ÃªÙâμ ¼ÙŒàªÕÂè ǪÒÞ¡ÒÃÍ͡Ẻ¨Ò¡ àÈÉÇÑÊ´Ø áÅÐÍÕ¡ÁÒ¡ÁÒÂËÅÒ·‹Ò¹

114


ในบรรดามวลมหาเซเลปคนดังเหล านัน้ ผมกลับไปสะดุดหูและสะดุดใจกับการบรรยายของผูพ ดู ธรรมดาๆ ท านหนึง่ ซึง่ ไม คอ ยมีใครรูจ กั หน าค าตาเขาเท าใดนัก (แม แต ตอนเรียนก็ตาม) แต ตวั ผมเคยรู จักคุ นเคยเขามาตั้งแต สมัยเขายังเรียน Industrial Design อยู ที่จุฬา และยังเคยร วม แสดงละครเวที’ถาป ดจุฬาด วยกันหลายต อหลายเรื่อง เขาชื่อ คุณนพดล สุเนต ตา ผมไม ได เจอนพดลมาหลายป พอสมควร เคยคุยกันทางโทรศัพท และทาง Facebook บ าง ประปราย ทราบว า “นพ” มีประสบการณ ทําธุรกิจมามากมายหลายอย าง ซึ่งส วนใหญ หรือ ทั้งหมดจะเจ งมาตลอด แต ปจ จุบันนพดลเป นเจ าของบูติก โฮสเทล ชื่อดังแบรนด “Suneta” (ยังไม เจ งนะครับ) เขาได เริ่มต นเล าเรื่อง “หัวหมา” ซึ่งเป นชื่อเรื่องที่แฝงอารมณ ขันแบบตลก ร ายของเขา ด วยการย อนถึงชีวติ ลําเค็ญของตัวเองว าเรียนจบด วยเกรดเฉลีย่ อันต่าํ ต อยเกิน 2 มา เส นยาแดงผ าแปด พอเรียนจบไปทํางานที่แรกได สามเดือน เขาก็อัญเชิญให ออก เพราะเดือน หนึ่งทํางาน 22 วัน ไปทํางานสาย 19 วัน ส วนที่เหลืออีก 3 วันไม ได ไปทํางาน (ฮา) เขาก็เกิด ตนเองมีเอกลักษณ โดดเด น มีเสน ห เฉพาะตัว และถือ เบือ่ ชีวติ ลูกจ างทีเ่ ปรียบได กบั “หางราชสีห” จึงหันกลับมาเป น “หัวหมา” ทีก่ าํ หนดชีวติ ตัวเองได ได ว าเป นจุด Check-in ยอดฮิตอีกที่ของบรรดา Selfie ทั้งหลาย และในป จจุบันนพดลกําลังก อสร างโรงแรม เป นเจ าของธุรกิจของตนเอง สาขาที่ 3 ใกล ๆ อาคารนิทรรศน รตั นโกสินทร และคาดว า เขาดําเนินชีวิตตามแบบฉบับ “หัวหมา (ข างถนน)” ทํากิจการสารพัด ทั้งการหุ นเป ดทําบริษัท คงจะได รั บ ความนิ ย มจากนั ก ท อ งเที่ ย วอี ก เช น กั น คอมพิวเตอร กบั เพือ่ น ออกแบบ Package ซองบุหรี่ เรียกได วา ช วงชีวติ กว า 10 ป ธุรกิจทัง้ หมด นพดลทิง้ ท ายว า ด วยการเรียนด านสถาป ตย ทาํ ให เรารูว ธิ ี ทีต่ นเองทํา มีหลายกิจการมาก เห็นลูท างอะไรก็ลองทํามาแล วแทบทุกอย าง มีเจ งบ างก็แค สอง การออกแบบและแก ป ญหา แต การเป นหัวหมา เราต อง ครั้งเท านั้นเอง คือ “ครั้งแล ว กับครั้งเล า” (ฮา…) จากสิ่งที่คนอื่นมองดูเหมือนเป นคนล มเหลว รู จักตั้งโจทย ว า “จะทําอะไร” จากนั้นจึงลงมือกําหนด ทําอะไรก็เจ งมาตลอด มันกลับทําให เขาได หันกลับมา “หยุด” เพื่อ “คิด” ทบทวนว า ที่ผ านมา Criteria หา Solutions เพิ่มการสร างสรรค ที่สุดแล ว เป นสิง่ ทีต่ นเองต องการจริงๆ หรือไม “ผมเลยต องหยุดทบทวนชีวติ ตัวเองซักแป บ เริม่ จากถาม ดํารงชีวิตกับการริเริ่มนั้นได อย างมีความสุข ตัวเองก อนเลยว าตนเองอยากใช ชีวิตแบบไหน สมัยก อนทํางานหนักแทบตาย ไม เคยมีเงินเก็บ ซักที” นพดลเป ดประเด็นการสร างธุรกิจครัง้ ใหม ของเขาด วยรูปบะหมีส่ าํ เร็จรูปยีห่ อ ดัง เขาบอก เวลา 10 นาทีบนเวทีของรุ นน องผมคนนี้ ผ านไปด วย ว าบะหมี่มาม า…กินเมื่ออยากกิน อร อยกว ากินเมื่อไม มีอะไรจะกินเสมอ เรื่องอื่นๆ ในชีวิตก็ ความรวดเร็ว มันทําให ผมและอาจจะรวมไปถึงคนฟ งอีก หลายๆ คนในห อง อยากกลับมาถามตัวเองว า บางทีอาจ ควรเป นแบบนั้น ควรทําตัวเองให มที างเลือกเพราะชีวิตออกแบบได ถึงเวลาที่จะต องกลับไปเป น “หัวหมา” และหันไปปลูก นพดลประเมินแหล งที่มาของรายได ในชีวิตคนเราให สอดคล องกับสถานที่พูดคือมหาวิทยาลัย “พืชสวน” แบบนพดลบ างก็เป นได แต สิ่งที่สําคัญที่สุด เกษตรศาสตร ว า งานที่เราทําๆ กันอยู ในชีวิตมี 2 ลักษณะ เปรียบได กับพืชไร และพืชสวน นอกเหนือจากเนือ้ หาและอารมณ ขนั ทีส่ อดแทรกอยูอ ย าง งานออกแบบที่เราทํากันอยู เทียบได กับพืชไร เป นงานบริการทํา 1 ครั้งได เงินหนึ่งครั้ง งานง าย ถูกที่ ถูกเวลา ผมคิดว าสิง่ ทีผ่ มได รบั จากการบรรยายของ ลงทุนน อย ได เงินเร็ว แต ความกดดันก็สงู เพราะต องลุน ไม รวู า งานจะมาอีกหรือไม ถ ามีงานใหม เขาคงเป นการ “หยุดคิด” ผนวกกับความคิดบวก และ ก็เข าสูว งจรเดิมอดหลับอดนอนเพือ่ ให ได เงินอีกครัง้ หรือก็ตอ งวิง่ หางานมาเลีย้ งชีวติ ตนเองและ การไม ยอมย อท อต ออุปสรรคทีผ่ า นเข ามา ในชีวติ ของเขา ลูกน องตลอดเวลา แต ถา กรณีงานแบบพืชสวนจะเป นงานเชิงรับ การลงทุนกับธุรกิจครัง้ แรกแม มากกว าครับ อาจจะคล ายๆ กับเอดิสัน ที่มองความล ม จะใช เวลากับการลงทุนและบํารุงรักษาในช วงต นสูงไปบ าง แต เก็บเกีย่ วผลผลิตได ตลอด เหมือน เหลวครั้งแล วครั้งเล าในการคิดค นหลอดไฟของเขาว า กับเป น Cash Cow ในภาษาธุกจิ เราต องถามตัวเองว าอยากจะเป นอะไร สําหรับตนเองขอเลือก มันเป นส วนหนึง่ ในการค นพบหลอดไฟของเขาในอนาคต งานแบบพืชสวนดีกว า นอกจากนีง้ านพืชสวนทีต่ นเองทํายังประกอบด วยแนวทางทีม่ าจากต นทุน เช นเดียวกับ นพดลที่ค นพบหลอดไฟที่ส องสว างไสวใน พื้นฐานด านการออกแบบในสมัยเรียน 4 ข อว า รายได ดี มีเวลาเหลือ เติบโตง าย ได ใช ออกแบบ ชีวิตของเขาแล ว ด วยวิถีแห ง “หัวหมา” แล วท านล ะครับ พร อมจะเป น “หัวหมา” กันหรือยัง??? นพดลจึงลงทุนก อสร างโรงแรมเล็กๆ แห งแรก ทีเ่ ชียงคาน จังหวัดเลย ด วยการปรับปรุงบ านไม เก าๆ ในพื้นที่ให กลายเป น “สุเนต ตา โฮสเทล” ต อมาอีก 2 ป กิจการได รับการตอบรับดีมี นักท องเทีย่ วสนใจมากมาย จึงหาญกล าเป ดอีกแห งทีถ่ นนข าวสาร ซึง่ ก็เป นการปรับปรุงตึกแถวเก า เพราะเงินลงทุนน อยกว าการสร างใหม ที่สําคัญตนเองได ใช ความรู ด านการออกแบบที่ร่ําเรียน มาในการออกแบบปรับปรุง และควบคุมการก อสร างด วยตัวเอง จนทําให โฮสเทลเล็กๆ ของ 115


เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้ ภาพ: Tut’s Cafe

116


ฉบับนี้ขอพาทุกท านไปสัมผัสประสบการณ แปลกใหม ในบรรยากาศสุดเก และหรูหรากับร าน Tut’s Cafe (ทัตส คาเฟ ) ร านอาหาร เป ดใหม สไตล อียิปต แห งแรกในกรุงเทพ ที่ตั้งอยู บนชั้น 3 โซน ไดน นิ่ง พาราไดซ ศูนย การค าพาราไดซ พาร ค บรรยากาศภายในร านถูกจําลองให เป นเหมือนพิพิธภัณฑ ในกรุงไคโร ประเทศอียิปต ตกแต งหรูหรา อลังการด วยเฟอร นิเจอร แนว หลุยส โทนสีแดงทอง ตัวอักษรไฮไรกลิฟฟ กและภาพวาดโบราณ อีกทั้งยังมีมุมที่ให ลูกค าได เพลิดเพลินกับการถ ายภาพเป นที่ระลึกและ มีโซนจัดแสดงสินค าเครื่องประดับ ของตกแต งบ านในสไตล อียิปต ให ลูกค าได เลือกซื้ออีกด วย

117


ในส วนของเมนูอาหาร เป นอาหารอียิปต แท รสชาติต นตํารับทั้งอาหารคาวหวาน และเครื่องดื่ม จากฝ มอื เชฟชาวอียปิ ต ไม วา จะเป น Macaroni Bechamel (มักกะโรนี บัคชาเมล) พาสต าสไตล อียิปต ที่นําส วนผสมของนมและเส นพาสต ามาอบจนหอมกรุ น ดูผิวเผินจะคล ายกับลาซานญ า รสชาตินมุ นวล หอมเครือ่ งเทศทีส่ ง ตรงจากประเทศอียปิ ต หรือ Mahshi (มาฮ ช)ิ ทีเ่ ป นกะหล่าํ ปลี นุ มยัดไส ด วยข าวที่หมักด วยเครื่องเทศรสเผ็ดกําลังดี ตามมาด วย Kobebah (คอปบราฮ ) ข าวสาลียัดไส ด วยเนื้อบดหมักกับเครื่องเทศอียิปต รูปทรงคล ายไข ไก รสชาติออกนุ มกลางๆ หรือจะเป น Egyptian Cheese Solar Boat (อียิปต เชี่ยน ชีส โซล า โบ ท) ที่เป นขนมป งสไตล อียิปต รูปทรงเรือสอดไส ชีส รสหอมมัน ตบท ายด วยเมนูของหวานที่เป นเมนดูเด็ดประจําร าน ซึ่งก็คือ Oum Ali ออม อาลี ที่ทําจากถั่ว บดคลุกเคล ากับนมสดและครีม เทราดลงบนแป งขนมป งโรยด วยเม็ดมะม วงหิมพานต แล วนํา ไปอบ รสชาติหอมหวาน ในส วนของเครื่องดื่ม ขอแนะนํากาแฟ Egyptian Coffee (อียิปต เชี่ยน คอฟฟ ) กาแฟดําร อนรสชาติเข ม กลิ่นหอมกรุ น ซึ่งมีความเชื่อกันว า หากดื่มกาแฟจนหมดแก ว แล วคราบที่ตดิ อยู ก นแก วจะสามารถทํานายดวงชะตาในอนาคตได ด วย ถ าอยากลิ้มลองอาหารรสชาติใหม และสัมผัสบรรยากาศในแบบอียิปต ลองไปแวะสัมผัสได ที่ ร าน Tut’s Cafe ชัน้ 3 โซนไดน นงิ่ พาราไดซ ศูนย การค าพาราไดซ พาร ค เป ดบริการทุกวันตัง้ แต เวลา 10.00 น. – 22.00 น. สนใจสอบถามรายละเอียดได ที่ โทร. 0-2787-1000

118


AD Bus&Truck-57.pdf

1

2/19/14

10:54 PM


เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

120


àËÅ‹ÒºÃôÒ˹͹˹ѧÊ×Í·Ñé§ËÅÒ ¤§äÁ‹ÁÕã¤Ã·ÕèäÁ‹ÃÙŒ¨Ñ¡ÃŒÒ¹Ë¹Ñ§Ê×ÍÍÔÊÃÐÍ‹ҧ Ìҹ “¡çͧ´Ô´” (Candide) ·Õàè ´ÔÁ·Õμ§Ñé ÍÂÙã‹ ¹μÖ¡á¶Çà¡‹ÒᡋᤋËÍŒ §à´ÕÂǺ¹¶¹¹ μйÒÇ ã¡ÅŒ¡ºÑ ÊÕáè ¡¤Í¡ÇÑÇ áμ‹¡äç ´Œ»´Ô μÑÇŧàÁ×Íè Êͧ»¡Õ Í‹ ¹ μ͹¹ÕÃé ÒŒ ¹·Õ·è ¡Ø ¤¹ ÃͤÍÂä´Œà»Ô´ãËÁ‹ÍÕ¡¤ÃÑé§ ã¹â¤Ã§¡Òà The Jam Factory ‹ҹ¤ÅͧÊÒ¹ ÃÔÁáÁ‹¹éíÒ਌ҾÃÐÂÒ ¢Í§Ê¶Ò»¹Ô¡ ¤Ø³´Ç§Ä·¸Ôì ºØ¹¹Ò¤ ¹Ñè¹àͧ ร านหนังสือก็องดิด เป นร านหนังสืออิสระ ที่มีคาแรกเตอร ของตัวเองอย างชัดเจน โดยจะเน น หนังสือวรรณไทย วรรณกรรมแปล และหนังสือทฤษฏีสังคม โดยหนังสือที่ขายในร านส วนใหญ จะไม สามารถพบเห็นได ในร านหนังสือเชนสโตร มากนัก เน นการนําเสนอหนังสือที่น าสนใจและ หลากหลายแทนการนําเสนอเพียงแค หนังสือ Best Seller หรือ New Arrival เพื่อให ผู อ านได สัมผัสกับหนังสือคุณภาพใหม ๆ นอกเหนือจากหนังสือตามกระแส ซึ่งเสน ห ของร านคือผู อ าน สามารถพูดคุยกับเจ าของร านได โดยตรง พนักงานประจําร านมีความรู เกี่ยวกับหนังสือจริงๆ สามารถให คําปรึกษาและชี้แนะกับผู อ านได อีกทั้งยังมีการจัดเสวนาเกี่ยวกับวรรณกรรมหรือ กิจกรรมที่เกี่ยวข องกับหนังสือทุกเดือนด วย

121


รูปแบบร านใหม นี้มีพื้นที่เพิ่มมากขึ้น บรรยากาศรื่มรมย ด ว ยสนามหญ า เขี ย วขจี และต น ไทรขนาดใหญ ที่ อ ยู หน าร าน ซึง่ ถือว าเป นจุดเด นของร านเลยก็วา ได ร านนีถ้ กู ปรับปรุงมาจากโกดังเก า ผสมเข ากับดีไซน ทันสมัยเพื่อ ให เป น Boutique Bookstore ภายในเป นพื้นที่เป ดโล ง เพดานสูง การจัดวางหนังสือบนชั้นวางเน นการโชว หน าปกมากกว าสันหนังสือ เพือ่ ดึงดูดความสนใจของลูกค า นอกจากนี้ยังมีมุม cafe (ร านไล-บรา-ลี แอทก็องดิด) ภายในร านที่ให บริการกาแฟ เครื่องดื่มและของว าง เพื่อ ให ผู อ านมานั่งสนทนา นั่งทํางานหรือนั่งอ านหนังสือได โดยสามารถเลือกนั่งได ทั้งด านในและด านนอก สําหรับที่มาของชื่อร าน “ก็องดิด” ได แรงบันดาลใจ มาจากแนวคิดของตัวละครเอกในวรรณกรรม นิยายเชิง ปรัชญาของวอลแตร นักเขียนและนักปรัชญาชาวฝรัง่ เศส ถ าใครสนใจอยากอ านหนังสือแนวใหม ๆ หรืออยาก เปลี่ ย นบรรยากาศในการสั ม ผั ส อรรถรสตั ว หนั ง สื อ ที่ แ วดล อ มไปด ว ยธรรมชาติ ลองแวะไปเช็ ค อิ น ได ที่ ร านก็องดิด ตั้งอยู บริเวณคลองสานพลาซ า เลขที่ 41/1 ถนนเจริ ญ นคร ถนนคลองสาน กรุ ง เทพฯ เป ด ให บริการ วันอังคาร-วันอาทิตย เวลา 11.00 น.-20.00 น. โทร. 02 861 0967

122


Å o®ª´

à Á ¸¥ª

­¦oµ ¡ºÊ ¸É ¨µ  o ´ÉªÃ¨ °¥nµ ¤¸¦³ ´ Sunpole ¼o ¨· ´Ê ε ° ¸É »i ¨· £´ r®¨´ /Á­µ ¨· µ °¨¼¤·Á ¸¥¤ Á­µ ´Ê ¦ nµ  ¹ ¹Ê ¨

µ µ µ · ( ¦³Á « ¸É »i )

¤µÁ pµ

Á ¸É¥ űo

SUNPOLE CORPORATION 2-4-5 Minami-yoshijima, Naka-ku, Hiroshima, JAPAN Tel. (+81)82-244-4655, Fax.(+81)82-243-5914 URL http://www.sunpole.co.jp ¸É · n° ¸ÉÅ ¥ THAI LADDA PRODUCT CO., LTD. 20/210 ®¤¼n ¸É 8 ­»ª· ª «r  ª ¨Îµ ´ ¸ Á ® ° ° ¦» Á ¡² 10530 20/210 Moo 8 Suwintawong Lampakchee Nongchok Bangkok 10530 Tel. 02-175-4758, Fax. 02-175-4673 NATTAPOL RAKKAMOL ¦¦¤ µ¦ ¼o ´ µ¦ / MANAGING DIRECTOR 083-123-3669 thailadda@thaipole.com


เรื่อง: สุพิชชา โตวิวิชญ

หากมองจากมุมแม นา้ํ เจ าพระยาแบบผิวเผินเราอาจแทบไม สงั เกตเห็นโรงแรมขนาดเล็กทีแ่ ทรก ตัวอยูใ นแมกไม และบ านเรือนของชาวบ านในชุมชนริมน้าํ โดยรอบ ภาพก อนและหลังของโรงแรม Bangkok Tree House มีความกลมกลืนกับสภาพแวดล อม แต ในขณะเดียวกันก็แตกต างและ โดดเด นอย างน าสนใจ กาลครั้งหนึ่งพื้นที่ตั้งของโครงการนี้เป นพื้นที่โล งที่มีต นไม ขึ้นรกเป นป า มีต นลําพูเป นต นไม ใหญ ด านหน า และรายล อมด วยต นไม ใหญ เล็กอื่นๆ ในการก อสร างอาคาร คุณโจ - รายุ ตุลยานนท เจ าของโครงการ เล าให ฟ งว าพยายามคงต นไม เดิมที่อยู ในพื้นที่เอาไว ให มากที่สุด และตัดต นไม เดิมน อยมากๆ โจทย ที่ทางคุณโจ มอบให คุณนันทพงศ ยินดีคุณ สถาปนิกผู ออกแบบโครงการ คือต องการให โรงแรมมีความกลมกลืน กับธรรมชาติทั้งในเรื่องของการเลือกใช สีและวัสดุ แต ในขณะเดียวกันก็ต องสะดุดตาสร าง ความแปลกใหม เพื่อส งเสริมและเพิ่มมูลค าให กับพื้นที่และย านโดยรอบ โครงสร างอาคารเป น โครงสร างเหล็ก วัสดุของอาคารเลือกใช ที่เป นธรรมชาติเป นส วนใหญ ได แก ไม ไม เก า ไม ไผ และหวาย รูปทรงอาคารต องการให เรียบง ายที่สุดและคงความเป นเรขาคณิตที่สมบูรณ เอาไว การออกแบบคํานึงถึงทิศทางของแดดลมฝนเป นสําคัญ ช องเป ดต างๆ จะเป ดสู ทิศตะวันออก เป นหลัก และพยายามเป ดสูท ศิ ใต ให นอ ยทีส่ ุด เพื่อลดปริมาณความร อนทีจ่ ะถ ายเทเข าสูอ าคาร 124

ในการก อ ตั้ ง โรงแรมนั้ น ยึ ด เอาธรรมชาติ เ ป น ที่ ตั้ ง มากกว ายึดเอาความสะดวกสบายอันไร ขีดจํากัดของ มนุษย เป นที่ตั้ง การเดินทางมาที่โรงแรมจึงไม มีถนน สําหรับรถยนต ที่เข าถึง หากแต วิธีการเดินทางที่สะดวก ได แก การขี่จักรยาน การใช BTS เพื่อมานั่งเรือข ามฟาก ทีว่ ดั บางนานอก จากนัน้ ต องเดินมาตามทางเดินเล็กๆ ที่ ชาวบ านทัว่ ไปใช เดินในชีวติ ประจําวัน คุณโจ เล าว าในการ จะมาถึงโรงแรมเชือ่ ว าแขกผูม าพักต องสอบถามผูค นและ ชาวบ านโดยรอบอย างแน นอน ซึง่ เป นความตัง้ ใจทีท่ าํ ให เกิดปฏิสมั พันธ ของโรงแรม แขกผูม าพัก กับชุมชนโดยรอบ และนั่นหมายความว าโรงแรมเองก็ถูกบังคับไปในตัว ว าต องทําตัวให เหมาะสมและรับฟ งเสียงชาวบ านและ ชุมชนโดยรอบ กว าทีจ่ ะก อสร างอาคารเสร็จ คุณโจ เล าว า ได เ ข า มาทํ า ความรู จั ก ชุ ม ชนโดยรอบ โดยพนั ก งาน ในโรงแรมส วนใหญ เช น แม ครัว และแม บ านเป นผู คน


ในชุมชนโดยรอบนี่เอง รวมถึงการเลือกซื้อมะพร าวจากสวนของป าติ๋ว ป าแต ว เพือ่ นบ าน เพือ่ นํามาเสิรฟ ในโครงการ แถมด วยกิจกรรมให แขกผูม า พักได ทดลองเด็ดมะพร าวด วยมือตนเองในไร ของป าๆ อีกด วย นอกจากนีย้ งั มีความพยายามที่จะขอซื้อแกนมะพร าวและเปลือกมะพร าวจากป าอีกบ าน หนึง่ เพือ่ นํามาทําน้าํ EM แต ทา ยทีส่ ดุ คุณป าจึงมอบให ฟรีๆ เพราะเห็นว านํา ไปใช ได อย างเป นประโยชน จัดได วา เป นโรงแรมทีม่ แี นวคิดเรือ่ งการออกแบบ เพือ่ ความยัง่ ยืนทีม่ องครอบคลุมในหลายมิติ ทัง้ เรือ่ งทิศทางการวางอาคาร วัสดุ การบริหารจัดการ และการสร างความสัมพันธ กบั ชุมชนพืน้ ถิน่ โดยรอบ เมื่อมาถึงโรงแรมในทุกเช็คอินของแขกที่มาเข าพัก ทางโรงแรมจะลงไปเก็บ ขยะให กบั ชุมชนหนึง่ กิโลกรัม ส วนในการออกแบบโรงแรมจะเน นการใช แสง สว างธรรมชาติและลมธรรมชาติ เนือ่ งจากพืน้ ทีต่ งั้ อยูต ดิ ริมแม นา้ํ เจ าพระยา จึงมีลมพัดสบายตลอดวัน ห องพักตกแต งด วยแนวคิด “แมลง” เพราะมอง ว าแมลงมีความสําคัญกับระบบนิเวศน วิทยาเป นอย างมาก สําหรับอาหารที่ เสิรฟ ในโรงแรมเน นจําพวกปลาเพือ่ สุขภาพทีด่ ี หากเป นไก กเ็ ป นไก ทถี่ กู เลีย้ ง มาอย างมีความสุข ไม ได ถูกกักขังหรือฉีดสาร เมนูอาหารเช าจะไม ซ้ํากันขึ้น อยูก บั สิง่ ทีม่ ใี นตลาดในวันนัน้ ๆ พืน้ ทีภ่ ายนอกและบริเวณร านอาหารทัง้ หมด ใช ไฟจากพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย

ห องพักทั้งหมดมี 11 ห อง ประกอบด วยห องหลาย รูปแบบ เช น ห องมาตรฐาน จํานวน 3 ชัน้ โดยชัน้ ล างเป น ห องน้าํ แบบเป ดโล งใกล ชดิ ธรรมชาติ ชัน้ สองเป นห องนอน และชั้ น สามเป น ดาดฟ า มี เ ตี ย งผ า ใบไว สํ า หรั บ นอน รับลม ชมวิว หรืออาบแดด นอกจากนี้ยังมีห องประเภท The View with a Room รูปทรงเหมือนบ านอยู บน ต นไม เป นหอคอยสูงสําหรับนอนชมวิวและชมดาว ห องนอน อยู บนดาดฟ า แบบไม มีผนังหรือหลังคากั้น (หากฝนตก ทางโรงแรมจัดเตรียมวิธีการแก ป ญหาเอาไว ให แล ว) นอกจากจะได นอนพักผ อนแบบใกล ชิดธรรมชาติ ทาง โรงแรมยังจัดเตรียมจักรยานและแผนที่ชุมชนเอาไว ให ได ป นไปเสาะหาของอร อยและกิจกรรมสนุกๆ ทําภายใน ย านบางกระเจ า จังหวัดสมุทรปราการ อีกด วย ขอขอบคุณ ข อมูลจาก คุณจิรายุ ตุลยานนท จาก Bangkok Tree House ภาพถ ายโดย Andy Zingo 125


เรื่อง: สุพิชชา โตวิวิชญ

¹Ô·ÃÃÈ¡ÒèѴáÊ´§ÀÒ¾¶‹Ò¿ÅÔ Á “àÅ秔 : Life Without Live View ¨Ñ´¢Ö¹é àÁ×Íè »ÅÒÂà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2557 ³ ˌͧáÊ´§¹Ô·ÃÃÈ¡Òà ªÑ¹é º¹ μíÒ˹ѡ¾ÃóÃÒ (ËÍÈÔÅ»Š) ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÈÔŻҡà Çѧ·‹Ò¾ÃР໚¹¹Ô·ÃÃÈ¡Òà ÃÇÁ¼Å§Ò¹ÀÒ¾¶‹Ò¿ÔÅ Á¨Ò¡½ÕÁ×ͧ͢ “àÅç§à¡Íà ” ·Ñé§ËÁ´ 22 ¤¹ ¾Ç¡à¢ÒÁÕ·ÕèÁÒ·Õèä»áμ¡μ‹Ò§¡Ñ¹ÍÍ¡ä» áμ‹ÊÔè§àËÁ×͹¡Ñ¹¡ç¤×ͤÇÒÁÃѡ㹡Òö‹ÒÂÀÒ¾¿ÔÅ Á คนรุ นใหม ทั้ง 22 คน ได บอกเล าเรื่องราวผ านภาพถ ายของตนเอง ผ านสายตาที่จดจ อกับ Viewfinder และมือที่กดลั่น Shutter เพื่อ บันทึกความทรงจําลงบนแผ นฟ ล มออกมาเป นภาพถ าย นิทรรศการภาพถ ายนี้จัดโดย ปวรพล รุ งรจนา, มัลลิกา รุ งโรจน ทวีรัตน และ วสวัตติ์ รุจิระภูมิ จุดเริ่มต นเกิดจากทําสารนิพนธ ของปวรพลซึ่งมีอาจารย ที่ปรึกษาคืออาจารย ศศิธร ศิลปวุฒยา อาจารย ประจําภาค วิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ทีท่ าํ ให มโี อกาสได เก็บข อมูลและสัมภาษณ กลุม คนทีร่ ักการถ ายภาพด วยฟ ลม ทีมผูจ ดั เล าว านิทรรศการภาพถ ายฟ ลม ภายใต หวั ข อ “เล็ง” ไม ได สนใจยีห่ อ หรือความดูดมี รี าคาของกล องถ ายฟ ลม หรือกําหนดค าความ สวยงามให กับภาพ แต กลับสนใจว า เล็งเกอร ทั้งหมดกําลังเล็งภาพเพื่อถ ายทอดเรื่องราวใดออกมา เหมือน คล ายคลึง หรือแตกต าง กันอย างไร เพราะภาพถ ายทุกภาพมีนัยยะของความหมายไม ต างไปจากกล องที่กําลังทําหน าที่บันทึกสิ่งที่ตาเห็น และฐานะของกล อง ถ ายภาพฟ ลม ในสังคมสมัยใหม กาํ ลังทําหน าทีส่ ร างปรากฏการณ เบือ้ งหลังการลัน่ ชัตเตอร โดยปราศจาก Live View ทีแ่ สดงผลของภาพ การเล็งจึงเป นกิริยาของการถ ายภาพอย างตั้งใจ เพื่อให ภาพมีผลลัพธ ตรงใจกับผู ใช ที่สุด ผู ที่สนใจสามารถติดตามข อมูลเพิ่มเติมได ที่ www.facebook.com/leng.film

01 ทัด - ทัศน แซ เหลียง กล อง Cannon EF ฟ ล ม Kodak color plus200

126


02 บิน - วิสุทธิ์ แซ แต กล อง Vivitar v3800n ฟ ล ม Kodak Gold

03 มด - กมลพรรณ กล อง Yashica fx-3 ฟ ล ม Fuji

04 เอก - ฉัตรริน วิเศษมณี กล องกันน้ํา Kodak สําหรับใช ครั้งเดียวทิ้ง

05 แวว - เสาวรภย บัวทวน กล อง Nikon fm2 ฟ ล ม Fuji

06 บู - มัทนา โพธิ์ประสาท 07 วิ้น - วีรกิตติ์ ชื่นภานุวัฒน กล อง Hasselblad 6x6 ฟ ลม 120 Kodak Portra160 127


เรื่อง: สุพิชชา โตวิวิชญ

เพือ่ เป นส วนหนึง่ ของการเรียนการสอนรายวิชาการอนุรกั ษ สถาป ตยกรรมพืน้ ถิน่ และการพัฒนาชุมชน หลักสูตรศิลปศาสตร มหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาสถาป ตยกรรมพืน้ ถิน่ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึง่ มีความมุง หมายให ผเู รียน ศึกษาทฤษฎีและหลักการจัดการมรดกทางสถาป ตยกรรมพื้นถิ่น เทคนิคและวิธีการอนุรักษ มรดกทางสถาป ตยกรรมแบบต างๆ ศึกษา แนวความคิดเรื่องการพัฒนาที่อยู อาศัยและชุมชนอย างมีส วนร วม บนพื้นฐานของการประยุกต นําองค ความรู และความเข าใจเกี่ยวกับ สถาป ตยกรรมพื้นถิ่นมาใช และทดลองปฏิบัติจริงในภาคสนาม ในการศึกษาได เลือกชุมชนริมคลองบางหลวงเป นกรณีศึกษา เนื่องจากเล็งเห็นว าเป นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการทํางานด านการอนุรักษ และพัฒนาเป นอย างมาก ทั้งเรื่องราวทางศิลปะและวัฒนธรรม วัดโบราณ บ านศิลป นรวมถึงวิถีชีวิตริมคลองที่สงบสวยงาม จากการ เก็บข อมูลประมาณ 8 อาทิตย นักศึกษาได ผลิตผลงานสร างสรรค ในหลายรูปแบบ เพื่อใช เป นเครื่องมือในการสร างการมีส วนร วมของ ชุมชนในการอธิบายจุดแข็งหรือข อดี ตลอดจนศักยภาพภายในชุมชน และได มีการจัดนิทรรศการแสดงผลงานนักศึกษาที่ชานไม ริม คลองหน าร านหนังสือป นโต เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2557 ที่ผ านมา โครงการของนักศึกษามีทงั้ สิน้ 5 โครงการ ได แก “ชวนเชือ่ มชุมชน” ซึง่ เป นการถ ายภาพผู คนในชุมชนทีอ่ ยูร มิ ชานไม ทใี่ ช เดินถึงกันเป น ภาพ Panorama โดยนักศึกษาลงเรือถ ายภาพตามยาวและมีการประชาสัมพันธ ชวนเชิญผูค นให ออกมายืนหน าบ านเพือ่ ถ ายภาพชุมชน ร วมกัน โดยใช ภาพถ าย Portrait ของผู คนต างๆ พิมพ เป นโปสการ ดแจกชวนเชิญ โครงการ “เดินเท าเรื่องเล าบ านเราบางหลวง” และ “หนังสือบ านเราบางหลวง” ใช การทํา Community Mapping กับเด็กนักเรียนโรงเรียนสุธรรมศึกษา และโรงเรียนเป ย มสุวรรณวิทยาเพือ่ เก็บข อมูลพื้นที่จากมุมมองของเด็กๆ ที่อาจแตกต างจากมุมมองของคนนอกหรือนักท องเที่ยว สรุปออกมาเป นแผนที่เดินเท า ไกด บ ุค ที่เล าสิ่งสําคัญในชุมชนผ านสายตาคนภายใน รวมถึงร านอาหารอร อยทีซ่ อ นอยู ตามมุมต างๆ ที่นกั ท องเทีย่ วส วนใหญ อาจไม ได สังเกต นอกจากนีย้ งั มีโครงการ “ทีเ่ คยมีทบี่ างหลวง” ซึง่ เป นสมุดลายเส นเล าเรือ่ งราวในอดีตจากการสัมภาษณ ผอู าวุโสและผูค นในชุมชน เล าถึง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ ผ านรูปแบบลายเส นที่เข าใจง ายและเนื้อความที่สั้น ท ายที่สุดคือโครงการ “หนังสั้น บางหลวงบอกเล า” เป นคลิปขนาดสั้นที่เล าถึงกระบวนการทํางานของนักศึกษาและมุมมองของคนนอกที่มีต อศักยภาพชุมชนต างๆ การทํางานของนักศึกษาเป นเพียงภาคส วนเล็กๆ ทีม่ จี ดุ มุง หมายเพือ่ เป นส วนหนุนเสริม กระตุน ให เกิดความเคลือ่ นไหวและการพัฒนา ชุมชนจากวิสยั ทัศน ของผูค นชุมชนเอง นักศึกษาทีเ่ ข าไปทํางานร วมกันในชุมชนนัน้ เป นเพียงตัวเชือ่ มประสาน เป นผูจ ดุ ประเด็นสนทนา หรือในบางครั้งอาจจะทําหน าที่เป นกระจกสะท อนศักยภาพบางแง บางมุมกลับไปยังชุมชน

128



เรื่อง: กองบรรณาธิการ

การสร างแรงบันดาลใจ การริเริ่มสร างสรรค เป นสิ่ง สํ า คั ญ อย า งยิ่ ง สํ า หรั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ดั่ ง ในอดี ต โทมัส อัลวา เอดิสัน จากเทียนเล มเล็กเมื่อร อยกว า ป ก อน สามารถประดิษฐ ดัดแปลงกลายเป นหลอดไฟ สร า งแสงสว า งให กั บ โลก หลุ ด พ น จากความมื ด มน ยามค่ําคืน และได รับการต อยอดจนกลายเป นธุรกิจที่ยิ่ง ใหญ ระดับโลก อีกทั้งด วยกระแสการเปลี่ยนแปลงของ โลกท ามกลางเทคโนโลยีที่ทันสมัย การดําเนินธุรกิจ ในป จจุบันต องเผชิญกับภาวะการแข งขันรุนแรง ธุรกิจ แบบดั้งเดิม ที่ยึดติดกับกาลเวลาเดิมๆ ขาดการริเริ่ม สร างสรรค อาจไม สอดรับกับค านิยม และพฤติกรรม ผู บริโภคที่เปลี่ยนแปลง ไม สามารถแข งขันกับคู แข งได ทําให หลายธุรกิจประสบป ญหา และล มเหลวในที่สุด คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (AKU) ได จัดงานฉลองครบรอบ 20 ป “สองทศวรรษ … สถาป ตย เกษตร” ในเดือนมีนาคมที่ผ านมา โดยมีการ จัดกิจกรรมเชื่อมโยง นักคิด นักสร างสรรค นักออกแบบ รวมทั้งศิษย เก า มาแบ งป นประสบการณ ความรู สู สังคม ผสมผสานเครือข ายนักวิชาการ นักธุรกิจ และนักวิชาชีพ ในแวดวงการออกแบบ เพือ่ สร างไอเดียและแรงบันดาลใจ แก สังคม ภายใต หัวข อ AKU Innovation Talk “ When Design meets…Business” ทั้งนี้ได เชิญวิทยากรทั้ง สถาปนิก นักออกแบบ และผู บริหารคนดัง 20 ท านมา ร วมแบ งป น บอกเล าประสบการณ การทํางานในแวดวง การออกแบบและสร างสรรค การสร างแรงบันดาลใจ ความคิดริเริ่ม แนวทางขับเคลื่อนธุรกิจให ประสบความ สําเร็จ รวมถึงการออกแบบเพือ่ สังคม สร างการรับรูท เี่ ป น ประโยชน ตอ สาธารณะ โดยแบ งเป น 4 session ทีต่ า งกัน Creative Panel คนแรกทีข่ นึ้ เวที ได แก คุณญารินดา บุนนาค สถาปนิกสาว ที่มากด วยความสามารถจากหลากหลายรางวัลระดับ ประเทศที่ได รับระหว างการศึกษาที่สหรัฐ เธอได นําเสนอ ผลงานการออกแบบวิทยานิพนธ ที่ได รับรางวัลของเธอ สมัยเรียนปริญญาโท ผลงาน “House of Endeavour” ที่ถ ายทอดเป นเรื่องราวของสถาป ตยกรรมที่ล้ํายุคสมัย ประกอบกับการบอกเล าแนวคิดการออกแบบที่ผูกเป น เรื่องราวอย างน าสนใจให พวกเราฟ งกัน ตามมาด วย คุ ณ อรรถพร คบคงสั น ติ (ป อ ก) ผู บ ริ ห ารบริ ษั ท T.R.O.P จํ า กั ด ภู มิ ส ถาปนิ ก ที่ ฮ็ อ ตที่ สุ ด คนหนึ่ ง ในเมืองไทย ทีไ่ ด ทาํ งานร วมกับสถาปนิกชือ่ ดังระดับโลก อย าง Sir Norman Foster โดยคุณป อกได มานําเสนอ ผลงาน “Pause” ซึ่งได มาจากคําว า Pattaya + Use เป นการออกแบบสวนและเซลล ออฟฟ ศให กับผู พัฒนา โครงการที่พัทยา ลําดับต อมา คุณพลวิทย เภตรา นักออกแบบและเจ าของร านกาแฟ ไล-บรา-รี่ ทีเ่ ป นทัง้ ศิลป น นักถ ายภาพ ครีเอทีฟ และนักออกแบบ ในวันนี้ได มาเล า 130

ถึงประสบการณ และเรือ่ งราวเป นมาของร านกาแฟ “ไล-บรา-รี”่ ถึงแนวคิด จุดริเริม่ แนวความฝ น และประสบการณ ในการทําร านให เราได ฟ งกัน หลังจากนั้นหันมาฟ งเรื่องสนุกๆ บนเวทีกับ คุณนพดล สุเนต ตา เจ าของบูติกโฮเต็ลแบรนด “Suneta” ที่มาพร อมเรื่องเล าแฝงอารมณ ขัน แบบตลกร าย “หัวหมา” ด วยการนําประสบการณ ชีวิตมาเล าให ฟ ง ตั้งแต สมัยเรียนหนังสือจน มาเริ่มทํางาน ในช วงชีวิตกว า 10 ป ของคุณนพดลที่ทําธุรกิจมาหลายกิจการมาก ซึ่งส วนใหญ ก็มีแต เจ งเท านั้น แต ด วยแนวคิด ความฝ น และมุมองในการดําเนินชีวิต จึงเป นประสบการณ ที่คุณนพดลสามารถแบ งป นออกมาได สนุกและน าสนใจเป นอย างยิ่ง และคนสุดท ายสําหรับ เซสชั่นนี้ได แก คุณกษมา แย มตรี (พลอย) จากกลุ ม Openspace สถาปนิกชุมชนที่เน นการ พัฒนาคุณภาพชีวติ ด วยการดึงคนในชุมชนเข ามามีสว นร วมในการสร างคุณค าให กบั สิง่ ก อสร าง พลอยได เล าถึงแนวคิดและประสบการณ ในการทํางานร วมกับชุมชน และในป จจุบันเธอยังหัน มาให ความสําคัญกับการออกแบบแนว Universal Design ในพื้นที่สาธารณะและชุมชน ตลอด จนงานสถาป ตยกรรมสําหรับความสามารถที่แตกต างของผู ใช ด วยการก อตั้งองค กรธุรกิจเพื่อ สังคมชื่อ “ตาแสง” อีกด วย


Design Panel เริ่มต นด วยรุ นใหญ อย าง ผศ.บุญเสริม เปรมธาดา หัวหน าภาควิชา สถาป ตยกรรมภายใน คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เป นคนไทยคนแรกทีไ่ ด รบั รางวัลชนะเลิศในงานประกวดสถาป ตยกรรมยอด เยี่ยมระดับโลก (The ar+d Awards for Emerging Architecture 2011) โดยคุณบุญเสริมได นําเสนอผลงานที่สะท อนให เห็นถึงความหลากหลาย ในสถาป ตยกรรมทั้งในเชิงสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล อม ซึ่งช วยยกระดับคุณภาพชีวิตผู ด อยโอกาสผ านงานสถาป ตยกรรมอีกด วย ตามต อกันด วย คุณจูน เซคิโน สถาปนิกลูกครึ่งไทย-ญี่ปุ น ผู ก อตั้งบริษัท จูน เซคิโน อาร คิเทคต แอนด ดีไซน จํากัด ผู ออกแบบที่ให คําปรึกษา พัฒนางานสถาป ตยกรรม ภูมิทัศน และอินทีเรีย ที่มาบอกเล าแนวคิดและ ประสบการณ ของตนเองผ านผลงานการออกแบบสถาป ตยกรรมหลายงานให เราฟ ง คนต อมา ได แก คุณทวิตีย วัชราภัย เทพาคํา สถาปนิกหญิงชื่อดัง ผู บริหาร Department of Architecture ซึ่งได มาบอกเล าถึงผลงานที่สื่อ ถึงมิติในความงามของการออกแบบสถาป ตยกรรมในแง มุมใหม ที่ชักชวน ผู ฟ งให หันมาสนใจกับผนังว างเปล าซึ่งสามารถแต งเติมจินตนาการและ ความคิดสร างสรรค ได จากทั้งการออกแบบเชิงกายภาพและจินตภาพผ าน แสงและเงา รวมทั้งทําให เห็นถึงความสําคัญของ Positive & Negative Space ในอาคารผ านผลงานหลากหลายรูปแบบ ต อจากนั้นมาพูดคุยแบบ เบาๆ สบายๆ กับ ม.ล.วรุตม วรวรรณ ผู ก อตั้งบริษัทและผู บริหาร VIN VARAVARN ARCHITECTS ทั้งนี้คุณวรุตม ใช ชีวิตในต างแดนเกือบ 10 ป ตัง้ แต เดินทางไปศึกษาต อก อนจะบินกลับเมืองไทยและได มาก อตัง้ บริษทั นีข้ นึ้ จึงได มาบอกเล าถึงชีวิต ความเป นเด็กที่มีอยู ในตัวเองกับการสร างสรรค ผลงานอย างมีสไตล ตบท ายด วยรุน เล็ก คุณสุรตั น พงษ สพุ รรณ (จิฟ๊ ) เจ าของ บริษัท Green Box Design จํากัด ที่มานําเสนอผลงานที่ไม ใช แค คิดตาม คอนเซปต แต เป นการพัฒนาจากการวิเคราะห อย างสร างสรรค Business Panel หันมาฟ งแนวคิดทางธุรกิจและมุมมองชีวิตที่สนุกสนานจาก คุณสรกล อดุลยานนท นักสือ่ สารมวลชน และนักเขียนชือ่ ดัง นามปากกา “หนุม เมืองจันท ” กันบ าง คุณสรกลเริ่มต นการบรรยายด วยภาพความว างเปล า เนื่องจากเห็น ว าการสร างสรรค ทุกอย างจะเริ่มต นจากความไม มี เช นเดียวกับตนที่ไม เคย มีความฝ นเป นนักเขียน ไม มีความรู เรื่องธุรกิจ แต ก็สามารถทําในสิ่งที่ไม คิดว าจะทําได คนบางคนอาจกลัวไป แต บางสิ่งบางอย างเรากลัวไปเองกับ สิง่ ทีต่ นเองไม เคยทําว าจะทําไม ได เป นการเป ดมุมมองแนวคิดทีน่ า สนใจและ สร างสรรค เป นอย างมาก ตามด วย คุณประธาน ธีระธาดา บรรณาธิการ บริหารนิตยสาร Art4d ผู สร างปรากฎการณ และประสบการณ การเรียนรู เรื่องออกแบบให กับคนในสังคม โดยได เล าเรื่องราวจากประสบการณ การ ทําหนังสือ Art4d ตั้งแต ฉบับแรกในป 1995 และแนวคิดในการทํางานที่ สร างประสบการณ ที่ดีให กับตัวเอง และสร างโอกาสได เจอคนมากมาย ทั้งที่ มีชื่อเสียงระดับโลกหรือแม กระทั่งคนธรรมดาให เราได รับฟ งกัน ต อกันด วย นักหนังสืออีกท านหนึง่ คุณเจรมัย พิทกั ษ วงศ บรรณาธิการอํานวยการกลุม นิตยสารบ านและสวน ที่มาบอกเล าถึงแนวคิดในการทําหนังสือที่เกิดจาก การตีโจทย แบบดีไซเนอร ด วยมุมมองของนักธุรกิจ โดย Focus ไปที่กลุ ม เป าหมายของหนังสือแต ละเล มทีต่ า งมีความต องการ มีความอยากรูใ นสิง่ ต างๆ การทําหนังสือเพื่อตอบสนองความต องการความอยากรู นั้นๆ ให ข อมูล เพื่อสร างความสุขให กับลูกค า จากนั้นตามด วยแนวคิดการบริหารงานของ คุณเทวินทร วรรณะบํารุง ดีไซน ไดเร็กเตอร ผูอ ยูเ บือ้ งหลังงานออกแบบวัสดุ ก อสร างภายใต แบรนด คอตโต และตราช างในเครือบริษทั SCG ทีม่ าบอกเล า ถึงประสบการณ ในการทํางานกว า 40 ป ในการสร างกลยุทธ ทางการตลาด และกิจกรรมมากมายของทางบริษทั และสุดท ายในช วงนีก้ บั คุณไพลิน ยีโ่ ถขาว สถาปนิกสาวจากการประปานครหลวง (Formerly at Architect Kidd) ที่มองหาแรงบันดาลใจที่มีแนวคิดในการออกแบบที่สอดคล องกับข อจํากัด ที่มี การเลือกใช วัตถุดิบอย าง อิฐ หินปูน ทราย ที่ต องเอามาใช ในการ สังเคราะห ในกระบวนการคิดทั้งหมด โดยได มานําเสนอผลงานครั้งยังเป น นักออกแบบที่ Architect Kidd

Product Panel เริ่มต นเซสชั่นการออกแบบผลิตภัณฑ ด วย คุณวุฒิชัย หาญพานิช เจ าของ แบรนด ดั ง ระดั บ โลก อย า งแบรนด Harnn ผู ผ ลิ ต สบู ธ รรมชาติ ร ะดั บ High End รายแรกของประเทศไทย ตัง้ แต เดินทางไปศึกษาต อนัน้ คุณวุฒชิ ยั ได ใช เวลากว าสิบป อาศัยอยู ในต างประเทศ ก อนจะกลับเมืองไทยและริเริ่ม สร างธุรกิจของตนเองในช วงวิกฤตเศรษฐกิจป พ.ศ.2542 จึงได มาแบ งป น ประสบการณ ในการทําแบรนด ให ตดิ ตลาดโลกได อย างไร ตามต อกันมาติดๆ กับ คุณเอก ทองประเสริฐ เจ าของแบรนด EK Thongprasert ทีม่ าบอกเล า ประสบการณ ของตนเอง ตัง้ แต สมัยศึกษาทางด านการออกแบบแฟชัน่ ดีไซน จากสถาบันด านการออกแบบทีเ่ บลเยีย่ มและนําเสนอผลงานการออกแบบให เราได ชนื่ ชมกัน ต อกันด วยอีกหนึง่ นักออกแบบทีส่ ร างสรรค อย าง คุณยุทธนา อโนทัยสินทวี เจ าของแบรนด สินค า “The Remaker” ที่พสิ ูจน ให เห็นว าคน ที่ทํางานสร างสรรค ไม จําเป นจะต องเรียนจบจากสาขาการออกแบบเสมอไป เพราะคุณยุทธนาจบปริญญาตรีในสาขารัฐศาสตร แต ได มาเล าถึงประวัตกิ าร ก าวสูว งการออกแบบผลิตภัณฑ และยังนําเสนองานออกแบบวัสดุสนิ ค าของ The Remaker ที่เรียกว าแนว UP Cycle ซึ่งเป นการเริ่มต นจากสิ่งเล็กๆ อาทิ เอาเสือ้ ผ าเหลือใช มาทําเป นสินค า ป ายไวนิลเอามาออกแบบเป นกระเป า หรือจากการใช วสั ดุเศษยางในรถทําเป นถังขยะ หรือออกแบบเป นแจกัน ด วย แนวคิดรีไซเคิลคือทางออกในอนาคต ทําให เป น Zero Waste เพื่อทดแทน ธรรมชาติ จากนัน้ จึงต อด วยเรือ่ งราวของหนุม ใหญ ผศ.ดร.สิงห อินทรชูโต เจ า ของผลงานดี ไ ซน ผ ลิ ต ภั ณ ฑ รี ไ ซเคิ ล “OSISU” และอาจารย ค ณะ สถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หัวหน าศูนย Scrap Lab ที่ได มาแบ งป นประสบการณ ของการเริ่มต นแนวคิด ที่เริ่มจากการออกแบบ อาคารโดยมุ งเน นการใช วัสดุเก า เศษวัสดุมาประกอบอาคาร เพื่อประหยัด พลังงานในกระบวนการผลิต ที่ต อมาจึงได เริ่มออกแบบเฟอร นิเจอร จาก วัสดุเหลือใช ทําให เป นที่สนใจของคนหมู มาก ภาคธุรกิจ หน วยงานต างๆ ได ตดิ ต อเข ามาให ชว ยออกแบบมากมาย จนป จจุบนั เริม่ ขยายวงสูก ารศึกษา วิจัยการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของวัสดุเหลือใช ในวงการก อสร างมากขึ้น เพื่อคืนชีวิตให กับเศษวัสดุเหล านี้ หรือ Up Cycle และท ายสุดของงานกับ คุณรัฐ เปลีย่ นสุข ดีไซน ไดเร็กเตอร ของแบรนด “Phato” จากนักสถาป ตย ที่ ผันตัวเองสูก ารออกแบบผลิตภัณฑ จากงานอินทีเรียร มาออกแบบผลิตภัณฑ คุณรัฐได เล าถึงการแนวความคิดและประสบการณ การสร างผลงานทีน่ า สนใจ จากการเก็บเศษไม มาทําโครงสร างธรรมชาติ อย างงานขัดไม งานสานไม สกั ให เราได รับรู ถึงคุณค านั้น ซึง่ ทัง้ หมดนีเ่ ป นตัวอย างความสําเร็จ ไม ใช เพียงแค นง่ั เฉยและรอโอกาสการริเริ่ม สร างสรรค การหมั่นสร างแรงบันดาลใจให กับตนเองและธุรกิจอยู เสมอ พร อมกับการลงมือทํา จึงเปรียบเสมือนการพรวนดินใส ปุ ยให ธุรกิจมั่นคง ออกดอกผลแผ กิ่งก านสาขาที่งดงามประสบความสําเร็จดังวิทยากรทุกท าน 131


¢ÍàªÔުǹ¹ÔÊÔμ ¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒ áÅйѡÍ͡Ẻ Ë Ç Á»ÃÐªÑ ¹ äÍà´Õ  äÃŒ ¢Õ ´ ¨í Ò ¡Ñ ´ ã¹â¤Ã§¡Òà MK Young Creative Design Contest 2014: Universal Design ขอเชิ ญ ชวนนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา และบุ ค คลทั่ ว ไปที่ ส นใจ เข า ร ว มแข ง ขั น ในการประกวดออกแบบงานด า น สถาป ตยกรรมออกแบบบ านสําหรับทุกคนในครอบครัว กับ “อารยสถาป ตย ” ในโครงการ MK Young Creative Design Contest 2014: Universal Design ในคอนเซ็ปต “สะดวก ปลอดภัย เป นธรรม ทั่วถึงและเท าเทียม” ซึ่งจัดโดย บริษัท มั่นคงเคหะการ จํากัด (มหาชน) หรือ MK เพื่อชิงเงินรางวัลพร อมโล เกียรติยศ มูลค ารวมกว า 165,000 บาท พร อมโอกาสในการเข าร วม Work Shop เรียนรู เคล็ดลับในการออกแบบกับกูรูชื่อดัง ผู ที่สนใจสามารถสมัครออนไลน หรือส งใบสมัครได แล ว ตั้งแต วันนี้ จนถึงวันที่ 30 พฤษภาคม 2557 หรือติดตามรายละเอียดการประกวดเพิ่มเติมได ที่ www.mk.co.th หรือสอบถามข อมูล เพิ่มเติม โทร. 0-2216-6600 ต อ 817, 0-2967-7713-4

·Õ Á ¹Ñ ¡ ÈÖ ¡ ÉÒ¤³Ðʶһ˜ μ Â Ï ¾ÃШÍÁà¡ÅŒÒÏ ÅÒ´¡Ãкѧ ÃÑ º ÃÒ§ÇÑ Å »ÃСǴÍ͡Ẻ ÊÔ§è ÍíҹǤÇÒÁÊдǡÊíÒËÃѺ ¼ÙŒ¾Ô¡Òà áÅмٌÊÙ§ÍÒÂØ

ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѸÃÃÁÈÒÊμà ¤ÇŒÒ 13 ÃÒ§ÇÑÅ ¨Ò¡¡ÒûÃСǴ “42nd International Exhibition of Inventions of Geneva” ทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ได ส งผลงาน เข าประกวดในงานประกวดสิ่งประดิษฐ นานาชาติ ทั้งสิ้น 12 ผลงาน สามารถคว ารางวัลมาได 13 รางวัล แบ งเป น 3 เหรียญทอง, 4 เหรียญเงิน, 4 เหรียญทองแดง และ 2 รางวัลพิเศษ ซึ่งมาจากการโหวตของนักวิจัยจํานวน 790 ท าน จาก 45 ประเทศทั่วโลกที่เข าร วมงาน โดยมี ผลงานส งเข าประกวดกว า 1,000 ผลงาน นับเป นความ ภาคภูมิใจของ ม.ธรรมศาสตร ที่ได สร างชื่อเสียงให กับ ประเทศไทยบนเวทีที่มีความสําคัญระดับโลกครั้งนี้

ที ม นั กศึกษาชั้นป ที่ 3 สาขาวิชาสถาป ตยกรรมภายใน สถาบั นเทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ าคุณทหารลาดกระบัง ประกอบด วย นางสาวซัลมา อินทรประชา, นางสาวญาดา ยะโสธร, นางสาวฐิตินาถ จงเกียรติเจริญ และ นางสาวสุพิชชา สุทธานนท กุล, และ นายพสุ ชูชัย ได รับ รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการประกวดออกแบบผลงาน “บ านต นมะขาม” ในโครงการ จัดสร างสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผู พิการและผู สูงอายุ ซึ่งจัดโดยสํานักงานนโยบายและ แผนการขนส งและจราจร โดยมี นายจุฬา สุขมานพ ผู อํานวยการ สนข. เป นประธานในพิธีมอบ รางวัล ณ ห องประชุม 401 อาคาร สนข. เมื่อเร็วๆ นี้

¹Ñ ¡ ÈÖ ¡ ÉÒÇÔ È Ç¡ÃÃÁ¤ÍÁ¾Ô Ç àμÍà ÁËÒÇÔ · ÂÒÅÑ Â àªÕ  §ãËÁ‹ ¤ÇŒÒ 3 ÃÒ§ÇÑÅ §Ò¹ National Software Contest 2014 ¤³ÐÇÔÈÇ¡ÃÃÁÈÒÊμà ¾ÃШÍÁà¡ÅŒÒÏ ¸¹ºØÃÕ ÊØ´ÂÍ´¤ÇŒÒ นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ÃÒ§ÇÑŪ¹ÐàÅÔÈ THE 4 IT ONE INNOVATION AWARD เชียงใหม ได รับ 3 รางวัลจากการแข งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร แห ง นางสาวอารยา ชัยประเสริฐ, นายอนาวิล จารุสมานจิต, นายกษิดศิ อิศรศักดิ์ ณ อยุ ธ ยา และ นางสาวศุ ภั ช ยา พวงพรทิ พ นั ก ศึ ก ษาจากคณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล าธนบุรี ได รับรางวัล ชนะเลิศ มูลค า 100,000 บาท และ 50,000 บาท ในการเข าร วมการ แข งขัน THE 4 IT ONE INNOVATION AWARD ที่จัดขึ้นโดย IT ONE เมื่อเร็วๆ นี้ 132

ประเทศไทย 2557 (National Software Contest : NSC) ระดับประเทศไทย ได แก รางวัลชนะเลิศ โครงการการรู จําอักษรอย างมีประสิทธิภาพ โดย นายบรรณ สุวรรณประเสริฐ และ นายชยุตม วิวชั รโกเศศ, รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3 โครงการโปรแกรมสร างสื่อการเรียนรู จากบทความอัตโนมัติ โดย นายพงศกร สมมาลัย, นายพีรณัฐ ธารทะเลทอง และ นายธัชพัฒน เกสรศรี และรางวัลชมเชย โครงการเกมเพือ่ พัฒนาศักยภาพของการออกเสียงสําหรับ เด็กเล็ก โดยนายติณณวัฏ ส วนบุญ ซึ่งจัดขึ้นโดยความร วมมือระหว าง NECTEC, SIPA และ สวทช ณ หอประชุมมหิศร อาคารเอสซีบีพาร ค ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) กรุงเทพฯ



ʶҺѹʶһ¹Ô¡ÊÂÒÁ ¨Ñ´§Ò¹ÊÑÁÁ¹Ò¡ÒÃÍ͡ẺáʧÊÇ‹Ò§·Ò§Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ “»ÃÐÊÒ¹§Ò(¹)Í͡Ẻáʧ Architect(ure)+ Lighting Design(er) ” สถาบันสถาปนิกสยาม โดยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ขอเชิญสมาชิกสมาคม สถาปนิก นิสิต นักศึกษา และผู สนใจทั่วไป เข าร วมงานแสงสัมมนาครั้งที่ 3 ซึ่งเป นงานสัมมนา การออกแบบแสงสว างทางสถาป ตยกรรม ในหัวข อ “ประสานงา(น)ออกแบบแสง Architect (ure)+ Lighting Design(er)” สถาป ตยกรรมที่ไร ซึ่งแสงสว างก็มิอาจใช สอยและเห็นซึ่งความ งามของอาคารนั้นๆ ร วมค นหาความสําคัญของแสงสว างในงานออกแบบสถาป ตยกรรม และ รายละเอียดขั้นตอนการทํางานร วมกันของสถาปนิก และนักออกแบบแสงสว าง โดยวิทยากร 2 ท าน ได แก คุณอมตะ หลูไพบูลย สถาปนิก Department of Architecture และ คุณนพพร สกุลวิจิตร สินธุ นักออกแบบแสงสว าง ACCENT studio ในวันเสาร ที่ 31 พฤษภาคม 2557 เวลา 14.00 น. - 17.00 น. ณ อาษาเซ็นเตอร ชั้น 5 สยามดิสคัฟเวอรี่ อัตราค าลงทะเบียนสําหรับ นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ที่เป นสมาชิกสมาคมฯ 100 บาท, สมาชิกสมาคมฯ/นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ทั่วไป 300 บาท และสถาปนิกและผู สนใจทั่วไป 500 บาท รับจํานวนจํากัดเพียง 80 ท านเท านั้น โดยผู ร วมสัมมนาจะได คะแนน ISA PLUS 1 POINT เพื่อแลกของรางวัล กรุณานําบัตร ISA PLUS ติดตัวมาทุกครัง้ ที่เข าร วมสัมมนา พร อมได รับวุฒิบัตรจากสถาบันสถาปนิกสยาม ได รับหน วย พวต. 3 (หน วย) สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล วงหน าได ที่ สถาบันสถาปนิกสยาม ฝ ายจัดอบรม โทรศัพท 0-2319-6555 ต อ 202, 206 โทรสาร ต อ 204, 0-2319-6419 หรือ ดาวน โหลดใบตอบรับลงทะเบียนได ที่ www.asa.or.th

TCDC ¨Ñ´¹Ô·ÃÃÈ¡Òà “¹Í¡ËŒÍ§àÃÕ¹: ŧʹÒÁ OTOP ¡Ñº miniTCDC” นิทรรศการ “นอกห องเรียน: ลงสนาม OTOP กับ miniTCDC” ถ ายทอดเรื่องราวจากประสบการณ การทํางานของ นักศึกษาจาก 14 สถาบันเครือข าย miniTCDC และ TCDC เชียงใหม ร วมกับผู ประกอบการ OTOP จากผลงาน การออกแบบผลิตภัณฑ ต นแบบจํานวน 32 ชิ้นงาน ที่นําเอาภูมิป ญญาและเอกลักษณ ท องถิ่นมาปรับโฉมและ การใช งานให เข ากับไลฟ สไตล ยคุ ใหม และตอบโจทย ความต องการของผูป ระกอบการทีร่ ว มงานด วย อาทิ โคมไฟถัก ย อมสีธรรมชาติจากพืชพรรณท องถิ่น, โคมไฟจากหนังตะลุงที่ใช กระบวนการผลิตและการฉลุลวดลายแบบดั้งเดิม ไปจนถึงการปรับเปลี่ยนแพคเกจจิ้งและอัตลักษณ สินค าให กับแบรนด ดังในท องถิ่น เป นต น เข าชมฟรี วันนี้ - 25 พฤษภาคม 2557 เวลา: 10.30 น. - 21.00 น. ณ โถงทางเข า TCDC สอบถามข อมูลได ที่ เคาน เตอร ประชาสัมพันธ TCDC โทร. 0-2664-8448 ต อ 213, 214 (ป ดวันจันทร )

ÊÀÒÇÔ È Ç¡Ã ãËŒ ¡ ÒÃμŒ Í ¹ÃÑ º ¼ÙŒ á ·¹¨Ò¡ÊÁÒ¤Á¹Ñ ¡ ºÔ ¹ ¾ÃŒÍÁá¹Ðá¹Ç·Ò§¡ÒèѴμѧé ÊÁÒ¤ÁÏ เมือ่ เร็วๆ นี้ กมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร และ เกชา ธีระโกเมน เลขาธิการ สภาวิศวกร ให การต อนรับผูแ ทนสมาคมนักบินไทย ในโอกาสทีเ่ ข าพบเพือ่ ขอ คําแนะนําแนวทางการจัดตัง้ สมาคมนักบิน รวมทัง้ นโยบาย แผนการดําเนินการ และขั้ น ตอนการรั บ สมั ค รสมาชิ ก ของสภาวิ ศ วกร ณ ห อ งประชุ ม 3 ชั้น 2 สํานักงานสภาวิศวกร

134


ÊÁÒ¤Á¸ØáԨÃѺÊÌҧºŒÒ¹ ¨Ñ´ÍºÃÁâ¤Ã§¡Òà ISO 9001:2008 วิสิฐษ โมไนยพงศ นายกสมาคมธุรกิจรับสร างบ าน เป นประธานในพิธีปฐมนิเทศการประชุมชี้แจงผู ประกอบการ เข าร วมกิจกรรม ISO9001:2008 รุน ที่ 1 ซึง่ เป นโครงการพัฒนามาตรฐานการก อสร าง และเพิม่ ขีดความสามารถใน การแข งขันให กับผู ประกอบการธุรกิจบริการก อสร าง เพื่อรองรับการเป ดตลาดการค าเสรีของไทยกับต างประเทศ ซึ่งสมาคมธุรกิจก อสร างร วมกับสถาบันการก อสร างแห งประเทศไทย จัดขึ้นตามแผนยุทธศาสตร มุ งสู มาตรฐาน สากล ณ ห องประชุมสมาคมธุรกิจรับสร างบ าน

¸¹Ò¤ÒÃÍÒ¤ÒÃʧà¤ÃÒÐË Å§¹ÒÁºÑ¹·Ö¡¢ŒÍμ¡Å§¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í “â¤Ã§¡ÒúŒÒ¹ ¸ÍÊ. - ¡º¢. à¾×èÍ·ÕèÍÂÙ‹ÍÒÈÑ¢ŒÒÃÒª¡ÒÔ อังคณา ป ลนั ธน โอวาท ไชยมนัส กรรมการผูจ ดั การ ธนาคารอาคารสงเคราะห เข าร วมพิธลี งนามบันทึกข อตกลงความร วมมือ “โครงการบ าน ธอส. - กบข. เพือ่ ทีอ่ ยูอ าศัยข าราชการ ครัง้ ที่ 10” ระหว างธนาคารอาคารสงเคราะห ร วมกับ กองทุนบําเหน็จบํานาญข าราชการ (กบข.) มอบสินเชื่อบ านดอกเบี้ยพิเศษ ให ข าราชการที่เป นสมาชิก กบข. โดยมีวัตถุประสงค ให กู เพื่อซื้อ ปลูกสร าง ต อเติม ขยาย ซ อมแซม ไถ ถอนจํานองจากสถาบันการเงินอืน่ ชําระหนีเ้ กีย่ วกับ ที่อยู อาศัย ซื้ออุปกรณ หรือสิ่งอํานวยความสะดวกที่เกี่ยวเนื่องเพื่อประโยชน ในการอยูอ าศัย และซือ้ ทีด่ ินเปล าทีเ่ ป นทรัพย NPA ของ ธอส. สามารถผ อน ชําระได นานสูงสุดถึง 30 ป ยื่นกู ได ตั้งแต บัดนี้ถึง 30 ธันวาคม 2557 และ ทํานิติกรรมภายในวันที่ 31 มีนาคม 2558

¡ÃÁ¾Ñ²¹Ò¾Åѧ§Ò¹·´á·¹áÅÐ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ ¨Ñ´¾Ô¸Õô¹éíÒã¹Çѹʧ¡ÃÒ¹μ ประมวล จันทร พงษ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน เป นประธานเป ดงาน พิธีรดน้ําเนื่องในวันสงกรานต พร อมทําบุญปล อยนกปล อยปลา โดยมี ธรรมยศ ศรีช วย รพพ. นายประพนธ กิติจันทโรภาส รพพ. และ ทวารัฐ สูตะบุตร รพพ. นําข าราชการและผู มีเกียรติ รดน้ําขอพรอธิบดี และอดีตอธิบดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา และ อํานวย ทองสถิตย ณ ศูนย ฝ กอบรม การจัดการพลังงาน (Mini Plant) เมื่อเร็วๆ นี้ 135


พื้นสําหรับภายในและภายนอก เป นพืน้ ทีผ่ ลิตจากไม ไผ ซงึ่ เป นพืชทีโ่ ตเร็ว ปลูกเพียง 5 ป ก็สามารถใช งานได โดยใช เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย มีความสวยงามเป นธรรมชาติ เหมาะสําหรับอาคารที่ ต องการ LEED และ Green Building App Board Co.,Ltd. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth F712

กรอบหน าต างอลูมิเนียม เป นกรอบหน าต างที่ได มีการพัฒนาเทคโนโลยีจากประเทศญี่ปุ น จึงสามารถตอบโจทย และสนองความต องการ ในการสร างบ านเขตร อนได ดี มีความแข็งแกร งและต านทานต อทุกสภาพอากาศ เป นศิลปะของการดําเนินชีวิตที่ทันสมัย และการออกแบบที่หรูหราของบ านหรืออพาร ตเม นต ของคุณ YKK AP Bangkok Office Official website : www.ykkap.co.th ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth D502

ท อเหล็กอ อนกันน้ําร อยสายไฟ ARROW TITE ผลิตด วยเครื่องจักรที่ทันสมัย โดยใช เทคโนโลยีล าสุด ผ านการทดสอบตามมาตรฐาน UL360 ของอเมริกา จึงมี ความทนทานแข็งแรง ผลิตภัณฑ ทาํ ด วยสังกะสี Hot-Dip Galvanized พันด วยลวดทองแดง และหุ มด วย PVC เกรดสูง Heavy Duty ทนต อแรงดึงและแรงกดต างๆ ได ดีมาก สามารถกันน้ําและน้ํามันได ดีเยี่ยม บริษัท แอร โรว ซินดิเคท จํากัด (มหาชน) www.arrowsyndicate.com

กาวซิลิโคนยาแนว E-104 เป นซิลโิ คนมีกลิน่ ทีผ่ ลิตจากเนือ้ ซิลโิ คนเกรดสูง มีความ ยืดหยุ น ต านทานความร อนและกันรั่วซึมได ดี ใช ระยะ เวลาแห งผิวประมาณ 12 นาที หลังการติดตั้งจะทน อุณหภูมิในช วง -62 C ถึง +204 C มีประสิทธิภาพใน การยึดติดผิววัสดุสูง ใช ในงานยึดติดกระจก กระเบื้อง เซรามิค อลูมเิ นียม ไฟเบอร ไม และพลาสติก ควรหลีกเลีย่ ง การใช งานกับวัสดุประเภทโลหะหรือเป นด าง Borneo Technical (Thailand) Co.,Ltd.

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth S608/1

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth C620

กระเบื้อง รุ น FORESTE เป นกระเบื้องพอร ซเลนที่ ผลิ ต ด ว ยงานแฮนด เ มด จากประเทศไทย มี อ ายุ การใช ง านยาวนานและ ท น ท า น ต อ ทุ ก ส ภ า ว ะ อากาศ ใช สีน้ําตาลแสดง ถึงการนําเอาพืน้ ผิวของไม หิน กรวด และพื้นผิวอื่นๆ ของธรรมชาติ มาถ ายทอดลงบนผิวเซรามิค ให เกิดความ รู สึกที่ใกล ชิดธรรมชาติ ลดการใช ไม เพื่อช วยอนุรักษ สิ่ ง แวดล อ ม มาใช กับผลิ ตภั ณฑ เ ซรามิ ค ที่ สามารถ ทําความสะอาดได ง ายกว าผลิตภัณฑ ไม Haco Group (1991) Co.,Ltd. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth S103 136

ลู วิ่งยางสังเคราะห ผลิตจากเม็ดยางสังเคราะห คุณภาพสูงจากต างประเทศ และได รบั การรับรองมาตรฐานจากสหพันธ กรีฑานานาชาติ หรือ IAAF มีหลายระบบให เลือกใช ตามความต องการของ ลูกค า วัสดุมคี วามคงทนต อสภาพดินฟ าอากาศ และรังสียวู ี Civil Master Sport Pro Co.,Ltd. www.civilsport.co.th ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth F603

ถังเก็บน้ํา SMART LINE ถังเก็บน้ําพร อมป มน้ําติดตั้งภายใน เป นนวัตกรรมเพื่อ อนาคตด วยดี ไซน ใหม ล้ําสมัย ประหยั ดพื้ นที่ใช สอย ติดตัง้ สะดวกแม ในพืน้ ทีแ่ คบ ผลิตจากวัสดุทไี่ ด มาตรฐาน คุณภาพสูง ภายใต สโลแกน “Smart Line ไม ใช แค ถัง เก็บน้ํา แต เป นคําตอบของระบบน้ําภายในบ าน” บริษัท ซูโมโต คอร ปอเรชั่น จํากัด www.sumotocorp.com

ผนังห องน้ําสําเร็จรูป ผนังห องน้ํา รุ น Elite EL-130 Light Emission ชนิด กันน้าํ MFF รูปแบบใหม ของประตูหอ งน้าํ ทันสมัยและน าใช มากขึ้น ทําให คุณเข าถึงจุดหมายได อย างสะดวกรวดเร็ว ด วยหลอดไฟที่สามารถบอกความเคลื่อนไหวของห องน้ํา ว ามีคนอยู หรือไม โดยที่ไม ต องเดินไปที่จุดนั้น โดยหลอด ไฟฟ า LED จะสว างเมื่อป ดประตู ซึ่งเป นการบ งบอกถึง สถานการณ ใช งานของห องน้ํา Elite Toilet Partition Co.,Ltd. www.elitetoiletpartition.com

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth S711

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth S612/1


ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth L407

ประตูไม ลามิเนต รุ น iDoor ประตูไม ลามิเนตสําเร็จรูปที่มีความลงตัวแห งสีสันและ งานดีไซน แบบไม ต องเคลือบสีทับ ติดตั้งง าย พร อมใช งานทันที โครงสร างแข็งแรง สวยงาม หน าบานมีหลาก หลายสี พร อมเคลือบเมลามีนคุณภาพดี ช วยป องกันเชือ้ ราและลดรอยขูดขีด สามารถเช็ดทําความสะอาดได ง าย บริษัท ลีโอวูด อินเตอร เทรด จํากัด www.leowood.com

ม านม วนไฟฟ า ม านม วนไฟฟ าสําหรับภายในและภายนอก ทํางานขึ้นลง ด วยมอเตอร ไฟฟ า และสามารถควบคุมระดับความสูงที่ ต องการ ใช งานด วยรีโมทคอนโทรล เพือ่ เพิม่ ความสะดวก สบายให แก ผู ใช งาน โดยเฉพาะอย างยิ่งการใช งานในห อง ขนาดใหญ พร อมทั้งยังเพิ่มความสวยงามได อีกด วย โดย ลูกค าสามารถเลือกลวดลายและคุณสมบัติของเนื้อผ าได ตามต องการ September Co.,Ltd.

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth F401

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth D406

ฉากกั้นอาบน้ําบานเลื่อน 3 ตอน ฉากกั้ น อาบน้ํ า บานเลื่ อ น 3 ตอน กระจกใสนิ ร ภั ย เทมเปอร 4 มิลลิเมตร เฟรมสีเงิน ระบบล อเลือ่ นรางบนล าง ประหยัดพื้นที่ และราคาประหยัด แข็งแรงทนทาน ไม ลอกไม พองน้ํา บริษัท ศรีบูรพา มินั่มกลาส จํากัด www.crystal-rooms.com

POWER METER ANALYZER เครื่องวัดและวิเคราะห ค าพลังงานทางไฟฟ า เป น อุ ป กรณ วั ด และวิ เ คราะห ค า พลั ง งานไฟฟ า แบบดิ จิ ต อจ โดยสามารถวั ด ค า พารามิ เ ตอร ต า งๆ ทางไฟฟ า อย างครบครับ ในหน าจอเดียวกัน กับขนาดเครื่องที่เล็กเพียง 96 X 96 MM พร อมทั้งหน าจอแสดงผลแบบ LCD ที่ใหญ อ านง าย พร อมไฟหลังจอ (BACKLIGHT DISPLAY) และปุ มเมนู BACKLIGHT TOUCH KEYBOARD ช วยให การแสดงผลที่ชัดเจนมากขึ้น CVM-C10 ได ถูกออกแบบและพัฒนามาเพื่อความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพของ เครือ่ งวัดต อการใช งานมากทีส่ ดุ โดยสามารถวัดค าไฟฟ าได ทงั้ ระบบไฟฟ า MEDIUM และ LOW VOLOTAGE อย างแม นยํา ด วย ACCURACY CLASS 0.5% มีช องพอร ทสื่อสารอนุกรม สัญญาณ RS-485 (MODBUS / TRU) และพร อมทั้ง BUILT IN พอร ทสัญญาณ 2 DIGITAL INPUT / OUTPUT (EXTERNAL ALARM) และ 2 RELAY-OUTPUT สามารถตรวจวัดอาร โมนิคส ได ถึงลําดับที่ 31 ORDER และแสดงผล BAR GRAP ได Avera Co.,Ltd.

HP Designjet T120 ePrinter เครื่องพิมพ หน ากว างขนาดเล็กที่สุดที่ทํางานได เสมือน เครือ่ งพิมพ สองเครือ่ งในเวลาเดียวกัน ด วยถาดใส ขนาด ใหญ ถงึ A3 และทีใ่ ส กระดาษม วนได ตงั้ แต ขนาด A4 - A1 พร อมเทคโนโลยีหวั พิมพ แบบใหม ทชี่ ว ยให ผลิตงานพิมพ คุณภาพได เต็มที่ในต นทุนที่เป ยมประสิทธิภาพ ในอัตรา การพิมพ อยูท ี่ 1.7 บาทต อหน า จึงจัดการงานพิมพ ขนาด ใหญ ได ในราคาที่ไม แพง Hewlett Packard (Thailand) Ltd.

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth S625

ตระกร าหวาย เป นผลิตภัณฑ หัตถกรรมที่มีความประณีต สวยงาม ไม ก รอบแตกหั ก ง า ย ซั ก ล า งทํ า ความสะอาดได ไม เกิดเชื้อรา ไม ทําลายธรรมชาติ และไม เกิดมลภาวะ ต อสิ่งแวดล อม บริษัท ไทยพลาสติกแฮนดิคราฟท จํากัด www.tph.co.th ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth F218

ตู ดับเพลิง ยี่ห อ Focus ทางเลือกใหม ของตู เก็บอุปกรณ ดับเพลิง ซึ่งฉีกดีไซน สี่เหลี่ยมแบบเดิมๆ เป นตู ดับเพลิงแบบ Knockdown 6 ชิ้น รูปแบบทันสมัย ด วยแนวคิด Fillet Box Concept ที่โดดเด น สวยงาม เหมาะกับทุกอาคารและทุกสถานที่ C.E. CraftsmanCo.,Ltd ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth C712

เครื่องพิมพ ภาพระบบ UV LEF-20 เป นเครื่องพิมพ UV ที่พิมพ ออกมาเป น 3 มิติ พิมพ ได 5 สี คือ C, M, Y, K และ White Gloss สามารถเลือก พิมพ สีมันวาว (Gloss) หรือสีด าน (Matte) ได หมึกพิมพ เป น ECO UV รุ นใหม ทําให ทนการขีดข วน ทนแดด ทนฝน หมึกแห งด วยหลอด UV LED Lamps ที่ปลอดภัย และทนทาน ประหยัดพลังงาน สามารถตรวจสอบสถานะ ของเครื่องพิมพ โดยไม ต องอยู ใกล เครื่องโดยการแจ งผ าน ทางโทรศัพท เคลื่อนที่หรือทางอีเมล MBA International Co.,Ltd. www.inkjetoutdoor.com ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth L102

137


แผ นฝ าที-บาร กันร อน ISURATE เป น ฝ า เพดานกั น ความร อ นที่ ผ ลิ ต จากโฟม PIR ชนิดไม ลามไฟ ทําให มีประสิทธิภาพสูงในการป องกัน ความร อนจากภายนอกสู ภายในอาคาร ช วยประหยัด ค าไฟฟ า ทนทาน และช วยซับเสียง เหมาะสําหรับงาน ฝ าเพดานอาคาร สํานักงาน โรงงาน ฯลฯ Bangkok Intergrated Trading Co.,Ltd. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth D602

ราวบันไดและบันไดสําเร็จรูป ผลิ ต ภั ณ ฑ ร าวบั น ไดสํ า เร็ จ รู ป ราวกั น ตกสํ า เร็ จ รู ป บันไดสําเร็จรูป ลูกกรงบันไดสําเร็จรูป ภายใต แบรนด “DECORA” ที่ผ านการคัดเลือกวัตถุดิบ กระบวนการ ผลิต การคัดแยกคุณภาพ ตลอดจนการประกอบชิ้น ส วนต างๆ จนมาเป นสินค าสําเร็จรูปจากโรงงานที่มี มาตรฐานสูง ทําให การประกอบติดตั้งทําได ง าย สะดวก รวดเร็ว งานสวยงาม มีคุณภาพมาตรฐานสูง งานเสร็จ ภายใน 1-2 วัน DECORA

ฉากกั้นอาบน้ํา Duscholux รุ น Nexus ได รับการออกแบบให บานพับสามารถปรับระดับขึ้น-ลง ได เมื่อเป ดป ดบานประตู มีพลาสติกกันน้ําตลอดแนว ยาวป องกันการรั่วซึม และป ดประตูด วยแถบแม เหล็ก กันน้าํ ใช เทคโนโลยีการต อมุมกระจกด วย UV Bonding พร อมกับกระจกนิรภัย เคลือบ Glass Shield ที่ช วย ลดสิ่งสกปรกที่ยึดเกาะผิวกระจก ง ายต อการทําความ สะอาด เป นมิตรต อสิ่งแวดล อม มีให เลือกทั้งแบบหน า ตรงและแบบเข ามุม Duscholux (Siam) Co.,Ltd. www.duscholux.co.th

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth F101/1

138

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth C613

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth S605

ประตูหน าต างอลูมิเนียม AB&W คือตัวแทนจําหน ายอลูมิเนียมระดับพรีเมี่ยม สําหรับระบบประตูอลูมิเนียมและหน าต างอลูมิเนียม สําหรับที่อยู อาศัย อาคารพาณิชย คอนโดมิเนียม และ อาคารสู ง ซึ่ ง ตอบโจทย ทุ ก ความต อ งการของการ ออกแบบ ทัง้ ด านความสวยงาม และคุณสมบัตดิ า นการ รับแรงลม การกันน้ํา ฯลฯ เป นผลิตภัณฑ ที่ครอบคลุม และหลากหลาย และมีคุณภาพมาตรฐานสูง บริษัท เอบี แอนท ดับบลิว อินโนเวชั่น จํากัด

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth D211

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth D218

PENTENS E-610TR Clear Epoxy เป นสูตรอีพ็อกซี่ใสที่ทํางานโดย 2 องค ประกอบ มีสาร ตัวทําละลายน อย มีความมันวาวสูง โปร งใส ไม มรี อย ต อ ทนทานต อสารเคมีป องกันการกัดกร อน ง ายต อการ ทําความสะอาดและการบํารุงรักษา ตัวสารสามารถปรับ ระดับด วยตนเอง และยังวาดลวดลายบนพื้นผิวหรือติด สติ๊กเกอร รูปภาพได ตามต องการ ก อนการลงอีพ อกซี่ ใสทับหน าพื้นผิว บริษัท เพ็น เท็นส จํากัด

Aluminium Sheet K-Roof วัสดุมงุ หลังคารูปแบบใหม โดยใช อะลูมเิ นียมเกรดพิเศษ ภายใต แบรนด K-Roof มีน้ําหนักเบา ป องกันความร อน จากหลังคาได ดี ไม เป นสนิม หรือผุกร อน จึงทําให มีอายุ การใช งานยาวนาน ประหยัดพลังงานและทรงคุณค า อย างแท จริง Porn Prom Metal PLC.

ตู รับจดหมาย ตู รับจดหมายแนวคิดใหม ด านนวัตกรรมที่ครบถ วนการใช งาน ด วยระบบสี Polyester Powder Coating และ PVDF ทนทานต อสภาพอากาศ และมี UV Protection ป องกันสี ซีดจางจากแสงแดด มีระบบกุญแจล็อคป องกันเอกสารถูก ขโมย แข็งแรงทนทาน และมีอายุการใช งานยาวนาน มีกว า 30 แบบ และหลากสีให เลือกเพื่อให เหมาะกับบ านทุกหลัง ตามสไตล BOX & CO Co.,Ltd. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth F714/1

ประตูม วนใหญ พิเศษ เหมาะสําหรับติดตั้งเป นประตูโรงงาน มีขนาดความ กว างมากกว า 8 เมตรขึ้นไป และไม มีเสากลางระหว าง ประตู ใช เทคนิคพิเศษในการเชื่อมต อเหล็กหนา และ การติดตัง้ ทีม่ กี ารวัดระดับเทีย่ งตรงแม นยําเพือ่ ให รบั น้าํ หนักประตู ที่มากถึง 1-3 ตันได ช วยลดการสึกหรอของ องศาประตูขึ้นลงขณะทํางาน ด วยความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ มากกว า 30 ป จึงมั่นใจได ว ามีมาตรฐาน และความปลอดภัยสูงสุด V.C Autoshutter Co.,Ltd. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth D204/1

กระจก NEXGLASS ด วยนวัตกรรมการสร างพื้นผิวและลวดลายที่มีมิติการ มองแบบ 3 มิติ ทั้งแบบนูน ต่ํา หรือแบบที่มีผิวสัมผัส เสมือนจริง จึงทําให วสั ดุเพือ่ ใช สาํ หรับงานตกแต งภายใน เช น กระจกใส เทมเปอร กระจกเงา กระจกลามิเนต และ วัสดุใสต างๆ จึงไม ได เป นเพียงวัสดุธรรมดาอีกต อไป Morionext Co.,Ltd. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth 107/1


HomeXpert Motion Sensor รุ น MS-01” เป นสวิทซ ไฟแบบจับความเคลือ่ นไหว เพียงเดินผ านไฟก็ ติดขึ้นทันที และไม ต องป ดเพราะจะดับได เอง เหมาะกับ พืน้ ที่ที่ไม ต องการเป ดไฟทิ้งไว เช น ทางเดิน โถงบันได หรือบริเวณที่ชอบลืมป ดไฟ ติดตั้งง ายทําเองได สามารถ เป ด/ป ดแบบ ทั้งโหมด Auto และ Manual ได ด วย มีไฟ แสดงสถานะ รูปแบบสวยงาม ใช งานง าย พื้นที่ตรวจจับ 110 องศา ระยะ 4 เมตร จากตัวเซ็นเซอร มีบริการรับ ติดตั้ง และบริการหลังการขายครบวงจร บริษัท โฮมเอ กซ เพิร ท เอเชีย จํากัด www.homexpert.asia

วัสดุการออกแบบและการก อสร าง ผลิตภัณฑ ของอิโนแอ็ค ได แก ยาง พลาสติก ยูรเี ทน วัสดุ สังเคราะห เครื่องจักรสําหรับก อสร าง เครื่องใช ไฟฟ า ภายในบ าน เฟอร นิเจอร ฯลฯ ถูกปรับให สอดคล องกับ ชีวิตประจําวันของคุณ ด วยการรวมกันของวัสดุที่โดด เด นไม เหมือนใคร และเทคโนโลยีชั้นนํา ที่พร อมจะนํา เสนอชีวิตที่สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น INOAC (Thailand) Co., Ltd. www.inoacthai.co.th ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth D626

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth 709/1

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth L802

ASA RESIN ROOF วั ส ดุ มุ ง หลั ง คาที่ ผ ลิ ต จาก ASA resin (Acrylicstyrene-acrylonitrile) ซึ่งเป นการรวมกันของสารสอง ตัว คือ Styrene-acrylonitrile Copolymer และ Acrylic Rubber ทนทานต อสภาพแวดล อมได ดี น้ําหนักเบา ไม เ ป น สนิ ม กั น ความร อ นจากภายนอก ทนทาน ต อสารเคมี เช น กรดหรือด าง ไม บดิ งอเมือ่ โดนความร อน สีคงทนถาวรได นานหลายป Ritthana Multitrade Co.,Ltd.

โปรแกรมเสริมช วยงานเขียนแบบ เป น โปรแกรเสริ ม ช ว ยเขี ย นแบบโครงสร า งสถาป ต ย คํานวณโครงสร าง ถอดแบบประมาณราคา BOQ คํานวณ แรงลมแผ นดินไหว Microsoft Project และเขียนเเบบ 3D ใน Sketch Up สําหรับสถาปนิก วิศวกร ช างเขียนแบบ ที่เขียนแบบด วย AutoCAD 2007 ขึ้นไป Paracon Construction Co.,Ltd. www.quickdesign09.com

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth F212/2

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth C706

เครื่องปรับอากาศ EUROKLIMAT เครื่องปรับอากาศ EUROKLIMAT (EK) ได แก Heat Recovery Chiller, Heat Pumps & Hot Water Chiller, Cost Control Unit และ Applied Airside เป นผลิตภัณฑ ประหยัดพลังงานทีม่ คี ณ ุ ภาพในอิตาลีและ ทั่วโลก เหมาะสําหรับใช ในโรงแรม, อาคารสํานักงาน, โรงพยาบาล, โรงเรียน, ศูนย แสดงสินค า ฯลฯ Siamtemp Co.,Ltd. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth C705

SWINGJET หัวฉีดแบบ 360 องศา ด วยระบบฉีดเคมีตรงจากจุดศูนย กลางฉีดจึงทําให แนว คานทุกด านได รับเคมีอย างทั่วถึง โดยหัวฉีดมีขนาดใหญ ถึง 3 มิลลิเมตร แต ละหัวจะมีสายต อตรงจากป มเข าสู หัว ฉีดในแบบเข าหนึ่งออกหนึ่ง ทําให มีแรงดันสม่ําเสมอและ สูงพอที่จะกระจายเคมีสู ทุกด านของคานทุกครั้ง และไม อุดตันจากการแห ง การแข็งตัว หรือการจับเป นผลึกของ สารเคมี ใช สายเคมีชนิดพิเศษที่มีความยืดหยุ น ทนทาน ช วยป องกันการแตกขาดจากแรงดันทีส่ งู และการกัดกร อน จากสารเคมีได King Service Center Co.,Ltd.

ไม เทียม Graintech เป นผลิตภัณฑ ไม สังเคราะห หรือไม เทียมที่มีส วนผสม ระหว างโพลิเมอร พลาสติกและผงไม เข าด วยกัน ให ความ รู สึกเหมือนไม จริง เป นมิตรต อธรรมชาติ ทนทานต อ แสงแดด และสภาพภูมิอากาศ ทนต อปลวกและแมลงที่ เป นศัตรูของไม เหมาะสําหรับงานภายนอกและภายใน KITAMURA UMC (THAILAND) ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth F114/1

ZleepSleep หมอนขนห านเทียม ผลิตภัณฑ หมอนขนห านเทียม จะช วยให คุณได นอนหลับ อย างมีความสุขตลอดทั้งคืน กับความนุ มที่รองรับตาม น้ําหนักศีรษะ และไม รวมตัวกันเป นก อนให ต องมานั่งตบ หมอนให เรียงตัวสวยเหมือนเดิม ให ทุกคืนเป นคืนที่ฝ นดี และตื่นมาอย างสดชื่น Finest Intergroup Co.,Ltd. www.ZleepSleep.com ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth P403/3

เครื่องพิมพ Canon รุ น iPF605 มีประสิทธิภาพการพิมพ ยอดเยี่ยม (33 วินาที พิมพ ขนาด A1 ในโหมด Draft) ใช งานร วมกับแอพพลิเคชั่น CAD โดยเฉพาะ รองรับรูปแบบไฟล CAD ไม วา จะเป น HP-GL/2 HP RTL และใช งานได งา ยด วยแผงควบคุม LCD มีลกั ษณะ เป นภาพกราฟฟ กเคลื่อนไหวสามารถเรียกใช งานได อย าง รวดเร็ ว มี รูป ทรงกะทัด รั ด และเสี ยงไม ดั ง สามารถนํ า iPF605 ไปวางในทุกพื้นที่ได อย างง ายดาย Canon Marketing Co.,Ltd. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิก ,57 Booth L306 139


DM HOME à»Ô´μÑÇâ¤Áä¿ BOURGIE DM HOME เป ดตัว “BOURGIE LAMP KARTE” เนื่องในป แห งการ ครบรอบ 1 ทศวรรษ ของโคมไฟที่ มี เ อกลั ก ษณ โ ดดเด น และเป น หนึ่ ง ใน สิ น ค า ยอดนิ ย มตลอดกาลของ Kartel โดยโคมไฟ BOURGIE ถื อ เป น ของประดับบ านชิ้นเลิศ บวกกับสีสันที่สดใสสะดุดตา ช วยให สามารถมิกซ และแมชท เข าได กับแทบจะทุกมุมในบ านเพื่อสร างสีสันแห งความสุขในยาม ค่ําคืน สนใจสอบถามรายละเอียดและชมสินค าได ที่ DM HOME ทองหล อ 19 และโชว รูม DM HOME ชั้น 3 สยามพารากอน

¡ÅØ‹Á䷤͹ ËÇÁ»ÅÙ¡»Ð¡ÒÃѧà·ÕÂÁ ¤×¹¸ÃÃÁªÒμÔÊÙ‹ãμŒ·ŒÍ§·ÐàÅ วีรพันธ พูลเกษ กรรมการผู จัดการ บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จํากัด (มหาชน) และ ปธาน สมบูรณสิน กรรมการผู จัดการ บริษัท ไทคอน โลจิ ส ติ ค ส พาร ค จํ า กั ด พร อ มด ว ยพนั ก งานจิ ต อาสาร ว มแรงร ว มใจ ปลูกปะการังเทียม ในโครงการ “ปลูกปะการังคืนธรรมชาติสู ใต ท องทะเล” ณ หาดสอ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี

140

ÇÕ.àÍçÁ.¾Õ.«Õ. ÃѺ͹ØÁÑμÔʹѺʹعÊÔ¹àª×èͨҡ ¸.¡Ãا෾ à¾×è;Ѳ¹Òâ¤Ã§¡ÒÃÃдѺäÎà͹´ ปริญญา เธียรวร ประธานเจ าหน าที่บริหาร บริษัท วี.เอ็ม.พี.ซี. จํากัด ลงนามสัญญาร วมกับ ทัฬห สิริโภคี ผู ช วยผู จัดการใหญ ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ในสัญญาสนับสนุนสินเชื่อเพื่อการพัฒนา บริษัทฯ ครั้งที่ 2 วงเงิน 1,300 ล านบาท รวม 2 ครั้ง จํานวน 3,100 ล านบาท สําหรับใช ในการลงทุนพัฒนาโครงการในต างจังหวัด รวมถึง โครงการทีอ่ ยูอ าศัยระดับไฮเอนด ของบริษทั ทีก่ าํ ลังจะเกิดขึน้ ในอนาคต อีกหลายโครงการ

¾Ä¡ÉÒÏ ¨ÑºÁ×Í ¡ÒûÃлҹ¤ÃËÅǧ ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃãËŒºÃÔ¡Òà §Ò¹Ãкº»ÃÐ»Ò ทองมา วิจติ รพงศ พนั ธุ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) และ ธนศักดิ์ วัฒนฐานะ ผู ว าการประปานครหลวง ลงนามในบันทึก “โครงการร วมมือศึกษา และพัฒนาการให บริการ ประจําป 2557” โดยมีวัตถุประสงค เพื่อ ร ว มกั น พั ฒ นาการให บ ริ ก ารงานวางท อ ประปาในโครงการต า งๆ ของพฤกษาฯ ที่ตั้งอยู ในเขตพื้นที่ให บริการของการประปานครหลวง ให มีประสิทธิภาพสูงสุด


͹ѹ´ÒÏ Áͺà§Ô¹ÊÌҧºŒÒ¹ãËŒ¼ÙŒ´ŒÍÂâÍ¡ÒÊá¡‹ÁÙŹԸԷÕèÍÂÙ‹ÍÒÈÑ (»ÃÐà·Èä·Â)

áʹÊÔÃÔ ¨ÑºÁ×ͺØÞÃÍ´ ¼ÅÔμ¹éíÒ´×èÁ “áʹÊÔÃÔ-ÊÔ§Ë ” ÃѺÃͧÅÙ¡¤ŒÒã¹·Ø¡â¤Ã§¡ÒÃ

เมื่อเร็วๆ นี้ ชานนท เรืองกฤตยา ประธานเจ าหน าที่บริหาร และกรรมการ ผู จัดการใหญ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม นท จํากัด (มหาชน) ลงนามในบันทึก ข อตกลงความร วมมือโครงการเพื่อพัฒนาที่อยู อาศัยให ผู ด อยโอกาสในสังคม ร วมกับ ดวงกมล สมสินสวัสดิ์ ประธานเจ าหน าที่บริหาร มูลนิธิที่อยู อาศัย (ประเทศไทย) ภายใต โครงการ “คุณได บ าน = คุณให บ าน” ซึ่งเป นโครงการ ด าน CSR ที่บริษัทฯ ร วมเป นส วนหนึ่งในการตอบแทนสังคม โดยการมอบเงิน เพื่อสนับสนุนการจัดสร างบ านพักอาศัยที่แข็งแรงและปลอดภัย จํานวน 4 หลัง ให กับชาวบ านในชุมชนร วมใจสามัคคี อ.บ านค าย จ.ระยอง

บริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน) ร วมกับ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จํากัด จัดทําน้ําดื่มคุณภาพ ภายใต แบรนด “แสนสิริ-สิงห ” สําหรับรับรอง ลูกค าของแสนสิริครอบคลุมทั้งกรุงเทพฯ และต างจังหวัด ซึ่งเป นหนึ่ง ในการใส ใจทุกรายละเอียด ในการคัดสรรสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ให แก ลกู ค าแสนสิริ ได ดมื่ น้าํ ธรรมชาติทมี่ คี ณ ุ ภาพและผ านการฆ าเชือ้ ด วยโอโซนและรังสียวู ี จนได รั บ การรองรั บ มาตรฐานจากสากล บรรจุ ใ นขวดพลาสติ ก ขนาด 330 ลบ.ซม. พร อมเสิร ฟในทุกโครงการของแสนสิริแล ว

¤³ÐÊ×èͨչàÂÕèÂÁâç§Ò¹ÍÕàŤâ·ÃÅÑ¡« ¨.ÃÐÂͧ äÍÃÔÊ ¡ÃØ » Áͺ⪤ãËŒÅÙ¡¤ŒÒ â¤Ã§¡Òà ´Ô äÍÃÔÊ ºÒ§ãËÞ‹ กิตติพงษ สุมานนท ประธานเจ าหน าที่บริหาร บริษัท ไอริส กรุ ป จํากัด จัดงาน Grand Opening เป ดตัวโครงการ ดิ ไอริส บางใหญ พร อมจัดโปรโมชั่นพิเศษ จองเพียง 5,000 บาท รับทันที ชุดครัว พร อมตู เสื้อผ า BUILT-IN และเครื่อง ปรับอากาศ โดยสําหรับลูกค าทีจ่ องและทําสัญญาภายในงานได สทิ ธิล์ นุ รับทองคํา ซึ่งผู โชคดีได รับรางวัลทองคํา คือ บวรลักษณ กาญจนพัฒนา นอกจากนี้ได จัด กิจกรรมให ลูกค าได ร วมสนุกอีกมากมาย

เมือ่ เร็วๆ นี้ โทมัส เจมส เบลล ผูจ ดั การทัว่ ไปฝ ายโรงงาน บริษทั อีเลค โทรลักซ ประเทศไทย จํากัด ให การต อนรับคณะสือ่ ชัน้ นํา ด านโฮมช อปป ง จากเซี่ยงไฮ เอสเอ็มจี-ซีเจ โฮมช อปป ง ในการเดินทางเข าเยี่ยมชม โรงงานเครื่องซักผ า อีเลคโทรลักซ จังหวัดระยอง โรงงานผลิต เครื่องซักผ า ที่ใหญ ที่สุดในเอเชียแปซิฟ ค

141


ÊÂÒÁÅÇ´àËÅç¡Ï ¤ÇŒÒÃÒ§ÇÑŪ¹ÐàÅÔÈ TATA Innovista 2014

ÂÔ»Ãͤ ¨Ñ´¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÃЪѺ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡Ñº¾Ñ¹¸ÁÔμÃ

ชอง เป ก ฮุง กรรมการผู จัดการ บริษัท สยามลวดเหล็กอุตสาหกรรม จํากัด นําทีมพนักงานคว ารางวัลชนะเลิศจากการประกวดนวัตกรรมด านการผลิต ประเภท Promising Innovations (Core Process) ในโครงการประกวด TATA Innovista 2014 ระดับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟ ก ณ โรงแรม เดอะวอเตอร ฮับ ออดิทอเรียม ประเทศสิงคโปร จากผลงาน Recyclable Rope Sling in PC Strand Production Line พร อมเป นตัวแทนของกลุ มบริษัท ทาทา ในประเทศไทย ไปร วมแข งขันรอบสุดท าย ณ ประเทศอินเดีย ต อไป

บริษัท ไทยผลิตภัณฑ ยิบซั่ม จํากัด (มหาชน) ผู ผลิตนวัตกรรมยิปซัม คุณภาพสูงภายใต แบรนด “ยิปรอค” นําโดย ปธพัฒน ถือสัตย ผูจ ดั การ ฝ ายขาย จัดงาน “PC Seminar 2014” เพื่อกระชับความสัมพันธ อันดี ระหว างทีมงานยิปรอค กับพันธมิตรร านค าชั้นนําจากทั่วประเทศไทย ผ านงานสัมมนากิจกรรมสันทนาการและการท องเทีย่ วร วมกันในสถานที่ สําคัญ ณ จังหวัดนครปฐม

ÍÔà¡ÕÂ à»´Ô μÑÇ “¤ÍÅàŤªÑ¹è ªÒ·ÐàÅ” ¹íÒºÃÃÂÒ¡ÒȪÒÂËÒ´ÊØ´ªÔÅ ÁÒäÇŒ·Õ躌ҹ

ÍѤê â«‹Ï à»Ô´μÑÇÊÕÂŒÍÁäÁŒ ¤ÔÇ»ÃÕâ¹Å 2 ÊÙμûÃѺ»ÃاãËÁ‹ à¹ÃÁÔμ¾×é¹äÁŒ ãËŒà§Ò§ÒÁÂÒǹҹ¡Ç‹Òà´ÔÁ

อิเกีย เป ดตัว “คอลเลคชั่นชายทะเล” ที่นําความรู สึกในช วงเวลาดีๆ เมื่อเราอยู ริมทะเลมาไว ในบ านในช วงซัมเมอร ด วยเฟอร นิเจอร และของแต งบ านที่มอบ ความสว างสดใสและความสนุกสนานภายในบ านของคุณ ได แก ของแต งบ าน รุ นลีเซล (LISEL) อย างหมอนอิง ปลอกหมอน ผ าห ม และพรมลวดลายแบบ ชายทะเล อาหารทะเล เพิ่มความโดดเด นด วยสีฟ า แดง และขาว รวมถึง ของตกแต ง รุ นซูลวินเดน (SOLVINDEN) อย างโคมไฟพลังงานแสงอาทิตย รูปทุน ลอยน้าํ และสนุกกับรูปอาหารทะเลบนถาดอาหาร รุน เบวิสต า (BEVISTA) ตลอดจนบนกระดาษเช็ดปากและผ าปูโต ะ รุ นซูลฟ นท (SOLFINT)

บริษัท อัค๊ โซ โนเบล เพ นท ส (ประเทศไทย) จํากัด แนะนําสีย อมไม แบรนด “คิวปรีโนล” 2 สูตรปรับปรุงใหม ที่จะช วยเนรมิตพื้นไม ให มี ความเงางามได ยาวนานกว าเดิม และทนต อทุกสภาวะอากาศ ได แก คิ ว ปรี โ นล วู ด สเตน สี ย อ มไม ช นิ ด เงา, กึ่ ง เงา และคิ ว ปรี โ นล เดคกิ้งสเตน สีย อมไม กึ่งโปร งแสงชนิดด านที่เหมาะสําหรับการทา พื้นไม มีจําหน ายแล ววันนี้ที่ร านค าตัวแทนจําหน ายสีใกล บ านคุณ หรือข อมูลเพิ่มเติมที่เว็บไซต www.dulux.co.th

142



ÃÈ.ÁÒ¹¾ ¾§È·Ñμ

อาจารย ผู ทรงคุณวุฒิ ประจําภาควิชาเคหการ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย È.´Ã.ºÑ³±Ôμ ¨ØÅÒÊÑ Í.ªÇ¾§È ªíÒ¹Ô»ÃÐÈÒʹ

อดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ป พ.ศ.2541-2543 และ กรรมการผู จัดการ บริษัท สํานักงานสถาปนิกทวีธา จํากัด

อาจารย ผู ทรงคุณวุฒิ อดีตคณบดี คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย และทีป่ รึกษาบริษัท สถาปนิกจุลาสัย จํากัด

¼È.´Ã.¨μØÇѲ¹ ÇâôÁ¾Ñ¹¸

LEED AP, TREES FA อาจารย ป ระจํ า คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละการผั ง เมื อ ง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร และผู จั ด การศู น ย วิ จั ย นวั ต กรรม เทคโนโลยีสงิ่ แวดล อมสรรค สร าง ผูเ ชีย่ วชาญทางด านอาคารเขียว และเกณฑ การประเมิน LEED

¤Ø³ÇÊÑ¹μ ¤§¨Ñ¹·Ã

กรรมการผู จัดการ บริษัท โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ คอนซัลแตนท จํากัด

¼È.³Ñ°¸Ã ¸ÃÃÁºØμÃ

อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต และ Creative Director บริษัท Aesthetic Architect จํากัด และอาจารย พิเศษในหลายสถาบัน ¼È.ÃѪ´ ªÁÀÙ¹Ôª ¤Ø³Ë¹Öè§Ä·Ñ ¤Ò·ØÊà«¿Ê¡Õé

จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และปริญญาโทจากคณะการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง อดี ต นั ก Marketing ที่ป จจุบันผันตัวเองมาเป นนักเขียนและนักแปลอิสระ ให กับนิตยสารและบริษัทต างๆ ´Ã.ÊؾԪªÒ âμÇÔÇÔªÞ

อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณบดีคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จบการศึกษาด าน การออกแบบจาก คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ป จ จุ บั น ดํ า ร ง ตํ า แ ห น ง Director of Technical Marketing ที่ Wisdom ¤Ø³Íê ¡ÃÐáÊÍÔ¹·Ã Consulting and Solution Co.,Ltd.

¤Ø³¡Äɳ ¹Ò¤ÐªÒμ

144

Head of IT Department จากบริษัท สถาปนิก 49 จํากัด อดี ต หนุ ม สถาปนิ ก ที่ ค น พบสิ่ ง ที่ ตั ว เองรั ก และสนใจทางด า น คอมพิ ว เตอร เ พื่ อ การออกแบบ สถาป ตยกรรม


BUILDER MAGAZINE Product Knowledge Provider Questionnaires ชาย ช วงอายุ 20-24 ป

หญิง 25-34 ป

อาชีพ ________________________________________ 35-44 ป

45-60 ป

60 ป ขึ้นไป

ท านมีความสนใจในด านใดมากที่สุด โดยให ใส ลําดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน อย 5) การออกแบบและก อสร าง อสังหาริมทรัพย โครงการหรืออาคารที่น าสนใจ ข าวสารการก อสร าง วัสดุก อสร าง การบริหารจัดการอาคาร นวัตกรรมเทคโนโลยี อนุรักษ พลังงานและเพื่อสิ่งแวดล อม ไลฟ สไตล และการท องเที่ยว ข าวแวดวงในวงการต างๆ ท านมีความสนใจในสินค า ผลิตภัณฑ ประเภทใดมากที่สุด โดยให ใส ลําดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน อย 5) Lighting Innovation & Technology Door & Window Roofing Wall Covering Floor Covering Wooden Glass Steel & Metal Natural & Recycle Content Security & BAS ท านชอบอ านคอลัมน ประเภทไหน เชิงวิชาการ ที่ประกอบด วยเนือ้ หาสาระ แหล งข อมูลในด านต างๆ เชิงเกร็ดความรู ที่เป นเนื้อหาสาระทั่วไป ไม เน นเชิงวิชาการ เชิงแนะนําโครงการที่น าสนใจ เชิงไลฟ สไตล ที่เน นท องเที่ยว พักผ อน หรือการใช ชีวิต เชิงคู มือ ที่เป นเรื่องของการให คาํ แนะนําและให คาํ ปรึกษา เชิงปฏิบัติ ที่เน นการเล าหรือแชร ประสบการณ โดยตรง แบ งป นให กับผู อ าน จํานวนความยาวหน าที่เหมาะสมสําหรับการอ านของท าน ประมาณ 1 หน า ประมาณ 2-3 หน า ประมาณ 4 หน า ประมาณ 6-8 หน า ในนิตยสารท านมีความสนใจในคอลัมน ใดมากที่สุด _____________________________________________ หากมีการจัดทํา Application Multi-media ภาพเคลื่อนไหว ร วมในคอลัมน เพื่อนําเสนอข อมูลเพิ่มเติม ท านอยากให มีในคอลัมน ใดมากที่สุด ________ ___________________________________________________________ คําแนะนํา / ความคิดเห็น ________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________________________ _________________________________ โดยผู ที่ร วมตอบคําถาม 100 ท านแรกจะได รับ เสื้อโปโล งานสถาปนิก ’57 คนละ 1 ตัว โปรดให ทอี่ ยู ที่ติดต อ และส งกลับมาที่ โทรสาร 02-186-6741 หรือที่ www.builderclick.com ชื่อ – นามสกุล (ตัวบรรจง) ______________________________________________________________________________________________ อีเมล _________________________________________________________________________________________________________________ ทีจ่ ดั ส งของรางวัล________________________________________________________________________________________________________

145


ควันหลง จากงานแสดงเทคโนโลยีกอ สร างทีย่ ง่ิ ใหญ “สถาปนิก’57” พบกับ สินค าทีช่ นะการประกวดรางวัลนวัตกรรม และผู ชนะการประกวดการออกแบบบูธ ภายในงาน พบกับคอลัมน สัมภาษณ นกั ลงทุนและผูบ ริหาร บริษทั ภิรชั บุรี จํากัด และ ผลงานการออกแบบบูธทีน่ า สนใจ ภายในงานสถาปนิก’ 57 เนื่องจากข อผิดพลาดในเนื้อหาฉบับเดือนเมษายน คอลัมน UPDATE IT ในส วนข อมูล Video Conferencing Services จึงขอแก ไขข อมูลดังกล าว ดังนี้

InterCall Unified Meeting ด วยชื่อแล วบอกตรงว าเพิ่งเคยได ยินครับ แต ความนิยมมาอันดับต นๆ อย างนี้ก็แสดงว า ต องมีอะไรดีแน นอน ค าบริการก็เริ่มที่ $59 ต อโฮส ต อเดือน รองรับการใช งานบน Windows, Mac แต ไม รองรับการใช งานบนโมบาย อ าวเป นข อเสียอันใหญ หลวงมากครับ สําหรับยุคนี้ การใช งานทั่วไปที่น าสนใจก็คือ สามารถแชร ตารางเวลาของ Microsoft Outlook ได วาดรูปบนหน าจอ และสร างโพลล ง ายๆ ได ครับ ดูเหมือนจะเหมาะกับกลุ ม ประชุมเล็กเท านั้น แถมค าใช จ ายก็เท าๆ กับเจ าอื่นแท ๆ YouTube: https://www.youtube.com/watch?v=O6RO01RvhMQ InterCall: http://www.intercall.com/

146




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.