นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 50 เดือนมกราคม 2556

Page 1

Energy#50_Cover Out_Pro3.indd 1

12/22/12 9:48 AM


§ |¤ ï | oo §rÓ : Cooling Tower, T Air Washerr Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condenserss

¤ s ¤| Ö ¤l {yÖ p i | 54/15-17 s } ~ o Ö i o¤ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th

Energy#50_Cover in_Pro3.indd 1

12/22/12 11:17 AM


Energy#50_p03_Pro3.indd

1

12/20/12

11:38 PM

เครองทดสอบการติดตั้งและบำรุงรักษา

ระบบเซลลแสงอาทิตย

ครบถวนตามมาตรฐาน MCS และ IEC 62446

Seaward PV 150

ตรวจวัดคุณสมบัติของแผงโซลารเซลล วัด Insulation, Voc, Isc,c,, Power

สสำหรบการดู สำหรั บการดู แลสถานี ไฟฟฟาพลั ำหรบการดู การดแลสถานี ลสถานไฟฟ ลสถานไฟฟาพลงแสงอาทตย ลสถานไฟ พลงั แสงอาทิ แสงอาทติ ยย Energy Energgy ffrom rom m LLight ight

Fluke 435-II

ตรวจวัดประสิทธธิ​ิภาาพของ พของ อินเวอรเตอรจากระบบ DC Generator Gennerator เทียบกับ AC Output Switchyard Inverter and and Transformer Transforrmer

DDCC GGenerator enerrator

Fluke Ti27

ววัดั คคา อุอณ ุ หภู หภมู ิแผงโซล ผงโซลา เซลล เซลล ตรวจหาจุ ดเสอมของแผง ตรว วจหาจดเ เสอมของแผง วัดไดจากระยะไกล รวดเร็ว และปลอดภัย

Fluke 1627

ตรวจวัดระบบกราวด จากแผงโซล จากแผง งโซลาเซลล ถึงอาคารที่ติดตั้งอินเวอรเตอร

Seaward PV150 สามารถทดสอบประสิทธิภาพ

การติดตั้งระบบเซลลแสงอาทิตยไดภายใน 4 ขั้นตอน

ทำงานงาย ปลอดภัย คลองตัว

กระเปาเดียวจบ ตรงตามขอกำหนด

IEC62446 และ MCS MIS3002

1. Solar Site-Survey ตรวจสอบพลังงานที่ตกกระทบแผงเซลลแสงอาทิตย 2. Commissioning Test ตรวจสอบคุณสมบัติและประสิทธิภาพของระบบ เชน Earth Continuity, Polarity, PV String Open Circuit, PV String Short Circuit, Array Installation Resistance, PV String Operation Current 3. System Document บันทึกขอมูล รวมทั้งการจัดการดานขอมูล 4. Performance Maintenance & Diagnostics การตรวจสอบประสิทธิภาพ ของระบบในระยะยาว รวมทั้งการบำรุงรักษาตามเวลา

สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 085-489-3461 chaleomphorn@measuretronix.com บรษิทั เมเชอรโทรนกิซ จำกดั

2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวงัทองหลาง กรงุเทพ 10310 โทร. 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001, 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com

www.measuretronix.com/solar-test


Contents

Issue 50 January 2013

26 18

What’s Up 10 Energy News 64 Energy Around The World 72 Energy Movement

Cover Story 18 Cover Story : ISO 50001 อีกกาวหนึ่งของการจัดการพลังงาน อยางเปนระบบวิกฤติพลังงานเปนประเด็นที่ทั่วโลกใหความสําคัญ เนื่องจากตนทุนพลังงานปจจุบันปรับตัวสูงขึ้นและมีแนวโนมที่พลังงาน จะหมดลง จึงมีความจําเปนที่จะตองมีระบบการจัดการพลังงานที่มี ประสิทธิภาพเพื่อใหควบคุมการใชพลังงานในองคกรเกิดประโยชนสูงสุด 22 Cover Story : เทรนดอุปกรณประหยัดพลังงานที่ยังมาแรงในป 56 96 Special Report : นํ้ามันแกสโซฮอล E85 พลังงานทดแทนเพื่ออนาคต 100 Special Report : เทศกาลออกแบบบางกอก (Bangkok Design Festival) ในแนวคิด “ART IN THE CITY” Interview 38 Energy Keyman : คุณสลิบ สูงสวาง ไฮโดรเท็คฯ ผูนําดานระบบนํ้า พรอมขยายการลงทุน 38 …เรงการเติบโตอยางยั่งยืน 41 Energy Keyman : ดร.นพพร ประโมจนีย ลดใชพลังงานใหมากทีส่ ดุ แตตอ งไมกระทบตอการปฎิบตั งิ าน 80 Energy Concept : กะเทาะไอเดียเยาวชน “คายเพาเวอรกรีน 7” สานฝนเยาวชน สูนักอนุรักษหัวใจเขียว

41

High Light 14 Energy Focus : “พลังงาน” ตัวแปรสําคัญขับเคลื่อนสู ประชาคมอาเซียน 32 Energy Best Award : ชนะเลิศสิง่ ประดิษฐดา นพลังงาน โครงการ PTT Youth Camp 2012....ตอยอดสูน วัตกรรม ดานพลังงาน 46 Residential : สัมผัสอากาศหนาว ที่ บอเกลือ วิว รีสอรท.... รีสอรทที่เนนความพอเพียง 67 Energy Tezh : เทคโนโลยีการขับขี่ที่เหนือกวาแหงอนาคต 70 Energy Test Run : Honda JAZZ HYBIRD ไฮบริดนาคบ... ราคาสบายกระเปา 83 Energy In Trend : LNG-Liquefied natural gas เสริมรากฐานความมั่นคงพลังงานไทย 86 Energy Exhibit : “MOTOR EXPO 2012” ครั้งที่ 29 มหกรรมยานยนตสงทายนโยบายรถคันแรก 91 Insight Energy : ระดมความเห็นอัตรารับซื้อไฟฟา สูนโยบายสงเสริมพลังงานแสงอาทิตย Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 51 Greee4 U : Bio Great เอนไซมจากจุลินทรียธรรมชาติ 55 Greenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทคและ การรีไซเคิลเพื่อโลก 88 Energy Loan : มาตรการเงินสนับ สนุน รอ ยละ 20 แกสถานประกอบการในโครงการสงเสริมวัสดุและอุปกรณ เพื่อการอนุรักษพลังงาน

46

4 l January 2013

Energy#50_p04,06_Pro3.indd 4

12/22/12 3:51 AM


Energy#50_p05_Pro3.ai

1

12/20/12

11:45 PM

กลองถายภาพความรอนมืออาชีพ

ที่ทนทานตอการใชงานระดับอุตสาหกรรม ภาพตัวอยางการใชงานอุตสาหกรรม

Drop Test 2 เมตร มั่นใจได้ในความ ทนทาน

ตรวจวัดของเหลวในถังเก็บ มีระดับต่ำกวาปกติ

ความรอนสูงผิดปกติ ที่มอเตอรไฟฟา

ความรอนสูงเกินที่แบริ่ง จากปญหาติดตั้งและการหลอลน

กระแสบางเฟสสูงผิดปกติในแผง สวิตซเกียรของไฟฟา 3 เฟส

ฉนวนกันความรอนหมดสภาพ ระบบปรับอากาศตองทำงานหนัก

ความชื้นในผนัง ฝาเพดาน ใตพรมทำใหเกิดเชื้อราและผุกรอน

จุดรั่วไหลของแอร เชน ซีลดขอบ ประตูปดไมสนิทหรือชำรุดเสียหาย

ปญหาพื้นดาดฟาอาคารเกิดการซึม น้ำอิ่มตัว โครงสรางเสียหายบางสวน

ภาพตัวอยางการใชงานดานอาคาร

Fluke Ti125, Ti110, Ti105 สำหรับงานอุตสาหกรรม Fluke TiR125, TiR110, TiR105 สำหรับงานอาคาร Fluke Ti100 สำหรับงานทั่วไป ใชเซ็นเซอร VOx (Vanadium Oxide) ที่มีใชใน เครองระดับสูง ขนาดเซ็นเซอร 160x120 FPA (Focal Plane Arrays) ใหภาพอุณหภูมิที่ละเอียด แมนยำทุกจุดภาพ คา NETD (Noise Equivalent Temperature Difference) ต่ำ แยกความแตกตางอุณหภูมิแมเพียงเล็กนอยไดดีเยี่ยม ระบบโฟกัส IR-OptiFlexTM คมชัดทุกระยะ (รุน Ti125, Ti110) บันทึกวีดีโอภาพความรอนได (รุน Ti125, Ti110) ซอนภาพความรอนกับภาพถายปกติไดที่ตัวกลอง ใชงานงายดวยมือเดียว ควบคุมสั่งการไดทุกฟงคชั่น ทนทานสูง ใชงานไดในทุกสถานการณอยางไรกังวล

สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 085-489-3461, คุณธีระวัฒน 081-555-3877, คุณจิรายุ 083-823-7933

บรษิทั เมเชอรโทรนกิซ จำกดั

2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวงัทองหลาง กรงุเทพ 10310 โทร. 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001, 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com

www.measuretronix.com/power-thermal


Contents

Issue 50 January 2013

Industrial & Residential 24 Tools & Machine : LED Solar-Infrared Sensor Flood Light โคมไฟแอลอีดีจากพลังงานแสงอาทิตย 26 Green Industrial : “ไทยวาโก” มุง มัน่ อนุรกั ษพลังงาน....สูก ารเปน โรงงานสีเขียว 30 Saving Corner : ลดตนทุน ดวยเทคโนโลยีสะอาดเพออนาคต รูจ กั ระบบบําบัดนาํ เสียดวยพลังงานแสงอาทิตย (Wastewater Treatment by Solar Energy) โดย: ทนงศักดิ์ วัฒนา ที่ปรึกษางานวิศวกรรมออกแบบ เครองจักรกล บริษัท ไทยเวิรค เอ็นจิเนีย 44 Energy Design : Net-zero energy house บานประหยัดพลังงานลาํ สมัย...เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม 48 Energy management : การติดตามและประเมินผลการจัดการ พลังงานภายในองคกร (Internal Energy Auditor) ตอนที่ 1 Transportation & Alternative Energy 68 Vehicle Concept : TATA Megapixel ซิตี้คารพลังงานไฟฟา 78 Green Logistics : ทบทวนความคิดกรีน โลจิสติกสรับป 2013 โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก 84 Renergy : วิ เ คราะห แ ผน AEDP เชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพ 40 ลานลิตรตอวัน.....ใช! หรือเพียง White Lie Policy! โดย.คุ ณ พิ ชั ย ถิ่ น สั น ติ สุ ข : ประธานกลุ ม อุ ต สาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย Environment Protection 54 Green Vision : ปตท. เปดโครงการตนแบบ zero waste แหงแรกในไทย 58 Green Space : เมืองสวย นําใส ไรมลพิษ

54

68

60 62

64

Environment Alert : โลกเปลี่ยน: ทะเลเปลี่ยน โดย : คุณรัฐ เรืองโชติวทิ ย นักวิชาการสิง่ แวดลอม ชํานาญการพิเศษ กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม Environment Alert : ทําอยางไร…ใหคนไทยไมทําราย สิ่งแวดลอม โดย คุณศันสนีย กีรติวิริยาภรณ เลขาธิการสมาคม พัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม 0 waste idea : มารูจ กั กับโครงการจัดการนาํ เสียแบบ Zero Discharge เพอการนํานํากลับมาใชใหมสําหรับอาคารสูง ในภูมิภาคเขตรอน โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการ หนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํานํา กลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยางเพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : D.I.Y. นารักๆ จากขวดนาํ พลาสติก 89 Environment & Energy Legal : การขนสงกาซธรรมชาติ ทางทอมาตรฐานสูก ารเปลีย่ นแปลง 102 Life Style : ตะลุยพัทยากับสยามกลการ 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : คิดวิเคราะห... อยางมีสติ 106 Event & Calendar

6 l January 2013

Energy#50_p04,06_Pro3.indd 6

12/22/12 3:51 AM


Energy#50_p07_Pro3.ai

1

12/20/12

11:58 PM


Editors’ Talk สงทายปเกาตอนรับปใหม สนุกสนาน ชื่นมื่น กันถวนหนา ไดเวลาหันหนากลับมาลุยงานสูชีวิตกันเหมือนเดิม กองบรรณาธิการ Energy Saving ขออวยพรใหคุณผูอานทุกทานกาวยางสูปใหม ดวยความสุข ความสดใส และความแข็งแรงทั้งกายใจ พรอม ๆ กับกาวยางที่มั่งคงและสวยงามในอาชีพการงานและธุรกิจกิจการของ ทุกทานจากใจทีมงาน Energy Saving ทุกคน แตะมื อ รั บ หน า ที่ ดู แ ลคุ ณ ผู  อ  า นต อ จาก รมว. (เรามาวุ  น ) ทานกอน ถึงแมทีมงานจะเปลี่ยนหนาเปลี่ยนตาไปบางตามวัฏจักร ของชีวิต แตสิ่งหนึ่งที่ไมมีวันเปลี่ยนแปลงแนนอนคือ สาระประโยชน อันเขมขนที่อัดแนนอยูในนิตยสารที่ทุกทานกําลังถืออยูในมือฉบับนี้ กองบรรณาธิการขอเกี่ยวกอยยึดมั่นในสัญญานี้ตลอดไป หวังใจวา คุณผูอานที่นารักทุกทานจะติดตามและอยูเปนเพื่อนสนิทของนิตยสาร Energy Saving ตอไป วกมาเขาเรื่ อ งประหยัดพลั งงานหลั กใหญใจความของพวก เรากันบางดีกวา วากันวาใน ป 2556 นี้จะเปนปที่ทุกประเทศทั่วโลก ตื่นตัวหันมาใหความสนใจเรื่องพลังงานทดแทนจากแหลงพลังงาน อื่น ๆ นอกเหนือจากพลังงานเชื้อเพลิงอยางนํ้ามันกันอยางครึกโครม ตัวอยางที่เห็นไดชัดคือ ซาอุดิอาระเบีย หนึ่งในประเทศมหาอํานาจที่ กุมบังเหียนผลิตนํ้ามันปอนตลาดโลกที่จะเริ่มดําเนินการปฏิวัติดาน พลั ง งานทดแทนเพื่ อ เปลี่ ย นแปลงเศรษฐกิ จ ของประเทศจากการ สงออกนํ้ามันเปนหลักมาเปนพลังงานแสงอาทิตยแทน นี่คือโครงการ ที่ มี ก ารลงทุ น มู ล ค า มหาศาลกว า 560,000 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ เมื่อแลวเสร็จจะสามารถผลิตพลังงานจากพลังงานแสงอาทิตยได จํานวนมหาศาลเพื่อสงตอไปยังทวีปยุโรปในอนาคต เรื่องของพลังงานทดแทนไมใชเรื่องที่จะพูดกันลอย ๆ เพื่อความ โกเกอีกตอไปแลว แตเปนเรื่องที่ทุกประเทศควรจะหันมาใหความสนใจ อยางจริงจังขนาดประเทศที่เขาผลิตนํ้ามันใชไดเองยังเริ่มลงทุนดวย เม็ดเงินมหาศาลเพื่อสรางแหลงพลังงานแหงใหมเตรียมเสียบแทนที่ นํ้ามันที่กําลังนับถอยหลังกอนหมดไปจากโลกกลม ๆ ใบนี้ เห็นที ประเทศไทยคงตองรอนๆ หนาวๆ รีบศึกษาวิจัยเรื่องพลังงานทดแทน ใหจริงจังและเปนรูปธรรมมากขึ้น จะไดมีแหลงพลังงานไวใชเปนของ ตัวเอง ไมตองเดือดรอนไปยืมจมูกคนอื่นเขาหายใจเชนทุกวันนี้

คณะผูจัดทํา

กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

ผูจัดการฝาย

จิตตพันธ เหมวุฒิพันธ

หัวหนากองบรรณาธิการ ปยะนุช มีเมือง

กองบรรณาธิการ นัษรุต เถอนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร เดชรัช นุชพุม วรรณวิภา ตนจาน

เลขากองบรรณาธิการ เจริญรัตน วงศสุวรรณ

นักศึกษาฝกงาน

จีรภา รักแกว สุภัจฉรา สวางไสว ตองฤทัย เมืองนก อัจจิมา สอศรี

ผูจัดการแผนกโฆษณา รัตนาพร ออนศรี

แผนกโฆษณา ฐานิดา มารคส

การเงิน

แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม

วีรเมธ เหลาเราวิโรจน

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ปยะนุช มี​ีเมื​ือง หัวหนากองบรรณาธิการ zorau123@hotmail.com

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรองในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8 l January 2013

Energy#50_p08_Pro3.indd 8

12/22/12 3:55 AM


Energy#50_p09_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

12/22/12

4:00 AM


Energy News

กกพ. มอบรางวัล “การประกวดปฏิบัติการรณรงค 84 หองเรียน”

นายพรเทพ โชตินชุ ติ ผูอ าํ นวยการฝายกลยุทธและสอสารองคกร สํานักงาน คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน แถลงขาวความสําเร็จพรอมมอบรางวัลใน “โครงการ 84 หองเรียน สํานักงาน กกพ. อนุรักษพลังงานเฉลิมพระเกียรติ เปดมิตใิ หมการรณรงคอนุรกั ษพลังงานทีเ่ ขาถึงชุมชนอยางไดผล” ณ หอประชุมเล็ก ศูนยวฒ ั นธรรมแหงประเทศไทย

ฮอนดา เปดตัวอีโคคาร 4 ประตู

นายพิ ทั กษ พฤทธิ ส าริ กร รองประธานอาวุ โ ส บริ ษัท ฮอนด า ออโตโมบิ ล (ประเทศไทย) จํากัด ประกาศเปดตัว บริโอ อเมซ รถยนตอีโคคาร ซีดาน 1.2 ลิตร ใหม จากฮอนดา อยางเปนทางการในไทยเปนประเทศแรกในเอเชีย ตอยอดอีโคคาร รุนที่ 2 ของฮอนดา เปนผลสําเร็จจากการทํางานรวมกันระหวางวิศวกรชาวญี่ปุนและวิศวกรชาว ไทย ณ ศูนยวิจัยและพัฒนารถยนตฮอนดาประจําภูมิภาคเอเซียแปซิฟก

มาสดา เปดแผนพัฒนารถยนตแหงอนาคต

มร. มาซาฮิโระ โมโร เจาหนาที่บริหารระดับสูง มาสดา มอเตอร คอรปอเรชั่น ประเทศญี่ ปุ น เผยนวั ต กรรมการออกแบบยานยนต ม าสด า แห ง อนาคตครั้ ง แรก ในประเทศไทย ภายใตแนวคิดการออกแบบโคโดะ ดีไซนสูยนตรกรรมรถตนแบบคันแรก “มาสดา ชินาริ” (Mazda SHINARI) เพอเปนตนแบบในการออกแบบรถเจนเนอเรชัน่ ใหม ๆ ที่กําลังจะเปดตัวในอนาคต

10 l January 2013

Energy#50_p10-13_Pro3.indd 10

12/22/12 2:54 AM


มอบถนนรอยยิ้ม

นายวุฒกิ ร สุรยิ ะฉันทนานนท ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญอาวุโส บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด พรอมดวย นายชยพล ธิตศิ กั ดิ์ รองผูว า ราชการจังหวัด อุดรธานี รวมเปนประธานในพิธสี ง มอบถนนตนแบบแหงความปลอดภัย “โครงการถนนแหง รอยยิ้ม” แกเทศบาลนครอุดรธานี ในโครงการปรับปรุงถนนใหปลอดภัยใน 5 ภูมิภาค ของประเทศไทย โดยเริม่ สงมอบทีภ่ าคอีสานเปนแหงแรก

พพ. เปดโครงการแกสโซฮอลE85 กระตุน การใชพลังงาน ทดแทน

นายอํานวย ทองสถิตย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน เปนประธานในพิธีเปดโครงการพลังงาน ทดแทนสําหรับการใชนํามันแกสโซฮอล E85 จากพืชเศรษฐกิจสําหรับยานยนต โดยความรวมมือระหวาง มหาวิทยาลัยนอรทเชียงใหม และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี เพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ณ มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ ตําบลหนองแกวอําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม

สนพ. มอบรางวัลประกวด “แผนประหยัดพลังงาน ในชุมชนของเรา”

นายสุเทพ เหลีย่ มศิรเิ จริญ ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)กระทรวงพลังงานจัดประกวดแผนประหยัดพลังงานในโครงการ “Energy Planning Gang” สําหรับนอง ๆ ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 4-6 ทัว่ ประเทศ โดยทีมชนะเลิศ ได แ ก “โรงเรี ย นพุ ท ธชิ น ราชพิ ท ยา” ได รั บ ทุ น การศึ ก ษา 60,000 บาท พรอมโลเกียรติยศ เมอวันที่ 7 ธันวาคม 2555 ณ หองประชุม 2 ชั้น 2 สํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) January 2013 l 11

Energy#50_p10-13_Pro3.indd 11

12/22/12 2:54 AM


เมืองสวย นําใส ไรมลพิษ

นายปรีชา เรงสมบูรณสุข รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล อ ม เป น ประธานจั ด งานวั น สิ่ ง แวดล อ มไทย และวั น อาสาสมั ค รพิ ทั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหมูบานแหงชาติ ภายใตแนวคิด “4 ธันวาคม วันสิง่ แวดลอมไทย รวมทําเมืองไทยใหเขียวสดใสถวายพอหลวง : เมืองสวย นาํ ใส ไรมลพิษ เพียงกินอยู รูค ดิ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม” เมอวันที่ 4 ธันวาคม 2555 ณ อาคารคอนเวนชัน่ เซ็นเตอร ศูนยการแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี

พีทีจี เผยโฉมปมพีทีภาพลักษณ ใหม

บริษทั พีทจี ี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) หรือ PTG ผูใหบริการสถานีบริการนาํ มัพที ี เปดตัวสถานีบริการนํามันพีทีภาพลักษณใหมสาขาแรก ณ ถนนสายเอเชีย อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา พรอมเปดตัวรานกาแฟ “พันธุไ ทย” และรานมินมิ ารท “แมกซ มารท” เพออํานวยความสะดวกลูกคาแบบครบวงจร โดยตัง้ เปาขยายสาขาเต็มรูปแบบ 10-20 สาขา ภายใน 1-2 ปนี้ ดวยการยกระดับมาตรฐานการบริการ และมีระบบการตรวจสอบมาตรฐาน เต็มลิตร รวมถึงการควบคุมคุณภาพนํามัน

สศอ.พาสอเยีย่ มชมโรงงานดานิล่ี

บริษัท ดานิล่ี จํากัด เปดโรงงานใหสอมวลชนเขาเยี่ยมชมเครองจักรและ ชิ้นส่วนอุปกรณ์เครื่องจักรสําหรับอุตสาหกรรมผลิตเหล็ก ใช้เงินลงทุนกว่า 6,000 ลานบาท เปนศูนยกลางดานวิศวกรรมการออกแบบและผูผ ลิตเครองจักร สําหรับอุตสาหกรรมผลิตเหล็กที่ใหญทส่ี ดุ นอกจากนัน้ ทางบริษทั ฯ ยังรับปรับปรุง เทคโนโลยีในการผลิตของโรงงานเก่า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ปรับปรุง คุณภาพสินคา ลดตนทุนพลังงาน และยังลดปญหาผลกระทบดานสิง่ แวดลอม

12 l January 2013

Energy#50_p10-13_Pro3.indd 12

12/22/12 2:55 AM


สศอ. จับมือ TGI ผุดนวัตกรรม

สศอ. รวมกับ สถาบันไทย - เยอรมัน ผุดนวัตกรรมภายใตแผนแมบทในโครงการ พัฒนาเครองจักรกลตนแบบสําหรับอุตสาหกรรมแปรรูปไมสกั เพอพัฒนาผูป ระกอบการ ใหมศี กั ยภาพดานการผลิตและลดตนทุนการผลิต รองรับสถานการณการแขงขันในตลาด นอกจากนั้นเครื่องจักรกลต้นแบบยังช่วยลดต้นทุนการผลิต ระยะเวลาในการผลิต และยังตอบสนองความตองการของผูป ระกอบการไดอยางเปนรูปธรรม

อบก. จับมือ ทีมวิจยั จัดสัมมนาฟงความเห็นลดกาซเรือนกระจก

องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) หรือ อบก. รวมกับ ศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จัดการสัมมนาเพอรับฟงความคิดเห็นในประเด็นตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการพิสจู นผลประโยชนรว ม ในมิติด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐศาสตร์ และสังคม จากการดําเนินโครงการเพื่อลด กาซเรือนกระจกภาคพลังงานและการจัดการขยะ เพอนําขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ ไปใช ปรับปรุง และแก้ ไขการศึกษาให้มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้น เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 55 ณ หองดอนเมือง 1 โรงแรมอมารี ดอนเมือง กรุงเทพฯ

มทร.ธัญบุรี คิดคนบล็อกปูพน้ื อุณหภูมติ าํ ระบายนาํ

ทีมวิจยั คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ธัญบุรี ประกอบดวย วาทีร่ อ ยโทกิตติพงษ สุวโี ร, นายประชุม คําพุฒ, นายธวัชชัย อริยะสุทธิ และนางสาวเดือนเต็ม ทิมายงค คิดคน “บล็อกปูพน้ื อุณหภูมติ าํ ระบายนาํ ได” คุณสมบัตเิ ดน สามารถระบายนาํ ลงสูด า นลางไดรวดเร็ว นาํ ไมขงั ไมเกิดตะไคร มีอณ ุ หภูมทิ ผ่ี วิ หนาตาํ กวาบล็อกปูพน้ื ทัว่ ไป 1-7 องศาเซลเซียส เมอเทียบกับวัสดุ ปูพน้ื ชนิดอน ๆ ทีม่ จี าํ หนายตามทองตลาด ประหยัดพลังงานไดถงึ รอยละ 10 เมออุณหภูมิ ลดลงไป 1 องศาเซลเซียส January 2013 l 13

Energy#50_p10-13_Pro3.indd 13

12/22/12 2:55 AM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

“พลังงาน” ตัวแปรสําคัญ

ขั บ เคลื่อ นสู่ป ระชาคมอาเซี ย น

ใกลเขามาทุกทีกบั การทีจ่ ะเรียกประเทศไทยวาเปนประเทศสมาชิก ประชาคมอาเซียน หรือ AEC อยางทีร่ กู นั วา การกาวเขาสู AEC ไมใชเรือ่ ง งายอยางทีเ่ รา ๆ ทาน ๆ หรือผูใ หญในบานเมืองคาดฝนหากไมมกี าร เตรียมการรับมือทีเ่ พียงพอ นัน่ ก็เพราะนานาประเทศทีเ่ ขารวม ลวนมี จุดแข็งจุดออนทีต่ า งกัน การเตรียมความพรอมเพือ่ รับมือจึงเปนเรือ่ ง ทีม่ คี วามสําคัญอยางยิง่ โดยเฉพาะการเตรียมความพรอมดาน “พลังงาน” ความกังวลเกีย่ วกับการเตรียมความพรอมในการรับมือดานพลังงาน ของประเทศ สงผลใหหลายฝายที่มีความเกี่ยวของตองออกมาระดม สมองเพื่อถกปญหาดานพลังงานเตรียมพรอมรับมือการกาวเขาสู AEC ซึ่งหนวยงานที่เกี่ยวของกับพลังงานโดยตรงอยางกลุม ปตท. จึงรวมกับ ศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ระดม นักวิชาการ พรอมผูแทนองคกรเศรษฐกิจพลังงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่เกี่ยวของรวมเสวนานโยบายเศรษฐกิจพลังงานสงทายป โดยมีประเด็น ที่ น  า สนใจเกี่ ย วกั บ การวิ เ คราะห น โยบายเศรษฐกิ จ พลั ง งานของ ประเทศไทย หลังเขาประชาคมอาเซียนจะยังคงสถานการณมีพลังงานใช

อยางเพียงพอภายในประเทศ หรือพลังงานอาจไมพอใชในอนาคตขางหนา เนื่ อ งจากในป จ จุ บั น ความต อ งการใช พ ลั ง งานภายในประเทศเพิ่ ม ขึ้ น อยางตอเนือ่ ง ภาครัฐจึงตองเตรียมรับมือในการปรับนโยบายดานพลังงาน ใหสอดคลองกับสถานการณเศรษฐกิจทีม่ กี ารแขงขันสูงขึน้ ดร.คุรจุ ติ นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน เปดเผยวา การปรั บ ตั ว ของภาคอุ ต สาหกรรมพลั ง งานและประชาชนคนไทยเพื่ อ เตรี ยมพร อ มสู  ประชาคมอาเซี ยน สิ่ ง สําคั ญที่ ต  องเรงทํ าความเข าใจ คือ การสรางองคความรู พรอมปลูกฝงแนวคิด ทัศนคติ และพฤติกรรม ในการบริโภคพลังงานใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ดานของอุตสาหกรรม พลั ง งานเองก็ จ ะต อ งแสวงหาแหล ง พลั ง งานใหม รวมถึ ง การหา พลั ง งานทดแทน ตลอดจนหาพลั ง งานประยุ ก ต ป ระเภทอื่ น ๆ เข า มาทดแทน ในขณะที่ ภ าคประชาชนที่ เ ป น ผู  บ ริ โ ภคพลั ง งานก็ ต  อ ง รูจักประหยัดและใชพลังงานอยางคุมคา เพื่อใหประเทศของเราสามารถ แข ง ขั น และช ว ยลดช อ งว า งทางเศรษฐกิ จ กั บ ประเทศคู  แ ข ง อื่ น ๆ ในประชาคมอาเซียนได

14 l January 2013

Energy#50_p14,16_Pro3.indd 14

12/21/12 9:32 AM


Energy#50_ad Trane_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

12/22/12

4:05 AM


ดานผูที่เกี่ยวของและนักวิชาการตางลงความเห็นวา การกาวเขาสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศไทยในป 2558 พรอมการเปดเสรี ทางการคาจะกอใหเกิดการเคลือ่ นยายสินคาและบริการ ตลอดจนการลงทุน และแรงงานไดอยางเสรีมากขึน้ แนนอนวาการเปดการคาเสรียอ มเปนผลดี ตอเศรษฐกิจไทยโดยรวม แตก็จะทําใหเกิดการแขงขันที่สูงขึ้นระหวาง ประเทศสมาชิกในอาเซียน เพื่อเปนฐานการผลิตสินคาและบริการในภูมิภาค โดยเฉพาะความมั่นคงดานพลังงาน ทัง้ นี้ ประเทศไทยถือเปนประเทศนําเขาพลังงานสุทธิทสี่ งู เปนอันดับสอง ของภูมิภาครองจากสิงคโปร โดยมีปริมาณการนําเขาพลังงานขั้นตน อยูที่ประมาณ 1.15 ลานบารเรลตอวัน และมีสัดสวนการบริโภคพลังงาน ที่ไมมีประสิทธิภาพอยูในระดับที่สูงกวาอัตราเฉลี่ยของประเทศอื่นเมื่อเทียบ กับรายได เนือ่ งจากการดําเนินนโยบายอุดหนุนราคาพลังงานในประเทศของ รัฐบาลที่มีมาอยางตอเนื่องและยาวนาน หากการอุดหนุนราคาพลังงานใหอยูในระดับตํ่ายังคงดําเนินอยู ก็เทากับวาการอุดหนุนนั้นจะแปรสภาพจากการอุดหนุนประชากรภายใน ประเทศไทยจํานวน 60 ลานคน เปนการอุดหนุนประชากรอาเซียนทั้ง 600 ลานคนแทน ยิ่งทําใหประเทศไทยตองเผชิญหนากับปญหาการขาดแคลน พลังงานที่รวดเร็วกวาเดิมไดในอนาคต

การดําเนินนโยบายดานพลังงานของภาครัฐบาล ภายใตแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดดันยุทธศาสตรการจัดหาพลังงานเพื่อ ความมัน่ คงของประเทศใหไดภายใน 15 ป แผนสงเสริมการใชพลังงานสะอาด แผนเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน และแผนสงเสริมการวิจยั และพัฒนา ดานพลังงานอยางตอเนื่อง ขณะที่ภาพรวมราคานํ้ามันดิบและเชื้อเพลิง เหลวมีราคาสูงขึน้ ประกอบกับประเทศไทยมีแนวโนมการใชพลังงานทีส่ งู ขึน้ อยางตอเนื่องทุกภาคสวน ไมวาจะเปนภาคอุตสาหกรรมและภาคขนสง ที่มีสัดสวนการใชพลังงานรวมกันสูงถึงกวา 70% และภาคสวนอื่น ๆ ใชพลังงานรวมกันอีกประมาณ 30% ของการใชพลังงานขั้นสุดทาย ทั้งประเทศ ซึ่งประเทศไทยไดนําเขาพลังงานชนิดตาง ๆ ทั้งไฟฟา ถานหิน กาซธรรมชาติ นํา้ มันสําเร็จรูป และนํา้ มันดิบ เพือ่ รองรับการใชงานภายในประเทศ งานนี้ “โหรพลังงาน” เห็นชอบตามนักวิชาการวา แนวโนมสถานการณ พลั ง งานและผลกระทบต อ ภาคธุ ร กิ จ หลั ง การเข า สู  AEC จะเกิ ด ขึ้ น อย า งแน น อน หลั ก ใหญ ใ จความก็ ม าจากป ญ หาการแข ง ขั น ที่ สู ง ขึ้ น ซึ่งพลังงานเปนปจจัยหลักดานการผลิตของภาคอุตสาหกรรม และเปน ตัวแปรสําคัญที่จะถูกนํามาใชในการแขงขันของประเทศ สิ่ ง ที่ ภ าครั ฐ ไม อ าจนิ่ ง ดู ด ายคื อ การวางแนวทางในการ ปรั บ โครงสร า งราคาพลั ง งานที่ เ หมาะสมเพื่ อ รองรั บ การเข า สู  AEC ในอนาคต พร อ มทั้ ง เร ง บริ ห ารจั ด การพลั ง งานเพื่ อ การ ใชพลังงานอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ โดยอาจจะตองนํารอง นโยบายเร ง ด ว นในการสนั บ สนุ น พลั ง งานทดแทนหรื อ พลั ง งาน ทางเลื อ กที่ น  า สนใจ เพื่ อ รองรั บ การขาดแคลนพลั ง งานหลั ก ในอนาคต ตลอดจนเตรี ย มมาตรการรั บ มื อ และแนวทางในการ เตรียมความพรอมตอ AEC ของภาครัฐและภาคเอกชนในอนาคต

16 l January 2013

Energy#50_p14,16_Pro3.indd 16

12/20/12 3:04 AM


9Z$IS;OT9V7D

Energy#48_p56_Pro3.indd 56

10/20/12 3:38 AM


Cover Story โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ISO 50001 อีกกาวหนึ่ง

ของการจัดการพลังงานอยางเปนระบบ

วิ ก ฤติ พ ลั ง งานเป น ประเด็ น ที่ ทั่ ว โลกให ค วามสํ า คั ญ เนื่ อ งจากต น ทุ น พลังงานปจจุบันปรับตัวสูงขึ้นและมีแนวโนมที่พลังงานจะหมดลง จึงมีความ จําเปนที่จะตองมีระบบการจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพเพื่อใหควบคุมการใช พลังงานในองคกรเกิดประโยชนสงู สุด ซึง่ ทีผ่ า นมาโดยสวนใหญแลวองคกรจะให ความสําคัญกับการจัดการตนทุนดานอื่นมากกวา เชน วัตถุดิบ ยอดขาย แตเมื่อ ราคาพลังงานสูงขึน้ ทําใหองคกรตางๆ หันมาควบคุมการใชพลังงานในองคกรให มีประสิทธิภาพมากขึ้น จากปจจัยดังกลาวทําใหองคกรระหวางประเทศหลายๆ องคกรทีเ่ กีย่ วของ กับ สิ่ ง แวดล อมและพลั ง งานต า งหามาตรการแลว กําหนดขึ้น มารองรับ กับ ภาวะโลกที่เปลี่ยนแปลงไป อยางเชน องคกรระหวางประเทศวาดวยมาตรฐาน (International Organization for Standardization : ISO) ไดมองถึงปญหา ที่กลาวมาขางตนจึงจัดทํามาตรฐาน ISO 50001 ซึ่งเปนมาตรฐานระบบการ จัดการพลังงานใหองคกรตางๆ ไดนําไปใช เพื่อชวยควบคุมและลดคาใชจายดาน พลังงาน รองรับกับวิกฤติดา นพลังงานและลดการสงผลกระทบตอภาวะโลกรอน ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน โดย ISO 50001 นั้นไดเริ่มประกาศใชมาตั้งแตป 2554 และในป 2555 กระทรวงอุตสาหกรรมไดประกาศใช มอก.50001-2555 ระบบการจัดการ พลังงาน รวมถึงออกขอกําหนดและขอแนะนําในการใชสมทบเสริมออกมา ใหองคกร เพื่อใหองคกรตางๆมีแนวทางพัฒนาระบบการจัดการพลังงาน ไดสะดวกขึ้น แตในปจจุบันการไดรับรองมาตรฐาน ISO 50001 นั้นยังมีไม มากเนื่องจากยังเปนมาตรฐานใหมที่องคกรสวนใหญเพิ่งเริ่มศึกษาถึงเรื่องนี้ ซึง่ คาดวาในปนจี้ ะเริม่ เห็นองคกรตางๆ ทัง้ กลุม ธุรกิจและกลุม โรงงานอุตสาหกรรม ใหความสําคัญ และไดรับรองมาตรฐาน ISO 50001 กันมากขึ้น

สําหรับประโยชนและหลักการของ ISO 50001 อาจารยวลั ลภ เรืองดวยธรรม ผู  เ ชี่ ย วชาญ และ ที่ ป รึ ก ษา ระบบการจั ด การพลั ง งานตามกฎ กระทรวงฯ / ISO 50001 และ ผูจัดการฝายพลังงาน บริษัท มิตรเทคนิ คัลคอนซัลแทนท จํากัด ที่มีประสบการณมากวา 4 ปในการชวยองคกรตางๆ ดําเนินการพัฒนาระบบฯดังกลาว ไดถายทอดประสบการณใหวา ประโยชนของ การพัฒนาระบบ ISO 50001 สามารถมองไดทงั้ ประโยชนตอ องคกร ตอพนักงาน ตอโลก ซึ่งสามารถสรุปเปนประเด็นๆไดดังนี้

อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา ระบบการจัดการพลังงาน Email : wonlop@mitr.com , wonlop.r@gmail.com

18 l January 2013

Energy#50_p18-21_Pro3.indd 18

12/22/12 2:24 AM


ประโยชนตอองคกร

• เกิดการจัดการพลังงานอยางเปนระบบ ซึ่งหมายถึงทราบสภาพการ ใชพลังงานของตนเอง รูว า จะจัดการหรือควบคุมพืน้ ทีใ่ ดทีใ่ ชพลังงานสูงหรือเกิน คาทีก่ าํ หนด จนเปนผลใหเกิดการวางแผนในการปรับปรุงโดยการสรางมาตรการ ตางๆ ตอไป • เกิดดัชนีชี้วัดสมรรถนะขององคกร (Company Performance Indicator) ในดานพลังงาน เพิ่มขึ้นใหกับองคกร นอกเหนือจากดัชนีชี้วัดอื่นๆ ที่ ผูบริหารมีอยูแลว เชน ดานการเงิน ดานยอดขาย ดานบุคลากร เปนตน ซึ่งดัชนี ชี้วัดสมรรถนะดานพลังงาน (Energy Performance Indicator ; EnPI) นี้ จะเขา มามีบทบาทในการที่ผูบริหารสามารถใชติดตามการปฏิบัติตางๆ ของทั่วพื้นที่ที่มี การใชพลังงานในการควบคุมและจัดการการใชพลังงานไดเปนอยางดี • เกิดการควบคุมการปฏิบัติงาน (Standard Operation Control ; SOP) ในเครือ่ งจักร/อุปกรณทใี่ ชพลังงาน ซึง่ ทําใหผปู ฏิบตั งิ านทราบการควบคุม ใหเครื่องจักร/อุปกรณทํางานในสภาวะที่เหมาะสม และ สามารถเฝาติดตาม รวม ถึงปรับปรุงไดในทันที • เกิดการตรวจวัดการใชพลังงาน หรือ ประสิทธิภาพ ของเครื่องจักร อุปกรณท่สี ําคัญอยางสมํ่าเสมอ เพื่อเฝาติดตาม หรือ ควบคุมใหอยูในสภาวะที่ เหมาะสม • เกิดการยอมรับในระดับสากลเปนการเสริมภาพลักษณใหกับองคกร ในดาน CSR อีกทางหนึ่ง • เกิดการลดตนทุนดานพลังงานอยางยั่งยืน ทําใหองคกรสามารถ เปนการเพิ่มความสามารถในการแขงขันในตลาด และ เปนการเพิ่มความสามารถ ในการผลิตและบริการ • เกิดการติดตามกฏหมายที่องคกรตองปฏิบัติตามในดานพลังงาน ตางๆ อยางเปนระบบ รวมถึงการควบคุมการปฏิบัติใหสอดคลองและครบถวน ตามที่กฎหมายกําหนด • เกิดความตระหนักและมีสว นรวมในการควบคุมและอนุรกั ษพลังงานใน พนักงานทุกระดับ อันเปนผลมาจากการมีกาํ หนดดัชนีชวี้ ดั สมรรถนะดานพลังงาน เปาหมายและแผนงานตางๆ ในแตพื้นที่ที่มีการใชพลังงานอยางเปนระบบ

ประโยชนตอพนักงาน

• เกิดการฝกอบรมอยางเปนระบบทั้งดานขอกําหนด ดานเทคนิค และ ดานจิตสํานึกอนุรักษพลังงานเปนเพิ่มความรูความสามารถใหกับพนักงานที่ เกี่ยวของที่ตองปฏิบัติตามระบบจัดการพลังงานที่กําหนดเอาไว

ประโยชนตอประเทศไทยและประโยชนตอโลก

• เกิดการควบคุม การลดใชพลังงาน และ การเปลี่ยนมาใชพลังงาน รูปแบบอื่นๆ อยางเปนระบบและยั่งยืนขององคกรตางๆ ทําใหประเทศสามารถลด การนําเขาพลังงาน และเปนการเพิ่มความมั่นคงทางพลังงานอีกทางหนึ่งดวย • เกิดกลไกในการชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกเพิ่มเติมจากกลไก อื่นๆ ที่มีอยูแลว

January 2013 l 19

Energy#50_p18-21_Pro3.indd 19

12/22/12 2:24 AM


ความเขาใจมาตรฐานและขอกําหนด

ทั้งนี้ อาจารยวัลลภ ยังไดกลาวยํ้าเตือนสําหรับองคกรที่ตองการพัฒนา ระบบฯ ในสวนของความเขาใจดังนี้ สําหรับองคกรที่จะนํา ISO 50001 มาใชใน การจัดการพลังงานนั้นจะตองการความรวมมือ ความมีสวนรวมและการดําเนิน การตามขอกําหนดจากสวนสําคัญ 3 สวนคือ ผูบริหารระดับสูงตองมีความ มุงมั่นในการพัฒนาระบบ และพรอมที่จะสนับสนุนทีมงานในดานตางๆ เพื่อให บรรลุเปาหมายดานตางๆ ทีมงานดานเทคนิคตองมีความเขาใจสภาพการใช และรูจักการควบคุมพลังงาน เพื่อใหองคกรบรรลุเปาหมายดานพลังงานตางๆ และ ผูใชพลังงานในองคกร (People) ตองมีพฤติกรรมและจิตสํานึกในการ อนุรักษพลังงาน

มาตรฐานนี้ยังสามารถพัฒนาใหเชื่อมโยงกับระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑและวิธีการจัดการพลังงาน ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 เนื่องจากมีโครงสรางเหมือน กันดังภาพและตามประสบการณในงานที่ปรึกษาดานนี้ของอาจารยวัลลภนั้น ขอเตือนวาสองระบบนี้ ควรเชื่อมโยงเปนอยางยิ่ง เนนการจัดการดานเดียวกัน คือ ดานพลังงาน

พรอมกันนี้ องคกรทีจ่ ะนําระบบมาตรฐาน ISO 50001 มาใชตอ งมีการนํา การดําเนินการตาม PDCA Model มาเชือ่ มโยงเปนระบบ (System Approach) เพือ่ ใหทมี งานขององคกรทราบและสามารถปฏิบตั เิ ปนลําดับใหเปนระบบได และระบบนี้ สามารถแบงสวนการจัดการไดเปนสองสวนคือ ดานการจัดการ (Management) และดานเทคนิค (Technical) โดยแตละดานยังคงมีความเปน PDCA Model อยู ดัง ภาพ รวมถึงสามารถพัฒนาใหเชือ่ มโยงกับระบบอืน่ ได เนือ่ งจากมีหลักการของขอ กําหนดเหมือนกัน ถึงแมวาจะเนนการจัดการแตกตางดานกันก็ตาม ยกตัวอยาง เชน ISO 9001 เนนดานคุณภาพ ISO 14001 เนนดานสิ่งแวดลอม ISO 50001 เนนดานพลังงาน เปนตน โดยขอกําหนดดานการจัดการ (Management) จะเปน สวนที่สามารถพัฒนาเชื่อมระหวางระบบกันได

20 l January 2013

Energy#50_p18-21_Pro3.indd 20

12/22/12 2:24 AM


นอกจากนี้มาตรฐาน ISO 50001 ยังไดพัฒนาขึ้นมาจาก PDCA Model (Plan-Do-Check-Act) เพือ่ ตองการใหเกิด Continual improvement ดังภาพ ซึง่ เหมือนกับมาตรฐานสากลอืน่ ๆ ดังนัน้ กิจกรรมในการจัดการพลังงานขององคกร จึงถูกกําหนดไวเพือ่ ใหเปนไปตาม Model ไมวา จะเปน การวางแผน PLAN องคกร ตองมีการดําเนินการทบทวนการใชพลังงานและจัดทําดัชนีชี้วัดสมรรถนะของ องคกร (Company Performance Indicator) ในดานพลังงาน รวมถึงกําหนด แผนปฏิบัติการตางๆ ที่จําเปน เพื่อใหไดผลที่จะปรับปรุงสมรรถนะดานพลังงาน ใหเปนไปตามนโยบายพลังงานขององคกร

การปฏิบัติ DO องคกรตองนําแผนปฏิบัติการตางๆ ไปปฏิบัติ รวมถึง การควบคุมการปฏิบัติงานตางๆที่เกี่ยวของ การตรวจสอบ CHECK องคกร ตองเฝาติดตามและตรวจสอบการดําเนินการรวมถึงแผนปฏิบัติการตางๆ ที่ เกี่ยวของ รวมถึงการตรวจประเมินภายในองคกร การแกไขและปรับปรุง ACT องคกรตองดําเนินการแกไขขอบกพรองที่พบ เพื่อปรับปรุงสมรรถนะ ขององคกรดานพลังงาน ซึ่งจะทําใหระบบมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง

โดยสรุปองคกรที่ตองการนํามาตรฐาน ISO 50001 มาใชในการ พั ฒ นาระบบการจั ด การพลั ง งานนั้ น องค ก รจะต อ งมุ  ง มั่ น พั ฒ นาระบบฯ ตามมาตรฐานในเวลาที่ ว างแผนไว แ ละที ม งานต อ งมี ค วามมุ  ง มั่ น มี ค วาม เขาใจ ความรูที่เพียงพอถึงจะสามารถประสบความสําเร็จจนกระทั่งผานการ รับรองได แตสําหรับองคกรที่ตองการหรือจําเปนตองพัฒนาระบบฯ แตคิด วายังขาดความรูความเขาใจ รวมถึงจําเปนตองดําเนินการพัฒนาระบบฯให ไดตามเวลาที่มี “อาจารยวัลลภ” พรอมเขาไปชวยเติมเต็มในความตองการ ดังกลาว ทั้งในรูปแบบฝกอบรม หรือที่ปรึกษาในการพัฒนาระบบที่องคกรได และในฉบับตอไปทานผูอ า นสามารถติดตามเรื่อง ISO 50001 ไดในคอลัมน “Energy Management” ของอาจารยวัลลภไดครับ

เอกสารอางอิง

· ISO 50001Energy management systems-Requirements with guidance for use First edition 2011-06-15 Prepared by Project Committee ISO/PC 242, Energy Management · ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๔๔๑๓ (พ.ศ. ๒๕๕๕) เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ระบบการจัดการ พลังงาน - ขอกําหนดและขอแนะนําในการใชมอก.50001-2555 January 2013 l 21

Energy#50_p18-21_Pro3.indd 21

12/22/12 2:26 AM


Cover Story โดย : รังสรรค อรัญมิตร

เทรนดอปุ กรณประหยัดพลังงาน

ที่ยังมาแรงในป 56

วันเวลาผานไปเร็วเหมือนโกหก นี่ก็เริ่มตนปใหม (2556) แลว ในป ที่ผานมามีเรื่องราวดานพลังงานใหติดตามกันมากมาย และเพื่อเปนการ ตอนรับปใหมจงึ ขอนําเสนออุปกรณประหยัดพลังงานทีค่ าดวาจะไดรบั ความ นิยมในป 2556 มาอัพเดทใหทราบกัน

VSD Chiller เครื่ อ งทํ า นํ้ า เย็ น ชนิ ด ปรั บ ความเร็วรอบของคอมเพรสเซอร

เปนอีกอุปกรณหนึ่งที่ถูกพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการประหยัด พลังงาน และมีความจําเปนตอการใชงานในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคาร สํานักงานทั่วไปที่ตองการความเย็น ซึ่งการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของ Chiller โดยเครื่องทําความเย็นชนิดปรับความเร็วรอบของคอมเพรสเซอร (VSD Chiller) เปนอุปกรณทอี่ าศัยหลักการทํางานของ VFD (Variable Frequency Drive) ในการปรับความเร็วรอบของคอมเพรสเซอรมอเตอรเพื่อดูดอัดสารทําความเย็น ตามภาระโหลดที่ตองการ นอกจากนัน้ เครือ่ งทํานํา้ เย็นชนิดปรับความเร็วรอบคอมเพรสเซอร (VSD Chiller) นี้ จะมีสมรรถนะที่ Part Load ดีกวาเครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบเดิม (Centrifugal Screw Chiller) โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชงานเครื่องทํานํ้าเย็นหลายชุดพรอมกัน เพราะอาจสงผลใหภาระของเครื่องทํานํ้าเย็นที่ใชงานแตละตัวอยูที่ 30-50% ช ว ยลดสู ญ เสี ย พลั ง งานในระบบทํ า นํ้ า เย็ น ของระบบปรั บ อากาศ (Chilled water system) เปนอยางดี 22 l January 2013

Energy#50_p22-23_Pro3.indd 22

12/22/12 8:38 PM


Air Compressor

Air Compressor ยังคงเปนอุปกรณทไี่ ดรบั ความนิยมและมีความตองการ ใชงานมากขึน้ โดยการทํางานของเครือ่ งอัดอากาศ เริม่ จากดูดอากาศเขาทางทอ ลมเขา (Air Intake) เพือ่ สงเขาไปยังเครือ่ งอัดอากาศ (Air Compressor) บริเวณ ทางเขา ตัวเครือ่ งอัดอากาศจะติดตัง้ ตัวกรองอากาศ (Filter) เพือ่ กรองสิง่ เจือปน ตาง ๆ เชน ฝุน ละออง เศษใบไม ทีอ่ าจลอยมากับอากาศเพือ่ ปองกันไมใหเกิดความ เสียหายกับเครือ่ งอัดอากาศ สําหรับอากาศทีผ่ า นเครือ่ งอัดอากาศแลว จะเก็บไวใน ถังเก็บอากาศทีม่ คี วามดันสูงและมีอณ ุ หภูมสิ งู แตอณ ุ หภูมจิ ะลดตํา่ ลงดวยอุปกรณ ระบายความรอนหลังจากอัด (After cooler) กอนนําไปใชงานตอไป อากาศทีม่ คี วาม ดันสูงจะถูกสงผานจากทอจายอากาศหลัก (Supply Line) และแยกไปใชงานตามจุด ตาง ๆ ผานทอแยก (Branch) แตกอ นทีอ่ ากาศจะเขาไปยังเครือ่ งมือหรืออุปกรณตา ง ๆ เชน กระบอกสูบ หรือพูก นั ลม ตองดักและกรองสิง่ เจือปนทีม่ ากับอากาศเสียกอน แนวทางการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานในระบบอั ด อากาศที่ ใ ช ง านในโรงงาน อุตสาหกรรม สามารถทําไดโดยการลดอุณหภูมิอากาศขาเขา เพื่อชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพการทํางานความเย็น (Cooling Effect) ของอุปกรณแลกเปลีย่ นความ รอน (Intercooler) ควรปรับตัง้ ความดันลมของเครือ่ งอัดอากาศใหเหมาะสมกับการ ใชงาน และควรเลือกใชเครือ่ งอัดอากาศทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง รวมถึงการปองกันการ รัว่ ของลมจากจุดตาง ๆ จากตัวเครือ่ งอัดอากาศ และทีส่ าํ คัญคือ การบริหารการใช เครือ่ งอัดอากาศและระบบใหใชงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพนัน่ เอง

ระบบทอลม (Air Distribution System)

เปนอีกอุปกรณหนึง่ ทีใ่ ชกนั อยางแพรหลายและเปนปจจัยสําคัญในการเดิน ระบบทําความเย็น ซึ่ง ระบบทอลม นั้นเปนเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวนโดย ทัว่ ไปจะเปาลมไดไกลไมเกิน 6 เมตร หรือหากใชเครือ่ งสงลมเย็นแบบตูต งั้ แลวเปา ลมโดยตรง (Free Blow) ก็จะทําใหลมเย็นตกเปนทีๆ่ ตรงทีโ่ ดนลมเย็นเปาก็จะเย็น เกินไป นัง่ นานๆไมได สวนตรงทีไ่ มโดนลมเย็น บางบริเวณก็อาจจะไมเย็นพอ เครือ่ ง แบบนีจ้ งึ เหมาะทีจ่ ะใชเฉพาะกับบริเวณทีค่ นสัญจรไปมาไมอยูก บั ที่ ในกรณีสาํ นักงาน ทีค่ นตองนัง่ ทํางานนานๆ เชน หองประชุม, หองจัดเลีย้ ง,หองอาหาร, หองพัก ผอน หรือบริเวณทีม่ พี นื้ ทีป่ รับอากาศเปนบริเวณกวาง การกระจายลมเย็นจึง ตองอาศัยระบบทอลมในการชวยกระจายลมใหทวั่ ถึง

Solar Heat

LED (Light Emitting Diode)

ยังคงไดรับความนิยมอยางตอเนื่อง คาดวาในปนี้จะใชงานอยางแพร หลายมากขึ้น เนื่องจากราคาเริ่มลดลงแลว ปจจุบัน LED ไดถูกพัฒนาให ขามสายพันธของอุตสาหกรรม จากเดิมเริ่มจากอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิค มีหนาที่ใหแสงสวางระดับตํ่าในลักษณะสัญญาณแสง หรือแสงเพื่อแสดงสถานะ การทํางานของอุปกรณ ปจจุบันไดมีการพัฒนาความเขมของแสงใหสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนสามารถ กาวกระโดดขามมาอยูในอุตสาหกรรมไฟฟาแสงสวาง ภายใตชื่อ Solid State Lighting (SSL) ที่มีพัฒนาการสูงขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะดานประสิทธิภาพ การสองสวาง คาดวาจะเปนอีกอุปกรณหนึง่ ทีส่ ามารถเขามาแขงขันกับเทคโนโลยี แสงสวางประเภทอืน่ ไดในเวลาอันใกลนี้ ทีส่ าํ คัญยังมีแนวโนมทีจ่ ะสามารถเอาชนะ เทคโนโลยีทั่วไปที่มีใชอยูในปจจุบันไดทั้งหมด

ระบบ Solar Heat หรือระบบผลิตนํา้ รอนทีไ่ ดจากจากแสงอาทิตยซงึ่ เปนอีก ระบบทีเ่ ริม่ เห็นกันอยางแพรหลายในประเทศไทย โดยจะเห็นไดจากรีสอรทหลายแหง ทีเ่ ริม่ ใชระบบนีม้ าผลิตเปนนํา้ รอนใชภายในรีสอรทหรือผลิตอุณหภูมใิ หกบั วัตถุดบิ ทีต่ อ งการใชงาน เชน การเพิม่ อุณหภูมคิ วามรอนในอากาศ หรือการเพิม่ อุณหภูมิ ความรอนในนํา้ ซึง่ มีประโยชนในการใชงานอยางมากเนือ่ งจากเปนพลังงานทีห่ าได งายและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมรวมไปถึงชวยลดคาใชจายในดานพลังงานไดเปน อยางดี อยางเชนการเพิม่ อุณหภูมคิ วามรอนในอากาศ หรือการเพิม่ อุณหภูมคิ วาม รอนในของเหลวอยางเชนนํา้ เปนตน

January 2013 l 23

Energy#50_p22-23_Pro3.indd 23

12/22/12 3:02 AM


Tools & Machine โดย : Mr.แอ็คเกอร

LED Solar-Infrared

Sensor Flood Light หากพูดถึงพลังงานแสงอาทิตยแลวหลายคนคงนึกถึงแผงโซลาเซลล ขนาดใหญทเี่ ปนการผลิตไฟฟาในเชิงพาณิชย แตจริง ๆ แลวอุปกรณ โซลาเซลลยงั ถูกพัฒนานํามาประยุกตใชไดกบั อุปกรณอยางอืน่ อีกดวย เชน โคมไฟแอลอีดจี ากพลังงานแสงอาทิตย ทีใ่ ชตดิ ตัง้ บริเวณทางเดิน ในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม รีสอรท หรือถนนสาธารณะ โดย “โคมไฟแอลอีดจี ากพลังงานแสงอาทิตย” (LED Solar-Infrared Sensor : Flood Light) นัน้ เปนเทคโนโลยีใหมของ บริษทั ฮาโก อิเลคทริค (ประเทศไทย) จํากัด เปนผลิตภัณฑเดียวทีร่ วมเอาไวถงึ 3 นวัตกรรม สามารถ ตอบโจทยผบู ริโภคในการใชงานไดอยางลงตัวและสมบูรณแบบมากทีส่ ดุ ทัง้ ในเรือ่ งของการใชงานเพือ่ เพิม่ ความสะดวกสบาย ติดตัง้ ครัง้ แรก เพียงครัง้ เดียว โคมไฟก็สามารถทํางานไดอยางตอเนือ่ งโดยไมตอ งใชสวิทซ ควบคุม เนื่องจากการทํางานของระบบโคมไฟใชพลังงานจากแสงอาทิตย จึงชวยประหยัดคาไฟฟาไดทางหนึ่งดวย สิ่งที่ทําใหโคมไฟตัวนี้เปยมไปดวยประสิทธิภาพที่สมบูรณแบบคือ การรวม 3 นวัตกรรม เขาไวที่อุปกรณตัวนี้เพียงตัวเดียว ดังนี้ นวัตกรรมแรก คือ แผงโซลารแปลงพลังงานแสงอาทิตยในตอน กลางวัน และชารจเก็บเขาแบตเตอรรี่สํารอง เพื่อนํามาใชเปนพลังงาน ไฟฟาในตอนกลางคืน ใชงานไดยาวนานตอเนื่องถึง 4 ชั่วโมง

นวัตกรรมทีส่ อง คือ สวิตซแสงแดดติดตัง้ พวงกับระบบเซ็นเซอร โดยตัวเซ็นเซอรจะทํางานก็ตอ เมือ่ แสงสวางลดนอยลง และความมืดพอเหมาะ นวัตกรรมที่สาม คือ โคมไฟแอลอีดีติดตั้งพวงกับระบบเซ็นเซอร (Sensor) ตรวจจับความเคลื่อนไหว โดยโคมไฟจะทํางานเมื่อมีวัตถุผาน และความมืดพอเหมาะ (สวิตซแสงแดด) ตัว Sensor สามารถปรับคาองศา และหมุนทิศทางได โดยจะมีไฟแสดงสถานะเมื่อตรวจจับความเคลื่อนไหว ได และดึงพลังงานจากแบตเตอรี่สํารองมาใชงาน นอกจากนี้ยังสามารถ ปรับตั้งคาอื่น ๆ ไดตามการใชงาน อาทิ ตั้งคาความเซนซิทีฟ (sensitive) ตัง้ ระยะเวลาหนวง (ระยะเวลาทีใ่ หไฟติดและคางนานตามระยะเวลาทีก่ าํ หนด) หรือการตั้งระบบใหโคมไฟเปดใชงานตลอดเวลา จุดเดนอีกอยางหนึ่งของโคมไฟแอลอีดีจากพลังงานแสงอาทิตย คือ มีหลอดไฟถึง 45 ดวง กินพลังงานนอย แตใหแสงสวางมาก สามารถ ใชงานไดยาวนานถึง 50,000 ชั่วโมง และสามารถใชงานไดแมไฟดับ สําหรับจุดทีแ่ นะนําใหตดิ ตัง้ ก็คอื บริเวณโรงรถ สวนรอบ ๆ บาน บริเวณหนาประตู หนารัว้ บาน หรือจุดอับตาง ๆ ภายในบาน เชน หอง ใตหลังคา บริเวณริมทางเดิน บันไดบาน และสามารถดัดแปลงการ ใชไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยมาใชไฟฟาจากไฟบาน 220 V หรือ ไฟรถยนต 12 V ใชบนทางเดิน สนามหญา ของโรงงานอุตสาหกรรม หรือ โรงแรม รีสอรท เรียกไดวา โคมไฟแอลอีดีจากพลังงาน แสงอาทิตย อุปกรณเดียวตอบโจทยการใชงานไดอยางครบครัน

24 l January 2013

Energy#50_p24_Pro3.indd 24

12/22/12 3:07 AM


Energy#50_p25_Pro3.indd

1

12/22/12

3:48 AM

Back to the Basic

เพาเวอรแฟคเตอรนั้นสำคัญไฉน? ผศ.พศวรี ศรโีโหหมด : หวัหนาสสาาขาวชิาวศิวกรรมไ มไฟฟฟา คณะวศิวกรรมศาสตร มหาวทิยาลยัศรปีทมุ

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

สวัสดีปใหม 2556 สำหรับแฟน ๆ นิตยสาร Energy Saving ทุกทานครับ ทีมงานผูเขียนคอลัมน Back to the Basic ขออวยพรใหทุก ๆ ทาน ประสบสุข คิดเงินไดเงิน คิดทองไดทอง คิดหวังอยางไรไดทุกสิ่งที่หวัง คิดจะลดคาใชจายดานพลังงานก็ขอใหลดไดสมดังปราถนานะครับ ฉบับนี้ขอเริ่มตนดวยคำอวยพรในวาระดิถีขึนปใหมกันกอนที่จะบอกเลาเรอง Basic งาย ๆ ที่เกี่ยวของกับพลังงาน ตาม Back to the Basic สไตลครับ ในเนื้อหาฉบับรับปใหมนี้ขอกลาวถึง คาเพาเวอรแฟกเตอร (Power Factor) ซึ่งเรามักเรียกวาคาตัวประกอบกำลังงานไฟฟา หรือ P.F. วามีความสำคัญอยางไร ? กอนที่จะทำความรูจักกับเพาเวอรแฟกเตอร ตองทำความเขาใจกับเรองกำลังงานไฟฟากันกอนครับ คากำลังงานไฟฟาในระบบไฟฟากระแสสลับที่เราใชกันอยู จะประกอบไปดวย 3 คาคือ 1.คากำลังงานไฟฟาแอคทีฟ (Active Power) มีหนวยเปนวัตต (W) ซึ่งก็คือ กำลังงานไฟฟาที่อุปกรณนำไปใชใหเกิดการทำงานไดจริง เชน แสงสวางของหลอดไฟ แรงบิดของมอเตอร ในการขับโหลด หรือปริมาณความรอนของฮีทเตอร เปนตน 2.คากำลังงานไฟฟารีแอคทีฟ (Reactive Power) มีหนวยเปนวาร (VAR) คือ คากำลังงานไฟฟาทีใ่ ชสรางสนามแมเหล็กเพอเปนตัวกลางในการแปลงรูปพลังงานของอุปกรณ เชน ในมอเตอร ที่จำเปนตองมีสนามแมเหล็กเพอทำใหเกิดแรงกลในการหมุน หรือในวงจรหลอดฟูลออเรสเซนตที่ตองมีบัลลาสตซึ่งเปนขดลวดที่สรางสนามแมเหล็กขึ้นมาประกอบอยูในวงจรการทำงาน ของหลอดไฟ เปนตน 3.คากำลังงานไฟฟาปรากฎ (Apparent Power) มีหนวยเปนโวลตแอมป (VA) คือ ผลรวมของคากำลังงานไฟฟาแอคทีฟกับคากำลังงาน ไฟฟารีแอคทีฟ แตตอ งรวมกันทางเวกเตอรดงั รูปที่ 1 เราเรียกรูปนีว้ า สามเหลีย่ มกำลังงานไฟฟา (Power Triangle) โดยวิธกี ารคำนวณปริมาณคากำลัง งานไฟฟาปรากฎ เกิดจากการนำคาแรงดันไฟฟา (โวลต) คูณกับคากระแสไฟฟา (แอมป) แตระบบไฟฟาทีจ่ า ยใหกบั อุปกรณในบานเราเปนแบบจายคาแรงดัน ไฟฟาคงที่ (220 โวลท) แตคากระแสไฟฟาจะมากนอยขึ้นอยูกับกำลังงานไฟฟาที่ตองการ หรือพูดงาย ๆ ก็คือถาอุปกรณมีคากำลังงานไฟฟาปรากฎมาก รูปที่ 1. สามเหลี่ยมกำลังงานไฟฟา(Power Triangle) ก็ตองการปริมาณกระแสมากเชนกัน จากที่กลาวถึงคากำลังงานไฟฟาทั้ง 3 คาขางตน จะเห็นไดวาคากำลังงานของอุปกรณไฟฟาที่นำมาใชงานไดจริงคือ คากำลังงานไฟฟาแอคทีฟ (W) ไมไดมาจากกำลังงานไฟฟา รีแอคทีฟ (VAR) แตอยางใด ดังนัน้ ถาอุปกรณไฟฟาใด ๆ มีความตองการกำลังงานไฟฟารีแอคทีฟมาก ก็จะทำใหผลรวมของคากำลังงานไฟฟาปรากฎ (VA) มาก ซึง่ จะทำใหปริมาณกระแสไหลเขาอุปกรณ มากขึ้น ซึ่งยอมไมดีแนตอระบบการจายพลังงานไฟฟา ไดแก สายไฟ ,อุปกรณปองกันเบรกเกอร และสวิทซควบคุมจะตองรับกระแสที่สูงทำใหเกิดความรอนมากขึ้นดวย ดังนั้นอุปกรณไฟฟาใด ๆ หรือถามองในภาพรวมเมอนำอุปกรณมาตอใชงานรวมกันเปนระบบไฟฟา ถามีความตองการกำลังงานไฟฟารีแอคทีฟมากก็จะเปนอุปกรณหรือระบบไฟฟาที่มีประสิทธิภาพต่ำ หรือในทางตรงกันขาม ถาอุปกรณหรือระบบไฟฟามีความตองการกำลังงานไฟฟารีแอคทีฟเพียงนอยนิดก็จะเรียกไดวามีประสิทธิภาพสูง ดังนั้นควรจะตองมีตัวเลขที่จะบอกเราวาอุปกรณหรือระบบไฟฟาใดมีประสิทธิภาพ ในเรองของการใชกำลังงานไฟฟาดีหรือไม ซึ่งคาที่จะบอกถึงเรองนี้ก็คือพระเอกของเราในวันนี้ คาเพาเวอรแฟคเตอร โดยเขียนเปนสมการไดดังนี้ Power Factor = cosθ = Active Power (W) / Apparent Power (VA) โดยคาเพาเวอรแฟคเตอรจะมีคา อยูร ะหวาง 0 ถึง 1 เทานัน้ จากสมการขอใหพจิ ารณารวมกับรูปสามเหลีย่ มกำลังงาน ตามรูปที่ 2 ดังนี้ ถาอุปกรณหรือระบบไฟฟาใดมีประสิทธิภาพสูงคาความตองการ กำลังงานไฟฟารีแอคทีฟ (VAR) จะนอย สงผลใหคา กำลังงานไฟฟาปรากฎ (VA) นอยตามไปดวย ดังนัน้ จากสมการจะเห็นไดวา คาเพาเวอรแฟคเตอรจะมีคา มาก (เขาใกล 1) แตถา อุปกรณหรือระบบไฟฟา ใดมีประสิทธิภาพต่ำ คาความตองการกำลังงานไฟฟารีแอคทีฟ (VAR) จะมีคา มาก คากำลังงานไฟฟาปรากฎ (VA) ก็จะมากตามไปดวย ดังนัน้ คาเพาเวอรแฟคเตอรจะมีคา นอย (เขาใกล 0) หรือสรุปไดวา อุปกรณหรือระบบไฟฟาที่ดีควรจะตองมีคาเพาเวอรแฟคเตอรที่สูงนั่นเอง รูปที่ 2 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในเรองของการใชกำลังงานไฟฟาของอุปกรณหรือระบบไฟฟา โดยพิจารณาจากคา Power Factor เมอคิดที่อุปกรณหรือระบบไฟฟาใช Active Power เทากันหรือใหงานจริงเทากัน ไดดังนี้โดยรูป 2(a) เปนอุปกรณ หรือระบบไฟฟามีความตองการ Reactive Power นอย ดังนั้นคา Apparent Power ก็จะมีคานอย จากสมการ Power Factor = Active Power (W) / Apparent Power (VA) เมอตัวหารมีคา นอย Power Factor ก็จะมีคา มาก และรูป 2(b) เปนอุปกรณหรือระบบไฟฟาทีม่ คี วามตองการ Reactive Power มากกวารูป 2(a) คา Apparent Power ก็จะมีคา มากขึน้ จากสมการ Power Factor ขางตน เมอตัวหารมีคา มากขึน้ Power Factor จะมีคา นอยลง โดยการไฟฟาฯ ไดกำหนดไววา ในแตละรอบเดือนถาผูใชไฟฟามีความตองการกำลังงานไฟฟารีแอคทีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เกินกวารอยละ 61.97 ของความตองการกำลังงานไฟฟา แอคทีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตองเสียคาเพาเวอรแฟคเตอร ซึ่งเมอนำมาคิดเทียบกับสามเหลี่ยมกำลังงานไฟฟา (ดังรูปที่ 3) โดยสมมติใหคากำลังงานแอคทีฟเทากับ 100 W ดังนั้นตามเงอนไข ของการไฟฟาฯ กำลังงานไฟฟารีแอคทีฟตองมีคา เทากับหรือไมมากกวา 61.97 VAR ซึง่ เมอคำนวณหาคากำลังงานไฟฟาปรากฎจากสามเหลีย่ มจะไดเทากับ

Apparent Power(VA) = √W2+VAR2 = √1002+61.972 = 117.64 VA. เพราะฉะนัน้ Power Factor = (100 W)/(117.64 VA) = 0.85 รูปที่ 3 สามเหลี่ยมกำลังงานไฟฟาเมอคิดคากำลังงานไฟฟาตามเงอนไขการเก็บคาเพาเวอรแฟคเตอรของการไฟฟาฯ

จากการคำนวณตามเงอนไขการเรียกเก็บคาเพาเวอรแฟคเตอรของการไฟฟาฯ แสดงใหเห็นวาถาระบบไฟฟาของเรามีคาเพาเวอรแฟคเตอรเทากับ 0.85 หรือสูงกวานี้ เราจะไมตองเสียคา เพาเวอรแฟคเตอรอยางแนนอน แตถาคาต่ำกวา 0.85 เมอไรจะตองเสียคาเพาเวอรแฟคเตอร โดยทางการไฟฟาฯ มีการเรียกเก็บอยูที่กิโลวารละ 56.07 บาท ในสวนที่คากำลังงานรีแอคทีฟ ที่เกินจากรอยละ 61.97 ของคาความตองการกำลังงานไฟฟาแอคทีฟ ดังนั้นขอสรุปเลยนะครับวา คาเพาเวอรแฟคเตอรจะเปนตัวเลขที่บอกถึงประสิทธิภาพของอุปกรณหรือระบบในเรองของ การใชกำลังงานไฟฟาวาดีหรือไม โดยถามีคามากกวา 0.85 ก็ถือวายอมรับกันไดครับ แตถานอยกวานี้คงตองรีบแกไขปรับปรุง โดยการติดตั้งคาปาซิเตอรขนานเขากับอุปกรณหรือระบบไฟฟาเพิ่มเติม หรือทีเ่ รียกวา Capacitor Bank ซึง่ คงตองปรึกษาวิศวกรไฟฟาในการออกแบบและติดตัง้ กันตอไปครับ


Green Industrial โดย : รังสรรค อรัญมิตร

“ไทยวาโก” มุง มัน่ อนุรกั ษพลังงาน สูก ารเปนโรงงานสีเขียว

ป จ จุ บั น ทราบกั น ดี ว  า การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม ภายในโรงงานอุ ต สาหกรรมนั้ น นอกจากช ว ยลดการใช พ ลั ง งาน แล ว ยั ง ช ว ยลดการปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก (Co2) ได เ ป น อย า งดี เนื่ อ งจากโรงงานอุ ต สาหกรรมในแต ล ะแห ง ได ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ และดํ า เนิ น การด า นอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม ตามนโยบายที่ แ ตกต า งกั น ออกไปในแต ล ะบริ ษั ท นอกจากนี้ แ ล ว การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานยั ง ได อ านิ ส งส ต  อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมอี ก ด ว ย ไมวาจะเปนการขายคารบอนเครดิต การนําขยะกลับมาใชใหมหรือสราง มูลคาเพิ่ม รวมถึงการบําบัดนํ้าเสียแลวนําไปผลิตไบโอแกสใชเปนเชื้อเพลิง ปนกระแสไฟฟาใชภายในโรงงาน ซึ่งสิ่งเหลานี้ตางเปนการสรางมูลคาเพิ่ม ใหกับผูประกอบการ อีกทั้งชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชุมชนใน พื้นที่ใกลเคียงโรงงาน ตลอดจนชวยลดรายจายในกระบวนการผลิต ของโรงงาน

บริ ษั ท ไทยวาโก จํ า กั ด (มหาชน) ผู  ผ ลิ ต ชุ ด ชั้ น ในสตรี ในระบบอุตสาหกรรมแหงแรกของประเทศไทย เปนอีกหนึ่งบริษัทที่ให ความสําคัญดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม เนื่องจากผูบริหาร ไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงานพรอมกําหนดนโยบายใหเปนแนวทาง ในการปฏิบัติของพนักงานในองคกรใหมีความมุงมั่นและมีสวนรวมที่จะใช พลังงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยไดจัดตั้ง คณะกรรมการอนุรักษ พลังงาน และ แผนกอนุรักษพลังงาน ที่มีความรูความเขาใจเปนหลักใน การดํ า เนิ น การต า ง ๆ ซึ่ ง ทํ า ให ก ารอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของไทยวาโก เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ไทยวาโกยังไดศึกษาและลงทุน นําเทคโนโลยีใหม ๆ ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมาชวยลดการใชพลังงาน ในองค ก ร พร อ มเผยแพร อ งค ค วามรู  ใ ห แ ก บ ริ ษั ท ในเครื อ สหพั ฒ น และองคกรภายนอก เพื่อใหเกิดการขยายวงกวางขององคความรูและ เทคโนโลยีออกไปใหมากขึ้น

26 l January 2013

Energy#50_p26-28_Pro3.indd 26

12/20/12 11:06 PM


และภายใตนโยบายดานการอนุรกั ษพลังงานไทยวาโกยงั ไดปรับเปลีย่ น เทคโนโลยีอุปกรณประหยัดพลังงานในกระบวนการผลิต ไมวาจะเปน การปรั บ เปลี่ ย นหลอดประหยั ด ไฟแบบ T5 พร อ มด ว ยโคมสะท อ น ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง มาใช ภ ายในโรงงาน ส ว นระบบปรั บ อากาศนั้ น ได ใ ช คอมเพรสเซอรของระบบทําความเย็นประสิทธิภาพสูงรวมถึงการติดตั้ง เครื่ อ งตั ด ผ า อั ต โนมั ติ ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ซึ่ ง การปรั บ เปลี่ ย นเทคโนโลยี และอุปกรณประหยัดพลังงานชวยใหประหยัดพลังงานไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ยั ง ได เ พิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการระบายความร อ นด ว ย ปลองระบายความรอน การปรับปรุงแบบกรอบอาคารเพือ่ ลดภาระการทําความ เย็นของระบบ โดยติดตัง้ ฉนวนกันความรอนขนาด 6 นิว้ แบบพิเศษใตหลังคา

และการเลือกใชกระจกแบบ reflective และติดตัง้ โปรแกรมควบคุมระบบปรับ อากาศ EnSave ซึง่ สามารถควบคุมการปด-เปด ควบคุม peak demand ในระบบ ได และจากการปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรทีใ่ ชพลังงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ทํ า ให ผ ลผลิ ต ที่ อ อกมามี ค  า การใช พ ลั ง งานต อ ชิ้ น น อ ยกว า เดิ ม เช น เครื่องตัดอัตโนมัติที่นํามาใชแทนเครื่องตัดแบบ “แบนดไนฟ” การใช เครื่องจักรแบบมอเตอรเซอโวแทนแบบมอเตอรรุนเกา อยางไรก็ตามเพือ่ ใหการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมเปนไปตาม วัตถุประสงค ไทยวาโกยังไดเขารวมกิจกรรมการอนุรักษพลังงานของ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานอยางตอเนื่อง อาทิ โครงการจัดการพลังงานแบบมีสว นรวม และโครงการจัดการพลังงานแบบ สมบูรณ (total energy management) เปนตน และจากการพั ฒ นาด า นพลั ง งานสู  ก ารเป น โรงงานสี เ ขี ย ว ไทยวาโกยังเปนอีกหนึ่งบริษัทที่เขารวมโครงการ “การพัฒนาขีดความ สามารถของอุตสาหกรรมสิ่งทอดวยเครือขายการผลิตที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมเพื่อรองรับฉลากสิ่งแวดลอม (eco label) ของ สหภาพยุโรป” ซึง่ ทําใหไทยวาโกสามารถผลิตชุดชัน้ ใน นํา้ หนัก 60 กรัม ไซส B75 สีเนือ้ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) 1.54 กิโลกรัมตอตัว และเปน ชุ ด ชั้ น ในรายแรกของไทยหรื อ อาจเป น รายแรกของโลกที่ ไ ด รั บ ฉลาก eco label พร อ มตั้ ง เป า หมายที่ จ ะต อ ยอดติ ด ฉลาก eco label ในสินคาอืน่ ๆ อีก อาทิ เสือ้ ผาเด็ก เพือ่ รองรับความตองการของลูกคาอยาง ประเทศฝรัง่ เศสทีจ่ ะเริม่ ออกกฎหมายบังคับใหสนิ คามีฉลากสิง่ แวดลอมกํากับ January 2013 l 27

Energy#50_p26-28_Pro3.indd 27

12/20/12 11:06 PM


คําขวัญดานพลังงาน การแขงขันการประหยัดพลังงานในแตละแผนก การรณรงคใหพนักงานทุกแผนกชวยกันปดไฟ ปดแอร ในเวลาทีไ่ มไดใชงาน และในแต ล ะป ไ ทยวาโก ยั ง ได ส นั บ สนุ น ให พ นั ก งานมี ส  ว นร ว มในการ รักษาสิง่ แวดลอม โดยการไปรวมปลูกปา ทีจ่ งั หวัดกาญจนบุรี จังหวัดชลบุรี และจังหวัดตาง ๆ การจัดทีมอนุรักษพลังงานลงพื้นที่ไปใหความรูเกี่ยวกับ การทําความสะอาดหลอดไฟ และการเลือกใชหลอดไฟประหยัดพลังงาน ที่มีประสิทธิภาพสูง การรณรงคใหชุมชนดูแลรักษาสิ่งแวดลอมใหอยูคู กับชุมชนตลอดไป เพื่ อ ให ก ารดํ า เนิ น การประหยั ด พลั ง งานเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพตาม เป า หมายที่ ว างไว ไทยวาโก ไ ม ไ ด ห ยุ ด นิ่ ง ในการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิ่งแวดลอมเพียงแคนี้ แตยังไดมุงมั่นในการใชพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุดในกระบวนการผลิต และเปดรับเทคโนโลยีใหม ๆ รวมถึงมุงมั่นใหการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเปนสวนสําคัญในการดําเนินธุรกิจสราง ให เ ป น วั ฒ นธรรมที่ ดี ข ององค ก ร และจากการดํ า เนิ น มาตรการ อนุรกั ษพลังงานในชวงป 2552 – 2554 ที่ผา นมา ใชเงินลงทุนถึง 8.2 ลาน บาท สงผลใหบริษัทลดคาใชจายดานพลังงานลงประมาณ 15.2 ลานบาท

ทั้งนี้การอบรม การรณรงค การทํากิจกรรม การอนุรักษ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มเป น แนวทางหนึ่ ง ที่ ไ ทยวาโก นํ า มาใช พั ฒ นา เปนความรูอ ยางตอเนือ่ งใหกบั พนักงานทุกคน ตัง้ แตพนักงานเริม่ เขาทํางาน โดยสอดแทรกความรูเ ขาไปในการอบรมปฐมนิเทศพนักงานใหมอยูต ลอดเวลา รวมถึ ง การมี ห ลั ก สู ต รอบรมให กั บ พนั ก งานเกิ ด จิ ต สํ า นึ ก ด า นการ อนุรักษพลังงานในทุกระดับ เพื่อกระตุนใหเกิดการอนุรักษพลังงานใน การทํางาน และพนักงานสามารถนํากลับไปประยุกตใชที่บานได พรอมกันนี้ยังไดจัดกิจกรรมสงเสริมการประหยัดพลังงานดาน อื่น ๆ อีก เชน กิจกรรมวันเพิ่มผลผลิตประจําป ซึ่งเปนกิจกรรมที่ใหความรู กิจกรรมดานพลังงานตาง ๆ ใหพนักงานไดรว มสนุก ไมวา จะเปนการประกวด

นี่เปนบทบาทหนึ่งของ บริษัท ไทยวาโก จํากัด (มหาชน) ทีน่ อกเหนือจากการใหความสําคัญในการดําเนินธุรกิจผลิตชุดชัน้ ในแลว ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ยั ง คํ า นึ ง ถึ ง ความสํ า คั ญ ในการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม และเชื่อวาการอนุรักษพลังงาน จะเปนบทบาทสําคัญตอบริษัทอื่น ๆ ดวยเชนกัน เพื่อรวมมือกัน ลดปญหาภาวะโลกรอน และเปนการใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู อยางจํากัดใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

28 l January 2013

Energy#50_p26-28_Pro3.indd 28

12/20/12 11:06 PM


Energy#42_p25_Pro3.ai

1

4/23/12

9:07 PM


Saving Corner โดย คุณทนงศักดิ์ วัฒนา ที่ปรึกษางานวิศวกรรมออกแบบเครองจักรกล ระบบบําบัด นําเสีย/และจักรกลโรงงานอุตสาหกรรม บจก.ไทยเวิรค เอ็นจิเนีย วิศวกรโครงการ (Project Engineer) บริษัท ภาคีวิศวกร จํากัด

มนุษยมีการใชพลังงานจากแสงอาทิตยมากมาย ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 กลุมหลัก ๆ คือ การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย และการผลิต ความรอนจากแสงอาทิตย และดวยความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี ปจจุบนั มนุษยได คิดคนการนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชในรูปแบบตาง ๆ มากมายเพิม่ เติมจากอดีต เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย และลดการใชพลังงานจากฟอสซิลลง ซึ่งนับวันจะหายากและหมดไปในอนาคต นอกจากนี้การลดการใชพลังงาน จากฟอสซิล ยังเปนการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมรวมทั้งลดสภาวะโลกรอน ซึ่งเปนสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และเนื่องดวย

ลดตนทุน ดวยเทคโนโลยีสะอาดเพื่ออนาคต รู  จั ก ระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย พลั ง งานแสงอาทิ ต ย (Wastewater Treatment by Solar Energy) พลั ง งานจากแสงอาทิ ต ย นั บ ว า มี ค วามสํ า คั ญ อย า งมากต อ สิ่ ง มี ชี วิ ต บนโลกทั้ ง มนุ ษ ย แ ละสิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น พลั ง งานจากแสงอาทิ ต ย ทํ า ให เ กิ ด ความแตกต า งของสภาพอากาศทั่ ว โลก ทํ า ให เ กิ ด การ หมุนเวียนของกระแสอากาศ หรือแมแตใหพืชสามารถสังเคราะหแสง เพื่อผลิตเปนอาหาร และยังเปนพลังงานที่ยั่งยืนของมนุษย ณ ปจจุบัน

ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี องคความรู และศักยภาพของพลังงานจาก แสงอาทิตย ปจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีการบําบัดนํ้าเสียดวยพลังงานจาก แสงอาทิตยซึ่งนับวาเปนความกาวหนาอีกระดับในการบําบัดนํ้าเสีย ซึ่งเปน กระบวนการที่สะอาดและลดคาใชจายในการเดินระบบลงไดอยางมาก เราเรียก เทคโนโลยีการบําบัดนํ้าเสียดวยแสงอาทิตยวากระบวนการเทคโนโลยีเฟนตัน (Fenton Technology)

รูจ กั ดวงอาทิตย ขุมพลังงานแหงอนาคต

ชุดทดลองระบบบําบัดนําเสียดวยกระบวนการเฟนตัน (Fenton Technology) ของบริษัท SOWARLA ที่มา : http://www.dbu.de/123artikel33003_734.html

แหลงพลังงานที่ใหญและมีศักยภาพมากที่สุดในโลกคือ พลังงานจาก ดวงอาทิตย ซึ่งเปนแหลงพลังงานที่มนุษยรูจักและใชประโยชนมานับพันป ดวงอาทิตย เปนดาวฤกษ เปนจุดศูนยกลางของระบบสุรยิ ะ มีดาวเคราะหบริวารโคจร อยูร อบ ๆ มากมาย เชน ดาวพุธ ดาวศุกร และโลก ดวงอาทิตยมมี วล 1.9891 x 1030 กิโลกรัม ความหนาแนนเฉลี่ย 1,409 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร ดวงอาทิตย ประกอบดวย ไฮโดรเจนรอยละ 74 โดยมวล ฮีเลียมรอยละ 25 โดยมวล และธาตุอื่น ๆ อีกรอยละ 1 ดวงอาทิตยประกอบดวย 5 สวนหลัก ๆ คือ สวนแกนปฏิกิริ ยาหรือใจกลางดวงอาทิตย สวนการแผรังสี สวนการพา ความร อ น ส ว นโฟโตสเฟ ย ร และส ว นสุ ด ท า ยจะเป น ส ว นบรรยากาศของ ดวงอาทิ ต ย แกนของดวงอาทิ ต ย (Core) เป น ส ว นที่ เ กิ ด ขึ้ น ปฏิ กิ ริ ย า นิ ว เคลี ย ร (Nuclear burning core) ปฏิ กิ ริ ย าที่ เ กิ ด เป น ปฏิ กิ ริ ย า ฟ ว ชั่ น เป น การทํ า ปฏิ กิ ริ ย าของไฮโดรเจนเกิ ด เป น ฮี เ ลี ย ม และปลดปล อ ย พลังงานออกมาในทุกวินาที 383x1024 จูล ซึ่งเปนไปตามสมการของไอสไตน คือ E = mC2 เมือ่ E คือ จํานวนพลังงาน m คือ มวลสาร และ C คือ ความเร็วแสง (300,000 m/s) ดวงอาทิตยปลดปลอยพลังงานแสงอาทิตยออกมาในรูปของ คลืน่ แมเหล็กไฟฟา ซึง่ มีระดับพลังงานทัง้ หมด 6 แถบ ดังแสดงในรูปที่ 1 ซึง่ แตละแถบ จะมีระดับพลังงานแตกตางกัน ไดแก คลื่นวิทยุ (คลื่นไมโครเวฟ เปนคลื่นวิทยุ พลังงานสูง ) รังสีอินฟราเรด แสงที่ตามองเห็น รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ และรังสีแกมมา เรียงจากระดับพลังงานตํา่ ไปสูงตามลําดับ ซึง่ แถบพลังงานเหลานี้ มีความยาวคลื่นแตกตางกันดวย ดังแสดงในรูปที่ 2

30 l January 2013

Energy#50_p30-31_Pro3.indd 30

12/22/12 3:14 AM


รูจักระบบบําบัดนํ้าเสียดวยกระบวนการเฟนตัน

รูปที่ 1 แสดงแถบคลนแมเหล็กไฟฟา 6 แถบ

รูปที่ 2 แสดงความยาวคลื่นของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ทั้ง 6 แถบ แสงอาทิตยที่ตกกระทบบนพื้นโลกจะประกอบดวยรังสี 3 ชวง คือ รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสี UV จะใหสีซีดจางและเกิดมะเร็งผิวหนังได แตรังสี UV มีคุณสมบัติในการกําจัดแบคทีเรีย ซึ่งเหมาะสําหรับตากอาหาร บางชนิ ด เพื่ อ ยื ด อายุ ใ ห ย าวนานขึ้ น และยั ง มี ข  อ ดี อี ก คื อ ช ว ยให ร  า งกาย มนุ ษ ย สั ง เคราะหวิ ต ามิ น ไดดี ขึ้ น ได รั ง สี ช  ว งที่ 2 คื อ แสงสว า ง ช ว ยใน การมองเห็นสิ่งตาง ๆ บนพื้นโลก และสุดทาย คือ รังสีอินฟราเรด (Infrared) เป น รั ง สี ที่ ทํ า ให เ กิ ด ความร อ น พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ที่ เ ดิ น ทางมายั ง ชั้ น บรรยากาศนอกสุดของโลกจะมีความเขมสูงถึง 1,370 วัตตตอตารางเมตร แตพลังงานที่ตกมายังพื้นโลกจะเหลือเพียง 800-1,000 วัตตตอตารางเมตร เทานั้น เพราะบรรยากาศโลกสกัดกั้นเอาไว โดยสวนประกอบของแสงแดด ที่ลงมายังพื้นโลกจะประกอบดวย รังสีอัลตราไวโอเลต ประมาณ 3% รังสี อิ น ฟราเรด 53% และแสงสวา ง 47% ถึ ง แม ระดับ พลังงานแสงอาทิตย จะลดลงเมือ่ ตกกระทบพืน้ โลก แตกม็ ากเพียงพอทีม่ นุษยจะใชประโยชนในดานตาง ๆ นอกจากนี้ พ ลั ง งานจากแสงอาทิ ต ย ซึ่ ง มี รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตเป น ส ว น ประกอบ ยั ง สามารถนํ า มาประยุ ก ต ใ ช กั บ กระบวนการเฟนตั น ทํ า ให เ กิ ด ไฮดรอกซิลเรดิคัล (Hydroxyl Radical, HO) ดังสมการเคมีที่ (1) H2O2 + UV 2 HO ………………..(1) นอกจากปฏิกริ ยิ าในสมการที่ (1) ซึง่ เปนปฏิกริ ยิ าการเกิดไฮดรอกซิลเรดิคลั (Hydroxyl Radical, HO) รังสีอลั ตราไวโอเลตยังสามารถเปลีย่ นเฟอริคไอออน (Fe3+) ที่เกิดจากกระบวนการเฟนตันกลับไปเปนเฟอรรัสไอออน (Fe2+) ดวยกระบวนการ รีดักชันของเฟอริคไอออน (Fe3+) ดังสมการที่ (2) และ (3) Fe3+ + UV + H2O Fe(OH)2+ + UV

Fe(OH)2+ + H+ ……(2) HO• + Fe2+ …………………..(3)

กระบวนการดั ง กล า ว มี ป ระโยชน สํ า หรั บ ระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย โดยใช กระบวนการเฟนตัน ซึ่งจะทําใหระบบเกิดปฏิกิริยาอยางอยางตอเนื่อง

กระบวนการเฟนตันเปนวิธีการหนึ่งของกระบวนการแอดวานซออกซิเดชั่น (Advanced Oxidation Processes, AOPs) ซึ่ ง เป น กระบวนการบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ทางเคมี โดยเป น การเติ ม สารอิ น ทรี ย  ล งไปให เ กิ ด ปฏิ กิ ริ ย าของ ไฮดรอกซิลเรดิคัล (Hydroxyl Radical, HO) ในการบําบัดสารอินทรียในนํ้าเสีย กระบวนเฟนตันถูกคนพบโดย H.J.H. Fenton ในป 1876 หรือ เมื่อ 136 ปที่แลว โดย Fenton พบวา ไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2) และเฟอรรัสไอออน (Fe2+) จะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีที่มีลักษณะเฉพาะและสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสราง ของโมเลกุลของสารเคมีที่เปนพิษไดโดยมีออกซิไดซระหวางเฟอรัสไอออนกับ ไฮโดรเจนเปอรออกไซด กระบวนการนี้ไดถูกนํามาประยุกตใชกับระบบบําบัด นํ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ที่มีสารพิษประเภทสารประกอบอินทรียปะปน เชน ฟนอล สารประกอบอะโรมาติก หรือสารเคมีที่มาจากวัสดุสียอม ยาฆาแมลง สารกันบูด พลาสติก ยาง เปนตน กระบวนการเฟนตันที่ประยุกตใชกับระบบบําบัด นํา้ เสีย สงผลตอนํา้ เสีย คือ ลดคา BOD และ COD ลดกลิน่ และสี ชวยกระบวนการ ยอยสลายทางชีวภาพ และทําลายสารอินทรียที่เปนมลพิษ ปฏิกิริยาเฟนตัน เป น ปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชั่ น ที่ เ กิ ด ขั้ น อย า งรวดเร็ ว ของสารประกอบอิ น ทรี ย  ในสารละลายไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2) และเฟอรรัสไอออน (Fe2+) ซึ่งหลัง ปฏิกิริยาจะเกิดอนุมูลอิสระไฮดรอกซิลเรดิคัล (Hydroxyl Radical, HO) ดังนี้ Fe2+ + H2O2

Fe3+ + OH- + HO …………..(1)

จากปฏิกิริยา (1) เกิดขึ้นในนํ้าเสีย ซึ่งมีสวนประกอบของสารประกอบของสาร อินทรีย สงผลใหเกิดการเหนี่ยวนําใหเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ยอยสลายสาร อินทรียใ นนํา้ เสีย ทําใหสารอินทรียม ขี นาดเล็กลง และความเปนพิษลดลง ในนํา้ เสีย ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นตอเนื่อง ดังแสดงในสมการที่ (2) สงผลใหเฟอริคไอออน (Fe3+) ในนํ้าเสียเพิ่มมากขึ้น และเฟอรรัสไอออน (Fe2+) ลดลงจนหมด สงผลให ปฏิกิริยาหยุดลง 2R-H (Organic Compounds) + HO

2R + 2 H2O ………..(2)

แต ป ฏิ กิ ริ ย าจะเกิ ด ขึ้ น ได อี ก และเกิ ด อย า งต อ เนื่ อ งเมื่ อ ปฏิ กิ ริ ย าได รั บ การ กระตุนจากรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งเปนสวนประกอบของในแสงอาทิตย นั่นคือ เมื่อมีแสงอาทิตยสองไปยังปฏิกิริยาเฟนตัน จะทําใหเกิดกระบวนการยอยสลาย สารอิ น ทรี ย  ข องนํ้ า เสี ย ในสารละลายไฮโดรเจนเปอร อ อกไซด (H 2 O 2 ) และเฟอรรัสไอออน (Fe2+) ปจจุบันการบําบัดนํ้าเสียดวยกระบวนการเฟนตันภายใตแสงอาทิตย มีการทดลองเพื่อศึกษาแนวทางและประสิทธิภาพของระบบบําบัด โดยเบื้องตน สามารถบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ที่ มี ค วามหลากหลายของสารประกอบอิ น ทรี ย  แ ละ มีความเปนพิษสูง ซึ่งใหผลการทดลองเปนไปในแนวทางที่ดี โดยสามารถลดคา COD ลงไดมากวา 80% และใชพลังงานในการเดินระบบตํ่ามาก อยางเชน รูปที่ 1 เปนการสรางชุดทดลองระบบบําบัดนํ้าเสียพลังงานแสงอาทิตยโดย ใชกระบวนการเฟนตันของบริษัท SOWARLA ประเทศเยอรมนี โดยมีพื้นที่ รั บ แสง 240 ตารางเมตร สามารถบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ได วั น ละ 13.7 ลบ.ม. นับวาเปนอีกกาวของการพัฒนาระบบบําบัดโดยใชพลังงานทดแทน สําหรับ ประเทศไทย เป น ประเทศที่ มี ศั ก ยภาพด า นพลั ง งานแสงอาทิ ต ย อ ยู  แ ล ว คงไม ย ากที่ จ ะพั ฒ นาระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย โดยใช พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย เพื่อเปนทางเลือกใหระบบบําบัดนํ้าเสียของโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทย ชวยลดตนทุนการผลิตและเปนกระบวนการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อให มนุษยอยูในโลกใบนี้ไดอยางยั่งยืน

January 2013 l 31

Energy#50_p30-31_Pro3.indd 31

12/22/12 3:14 AM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ชนะเลิศสิง่ ประดิษฐดา นพลังงาน

โครงการ PTT Youth Camp 2012 ....ตอยอดสูน วัตกรรมดานพลังงาน

การประหยัดไฟฟา ประหยัดนํ้า ประหยัดพลังงานเชื้อเพลิง นัน้ เปนสิง่ ทีบ่ คุ คลสวนใหญตระหนักถึงในชีวติ ประจําวัน แตการสงเสริม และสนับสนุนใหอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมเพือ่ ใหเกิดการประหยัด พลังงานอยางยั่งยืนยังคงตองไดรับการสนับสนุนอยางตอเนื่อง ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน ไมวาจะเปนการจัดสัมมนา การวิจัย การสนับสนุนดานการเงิน ตลอดจนการทํากิจกรรมรวมกับชุมชน เพื่อรณรงคใหเกิดการประหยัดพลังงาน รวมถึงการปลูกปาก็เปนอีก ชองทางหนึ่งของการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม

อยางไรก็ตามเพื่อใหทุกภาคสวนมีสวนรวม และตระหนักถึง การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานอย า งต อ เนื่ อ ง หลายหน ว ยงานจึ ง ได จัดการประกวดดานพลังงานขึ้น ไมวาจะเปนการประกวดการอนุรักษ พลังงานภายในอาคาร โรงงานอุตสาหกรรม การประกวดภาพถาย ดานพลังงานทดแทน การประกวดออกแบบบานประหยัดพลังงาน การประกวดนวัตกรรมประหยัดพลังงาน เปนตน เพื่อสนับสนุน และกระตุน ใหทกุ ภาคสวนมีจติ สํานึกในการประหยัดพลังงาน พรอมคิดคน และพัฒนาแนวทางการประหยัดพลังงานอยางยั่งยืนในอนาคต

32 l January 2013

Energy#50_p32-34_Pro3.indd 32

12/22/12 3:18 AM


สําหรับผลงานสิ่งประดิษฐดานพลังงานที่ผานเขารอบตัดสิน ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน มี 3 ผลงาน ที่ผานเขารอบ ไดแก 1. โครงงานส ว มฉุ ก เฉิ น จากโรงเรี ย นสวรรค อ นั น ต วิ ท ยา จังหวัดสุโขทัย 2. โครงงานจักรยานกูภัย จากโรงเรียนกรับใหญวอง กุศลกิจพิทยาคม จังหวัดราชบุรี และ 3. โครงงานขวดนํ้าเตือนภัย จากโรงเรียนหันคาราษฎรรังสฤษฏ จังหวัดชัยนาท

ตั ว อย า งเช น การประกวดสิ่ ง ประดิ ษ ฐ ด  า นพลั ง งานของ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ชิงถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และทุนการศึกษากวา 300,000 บาท ประจําป 2555 หรือ “PTT Youth Camp 2012” ในหัวขอ “คืนรอยยิ้มสูชุมชน Return the Happiness” ที่จัดขึ้นตอเนื่องทุกป ซึ่งในป 2555 ที่ผานมานั้นจัดขึ้นเปนครั้งที่ 4 แลว โดย ดร.ไพรินทร ชูโชติถาวร ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บอกวาการจัดโครงการนี้ก็เพื่อเปนแนวทางศึกษาวิจัยและพัฒนา ด า นพลั ง งานควบคู  ไ ปกั บ การพั ฒ นาสั ง คม โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ดานการศึกษาของเด็กและเยาวชนไทย ซึ่งเปนที่มาของการริเริ่ม โครงการเพื่อเด็กและเยาวชนขึ้นในป พ.ศ. 2552 และไดดําเนินการ อยางตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน เพื่อถายทอดความรูดานพลังงาน สงเสริมความคิดสรางสรรค ตลอดจนปลูกฝงจิตสํานึกอนุรักษและใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยกลุมเปาหมายของโครงการ มีอายุระหวาง 12 - 15 ป ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน อายุ 15-18 ป ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และอายุ 18-21 ป สําหรับนักศึกษาอาชีวศึกษา (ปวช. ปวส. และปวท.) ภายใตวตั ถุประสงคทมี่ งุ สรางความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับพลังงาน ปลูกฝงทัศนคติการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ สรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับพลังงานในรูปแบบตางๆ รวมถึงสรางโอกาสให กับเยาวชนนักคิด นักประดิษฐ ไดสรางสรรคสิ่งประดิษฐดานพลังงาน เพือ่ ลดผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดลอม ซึง่ เปนประโยชน ตอประเทศชาติ รวมถึงการรณรงคใหสังคมไทยตระหนักถึงการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพผานผลงานสิ่งประดิษฐที่ไดรับรางวัล เพื่อนําไปเปนตนแบบใหชุมชนตาง ๆ ตอไป โดยการประกวดในครัง้ นีไ้ ดคดั เลือกผลงานจากผูท เี่ ขาคายเรียนรู พลังงานจากทั้งหมด 30 ทีม เหลือเพียง 9 ทีม ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับอาชีวศึกษา ทัง้ นีท้ มี ชนะ เลิศทัง้ 3 ระดับ จะไดรบั ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมประกาศเกียรติคุณ ทุนการศึกษา และทุน สนับสนุน เพือ่ เปนกําลังใจและเปนแรงผลักดันใหเยาวชนไทยมีศกั ยภาพ ในการสรางสรรคและพัฒนาสิ่งประดิษฐดานพลังงานที่สามารถใชได จริงในอนาคต

โครงงานจักรยานกูภ ยั จากโรงเรียนกรับใหญวอ งกุศลกิจพิทยาคม จังหวัดราชบุรี

ส ว น ในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย มี 3 ผลงาน ที่ผานเขารอบเชนกัน ไดแก 1. โครงงานไฟฉายสารพัดนึก จาก โรงเรียนวิสทุ ธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี 2. โครงงานเรือตรวจไฟฟารัว่ ในนํ้าแบบบังคับวิทยุ จากโรงเรียนศรีบุณยานนท จังหวัดนนทบุรี และ 3. โครงงานการผลิตกาซชีวภาพจากถังหมักสิ่งปฏิกูลเพื่อชุมชน จากโรงเรียนสันทรายวิทยาคม จังหวัดเชียงใหม

โครงงานไฟฉายสารพัดนึก จากโรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี

โครงงานเรือตรวจไฟฟารั่วในนํ้าแบบบังคับวิทยุ จากโรงเรียนศรีบุณยานนท จังหวัดนนทบุรี

January 2013 l 33

Energy#50_p32-34_Pro3.indd 33

12/22/12 3:18 AM


ในขณะที่ ระดับอาชีวศึกษา ผลงานที่ผานเขารอบ ไดแก 1. โครงงานเครื่ อ งแยกฝากระป อ งกาแฟแบบกลไก จาก วิทยาลัยเทคนิคบุรรี มั ย จากจังหวัดบุรรี มั ย 2. โครงงานอุปกรณพบั ใบตอง จากวิทยาลัยการอาชีพปากชอง จังหวัดนครราชสีมา และ 3. โครงงานเครือ่ งฝานตนโสน จากวิทยาลัยสารพัดชางพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทุกผลงานที่สงเขาประกวดสามารถนําไป พัฒนาตอยอดใหใชงานไดจริงในอนาคต

โครงงานเครื่องแยกฝากระปองกาแฟแบบกลไก จากวิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย

นอกจากนีย้ งั มีโครงการตอยอดการประกวดสิง่ ประดิษฐ ซึ่งนับ เปนครั้งแรกที่นําผลงานไปแสดงในเวทีระดับสากล ดวยความรวมมือ จากศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ โดยการ คัดเลือก 1 ทีม เปนตัวแทนประเทศไทยเขารวมการแขงขัน “โครงงาน วิทยาศาสตรโอลิมปก” International Sustainable World Energy Engineering and Environment Project Olympiad (ISWEEEP) ณ เมืองฮุสตัน รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา เมื่อปลายปที่ผานมา เรียกไดวาเปนอีกเวทีหนึ่งที่สงเสริมใหเยาวชนไทยไดพัฒนาและ คิดคนนวัตกรรมดานพลังงานใหม ๆ ซึง่ เปนปจจัยสําคัญในการพัฒนา พลังงานของประเทศ สําหรับนักเรียน นักศึกษา ที่พลาดการประกวด ในครั้งนี้ สามารถติดตามรายละเอียดการประกวดในครั้งตอไปไดที่ www.pttyouthcamp.com

34 l January 2013

Energy#50_p32-34_Pro3.indd 34

12/22/12 3:18 AM


Energy Showcase เอซุสโปร PRO ซีรี่ส รุน P43E

Work Centre 3210 เครองพิมพมัลติฟงกชั่น Work Centre 3210 เครือ่ งพิมพหลากหลาย ฟ ง ก ชั่ น ทั้ ง ถ ายเอกสาร สแกน แฟกซ และรองรั บ ระบบเครื อ ข า ย ใช ง านง า ย เพียงปลายนิ้วสัมผัส สามารถสแกนและ จั ด เก็ บ ผ า นเครื อ ข า ยหรื อ โฟลเดอร บ น เดสกทอป รวมถึงการแทรกบนโปรแกรม แอพพลิเคชัน่ ก็สามารถทําได ชวยลดคาใชจา ย ในออฟฟศไดเปนอยางดี

เอซุสโปร PRO ซีรี่ส โนตบุคประสิทธิภาพ โดดเดน ทั้งความเร็ว การปกปองขอมูล การติดตามและระบุตําแหนงโนตบุคในกรณี ที่ถูกขโมย ดวยเทคโนโลยี Intel Anti-Theft และ Computrace® LoJack® ทีเ่ ปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ทัชแพดเทคโนโลยี Palm-proof อินเตอรเฟส BIOS อัจฉริยะ อินเตอรเกรด เพื่อธุรกิจอยางสมบูรณแบบ

ASUS Call Center

บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด

โทร 0-2401-1717 http://www.asus.co.th

โทร 0-2660-8000 ตอ 0211-0217 http://www.fujixerox.co.th

LG 32C S460 ทีวีแอลจี

LG Health Guard 2 Doors Refrigerator รุน GN-M492GPH แอล LCD TV รุน S4600 รูปลักษณ แอลจี สวย ทั น สมั ย ให ภ าพคุ พคุ ณ ภาพสู ง สวยงาม ประ ดพลังงาน ภายใตดีไซนอันทันสมัย ประหยั NTELLIGENT แบบ Brush-line ระบบ INTELLIGENT SEN เมื่อแสงสวางภายในห ยในหองมีการ SENSOR เปลี่ยนแปลง เซ็นเซอรจะทําาการประมวล การประมวล ผล มทั้งความเขม ผลความสว างของแสงรวมทั ของสีภายในหอง แลวปรับบภาพในจอให ภาพในจอให นขณะรับชม เหมาะสมกับสภาพแวดลอมในขณะรั

ตูเย็น LG รุน GGN-M492GPH ขนาด 13.9 คิว สีขาวลายดอ าวลายดอกไม มีระบบฟอกอากาศใน ตูเย็น กําจัดกลิ่นอับ และเชื้อโรค ควบคุม ความเย็นสมํ่าเส เสมอดวยระบบดิจิตอล แสง สวางจากหลอด LED สวางกวาถึง 5 เทา และไฟ LED แส แสดงผลที่จายนํ้า เทคโนโลยี จัดเก็บอาหารที่คงคุณภาพความสดไดนาน

ศูนยบริการขอมูลแอลจี

ศูนยบริการขอมูลแอลจี

เครองฟอกอากาศ Panasonic F-VXF35A

เครองกรองนาํ แอมเวย ESPRING WATER TREATMENT

โทร 0-2878-5757 หรือโทรฟรี 1-800-545454 http://www.lg.com/th

เครื่ อ งฟอ งฟอกอากาศตั้ ง โต ะ Panasonic รุ  น F-VX F-VXF35A เทคโนโลยี เ ฉพาะของ พานาโซนิคที่ชวยยับยั้งเชื้อไวรัส H5N1, H1N1 แล และ แบคทีเรีย กําจัดกลิ่นไมพึง ประสงค ดูแลผิวใหชมุ ชืน้ อยางมีประสิทธิภาพ ดวยระบบห ยระบบหมุนเวียนอากาศ 3 มิติ

บริษัท พานาโซนิค แมเนจเมนท (ประเทศไทย) จํากัด โทร 0-2655-5731 http://www.panasonic.co.th

โทร 0-2878-5757 หรือโทรฟรี 1-800-545454 http://www.lg.com/th

เครื่องกรองนํ้าแอมเวย ใชเทคโนโลยีบําบัด นํ้าที่มีประสิทธิภาพ ดวยไสกรองคารบอน กั ม มั น ต ช นิ ด อั ด แท ง ที่ จ ดสิ ท ธิ บั ต รแล ว ชวยกําจัดแบคทีเรียและไวรัสทีป่ นเปอ นในนํา้ ซึง่ เปนสาเหตุของโรคไดถงึ 99.99 % หลอด อุลตราไวโอเล็ตจะทํางานเมื่อเปดนํ้าเทานั้น นํ้าจึงมีอุณหภูมิปกติเสมอ เนื่องจากหลอด ไฟไมไดทํางานตลอดเวลา ชวยประหยัด ไฟฟาไดเปนอยางดีดวย

บริษัท แอมเวย (ประเทศไทย) จํากัด โทร 0-2725-8000 https://www.amwayshopping.com

January 2013 l 35

Energy#50_p35-36_Pro3.indd 35

12/22/12 3:24 AM


สีซุปเปอรชิลด ไททาเนียม

ไมโครเวฟ Panasonic รุน NN-GS597M TOA แนะนํานวัตกรรมสีแหงอนาคต Titanium Triple Protection เทคโนโลยีไททา เนียม 3 ชั้น สะทอนความรอนไดมากกวา 90 % ชวยใหบานเย็น ทนทานกวาสีอะครี ลิคเกรดสูงทั่วไปถึง 3 เทา ดวยบทพิสูจน จากอาคารชั้นนํากวา 80 % ทั่วประเทศ

ไมโครเวฟ Panasonic รุน NN-GS597M ทํางานดวยระบบอินเทลลิเจนท อินเวอร เตอร ใหความรอนสมํ่าเสมอ อาหารสุกทั่ว ถึง ประหยัดไฟมากขึ้น 18 % นอกจากนี้ ยังมีระบบอินเวอรเตอร เทอรโบ ละลายนํ้า แข็งไดเร็วกวา 50 % การันตีดวย รางวัล Gold Award

บริษัททีโอเอ เพนท ( ประเทศไทย ) จํากัด

บริษัท พานาโซนิค แมเนจเมนท (ประเทศไทย) จํากัด

กระติกนํารอน Panasonic รุน NC-HU301P

เครองทํานําอุน Panasonic รุน DH-4KD1T

โทร 0-2355-5777 http://www.toahomeguide.com

โทร 0-2655-5731 http://www.panasonic.co.th

กระติ ก นํ้ า ร อ นพานาโซนิ ค ด ว ยฉนวน ความรอนหนาพิ น เศษ (Vacuum Insulation Pan Panel) ชวยรักษาอุณหภูมิไดนานขึ้น ประหยัดไฟมากขึ ไ ้น เก็บความรอนไดนาน ถึง 8-10 ชั่วโมงแมไมเสียบปลั๊ก ภายใน เคลือบดวยสารบินโชทัน ชวยดูดซับกลิ่น คลอรีน กดนํ ก ้าดวยความเร็ว 4 ระดับ ได ปริมาณนํ าณน้ารอนมากขึ้น

เครื่ อ งทํ า นํ้ า อุ  น Panasonic รุ  น DH4KD1T แสดงผลด ว ยหน า จอดิ จิ ต อล ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ด แ ม น ยํ า ด ว ยระบบ อิเล็กทรอนิคส ตั้งแต 32°C – 48°C โดดเดนดวย E-Cycle ระบบนํ้ารอนสลับนํ้า เย็นชวยใหผอนคลายเวลาอาบ รวมดวย ระบบ E-Hybrid ปรับระดับแรงดันนํ้าให แรงขึ้น และดวย Beat Shower สามารถ เพิ่มแรงดันนํ้าไดถึง 3 ระดับ ประหยัดนํ้า ไดมากขึ้นดวยระบบ Air Bubble Jet ผสม ฟองอากาศลงในนํ้า

บริษัท พานาโซนิค แมเนจเมนท (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท พานาโซนิค แมเนจเมนท (ประเ (ประเทศไทย) จํากัด

อางนํามันหลอลนรถยนตดูเรเทน รุน AKV 35 H2.0

หลอดไฟฟลิปส LED myAmbianc myAmbiance Spot

โทร 0-2655-5731 http://www.panasonic.co.th

โทร 0-2655-5731 http://www.panasonic.co.th

ออ า งนํ้ า มั น หลอ ลื่ น ดู เรเทน (Durethan A 35 H2.0) ผลิตดวยวัสดุโพลิเอไมด AKV 6 ของแลงเซส (LANXESS) นํ้าหนัก 66 เ าชิ้นสวนเหล็กทั่วไป 1 กิโลกรัม เบากว น นอกจากนี ้โพลิเอไมดยังมีนํ้าหนักเบากวา ออางนํ้ามันหลอลื่นที่ทําจากอลูมิเนียมถึง รรอยละ 50

บริษัทแลงเซส (LANXESS)

โทร 0-2684-1551-2 ตอ 13, 12

หลอดไฟ LED ของ Philips ลําแสงโฟกัส วาม างเจิดจาทุกจุดในบาน ผลิต ใหความสว จากวัสดุที่ไมเปนอันตราย จึงเปนตัวเลือก ที่ปลอด ลอดภัยและยั่งยืน ใหแสงนุมนวลถนอม สายตา ประหยัดไฟถึง 80 % พรอมให ความส ความสว า งเต็ ม กํ า ลั ง อายุ ก ารใช ง าน ยาวนาน ยาวนานกวาหลอดไส 25 เทา

ศูนยบริโภคขอมูลฟลิปส โทร 0-2268-8555 http://www.philips.co.th

36 l January 2013

Energy#50_p35-36_Pro3.indd 36

12/22/12 3:24 AM


Energy#48_p29_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

10/20/12

3:01 AM


Energy Keyman โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ไฮโดรเท็คฯ ผูนําดานระบบนํ้า พรอมขยาย การลงทุ น …เร ง การเติ บ โตอย า งยั่ ง ยื น

คุประธานเจณาหนสลิ บ สู ง สว า ง าทีบ่ ริหาร บริษทั ไฮโดรเท็ค จํากัด (มหาชน) 38 l January 2013

Energy#50_p38-40_Pro3.indd 38

12/22/12 3:28 AM


ES : ชวยขยายความในรูปแบบการรับเหมากอสราง การเดินระบบ ? คุณสลิบ : “ในรูปแบบของการรับเหมากอสรางนั้น เริ่มตั้งแตการติดตั้ง

ระบบนํ้าประปาหรือนํ้าบริสุทธิ์สําหรับใชในโรงงานอุตสาหกรรม การติดตั้ง ระบบนํ้าทะเลมาทําเปนนํ้าประปา การติดตั้งระบบบําบัดนํ้าเสียของเทศบาล ของโรงงานอุ ต สาหกรรม อั น นี้ คื อ ก อ สร า ง เมื่ อ แล ว เสร็ จ ลู ก ค า อาจ ใหเราเดินระบบเราก็จะจัดทีมสงไปเปนงานบริการ เปนงานเดินระบบใหเขา นี่คืองานสวนที่ 2 จริง ๆ เราเริ่มทํามาได 30 ปแลว 20 ปแรก ทําในสวน ทีห่ นึง่ 10 ปหลังทําในสวนทีส่ องเปนการเดินระบบ สําหรับสวนทีส่ ามรูปแบบการ ลงทุนคือ ไฮโดรเท็คเพิง่ ไดเริม่ ลงทุนในปนี้ งานแรกทีท่ าํ เปนของโรงงานไทยพลาสติก และเคมีภณ ั ฑ โดยทํานํา้ เสียใหกลับมาเปนนํา้ บริสทุ ธิท์ ดี่ ี ไดคณ ุ ภาพ ซึง่ ไฮโดรเท็คจะ ลงทุนทัง้ หมดแลวคอยขายบริการจากการลงทุน เชน เราลงทุนแลวก็ผลิตนํา้ ขาย ใหกบั โรงงานหรือนิคมอุตสาหกรรมทีเ่ ราเขาไปติดตัง้ ระบบ” ธุรกิจระบบนํ้าประปา ระบบบําบัดนํ้าเสีย การรีไซเคิลนํ้าแลวนํากลับมา ใชใหมนั้น เรียกไดวาเปนอีกธุรกิจหนึ่งที่ตอบสนองกระแสภาวะโลกรอนและการ อนุรกั ษพลังงานไดเปนอยางดี เมือ่ กลาวถึงธุรกิจนีค้ งคุน หูกนั ดีกบั บริษทั ไฮโดรเท็ค เนือ่ งจากเปนหนึง่ ในบริษทั ทีเ่ ชีย่ วชาญดานระบบนํา้ เขามีแนวคิดและหลักการบริหาร งานอยางไรจึงสามารถกาวมาเปนผูน าํ ธุรกิจระบบนํา้ ประปา ระบบบําบัดนํา้ เสีย และใน อนาคตเขามีแผนการอยางไรบางนัน้ เราไปคุยกับ “คุณสลิบ สูงสวาง” ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั ไฮโดรเท็ค จํากัด (มหาชน) กันครับ

ES : หลักในการบริหารงานเปนอยางไร ? คุณสลิบ : “จริง ๆ ผมมองเรื่องคนเปนปจจัยสําคัญที่สุด โดยเฉพาะ

ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การใช ค วามรู  ต  อ งรั ก ษาคน บริ ห ารคนให อ ยู  กั บ เรา นาน ๆ กวาเราจะฝกความรูใหเขาสามารถที่จะทําอะไรไดอยางที่ตองการ ใช เ วลานาน เพราะฉะนั้ น ถ า เราไม ส ามารถดึ ง คนเหล า นั้ น ไว ไ ด น านทํ า ให ต อ งเริ่ ม ต น ใหม ต ลอด ในส ว นของเทคโนโลยี เ ป น เรื่ อ งที่ ศึ ก ษากั น ได อีกอยางตองบริหารตามหลักทั่วไป เรื่องเงินตองดูแลได มายังไง ดูแลยังไง ระมั ด ระวั ง ไม ฟุ  ม เฟ อ ย ด า นการตลาดประสบการณ ที่ มี ม าก ลู ก ค า รู  จั ก อยูแลว ก็ขยายตามไปเรื่อย ๆ เรื่องของวิศวกร เรื่องทุกสวนที่อยูในองคกร นีร้ หู นาทีแ่ ละทําใหไดตามหนาทีเ่ ปนพอ”

ES : อยากใหเลาคราว ๆ ถึงธุรกิจทีท่ าํ อยู ? คุ ณ สลิ บ : “ธุรกิจของไฮโดรเท็คจะเกี่ยวของกับเรื่องสิ่งแวดลอม

โดยการติ ด ตั้ ง ระบบนํ้ า ประปา บํ า บั ด นํ้ า เสี ย รี ไ ซเคิ ล เป น นํ้ า ดี แ ล ว นํากลับมาใชใหม รวมทั้งการนํานํ้าเสียมาทําเปนพลังงาน แตวิธีการที่เรา เสนอลูกคาจะมี 3 รูปแบบ โดย 2 รูปแบบแรก คือ การรับเหมากอสราง, การเดินระบบ และ การลงทุน ซึง่ รูปแบบการลงทุนนัน้ เพิง่ เริม่ ทําในปน”ี้

ES : แนวคิดในการขยายการลงทุนเปนอยางไร ? คุณสลิบ : “ลาสุดไฮโดรเท็คไดรับสัมปทานงานติดตั้งระบบนํ้าประปา

ของเทศบาลที่ จ.เชียงใหม 4 แหง คือ เทศบาลตําบลปาไผ เทศบาล ตํ า บลหนองแหย ง เทศบาลตํ า บลเจดี ย  แ ม ค รั ว และเทศบาลตํ า บล สันทรายหลวง ซึ่งปจจุบันอยูระหวางขั้นตอนการออกแบบคาดวาจะสามารถ เริ่มกอสรางไดในชวงตนป 2556 โดยใชเวลาในการกอสรางประมาณไม เกิน 9 เดือน แหงแรกจะแลวเสร็จและพรอมที่จะจายนํ้าได แหงที่ 2 คาดวา จะเสร็จสิน้ ป 2556 แหงที่ 3 และ 4 จะทยอยตามมาเรือ่ ย ๆ ซึง่ อันนีเ้ ปนการลงทุน 100% ทางลูกคาหรือเทศบาลไมตอ งลงทุนเลย เราลงทุนทําใหหมดแลวเทศบาลก็ ไปขายนํา้ ตอใหกบั หมูบ า นอีกที สวนการลงทุนในตางประเทศไดเตรียมความพรอมที่เขาไปลงทุนใน ประเทศพมา โดยการเขาไปติดตั้งระบบบําบัดนํ้าเสียใหกับนิคมอุตสาหกรรม แหงหนึง่ ซึง่ ปจจุบนั อยูร ะหวางรอเซ็น MOU ใชเงินลงทุนประมาณ 300 ลานบาท และคาดวาจะสามารถเริ่มดําเนินการกอสรางไดในชวงกลางป 2556 นี้”

ES : แลวในรูปแบบการกอสรางและเดินระบบนัน้ ชวย ยกตัวอยางวามีทไี่ หนบาง ? คุณสลิบ : “รับติดตั้งระบบผลิตนํ้าประปาไฮโดรเท็คทํากับการประปา

สวนภูมิภาคแตเรื่องที่ใชเทคโนโลยีชั้นสูงคือ เกาะสมุย โดยทําระบบผลิตประปา จากนํ้ า ทะเลให เ ป น นํ้ า จื ด นอกจากนี้ ลู ก ค า ไฮโดรเท็ ค อี ก รายหนึ่ ง เป น งาน ที่ ใ หญ ม าก งบประมาณร ว มพั น ล า นบาท ก็ คื อ การผลิ ต นํ้ า ทะเลมาทํ า เป น นํ้ า ประปากั บ นํ้ า ใช ใ นโรงงานอุ ต สาหกรรม ของ บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) ขนาดกําลังการผลิตรวม 24000 ลบ.ม.ตอวัน ซึ่งถือวาเปนขนาดใหญสําหรับเมืองไทย นอกจากนั้นก็ติดตั้งระบบบําบัดนํ้าเสีย ของนิคมอุตสาหกรรมไอเทค บานหวา ธรรมศักดิ์ มหาชัยพัฒนาที่ดิน หรือกลุม ทางไทยเยอรมันเซอรวิส และอื่น ๆ อีกมากมาย” January 2013 l 39

Energy#50_p38-40_Pro3.indd 39

12/22/12 3:28 AM


ES : การลงทุนในตางประเทศ นอกจากพมาแลวสนใจ ที่ไหนอีกบาง ? คุ ณ สลิ บ : “อย า งประเทศอิ น โดนี เ ซี ย เพิ่ ง เริ่ ม ไปดู ง านมาครั้ ง หนึ่ ง

มี ช าวต า งชาติ จ ะให ล งทุ น ในเรื่ อ งของนํ้ า เยอะมาก ที่ อิ น โดนี เ ซี ย มีโครงการใหดู 4 โครงการ ตอนนี้กําลังพิจารณาวาจะเริ่มที่โครงการไหน กอน ซึ่งเปนโครงการที่อยูใน จาการตา และ สุราบายา สวนใหญจะเปน การลงทุ น ในเรื่ อ งของการผลิ ต นํ้ า ประปาขายที่ เ ทศบาล และทํ า นํ้ า ทะเล ใหเปนนํ้าจืด โดยตนป 2556 จะเขาไปสํารวจดูวาโครงการไหนคุมคาที่สุด”

ES : ศักยภาพดานการลงทุนในประเทศอินโดนีเซียเปน อยางไรบาง ? คุณสลิบ : “ศักยภาพเยอะมาก จะเห็นวามีประชากร 200 ลานกวา

คน พอรวมเป น AEC ทุ ก อย า งเหมื อ นเป น หนึ่ ง เดี ย วกั น เราสามารถ ที่ จ ะจ า งคนงานในประเทศเราหรื อ จ า งคนงานในประเทศเขาได อ ย า งเสรี ซึ่ ง ไฮโดรเท็ ค ได เ ปรี ย บในเรื่ อ งเทคโนโลยี ที่ ใ ช อ ยู  โดยเฉพาะประสบการณ กว า 30 ป ใ นเรื่ อ งนี้ วงการนํ้ า ดื่ ม ถื อ ว า ไฮโดรเท็ ค สั่ ง สมประสบการณ มาค อ นข า งเยอะ เพราะฉะนั้ น ไม ว  า จะมี รู ป แบบอย า งไร เราก็ ส ามารถ แกปญหาไดหมด ยิ่งตอนนี้สามารถระดมทุนไดก็ทําใหมีโอกาสไปทําเรื่องการ ลงทุนที่ใหผลตอบแทนดีที่สุด อยางไรก็ตามจากรูปแบบการลงทุนนั้น ไฮโดรเท็คคาดวาในป 2557 จะเริ่มมีรายไดที่ดีจากการลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยสัดสวนรายได ในป 2557 จะมาจากการลงทุน 10 % จากรายไดทั้งหมด สวนใหญมาจากการ กอสราง ตั้งเปาไวเหมือนเดิมวาจะเติบโตไมนอยกวา 30% ตอป และในอีก 5 ป ขางหนา คาดวารายไดทมี่ าจากการลงทุนจะมีประมาณ 50% ของรายไดทงั้ หมด”

ES : ใหวเิ คราะห AEC เรามีโอกาสหรืออุปสรรคอะไรบาง ? คุ ณ สลิ บ : “ถาวิเคราะหในกลุม AEC ไฮโดรเท็คนาจะถือเปนบริษัท

ที่ เ ชี่ ย วชาญที่ สุ ด ในจํ า นวนบริ ษั ท ทั้ ง หมดในกลุ  ม อาเซี ย น ซึ่ ง หาได ยากเกี่ยวกับบริษัทที่ทําเรื่องนํ้า สิ่งแวดลอม ที่มีประสบการณกวา 30 ป แล ว ครอบคลุ ม ธุ ร กิ จ เติ บ โตทุ ก รู ป แบบ มี ป ระสบการณ ทุ ก ด า น ที่ เ กี่ ย วข อ ง ยั ง ไม มี ป ระเทศหรื อ บริ ษั ท ไหนในอาเซี ย นที่ จ ะมี โ อกาส ทางนี้ เรามี เ งิ น เรามี ค น ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด คื อ คู  แ ข ง อาจมาจากมาเลเซี ย แตเขาสูเราไมได ดวยสภาพภูมิประเทศ เราไดเปรียบกวาเยอะ เราอยูสวนกลาง เราผลิตของในไทย มีทั้งโรงงาน ตนทุนถูก สวนอุปสรรคคือลักษณะทั่ว ๆ ไป ที่เกิดจากการที่ประเทศเริ่มเปด อาจตองมีขอจํากัดในทางกฎหมายบางอยาง”

ES : ในเรือ่ งของพลังงานจะมีแผนการลงทุนอยางไรบาง ? คุณ สลิ บ : “จริง ๆ เราสนใจโครงการผลิตไฟฟาพลังงานนํ้าขนาด

เล็กที่ประเทศลาว ซึ่งก็ลงทุนเยอะเหมือนกันประมาณ 500 - 800 ลานบาท ขนาดกําลังการผลิตประมาณ 10 – 20 เมกะวัตต ก็ไดคุ ยกับพันธมิตร อยาง บริษัท ยูนิเวอรแซล แอดซอรบเบนท แอนด เคมิคัลส จํากัด (มหาชน) (UAC) ไวเชนกัน เนื่องจากเขาลงทุนดานพลังงานคอนขางเยอะ โดย ขายไฟฟาใหรัฐบาลลาว ซึ่งเขาจะเซ็นสัญญารับซื้อ 30 - 50 ป แตตองบอกวา เรื่ อ งโรงไฟฟ า พลั ง งานนํ้ า หรื อ พลั ง งานทดแทนนั้ น เป น เรื่ อ งที่ จั ด ลํ า ดั บ ไวหลังสุดเวลานี้ เราจะมุงการลงทุนไปที่ประเทศพมา หลังจากนั้นจะเขาไป ลงทุ น ในประเทศอิ น โดนี เ ซี ย ในป 2556 ซึ่ ง คงจะเห็ น ภาพชั ด เจน ถาคุมคาที่จะลงทุน”

40 l January 2013

Energy#50_p38-40_Pro3.indd 40

12/22/12 3:28 AM


Energy Keyman โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

ลดใช พ ลั ง งานให ม ากที่ สุ ด แตตองไมกระทบตอการปฏิบัติงาน

ดร.นพพร ประโมจนี ย

ผูช ว ยผูว า การ สายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแหงประเทศไทย January 2013 l 41

Energy#50_p41-43_Pro3.indd 41

12/20/12 11:19 PM


ES : สายออกบัตรธนาคาร มีการจัดการพลังงาน อยางไร ? ดร.นพพร : สายออกบัตรธนาคารไดปฏิบัติตามกฎหมายการอนุรักษ

พลังงานอยางตอเนือ่ งมาโดยตลอด ไดนาํ แนวทางการจัดการพลังงานมาดําเนิน การ โดยเริ่มจากความมุงมั่นที่จะดําเนินการอนุรักษพลังงานของผูบริหารระดับ สูง พรอมทั้งกําหนดนโยบาย เปาหมาย แตงตั้งคณะกรรมการอนุรักษพลังงาน สส.พลังงาน คณะตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายใน ตลอดจนการวางแผน การจัดทําแผน การนําไปปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธิ์ การตรวจติดตาม และการ ทบทวนการดําเนินการ เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงแกไข ใหเกิดการพัฒนา ไดอยางมีประสิทธิภาพ การจัดการดานพลังงานในปจจุบนั ถือเปนการตอบโจทยทดี่ ที สี่ ดุ ใน การลดการใชพลังงานของโลก เพราะความเจริญกาวหนาในทุกภาคสวน นํามาซึง่ ความตองการพลังงานทีไ่ มสนิ้ สุดเชนกัน ทําอยางไรจะจัดการรูป แบบของการใชพลังงานใหเกิดประโยชนสงู สุด โดยเฉพาะองคกรทีม่ คี วาม ตองการใชพลังงานในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจอยาง “สายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแหงประเทศไทย” กับแนวคิดและวิสยั ทัศนของ ดร.นพพร ประโมจนีย ผูช ว ยผูว า การ สายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแหงประเทศไทย ถึงแนวคิดดาน การจัดการและอนุรกั ษพลังงานของสายออกบัตรธนาคารแหงนี้

ES : ความเปนมาในการอนุรักษพลังงานในสาย ออกบัตรธนาคาร มีจุดเริ่มตนมายังไง ? ดร.นพพร : สายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแหงประเทศไทย มีหนาที่

ผลิตและออกใชธนบัตรไทยภายใต พรบ. เงินตรา พ.ศ. 2501 ไดทาํ เรือ่ งอนุรกั ษ พลังงานมาเปนเวลานาน ตั้งแตสมัยอยูรวมกับสํานักงานใหญ ที่บางขุนพรหม เนื่องจากในการผลิตธนบัตรจําเปนตองใชพลังงานคอนขางสูง โดยเฉพาะ อยางยิ่งในระบบปรับอากาศและเครื่องพิมพ ซึ่งในการพิมพธนบัตรจะตอง อยู  ใ นพื้ น ที่ ที่ ค วบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ ละความชื้ น ของอากาศที่ ค งที่ ต ามมาตรฐาน เพื่อใหกระดาษไมยืดหด และเราจะพิมพเปนหลายขั้นตอน ในแตละขั้นตอน จะตองเก็บแผนพิมพไวใหแหงกอนทีจ่ ะพิมพอกี ขัน้ ตอนหนึง่ ดังนัน้ ถากระดาษยืดหด ลวดลายพิมพจะคลาดเคลื่อนไมตรงกันพอดี ทําใหแผนพิมพนั้นเสียใชงานไมได จึงตองมีการควบคุมคุณภาพอยางเครงครัด อีกทั้งคาใชจายทางดานพลังงาน ถื อ เป น ต น ทุ น การผลิ ต ซึ่ ง ในการผลิ ต ธนบั ต รเราจะต อ งควบคุ ม ต น ทุ น ไมใหสูงเกินไป เพราะคาใชจายของธนาคารแหงประเทศไทยก็เปรียบเสมือนคา ใชจายของประเทศ ดังนั้นกอนยายมาอยูที่ อ.นครชัยศรี จึงมีแนวความคิด ที่จะออกแบบอาคารใหสามารถประหยัดพลังงานตั้งแตเริ่มตนรวมทั้งเลือกใช เครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพสูงและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชงาน เพื่อใหเกิดการ ประหยัดพลังงานสูงสุด

ES : นอกจากการจัดการพลังงานเกี่ยวกับพวก เครือ่ งจักร พนักงานมีสว นรวมอยางไร ? ดร.นพพร : เรามี สส.พลังงาน เปนตัวแทนจากหนวยงานตาง ๆ

เรามีการฝกอบรมใหความรูการประหยัดพลังงานสําหรับที่บานและที่ทํางาน พาไปศึกษาดูงานอาคารอนุรกั ษพลังงานทีป่ ระสบผลสําเร็จ แบงหนาทีใ่ นการดูแล รับผิดชอบพืน้ ที่ และเผยแพรประชาสัมพันธใหกบั เพือ่ นพนักงานรับทราบเพือ่ ใหเกิด การมีสว นรวมในการอนุรกั ษพลังงานในแตละหนวยงาน โดยจะมีกจิ กรรมสงเสริม การอนุรักษพลังงานอยางตอเนื่อง ประชาสัมพันธกิจกรรมฯผานทาง Intranet และเสียงตามสายเปนระยะ ๆ มีการประกวด คําขวัญ, โลโก, มาสตคอตอนุรักษ พลังงาน รวมทัง้ นําสส.พลังงานไปทํากิจกรรมรวมกับชุมชนในการใหความรูก าร อนุรักษพลังงานใหกับนักเรียนชั้นประถมในบริเวณใกลเคียง 42 l January 2013

Energy#50_p41-43_Pro3.indd 42

12/20/12 11:19 PM


ES : ณ ปจจุบันและอนาคตเรามีการวางเปาหมาย เกี่ยวกับการดําเนินการอนุรักษพลังงานอยางไร ? ดร.นพพร : เปาหมายของเรา คือ ลดการใชพลังงาน 2% เมือ่ เทียบกับป

2553 เพราะทีผ่ า นมามีการลดการใชพลังงานมาโดยตลอด จึงไมไดวางเปาไวสงู นัก เนือ่ งจากอัตราการผลิตธนบัตรก็มแี นวโนมจะเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง สําหรับอนาคต ก็หวังวาจะสามารถลดการใชพลังงานใหไดมากที่สุดโดยไมมีผลกระทบตอการ ปฏิบัติงานและการผลิต อีกทั้งมีความตองการที่จะนําพลังงานทดแทนเขามาใช ควบคูก นั ไปดวย

ES : ปหนาที่จะสงไปประกวด Thailand Energy Award มีการเตรียมตัวกันอยางไร ? ดร.นพพร : เราสนับสนุนใหสายออกบัตรธนาคารเขารวมประกวด

โครงการนี้ ซึ่ ง เป น รางวั ล สู ง สุ ด ขององค ก รที่ ดี เ ด น ด า นอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ของประเทศไทย ซึ่งจากที่ผานมาไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารระดับสูง และพนักงานทุกคนเปนอยางดี เพื่อเปนรางวัลและขวัญกําลังใจสําหรับทุกคน ผมหวังวาจะไดรับการตอบรับที่ดีในการประกวดในครั้งนี้

ES : ทานมีมมุ มองตอการอนุรกั ษพลังงานอยางไร ? ดร.นพพร : ดานการอนุรักษพลังงานของประเทศไทย มีความรูสึกวา

ยังตื่นตัวนอยไป เพราะมีการใชพลังงานสูงเกินควร เราคงหยุดไมได ในเรื่อง ความสะดวกสบาย แตสามารถลดลงได โดยการหัดอยูกับความไมสะดวก สบายใหได มิฉะนั้นอนาคตลูกหลานอาจลําบากได โดยเฉพาะรถยนตที่วิ่งในทอง ถนนเดี๋ยวนี้เยอะมาก จะทํายังไงเพื่อจะประหยัด โดยเฉพาะการใชนํ้ามัน แมแต แกส ปจจุบันก็ใกลจะหมดแลว ถาตนทุนพลังงานมีราคาถูกไป แนวโนมการ ใชพลังงานจะยังคงเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นในเรื่องตนทุนราคาจะตองปรับใหเหมาะสม แมแตรัฐบาลและแบงกชาติเองก็กลัวจะเกิดเงินเฟอ แตเราตองมองใหกวางดวย วาตนทุนพลังงานที่เหมาะสมจริง ๆ นั้นควรเปนเทาไร เพราะในหลายประเทศ นํ้ามันเขาแพงกวาเราแมในประเทศที่เจริญแลวก็ตาม ถาเรายังเปนไปอยางนี้ ก็คงจะตองขวนขวายหาพลังงานมาใชในอนาคตใหมากขึ้น เพราะแนวโนมการใช พลังงานมีเพิ่มขึ้นทุกวัน ถาเราไมปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต นอกจากนี้ ปจจุบนั ปญหาวิกฤติพลังงานทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ทุกภาคสวนลวนได รับผลกระทบ และอยากทีจ่ ะหาทางออกในการแกไขปญหานีร้ ว มกัน โดยเฉพาะใน เรือ่ งของการลดตนทุนการประกอบการ โดยมีตน ทุนดานพลังงานทีท่ าํ ใหแนวโนม ของราคาสูงขึ้น สายออกบัตรธนาคารเอง ก็ไดรับผลกระทบจากปญหาดาน พลังงาน ที่มีการใชพลังงานมากขึ้นอยางตอเนื่อง เพราะตองผลิตธนบัตรใหม เพื่อนํามาใชทดแทนธนบัตรเกาที่ชํารุดมีสภาพไมเหมาะที่จะออกหมุนเวียนปละ หลายพันลานฉบับ ทําใหตอ งใชพลังงานเพิม่ ขึน้ ตามปริมาณการผลิต ดังนัน้ เราจึง ควรใชธนบัตรอยางทะนุถนอมและคุม คาใหมากทีส่ ดุ เพือ่ ลดการใชพลังงานลงและ ลดการปลดปลอย CO2 ซึง่ เปนตัวการสําคัญทีท่ าํ ใหเกิดภาวะโลกรอนตอไป January 2013 l 43

Energy#50_p41-43_Pro3.indd 43

12/20/12 11:19 PM


Energy Design โดย : รังสรรค อรัญมิตร

บานประหยัดพลังงานลํ้าสมัย เ ป น มิ ต ร ต อ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม

การออกแบบทีอ่ ยูอ าศัยเพือ่ ใหเกิดการประหยัดพลังงานในปจจุบนั ตองอาศัยเทคโนโลยี และอุปกรณประหยัดพลังงานเขามาชวยในการออกแบบ ผสมผสานกับแนวคิดหลักในการออกแบบของสถาปนิกทีม่ แี นวคิดลํา้ สมัย นอกจากจะอาศัยหลักการออกแบบและเทคโนโลยีเพือ่ ใหเกิดการประหยัด พลังงานแลว การอาศัยธรรมชาติและสิง่ แวดลอมก็เปนอีกปจจัยหนึง่ ทีส่ าํ คัญตอการออกแบบบานใหใชพลังงานเทากับศูนย เฉกเชน “Net-zero energy house” ซึ่งเปนผลงานอันยอดเยี่ยม ของ “ชิป” (CHIP: Compact Hyper-Insulated Prototype) กลุมนักศึกษา จากสองสถาบัน ไดแก Southern California Institute of Architecture (SCI-Arc) และ California Institute of Technology (Caltech) ทีร่ ะดมความคิด และรวมกันสรางบานหลังนี้ขึ้นมา ซึ่งเปนแนวคิดของคนรุนใหมที่ออกแบบ บานประหยัดพลังงานและอนุรักษสิ่งแวดลอม โดยการออกแบบนั้ น เริ่ ม จากการดู ทิ ศ ทางลม ทิ ศ ทางแดด เลือกใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สวนตัวบานถูกหอหุมดวยฉนวน กั น ความร อ นแบบหนาทั้ง หลัง ชวยป องกัน ความร อ นที่เ ข าสู  ตั ว บ าน ไดเปนอยางดี นอกจากกันความรอนแลวยังสามารถกันเสียงรบกวนจาก ภายนอกไดดี ดานบนหลังคาไดติดตั้งแผงโซลาเซลลจํานวน 47 แผน เพื่อใชแสงอาทิตยเปนตัวสรางพลังงานไวใชภายในบาน

สวนภายในตัวบานมีการออกแบบเปนชั้น ๆ ไลระดับลงมา โดยแบง บริเวณพืน้ ทีส่ ว นตัวอยางหองนอนไวชนั้ บนสุดยกสูงจากพืน้ ซึง่ คนภายนอก ไมสามารถมองเห็นได นอกจากนี้การออกแบบเครื่องเรือนในบานทั้ง โตะ ตู เก็บของตาง ๆ เครื่องซักผา ถูกออกแบบอยางเปนสัดสวน เพื่อเพิ่มพื้นที่ ใชงานและเพิ่มความกวางขวางใหกับบานไดเปนอยางดี

44 l January 2013

Energy#50_p44-45_Pro3.indd 44

12/20/12 2:05 AM


ดานระบบไฟภายในบานก็มกี ารปรับเปลีย่ นใหกนิ ไฟนอยลง ไมวา จะเปน การใชระบบไฟ LED สวิตชไรสาย โดยออกแบบใหใชหลอดไฟนอยลง แตยงั คงความสวางครอบคลุมพืน้ ทีใ่ ชสอย รวมถึงการเดินสายไฟใหนอ ยเสน ที่ สุ ด เพื่ อ ความสวยงาม ส ว นพลั ง งานของระบบปรั บ อากาศก็ ล ดลง เนือ่ งจากนําระบบแทงเก็บนํา้ ขนาดใหญมาชวยลดอุณหภูมภิ ายในตัวบานได นอกจากนี้ พ ลั ง งานเหลื อ ใช จ ากระบบปรั บ อากาศยั ง สามารถนํ า มาใช ในเครื่องทํานํ้ารอนชวยประหยัดคาไฟฟาไดอีกทางหนึ่งดวย อยางไรก็ตามเพื่อใหการใชพลังงานเทากับศูนย ทีมนักออกแบบ จึงไดออกแบบใหบานหลังนี้ใช Ipad เปนรีโมทคอนโทรลควบคุมระบบไรสาย ZigBee Control 4 lighting ที่จัดการกับระบบไฟและชุดอุปกรณอื่นๆ ไดเปนอยางดีนอกจากนี้ Ipad ยังสามารถแสดงขอมูลการใชพลังงาน ในบานแบบ real-time ไดดว ย และเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพดานประหยัดพลังงาน จึงไดติดตั้งระบบเซนเซอรของ Kinect เพื่อใชควบคุมระบบตาง ๆ ในบาน ดวยการใชทาทางหรือการชี้ ตัวอยางเชน การเปดทีวี และการควบคุม มานบังแดดใหปดลงเมื่อแสงภายนอกสองเขามา เปนตน

ทั้ ง นี้ ก ารออกแบบอาคารหรื อ บ า นประหยั ด พลั ง งานที่ เ ป น มิ ต ร ต อ สิ่ ง แวดล อ มให เ ป น zero energy house นั้ น มี ห ลายแนวทาง ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของอาคาร บาน และความตองการของเจาของบาน ไมวาจะเปนการนําพลังงานทดแทนมาใช เพื่อผลิตไฟฟาไวใชภายในบาน หรือบานทีถ่ กู ออกแบบมาเพือ่ ใหประหยัดพลังงานจากการใชเครือ่ งปรับอากาศ ก็เปนปจจัยหนึง่ ของอาคารสีเขียว ดังนัน้ อาคารสีเขียวหรืออาคารทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมที่จริงนั้นมีความหมายมากกวาแคเรื่องของการประหยัด พลังงาน ซึ่งรวมไปถึงความอยูสบายของผูอยูอาศัยหรือผูใชอาคาร ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหรือเพื่อนบาน อาคารขางเคียงและอาจขยาย ไปถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดวย January 2013 l 45

Energy#50_p44-45_Pro3.indd 45

12/20/12 2:05 AM


Residential โดย : รังสรรค อรัญมิตร

สั ม ผั ส อากาศหนาวที่

บอเกลือ วิว รีสอรท ....รีสอรทที่เนนความพอเพียง

ในช ว งเดื อ นมกราคมหลายคนมี โ ปรแกรมไปพั ก ผ อ นรั บ อากาศหนาวที่ กํ า ลั ง แผ ป กคลุ ม ทางภาคเหนื อ และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยในชวงนี้กัน หลายทานคง มีสถานที่เที่ยว สถานที่พักผอนไวในใจบางแลว ซึ่งการเลือก สถานที่พักหรือรีสอรทนอกจากความสวยงามเปนธรรมชาติ บรรยากาศที่เงียบสงบและราคาเปนกันเองแลวตองเปนรีสอรท ที่ใสใจเรื่องการอนุรักษพลังงานดวย และเพื่อเปนตัวเลือกหนึ่ง ในการตัดสินใจของทุกทานขอแนะนํา “บอเกลือ วิว รีสอรท” ซึ่งเปนรีสอรทที่ใสใจสิ่งแวดลอมและเนนการอนุรักษพลังงาน ที่สวยงามแหงหนึ่งครับ 46 l January 2013

Energy#50_p46-47_Pro3.indd 46

12/22/12 3:34 AM


สําหรับบอเกลือ วิว รีสอรท นัน้ ตัง้ อยูท ี่ ตําบลบอเกลือ อําเภอบอเกลือ จังหวัดนาน นักทองเทีย่ วหลายคนอาจเคยไดยนิ ชือ่ เสียงของ อ.บอเกลือ มากันบางวา ทีน่ เี่ ปนพืน้ ทีบ่ นยอดเขาสูง มีบอ เกลือสินเธาวเปนแหลง เกลือทีม่ คี วามสําคัญมาแตโบราณจนถึงปจจุบนั ทุกวันนีช้ าวบานก็ยงั ทํา เกลือสินเธาวกนั อยูเ หมือนเดิม ถึงแมจะเปนรีสอรทเล็ก ๆ มีจํานวนหองพักเพียง 11 หอง แต บอเกลือ วิว รีสอรท ก็ใหความสําคัญตอการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม โดยไดนาํ แนวความคิดของการทองเทีย่ วแหงประเทศไทย ททท. ใน “โครงการ 7 Green” มาใชเปนแนวทางในการอนุรกั ษพลังงาน เพือ่ ให เกิดการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางคุม คา ลดการเบียดเบียนธรรมชาติให นอยทีส่ ดุ และอยูร ว มกับธรรมชาติอยางกลมกลืน พึง่ พาอาศัยกันอยางยุตธิ รรม

จากทีก่ ลาวมาขางตน บอเกลือ วิว รีสอรท ยังไดพฒ ั นาและเลือก ใชพลังงานทดแทนอยางไบโอกาซ รวมถึงการใชระบบนํา้ ทดจากทีส่ งู ลง สูที่ตํ่าเพื่อลดการใชปมนํ้า หากเกิดไฟดับที่นี่ก็ยังสามารถใชนํ้าไดตาม ปกติ นอกจากนี้ยังปลูกผักปลอดสารพิษ และคัดสรรวัตถุดิบในพื้นที่ ชุมชนบอเกลือที่ปลอดสารเคมีมาใชประกอบอาหารที่ราน “ปอง ซา” ของ บอเกลือ วิว รีสอรท เพื่อปรับพฤติกรรมของผูบริโภคและ ตอบโจทยความตองการของลูกคาไดอยางลงตัว ชวยลดตนทุน ดานการขนสง วัตถุดิบ และเปนการสนับสนุนใหคนในพื้นที่มีรายได ลดปญหาการยายถิน่ ฐานทีท่ าํ งานของคนในทองถิน่ นอกจากนีบ้ อ เกลือ วิว ยังรักษาสภาพปาไมเดิม พันธุไมเดิมไว เพื่อรักษาระบบนิเวศในพื้นที่ ใหสมบูรณ ในสวนหองพักที่นี่ถูกสรางแบบเรียบงายสไตลบูติกทามกลาง ธรรมชาติอนั เงียบสงบเปนสวนตัว ซึง่ ผูไ ปพักสามารถมองเห็นทิวทัศน อันสวยงามของแมนาํ้ มาง และภูเขาใกลพรมแดนไทย-ลาวไดอยางชัดเจน ทุกหองพักจะมีระเบียงขนาดใหญใหผมู าเยือนออกมานัง่ รับบรรยากาศ ทีเ่ ย็นสบายได และการตกแตง รีสอรทของทีน่ ยี่ งั เลือกใชวสั ดุในทองถิน่ ซึ่งนอกจากชวยลดตนทุนในการขนสงแลว การเลือกใชวัสดุในทอง ถิ่นยังเพิ่มความสําคัญและเปนการอวดอัตลักษณของทองถิ่นดวย พรอมกันนี้บอเกลือ วิว รีสอรท ยังไดลดการใชพลาสติกโดยการนํา ถุงผาหรือเครื่องจักรสานที่ทํามาจากไมไผมาใชเปนเครื่องบรรจุภัณฑ หรือภาชนะที่สามารถนํากลับมาใชไดอีกหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งนอกจากจะ เปนการสงเสริมสินคาภูมิปญญาทองถิ่นแลวยังชวยลดภาวะโลกรอน ไดอกี ดวย ทั้งนี้หากทานใดสนใจไปสัมผัสบรรยากาศอันหนาวเย็น ที่รายลอมดวย ภูเขา ปาไม แมนํ้าลําธาร และสายหมอกที่ ปกคลุมยามเชา แนะนําวาตองมาที่ “บอเกลือ วิว รีสอรท” รีสอรทเล็ก ๆ ใกลกับอุทยานแหงชาติดอยภูคา ตั้งอยูในหุบเขา ริมแมนํ้า ที่นารักและเปนสวนตัว เงียบสงบชวนใหผอนคลายได เปนอยางดี January 2013 l 47

Energy#50_p46-47_Pro3.indd 47

12/22/12 3:34 AM


Energy Management

การตรวจประเมิน การจัดการพลังงานภายในองคกร

โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001 wonlop.r@gmail.com

(Internal Energy Auditor) ตอนที่ 1 เริ่มตนปใหมกันดวยสิ่งดี ๆ รับตนปดีกวา เมื่อปที่แลวองคกรใด หรือหนวยงานใดที่เตรียมระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ การจัดการพลังงานกันไปแลว มาในฉบับนี้ไดนําความรูตอยอดในเรื่อง ของการจัดการพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและมีระบบมาฝากกันครับ เมื่ อ องค ก รได ดํ า เนิ น การจั ด การพลั ง งานไปแล ว ขั้ น ตอนสํ า คั ญ ที่ขาดไมไดตามระบบมาตรฐานคือ การตรวจติดตามและประเมินการจัดการ พลังงานภายในองคกร โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ • เพื่อประเมินวาองคกรมีการดําเนินการจัดการพลังงานไดสอดคลอง ตามกฎหมายไดถูกตองและครบถวน โดยมิไดเปนการตรวจเพื่อจับผิดและ เอาความผิดกับผูใด • เพื่อหาโอกาสในการปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินการจัดการ พลังงานใหมีความยั่งยืนและพัฒนาอยางตอเนื่อง • เพื่อใหคณะทํางานดานการจัดการพลังงานและเจาขององคกรนํา ผลที่ไดจากการตรวจติดตามไปทําการทบทวน วิเคราะห และแกไขขอบกพรอง ตอไป โดยการตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงานภายในองคกรที่ดี และเปนระบบตามกฎกระทรวงฯ มีขั้นตอนการดําเนินการ ดังรูป

ขั้นตอนการดําเนินการตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงานภายในองคกร

การแต ง ตั้ ง ผู  ต รวจประเมิ น การจั ด การพลั ง งาน ภายในองคกร

องค ก รควรคั ด เลื อ กและแต ง ตั้ ง ผู  ต รวจประเมิ น ฯ ที่ ป ระกอบด ว ย สมาชิกอยางนอย 2 คน (ตามประกาศกระทรวงเรื่องหลักเกณฑและวิธีการ ดําเนินการจัดการจัดการพลังงานในโรงงานและอาคารควบคุม ขอ 15(1)) หรืออาจมีมากกวาตามจํานวนที่เหมาะสมตามขนาดขององคกร เพื่อใหการ ตรวจติดตามฯดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพและครอบคลุมทุกพื้นที่ของ องคกร โดยผูตรวจประเมินฯ ตองมีความเปนกลางและเปนอิสระตอกิจกรรม ที่จะทําการตรวจติดตามฯ คือไม เกี่ยวของกับกิจกรรมการดําเนินงานที่ไป ตรวจติดตามฯ ไมนําเรื่องสวนตัวมาเกี่ยวของและไมเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง และเพื่อใหการตรวจติดตามฯ ดําเนินไปไดดวยดี คณะผูตรวจประเมินฯ ควรประกอบไปดวยสมาชิกที่มีความรูความสามารถดังนี้

• มีความรูและเขาใจในวิธีการจัดการพลังงานตามกฎกระทรวงฯ • มีความรูดานวิศวกรรมหรือดานอนุรักษพลังงานเพียงพอที่จะตรวจ ติดตามฯ ในขั้นตอนที่เกี่ยวของได นอกจากนี้ อ งค ก รควรจั ด ให มี ก ารฝ ก อบรมให แ ก ผู  ต รวจประเมิ น ฯ เพื่อ ใหผูเ ขารับ การฝก อบรมมี ค วามรูใ นเรื่ อ งเทคนิคในการตรวจติ ดตามฯ รวมทั้งควรมีความรู ความเขาใจในเรื่องกฎหมายและขอกําหนดที่เกี่ยวของ กับกระบวนการทํางานขององคกรและความรูพื้นฐานดานพลังงาน การฝก อบรมผูตรวจประเมินฯ อาจใชวิธี On-the Job Training กลาวคือ ผูตรวจ ประเมินฯ คนใหมไปดําเนินการตรวจพรอมกับผูตรวจประเมินฯ ที่ไดรับการ ฝกอบรมมาแลว โดยใหผูที่ไดรับการฝกอบรมแลวนั้นเปนผูนําในการตรวจ ติดตามฯ

48 l January 2013

Energy#50_p48-50_Pro3.indd 48

12/22/12 3:37 AM


การกําหนดความถี่ในการตรวจติดตามและประเมิน การจัดการพลังงานภายในองคกร

ควรพิจารณาจาก • ลักษณะและการดําเนินการขององคกร • คุณลักษณะพลังงานที่มีนัยสําคัญและผลกระทบดานพลังงาน • ผลการตรวจติดตามฯ ครั้งที่ผานมา • ผลการตรวจสอบรายงานการจัดการพลังงานครั้งที่ผานมา อยางไรก็ตาม องค กรควรตรวจติดตามฯ ทุกองค ประกอบและขอ กําหนดของการจัดการพลังงานอยางนอยปละ 1 ครั้ง ตามประกาศกระทรวง เรื่องหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการจัดการจัดการพลังงานในโรงงานและ อาคารควบคุมขอ 15

การจั ด ทํ า รายการตรวจติ ด ตามและประเมิ น การ จัดการพลังงานภายในองคกร (Audit Checklist) รายการตรวจติดตามฯ เปนเครื่องมือในการชวยใหผูตรวจประเมินฯ สามารถที่จะจัดระบบ วางแผน ดําเนินการ และทํารายงานผลการตรวจติดตามฯ ไดงายขึ้นอีกทั้งยังทําใหมั่นใจไดวาการตรวจติดตามฯ จะครอบคลุมไดทั้งระบบ และทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยรายการตรวจติดตามฯ ที่ดีควรประกอบไปดวย โครงสรางของคําถามเพื่อชวยใหผูตรวจประเมินฯ สืบหาหลักฐานในการตรวจ ติดตามฯ ไดอยางครบถวน เมือ่ องคกรไดดาํ เนินการจัดการพลังงานไประยะหนึง่ แลว คณะผูต รวจประ เมินฯ สามารถพัฒนาเพิ่มเติมหรือแกไขรายการตรวจติดตามฯ ใหเหมาะสมกับ องคกรโดยอางอิงตามกฎหมายได และในรายการการตรวจติดตามฯ ที่ใชในการ ตรวจประเมิน (Check List) ควรจะมีการกําหนดขอเสนอแนะเพือ่ การแกไข ปองกัน และปรับปรุงไวดวย เพื่อเปนขอแนะนําในกรณีที่องคกรนั้นปฏิบัติหรือดําเนินวิธี การจัดการพลังงานยังไมสอดคลองกับกฎหมายหรือขอกําหนด หรือถาในกรณี ที่ดําเนินวิธีการจัดการพลังงานแลวไมพบขอบกพรองก็จะเปนการเสนอแนะ เพื่อโอกาสที่จะปรับปรุงการดําเนินการใหดียิ่งขึ้นกวาที่เปนอยูเดิม

การดําเนินการตรวจติดตามและประเมินการจัดการ พลังงานภายในองคกร มีขั้นตอนในการดําเนินการ ดังนี้

1. การเปดประชุมการตรวจติดตามฯ (Opening Meeting)

กอนการเริ่มตรวจติดตามฯ ครั้งใด ๆ ประธานคณะผูตรวจประเมินฯ ควร จัดประชุมรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อชี้แจงเรื่องตางๆ ดังนี้ • แนะนําผูตรวจประเมินฯ และหนวยงานที่ถูกตรวจติดตามฯ • ชี้แจงวัตถุประสงคของการตรวจติดตามฯ • ชี้แจงเกณฑการตรวจติดตามฯ • การดําเนินการหลังการตรวจติดตามฯ • เพื่อยืนยันความเปนปจจุบันของเอกสารที่จะใชในการตรวจติดตามฯ • เพื่อยืนยันกําหนดการในการตรวจติดตามฯ

2. การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน ภายในองคกร

การตรวจติดตามฯ นอกจากจะใชรายการตรวจติดตามฯ (Check List) เปนเครือ่ งมือเพือ่ ชวยผูต รวจประเมินฯ ใหสามารถตรวจติดตามฯ ไดงา ย และเปน ระบบแลวในการตรวจติดตามฯ จริง ผูต รวจประเมินฯ ตองใชเทคนิคเพือ่ ใชในการ ตรวจติดตามตาง ๆ เพิ่มเติมซึ่งคูมือนี้ไดรวบรวมเอาไว ดังนี้

1. การคนหาหลักฐานขอมูล ผูตรวจประเมินฯ ควรเริ่มทักทายและตั้งคําถามในเชิงผอนคลายคําถาม ทั่วไปกอนที่จะเริ่มการสืบหาการทํางาน วัตถุประสงคของการสืบหาการทํางาน นั้นเพื่อหาขั้นตอนการทํางานของหนวยงานหรือกิจกรรมที่กําลังจะดําเนินการ ตรวจ ผูต รวจประเมินฯ นัน้ จะตองเริม่ กระบวนการในลักษณะ BIG PICTURE หรือ การหาลักษณะการทํางานในภาพกวาง ๆ กอนโดยผูถูกตรวจประเมินฯ จะเลาถึง ขั้นตอนการทํางานออกมาเปนขั้นตอนหรือเปนกระบวนการ โดยผูตรวจประเมินฯ นั้นควรจดบันทึกกระบวนการตาง ๆ หรือดําเนินการเปรียบเทียบสิ่งที่ผูถูกตรวจ ประเมินฯ กับสิ่งที่ผูตรวจประเมินฯ ไดเตรียมตัวไว ซึ่งการดําเนินการในลักษณะ นี้ ผูตรวจประเมินฯ อาจพบปญหาในการควบคุมเวลาในการอธิบายของผูถูก ตรวจประเมินฯ เพราะผูถูกตรวจประเมินฯ อาจใชเวลานาน และลงรายละเอียด ในขั้นตอนการปฏิบัติงานคอนขางมากซึ่งอาจมีผลกระทบตอกําหนดการตรวจ ติดตามฯ เพราะฉะนั้นเทคนิคในการตัดบทและเทคนิคการตั้งคําถามอื่น ๆ จะนํามา ผนวกเพือ่ ผูต รวจประเมินฯ จะไดขอ สรุปถึงขัน้ ตอนหรือลักษณะการทํางานตัง้ แต เริ่มตนจนถึงสิ้นสุดกระบวนการนั้น ๆ 2. เทคนิคในการตรวจติดตามฯ • การตรวจตามแนวนอน (Horizontal Audit) - มุงเนนไปยังขอกําหนดหรือขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งของกฎกระทรวง - ตรวจติดตามทุกฝาย/แผนกเพื่อพิสูจนทราบวาทุกฝาย/แผนกไดทํา ตามขอกําหนดขอนั้น - เมื่อใดก็ตามที่ขอกําหนดหรือขั้นตอนนั้นไดทําการตรวจติดตามฯ จน ครบถวนทุกหนวยงานแลว ก็ใหทําการตรวจติดตามในขอกําหนดขั้นตอนถัดไป - วิธกี ารนีเ้ หมาะสําหรับองคกรทีม่ ขี นาดเล็ก ซึง่ ผูต รวจประเมินฯ สามารถ ที่จะตรวจติดตามฯ ไดจนครบทุกพื้นที่ และมีสิ่งอํานวยความสะดวกและขอมูลได เตรียมไวใหพรอมสําหรับการตรวจติดตาม - ใช วิ ธี ก ารนี้ ผ สมผสานกั น กั บ วิ ธี ก ารตรวจตามแนวตั้ ง ตรวจไป ขางหนา และตรวจไปขางหลังก็จะทําใหการตรวจติดตามฯ มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ • การตรวจตามแนวตั้ง (Vertical Audit) - มุง เนนการตรวจติดตามฯ ไปทีแ่ ตละหนวยงาน เพือ่ พิสจู นใหทราบวาแตละ หนวยงานไดดาํ เนินการใหสอดคลองตรงตามกฎกระทรวงฯ ทุกขัน้ ตอน ครบถวนหรือไม - เมื่อการตรวจติดตามฯ ในหนวงงานนั้นๆ เสร็จสมบูรณลง ผูตรวจติด ตามฯ จึงยายไปตรวจติดตามฯ ที่หนวยงานถัดไป - เหมาะสําหรับองคกรที่มีขนาดใหญที่การตรวจติดตามฯ ในแตละพื้นที่ เปนไดคอนขางยาก หรือสิ่งอํานวยความสะดวกหรือขอมูลตางๆตองจัดไวเปน พื้นที่หรือเก็บไวในหนวยงานตาง ๆ - ถานําไปใชรวมกับวิธีการการตรวจตามแนวนอน ตรวจไปขางหนา และ ตรวจไปขางหลัง จะเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบมากขึ้น • การตรวจไปขางหนา (Trace Forward) การตรวจไปขางหนา (Trace forward) เปนกรรมวิธกี ารตรวจติดตามฯ โดย ตรวจตัง้ แตกระบวนการแรก เชนเริม่ จากนโยบายอนุรกั ษพลังงาน ตอดวยเปาหมาย อนุรกั ษพลังงาน แผนอนุรกั ษพลังงาน ไปถึงขัน้ ตอนสุดทาย ซึง่ การตรวจติดตามฯ จะ เปนในลักษณะตรวจสอบเอกสารทีก่ ลาวมาโดยดูในรายละเอียดตาง ๆ วาครบถวนหรือไม และอางอิงไปหาเอกสารใดบาง ซึง่ ตองขอดูและตรวจสอบความถูกตอง • การตรวจไปขางหลัง (Trace Backward) การตรวจแบบยอนกลับ (Backward) เปนกรรมวิธีการตรวจติดตามฯ โดยการเริ่มจากขั้นตอนสุดทายเชน เริ่มตรวจติดตามจากสรุปผลการทบทวนฯ และยอนกลับตามขั้นตอนไปเรื่อย ๆ เปนตน 3. เทคนิคในการตั้งคําถาม ผูตรวจประเมินฯ ควรตั้งคําถามเพื่อคนหาหลักฐานในการตรวจติดตามฯ ใหไดมากที่สุด โดยเทคนิคในการตั้งคําถามที่ใชในการสัมภาษณมีหลายวิธี ไดแก January 2013 l 49

Energy#50_p48-50_Pro3.indd 49

12/22/12 3:37 AM


• คําถามปลายเปด คําถามปลายเปดเปนคําถามที่ผูถูกตรวจประเมินฯ สามารถตอบไดกวาง มาก ผูต รวจประเมินฯ จะใชคาํ ถามชนิดนีก้ ต็ อ เมือ่ ตองการทราบความคิดเห็นของ ผูถ กู ตรวจประเมินฯ เพือ่ รับทราบคําอธิบายจากผูถ กู ตรวจประเมินฯ หรือเปนการ เปดโอกาสใหผูถูกตรวจประเมินฯ สามารถอธิบายเหตุผลประกอบได • คําถามปลายปด/ถามตรงประเด็น คําถามปลายปดเปนคําถามที่ตองการคําตอบเพียง “ใช” หรือ “ไมใช” เทานั้น แตในขณะเดียวกันคําถามที่ตรงประเด็นอาจจะทําใหไดคําอธิบายที่สั้น ๆ คําถามในกลุมนี้ตองการถามในสิ่งที่ตองการขอมูลเฉพาะ • คําถามแบบพิสูจน/ถามเพื่อความกระจาง เปนคําถามแบบปลายเปดชนิดหนึง่ แตเปนคําถามทีม่ ขี อบเขตทีแ่ คบกวาเพือ่ ตองการคําอธิบายใหเกิดความกระจาง เปนการตัง้ หรือใชคาํ ถามทีถ่ ามไปเรือ่ ย ๆ เพือ่ เจาะลึกลงไปในปญหาตอไปเรือ่ ย ๆ โดยการถามเพือ่ ใหเปดเผยขอมูลตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของ • คําถามนํา คําถามนําเปนคําถามที่มีคําตอบเปนนัยอยูในตัวคําถามเอง • คําถามแบบสมมติฐาน เปนคําถามที่มีสถานการณประกอบ โดยผูตรวจประเมินฯ จะจําลอง สถานการณที่ยังไมเคยเกิดขึ้นมาตั้งเปนคําถาม ซึ่งเหตุการณที่สมมติขึ้นจะตอง สมเหตุสมผลและมีโอกาสเปนไปได การตั้งคําถามแบบนี้ขึ้นอยูกับประสบการณ ของผูตรวจประเมินฯ โดยผูถูกตรวจประเมินฯ จะไดคิดหาคําตอบ และเปนโอกาส ในการจัดการพลังงานขององคกรดวย • คําถามซักไซถามเหมือนคนไมถูกกัน คําถามแบบนีจ้ ะทําใหผถู กู ตรวจประเมินฯ ไมใหความรวมมือและยังปกปอง ในสิ่งทีตนเองทําอยู • คําถามยํ้า/ซํ้า เปนการถามยํา้ หรือถามซํา้ หรือถามทวนคําถามเดิมในจุดทีม่ คี วามสําคัญ • คําถามสรุป เปนการถามซํา้ และจับคําตอบซํา้ หรือจับคําตอบทีเ่ ปนใจความสําคัญ เพือ่ ใหมั่นใจไดวาขอมูลสําคัญ ๆ ไดถูกจดบันทึกไวอยางครบถวนแลว 4. เทคนิคการสัมภาษณ - ผูตรวจประเมินฯ จะตองมีความรูสึกที่ไวในการรับรูความอึดอัด วิตก กังวลของผูถูกตรวจประเมินฯ - ผูตรวจประเมินฯ ตองระมัดระวังความรูสึกของพนักงานในระดับลางที่ อาจจะมีสวนเกี่ยวของหรือรับผิดชอบในพื้นที่ที่อาจจะมีขอบกพรองหรือความไม เปนตามเกณฑที่กําหนด - ตองใหเวลากับผูถ กู ตรวจประเมินฯ ใชสาํ หรับการคิดหาคําตอบถามีความ จําเปน - ควรใชภาษาทีเ่ ขาใจงาย และเหมาะสมกับผูถ กู ตรวจประเมินฯ - ควรใชภาษาเดียวกับหนวยงานทีจ่ ะเขาไปตรวจติดตามฯ เพือ่ จะไดสอื่ ความ หมายเปนทีเ่ ขาใจตรงกัน - วิธกี ารตัง้ คําถามจะเปนตัวกําหนดวาผูต รวจประเมินฯ จะไดรบั ขอมูลกลับ มาจากผูถ กู ตรวจประเมินฯ มากนอยเพียงใด - ผูต รวจประเมินฯ จะตองทราบวิธกี ารตัง้ คําถามตาง ๆ ทีค่ วรจะใชในการ ถามผูถ กู ตรวจประเมินฯ และตองเปนผูท มี่ ที กั ษะในการรับฟงเปนอยางดี ควรรับฟง คําอธิบายจากผูต รวจประเมินฯ ใหเสร็จสิน้ กอน กอนทีจ่ ะถามคําถามตอไป - ขอมูลตาง ๆ ทีไ่ ดรบั มาจากการสัมภาษณผถู กู ตรวจประเมินฯ และจาก การสังเกตการณ ควรตองนํามาทวนสอบกับขอมูลทีเ่ หมือนกันแตเปนขอมูลทีไ่ ด มาจากแหลงขอมูลอืน่ 5. เทคนิคการสุมตัวอยาง - ใชวิธีการที่เหมาะสมในการสุมตัวอยาง - การสุมตัวอยางจะตองครอบคลุมตามชวงระยะเวลาหนึ่ง 50 l January 2013

Energy#50_p48-50_Pro3.indd 50

- การตั ด สิ น จะต อ งอยู  บ นพื้ น ฐานของผลจากการตรวจติ ด ตามฯ กลุมตัวอยางที่ไดดําเนินการตรวจติดตามฯ ไปแลว - ผูตรวจประเมินฯ จะตองทราบเปนอยางดีถึงความสําคัญของตัวอยาง ที่เก็บมา และตองเขาใจถึงลําดับชั้นความสําคัญของตัวแทนของกลุมตัวอยางวา กลุมตัวอยางจะเปนตัวแทนของสภาพการทํางานจริงเปนอยางไร - จํานวนของตัวอยางหรือขนาดของกลุม ตัวอยางจะขึน้ อยูก บั ทักษะ ประสบการณ ความรูเ กีย่ วกับสถิตขิ องผูต รวจประเมินฯ และระยะเวลาในการตรวจติดตามฯ 6. เทคนิคการจดบันทึกผลการตรวจติดตามฯ บันทึกผลการตรวจติดตามฯ อาจจะถูกจดอยูในรูปแบบตาง ๆ กัน ไมวา จะเปนการจดบันทึกไวในรายการตรวจติดตามฯ (Audit Checklists) หรือในแบบ ฟอรมพิเศษที่จัดทําขึ้นมาเฉพาะ หรือแบบฟอรมใด ๆ ก็ได ผูตรวจประเมินฯ ควร ทําการจดบันทึกหลักฐานที่พบโดยทันทีเทาที่เปนไปได เพราะถาลาชารอจนกระทั่ง สิ้นสุดการตรวจ อาจจะสงผลใหเกิดความไมแมนยําในการตรวจติดตามฯ 7. เทคนิคการเก็บรวบรวมหลักฐานตาง ๆ ที่สามารถตรวจสอบได - ผูตรวจประเมินฯ สามารถรวบรวมหลักฐานจากการตรวจติดตามฯ (Audit evidence) ไดจากสิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้ 7.1 โดยการตรวจสอบเอกสาร หลักฐานที่ถูกตรวจติดตามฯ 7.2 โดยการตรวจสอบบันทึกทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิบตั งิ านของหนวยงานที่ เกีย่ วของ 7.3 โดยการสอบถาม/สัมภาษณ บุคลากรที่รับผิดชอบในงานนั้น ๆ หรือผูร บั ผิดชอบในสถานทีน่ นั้ ๆ 7.4 โดยการสังเกตการณการปฏิบตั งิ านทีเ่ กิดขึน้ จริง - ตองทําการเก็บรวบรวมหลักฐานตาง ๆ เพือ่ สรางความมัน่ ใจวามีการ ประเมินผลอยางตรงไปตรงมา ไมมกี ารลําเอียง โดยการสรุปสุดทายจะตองอยูบ น พืน้ ฐานการใชขอ เท็จจริง หรือใชหลักฐานทีเ่ ปนจริงในการสรุป - นําขอมูลทีบ่ นั ทึกไวในรายการตรวจประเมิน (Audit Checklists) หรือแบบ ฟอรม อืน่ ๆ มาใชประโยชน

3. การปดประชุมการตรวจติดตามฯ (Closing Meeting)

ประธานคณะผูต รวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองคกร ควรดําเนิน การจัดประชุมเมือ่ การดําเนินการตรวจติดตามเสร็จสิน้ เพือ่ ใชแจงใหหนวยงานที่ เกีย่ วของทราบเรือ่ งตาง ๆ ดังนี้ 1. เพือ่ แสดงความขอบคุณในความรวมมือของหนวยงานตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของ 2. เพือ่ สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงานภายในครัง้ นี้ 3. แจงสิง่ ทีห่ นวยงานทีถ่ กู ตรวจควรดําเนินการตอไป ไดแก 3.1 ความไมเปนไปตามเกณฑทกี่ าํ หนดทีห่ นวยงานตองปรับปรุงแกไข 3.2 พิจารณาการดําเนินการตามขอเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุง

4. การสรุปผลการตรวจติดตามและประเมินการจัดการ พลังงานภายในองคกร

ภายหลังการตรวจติดตามฯ องคกรตองดําเนินการ ดังนี้ • คณะผูต รวจประเมินฯ ทําการสรุปผลการตรวจติดตามฯ เพือ่ ใชสรุปและ รายงานในการประชุมปดการตรวจติดตาม (Closing Meeting) • ประธานคณะผูต รวจประเมินฯ ลงลายมือชือ่ รับรองพรอมจัดสงใหคณะ ทํางานดานการจัดการพลังงาน • คณะทํางานดานการจัดการพลังงานและเจาขององคกร รวมกันพิจารณาผล การตรวจติดตามฯ เพือ่ ทําการทบทวน วิเคราะห และแกไขขอบกพรองตามขัน้ ตอนที่ 8 ตอไป ฉบับหนา ผมจะนําเสนอสิง่ ทีต่ อ งดําเนินการภายหลังการตรวจติด ตามฯ ตัวอยางรายการตรวจติดตามฯ และแนวทางการตรวจติดตามฯ ในแตละขัน้ ตอน เพือ่ นําไปใชงานตอไป

เอกสารอางอิง คูมือฝกอบรม “ผูตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในองคกร” กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 12/22/12 3:37 AM


Green4U

Bio Great

โดย : สุภัจฉรา สวางไสว

เอนไซมจากจุลินทรียธรรมชาติ Bio Great ผลิตภัณฑที่ถูกคิดคนโดย บริษัท เอิรธ ไลฟ จํากัด เปนนวัตกรรมในการใชเอนไซมจากจุลินทรียธรรมชาติมาผสมผสาน กั บ ประโยชน ข องพื ช พั น ธุ  ไ ม ห อมและสมุ น ไพรนานาชนิ ด ที่ มี ก ลิ่ น หอม ตามธรรมชาติ ไม มี ส ารพิ ษ ตกค า ง มี ค วามปลอดภั ย ต อ ผู  บ ริ โ ภค ไมระคายเคืองตอการสัมผัส จึงทําใหผลิตภัณฑนี้กลายเปนที่นิยมและ เปนผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Bio Great เปนหนึ่งในผูนําที่นําประโยชนของจุลินทรียมาใชในการสราง มูลคาใหกับสินคาและผลิตภัณฑตาง ๆ ของ Bio Great ไมวาจะเปนสเปรย เอนไซมกําจัดกลิ่น สบูกําจัดสิว หรือเซรั่มวานหางจระเข ก็เปนผลิตภัณฑที่ได รับความนิยมจากผูบริโภคจํานวนมาก

สเปรยเอนไซมกําจัดกลิ่น เปนผลิตภัณฑที่ไดจากการหมักจุลินทรีย จากออยและสับปะรด สกัดจนไดเอนไซมชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติในการกําจัด กลิ่น โดยเฉพาะกลิ่นเหม็นอับ ซึ่งเอนไซมจุลินทรียจะเขาไปยอยสลายแบคทีเรีย จนกระทั่งกลิ่นคอย ๆ จางไป และไมเปนอันตรายตอมนุษยหรือสัตวเลี้ยง นอก จากนั้นสเปรยเอนไซมยังมีสวนผสมของพันธุไมไทยชนิดอื่น เพื่อเพิ่มกลิ่นหอม สดชื่นจากธรรมชาติ นั่นก็คือ ดอกโมก ดอกมะลิ ดอกลีลาวดี ดอกบัว ตะไคร หอม และยูคาลิปตัส

ในสวนของสบู เปนผลิตภัณฑที่ไดจากการสกัดแตงกวาสดและวาน หางจระเข เนนการกําจัดสิว โดยเฉพาะสิววัยรุน เอนไซมจะฆาเชื้อแบคทีเรียทําให ผิวหนากระชับ ลดความมันบนใบหนา สิวคอย ๆ ลดการอักเสบ และจางหายไป ผลิตภัณฑอีกตัวหนึ่งที่เปนที่นิยมของผูบริโภคคือ Fresh Serum ที่ไดจากการสกัดวานหางจระเข เปนนวัตกรรมที่นําเอาสมุนไพรไทย ไดแก วานหางจระเขสด แตงกวา นํ้าผึ้ง และวิตามิน E มาสกัดเปนเซรั่มบริสุทธิ์ ชวย ขจัดเซลลผวิ หนังทีต่ ายแลว และเซลลผวิ หนังทีถ่ กู ทําลาย สามารถลบเลือนริว้ รอย ไดอยางมีประสิทธิภาพ และยังทําใหผิวสวยเรียบเนียน ดูมีชีวิตชีวา นับวาผลิตภัณฑตาง ๆ ของ Bio Great ไดสรางความแปลกใหม ใหกับผูบริโภค ตั้งแตขั้นตอนการผลิตจนถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ คงจะดีไมนอย ถาจะมีผลิตภัณฑที่ใสใจสุขภาพของผูบริโภคและเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม เชนเดียวกับผลิตภัณฑของ Bio Great ที่ทําให ผูบริโภคไววางใจในตัวผลิตภัณฑ

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

January 2013 l 51

Energy#50_p5,53_Pro3.indd 51

12/20/12 2:12 AM


Energy#48_p52_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

10/23/12

2:57 AM


Hemp Thai

ผลิตภัณฑธรรมชาติ ใส ใจ...ลดโลกรอน

ทานผูอานหลายคนคงนึกสงสัยวา “กัญชง” กับ “กัญชา” ตางกัน ตรงไหน กัญชงเปนพืชชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคลายกัญชา แตจัดอยูในพืชที่ ใหประโยชนดานสิ่งทอเปนสําคัญ เนื่องจากตนกัญชงมีเสนใยที่ใหคุณภาพ สูง มีความยืดหยุน แข็งแรง และทนทาน จึงสามารถนํามาทําเปนวัตถุดิบ ในการทําผลิตภัณฑไดมากกวา 5,000 ชนิด

ผลิตภัณฑทุกชิ้นจะถูกเย็บแบบ zero waste concept คือ เย็บใหมีตะเข็บ นอยที่สุด ลดการตัดทิ้งของเศษผา นอกจากนี้ยังไดพัฒนาการใชงานของ ตนกัญชงใหคมุ คามากทีส่ ดุ โดยการนํายางและเปลือกของตนกัญชงทีถ่ กู สกัดแลว นําสวนผสมนั้นมารวมกับยางพารา เพื่อลดการใชยางพาราและลดการทิ้ง วัตถุดบิ ซึง่ แตกอ น Hemp Thai จะใชแคเสนใยมาทําผลิตภัณฑ สวนประกอบอืน่ ๆ จะถูกเผาทิ้งไป

ตนกัญชงเปนพืชที่เติบโตโดยไมใชปุยหรือสารเคมี ที่สําคัญยังดูดซับ คารบอนไดออกไซดและปลอยออกซิเจนออกมาตลอดเวลา เปนพืชที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม อีกทั้งเสนใยที่ไดจากตนกัญชงเมื่อนํามาถักทอก็มีคุณสมบัติเดน ๆ หลายประการ คือ ไมเปนเชื้อรา เนื้อผาไมรอน และยังสามารถปองกันแสง UV ได Hemp Thai เลือกผลิตสินคาภายใตแนวคิดที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และพยายามที่จะรักษาวิถีชีวิตของชาวบานในการใชลายจักสานของชาวมง เปนเอกลักษณของสินคาแบรนดนี้ นอกจากนั้นยังเปนการสงเสริมอาชีพใหกับ ชาวบานอีกดวย ซึ่งสินคาสวนใหญของแบรนดจะเปนกระเปา รองเทา และเสื้อ สินคาแตละอยางจะมีดีไซนการถักทอที่แตกตางกัน ซึ่งจะถูกพัฒนาตามความ สะดวกสบายของผูบริโภค แตก็ยังเนนการเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเปนหลัก

นอกจากผลิตภัณฑของ Hemp Thai จะอยูภ ายใตแนวคิดลดโลกรอน และใช วั ต ถุ ดิ บ ธรรมชาติ ใ ห เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด แล ว ยั ง เป น อี ก หนึ่ ง ชองทางในการรณรงคใหคนไทยหันมาใสใจเรื่องสิ่งแวดลอมกันมากขึ้น ซึ่งถือวา Hemp Thai เปนแบรนดผลิตภัณฑที่เอาใจผูบริโภคที่รักษโลก อยางแทจริง

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

January 2013 l 53

Energy#50_p5,53_Pro3.indd 53

12/20/12 2:12 AM


Green Vision โดย : วรรณวิภา ตนจาน

ปตท. เปดโครงการตนแบบ Zero Waste แหงแรกในไทย

ขยะคือ สิง่ ทีผ่ ค ู นไมตอ งการและทิง้ มันในทีส่ ดุ แตคณ ุ รูไ หมวาขยะมีมากมาย หลายรูปแบบทัง้ ทีเ่ ปนของแข็ง ของเหลว ขยะทีย่ อ ยสลายไดและยอยสลายไมได ขยะทีน่ าํ กลับไปใชประโยชนไดและนํากลับไปใชประโยชนไมได รวมทัง้ ขยะทีเ่ ปนพิษตอ มนุษยและสิง่ แวดลอมหากกําจัดไมถกู ตอง ปจจุบนั มีผคู นจํานวนมากทีน่ าํ ขยะมา สรางรายไดเปนอาชีพเสริมในรูปแบบตาง ๆ หรือนํามาประยุกตใชในครัวเรือน สําหรับการเปดตัวโครงการตนแบบการจัดการขยะเหลือศูนย (Zero Waste) ทีส่ ถานีบริการนํา้ มัน ปตท. สาขาสระบุรี เพือ่ ชวยลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนปจจัยหลักที่ทําใหเกิดกาซเรือนกระจกจากการขนถายขยะและการบริหาร จัดการขยะจากแหลงกําเนิด ซึง่ การสรางศูนยปฏิบตั กิ ารและศูนยเรียนรูก ารจัดการ ขยะเหลือศูนยในสถานีบริการนํ้ามันสามารถนําขยะทุกประเภทมาใชประโยชนได ครบถวนสรางรายไดจากการจัดการขยะได ผูใ ชบริการหรือชุมชนโดยรอบสถาน บริการนํา้ มันสามารถเขามาศึกษาและนํากลับไปประยุกตใชในบานเรือนได นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารเยี่ ย มชมและสาธิ ต การนํ า ขยะของสถานี บ ริ ก าร มาผานกระบวนการชีวภาพเพือ่ ผลิตเปนปุย และนํา้ ยาเอนกประสงค ซึง่ สามารถนํา มาใชงานภายในสถานีบริการ พรอมทัง้ ชมการนํากระแสไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากเซลล แสงอาทิตย (solar cell) มาใชในราน Cafe Amazon อีกดวย เปนความตัง้ มัน่ ของ ปตท. ทีพ่ รอมจะขับเคลือ่ นอุตสาหกรรม ชุมชน และสังคม ใหกา วไปขางหนาพรอมกัน อยางเกือ้ กูลและยัง่ ยืน

นายสรัญ รังคสิริ รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจ นํ้ามัน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กลาววา โครงการตนแบบการจัดการ ขยะเหลือ ศู น ยนี้ เปน หนึ่งในภารกิ จสี เ ขีย วของธุรกิจ นํ้ามัน ตามเปาหมาย green roadmap ของ กลุม ปตท. ที่มุงใชองคความรูและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจก และดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจที่ไมสงผล กระทบตอสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมายสงเสริมใหสังคมไทยเกิดการบริโภค อยางรูคุณคา และใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พรอมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิต รวมถึงลดการปลอยของเสียดวยเทคโนโลยีที่ไดมาตรฐานสากล ซึ่งโครงการ ตนแบบการจัดการขยะเหลือศูนยสามารถตอบโจทยภารกิจดังกลาวของกลุม ปตท. ไดเปนอยางดี ทั้งนี้ ปตท. จะมีการขยายผลโครงการสถานีบริการนํ้ามัน ลักษณะนี้อยางตอเนื่อง ทั้งในสวนโครงการ Zero Waste และโครงการผลิต กระแสไฟฟาดวย solar cell “สถานี บ ริ ก ารนํ้ า มั น ปตท. สระบุ รี แห ง นี้ จะเป น ต น แบบของ องคความรูด า นการจัดการขยะเหลือศูนยทจี่ ะถายทอดใหกบั ผูป ระกอบการ ชุมชน รวมถึงผูใชบริการ และจะขยายผลออกไปในวงกวางนําไปสูการรวมกันสราง สังคมไทยใหเปนสังคมคารบอนตํ่า หรือ Low Carbon Society” นายสรัญ กลาวทิ้งทาย

54 l January 2013

Energy#50_p54_Pro3.indd 54

12/22/12 2:13 AM


Greenovation โดย : จีรภา รักแกว

โคมไฟตั้งโตะกินได ผลิตจากไบโอพลาสติก

“Bite Me” เปน โคมไฟตั้ ง โตะกิน ได ออกแบบโดย Victor Vetterlein ผลิ ต จากไบโอพลาสติ ก (biodegradable plastic) เปนพลาสติกที่ยอยสลายทางชีวภาพ ไดมาจาก พืช และสาหรายทะเล หลักการทํางานของโคมไฟ หลอดไฟ LED จะติดอยูกับพลาสติกใส กระแสไฟจะเชื่อมตอเขาทางดานบนดวยแถบโลหะที่ตัดดวยเลเซอร และ เมื่อเราไมตองการใชโคมไฟอีกตอไป ก็สามารถนําโคมไฟไปบริโภคได หรือจะนําไปทําปุยหมัก ก็เปนวิธีอนุรักษสิ่งแวดลอมอีกวิธีหนึ่ง อยางไรก็ดี การนําโคมไฟที่ไมใชแลวมาบริโภคนั้น จะตองแชนํ้าทําความสะอาดไวประมาณ 1 ชั่วโมงเพื่อใหผิวออน ตัวลงเหมือนเจลาติน มี 4 รส ใหเลือก ไดแก สม เชอรี่ แอปเปล และบลูเบอรี่ เปนแหลงรวมวิตามิน แคลเซียม สังกะสี และทองแดง ที่มีประโยชนตอรางกายดวย

เกาอี้ โยก iRock สารพัดประโยชน ชารจแบต iPhone, iPad ได

รูห รือไมวา การทีเ่ รานัง่ โยกเกาอีจ้ ะมีพลังงานมากพอทีจ่ ะนําไปใชชารจแบต iPad, iPhone ไดอยางสบาย ๆ จึงเปนที่มาของการออกแบบเกาอี้โยก ที่ชื่อวา iRock ออกแบบโดยบริษัท Micasa Lab ถามองผิวเผิน อาจจะเหมือนเกาอีโ้ ยกธรรมดาทัว่ ไป แตจริง ๆ แลวไมธรรมดาอยางทีค่ ดิ เกาอีโ้ ยก iRock สามารถเปลีย่ น พลังงานทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นไหวโยกขึน้ ลงใหกลายเปนพลังงานไฟฟาได เปนการสรางพลังงานอยางยัง่ ยืน ใหกับอุปกรณ อยาง iPad, iPhone และอุปกรณอื่น ๆ ในตระกูล Apple พลังงานที่เกิดจากการโยกเกาอี้ 1 ชัว่ โมง จะไดไฟชารจ iPad ถึง 35 % ของความจุ นอกจากนีย้ งั มีลาํ โพงเล็ก ๆ ติดอยูด า นบนของพนักพิง โยกไปฟงเพลงไป แลวก็ไดชารจแบตไปดวย

รองเทาผลิบานได ใส ใจสิ่งแวดลอม รองเทาที่เราสวมใสกันเมื่อหมดประโยชนก็ทิ้งใหเปนขยะ ใครจะคิดวาในโลกนี้จะมีรองเทาที่ทิ้งแลว ซากของมันสามารถสรางสิ่งมีชีวิตใหเติบโตได แฟชั่นรองเทาที่มาพรอมกับการเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ที่ชื่อวา OAT หรือ Shoes that bloom “รองเทาที่ผลิบานได” โดย Christiaan Maats จุดเดนคือ การออกแบบผลิตภัณฑหัวใจสีเขียว เมื่อรองเทาหมดสภาพแลวนําไปฝงดิน เชือกปอและผาฝายที่ใชทํารองเทาจะถูกยอยสลายภายในระยะเวลา 2 เดือน หลังจากการฝงกลบ สําหรับชิ้นสวนที่เปนพลาสติกจะยอยสลายภายใน 6 เดือน ที่สําคัญเมล็ดพันธุของดอกไมที่อยูบริเวณสวนหั วของรองเทา จะเจริญงอกงามตอไปในอนาคต

January 2013 l 55

Energy#50_p55,57_Pro3.indd 55

12/22/12 1:01 PM


Energy#42_p55_Pro3.ai

1

4/25/12

2:03 PM


ร้ า นกาแฟสดเคลื่อ นที่ด้ว ยพลั ง จั ก รยาน นักศึกษาชาวอังกฤษ สาขาออกแบบผลิตภัณฑ จาก Royal College of Art, London ไดคิดคนดัดแปลงจักรยานใหเปนรถขาย กาแฟสด ชื่อวา Velopresso เปนผลงานที่ไดรับรางวัล Deutsche Bank Award 2012 (Design) โดยใชพลังงานจากแรงปน ชวยลด การใชพลังงานไฟฟาได Velopresso เปนสิ่งประดิษฐที่ใชทดแทนการบดเมล็ดกาแฟจาก เครื่องไฟฟา ดวยการใชสายพานคารบอน โซชนิดไมใชนํ้ามันหลอลื่น โดยใชแรงปนจักรยานเพียง 5 วินาที ก็จะไดปริมาณกาแฟสําหรับ 1 ชอรต สําหรับการทํานํ้ารอนจะใชหมอสนาม ซึ่งจะทําใหนํ้าเดือด อยางรวดเร็วในปริมาณพอดีเสิรฟตอ 1 ชอรต และยังใชแรงดันจาก การหมุนคันโยกเพื่อใหเกิดพลังงานในการเคลื่อนที่ของจักรยานได ทั้งหมดเปนการปรุงกาแฟสดที่ยังคงรสชาติเยี่ยมไดเปนอยางดี Velopresso ไดผลิตเพิ่มขึ้นเพื่อบริการกาแฟสดใหชุมชน และ ยังมีแผนการในอนาคตที่คิดไปถึงความเปนไปไดในการนํากากกาแฟ ที่ใชแลวกลับมาเปลี่ยนเปนพลังงานหมุนเวียนอีกดวย

กังหันลม Eole Water นวัตกรรมผลิตนํ้าด มจากอากาศ กังหันลม WMS1000 ที่ผลิตโดย Eole Water ไดพัฒนากังหันลมใหสามารถ นําไอนํ้าในอากาศมาผลิตเปนนํ้าดื่มได โดยใชพลังงานลมที่มีอยูตามธรรมชาติในการ ขับเคลื่อน สําหรับขั้นตอนการผลิตนํ้า เริ่มจากดูดไอนํ้าในอากาศ แลวสงตอเขาไปใน เครือ่ งอัดอากาศ ไอนํา้ จะเกิดการควบแนนกลัน่ ตัวเปนหยดนํา้ ไหลไปตามทอผานเครือ่ ง กรองนํ้าไดนํ้าดื่มบริสุทธิ์ใหกับชุมชน โดยใน 1 วัน สามารถผลิตนํ้าไดถึง 1,000 ลิตร ปจจุบนั กังหันลม WMS1000 ถูกสงไปที่ Abu Dhabi เพือ่ ทดสอบการทํางานของเครือ่ ง นับเปนนวัตกรรมที่ชวยเหลือประชาชนในพื้นที่ขาดแคลนนํ้าอยางแทจริง

January 2013 l 57

Energy#50_p55,57_Pro3.indd 57

12/20/12 2:31 AM


Green Space โดย : วรรณวิภา ตนจาน

เมืองสวย นํ้าใส ไรมลพิษ

แม ใ นป จ จุ บั น จะมี ก าร รณรงคปลูกจิตสํานึกใหผูคน ในสังคมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ออกมาใหเห็นมากมาย ซึ่งผล ตอบรับจากการรณรงคตางๆ ยังคงไมเพียงพอทีจ่ ะแกไขปญหา วิ ก ฤตของสภาพภู มิ อ ากาศ ใหดีขึ้นได ทั้ ง นี้ ก า ร จั ด ง า น วั น สิ่ ง แวดล อ มไทยเมื่ อ ปลายป ที่ ผ า นมา จั ด ขึ้ น ภายใต แ นวคิ ด “4 ธันวาคม วันสิง่ แวดลอมไทย รวมทําเมืองไทยใหเขียวสดใสถวายพอหลวง : เมืองสวย นํา้ ใส ไรมลพิษ เพียงกินอยู รูค ดิ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม” ประกอบดวย 8 นโยบาย 5 เปาหมาย สงเสริมแนวคิด “เมื อ งสวยนํ้ า ใส ไร ม ลพิ ษ เพี ย งกิ น อยู  รู  คิ ด เป น มิ ต ร กับสิ่งแวดลอม” ใหประสบความสําเร็จ นั่นหมายความวา บานเมืองมีความสวยงาม มีสีเขียวของตนไม แมนํ้าลําคลอง ใสสะอาด ปราศจากขยะและสิง่ ปฏิกลู อากาศสดชืน่ นายปรีชา เรงสมบูรณสขุ รัฐมนตรีวา การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลาววา นับจากที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว ทรงมี พ ระราชดํ า รั ส เรื่ อ ง สิ่งแวดลอมเมื่อป 2532 เรื่อยมาจนถึงปจจุบัน ซึ่งนับเปน ปที่ 23 แลว กระทรวงไดนอมนําพระราชดํารัสของพระองค มาเป น แนวทางในการขั บ เคลื่ อ นดํ า เนิ น งาน โดยมุ  ง หวั ง ใหเกิด “เมืองสวย นํา้ ใส ไรมลพิษ เพียงกินอยู รูค ดิ เปนมิตรกับ สิง่ แวดลอม”

ภายในงานมี พิ ธี ถ วาย สั ต ย ป ฏิ ญ าณเนื่ อ งในวั น สิ่ ง แวดลอมไทย และพิธมี อบรางวัล ถ ว ยพระราชทานสมเด็ จ พระ นางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ในโครงการประกวดชุ ม ชน ปลอดขยะ เฉลิมพระเกียรติฯ (13 รางวั ล ) รางวั ล เชิ ด ชู เกียรติบุคคลเพื่อสิ่งแวดลอม ศึกษา EE Award (18 รางวัล) และรางวั ล ชายหาดคุ ณ ภาพ ดี ม ากและชายหาดคุ ณ ภาพดี (15 รางวัล) ฯลฯ

การจัดงานในครัง้ นีม้ ขี นึ้ เพือ่ ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ที่ทรงมีพระราชดํารัส ถึงสถานการณสิ่งแวดลอมของประเทศไทยและสถานการณ สิง่ แวดลอมโลก เมือ่ ครัง้ เสร็จออกใหคณะบุคคลตาง ๆ เขาเฝาถวาย พระพรชัยมงคล เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2532 เพือ่ ตรัสเตือนคนไทยใหตระหนักถึงความสําคัญ ของปญหาสิง่ แวดลอมทีก่ าํ ลังทวีความรุนแรงขึน้ ทัว่ โลก โดยเฉพาะ ปญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศโลก โดยใหถอื เปนหนาที่ ของทุกคนทีต่ อ งรวมมือกันแกไขปญหาสิง่ แวดลอม 58 l January 2013

Energy#50_p58-59_Pro3.indd 58

12/22/12 2:18 AM


เครือขายชมรมกัลฟจติ อาสาบุกอยุธยา

รวมใจพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม

เครื อ ข า ยจิ ต อาสาขนาดใหญ อ ย า งเครื อ ข า ยกั ล ฟ จิตอาสา เพื่อพัฒนาเมืองอยุธยาใหนาอยูและมีความสุขรวมกัน ภายใต ส โลแกน “เรารั ก อยุ ธ ยา” ที่ มี เ ป า หมายเดี ย วกั น คื อ เพื่อสรางสรรคสังคม จึงไดจัดตั้งชมรมจิตอาสา กลุมจิตอาสา ในพื้นที่ตาง ๆ และประสานงานกับองคกรหนวยงานดานการ พัฒนาที่มีอยูแลวชวยกันพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมรวมกัน ซึ่งเปนการระดมสรรพกําลังและสรางเสริมศักยภาพในการ ขับเคลือ่ นสังคมรวมกับหนวยงานตาง ๆ ใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ โครงการเครือขายชมรมกัลฟ จิ ต อาสาร ว มใจพั ฒ นาสั ง คม และสิ่ ง แวดล อ ม ป ที่ 3 จั ด ขึ้ น ณ โรงเรียนบานชาง ต.บานชาง อ.อุ ทั ย จ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป น การรวมเครื อ ข า ย จิตอาสารวมกันพัฒนาฟน ฟู โรงเรี ย นที่ ยั ง ทรุ ด โทรม ตอเนื่องจากวิกฤตินํ้าทวม ทั้งอาคารเรียนสิ่งแวดลอม โดยรอบโรงเรียนและการปรับ

ภูมิทัศนใหสวยงาม รวมทั้งการสราง ศู น ย ก ารเรี ย นรู  เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ในโรงเรี ย น และโครงการอาหาร กลางวันแบบพึ่งตนเองของโรงเรียน เชน การสรางเรือนเพาะเห็ด การขุดบอ เลี้ ย งกบ เลี้ ย งปลา ทํ า แปลงผั ก ปลอดสารพิษ และโครงการแยกขยะ จัดตั้งธนาคารขยะ และขยายเปนกลุมออมทรัพยโรงเรียน นายสันติวัฒน สุภัทโรบล ผูอํานวยการโรงเรียนบานชาง กลาววา รูสึกเปนเกียรติและยินดีเปนอยางยิ่งที่ไดรวมโครงการ ฯ กับเครือขายชมรมกัลฟจติ อาสาทุกหนวยงานในการพัฒนาโรงเรียนซึง่ เปน โชคดีของทางโรงเรียนเรา หลังจากเหตุการณนาํ้ ทวมโรงเรียนทรุดโทรม ไปมาก งบประมาณฟ นฟูโรงเรียนมีนอย เมื่อเครือขายจิตอาสา มารวมกันพัฒนาโรงเรียน โรงเรียนมีสภาพดีขึ้นมาก เห็นไดถึงพลัง แหงการรวมตัวของเครือขายจิตอาสา ทางโรงเรียนขอขอบคุณ ทุกหนวยงานและอาสาสมัครทีม่ สี ว นในการชวยพัฒนาโรงเรียนในครัง้ นี้ โครงการเครือขายชมรมกัลฟจติ อาสาไดเชือ่ มรอยเครือขาย ซึ่งเปนตัวอยางที่ดีที่สามารถระดมพล หนวยงาน องคกรตาง ๆ มารวมกั น ได เป น อี ก หนึ่ ง พลั ง ที่ จ ะเสริ ม สร า งเมื อ งอยุ ธ ยา ใหนาอยูตลอดไป January 2013 l 59

Energy#50_p58-59_Pro3.indd 59

12/22/12 2:18 AM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

เปนสินคา หรือการใหบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ไดใหแงคิด สําคัญในการพัฒนาการผลิตที่สอดคลองกับการบริโภคที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมดวยเชนกัน จากการสํารวจพบวาประเทศในกลุมยุโรป ประชาชนมากกวา รอยละ 60 ใหความสนใจกับสินคาที่ผลิตจากกระบวนการผลิตที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและปลอดภัยตอสุขภาพ แมวาราคาจะสูงกวา ประชาชนชาวอเมริกนั กวา รอยละ 50 ตอบแบบสอบถามพบวา พรอมจะซือ้ สิ น ค า ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มด ว ยราคาที่ แ พงกว า สิ น ค า ปกติ

ก า ร เ ลื อ ก ซื้ อ สิ น ค า ที่ เป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม

การบริ โ ภคที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มเป น กระแสที่ ภาคประชาชนให ค วามสํ า คั ญ เพิ่ ม ขึ้ น และมี ก ารเปลี่ ย นแปลง ในหลายภาคสวนทีใ่ หความสําคัญและเปนสวนชวยในการผลักดัน การซื้อสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ในที่นี้รวมถึงการจัดการ สิ่งแวดลอมที่เนนการปองกันมากกวาการแกไขปญหา ซึ่งมิใช หนาทีข่ องภาครัฐแตฝา ยเดียว ทุกภาคสวนตองถือวาการบริโภค การบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เปนมาตรการสําคัญ ทีจ่ ะพัฒนาประเทศทีร่ บั ผิดชอบตอสังคม อยางไรก็ตามการบริโภค ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมในประเทศไทยยังตามหลังประเทศตะวันตก อีกมาก ความหมายของการบริโภคทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมเกีย่ วพันกับ การใชชีวิตของเรา การบริโภคหมายถึงการกินการใชทรัพยากร ในชี วิ ต ประจํ า วั น นั ก สิ่ ง แวดล อ มคิ ด ถึ ง การบริ โ ภคที่ เ ปน มิ ต รตอ สิ่ ง แวดล อ ม เป น การใช สิ ท ธิ ที่ จ ะเลื อ กกิ น เลื อ กใช ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอม โดยเฉพาะปจจุบันใชสีเขียว Green เปนตัวแทนการบริโภค ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เชน พืชผักปลอดสารพิษ เปนตน จนกระทั่ง ถึงกิจกรรมของเมืองมีเมืองสีเขียว พฤติกรรมการบริโภคที่เนน การรักษาสุขภาพ การไมทําลายสิ่งแวดลอมจากสารพิษตาง ๆ ยอมหมายถึงการรั ก ษาสุ ข ภาพเช น กั น ในบางครั้ ง การบริ โ ภคที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมถูกเรียกวาการบริโภคสีเขียว การบริโภค ที่ ยั่ ง ยื น เนื่ อ งจากการคํ า นึ ง ถึ ง ที่ ม าของวั ต ถุ ดิ บ ก อ นจะผลิ ต 60 l January 2013

Energy#50_p60-61_Pro3.indd 60

12/22/12 1:43 AM


แตมฉี ลากทีแ่ สดงความเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ดังนัน้ เปาหมายสําคัญ ของการบริโภคที่เป นมิ ตรตอสิ่งแวดลอมคือ การทํ าให ผูบริโภค ยอมรับผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและมีความสุขที่จะบริโภค เพื่อความเปนอยูที่ดีขึ้น รู ป แบบการส ง เสริ ม การบริ โ ภคที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม ในบทความนีเ้ ปนการมองการสงเสริมการบริโภคทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ทําอยางไรจึงจะประสบผลสําเร็จไมมากก็นอย ดังนี้ 1. การแสดงถึ ง ที่ ม าของสิ น ค า ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม และสงเสริมการวางตลาดของสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในพื้นที่ วางขายตาง ๆ มีใหเลือกหลากหลายและมากชนิดขึ้น

2. การไมซื้อสินคาเมื่อพบวาทําลายสิ่งแวดลอม หรือมาจาก การใชสารที่เปนพิษตอสุขภาพ รวมทั้งการเฝาระวังสินคาที่ตํ่ากวา มาตรฐานการผลิตยายถิ่นมาขายในประเทศไทย เชน สินคาตกสเปค จากตางประเทศ สินคาที่ตรวจพบวาใชสารเคมีเกินกวามาตรฐาน กําหนด โดยเฉพาะสินคาเครื่องเลนของเด็ก เปนตน 3. การเลือกซือ้ สินคาทีส่ รางความสัมพันธระหวางผูบ ริโภคกับ ผูขายเเละผูผลิต เชน การใหขอมูลสินคา การบอกกลาวหรือแสดง ความรับผิดชอบตอการบริโภค โดยเฉพาะการใชสารเคมีตา ง ๆ ในการผลิต จากทัง้ 3 ขอทีก่ ลาวมาแลว ลองสังเกตดูจะเห็นวาจากการผลิต และการบริโภคทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ลวนแลวแตมคี วามสําคัญและ สัมพันธกนั โดยใชระบบการตลาดเปนตัวเชือ่ ม การทีผ่ บู ริโภคจํานวนมาก ยินดีที่จะจายหรือซื้อบริการเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดลอมแมวาราคา สินคาจะสูงขึ้นกวาเดิม แตเพื่อความปลอดภัยทางดานสิ่งแวดลอม มีบุคคลไมนอยเต็มใจที่จะจาย และมีความพยายามที่จะสนับสนุนสินคา ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น สุดทายนีก้ ารพยายามสนับสนุนสงเสริมการเลือกซือ้ สินคา คือการสรางความเชื่อมั่นในสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ภาครัฐตองใหขอมูลแกผูบริโภคและมีระบบหลักประกันความ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมหรือระบบการลงโทษผูผลิตที่หลอกลวง ประชาชนวาเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง เอกสารอางอิง กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม (2555) การบริโภคสีเขียว Green consumer กรุงเทพฯ : ส.ไพบูลยการพิมพ สํานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนยุทธศาสตร การบริโภคที่ยั่งยืน 2554 January 2013 l 61

Energy#50_p60-61_Pro3.indd 61

12/22/12 1:43 AM


Environment Alert โดย : ศันสนีย กีรติวิริยาภรณ เลขาธิการสมาคมพัฒนา คุณภาพสิ่งแวดลอม เปนที่ยอมรับวา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน ๆ หนึ่ง ไมวาจะเปน เด็กหรือผูใหญจะเกิดขึ้นไดอยางยั่งยืน ก็ตอเมื่อตองทําใหคนคนนั้นเกิดความ รูสึกกอนวา อยากจะเปลี่ยนหรืออยากจะทํา มากกวาที่จะมีใครมาบอกใหเปลี่ยน หรือใหทํา ดังเชน ความคาดหวังของคุณครูตอนักเรียนที่ตนเองเฝาพรํ่าสอน (แถมบนวา) เกี่ยวกับการใชไฟฟา ใชนํ้า หรือสิ่งของตาง ๆ อยางรูคุณคา เชน ใหปดไฟปดพัดลมทุกครั้งที่ไมใช แตก็ยังพบเสมอ ๆ วา ไฟและพัดลมในหองเรียน ถูกเปดทิ้งไวโดยไมมีใครใช หรือก็อกนํ้าในหองนํ้าของโรงเรียนถูกเปดทิ้งไว จนนํ้าไหลเจิ่งนอง รวมทั้งการทิ้งขวดเครื่องดื่ม เปลือกผลไม หรือถุงขนม บนพื้นหรือทิ้งรวมกับขยะประเภทอื่น ๆ ในถังขยะของโรงเรียน โดยไมสนใจ วาสิ่งของที่ทิ้งนั้นจะสามารถนํามาใชใหมไดหรือไม ที่เปนเชนนี้เพราะนักเรียน หรือเด็ก ๆ ยังไมเห็นถึงความสําคัญหรือความจําเปนที่จะตองทํา จนทําใหเกิด ความรูสึกวาอยากจะทํา ทั้งนี้เพราะพื้นฐานความรูของเด็ก ๆ ยังไมเชื่อมตอวา โลกรอน นํา้ ทวม ดินถลม ฯลฯ เกีย่ วของกับการเปดปดไฟอยางไร ถาพืน้ ฐานตรงนีไ้ มมี จะเชือ่ มโยงตอกันไมได เมือ่ เชือ่ มตอกันไมได ก็ไมรถู งึ ความจําเปน และไมรสู กึ อยากทํา และที่สําคัญเด็กนักเรียนไมไดจายคาไฟ โรงเรียนเปนคนจาย เขาก็ไมรูสึกอะไร

ทําอยางไร…ใหคนไทยไมทาํ รายสิง่ แวดลอม

การรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความเสือ่ มโทรมของสิง่ แวดลอมทางสือ่ ทุกชองทาง รวมทัง้ การสัมผัส ไดดว ยตนเองถึงการเปลีย่ นแปลงของสภาวะแวดลอมในรูปแบบตาง ๆ เชน อากาศทีร่ อ นขึน้ ความแหงแลง นํา้ ปาไหลหลาก นํา้ ทวม โคลนถลม หมอกควัน อากาศเปนพิษ ขยะลนเมือง อาหารมีสารพิษปนเปอ น ฯลฯ ในรอบ 10 ปทผี่ า นมา ทําใหคนไทยรับรูไ ดถงึ ความสําคัญของการรักษาสิง่ แวดลอมในลักษณะทีต่ า ง ๆ กันออกไป บางคนอาจนึกถึงการปลูกตนไมเพื่อฟนฟูปาซึ่งอยูหางไกล (ทําใหไมคอ ยไดปลูก) หลายคนอาจนึกถึงปญหาขยะ แตไมรจู ะจัดการอยางไร เพราะถึงอยางไรเสีย เราก็ยงั ตองกินตองใช ในขณะทีม่ คี นจํานวนไมนอ ย ทีเ่ ริม่ รับรูไ ดถงึ ความจําเปนทีเ่ ราตองใชทรัพยากร (ในรูปของไฟฟาและเชือ้ เพลิง พลังงาน หรือนํา้ ใช รวมทัง้ ผลิตภัณฑตา ง ๆ ) อยางรูค ณ ุ คา เพือ่ ลดแรงกดดัน ตอสิง่ แวดลอมและธรรมชาติ และคนสวนหนึง่ ทีร่ บั รูไ ดวา การอนุรกั ษพลังงาน และสิง่ แวดลอมเปนหนทางเดียวเทานัน้ ทีจ่ ะทําใหเราสามารถอยูร อดได แต เ ป น ที่ น  า เสี ย ดายว า ท า มกลางการรั บ รู  ถึ ง ความสํ า คั ญ ของ สิง่ แวดลอม สังคมไทยก็ยงั ไมสามารถขับเคลือ่ นภาวะการรับรูด งั กลาว ใหกลายเปน ความตระหนักรูในระดับที่ลุกขึ้นมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตและบริโภค (การกินการอยู) ที่สรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหรือตักตวงเอาประโยชนจาก ธรรมชาติใหนอยลงได ทุกวันนี้เรายังพบเห็นการใชพลังงานที่มีการสูญเสีย รั่วไหลในทุกรูปแบบ เชน การเปดเครื่องปรับอากาศทิ้งไวโดยไมมีใครอยูในหอง การเสียบปลั๊กเครื่องใชไฟฟาคางไวโดยไมไดใช ฯลฯ การใชนํ้าอยางไมรูคุณคา เชน การปลอยใหนํ้ารั่วหยดโดยไมซอมแซม รวมทั้งการใชผลิตภัณฑตาง ๆ อยางฟุมเฟอย จนเปนสาเหตุใหเกิดขยะในแตละวันเปนจํานวนมาก จะเห็นไดวา การรับรูดังกลาว ยังไมสามารถขยายผลตอยอด จนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ในระดับพฤติกรรมทีจ่ ะทําใหคนไทยสวนใหญหนั มาใชพลังงานและทรัพยากรอืน่ ๆ อยางรูคุณคา และชวยรักษาสิ่งแวดลอมไดอยางเปนรูปธรรม

ในขณะทีเ่ ด็กนักเรียนในโรงเรียนเอกชน อาจรูส กึ วา ฉันจายคาเรียนแพง ฉันตองใชไฟ ใหคมุ เงือ่ นไขทีค่ ณ ุ ครูโฆษณาเชิญชวนหรือพรํา่ สอนใหประหยัดจึงเขาไมถงึ เด็กเลย กรณี นี้ แ ทนที่ คุ ณ ครู ห รื อ โรงเรี ย นจะกล า วโทษว า เด็ ก นั ก เรี ย นดื้ อ หรือฟุงเฟอ ก็คงจะตองหันกลับมาคิดอีกมุมหนึ่งวา เปนเพราะการสอนของเรา เขาไมถึงเด็กตางหาก ทําใหเด็กไมนําไปปฏิบัติ และหันมารวมกันทําการปรับ กระบวนการเรียนการสอนใหม ใหเปนกระบวนการเรียนการสอนทีต่ อ งเขาใหถงึ เด็ก โดยใชเรื่องใกลตัวเด็ก เปนเรื่องที่เด็กใหความสนใจ สงสัย อยากรู คนหา เรียกวาเปนการเรียนการสอนที่ทําใหเด็กเกิดกระบวนการเรียนรูเกี่ยวกับการ อนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมโดยเริม่ จากประเด็นเล็ก ๆ ประเด็นใดก็ไดทเี่ ด็กสนใจ เพราะถาเด็กสนใจ เด็กก็จะพยามยามเรียนรูด ว ยตนเอง เกิดเปนกระบวนการเรียนรู

62 l January 2013

Energy#50_p62-63_Pro3.indd 62

12/22/12 1:47 AM


ซึ่งทั้งหมดนี้โรงเรียนตองชวย แตเสียดายวาโรงเรียนสวนใหญยังจัดทิศทาง กระบวนการเรียนรูเรื่องพลังงานโดยเฉพาะในสวนของการอนุรักษพลังงาน ไมได สวนใหญยังคงเปนการอธิบายหรือพูดไปตามสื่อตาง ๆ ที่มี โดยไมสามารถ เชื่อมโยงใหเด็กรูเรื่องและเขาใจในระดับที่จะนําไปปฏิบัติ แตเปนเพียงการสอน ที่ทําใหเด็กจํา โดยไมไดเขาใจถึงความสัมพันธระหวางปจจัยเหตุและผลของ การใชพลังงานกับตัวเด็กเอง หากโรงเรียนไหนมีการปรับกระบวนการเรียน การสอนที่ทําใหเด็กเกิดกระบวนการเรียนรูเกี่ยวกับการใชพลังงาน ตัวเด็ก และสิง่ แวดลอมได เชือ่ ไดวา นักเรียนจะหันมารวมมือกับโรงเรียนในการใชพลังงาน และทรัพยากรอื่น ๆ อยางประหยัดแนนอน ในสวนของผูใหญหรือผูที่พนจากกรอบของการศึกษาขั้นพื้นฐานแลว แนนอนวา หลักการทีจ่ ะตองทําใหคนเหลานีเ้ กิดความรูส กึ วาอยากจะทํา ยังคงใชได เหมือนเดิม แตจะทําอยางไร จึงจะทําใหเขาอยากจะทํา ที่ผานมาจะเห็นวา รัฐบาล และหนวยงานตาง ๆ พยามยามใชวิธีการรณรงคในลักษณะของการจัดกิจกรรม เผยแพร รวมทั้งการโฆษณาประชาสัมพันธในสื่อชนิดตาง ๆ แตก็ตองยอมรับวา การณรงคไดผลในระดับคนทีพ่ อพูดรูเ รือ่ งและอยากทําเปนทุนเดิมอยูแ ลว ในขณะที่ คนทั่วไปอยางแมคา คนขับมอเตอรไซด หรือคนทํางานทั่ว ๆ ไป ทั้งรวยและจน กลับไมใหความสําคัญ ยิง่ มีการใชมาตรการตรึงราคา ไมวา จะเปนนํา้ มันเชือ้ เพลิง กาซหุงตม หรือไฟฟา ยิ่งทําใหคนไทยไมเกิดความรูสึกวาจะตองประหยัด เพราะ ยังพอมีปญญาจายได นอกจากนี้สวนใหญไมใชเปนคนจายเอง โดยเฉพาะการ ใชพลังงาน นํ้า และอื่น ๆ ในที่ทํางาน ทําใหแรงขับเคลื่อนในการประหยัดยังไมมี กรณี นี้ ค งจะต อ งอาศั ย การทํ า งานร ว มกั น ของภาคส ว นต า ง ๆ (ซึ่งฟงดูแลวอาจจะรูสึกวายาก เพราะดูเหมือนวาคนไทยจะทํางานรวมกันไมเปน) ตัวอยางเชน หนวยงานหรือสํานักงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ควรจะหันมา ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การใช พ ลั ง งานหรื อ ทรั พ ยากรต า ง ๆ อย า งรู  คุ ณ ค า ดวยการสรางกลไกตาง ๆ ที่จะทําใหพนักงานของตนสามารถทําภารกิจในที่ ทํางานตามหนาที่ ดวยการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ตัวอยางเชน จัดใหมี นโยบายและคณะทํางานดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมอยางเปนรูปธรรม และจัดใหมกี ารดําเนินงานดานนีอ้ ยางเปนระบบ ทีส่ าํ คัญตองมีระบบสือ่ สารทีจ่ ะสราง การมีสวนรวมหรือทําใหคนทํางานหรือพนักงานรูสึกอยากประหยัดพลังงาน

(ทั้งในที่ทํางานและที่บาน) ใหได นอกจากจะตองมีมาตรการและแนวปฏิบัติ ในการใชพลังงานและทรัพยากรอื่น ๆ (และมีเหตุผล) ที่ชัดเจน เพื่อเปนแนวทาง ในการใหพนักงานปฏิบัติตาม ทั้งนี้ทั้งนั้นหนวยงานภาครัฐ (โดยเฉพาะหนวยงาน ที่เกี่ยวของกับพลังงานหรือทรัพยากรตาง ๆ ทั้งหมด) ควรจะเปนตัวอยางที่ดี หรือเปนตนแบบของการใชพลังงานอยางรูค ณ ุ คา เพือ่ ทีห่ นวยงานอืน่ ๆ ทัง้ ภาครัฐ และเอกชนจะไดใชเปนแบบอยางและทําตาม สําหรับกลุม คนทีท่ าํ งานอิสระ เชน แมคา แมบา น คนขับรถแท็กซี่ มอเตอรไซด ฯลฯ นอกจากจะตองหาทางใชกลไกราคา (ที่ตองคํานึงถึงความเปนธรรม) มาเปนตัวกระตุนแลว หนวยงานที่เกี่ยวของอาจตองเขาไปสรางความเขาใจ และความพรอมของคนเหลานีใ้ หเกิดขึน้ ไปพรอม ๆ กัน ทัง้ นี้ จะโดยวิธกี ารใดก็ตอ ง พิจารณาตามความเหมาะสมเปนกลุม ๆ ไป ทั้งนี้ทั้งนั้นสามารถใชวิธีการรณรงค หรือการโฆษณาเชิญชวนเปนเครื่องมือปูพรมสําหรับทุก ๆ กลุมเปาหมาย การเดินหนาขับเคลือ่ นใหคนไทยเกิดความรูส กึ อยากจะรักษพลังงาน และสิง่ แวดลอม แนนอนวา จะตองอาศัยการขับเคลือ่ นเชิงยุทธศาสตรของ หนวยงานที่รับผิดชอบทางดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ซึ่งในขณะนี้ ก็คอนขางจะสับสน วาหนวยงานที่เกี่ยวของกับพลังงานและสิ่งแวดลอม หนวยงานไหนที่ควรจะเปนแมงานหลักในการขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร เพราะเทาที่เห็นอยูทุกวันนี้ รูสึกจะทํากันทุกหนวยงาน แตเปนการทําแบบ เบี้ยหัวแตก เพราะตางคนตางทํา มีซํ้าซอนกันบาง มีตอไมติดกันบาง และทีส่ าํ คัญทําแบบไฟไหมฟาง มีประเด็นรอนทีกท็ าํ ที จนทําใหเปนการยาก ที่จะทําใหคนไทยเขาใจถึงแกนแทของความสําคัญของการใชพลังงานและ ทรัพยากรตาง ๆ อยางรูค ณ ุ คา ไมนบั รวมถึงความเขาใจถึงปจจัยเหตุและผล ทีเ่ ชือ่ มโยงกันได ระหวางการใชพลังงาน (ไฟฟา) นํา้ ผลิตภัณฑตา ง ๆ สิง่ แวดลอม โลกรอน นํา้ ทวม และตัวเราเอง ซึง่ ความเขาใจถึงความเชือ่ มโยงความสัมพันธของ สิง่ ตาง ๆ ทีก่ ลาวมาแลวขางตน จะเปนแรงขับเคลือ่ นสําคัญทีจ่ ะทําใหคนไทย เกิดความรูส กึ อยากจะทําและหันมาทําในทีส่ ดุ

หมายเหตุ บทความนีเ้ ปนความเห็นสวนตัวของผูเ ขียน สมาคมพัฒนาคุณภาพ สิ่งแวดลอมไมมีสวนรับผิดชอบใด ๆ ตอความคิดเห็นดังกลาว ติดตอ สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม 25/25 พุทธมณฑลสาย 4 ต. ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทรศัพท 0-2800-2424 , 0-2800-2442 และ 0-2441-9232 โทรสาร 0-2889-3390 หรือที่ www.adeq.or.th January 2013l 63

Energy#50_p62-63_Pro3.indd 63

12/22/12 1:47 AM


0 Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

โครงการพัฒนาระบบบําบัดนํา้ เสียและนํานํา้ กลับมาใชใหม แบบ Zero Discharge สําหรับอาคารสูงในภูมภิ าคเขตรอน โครงการนีเ้ ปนโครงการหนึง่ ของความรวมมือระหวางประเทศไทย และประเทศญี่ปุน เพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการนํานํ้ากลับมา ใชใหมในภูมิภาคเขตรอน โดยมีองคการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของญี่ปุน (JST) รวมกับ องคการความรวมมือระหวางประเทศ

มารูจ กั กับ…โครงการจัดการนํา้ เสีย แบบ Zero Discharge

เพอการนํานํา้ กลับมาใชใหมสาํ หรับอาคารสูงในภูมภิ าคเขตรอน ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตซงึ่ ตัง้ อยูใ นเขตรอน มักประสบปญหาภัยแลงในฤดูรอ นและประสบปญหานํา้ ทวมในฤดูฝน นอกจากนัน้ การเติบโตทางดานเศรษฐกิจของประเทศเหลานีท้ าํ ใหเกิด ปญหาสิง่ แวดลอมตาง ๆ เพิม่ ขึน้ เปนผลทําใหการจัดหาแหลงนํา้ สะอาดเปนไปไดยากขึน้ ประเทศไทยเปนประเทศหนึง่ ในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตที่มีการเจริญเติบโตดานเศรษฐกิจสูง จึงมี ความจําเปนในการสงเสริมใหใชหลัก 3Rs (Reduce, Reuse and Recycle) ในการใชทรัพยากรนํา้ ในเขตเมือง ชุมชน และภาค อุตสาหกรรมเพื่ออนุรักษแหลงนํ้าและรักษาคุณภาพนํ้า การจัดการนํ้าเสียในอดีตนั้นมักเน นไปที่ระบบการจัดการ ที่ปลายทาง ซึ่งเปนการเพิ่มภาระใหกับผูประกอบการ ในขณะเดียวกัน ก็ทําใหรัฐบาลตองสูญเสียงบประมาณในการตรวจสอบและควบคุม เพื่ อ ให เ ป น ไปตามค า มาตรฐานที่ กํ า หนด ป จ จุ บั น ทิ ศ ทางใหม ของการจัดการสิ่งแวดลอมไดมีการพิจารณาแกปญหาที่ตนทาง หรือแหลงที่กอใหเกิดมลพิษ โดยพยายามที่จะลดมลพิษเหลานั้น ใหไดมากที่สุด ดังนั้นการใชแนวทางการลดมลพิษที่แหลงกําเนิด จึ ง เป น แนวทางที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ ในระดั บ สากลว า เป น แนวทาง ที่เหมาะสมในการจัดการกับปญหาสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหานํ้าเสียจากอาคารสูงซึ่งถาหากจัดการ ไม ดี พ อก็ จ ะกลายเป น แหล ง มลพิ ษ ทางนํ้ า และของเสี ย ที่ สํ า คั ญ เนื่องจากมีจํานวนของประชากรที่อยูอาศัยหรือทํางานอยูภายใน อาคารสูงจํานวนมาก

ของประเทศญี่ ปุ  น (JICA) เพื่ อ แก ไ ขป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มโลก และไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานในประเทศญี่ปุนที่เขารวมวิจัย คือ มหาวิทยาลัยโตเกียว สําหรับหนวยงานของประเทศไทยที่ดําเนิน โครงการนี้ก็คือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงคหลัก เพื่อพัฒนาระบบบําบัดนํ้าเสียที่สามารถนํานํ้ากลับมาใชใหมสําหรับ อาคารสูงซึ่งเปนระบบที่ประหยัดพื้นที่ ประหยัดพลังงาน และสามารถ นํากลับสารอาหารในนํ้าทิ้งจากอาคารสูงกลับมาใชใหม ซึ่งปจจุบันนี้ ในประเทศญีป่ นุ มีการนํานํา้ กลับมาใชใหมสาํ หรับอาคารในหลายเมืองแลว เชนที่ เมืองโอซากิ เมืองชินากาวา เมืองชิโอโดเมะ ซึ่งนํานํ้ามาใช ประโยชนในการลางถนน ลางยานพาหนะประเภทรถไฟ ใชเปนนํ้า ฉีดลางสําหรับชักโครก ดังแสดงในรูป

64 l January 2013

Energy#50_p64-65_Pro3.indd 64

12/20/12 10:56 PM


โครงการรีไซเคิลนํ้าดวยระบบถังปฏิกรณ ชีวภาพ เมมเบรนแบบประหยัดพื้นที่ เป น ระบบถั ง ปฏิ ก รณ ชี ว ภาพที่ ใ ช แ ผ น เยื่ อ กรองเมมเบรน เปนตัวกลางในการกรองของเสียออกจากนํ้า เปนรูปแบบกระบวนการ บํ า บั ด นํ้ า ขั้ น สู ง ของจุ ลิ น ทรี ย  ที่ ใ ช กํ า จั ด สารอิ น ทรี ย  ใ นนํ้ า เสี ย เปนรูปแบบของการผสมผสานรูปแบบระบบบําบัดจุลินทรียแขวนลอย แบบเติมอากาศ รวมกับการกรองโดยใชแผนเยื่อกรองเมมเบรน ภายในถังเดียวกัน นํ้าที่ผานการบําบัดจะไมไดรับผลกระทบจากการ ตกตะกอนของสลัดจ เพราะสลัดจจะแยกออกจากนํา้ โดยแผนเยือ่ กรอง ทํ า ให ร ะบบนี้ เ ป น ระบบที่ ผ ลิ ต นํ้ า ทิ้ ง ที่ มี คุ ณ ภาพดี แ ละสามารถ นํากลับมาใชใหมไดสําหรับอาคารสูงไดทั้งหมด แบบ Zero Discharge และมี ข นาดของระบบกะทั ด รั ด และเล็ ก กว า ระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ในอาคารแบบเดิมที่ใชกันอยู ระบบรีไซเคิลนํ้าตนแบบที่พัฒนาขึ้น ภายใตโครงการนีส้ ามารถผลิตนํา้ รีไซเคิลไดประมาณ 8,000 ลิตรตอวัน เพื่อนํานํ้าทิ้งที่มีคุณภาพดีและนํากลับสารอาหารมาใชประโยชนใหม ในการรดนํ้าตนไมในสวนอันเขียวขจีของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

พารามิเตอร

ระบบรีไซเคิลนํ้าเสียจากอาคารสูงตนแบบ ในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คุณภาพนําที่ ได 7.5-8.3 0 8-10 0.85-1.0 0.3-0.5 ตรวจไมพบ

ตารางแสดงคุณภาพนํ้าทีไ่ ดจากการใชงานจริง ระบบรีไซเคิลนํ้าจากอาคารสูงในจุฬาฯ

การนํานํ้าทิ้งที่ผานการบําบัดกลับมาใชใหม ในการรดนํ้าในสวนของมหาวิทยาลัย

จากความจําเปนดังกลาว ในการลดปญหานํา้ เสียจากอาคารสูง การประยุกตใชหลักของระบบรีไซเคิลนํ้าเสียเพื่อนํากลับมาใชประโยชน เปนนํ้าสะอาดตามหลักการของเทคโนโลยี สะอาด จึ ง เปน อีก ทาง เลือกหนึ่งที่นาสนใจและทาทาย เพื่อเปนการใชทรัพยากรนํ้าใหคุมคา และเหมาะสม เปนการใชประโยชนนาํ้ ทิง้ ไดทงั้ หมดแบบ Zero Discharge ชวยลดการทําลายสิง่ แวดลอม โดยมีเปาหมายรวมกันคือ การสงเสริม และรักษาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืนภายใตการบูรณาการ อันสอดคลองกับกระแสของสังคมไทยและสังคมโลก January 2013 l 65

Energy#50_p64-65_Pro3.indd 65

12/20/12 10:56 PM


Energy#46_ESM_Pro3.ai

1

8/23/12

9:38 PM


Energy Tezh โดย : จีรภา รักแกว

เทคโนโลยีการขับขี่

ที่เหนือกวาแหงอนาคต

นอกจากนี้ยังมีระบบตรวจจับรถในจุดบอด (blind spot information system - BLIS) ระบบนี้จะชวยเตือนผูขับขี่ใหทราบเมื่อมีรถขับเขามายังจุดบอด ทั้งดานซายและดานขวาของรถ อุปกรณดังกลาวใชชุดเรดารแบบมีรัศมีหลาย ดานซึง่ ติดตัง้ อยูท มี่ มุ ดานนอกของกันชนทายรถ จะทําหนาทีต่ รวจสอบวามีรถอืน่ ขับเขามาในจุดบอดหรือไม หากพบระบบจะแสดงไฟสัญญาณที่กระจกขางเพื่อ เตือนใหผขู บั ขีท่ ราบวามีรถขับเขามาใกลแลว ระบบ “ออโตไพล็อต” ทีต่ ดิ ตัง้ ในตัวรถ จะชวยใหรถขับไดเองโดยจะสือ่ สารกับรถคันอืน่ ทีอ่ ยูบ นทองถนน ทัง้ ยังเตือนผูข บั ขี่ ถึงอุบัติเหตุที่จะเกิดขางหนาได

การพัฒนายานยนตแนวคิดใหมที่สรางประสบการณการขับขี่ที่ เหนือกวา เปนการนําเอาเทคโนโลยีลาํ้ สมัยมาตอบสนองความตองการของ ผูขับขี่ ไมวาจะเปนความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ที่คํานึงถึงสุขภาพ ของผูข บั ขีเ่ ปนหลัก รูปแบบการใชชวี ติ และการเชือ่ มตอเทคโนโลยีในอนาคต เพื่อความสุขที่ยั่งยืน การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในการจดจําเสียง ดวยระบบสั่งงานดวย เสียง (voice control) เปนโปรแกรมจดจําคําพูดหรือประโยคที่ผูขับขี่ใชบอย ๆ ไมเพียงแต “ฟง” สิง่ ทีผ่ ขู บั ขีส่ อื่ สารเทานัน้ แตยงั สามารถเขาใจสิง่ ทีผ่ ขู บั ขีต่ อ งการ ได ดานเทคโนโลยีติดตามและเฝาระวังทางการแพทย (medical monitoring) ไดพัฒนาออกมาเปนเกาอี้ที่ใชเลเซอรตรวจจับสัญญาณคลื่นไฟฟาตรวจสอบ ระดับการเตนของหัวใจผูขับขี่ได ในขณะที่เทคโนโลยีปองกันอุบัติเหตุ (accident prevention) อยางระบบชวยเบรกความเร็วตํ่า (active city stop) ดวยการ สงสัญญาณตรวจจับบนถนนขางหนา เมื่อการจราจรติดขัดระบบจะชวยเบรก รถอัตโนมัติ หากมีความเสี่ยงที่จะเกิดการชนระบบจะทํางานในสภาพพรอมเบรก แมไมมีการตอบสนองจากผูขับขี่ (ไมมีการหมุนพวงมาลัยหรือเหยียบเบรก) ซึ่งระบบจะสงแรงเบรกไปยังลอตาง ๆ โดยอัตโนมัติทันที

ดานระบบชวยจอดอัจฉริยะ (active park assist) เทคโนโลยีที่ชวยหมุน พวงมาลัยเขาเทียบจอดในพืน้ ทีว่ า งไดอตั โนมัติ เพียงกดปุม สัง่ งานบนแผงควบคุม อุปกรณ ซึง่ จะสัง่ งานใหเซ็นเซอรแบบอัลตราโซนิก (ultrasonic) สแกนหาพืน้ ทีจ่ อด รถ และพวงมาลัยพาวเวอรแบบอิเล็กทรอนิกส (EPAS) ที่ชวยกําหนดตําแหนง ที่เหมาะสมในการเทียบจอด รวมถึงการคํานวณองศาในการหมุนพวงมาลัยและ บังคับทิศทางของพวงมาลัยเพื่อเทียบจอดในพื้นที่วางอยางรวดเร็ว ทั้ ง หมดนี้ ล  ว นแต เ ป น สุ ด ยอดเทคโนโลยี ย านยนต แ ห ง อนาคต ทีไ่ ดรบั การพัฒนาเพื่อตอบสนองการดํารงชีวติ ของมนุษยใหสะดวกสบาย และยั่งยืนมากขึ้น January 2013 l 67

Energy#50_p67_Pro3.indd 67

12/20/12 1:46 AM


Vehicle Concept โดย : Bar Bier

TATA Megapixel

ซิ ตี้ ค าร พ ลั ง งานไฟฟ า

ยานยนตพลังงานไฟฟา ดูเหมือนจะเปนยานยนตทกี่ าํ ลังถูกจับตามอง อยางมากใหชว งหลาย 10 ปทผี่ า นมา นัน้ ก็เพราะโลกเริม่ ตืน่ ตัวถึงปญหา ดานพลังงานทีก่ าํ ลังจะเกิดขึน้ ในอนาคต สัญญาณสําคัญคือ ราคาพลังงาน ที่ไตระดับสูงขึ้นอยางตอเนื่องและไมมีทีทาวาจะลดลงเลยนั่นก็เปน ตัวบงบอกไดวา นํา้ มันเริม่ หายาก และมีตน ทุนมากขึน้ ทุกวัน ทางออกทีท่ วั่ โลก สามารถทําไดคอื ใชพลังงานจากนํา้ มันใหนอ ยและคุม คาทีส่ ดุ นัน่ เอง ลาสุด ภายในงานมหกรรมยานยนต ครัง้ ที่ 29 บริษทั ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด ไดฉลองการดําเนินธุรกิจในประเทศไทยเปนปที่ 5 โดยนํา TATA Megapixel ยานยนตตน แบบสไตล ซิตคี้ าร พลังงานไฟฟา

ที่กําลังไดรับความนิยมอยางมากมาจัดแสดงเปนครั้งแรกในประเทศไทย และเปนครัง้ แรกทีเ่ ผยโฉมในทวีปเอเชียของ TATA Megapixel การออกแบบ Megapixel ตนสังกัดอยาง TATA ใหความสําคัญอยางมาก ดวยการออกแบบใหสื่อถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผสมผสานความภูมิฐาน เฉพาะตัว ทัง้ ในสวนของตัวรถ สีสนั กราฟก หรือวัสดุในการประกอบตาง ๆ ที่เนนความสวยงามและทันสมัยในระดับสากล หลังคาแบบพาโนรามิค ชวยเพิม่ มุมมองภายในหองโดยสารใหดกู วางขวางมากขึน้ สวนประตูเลือ่ น แบบ double-sliding ที่แนบไปกับดานขางตัวรถ ทําใหการเขาออกตัวรถ สะดวกสบาย พรอมทัศนวิสยั ทีเ่ หนือกวา

68 l January 2013

Energy#50_p68-69_Pro3.indd 68

12/22/12 1:50 AM


นอกจากนี้ Megapixel ยังไดรับการออกแบบใหผูขับขี่สามารถ ใชเทคโนโลยีอนั ทันสมัยควบคูไ ปกับการใชงานไดมากขึน้ และสะดวกสบายยิง่ ขึน้ จากแผงคอนโซลที่ อ อกแบบให ส ามารถเชื่ อ มต อ กั บ โทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ภายในรถ พรอมจอภาพแบบทัชสกรีนขนาดใหญที่เปนเสมือนแผงหนาปด และศูนยกลางควบคุมอุปกรณ ฟงกช่ัน หรือเช็คขอมูลตาง ๆ ของรถ เชน อุณหภูมิ ระบบปรับอากาศ รูปแบบการขับขี่ หรือ ขอมูลสมรรถนะของรถ TATA Megapixel ถือเปนยานยนตตน แบบทางเลือกทีจ่ ะถูกนําไปพัฒนา ตอยอดสําหรับยานยนตที่จะผลิตตอไปในอนาคต ซึ่งจะถูกออกแบบใหเปน คอนเซปตคารทใ่ี ชพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรีล่ เิ ธียมไอออนทํางานรวมกับ เครื่องกําเนิดไฟฟาที่ใชนํ้ามันเบนซินเปนตัวสรางพลังงาน นอกเหนือจาก การชารจไฟฟาจากเครื่องกําเนิดไฟฟาดังกลาวที่จะทําการชารจไฟฟาเขา แบตเตอรี่อยางตอเนื่อง ซึ่งใชงานไดในระยะทางมากกวา 900 กิโลเมตร จากนํ้ามันเพียง 1 ถัง และยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ดวยคาไอเสียเพียง 22 กรัมตอกิโลเมตร และมีอัตราสิ้นเปลืองอยูที่ 100 กิโลเมตรตอลิตร

ดวยความที่ TATA Megapixel ถูกออกแบบให เปนรถซิตี้คาร สําหรับใชงานในเมืองเปนสวนใหญ จุดเดนของการออกแบบจึงเนนที่ ความคล อ งตั ว ใช ง านได ดี ใ นสภาพการจราจรหนาแน น และมี ป ริ ม าณ รถมาก โดยเฉพาะเมืองใหญ ๆ ของโลก ที่เรื่องการจอดรถหรือการ กลับรถทําไดคอนขางลําบาก ซึ่ง Megapixel ถูกดีไซนมาภายใตคอนเซ็ปต ซีโร เทิรน (zero turn) มีระบบขับเคลื่อนควบคุมทั้ง 4 ลอ ดวยมอเตอร ไฟฟาแยกอิสระในแตละลอ ทําใหมีรัศมีวงเลี้ยวแคบเพียง 2.8 เมตร หรือ สามารถเลี้ยวกลับรถไดงายบนถนนเพียง 1 เลน การเขาจอดแบบเทียบจอดก็ทําไดอยางสะดวกรวดเร็ว เนื่องจาก ลอทัง้ 4 สามารถบังคับเลีย้ วทํามุมที่ 0 องศา จากแนว 90 องศาของลอรถ พร อ มระบบนํ า ร อ งช ว ยเหลื อ ในการจอด ทํ า ให TATA Megapixel สามารถใชดานขางของรถจอดเทียบไปหาแนวบาทวิถีไดทันที โดยไมตอง เดินหนา-ถอยหลัง ซึ่งนั่นเปนที่มาของคําวา zero turn ผลลัพธของ การใชงานที่เนนเรื่องของความคลองตัวนั่นเอง January 2013 l 69

Energy#50_p68-69_Pro3.indd 69

12/22/12 1:50 AM


Energy Test Run โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

Honda JAZZ HYBRID ไฮบริดนาคบ... ราคาสบายกระเปา

การแขงขันของตลาดรถยนตพลังงานทดแทนถือเปนตลาดทีก่ าํ ลัง มาแรงอยางมาก แมวา จะเปนกระแสทีเ่ พิง่ เกิดขึน้ ไมนาน แตกส็ ามารถครอง ตลาดโดยรวมของบานเราไดอยางถลมทลาย โดยเฉพาะกลุม รถเล็กราคา ประหยัดอยางอีโคคาร ทีส่ รางยอดขายจนผลิตแทบไมทนั อีกกลุม ทีม่ กี าร ทําตลาดมากอนหนานีค้ อื กลุม ยานยนตเครือ่ งยนตลกู ผสมระหวางมอเตอร ไฟฟากับเครือ่ งยนต หรือทีร่ จู กั กันในชือ่ HYBRID แตดว ยราคาทีค่ อ นขางสูง จึงเปนการยากทีล่ กู คาบางกลุม จะสามารถจับตองได ดวยความทีร่ ถยนตกลุม ไฮบริดถูกมองวาเปนรถยนตสาํ หรับตลาดกลุม บน ชองวางของผูใชรถระดับกลางหรือกลุมที่เพิ่งทํางานที่ตองการใชเทคโนโลยี ดานการประหยัดงานจึงเกิดขึน้ และหนึง่ ในคายทีค่ อ นขางตอบโจทยกลุม คนรุน ใหม ไดอยางตรงจุด อยาง Honda จึงเปดตัวรถยนตไฮบริดภายใตโมเดล JAZZ ทีต่ ดิ ตลาดรถยนตขนาดกลางอยูแ ลว เพือ่ เพิม่ ทางเลือกใหกบั ผูบ ริโภคมากขึน้ ทีส่ าํ คัญ ยังเปนรถประเภทไฮบริดทีเ่ คาะราคาลงมาใหเปนเจาของไดไมยาก โดยตัง้ คอนเซ็ปต วา HYBRID สําหรับทุกคนอีกดวย Honda JAZZ HYBRID เปดตัวในประเทศไทย หลังจากเปดตัวในประเทศญีป่ นุ ไปประมาณ 1 ป ถามวาชาไหม คําตอบคือ ไมชา และถือเปนเรือ่ งปกติเพราะรถที่ จําหนายในบานเราสวนใหญจะเปนรถทีผ่ ลิตในประเทศเสียเปนสวนใหญ ซึง่ การเตรียม การของโรงงานผลิตยอมตองใชเวลาพอสมควร รวมถึงการเตรียมความพรอม ดานอืน่ ๆ ควบคูก นั ไป ทีนเี้ รามาติดตามกันดีกวาวา JAZZ HYBRID มีดอี ะไร เริม่ กันทีร่ ปู ลักษณ ภายนอก มองภาพรวมจะมีการตกแตงที่คลายกับรุนรอง TOP ของโมเดลที่ จําหนายในปจจุบนั แตจะมีลกั ษณะทีบ่ ง บอกเพือ่ ใหแยกแยะออกวาเปนคนละรุน กัน

สวนที่โดดเดนจะเปนการใหโทนสีเพื่อสิ่งแวดลอม ในสวนของไฟหนาแบบ MultiRefector,ชุดไฟทาย LED และกระจังหนาทีใ่ ชแบบโคมกรอบใสพืน้ สีฟา ออนมองดู สบายตา รวมถึงการเพิม่ เติมรายละเอียดใหกบั คิว้ โครเมียมบริเวณมือจับประตูหอ ง เก็บของดานหลัง และโลโกสญ ั ลักษณ HYBRID ทีท่ า ยรถ ดานการออกแบบภายใน แนนอนวาไมผดิ เพีย้ นไปจากรุน ธรรมดามากนัก ใน เรือ่ งของมิตกิ ารออกแบบเพราะเทากันและเหมือนกัน แตจะมีการเพิม่ เติมรายละเอียด เขาไปตามประโยชนการใชสอย โดยโทนสีของแสงสองสวางคอนโซลจะเนนทีโ่ ทนนํา้ เงิน และเขียวเปนเอกลักษณเฉพาะรุน HYBRID เทานัน้ และจะเปลีย่ นสีไปตามสภาพการ ขับขีแ่ ละการใชเชือ้ เพลิง โดยไลโทนสีจากการขับระดับปกติทสี่ นี าํ้ เงินจนถึงสีเขียวเมือ่ มีการขับขีค่ งทีแ่ ละใชเชือ้ เพลิงอยางมีประสิทธิภาพ สวนดานขาวมือของเรือนไมลจะ มีเข็มเพิม่ เติมมาอีกหนึง่ เข็ม เพือ่ แสดงสถานะการณทาํ งานของระบบ HYBRID วา มีการชวยเหลือจากมอเตอรไฟฟามากนอยเพียงไร โดยเข็มจะกวาดไปในโซน ASST หรือ ASSIST สวนอีกดานจะเปนโซน CHRG หรือ CHARGE ซึง่ เข็มจะกวาดมาทีโ่ ซน นี้ เมือ่ มีการถอนคันเรงหรือเหยียบเบรก ซึง่ ระบบจะแปลงพลังงานตอนเบรกเปลีย่ น เปนกระแสไฟฟากลับสูแ บตเตอรี่ เพือ่ ใชขบั เคลือ่ นมอเตอรไฟฟาตอไป ลูกเลนของเรือนไมลยังไมจบ ตรงกลางยังมีสวนหนาจอขนาดพอเหมาะ ทีจ่ ะแสดงขอความเตือนตาง ๆ ทัง้ เตือนลืมปด-เปดประตู ลืมปดไฟหนา ลืมกุญแจ เปนตน แสดงขอมูลการขับขีต่ ามมาตรฐาน ไมวา จะเปนมาตรวัดระยะทาง มาตร วัดระยะทางแบบตัง้ เอง Trip A-B อัตราสิน้ เปลืองเฉลีย่ และการแสดงการทํางาน ของระบบ HYBRID แสดงประวัตอิ ตั ราสิน้ เปลืองเชือ้ เพลิง และของเลนใหมกบั การ แสดงคะแนนการขับขีแ่ บบ ECO Score วาเราขับขีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมหรือไม สวนระบบปรับอากาศรุน นีเ้ ปนแบบ digital สไตลญปี่ นุ เขาชุดกับเครือ่ งเสียงวิทยุ

70 l January 2013

Energy#50_p70-71_Pro3.indd 70

12/22/12 2:01 AM


AM/FM/CD/ MP3 พรอมชองสาย USB รองรับ iPod ควบคุมไดดว ยพวงมาลัย multi function บนพวงมาลัย ไดเวลาในการทดสอบจริงกันบาง หลายทานเปนหวงเรือ่ งสมรรถนะของ JAZZ HYBRID คันนี้ เพราะมีคาํ ถาม มาวาเครือ่ งยนตเทาไหร และคําตอบคือ 1,300 ซีซ.ี ก็มกั จะมีเสียงอุทานตามมาวา “จะไหวหรอ” ตองเรียนตามตรงวาใครทีย่ งั คิด เชนนีอ้ ยู อาจจะตองปรับเปลีย่ นทัศนคติเสียใหม ปจจุบนั เรือ่ งของเทคโนโลยีเปนสิง่ ที่ กาวหนาไปมาก เครือ่ งยนตทมี่ คี วามจุนอ ย ใชวา จะวิง่ ตางจังหวัดหรือในเมืองไมไหว ซึ่งเครื่องยนตที่บรรจุอยูในบอดี้นี้เปนแบบ 4 สูบ SOHC 8 วาลว 1,339 ซีซี. ระบบแปรผัน i-VTEC หัวฉีดอีเล็กโทรนิกส PGM-FI แรงมาสูงสุดที่ 88 แรงมา ที่ 5,800 รอบ/นาทีแรงบิดสูงสุดที่ 12.3 กก.-ม.ที่ 4,500 รอบ/นาที พรอมมอเตอร ไฟฟา DC ขนาด 100 Volt แรงมาสูงสุดที่ 14 แรงมา ที่ 1,500 รอบ/นาที แรงบิด สูงสุดที่ 8 กก.-ม.ที่ 1,000 รอบ/นาที ขับเคลือ่ นลอหนา ผานเกียร CVT หรือเกียร อัตโนมัตอิ ตั ราทดแปรผันนัน่ เอง

เพิ่มอีกทาง สวนการชารจพลังงานของแบตเตอรี่ ตัวรถจะนําพลังงานที่สูญ เสียไปในขณะเบรก เปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาสงกลับคืนสูแบตเตอรี่ เพื่อเก็บ พลังงานไวใชตอไป เรื่องอัตราเรงของ HYBRID ตัวเล็กคันนี้ ไมไดเล็กตามตัว หลังจากลอง เหยียบคันเรงแบบเต็มแรง ทั้งเครื่องยนตและมอเตอรไฟฟาจะทํางานควบคูกัน ใหแรงดึงในระดับที่นาพอใจอยางยิ่ง ไมแพเครื่องยนตขนาด 1,500 ซีซี.เลย แมแตนอย และความเร็วก็สามารถไตไปไดที่ระดับ 160-170 กิโลเมตร/ ชั่วโมง ไดอยางไมยากนัก พูดอยางนี้อาจขัดใจผูที่ดูถูกรถเล็กพอสมควร แตก็เปนเรื่อง จริงที่ตองยอมรับนะครับ สวนการใชงานในเมือง ดวยความที่เปนยานยนตที่ เนนหนักดานการประหยัดพลังงานจึงมีระบบ Idling stop มาให ซึ่งเปนระบบที่ ดีสําหรับการจราจรที่ติดนานระดับ 4-5 นาที แตหากทานขับไปบนการจราจร ที่มีการขยับตัวอยางตอเนื่อง ระบบดังกลาวก็อาจสรางความลําบากตอทาน ไดระดับหนึ่ง เพราะเครื่องยนตจะมีการสตารทเครื่องทุกครั้งที่มีการเคลื่อนรถ หรือเมื่อเขาเกียร N R หรือ P

นอกจากนี้ JAZZ HYBRID ยังมีการระบบ ECON Mode ทีช่ ว ยในการจัดการ พลังงานของรถใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ไมวา จะเปนการจัดการระบบเชือ้ เพลิงหรือการ ควบคุมอุณหภูมภิ ายในหองโดยสาร จากการทดสอบแบบครบวงจรทัง้ ในเมืองและนอก เมือง ตัวเลขประหยัดเชือ้ เพลิงอยูท ี่ 18.3 กิโลเมตร/ ลิตร ถือวานาพอใจ หลายทาน อาจคิดวานอยไป อยาลืมวารถคันนีแ้ บกทัง้ นํา้ หนักเครือ่ งยนต นํา้ หนักมอเตอรไฟฟา นํา้ หนักแบตเตอรี่ และตัวรถรวมทัง้ คันก็ 1,166 กิโลกรัม กับการขับขีใ่ นกรุงเทพฯ และ นอกเมือง ตัวเลขดังกลาวถือวาไมขเี้ หร สวนผูท มี่ คี วามกังวลเรือ่ งของการบํารุงรักษา ยิง่ ไมนา เปนหวง เพราะทาง Honda รับประกันระบบ HYBRID แบบเต็มระบบ 5 ปเต็ม กับราคาคาตัว 768,000 บาท นาจะเปนตัวเลือกทีด่ ไี มนอ ยทีเดียว

ขอมูลทางเทคนิค

หลักการทํางานของระบบ HYBRID ของ Honda จะแบงการทํางาน ออกเปนชวง ๆ โดยชวงของการออกตัวจะเปนหนาที่ของเครื่องยนตเปนหลัก ซึ่งมีอยูใน Honda แทบทุกรุนที่เปนระบบ HYBRID มอเตอรไฟฟาจะชวย เสริมกําลังใหในชวงออกรถและเรงแซง แลวระบบ HYBRID จะทํางานตอนไหน จากการทดสอบเมื่อเราเรงความเร็วมาอยูในระดับที่ตองการ แลวถอนคันเรง และเหยียบคันเรงอีกครั้งในลักษณะของการเลี้ยงคันเรง รถจะเขาสูโหมด EV หรือ Electric Vehicle และขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาแทน โดยดึงพลังงาน จากแบตเตอรี่ และหากมีการแตะคันเรงเพิ่ม เครื่องยนตจะชวยในการขับเคลื่อน

เครองยนตแบบ ความจุ กําลังสูงสุด แรงบิดสูงสุด มอเตอรไฟฟากําลังสูงสุด แรงบิดสูงสุด พวงมาลัยแบบ ระบบเบรก ระบบกันสะเทือน ความยาว x กวาง x สูง ขนาดลอ ความจุนํามัน

SOHC 4 สูบ 8 วาลว i-VTEC 1,339 ซีซี. 88 แรงมา ที่ 5,800 รอบตอนาที 12.3 กิโลกรัม-เมตรที่ 4,500 รอบตอนาที 14 แรงมาที่ 1,500 รอบตอนาที 8 กิโลกรัม-เมตรที่ 1,000 รอบตอนาที แร็คแอนดพีเนียน เพาเวอรไฟฟา(EPS) หนา ดิสกเบรกมีชองระบายความรอน หลัง ดิสกเบรก หนา แม็คเฟอรสัน สตรัท อิสระ พรอมเหล็กกันโคลง หลัง ทอรชั่นบีมแบบ H-shape 3,900x 1,695 x 1,525 มิลลิเมตร 15 x 5.5J พรอมยาง 175/65R15 40 ลิตร

January 2013 l 71

Energy#50_p70-71_Pro3.indd 71

12/22/12 2:02 AM


Energy Movement ผูเขียน : ตนสมและผองเพอน

Industrial / เกาะสมุย..ซุยขาว ช ว งนี้ ข า วเด น ด า น พลังงานยังมีใหติดตามกันมาก เนื่ อ งจากหลายบริ ษั ท หลาย หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ต า งตั้ ง หน า ตั้ ง ตากั น ฉลองป ใหม และจั ด งานขอบคุ ณ สื่ อ มวลชนกั น อยู่ เ ลยไม่ ค่ อ ยมี เวลาใหขาว คาดวาตั้งแตเดือน กุมภาพันธคงจะมีขาวประเด็น รอนใหติดตามกันมากมายยิ่ง ขึ้นครับ เนองจากนโยบายดาน พลังงานของรัฐบาลยังดําเนิน การอยางตอเนอง แตกอนอน เราไปติดตามดูขาวฮอตดานพลังงานในเดือนธันวาคม 2555 กันเลย ไมมีเรองอะไรเดนไปกวาเรองที่เกี่ยวของกับรายจายของประชาชน ไปไดครับ นั่นคือ “การปรับราคากาซ แอลพีจี” ซึ่งกระทรวงพลังงาน ยืนยันวาจะปรับราคาแอลพีจีทั้งภาคครัวเรือนและภาคขนสงเปน 24.82 บาทตอกก. โดยจะทยอยปรับขึ้นเดือนละ 50 สตางคตอกก. เปนเวลา 1 ป คาดวาจะปรับขึ้นในเดือน ก.พ.56 สําหรับแนวทาง การช ว ยเหลื อ ภาคครั ว เรื อ นนั้ น คณะกรรมการบริ ห ารนโยบาย พลังงาน (กบง.) ไดแบงการชวยเหลือเปน 2 กลุม คือ กลุมครัว เรือนรายไดนอย ซึ่งแนวทางการชวยเหลือจะอิงจากฐานขอมูลของ การไฟฟาที่ ใชไมเกิน 90 หนวยตอเดือน กลุมรานคา หาบเร แผงลอย จะจัดทําขอมูลกอนถึงจะหาแนวทางการชวยเหลือตอไป อี ก เรื่ อ งที่ ยั ง เป น ข า วให ติ ด ตาม กั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง คื อ บั ต รเครดิ ต พลั ง งานที่ กระทรวงพลังงานออก ให สํ า หรั บ เป น ส ว นลด ราคานํามันแกสโซฮอลใหกับผูขับขี่รกมอเตอรไซครับจางและลด ราคาเอ็ น จี วี ใ ห กั บ กลุ ม ผู ป ระกอบการรถรั บ จ า งสาธารณะอย า ง รถตุกตุก รถตู รถแท็กซี่ โดยลาสุดกระทรวงพลังงานออกมาบอก วา อาจยกเลิกสนับสนุนโครงการดังกลาว ซึ่งจะจริงหรือไมนั้นคอย ติดตามขาวกันครับ ไปที่ เ รื่ อ งพลั ง งานไฟฟ้ า กั น บ้ า งครั บ ล่ า สุ ด คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ไดออกประกาศเชิญ ชวนการรับซื้อไฟฟาจากผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญ (ไอพีพี) ตาม ระเบียบคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานวาดวยการจัดหาไฟฟา จากผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญ พ.ศ. 2555 ดวยวิธีการเปดประมูล แขงขัน (Bidding) ตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ พ.ศ.

2553-2573 (พีดพี ี 2010) ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 3 กําหนดใหรับซื้อไฟฟาใน ปริ ม าณ 5,400 เมกะ วั ต ต์ และสามารถยื่ น แ บ บ ฟ อ ร ม ก า ร ล ง ทะเบียนและซื้อเอกสารไดตั้งแตวันที่ 20 ธันวาคม 2555 ถึงวันที่ 21 มกราคม 2556 และยนขอเสนอดานเทคนิคและดานราคา ในวัน ที่ 29 เมษายน 2556 ขาวนี้ผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญไมมีพลาด อีกหนึ่งเรองที่ยังหาขอสรุปไมได คือ อัตราการรับซื้อ ไฟฟาพลังงานหมุนเวียนจากระบบ Adder เปนรูปแบบ Feed-in tariff (FIT) ซึง่ กระทรวงพลังงานไดสรุปราคารับซือ้ ไวที่ 5.94 บาทตอหนวย เรองนี้รอนถึงผูประกอบการโรงไฟฟาเอกชนที่ ไมเห็นดวยกับการรับ ซื้อไฟฟาในราคาดังกลาวเน องจากไมคุมคากับการลงทุน โดยผู ประกอบการบอกวาราคาที่เหมาะสมอยูที่ 8 บาทตอหนวยหรือตอง ไมตาํ กวา 6.50 บาทตอหนวย ซึ่ ง เป น ราคารั บ ซื้ อ ของ ระบบเดิม (Adder) นั่นเอง เรองนี้ Energy Saving ขอ เอาใจช ว ยให ไ ด ข อ สรุ ป ที่ พอใจทั้ ง สองฝ า ย...แล ว เจอกันเลนตอไปครับ แวบไปทีก่ จิ กรรมแจงเกิดโครงการพลังงานทดแทน สําหรับ การใชนํามันแกสโซฮอล E85 จากพืชเศรษฐกิจสําหรับยานยนตใน จังหวัดเชียงใหม โดยไดรับเกียรติจาก “คุณอํานวย ทองสถิต” อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) เปน ประธานในพิ ธี เ ปิ ด เพื่ อ รณรงค์ ส ร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจและ ประชาสัมพันธเชิญชวนประชาชนใหหนั มาใชพลังงานทดแทนทีเ่ ปนมิตร กับสิ่งแวดลอมมากขึ้นดวยจา

72 l January 2013

Energy#50_p72-74_Pro3.indd 72

12/22/12 2:34 AM


ES Online ไดเวลากลับมาอัพเดทเรองราว Energy Saving ออนไลนกนั อีกครัง้ ครับ ทีผ่ า นมาเชอวาหลายคนคงจุใจกับการรับรูข า วสารทีเ่ รารังสรรคคดั เลือกมามอบให ทานผูอ า นไดรบั รูร บั ชมอยางถึงใจ มีอะไรอยากทราบอยากแนะนําเชิญเลยนะครับ อัดแนนเนือ้ หา บทความ ขาวดานพลังงาน พรอมบริการทานผูอ า นในทุกวัน ขาวความเคลอนไหว บทความพลังงานทีค่ ณ ุ อยากรู อยากทราบ โดยคัดเลือกจากประเด็นทีฮ่ ติ ฮอตขณะนัน้ อีกทัง้ กิจกรรมขาวสาร ดานพลังงานทีค่ ณ ุ อยากเขารวม สามารถโทรไปสอบถามและลงทะเบียนไดเลยครับ

วิดีโอ กวนๆ ดานพลังงาน ใครที่มีเรองราวขําขัน วิดีโอกวน ๆ ดานการประหยัดพลังงาน ที่มีเนื้อหา ดูสนุกแตใหสาระ อยาลืมนํามาแชรกันบางนะครับ เรามีของที่ระลึกเล็ก ๆ นอย ๆ มามอบให โดยทานสามารถสงเรองมาไดที่ info@ttfintl.com (วงเล็บ สงวิดิโอ กวนๆ เรองพลังงาน ) หรือจะเขาไปแชรกันที่ http://www.facebook.com/ energysavingmedia ก็ ไมผิดกติกาครับผม ตอบถูก(ใจ) ..ไดรางวัล กิจกรรมชวนหัวที่ ยังคง มี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยการตั้ ง คําถามจาก admin เรา ใครตอบ ถูกรับไปเลย บัตรรถไฟฟา BTS มูลคา 100 บาท เชิญไปรวมสนุก กั น ได แ ล ว เรามี ข องรางวั ล รอ ทานอยู

ES Online :

facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย

Transport / นัษโตะ สวัสดีครับ “นัษโตะ” ตอกบัตรรายงานตัวเปนที่เรียบรอย เปนอยางไรกันบางครับกับวันหยุดยาว ๆ รับปใหม 2556 หวัง วาทุกทานคงชารจแบตใหกับตัวเองเต็มที่แลวนะครับ เพอลุย งานกันตอในปนี้ วาแลวก็ลุยงานกันเลยดีกวาครับกับเรองแรก ปดงานเปนที่เรียบรอยกับงานใหญปลายปอยางมหกรรม ยานยนต ครั้งที่ 29ตองบอกวาเกินคาดดวยยอดจองที่ลนหลาม “ขวัญชัย ปภัสรพงษ” ประธานจัดงานเผยถึงงานครั้งนี้วาประสบ ความสําเร็จตามความคาดหมายจํานวนผูเขาชมงาน1,650,124 คน เพิ่มขึ้นจากปกอน 25.6% โดยมียอดจองรถตลอดทั้ง 12 วัน รวม 85,904 คัน จากเปาเดิมที่ ไว 50,000 คัน สรางเม็ดเงินหมุนเวียน ภายในงานได ก ว า 76,000 ล า นบาท รวมทั้ ง หมดทั้ ง รถยนต รถจักรยานยนตขนาดใหญ รถมือสอง และอุปกรณเกี่ยวเนองถือ เปนอีกงานที่บงบอกไดถึงการฟนตัวดานเศรษฐกิจของประเทศอีก งานหนึ่งทีเดียว ตอกันที่อีกหนึ่งบริษัทที่ยังคงทํางานเพอสังคมอยางตอ เนองกับ บริษทั ตรีเพชรอีซซู เุ ซลส จํากัดนําโดย “มร. ฮิโรชิ นาคางาวะ” กรรมการผู จั ด การฉลองครบรอบ 55 ป ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ใน ประเทศไทยดวยโครงการ “อีซูซุใหนํา...เพอชีวิต” การจัดสรางและ พัฒนาระบบนําดมอนามัย ณ สถานศึกษาในถิ่นทุรกันดารเพอรวม พลิกฟนคุณภาพชีวิตที่ดีสูเยาวชนไทยพรอมตอยอดดวยกิจกรรม การประกวดวาดภาพโปสเตอรพรอมคําขวัญ โครงการอีซูซุเยาวชน

สัมพันธในหัวขอนําเพอชีวิต ตอกยํ า พั น ธกิ จ พั ฒ นา สั ง ค ม ไ ท ย เ พื่ อ ส ร้ า ง คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี โ ดยผ า น ทักษะดานศิลปะของเยาวชน ไทยซึ่งเปนอนาคตของชาติ ตอไปครับผม ดานคายรถยนตที่ถือวากําลังมาแรงในชวงนี้คงตองยก ใหกับคายฮอนดา “พิทักษ พฤทธิสาริกร” รองประธานอาวุโส บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา หลังพื้นตัวจาก ภัยธรรมชาติ ไดเรงเปดตัวรถยนตใหมออกสูตลาดรวม10 รุน ภายในเวลาเพียง 8 เดือน โดยไดรับการตอบรับอยางดีจากผูบริโภค โดยเฉพาะรถยนตอีโคคารประหยัดพลังงาน ซึ่งหลังเปดตัวรุนลาสุด กับอีโคคารซีดาน บริโอ อเมซ สามารถทํายอดจองไดกวา 10,000 คัน ภายใน 3 สัปดาหกันเลยทีเดียว คายนํามัน บริษัท เชฟรอน (ไทย) จํากัด ผูผลิตและจัด จําหนายผลิตภัณฑนํามันเครอง คาลเท็กซเดโล ถือฤกษงามยามดี ในงาน “BUS&TRUCK’12” ครั้งที่ 9 งานใหญของรถเพ อการ พาณิชยและกิจการพิเศษ เปดตัวผลิตภัณฑ เดโล โกลด อัลตรา น้ํ า มั น เครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลเกรดรวมคุ ณ ภาพสู ง ออกแบบมาเพื่ อ สามารถใชไดกับเคร องยนตดีเซลหลากหลายรุนชวยยืดระยะการ January 2013 l 73

Energy#50_p72-74_Pro3.indd 73

12/22/12 2:34 AM


เปลี่ ย นถ า ยได ม ากกว า 30,000 กิโลเมตร โดยได รั บ เกี ย นติ จ าก “สุ ร ชั ย ชัยตระกูลทอง” ประธาน คณะอนุกรรมาธิการ พลั ง งานขนส ง ทางบก “ชาตรี มรรคา” กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั ทีทเี อฟ อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด และ“ยู เจียรยืนยงพงศ” ประธานสหพั น ธ ก ารขนส ง ทางบกแห ง ประเทศไทย ร ว มเป น สักขีพยาน คายโบไท เชฟโรเรต ส ร า ง ป ร า ก ฏ ก า ร ณ ใ ห ม อี ก ครั้ ง เมื่ อ “มร.โลรองต์ แบรเตต” ผูอํานวยการฝาย สื่ อ ส า ร อ ง ค์ ก ร ป ร ะ จํ า ประเทศไทยและเอเชี ย ตะวั น ออกเฉียงใต บริษัท เจนเนอรัล มอเตอร ส (ประเทศไทย) จํ า กั ด และบริ ษั ท เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด แสดงความยินดีกับ “มร. สุกสะหมอน สีหะเทพ” ประธานกรรมการและประธานเจาหนาที่บริหารของกลุมธุรกิจมะนียม ในโอกาสการเป ด ศู น ย ผู แ ทนจํ า หน า ยเชฟโรเลตแห ง แรกใน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อันเปนจุดเริ่มตนการดําเนิน แผนการสรางการเติบโตอยางกาวกระโดดในลาว และเปนสวนหนึ่ง ของยุทธศาสตรขยายการเติบโตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต งานนี้ แวว ๆ มาวามีแผนขยายศูนยผูแทนจําหนายไปยังเมืองปากเซ รวม ถึงการเพิ่ม โชวรูมยอยในเวียงจันทรและสรางศูนยผูแทนจําหนาย แหงใหมในเมืองหลวงพระบางและสะหวันนะเขตในปหนาอีกดวย สถานีบริการนํ้ามัน นํ้ า มั น ของคนไทยนามพี ที เ ดิ น หนาเต็มสูบปรับโฉมสถานีเสริม ภาพลั ก ษณ ใ หม โ ดย “พิ ทั ก ษ รั ช กิ จ ประการ” ประธานเจ า หนาที่ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) หรือ PTG เผยการปรับภาพลักษณใหม เพื่อสราง ความจดจํ า และสนองความต อ งการผู บ ริ โ ภคในยุ ค ป จ จุ บั น ที่ตองการความทันสมัยและความสะดวกสบายในการบริโภคมากยิ่ง ขึ้น พรอมเตรียมเปดรานกาแฟ “พันธุไทย” รานมินิมารท “แมกซ มารท” ไวเอาใจคนชอบงวง ชอบหิว อีกดวย โดยตั้งเปาขยายสถานี บริการอยางครบวงจรใหได 10-20 สาขา ใครว่ า เด็ ก อาชี ว ะวั น ๆ เอาแต่ ห าเรื่ อ งตี กั น งานนี้ อาชีวศึกษาเทศบาลนครปฐมภายใตชื่อทีม “D” โชวผลงานยอด

เยี่ ย มผงาดคว า แชมป ก าร แขงขัน “ฮอนดาประหยัดเชื้อ เพลิง ปที่ 15” อยางยิ่งใหญ ณ สนามไทยแลนด เซอรกิต จ.นครปฐม โดยมี “มร.จิอากิคโต” ประธานกรรมการบริ ห าร บริษัท เอ.พี.ฮอนดา จํากัด เปนประธานในพิธีมอบรางวัล ดวยการ ทําสถิติประหยัดนํามันจากเครื่องยนตระบบหัวฉีด PGM-FI ไดสูงสุด ถึง “1,165.2029 กม./ลิตร” ควาทั้งแชมปรถประดิษฐในกลุม อาชีวศึกษาและคะแนนสูงสุดรวมทุกประเภทครองถวยพระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมควา สิทธิ์ ไปแขงขันระดับนานาชาติที่ประเทศญี่ปุนในฐานะตัวแทนของ ประเทศไทยในปหนาทันที อยางวาครับ “ถาคนไทยจะทําอะไร ก็ ไมแพ ชาติใดในโลก” ครับผม งานเข า แล ว ละครับ สําหรับคอรถหรู “Porsche” ที่ตองเผชิญ กั บ ความเสี่ ย งกั บ รถที่ ส ร้ า ง ขึ้ น เ พื่ อ ร อ ง รั บ มาตรฐานนํ้ า มั น “ยู โ ร 5 (EU5)” แตถูกนํามาใชในประเทศที่มีมาตรฐานนํ้ามันเพียง “ยูโร 3 (EU3)” โดยเฉพาะรุนนําเขาประเทศไทยอยางไมเปนทางการ โรงงาน ปอรเชไดรับแจงวามีรถปอรเช ดีเซล ที่รองรับมาตรฐานนํ้ามันดีเซล ยูโร 5 ไดถูกนําเขามาประเทศไทย ซึ่งเปนประเทศที่มีมาตรฐานนํ้ามัน ที่ยูโร 3 ดังนั้นจึงขอแจงอยางเปนทางการวารถยนตปอรเช ดีเซล ที่นําเขาโดยผูนําเขาอิสระนั้น มีเครื่องยนตที่ถูกสรางขึ้นมาเพื่อให รองรับมาตรฐานนํ้ามันยูโร 5 (EU5) ซึ่งเปนชนิดที่ ไมไดรับการอนุมัติ ใหใชในประเทศไทย สงผลใหรถยนตเหลานั้น รวมถึงเครื่องยนตที่มี ความเสี่ยงสูงที่จะเสียหาย เอาแลวไงคันหนึ่งไม ใชบาทสองบาท กอนซื้อก็เช็คกันดี ๆ นะครับ ป ด ท า ยด ว ยอี ก หนึ่ ง เรื่องดีๆ “สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ” ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและ แผนพลั ง งาน(สนพ.) รั บ รางวั ล สื่ อ มวลชนดี เ ด่ น ประจํ า ปี พ.ศ. 2555 ประเภทภาพยนตรโฆษณา จากภาพยนตรประชาสัมพันธชุด “ขาวผัดอิ่มใจ” ซึ่งจัดโดยสื่อมวล ชนคาธอลิกประเทศไทย ซึ่งภาพยนตรประชาสัมพันธชุดดังกลาว จัดทําขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 ภายใตแนวคิด “สิ่งที่พอทํา... เปนแบบอยางและแรงบันดาลใจใหเรา คนไทยทุกคนรูคุณคา และรูจักใชพลังงานอยางพอเพียง”

74 l January 2013

Energy#50_p72-74_Pro3.indd 74

12/22/12 8:15 PM


Energy#39_p92_Pro3.indd 60

1/26/12 12:58 AM


Energy Clinic

โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง Q : สวั ส ดี ค รั บ อาจารย โรงงานผมเป น โรงงาน อุตสาหกรรมประเภทโลหะ โดยทําผลิตภัณฑเครื่องจักรขนาด ใหญ ซึ่งมีการใชเครื่องเชื่อมไฟฟาจํานวนมาก และพนักงานที่ ใชเครื่องมั ก จะไม ปดสวิตชตูเชื่อม โดยเปดทิ้งไวตลอดเวลา ทําใหสญ ู เสียพลังงานไฟฟาเปนจํานวนมาก ซึง่ คาใชจา ยพลังงาน สวนใหญหมดไปกับการเชือ่ มชิน้ งาน เลยอยากถามอาจารยเกีย่ วกับ การประหยัดพลังงานในเครื่องเชื่อมหนอยครับ ทางโรงงาน มีเครื่องเชื่อมไฟฟาเปนแบบธรรมดา ยังไมไดเปลี่ยนเปนแบบ อินเวอรเตอร (Inverter Welding) เนือ่ งจากตองใชเงินลงทุนสูง และเครื่องเชื่อมชุดเดิมยังใชงานไดดี เลยอยากทราบเพิ่มเติมวา ผมจะสามารถประหยัดพลังงานในเครือ่ งเชือ่ มไฟฟาแบบธรรมดา ดวยวิธีใด ไดบางครับ A : จริง ๆ แลวปญหาในเครือ่ งเชือ่ มไฟฟานัน้ สภาพการใชงานของ เครือ่ งเชือ่ มไฟฟา เมือ่ มีการใชงานพรอม ๆ กันจะใชกระแสไฟคอนขางสูง มากในการเชื่อมก็วาไดครับ ในชวงที่ไมไดใชงานหรือระหวางรอเชื่อม ชิ้นงาน แตมีการเปดเครื่องเชื่อมทิ้งไว จะมีกําลังไฟฟาสูญเสียภาย ในตัวเครื่องเชื่อมไฟฟาเฉลี่ยที่ 8.0 – 12.0 A อยูตลอดเวลาครับ

เพียงพอ”

รูปแสดงลักษณะการใชงานของเครองเชอมไฟฟา

Q : อาจารยครับแลวเครือ่ งเชือ่ มไฟฟากินกระแสไฟในสวนไหนครับ A : เนื่องจากลักษณะการทํางานของตูเชื่อมไฟฟาคลายกับ ชุดหมอแปลงไฟฟา โดยมีกระแสไหลผานขดลวดทองแดง เพื่อสราง เสนแรงแมเหล็กทํางานดวยความถี่ 50 Hz แกนหมอแปลงเปนเหล็ก ปรับกระแสไฟออกดวยการปรับทิศทางความเขมของสนามแมเหล็ก เกิดกระแสไหลวนตามขดลวดในตัวเครือ่ งเชือ่ มตลอดเวลาทีม่ กี ารเปดสวิตช เกิดการสูญเสียพลังงานไฟฟาในสวนนี้เปนอยางมากครับ

76 l January 2013

Energy#50_p76-77_Pro3.indd 76

12/22/12 2:07 AM


Q : ถาเราเปด-ปดเครือ่ งเชือ่ มไฟฟาบอย ๆ แลวจะมีผลตออุปกรณ ควบคุมไหมครับอาจารย A : การเปด-ปดสวิตชเครื่องเชื่อมไฟฟาบอย ไมทําใหถึงขนาด เสียหายหรอกครับ เพราะสวิทชควบคุมถูกออกแบบมาใหใชงานที่ ทนอยูแ ลว เพียงแตวา เจาหนาทีห่ รือชางทีใ่ ชงานเครือ่ งเชือ่ มไฟฟาจะชวย กันปดหรือไม ซึ่งหากดําเนินกาชี้แจงและอบรมการอนุรักษพลังงาน เพือ่ ใหทราบถึงพลังงานไฟฟาทีส่ ญ ู เสียจากการเปดเครือ่ งเชือ่ มไฟฟาทิง้ ไว พรอมกําหนดผูรับผิดชอบดูการเปด-ปดเครื่องเชื่อมไฟฟาใหชัดเจน ในทุก ๆ พื้นที่แลว คาดวามีผลทําใหสามารถประหยัดพลังงานไฟฟา ลงได 1.50 กิโลวัตตตอชั่วโมง หรือคิดเปนการประหยัดคาใชจาย 6.0 บาท/ชั่วโมง/เครื่อง กรณีเปดเครื่องเชื่อมทิ้งไวโดยไมมีการใชงาน เปนระยะเวลา 8.0 ชั่วโมง ทําใหสูญเสียเงินเปนจํานวน 48.0 บาท /เครื่อง/วัน หรือประมาณ 14,400.0 บาทตอปเลยทีเดียว

Q : แลวอาจารยมีวิธีควบคุมใหเปนแบบอัตโนมัติไดไหมครับ A : การควบคุมเครื่องเชื่อมไฟฟาที่ไมไดใชงานนั้น ปจจุบัน เปนแบบ INVERTOR WELDING ทีม่ ีชุดจัดเรียงกระแสใหเหมาะสม กับความตองการเวลาเชือ่ ม ซึง่ ประหยัดไฟเมือ่ เทียบกับระบบหมอแปลง แบบเกามากกวา 30% หากใชเครือ่ งเชือ่ มไฟฟาธรรมดาตองติดตัง้ ชุด Power Chief เพิ่มเติมเขาไปในการตรวจจับกระแสไฟฟาชวงไมมีการ เชื่อม แลวสั่งใหตัดชุดจายกอนเขาเครื่องเชื่อมไฟฟา Q : แลวชุด Power Chief ราคาแพงไหมครับอาจารย ผมอยาก รูวามาตรการนี้จะคืนทุนเร็วแคไหนครับ A : สําหรับราคาของชุด Power Chief นั้นขึ้นอยูกับขนาดของ เครื่องเชื่อมไฟฟา ตองลองสอบถามทางผูจําหนายตามตัวแทน ตาง ๆ นะครับ Q : ขอบคุณครับอาจารย ผมวาจะลองเสนอให ผูบริหาร ลองใชงานชุด Power Chief ครับ ขอบคุณมากครับอาจารย A : ครับ ลองใชงานดูนะครับ สวัสดีครับ อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน สามารถเริ่มตนไดงาย ๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพอเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรองพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535

ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่

website : www.escctcc.com

January 2013 l 77

Energy#50_p76-77_Pro3.indd 77

12/22/12 2:07 AM


Green Logistics

โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

ทบทวนความคิด

7.การจัดหาวัตถุดบิ และการบริการ ฝายจัดซือ้ จัดหา จะตองเจรจาขอ ความรวมมือจาก suppliers โดยการแนะนํา ขอความชวยเหลือ ชักชวน ใหทราบ ถึงนโยบายทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ซึง่ วัตถุดบิ ทีจ่ ดั สงมาใหนนั้ จะตองเปนวัตถุดบิ ทีไ่ มทาํ ลายสิง่ แวดลอม รวมทัง้ ทําสัญญารับซือ้ จากเกษตรกร (contact farming) นอกจากนี้ควรทําโครงการนํารองอุปกรณสํานักงาน 6 รายการ ที่ไมทําลายสิ่ง แวดลอมดวย เชน กระดาษชําระ ไมใชคลอรีนฟอกขาว บรรจุภัณฑรีไซเคิล ไมมี แกนมวนกระดาษ ลวดเสียบกระดาษ เปนตน 8.การบรรจุภัณฑ Eco-Packaging เปนการเลือกใชบรรจุภัณฑจาก กระดาษรีไซเคิลและอุปกรณที่เกี่ยวของกับการลําเลียงสินคาที่สามารถนํากลับ มาใชใหมไดและหรือนํากลับมารีไซเคิลในกระบวนการผลิตไดใหม 9.การนํ า สิ น ค า กลั บ คื น และการจั ด การสิ่ ง ปฏิ กู ล และของเสี ย จากกระบวนการการผลิต โดยแยกระหวางเศษของกับของเสีย รวมถึงวิธกี าร ยอยสลาย

กรีนโลจิสติกสรับป 2013

ปจจุบันกระแสโลก ระดับประเทศ องคกร สังคม และชุมชน ใหความ ใสใจสิง่ แวดลอม หรือทีเ่ รียกวา “กระแสสีเขียว” ไมวา จะเปนธุรกิจโลจิสติกส หรือธุรกิจประเภทอื่น ๆ ลวนแตไดรับผลกระทบจากกระแสดังกลาว สงผลใหผปู ระกอบธุรกิจหันมาพัฒนาระบบโลจิสติกสในทุก ๆ กิจกรรมของ บริษทั เพือ่ ใหเกิดจิตสํานึกในเรือ่ งการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมอันเปนกลไกการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตรใหเกิดความยั่งยืนในการดําเนินธุรกิจยุคนี้ ดังนั้นใน ปใหมนผี้ เู ขียนขอยํา้ แนวคิดนีอ้ กี ครัง้ กอนจะกาวไปขางหนาในป 2013 ดังนี้ 1.การจัดการบริการลูกคา จะตองจัดสรรทรัพยากรและแบงกลุม ลูกคา ตามเกรด A B C และ D ตามหลักการจัดการลูกคาสัมพันธ (CRM) ซึ่งจะทําให บริษทั ประหยัดการใชจา ยฟุม เฟอยในการใชทรัพยากรทีไ่ มจาํ เปนกับลูกคาบางกลุม รวมทั้งตองนําเทคโนโลยีมาใชในการทําธุรกรรมติดตอกับลูกคา เชน SMS E-commerce internet facebook เปนตน 2.การพยากรณอุปสงค ตองมีการนําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาใช วิเคราะหขอมูลในเรื่องของปริมาณ ประเภท รูปแบบ ขนาด สีสัน ลวดลาย ฯลฯ ตามความตองการของลูกคาในแตละชวง เพื่อพยากรณและวางแผนการทํางาน ไดอยางถูกตอง 3.การสื่อสารดานการกระจายสินคา ตองมีการวางระบบการติดตอ สื่อสารภายในบริษัท ไมวาจะเปนในรูปของกระดาษหรือเครื่องมือสื่อสาร ซึ่งจะ ทําใหลดชองวางของความผิดพลาดได รวมทั้งจะตองมีการเก็บรวบรวมขอมูล (data base) ดวย 4.การจัดการสินคาคงคลังและดําเนินการกับคําสั่งซื้อ ตามหลัก ABC analysis เชน จากเดิมสั่งวัตถุดิบเดือนละ 1 ครั้งในปริมาณมาก ควรปรับ ให supplier ทยอยสงวัตถุดิบใหเปนสัปดาหละ 1 ครั้ง ก็เทากับ 4 ครั้งตอเดือน 5.การขนถายวัสดุ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ควรเลือกใชเครื่องมือ สายพาน รถวิ่งบนราง รถพวง หรือรถโฟคกลิฟท ที่เหมาะสม 6.การเลือกทีต่ งั้ ของโรงงาน ผูผ ลิตควรสรางโรงงานและศูนยกระจาย สินคาใหอยูใกลลูกคา ซึ่งจะชวยลดตนทุนคาขนสงและลดมลพิษในอากาศ 78 l January 2013

Energy#50_p78-79_Pro3.indd 78

12/22/12 2:11 AM


12.การจัดการทรัพยากรมนุษย นับตั้งแตกระบวนการสรรหาและ คัดเลือก การปฐมนิเทศ การฝกอบรมและพัฒนา การบริหารผลการปฏิบัติงาน การใหรางวัลจูงใจพนักงาน และการรักษาพนักงานไวกับองคกร จะตองทําให เปนสีเขียวอยางจริงจังทุกขั้นตอน ไมใชแคการปรับปรุงการทํางานใหประหยัด ลด เลิก การใชพลังงานอยางฟุมเฟอยเทานั้น แตฝาย HR จะตองเปลี่ยนแนวคิด (Mind-set) ของคนในองคกรใหตระหนักรูถ งึ ภัยพิบตั ติ า ง ๆ จากสภาวะโลกรอนที่ จะเกิดขึน้ และตองดึงดูดใจผูท จี่ ะสมัครเขามาทํางานกับบริษทั ซึง่ เขาอาจตองเปน คนที่สนใจเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอมดวย ถึงจะทํางานดวยกันได

10.การจราจรและขนสง สนับสนุนใหปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนสง (modal shift) จากทางรถมาเปนทางรางนํา้ อาจมีการปรับเปลี่ยนมาใชพลังงาน ทดแทน (energy shift) เชน NGV LPG ฯลฯ รวมถึงการรวบรวม corporative transport และการอบรมพนั ก งานขั บ รถเพื่ อ สร า งจิ ต สํ า นึ ก ในการทํ า งาน (Eco-drive) นอกจากนีข้ องทีต่ อ งการความเย็นไมตอ งแยกรถแหงกับรถอุณหภูมิ สามารถไปคันเดียวกันไดเลย รถยนต 1 คันทําได 4 อุณหภูมิ ประหยัดและรักษา สภาพแวดลอม 11.การบริ ห ารคลั ง สิ น ค า และการจั ด เก็ บ โดยใช เ ทคโนโลยี ใ น การบริหารจัดการคลังสินคา (Warehouse Management System) เชน WMS Bar Code RFID ฯลฯ เพื่อลดขั้นตอนการทํางานซํ้าซอนไมตองเช็คสินคาอีกครั้ง สามารถวิเคราะหวางแผนลวงหนาไดวาสินคาใดขายดีในชวงฤดูกาลใดเปนตน และพาเลทที่ทําจากพลาสติกนํากลับมา Re-Use และ Recycle ไดอีก นอกจากนี้ การออกแบบคลังสินคาจะตองรองรับการเติบโตในอนาคตอีก 5-10 ป ขางหนา

13.ชองทางการจัดจําหนาย (channel of distribution) จะตองดู รูปแบบชองทางการจัดจําหนายของคนกลางในแตละแบบทีต่ รงกับผลิตภัณฑและ กลุมเปาหมายของธุรกิจ ปจจุบันมีการสรางเครือขายรวมตัวกันของผูประกอบ การขนาดเล็กและขนาดกลางใหเปนเครือขายธุรกิจสีเขียว (Green Network) เชน การขนสงสินคาจากแหลงผลิตเดียวกันแลวนํามากระจายตามรานกรีนที่มี อยูในเครือขาย ซึ่งจะชวยประหยัดนํ้ามันและคาขนสง การสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือการ สงมอบสินคาผานทางออนไลน เปนตน ทั้งนี้ก็เพื่อใหเครือขายเกิดความเขมแข็ง อีกทั้งเปนประโยชนตอชุมชน สังคม และประเทศ จากการทบทวนดังกลาว จะเห็นไดวากอนที่ธุรกิจจะกาวตอไป ขางหนานั้น จะตองสอดคลองกับเปาหมายเชิงกลยุทธในการทําธุรกิจ 3 ดาน คือ ผลกําไร (Profit) สิ่งแวดลอม (Environment) และ สังคม (Society) ซึง่ ถือวาเปน “หัวใจ” ของความอยูร อดและการเติบโตของธุรกิจ แบบยั่งยืนอยางแทจริง จึงจะเกิดความเขมแข็งและยั่งยืนตลอดไป January 2013 l 79

Energy#50_p78-79_Pro3.indd 79

12/22/12 2:11 AM


Energy Concept โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

กะเทาะไอเดียเยาวชน “คายเพาเวอรกรีน 7” สานฝ น ...สู นั ก อนุ รั ก ษ หั ว ใจเขี ย ว

คาย “เพาเวอรกรีน 7” ถือเปนคายที่รวมพลังความคิด สร า งสรรค ห ลากหลายแนวทางของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา สายวิ ท ยาศาสตร ในการอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มระดั บ ภู มิ ภ าค ผานการแสดงนิทรรศการโครงงานกลุมวิทยาศาสตรรวมรักษ โลกสีเขียวรวมลดโลกรอน เพื่อสะทอนจิตสํานึกและการมีสวนรวม ในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในฐานะพลเมืองอาเซียน งานแสดงนิ ท รรศการโครงงานกลุ  ม วิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม “เพาเวอรกรีน 7” เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมคายวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ที่จัดตอเนื่องเปนประจําทุกป โดยความรวมมือระหวางคณะสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล และบริษทั บานปู จํากัด (มหาชน) เพื่ อ เสริ ม สร า งความรู  แ ละความเข า ใจด า นวิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม และทรั พ ยากรธรรมชาติ ตลอดจนเน น ให เ ยาวชนรู  จั ก นํ า ความรู  ดานวิทยาศาสตรมาประยุกตใชแกไขปญหาสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ และปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนใหแกเยาวชน สําหรับป 2555 คายเพาเวอรกรีนมุง เนนการเปดโลกทัศนดา นสิง่ แวดลอม ในระดับภูมิภาคแกเยาวชนหัวใจสีเขียวจํานวน 70 คน โดยสนับสนุน และสงเสริมใหเกิดการเรียนรูป ญ  หาสิง่ แวดลอมทีป่ ระเทศในอาเซียนมีรว มกัน ซึ่งตลอดระยะเวลา 8 วันของคาย เยาวชนไดเรียนรูปญหาภาวะโลกรอน ผานกิจกรรมวิชาการและปฏิบัติการดานสิ่งแวดลอมในหัวขอตาง ๆ

เช น ผลของก า ซเรื อ นกระจกกั บ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ, carbon footprint และการจัดการหมอกควันขามพรมแดน จากผูเ ชีย่ วชาญ และคณาจารย จ ากมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลและวิ ท ยากรจากหน ว ยงาน ดานสิง่ แวดลอม ตลอดจนไดสมั ผัสการใชภมู ปิ ญ  ญาทองถิน่ ในการอนุรกั ษ สิ่งแวดลอม เพื่อเชื่อมโยงแนวคิดดังกลาวสูการอนุรักษสิ่งแวดลอม ระดับอาเซียนจากการทัศนศึกษา ณ ศูนยเครือขายมหาวิชชาลัยภูมปิ ญ  ญา ทองถิน่ สมุทรสงครามชุมชนบานบางพลับ จ.สมุทรสงคราม

80 l January 2013

Energy#50_p80-81_Pro3.indd 80

12/20/12 10:24 PM


นางสาวสุรียพร พรหมผลิน นอกจากนี้เพื่อใหสอดคลองกับการเตรียมพรอมเขาสูประชาคม อาเซียนในป 2558 คายเพาเวอรกรีน 7 จึงเสริมการเรียนรูเ ปนภาษาอังกฤษ ในบางหัวขอ โดยผูเ ชีย่ วชาญดานการเรียนรูเ จาของภาษาผานกระบวนการ เรียนรูที่สนุกสนาน และเนนการมีสวนรวมของผูเรียน นางสาวสุ รี ย  พ ร พรหมผลิ น นั ก ศึ ก ษาคณะสิ่ ง แวดล อ ม และทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ไดถายทอดประสบการณ จากแรงบั นดาลใจในการเข าร วมเป นสวนหนึ่งของค ายวิ ทยาศาสตร สิ่งแวดลอมเพาเวอรกรีนวา คายเพาเวอรกรีนเปนแรงกระตุนสําคัญ ที่ทําใหอยากเรียนดานสิ่งแวดลอม ปกติเปนคนที่ชอบทํากิจกรรมอยูแลว เมื่อป 2553 ตอนที่ศึกษาอยูชั้น ม. 5 เมื่อรูวามีคายเพาเวอรกรีน 5 ก็สนใจสมัครเขารวมคายนี้และไดรับคัดเลือก ดีใจและตื่นเตนมาก เพราะเปน ตัวแทนจากโรงเรียนเพียงคนเดียวที่ผานการคัดเลือกใหเขารวมคายเปน เวลานานนับสัปดาห และถือเปนคายทีม่ รี ะยะเวลายาวทีส่ ดุ เทาทีเ่ คยไดเขารวม เปนชวงเวลาที่ทาทายมาก ชีวิตชาวคายในชวงแรก ๆ ตองปรับตัวมาก เพราะทุกคนมาจาก ที่ตา ง ๆ กันจากทั่วประเทศ แตอยูไปสักพักก็เริ่มคุนเคยเพราะทุกคนมีใจรัก สิง่ แวดลอมเหมือนกัน จากความอึดอัดทีเ่ คยมีกเ็ ปลีย่ นเปนความสนุกสนาน กิจกรรมตาง ๆ ที่ทางคายจัดไวใหทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ นอกจาก จะไดรับความรูแลวยังสนุกดวย ซึ่งป 2553 แนวคิดหลักของคายเปนเรื่อง “ความหลากหลายทางชีวภาพ ชวยสรางสรรคใหโลกสวย” และกิจกรรม ที่ชอบที่สุดคือ การเดินปาที่วนอุทยานแหงชาติเขาใหญ เพราะไดลงพื้นที่ สัมผัสความหลากหลายของพืชพรรณและสัตวชนิดตาง ๆ จนทําใหเกิด ความคิ ด ขึ้ น ในตอนนั้ น ว า ถ า พวกเราไม ทํ า ร า ยโลกอย า งในป จ จุ บั น เราคงจะมีผืนปาที่อุดมสมบูรณ รวมถึงสภาพอากาศที่บริสุทธิ์ อยูกับโลก ของเราไปจนถึงรุน ลูกรุน หลานได ซึง่ ตอนนีป้ า ทีส่ มบูรณเหลือนอยเต็มทีแลว คายดานสิง่ แวดลอมแตละคายจะใหประสบการณในรูปแบบทีแ่ ตกตาง กันไป แตคา ยเพาเวอรกรีนจะเนนเรือ่ งการลงมือปฏิบตั แิ ละการลงพืน้ ทีจ่ ริง ทําใหไดประสบการณและแงคิดเกี่ยวกับการอนุรักษสิ่งแวดลอมโดยตรง รวมถึงความสนุกสนานจากการทํากิจกรรมตาง ๆ ที่ทางคายไดจัดขึ้น ซึ่ ง มาพร อ มกั บ มิ ต รภาพที่ ดี จ ากเพื่ อ นชาวค า ยและพี่ เ ลี้ ย งทุ ก คน ทําใหหลังจากจบคายแลวความทรงจําทีด่ ขี องชาวคายก็ยงั ไมไดเลือนลางไป จากความประทับใจในการรวมคายเพาเวอรกรีน ปตอมาจึงสมัคร เข า ร ว มกิ จ กรรมค า ยผู นํ า เยาวชนเพื่ อ อาสาเป น พี่ เ ลี้ ย งให กั บ น อ ง ๆ ที่เขาคายในรุนตอมา แตก็ตองพลาดโอกาสเพราะมหาอุทกภัยในป 2554

จึงมุงมั่นทําตามความฝนอีกครั้ง โดยการสมัครสอบเขาเปนนักศึกษา คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และผานการ สอบสัมภาษณจากการเปนเยาวชนคายเพาเวอรกรีน ป จ จุ บั น กํ า ลั ง ศึ ก ษาในคณะสิ่ ง แวดล อ มและทรั พ ยากรศาสตร และคิดวาจะเขารวมคายเพาเวอรกรีนอีกสักครั้ง เพื่อเปนพี่เลี้ยงคาย ใหกับนอง ๆ อยางที่ตั้งใจไว และยังเปนการเพิ่มพูนประสบการณใหม ๆ ใหกับตัวเองไปพรอมกันดวย แตสิ่งสําคัญที่สุดคือ คายเพาเวอรกรีน เปนคายทีใ่ หทงั้ ความรูแ ละประสบการณมากมาย และยังเปนแรงกระตุน สําคัญ ที่ทําใหเดินบนเสนทางของการเปนนักอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางเชนทุกวันนี้ เมื่อมีโอกาสก็อยากจะแบงปนประสบการณและความสําเร็จในแตละยางกาว ใหรุนนอง ซึ่งการเปนพี่เลี้ยงคายไดเรียนรูถึงความอดทน ความเสียสละ การแกไขปญหาเฉพาะหนา รวมไปถึงการปรับตัวใหเขากับคนอื่นในวัย ที่แตกตางกัน การรับฟงความคิดเห็นของคนอื่น หลังจากผานคายครั้งนี้ รูสึกวาเปนผูใหญขึ้นมากทีเดียว หลังจากเรียนจบแลว อยากจะมีโอกาสไดทํางานเกี่ยวกับการ อนุรกั ษสงิ่ แวดลอม หรือการแกปญ  หาสิง่ แวดลอมอยางจริงจัง เพราะ ตองการใชความรูแ ละประสบการณทสี่ งั่ สมมาตอยอดใหเกิดประโยชน สูงสุด อยากนําความรูดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมไปเผยแพร ใหคนอื่นไดรับรูและนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมถึงชวย สรางจิตสํานึกใหทกุ คนกระตือรือรนทีจ่ ะชวยกันแกปญ  หา และมองวา ถ า ทุ ก คนช ว ยกั น ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มย อ มมี ท างออกที่ ดี แ น น อน แตทุกอยางตองเริ่มที่ตัวเรากอน และควรเริ่มตั้งแตตอนนี้

January 2013 l 81

Energy#50_p80-81_Pro3.indd 81

12/20/12 10:24 PM


HOW TO

ผูเขียน : สุภัจฉรา สวางไสว

D.I.Y. นารัก ๆ จากขวดนํ้าพลาสติก ขวดนํ้าพลาสติกหลากหลายสีสันที่ถูกทิ้งเกลื่อนกลาด ทั้งสกปรก เปนแหลงสะสมเชือ้ โรค และเปนแหลงเพาะพันธุส ตั วทเี่ ปนอันตรายตอสุขภาพ คงจะดีไมนอ ย ถาขวดพลาสติกเหลานีถ้ กู นํากลับมาใชใหเกิดประโยชนอกี ครัง้ ฉบับนี้มี D.I.Y. ไอเดียเก ๆ แนว ๆ ในการประดิษฐกระเปาสตางคจาก ขวดนํ้าพลาสติกมาฝาก มีขั้นตอนการทําอยางไร มาดูกันเลย กอนอื่นเรามาเตรียมอุปกรณกันกอน ขวดนํ้าพลาสติกขนาด 1.25 ลิตร หรือขนาดตามตองการ ซิปขนาด 12 นิ้ว หรือตามขนาดเสนรอบวง เข็มหมุด เข็ม ดาย คัตเตอร กรรไกร กาวยาง ปากกาเมจิก และของตกแตงตามทีต่ อ งการ

ขั้นตอนที่ 3 ใชปากกาเมจิกจุดระยะที่จะเจาะรูหางกันประมาณ 1/2 ซม. เวนจากขอบลงมา 1/2 ซม. เชนกัน

ขั้นตอนที่ 4 ใชเข็มหมุด เจาะรูตามที่จุดไว

ขันตอนที่ 5 เย็บซิปติดเขากับฝาดานหนึ่งจนรอบ

ขั้นตอนที่ 1 วัดขนาดกนขวดที่จะตัด จากกนขวดขึ้นมาประมาณ 2 นิ้ว

ขั้นตอนที่ 2 ตัดตามขนาดที่วัดไว จํานวน 2 ใบ

ขั้นตอนที่ 6 ประกบอีกฝาหนึ่ง แลวเย็บซิปตอจนรอบ เพียงแคนเี้ ราก็จะไดกระเปาสตางคแนว ๆ นารัก ๆ ไมเหมือนใคร นอกจากจะ เปนการรักษาสิง่ แวดลอมแลว ยังเปนการรีไซเคิลขวดนํา้ พลาสติกใหเกิดประโยชน อีกทางหนึง่ ดวย หวังวาทุกทานจะชอบใจกับไอเดียเก ๆ แบบนีน้ ะคะ

ขอบคุณขอมูลและรูปภาพจาก : http://www.dek-d.com และ http://www.iurban.in.th

82 l January 2013

Energy#50_p82_Pro3.indd 82

12/20/12 1:52 AM


Energy in Trend โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

LNG-Liquefied natural gas

เสริมรากฐานความมัน่ คงพลังงานไทย ตามที่เปนขาววาประเทศไทยในนามของ ปตท.ไดทําสัญญาซื้อ LNG (Liquefied natural gas) หรือ กาซธรรมชาติเหลว กับ บริษัท Qatar Liquefied Gas Company Limited (3) (Qatargas)ปริมาณ 2 ลานตันตอป เปนเวลา 20 ป กําหนดเริ่มรับ LNG ในป 2558 ซึ่งถือเปนการทําสัญญา ซื้อขาย LNG ระยะยาวฉบับแรกของไทย ชวยเสริมสรางความมั่นคง ดานพลังงานให แกประเทศในระยะยาว โดยเฉพาะเมื่อปริมาณกาซฯ ทีผ่ ลิตไดจากอาวไทยและการนําเขากาซฯ จากประเทศเพือ่ นบานเริม่ มีจาํ กัด ขณะที่ปริมาณความตองการใชกาซฯ ในประเทศสูงขึ้นตอเนื่องจากการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ก อ นอื่ น มาทํ า ความเข า ใจเกี่ ย วกั บ ก า ซตั ว นี้ ก  อ นดี ก ว า LNG คื อ กาซธรรมชาติทถี่ กู ลดอุณหภูมใิ หอยูท ปี่ ระมาณ -160 องศาเซลเซียส จนเนือ้ กาซฯ มีปริมาตรลดลงกวา 600 เทา และเปลีย่ นสภาพเปนของเหลวสะดวกตอการขนสง ไปยังสถานที่ที่ทอสงกาซฯ ไปไมถึง โดยมีกระบวนการเก็บรักษาและการขนสง เปนพิเศษโดยตองสามารถรักษาอุณหภูมิใหคงสถานะในรูปของเหลวดังกลาว ข อ ดี ข อง LNG คื อ มี ส  ว นประกอบหลั ก เป น ก า ซมี เ ทน ประมาณ 90% มีคุณสมบัติเชนเดียวกับกาซธรรมชาติทั่วไป คือ ไรกลิ่น ไรสารพิษ ปราศจาก สารกัดกรอน และมีนํ้าหนักเบากวาอากาศ เมื่อเกิดเหตุรั่วไหลก็จะลอยตัวกระจาย ขึ้นไปในอากาศอยางรวดเร็ว ไมเกิดการสะสมในระดับพื้นราบและติดไฟยาก ทําไมประเทศไทยตองมีการนําเขา LNG นั่นก็เพราะความตองการใช กาซธรรมชาติตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ พ.ศ. 2553-2573 (PDP 2010 ฉบั บ ที่ 3) มี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น ทุ ก ภาคส ว น ทั้ ง ภาคไฟฟ า ภาคอุตสาหกรรม ภาคปโตรเคมี และภาคขนสง สงผลใหไทยจําเปนตองนําเขา LNG จากตางประเทศเพิ่มขึ้นในอนาคต และทําให ปตท. ตองเริ่มขยายศักยภาพ ของสถานีรับ-จาย LNG ใหสามารถรองรับการนําเขา LNG เพิ่มขึ้น จากปจจุบัน 5 ลานตัน เปน 10 ลานตันตอป โดยคาดวาจะแลวเสร็จในป 2560

LNG จึงถือเปนอีกหนึ่งพลังงานที่นาจับตามอง เพราะชวงกลางป 2554 ที่ผานมา Qatargas ไดมีการจําหนาย LNG ใหกับ ปตท.เพื่อใชทดสอบระบบ สถานีรับ-จาย LNG แหงแรกในอาเซียน ซึ่งตั้งอยูที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ที่สําคัญ Qatargas ยังไดใหความชวยเหลือประเทศไทยดวยการ สงมอบ LNG เพื่อใชทดแทนกาซฯ ที่หายไปจากระบบ เมื่อครั้งระบบทอสงกาซฯ ในทะเลของไทยประสบปญหา จนสามารถแกไขปญหาดังกลาวได การทําสัญญาซื้อ LNG ตลอดระยะเวลา 20 ป กับ Qatargas ประเทศ อาจคลายกังวลเรื่องปญหาขาดแคลนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาไดระดับหนึ่ง เพราะ Qatargas เปนบริษัทผูผลิตและจําหนาย LNG รายใหญที่สุดของโลก รวมกําลังการผลิต LNG คิดเปนสัดสวนกวา 30% ของปริมาณ LNG ทีค่ า ขายทัว่ โลก มีปริมาณสํารองกาซธรรมชาติกวา 900 ลานลานลูกบาศกฟุต ซึ่งเพียงพอ ตอความตองการใชกาซฯ ไดมากกวา 100 ป ถือเปนพันธมิตรทางธุรกิจ ที่แข็งแกรงของไทยบนเวทีอุตสาหกรรมกาซธรรมชาติระดับโลก January 2013 l 83

Energy#50_p83_Pro3.indd 83

12/22/12 1:58 AM


Renergy

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

จากตารางขางตนชัดเจนเลยวา เชือ้ เพลิงชีวภาพมีสดั สวนเกินกึง่ หนึง่ ของ พลังงานอืน่ ๆ หากแผน AEDP 10 ป ไมใช White Lie Policy ภาคเอกชนก็กาํ ลัง หลงทาง โดยการพยายามตอสูข อเพิม่ ปริมาณการรับซือ้ พลังงานเซลลแสงอาทิตย ซึง่ มีสดั สวนเพียง 1% ของแผน AEDP (2,000 MW = 224 ktoe) อีกประการหนึง่ ทีท่ าํ ใหใคร ๆ สนใจพลังงานเซลลแสงอาทิตยกค็ อื solar cell เหมือน fast food เปน พลังงานจากธรรมชาติ ซือ้ งายขายคลอง สําหรับเชือ้ เพลิงชีวภาพตามแผนดังกลาว ไดกาํ หนดเปาหมายสําหรับ biodiesel B100 ไว 5.97 ลานลิตรตอวัน เอทานอล 9 ลานลิตรตอวัน และนํา้ มันอืน่ ทดแทนดีเซลอีก 25 ลานลิตรตอวัน

วิเชือ้ เเพลิ คราะห แ ผน AEDP งชีวภาพ 40 ลานลิตรตอวัน..... ใช! หรือเพียง White Lie Policy!

ผูใสใจพลังงานแฟนคลับของ Energy Saving ตางตั้งความหวัง ความฝน และคาดหวังไวกับรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานทานแลว ทานเลาวาจะแถลงใหแฟนพันธุแทพลังงานทดแทนฟงใหชื่นใจหนอยวา บอนํ้ามันบนดิน 40 ลานลิตรตอวัน ตามแผน AEDP 10 ป ยังเปนความ หวังไมใชเปนเพียง White Lie Policy โลกของพลังงานกลาวขวัญถึงแผนอัจฉริยะ AEDP : Alternative Energy Development Plan 10 ป ของไทยวา มองการณไกลและครอบคลุม พลังงานทดแทนมากกวาประเทศใด ๆ ในอาเซียน เปาหมาย 25% ทดแทน พลังงานที่เราใชอยูในปจจุบันก็ดูดีและตั้งไวคอนขางสูงดวยซํ้าไป เมื่อเปรียบ เทียบกับประเทศบริโภคนิยม เรามาดูวาพลังงานทดแทน 25% ที่จะเปนเปาหมาย พุงชนนั้นประกอบดวยอะไรบาง

ถาจะตัง้ คําถามวาแลวสวนไหนยากทีส่ ดุ สามารถฟนธงไดเลยวานํา้ มันอืน่ ๆ ที่ทดแทนดีเซล 25 ลานลิตรตอวัน ยังไมเห็นแสงสวางที่ปลายถํ้าใด ๆ นอกจาก งบประมาณงานวิจัยสูภาคมหาวิทยาลัย

84 l January 2013

Energy#50_p84-85_Pro3.indd 84

12/22/12 1:55 AM


สถานการณวันนี้และวันหนาของ Biofuel

ตองขอชื่นชมกับแผนการบริหารจัดการไบโอดีเซลของรัฐบาล โดยการ ยืดหยุนปริมาณของนํ้ามันปาลมดิบที่ผสมในนํ้ามันดีเซลไมตองจํากัดอยูที่ B2 B5 โดยใหขึ้นอยูกับปริมาณไบโอดีเซลที่มีอยูในแตละชวงเวลา สิ่งที่ทานผูอาน ควรทราบก็คือ รัฐบาลยังคงตองอุดหนุนราคาไบโอดีเซลอยูอีกวันละหลายลาน บาท แตยงั ตองเดินหนาตอเพือ่ ใหมไี บโอดีเซลในประเทศไทย และยังเปนกลไกดาน ราคาของนํ้ามันปาลมพืชเศรษฐกิจสําคัญอีกชนิดหนึ่งของคนไทย หากถามวา เปาหมาย 5.97 ลานลิตรตอวัน ในอีก 10 ป จะถึงไหม ? ถาจะใหถึงจริง ๆ ความสามารถใชการผลิตในประเทศมีเพียงพอแนนอน แตตอ งคํานึงถึงความคุม คา ดวยวา ถาถึงเปาหมายแลวเสียมากกวาไดหรือไม เชนขณะนี้ biodiesel เกือบ 100% มาจากนํา้ มันปาลมซึง่ เปนอาหารเปนวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมตอเนือ่ งอีกหลาย ๆ อุตสาหกรรม รัฐตองเพิม่ การอุดหนุน biodiesel มากขึน้ ไปอีก นอกจากนีไ้ ทยปลูก ปาลมนํา้ มันเพียง 5% ของตลาดโลก ราคาตองขึน้ อยูก บั อินโดนีเซียและมาเลยเซีย

สถานการณเอทานอลไทย

ยังกลัวใจรัฐบาลจะเลื่อนการงดจําหนายเบนซิน 91 ออกไปอีกจาก 1 มกราคม 2556 ฝนของชาวไรออยไรมันก็จะสลาย เอทานอลนาจะเปนความ หวังของเชื้อเพลิงชีวภาพ หรือบอนํ้ามันบนดินของไทยในเจนเนอเรชั่นนี้ไดมาก ที่สุด เรารูจักเอทานอลในรูปแบบของแกสโซฮอล E-10, E-20 และ E-85 และทาน ทราบไหมวา 9 ลานลิตรตอวัน สําหรับเอทานอลในประเทศไทยเปนไปไดหรือไม ฟน ธงไดเลยวา “ได” เหตุผลแบบพอฟงไดก็คือ 1. โรงงานที่ไดรับอนุญาตใหผลิต เอทานอลในขณะนี้กําลังการผลิตเกินกวา 9 ลานลิตรตอวันอยูแลว 2. วัตถุดิบ ขึน้ อยูก บั อุปสงค-อุปทาน มันสําปะหลังเพิม่ ผลผลิตได ถาราคาจูงใจ ปริมาณโมลาส อาจไมเพิ่มมากนัก เอทานอลปจจุบันที่จําหนายอยูไดวันละ 1.2 ลานลิตร สวนใหญผลิตจากโมลาส หากรัฐยกเลิกเบนซิน 91 จริง เอทานอลก็จะขายได เพิ่มขึ้นอีกอาจถึง 1 ลานลิตรตอวัน ที่นาสนใจนาจะเปน E-85 ที่ยังเลี้ยงไมโต ทั้ง ๆ ที่รถยนตรองรับนํ้ามันมีหลากหลายยี่หอใหเลือกใช และยังเปนรถยนต นั่งขนาดกลางนาใชไมวาจะเปน Honda, Mitsubishi, Volvo, Ford, Chevrolet เปนรถยนตขนาดกลางไมตํ่ากวา 1,800 CC ราคานํ้ามัน E-85 ปจจุบันประมาณ ลิตรละ 22 บาท ทุกหยดของนํ้ามันชวยชาติลดการขาดดุลการคา ชวยเพิ่ม รายไดใหชาวไรเพิ่มการจางงาน เมื่อ E-85 ดีถึงเพียงนี้ แลวทําไมไมเปนที่นิยม อาจจะขาดการประชาสัมพันธที่ดี และเหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือ มีปมนํ้ามันนอยไมคอยสะดวก แตอาจจะ ยังมีเหตุผลมากกวานัน้ คงตองถามจากทานเจากระทรวงพลังงานดูนา จะไดคาํ ตอบทีด่ ี

2. รถยนตเกาที่จะหันไปใชเบนซิน 95 มีจํานวนไมมาก และไมควรลดราคา เบนซิน 95 ลงทันทีควรจะคอยเปนคอยไป 3. จักรยานยนต 2 จังหวะ มีจํานวนไมมาก หากเกิดปญหารัฐคงเยียวยา ไดไมยากนัก นอกจากนี้ผูผลิตเอทานอลยังฝากใหกระทรวงพลังงานงดการประกาศ ราคามาตรฐานของเอทานอล เนื่องจากกระทบตอราคาการสงออก ผูซื้อจาก ตางประเทศมักจะใชราคาประกาศของภาครัฐเปนเกณฑทงั้ ๆ ทีบ่ างครัง้ ราคาตลาด โลกสูงกวานัน้ ปจจุบนั เอทานอลทีซ่ อื้ ขายกันในเมืองไทยก็ไมไดใชราคานีอ้ ยูแ ลว

สถานการณนํ้ามันชนิดอื่นทดแทนดีเซล 2nd Gen. Biofuels for Future Diesel Subtitution

กระทรวงพลังงานไดตงั้ ความหวังไวทพี่ ชื นํา้ มันอีกหลายประเภท เชน สบูด าํ สาหราย, FAEE : Fatty Aciad Ethyl Ester, BHD: Bio Hydro-fined Diesel และ BTL: Biomass-to-Liquid แตทดี่ นู า สนใจและใกลความจริง แตราคายังสูงนา จะเปน ED-95 เปนการนําเอทานอลผสมกับสารที่เราเรียกวา additive 5% แลว ใชกับเครื่องยนตดีเซลที่ผลิตขึ้นใชโดยเฉพาะกับนํ้ามันประเภทนี้ ED-95 ถึงแมจะ มีใชแลวในหลาย ๆ ประเทศ แตสําหรับประเทศไทยยังอยูระหวางการทดสอบและ คํานวณความคุมคา

ทานทราบหรือไมวา ถาแผน AEDP เปนไปไดจริง ทางดานเศรษฐศาสตร ไทยจะลดการนําเขาพลังงานจากฟอสซิลลงถึง 574,000 ลานบาท และจะมีการ ลงทุนในภาคเอกชนมากกวา 440,000 ลานบาท และลดการปลอยกาซเรือนกระจก ลงกวา 75 ลานตันตอป ภายในค.ศ. 2021 สรุปรวมแลวคุมคาในทุก ๆ ดาน คงถึงเวลาแลวที่ประเทศไทยจําเปนตองมีบริษัทที่รัฐถือหุนใหญ มาเปนผูนําตลาดเชื้อเพลิงชีวภาพโดยเฉพาะ เพื่อผลักดันใหแผน AEDP 10 ป สูเปาหมาย เพื่อพิสูจนใหเห็นวาแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 25% ใน 10 ปของไทย ไมใช White Lie Policy

2

ขอสนับสนุนแนวคิดในการเลิกเบนซิน 91 ของรัฐบาลดวยเหตุผล ดังนี้ 1. ลดการนําเขานํ้ามันลงเทากับลดการขาดดุลเพิ่ม GDP ภาคเกษตร เขมแข็งขึ้น อุตสาหกรรมเอทานอลจะไดเดินเครื่องผลิตเต็มกําลังมากกวานี้ January 2013 l 85

Energy#50_p84-85_Pro3.indd 85

12/22/12 1:55 AM


Energy Exhibit โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

“MOTOR EXPO 2012” ครัง้ ที่ 29 มหกรรมยานยนตสง ทายนโยบายรถคันแรก ป จ จุ บั น ยานพาหนะถื อ เป น อี ก ป จ จั ย ที่ ม นุ ษ ย ไ ม อ าจ ปฏิเสธได “มหกรรมยานยนต ครั้งที่ 29” จึงเปนอีกหนึ่ง งานใหญสงทายปสําหรับผูที่กําลังมองหารถใหมไวใชสักคัน ที่สําคัญในป 2555 ยังถือเปนโคงสุดทายของนโยบายรถคันแรก จึ ง ได รั บ การตอบรั บ จากผู  ช มมากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง มี นวั ต กรรมรถต น แบบที่ ส  ง ตรงมาโชว ตั ว โดยเฉพาะอี ก ด ว ย งานนี้จัดขึ้น ที่ อาคารชาเลนเจอร 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี มหกรรมยานยนต ครั้งที่ 29 หรือ The 29th Thailand International Motor Expo 2012 จัดขึ้นภายใตแนวคิดของโลก ยานยนตปจ จุบนั ทีเ่ ต็มไปดวยเทคโนโลยีอนาคต 4 ประการ ไดแก สะดวก ประหยัด ปลอดภัย และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สอดคลองกับแนวคิด ยานยนตวันหนาที่มาวันนี้ หรือ Meet Tomorrow’s Cars Today 86 l January 2013

Energy#50_p86-87_Pro3.indd 86

12/22/12 1:40 AM


โดยมี ค  า ยรถยนต เ ข า ร ว มงานจํ า นวน 38 ยี่ ห  อ และ 2 ยี่ ห  อ จากบริษัทผูนําเขาและจําหนายรถยนตอิสระ สวนรถจักรยานยนต มีนํามาจัดแสดง 9 ยี่หอ ไฮไลทของงานยังอยูที่รถตนแบบที่มาโชวอยางคับคั่ง และการ เปดตัวรถรุนใหมจากคายรถยนตตาง ๆ โดยในปนี้ไดยกระดับงาน ใหเปนมาตรฐานสากลและเปนผูนําการจัดแสดงงานและจําหนาย รถยนตแหงภูมิภาคอาเซียน โดยเขารวมเปนสมาชิกสมาคมงานแสดง สินคาโลก หรือ UFI (The Global Association of the Exhibition Industry) ซึ่งการไดรับการรับรองจากสมาคมดังกลาว ทําใหบริษัท รถยนตเพิ่มความเชื่อมั่นในมาตรฐานการจัดงานมากยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมสูการเปดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) รวมถึงเปดกวางสูประเทศในแถบเอเชีย ได ร  ว มกั บ สํ า นั ก งานส ง เสริ ม การจั ด ประชุ ม และนิ ท รรศการ (องคการมหาชน) หรือ สสปน. ที่ไดใหการสนับสนุน 2 แคมเปญหลัก คือ “100 a head” และ “Be My Guest” โดยในสวนของ 100 a head สสปน.จะพิ จ ารณามอบเงิ น สนั บ สนุ น แก อ งค ก รธุ ร กิ จ สมาคมธุรกิจการคา หอการคา ตัวแทนทองเที่ยว องคกรที่ไมแสวง ผลกําไรในประเทศ กลุมเออีซี รวมถึง จีน ไตหวัน มาเกา ฮองกง อินเดีย บังกลาเทศ ภูฏาน เนปาล ศรีลังกา เกาหลี ญี่ปุน นิวซีแลนด และ ออสเตรเลีย ที่ประสงคจะเดินทางมาเยี่ยมชมงานมอเตอร เอกซโป เปนมูลคา 100 ดอลลารสหรัฐตอทาน สวนแคมเปญ Be My Guest ใหสทิ ธิแ์ กผจู ดั พิจารณามอบทีพ่ กั ฟรีแกลกู คาและผูส อื่ ขาวตางประเทศ ที่เดินทางมารวมงานรวม 50 คืน นั บ เป น ก า วสํ า คั ญ ในการประกาศความพร อ มจั ด งาน สูระดับสากล January 2013 l 87

Energy#50_p86-87_Pro3.indd 87

12/22/12 1:40 AM


Energy Loan โดย : วรรณวิภา ตนจาน

มาตรการเงิ น สนั บ สนุ น รอยละ 20 แกสถานประกอบการ ในโครงการสงเสริมวัสดุและอุปกรณเพื่อการอนุรักษพลังงาน

ป ญ หาการขาดแคลนพลั ง งานยั ง คงเป น ป ญ หาสํ า คั ญ และยิ่งทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ถึงแมการพัฒนาเทคโนโลยี ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ลดการใช พ ลั ง งาน แต ก ารนํ า เทคโนโลยี เหลานี้มาใชยังไมเปนการแพรหลายมากนัก อีกทั้งการปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีตองมีการลงทุนสูงจึงมีผูสนใจนอย ดังนั้นจึงจําเปน ตองไดรับการสนับสนุนในการลงทุนในเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ ที่มีผลตอการประหยัดพลังงาน เพื่อชวยกระตุนใหเกิดการอนุรักษ พลังงานอยางเรงดวน เมือ่ ป 2553 - 2554 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) ไดเริ่มตนดําเนินโครงการสงเสริมวัสดุและอุปกรณเพื่อการอนุรักษ พลังงานผานการสนับสนุนโดยกองทุนรอยละ 20 แกสถานประกอบการ ที่เปนโรงงาน อาคาร และภาคการเกษตรกรรม พบวาสถานประกอบการ ที่ปรับเปลี่ยนมาใชอุปกรณประสิทธิภาพสูง สามารถประหยัดพลังงาน ไดโดยเฉลี่ยถึง 1.5 ลานบาทตอแหง และคืนทุนเฉลี่ยภายในระยะเวลา 2.5 ป ทําใหสามารถประหยัดไดถงึ 355 ลานบาทตอป หรือ 10.6 ktoe/ป จากเงินสนับสนุนรวม 12.5 ลานบาท โดยมีผเู ขารวมโครงการทัง้ หมด 232 ราย ตอมาในป 2555 พพ. ไดใหวงเงินในการสนับสนุนสถานประกอบการ รวม 200 ลานบาท โดยมีสถานประกอบการสนใจขอรับเงินสนับสนุนจนเต็ม วงเงินในเวลาอันรวดเร็วจํานวนทั้งสิ้น 247 ราย และไดติดตั้งอุปกรณใน โครงการครบทั้งหมด ประหยัดไมนอยกวา 14.4 ktoe/ป หรือคิดเปนเงิน ประมาณ 500 ลานบาทตอป

อยางไรก็ตามในป 2556 นี้ จะเนนทีก่ ลุม เปาหมายโรงงานขนาดกลาง และขนาดเล็กเปนหลัก เพือ่ สงเสริมใหเกิดประสิทธิภาพในการแขงขันมากขึน้ ซึ่งมาตรการที่ พพ. จะใหการสนับสนุนเปนมาตรการที่มีการดําเนินการ และประสบความสําเร็จมาแลวในชวงเวลาที่ผานมา เชน มาตรการ มอเตอรประสิทธิภาพสูง ( High Efficiency Motor : HEM) มาตรการ อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอร (Variable Speed Drive : VSD) มาตรการเครื่องอัดอากาศประสิทธิภาพสูง มาตรการเปลี่ยนหมอไอ นํ้า (Boiler) และมาตรการระบบแสงสวาง โครงการส ง เสริ ม วั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ เ พื่ อ การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน เปนโครงการที่ใหการสนับสนุนการลงทุนในมาตรการที่ พพ. พิจารณา แลววาเปนมาตรการที่กอใหเกิดการประหยัดพลังงาน และเคยมีการ ดําเนินการทีป่ ระสบความสําเร็จมาแลวในชวงเวลาทีผ่ า นมา โดยใหคาํ แนะนํา แกสถานประกอบการในการปรับเปลีย่ นหรือทดแทนเครือ่ งจักร วัสดุ อุปกรณ ที่ชวยประหยัดพลังงาน อี ก ทั้ ง สนั บ สนุ น การลงทุ น ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพเครื่ อ งจั ก ร และอุปกรณ เชน การติดตั้งวัสดุอุปกรณที่ชวยประหยัดพลังงาน การซือ้ เครือ่ งจักร วัสดุ อุปกรณใหมทดแทนของเดิมทีป่ ระสิทธิภาพตํา่ พพ. จะพิจารณาใหการสนับสนุนการลงทุนรอยละ 20 ของราคาอุปกรณ และคาติดตัง้ ตามราคากลางที่ พพ. กําหนดในวงเงินไมเกิน 3 ลานบาทตอราย และตองเปนมาตรการที่มีระยะเวลาคืนทุนไมเกิน 7 ป

88 l January 2013

R1_Energy#50_p88_Pro3.indd 88

12/22/12 8:28 PM


Energy Legal

โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

ระบบขนสงกาซธรรมชาติทางทอ

มาตรฐานสูการเปลี่ยนแปลง

ทีป่ ระชุมคณะรัฐมนตรี มีความเห็นในเรือ่ งการขับเคลือ่ นระบบการขนสง กาซธรรมชาติ ซึง่ หลักใหญใจความก็เพือ่ รองรับความตองการทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะภาคขนสงทีป่ ระสบปญหาขาดแคลนกาซธรรมชาติ จนเกิดการกระทบกระทัง่ กันมาแลวระหวางภาครัฐ เอกชน และผูป ระกอบการ ทัง้ นีเ้ พราะความไมชดั เจนในเรือ่ งของราคาทีจ่ าํ หนาย “รางกฎกระทรวง ระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอ” จึงถือเปนทางออกที่ชวยบรรเทา ปญหาการขาดแคลนกาซธรรมชาติในบางพื้นที่ โดยคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ “ร า งกฎกระทรวงระบบการขนส ง ก า ซธรรมชาติ ท างท อ ” ที่ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว ตามทีก่ ระทรวงพลังงานเสนอ และให ดําเนินการตอไปได ซึ่งสาระสําคัญของรางกฎกระทรวง ประกอบดวย 1. กําหนดใหกฎกระทรวงนี้ใชบังคับเมื่อพนกําหนด 180 วัน นับตั้งแต วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป 2. กําหนดคํานิยาม เชน ระบบขนสงกาซธรรมชาติทางทอ สถานีรายงาน ดานสิ่งแวดลอม ประมวลหลักการปฏิบัติงาน และบริเวณอันตราย เปนตน 3. กําหนดใหระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอจะตองไดรบั ความเห็นชอบ รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม หรือไดรับความเห็นชอบรายงาน ดานสิ่งแวดลอมตามหลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด 4. กําหนดใหเจาของโครงการระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอตอง จัดใหมกี ารตรวจสอบคุณภาพและผลกระทบตอสิง่ แวดลอม โดยจัดทําเปนรายงาน ผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข ลด ติดตาม และตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น ตามหลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด 5. กําหนดคุณสมบัติของผูทดสอบและตรวจสอบ และกําหนดคุณสมบัติ ของผูปฏิบัติงานในการดําเนินการขนสงกาซธรรมชาติทางทอ ตองมีคุณสมบัติ ตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 7(4) 6. กําหนดมาตรฐานระยะควบคุมความปลอดภัย โดยกําหนดใหเปนไปตาม มาตรฐานตางประเทศ และมาตรฐานอื่นที่กรมธุรกิจพลังงานเห็นชอบ 7. กําหนดมาตรฐานอุปกรณไฟฟาและเครือ่ งใชไฟฟาทีจ่ ะนํามาใชในบริเวณ อันตรายของสถานี 8. กําหนดมาตรการความปลอดภัยของแนวเขตสถานี และระยะโดยรอบ ของบริเวณอันตรายของสถานี

9. กําหนดมาตรฐานวัสดุ อุปกรณ และการออกแบบการกอสรางใน ระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอ กําหนดใหทอสงกาซธรรมชาติที่อยูนอก เขตสถานีตองวางอยูใตพื้นดิน กําหนดมาตรฐานการเชื่อมบรรจบทอเขากับทอ ในระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอ และกําหนดมาตรฐานการทดสอบความ ดันทอและอุปกรณในระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอ 10. กําหนดใหกรณีที่มีการเชื่อมบรรจบทอเขากับทอที่มีการทดสอบ ความดันแลว และการเชื่อมบรรจบทอดังกลาวไมสามารถทดสอบความดัน ทั้งระยะได ใหตรวจสอบรอยเชื่อมดังกลาวแบบไมทําลาย โดยวิธีการทดสอบ ดวยรังสี คลื่นความถี่สูง ผงแมเหล็กหรือสารแทรกซึมหรือวิธีการทดสอบอื่น ที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด 11. กําหนดใหสถานีตอ งติดตัง้ เครือ่ งดับเพลิงชนิดผงแหงทีไ่ ดมาตรฐาน ผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมหรือมาตรฐานอืน่ ทีก่ รมธุรกิจพลังงานเห็นชอบอยางนอย สองเครือ่ งไว ณ บริเวณทีม่ องเห็นและสามารถนําออกมาใชไดโดยงาย กําหนดหาม ทําการใด ๆ ทีก่ อ ใหเกิดเปลวไฟหรือประกายไฟภายในสถานี และกําหนดใหสถานีตอ ง จัดใหมปี า ยหามทีม่ ขี อ ความและสัญลักษณตดิ ตัง้ ไว ณ บริเวณทีเ่ ห็นไดงา ย 12. กําหนดใหผรู บั อนุญาตตองจัดใหมกี ารเตรียมการระงับเหตุเพลิงไหม และในกรณีทเี่ กิดอุบตั เิ หตุทาํ ใหระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอชํารุดเสียหาย จนเกิดการรัว่ ไหลใหผรู บั ใบอนุญาตดําเนินการใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธกี าร ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด 13. กําหนดใหแนวทอสงกาซธรรมชาติตองจัดใหมีปายที่อยางนอยตอง มีรายละเอียดตามที่กําหนด และในกรณีที่ทอสงกาซธรรมชาติเปนทอฝงดินโดย วิธีการขุดเปด ตองมีการฝงเทปเตือนสีเหลือง ถามีแผนคอนกรีตปองกันทอให ฝงเทปเตือนไวเหนือแผนคอนกรีต 14. กําหนดใหผูรับใบอนุญาตตองจัดใหมีระบบการตรวจประเมินดาน การจัดการความปลอดภัยของระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอที่เปนไป ตามแผนประกันคุณภาพ และตองจัดเก็บเอกสารและขอมูลของระบบการขนสง กาซธรรมชาติทางทอ 15. กําหนดใหผูรับใบอนุญาตที่มีความประสงคจะทําการพักหรือหยุด ใชงานทั้งหมดหรือบางสวนชั่วคราว ตองแจงตอกรมธุรกิจพลังงาน โดยระบุ เหตุผลทีจ่ ะพักหรือหยุดใชงานชัว่ คราว พรอมทัง้ ตองกําหนดมาตรการตรวจสอบ และบํารุงรักษาตามมาตรฐาน และหากมีความประสงคจะกลับมาใชใหม ผูร บั ใบอนุญาต ตองแจงกรมธุรกิจพลังงานเพื่อตรวจสอบวาระบบการขนสงกาซธรรมชาติ ทางทอดังกลาวยังมีมาตรฐานตามที่กําหนด และยังปฏิบัติตามที่กําหนด 16. กําหนดใหผูรับใบอนุญาตที่มีความประสงคจะเลิกใชงานทั้งหมดหรือ บางสวนเปนการถาวร ตองแจงตอ กรมธุรกิจพลังงานโดยแนบแบบรายละเอียด ระบุตําแหนง ขนาด ความยาว และรายละเอียดอื่น ๆ ที่จะเลิกใชงาน พรอมทั้ง มาตรการในการจัดการและตรวจสอบระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอ ดังกลาว และมาตรการในการปองกันสิ่งแวดลอมในบริเวณพื้นที่โดยรอบ เพื่อให กรมธุรกิจพลังงานเห็นชอบ 17. กําหนดบทเฉพาะกาลของระบบการขนสงกาซธรรมชาติทางทอที่ ดําเนินการอยูในวันกอนวันที่กฎกระทรวงนี้บังคับใช January 2013 l 89

Energy#50_p89_Pro3.indd 89

12/22/12 1:31 AM


Energy#40_p25_Pro3.ai

1

2/21/12

3:29 PM


Insight Energy ผูเขียน : Bar Beer

ระดมความเห็นอัตรารับซื้อไฟฟา สูนโยบายสงเสริมพลังงานแสงอาทิตย

ความตองการพลังงานสําหรับนุษยยงั คงเปนปญหาหลักและปญหา สําคัญทีไ่ มเพียงแคประเทศไทย แตเปนทุกประเทศทัว่ โลกทีก่ าํ ลังหาทางแกไข วาจะทําอยางไรใหเกิดประโยชนในการใชพลังงานใหคมุ คาทีส่ ดุ ดวยเหตุนี้ กระทรวงพลังงาน โดยสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน จึงเปดรับฟง ความเห็นจากทุกภาคสวนเพือ่ นําขอมูลมาปรับปรุงนโยบายการสงเสริมการผลิต ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย เพือ่ เสนอคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา ตามที่รัฐบาลไดมีนโยบาย สงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนใหการใชทรัพยากรภายในประเทศ ใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อชวยลดการพึ่งพาการนําเขาพลังงาน และเพิ่มความ มัน่ คงดานพลังงาน ดวยการสนับสนุนใหมกี ารรับซือ้ ไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน ผานมาตรการราคารับซือ้ ไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน โดยเปดรับฟงความคิดเห็น เกี่ยวกับประเด็น “อัตราการรับซื้อไฟฟาจากโครงการพลังงานแสงอาทิตย ในรูปแบบ Feed-in tariff (FIT)” ขึ้น สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการ บริหารมาตรการสงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียนไดรบั มอบหมายใหดาํ เนินการ ศึกษานโยบายรับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน เพื่อปรับปรุงมาตรการสวน เพิ่มราคารับซื้อไฟฟา (Adder) ใหเปนอัตรารับซื้อไฟฟาในรูปแบบ Feed-in tariff (FIT) เพื่อใหเปนไปตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ไดมีมติไว ซึ่งจะทําใหโครงสรางราคารับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนนั้น

ไมมีการเปลี่ยนแปลงหรือผันผวนตามราคาพลังงานในตลาดโลกเหมือนรูปแบบ Adder และสอดคลองกับตนทุนการพัฒนาโครงการพลังงานหมุนเวียนจริง มีความโปรงใส และเปนธรรมกับทั้งผูพัฒนาโครงการและผูใชไฟฟา ทัง้ นี้ ไดรว มกับสถาบันวิจยั พลังงาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดําเนิน การศึกษานโยบายรับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ Feed-in tariff พรอมทั้งปรับปรุงสมมติฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของและไดนําเสนอคณะกรรมการ บริหารฯ พิจารณา โดยไดมีมติใหเปดรับฟงความคิดเห็นของหนวยงานราชการ, รัฐวิสาหกิจ, สถาบันการเงิน, นักวิชาการ, ผูพัฒนาโครงการ ตลอดจนบุคคล ภายนอกทีส่ นใจ เพือ่ นําขอเสนอทีเ่ ปนประโยชนมาปรับปรุงและจัดทํานโยบายรับซือ้ ไฟฟาในรูปแบบ Feed-in tariff ของโครงการพลังงานแสงอาทิตย กอนนําเสนอ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ สําหรับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดังกลาว ถือเปนการระดมความ คิดเห็นทีเ่ ปนประโยชนอยางมาก เพราะนอกจากจะไดนาํ ขอมูลมาใชประกอบการจัดทํา นโยบายการสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยแลว ยังสงผลตอเนือ่ ง ใหเกิดความมีสวนรวมในการพัฒนาพลังงานของประเทศใหมีความพอเพียง มีความมัน่ คง และทัว่ ถึง ในระดับราคาทีเ่ หมาะสมและเปนธรรม อันจะสงผลตอการ ขับเคลื่อนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทั้ ง นี้ หากได ข  อ สรุ ป แล ว จะนํ า เสนอต อ คณะกรรมการบริ ห าร มาตรการสงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียน และคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ กอนประกาศเปนนโยบายเพื่อนํามาปฏิบัติตอไป January 2013 l 91

Energy#50_p91_Pro3.indd 91

12/22/12 1:28 AM


Energy Around The World America

America

ชาวอเมริ กั น ติ ด ตั้ ง แผงเซลล แ สงอาทิ ต ย บนหลังคาบานเปนจํานวนสูงที่สุดในประวัติการณ จากรายงานของสมาคมอุ ต สาหกรรมพลั ง งานแสงอาทิ ต ย (Solar Energy Industries Association) ฉบับลาสุดนั้น กลาวถึง เหตุการณที่คนอเมริกันทําการติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตยบนหลังคาบาน (Rooftop Solar Panels) เปนจํานวนสูงที่สุดเปนประวัติการณในป 2012 ทางสมาคมฯ คาดการณวาจะมีจํานวนการติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตย บนหลังคาบานในประเทศทั้งหมด 3.2 กิกะวัตต ซึ่งแนวโนมในการติดตั้ง แผงเซลลแสงอาทิตยบนหลังคาบานยังคงเติบโตอยางตอเนือ่ ง โดยคาดวา ในปหนาจะมีการติดตัง้ แผงเซลลแสงอาทิตยเพิม่ ขึน้ อีก 25% เปน 4 กิกะวัตต สําหรับการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจากการติดตั้งเซลลแสงอาทิตย ในภาคครัวเรือนนั้น มาจากการที่ราคาของแผงเซลลแสงอาทิตยลดตํ่า ลง ประกอบกับหนวยงานของภาครัฐและบริษัทเอกชนไดหันมาลงทุน ในโครงการพลังงานแสงอาทิตยเพิ่มมากขึ้น

Europe

Solar Impulse เที่ยวบินแรกในประวัติศาสตร บิ น ข้ า มอเมริ ก าโดยใช้ เ ครื่ อ งบิ น พลั ง งาน แสงอาทิตย

Bertrand Piccard และ Andre Borschberg ผูนําทีม Solar Impulse ประกาศทําการบินขามประเทศจากซานฟรานซิสโกถึงนิวยอรก โดยใชเครือ่ งบินพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ หากประสบความสําเร็จก็นบั วาเปน เทีย่ วบินพลังงานแสงอาทิตยเทีย่ วแรกในประวัตศิ าสตรทบี่ นิ ขามอเมริกาได เครื่ อ งบิ น พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ที่ ใ ช มี เ ซลล แ สงอาทิ ต ย จํ า นวน 11,628 เซลล ใหพลังงานไดเทากับเครื่องยนตขนาด 10 แรงมาจํานวน 4 ตัว มีระยะระหวางปลายปกสองขางเทากับเครื่องบิน Airbus A340 แตมีนํ้าหนักเพียง 1,600 กิโลกรัม บินดวยความเร็ว 70 กิโลเมตร ตอชั่วโมง แตใชพลังงานเฉลี่ยเทากับรถสกูตเตอรเทานั้น อยางไรก็ตามเครื่องบินพลังงานแสงอาทิตยอาจไมใชเครื่องบิน ที่บินโดยใชเวลาเร็วที่สุด เพราะยังตองทําการตรวจสอบพลังงานแสง อาทิตยตลอดการเดินทาง นอกจากนั้นเครื่องบินพลังงานแสงอาทิตย ยังสามารถทําการบินไดทั้งตอนกลางวันและกลางคืน

ประชาชนและเกษตรกรในเยอรมนีเปนเจาของพลังงานทดแทนเกินกวาครึง่ หนึง่

Paul Gipe จากองคกร Wind-Works ไดเสนอแงมุมที่นาสนใจในเรื่องของพลังงานทดแทนในประเทศ เยอรมนีวา ประชาชนและเกษตรกรเปนเจาของพลังงานทดแทนถึง 51 เปอรเซ็นต จากมูลคาของการลงทุน ในพลังงานบริสุทธิ์ทั้งหมด 1 แสนลานเหรียญสหรัฐ เมื่อมองลึกลงไปในรายละเอียดทําใหรูวาประชาชน และเกษตรกรเปนเจาของแผงเซลลแสงอาทิตยถึง 50% นอกจากประชาชนและเกษตรกรจะเปนเจาของแผงเซลลแสงอาทิตย 50 เปอรเซ็นตแลว ยังเปน เจาของพลังงานลมถึง 54 เปอรเซ็นต ทําใหในปจจุบัน เยอรมนีสามารถผลิตไฟฟาพลังงานทดแทนไดสูงกวา 20% เล็กนอยหากเทียบกับพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดทั้งหมดภายในประเทศ

92 l January 2013

Energy#50_p92-95_Pro3.indd 92

12/22/12 1:25 AM


Europe

3 โรงไฟฟ า พลั ง งานลมนอกชายฝ ง ทะเล เกาะ Tiree ปิดชั่วคราว เพื่อปกป้องชีวิตนก และสัตวทะเลในสกอตแลนด

โครงการโรงไฟฟาพลังงานลมนอกชายฝงทะเลของเกาะ Tiree ซึ่งอยูภายใตโครงการไฟฟาพลังงานลมนอกชายฝงทะเล Argyll Array ของบริษทั ScottishPower Renewables ตัง้ อยูบ นพืน้ ทีข่ นาด 361 ตาราง กิโลเมตร หางจากชายฝงทะเลราว 5 กิโลเมตร และโรงไฟฟาพลังงานลมนี้ สามารถผลิ ต ไฟฟาได 1,800 เมกะวั ต ต เที ย บไดกับการผลิ ต ไฟฟา ใหกับครัวเรือนจํานวน 1 ลานครัวเรือน นักกิจกรรม No Tiree Array และสมาคมพิทักษนก (Royal Society for the Protection of Birds หรือ RSPB) ประกาศเตือน โครงการโรงไฟฟา พลังงานลมนอกชายฝงทะเลของเกาะ Tiree เปนโครงการที่สงผลกระทบ กับสิ่งแวดลอมและสัตวตาง ๆ ที่อยูในทะเล เชน โลมา วาฬเพชฌฆาต ฉลามบาสกิ้น และนกที่อาศัยอยู อย า งไรก็ ต ามในช ว งที่ โ รงไฟฟ า พลั ง งานลมของเกาะ Tiree ถูกปดชั่วคราว จะเปนโอกาสใหทางบริษัทไดศึกษาเทคโนโลยีของกังหันลม และเทคโนโลยีต าง ๆ ที่เข ามาช วยลดผลกระทบต อ สิ่ ง แวดลอ มของ โครงการนี้

Europe

รั ฐ บาลสหราชอาณาจั ก รเสนอซื้ อ ไฟฟ า จากพลังงานทดแทน รัฐบาลสหราชอาณาจักรกําลังตองการซือ้ ไฟฟาผานทางสํานักงาน จัดซือ้ จัดจางของรัฐบาล (Government Procurement Service หรือ GPS) ซึง่ ในระยะเริม่ ตนไดมกี ารเสนอวาจะซือ้ ไฟฟาทีม่ าจากแหลงพลังงานทีป่ ลอย คารบอนตาํ เพิม่ ขึน้ ปละ 2% ไปเรอย ๆ เปนระยะเวลา 25 ป ในราคาทีต่ ายตัว ในชวงระยะเริ่มตนของโครงการนี้รัฐบาลจะซื้อไฟฟาที่ผลิตไดจาก ชีวมวล หรือ ขยะ หลังจากทําการขยายโครงการก็จะซื้อไฟฟาที่ผลิตไดจาก แหลงอน ๆ เชน ลม และแสงอาทิตย แตถึงอยางไรก็ตามในการซื้อไฟฟา จากพลังงานทดแทนควรเพิ่มขึ้นใหเทากับครึ่งหนึ่งของคาใชไฟฟาจํานวน 1.5 พันลานปอนดตอป

บริษัทในหมูเกาะ Faroe เต็มใจปดสวิตซเมอเกิดการขาดแคลนพลังงาน

Europe

Bergfrost Cold Storage, Hiddenfjord และ SEV ซึง่ เปนบริษทั ขนาดใหญในหมูเ กาะ Faroe ทีม่ กี ารใชพลังงาน รวมกันคิดเปนรอยละ 10 ของพลังงานทัง้ หมดทีใ่ ชในหมูเ กาะ รวมมือกันปดสวิตชไฟฟาในกรณีทเี่ กิดไฟฟาดับ โดย Bergfrost Cold Storage ไดสาํ รองไฟฟาของบริษทั ไวทอี่ โุ มงคเก็บกระแสไฟฟาทีถ่ กู เจาะเขาไปในภูเขาแถบทาเรือ ในกรณีทไี่ ฟฟาดับไมเกิน 24 ชัว่ โมง อาหารแชแข็งจะไมไดรบั ความเสียหาย แตในทางกลับกันฟารมเลีย้ งปลาแซลมอน Hiddenfjord สามารถสํารองไฟฟาไวใชไดเพียง 15 นาทีเทานัน้ ซึ่งหลังจากนั้นไมนาน จะทําใหปลาแซลมอน 3-4 ลานตัวตาย สงผลใหเกิดความสูญเสียแกบริษัทอยางนอย 2.2 ลานปอนด ในขณะที่ SEV ไดสาํ รองไฟฟาไวเพิม่ เติมอีก 10-15 นาทีจากชวงเวลาทีไ่ มมกี ระแสไฟฟา

January 2013 l 93

Energy#50_p92-95_Pro3.indd 93

12/22/12 1:25 AM


America

Asia

นั ก วิ จั ย ศึ ก ษาวิ ธี ก ารแปลงไม ใ ห เ ป น นํ า มั น ชีวภาพ

Green Fan Mini พัดลมประหยัดพลังงาน ไรสาย

งานวิจัยชิ้นใหมจากมหาวิทยาลัยนอรทแคโรไลนาใหขอมูลเชิงลึก ทีน่ า สนใจเกีย่ วกับระดับโมเลกุลในเซลลูโลสวา สารประกอบอินทรียท พี่ บมาก ทีส่ ดุ ในโลก และเปนสวนประกอบโครงสรางหลักของผนังเซลลพชื พบไดในไม ซึ่งสามารถกลั่นออกมาเปนผลิตภัณฑนํ้ามันชีวภาพที่มีประโยชน สามารถ ใชเปนเชื้อเพลิงของรถยนตและเครื่องบินได นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนอรทแคโรไลนาใชระบบคอมพิวเตอร ที่มีการประมวลผลเร็วกวาคอมพิวเตอรมาตรฐานทั่วไปในการคํานวณ สิ่งที่เกิดขึ้นของระดับโมเลกุล เมื่อไมมีอุณหภูมิสูงขึ้นและไมมีออกซิเจน ซึ่งเปนกระบวนการที่รูจักกันในชื่อ “ไพโรไลซิส” (pyrolysis) ผลที่ได สามารถชวยเพิ่มประสิทธิภาพและทําใหไมธรรมดาที่ไมไดใชประโยชน สามารถแปลงเปนนํ้ามันชีวภาพได

Balmuda บริษัทสัญชาติญี่ปุนไดรับรางวัลชนะเลิศ The 2012 Good Design Award ในประเภท small and medium enterprises ดวย ผลิตภัณฑพัดลม Green Fan Mini ซึ่งพัดลมตัวนี้ออกแบบดวยเทคโนโลยี ที่ทันสมัย ตัวเครื่องไรสาย ทํางานดวยระบบมอเตอรดิจิตอลชั้นสูง ไรเสียง ประหยัดพลังงาน และใหความรูสึกเสมือนรับลมจากธรรมชาติ Green Fan Mini ใชพลังงานไฟฟาตํ่าสุดเพียง 2 วัตต และสูงสุด 10 วัตต เมื่อเทียบกับพัดลมธรรมดาที่ใชไฟฟาตํ่าสุด 30 วัตต และสูงสุด 60 วัตต ดวยใบพัด 14 ใบ พรอมมอเตอรระบบดิจิตอลจะทําใหพัดลม หมุนดวยความถี่ตอรอบตํ่า ที่สําคัญยังชวยลดปญหามลพิษทางเสียงไดดี เนื่องจากเสียงจากเจาพัดลมตัวนี้เพียงแค 17 เดซิเบล เทานั้น นับเปน ผลิตภัณฑที่มีประสิทธิภาพสูงในการประหยัดพลังงาน

Europe

กลุมประเทศผูสงออกนํามันหันมาลงทุนในธุรกิจพลังงานแสงอาทิตย โรงงานพลังงานแสงอาทิตยที่ใหญที่สุดในโลกกําลังจะเสร็จสมบูรณในอบูดาบี ในขณะเดียวกัน ทีซ่ าอุดอิ าระเบียผูส ง ออกนํา้ มันรายใหญทสี่ ดุ ของโลกมีแผนทีจ่ ะสงออกพลังงานแสงอาทิตยไปยังพืน้ ทีใ่ นทวีปยุโรป บรรดากษัตริยของประเทศอาหรับบนอาวเปอรเซียที่มีการสงออกนํ้ามันติดอันดับ1-5 ของโลก กําลัง เริ่มดําเนินการปฏิวัติพลังงานทดแทนเพื่อเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจของตัวเองจากการสงออกนํ้ามันเปนหลัก มาเปนสถานีพลังงานแสงอาทิตยแทน นี่คือโครงการที่มีการลงทุนมหาศาลกวา 560,000 ลานเหรียญ สามารถผลิตพลังงานแสงอาทิตย ไดจาํ นวนมากเพียงพอจะสงไปยังทวีปยุโรป ทีต่ อนนีน้ กั ลงทุนเริม่ รูส กึ วิตกกังวลวาจะมีพลังงานแสงอาทิตยไมเพียงพอ เนือ่ งจากพลังงานทีไ่ ดจากแอฟริกาเหนือไมเพียงพอ และโครงการสําคัญในโมร็อคโคยังคงหยุดนิง่

94 l January 2013

Energy#50_p92-95_Pro3.indd 94

12/22/12 1:25 AM


Europe

South America

นักออกแบบในลอนดอนสราง “Gravitylight” พลังงานแสงจากแรงโนมถวง

พั ฒ นาพลั ง งานลมเพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า เต็มรูปแบบ

มารตนิ ริดดดฟิ อรด (Martin Riddiford) และ จิม รีฟส (Jim Reeves) นักออกแบบในลอนดอนไดทําการพัฒนาสรางแสงสวางจากแรงโนมถวง ซึง่ เปนนวัตกรรมในการสรางแสงสวางและเก็บพลังงาน เพียงแคอปุ กรณนี้ เริ่มทํางาน 3 วินาที จะสามารถสรางแสงสวางไดนานถึง 30 นาที แนวคิดนี้มีขึ้นเพื่อหวังที่จะชวยเหลือประเทศที่กําลังพัฒนาและไม สามารถเขาถึงกระแสไฟฟาได ซึง่ พืน้ ทีเ่ หลานีจ้ ะใชตะเกียงนํา้ มันกาดในการให แสงสวาง เจาอุปกรณนไี้ มมแี บตเตอรี่ ระบบจะทํางานผานการสรางพลังงาน จากการเคลื่ อ นที่ ข องนํ้ า หนั ก เพื่ อ สร า งพลั ง งานสํ า หรั บ การใช ง าน นอกจากนีแ้ ลว “Gravitylight” ยังมีขั้วบวก ขั้วลบ สําหรับอุปกรณชารจ พลังงานหรือแบตเตอรี่

บราซิลมีความพยายามที่จะเพิ่มการผลิตไฟฟาจากพลังงานลม เปนสองเทา เนือ่ งจากความตองการใชไฟฟาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ทัง้ ในสวนของภาค รัฐบาลและภาคเอกชน รัฐบาลภายใตการนําของประธานาธิบดี “ดิลมา รุสเซฟ” (Dilma Rousseff) ไดลงทุนเปนมูลคามหาศาลกวา 1 พันลานดอลลารในการพัฒนาโครงสราง พืน้ ฐานทัว่ ประเทศ เพือ่ เตรียมพรอมสําหรับมหกรรมการแขงขันฟุตบอลโลก ในป 2014 และการแขงขันกีฬาโอลิมปกในป 2016

นักวิจัยชี้ หัวหอมและกระเทียมมีสรรพคุณทําความสะอาดสารตกคาง จากภาคอุตสาหกรรม

Asia

หัวหอมและกระเทียมอาจชวยเพิ่มรสชาติที่ดีใหแกอาหาร แตหัวหอมและกระเทียมจะสามารถนํามาใช ทําความสะอาดอุปกรณโลหะไดหรือไม ผลการวิจยั จากประเทศอินเดียบอกวาสามารถทําได นักเทคโนโลยีชีวภาพจากอินเดีย กลาววา หัวหอมและกระเทียมสามารถใชเปนทางเลือกในการ ทําความสะอาดสารพิษจากโลหะจําพวก สารหนู แคดเมียม เหล็ก ปรอท ดีบกุ และตะกัว่ จากภาคอุตสาหกรรม ทีต่ กคางอยูใ นทอนํา้ ทิง้ ได ผลการทดสอบพบวา หัวหอมและกระเทียม 1 มิลลิกรัม สามารถดูดสารตะกั่วไดถึง 10 มิลลิกรัม มีประสิทธิภาพการฟน ฟูสงู ถึง 70 เปอรเซ็นต

January 2013 l 95

Energy#50_p92-95_Pro3.indd 95

12/22/12 1:25 AM


Special Report โดย : กองบรรณาธิการ

นํ้ามันแกสโซฮอล E85

พลังงานทดแทนเพือ่ อนาคต

ผานมาจะเห็นไดวา ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมเสือ่ มโทรม ลงมาก การอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมเปนสิง่ จําเปนและสําคัญมาก ในปจจุบัน หลายบริษัทพยายามผลิตและใชพลังงานใหเกิดประโยชน อยางสูงสุด มีระยะเวลาในการใชทยี่ าวนานและกอใหเกิดความเสียหาย ตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด นอกจากจะไดชวยกันอนุรักษพลังงานแลว ยังชวยประหยัดคาใชจาย และชวยลดปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดจาก แหลงผลิตและแหลงทีใ่ ชดว ย ตามที่ มหาวิ ท ยาลั ย นอร ท เชี ย งใหม ร ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีสุรนารี ไดรับการสนับสนุนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดจัด โครงการพลังงานทดแทนสําหรับ

การใชนํ้ามันแกสโซฮอล E85 จากพืชเศรษฐกิจสําหรับยานยนต เพื่อชวยใหประชาชนประหยัดคาใชจายดานพลังงานสําหรับพาหนะเดินทาง โดยมีเครือขายนํารองคือ จังหวัดนครราชสีมา ตอมาไดขยายโครงการ ไปสูร ะดับสวนภูมภิ าค ซึง่ จังหวัดเชียงใหมเปนหนึง่ ในภาคเหนือทีท่ างโครงการ ไดสนับสนุนและผลักดันใหใชนาํ้ มันแกสโซฮอล E85 เพือ่ ใหผใู ชรถจักรยานยนต และรถยนตเบนซินหัวฉีด ประหยัดคาใชจายในการใชนํ้ามัน เนื่องจากนํ้ามัน แกสโซฮอล E85 ถูกกวานํ้ามันเบนซิน 91 และแกสโซฮอล 91 ดังนั้นเพื่อเปนการสงเสริมการใชนํ้ามันแกสโซฮอลและเทคโนโลยี ภายในประเทศ เพื่อชวยกันรักษาสิ่งแวดลอม ลดภาวะโลกรอนและลดการ ปลอยกาชเรือนกระจก นายอํานวย ทองสถิตย อธิบดีกรมพัฒนา

96 l January 2013

Energy#50_p96-98_Pro3.indd 96

12/20/12 1:30 AM


พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน เลาถึงโครงการฯที่เชียงใหมวา ชุมชนองคการบริหารสวนตําบลหนองแกว ซึ่ ง เป น ชุ ม ชนต น แบบที่ ท างมหาวิ ท ยาลั ย นอร ท เชี ย งใหม ร ว มกั บ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไดเขารวมเปนภาคีสนับสนุนและสงเสริม ดานเทคโนโลยี โดยเล็งเห็นวาโครงการนี้เปนประโยชนตอชุมชนและจังหวัด อย า งมาก สอดคล อ งกั บ นโยบายการรณรงค ใ ห ใ ช พ ลั ง งานทดแทน ของกระทรวงพลั ง งาน ที่ ช  ว ยผลั ก ดั น ให แ ผนการพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป (พ.ศ. 2555-2564) ใหประสบความสําเร็จและมีความตอเนื่อง สามารถนําผลที่ไดมาวางรูปแบบ กระจายผลสูการปฏิบัติจริง เพื่อใหประเทศมีความยั่งยืนดานพลังงาน ซึ่ ง โครงการฯในครั้ ง นี้ ประกอบด ว ย หน ว ยงานภาคการศึ ก ษา หนวยงานภาคเอกชน หนวยงานทองถิน่ ทีร่ ว มกันรณรงคใหใชพลังงาน

นายชยพล คติการ ที่ปรึกษาอาวุโสดานพลังงานทดแทน (แกสโซฮอล E85 สําหรับยานยนต)

ทดแทน นํา้ มันแกสโซฮอล E85 ทัง้ ในรถยนตและรถจักยานยนต รวมถึงการ จัดแสดงเทคโนโลยีและอุปกรณที่ใชดัดแปลงรถยนตและรถจักยานยนตเพื่อ รองรับการใชนํ้ามันแกสโซฮอล E85 ทั้งนี้เพื่อเปนการรณรงคและสรางความรูความเขาใจประชาสัมพันธ เชิญชวนใหประชาชนหันมาใหความสนใจใชพลังงานทดแทนที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น นายณรงค ชวสินธุ อธิการบดีมหาวิทยาลัย นอรทเชียงใหม กลาววา โครงการพลังงานทดแทนสําหรับการใชนํ้ามัน แกสโซฮอล E85 จากพืชเศรษฐกิจสําหรับยานยนต ในจังหวัดเชียงใหมนั้น มีสวนชวยในการสงเสริมและถายทอดเทคโนโลยีการใชนํ้ามันแกสโซฮอล E85 สําหรับยานยนตในเชียงใหม ซึ่งจัดเปนตัวอยางในการรณรงค สรางความรูความเขาใจและประชาสัมพันธเผยแพรขยายการดําเนินการ ใหกับชุมชนอื่น ๆ ตอไปในอนาคต อีกทั้งยังเปนการตอบสนองนโยบายของ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงานดวย

นายอํานวย ทองสถิตย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (คนขวา) มอบของที่ระลึกใหผูเขารวมโครงการฯ

January 2013 l 97

Energy#50_p96-98_Pro3.indd 97

12/20/12 1:30 AM


อยางไรก็ตามสําหรับแนวโนมการใชนํ้ามันเบนซินในป 2555 พบวา ปรับตัวเพิม่ ขึน้ เล็กนอย เนือ่ งจากเศรษฐกิจปรับตัวดีขนึ้ ประกอบกับยอดซือ้ รถใหมปรับเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ ผูคานํ้ามันไดรายงานแผนการคานํ้ามันในชวง 2 เดือนแรกของป 2555 อยูท รี่ ะดับ 20-21 ลานลิตร/วัน และคาดวาสัดสวน การใชนาํ้ มันแกสโซฮอลนา จะปรับตัวเพิม่ ขึน้ อีกหากรัฐบาลปรับเพิม่ สวนตาง ราคาแกสโซฮอลและเบนซินอยางตอเนื่อง ประกอบกับในป 2555 รัฐบาล มีนโยบายสําคัญที่จะยกเลิกจําหนายเบนซิน 91 ตั้งแตเดือนตุลาคม 2555 เพือ่ สงเสริมการใชแกสโซฮอล เนือ่ งจากเอทานอลเปนเชือ้ เพลิงทีส่ ามารถผลิต ไดเองในประเทศ และคาดวาการใชเอทานอลจะเพิม่ ขึน้ จาก 0.7 ลานลิตร/วัน เปน 2.0 ลานลิตร/วัน ขณะที่กําลังการผลิตเอทานอลในปจจุบันอยูที่ 2.93 ลานลิตร/วัน และจะเพิ่มขึ้นเปน 3.37 ลานลิตร/วัน ในไตรมาสที่ 1 ป 2556

เนื่องจากโรงงานผูผลิตเอทานอลจากพืชเศรษฐกิจกับผูใชนํ้ามันแกส โซฮอล E85 ในป 2558 ประเทศไทยจะเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมีประเทศสมาชิกที่สามารถผลิตเอทานอลจากพืชเศรษฐกิจที่สามารถ นํ า ไปผลิ ต นํ้ า มั น แก ส โซฮอล E85 กั บ ยานยนต ได เ ช น เดี ย วกั น หากประเทศไทยมีองคความรูในการดําเนินโครงการนี้จะสามารถมีโอกาส เปนผูนํา และเปนพี่เลี้ยงใหกับประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได ปจจุบันสภาวะโลกรอนและสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงกําลัง เปนปญหาสําคัญและสรางผลกระทบที่รุนแรงมากขึ้น ทําใหทุกประเทศ ตางตองใหความสําคัญและตระหนักถึงแนวทางการแกไขปญหารวมกัน ซึ่งโครงการฯนี้ก็เปนสวนหนึ่งที่ชวยรณรงคและใหความรูแกประชาชน ให หั น มาใช พ ลั ง งานทดแทน นํ้ า มั น แก ส โซฮอล E85 กั บ รถจักรยานยนต และรถยนตเบนซินหัวฉีด เพื่อชวยลดปญหาสภาวะ โลกร อ นอย า งจริ ง จั ง โดยการนํ า ความรู  จ ากการวิ จั ย และพั ฒ นา เทคโนโลยี ใ นสถาบั น การศึ ก ษามาถ า ยทอดสู  ชุ ม ชนและประชาชน กระตุ  น ให เ กิ ด การตื่ น ตั ว รู  จั ก และใช พ ลั ง งานทดแทนกั น มากขึ้ น ซึ่ ง นํ้ า มั น แก ส โซฮอล E85 นั้ น เป น พลั ง งานทดแทนทางเลื อ กซึ่ ง ถื อ เป น นํ้ า มั น ของคนไทยถึ ง 85 เปอร เ ซ็ น ต เนื่ อ งจากใช เ ทคโนโลยี ที่คิดคนและประดิษฐขึ้นโดยฝมือคนไทย ชวยลดคาใชจายนํ้ามันเชื้อเพลิง และเปนการเพิ่มรายไดอีกทางหนึ่งดวย การใชนาํ้ มันแกสโซฮอล E85 นอกจากจะทําใหประเทศลดการนําเขา นํ้ า มั น ป โ ตรเลี ย มจากต า งประเทศแล ว ยั ง เป น การสร า งความ มั่นคงทางการตลาดและเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรผูปลูกออยและ มันสําปะหลังซึง่ เปนประชาชนสวนใหญของประเทศ

98 l January 2013

Energy#50_p96-98_Pro3.indd 98

12/20/12 1:30 AM


Energy#47_p92_Pro3.ai

1

9/21/12

9:50 PM


Special Report โดย : วรรณวิภา ตนจาน

Bangkok Design Festival จากสภาพสังคมเมืองในปจจุบัน พลาสติกถือเปนวัสดุที่เขามา มี บ ทบาทในชี วิ ต ประจํ า วั น ของเราเป น อย า งมาก และมี แ นวโน ม ในการใชงานเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ เพราะสามารถใชงานทดแทนวัสดุอนื่ ๆ ทีเ่ ปนผลผลิตจากธรรมชาติไดเปนอยางดี แถมยังมีราคาถูก นํา้ หนักเบา และยังใชงานไดในระยะยาวกวาวัสดุธรรมชาติ คุณรูหรือไมวา ถุงพลาสติกมีผลทําใหเกิดภาวะโลกรอน ซึ่ง ถุงพลาสติก 1 ใบ ตองใชเวลาในการยอยสลายถึง 450 ป หากนําไปเผา จะกอใหเกิดสารไฮโดรคารบอน ซึ่งทําใหเกิดมลภาวะและทําใหโลก รอน หากเราทุกคนหันกลับมาใชถุงผาจะชวยลดการปนเปอนของสาร กอมะเร็ง และที่สําคัญการใชถุงผาเพียงอาทิตยละ 1 วัน จะชวยลด การใชถุงพลาสติกไดมากกวา 100 ลานถุง/ป จากขอมูลของกรุงเทพมหานครในแตละวันมีการใชถงุ พลาสติก ในปริมาณมากกวา 600,000 ใบตอวัน สวนใหญแลวถุงพลาสติก จะกลายเปนขยะทันทีในเวลา 12 ถึง 20 นาที เทานัน้ แตวา ระยะเวลาในการ ยอยสลายของถุงพลาสติกหนึง่ ใบจะใชเวลา 15 ถึง 1,000 ป เลยทีเดียว สวนคาใชจา ยในการเก็บถุงพลาสติกจะตกอยูท ี่ 650 ลานบาทตอป ดวยคุณสมบัติที่โดดเดนหลายดานทําใหถุงพลาสติกไดรับการ ยอมรับและมีปริมาณการใชเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ดังนั้นจึงสงผล ใหขยะพลาสติกมีปริมาณสูงขึ้นมากตามไปดวย สงผลใหมนุษย อยางเรา ๆ ทาน ๆ ตองคิดคนหาหนทางทีจ่ ะนําเอาพลาสติกกลับมาใชใหม หรือทีเ่ รียกวา “รีไซเคิล” เพราะนอกจากจะชวยลดปริมาณขยะพลาสติก

เวี ย นมาบรรจบอี ก ครั้ ง กั บ งานเทศกาลออกแบบบางกอก หรือ Bangkok Design Festival ถึงแมจะลดขนาดเล็กลงแตกย็ งั คง

ความเขมขนของเนื้อหาไวอยางครบครัน โดยมีชิ้นงานตางๆ และกิจกรรมที่หลากหลายใหไดเขาชมกัน ซึ่งงานครั้งนี้จัดขึ้นที่ หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห ง กรุ ง เทพมหานคร ภายใต แ นวคิ ด “ART IN THE CITY” ที่ ส อดคล อ งกั บ โลกและวิ ถี ชี วิ ต ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป อีกทัง้ ยังเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมสามารถนํามา ประยุกตใชกบั ชีวติ ประจําวันไดอยางคุม คาและเกิดประโยชนสงู สุด 100 l January 2013

Energy#50_p100-101_Pro3.indd 100

12/22/12 1:15 AM


แลวยังเปนการใชทรัพยากรอยางคุม คา ทัง้ ยังชวยลดการใชพลังงาน ในการผลิตเปนการชวยลดภาวะเรือนกระจกใหกบั โลกเราไดอกี ทางหนึง่ โครงการ Plasticbang ! kok โดยกลุมสถาปนิกชาวสเปนใน นาม “Basurama” มีจุดมุงหมายในการสรางความตระหนักตอปญหา การใชถงุ พลาสติกทีเ่ กินความตองการ ดวยการนําเอาถุงพลาสติกทีใ่ ช แลวนํากลับมาใชใหเปนวัสดุอันกอใหเกิดประโยชนอีกครั้งหนึ่ง งานนี้มี แขกรับเชิญพิเศษคือ ดร. สิงห อินทรชูโต รวมกับ SCG Chemicals ที่สรางงานติดตั้งชุด “The Rice Field” ซึ่งใชในการรีไซเคิลพลาสติก กลับมาใชเปนวัสดุเชนกัน ภายใตคอนเซ็ปต “ทองนา” งานของ Basurama จะพูดถึงอายุการใชงานสัน้ ๆ ของถุงพลาสติก และปริมาณ ขยะจํานวนมหาศาลที่เกิดขึ้น ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงกับสิ่งแวดลอม ในขณะที่งานชุด The Rice Field จะพูดถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทย ที่สัมพันธกับนาขาว รวมทั้งสะทอนใหเห็นถึงภัยพิบัติทางธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นบอยทั่วโลก นอกจากนี้ภายในงานยังมีกิจกรรมเสริมตาง ๆ อีกมากมาย ไมวาจะเปนงาน Why ride ที่ตั้งใจสรางขึ้นเพื่อสงเสริมใหคนไทยหัน มาใสใจในการขี่จักรยานมากขึ้น ผานการประกวดการดีไซนโปสเตอร จากนักออกแบบทั่วประเทศไทย และไดคัดเลือกมาเพียงผลงานที่จะนํา มาทําหนาทีเ่ ปนสือ่ กลางในการถายทอดความรูเ กีย่ วกับการขีจ่ กั รยาน เพื่อกระตุนใหผูชมเขาใจและทราบถึงขอดีในการขี่จักรยาน สักวันหนึ่ง คนไทยจะเห็นถึงความสําคัญและคืนพืน้ ทีท่ างถนนใหไดใชสญ ั จรกันดวย จักรยานอยางปลอดภัย

จั ก รยานเป น อี ก หนทางหนึ่ ง ที่ ช  ว ยรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม ที่สําคัญยังเปนเครื่องมือในการออกกําลังกายที่เหมาะสําหรับ ผูที่มีปญหาขอตอ ชวยบริหารกลามเนื้อสวนตาง ๆ ไดดี ยิ่ง ขี่จักรยานอยางตอเนื่องก็จะทําใหระบบไหลเวียนเลือดทํางาน ไดดียิ่งขึ้น

January 2013 l 101

Energy#50_p100-101_Pro3.indd 101

12/22/12 1:15 AM


LifeStyle โดย : จีรภา รักแกว

ตะลุยพัทยากับสยามกลการ

กองบรรณาธิการออกเดินทางทองเที่ยวซอกแซกเมืองพัทยาเนื่องใน โอกาสครบรอบ 60 ป ของสยามกลการ สถานที่ แ รกที่ ไ ปเยื อ น คือ “สวนสัตวเปดเขาเขียว” นั่งรถชมบรรยากาศรอบ ๆ บริเวณเขาเขียว พบสัตวนานาชนิดรวมทั้งพันธุไมตาง ๆ เปนเสมือนระบบนิเวศมาอยูรวมกัน ต อ จากนั้ น ชมการแสดงของสั ต ว แ สนรู  ส นุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น ได เ วลา เดินทางตอมาเยี่ยมชม “หอเกียรติภูมิ ดร.ถาวร พรประภา” หองสมุด และพิพิธภัณฑที่รวบรวมประวัติเรื่องราวผลงานของ ดร.ถาวร พรประภา ที่เปดบริการใหบุคคลทั่วไปไดศึกษาหาความรู บริเวณรอบ ๆ มีสภาพแวดลอม ที่ ส วยงาม มี ส วนพฤกษศาสตร ร วบรวมพั น ธุ  ไ ม น านาชนิ ด อี ก ทั้ ง ยั ง เป น สถานที่ ร วบรวมรถยนต ดั ท สั น และนิ ส สั น ตั้ ง แต รุ  น แรกที่ นํ า เข า มาจํ า หน า ย ในประเทศไทยจนถึงปจจุบัน

ตอจากนั้นเขาสูบรรยากาศชวงเย็น เดินทางมายังไรองุน “ซีเวอเลค” สถานที่ทองเที่ยวที่กําลังโดงดังของเมืองพัทยา สําหรับกิจกรรมภายในไร นักทองเทีย่ วจะไดสัมผัสบรรยากาศการทําไรองุน นั่งรถมาชมไร ขี่จักรยาน เสื อ ภู เ ขาชมบรรยากาศโดยรอบที่ มี ก ลิ่ น อายของธรรมชาติ ท่ีอุ ด มสมบู ร ณ ยิ่ ง ตอนพระอาทิ ต ย ต กดิ น ในยามเย็ น เป น ภาพประทั บ ใจที่ ติ ด ตรึ ง ใจไม รู  ลื ม สําหรับคนที่ชื่นชมองุนสามารถซื้อองุนสด ผลิตภัณฑ จากองุน องุนกวน หรื อ นํ้ า องุ  น เป น ของฝากได ไม ไ กลจากที่ นี่ ม ากนั ก มี อี ก สถานที่ ห นึ่ ง ที่ น  า แวะชม แวะไปไหว “พระพุ ท ธแกะสลั ก เขาชี จ รรย ” พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย แกะสลั ก ด ว ยแสงเลเซอร บ นหน า ผาเขาชี จ รรย อั น เป น สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ผู  ค นนั บ ถื อ บริ เ วณโดยรอบจะเป น สวนสาธารณะ ที่รมรื่น ยิ่งชวงเย็น ๆ จะมีผูคนมาออกกําลังกายกันจํานวนมาก ถือเปน สถานทีท่ อ งเทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียงอีกแหงหนึง่ ของพัทยา และในชวงคํา่ เรามาฝากทองกัน ที่รานอาหารที่ขึ้นชื่อของที่นี่ “The Glass house” รานอาหารเรือนกระจก ริมชายหาดสวนตัว ตั้งอยูทามกลางปาสนใกลชิดธรรมชาติ นั่งทานอาหาร ในบรรยากาศสบาย ๆ คลอเสียงดนตรี ไดบรรยากาศรื่นรมยไปอีกแบบ เป น กิ จ กรรมที่ ไ ด ทั้ ง ความรู  แ ละได ท  อ งเที่ ย วแบบใกล ชิ ด ธรรมชาติ ถาใครสนใจก็แวะไปเที่ยวไดที่พัทยาใกลกรุงเทพฯแคนี้เอง

102 l January 2013

Energy#50_p102_Pro3.indd 102

12/20/12 1:33 AM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

January 2013 l 103

Energy#50_p103_Pro3.indd 103

12/22/12 12:59 PM


Energy Thinking โดย : Bar Beer

คิดวิเคราะห... อยางมีสติ ชวงปลายปที่ผานมา โลกตื่นตัวอยางหนักตอเหตุการณ ทีไ่ มนา เชือ่ วาจะสรางกระแสไดทวั่ โลกขนาดนี้ อีกทัง้ ยังมีการตีแผออก ตามสือ่ ตางๆ นานนับสัปดาห นัน่ ก็คอื เรือ่ งคําทํานายตามปฏิทนิ ของ ชนเผามายาวา โลกใบนีจ้ ะแตกในวันที่ 21 เดือน 12 ป 2012 แนนอนวา... หากทานผูอ า นไดอา นหนังสือเลมนีม้ าจนถึงหนานีแ้ ลว โลกคงไมไดแตกตามคําทํานายแตอยางไร ประเด็นสําคัญของเรือ่ ง ไมไดตอ งการหัวเราะเยาะเผามายาทีท่ าํ นายวาถูกหรือผิด แตอยาก มุง เนนไปทีเ่ รือ่ งของกระบวนการคิดของมนุษยเสียมากกวา จริงอยูวาเหตุการณดังกลาวอาจเกี่ยวของกับความเปน ความตายของคนทั้งโลก แตเราควรคิดสักนิดวาจะเชื่ออะไร หรือ เชื่อครึ่งไมเชื่อครึ่ง หรือวาจะไมเชื่อเลย มนุษยเราไดชื่อวามีสมอง ที่เปนเลิศกวาสิ่งมีชีวิตใดในโลก เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราควรที่จะคํานึง อยูเสมอในการเชื่ออะไรสักอยางคือ เรื่องของการคิดวิเคราะหซึ่ง อาจทําไดจากการรวบรวมขอมูล การสังเกตการณ ประสบการณ หลักแหงเหตุและผล หรือการสื่อสาร การคิ ด วิ เ คราะห ต  อ งมี พื้ น ฐานของคุ ณ ค า เชิ ง ป ญ ญา ซึ่งหมายความวาอาจมีคําตอบที่มากมายและหลากหลาย แตสวนใหญ จะเปนไปในแนวเดียวกันคือ การใชเหตุผล หลักฐาน และตรรกะ วิเคราะหใหชัดเจนกอนตัดสินใจวาจะเชื่ออะไร ในทางพุทธศาสนาใชวธิ กี ารสอนทีอ่ าจสอดแทรกดวยกุศโลบาย เพื่อใหเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห อยางที่เรา ๆ ทาน ๆ เคยไดยิน คําวา “ปุจฉา วิสัชนา” เพื่อใหผูคิดใชวิจารณญาณในการถามตอบ ซักไซไลเลียงกันจนไดคําตอบ ซึ่งอาจเปนการคิดวิเคราะหโดยใช หลักแหงความเชื่อที่ไมงมงาย

แนนอนวา ภายใตกรอบความคิดจะมีกระบวนการวิเคราะห ที่เกี่ยวของสัมพันธกับการสืบหาขอมูลและการประเมินขอมูลเพื่อ ใหไดมาซึ่งขอสรุปหรือคําตอบที่เชื่อถือได การคิดวิเคราะหประกอบ ดวยตรรกะที่ไมเปนทางการ จนไดมาซึ่งผลการวิจัยดานการรับรูเชิง ปฏิบตั ิ จะเห็นไดจากการศึกษาในระดับทีส่ งู ขึน้ จะเนนการเรียนการสอน เพื่อใหใชทักษะการคิดวิเคราะหใหมากขึ้น แทนการเรียนรูแบบทองจํา ก.ไก - ฮ.นกฮูก กระบวนการคิดวิเคราะหสามารถตอบประเด็นและสถานการณ ไดหลายอย างและทําใหสืบเสาะหาสิ่งเชื่อมโยงระหว างกันไดดวย การคิดวิเคราะหจึงเปนตัวสรางระบบความคิดที่สัมพันธกับความรู ไมวา จะเปนหลักการดานวิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร คณิตศาสตร มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร ประวัติศาสตร รวมถึงหลักเหตุผล ทางศีลธรรม และปรัชญา ดั ง นั้ น มุ ม มองที่ เ ป น ประโยชน ใ นการคิ ด วิ เ คราะห ที่ ดี ที่สุด คือ การใชความถี่ถวนดานความคิดใหมากยิ่งขึ้น รวมถึงการ ตั้งสมมติฐาน ก็ไมควรที่จะตั้งใหเกินความจําเปน เพราะธรรมชาติ ของการคิดวิเคราะหจะไมมีการสิ้นสุด ยกตัวอยางเชน ณ ปจจุบัน เราอาจหาขอสรุปเบื้องตนไดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากหลักฐานที่มีอยู แตอนาคตหากมีหลักฐานเพิ่มเติมก็อาจไดขอสรุปอีกแบบหนึ่งก็ได แลวทีนี้มาลองหาคําตอบกันดีกวา วาทําไม...โลกถึงยัง ไมแตกตามคําทํานายของชนเผามายา

104 l January 2013

Energy#50_p104_Pro3.indd 104

12/22/12 1:17 AM


Energy#42_p92_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/23/12

10:21 PM


106 l January 2013

Energy#50_p106_Pro3.indd 106

12/22/12 3:39 AM


§ |¤ ï | oo §rÓ : Cooling Tower, T Air Washerr Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condenserss

¤ s ¤| Ö ¤l {yÖ p i | 54/15-17 s } ~ o Ö i o¤ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th

Energy#50_Cover in_Pro3.indd 1

12/22/12 11:17 AM


Energy#50_Cover Out_Pro3.indd 1

12/22/12 9:48 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.