Ê ¬ 5 q ¬ 52 l 2556
90
Energy#52_Cover Out_Pro3.indd 1
2/27/13 3:27 PM
27-30 March 2014 BITEC Bangkok § |¤ ï | oo §rÓ : Cooling Tower, T Air Washerr Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condenserss
¤ s ¤| Ö ¤l {yÖ p i | 54/15-17 s } ~ o Ö i o¤ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th
Energy#52_Cover in_Pro3.indd 1
14
2/27/13 3:21 PM
Energy#52_p03_Pro3.ai
1
2/19/13
11:21 PM
Contents Issue 52 March 2013
44 What’s Up 10 What’s Up 83 Around The World 88 Energy Movement Cover Story 30 Cover Story : Green Product เทรนดโลก คําตอบของพลังงานยั่งยืน 94 Special Scoop I : โครงการผลิตไฟฟา “หวยบง” 2-3 จุดประกายความหวังเสริมความมั่นคงพลังงานลมไทย 96 Special Scoop II : เกษตร…ลาดกระบัง เรงเพาะตนกลา โครงการ “ดํานาเพาะกลาคนเกษตร” รักษสงิ่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน 102 Special Report : การทองเทีย่ วคารบอนตํา่ สนุกสนานแบบอนุรกั ษธรรมชาติ Interview 20 Exclusive I : เปดใจ “สุรศักดิ์” และ “สุรชัย” ดูโอแหง Energy Reform ผูน าํ ดานระบบติดตัง้ แกสในรถยนต 23 Exclusive II : กฟผ. เสริมความมัน่ คงดานพลังงานของประเทศ พรอมใชโรงไฟฟาพลังนํ้า รับมือสถานการณฉุกเฉิน 64 Energy Concept : ระบบผลิตแกสชีวมวลอเนกประสงค สําหรับเครื่องยนตเล็ก
High Light 18 Energy Focus : ความจริงทีต่ อ งยอมรับของ LPG 26 Get Idea : เทคนิคประหยัดพลังงานสไตลเซเลบชือ่ ดัง 36 Insight Energy : เตรียมรับมือ… วิกฤตพลังงานขาดแคลน 37 Energy Legal : สะพานเศรษฐกิจพลังงาน ศูนยกลางธุรกิจพลังงานภูมภิ าค 44 Residential : แมสลองเมาเทนโฮม… สิ่งเล็ก ๆ ที่เรียกวาพอเพียง 56 Energy Exhibit : Thailand Industrial Fair 2013 & Food Pack Asia 2013 70 Energy Test Run : Hyundai Tucson CRDi 4WD เกิดมาลุย…ตองใชใหคุม Commercial 38 Energy Loan : SME Bank จัดหนักโครงการสินเชือ่ เพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต ปลอดเงินตนปแรก 48 Greee 4U : สินคา Green Product 50 Greenovation : นวัตกรรมตนแบบดานพลังงาน 52 Energy Showcase : แกะกลองเทคโนโลยีใหมลา สุด 90 Enjoyment : เทรนดมาแรง…ลางสารพิษบน เสือ้ ผาแบรนดดงั Detox Fashion…สูก ารรักษโลก
20
90
4
Energy#52_p04,06_Pro3.indd 4
2/27/13 4:53 PM
Energy#52_p05_Pro3.ai
1
2/19/13
11:27 PM
Contents Issue 52 March 2013
Industrial & Residential 40 Green Industrial : ฮอนดาฯ มุง ลดพลังงาน สรางสรรคผลิตภัณฑทเ่ี ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม 43 Tools & Machine : เมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส เทคโนโลยีใหมชวยลดตนทุนในกระบวนการบําบัดนํา 46 Energy Design : โรงเรียนแหงความยัง่ ยืนใน “บูรก นิ าฟาโซ” 59 Energy Management : เตรียมพรอมรับการตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงานจากผูต รวจสอบฯ แลวหรือยัง ? (ตอนที่ 1) 80 Saving Corner : เครื่องยนต์ต้นกําลังไม่ง้อน้ํามัน แหล่งพลังงานแห่งอนาคต
Transportation & Alternative Energy 68 Vehicle Concept : BMW Concept Active Tourer พลังขับเคลื่อน Plug – In Hybrid 74 Green Logistics : ผูบริโภคสีเขียว (Green Consumer) 76 Renergy : ปรับราคา LPG ความจําเปนเหนือเกมการเมือง
Environment Protection 62 Asean Update : มารูจัก “กรีนพีซ (Greenpeace)” กันเถอะ ? 78 0 Waste Idea : การพัฒนาการผลิตกาซชีวภาพ จากขยะมูลฝอยชุมชนโดยการหมักแบบแหง
62
68
86 92
Environment Alert : การผลิตสินคาทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม ตอบโจทยการคายุคใหม ? Green Space : รักษ์ปา สรางคน 84 ตําบล วิถพ ี อเพียง ฟื้นฟูธรรมชาติบนพื้นฐานความยั่งยืน
FAQ 98 Energy Clinic : อุปกรณประหยัดพลังงานใน เครื่องปรับอากาศ Regular Feature 8 Editor’s Talk 55 How to : ไอเดียบรรเจิดจากหลอดไฟเกา 67 Have to know : รันอิน…รถใหม ใคร ๆ ก็ทาํ ได 97 Life Style : SATORINI PARK @ ชะอํา สวนสนุกกลิ่นอาย “กรีซ” 101 Energy Tip : 10 วิธีประหยัดพลังงานแบตเตอรี่ สําหรับ Smart phone ของคุณ 103 Members : แบบสมัครสมาชิก 104 Energy Thinking : ลําบาก ดีกวา สบาย !! 106 Event & Calendar : นิทรรศการ งานประชุม และการอบรมดานพลังงานที่นาสนใจ ประจําเดือนมีนาคม 2556
6
Energy#52_p04,06_Pro3.indd 6
2/27/13 4:54 PM
Energy#52_p07_Pro3.ai
1
2/19/13
11:44 PM
Editors’ Talk กลั บ มาพร อ มความเปลี่ ย นแปลงที่ ส ดใสไฉไลกว า เดิ ม หวังใจวาคุณผูอานจะชอบลุคใหมของ Energy Saving ฉบับนี้ นอกจากลุคใหมที่แซบกวาเดิมแลว ทีมงานทุกคนยังพยายาม คัดสรรเรื่องราวเจง ๆ โดน ๆ ดานพลังงานและสิ่งแวดลอมจาก ทั่วทุกมุมโลกมานําเสนอเหมือนเชนเคยพรอมกับคอลัมนใหม ๆ ทีเ่ ด็ดและโดนไมแพกนั สวนจะเปนคอลัมนอะไรนัน้ พลิกอานไดเลย ว า กั น ด ว ยเรื่ อ งของการเปลี่ ย นแปลง ทุ ก สิ่ ง ในโลก ลวนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา มีทั้งเปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ ดี ขึ้ น และเปลี่ ย นแปลงไปในทางที่ เ สื่ อ มลง แต ทั้ ง นี้ แ ละ ทั้ ง นั้ น อยากให พ วกเราทุ ก คนตั้ ง รั บ การเปลี่ ย นแปลง อยางมีสติ หากใครไดตดิ ตามขาวสารบานเมืองคงพอจะทราบกันวา ในช ว งเดื อ นเมษายนที่ กํ า ลั ง จะถึ ง นี้ มี ก ารคาดการณ กั น ว า พื้นที่บางสวนของประเทศไทยอาจประสบปญหาไฟฟาตกหรือ ไฟฟ า ดั บ โดยเฉพาะบางเขตพื้ น ที่ ข องกรุ ง เทพฯที่ อ าจได รั บ ผลกระทบอย า งจั ง เนื่ อ งจากแหล ง พลั ง งานแหล ง ใหญ ข อง ประเทศไทย อย า งโรงก า ซของพม า ป ด ซ อ มบํ า รุ ง ชั่ ว คราว ส ง ผลให ก ารผลิ ต ไฟฟ า ของประเทศไทยที่ ใ ช ก า ซจากพม า เปนเชื้อเพลิงหลักในการผลิตเกิดปญหาได เห็นไดจากการที่รัฐบาลออกมาประกาศเตือนใหคนไทย ชวยกันประหยัดพลังงานไฟฟาอยางคึกคัก สงผลใหประชาชน คนไทยทั้งประเทศเกิดความวิตกกังวลลวงหนาวาจะไมมีไฟฟาใช การที่ รั ฐ บาลออกมาประกาศเตื อ นคงไม ใ ช เ พื่ อ ให เ กิ ด ความ โกลาหล แตเพื่อใหทุกคนเตรียมพรอมรับมือกับปญหาที่อาจ เกิดขึ้นอยางมีสติมากกวา ที่จริงเรื่องของการประหยัดพลังงาน เปนสิ่งที่ทุกคนควรกระทํามานานแลว ไมใชจะมาประหยัดกัน ก็ ต อ เมื่ อ เกิ ด ป ญ หา ที่ ผ า นมาคนไทยอย า งเรา ๆ ท า น ๆ มักยึดติดกับความสบายสวนตน จนมองขามเรือ่ งของการประหยัด พลังงานไปคิดแคเพียงวามีเงินจายเพือ่ ซือ้ ความสบายได ก็ไมเห็น จะตองสนใจอะไร แลวถาวันหนึ่งพลังงานหมดไปจากโลกจริง ๆ เงินที่มีก็ซื้อความสบายไมได สุดทายแลวเราจะเปนอยางไร อยากให ก รณี ข องไฟฟ า ดั บ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในช ว งเดื อ น เมษายนเปนบทเรียนสําคัญสําหรับอนาคต อยารอใหเหมือนกับ สุภาษิตไทยที่วา “วัวหายลอมคอก” เพราะเมื่อถึงเวลานั้นก็คง ไมทันการเสียแลว
คณะผูจัดทํา
กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา
ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก
หัวหนากองบรรณาธิการ ปยะนุช มีเมือง
กองบรรณาธิการ นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร เดชรัช นุชพุม วรรณวิภา ตนจาน
เลขากองบรรณาธิการ เจริญรัตน วงศสุวรรณ
ผูจัดการแผนกโฆษณา รัตนาพร ออนศรี
การเงิน แสงอรุณ มงคล
ศิลปกรรม วีรเมธ เหลาเราวิโรจน
พิมพ บริษัท ภัณธรินทร จํากัด
จัดจําหนาย บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด
ผูจัดทํา
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
ปยะนุช มีเี มือื ง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com
200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง
8
Energy#52_p08_Pro3.indd 8
2/27/13 4:12 PM
Energy#42_p25_Pro3.ai
1
4/23/12
9:07 PM
What’s Up
กองบรรณาธิการ
สัมมนาความสัมพันธ ไทย-จีน ครัง้ ที่ 10
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงเปนประธานเปดสัมมนาความสัมพันธ ไทย-จีน ครั้งที่ 10 เรื่อง “วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับการพัฒนาชนบทอยางยั่งยืน” โดยมี นายทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน ไดบรรยายเรื่อง “การพัฒนาที่มีของเสียเปนศูนย” ณ ธนาคาร กสิกรไทย สํานักงานใหญ ราษฎบรู ณะ เมือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ 2556
4 เด็กไทย วิจยั “สาหราย” บนเทีย่ วบินไรนา้ํ หนัก
เมื่อเร็วๆ นี้ 4 เยาวชนไทย จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดรับคัดเลือกจากองคการสํารวจอวกาศญี่ปุน ขึ้นไปรวมวิจัย “สาหราย” เพื่อทดลองในสภาวะไรนํ้าหนัก บนเครื่องบินที่ บินแบบพาราโบลา ในโครงการ “The Student Zero-gravity Flight Experiment Contest” ณ เมืองนาโกยา ประเทศญี่ปุน
ฟูจิ ซีรอ็ กซ พาสือ่ มวลชนไทยและเทศเยีย่ มชมโรงงาน
มร.โคจิ เทสึกะ ประธาน บจก. ฟูจิ ซีรอ็ กซ (ประเทศไทย) พรอมดวย คณะ ผูบ ริหารจากฟูจิ ซีรอ็ กซ เอเซีย แปซิฟก นําสือ่ มวลชนไทยและตางประเทศ เขา เยีย่ มชมโรงงานฟูจิ ซีรอ็ กซ อีโค-แมนูแฟคเจอริง่ เพือ่ ชมกระบวนการรีไซเคิล ผลิตภัณฑภายใตแบรนด ฟูจิ ซีรอ็ กซ ทีส่ ามารถรีไซเคิลชิน้ สวนทัง้ หมดไดเกือบ 100% บรรลุเปาหมายการกําจัดขยะจากผลิตภัณฑทใี่ ชแลวโดยไมมกี ารฝงกลบ ณ บจก. ฟูจิ ซีรอ็ กซ อีโค-แมนูแฟคเจอริง่ อ.บอวิน จ.ชลบุรี
10
Energy#52_p10,12,14,16_Pro3.indd 10
2/27/13 4:45 PM
Energy#52_p11_Pro3.ai
1
2/27/13
8:40 PM
บางจาก เสริมศักยภาพปม ชุมชนสูป ท ่ี 23
วิเชียร อุษณาโชติ กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั บางจากฯ (มหาชน) แถลงขาว ปมชุมชนบางจากเติบโต สูปที่ 23 วิถีที่ยังยืน สรางความสุขสู ชุมชน พรอมดวย นายสมชาย ชาญณรงคกลุ อธิบดีกรมสงเสริมสหกรณ และนายชูชาติ อินสวาง ผูจ ดั การสหกรณการเกษตรศรีประจันต เขารวมงาน โดยนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาเปน แนวทาง ซึ่งปมชุมชนประสบความสําเร็จเติบโตอยางตอเนื่อง ปจจุบันมี จํานวน 580 แหง และจะเพิ่มเปน 700 แหง ในอีก 3 ปขางหนา และมีการ ปนผลกลับสูชุมชนกวา 1 ลาน 2 แสนครอบครัว
ลลิล พร็อพเพอรต้ี จัดกิจกรรม CSR “ลลิล มอบรัก เพือ่ นอง”
คุณไชยยันต ชาครกุล กรรมการผูจัดการ และทีมผูบริหาร บริษัท ลลิล พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) หรือ LALIN ผูพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพยภายใตคอนเซ็ปต “บานที่ปลูกบนความตั้งใจที่ดี” พรอม คณะสือ่ มวลชน รวมกันทํากิจกรรม CSR ในโครงการ “ลลิล มอบรัก เพือ่ นอง” โดยไดมอบเงินบริจาคและของใชจาํ เปน พรอมเลีย้ งของวางแกนอ ง ๆ ณ มูลนิธิ สงเคราะหเด็ก พัทยา จ.ชลบุรี
ธ.กรุงเทพ หนุน ไทยโซลาร เอ็นเนอรย่ี สรางโรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตย
บริษทั ไทย โซลาร เอ็นเนอรยี่ จํากัด (ทีเอสอี) จับมือ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เซ็นสัญญาสนับสนุนดานการเงินกวา 5,400 ลานบาท ในการลงทุนสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยชนิด PV 2 เฟส 10 โครงการ กําลังการผลิต 80 เมกะวัตต รวมมูลคาการลงทุนกวา 7,000 ลานบาท คาดจะสรางรายไดกวา 1,000 ลานบาทตอป
12
Energy#52_p10,12,14,16_Pro3.indd 12
2/27/13 4:41 PM
9Z$IS;OT9V7D
Energy#48_p56_Pro3.indd 56
10/20/12 3:38 AM
สนพ. รวมกับ ราชภัฏสวนดุสติ สรางความเขาใจ การปรับราคา LPG
นายสุเทพ เหลีย่ มศิรเิ จริญ ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน และ รศ.ดร.สุขมุ เฉลยทรัพย ประธาน ที่ปรึกษาอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต รวมมือเรงสรางความ เขาใจกับประชาชนถึงความจําเปนในการปรับราคา LPG ผานการเผยแพร แผนพับขอมูลเกี่ยวกับ LPG มากกวา 2 ลานฉบับ พรอมลงพื้นที่สํารวจ กลุม รานคา หาบเร แผงลอยอาหาร และครัวเรือนทีไ่ มมไี ฟฟาใช เพือ่ บรรเทา ผลกระทบจากการปรับราคา LPG
พพ. ชี้แจงเกณฑการเขารวมประกวด “Thailand Energy Awards 2013”
นายทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน เปนประธานในการชี้แจงเกณฑการเขารวมประกวด “Thailand Energy Awards 2013” ในเขตภาคใต โดยมีผปู ระกอบการทีไ่ ดรบั รางวัลในป 2012 ทีผ่ า นมารวมถายทอดประสบการณ ณ โรงแรม สมุย ปาลม บีช รีสอรท จังหวัดสุราษฎรธานี เมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2556
เวสปา จัดแรลลี่ “Vespati in Chiang Mai” สานตอ กิจกรรมเพือ่ สังคม
บริษัท เวสปอาริโอ (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําเขารถสกูตเตอรเวสปา และพิอาจิโอ รวมกับ ตัวแทนจําหนายในจังหวัดเชียงใหม บริษทั นิยมพานิช จํากัด รวมปลอยคาราวานเวสปา ในกิจกรรมแรลลี่ “Vespati in Chiang Mai” เสนทางเชียงใหม – สะเมิง เพือ่ รวมสานตอกิจกรรมเพือ่ สังคม ภายใต แคมเปญ “Help safe one life by giving a child a helmet” ดวย การนําหมวกนิรภัยมอบใหแกเด็กนักเรียนในโรงเรียนบานปง อ. หางดง จ. เชียงใหม ทั้งนี้กิจกรรมดังกลาวจัดขึ้นเพื่อสานสัมพันธอันดีตอกลุมคน ขับเวสปาดวยกัน
14
Energy#52_p10,12,14,16_Pro3.indd 14
2/27/13 4:41 PM
Energy#42_p55_Pro3.ai
1
4/25/12
2:03 PM
โครงการลมหายใจไรมลทินมอบทุนการศึกษา
ขวัญชัย ปภัสรพงษ ประธานบริษทั สือ่ สากล จํากัด และ รองประธาน กรรมการโครงการลมหายใจไรมลทิน ประกาศผล และมอบรางวัลแก เยาวชนผูชนะการประกวดประจําป 2555 โดยไดรับเกียรติจาก นางญาณี เลิศไกร ผูอํานวยการสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอย โอกาส และผูสูงอายุ (สท.) เปนประธานมอบรางวัลใหแกเยาวชนที่มีความ รูความสามารถใน 3 ประเภท ไดแก เรียงความ รองเพลง และกิจกรรม รณรงคความซื่อสัตย ในหัวขอ “คิดดี พูดดี ทําดี มีความซื่อสัตย” จํานวน 40 ทุน รวม 257,000 บาท
ฮอนดา ซูเปอร ไอเดีย คอนเทสต
บริษทั ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด สานฝนในโครงการ “ฮอนดา ซูเปอร ไอเดีย คอนเทสต” ภายใตแนวคิด “ทะยานสูฝ น ขับเคลือ่ น พลังคิด(ส)” เปนเวทีสรางสรรคสาํ หรับเยาวชนระดับประถมศึกษาปที่ 1 – 6 ประกาศรายชือ่ 40 ผลงาน ความคิดสรางสรรคทผี่ า นเขาสูร อบ “My Dreams Come True” หรือ “ฝนทีเ่ ปนจริงของฉัน” พรอมมอบทุนพัฒนาแบบจําลอง เพือ่ สรางสรรคชนิ้ งานสําหรับนําเสนอในรอบตัดสิน โดยผูช นะเลิศจะไดรบั โล พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และรางวัลเขา รวมแคมปเยาวชน ระหวางเยาวชนไทยและญีป่ นุ ที่ บริษทั ฮอนดา มอเตอร ประเทศญีป่ นุ
เชฟโรเลต สงมอบลูกฟุตบอล วัน เวิลด ฟุตบอล
มร. มารติน แอพเฟล ประธานกรรมการประจําประเทศไทยและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษัท เจนเนอรัล มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด และบริษทั เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ปลอยคาราวาน เชฟโรเลต เทรลเบลเซอร จากกรุงเทพฯ มุงหนาสูจังหวัดระนอง ภูเก็ต และหาดใหญ เพื่อมอบลูกฟุตบอลที่ไมมีวันแตกใหแกเด็กและเยาวชนที่ดอยโอกาสใน พื้นที่ภาคใต และจะทยอยมอบลูกฟุตบอลจํานวนทั้งหมด 5,000 ลูก ใหแก เด็กและเยาวชนทั่วประเทศตลอดทั้งปนี้ และอีก 10,000 ลูก ใหแกชุมชนที่ ประสบภาวะขาดแคลนในกัมพูชา ลาว มาเลเซีย ฟลปิ ปนส และสิงคโปร
16
Energy#52_p10,12,14,16_Pro3.indd 16
2/27/13 4:41 PM
Energy#51_p52_Pro3.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
1/29/13
10:51 AM
Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา
ความจริง
ที่ตองยอมรับของ LPG
อยางที่ทราบกันดีวา ประเทศไทยเปนประเทศที่ติดอันดับตน ๆ ของทวีปเอเชียที่มีการใช พลังงานคอนขางสูง ทั้ง ๆ ที่พลังงานบางประเภทตองพึ่งพาการนําเขา เพื่อสนองความตองการ ที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องและไมมีทีทาวาจะนอยลง อันที่จริงทุกคนก็ทราบกันดีวา นับวันพลังงาน มีแตจะหมดลง และพลังงานของไทยที่ถูกจับตาในขณะนี้ตองยกใหกับ LPG เพราะเปนพลังงาน ที่กําลังจะมีการปรับราคาใหเปนจริงตามกลไกของตลาดโลก
เมื่อมีขาววาจะมีการปรับราคา LPG แนนอนวายอมตองมี คําถามตามมาวาทําไม ในเมื่อราคาที่จําหนายในปจจุบันก็ถือวา แพงในระดับหนึ่งอยูแลว แตในความเปนจริงแลว ตลอดระยะ เวลาทีผ่ า นมาภาครัฐมีนโยบายควบคุมราคากาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ทําใหภาคครัวเรือน ขนสง รวมถึงอุตสาหกรรม ไดใช LPG ในราคาถูกมาเปนเวลานาน โดยนําเงินจากกองทุนนํา้ มันเชือ้ เพลิง ที่เรียกเก็บจากผูใชนํ้ามันทุกคนในประเทศมาใชในการอุดหนุน คิดเปนมูลคากวาแสนลานบาท ดังนั้น ในสถานการณราคา พลังงานปจจุบันจึงมีความจําเปนที่จะตองปรับราคา LPG ดวย เหตุผลหลายดาน ดังนี้
ดานความเปนธรรมสําหรับผู ใชนํ้ามัน เพราะรายไดจาก การคาปลีกนํ้ามันสวนหนึ่งจะเปนเงินที่ถูกเก็บเขากองทุนนํ้ามัน เชื้อเพลิง เพื่อนําไปอุดหนุนใหผูใชกาซ LPG ไดใชในราคาถูก ทําใหราคานํ้ามันที่จายมีความผันผวนและมีราคาแพงกวาปกติ แมวาจะยังถูกวาราคาตลาดโลกก็ตาม ดานการลดภาระของกองทุนนํา้ มันเชือ้ เพลิง จากนโยบาย ควบคุมราคากาซ LPG ทําใหเกิดการบิดเบือนกลไกตลาด มีผล ทําใหราคา LPG ตํา่ กวาเชือ้ เพลิงชนิดอืน่ สงผลใหปริมาณการใช LPG เพิ่มขึ้นมาก จนตองเพิ่มการนําเขา สงผลใหกองทุนนํ้ามัน เชื้อเพลิงมีภาระเพิ่มมากขึ้น
18
Energy#52_p18-19_Pro3.indd 18
2/26/13 11:48 PM
ดานปองกันการลักลอบสงออก เนือ่ งจากปจจุบนั ราคา LPG ของประเทศเพื่อนบานสูงกวาไทยทุกประเทศ ซึ่งการควบคุม ราคา LPG ทําใหรัฐตองนําเงินกองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงที่เก็บ จากผูใชนํ้ามันคนไทยไปชดเชยราคา LPG หากมีการลักลอบ ส ง ออกก็ เ ปรี ย บเสมื อ นชดเชยให กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นด ว ย โดยจะเห็นไดจากราคากาซหุงตมในเวียดนามจําหนายที่ 59 บาท/กิโลกรัม, ลาว 49 บาท/กิโลกรัม, กัมพูชา 45 บาท/ กิโลกรัม, พมา 34 บาท/กิโลกรัม, มาเลเซีย 20 บาท/กิโลกรัม และอินโดนีเซีย 23 บาท/กิโลกรัม แตประเทศไทยปจจุบันราคา อยูที่ 18.13 บาท/กิโลกรัม จากขอมูลการใชกา ซหุงตม LPG ภาคครัวเรือนยอนหลัง 5 ป (ป 2551-2555) มีอัตราเติบโตเฉลี่ย 10%/ป ขณะที่อัตราการ เติบโตของจํานวนประชากรไทยไมถึง 1% จึงเห็นไดวาการเติบโต ของการใชกาซ หุงตมไมสัมพันธกับจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น นั่นแสดงวาการใช LPG ภาคครัวเรือนที่เติบโตขึ้น สวนหนึ่งถูก ลักลอบสงออกไปยังตางประเทศ
หากมีการปรับขึ้นราคา LPG คาใชจายของภาค ครัวเรือนเพิ่มขึ้นอยางไร
ครัวเรือนทัว่ ไปจะจายคากาซหุงตมเพิม่ ขึน้ สูงสุด 100 บาท/ถัง ณ สิ้นป 2556 แตจะเปนการทยอยปรับขึ้น และเมื่ออางอิง ตัวเลขผลจากการสํารวจขอมูลของกระทรวงพลังงานเมื่อเดือน กรกฎาคมป 2555 ระบุวา ครัวเรือนใชกา ซหุงตมโดยเฉลีย่ 5 ถัง/ป จะเห็นไดวา ประชาชนจะมีภาระคาใชจา ยเพิม่ ขึน้ เพียง 20 บาท/เดือน เทานั้น ในส ว นของแม ค า ข า วแกงจากข อ มู ล ของ กรมการค า ภายใน กระทรวงพาณิชย ภาคสวนนี้จะมีตนทุนคากาซหุงตม ที่ใชปรุงอาหารเพิ่มขึ้นไมเกิน 35 สตางค/จาน เนื่องจากกาซ หุงตม 1 ถัง ขนาด 15 กิโลกรัม สามารถทําอาหารได 300 จาน แตภาครัฐก็ไมถึงกับใจจืดใจดําโดยออกมาตรการชวย เหลือใหผูมีรายไดนอยยังคงไดใชกาซ LPG ในราคาเทาเดิม โดยแบงความชวยเหลือเปน 2 กลุม ไดแก กลุมประชาชนผูมี รายไดนอย ซึ่งมีประมาณ 8.4 ลานครัวเรือน ที่เปนผูใชไฟฟา ไมเกิน 90 หนวย/เดือน และผูไมมีไฟฟาใช หรือเกือบครึ่งหนึ่ง ของครัวเรือนที่ใชไฟฟาทั่วประเทศจาก 20 ลานครัวเรือน และ กลุมหาบเร แผงลอยอาหาร ประมาณ 500,000 ราย
ที่กังวลไมแพภาคครัวเรือนคือ ผูที่ใชกาซหุงตม ในรถยนต ซึ่งในกลุมนี้จะมีการเปลี่ยนหรือปรับ ขึ้นอยางไร
ป 2556 ราคา LPG ภาคขนสง จะปรับเพิม่ ขึน้ ไมถงึ 2 บาท/ลิตร โดยราคากาซ LPG ที่เติมในรถยนตจะเพิ่มขึ้นจากประมาณ 11.56 บาท/ลิตร เปน 13.42 บาท/ลิตร หรือเพิม่ ขึน้ 1.86 บาท/ลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับคาพลังงานที่ไดจากฐานที่เทากัน พบวา รถที่ ใช LPG เป นเชื้ อเพลิง จะมีค าความสิ้ นเปลืองต อระยะ ทางเทากับ 1.33 บาท/กม. เทานั้น ซึ่งยังถูกกวาเชื้อเพลิงที่ เปนนํ้ามัน เชน เบนซิน 95 มีความสิ้นเปลืองตอระยะทางเทากับ 4.64 บาท/กิโลเมตร, เบนซิน 91 เทากับ 4.12 บาท/กิโลเมตร, แกสโซฮอล 95 เทากับ 3.67 บาท/กิโลเมตร และแกสโซฮอล 91 เทากับ 3.39 บาท/กิโลเมตร
สวนภาคอุตสาหกรรมปโตรเคมีที่มักถูกมองวามีการซื้อ LPG ในราคาที่ถูกที่สุดเมื่อเทียบกับกลุมอื่น ซึ่งความเปนจริง ภาคครัวเรือนซื้อกาซ LPG ในราคาขายปลีกอยูที่ 18.13 บาท/ กิโลกรัม ซึ่งถูกที่สุดในกลุมผูที่ใชกาซ LPG ถูกกวาภาคขนสง และอุตสาหกรรม และเมื่อเปรียบเทียบตนทุนกาซ LPG ที่ภาค ครัวเรือนซื้อ LPG เพื่อนํามาใชเปนเชื้อเพลิง พบวาตนทุนอยูที่ 10.26 บาท/กิโลกรัม ซึ่งถูกกวาราคา LPG ที่ภาคปโตรเคมีซื้อ อยูท ี่ 24.82 บาท/กิโลกรัม เพือ่ นําไปเปนวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรม ปโตรเคมี จริงอยูท ปี่ จ จุบนั ประเทศไทยตองพึง่ พาการนําเขา LPG จาก ตางประเทศ แตภาครัฐบาลก็มีนโยบายในการจัดสรรทรัพยากร ดานพลังงานจากอาวไทยที่มีจํากัดใหมีความเหมาะสมและเกิด มูลคาสูงสุด โดยมุงเนนใหประชาชนมีคาใชจายดานพลังงานตํ่า ทีส่ ดุ ทัง้ จากการบริโภคกาซ LPG เปนเชือ้ เพลิงโดยตรง และโดย ออมจากการเปนผูบ ริโภคผลิตภัณฑจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี เชน บรรจุภัณฑตาง ๆ เครื่องใชไฟฟา เปนตน เห็นไดวา การสงเสริมใหนําทรัพยากรดานพลังงานมาใช เปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมีมีสวนชวยสรางมูลคาตอ เศรษฐกิจไทยสูงถึง 700,000 ลานบาท/ป เกิดการจางแรงงาน ไมตํ่ากวา 300,000 คน และสามารถทํารายไดจากการสงออก สูงสุด ติดอันดับ 3 ของประเทศ และสามารถจัดเก็บรายไดจาก อุตสาหกรรมป โตรเคมีในรูปของภาษีมูลคาเพิ่มที่คิดภาษีใน ผลิตภัณฑขั้นสุดทาย ซึ่งเมื่อคํานวณในรูปภาษีมูลคาเพิ่มแลว คิดเปนภาษีมูลคาเพิ่ม หรือ VAT (35%) ภาษีเงินไดนิติบุคคล และบุคคลธรรมดาที่เกิดจาก Value Chain ประมาณ 15,000 ลานบาท/ป หรือ 6 บาท/กิโลกรัม โหรพลังงานไมอาจเคาะโตะไดวา หากมีการปรับราคา LPG จะเปนผลดีกบั ใคร หรือเกิดผลเสียกับผูใด แตสงิ่ หนึง่ ทีเ่ ชือ่ อยูเสมอวา สิ่งใดที่เปนไปตามธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ หรือเปน ไปตามกลไก ยอมเปนสิ่งที่ดีกวา ก็เปรียบเสมือนการพายเรือ ทวนนํา้ หากยังมีแรงก็ยงั สามารถพายตอไปได แตครัน้ วันหนึง่ ที่แรงหมด เราก็จะไมสามารถทวนกระแสนํ้าไดอีกตอไป 19
Energy#52_p18-19_Pro3.indd 19
2/26/13 11:48 PM
Exclusive
รังสรรค อรัญมิตร
20
Energy#52_p20-25_Pro3.indd 20
2/27/13 3:39 PM
เปดใจ “สุรศักดิ์” และ “สุรชัย” ดูโอแหง Energy Reform
ผูนําดานระบบติดตั้งแกสในรถยนต หลั ง จากที่ ร าคานํ้ า มั น แพงประชาชนเริ่ ม หั น มาติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ แ ก ส ในรถยนต กั น มากขึ้ น ทําใหธรุ กิจนําเขาและจําหนายอุปกรณตดิ ตัง้ แกสเติบโตอยางตอเนือ่ งทุกป และสงผลใหมผี ปู ระกอบการ หลายรายเขามาลงทุนในธุรกิจนี้เพิ่มขึ้น แยงสวนแบงตลาดที่มีแนวโนมเติบโตอยางตอเนื่อง สําหรับแนวโนมการเติบโตของธุรกิจติดตั้งอุปกรณแกส ในรถยนต และแผนการดํ าเนินงานในอนาคตของ Energy Reform หนึ่งในผูนําระบบติดตั้งแกสในรถยนต จะเปนอยางไร นั้น คุณสุรศักดิ์ นิตติวัฒน และ คุณสุรชัย นิตติวัฒน ประธาน กรรมการ บริษัท เอนเนอรจี รีฟอรม จํากัด จะมาบอกเลาให ฟง “ผมบุกตลาดดวยตัวเองเมื่อ 7 ปที่แลว วันแรกที่ทําธุรกิจ ก็ศึกษาดวยตัวเองมาตลอด เดินทางไปดูงานที่อิตาลี ผมมอง วา ประเทศอิ ตาลีเ ป นผู เ ชี่ ย วชาญด านอุปกรณ ติ ด ตั้ง แก ส ใน รถยนตที่ดีแหงหนึ่งของโลก แตคนไทยยังไมรูจัก จึงไดตัดสิน ใจสรางแบรนดของตนเองจนขายดี ซึ่งก็เปนสวนหนึ่งที่ทําใหคน รูสึกวาอุปกรณแกสที่ดีตองเปนของอิตาลี”
ปจจุบันภาพรวมติดตั้งอุปกรณแกสในรถยนต เปนอยางไร
“สําหรับตลาดรวมการติดตั้งแกสรถยนตในประเทศไทย นั้น มีอัตราเติบโตอยางตอเนื่อง ถึงแมวาจะมีขาวปจจัยลบตาง ๆ ที่ ม ากดดั น ตลาด เชน ขาวการขึ้ นราคาแกส ทั้ง แอลพี จีแ ละ เอ็นจีวี ขาวการระเบิดของถังแกสแอลพีจบี อ ยครัง้ แตกลุม ผูบ ริโภค สวนหนึ่งยังเชื่อมั่นวาแกสใชแลวประหยัดจริง ชวยลดมลพิษ และปลอดภัย คาดวาตลาดรวมในปนี้ 2556 มีโอกาสเติบโตขึ้น เนื่องจากปริมาณรถที่เพิ่มขึ้นจากโครงการนโยบายรถคันแรก ของรัฐบาล ซึ่งกลุมลูกคาที่ชื้อรถอีโคคารมีโอกาสที่จะติดแกส ในอนาคต รถอีโคคารผูซื้อเนนเรื่องของการประหยัด เมื่อออก รถมาไดระยะหนึ่งตองนึกถึงแกส เพราะเปนกลุมที่มีรายไดนอย สวนใหญซื้อเงินผอน หากเจอปญหาราคานํ้ามันแพงก็ตอง ติดตั้งแกส ซึ่งเปนทางเลือกที่สําคัญของการประหยัดคาใชจาย สวนยอดการเติบโตในปนี้คาดวาจะเติบโตอยูที่ 15 – 20 % จาก มูลคาตลาด 3,000 ลานบาท เฉลีย่ เปนแกสแอลพีจี 80 % เอ็นจีวี 20 % สวนในปทผี่ า นมา 2555 โตขึน้ 12 % ซึง่ ไมหวือหวามากนัก”
การปรับราคาแอลพีจีมีผลกระทบอยางไร
“สําหรับการปรับขึ้นราคาแอลพีจีที่กระทรวงพลังงานได ประกาศไวนนั้ มองวาไมมผี ลกระทบเนือ่ งจากรัฐบาลมีนโยบายที่ ชัดเจนในการปรับราคาแอลพีจภี าคขนสงภายในปนี้ ซึง่ ราคาจะอยูท ี่ ประมาณ 13 - 14 บาทตอลิตร หรือ 24 บาทตอกิโลกรัม ยังถูกกวาราคานํา้ มันอยูม าก ซึง่ เปนตัวเลขทีค่ นขับรถยนตรบั ได ในขณะที่ราคานํ้ามันไตระดับขึ้นไปที่ 38 -39 บาทตอลิตร ดังนั้น ราคาแกส 13 - 14 บาท ยังไงก็จูงใจใหคนติดแกสอยูดี”
มองอยางไรกับแนวคิดที่รัฐบาลจะยกเลิกการใช แอลพีจีในรถยนต
“ไม เ ห็ น ด ว ยกั บ แนวคิ ด นี้ เพราะความต อ งการติ ด ตั้ ง แอลพีจีไดรับความนิยมกวาเอ็นจีวี เนื่องจากขนาดถังเล็กกวา เหมาะกับรถยนตนั่งในเมือง ขณะที่เอ็นจีวีปจจุบันสถานีบริการ ยั ง ขาดแคลนมาก และไม ส ะดวกเพราะใช เ วลาเติ ม ก า ซนาน ทําใหตัวเลขรถยนตที่ใชแอลพีจีในปจจุบันมีมากถึง 1.4 ลาน คัน สวนรถเอ็นจีวีมีเพียง 3-4 แสนคันเทานั้น ถาหากยกเลิก การใชแอลพีจีในรถยนตอาจสงผลกระทบตอภาพรวมตลาด คงตองติดตามสถานการณอีกครั้งวาแนวโนมจะเปนอยางไร ส ว นในกรณี ที่ รั ฐ บาลมองว า แอลพี จี อั น ตรายกว า เอ็ น จี วี นั้ น ตองทําความเขาใจวารถยนตที่อันตรายที่สุดคือ รถยนต ใช นํ้ามัน เพราะนํ้ามันติดไฟงายที่สุด สวนแอลพีจีนั้นหากอันตราย คงไมแพรหลายในยุโรป อาทิ อังกฤษ อิตาลี เยอรมนี เพราะ มาตรฐานของประเทศเหลานั้นสูง ตางกับไทยที่มาตรฐานตํ่า ทําใหเกิดอุบัติเหตุบอย และแอลพีจียังเปนเชื้อเพลิงที่ไมกอให เกิดมลพิษเหมือนนํ้ามัน”
21
Energy#52_p20-25_Pro3.indd 21
2/27/13 3:39 PM
อนาคตมีแผนพัฒนาธุรกิจอยางไรบาง
เอนเนอรจี รีฟอรม เจาะกลุมตลาดใดบาง
“ปจจุบันเรามีศูนยติดตั้งแกสตนแบบอยูที่ลาดกระบัง เป น ศู น ย ต น แบบมาตรฐานสํ า หรั บ รั บ งานฟ ด งานโปรเจ็ ค งานรถโชว รู ม รถใหม ป า ยแดง และเป น ศู น ย ต น แบบให กั บ distributor ของเอนเนอรจี รีฟอรม สําหรับศูนยบริการครบ วงจรแกสและนํ้ามันนั้นมีโครงการขยายไปทั่วประเทศภายในปนี้ ตั้งเปาไว 100 ศูนยในป 2556 และจะตั้งใหครบ 150 ศูนยภายใน ป 2557 โดยจะเปลี่ยนจากอูมาเปนศูนยมาตรฐานเดียวกัน ซึ่ง จะเป น การบริ ห ารแบบครบวงจร ไล ตั้ ง แต ม าตรฐานการรั บ บริการ การติดตั้งกอนการขาย และบริการหลังการขาย รวม ถึงพนักงานตองไดรับการอบรมจากเรา แลวตองมีการสอบให ไดคะแนนตามที่กําหนดไว ถึงจะไดบรรจุเปนพนักงาน ฉะนั้นทุก อยางจะเหมือนกันหมดทั่วประเทศ ภายใตคอนเซ็ปตเอนเนอรจี รีฟอรม เราจะปฏิวัติการใชพลังงานของคนไทยใหเทียบชั้นระดับ สากลใหไดภายใน 2 ป และจะเปนผูชํานาญเฉพาะทางดานแกส”
“ปจจุบันของเราเปน after market 100 % โดยแบงเปน 2 ประเภท คือ ติดในรถใหมของโชวรูม และติดในรถเกา ตอไป เราจะเนนการติดตั้งในรถใหมจากโชวรูมใหมากขึ้น สวนตลาด Original Equipment Manufacturing (OEM) หรื อ ที่ ติดตั้งในโรงงานนั้นยังไมมี แตในอนาคตเราจะขยายกลุมลูกคา ไปที่ OEM เพราะแบรนดเปนที่รูจัก และลูกคาก็ตองการติดแกส ดวยระบบ Energy Reform ออกมาจากโรงงานเลย ตรงนี้เปน ความตองการของผูบริโภค ขณะนี้อยูในระหวางสรางทีมงาน ทั้งทีมวิศวกรชาวไทยและชาวอิตาลี ซึ่งการดิว OEM นั้นตองมี certificate รับรอง ขั้นตอนคอนขางยุงยากหลายอยาง”
สวนแบงตลาดของ เอนเนอรจี รีฟอรม เปนอยางไร
“ส ว นแบ ง ตลาดเราไม ท ราบ เพราะเราไม มี ตั ว เลข ของกระทรวงอุ ต สาหกรรม ตั ว เลขอั น ดั บ หนึ่ ง เป น สิ่ ง ที่ เอนเนอรจี รีฟอรมไดยินจากที่ลูกคาพูดมากกวา เพราะไมรู จะเอาเปอรเซ็นอะไรไปวัดมารเก็ตแชร ในเมือ่ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพานิชยไมมตี วั เลขเฉพาะทีเ่ ปนแกสรถยนตออกมา เราจึงเอาตัวเลขที่กรมขนสงทางบกตอเดือนดูวา รถจดทะเบียน เทาไหร แลวขายไปเทาไหร เพราะลูกคาตองจดทะเบียนแกส เรา จะดูวาเอนเนอรจี รีฟอรมเปนคนที่ลูกคาเลือกหรือเปลา สุดทาย ลูกคาเปนคนตัดสินใจวาแบรนดใดเปนเบอรหนึ่งของตลาด”
ผูส นใจเปนตัวแทนศูนยบริการครบวงจรแกส-นํา้ มัน ของเอนเนอรจี รีฟอรมตองมีคุณสมบัติอยางไร
“เราจะดูวา มีเงินทุนเทาไหร มีแบล็คลิสตกบั ธนาคารหรือไม และมีผลประกอบการที่ผานมาเปนอยางไร ซึ่งจะพิจารณาจาก ตรงนี้กอนถึงจะตอบรับ โดยขนาดของศูนยจะแบงเปน 3 ขนาด คือ S M L ขนาด S M ลงทุนตั้งแต 4 ลานบาทขึ้นไป สวนขนาด L ลงทุนตั้งแต 15 ลานบาทขึ้นไป สําหรับผูประกอบการรายเดิม ผูประกอบการรายใหม และคนที่มีวิสัยทัศนอยากจะลงทุนใน ธุรกิจติดตั้งอุปกรณแกสในรถยนตนั้น เราจะเปดโครงการนี้ ในอนาคต ปจจุบันมีผูเซ็นสัญญาเปนตัวแทนจําหนายกับเรา แลวหลายสิบราย”
สวนใหญอุปกรณติดแกสในรถยนตจะนําเขา จากอิตาลี
“สวนใหญ ผูประกอบการจะนําเขาอุปกรณติดตั้งแกส รถยนต แ บรนด อิ ต าลี แ ล ว นํ า มาจํ า หน า ยต อ แต เ อนเนอร จี รีฟอรมเปนคนไทยรายเดียวที่เปนเจาของแบรนด ซึ่งเปนผูผลิต และสรางแบรนดดวยตนเอง โดยจางโรงงานที่ประเทศอิตาลี ผลิต จริง ๆ ลูกคาไมรูหรอกวา เอนเนอรจี รีฟอรมเปนแบรนด ใคร เพิ่งมารูระยะหลัง ๆ นี่เอง วันนี้คนไทยเปนเจาของแบรนด แตจางฝรั่งผลิต เราคือเอนเนอรจี รีฟอรม เมดอินอิตาลี แลว พิสูจน ใหผูบริโภคเห็นวา อุปกรณแกสที่ไดมาตรฐานมีระบบ เซฟตี้อยางไร ผานการโฆษณาเพื่อทําใหผูบริโภคเกิดความ เชือ่ มัน่ อีกอยางหนึง่ คือใชดี จึงเกิดการบอกตอปากตอปาก เกิด เปนความเชื่อมั่นในแบรนดของเราที่เกิดขึ้นในใจของลูกคา” 22
Energy#52_p20-25_Pro3.indd 22
2/27/13 3:39 PM
Exclusive ปยะนุช มีเมือง
23
Energy#52_p20-25_Pro3.indd 23
2/27/13 3:39 PM
กฟผ. เสริมความมั่นคง ดานพลังงานของประเทศ พรอมใช
โรงไฟฟาพลังนํา้ รับมือสถานการณฉกุ เฉิน
จากเหตุการณโรงกาซของพมาปดซอมบํารุงตามวาระ ระหวางวันที่ 5-14 เมษายน 2556 ที่จะถึง นี้ สงผลใหพลังงานไฟฟาที่ใชภายในประเทศไทยตองไดรับผลกระทบตามไปดวย เนื่องจากพมาเปน แหลงพลังงานเชื้อเพลิงขนาดใหญที่ใชในการผลิตไฟฟาของประเทศไทย ในครั้งนี้ทาง กฟผ. ไดออก มายืนยันความพรอมในการรับมือกับปญหาไฟฟาที่อาจเกิดขึ้นในชวงเวลาดังกลาว
“นายกิตติ ตันเจริญ” ผูชวยผูวาการโรงไฟฟาพลังนํ้า การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) ให ข อ มู ล ว า ไดเตรียมแผนการเดินเครือ่ งโรงไฟฟาพลังนํา้ ทีเ่ ขือ่ นวชิราลงกรณ ในภาคตะวั น ตก มาช ว ยเสริ ม ความมั่ น คงระบบไฟฟ า ของ ประเทศไวแลว
แผนการเดินเครือ่ งโรงไฟฟาพลังนํา้ ทีเ่ ขือ่ น วชิราลงกรณมีรายละเอียดอยางไรบาง
ในส ว นของการเดิ น เครื่ อ งโรงไฟฟา พลั ง นํ้ า ในประเทศ เพื่อรับมือกับสถานการณหยุดผลิตกาซธรรมชาติจากแหลง ยาดานา สาธารณรั ฐ แห ง สหภาพพม า ระหว า งวั น ที่ 5-14 เมษายน 2556 นั้น กฟผ. ไดหารือรวมกับกรมชลประทาน และ หนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยในที่ประชุมคณะอนุกรรมการ ติดตามและวิเคราะหแนวโนมสถานการณนํ้า มีขอสรุปใหเพิ่ม การระบายนํ้ า จากเขื่ อ นวชิ ร าลงกรณเพื่ อ เสริ ม ความมั่ น คง ของระบบกําลังไฟฟา ในชวงวันที่ 5 – 14 เมษายน 2556 จากแผนการระบายนํ้าเพื่อการเกษตรในฤดูแลงวันละ 29 ลาน ลูกบาศกเมตร เปนวันละ 35 ลานลูกบาศกเมตร หรือเพิม่ ขึน้ วันละ 6 ลานลูกบาศกเมตร จํานวน 10 วัน และเพื่อไมใหสงกระทบ กับแผนการระบายนํ้าในภาพรวมจะมีการปรับลดการระบายนํ้า จากเขื่อนวชิราลงกรณและเขื่อนศรีนครินทรตํ่ากวาแผนในชวง ที่มีความตองการใชนํ้าลดลง
ทางเขือ่ นวชิราลงกรณไดมกี ารเตรียมการอะไรไว แลวบาง
ป จ จุ บั น เขื่ อ นวชิ ร าลงกรณมี ป ริ ม าณนํ้ า อยู ใ นเกณฑ ดี หรือมีอยูรอยละ 74 ของความจุอาง มีปริมาณนํ้าใชงานได 3,512 ลานลูกบาศกเมตร การปรับเพิ่มการระบายเพื่อเสริม ความมั่นคงของระบบกําลังไฟฟาชวงที่ขาดกาซธรรมชาติใน เดื อ นเมษายน จะไม ส ง ผลกระทบต อ แผนการระบายนํ้ า และ ปริมาณนํ้าในอางฯ มากนัก เนื่องจากมีการปรับลดการระบาย นํ้าในชวงที่ไมจําเปนเพื่อเก็บนํ้าไวระบายในชวงเวลาดังกลาว ทั้งนี้ กฟผ. ไดแจงและประชาสัมพันธ ใหพื้นที่ที่อาจได รับผล กระทบจากการระบายนํ้า เชน รีสอรทและประชาชนที่ใชประโยชน บริเวณที่ลุมตํ่าทายนํ้า เตรียมขนยายสิ่งของที่อาจไดรับความ เสียหายจากการเพิ่มการระบายนํ้า โดยจะคอย ๆ ปรับเพิ่มเพื่อ ปองกันไมใหตลิ่งเกิดการพังทลายได
ที่มาของปญหาไฟฟาดับและวิธีการรับมือกับ ปญหาดังกลาวมีการดําเนินการอยางไรบาง
ปจจุบันประเทศไทยใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติในการผลิต ไฟฟาสูงเกือบรอยละ 70 ของการผลิตไฟฟา โดยแบงเปน แหลงกาซจากอาวไทยรอยละ 60 และแหลงกาซจากประเทศ พมารอยละ 40 จากกรณีที่จะมีการหยุดผลิตกาซธรรมชาติ จากแหลงยาดานาเพื่อบํารุงรักษาตามวาระ ระหวางวันที่ 5 – 14
24
Energy#52_p20-25_Pro3.indd 24
2/27/13 3:39 PM
เมษายน 2556 ซึ่งเปนชวงที่ ประเทศไทยมีค วามตอ งการใช ไฟฟาสูง เนื่องจากเปนชวงหนารอนคาดวาจะมีความตองการ ใชไฟฟาสูงสุดประมาณ 26,300 เมกะวัตต อาจสงผลใหกําลัง ผลิตสํารองของโรงไฟฟาที่เดินเครื่องในระบบลดกวามาตรฐาน ปกติ หากมีโรงไฟฟาขนาดใหญเกิดขัดของในชวงเวลาดังกลาว อาจสงผลใหเกิดไฟฟาดับได กฟผ. ไดเตรียมมาตรการรองรับเหตุการณดังกลาว ดวย การเดินเครื่องโรงไฟฟาพลังความรอนและโรงไฟฟาพลังความ รอนรวม โดยใชนํ้ามันเตาและนํ้ามันดีเซลเปนเชื้อเพลิง แตดวย ขอจํากัดของโรงไฟฟาที่เดินเครื่องดวยนํ้ามันดีเซลไมสามารถ เดินเครื่องตอเนื่องไดเปนเวลานาน เพราะโรงไฟฟาถูกออกแบบ มาเพื่อใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลัก นอกจากนี้ กฟผ. ยัง ไดประสานงานขอความรวมมือไปยังโรงไฟฟาเอกชนขนาดเล็ก และโรงไฟฟาพลังนํ้าจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาวใหชวยเดินเครื่องเต็มความสามารถดวย
มาทําความรูจ กั เขือ่ นวชิราลงกรณกันบาง
เขื่อนวชิราลงกรณ ตั้งอยูที่ อําเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี เปนเขื่อนหินถมแหงแรกของประเทศไทย เททับ หนาดวยคอนกรีตเสริมเหล็กสูงจากฐาน 92 เมตร สันเขื่อน กวาง 10 เมตร ยาว 1,019 เมตร มีความจุ 8,860 ลานลูกบาศก เมตร ปริมาณนํ้าไหลเขาอางเฉลี่ยปละ 5,369 ลานลูกบาศก เมตร บริเวณปลอยนํ้าไดติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟา 3 เครื่อง ขนาดกําลังผลิต 100,000 กิโลวัตต รวมกําลังผลิต 300,000 กิโลวัตต ใหพลังงานไฟฟาเฉลี่ยปละ 760 ลานกิโลวัตตชั่วโมง เขื่อนวชิราลงกรณเปนเขื่อนเอนกประสงค สรางขึ้นโดย มีวัตถุประสงคหลักในการผลิตกระแสไฟฟา โดยสรางปดกั้น แมนํ้าแควนอยบริเวณ ตําบลทาขนุน อําเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี อยูหางจากตัวอําเภอไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 6 กิโลเมตร ตัวอางเก็บนํา้ อยูใ นทองที่ อําเภอทองผาภูมิ และอํ า เภอสั ง ขละบุ รี จั ง หวั ด กาญจนบุ รี มี พื้ น ที่ รั บ นํ้ า ฝน 3,720 ตารางกิโลเมตร เริ่มกอสรางในเดือนมีนาคม 2522 แลว เสร็จในป 2527 เดิมมีชื่อวา “เขื่อนเขาแหลม” หลังสรางเสร็จ พระบาทสมเด็ จพระเจาอยูหั วฯ เสด็จพระราชดํ าเนิ นพรอม ดวย สมเด็จพระเทพรัตราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจาลูกยาเธอจุฬาภรณวลัยลักษณฯ ทรงประกอบ พิธีเปดเขื่อนวชิราลงกรณ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม 2529 และพระราชทานชื่อใหมวา “เขื่อนวชิราลงกรณ”
ประโยชนของเขือ่ นวชิราลงกรณนอกจากการผลิต พลังงานไฟฟาแลวมีอะไรบาง
ประโยชนของเขื่อนหลัก ๆ เลย คือ ผลิตพลังงานไฟฟา เฉลี่ยปละประมาณ 760 ลานกิโลวัตตชั่วโมง นอกจากนี้ในฤดูฝน ทั้ ง ในลํ า นํ้ า แควน อ ยและแควใหญ จ ะมี ป ริ ม าณนํ้ า มาก เมื่ อ ไหลมารวมกันจะทําใหเกิดนํ้าทวมลุมแมนํ้าแมกลองเปนประจํา หลังจากไดกอสรางเขื่อนศรีนครินทร และเขื่อนวชิราลงกรณ แลวเสร็จ อางเก็บนํ้าของทั้งสองเขื่อนชวยกักเก็บนํ้าและชวย บรรเทาอุทกภัยในพืน้ ทีด่ งั กลาวไดอยางถาวร เขือ่ นวชิราลงกรณ ได ก ลายเป น แหล ง นํ้ า ถาวรอี ก แห ง หนึ่ ง ของประเทศ ช ว ย เสริมระบบชลประทานในพื้นที่ของโครงการแมกลองใหญให สามารถทําการเพาะปลูกในฤดูแลงได สงผลใหเกษตรกรได ผลผลิตเพิ่มขึ้น และที่สําคัญอางเก็บนํ้าเหนือเขื่อนยังเหมาะ สําหรับเปนแหลงเพาะพันธุปลานํ้าจืดเปนอยางดี ชวยเพิ่มพูน รายไดใหแกประชาชนอีกทางหนึ่งดวย
นอกจากนี้ยังชวยรักษาคุณภาพของแมนํ้าแมกลอง ชวย ตอตานนํ้าเค็มและนํ้าเสียในฤดูแลง รวมทั้งนํ้าเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรมจากสองฝงแมกลองอีกสวนหนึ่ง ซึ่งการปลอย นํ้าจากเขื่อนเพิ่มขึ้นในฤดูแลงจะชวยขับไลนํ้าเสียและผลักดัน นํ้าเค็มออกไป ทําใหสภาพนํ้าในแมนํ้าแมกลองมีคุณภาพดีขึ้น ประโยชนประการสุดทายของเขื่อนวชิราลงกรณ คือ เปนแหลง ทองเที่ยวที่สําคัญและสวยงามอีกแหงหนึ่งของประเทศไทย ใน แตละปจะมีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศแวะเวียน มาเยี่ยมชมจํานวนมาก นอกจากจะมี ป ระโยชน ใ นการผลิ ต กระแสไฟฟ า แล ว ยังมีประโยชนอื่น ๆ อีกมากมายทีเดียว ก็อยากจะใหคนไทย ทุกคนชวยกันรักษาสมบัติของชาติชิ้นนี้เอาไว ใหดี เพื่อใหลูก หลานของเรามีแหลงพลังงานไว ใช ในอนาคต และมีสถานที่ ทองเที่ยวที่สวยงามไวพักผอนไปอีกนานแสนนาน 25
Energy#52_p20-25_Pro3.indd 25
2/27/13 3:39 PM
Get Idea
วรรณวิภา ตนจาน
การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เราตองใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางฉลาด โดยใชใหนอยและใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และตองคํานึงถึงระยะเวลาในการใชใหยาวนาน โดยกอ ใหเกิดผลเสียตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด Get Idea ฉบับนี้จะพาไปรูจักเทคนิคเล็ก ๆ นอย ๆ ในการ ชวยลดโลกรอนจากบุคคลที่มีชื่อเสียงมาฝากกัน การอนุรักษสิ่งแวดลอมที่ผานมา ผมจะทําเทาที่ทําได โดยเริ่มจากการที่ทํา อะไรงาย ๆ กอน อยางเชน การปดนํา้ ปดไฟทีไ่ มจาํ เปน โดยจะเปดเฉพาะเวลาทีเ่ รา จําเปนตองใชจริง ๆ อาจมีปดแอรบางแลวหันมาใชพัดลมแทน หรือเปดหนาตาง ใหอากาศถายเทเขามามากขึ้น ซึ่งเราตองทําใหเปนนิสัย อยางเวลาไปซื้อของเรา ควรเตรียมถุงผาไปดวย เพื่อชวยลดปริมาณขยะพลาสติกไปในตัวครับ
ท็อป-พิพัฒน อภิรักษธนากร
อยางแนวทางในการอนุรักษสิ่งแวดลอม จริงๆ แลวก็มีหลายวิธีนะคะ ตอนนีบ้ า นเรามีพลังงานจากแสงอาทิตยมาใชแลว อยางบานริตา เองก็ใชเหมือนกัน อยางเรื่องถุงขยะเองอะไรที่นํากลับมาใชประโยชนใหมได ก็ควรที่จะนํากลับมา รีไซเคิลเพื่อลดปริมาณขยะลง แลวริตาคิดวาเรื่องของการปลูกตนไมจะชวยให โลกของเราเย็นขึ้นไดคะ
ริตา-ศรีริตา เจนเซน
คิดวาการทีจ่ ะอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมนัน้ ตองเปนเรือ่ งของการใหความรวมมือ กันหมดทุกคน เพราะวาถาทําอยูค นเดียวคงไมสาํ เร็จ ทุกวันนีเ้ วลาไปซือ้ ของดิฉนั ก็ใชถงุ ผาตลอด และก็อยากรณรงคใหเลิกใชถงุ พลาสติก แตถา รณรงคแลวทุกคน ตองรวมมือรวมใจกันทําเพื่อชวยโลกของเรา
มา-อรนภา กฤษฎี
26
Energy#52_p26,28_Pro3.indd 26
2/27/13 12:20 AM
Energy#45_ad ESM_Pro3.ai
1
7/24/12
1:31 AM
การเขาสูส งั คมคารบอนตํา่ ของประเทศไทย เปนการชวยลดกาซเรือนกระจก รวมกั บ ทั่ วโลก หรื อ เป น การช วยโลกของเรานั่ น เอง แต ที่สําคั ญกว าคือ การลดการใชทรัพยากร หรือใชทรัพยากรอยางเหมาะสม ชวยลดการสูญเสีย หรือลดการใชทรัพยากรบางประเภท เชน นํา้ มัน โดยใชพลังงานตัวอืน่ ทดแทน อาทิ พลังงานนํา้ พลังงานลม พลังงานแสงแดด เพือ่ ชวยกันลดการปลอยกาซ เรือนกระจก จะทําใหโลกมีอุณหภูมิลดลง ประเทศไทยก็จะรักษาพันธุพืช สัตว และระบบนิเวศไวได เพื่อที่เราจะไดเปนแหลงอาหารของโลกได
ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอมไทย
เราควรใชพลังงานใหสมดุลกับธรรมชาติ เพราะฉะนั้นในการอนุรักษพลังงาน มนุษยโลกตองมุงไปสูพลังงานที่สะอาดมากขึ้น เชน พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย แตตอ งใชพลังงานเทาทีจ่ าํ เปน หรืออีกนัยหนึง่ คือเราตองมีการปลูกตนไมทดแทน เพือ่ โลกจะไดรมเย็นมากขึ้น
พิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารพัฒนา วิสาหกิจขนากลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย
ประเทศเรานาจะมีนวัตกรรมใหม ๆ ในการใชพลังงานแสงอาทิตย ทุกวันนี้มี การพัฒนาไปกาวหนึง่ แลวในเรือ่ งของการใชพลังงานหมุนเวียน รูจ กั ใชพลังงานจาก ธรรมชาติใหคุมคาและประหยัด โดยที่เราไมตองใชพลังงานอื่นที่กอใหเกิดมลพิษ และพลังงานหลาย ๆ อยางที่ใชแลวหมดไป เราควรหันมาใชพลังงานแสงอาทิตย เพราะมีอยูแลวตลอดเวลา เราก็ควรใชใหมันเปนประโยชน เพราะทุกวันนี้พลังงาน เปนสิ่งที่หายากขึ้นทุกที
โฬม-พัชฏะ นามปาน
28
Energy#52_p26,28_Pro3.indd 28
2/27/13 12:21 AM
Energy#52_p29_Pro3.ai
1
2/23/13
2:54 AM
Cover Story กองบรรณาธิการ
Green Product เทรนดโลก คําตอบของพลังงานที่ยั่งยืน
“Green Product” กลายเปนเทรนดฮิตระดับโลกในยุคปจจุบัน หลายสินคาในตลาดหันมา ใหความสําคัญและชูยุทธศาสตร “ลดโลกรอน” ผานการนําเสนอสินคาในรูปแบบที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมมากขึ้น เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืนในอนาคต เนื่องจากทุกวันนี้กระแสความหวงใย สุขภาพและใสใจสภาพแวดลอมไดรบั ความนิยมมาก และการทีจ่ ะเปน Green Product ไดนนั้ ไมใช จะมองกันแคตัวผลิตภัณฑที่ไมมีสารพิษที่เปนอันตรายตอผูบริโภคเทานั้น แตตองพิจารณากัน ตัง้ แตเริม่ ตน ไมวา จะเปนกระบวนการจัดหาวัตถุดบิ คุณภาพของวัตถุดบิ คุณภาพของซัพพลายเออร กระบวนการขนสง กระบวนการผลิต หีบหอ กระบวนการควบคุมคุณภาพสินคาขั้นสุดทาย จนกระทั่งสงถึงมือลูกคา เรียกวาตองพิจารณาตั้งแตตนนํ้าจนถึงปลายนํ้ากันเลยทีเดียว 30
Energy#52_p30-35_Pro3.indd 30
2/27/13 4:35 PM
ดร.เจริ ญ วิ ช ญ หาญแก ว อาจารย ป ระจํ า วิ ท ยาลั ย วิ ศ วกรรมศาสตร ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธาและสิ่ ง แวดล อ ม มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะนักวิชาการดานสิ่งแวดลอม ใหความ รูวา “Green product” เปนคําใหมมากสําหรับประเทศไทย เปน เรื่องของกระแสโลกในปจจุบัน ยอนกลับไปเมื่อสมัยหนึ่งการ พัฒนาของโลกเริ่มเปลี่ยนเขาสูยุคอุตสาหกรรม เมื่อมีคนเยอะ ขึ้น ก็ตองกินเยอะขึ้น ใชวัตถุดิบเยอะขึ้น สุดทายแลวตองเขาสู กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม สิง่ ทีต่ อ งใชเยอะก็คอื เรือ่ งของ พลังงาน พลังงานที่ใชเปนเชื้อเพลิงก็คือพลังงานฟอสซิล ไดแก ถานหิน และปโตรเลียม ซึง่ เปนพลังงานสกปรกเมือ่ เกิดการเผาไหม จะสรางมลพิษตาง ๆ มากมายใหกับโลก มนุษยเรามองวาถึง เวลาแลวที่ตองทําใหกระบวนการผลิตนั้นสะอาดขึ้น ผานการ ใชเทคโนโลยีสะอาดและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม นีจ่ งึ เปนทีม่ าของ Green Product นั่นเอง คําวา Green Product ไมไดหมายถึงแคผลิตภัณฑเปน ชิ้น ๆ เทานั้น แตยังหมายถึงการประหยัดพลังงานในการใช ชีวิตประจําวันดวย อาทิ ซื้อของกินใกล ๆ บาน เพื่อประหยัดคา ใชจายในการเดินทาง ตรงนี้ก็ถือเปน Green Product เชนกัน การที่คุณชวยโลกดวยการประหยัดพลังงานในชีวิตประจําวัน ไมใชสารเคมี ไมกอใหเกิดมลพิษ นี่ก็ถือเปน Green Product อยางหนึ่ง ทุก ๆ ภาคสวนสามารถทําไดเชนกัน เพื่อการพัฒนา อยางยั่งยืนในอนาคต ดาน ดร.กิตตินนั ท อันนานนท หัวหนาศูนยความเปนเลิศ เพือ่ พัฒนาแนวทางผลิตภัณฑเพือ่ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม (XCEP) ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) ใหความรูเ ชนกันวา ทั่ ว โลกตื่ น ตั ว ในเรื่ อ งสิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น ผู บ ริ โ ภคตระหนั ก ถึงความจําเปนเรงดวนในการชวยกันดูแลสิ่งแวดลอม แตมี เพียงสวนนอยเทานั้นที่ซื้อสินคา Green Product สวนใหญ ลูกคาสําคัญของสินคาเหลานี้จะเปนภาครัฐของหลายประเทศที่ สงเสริมผานนโยบายหลายดานทั้งทางตรงและทางออม สําหรับ นโยบายทางตรงจะเป น เรื่ อ งของการจั ด ซื้ อ จั ด จ า งสี เ ขี ย ว (Green Procurement) ซึ่งในประเทศไทยก็มีเชนกัน สวน นโยบายทางออมจะอยูใ นรูปของกฎระเบียบตาง ๆ ทีอ่ อกมาบังคับ ใชในหลายประเทศ ทําใหผูสงออกตองปรับตัวตาม จะเห็นไดวากระแสการตื่นตัวนี้ถูกผลักดันโดยอุปสงค (Demand) โดยภาคการผลิตจะปรับตัวเพื่อตอบสนองความ ตองการกึ่งบังคับที่ออกมาในรูปของกฎระเบียบตาง ๆ ผูบริโภค หรือภาคประชาชนรับรูแตยังไมไดเปนกําลังซื้อหลักในสินคา ทั่ ว โลกหั น มาให ค วามสํ า คั ญ กั บ ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มที่ เปลีย่ นแปลงมากขึน้ โดยในศตวรรษที่ 21 ทัว่ โลกใหความสําคัญ หันมารณรงคชวยกันลดภาวะโลกรอน และปองกันโลกแหงแลง เปนทะเลทราย สุดทายแลวเราจะเดินตอไปขางหนาอยางไร โดย ในกลุมประเทศอุตสาหกรรมหันไปใช Green Technology มากขึ้น เพื่อบรรเทาเบาบางมลพิษใหนอยลง กระบวนการผลิต ตองปลดปลอยกาซเรือนกระจกใหนอ ยลง สวนกลุม ประเทศอืน่ ๆ ที่ไมใชประเทศในกลุมอุตสาหกรรมก็ตองปรับตัวโดยหันไปใช ของที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น ซึ่งก็คือ Green Product นั่นเอง เนื่องจากมนุษยเริ่มหันมาตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดลอมโลกในปจจุบัน และหันมาใหความสนใจกับ ปญหาสิ่งแวดลอมมากขึ้น 31
Energy#52_p30-35_Pro3.indd 31
2/27/13 4:35 PM
โดยการสงเสริมที่ผานมาจะเปนการสงเสริมในภาคการ ผลิตเสียเป นสวนใหญ ซึ่งมีความจําเป นตองแขงขันในตลาด โลก และในหลายประเทศทั่วโลกไดมีการออกกฎ ขอบังคับ ที่ เกี่ยวของกับเรื่องของสิ่งแวดลอมมากมาย สงผลใหผูประกอบ การจําเปนตองปฏิบัติตามเพื่อใหสามารถแขงขันในตลาดโลก ได ที่ผานมาหนวยงานที่เกี่ยวของเนนการรวบรวมองคความรู จัดอบรม และสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม ซึ่งสวนใหญผูประกอบการมักสนใจแกปญหาที่ปลาย เหตุ คื อ มีผ ลิต ภั ณ ฑอ ยู แ ลวแตอ ยากขอรับ การรับ รองหรือ ปรับปรุงเล็กนอยเพื่อใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ซึ่งเรื่องนี้ควร จะทําการปรับปรุงตั้งแตการออกแบบและการพัฒนาสินคากอน ที่จะออกมาเปนผลิตภัณฑ โดยมุงเนนในทุกขั้นตอนของวัฏจักร ชีวิตผลิตภัณฑ (Life Cycle Thinking) ซึ่งเปนการประเมินใน ภาพรวมทั้งหมด นอกจากนีแ้ นวทางทีไ่ ทยกําลังดําเนินการอยู คือ การพัฒนา ระบบเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือบริการที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ซึ่งเปนกิจกรรมตอเนื่องจากการประกวด Eco Design Award รวมกับสภาอุตสาหกรรมฯ ในการรวบรวมและ จัดทํารายการสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ในสวนของภาคการ ผลิตไดสง เสริมใหผปู ระกอบการประยุกตใชแนวคิด “Life Cycle Thinking” และ “Eco Design” อยางถูกตองเหมาะสม ซึง่ จะ เปนการลดตนทุน ของเสีย และเพิม่ มูลคาของสินคา Green Product เหลานี้ หากผลักดันใหผูบริโภคซื้อสินคา Green Product มากขึ้น ก็จะชวยกระตุนใหผูผลิตหันมาสนใจ สิ่งแวดลอมมากขึ้นเชนกัน อยางไรก็ตามการที่ผูผลิตสนใจสิ่งแวดลอมมากขึ้น ไมได หมายความวาจะชวยทําใหสิ่งแวดลอมดีขึ้น สวนใหญจะสนใจ เพียงการสรางภาพสินคาหรือบริการใหดเู ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม แตอาจยังไมไดมีการปรับปรุงและพัฒนาเทาที่ควร ซึ่งปญหา นี้เกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก เปนแนวโนมที่ตองการทําให ผลิตภัณฑของตนเปนผลิตภัณฑสีเขียว หรืออาจเรียกปญหานี้ วา “ยอมเขียว” (Green Wash) อีกกระแสหนึ่งที่อาจมีผลกระทบตอภาคอุตสาหกรรม คือ การกีดกันทางการคาที่ไมใชเรื่องของภาษี โดยใชประเด็นความ ปลอดภัยและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมเปนกลไกปองกันการนําเขา สินคาจากประเทศอื่นไมใหเขามาแขงขันกับประเทศของตน หาก มีการบังคับใชอยางเทาเทียมกันไมถือวาเปนการกีดกันทางการ คา ที่สําคัญยังชวยคุมครองความปลอดภัยของผูบริโภคและ สิ่งแวดลอมดวย
การมีขอบังคับจะชวยใหเกิดความจําเปนที่ตองพัฒนา ชวยกระตุน ใหเกิดการเริม่ ตน แตจะมีผลระยะสัน้ เทานัน้ เนือ่ งจาก ผูประกอบการจะทําใหเปนไปตามกฎเกณฑเทานั้น หรือในแงลบ อาจเพียงแคหาวิธี ใหผานเกณฑเทานั้น ที่ผานมาเรามุงเนนไปที่ กฏเกณฑสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งถูกมองวาเปนแหลง ปลอยมลพิษ แตความจริงแลวทุกภาคสวนตลอดวงจรชีวิตของ ผลิตภัณฑมีสวนทั้งหมด หากจะออกกฎเพิ่มเติมควรมองในทุก สวนไปพรอมกัน ซึ่งปญหาหลักในขณะนี้นาจะเปนเรื่องการจัด เก็บซากผลิตภัณฑกลับเขาสูระบบเพื่อใหบริหารจัดการไดอยาง เหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากกฎแลวควรจะตอง มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน การจัดเก็บ คัดแยก และ รีไซเคิล ใหมีความพรอมดวย
32
Energy#52_p30-35_Pro3.indd 32
2/27/13 4:35 PM
แตสิ่งที่สําคัญมากกวากฎระเบียบ คือ ความเขาใจและมุม มองของผูประกอบการและผูบริโภคในเรื่องนี้ สวนใหญจะมองวา เรื่องนี้เปนการเพิ่มตนทุน เนื่องจากเปนการมองที่จะแกปญหา ที่ปลายเหตุ คือ การจัดการมลพิษซึ่งเปนตนทุนที่สูง หากมอง ที่การแกปญหาที่ตนเหตุคือการออกแบบเพื่อไมใหมีปญหาเกิด ขึ้นก็จะชวยลดตนทุนไดอยางมากและทําไดงายกวา แตอาจตอง ใชเวลาในการปรับมุมมองและวิธีการใหเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการดีไซนที่มีความสําคัญในการ จุดประกาย Green Product โดย ดร.สิงห อินทรชูโต หัวหนา สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และในฐานะสถาปนิกและนักออกแบบ ทีใ่ ครหลายคนในวงการ กรีน ดีไซน (Green Design) คุน เคยกัน เปนอยางดี จากผลงานการออกแบบเฟอรนเิ จอรเพือ่ สิง่ แวดลอม ภายใตแบรนด “OSISU” และหนึ่งในผูที่คลุกคลีดานการจัดการ การออกแบบสิ่งแวดลอม เลาถึงแนวคิดหรือแรงบันดาลใจใน การออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอมใหฟงวา งานออกแบบของผมไม ไดเกิดขึ้นจากความตั้งใจตั้งแตแรก มันเกิดขึ้นในชวงที่ผมรับ งานการออกแบบอาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยเนนใน เรื่องของการประหยัดพลังงานเปนประเด็นหลัก พบวาหลังจาก การกอสรางแลวเสร็จมีวัสดุเหลือใชทิ้งเปนจํานวนมาก ประเด็น 33
Energy#52_p30-35_Pro3.indd 33
2/27/13 4:35 PM
ของการเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมไมใชแคเรื่องของการประหยัด พลังงานเทานั้น แตนาจะหมายรวมถึงการใชวัสดุใหคุมคา และไม สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในภายหลัง นั่นคือจุดเริ่มตนในการ เก็บเศษวัสดุเหลือใชจากงานของตัวเองมาทําเปนผลิตภัณฑใชเอง กอน แลวก็ทดลองทํามาเรื่อย ๆ การสรางคุณคาของงานออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอมจะตอง มีความตอเนื่อง และมีความสมดุลทั้งในดานสังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอม ซึ่งกุญแจแหงความสําเร็จของการออกแบบ นวัตกรรมอาคารเพื่อสิ่งแวดลอมประการหนึ่ง ก็คือ การพูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณและความคิดเห็นในมุมมองตาง ๆ กัน กับสถาปนิก นักออกแบบ และผูมีสวนเกี่ยวของทั้งทีม เพื่อปรับ ทัศนคติและแนวคิดในการออกแบบใหมีความสอดคลองไปใน ทิศทางเดียวกัน จึงจะนําไปสูการออกแบบนวัตกรรมอาคารเพื่อ สิ่งแวดลอมที่เปนรูปธรรมปรากฏออกมาไดอยางชัดเจน
34
Energy#52_p30-35_Pro3.indd 34
2/27/13 4:35 PM
ป ญ หาอย า งหนึ่ ง ของการปรั บ เปลี่ ย นแนวคิ ด ในการ ออกแบบที่ตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอม ก็คือ การมีสวนรวมระหวาง ภาคเอกชนกับภาควิชาการ โดยเฉพาะนักวิจัยจะมีแนวทางใน การทํางานที่แตกตางกัน ซึ่งตองอาศัยการปรับตัวซึ่งกันและกัน เนื่องจากความรวมมือระหวางภาคเอกชนและภาควิชาการเปน หัวจักรสําคัญที่นําไปสูการประยุกตใชไดจริง ทั้งการนําเศษวัสดุ กอสรางเหลือใชกลับมารีไซเคิล และการนําเศษวัสดุมาพัฒนา เปนผลิตภัณฑใหม ซึง่ สะทอนถึงความเปนไปไดในการปฏิบตั จิ ริง ดาน ท็อป-พิพฒ ั น อ ภิรกั ษธนากร ดาราและพิธกี ร เจาของ ราน Eco Shop เลาถึงสินคาภายในรานวา สินคาทีจ่ าํ หนายในราน ไดมาจาก 3 แหลง ดวยกัน คือ ทีแ่ รกจะมาจากตางประเทศซึง่ สวน ใหญจะไดมาจากการไปเทีย่ ว ไปถายทํารายการตาง ๆ โดยเฉพาะ ประเทศในแถบยุโรปหรือประเทศญีป่ นุ โดยจะรวบรวมซือ้ สินคาที่ มีดีไซนเพื่อสิ่งแวดลอมเขามาวางจําหนายภายในราน สวนแหลง ที่สอง ทางรานเปดกวางใหผูที่สนใจงานดีไซนเพื่อสิ่งแวดลอม ไมจํากัดอายุ เพศ และอาชีพ ขอเพียงแคมีความคิดสรางสรรค สามารถดีไซนสินคาเพื่อสิ่งแวดลอมได ก็สามารถนําผลงานมา วางจําหนายที่ราน Eco Shop ไดแลว สวนแหลงที่ 3 นั้น ผมจะ ดีไซนดวยตนเอง
สําหรับการคัดเลือกคุณสมบัติและคุณภาพของสินคา เบื้องตนกอนที่จะนํามาวางจําหนายภายในราน สินคาชิ้นนั้น ๆ ตองทําเพื่อสิ่งแวดลอมไมทางใดก็ทางหนึ่ง ไมไดคํานึงถึงเรื่อง วัตถุดบิ ทีน่ าํ มาใชเพียงอยางเดียว แตยงั ตองคํานึงถึงเรือ่ งของ การขนสง การลดมลพิษ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวของดวย ที่สําคัญ สินคานั้นตองใชงานไดจริงดวย 35
Energy#52_p30-35_Pro3.indd 35
2/27/13 4:35 PM
Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา
เตรียมรับมือ…วิกฤตพลังงานขาดแคลน
เปนขาวใหญโตพอสมควร ถึงกรณีที่ประเทศไทยตอง เตรียมรับกับวิกฤตขาดแคลนพลังงานจากการหยุดสงกาซธรรมชาติ ของสหภาพพมาในเดือนเมษายน สงผลใหกา ซธรรมชาติทใี่ ชในสาย การผลิตไฟฟาขาดหายไป สิง่ ทีน่ า กังวลยิง่ กลาวจากเหตุการณดงั กลาวคือ ประเทศไทยพึง่ พาพลังงานจากภายนอกมากเกินไปหรือไม แลวหากมีเหตุการณทคี่ ลายกันแตมคี วามรุน แรงกวา เรา…ในฐานะ เจาของประเทศจะทําอยางไร นายพงษศกั ดิ์ รักตพงศไพศาล รัฐมนตรีวา การกระทรวง พลังงาน กลาวถึงการเตรียมการรับมือตอเหตุการณดงั กลาววา ปจจุบันกาซธรรมชาติที่ประเทศไทยนําเขามาจากสหภาพพมามี ทัง้ หมด 2 แหลง ไดแก แหลงยาดานา และแหลงเยตากุน ซึง่ ในภาวะ ปกติประเทศไทยจะรับกาซธรรมชาติจากสหภาพพมาทีม่ กี าํ ลังการ ผลิตประมาณ 1,100 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน ทัง้ นี้ ชวงวันที่ 4-12 เมษายน 2556 แหลงยาดานาไดมกี าร หยุดซอมบํารุงทอสงกาซธรรมชาติ เพือ่ แกไขปญหาการทรุดตัว ของแทนกาซเผาทิ้งและแทนที่อยูอาศัย ซึ่งตองมีการติดตั้งใหม จึงสงผลใหประเทศไทยตองหยุดการรับกาซจากแหลงในสหภาพพมา ทัง้ หมด เนือ่ งจากคาความรอนจากแหลงยาดานาและแหลงเยตากุน มีความแตกตางกันมาก เพือ่ ไมใหเกิดผลกระทบจากการซอมบํารุงครัง้ นี้ กระทรวงพลังงาน จึงไดหารือกับหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ เตรียมความพรอมในการบริหาร จัดการดานเชือ้ เพลิง โดยมีขอ สรุปดังนี้ ดานกาซธรรมชาติ กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ เจรจากับ บริษทั Total ผูดําเนินการแหลงกาซยาดานา ใหเลื่อนการหยุดซอม บํารุงออกไป ซึ่งจะทําใหลดความเสี่ยงของระบบไฟฟาและลด การใชนํ้ามันเตาไดถึง 26 ลานลิตร และนํ้ามันดีเซล 15 ลานลิตร ทําใหลดคาใชจายเชื้อเพลิงลง และประสานกับผูรับสัมปทาน ของแหลงไพลินเหนือ กําลังการผลิตกาซฯ 210 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน และแหลงปลาทอง กําลังการผลิตกาซฯ 200 ลานลูกบาศก
ฟุตตอวัน ใหเลือ่ นการหยุดซอมบํารุงในชวงดังกลาวออกไปกอน จนกวาการซอมบํารุงแหลงกาซยาดานาเสร็จ ดานไฟฟา ไดสงั่ การใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เดินเครือ่ งผลิตโดยการปรับเปลีย่ นเชือ้ เพลิงโรงไฟฟา เปนนํา้ มัน ดีเซลในโรงไฟฟาทีต่ อ งเดินเครือ่ งในชวงการหยุดจายกาซฯ อาทิ กลุมโรงไฟฟาฝงตะวันตก, โรงไฟฟาราชบุรี, ราชบุรีเพาเวอร และโรงไฟฟาไตรเอนเนอรยี่ พรอมกับประสานกับผูป ระกอบการ ขนาดใหญที่ใชอัตราไฟฟาแบบ Interruptible Rate ใหทําการ ลดใชไฟฟาในชวงที่มีการหยุดซอมบํารุง ซึ่งจะทําใหลดความ ตองการใชไฟฟาไดถึง 56 เมกะวัตต ดาน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ใหสํารองนํ้ามันเตาและ นํา้ มันดีเซลใหกบั โรงไฟฟาเพือ่ ใชเปนเชือ้ เพลิงทดแทนในชวงการ หยุดจายกาซฯ และใหเตรียมการจัดการกาซ NGV โดยในเบือ้ งตน จะมีปริมาณกาซคางในทอ (Line Pack) 350 ลานลูกบาศกฟุต ซึ่งจะจายใหกับสถานีแม NGV ในจังหวัดราชบุรีไดโดยไมได รับผลกระทบ สําหรับสถานีอนื่ ๆ จะใชกา ซฯจากฝง ตะวันออกจาย ยอนเขามา ซึง่ สามารถใชกบั รถยนตทวั่ ไปได และสําหรับผลกระทบ ดาน LPG เนื่องจากมีการจัดสงกาซเขาโรงแยกกาซในระบบ ลดลงประมาณ 10,000 ตัน ไดมีแผนรองรับโดย 5,000 ตันจะ ใชในสวนของ Inventory ที่มีอยู และอีก 5,000 ตัน จะพิจารณา นําเขาเพิ่มเติม นอกจากนี้ จากคาดการณลวงหนาวันที่ 5 เมษายน 2556 จะเปนวันที่มีอุณหภูมิสูงสุดในรอบปและอาจมีการใช ไฟฟาสูงสุด จึงมีการจัดกิจกรรมควบคูในการรณรงคลดการ ใชไฟฟาในชวงเวลา 14.00-14.30 น. ณ ทําเนียบรัฐบาล และ วันที่ 13 มีนาคม.2556 กระทรวงพลังงาน พรอมหนวยงาน ที่เกี่ยวของ จะเตรียมการซอมแผนรองรับสภาวะวิกฤตดาน พลังงานของประเทศไทย เพื่อเปนแนวทางเตรียมความพรอม ใหแกประเทศหากเกิดภาวะฉุกเฉินดานพลังงานตอไป
36
Energy#52_p36_Pro3.indd 36
2/27/13 12:29 AM
Energy Legal นัษรุต เถื่อนทองคํา
สะพานเศรษฐกิจพลังงาน ศูนยกลางธุรกิจพลังงานภูมภิ าค
สะพานเศรษฐกิจพลังงาน (Energy Land Bridge) ศู น ย ก ลางธุ ร กิ จ พลั ง งานของภู มิ ภ าคใกล เ ป น ความจริ ง สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เตรียมสรุปผล การศึกษาภายหลังจากไดระดมความคิดเห็นจากหนวยงานที่ เกี่ยวของ ซึ่งนอกจากประโยชนดานเศรษฐกิจ การคา การเงิน การลงทุน ที่จะไดรับแลว ยังตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และความมั่นคงควบคูกันไปดวย นายนที ทับมณี รองผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปดเผยถึงโครงการ สะพานเศรษฐกิจพลังงานวา โครงการสะพานเศรษฐกิจพลังงาน (Energy Land Bridge) จัดทําขึ้น เพื่อเปนศูนยกลางธุรกิจ พลังงานของภูมิภาค โดยศึกษาความเปนไปไดของการเชื่อมโยง ฝง ทะเลอันดามันและฝง ทะเลอาวไทย เพื่อสงเสริมและผลักดันให อุตสาหกรรมพลังงานซึ่งถือเปนอุตสาหกรรมเชิงยุทธศาสตร ไดเกิดการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน และพัฒนา ใหเปนศูนยกลางธุรกิจพลังงานของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตามนโยบายรัฐบาล ป จ จุ บั น การขนส ง นํ้ า มั น ทางเรื อ จากประเทศกลุ ม ตะวันออกกลางมายังภาคตะวันออกของไทยและไปยังประเทศ ในกลุมเอเชียตะวันออก เชน ประเทศจีน เกาหลี ญี่ปุน รวมทั้ง ภูมภิ าคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จําเปนตองผานชองแคบมะละกา ซึ่ ง ไม ไ ด มี เ ฉพาะการขนส ง นํ้ า มั น เพี ย งอย า งเดี ย ว แต ยั ง มี เรือขนสงสินคาจํานวน 1 ใน 4 ของสินคาที่ขายทั่วโลกตอง
ผานชองแคบนี้ จากการคาดการณของการขนสงผานชองแคบมะละกา จะเต็มศักยภาพที่สามารถรองรับไดในป 2567 ภาครัฐจึงเล็งเห็น ถึงความไดเปรียบในดานภูมศิ าสตรของไทยวานาจะเปนทางเลือก ในการขนสงนํ้ามันไดอีกชองทางหนึ่ง การจัดตั้งสะพานเศรษฐกิจพลังงาน นอกจากจะชวยลด ปญหาความหนาแนนของการขนสงผานชองแคบมะละกา และลด ระยะเวลาการขนสงนํา้ มันไดแลว ยังเปนการสรางความมัน่ คงดาน พลังงานและการสํารองนํา้ มันเชิงยุทธศาสตรของประเทศ และยัง ทําใหประเทศไทยกลายเปนศูนยกลางพลังงานในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตอีกดวย จากการศึกษาเบื้องตนมีเสนทางในการพิจารณารวม 3 เสนทาง คือ เสนทางทวาย-กาญจนบุรี-ทาเรือแหลมฉบัง, เสนทางกระบี่-ขนอม (ทับละมุ-สิชล) และเสนทางปากบาราสงขลา โดยในการพิจารณาเลือกเสนทางจะคํานึงถึงประโยชนที่ ประเทศไทยจะไดรับทั้งในมิติเชิงเศรษฐกิจ การคา การเงิน การลงทุน รวมทั้งผลกระทบในมิติเชิงสิ่งแวดลอม สังคม และ ความมั่นคงไปพรอม ๆ กัน ทั้งนี้ ผลการศึกษาการจัดตั้งสะพานเศรษฐกิจพลังงาน อยูในระหวางกระบวนการรับฟงความคิดเห็นจากหนวยงานที่ เกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อนําความเห็นเหลานั้นไป ปรับปรุงผลการศึกษาใหสามารถนําไปสูก ารปฏิบตั ไิ ดจริง คาด วาผลการศึกษาทีเ่ ปนรายงานฉบับสมบูรณจะแลวเสร็จในเร็วๆ นี้ หลังจากนัน้ จะไดนาํ เสนอรัฐบาลเพือ่ พิจารณาตอไป 37
Energy#52_p37_Pro3.indd 37
2/27/13 12:29 AM
Energy Loan วรรณวิภา ตนจาน
SME Bank จัดหนักโครงการสินเชือ่ เพือ่ พัฒนาผลิตภาพการผลิต ปลอดเงินตนปแรก
สําหรับประเทศไทยแลว ถามองไปขางหนาการสนับสนุนเงินลงทุนใหแกธรุ กิจขนาดกลางและขนาดยอม ถื อ เป น การเสริ ม สร า งความแข็ ง แกร ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ การเจริ ญ เติ บ โตของภาคธุ ร กิ จ เพื่อใหเศรษฐกิจไทยเติบโตอยางมีประสิทธิภาพกาวขามวิกฤติตาง ๆ ไดในอนาคต
ธนาคารพั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ ม แหงประเทศไทย (เอสเอ็มอีแบงก) แนะนําสินเชื่อเดน โครงการ สินเชื่อเพื่อการพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) โดยแบงเปน 2 ประเภท ประเภทแรก คือ “สินเชื่อเพื่อพัฒนาเครื่องจักร” (Machine & Automation Loan) เพื่อสงเสริมและชวยเหลือภาคการผลิตในการพัฒนา ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร โดยมีระยะเวลาผอนชําระ นานสูงสุด 7 ป สวนประเภทที่ 2 คือ “สินเชื่อเพื่อพัฒนากระบวนการ ทํางานของภาคธุรกิจ” ทั้งดานการลงทุน ขยายการปรับปรุง หรือพัฒนากิจการดานตาง ๆ อาทิ ดานบุคลากร แรงงาน โลจิสติกส ทุนหมุนเวียน และการบริหารสตอกสินคา โดยมีระยะเวลา ผอนชําระนานสูงสุด 5 ป ซึ่งสินเชื่อทั้ง 2 ประเภท ผูประกอบการ สามารถกูไดไมเกินรายละ 5 ลานบาท สําหรับคุณสมบัติของผูรวมโครงการนั้น นายสมศักดิ์ ไชยเดช รองกรรมการผูจ ดั การ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (เอสเอ็มอีแบงก) เปดเผยวา ตองเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดยอมในภาคการผลิตที่มี โรงงานประกอบกิจการถูกตองตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ. 2535
มีการจางงานไมเกิน 50 คน สินทรัพยถาวร (ไมรวมทีด่ นิ ) ไมเกิน 50 ลานบาท โดยผูป ระกอบการทีย่ นื่ ขอสินเชือ่ นัน้ ตองใชหนังสือ คํ้าประกันของบรรษัทสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) เปนหลักประกัน โดยไมตอ งเสียคาธรรมเนียมการคํา้ ประกันในปแรก ด า น นายพิ ชั ย ชุ ณ หวชิ ร ประธานกรรมการบริ ห าร ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (เอสเอ็มอีแบงก) กลาวเพิ่มเติมวา เอสเอ็มอีแบงก ไดเตรียม วงเงิน 20,000 ลานบาท ในการปลอยกูสินเชื่อ “โครงการสิน เชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต” ในอัตราดอกเบี้ยพิเศษ โดยอัตราดอกเบีย้ ปที่ 1 ถึงปที่ 2 MLR-3% ตอป ปที่ 3 เปนตนไป MLR ตอป โดยในปที่ 1 จายเฉพาะดอกเบี้ยไมตองจายเงินตน เพือ่ ชวยเหลือผูป ระกอบการภาคอุตสาหกรรมทัง้ ภาคการผลิตและ ภาคธุรกิจในการปรับปรุงและเปลีย่ นแปลงเครือ่ งจักร เพือ่ นําไปพัฒนา กระบวนการทํางานในอนาคต เอสเอ็มอีแบงก เปนอีกหนึง่ สถาบันการเงินของรัฐ ทีม่ งุ ให การสนับสนุนผูป ระกอบการ SMEs ทัง้ ดานการเขาถึงแหลงทุน และดานพัฒนาศักยภาพผูประกอบการใหครอบคลุมทุกดาน เพื่ อ ช ว ยให ธุ ร กิ จ สามารถดํ า เนิ น งานต อ ไปได แ ละเติ บ โต อยางยั่งยืนตอไป
38
Energy#52_p38_Pro3.indd 38
2/23/13 2:50 AM
Energy#52_p39_Pro3.ai
1
2/23/13
2:44 AM
Back to the Basic
ดัชนีการใชพลังงาน SEC เครื่องมือตัวเกงในการจัดการพลังงาน ผศ.พศวีร ศรีโหมด : หัวหนาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม
การนำตั การนำตตวั เลขข เลขขอ มูมลู การใช การใชพ ลัลงั งาน งาน ไไมมว า จจะเป ะเปน ขขอ มมูลู คคา ไไฟฟ ฟฟา คคา เเชืชอ้ื เเพลิ พลิงิ เเพี พียี งอยางเดียวมาพิจารณาว ารณาววา เเราใช ราใชพ ลลังั งงานไปอย านไปอยา งงมีมีประสิทธิภาพหรือไมนน้ั แข็ข็งแแหหงหนึง่ เก็บขอมูลคาไฟฟามาพิจารณาพบวาใในเดื อาจเปนการวิเคคราะห ราะหที่ไมมถูกตตองงนะ นะ ยยกตั กตัวออยยางงเช เชน โโรงงานผลิ รงงานผลิตนน้้ำแข นเดือนนกุกุมภภาพั าพันธธมีคาไไฟฟ ฟฟาสูงขึ้น 10% เมือ่ เท มกราคมทผ่ี า นนมา มา นนัน้ั กก็ไ็ มมไ ดดห มมายความว ายความวา ใในเดื นเดอื นนกุกมุ ภภาพั าพันธ โรงงานมีประสิทธิภาพในการใชพลังงานไฟฟาทีต่ ำ่ จน นทำใหค า ไไฟฟ ฟฟา สสูงู ขขึน้ึ 110% 0% แแตตอาจจะ เทีทยี บบกักบั เเดืดอื นนมกราคมที จนทำให ตตอ งงมีมกี าารร พ รณาขอ มมูลู เเพิ พม่ิ เเติตมิ ววา ใในเดื นเดอื นนกุกมุ ภภาพั าพนั ธธม กี าารขยายกำลั รขยายกำลังการผลิตน้ำแข็งมากกวาเดือนมกราคมหรือไม เพราะปริมาณ ณผลผลติ มมีผี ลลโดยตรงกั โดยตรงกบั ปปริรมิ าาณ ณ พิจิ าารณาข าณผลผลิ กการใช ารใชพลลัังงงานภายในโรงงานอย านภายในโรงงานอยางงแน แนนออนน หหรืรือกลาวไดวาตองนำทั้งขอมูลปริมาณการใชไฟฟามาเปรียบเทียบกับขอมูลปริมาณการ รผลิิตมมาวิ าววิเคคราะห ราะหจึงจจะถู ะถูกตตอง าณการผลิ Energy ดดังั นนัน้ั เเครื ครอ่ื งงมืมอื ใในการวิ นการวเิ คคราะห ราะหป รระสิ ะสทิ ธิธภิ าพในการใช าพในการใชพลังงานตองพิจารณาตัวเลขทีเ่ รียกวาคาดัชนีการใชพลังงาน หรือ SEC (Specific Energ gy Consumption) Consuumption) องอาคารในเดื สสามารถหาได ามารถหาไดโ ดดยนำค ยนำคา กการใช ารใชพ ลลังั งงานรวมในช านรวมในชวงเวลาทีส่ นใจ ซึง่ มักจะคิดรวมในหนึง่ เดือน หารดวยผลผลิต (กรณีโรงงาน) หรือการใชประโยชนของอาคารในเ เดอื นนนันน้ั ๆ เเชชน ใในอาคารโรงพยาบาลก็ นอาคารโรงพยาบาลก็เปปนปริมาณผูปวย หรืออาคารโรงแรมก็คือปริมาณการเปดใชหองพักเปนตน แสดงเปนสมการดังตอไปนี้
SEC =
ปริมาณาณการใชพลังงาน ปริมาณผลผลิตหรือการใชประโยชนของอาคาร
การคำนวณดัชนีการใชพลังงานสามารถคำนวณในรูปของพลังงานไฟฟา (kWh) หรือ ในรูปของพลังงานความรอน (MJ) หรือการใชพลังงานรวม ขึน้ อยูก บั ประเภทของพลังงานทีจ่ ะนำเอามาคิดหรือตองการวิเคราะหขอ มูลในรูปใด ตัวอยางการคิดคา SEC นัน้ งายมากครับ ยกตัวอยางเชน โรงงานแหงหนึง่ มีการใชพลังงาน ไฟฟาในเดือนหนึ่ง 1,000,000 หนวย (kWh) และผลิตสินคาไดรวม 1,000,000 kg สามารถคำนวณหาคา SEC ในรูปแบบพลังงานไฟฟาไดคา
SEC =
1,000,000 kWh 1,000,000 kg
= 1 kWh/kg
ก็จะแสดงถึงตนทุนของการผลิตสินคา โดยโรงงานนีผ้ ลิตสินคา 1 kg จะตองใชตน ทุนคาพลังงาน 1 kWh นัน้ เองครับ
เราใชประโยชนอะไรจากคา SEC
ถาเรามีการเก็บขอมูลคา SEC ในแตละเดือน และเขียนกราฟไวดงั รูปที่ 1 ขอมูลของเดือนใหมทเ่ี ขามาจะทำใหรวู า เราใชพลังงานมีประสิทธิภาพดีขน้ึ หรือแยลง โดยถา SEC ในเดือนใดอยูส งู กวาเสนเฉลีย่ ทีเ่ คยทำได ก็แสดงวาประสิทธิภาพการใชพลังงานแยลง ก็จะตองอธิบายหรือหาสาเหตุมาใหไดวา ความสิน้ เปลืองทีเ่ กิดขึน้ เกิดจากตรงไหน โดยในองคกรขนาดใหญหลายแหงทีใ่ หความสำคัญกับการประหยัดพลังงานจะกำหนดใหแตละหนวยผลิตยอยหรือแตละแผนกมีเครือ่ งวัดการใชพลังงานของ ตัวเองเพือ่ เก็บขอมูลและนำมาคำนวณคา SEC ของหนวยงานตัวเองในแตละเดือน คือมีการเก็บขอมูล SEC กันทุกระดับ ตัง้ แตระดับแผนก จนถึง SEC รวมขององคกร ทุกแผนกทุกหนวยงานจะตองรายงานคา SEC ของตัวเองอยางสม่ำเสมอทุกเดือน โดยในเดือนที่ SEC ของบริษทั โดงขึน้ มาก็จะดูรวู า เกิดจากจุดไหน ซึง่ จะไดทำใหงา ยตอการ หาสาเหตุและแกไขปญหา รวมไปถึงการตัง้ เปาหมายเปนนโยบายพลังงานขององคกรโดยพิจารณาขอมูลคาเฉลีย่ SEC. ในอดีตมาเปนตัวเลข KPI เพือ่ ชีว้ ดั ความสำเร็จ ของกิจกรรมการประหยัดพลังงานในองคกรไดอกี ดวย
รูปที่ 1 ตารางการเก็บขอมูลและการวิเคราะหคา SEC ประจำเดือน
Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร
ฮอนดาฯ มุงลดพลังงาน… สรางสรรคผลิตภัณฑที่เปนมิตร
ตอสิ่งแวดลอม
40
Energy#52_p40-41_Pro3.indd 40
2/23/13 2:39 AM
การอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมนัน้ หากดําเนินการอยางจริงจัง และมีการคิดคนพัฒนาอยางตอเนือ่ ง ในการหาแหลงพลังงานมาทดแทน พลังงานทีส่ นิ้ เปลือง หรือใชวตั ถุดบิ ตาง ๆ ใหเกิดประโยชนสงู สุด รวมถึง การใชเทคโนโลยีประหยัดพลังงานจะชวยลดตนทุนในกระบวนการผลิต และลดปริมาณการปลอยของเสียหรือกาซเรือนกระจกอันสงผลกระทบตอ สิง่ แวดลอมและสังคมรอบขางลงไดมาก ซึง่ การดําเนินการอนุรกั ษพลังงาน และสิง่ แวดลอมในแตละองคกรนัน้ ตางก็มนี โยบายทีแ่ ตกตางกันออกไป กิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดลอมและสังคม บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด เปนอีก บริษัทหนึ่งที่มีนโยบายดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ซึ่ ง ในแต ล ะโรงงานของฮอนดา ฯ ต า งเน น ในเรื่ อ งการพึ่ ง พา ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมถึงการนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาชวย ในการประหยัดพลังงาน ไมวา จะเปนโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม โรจนะทีจ่ งั หวัดพระนครศรีอยุธยา หรือโรงงานทีก่ าํ ลังจะสรางใหม ในนิคมอุตสาหกรรมที่จังหวัดปราจีนบุรี โดยโรงงานฮอนดาในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัด พระนครศรีอยุธยาไดดําเนินการดานการอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอมตามนโยบายของบริษทั แม และไดคดิ คนแนวทางใหม ๆ เพื่อพัฒนาดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดยบริษัท ผูผลิตและจําหนายรถยนตฮอนดาไดกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน เพือ่ ลดการใชพลังงาน และลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ในทุกกระบวนการผลิตเพื่อสรางความยั่งยืนคืนสูสังคม จากการประเมินขอมูลสถิติวงจรผลิตภัณฑ LCA ของ ฮอนดาพบวา 83% ของตัวเลขการปลอย CO2 ที่เกิดจากการ ใชงานผลิตภัณฑ และจากปจจัยดังกลาวฮอนดาไดวางเปาหมาย เพื่อบรรเทาปญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและ พลังงานดวยการลดการปลอย CO2 จากผลิตภัณฑใหไดมาก ที่สุด สูการกําหนดวิสัยทัศนดานสิ่งแวดลอมของฮอนดาทั่วโลก ภายใตคอนเซ็ปต “Blue Skies for Our Children” โดยมุง มัน่ ในการลดการปลอย CO2 ใหไดตามเปาหมาย 30% ภายในป 2563 จากผลิตภัณฑของฮอนดาทุกชนิด ไดแก รถยนต รถจั ก รยานยนต และเครื่ อ งยนต อ เนกประสงค ภายในป พ.ศ. 2563 จากเปาหมายทีเ่ ปรียบเทียบกับป พ.ศ. 2543 รวมถึงการ ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากกระบวนการผลิตของทุก โรงงาน และในทุกกิจกรรมการดําเนินงานของฮอนดาอีกดวยครับ ซึ่งกระบวนการเชื่อมตัวถัง การพนสี และการประกอบ รถยนต ใ ห มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด นั้ น เป น อี ก แนวทางหนึ่ ง ของ กระบวนการผลิต จึงทําใหโรงงานผลิตรถยนตแหงนี้เปนโรงงาน ที่มีความกาวหนาในการลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด นอกจากนี้ยังไดดําเนินการอนุรักษพลังงานหลายเรื่องดวยกัน ตัง้ แตวธิ กี ารงายๆ ไปจนถึงการติดตัง้ ระบบการประหยัดพลังงาน และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาชวยลดใชพลังงาน เชน การเปลี่ยน หลอดไฟแบบโคมแสงจั น ทร ม าเป น หลอดประหยั ด พลั ง งาน ฟลูออเรสเซนต T5 การปรับเปลีย่ นมาใชบลั ลาสตแบบอิเล็กทรอนิกส (Electronic Ballast) ซึง่ ชวยลดการสูญเสียพลังงานไฟฟาได ถึงรอยละ 10 รวมถึงการปรับหลังคาบางสวนในสายการผลิตเปน แบบโปรงแสงเพือ่ นําแสงธรรมชาติเขามาชดเชยแสงสวางภาย และ การลดจํานวนหลอดไฟในพืน้ ทีท่ มี่ แี สงสวางเกิดความจําเปนพรอม ติดตัง้ อุปกรณการสะทอนและกระจายแสงเพือ่ การใชพลังงานอยาง ประหยัดซึง่ ชวยในการประหยัดไฟชวงกลางวันไดเปนอยางดี 41
Energy#52_p40-41_Pro3.indd 41
2/23/13 2:39 AM
ผลิตรถประหยัดพลังงานและกิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดลอม
การใชพลังงานทางเลือก
การนําพลังงานทางเลือกมาใชเพือ่ ชวยใหเกิดการประหยัด พลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมวา จะเปนการใชกา ซธรรมชาติ ควบคูก บั การใชพลังงานไฟฟาในสายงานผลิต เพือ่ ชวยลดการใช นํา้ มันเตาและลดไอเสียทีเ่ กิดจากการเผาไหมในขัน้ ตอนการผลิต ติดตัง้ ระบบโซลาเซลล เพือ่ ผลิตไฟฟาปอนการใชงานภายในอาคาร ของสํานักงานบางสวนซึง่ ชวยลดลดการพึง่ พานํา้ มันและไฟฟาได โดยฮอนดาเขามีนโยบายการติดตัง้ โซลาเซลลทกุ โรงงาน นอกจาก นีย้ งั มีนโยบายลดการใชนาํ้ ในทุกขัน้ ตอนการผลิต โดยการบําบัด นํา้ เสียแลวนําหมุนเวียนกลับมาใชใหมในกระบวนการผลิต เพือ่ การ ปลอยนํา้ สูแ หลงพักนํา้ ของศูนยอตุ สาหกรรมและชุมชนใกลเคียง ใหนอยที่สุด และชวยใหประหยัดนํ้าไดถึง 180 ลูกบาศกเมตร การปรับปรุงกอกนํา้ ทีใ่ ชในโรงงานใหประหยัดนํา้ ดวยวิธงี า ย ๆ โดยใส จุกยางยูรีเทนในทอเพื่อชะลอการไหลของนํ้าซึ่งกอกประหยัด นํ้านี้ชวยลดการใชนํ้าไดกวา 88% จัดการของเสียและลดกาก อุตสาหกรรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ ลดการฝงกลบใหเหลือนอยทีส่ ดุ ผูผ ลิตและจําหนายรถยนตฮอนดาไดมกี ารคัดแยกขยะทีจ่ ะสงออก ไปทําลายภายนอกโรงงานใหเหลือนอยทีส่ ดุ เพือ่ ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมรอบขาง โดยการคัดแยกขยะออกเปน 3 ประเภท โดยแยกถัง จัดเก็บออกเปนสีตา ง ๆ สีเขียว ใชเก็บเศษอาหารวัสดุทยี่ อ ยสลายได สีเหลือง ใชเก็บขยะรีไซเคิล เชน หนังสือพิมพ ขวดพลาสติก กระปอง เครือ่ งดืม่ สีแดง ใชเก็บขยะพิษ เชน ภาชนะบรรจุสารเคมี กระปอง สเปรยอดั อากาศ เปนตน พรอมกันนีย้ งั ไดเลือกใชกลองกระดาษบรรจุภณ ั ฑทเี่ ปนมิตร ตอสิง่ แวดลอม โดยใชกลองทีม่ สี ว นผสมของเยือ่ กระดาษรีไซเคิล 100% ซึง่ สามารถชวยลดการตัดตนไมกวา 180 ตนตอป และทีน่ ยี่ งั ได ใชประโยชนจากเศษขีเ้ ถาในการเผาขยะมาผสมกับปูนซีเมนตเพือ่ นํา มาทําเปนอิฐบล็อกสําหรับปูพนื้ ทางเดินภายใน และภายนอกโรงงาน ชวยทําใหไมมขี องเสียทีเ่ กิดจากการเผาขยะสงออกไปกําจัดภายนอก
เพื่ อ ให บ รรลุ เ ป า หมายด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิง่ แวดลอม ฮอนดายังไดคดิ คนนวัตกรรมพลังงานสะอาด และการ ใชพลังงานทางเลือกเปนหัวใจสําคัญในการกาวสูเ ปาหมายในการ สรางอนาคตที่ยั่งยืน ที่ผานมาฮอนดาไดคิดคนเทคโนโลยีหลาก หลายรูปแบบ อาทิ ยนตรกรรมที่ขับเคลื่อนดวยกาซธรรมชาติ ไฮบริด และพลังงานจาก Fuel Cell แบตเตอรีอ่ เิ ล็กทริก และยานยนต พลั ง งานไฮบริ ด แบบปลั๊ ก อิ น รวมถึ ง การคิ ด ค น นวั ต กรรม พลังงานรูปแบบใหม ๆ และเทคโนโลยีใหม ๆ ไดแก อุปกรณ พลังงานแสงอาทิตยของฮอนดา เปนตน ทัง้ นีก้ จิ กรรมเพือ่ สิง่ แวดลอมและสังคมนัน้ เปนแนวทางหนึง่ ทีช่ ว ยเติมเต็มในการเดินตามเปาหมายของฮอนดา โดยกลุม บริษทั ฮอนดาในประเทศไทยไดกอตั้งมูลนิธิฮอนดาประเทศไทยขึ้นมา ดําเนินนโยบายภายใตพันธกิจหลักดานการสงเสริมการศึกษา การสงเสริมและอนุรักษวัฒนธรรมไทย และการชวยเหลือสังคม ในดานตาง ๆ ลาสุดไดดําเนินโครงการโรงเรียนสรางสรรค สิ่งแวดลอม เฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ 7 (พ.ศ. 2555-2556) “ตามรอยเทาพอกับฮอนดา” อยางไรก็ตามเพื่อรองรับกระบวนการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น นั้นฮอนดามีแผนสรางโรงงานแหงใหมที่จังหวัดปราจีนบุรีโดย เตรียมงบประมาณไวเบือ้ งตน 17,150 ลานบาท ครอบคลุมเนือ้ ที่ กวา 1,600 ไร เปนพืน้ ทีอ่ าคารสํานักงานและอาคารโรงงาน 134 ไร มีกําลังการผลิต 120,000 คันตอป โดยกําหนดเปดเดินสายการ ผลิตในป 2558 เรียกไดวา เปนโรงงานที่มเี ทคโนโลยีทนั สมัยที่สดุ ในภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนีย ทั้งดานการผลิตและการอนุรักษ พลังงาน โดยโรงงานแหงใหมจะนํานวัตกรรมการผลิตที่ลํ้าสมัย จากโรงงานผลิตรถยนตฮอนดาทีโ่ ยริอิ ประเทศญีป่ นุ มาประยุกต ใช ซึ่งจะชวยลดเวลาในกระบวนการผลิตแตละขั้นตอนและเปน มิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น
รถประหยัดพลังงาน นวัตกรรมลดโลกรอน
โซลาเซลลที่ใช ในการผลิตไฟฟา
การดําเนินการดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม ของฮอนดาไมไดหยุดนิง่ เพียงแคนี้ แตยงั พัฒนาตอยอดอยาง ตอเนื่องมุงมั่นพัฒนาและสรางสรรคองคกรใหสอดคลองกับ วิสยั ทัศนในการเปนองคกรสีเขียว ควบคูไ ปกับการพัฒนาการ ดําเนินงานและขยายการลงทุนเพื่อใหประเทศไทยเปนฐานการ ผลิตหลักในการสงออกรถยนตและชิ้นสวนทั้งในระดับภูมิภาค และระดับโลก
42
Energy#52_p40-41_Pro3.indd 42
2/23/13 2:39 AM
Tools & Machine รังสรรค อรัญมิตร
เมมเบรน รี เ วอร ส ออสโมซิ ส เทคโนโลยีใหมชวยลดตนทุนในกระบวนการบําบัดนํา การบํ า บั ด นํ้ า นั้ น เป น แนวทางหนึ่ ง ของการลดต น ทุ น และลดมลภาวะในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเทคโนโลยีบําบัดนํ้านั้นมีหลากหลายรูปแบบดวยกันที่ถูก พัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับกับอุตสาหกรรมที่มีความจําเปนตอง ใชนํ้าเปนสวนสําคัญในกระบวนการผลิต หรือตองการบําบัด นํา้ เสียใหเปนนํา้ ดี เทคโนโลยีเมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส ของ แลงเซส เปนเทคโนโลยีใหมทถี่ กู พัฒนาขึน้ มารองรับกระบวนการดังกลาว ขางตน ซึ่งสามารถรองรับการบําบัดนํ้าไดทุกสภาพขึ้นอยูกับ ความตองการของผูประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรมวา มีความตองการใชงานในรูปแบบใด แตมีเปาหมายที่คลายกัน คื อ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพความประหยั ด และเป น มิ ต รต อ สิง่ แวดลอมในการดําเนินงานดานอุตสาหกรรม โดยกระบวนการทํ า งานเทคโนโลยี เ มมเบรน รี เ วอร ส ออสโมซิ ส นั้ น วิ ศ วกรของโรงงานอุ ต สาหกรรมสามารถ ต อ ท อ สู บ นํ้ า เข า ในเมมเบรนรี เ วอร ส ออสโมซิ ส ได โ ดยตรง ซึ่ ง นํ้ า จะผ า นการกรองด ว ยเยื่ อ เมมเบรนด ว ยแรงดั น นํ้ า มหาศาลสงผลใหแยกสารเคมีออกจากนํา้ ไดอยางมีประสิทธิภาพ หลังจากนั้นนํ้าจะไหลเขาสูกระบวนการผลิตของแตละโรงงาน ตามความตองการในการใชประโยชนจากนํา้ ทีบ่ าํ บัด
เมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส ประกอบขึ้นจากโพลิเอไมด ทีซ่ อ นกันหลายชัน้ เปนขดเกลียวที่ออกแบบมาเพื่อการบําบัดนํ้า ในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถแยกเกลือออกจากนํ้ากรอย และนํ้ า ที่ มี ส ารละลายที่ ป ระกอบด ว ยนํ้ า เกลื อ ในระดั บ ตํ่ า ได ปรับปรุงสภาพและเพิ่มความบริสุทธิ์ของนํ้าบาดาล รวมทั้งใชใน การผลิตนํา้ เพือ่ นําไปใชในหมอตมนํา้ ของโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ นอกจากนีเ้ ทคโนโลยีเมมเบรน รีเวอรส ออสโมซิส ยังชวยในการ แยกแรธาตุหรืออนุภาคออกจากนํ้า เพือ่ ใชในกระบวนการผลิต ไมโครชิพไดอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม นอกจากจะชวยในการบําบัดนํ้าใหเกิดเปน นํ้ า บริ สุ ท ธิ์ ที่ มี คุ ณ ภาพแล ว ยั ง ช ว ยยื ด อายุ ก ารใช ง านของ เครื่องจักรกล เชน กังหันและเครื่องกําเนิดไอนํ้า สามารถลดการ เกิดตะกรัน คราบสกปรก และสนิมกัดกรอนได และจากการใชงานจริงของโรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึง่ ในประเทศไทยสามารถลดการใช ส ารเคมี ไ ด ถึ ง 30% แต ก็ ขึ้ น อยู กั บ การใช ง านของแต ล ะโรงงานว า จะบํ า บั ด นํ้ า ไปใชในกระบวนการผลิตดานใด เรียกไดวาเปนการลดตนทุน โดยรวมในการบําบัดนํา้ แบบครบวงจรของโรงงานอุตสาหกรรม เลยทีเดียว 43
Energy#52_p43_Pro3.indd 43
2/15/13 8:50 PM
Residential รังสรรค อรัญมิตร
คุณเรวดี นุชสงสิน เจาของรีสอรท
แมสลองเมาเทนโฮม…
สิ่งเล็กๆ ที่เรียกวาพอเพียง ตอเนื่องจากเลมที่แลวยังคงไมเบื่อกันนะครับสําหรับ รีสอรททางภาคเหนือ เลมนี้ยังคงอยูกันที่จังหวัดเชียงราย ถึ ง แม จ อยู ใ นช ว งเดื อ นที่ กํ า ลั ง จะย า งก า วเข า สู ฤ ดู ร อ น แตบรรยากาศทางภาคเหนือยังคงเย็นสบาย โดยเฉพาะอากาศ บนดอยแม ส ลองในช ว งหน า หนาวอากาศจะหนาวเย็ น มาก วาแลวเราไปทิ้งทวนกลิ่นไอความหนาวกันที่แมสะลองเมาเทน โฮมกันดีกวาครับ แม ส ลองเมาเท น โฮม เดิ ม ชื่ อ แม ส ลองฟาร ม สเตย แตเนื่องจากชื่อฟารมสเตย ไมสามารถสะทอนความลึกซึ้งถึง บรรยากาศที่พักไดอยางแทจริง เจาของรีสอรทจึงเปลี่ยนชื่อ เปน “แมสลอง เมาเทน โฮม” ทีส่ ามารถบรรยายภาพบรรยากาศ สถานที่พักไดเปนอยางดี โดยเนรมิตจากไรบวยมาเปนรีสอรทตามความฝนของ เจาของรีสอรทที่ชื่นชอบความเปนธรรมชาติแบบทองถิ่นเนนให ลูกคาไดสมั ผัสธรรมชาติอยางใกลชดิ ซึง่ ถูกออกแบบใหเปนแนว
บูติค คันทรี รีสอรท ที่มีทั้งหมด 9 หลัง ในแตละหลังสรางจาก วัสดุธรรมชาติมกี ารนําไมไผมาเปนสวนประกอบในการสรางหอง พักเพื่อใหกลมกลืนกับธรรมชาติ แนวรีสอรทเรียงตามไหลเขาลดลั่นเลนระดับกับธรรมชาติ ลอมรอบดวยไรบวยและไรชา บรรยากาศเงียบสงบตางกับที่พัก แหงอื่นในแมสลองเหมาะสําหรับทานที่ตองการหลีกหนีความ วุน วายมาผอนคลายความเครียด เรียกไดวา ผูม าเยือนจะสามารถ สัมผัสกับธรรมชาติไดอยางแทจริง ถึงแมจะเปนรีสอรทขนาดเล็กที่มีบริการเพียง 9 หอง แตก็ เนนความพอเพียงเพื่อการอนุรักษพลังงาน ดังนั้นรีสอรทแหงนี้ จึงไมไดมแี คความสวยงามของธรรมชาติเทานัน้ แตยงั โดดเดนใน เรื่องของการอนุรักษพลังงานภายใตความพอเพียงนั่นเอง ภายในหองพักไมตดิ แอร โดยพึง่ พาวามเย็นจากธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ไมมีสิ่งอํานวยความสะดวกบางอยางเหมือนที่ รีสอรททั่วไปมี เชน ไดรเปาผม เตารีด กานํ้ารอน เพื่อไมใหเกิด
44
Energy#52_p44-45_Pro3.indd 44
2/15/13 8:56 PM
การใชพลังงานที่สิ้นเปลือง พรอมกันนี้ยังไดเลือกติดตั้งเครื่อง ทํานํ้าอุนที่เปนระบบแกส และติดตั้งหลอดไฟภายในหองพัก เฉพาะเทาที่จําเปนในการใชงาน โดยใชเปนหลอดตะเกียบซึ่งชวย ลดการใชพลังงานไดเปนอยางดี
นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมไวรองรับผูมาพักผอนอีกดวย ไม วาจะเปนการเดินปาโดยไกดทเี่ ปนคนในทองถิน่ หรืออาจพักแรม ในปาก็ขึ้นอยูกับความตองการของลูกคาเอง การปนจักรยาน เยี่ ย มชมหมู บ า นชาวเขาเผ า ต า ง ๆ ซึ่ ง บนดอยแม ส ลองนั้น นอกจากมีความสวยงามทางธรรมชาติแลว ยังมีความสวยงาม ทางวัฒนธรรมของแตละชนเผา ไมวาจะเปน จีนยูนนาน อาขา ลาหู ลัวะ เมี้ยน ลีซู และไทยใหญ ที่รอตอนรับการมาเยือนของ นักทองเที่ยว
เพื่ อ ให เ กิ ด การประหยั ด พลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และชวยใหรีสอรทแหงนี้เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมที่อยูรอบขาง แมสลองเมาเทนโฮมจะทําการคัดแยกขยะเพื่อนําไปรีไซเคิล และ จําหนายใหกับรานรับซื้อของเกา ในสวนที่เปนขยะเศษอาหารที่นี่ นําไปทําปุยหมักเพื่อใชใสตนไมภายในรีสอรท การบําบัดนํ้าเปนอีกแนวทางหนึ่งของรีสอรทที่ตองการ สรางความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึ่งที่แมสลองเมาเทนโฮม มีการบําบัดนํา้ ทีใ่ ชงานแลวเพือ่ นํากลับมาใชใหม โดยนําไปรดนํา้ ตนไมและผักสวนครัวของรีสอรท และในความเปนธรรมชาติ ยังไดชว ยใหทนี่ สี่ ามารถใชนาํ้ ทีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติในการใชอปุ โภค โดยไมตอ งพึง่ พานํา้ ประปา ชวยลดตนทุนเรือ่ งของคานํา้ ไดมาก
ไฮไลทสําคัญของการมาเยือนแมสลองเมาเทนโฮม คือ การไดตื่นแตเชาไปชมพระอาทิตยขึ้น และการตักบาตรหลัง จากรับแสงอรุณ เนื่องจากทางรีสอรทจะนิมนตพระมาใหแขก ผูมาพักผอนได ใสบาตรทุกเชาเสริมสรางจิตใจใหแจมใส และ กิจกรรมอีกอยางหนึ่งที่ผูมาเยือนไมควรพลาดนั่นคือ เยี่ยม ชมไรชาและจิบชารอน ๆ สดจากไร ขาง ๆ รีสอรทนั่นเอง 45
Energy#52_p44-45_Pro3.indd 45
2/15/13 8:56 PM
Energy Design รังสรรค อรัญมิตร
โรงเรียนแหงความยั่งยืนใน
“บูรกินาฟาโซ”
ปจจุบนั หลักการออกแบบนอกจากคํานึงทิศทางลม ทิศทางแดด อุปกรณ และเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน รวมทั้งสิ่งแวดลอมรอบขางแลว การออกแบบ ยังตองคํานึงถึงการดําเนินชีวิตของคนเราดวยเชนกัน โดยการออกแบบให ประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมนั้น ดูจะไดรับความนิยมไปทั่วทุก มุมโลก ซึ่งบางพื้นที่นั้นนอกจากจะพัฒนาใหเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแลว ยัง สามารถพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศไดอีกดวย ประเทศบูรก นิ าฟาโซ หลายคนคงไมคนุ ชือ่ นีม้ ากนักในเรือ่ งของการออกแบบ ประเทศบูรกินาฟาโซตั้งอยูในทวีปแอฟริกาใต และเปนประเทศที่ยากจนแหงหนึ่ง ของโลก ถึงแมจะขึน้ ชือ่ วาเปนประเทศทีย่ ากจน แตการออกแบบสิง่ กอสรางของเขา สามารถสรางใหเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมไดอยางโดดเดน เรียกไดวา ไมแพประเทศ ที่รํ่ารวยเลย เขามีแนวคิดและวิธีในการออกแบบอยางไรนั้น เราลองไปดูโครงการ ออกแบบกอสราง “โรงเรียนมัธยมศึกษา Gando” ของ Francis Kere สถาปนิก ชาวบูรกินาฟาโซ กันครับ โรงเรียนแหงนี้สรางขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหการศึกษากับคนที่อาศัย อยูในพื้นที่ชนบทแหงนี้ ซึ่งมีประชากรประมาณ 3,000 คน ไดมีสิ่งอํานวยความ สะดวกดานการศึกษา ทัง้ เรือ่ งอุปกรณการเรียน หองเรียน สถานทีพ ่ กั สนามกีฬา เพื่อรองรับเด็กนักเรียนซึ่งสวนใหญอยูบนที่ราบทางตอนใตของบูรกินาฟาโซ ที่ตองเดินทางกวา 200 กิโลเมตร จากเมืองหลวงวากาดูกูมาเรียนที่โรงเรียน Gando แหงนี้ 46
Energy#52_p46-47_Pro3.indd 46
2/23/13 1:19 AM
การออกแบบโรงเรียนอิงใหเขากับสภาพพื้นที่และสภาพ แวดลอม เพื่อใหเกิดความสะดวกสบายในการใช ชีวิตภายใน โรงเรียน ซึ่งการออกแบบจะพิจารณาจากสภาพอากาศที่เคยมี อุณหภูมิในชวงฤดูรอนสูงสุดถึง 40 องศาเซลเซียส ดวยสภาพ อากาศที่รอนเชนนี้จึงไดออกแบบอาคารเรียนใหมีการระบาย อากาศตามธรรมชาติ เพื่อใหอากาศถายเทและมีลมเย็นเพิ่มขึ้น ผานการกําหนดเสนทางอากาศทางทอใตดิน วัสดุกอ สรางสวนใหญเปนวัสดุในทองถิน่ อยางผนังทําจาก บล็อกดินอัดผสมคอนกรีต 10% โดยไมตอ งเขาสูก ระบวนการเผา ที่สิ้นเปลืองก็สามารถกอสรางได และยังชวยใหอาคารเกิดความ เย็นซึ่งเหมาะกับสภาพอากาศรอนของพื้นที่ และเปนสาเหตุหลัก
ทีผ่ อู อกแบบไมเลือกใชอฐิ ในการกอสราง พรอมกันนัน้ ยังออกแบบ ใหเปนหลังคาสองชั้นเพื่อชวยลดความรอนที่จะเขาสูตัวอาคาร นอกจากนีย้ งั ใชเหล็กเสนในการออกแบบกอสรางดวย เนือ่ งจาก เหล็กเสนเปนวัตถุดิบที่มีราคาถูกหางายในทองตลาด ซึ่งตรงกับ จุดมุงหมายของโครงการนี้ที่ตองการแสดงใหเห็นการใชงานที่ ยั่งยืนของวัสดุจากธรรมที่มีในทองถิ่น สําหรับการปลูกปาในบริเวณโรงเรียนนัน้ เปนสวนหนึง่ ของ การออกแบบตามแนวคิดสภาพภูมอิ ากาศของโรงเรียน เนือ่ งจาก ตนไมและหญาสามารถกรองฝุนจากอากาศ ชวยใหพื้นที่ใน โรงเรียนมีคณ ุ ภาพอากาศทีด่ ี และยังเปนการสงเสริมใหนกั เรียน มีความรับผิดชอบในการรดนํ้าใสปุยใหกับตนไมที่ปลูกใหม
สถาปตยกรรมคือสิ่งกอสรางที่มีความจําเปนในการอยูอาศัยของมนุษย ดังนั้น การออกแบบตองคํานึงถึงความยั่งยืน โดยดึงเอาธรรมชาติ สิ่งแวดลอม สภาพภูมอิ ากาศ และพืน้ ทีท่ ใี่ ชในการกอสรางมาเปนปจจัยหลักของการออกแบบ เพื่อใหเกิดสถาปตยกรรมที่สวยงามและยั่งยืนในอนาคต 47
Energy#52_p46-47_Pro3.indd 47
2/23/13 1:20 AM
Green4U
วรรณวิภา ตนจาน
01
02
Bamboo Memory Stick
กระเปาสะพายรีไซเคิล
เมมโมรี่ สติ ก แบบพกพา ที่ มี แ นวความคิ ด ในการ ออกแบบเนนความเป าม นมิตรกับสิ่งแวดลอม ขนาด 3.5 x 11.5 เซนติเมตร นําหนั ้าหนัก 0. 0.19 กิโลกรัม ผลิตจากไมไผคุณภาพดี อยูใ นรูปของพวงกุ องพวงกุญแจ สะดวกในการพกพาและใช สะด งาน ความจุ อยูที่ประมาณ ะมาณ 2 - 8 GB ราคา 895 บาท http://www.ecoshop.in.th
กระเปาสะพานดีไซนเก ผลิตจากวัสดุรีไซเคิล ตัวกระเปา ทําจากกระสอบพลาสติกคุณภาพดี โดยใชสายเข็มขัดนิรภัย มาทําเปนสายสะพาย ภายในบุดวยผาชั้นดีถึง 3 ชั้น นอกจาก จะช ว ยลดปริ ม าณขยะแล ว ยั ง ทํ า ให วั ส ดุ เ หลื อ ใช ก ลั บ มา มีประโยชนอีกครั้ง ราคา 1,450 บาท http://www.ecoshop.in.th th
03
04
นาฬกาผาสานสีสัสนั จี๊ดจาด
Recycledd Paper Pen Recycl
นาฬกาขอมือ ดีไซนนา รัก ทําจากเศษผ ากเศษผาสีสนั สดใส ใสได ทุกโอกาส หรือจะนํามาเปนของขวัญในโอกาสพิ โอก เศษ ๆ ก็ได ขนาดกําลังพอดี เหมาะกับขอมือ ขนาด 19.5 x 3 เซนติเมตร นํา้ หนัก 100 กรัม ราคา 499 บาท http://www.ecoshop.in.th
ปากการี ไ ซเคิ ล ทํ า จากกล อ งกระดาษเหลื อ ใช เป น ผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และยังชวยลดปริมาณ ขยะในสภาพแวดลอม ใชดี เขียนลื่น แข็งแรง นํ้าหนักเบา ไมแพปากกาทั่วไป ขนาด 1 x 14.01 เซนติเมตร ราคา 29 บาท http://www.ecoshop.in.th
48
Energy#52_p48-49_Pro3.indd 48
2/19/13 9:50 PM
05
06
กระเปาถือจากเศษกระดาษนิตยสาร
กระเปาสตางคพลาสติกกันนํ้า
กระเปาถือ ขนาด 17.5 x 6 x14.5 นิว้ ผลิตจากเศษกระดาษ นิตยสาร หรือเศษกระดาษหนังสือพิมพ จากเศษกระดาษสีสนั สวยงามแตดูไรคาเพราะกําลังจะกลายเปนขยะ แตดวยไอเดีย ในการออกแบบที่ดึงเอาขยะไรคาใหกลับมามีคาอีกครั้ง ทั้งยัง ชวยรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไปในตัว http://www.ecoshop.in.th
กระเปาสตางค Bijiness ทําจาก Tyvex กันนํ้า เหนียว ทนทาน นํ้าหนักเบา ใชไดนาน สามารถรีไซเคิลได 100% ใสการดและเงินไดอยางจุใจ โดยใชเทคนิคการพับ ไมมรี อยเย็บ รอยตอ หรือตะเข็บ ราคา 980 บาท http://www.ecoshop.in.th
07
08
นาฬกาพลังนํ้า
สมุดบันทึกกระสอบพลาสติก
นาฬกาพลังนํ้า เปนนาฬกามหัศจรรยที่ไมจําเปนตองใช ถานหรือแบตเตอรรใี่ นการใหพลังงาน นาฬกานํา้ เรือนนีแ้ สดง หนาจอแบบเข็ม ผลิตจากพลาสติกคุณภาพดี เปนนาฬกา พลังงานทางเลือกที่ใชนํ้าแทนแบตเตอรี่ ราคา 955 บาท http://www.ecoshop.in.th
สมุดบันทึก ขนาด 7.5 x 5.5 นิว้ ในสวนของหนาปกทําจาก กระสอบพลาสติกเหลือใช คุณภาพดี นํามาประดิษฐเปนหนา ปกสมุดบันทึกในสไตลเก ๆ ชวยลดปริมาณขยะและเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ราคา 250 บาท http://www.ecoshop.in.th
49
Energy#52_p48-49_Pro3.indd 49
2/19/13 9:50 PM
Greenovation วรรณวิภา ตนจาน
เอทีเอ็มยุคใหม สแกนเสนเลือด เบิกเงินสด
ปจจุบนั มีการนําเทคโนโลยีสแกนเนอรมาประยุกตใชสแกน หารู ป แบบของเส น เลื อ ดดํ า ใต ผิ ว หนั ง ฝ า มื อ แทนการใช บั ต ร เอทีเอ็ม ซึ่งเครื่องสแกนเสนเลือดดังกลาวติดตั้งใหใชกันแลวกับ ตูเอทีเอ็มรวม 80,000 จุดทั่วประเทศญี่ปุน รูปแบบเสนเลือดดํา ใตผิวหนังฝามือของเรานั้นเปรียบเหมือนอัตลักษณของแตละ บุคคล ไมสามารถลอกเลียนแบบได อยางไรก็ตามผูที่ใชฝามือ เบิกเงินแทนบัตรเอทีเอ็มแบบเดิมจะตองยินยอมใหธนาคารสแกน รูปแบบของเสนเลือดดําของตนเก็บไวในคลังขอมูลกอนเปนลําดับ แรก ถือเปนการมีสว นรวมในการรักษาสิ่งแวดลอมทางหนึ่งดวย การลดใชพลาสติก
อุปกรณชารจโทรศัพทมือถือ
ดวยพลังงานความรอน จากแกวกาแฟ
หลายคนอาจเคยผานตามาบาง สําหรับแนวคิด Thermoelectric หรือการนําความรอนมาชารจอุปกรณ ไฟฟา ลาสุดมีคนหัวใส นําแนวความคิดนี้มาผลิตเปนอุปกรณชารจโทรศัพทมือถือจาก แกวกาแฟ ชื่อวา “One Puck” ประกอบดวย ถาดรองแกวที่ สามารถสรางไฟฟาไดสงู สุด 1 แอมป โดยชารจผานพอรต USB ที่รองรับ เพียงแคนําแกวกาแฟรอน ๆ มาวางไวดานบนสีแดง ตอจากนั้นรอใหไฟที่ถาดติดแลวจึงเสียบสาย USB ตอเขากับ อุปกรณของคุณ
พัดลมไอนํ้าฝมือคนไทย
บริษัท มาสเตอรคูล อินเตอรเนชั่นแนล ผูผลิตพัดลมไอนํ้าฝมือคนไทย ไดใชเวลากวา 1 ป ในการศึกษาขอมูลและพัฒนาเทคโนโลยีพัดลมไอนํ้าตนแบบเปนของตัวเอง จนกระทั่งพบวาการจะ ทําใหพัดลมไอนํ้าสามารถพนละอองไอนํ้าขนาดเล็ก และใหประสิทธิภาพสูงในการทําความเย็นนั้น ตองอาศัยความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีอยางมาก ซึ่งพัดลมไอนํ้าที่วานี้สามารถตอบโจทยการใช งานไดอยางไรขดี จํากัด อีกทัง้ ชวยประหยัดพลังงาน และพัดลมไอนํา้ ดังกลาวยังเปนสิง่ จําเปนสําหรับ งานกลางแจงทดแทนเครื่องปรับอากาศไดเปนอยางดี
50
Energy#52_p50-51_Pro3.indd 50
2/27/13 3:49 PM
“คาบอแนกซ” นวัตกรรม วัสดุทดแทนไม
บริษัท วี.พี.วูด จํากัด ผูผลิตและพัฒนาไมผสมพลาสติก ภายใตชื่อ “คาบอแนกซ” (Cabonyx) เกิดแนวคิดที่จะผลิตวัสดุ ทดแทนไมจากพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม ซึ่งนอกจากจะไดผลิตภัณฑ ที่ มี ค วามทนทานต อ สภาวะแวดล อ มกลางแจ ง แล ว ยั ง ถื อ เป น ทางเลื อ กใหม ใ ห กั บ ผู บ ริ โ ภค และที่ สํ า คั ญ ยั ง ช ว ยแก ป ญ หา สิ่งแวดลอมโดยลดการใชไมจริง นําของเหลือใชอยาง “ขี้เลื่อย” มาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
ปลั๊กประหยัดเชื้อเพลิงรถยนต
KT Faster KT Faster นวัตกรรมลาสุดปลัก๊ ประหยัดพลังงานใชกบั ยานยนต ที่ใชแบตเตอรี่ 12-24 โวลท ประหยัดพลังงาน 10-15 % ชวยให รถยนตมีนํ้าหนักเบา เคลื่อนที่ไดสะดวกรวดเร็ว ขึ้นเขาลาดชันดวย อัตราเรงที่เต็มประสิทธิภาพ ใชไดดีกับยานยนตที่วิ่งทางราบหรือวิ่ง ทางระยะไกล พิสูจน ไดจากรถยนตออกตัวไมอึด เหมาะกับรถยนต ทุกรุน ใชไดกบั รถยนตทใี่ ชเชือ้ เพลิงเบนซิน กาซ และดีเซล รองรับทุก แรงมา ไมจํากัดซีซี ประหยัดพลังงานและประหยัดเงินในกระเปา
มือถือพลังแดด ไมงอ ไฟฟา ราคาถูก
บริษทั โวดาโฟน ผูใ หบริการเครือขายสือ่ สารไรสายทีใ่ หญ ที่สุดในโลกจากอังกฤษ และผูผลิตมือถือที่มีกลยุทธเจาะตลาด ประเทศกําลังพัฒนาดวยเครือ่ งราคาถูกแสนถูก ลาสุดเปดตัวมือ ถือพลังงานแสงอาทิตยเครือ่ งแรก ภายใตสโลแกน “สุขทีไ่ ดชว ย” หรือ แฮปปทูเฮลป ใชงานงาย ไมตองชารจไฟมือถือใหยุงยาก เพราะ VF 247 เปนมือถือที่ใชพลังงานแสงอาทิตย ภายในติดตั้ง ฮารดแวรและซอฟตแวรทเี่ รียกวา “ซันบูสต” ทําใหมอื ถือชารจไฟ ไดแมอยูในหองตอนกลางวัน โดยไมจําเปนตองนํามือถือออกไป รับแดดโดยตรง ใชเวลาชารจแบตเตอรี่นาน 8 ชั่วโมง และอยูได นานถึง 8 วัน คุยไดนาน 4 ชัว่ โมง สามารถเลนวิทยุในระบบเอฟเอ็ม มีไฟฉายในตัว
51
Energy#52_p50-51_Pro3.indd 51
2/27/13 3:46 PM
Energy Showcase
01
ดีไซนเก ความละเอียดสูง ภาพคมชัดเต็มพิกดั Apple MacBook Pro รูปลักษณภายนอกเปนแบบ Retina MacBook Pro 13 นิ้ว ไดรับการดีไซน ใหมใหมีขนาด เล็กลงกวาเดิม โดยมีความหนาเพียง 0.75 นิ้ว (ประมาณ 19.5 มิลลิเมตร) และมีนาํ้ หนักเพียง 3.57 ปอนด (ประมาณ 1.6 กิโลกรัม) ทั้งยังไดมีการปรับปรุงใหมีความละเอียดสูงถึง 4 ลานพิกเซล (Resolution: 2560 x 1600) ยังทําใหภาพที่ไดคมชัดมากขึ้น นอกจากนี้ เทคโนโลยี IPS (IPS Technology) ยังทําใหจอภาพ มีมุมมองภาพกวางขึ้นถึง 178 องศา และใชหนวยประมวลผล กราฟก (GPU) Intel HD Graphic 4000 ในสวนของ RAM นั้น ใช 8 GB RAM สวน Storage จะใชเปน Flash storage (SSD) โดยมีมาใหถึง 128 GB และ 256 GB และสามารถเพิ่มไดสูงสุด ถึง 768 GB ในสวนของแบตเตอรี่ใชงานไดยาวนานถึง 7 ชั่วโมง และ Stand by ไดยาวนานถึง 30 วัน ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.macthai.com
03
.........................................................................................................................................................................................................................................
วรรณวิภา ตนจาน
02
โนตบุคตระกูลใหม ใชงานระบบสัมผัส ทําจากอลูมิเนียม
ลาสุด Asus เปดตัวโนตบุคตระกูลใหม VivoBook รุน X202 ทีม่ าพรอมกับหนาจอขนาด 11.6 นิว้ รองรับการใชงานระบบ สัมผัส ตัวเครื่องทําจากอลูมิเนียม ความละเอียด 1366 X 768 พิกเซล พรอมดวย CPU Intel Core i3-3217U ความเร็ว 1.8 GHz แรม 4 GB การ ด จอ Intel GMA HD 4000 และฮาร ด ดิ ส ก 500 GB นอกจากนี้ ยั ง รองรั บ การใช ง าน WiFi, Bluetooth เวอรชั่น 4.0, WEbcam, Card Reader, USB เวอรชั่น 3.0, HDMI โดยมีแบตเตอรี่ 2 เซลล สามารถใช งานไดตอเนื่องถึง 5 ชั่วโมง สอบถามรายะเอียดเพิ่มเติมไดที่ ASUS Call Center โทร.0-2401-1717 หรือเขาไปที่ http://www.asus.co.th
04
.................................................................................................................................................................
จอไวด ไวดสกรีน ดีไซน ซนนบ างเฉียบ ความ ความจุเต็มพิกดั โนตบุค Lenovo Idea Pad U300s มาพรอมจอไวดสกรีน ขนาด 13.3 นิ้ว ความละเอียดสูงระดับ HD 16:9 หนวยความจํา แบบ DDR3 ขนาดความจุมากถึง 4 GB รวดเร็วทันใจไปอีกขั้น กับออฟชัน่ หนวยความจําแบบ SSD ทีส่ ามารถเพิม่ หนวยความจํา ไดมากถึง 256 GB ดีไซนบางเฉียบ แตสามารถใชงานไดตอเนื่อง ยาวนานถึง 8 ชั่วโมง และมากถึง 30 วัน เมื่อตั้งโหมด Stand by พรอมเทคโนโลยีชวยรนระยะเวลาการชารจแบตเตอรี่ Lenovo Rapid Charge ที่สามารถชารจแบตเตอรี่ไดรวดเร็ว จาก 0 ถึง 50% ภายในเวลาเพียง 30 นาที ทั้งยังรองรับการเชื่อมตอแบบ Bluetooth, Wi-Fi, USB 2.0 และ 3.0 รวมทั้งกลองเว็บแคม ทีค่ มชัดระดับ HD 720 p ความละเอียด 1.3 ลานพิกเซล นอกจากนี้ คียบอรดยังถูกออกแบบโดยคํานึงถึงระบบระบายความรอน รองรับการใชงานที่ยาวนานมากขึ้น พรอมใหความสะดวกสบาย ขณะใชงานบนตักหรือบนหมอน ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.notebookfocus.com /catalog_notebook/Lenovo
จอ LED ปองกันแสงสะทอน กะทัดรัด นํ้าหนักเบา
Samsung Notebook Series3 NP300E4X ขนาด 14.0 นิว้ (1366 x 768) หน ว ยความจํ า ระบบ DDR3 ขนาด 2 GB ที่ 1333 MHz (2 GB x 1) มาพรอมกับจอแสดงผล HD LED ปองกันแสงสะทอนแมอยูกลางแจง สามารถใชงานไดนานขึ้น โดยที่สายตาไมลา ดวยขอบแสดงผลโคงมนเพรียวบางพอ ๆ กับนิว้ มือ ขนาดเครือ่ งเล็กลงและนํา้ หนักเบาขึน้ งายตอการพกพา พรอมดวยเทคโนโลยีการชารจแบตเตอรีอ่ จั ฉริยะ ของ Samsung ที่ใชเทคโนโลยีตอตานความเสื่อมสภาพชวยใหแบตเตอรี่เก็บ รักษาประจุได 80% สําหรับการชารจไฟ 1,000 ครัง้ ยาวนานกวา 3 เทา เมือ่ เทียบกับแบตเตอรีท่ วั่ ไป โดยปกติแลวรองรับการชารจไฟ ไดเพียง 300 ครัง้ เทานัน้ เนือ่ งจากแบตเตอรีม่ คี ณ ุ สมบัตปิ ระหยัด พลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น ศูนยบริการลูกคาสัมพันธ โทร.0-2689-3232 โทรฟรี 1800-29-3232 http://www.samsung.com
52
Energy#52_p52,54_Pro3.indd 52
2/19/13 9:43 PM
Energy#29_p31_Pro3.ai
1
3/24/11
3:14 AM
ดีไซนคลาสสิค แข็งแรงทนทาน ใชวัสดุ คุณภาพเยี่ยม
Iphone 5 ดีไซนเรียบหรู แข็งแรงทนทาน ผลิตจากวัสดุคณ ุ ภาพดี กรอบดานหลังถูกออกแบบใหแตกตางจากรุนเดิมมากทีเดียว ดูคลาสสิค แมหนาจอจะมีขนาดใหญขนึ้ แตนาํ้ หนักเบาลง สะดวกตอ การพกพามากขึน้ กวาเดิม ในสวนของจอแสดงผลกวาง 4 นิว้ แบบ Retina Display Capacitive Touchscreen ความละเอียดอยูท ี่ 1136 x 960 พิกเซล หนวยประมวลผลภาพ (GPU) Power VR SGX 543MP3 ระบบปฏิบตั กิ าร iOS 6 สวน RAM ขนาด 1 GB กลองหนา 1.2 ลานพิกเซล กลองหลัง 8 ลานพิกเซล รองรับการถายวีดโี อแบบ Full HD 1080 p พืน้ ทีเ่ ก็บขอมูลในตัวเครือ่ ง 16 GB สูงสุดที่ 64 GB ภายใตเครือขาย 2G 3G และ 4G ทัง้ ยังรองรับการเชือ่ มตอ Wi-Fi, Bluetooth 4.0, GPS (A-GPS) มีใหเลือก 2 สี คือ สีดาํ Black & Slate และ สีขาว White & Silver ราคาศูนยเครื่องเปลาเริ่มตนที่ 24,550 บาท http://www.techmoblog.com
07
.........................................................................................................................................................................................................................................
05
06
Windows Phone 8 ขนาดกะทัดรัด สัมผัสหนาจอผานถุงมือได
Nokia Lumia 620 สมารทโฟน Windows Phone 8 ขนาด กะทัดรัด หนาจอ TFT - LCD 3.8 นิว้ ความละเอียด 800 x 480 พิกเซล รองรับการใชงาน Super Sensirive Touch สามารถสัมผัสหนาจอ ผานถุงมือได ขับเคลือ่ นดวยระบบ CPU Qualcomm Snapdragon S4 dual-core ความเร็ว 1GHz, RAM 512MB, ROM 8GB, รองรับ การดหนวยความจําภายนอก microSD สูงสุด 64 GB, รองรับ การเชือ่ มตอ 2G GSM 850/900/1800/1900MHz, 3G WCDMA 850/900/1900/2100MHz, Wi-Fi 802.11 a/b/g/n, Bluetooth 3.0, NFC, GPS (A-GPS+Glonass) แบตเตอรีค่ วามจุ 1300 mAh ดีไซนตวั เครือ่ งทรงแทง มุมขอบทัง้ 4 กวาง 61.1 มิลลิเมตร สูง 115.4 มิลลิเมตร หนา 11 มิลลิเมตร นํา้ หนัก 127 กรัม มี 5 สี ใหเลือก ไดแก ฟา เขียวมะนาว ชมพู เหลือง และขาว นอกจากนีย้ งั มีฝาหลังสีสนั สดใส ถอดเปลีย่ นไดตามใจชอบ ราคา 8,250 บาท http://www.siamphone.com
08
.................................................................................................................................................................
สมารทโฟนกึ่งแท็บเล็ต พรอมปากกอัจฉริยะ เสริมฟงกชั่นสรางสรรคเต็มรูปแบบ
Samsung Galaxy Note 2 สมารทโฟนกึ่งแท็บเล็ต หนาจอกวาง 5.5 นิว้ มาพรอมปากกาอัจฉริยะ S Pen มอบความ สะดวกดวยการใชงานปากกาบนหนาจอสัมผัส พรอมฟงกชั่ นที่ออกแบบมาเพื่อสรางสรรคจินตนาการและสามารถนําไปใช งานในชีวิตประจําวันไดอยางลงตัว ทํางานแบบ multi-tasking ที่ลื่นไหลตอเนื่อง เชน ฟงกชั่น Air View เรียกดูภาพในชุดโดย ไมตองเปดโฟลเดอรใด ๆ รับชมความบันเทิงอยางเต็มที่ดวย อัตราสวนหนาจอ 16 : 9 เทคโนโลยี HD Super AMOLED ชวยใหภาพชัดเจนขึน้ CPU ขุมพลัง dual-core 1.6 GHz, RAM 2 GB พื้นที่เก็บขอมูลในเครื่อง 16 GB รองรับหนวยความจํา ภายนอก microSD การดสูงสุด 64 GB กลองหลัง 8 ลานพิกเซล กลองหนา 1.9 ลานพิกเซล และแบตเตอรี่ความจุ 3100 mAh ราคา 22,900 บาท http://www.siamphone.com
ดีไซนเหลี่ยมลํ้าสมัย ขนาดใหญเหมาะมือ ตัวเครื่องทําจากโลหะ
SONY Xperia ion มาพรอมรูปทรงแทงดีไซนเหลี่ยม ตัวเครื่องขนาดใหญเหมาะมือ ดีไซนการออกแบบตัวเครื่องเนน วัสดุโลหะเปนหลัก มีนาํ้ หนักพอดี ไมเบาไมหนักเกินไป วัดขนาดตัว เครือ่ งสูง 133 มิลลิเมตร กวาง 68 มิลลิเมตร หนา 10.8 มิลลิเมตร (วัดความหนาจากกระจกดานหนาถึงบริเวณทีโ่ คงทีส่ ดุ ของฝาหลัง) นํา้ หนัก 144 กรัม สมารทโฟนแอนดรอยด 4.0 ICS มาพรอมหนา จอขนาดใหญ 4.55 นิว้ เทคโนโลยี Mobile BRAVIA ความละเอียด HD 720p, CPU dual-core 1.5 GHz, RAM 1 GB พืน้ ทีเ่ ก็บ ขอมูลในเครือ่ ง 16 GB รองรับ microSD สูงสุด 32 GB วัสดุ ประกอบเครือ่ งทําจากโลหะเสริมความทนทานแข็งแกรง กลองถายรูป 12 ลานพิกเซล เซ็นเซอร Exmor R ซูม 16 เทา ออโตโฟกัส พรอมไฟแฟลช กลองหนา 1.3 ลานพิกเซล ใหคณ ุ ไมพลาดช็อตเด็ด ภาพถายคมชัด พรอมเชือ่ มตอกับ HD TV ผานทางพอรต HDMI เพลิดเพลินไปกับระบบความบันเทิงเต็มรูปแบบจาก SONY ราคา 14,990 บาท http://www.siamphone.com/
54
Energy#52_p52,54_Pro3.indd 54
2/19/13 9:43 PM
R1_Energy#52_p55_Pro3.ai
1
2/28/13
4:47 PM
R1_Energy#52_p56_Pro3.ai
1
2/28/13
4:44 PM
R1_Energy#52_p57_Pro3.ai
1
2/28/13
4:45 PM
Energy#52_p58_Pro3.ai
1
2/23/13
2:33 AM
Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001 wonlop.r@gmail.com
เตรียมพรอม
รับการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน จากผูตรวจสอบฯ แลวหรือยัง ? (ตอนที่ 1)
ระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management Systems; EnMS) ตามขอกําหนดในกฎกระทรวงฯ ตามที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน หรือ พพ. ไดกําหนดใหโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ตอง ดําเนินการจัดการพลังงานอยางเปนระบบเพื่อใหเกิดการใช พลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด หรื อ ระบบการจั ด การ พลังงาน (Energy Management Systems; EnMS) ตามขอ กําหนดกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการ จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 ภายใต พ.ร.บ. การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.2535 (ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ.2550) ตามโครงสรางกฎหมายดังภาพ โดยตองมีการปฏิบตั อิ ยางเปนขัน้ ตอน รวมทัง้ มีการวางแผนการ ดําเนินการทีด่ แี ละเหมาะสมกับองคกร เพือ่ ใหบรรลุตามนโยบาย เปาหมายและแผนดําเนินการที่ไดกําหนดเอาไว การดําเนินการ แบงออกไดเปน 8 ขั้นตอน ดังภาพ ตอมา พพ. ยังไดเพิม่ เติมรายละเอียดในการดําเนินการบาง ขัน้ ตอน ไดแก ขัน้ ตอนที่ 4 , 5 , 6 , 7 และ 8 ในประกาศกระทรวง พลั ง งาน เรื่ อ งหลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารดํ า เนิ น การจั ด การ พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 เพื่อใหโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมสามารถดําเนินการใน รายละเอียดไดอยางถูกตอง 59
Energy#52_p59-61_Pro3.indd 59
2/23/13 1:24 AM
ตลอด 3 รอบระบบฯ (ป) ทีผ่ า นมา หลังกฎกระทรวงฯบังคับใช คือ ระบบฯ ประจําป 2553 สงรายงานการจัดการพลังงาน ภายใน มี.ค. 2554, ระบบฯ ประจําป 2554 สงรายงานการ จัดการพลังงานภายใน มี.ค. 2555 และ ระบบฯ ประจําป 2555 สงรายงานการจัดการพลังงานภายใน มี.ค. 2556 ผลการดําเนิน การทั้ง 8 ขั้นตอน โรงงานควบคุมและอาคารควบคุมครบจะ ตองนํามาจัดทําเปนรายงานฯประจําป เพื่อแสดงหลักฐานการ ดําเนินการจริงและใสขอมูลเพิ่มเติมตามรูปแบบที่ พพ. กําหนด ใหสมบูรณที่สุด กอนที่ประธานคณะทํางาน, ผูรับผิดชอบดาน พลังงาน และ ผูบริหารระดับสูงจะลงนามรับรองความถูกตอง รายงานฯ ฉบับดังกลาวจะถูกสงไปยัง พพ. ภายในเดือนมีนาคม เพือ่ ตรวจสอบและรับรอง พพ.จะดําเนินการตรวจสอบและรับรอง โดยจะมีเอกสารแจงสรุปผลการตรวจสอบและรับรองสงกลับไป ยังโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมตอไป เพือ่ ใหโรงงานควบคุม และอาคารควบคุมใชเ ปนขอ มู ล ในการปรับ ปรุง ระบบฯอยา ง ตอเนื่องตอไป ดังภาพ
ตอมาวันที่11พฤษภาคม 2555 กฎกระทรวง กํ า หนดคุ ณ สมบั ติ ข องผู ข อรั บ ใบอนุ ญ าต หลั ก เกณฑ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขการขอรั บ ใบอนุ ญ าตและการอนุ ญ าตตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. 2555 ไดถกู ประกาศใช และเริ่มมีผลบังคับใชไปเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 ทีผ่ า นมา ดวยวัตถุประสงค และเจตนารมยที่ดีของกฏกระทรวงฯฉบับนี้ จะ ทําใหเกิดระบบการจัดการพลังงานที่สมบูรณ มากขึ้น และเปน P-D-C-A Cycle มากขึ้น ความตื่ น ตั ว การเปลี่ ย นแปลง การปรั บ ตั ว และ การเตรียมพรอมในการดําเนินการระบบ การจัดการพลังงานที่ดีของโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม จากที่ผานๆ มา 3 รอบป ตอง เกิดขึ้นอยางแนนอน กฏกระทรวงฯ ฉบับนีแ้ ละประกาศกระทรวงฯ อีกหลายฉบับ ทีจ่ ะตามมา ทําใหเกิดกลุม บุคคลทีจ่ ะมาปฏิบตั หิ นาทีต่ รวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานประจําป กอนที่รายงานฯ จะถูกสงไป ยัง พพ. ภายในเดือนมีนาคมในปถดั ไป โดยเรียกกลุม บุคคลนีว้ า “ผูต รวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน” ซึง่ หากเปรียบเทียบ
กับมาตรฐานระบบจัดการตามมาตรฐานสากลอื่น ๆ เชน ISO 9001 ISO 50001 OHSAS 18001 เปนตน ผูตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานนี้จะเสมือนเป นหนวยงานบริการ รับรองระบบมาตรฐาน หรือ Certification Body (CB) นั่นเอง จากภาพ หากมองระบบการจัดการพลังงานเปน P-D-C-A Cycle แลว ก็เหมือนกับเปนขัน้ ตอนการตรวจสอบ (Checking) โดยบุ ค ลากรภายนอกองค ก ร โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ ดี ย วกั บ ขั้นตอนที่ 7 หรือ การตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายใน องคกร (Internal Audit) นั่นเอง (รายละเอียดไดกลาวไปแลว ในฉบับมกราคมและกุมภาพันธที่ผานมา) โดยเนนหนาที่ที่ตอง ดําเนินการ ดังนี้ • เพือ่ ตรวจรับรองและยืนยันใหแนชดั วา โรงงานควบคุม และอาคารควบคุมมีการดําเนินการจัดการพลังงานสอดคลอง ตามกฎกระทรวงฯ อยางถูกตองและครบถวน • เพื่ อ ให ค ณะทํ า งานด า นการจั ด การพลั ง งาน และ เจาของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม นําผลที่ไดจากการ ตรวจรั บ รองไปทํ า การทบทวนหาสาเหตุ วิ เ คราะห แ ละแก ไ ข ขอบกพรองทีเ่ กิดขึน้ (Non-conformity; NC) รวมถึงพิจารณา โอกาสในการปรับปรุง (Opportunity for improvement; OFI) เพื่อใหระบบการจัดการพลังงานมีความยั่งยืนและพัฒนา อยางตอเนื่องตอไป หากระบบการขึ้ น ทะเบี ย นผู ต รวจสอบและรั บ รองการ จัดการพลังงานของ พพ. สามารถดําเนินการไปไดอยางสมบูรณ คาดหมายวา ระบบการจัดการพลังงาน ประจําป 2556 ที่จะตอง สงรายงานการจัดการพลังงานภายใน มี.ค. 2557 โรงงาน ควบคุ ม และอาคารควบคุ ม ต อ งจั ด ให มี ก ารตรวจสอบและ รับรองระบบฯ โดยผูต รวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานทีไ่ ด รับอนุญาตจาก พพ. กอน โดยโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ที่ไดรับการรับรองแลว ถึงจะสามารถสงรายงานฯประจําปพรอม ตรวจสอบและรับรองระบบฯไปยัง พพ. ไดตอไป ดังภาพ
โดยสรุปแลว เพื่อใหเห็นภาพความแตกตาง ๆ ที่ชัดเจน ขึ้น รูปแบบการดําเนินการระบบการจัดการพลังงาน การสงรา ยงานฯประจําป รวมถึงการตรวจรับรองในรอบระบบฯทีผ่ า น ๆ มา ปจจุบันและในอนาคต พิจารณาไดดังตารางตอไป
60
Energy#52_p59-61_Pro3.indd 60
2/23/13 1:24 AM
ดวยพื้นที่อันจํากัด ฉบับนี้คงเนนใหผูอานมองภาพของ ระบบการจัดการพลังงานตามกฎกระทรวงฯ ในภาพอดีต ปจจุบนั และอนาคต กอนครับ เพื่อใหนําไปกระตุนเตือนถึงผูที่เกี่ยวของ ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม โดยเฉพาะอยางยิ่งโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุมที่ยังไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนด ไดดีนัก หรือ ยังไมสามารถดึงความมีสวนรวมจากหนวยงานที่ เกี่ยวของมาได ตองรีบปรับตัวไดแลวครับ ฉบับหนามาทําความรูจักผูตรวจสอบและรับรองการ จัดการพลังงานกันครับ
เอกสารอางอิง • พระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแกไขเพิม่ เติม ป พ.ศ. 2550) • กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธกี าร จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 • กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัตขิ องผูข อรับใบอนุญาต หลักเกณฑ วิธกี าร และเงือ่ นไขการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาต ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. 2555 • ประกาศกระทรวงพลังงานเรือ่ งหลักเกณฑและวิธกี ารดําเนิน การจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 • คูม อื ฝกอบรม “ผูต รวจประเมินการจัดการพลังงานภายใน องคกร” กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน 61
Energy#52_p59-61_Pro3.indd 61
2/23/13 1:24 AM
Asean Update เจริญรัตน วงศสุวรรณ
ในป 2514 กลุม นักกิจกรรมกลุม เล็ก็ ๆ จาก เมืองแวนคูเวอร ประเทศแคนาดา ได รั บ แรงบั น ดาลใจจากวิ สั ย ทั ศ น แ ห ง โลกสีเขียวและมีสันติสุข โดยไดแลนเรือหาปลาเกา ๆ ออกจาก แวนคูเวอร นักกิจกรรมเหลานี้เปนผูกอตั้งกรีนพีซ โดยมี ความเชื่อวาบุคคลไมกี่คนสามารถสรางความเปลี่ยนแปลงได ภารกิจของพวกเขา คือ “การเปนประจักษพยานในทีเ่ กิดเหตุ” ของการทดลองนิวเคลียรใตดนิ ทีเ่ กาะอัมชิตกา ซึง่ เปนเกาะเล็ก ๆ นอกชายฝงตะวันตกของรัฐอลาสกา ซึ่งเปนภูมิภาคที่เสี่ยงตอ แผนดินไหวมากที่สุดแหงหนึ่งในโลก “เกาะอัมชิตกา” เปนสถานที่หลบภัยของนากทะเลที่ใกล สูญพันธุกวา 3,000 ตัว และเปนบานของนกอินทรียหัวลาน เหยี่ยวตางถิ่น และสัตวปาอื่น ๆ มากมาย ถึงแมวาเรือเกา ๆ ของพวกเขา คือ “ฟลลิส คอรแมก” จะถูกขัดขวางกอนทีจ่ ะไปถึง อัมชิตกา แตการเดินทางครัง้ นีจ้ ดุ ประกายเล็ก ๆ ใหแกความสนใจ ของสาธารณชน
สหรัฐอเมริกายังคงจุดระเบิดนิวเคลียรอยางหนักหนวง แต ก ารทดลองนิ ว เคลี ย ร บ นเกาะอั ม ชิ ต กาได สิ้ น สุ ด ลงใน ป เ ดี ย วกั น ด ว ยบทบาทของกลุ ม กรี น พี ซ เกาะแห ง นั้ น ได ถู ก ประกาศให เ ป น สถานที่ ห ลบภั ย ของนกทั้ ง หลาย ป จ จุ บั น กรีนพีซเปนองคกรนานาชาติที่ใหความสําคัญกับการรณรงค เพื่อสิ่งแวดลอมเปนอันดับแรก กรีนพีซมีสํานักงานใหญอยูที่ กรุงอัมสเตอรดมั ประเทศเนเธอแลนด มีผสู นับสนุน 2.8 ลานคน ทั่วโลก และมีสํานักงานประจําประเทศและภูมิภาคใน 43 ประเทศ ความสําเร็จของกรีนพีซในการรณรงคดานสิ่งแวดลอมในโลก ตะวันตกเปนการปกปองโลกไดเพียงสวนเดียวเทานั้น ทุกวันนี้ ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดกลายเปนแหลงรองรับมลพิษ จากโลกตะวันตกที่สงผานมาในรูปของการถายทอดเทคโนโลยี ที่ถูกปฏิเสธในบานตน กรีนพีซไมอาจปลอยใหดินแดนที่มั่งคั่ง ดวยทรัพยากรธรรมชาติแหงนี้กาวตามความผิดพลาดดาน สิ่งแวดลอมที่เคยเกิดขึ้นมาแลวในอีกมุมหนึ่งของโลก
ดวยเหตุนี้ กรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใตจงึ ถือกําเนิดขึน้ มา เอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนภูมภิ าคทีส่ าํ คัญมากตออนาคตของโลก มรดกทางธรรมชาติอันอุดมสมบูรณของภูมิภาคนี้มีคาควร แก ก ารปกป อ งในตั ว ของมั น เองอยู แ ล ว อย า งไรก็ ต ามการ พัฒนาอุตสาหกรรมและการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ใน 30 ป ที่ผานมา ไดสงผลกระทบมหาศาลตอสิ่งแวดลอม 62
Energy#52_p62-63_Pro3.indd 62
2/15/13 9:36 PM
สมาคม “กรีนพีซ” แหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปดตัว รายงานสนับสนุนหักลางความคิดที่วา “เทคโนโลยีพลังงาน ทดแทนมี ร าคาแพงและไม คุ ม ค า ” ซึ่ ง ทางสมาคมพยายาม ที่จะหักลางความคิดดังกลาวออกไป และยังกลาวถึงประโยชน ของพลังงานทดแทนทีจ่ ะชวยลดตนทุนการผลิตไฟฟาไดมากขึน้ รวมทัง้ สรางการเจริญเติบโตของประเทศไดอยางรวดเร็วและมีความ เสีย่ งนอยกวา ทีส่ าํ คัญคือพลังงานทดแทนเปนพลังงานสะอาดที่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม นําไปสูก ารพึง่ พาพลังงานอยางยัง่ ยืนได
ผลกระทบดานสิง่ แวดลอมของภูมภิ าคนีย้ งั ขยายวงกวางออกไป ยังประเทศอื่น ๆ ดวย โดยสิ่งแวดลอมที่เสื่อมถอยรุนแรงเกิดขึ้น แลวทั่วทั้งภูมิภาค มลพิษและการผลาญทําลายทรัพยากรกําลัง ทับถมขึ้นเรื่อย ๆ นอกเหนือจากวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อไมนานมา นี้ เพราะบริษัทขามชาติและประเทศที่พัฒนาแลวตางมีเปาหมาย ที่ ภู มิ ภ าคนี้ ใ นการขยายการดํ า เนิ น งาน และเพิ่ ม เทคโนโลยี ที่ ทํ า ลายสิ่ งแวดลอ ม สิ่ งที่ทํ าใหปญหาหนักขึ้ น ไปอี ก ไดแ ก การขาดการตระหนั ก รู ข องชาวเอเชี ย เกี่ ย วกั บ การทํ า ลาย สิ่ ง แวดล อ ม และกลไกอั น อ อ นแอของระบอบประชาธิ ป ไตย ทีค่ วรตองเพิม่ เสริมกําลังใหกบั ชุมชนในการผลักดันการตัดสินใจ ของรัฐบาล กรีนพีซเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาและภัย คุกคามทีอ่ าจเกิดขึน้ ในพืน้ ทีเ่ หลานี้ ดังนัน้ เพือ่ ทีจ่ ะผนึกกําลังการ ตอสูขึ้นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงไดเพิ่มกิจกรรมตาง ๆ ขึ้น ซึ่งกรีนพีซมีบทบาทอยางเขมแข็งแลวในหลายประเทศ
“กรีนพีซ” ฟลปิ ปนส ตืน่ ตัวปลุกกระแสพลังงาน สีเขียวอยางตอเนื่อง
ประเทศฟลิปปนสเปนประเทศเพื่อนบานที่มีความเปนอยู ไมตางจากประเทศไทยมากนัก แตองคกรตาง ๆ ใหความสําคัญ กับการรณรงคดานพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง โดย เฉพาะพลั ง งานทดแทนที่ กํ า ลั ง เติ บ โตอย า งก า วกระโดดและ นาจับตามองอยางยิ่ง “เศรษฐกิจ” ยังคงยืนหยัดอยูไดดวยผลประโยชนจาก การลงทุนเกี่ยวกับพลังงานทดแทนขนาดใหญ ซึ่งไม จําเป น ตองพึ่งพาพลังงานเชื้อเพลิงจากฟอสซิลอีกตอไป เราสามารถ เปลี่ยนพลังงานสีเขียวใหเปนขุมทรัพยสีทองอันมหาศาลได เพราะพลังงานทดแทนสามารถสรางเงินและสรางงานไดในคราว เดียวกัน ในงานแถลงขาวที่เมืองเกซอนซิตี้ (Quezon City) เมืองทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ ตัง้ อยูบ นเกาะลูซอน ประเทศฟลปิ ปนส
“Von Hernandez” คณะกรรมการบริหารของ “กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต” กลาววา ที่ผานมาในแตละประเทศของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีศักยภาพในการผลิตกระแส ไฟฟาประมาณ 261,000 เมกะวัตต ซึ่งยังไมเพียงพอตอการ ลงทุน จึงทําใหนักลงทุนเคลื่อนยายทุนไปยังที่อื่น ๆ โดยเฉพาะ การลงทุนเกี่ยวกับเหมืองถานหิน การทําเหมืองไดสงผลกระทบ ตอสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดลอมอื่น ๆ กลุมรณรงคจาก กรีนพีซจะทําการผลักดันดวยการปลุกระดมชวยกันหันหลังใหกบั เหมืองถานหิน และหันมาใหความสําคัญกับพลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนใตพภิ พ หรือพลังงานทดแทนอืน่ ๆ แทน การ แถลงในครั้งนี้ แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา พลังงานทดแทนเปน ทางออกที่ยั่งยืนอยางแทจริง เพื่อความเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ยั่งยืนในประเทศฟลิปปนส การรวมมือในประชาคมอาเซียนสงผลดีในการตื่นตัว หลาย ๆ ดาน รวมทั้งดานพลังงานและสิ่งแวดลอม องคกร ตาง ๆ ไดเขามาสนับสนุนอยางจริงจังสรางความเขมแข็งใหแก ประเทศสมาชิก รวมมือกันพัฒนาไปสูพลังงานสีเขียวที่ยั่งยืน ในอนาคต 63
Energy#52_p62-63_Pro3.indd 63
2/15/13 9:36 PM
Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
ระบบการผลิตแกสชีวมวลอเนกประสงค
สําหรับเครื่องยนตเล็ก
โครงการพลังงานทางเลือก ยังเปนโครงการที่มีความ ตองการอยางตอเนื่องจากทุกภาคสวน โดยเฉพาะชุมชนที่อยู ในพืน้ ทีห่ า งไกล เพราะการเขาถึงของพลังงานยังไมสะดวกเทาที่ ควร รวมถึงการลงทุนของภาคสวนทีเ่ กีย่ วของก็ยงั ไมคมุ คาเทา ทีค่ วร ทางออกทีเ่ หมาะสมคือการใชสงิ่ ประดิษฐตน ทุนตํา่ นํามา ผลิตพลังงานเพื่อใชในชุมชนที่ไมใหญมากนัก มูลนิธิสถาบันพัฒนาพลังงานทดแทนแหงเอเชียแปซิฟก ไดเล็งเห็นถึงความขาดแคลนพลังงานที่มักเกิดขึ้นกับชุมชนที่ หางไกล และเพือ่ เปนการสงเสริมใหชมุ ชนมีโอกาสเขาถึงอุปกรณ ที่ ส ามารถเปลี่ ย นพลั ง งานชี ว มวลมาใช ป ระโยชน อ ย า งเต็ ม ประสิทธิภาพ ก็จะชวยใหทองถิ่นมีทางออกในการแกไขปญหา
พลังงานที่ใชในครัวเรือนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยไดคิดคน ระบบการผลิตแกสชีวมวลอเนกประสงคสําหรับเครื่องยนตเล็ก เพื่อรองรับความตองการใชพลังงานในพื้นที่หางไกล
หลักการผลิตแกสชีวมวลเอนกประสงค
การทํ า ให เ ชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวลได รั บ ความร อ นในสภาพ แวดลอมที่จํากัด โดยเติมออกซิเจนเพื่อผลิตแกสที่ติดไฟได (Combustible Gas) ความรอนที่ใชในการผลิตแกสเกิดขึ้นใน สวนของการเผาไหมวัสดุ หรือ Oxidation Zone จะมีอุณหภูมิ อยูร ะหวาง 700 C – 1,100 C โดยในสวนของ Reduction Zone จะอยูระหวาง 600 C - 900 C
64
Energy#52_p64-65_Pro3.indd 64
2/27/13 4:15 PM
กระบวนการดังกลาวทําใหเกิดแกสไดอยางไร
เมื่อเชื้อเพลิงเขาสู Drying zone จะเริ่มใหความรอน แกระบบ จากนั้นเชื้อเพลิงชีวมวลจะเริ่มเกิดปฏิกิริยาเผาไหมที่ Combustion zone ซึง่ ในโซนนีจ้ ะมีการเติมออกซิเจนใหแกระบบ โดยเติมอากาศเขาไป เมื่อเชื้อเพลิงชีวมวลเริ่มเกิดการเผาไหม แกสที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้นไปยังชั้น Pyrolysis Zone กอนที่จะวน กลับลงมาที่ Reduction zone โดยแกสจะไหลผานขีเ้ ถา กอนจะ ทําปฏิกิริยากลายเปนกาซคารบอนมอนอกไซด แลวไหลผานทอ ออกมาเปนแกสที่เราสามารถนําไปใชประโยชนตอได
50 ปตอจากนี้ไป พลังงานจากฟอสซิลจะหมดไปจากโลกใบนี้ จากผลพวงดังกลาวนี้เองทําใหตองมีการประดิษฐคิดคนตาง แสวงหาแหลงพลังงานทางเลือกใหม ๆ เพื่อใชทดแทนพลังงาน จากฟอสซิล หลายโครงการสามารถผลิตอุปกรณ เครื่องมือ ใน การแปรสภาพแหลงพลังงานจากวัสดุอนื่ ๆ ทีม่ อี ยูจ าํ นวนมากให เปนพลังงานทางเลือกทดแทนพลังงานฟอสซิลที่กําลังจะหมดไป ผลสําเร็จทีไ่ ดจากระบบการผลิตแกสชีวมวลอเนกประสงค สําหรับเครื่องยนตเล็กดวยเงินลงทุนเบื้องตน 25,000 บาท สามารถนําแกสชีวมวลเอนกประสงคมาใชกบั เครือ่ งยนตดเี ซล จะสามารถประหยัดนํา้ มันดีเซลไดถงึ 60% และจากการใชกงิ่ ไม ถาน ซังขาวโพด ชานออย จํานวน 15 กิโลกรัม จะสามารถ ผลิ ต แก ส ชี ว มวลเอนกประสงค ที่ ใ ช กั บ เครื่ อ งยนต ไ ด ถึ ง 7 ชั่วโมง
แกสชีวมวลที่ไดสามารถนํามาใชไดอยางไร
แกสชีวมวลอเนกประสงคที่ไดจะตองนํามาผานการบวน การทําความสะอาดกอนนําไปใชงาน โดยแบงตามประเภทที่เรา จะนําไปใชประโยชน ซึ่งขั้นตอนในการทําความสะอาดจะมาก หรือนอยขึ้นอยูกับวาตองใชในขอจํากัดเชนใด หากนําไปใชกับ เครือ่ งยนตกต็ อ งสะอาดมากหนอย หากไปใชกบั เตาเผาอุณหภูมิ สูงก็ไมจําเปนตองสะอาดมาก ปจจุบนั ปญหาเรือ่ งพลังงานกําลังเปนเรือ่ งทีท่ กุ ภาคสวนได รับผลกระทบโดยตรง เนื่องจากทุกคนลวนมีสวนในการบริโภค พลังงานทั้งสิ้น โดยเฉพาะพลังงานที่ไดจากซากฟอสซิลในรูป ของนํ้ามันดิบที่เรานําขึ้นมาใชกวาศตวรรษ และปจจุบันก็กําลัง ลดปริ ม าณลงมาก ท า ยที่ สุ ด ประมาณการกั น ว า อี ก ไม เ กิ น 65
Energy#52_p64-65_Pro3.indd 65
2/27/13 4:15 PM
Energy#52_p66_Pro3.ai
1
2/27/13
9:26 PM
Have To Know Bar Beer
รันอิน…รถใหม ใครๆ ก็ทาํ ได
อย า งที่ เ รา ๆ ท า น ๆ ทราบกั น ดี ว า ตั้ ง แต ป 2555 เปนตนมา จนถึงป 2556 ประเทศไทยมีรถยนตเพิ่มขึ้นจากเดิม อีกประมาณ 1.2 ลานคัน เปนผลมาจากนโยบายรถยนตคนั แรก และในจํานวนดังกลาวสวนใหญจะเปนผูที่เพิ่งซื้อรถคันแรก ทั้ง ๆ ที่ยังขับรถไมเปนและไมรูวิธีใชรถใหมมากนัก โดยเฉพาะ เรื่องการรันอินรถยนตหลังจากที่ออกจากโชวรูมใหม ๆ ป จ จุ บั น เรื่ อ งการรั น อิ น รถยนต มั ก ถู ก มองข า ม เพราะมีการบอกตอกันปากตอปากวา รถใหมยุคนี้ไมจําเปนตอง รันอินอีกตอไปแลว ความคิดดังกลาวจะถูกหรือผิดอยูที่ทาน เจ า ของรถเอง แต เ ชื่ อ เถอะว า การรั น อิ น ยั ง เป น สิ่ ง ที่ จํ า เป น เพราะหากสังเกตในคูมือรถใหมยังคงแนะนําใหทําการรันอินอยู แลวรถยนตที่เขาขายการรันอินมีคุณสมบัติอยางไร ? แนนอนวาตองเปนรถยนตใหมปายแดง เลขไมล ไมเกิน 1,000 กิโลเมตร เพราะการประกอบเครื่องยนตนั้นประกอบดวย ชิ้นสวนตาง ๆ มากมาย บางชิ้นอาจยังไมเขาที่เขาทาง ไมใชวา งานประกอบของโรงงานผลิตเครื่องยนตไมไดมาตรฐาน แตเปน ธรรมชาติ ข องการประกอบชิ้ น ส ว นต า งๆ รวมถึ ง ชิ้ น ส ว น ที่ ยั ง เ ป น เ ห ลี่ ย ม ค ม เ มื่ อ เ ร า รั น อิ น เ ค รื่ อ ง ย น ต ก็ จ ะ ทําใหชิ้นสวนตาง ๆ เขาที่เขาทางมากขึ้น รวมถึงเหลี่ยมคม ของชิ้ น ส ว นก็ จ ะโค ง มนจากการเคลื่ อ นไหวของกระบวนการ สั น ดาปของเครื่ อ งยนต จนชิ้ น ส ว นภายในเข า ที่ ต ามสเปค ของการออกแบบเครือ่ งยนต ซึง่ กระบวนการดังกลาวตองเปนไป แบบชา ๆ ไมเรงรีบ
ที นี้ ม าถึ ง วิ ธี ก ารรั น อิ น เครื่ อ งยนต ดี ก ว า ว า มี ข อ ควร ปฏิบัติอยางไร เริ่มที่การสตารทเครื่องยนตครั้งแรกหลังจาก จอดรถมาเกินกวา 6 ชั่วโมง อยาเหยียบคันเรงหลังเครื่องยนต ติด รอจนกวาไฟสัญญาณเตือนตาง ๆ ที่หนาปดจะดับหมด และ ควรรอสัก 10-15 วินาที กอนออกรถเพือ่ ใหแนใจวานํา้ มันหลอลืน่ ในเครือ่ งยนตทาํ งานเต็มที่ ขณะออกตัวอยาออกตัวแรงจนเกินไป ที่สําคัญอยาเพิ่งเปดแอรทันที ควรใหรถเคลื่อนตัวกอนสัก 2-3 นาที จึงเปดแอร หากมีความจําเป นตองขับรถยนต ใหมออกตางจังหวัด หรื อ เดิ น ทางไกลขณะขั บ ขี่ ไ ม ค วรใช ค วามเร็ ว แช ร อบเครื่ อ ง ติ ด ต อ กั น เกิ น 5 นาที ควรเปลี่ ย นใช ค วามเร็ ว รอบเครื่ อ ง ที่ ต า ง ๆ กั น แต อ ย า ลื ม ว า ไม ค วรให เ กิ น 4,000 รอบ ตอนาที หลังจากการเดินทางไกล กอนดับเครื่องควรปลอยให เครื่ อ งเดิ น เบาก อ นสั ก 10-15 วิ น าที จึ ง ค อ ยดั บ เครื่ อ ง หลี ก เลี่ ย งการเร ง เครื่ อ งก อ นดั บ เพราะจะทํ า ให นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ค า งที่ หั ว ลู ก กระบอกสู บ และชะล า งนํ้ า มั น หล อ ลื่ น บริเวณแหวนลูกสูบออกไป จนทําใหเกิดความเสียหายในระยะยาว หลีกเลีย่ งการเติมหัวเชือ้ หรือนํา้ มันอืน่ ๆ ลงในเครือ่ งยนต เพราะเครื่ อ งยนต ช ว งนี้ ยั ง ต อ งการให ชิ้ น ส ว นต า ง ๆ ไดเสียดสีเพื่อลบเหลี่ยมของชิ้นสวนภายในเพื่อการเขาที่ของ ชิ้นสวน การเติมหัวเชื้อหรือนํ้ามันที่ผิดจากโรงงานจะทําใหชิ้น สวนเสียหายได หมั่นเช็คระดับนํ้ามันเครื่องและนํ้าในหมอนํ้า ตามปกติ ก็เพียงพอตอการรันอินแลวครับ 67
Energy#52_p67_Pro3.indd 67
2/15/13 9:44 PM
Vehicle Concept Bar Beer
BMW Concept Active Tourer พลังขับเคลือ่ น Plug-In Hybrid คายใบพัดสีฟา “BMW” ถือเปนคายที่มีประวัติศาสตร ยาวนาน โดยเฉพาะเรื่ อ งของเทคโนโลยี จ นขึ้ น แท น ผู นํ า ในระดั บ โลก เทคโนโลยี ใ หม ๆ มั ก ถู ก ถ า ยทอดผ า นทาง รถยนตตนแบบ หรือ Concept Car ซึ่งรถตนแบบที่ถูกจับตา มองไมนอยของคายนี้คือ BMW Concept Active Tourer ที่ มีดีดวยระบบ Plug-In Hybrid BMW Concept Active Tourer ยานยนต ต น แบบล า สุ ด ที่ ไ ด รั บ การออกแบบตามปรั ช ญาที่ ล งตั ว และยังคงเอกลักษณของคายไวอยางชัดเจน หลักใหญก็เพื่อ โชวเรื่องของเทคโนโลยีรวมถึงการพัฒนาดานการออกแบบที่ หลากหลายในการตอบสนองความตองการดานการใชงานในชีวติ ประจําวัน โดยเนนความเปนรถยนตอเนกประสงค สงางาม และ ความหรูหรา เปดตัวครั้งแรกในงาน Paris Motor Show 2012 68
Energy#52_p68-69_Pro3.indd 68
2/19/13 9:34 PM
การออกแบบภายนอก เปนไปตามวัตถุประสงคของผู ออกแบบ เพือ่ ใหเปนรถยนตทตี่ อบสนองความตองการของชีวติ ประจําวัน รูปรางจึงเบนไปทางรถแบบ MPV (Multi-Purpose Vehicle) มากขึ้น แตเนนรูปแบบที่แตกตางดวยการออกแบบ รูปลักษณทรงลิ่มลูลม กระจังหนา และกันชนทรงสปอรต โดย ใชเสนสายที่พาดตอเนื่องถึงแนวหลังคาและ สปอยเลอรหลัง เพิ่มความโดดเดนดวยไฟหนาแบบ LED ตามสมัยนิยม พรอม เพิ่มความมั่งคงดวยฐานลอหนา-หลังกวาง 2,670 มม. และลอ อัลลอยขนาด 20 นิ้ว ดานการดีไซนภายในหองโดยสาร ยังคงความหรูหรา ลํ้ า สมั ย ตามแบบของ BMW ไว อ ย า งครบถ ว น ใช เ ส น สาย อั น เป น เอกลั ก ษณ บุ ด ว ยหนั ง แท ผสานเข า กั บ ลายไม แ ละ ตกแตงสีสม มาตรวัดของ Concept Active Tourer พรอม ระบบ Head-Up Display จุ ด เด น ของห อ งโดยสารจะอยู ที่ ร ะบบอิ น โฟเทนเมนท รู ป แบบใหม เบาะหลั ง แยกพั บ ได
ที่ ส ะดุ ด ตาเห็ น จะเป น การออกแบบหลั ง คากระจกแบบกว า ง พิ เ ศษพร อ มเทคโนโลยี Suspended Particle Device ที่สามารถรับแสงธรรมชาติจากภายนอกเขามาเพิ่มความสวาง ใหกับหองโดยสารไดไมนอย ใหความสวยงามไดทั้งเวลากลาง วันและกลางคืน สามารถปรับแสงความสวางไดตามตองการที่ เรียกวา Cool shade นอกจากนี้ยังมีการเสริมหนาจอแสดง ขอมูลทีจ่ าํ เปนของสถานะการขับขีแ่ ละอุปกรณตา ง ๆ ของรถยนต ที่ดานหนา รวมถึงดานหลังเพื่อเพิ่มความบันเทิงใหกับผูโดยสาร ตอนหลังอีกดวย
มาถึ ง ไฮไลท ข อง BMW Concept Active Tourer กั บ ขุ ม พลั ง แบบรู ป แบบ Plug-In Hybrid ประกอบด ว ย เครื่องยนตเบนซินเทอรโบคู 1.5 ลิตร ทํางานรวมกับมอเตอร ไฟฟาพรอมแบตเตอรี่ Li-ion ใหแรงมาสูงสุด 190 แรงมา และให แ รงบิ ด สู ง สุ ด 200 นิ ว ตั น -เมตร สามารถทํ า อั ต รา เร ง ได 0-100 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมงที่ 8 วิ น าที โดยโหมดขั บ เคลื่ อ นด ว ยระบบไฟฟ า อย า งเดี ย วสามารถวิ่ ง ได ร ะยะ ทางเฉลี่ ย 32 กิ โ ลเมตร และสามารถทํ า ความเร็ ว สู ง สุ ด ที่ 198 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง กั บ ตั ว เลขประหยั ด เชื้ อ เพลิ ง ที่ 2.5 ลิตร / 100 กิโลเมตร ถือเปนอีกหนึ่งรถตนแบบที่ไมธรรมดา ซึ่งกําหนดการ ที่ แ น น อนของการผลิ ต เพื่ อ จํ า หน า ยยั ง ไม ไ ด รั บ การยื น ยั น ที่ชัดเจน ใครที่เปนแฟนของคายใบพัดสีฟาคงตองอดใจรอกัน ไปกอนนะครับ 69
Energy#52_p68-69_Pro3.indd 69
2/19/13 9:34 PM
Energy Test Run นัษรุต เถื่อนทองคํา
“ชีวิตกลางแจง” วิถีชีวิตที่หลายคนหลงไหล เพราะถือ เปนการใชชีวิตเพื่อคนหาสิ่งใหมๆ ใหกับชีวิต เปรียบเสมือน การกาวออกจากกรอบของการใชชีวิตที่เรงรีบในเมือง ซึ่งการ ใชชีวิตรูปแบบนี้ตองมีการเตรียมพรอมทั้งเรื่องของอุปกรณ การดํารงคชีวิต สภาพจิตใจ และที่สําคัญยานพาหนะที่จะพา ไปสูฝนของการเดินทางตองสามารถตอบโจทย ไดอยางครบ ถวนในทุกอยางยางกาวของการผจญภัย Energy Test Run ฉบับนี้ของเอาใจผูที่ชื่นชอบชีวิตกลาง แจงกับ รถ SUV พันธุแท HYUNDAI TUCSON 2.0D 4WD CRDi ซึ่งถือเปนรถ SUV(Sport Utility Vehicle) คันหนึ่งที่ หนาตาดี โดยเฉพาะในตลาดกลุมเดียวกัน และตนสังกัดก็ได ใหคํานิยามกับรถรุนนี้วา The Sexy SUV หรือ Sexy Tucson นั้นเอง ที่สําคัญ Tucson ไมไดมีดีแคหนาตา แตเรื่องของ สมรรถนะก็ไมเปนสองรองใคร เรียกไดวา เกิดมาลุย…ตองใช ใหคุมกันเลยทีเดียว เริ่มกันที่รูปลักษณภายนอกเปนอันดับแรกกับการเดิน สํ า รวจรอบคั น ต อ งบอกว า หลงรั ก โดยเฉพาะเรื่ อ งของการ ออกแบบ เพราะการออกแบบของฮุนไดเจเนอเรชัน่ หลังๆ ประสบ ความสําเร็จดานการออกแบบเพือ่ สรางเอกลักษณใหกบั แบรนด ของตัวเองดวยแนวคิด Fluidic Sculpture Design ทีเ่ นนความ ลื่นไหลตอเนื่องของเสนสายบนตัวถัง ใหทั้งความสวยงามและ อากาศพลศาสตรที่ดี ดานหนาโดดเดนดวยกระจังหนาขนาดใหญทรง 6 เหลี่ยม โคมไฟหนาขนาดใหญเพรียวตา พรอมสปอตไลตทรงกึ่งตั้ง ดานขางใหเสนสายที่สอดรับถึงโปรงลอหลัง เสริมดวยชายลาง ของบานประตูที่เลนระดับ กระจกมองขางพรอมไฟเลี้ยว LED สวนชุดโคมไฟทายมาในรูปแบบพลิ้วไหวเชนเดียวกับชุดโคมไฟ หนาพรอมทับทิมสะทอนแสงขนาดใหญ ประตูบานที่ 5 ใหญโต สามารถเปดเพื่อใชสัมภาระไดอยางสบาย
ดวยความที่ถูกออกใหเปนรถ SUV มิติตัวถังจึงเนนความ คลองตัวที่ไมเล็กไมใหญจนเกินไปอยูที่ กวาง 1,820 มิลลิเมตร ยาว 4,410 มิลลิเมตร สูง 1,655 มิลลิเมตร ฐานลอขนาด 2,640 มิลลิเมตร พรอมลอแม็ก 5 กาน ขนาด 6.5 x 17 นิ้ว รัดดวยยาง ขนาด 225/60 R17 รวมนํ้าหนัก 1,700 กิโลกรัม กาวเขาสูหองโดยสาร ไดมีการเก็บรายละเอียดภายนอก มาสานตอมาสูภ ายในดวยการออกแบบทีเ่ นนไปทางเสนสายทีล่ งตัว เขากับการจัดวางสวิตชควบคุมระบบตางๆ ใชงานสะดวกภายใต โทนสีดาํ ตัดกับเบาะนัง่ สีนาํ้ ตาลแดง โดยรุน นีไ้ ดเพิม่ ความสะดวก สบายกุญแจแบบ immobilizer เมือ่ กุญแจอยูใ นรัศมีกส็ ามารถ กดปุม START ไดเลย รวมถึงการเปดประตูรถ
ขอมูลทางเทคนิค เครื่องยนตแบบ
4 สูบ ดีเซล คอมมอนเรลเทอรโบ แปรผัน CRDi ความจุ 1,995 ซีซี กําลังสูงสุด 177 แรงมา ที่ 4,000 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 39.94 กิโลกรัม-เมตร ที่ 1,800-2,500 รอบ/นาที พวงมาลัยแบบ แร็คแอนดพิเนียน พรอมระบบ เพาเวอรไฮโดรลิค ระบบเบรก หนา ดิสกเบรก พรอมคลีบ ระบายความรอน หลัง ดิสกเบรก ระบบกันสะเทือน หนา เม็คเฟอรสันสตรัท หลัง มัลติลิงค พรอมโชคอัพ ASD ความยาว x กวาง x สูง 4,410 x 1,820 x 1,655 มิลลิเมตร ขนาดลอ 17 x 6.5J พรอมยาง 225/60R17 ความจุนํ้ามัน 55 ลิตร 70
Energy#52_p70-72_Pro3.indd 70
2/27/13 4:07 PM
Hyundai Tucson CRDi 4WD
เกิดมาลุย…ตองใชใหคุม
71
Energy#52_p70-72_Pro3.indd 71
2/27/13 4:07 PM
สวนมาตรวัดเปนแบบทรงกลม 2 วง ตรงกลางมีจอแส ดงขอมูลการขับควบคุมดวยสวิตช Trip บนแผงคอนโซลฝง ขวา โดยใหแสงสีเปนโทนสีฟา ถัดมาเปนชุดสวิตชระบบตางๆ ประกอบดวยสวิตชระบบ EPS ควมคุมเสถียรภาพการขับขี่, สวิตชระบบ DBC-Downhill Brake Control ลดความเร็ว ขณะลงเขา, สวิตชระบบขับเคลื่อน 4 ลอ พรอมสวิตชปรับแสง สวางมาตรวัด ดานความบันเทิงของรถมาพรอมเครือ่ งเสียงแบบ Built-in ควบคุมเครือ่ งเสียงผานสวิตชทพ ี่ วงมาลัย ชองเชือ่ มตอ AUX และ USB สําหรับสมรรถนะของ TUCSON มีใหเลือกทั้งแบบเบนซิน และดีเซล ซึ่งรุนที่ทําการทดสอบเปนเครื่องยนตดีเซลคอมมอน เรลเทอรโบแปรผัน CRDi ขนาด 1,995 ซีซี ใหกําลังสูงสุด 177 แรงมา ที่ 4,000 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 39.94 กิโลกรัม-เมตร ที่ 1,800-2,500 รอบตอนาที สงกําลังดวยเกียรอตั โนมัติ 6 จังหวะ พรอมระบบขับเคลื่อน 4 ลอ จากสเปกของตัวรถและเครื่องยนตขางตน จึงมีความรูสึก วาอยากทดสอบแบบยาวๆ ไกลๆ สักหนอย วาแลวก็จัดแจงเก็บ กระเปาเตรียมเดินทางไกลกันเลย โดยตั้งเปาจุดหมายปลายทาง ที่จังหวัดเชียงใหม พรอมเพื่อนรวมทางเต็มทุกที่นั่งและสัมภาระ เต็มพื้นที่ การเดินทางชวงแรกระหวาง 100 – 300 กิโลเมตร แรก จะเปนเสนทางแบบ On road ตรงยาวตามเสนทางเลี่ยงเมือง ซึ่ง อารมณของการตอบสนองชวงนี้ให ความรูสึกมั่นคง อาจเปนเพราะตัว รถที่ใหญ ฐานลอที่กวาง บวกกับลอ ขนาด 17 นิ้ว ทําใหไมรูสึกเหนื่อยลา ต อ การขั บ ขี่ ต อ งยกความดี ค วาม ชอบใหกับเครื่องยนตที่ใหแรงบิดสูง ในรอบตํ่า ทําใหการขับใชงานทั่วไปมี
ความคลองตัว สามารถเพิม่ ความเร็วเพือ่ เรงแซงทีค่ วามเร็วระดับ ความเร็ว 100 กิโลเมตร + ไดอยางสบาย รวมถึงแปนคันเรงยัง เปนแบบมีจุดยึดที่พื้นรถ ทําใหการขับขี่ไมเมื่อยเทาจนความเร็ว ไหลไปแตะระดับ 160-180 กิโลเมตรตอชัง่ โมงหลายครัง้ แบบไมรู ตัว ซึ่งชวงตรงยาว TUCSON คันนี้สามารถทําความเร็วไปแตะที่ 200 กิโลเมตรตอชั่วโมงเลยทีเดียว ตอดวยเสนทางคดเคี้ยวตามภูมิประเทศของภาคเหนือ ชวงนีไ้ ดทาํ การทดสอบระบบขับเคลือ่ น 4 ลอ ซึง่ เปนแบบอัตโนมัติ เมื่อขับขี่แบบปกติจะขับเคลื่อน 2 ลอหนา และเมื่อระบบตรวจพบ วามีการลื่นไถลก็จะเขาสูโหมดขับเคลื่อน 4 ลอใหโดยอัตโนมัติ โดยใหความรูสึกหนักของพวงมาลัยเพิ่มมาเล็กนอย การตอบ สนองของระบบกันสะเทือนอิสระพรอมเหล็กกันโคลงทั้ง 4 ลอ ดานหนาแม็กเฟอรสันสตรัต ดานหลังมัลติลิงก ทําไดดีทั้งการ ควบคุมชวงทางโคงและขึ้นเขา ซึ่งในการขึ้นเขาไมจําเปนตองใช ความเร็วเพื่อสงขึ้นเขาแตอยางไร เพราะเครื่องยนตตอบสนอง ไดทันทวงทีและมีแรงบิดเหลือเฟออยูแลว ทําใหเปนรถที่ขับ สนุกทัง้ ทางลาดและชัน รวมถึงการลงทางลาดก็มโี อกาสทดสอบ ระบบ DBC ลดความเร็วขณะลงเขา รถตอบสนองดี โดยที่เรา ไมตองเหยียบเบรก เพราะรถจะชะลอสลับหยุดใหทันทีเมื่อทาง ลาดมากเกินไป ทีนเี้ รามาดูกนั ทีอ่ ตั ราสิน้ เปลืองของ TUCSON กันดีกวาวา เครือ่ งยนตดเี ซลขับเคลือ่ น 4 ลอขับสนุกคันนี้ สิน้ เปลืองขนาดไหน จากเสนทางทดสอบวิ่งยาวชวง 100 – 300 กิโลเมตร จอแสดง ผลโชวที่ 5.8 ลิตรตอ 100 กิโลเมตร หรือที่ประมาณ 17.2 กิโลเมตรตอลิตร ถือวาโอเคเลยทีเดียวกับราคานํ้ามันที่รัฐบาล ควบคุมไมใหเกินลิตรละ 30 บาท สวนการสิน้ เปลืองในเมืองคงไม ขอกลาวถึง เพราะมีปจ จัยหลายอยางเขามาเกีย่ วของ โดยเฉพาะ สภาพการจราจรที่ติดขัดอยางปจจุบัน HYUNDAI TUCSON ถือเปนทางเลือกทีแ่ ตตา งสําหรับ ผูชื่นชอบชีวิตกลางแจงที่ตองการพาหนะที่สามารถลุยไดบาง โอกาส และดูดมี สี ไตลเมืองขับขีใ่ นเมือง โดย ฮุนได มอเตอร (ไทย แลนด) ไดเคาะราคา TUCSON 2.0D 4WD CRDi ไวที่ 1,690,000 บาท ซึง่ อาจสูงกวารถประเภทเดียวกันในตลาด แตอยาลืมวารถ รุน นีเ้ ปนรถนําเขา ยอมมีความใชจา ยทีเ่ พิม่ ขึน้ มาอยางแนนอน แต เมือ่ เอาขอดีเรือ่ งของสมรรถนะและการสิน้ เปลืองเชือ้ เพลิงมาหัก ลางแลวละก็ บอกไดคาํ เดียวเลยวา “สูส”ี ครับ
72
Energy#52_p70-72_Pro3.indd 72
2/27/13 4:07 PM
Energy#52_p73_Pro3.ai
1
2/23/13
2:22 AM
Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
นอกจากนี้ ยังเกิดการรวมตัวกันเปนเครือขายในการสงตอ เผยแพรความรู การแลกเปลี่ยนขอมูลสินคามีกิจกรรมรณรงค รวมกัน และการจัดเสวนาพูดคุยกับผูผลิตที่เชิญมาบรรยาย หมุนเวียนไปในรานกรีนตาง ๆ ไมวาจะเปนการใหขอมูลการผลิต อาทิ ผลิตที่ไหน ผลิตโดยใคร ผลิตอยางไร และมีสวนประกอบ อะไรบาง ถึงแมวาในภาพรวมราคาของผลิตภัณฑสีเขียวจะแพง กวาผลิตภัณฑธรรมดา แตผบู ริโภคก็ยนิ ดีและเต็มใจทีจ่ ะจายเงิน เพื่อซื้อสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นี่ คื อ ปรากฏการณ ที่ เปน สั ญ ญาณเตือนใหฟ ากธุรกิจ ต อ งปรั บ ตั ว ในทุ ก ๆ กิ จ กรรมของกระบวนการโลจิ ส ติ ก ส และซัพพลายเชน เพื่อตอบสนองความตองการ ความพึงพอใจ และพฤติกรรมของผูบริโภคที่กําลังเปลี่ยนแปลงไป อยางไรก็ดี ปจจัยที่เปนตัวแปรสําคัญสําหรับผูประกอบ การ ผูผ ลิต หรือผูบ ริหารธุรกิจ ตองคํานึงถึงผูบ ริโภคหัวใจสีเขียว ดวย เพือ่ ใหการดําเนินธุรกิจประสบผลสําเร็จและเกิดความยัง่ ยืน ซึง่ การรักษาสิง่ แวดลอมตลอดเสนทางการจัดการโลจิสติกสและ ซัพพลายเชนเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของ ผูบริโภคใน 4 ประเด็น ดังนี้
ผูบ ริโภคสีเขียว (Green Consumer) ป จ จุ บั น ผู บ ริ โ ภคสายพั น ธุ ใ หม หั ว ใจสี เ ขี ย ว(Green Consumer) มุงแสวงหาและใหความสําคัญตอการเลือกซื้อ / ก า ร บ ริ โ ภ ค จ า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ แ ล ะ บ ริ ก า ร โ ด ย คํ า นึ ง ถึ ง ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ สิ่ ง แวดล อ มให น อ ยที่ สุ ด เช น สีที่ยอยสลายได โดยวิธีชีวภาพ (Biodegradable paint) สเปรยฉีดผมที่ไมผสมสาร CFC พฤติกรรมพกกระเปาหรือ ถุงผาจายตลาดของตนเอง รวมไปถึงพฤติกรรมการดําเนินชีวติ ภายในทีอ่ ยูอ าศัย เชน ปดกอกนํา้ ขณะแปรงฟน เปดเครือ่ งปรับ อากาศใหอยูใ นอุณหภูมทิ เี่ หมาะสม เปนตน
ประเด็นที่ 1 ดานประชากรศาสตร์ (Demographics) ไดแก เพศ อายุ รายได การศึกษา อาชีพ เปนตน จากการวิเคราะหพบวา เพศหญิ ง จะให ค วามสํ า คั ญ และความสนใจต อ การรั ก ษา สิง่ แวดลอมมากกวาเพศชาย ซึง่ จะอยูใ นชวงอายุระหวาง 25-35 ป สวนใหญสาํ เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ผูท มี่ กี ารศึกษาสูงมี แนวโนมทีจ่ ะสนใจและคํานึงถึงผลิตภัณฑทไี่ มทาํ ลายสิง่ แวดลอม และมีอาชีพพนักงานบริษัท ประเด็ น ที่ 2 แนวคิ ด ของตนเอง (Self Concept) เปนความรูสึกนึกคิดที่บุคคลมีตอตนเอง เปนระบบที่เกี่ยวของ กับกฎเกณฑของสังคม โดยมีแนวโนมที่จะเกี่ยวของกับซุปเปอร อีโก (Supper ego) ซึ่งมุงเนนและใหความสําคัญกับผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการแกไขปญหาภาวะโลกรอน ประเด็นที่ 3 ความรูของผูบริโภค (Knowledge) ความรู มีอิทธิพลตอกระบวนการตัดสินใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการ จัดโครงสรางของขอมูลที่ผูบริโภครวบรวมและใชขาวสารให เปนประโยชนในการตัดสินใจ ตลอดจนการประเมินคุณคาของ ผลผลิตของสินคาและการบริการ ไมวาจะเปนการศึกษาแหลง ที่มาของสินคา เกี่ยวกับขอมูลตนกําเนิดสินคา เพื่อชวยมองหา ที่มาของวัตถุดิบตาง ๆ ที่นํามาผลิตเปนสินคา เพื่อเปนตัวเลือก ในการพิจารณาถึงแหลงที่มาและระยะทางการขนสง ซึ่งเปน ขั้นตอนที่ทําใหเกิดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมา โดยการทําความรูจ กั กับฉลากรองรับทางสิง่ แวดลอม เชน ฉลาก เขียว ฉลากคารบอน เปนตน
74
Energy#52_p74-75_Pro3.indd 74
2/19/13 9:29 PM
ในการจะเลื อ กซื้ อ สิ น ค า ต า ง ๆ จะมองหาฉลากบน ผลิตภัณฑนั้น ๆ วา ฉลากแตละประเภททําการรับรองในเรื่องใด และมี ส ว นช ว ยลดการปล อ ยก า ซคาร บ อนไดออกไซด ม าก เทาใด นอกจากนี้ยังใหความสําคัญกับการบริโภคใหนอยลง ในการชวยธรรมชาติ การลดซือ้ ของใหม ๆ โดยการใชบริการเชายืม การนําสิ่งของเกามารียูส (Reuse) โดยเฉพาะในโลกออนไลน ที่มีบริการเชา-ยืมหรือขายสินคาหลากหลายชนิด โดยเฉพาะ ในตางประเทศมีบริการที่เรียกวา“การแชรสินคาในกลุมผูใชงาน ออนไลน” เชน เว็บไซต Neighborrow NeighborGoods และ Freecycle หรือบริการประเภทสิ่งบันเทิงอยาง Netflix และ BookMooch คาดวานาจะเกิดขึ้นในประเทศไทยในไมชา
ประเด็นที่ 4 คานิยมของผูบริโภค (Values) เปนความคิด ความเชื่ อ ที่ มี ผ ลอย า งยิ่ ง ต อ พฤติ ก รรม ทั ศ นคติ และการ ตัดสินใจของบุคคล โดยใชดุลยพินิจที่มีตอสถานการณตาง ๆ ซึ่งผูบริโภคเรียนรูจากประสบการณ ในอดีตที่จะเปนตัวเชื่อม ระหว า งความคิ ด และพฤติ ก รรม ป จ จุบั น พบว า ผู บ ริ โ ภคที่ มี ค า นิ ย มแบบอนุ รั ก ษ นิ ย ม (Collectivism) มีแ นวโน ม ที่ จ ะ เปนมิตรตอสภาพแวดลอมมากกวาผูบริโภคที่มีคานิยมเปน ปจเจกชน (Individualism)
จะเห็นไดวา แนวโนมของผูบ ริโภคสีเขียว (GreenConsumer) จะมี ลั ก ษณะการบริ โ ภคสี เ ขี ย ว (Green Consumption) เปนผูมีจิตสํานึกแหงสิ่งแวดลอม หรือเปนผูแสวงหาคุณคา ทางจิตใจ คํานึงถึงสังคม สิง่ แวดลอม รวมถึงการรักษโลกทีก่ าํ ลัง ดําเนินชีวิตอยู โดยยินดีที่จะจายเงินเพื่อซื้อสินคาหรือบริการ ที่ ไ ม ทํ า ลายสิ่ ง แวดล อ ม ดั ง นั้ น การดํ า เนิ น การทางธุ ร กิ จ ของผูประกอบธุรกิจหรือผูบริหารธุรกิจตองหันมาใสใจตัว ผูบริโภค ซึ่งเปนปลายทางของกิจกรรมการจัดการโลจิสติกส และซัพพลายเชน มิเชนนั้นหากคูแขงขันทางธุรกิจตอบสนอง ความตองการของผูบ ริโภคสายพันธุใหมไดดกี วา เมือ่ นัน้ ความ สําเร็จในการดําเนินธุรกิจจะเปนสิ่งที่ไกลเกินเอื้อม 75
Energy#52_p74-75_Pro3.indd 75
2/19/13 9:29 PM
Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
LPG ทรัพยากรมีคุณคา ธรรมชาติใหมา
LPG ยอมาจากภาษาอังกฤษวา Liquefied Petroleum Gas มีความเหมือนทีแ่ ตกตางกับ CNG Compressed Natural Gas ทั้งในดานคุณสมบัติและคุณคา LPG หรือ ปโตรเลียมเหลว คือ กาซบิวเทนผสมโพรเพน ซึง่ ไดมาจากกระบวนการกลัน่ จากนํา้ มันดิบ และการขุดเจาะจากแหลงกาซธรรมชาติ เชน ในอาวไทยของเรา เมือ่ LPG สัมผัสอากาศและอยูใ นสภาพกาซจะหนักกวาอากาศและ รวมตัวกันอยูที่พื้น หากมีประกายไฟหรือความรอนก็อาจระเบิด ได สวน CNG ที่รูจักกันทั่วไป คือ “กาซธรรมชาติเติมรถยนต”
ปรับราคา LPG
ความจําเปนเหนือเกมการเมือง
ศึ ก ราคา LPG สงครามทางแนวคิ ด ของคนไทย ยืดเยื้อมาถึงวันนี้วันที่รัฐไมกลาตัดสินใจอีกครั้งหนึ่ง โยนหิน ถามทางแลวเลือ่ นการปรับโครงสรางราคา LPG ภาคครัวเรือน ออกไปอีก นโยบาย LPG ผิดซํ้าซากบางครั้งราคาถูกกวา นํ้ามันเตา ภาคอุตสาหกรรมแหมาใชแทนนํ้ามันเตา ในอดีต เรามี LPG เพี ย งพอใช ใ นประเทศ แต วั น นี้ ต อ งนํ า เข า ใน ปริมาณที่มากกวาการผลิตไดในประเทศ และยังตั้งราคา LPG ภาคครัวเรือนตํา่ กวาราคาตลาด โดยนําภาษีของประชาชนทีใ่ ชรถ ใชถนนมาอุดหนุน จึงเกิดกองทัพมดลักลอบสงออก LPG หุงตม ไปยังประเทศเพื่อนบานในราคาที่รัฐอุดหนุนมาเปนเวลานาน ในฐานะผูใสใจพลังงานขอวิงวอนผูถ อื นโยบายวา “การอุม ราคา พลังงาน หมายถึง การทําลายสิ่งแวดลอมอยางเลือดเย็น” พลังงานจากฟอสซิลทุก ๆ หนวยแลกมาดวยการเพิ่ม Green House Gas และยังเปนการนําทรัพยากรของลูกหลานมาใช อยางขาดสํานึกรับผิดชอบ
หรือที่คุนหูคนไทยวา NGV ก็คือกาซมีเทนที่มีนํ้าหนักเบากวา อากาศซึ่งเราสามารถผลิตทดแทนไดจากกระบวนการที่คุนหู คื อ Biogas จากฟาร ม สุ ก รและนํ้ า เสี ย จากโรงงานแป ง มันสําปะหลัง
คุณคาเหนือราคา เมือ่ LPG ผานโรงแยกกาซจะไดผลผลิตมี ชือ่ เรียกตามภาษาวิชาการคือ C1 ถึง C5 และได Co2 หรือนํา้ แข็งแหง ทีเ่ ราใชอยูใ นภาคอุตสาหกรรมในปจจุบนั สวน LPG เสมือนสาวสวย อยูใน C3 และ C4 ไมเพียงใชเปนเชื้อเพลิงไดเหมือนพี่นอง ที่คลานตามกันมาแต ยั ง สามารถใช เ ป น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต เม็ดพลาสติกทีเ่ ปนสวนผสมตัง้ ตนในการผลิตสินคาเกือบทุกสิง่ ทุกอยางในชีวิตประจําวันของนักบริโภคนิยมทุกวันนี้ ตั้งแต ขวดนํ้าดื่มชนิ ดตาง ๆ ถัง กะละมัง ไปจนถึงเครื่องใชไฟฟา ชิน้ สวนรถยนต อุปกรณทางการแพทย ทีใ่ กลเขาไปอีกคือ โทรศัพท มือถือ คอมพิวเตอร แท็บเล็ต รวมทั้งเสนใยทอผาที่เราสวม ใสกันอยูทุกวันนี้ ฯลฯ 76
Energy#52_p76-77_Pro3.indd 76
2/19/13 9:56 PM
LPG ไปอยางไรจึงไดมาอยางนี้
วันนัน้ …วันทีไ่ ทยโชติชว งชัชวาล คนอายุ 50 ขึน้ ไป คงจําไดวา เมือ่ ป 2528 ไทยทุม ทุนสรางโรงแยกกาซขึน้ ครัง้ แรกที่ อ.มาบตาพุด จ.ระยอง เพื่อนํากาซไปใชเปนเชื้อเพลิงและปอนอุตสาหกรรม ปโตรเคมี แตเหมือนมือใหมหดั ขับอุตสาหกรรมปโตรเคมีเกิดขึน้ ไมทันเวลา ทําให LPG อันมีคาเกิดเหลือใช รัฐบาลสมัยนั้น จึงสงเสริมใหชาวบานหันมาใช LPG เปนแกสหุงตมแทนการใชฟน และถาน ปรากฏวาไดผลเกินคาด ปจจุบันชาวเขาซึ่งควรจะใชฟน ใชถา นยังบรรทุกถังกาซ LPG ขึน้ ไปใชจนไมอาจเปลีย่ นกลับมาสูว ถิ ี ชีวติ แบบดัง้ เดิมไดอกี แลว ผลพวงจากความโชติชว งชัชวาลในครัง้ นัน้ ทําใหเรามีปญ หาดานสิง่ แวดลอมทีย่ งั ตองเยียวยากันไปอีกนาน แสนนาน และเรายังนําทรัพยากรธรรมชาติของลูกหลานมาใชอยาง ไมทะนุถนอม LPG อาจเรียกวา “กาซมหาชน” ก็ได ถูกใชเปนเงือ่ นไข ทางการเมือง เหมือนสมัยกอนทีใ่ ชราคาไขไกตอ รองความอยูร อด ของรัฐบาล ทานทราบไหมวาใครใช LPG มากนอยเพียงใด จากโครงสรางราคาที่ผิดเพี้ยนอยูในปจจุบัน ภาคครัวเรือนใช 42% ภาคอุตสาหกรรมใชเปนความรอน 11% ภาคขนสง 14% และปโตรเคมีซึ่งควรจะใชมากที่สุดใชเพียง 33% เทานั้น (ขอมูล ป 2554) วันนี้เราใช LPG ปละสองลานกวาตัน ไดจากโรงแยก กาซของเราเอง 60% นําเขา 20% และผลพลอยไดจากการกลั่น นํา้ มันดิบเปนนํา้ มันเชือ้ เพลิงอีก 20% โดยประมาณ ซึง่ การนําเขา ราคาแพงลิบลิ่ว ราคาจําหนาย ณ โรงกลัน่ ทัง้ ภาคครัวเรือนและภาคขนสง อุตสาหกรรม คือ 10.2416 บาท/กก. เมือ่ บวกภาษี คาการตลาด และนําเงินเขากองทุนแลว ราคาจําหนายปลีกในกรุงเทพมหานคร เปนดังนี้ ราคา LPG ปจจุบัน ภาคครัวเรือน 18.13 บาท/กก. ภาคขนสง 23.99 บาท/กก. ภาคอุตสาหกรรมประมาณ 30 บาท/กก. สวนราคา LPG ของเพือ่ นบานจากขอมูลเมือ่ เดือนมิถนุ ายน 2555 นั้น นาสนใจมาก คือ ลาว 47.30 บาท/กก. กัมพูชา 40.50 บาท/กก. เวียดนาม 47.8 บาท/กก. พมา 34 บาท/กก. จี น 30 บาท/กก. และมาเลเซี ย 20 บาท/กก. ดั ง นั้ น การอุม ราคา LPG ในเมืองไทยอาจทําให LPG หลุดรอดไปยังประเทศ เพื่อนบานได
ราคาที่ควรเปนในปจจุบันนาจะเปนเทาไร ?
เนือ่ งจากตนทุนจริงในแตละแหลงไมเทากัน ปริมาณทัง้ 3 แหลง ที่ไดมาก็ไมเทากัน จึงตองนํามาเฉลี่ยและเกลี่ยอยางเปนธรรม เพราะหมดโปรฯ แลว ดังนั้นราคากาซหุงตมตอกิโลกรัมจึงควร อยูที่ 24 – 25 บาท ในฐานะผูใช LPG ตัง้ แตทาํ ครัวในบาน นัง่ แท็กซีท่ เี่ ติมกาซ LPG ใชรถยนตทเี่ ติมกาซ LPG และซือ้ กาซ LPG เพือ่ ใชในภาค อุตสาหกรรม ดวยราคานําเขาแพงลิบลิว่ หวังเปนอยางยิง่ วารัฐ จะมี ก ารปรั บ โครงสร า งราคา LPG ให เ หมาะสมทั้ ง ระบบ เพื่ อ ส ง เสริ ม การประหยั ด พลั ง งาน และเกิ ด การ ใช พ ลั ง งานทดแทน เป น การสร า งความมั่ น คงด า น พลั ง งานแทนความมั่ น คงด า นการเมื อ ง และยั ง ช ว ยกั น รักษาทรัพยากรธรรมชาติไว ใหมีใชนานที่สุด เพื่อมอบเปน มรดกในพินัยกรรมไวใหลูกหลาน 77
Energy#52_p76-77_Pro3.indd 77
2/19/13 9:56 PM
O Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ
หลักการของการยอยสลายของเสียแบบไมใช อากาศ
การผลิตกาซชีวภาพจากของเสียเปนวิธีการยอยสลาย สารอิ น ทรี ย ใ นสภาพที่ ไ ม มี อ ากาศหรื อ ไม มี อ อกซิ เ จน โดย มี ขั้ น ตอนการทํ า งานของแบคที เ รี ย กลุ ม สร า งกรดอิ น ทรี ย และแบคทีเรียกลุมสรางมีเทน (Methane-Forming Bacteria หรือ Methanogens) ซึ่งแบคทีเรียกลุมสรางมีเทนจะมีการนํา กรดอินทรียจากการยอยสลายของเสียไปใชเปนอาหารในการ ผลิตเปนกาซมีเทนและกาซคารบอนไดออกไซด
การพัฒนาการผลิตกาซชีวภาพ จากขยะมูลฝอยชุมชนโดยการหมักแบบแหง สืบเนื่องจากในชวงตนเดือนกุมภาพันธที่ผานมา ผูเขียน ได ไปเขารวมการสัมมนาเผยแพรองคความรูดานเทคโนโลยี ระบบการผลิตกาซชี วภาพจากขยะมู ลฝอยชุ มชนโดยการ หมั ก แบบแห ง ในฐานะหั ว หน า โครงการศึ ก ษาของสถาบั น วิจยั พลังงาน จุฬาฯ รวมกับ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ณ คันทรี เพลส คลอง 7 จังหวัดปทุมธานี โดยมีผูแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 200 คน เขารวมรับฟงการบรรยายในครัง้ นี้ จึงใครขอเผยแพรองคความรู และหลักการของการหมักขยะมูลฝอยแบบแหงสําหรับชุมชน ในบทความนี้ ซึง่ นาจะเปนประโยชนตอ ผูอ า นเพือ่ เปนแนวทางใน การนําไปใชประโยชนในดานการจัดการของเสียตอไป
ระบบหมักแบบแหงสําหรับการผลิตกาซชีวภาพ จากของเสียเปนอยางไร
ระบบหมั ก แบบแห ง สํ า หรั บ การผลิ ต ก า ซชี ว ภาพจาก ของเสีย ก็เปนระบบหนึ่งที่มีการพัฒนาขึ้นในทวีปยุโรป ซึ่งใช ในการผลิตกาซชีวภาพจากขยะมูลฝอยชุมชนเปนขยะแหง เชน เศษใบไม เศษอาหารที่มีนํ้าเจือปนนอย และเศษพลาสติกปะปน อยูนอยมาก สําหรับหลักการพื้นฐานในการหมักแบบแหงนี้ คือ ไมมีการเติมนํ้าเพิ่มเติม แตมีการเวียนนํ้าหมักที่ไดจากระบบ กลับไปยังถังหมัก เพือ่ ใหจุลนิ ทรียส ามารถสัมผัสกับอินทรียสาร ไดดีมากขึ้น
จากของเสียสูพ ลังงานโดยระบบผลิตกาซชีวภาพ
ระบบผลิตกาซชีวภาพจากขยะชุมชนนั้นมีความนาสนใจ ในการแปรรู ป ของเสี ย ให เ ป น พลั ง งาน ซึ่ ง สามารถนํ า มาใช ประโยชนในรูปของพลังงานความรอนหรือการเปลี่ยนรูปใหเปน พลังงานไฟฟาตอไป อยางไรก็ตาม ระบบผลิตกาซชีวภาพจาก ขยะชุมชนควรใชควบคูไ ปกับระบบคัดแยกประเภทขยะ เพือ่ นําขยะ ประเภทตาง ๆ ไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากจะลดปญหา ดานกลิน่ ของขยะ เพราะนํามาเขาระบบหมักแบบไรอากาศซึง่ เปน ระบบปดแลว ยังชวยลดขยะที่เหลือที่นําไปใชประโยชน ไมไดให ลดลง ซึง่ จะชวยยืดอายุการใชงานของหลุมฝงกลบขยะ และยังได กาซชีวภาพมาเปนพลังงานทดแทน อีกทั้งตะกอนที่หมักแลว นํามาเปนวัสดุปรับปรุงสภาพดินตอไป 78
Energy#52_p78-79_Pro3.indd 78
2/27/13 4:25 PM
ระบบหมักแบบแหงมีขนั้ ตอนการหมัก ดังตอไปนี้
• ขยะมูลฝอยชุมชนจะผานการคัดแยกและบดยอยขัน้ ตน ใหเหลือเฉพาะอินทรียสาร • อินทรียสารถูกปอนเขาสูเครื่องปฏิกรณหมักแหงที่มี การควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมในชวงเมโซฟลิก ( 35-45 Co ) • ทําการฉีดนํ้าที่มีหัวเชื้อจุลินทรียอาศัยอยูเขาสูดาน บนของอิ น ทรี ย สาร เพื่ อ ให เ กิ ด การหมั ก ซึ่ ง เป น ระบบหมั ก ขั้นตอนเดียว • นํ้าที่ซึมผานจะถูกวนกลับเขาสูเครื่องปฏิกรณดวยปม เวียนนํ้าและหัวเชื้อ • กาซชีวภาพทีเ่ หลือนําไปใชในการผลิตกระแสไฟฟาเพือ่ ขายคืนใหกับการไฟฟา • กากจากการหมักถูกนําไปใชเปนวัตถุดิบในการผลิต ปุยชีวภาพ สําหรับการเปรียบเทียบขอแตกตางระหวางการหมักแบบ แหงกับรูปแบบการหมักแบบเปยกที่ใชกันอยูทั่วไป ซึ่งตองมีการ เติมนํ้าใหกับขยะอินทรียกอนจะเขาระบบถังหมัก สามารถแสดง ไดดงั ตาราง รูปแบบ
การหมักแบบเปยก
การหมักแบบแหง
เปอรเซ็นตของแข็ง ปริมาตร
4-8% ปริมาตรขนาดใหญ เนื่องจากปริมาณนํ้ามาก
การเติมนํ้า
เติมนํ้าปริมาณมาก
22 - 40 % ปริมาตรเล็กกวามาก สําหรับขยะอินทรียที่ ปริมาตรเทากัน เติมนํ้านอยมาก
อัตราการเกิดกาซ
2 เทาของปริมาตรถังหมัก
6 เทาของปริมาตรถังหมัก
ความเปนพิษ (Toxicity) ปญหาไมรุนแรงเนื่องจากสารมี ความเจือจางสูง นํ้าไหลซึม (Leachate) อาจเปนปญหาเนื่องจาก ปริมาณนํ้าทิ้งปริมาณมาก ราคาแพง มีขนาดใหญ การดึงนํ้าออก (Dewatering)
มีปญหาจากเกลือ โลหะ หนัก และแอมโมเนีย ปริมาณของแข็งสูงกวา ทําใหเกิดนํา้ ทิง้ นอยกวามาก ราคาไมแพง ใช อุปกรณจัดการได
สวนในประเทศไทยไดมีงานวิจัยตาง ๆ ที่ใชกระบวนการ หมั ก แบบแห ง มาใช กั บ เศษอาหารจากตลาดหรื อ โรงอาหาร ซึ่งพบวาสามารถผลิตกาซชีวภาพได แตสําหรับขยะชุมชนนั้น ถึงจะมีสารอินทรีย (เศษอาหาร ผัก ผลไม) อยูมากก็จริง แตก็มี พวกเศษถุงพลาสติก กระดาษ รวมทั้งขยะอื่น ๆ เจือปนอยูมาก และอาจมีสารพิษที่ยับยั้งกระบวนการยอยสลาย
โครงการพัฒนาตนแบบถังหมักแหงสําหรับขยะ มูลฝอยชุมชน
โครงการพัฒนาตนแบบถังหมักแหงสําหรับขยะมูลฝอย ชุมชนนี้ไดดําเนินการติดตั้งเครื่องตนแบบที่ศูนยแปรรูปขยะ มูลฝอยชุมชน จังหวัดปราจีนบุรี สําหรับสัดสวนขององคประกอบ ขยะมูลฝอย พบวามีสัดสวนของปริมาณสารอินทรียมากที่สุด (38%) สําหรับในการศึกษานี้ไดใชขยะมูลฝอยชุมชนที่ผานระบบ การคัดแยกโดยเครื่องจักรและคนมาแลว นํามาเขาระบบถัง หมักแบบแหงในการทดสอบเครื่องตนแบบสําหรับการผลิตกาซ ชีวภาพ
รูปแสดงองคประกอบของขยะมูลฝอยชุมชน ที่ ศูนยแปรรูป ขยะมูลฝอยชุมชน จ.ปราจีนบุรี
ลักษณะของขยะอินทรียที่ผานระบบการคัดแยกแลว
ระบบตนแบบถังหมักแหงสําหรับขยะมูลฝอยชุมชนในรูปแบบ ตูคอนเทนเนอร ทั้ ง นี้ ท างโครงการได อ อกแบบระบบถั ง หมั ก แบบแห ง ขนาดความจุของถังหมัก 30 ลูกบาศกเมตร สามารถรับขยะ วั น ละ 600 กิ โ ลกรั ม ซึ่ ง มี ค า ของแข็ ง ทั้ ง หมด 101,637.5 มิ ล ลิ ก รั ม ต อ ลิ ต ร โดยปริ ม าณก า ซชี ว ภาพที่ ผ ลิ ต ได จ าก การหมักแบบแหงนี้อยูในชวง 50-55 ลูกบาศกเมตรตอวัน โดยมีสัดสวนกาซมีเทนอยูที่ 55-60% นอกจากนี้ยังไดนํ้าหมัก ชีวภาพที่สามารถนําไปใชเปนปุยทางการเกษตรตอไป 79
Energy#52_p78-79_Pro3.indd 79
2/28/13 3:46 PM
Saving Corner โดย คุณทนงศักดิ์ วัฒนา
เครือ่ งยนตตน กําลังไมงอ นํา้ มัน แหลงพลังงานแหงอนาคต
นับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน มนุษยพยายามคิดคนสิ่งอํานวย ความสะดวก และเครื่องทุนแรงเพื่อผอนแรงในการทํางานแทนมนุษย ซึ่ ง เครื่ อ งยนต เ ป น อุ ป กรณ อ ย า งหนึ่ ง ที่ มี ก ารพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ ง เพือ่ ใชในชีวติ ประจําวันจนถึงในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ นับตัง้ แตป 2312 มีการประดิษฐเครือ่ งยนตทขี่ บั เคลือ่ นดวยตัวเอง โดยใชพลังงานไอนํา้ จนถึงปจจุบันเปนเครื่องยนตสันดาปภายในใชเชื้อเพลิงจากฟอสซิล หรือ ใชเชื้อเพลิงจากนํ้ามันปโตรเลียม ดวยขอดีหลาย ๆ อยาง เครื่องยนต สันดาปภายในใชเชื้อเพลิงจากฟอสซิลไดถูกพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อให มีประสิทธิภาพสูงขึ้นและประหยัดพลังงานมากขึ้น แตอยางไรก็ตาม เชื้อเพลิงจากฟอสซิลเปนแหลงพลังงานที่ใชแลว หมดไป ดังนั้นการพัฒนาเครื่องยนต พลังงานทดแทน หรือแหลงพลังงาน ที่สามารถสรางใหมได จึงเปนสิ่งที่ทาทายนักพัฒนาทั่วโลก อีกทั้งกระแส โลกรอนยังเปนแรงกระตุนอีกอยางหนึ่งที่รุนแรงเพื่อลดการใชพลังงาน จากฟอสซิล เครื่องยนตพลังงานทดแทน จึงเปนแหลงตนกําลังพลังงาน ทางเลือกทีม่ คี วามสําคัญตอมนุษยในอนาคต ปจจุบนั มีการพัฒนาเครือ่ งยนต พลังงานทดแทนใหสามารถใชงานไดจริงในเชิงพาณิชยหลายรูปแบบดวยกัน เชน เครือ่ งยนตสเตอรลงิ ทีม่ คี วามหลากหลายในการเลือกใชแหลงพลังงาน เครื่องยนต พลังงานลมอั ด (ดังแสดงในรูปที่ 1) เครื่องยนต พลังงาน ไฮโดรเจน เครื่องยนตพลังงานแกสชีวมวล เปนตน
รูปที่ 1 แสดงตนกําลังที่เปนเครองยนตสันดาปภายใน
รูปที่ 2 แสดงตนกําลังที่เปนเครองยนตลมอัด
เครื่องยนตสเตอรลิง (Stirling Engine)
เครือ่ งยนตสเตอรลงิ ถูกสรางขึน้ มาครัง้ แรกเมือ่ ป 1816 โดย Robert Stirling เพื่อใชในโรงงานอุตสาหกรรม (ดังแสดงในรูปที่ 3) เครื่องยนต สเตอรลงิ เปนเครือ่ งยนตสนั ดาปภายนอกใชแกสเปนสารทํางาน เชน อากาศ ในอดีตเครื่องยนตสันดาปภายนอกไมไดรับความนิยมมากนัก เนื่องจาก มีประสิทธิภาพตํ่ากวาเครื่องยนตสันดาปภายในที่ใชนํ้ามันเปนเชื้อเพลิง แตเนื่องจากนํ้ามันกําลังจะหมดไปในอนาคต ประกอบกับกระแสโลกรอน นักวิจยั จึงมีความพยามยามทีจ่ ะพัฒนาเครือ่ งยนตสเตอรลงิ เพือ่ นํามาใชงาน
เปนตนกําลังในการขับเคลือ่ นสิง่ ตาง ๆ มากมาย เชน ขับเครือ่ งกําเนิดไฟฟา เพือ่ ผลิตไฟฟา หรือแมแตรถยนต จุดเดนทีส่ าํ คัญของเครือ่ งยนตสเตอรลงิ ทีเ่ ปนเครือ่ งยนตสนั ดาปภายนอก คือ มีความหลากหลายของแหลงเชือ้ เพลิง เชน ใชพลังงานแสดงอาทิตย (ดังแสดงในรูปที่ 4) พลังงานความรอน เหลือทิ้งในกระบวนการ หรือพลังงานความรอนจากเชื้อเพลิงชีวมวล
รูปที่ 3 เครองยนตสเตอรลิง ของ Robert Stirling
รูปที่ 4 เครองยนตสเตอรลิง พลังงานแสงอาทิตย ในสเปน
รูจักเครื่องยนตสเตอรลิง…
1. สวนประกอบของเครื่องยนตสเตอรลิง ประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวนหลัก ๆ คือ
รูปที่ 5 แสดงสวนประกอบของเครองยนตสเตอรลิง สวนแรก คือ ลูกสูบไล (Displacer Piston) ทําหนาทีใ่ นการไลอากาศรอน ใหเคลือ่ นทีร่ ะหวางดานรอนและดานเย็น สวนทีส่ อง คือ ลูกสูบกําลัง (Power Piston) เปนลูกสูบทีก่ อ ใหเกิดกําลังกับเครือ่ งยนต ซึง่ จะมีขนาดเล็กกวาลูกสูบ ไล สวนทีส่ าม คือ รีเจนเนอเรเตอร (Regenerator) เปนอุปกรณทสี่ าํ คัญ ของเครือ่ งยนตสเตอรลงิ อีกชิน้ หนึง่ คือ จะมีผลตอประสิทธิภาพทางความ รอนของเครือ่ งยนต และ สวนสุดทาย คือ เพลาขอเหวีย่ ง (Crank) สวนรับ แรงจากลูกสูบเพือ่ นําไปใชงาน 2. ลักษณะรูปรางของเครือ่ งยนตสเตอรลงิ ทีใ่ ชในปจจุบนั เครือ่ งยนต สเตอรลิงสามารถแบงไดเปน 3 รูปแบบ คือ แบบ แอลฟา( Alpha) เบตา (Beta) และแกรมมา (gramma) (ดังแสดงในรูปที่ 6,7,8) ซึง่ แตละรูปแบบจะมีสว นประกอบหลักเหมือนกันทัง้ หมด แตรปู รางจะ แตกตางกันไป เครื่องยนตแบบแอลฟา จะมี 2 ลูกสูบ และ 2 กระบอกสูบ มีรีเจนเนอเรเตอรอยูระหวางกลาง กระบอกสูบเชื่อมตอกันทางดานบน แบบอนุกรม แต แบบเบตา จะมีหนึ่งกระบอกสูบ ลูกสูบกําลัง และลูกสูบไล เคลือ่ นทีข่ นึ้ ลงภายในกระบอกสูบ และ แบบแกรมมา จะคลายกับแบบแอลฟา แตการเชือ่ มตอจะเชือ่ มทางดานลางของกระบอกสูบ (ดังแสดงในรูปที่ 8)
80
Energy#52_p80-81_Pro3.indd 80
2/19/13 10:01 PM
รูปที่ 6 แบบแอลฟา
รูปที่ 7 แบบเบตา
รูปที่ 8 แบบแกรมมา
3. รูปแบบการประยุกตใชงานในปจจุบนั มีการประยุกตใชงานเครือ่ งยนต สเตอรลิงในหลายรูปแบบและหลายแหลงพลังงาน เชน การใชเครื่องยนต สเตอรลิงตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อผลิตไฟฟา ซึ่งมีหลายรูปแบบของ แหลงพลังงานความรอนทั้งใชพลังงานแสงอาทิตยจากการรวมแสงของ จานพาราโบลา (ดังแสดงในรูปที่ 9) การใชแหลงพลังงานชีวมวลเปนแหลง ความรอนจายใหเครื่องยนตสเตอรลิง (ดังแสดงในรูปที่ 10 และ 11) หรือใช ในการระบายความรอนในอุปกรณอิเล็กทรอนิกส (ดังแสดงในรูปที่ 12,13) และยังมีการพัฒนาใหเครื่องยนตสเตอรลิงมีขนาดเล็กเพื่อผลิตไฟฟาและ ความรอนจายในบาน (ดังแสดงในรูปที่ 14)
รูปที่ 9 เครองยนตสเตอรลิง ผลิตไฟฟาจากแสงแดด
รูปที่ 10 เครองยนตสเตอรลิง ผลิตไฟฟาเชื้อเพลิงชีวมวล
รูปที่ 11 เครองยนตสเตอรลิง รูปที่ 12 สเตอรลงิ เพอระบายความรอน ผลิตไฟฟาเชื้อเพลิงชีวมวล ในอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส
รูปที่ 15 แสดงอุปกรณนิวเมติกที่ ใชกับลมอัด การผลิตลมอัดและอุปกรณในระบบผลิตลมอัด โดยปกติระบบลม อัดจะประกอบดวยสวนตาง ๆ (ดังแสดงในรูปที่ 16) ระบบประกอบดวย เครื่องอัดลม (Air compressor) ทําหนาที่อัดอากาศใหมีความดันสูงขึ้น เครือ่ งระบายความรอน (After Cooler) หลอเย็นอากาศอัดใหเย็นลง เครือ่ งกรอง และลดความชื้น (Air Filter and moisture separator) และ ถังเก็บลม (Air receiver) เปนอุปกรณในการเก็บลมอัดจากเครือ่ งอัดลม และจายลม ที่มีความดันคงที่ไปยังอุปกรณที่ใชลมอัด
รูปที่ 16 แสดงสวนประกอบหลักของระบบผลิตลมอัด นอกจากลมอัดจะใชกับอุปกรณนิวเมติกแลว มนุษยยังพยายาม นําลมอัดมาใชในเครื่องยนตเพื่อเปนตนกําลังในการลากจูงหรือขับเคลื่อน เครื่องจักรโดยเฉพาะในยานยนต มีผูพยายามพัฒนาเครื่องยนตลมอัดมา ตั้งแตป 1870 แตที่ประสบความสําเร็จและสามารถนําไปใชในเชิงพาณิชน คือ Guy Negre ชาวฝรั่งเศส ปจจุบันรถยนตพลังงานลมอัดถูกพัฒนาให สามารถทําความเร็วไดถึง 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง สามารถวิ่งไดไกล 200 กิโลเมตรตอการอัดลมหนึง่ ครัง้ ลมอัดจะถูกเก็บไวในถังทีม่ คี วามแข็งแรงสูง ปลอดภัยจากการระเบิด ความดันภายในถังประมาณ 300 บาร ถังทําจาก เสนใยคารบอน (Carbon Fiber) เครื่องยนตพลังงานลมอัดของบริษัท MDI โดยคุณ Guy Negre มีขนาดเล็ก เสียงเครือ่ งยนตเบามาก การทํางานของเครือ่ งยนตควบคุมการ ทํางานดวยระบบคอมพิวเตอร (ดังแสดงในรูปที่ 7)
รูปที่ 17 เครองยนตพลังงานลมอัดของบริษัท MDI รูปที่ 13 สเตอรลิงเพอระบายความรอน ในอุปกรณอิเล็กทรอนิกส
รูปที่ 14 เครองผลิตไฟฟา และความรอนรวมกัน
เครื่องยนตพลังงานลมอัด (Air Compressed Engine)
พลังงานลมอัดเปนรูปแบบพลังงานหนึ่งที่มนุษย ไดพยายามพัฒนา เพื่อใชประโยชน ปจจุบันพลังงานลมอัดที่มีการใชประโยชนอยางจริงจังเปน รูปแบบของอุปกรณนิวเมติกในโรงงานอุตสาหกรรม (ดังแสดงในรูปที่ 15)
นอกจากนี้ยังมีเครื่องยนตพลังงานทางเลือกอีกหลายชนิด เชน เครือ่ งยนตพลังงานแกสชีวภาพ หรือเครือ่ งยนตพลังงานนํา้ หรือพลังงาน ไฮโดรเจน หรือแมแตเครื่องยนตพลังงานไอนํ้า เครื่องยนตเหลานี้ไดถูก พัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อลดการใชพลังงานจากพลังงานฟอสซิล ซึ่งนับ วันมีแตจะลดปริมาณลงอยางตอเนื่องและคงหมดไปในอนาคต ปจจุบัน ยานยนตถือไดวาเปนปจจัยที่ 5 ในการดํารงชีวิตของมนุษย การพัฒนา เครื่องยนตดังกลาวให ใชงานไดจริง จึงเปนเรื่องที่ทาทายมากในวงการ ยานยนตทั่วโลก 81
Energy#52_p80-81_Pro3.indd 81
2/19/13 10:01 PM
Energy#39_p92_Pro3.indd 60
1/26/12 12:58 AM
Around The World เดชรัช นุชพุม
Europe
Europe
นักออกแบบจากตุรกีสรางที่ชารจพลังงานแสง อาทิตยสําหรับรถยนต ไฟฟา
นั ก ออกแบบจากประเทศตุ ร กี คิ ด ไอเดี ย สร า งที่ ช าร จ พลังงานแสงอาทิตยสําหรับรถยนต ไฟฟาที่มีหลังคากันแดด สามารถใชเปนที่จอดรถที่สามารถปกปองรถยนตจากสภาพ อากาศตาง ๆ ไดในขณะที่ชารจพลังงาน อุปกรณดังกลาวมีชื่อวา “V-Tent” ผูใชบริการสามารถ กําหนดเวลาในการชารจได อํานวยความสะดวกในการชําระเงิน คาบริการในการชารจพลังงานดวยบัตรเครดิต วัสดุที่นํามาใชในการสรางหลังคาทํามาจากสิ่งทอซอนกัน หลายชัน้ รวมกับแผงพลังงานแสงอาทิตยแบบยืดหยุน ชัน้ ในสุด ของสิ่งทอจะมีวัสดุสะทอนแสงและชั้นกลางจะมีทอระบายความ รอนขนาดเล็กเพื่อปองกันไมใหวัสดุรอนเกินไป นอกจากนี้พลังงานที่สรางจากเครื่องชารจพลังงานแสง อาทิตยอเนกประสงคดังกลาว ยังสามารถผลิตกระแสไฟฟา สําหรับใชภายในเมืองไดอีกดวย “V-Tent” เป น ตั ว อย า งไอเดี ย ที่ ส ร า งสรรค เ หมาะกั บ สถานการณของโลกปจจุบนั อยางมาก อุปกรณดงั กลาวเปนทาง เลือกทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม สรางพลังงานไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตย และมีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครันในตัวมันเอง หากมีการนํามาใชอยางแพรหลายจะชวยแกปญหาตาง ๆ ของ สิ่งแวดลอมและพลังงานไดอยางมาก
Europe
ผูป ระกอบการเมืองผูด คี ดิ คนอุปกรณเปลีย่ นนํา้ มัน ปรุงอาหารเปนพลังงานเชือ้ เพลิงใชภายในบาน
สิ่งหนึ่งที่เปนปญหากับสิ่งแวดลอมก็คือการกําจัดคราบ นํ้ามันที่เหลือจากการปรุงอาหาร ซึ่งคนสวนใหญมักทิ้งลงในทอ ระบายนํ้า เมื่อสะสมนานวันเขาก็จะทําใหทอระบายนํ้าอุดตันได ทางเลือกที่ดีที่สุดสําหรับกรณีนี้ก็คือ การรีไซเคิลคราบนํ้ามัน เหลานี้นั่นเอง ดวยเหตุนี้ผูประกอบการจากประเทศอังกฤษ จึงไดคิดคน เครื่องปฏิกรณสารเคมีอยางงายที่จะชวยเปลี่ยนคราบนํ้ามัน จากการปรุงอาหารใหเปนพลังงานเชื้อเพลิงที่สามารถใชงาน ภายในบานได เครือ่ งดังกลาวมีความจุ 20 ลิตร เมือ่ ตองการใชงานก็ใหใส นํ้ามันพืชที่เหลือจากการปรุงอาหารลงไปในเครื่อง หลังจากนั้น อุปกรณดงั กลาวจะเขาสูก ระบวนการทํางานโดยใชเวลาประมาณ 12-24 ชัว่ โมง ในการดําเนินการเปลีย่ นแปลงคราบนํา้ มันดังกลาว ใหกลายเปนนํ้ามันไบโอดีเซล แตนํ้ามันไบโอดีเซลดิบที่ไดจะตอง ผานการลางทําความสะอาดสารปนเปอ นตาง ๆ กอนจึงจะนํามาใช ประโยชน ได อุปกรณดังกลาวออกวางจําหนายแลวในราคา 415 ยูโร หรือประมาณ 655 เหรียญสหรัฐ
บริษัทผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกสแดนนํ้าหอมสรางเครื่องชารจไฟฟา พลังงานจลน
บริ ษั ท ผลิ ต อุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส จ ากประเทศฝรั่ ง เศส สร า งเครื่ อ งชาร จ ไฟฟ า พลังงานจลน “The Voltmakers”ที่สะดวกในการพกพาไปในสถานที่ตาง ๆ สงผลใหผูใช โทรศัพทมือถือไมตองกังวลกับปญหาแบตเตอรี่หมดอีกตอไป เมื่อถึงเวลาจําเปนที่ตองใชงานโทรศัพทมือถือในการติดตอสื่อสาร หรือใชแสงไฟจาก โทรศัพทในการสองนําทาง หรือใชงานโดยเปดสัญญาณ GPS สําหรับคนหาตําแหนงที่อยูหาก เกิดหลงทาง แตกลับพบวาแบตเตอรี่ออนไมพอใชงาน เสียทั้งความรูสึกแถมยังตองคิดหาวิธี การแกไขปญหาทางอื่นตอไป ตอนนี้ปญหาดังกลาวจะหมดไป ดวยเครื่องชารจไฟฟาพลังงานจลน “The Voltmakers” นวัตกรรม ที่ชารจไฟฟาพลังงานจลน ซึ่งไดแนวคิดในการออกแบบมาจากระบบทํางานของพัดลมหรือวงลอทั่วไป ที่ชารจไฟฟาพลังงานจลนนี้เหมาะสําหรับผูที่ชื่นชอบการเดินทางทองเที่ยว หรือผูที่มีความจําเปนตองเดินทางไปในสถานที่ตาง ๆ ดวยขนาดที่กะทัดรัด สามารถเก็บใสกระเปาเดินทาง กระเปาถือ หรือแมแตกระเปาเสื้อแจ็คเก็ตได เมื่อตองการใชงานเพียงแคดึงตัว แกนแลวหมุนเปนวงกลม เพียงแคนี้ก็สามารถสรางกระแสไฟฟาพลังงานจลนสําหรับชารจโทรศัพทมือถือไดอยางงายดาย 83
R1_Energy#52_p83-85_Pro3.indd 83
2/28/13 4:09 PM
Africa
North America
เอธิโอเปยพัฒนาพลังงานใตพภิ พดวยเงินลงทุน จากธนาคารโลก
เอธิโอเปยประเทศยากจนในทวีปแอฟริกา วางแผนพัฒนา พลังงานความรอนใตพภิ พ โดยไดรบั การสนับสนุนดานเงินลงทุน จากธนาคารโลก โครงการนีเ้ ปนความหวังทีจ่ ะสรางพลังงานเพือ่ ใหการสนับสนุนสรางพลังงานไฟฟาจากนํ้า สําหรับใชภายใน ประเทศขณะกําลังประสบปญหาจากภาวะแหงแลง ปจจุบนั เอธิโอเปยใชพลังงานไฟฟาจากนํา้ เปนสวนใหญ ซึง่ ตองใชแหลงนํ้าจํานวนมากจากที่ราบสูง โดยมีการใชพลังงานนํ้า ในการผลิตกระไฟฟาถึง 45,000 เมกะวัตต มากเปนอันดับสองใน แอฟริกา คิดเปน 86 เปอรเซ็นต สําหรับใชภายในประเทศ แตดว ย สภาพอากาศของโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจนทําใหเกิดภัยแลง ดังนัน้ จึงจําเปนตองหาทางออกสําหรับหาแหลงพลังงานมาทดแทนเมือ่ เกิดปญหาดังกลาว ซึ่งธนาคารโลกไดเขามาใหการสนับสนุนการในการแก ปญหานี้ โดยใหเงินจํานวน 40 ลานเหรียญสหรัฐแกเอธิโอเปย เพื่อใชในการพัฒนาแหลงพลังงานใตพิภพเปนแหลงพลังงาน สํ า รอง การช วยเหลื อ ดังกล าวถื อ เป นตัวอย า งการให ค วาม ชวยเหลือที่สําคัญแกประเทศที่กําลังพัฒนาในการสรางแหลง พลังงานทดแทนเพื่อนํามาใชงานในประเทศ หากมีการใหความ ช ว ยเหลื อ ในวงกว า งมากขึ้ น ก็ จ ะเป น หนทางหนึ่ ง ในการนํ า พลังงานทดแทนใหเขามามีบทบาทสําคัญตอการใชพลังงาน ของโลก
Australia
ดีไซเนอรชาวแคนาเดียนสรางโคมไฟ LED จากแกวไวนรีไซเคิล
นักออกแบบจากประเทศแคนาดามีไอเดียสรางสรรคในการ ประดิษฐโคมไฟ LED ชือ่ วา “BIPOLAR” โดยใชวสั ดุ รีไซเคิลจาก แกวไวนหรือแกวแชมเปญเหลือใช โดยนักออกแบบคนดังกลาวไดรับแรงบันดาลใจในการ สรางโคมไฟLEDจากวัสดุรีไซเคิลในขณะที่กําลังออกแบบที่ตั้ง เทียนไข ซึ่งตัวอุปกรณโคมไฟดังกลาว 1 ตัว ประกอบดวย แกว ไวนหรือแกวแชมเปญ 1 คู สวนแกวที่นํามาใชนั้นไดมาจากการ บริจาคและซื้อจากรานคามือสอง ซึ่งแกวแตละใบจะถูกดึงสวนที่ เปนฐานออกไป เพื่อนํามาใชประดิษฐโคมไฟ แกวแตละใบจะหันดานหนาเขาหากัน โดยทีว่ า งภายในจะติด ตั้งหลอดไฟ LED ลงไป หลังจากนั้นจึงใชที่แขวนอลูมิเนียมรูป ทรงวงแหวนยึดติดแกวทั้งสองใบตรงจุดเชื่อมตอตรงกลาง ซึ่ง โคมไฟแตละตัวจะมีรปู ทรงและขนาดทีแ่ ตกตางกันไปตามลักษณะ ของแกวที่นํามาใช โคมไฟ LED “BIPOLAR” นี้เปนแนวคิดในการพัฒนาสิ่ง แวดลอมอยางยัง่ ยืน เปนผลิตภัณฑรว มสมัยทีท่ าํ จากแกวทีไ่ มใช แลวมาทําใหเกิดประโยชนสูงสุด สวนฐานแกวที่ตัดออกไปหากมี การนําไปพัฒนาตอยอดอาจนํามาประกบกันกลายเปนของเลน ลูกดิ่งโยโยไวใหเด็ก ๆ เลนสนุกสนานกัน
ผูประกอบการจากแดนกีวีและแดนจิงโจรวมกันคิดคนฝกบัวอาบนํ้าที่ ประหยัดการใชนํ้าไดถึง 50%
บริษทั ผูผ ลิตวัสดุอปุ กรณจากประเทศนิวซีแลนดและทีมวิจยั จากประเทศออสเตรเลีย รวม กันคิดคนและพัฒนาฝกบัวในหองนํ้า ที่เรียกวา “Oxijet” เปนหัวฝกบัวที่ฉีดฟองอากาศขนาด เล็กเขาไปในหยดนํ้าดวย เพื่อใหนํ้าที่ไหลออกมาจากฝกบัวมีความดันที่สูงขึ้น ซึ่งวิธีการทํางาน ดังกลาวสามารถประหยัดการใชนํ้าไดมากถึง 50 เปอรเซ็นต หัวฝกบัวอาบนํ้าแบบดั้งเดิมชวยลดการไหลของนํ้า รวมไปถึงความแรงของนํ้าที่นอยลง ไปดวย แต “Oxijet” ใชพลังงานการไหลโดยการดูดอากาศเขาสูกระแสนํ้า ชวยเพิ่มความแรง ของกระแสนํ้าที่ไหลออกจากฝกบัว นั่นหมายความวา นํ้าจะถูกใชในปริมาณที่ลดลง แตการอาบนํ้ายังคงมีประสิทธิภาพเชนเดิม “Oxijet” ถูกออกแบบมาใหมคี วามเหมาะสมกับอุปกรณฝก บัวในหองอาบนํา้ ของสถานทีต่ า ง ๆ ถูกทดลองใชและติดตัง้ ในโรงแรม ของออสเตรเลีย ซึ่งใหผลในการประหยัดนํ้าอยางที่คาดเอาไว โดยลูกคาของโรงแรมดังกลาวชื่นชอบ “Oxijet” มากกวาหัวฝกบัวชนิด เดิม เนื่องจากกระแสนํ้ามีความแรงมากกวา 84
R1_Energy#52_p83-85_Pro3.indd 84
2/28/13 4:15 PM
Asia
นักวิทยาศาสตรแดนโรตีสรางอิฐราคาถูก จากกระดาษรีไซเคิล
นักวิทยาศาสตรจากประเทศอินเดียไดทําการพัฒนาวิธี การสรางอิฐกระดาษจากการรีไซเคิลวัสดุที่ไมใชแลว โดยอิฐที่ วานี้จะมีสวนผสมของกระดาษที่ไมใชแลวจากโรงงานกระดาษถึง 90 เปอรเซ็นต และปูนซีเมนตอีก 10 เปอรเซ็นต สวนผสมทั้งสองจะถูกผสมเขาดวยกันแลวปมลงในแม พิมพ หลังจากนั้นจึงนําไปตากแดดรอใหแหง วัสดุกอสราง รีไซเคิลตนทุนตํ่าที่วานี้ เปนตัวอยางการพัฒนาคุณภาพของ วัสดุรีไซเคิลใหดีขึ้น อิฐบล็อกที่สรางขึ้นจากกระดาษรีไซเคิลนี้มีราคาถูกลง กวาครึ่งของอิฐบล็อกธรรมดา และมีนํ้าหนักเบากวา ชวยสราง ประโยชนใหกบั วงการกอสรางของอินเดียอยางมาก จากเมือ่ กอน ที่ขาดทุนถึง 30 เปอรเซ็นต ในเรื่องของการจัดหาวัสดุกอสราง ซึ่ ง อิ ฐ บล็ อ กรี ไ ซเคิ ล ที่ ว า นี้ ไ ด ถู ก นํ า ไปทดสอบในการ ก อ สร า งเพดานและผนั ง บ า งแล ว ขณะนี้ ที ม ผู พั ฒ นากํ า ลั ง ดําเนินการเพิ่มประสิทธิภาพของอิฐบล็อกรีไซเคิลดังกลาวดวย การเคลื อ บสารกั น นํ้ า สํ า หรั บ ใช ใ นการตกแตง ภายนอกของ ตัวบาน และเพิ่มประสิทธิภาพสําหรับติดตั้งในพื้นที่เสี่ยงภัย แผนดินไหว
Asia
นักวิจยั ชาวไทยสรางเครือ่ งกรองนํา้ พลังงานแสง อาทิตย ใชในกรณีประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ
นักวิจยั จากศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติทาํ การพัฒนาวิธี การกรองนํา้ สะอาดจากพลังงานแสงอาทิตยแบบดัง้ เดิม โดยเพิม่ การทํางานดวยนาโนเทคโนโลยีเขาไป อุ ป กรณ ดั ง กล า วจะเปลี่ ย นแปลงนํ้ า ที่ อ าจปนเป อ นสิ่ ง สกปรกในชวงเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติใหกลายเปนนํ้าดื่ม สะอาดสําหรับชุมชนทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากภัยพิบตั ิ อุปกรณทวี่ า นี้ ทําหนาที่รวมกันระหวางตัวกรองเซรามิกกับนาโนเทคโนโลยีใน การตอตานจุลชีวะทีม่ ากับนํา้ โดยการฆาและทําลายเชือ้ แบคทีเรีย ทีเ่ จือปนอยูใ นนํา้ และยังสามารถปองกันการเจริญเติบโตของเชือ้ ราและตะไครนํ้าที่จะขึ้นภายในอุปกรณ ไดดวย ระบบปฏิบตั กิ ารจะใชพลังงานแสงอาทิตยในการขับเคลือ่ น นํา้ ดิบผานเขาสูก ระบวนการกรองถึง 6 ขัน้ ตอน ซึง่ เปนมาตรฐาน ของนํ้าดื่มที่ปลอดภัยและสามารถผลิตนํ้าดื่มได 200 ลิตรตอ ชั่วโมง อุปกรณถูกออกแบบมาใหสะดวกในการเคลื่อนยายไป ในสถานที่ตาง ๆ สามารถบรรทุกไดทั้งทายรถกระบะทั่วไป รถ บรรทุก หรือแมกระทั่งเรือทองแบน
โรงกลั่นนํ้ามัน S-Oil จากเกาหลีใต ติดตั้ง “HERE Balloons” สําหรับโชวที่วางในลานจอดรถ
Asia
ประเทศเกาหลีใตเปนอีกหนึง่ ประเทศทีม่ อี ตั ราการใชจา ยดานพลังงานสูงมากแหงหนึง่ ของ โลก สาเหตุมาจากปริมาณรถที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น และราคานํ้ามันโลกพุงสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ที่สําคัญที่จอดรถในเมืองใหญอยางกรุงโซลเมืองหลวงของประเทศหาไดยากเย็นยิ่งกวางมเข็ม ในมหาสมุทร “HERE Ballons” เปนอุปกรณสําหรับใชแสดงตําแหนงที่วางในลานจอดรถของ S-Oil โดยการจัดทําบอลลูนสีเหลืองสดใสไวประจําในแตละชองจอดของลานจอดรถ โดยบอลลูนที่วา นีจ้ ะลดตํา่ ลงเมือ่ มีรถขับเขามาจอดในชองนัน้ ๆ และจะลอยตัวขึน้ อีกครัง้ เมือ่ รถทีจ่ อดอยูไ ดขบั ออกไปแลว ผูใ ชรถสามารถมองเห็นสีสนั สดใสของบอลลูนสีเหลืองไดจากระยะไกล ชวยประหยัดเวลาและประหยัดนํา้ มันในการตระเวนหาทีจ่ อดรถไดเปนอยางดี แคมเปญนีช้ ว ย ใหผูใชรถกวา 700 คัน ในแตละวันประหยัดนํ้ามันไดถึง 23 ลิตร และมีแนวโนมจะลดลงอีกมากในแตละป
85
R1_Energy#52_p83-85_Pro3.indd 85
2/28/13 4:09 PM
Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
ทีจ่ าํ เปนตองพึง่ พาการคาและการลงทุนจากกลุม ประเทศแกนกลาง ระบบทุน โดยกลุม ประเทศทีอ่ ยูช ายขอบตองพึง่ พาการปอนสินคา เขาสูต ลาดโลกในราคาถูก คุณภาพตํา่ เชน สินคาเลียนแบบ ทีม่ ี การปนเปอนสารเคมีหรือใชสารพิษในการผลิตซึ่งเปนอันตราย ตอผูบ ริโภค 4. เกิดการสรางวัฒนธรรมบริโภคนิยมใหม มีการวัด ความมั่ น คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ ด ว ยการสร า งความเติ บ โตในการ บริโภค สรางกระแสบริโภคนิยมตอบสนองตอความสุขของ คนในสังคม โดยไมคํานึงถึงความจําเปนขั้นพื้นฐานหรือบริโภค
การผลิตสินคาทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ตอบโจทยการคายุคใหม ?
การคาในโลกปจจุบนั มีการแขงขันคอนขางสูง โดยเฉพาะ ขอตกลงในเรือ่ งการคาเสรีทาํ ใหกาํ แพงภาษีทเี่ คยเปนตัวกีดกัน ทางการคาหายไป การผลิตตองคํานึงถึงการแขงขันดังกลาว ตองเพิม่ คุณภาพสินคาและสรางการยอมรับในการบริโภคมาก ขึน้ กวาเดิม แมกระทัง่ สินคาแบรนดเนมก็ตอ งพัฒนาผลิตภัณฑ ใหเกิดความนาสนใจใหม ๆ การคาในโลกยุคใหมนสี้ ง ผลใหเกิด ประเด็นปญหาตาง ๆ 5 ประการ ซึง่ เปนผลจากการศึกษาของ สหภาพยุโรปทีม่ องการแขงขันทางการคายุคใหม ดังนี้ 1. การทําลายดุลธรรมชาติ เปนผลมาจากการเปลีย่ นแปลง การผลิตในระบบขามชาติที่ทรัพยากรธรรมชาติถูกถลุงโดย ระบบการลงทุนของบริษัทใหญจากตางประเทศที่มีทุนหนา เชน ทรัพยากรพลังงาน ทรัพยากรแรธาตุ เปนตน จากการแขงขัน ทางการคาทีเ่ นนการผลิตใหไดผลผลิตมาก ๆ จนละเลยผลกระทบ ตอสิง่ แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติถกู ทําลายเกิดมลพิษของเสีย จากอุตสาหกรรม การขนสง ภาวะขยะพิษ โลกรอน ตลอดจน คุณภาพชีวิตของประชาชนไดรับผลกระทบจากพิษของมลภาวะ ตาง ๆ จนธรรมชาติเสียสมดุลและยากเกินเยียวยาใหกลับมา เหมือนเดิม 2. ชองวางระหว างความรํ่ารวย เกิดจากการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมภายใตกฎกติกาการคาใหมทเี่ ปดโอกาสใหทนุ ขามชาติเขามาใชทรัพยากรและลงทุนในการผลิตอยางเสรี ทําใหมี ผลกําไรคอนขางสูงมาก เกิดชองวางระหวางรายไดของนักลงทุน กับประชาชนในทองถิน่ อยางมาก ในโลกการคายุคใหมจะมีรายได รวมของประชาชนทั้งโลกอยูที่ 83% อยูในมือของนายทุน 20% ประชาชนในระดับลางมีรายไดเพียง 1.4% 3. เกิดระบบการพึ่งพาจากภายนอกมาก จากหนังสือ “world system theory” ของ อิมมานูเอล วอเรนสเตน ไดแยกกลุม ประเทศออกเปน 3 กลุม ไดแก กลุม แกนกลางระบบ ทุน กลุม กึง่ ทุนนิยม และกลุม ประเทศชายขอบ เชน เอเชีย แอฟริกา
กราฟแสดงชองวางระหวางกลุม ประเทศรํา่ รวย กับประเทศทีอ่ ยูช ายขอบ
86
Energy#52_p86-87_Pro3.indd 86
2/15/13 10:29 PM
สารพิษที่มีผลตอสุขภาพ โดยที่ไมไดคํานวณถึงตนทุนจากการ บริโภคเกินตัว เชน การลงทุนโฆษณาเกินจริงในสินคาฟุม เฟอย ของกลุมอาหารและเครื่องดื่มที่เปนอาหารขยะที่มีผลตอสุขภาพ ของประชาชนในบางประเทศผานนโยบายประชานิยม เนนการซือ้ สินคาราคาถูกหรือแจกแถมสินคาเพือ่ กระตุน การใชจา ยใหมากขึน้ กอใหเกิดภาวะหนีส้ นิ โดยไมจาํ เปน 5. การตอบโจทยความตองการความสุขจากการบริโภค นิยม เพือ่ ตอบคําถามของการหารายไดใหมากขึน้ เพือ่ ซือ้ สินคา และบริการในการหาความสุขจากการบริโภคสินคาและบริการ ทําใหตอ งหารายไดเพิม่ ขึน้ แตยงั ไมเพียงพอตอภาวะหนีส้ นิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการซือ้ สินคาเงินผอน หรือการใชนโยบายลดราคาสินคาเพือ่ จูงใจใหซอื้ สินคาราคาแพง เชน การซือ้ บานและรถราคาถูก แตเกิด ภาวะหนีส้ นิ ในชนชัน้ กลางของบางประเทศ จากทีก่ ลาวมาแลวทัง้ หมด 5 ประเด็น คงจะเปนประเด็นทีต่ อ ง นํามาพิจารณาในแตละประเทศทีอ่ ยูช ายขอบในการปรับนโยบาย ทีต่ อบสนองตอการคายุคใหม อยางไรก็ตาม ผลขอแรกคือการ ทําลายดุลธรรมชาติทมี่ ผี ลตอทรัพยากรและสภาพแวดลอมของ ประเทศชายขอบ เชน กลุมเอเชีย ละตินอเมริกา หรือแอฟริกา ที่ตองปรับตัวอยางมาก และเพื่อการดํารงอยูของทรัพยากรที่ มีอยูอยางจํากัด ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของ ประชาชน ทางหนึ่งคือการจํากัดการเติบโตของระบบทุนขาม ชาติที่กอใหเกิดมลพิษที่มีการยายฐานผลิตมาลงทุนในประเทศ กลุม ที่ 3 ดวยมาตรฐานตาง ๆ เทาทีจ่ ะทําได หรืออีกทางหนึง่ คือ การกําหนดมาตรฐานการผลิตสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ให มี ม าตรฐานสู ง ขึ้ น นั่ น คื อ การกํ า หนดขี ด จํ า กั ด การเจริ ญ เติบโต การใชทรัพยากรอยางเหมาะสมไมเกิดเปนภาระในการ ทดแทนทรัพยากรธรรมชาติ การฟน ฟูทเี่ หมาะสม หรือทีเ่ รียกวา มีขดี จํากัดการรองรับการใชทรัพยากร (Carrying Capacity) มีการควบคุมการลงทุนที่กอใหเกิดมลพิษ และการรับผิดชอบ ตอมลพิษทีเ่ กิดจากการผลิตอยางจริงจัง ในสวนของระบบพึง่ พา ทรัพยากรจากภายนอกตองมีระบบการจัดสรรอยางเหมาะสม โดยเฉพาะทรัพยากรพลังงานทีน่ บั วันจะหมดไปโดยไมอาจทดแทน จําเปนตองหาแหลงพลังงานหมุนเวียนในอุตสาหกรรมการผลิต หรือพลังงานทางเลือกอืน่ ๆ เพือ่ ทดแทนพลังงานทีห่ มดไป
การพัฒนาตองมีแผนที่เหมาะสมและสรางจิตสํานึกใน การรับผิดชอบตอสังคม ตอชุมชน และโลกใบนีอ้ ยางจริงจัง ผูป ระกอบการ หรือนักลงทุนตองคํานึงถึงผลกระทบยอนกลับสูการผลิตที่ไป ลงทุนในทีต่ า ง ๆ ของโลก เชน กระแสการตอตานการสรางโรงงาน มลพิษสูง การใชพลังงานกาซธรรมชาติในทะเลทีม่ ผี ลกระทบตอ ชุมชนในประเทศนัน้ ๆ อยางมีวนิ ยั และรับผิดชอบ แมจะมีกติกา ของการคาเสรีเปนตัวหนุนก็ตาม การประกอบการที่มีจิตสํานึก ทีด่ ตี อ การรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอม สุขภาพของชุมชน ยอมจะ เปนการลงทุนทีย่ งั่ ยืนและเปนมิตรตอการอยูร ว มกันในสังคมโลก ซึง่ อาจหมายถึงกําไรจากการผลิตทีอ่ าจลดนอยลง แตสรางความ ยัง่ ยืนในการผลิตใหกบั โลกใบนี้ มากกวาการทําลายโดยไมยงั้ คิด ลดการโฆษณาเพือ่ การบริโภคนิยมสินคาฟุม เฟอย สินคาทีม่ พ ี ษิ ตอประชาชนในประเทศชายขอบ เชน บางประเทศทีก่ าํ ลังประสบ ปญหามลพิษอยางรุนแรงในขณะนี้ที่เนนนโยบายประชานิยมใน การบริโภคมากเกินความจําเปน เปนตน
เอกสารอางอิง
- รัฐ เรืองโชติวทิ ย ทุนนิยมกับสิง่ แวดลอม เอกสารประกอบการ สอนนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏวลัยวลงกรณ ปทุมธานี 2555 87
Energy#52_p86-87_Pro3.indd 87
2/15/13 10:29 PM
Energy Movement กองบรรณาธิการ
นัษโตะ
สวัสดีครับ ผานพนปใหมสากล แลวก็ตามดวยปใหม จีนกันเปนที่เรียบรอยแลวนะครับ เหลือลุนกันตอกับปใหม ไทย โดยเฉพาะเรื่องที่มนุษยเงินเดือนอยางเรา ๆ ทาน ๆ เฝ า รอกั น อยู เห็ นจะเป นเรื่องของวันหยุด ที่จะได ก ลับบ า น กันละครับ ปนี้ดูเหมือนวาจะยาวเปนพิเศษซะดวย ชวงนี้ก็ ตั้งหนาตั้งตาทํางานกันไปกอน เพราะยังอีกยาวไกลกวาจะ ถึง เอาเปนวาขออวยพรทานผูอานแบบใกล ๆ กันกอนวา “ซินเจีย ยูอี่ ซินนี้ ฮวดใช” นะครับ เริ่มเรื่องของเรากันดีกวา… ชวงที่ผานมากลุมอุตสาหกรรมที่โตอยางมากเห็นจะ เปนเรื่องของอุตสาหกรรมยานยนตที่ดูเหมือนจะฉุดไมอยูกัน เลยทีเดียว เรียกไดวาโกยยอดขายกันเปนกอบเปนกํา งานนี้ มร. ทาคาชิ ยามานูชิ ประธานคณะกรรมการบอรด, ประธาน และเจาหนาที่บริหาร มาสดา มอเตอร คอรปอเรชั่น ประกาศ เพิ่มการลงทุนครั้งมโหฬารในประเทศไทย ดวยการเตรียมสราง โรงงานแหงใหม เพื่อผลิตชุดเกียรอัตโนมัติเปนแหงที่สองของ มาสดาที่ใหญสุดและทันสมัยที่สุดแหงหนึ่งของโลก โดยเลือก ทําเลที่จังหวัดชลบุรี พรอมควักกระเปาลงทุน 26,000 ลานเยน หรือกวา 10,000 ลานบาท เพื่อทําการผลิตชุดเกียรออโตเมติก “SKYATIV-DRIVE AT” ที่ มี ดี ทั้ ง เรื่ อ งความประหยั ด และ สมรรถนะ โดยมีกําลังการผลิตสูงถึง 400,000 ยูนิต ซึ่งการ ผลิตเกียรในครั้งนี้เปนหนึ่งในเทคโนโลยีใหมลาสุดของมาสดา และเป น เทคโนโลยี แ ห ง อนาคตของมาสดา หรือที่ รูจักกันในนาม สกายแอค ทีฟ เทคโนโลยี (SKYATIV TECNOLOGY) คาดวาจะ เริ่มสายการผลิตไดในชวง ปลายปงบประมาณ 2559 ปจจุบนั เครือ่ งยนตดเี ซลกําลังเปนทีจ่ บั ตามองอยางมาก เพราะมีการพัฒนาเรื่องของเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง เพื่อลด มลภาวะแตใหการตอบสนองทีด่ ไี มแพเครือ่ งยนตเบนซิน โดยเฉพาะ กลุม ตลาดรถยนตนงั่ ทีใ่ ชเครือ่ งยนตดเี ซลกันมากขึน้ ลาสุดคาย ทาทา มอเตอรส จากประเทศอินเดีย ไดเปดตัว “วิสตา ดี90” ดวยเครื่องยนตดีเซลควอดราเจ็ท 1.3 ลิตร 90 แรงมา ที่ไดรับ การยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะอัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามัน ประหยัดเชือ้ เพลิงมากถึง 21.12 กิโลเมตรตอลิตร เลนเอาแฟน ๆ คอคนรักษโลกถึงกับหูผึ่งกันเลยทีเดียว เอาเปนวาอดใจรอกัน กอนนะครับ ไมนานคงมีขาวดีในบานเราแนนอนครับ
ดานคาย ฮอนดา นําโดย มร. ฮิโรชิ โคบายาชิ ประธาน กรรมการบริหารและซีอโี อ บริษทั เอเชีย่ นฮอนดา มอเตอร จํากัด และประธาน บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด พรอมดวย มร.อิซาโอะ อิโตะ รองประธานอาวุโส และนายพิทกั ษ พฤทธิสาริกร รองประธานอาวุโส ประกาศความเคลือ่ นไหวลาสุด เปดโปรเจคยักษเตรียมลงทุนสรางโรงงานผลิตรถยนตแหงใหม ของบริษัทฯ มูลคา 17,150 ลานบาท ณ จังหวัดปราจีนบุรี โดย โรงงานแหงใหมจะมีกําลังการผลิต 120,000 คันตอป เริ่มดําเนิน การกอสรางในเดือนกรกฎาคม 2556 นี้ และจะเริ่มเปดเดินสาย การผลิตไดในเดือนเมษายน 2558 พรอมทั้งประกาศขยายกําลัง การผลิตในโรงงานผลิตรถยนตทสี่ วนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เพิ่มเปน 300,000 คันตอป ภายในตนป 2557 ดวยงบประมาณการลงทุนมูลคา 2,910 ลานบาท เมื่อรวม กําลังการผลิตจากโรงงานทัง้ สองแหงจะสงผลใหมกี าํ ลังการผลิต รถยนตโดยรวมอยูที่ 420,000 คันตอป ในป 2558
เกาะสมุยซุยขาว เมื่อเร็วนี้ ๆ ไดมีโอกาสไปงานเปดตัวโครงการผลิต ไฟฟาพลังงานลม “เวสต หวยบง 2” และ “เวสต หวยบง 3” ของ บริษัท วินด เอนเนอรยี โฮลดิ้ง จํากัด อ.ดานขุนทด จ.นครราชสีมา ซึง่ เปนวินดฟารมแหงแรกในประเทศไทยและใหญ ทีส่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต กําลังการผลิตรวม 207 เมกะวัตต ตองยอมรับวาใหญ จริง ๆ ครับ เพราะมี มากถึง 45 ตน กําลัง การผลิตตนละ 2.3 เมกะวัตต เนื้อที่กวา 2 หมื่นไร จากการ มาตั้งโครงการผลิต ไฟฟาพลังงานลมที่ นี่ทําใหที่ดินอําเภอดานขุนทดพุงพรวดจากหลักหมื่นเปนหลัก แสน นอกจากความยิง่ ใหญแลว ทีน่ ยี่ งั สามารถพัฒนาเปนแหลง ทองเที่ยวในอนาคตไดเลยครับ งานนีไ้ ดรบั เกียติจาก นายกฯ “ยิง่ ลักษณ ชินวัตร” พรอมดวยคุณพงษศักดิ์ รักตพงษ ไพศาล รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน มาเปดงานเรียกไดวา สรางกระแสใหพลังงานลม กลับมามีความหวังอีกครัง้ สําหรับผูส นใจทีจ่ ะลงทุนดานพลังงาน ลม หลังจากที่กระทรวงพลังงานติดตั้งทดลองใชที่หัวไทรแตไม
88
Energy#52_p88_Pro3.indd 88
2/27/13 3:57 PM
ประสบความสําเร็จ ก็ไมรู วาจะมีพื้นที่ใหลงทุนหรือ เปลา เพราะไดขาวมาวา นายทุนไดจองสัญญาซื้อ ขายไฟฟา และพื้นที่ติด ตั้ ง ที่ มี ศั ก ยภาพไปหมด แลว…อิอิ ยั ง อยู ที่ โ ครงการผลิ ต ไฟฟ า พลั ง งานลมห ว ยบง ครั บ เนื่ อ งจากเป น งานใหญ มี ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในกระทรวง พลังงาน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) บริษัท เอกชนที่เกี่ยวของ รวมถึงหนวยงานราชการ และประชาชนรวม งานกันคับคั่ง เรียกไดวามากันแบบอุนหนาฝาคั่ง งานนี้ยังได รับเกียรติจาก นพ.วรรณรัตน ชาญนุกูล อดีตรัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลั ง งานมาร ว มเป ด งาน ดวยครับ ไมแนใจวามาในฐานะคน ลงนามอนุมตั โิ ครงการหรือมาในฐานะ ทีเ่ ปนคูเ ขยกับคุณสุวจั น ลิปตพัลลภ อดีตรองนายกรัฐมนตรี…หุหุ งานเปดตัวโครงการโรงไฟฟาพลังงานลมดูจากสีหนา ประชาชนที่มาตอนรับแลวยิ้มแยมหนาชื่นบานกันทุกคนไมแนใจ วามีความสุขที่ไดโครงการผลิตไฟฟาพลังงานลมขนาดใหญ มาติดตั้งในพื้นที่ หรือตื่นเตนที่ ได ม าต อ นรั บ นายกยิ่ ง ลั ก ษณ กั น ตั ว เป น ๆ ซึ่ ง ดู จ ากภาพที่ ประชาชนมารุ ม ล อ มนายกฯ ราวกับเปนซูเปอรสตารเมืองไทย คิดแลววานาจะเปนอยางหลัง เหมือนเปนธรรมเนียมเลยครับ นายกรัฐมนตรีเดิน ทางไปทีไ่ หนของประเทศไทยก็จะมีชาวบานบางคนมาคอยประทวง ซึ่งในงานเปดตัวโครงการผลิตไฟฟาพลังงานลมหวยบงก็มีคน มาประทวง 1 คน เรียกรองใหนายกฯ แกไขปญหาการประกัน ราคามันสําปะหลัง ซึ่งผูประทวง เรียกความสนใจจากสื่อมวลชน ไดเปนอยางดีครับ เนื่องจากผู ประทวงใจถึงถอดเสื้อเหลือแต ชัน้ ใน ลงทุนอยางนีส้ งสัยเรือ่ งถึง นายกฯและไดรับพิจารณาแกไข เรงดวน….หรือเปลา ? อีกงานของกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน เพือ่ เพิม่ ความมัน่ ใจใหกบั ผูใ ชนาํ้ มันแกสโซฮอล และตอกยํา้ ความเชือ่ มั่นใหกับผูใชรถยนตและจักรยานยนตจึงไดจัดทําภาพยนตร ประชาสัมพันธเรื่อง “ของดี ตองบอกตอ” เห็นตัวอยาง ภาพยนตร ป ระชาสั ม พั น ธ แล ว นั ก ข า วพู ด เป น เสี ย ง เดียวกันวา …แคนี้เหรอ ? ไมแนใจวาจะเปนการดึงดูด
ใหประชาชนหันมาใชแกสโซฮอลกันมากขึ้นหรือนอยลง เพราะดู จากเนื้อหาโฆษณาแลว งอ งูสองตัวจริง ๆ….อิอิ
เด็กเนิรด ไดมีโอกาสแวะเวียนไปเยี่ยมเยือน มหาวิทยาลัยรังสิตเมือ่ เร็ว ๆ นี้ เลยมีโอกาสได พูดคุยกับ ดร.เจริญวิชญ หาญแกว อาจารย สาวคนเกงจากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธาและสิ่ ง แวดล อ ม ที่ แ อบน อ ยใจเล็ ก ๆ วา ตอนนี้ มี นั ก ศึ ก ษา สนใจที่จะมาเรียนวิศวกรรมศาสตร ในสาขา สิ่งแวดลอมฯ นอยมาก สงผลใหในอนาคต อาจเปนสาขาอาชีพที่ขาดแคลนได ทั้ง ๆ ที่เปนสาขาอาชีพที่มี งานรองรับอยูแ ลวก็ตาม ก็อยากจะเชิญชวนใหนอ ง ๆ ทีค่ ดิ อยาก จะเรียนวิศวกรรมศาสตร ลองหันมาใหความสนใจเรียนภาควิชา สิ่งแวดลอมฯ บาง เพราะเปนอาชีพที่มีอนาคตอยางแนนอน ภาคอุตสาหกรรมเตรียมเฮ เมื่อ ศาสตราจารย นาวา อากาศโท ดร.สราวุฒิ สุจิตจร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยแสง ซินโครตรอน กระซิบมาวา ขณะนี้กําลังเตรียมการกอสรางหอง ปฏิบัติการกลางเพื่อใชในการพัฒนาหุนยนตและระบบอัตโนมัติ ที่ทันสมัย เปนศูนยกลางการสาธิตออกแบบพัฒนาหุนยนต และถายทอดเทคโนโลยีสูภาคอุตสาหกรรม เพื่อนําใชงานและให บริการในดานตาง ๆ เนือ่ งจากหุน ยนตและระบบอัตโนมัตถิ กู นํามา ใชงานและเปนที่ตองการอยางมากในวงการอุตสาหกรรมทั่ว โลกรวมทั้งประเทศไทยดวย แตละปเราตองใชงบประมาณนําเขา หุนยนต และระบบอั ตโนมั ติหลายหมื่ นลานบาท หากไทยเรา สามารถพัฒนาสรางหุนยนตและกลไกอัตโนมัติใชเองได จะชวย ลดเม็ดเงินจํานวนมหาศาลจากการนําเขา พรอมพัฒนาบุคลากร ทางด า นนี้ ใ ห มี ค วามชํ า นาญ ยิ่งขึ้น สําหรับหองปฏิบัติการ กลางฯ ทีจ่ ะสรางนีใ้ ชงบประมาณ กวา 124 ลานบาท อลังการงาน สรางจริง ๆ ครับงานนี้ เปดตัวไปแลวสําหรับ “โครงการสงเสริมการปรับปรุง ประสิทธิภาพการใชพลังงานในอาคาร” หรือ “MEA Energy Saving Building” ทีก่ ารไฟฟานครหลวง รวมกับ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี จัดประกวดเพื่อคนหา สุดยอด อาคารประหยั ด พลั ง งานกั บ กฟน. วั น เป ด ตั ว มี อ าคารที่ น า สนใจมากมาย หลาย ๆ องคกรพรอมใจตบเทาสงใบสมัครเขา รวมโครงการคึกคัก งานนี้ ทํ า เ อ า ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต อ งทํ า งานกั น อย า งหนั ก อาคารไฮเปอรมารเก็ตและ โรงพยาบาลทีย่ งั ไมไดสมัคร รี บ ตั ด สิ น ใจสมั ค รด ว น เลยคะ
89
Energy#52_p89_Pro3.indd 89
2/27/13 3:58 PM
Enjoyment
เจริญรัตน วงศสุวรรณ
เทรนดมาแรง…
ลางสารพิษบนเสื้อผาแบรนดดัง Detox Fashion…สูก ารรักษโลก
ปจจุบัน สําหรับคนรักสินคาแบรนดเนมตองหันมา “รักษ” ทั้งตัวสินคาและโลกไปพรอม ๆ กัน แฟชัน่ ทําใหเราดูดี แตเราจะดูดขี นึ้ ไปอีกถาเราวิง่ ตามแฟชัน่ ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมควบคูไ ปดวยกัน เมื่อป 2555 สมาคม “กรีนพีซ” ซึ่งเปนองคกรรณรงค อิสระระดับโลกทีล่ งมือทําเพือ่ เปลีย่ นแปลงทัศนคติและพฤติกรรม ปกปองและอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม รวมทัง้ สงเสริมสันติภาพ ไดตรวจ พบสารเคมีอนั ตรายทีม่ คี ณ ุ สมบัตริ บกวนฮอรโมน และเปนสารกอ มะเร็งในผลิตภัณฑเสื้อผาและชุดชั้นในของวิคตอเรีย ซีเคร็ท การแสดงเจตนารมณของแบรนดดังในครั้งนี้ จะเปนกาวแรกที่ สําคัญในการตอกรกับปญหามลพิษทางนํ้า และขจัดสารเคมี อันตรายออกจากผลิตภัณฑ โดยแบรนดวคิ ตอเรีย ซีเคร็ทนัน้ ไดให คํามัน่ วาจะเผยขอมูลการปลอยมลพิษรอยละ 80 ของโรงงานผลิต ของบริษทั ในเครือทัว่ โลก เพือ่ ใหประชาชน หนวยงานราชการ และ สือ่ มวลชนไดรบั รูถ งึ ขอมูลมลพิษในแหลงนํา้ สาธารณะ
สวนแบรนด “เบเนตอง” ก็เชนเดียวกัน รวมเติมสีสนั ความเซ็กซี่ อยางปลอดสารพิษ รวมกับ วิคตอเรีย ซีเคร็ท ใหกบั แฟชัน่ ของตน เนือ่ งมาจากแรงผลักดันอยางตอเนือ่ งของผูบ ริโภค นักกิจกรรม และผูช นื่ ชอบแฟชัน่ โดยในป 2556 นี้ ดูเหมือนจะเปนปแหงการเริม่ ตนสูการยุติการใชสารเคมีอันตรายในอุตสาหกรรมสิ่งทอเสียที การรณรงคโครงการลางสารพิษ หรือ Detox ของกรีนพีซ กาวขึน้ สูถ นน สายแฟชัน่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ กับการทีแ่ บรนดแฟชัน่ ระดับโลกตางรวม แสดงเจตนารมณในการลางสารพิษออกจากอุตสาหกรรมแฟชัน่ ลาสุดอีกสองแบรนดดงั คือ เบเนตอง และวิคตอเรีย ซีเคร็ท ไดแสดง ความมุง มัน่ ลางสารพิษ รวมเปน 14 แบรนดยกั ษใหญทรี่ ว มมือกัน เพือ่ สายนํา้ ทีไ่ รมลพิษ และอนาคตทีป่ ลอดสารพิษสําหรับทุกคน
90
Energy#52_p90-91_Pro3.indd 74
2/23/13 2:06 AM
เบเนตอง กรุป บริษทั เจาของแบรนดดงั อยาง ซิสเลย เพลยไลฟ และที่โดงดังที่สุดคือ เดอะ ยูไนเต็ด คัลเลอรส ออฟ เบเนตอง (The United Colors of Benetton) และลิมเิ ต็ด แบรนด บริษทั เจาของผลิตภัณฑชดุ ชัน้ ในชือ่ ดังอยาง วิคตอเรีย ซีเคร็ท และลา เซ็นซา ไดออกมาตอบรับเสียงเรียกรองของประชาชนหลายแสนคน โดยหันมาแสดงความมุงมั่นในการยุติการใชสารเคมีอันตรายใน ผลิตภัณฑและหวงโซการผลิตภายในป 2563 ดังทีแ่ บรนดตา ง ๆ กอนหนานีไ้ ดใหคาํ มัน่ ไวกอ นหนานีแ้ ลว อาทิ ซารา แมงโก เอสปรีย และลีวายส แตในขณะเดียวกัน คูแ ขงของแบรนดเหลานี้ อยาง คาลวินไลน และแก็ป ยังรีรอและดูเหมือนจะหางไกลจากการกาวขึน้ มาเปนผูน าํ แฟชัน่ ของเทรนดการลางสารพิษ นอกจากนีเ้ บเนตองยังไดแสดงความมุง มัน่ ในการสรางสรรค และใชสารเคมีทางเลือกที่ไมเปนอันตรายและไมกอมลพิษแทน สารเคมีอนั ตรายทีใ่ ชกนั อยางแพรหลายในอุตสาหกรรมสิง่ ทอทุกวันนี้ รวมถึงรวมกันบอกตอใหแบรนดตา ง ๆ รูว า หมดยุคของการใชสาร พิษในวงการแฟชัน่ แลว และเปนอีกเสียงหนึง่ ในการผลักดันแบรนด ตาง ๆ ใหลา งสารพิษดวยการรวมกันเผยแพรวดิ โี อ “ลางสารพิษ ออกจากแฟชัน่ ” (Detox Fashion) ใหแพรหลายมากทีส่ ดุ เพือ่ รักษาแหลงนํา้ สาธารณะใหสะอาดปลอดภัยจากมลพิษของโรงงาน อุตสาหกรรม
สวนแบรนดยนู โิ คล (Uniqlo) แหงแดนซูชิ แบรนดเสือ้ ผายักษ ใหญแหงเอเชีย และบริษทั ฟาสต รีเทลลิง่ กรุป (FRG) ไดแถลงถึง คํามั่นในการวางแผนที่จะยกเลิกการใชสารเคมีอันตรายทุกชนิด ในการผลิตผลิตภัณฑของตนภายในป พ.ศ.2563 ภายหลังการ เรียกรองจากกรีนพีชในโครงการรณรงค “ลางสารพิษ” (Detox) “ยูกฮิ โิ ร นิตตะ” ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและหัวหนาฝายบรรษัท บริบาลของฟาสตรเี ทลลิง่ กรุป (FRG) กลาววา ยูนโิ คลตระหนักดีวา ปญหามลพิษคุกคามนํา้ สะอาดเปนปญหาสําคัญระดับโลกและทาง บริษทั มีความยินดีทจี่ ะรวมกับกรีนพีชในการขจัดสารเคมีอนั ตราย
ฟาสต รีเทลลิง่ กรุป (FRG) ประกาศวาจะเรงรัดกระบวนการ ผลิตใหโปรงใส โดยจะเปดเผยขอมูลการปลอยของเสียของผูผ ลิต และโรงงานของตนเองทั่วโลก อยางนอยรอยละ 80 ภายในปนี้ เพือ่ ใหประชาชนทีอ่ ยูอ าศัยใกลโรงงานไดรบั ทราบขอมูลการปลอย ของเสียในสิง่ แวดลอม คําประกาศนีม้ ผี ลตอทุกแบรนดของฟาสต รี เ ทลลิ่ ง กรุ ป (FRC) ซึ่ ง ประกอบด ว ย ยู นิ โ คล (Uniqlo) คอมตัว เดสคอตตอนเนียร (Comtoir des Cotonniers) แปรงเซส แตมแตม (Princesse tam.tam) จียู (G.U.) และธีโอรี (Theory) ซึ่งรวมกันแลวมีรานคาปลีกในสังกัดถึง 2,000 แหง ทัว่ โลก “จูนชิ ิ ซาโตะ” ผูอ าํ นวยการบริหารกรีนพีช ประเทศญีป่ นุ กลาววา ในวันนีท้ ยี่ นู โิ คลไดเปลีย่ นมาเปนหนึง่ ในผูน าํ การลางสารพิษ (Detox) ดวยการประกาศที่จะพัฒนาการใชสารเคมีที่มีความ ปลอดภัยแทนการใชสารเคมีอนั ตราย นับเปนชัยชนะสําหรับชุมชน ทัว่ โลกทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากมลพิษทางนํา้ จากอุตสาหกรรม ชืน่ ใจไปตาม ๆ กัน เมือ่ เห็นการพัฒนาดานสิง่ แวดลอม ประยุกต ใชไดกับทุกอยาง แมแตแฟชั่นเองก็มีแนวโนมที่ดีขึ้น หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า หากคุ ณ เป น คนหนึ่ ง ที่ ส นใจแฟชั่ น แบรนดเนม การเลือกซื้อสินคาที่มีคุณภาพดี มักมีราคาแพง แตเมือ่ เลือกทีจ่ ะซือ้ ของแพงแลว ก็ขอใหเลือกสินคาทีใ่ ชไดนาน และไมทาํ ลายสิง่ แวดลอมดวย…ดูดไี ดอกี !!
91
Energy#52_p90-91_Pro3.indd 75
2/23/13 2:06 AM
Green Space วรรณวิภา ตนจาน
รักษปา สรางคน 84 ตําบล วิถพ ี อเพียง ฟนฟูธรรมชาติบนพื้นฐานความยั่งยืน ได มี โ อกาสร ว มเดิ น ทางไปกั บ บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) และชมรมพลังงานเพื่อสังคม ในการไปเยี่ยมชม “โครงการรักษปา สรางคน 84 ตําบล วิถพ ี อเพียง” ทีเ่ กาะชางใต ซึ่ ง โครงการนี้ จั ด ขึ้ น เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูห วั และไดดาํ เนินโครงการตอเนือ่ งมาโดยตลอด ตาม แนวปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”
ปจจุบันมีตําบลที่เขารวม “โครงการรักษปาสรางคน 84 ตําบล วิถีพอเพียง” เกินกวาเปาหมาย 3 ตําบล รวมทั้งสิ้น 87 ตําบล ประกอบดวย 920 หมูบาน แบงเปนภาคเหนือ 23 ตําบล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 22 ตําบล ภาคกลาง 22 ตําบล และภาคใต 20 ตําบล โครงการฯ ยังสามารถสรางและคนหา “ครัวเรือนพอเพียงอาสา” ได 9,244 ครัวเรือน และ “คนตนแบบ” กวา 600 คน ทั้งนี้ที่เกาะชางใต นางโกสุม เมฆมงคลชัย ผูอํานวยการ โครงการรักษปา สรางคน 84 ตําบล วิถีพอเพียง ใหทัศนคติวา แตละตําบลนั้นมีความเขมแข็งในตัวเองอยูแลว ปตท.เพียงแต เขาไปชวนคิด ชวนคุย และชวยแกปญ หา รวมถึงพัฒนาใหมคี วาม เขมแข็งมากขึน้ ภายใตวถิ ชี วี ติ ทีย่ งั คงดํารงอยูต ามเดิม ศูนยเรียนรู เปนแหลงถายทอดความรูใหกับคนในชุมชนเพื่อนํามาปรับใชใน ชีวติ ประจําวัน ดังนั้นสิง่ ที่เราเขาไปคือเขาไปชวยวิจยั และวิเคราะห ปญหา โดยสงเจาหนาที่เขาไปชี้แนะ เชน ที่ศูนยการเรียนรู เกาะชางใตนั้นเปนแหลงแลกเปลี่ยนความรูกัน เชน โรคภัยไขเจ็บ ภัยพิบตั ิ หรือเราจะอยูอ ยางไรเมือ่ เปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
92
Energy#52_p92-93_Pro3.indd 92
2/26/13 11:22 PM
แนวคิดหลักของโครงการฯ มุงเนนไปที่ 3 สวนสําคัญ คือ “รักษปา ” ซึง่ เปนตัวแทนของฐานทรัพยากรทีส่ าํ คัญ ไดแก ดิน นํา้ ปา “สรางคน” คือ การมุงพัฒนาคนใหรูถึงศักยภาพของตนเอง ศักยภาพของชุมชน สามารถคิดเปน พึ่งตัวเองได มีองคความรู ความสามารถใชความรูใ นการแกไขปญหา และเอือ้ เฟอ เผือ่ แผไปถึง ผูอื่น “วิถีพอเพียง” คือ การนอมนําแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวปฏิบตั กิ บั ทุกตําบลทีเ่ ขารวมโครงการฯ เพือ่ สรุปเปนองคความรูท จี่ ะเปนตนแบบขยายผลสูต าํ บลอืน่ ๆ ได ในขณะทีห่ ลักการดําเนินงาน ยังเนนการมีสว นรวมของทุกภาคสวน และยึ ด เอาความต อ งการของชาวบ า นและชุ ม ชนเป น หลั ก เนนการสรางความรูใหเกิดในชุมชนอยางยั่งยืน มากกวาที่จะใช เงินเปนตัวนํา
จากความสําเร็จของชุมชนที่เกิดขึ้น ณ ตําบลเกาะชางใต ที่ชาวบานอยูภายในวิถีพอเพียง มีกินมีใช และมีความสุขกับ ธรรมชาติ แต สิ่ ง ที่ น า กลั ว กํ า ลั ง คื บ คลานเข า ไปจนไม รู ว า ชาวบานจะตอสูอ ยางไร หากภาครัฐยังไมเหลียวแล ปลอยใหอยู กันตามยถากรรม และเกิดการบุกรุกอุทยานแหงชาติ ซึ่งเปน แหลงตนนํ้าของนายทุน เพื่อสรางรีสอรทและทาจอดเรือ และ กําลังทําลายวิถีชุมชนพอเพียงไปทีละนอย สุดทายก็คงไมตาง อะไรกับเกาะสมุยทีป่ จ จุบนั มีปญ หามลพิษทัง้ นํา้ เนาเสียและขยะ ลนเมืองเหมือนทุกวันนี้ 93
Energy#52_p92-93_Pro3.indd 93
2/26/13 11:23 PM
Special Scoop รังสรรค อรัญมิตร
โครงการผลิตไฟฟาพลังงานลม “หวยบง” 2 – 3 จุดประกายความหวัง เสริมความมั่นคงพลังงานลมไทย
หากเท า ความถึ ง แผนการพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน กระทรวงพลังงานเริ่มมีนโยบาย แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป (2551 – 2565) ในยุคของ “นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกลู ” อดีตรัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน แตในปจจุบนั ไดปรับเปนแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป (2555 – 2564) โดยการสงเสริมดานพลังงานลม กระทรวงพลั ง งานได อ อกมาตรการสนั บ สนุ น เพื่ อ จู ง ใจ ใหเกิดการลงทุนของผูประกอบการ ทั้งการลดภาษีนําเขา อุปกรณกังหันลมผลิตไฟฟา การงดเวนจัดเก็บภาษีรายได เปนเวลา 8 ป และลดภาษีรายไดรอยละ 50 ในปที่ 9-13 รวม ทั้งใหสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟา หรือแอดเดอร 4.50 บาทตอ หนวย สําหรับโครงการที่มีขนาดกําลังผลิตติดตั้งนอยกวา 50 กิโลวัตต และสนับสนุนแอดเดอร 3.50 บาท สําหรับกําลังผลิต มากกวา 50 กิโลวัตตขึ้นไป และยังสนับสนุนใหเปนโครงการที่ สามารถขายคารบอนเครดิต ตลอดจนใหสนิ เชือ่ อัตราดอกเบีย้ ตํ่าตอผูลงทุน
การผลิตไฟฟาจากพลังงานลมที่ผานมา สวนใหญเปน โครงการสาธิ ต ที่ ท ดลองผลิ ต ไฟฟ า และเป น โครงการที่ ผ ลิ ต ใชงานเอง ไมวาจะเปนที่ แหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช ลําตะคอง จ.นครราชสีมา โครงการทีเ่ กาะลาน และ โครงการชั่งหัวมัน เปนตน ซึ่งไมไดเปนโครงการที่ผลิตขาย ไฟฟาในเชิงพาณิชย ทั้งนี้ ในชวง 3 – 4 ปที่ผานมา ภายใตการสนับสนุนของ กระทรวงพลังงานในการสรางโรงไฟฟาพลังงานลมดูกระแส ตอบรับจากภาคเอกชนมีนอย เนื่องจากพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพ ลมเหมาะสําหรับติดตั้งกังหันลมในประเทศไทยนั้น สวนใหญ เปนพื้นที่เขตปาสงวน หรือพื้นที่ “สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม” (สปก.) ซึ่งมีอุปสรรคตอการเขาไปพัฒนาและ ลงทุนเปนอยางมาก เนื่องจากตองดําเนินการหลายขั้นตอน อยางไรก็ตาม ลาสุดในประเทศไทยไดมกี ารเปดตัวโครงการ ผลิตไฟฟาพลังงานลม ของ “บริษทั วินด เอนเนอรยี่ โฮลดิง้ จํากัด” ซึง่ เปนวินดฟารมหรือทุง กังหันลมทีม่ กี าํ ลังผลิตสูงสุดแหงแรกในประเทศ
94
Energy#52_p94-95_Pro3.indd 94
2/27/13 4:18 PM
และในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เรียกไดวาเปนการจุด ประกายหรือสรางกระแสใหคนกลับมาสนใจทีจ่ ะลงทุนในโครงการ ผลิตไฟฟาพลังงานลมอีกครั้ง โครงการผลิตไฟฟาพลังงานลมแหงนี้ยังสามารถพัฒนา เปนแหลงทองเที่ยวใหมของชุมชนที่จะดึงนักทองเที่ยวเขามาและ สรางรายไดใหแกชุมชนในพื้นที่ได เนื่องจากเปนโครงการขนาด ใหญตงั้ อยูบ นพืน้ ทีท่ วิ ทัศนสวยงาม นอกจากนีป้ ระชาชนยังมีราย ไดจากคาเชาพืน้ ทีต่ งั้ จุดกังหันลม 35,000 บาทตอไรตอ ป และคา เชาพื้นที่สรางโครงการ 2,000 บาทตอไรตอป สํ า หรั บ โครงการผลิ ต ไฟฟ า พลั ง งานลมของบริ ษั ท วินด เอนเนอรยฯี่ นัน้ ไดลงนามในสัญญาซือ้ ขายไฟฟาแลว 3 โครงการ ไดแก โครงการเวสต หวยบง 2 90 เมกะวัตต โครงการเวสต หวยบง 3 90 เมกะวัตต และโครงการพลังงานลมเขาคอ 60 เมกะวัตต ซึ่งมีกําลังการผลิตรวม 240 เมกะวัตต คาดวาจะเดิน เครื่องจําหนายไฟฟาพลังงานลมใหแก กฟผ. ไดในป 2557 โดยโครงการเวสตหวยบง 2 และโครงการเวสตหวยบง 3 นัน้ ตัง้ อยูใ นพืน้ ที่ อ.ดานขุนทด และอ.เทพารักษ จ.นครราชสีมา โดยแตละโครงการมีสัญญาซื้อขายไฟฟา ประเภท Non-firm สําหรับผูผลิตไฟฟารายเล็ก หรือ SPP โดยไดรับการสนับสนุน สวนตางราคารับซื้อไฟฟา หรือแอดเดอรจากภาครัฐที่ 3.5 บาท ตอหนวย เปนเวลา 10 ป ซึ่งทั้ง 2 โครงการ เปนการสงเสริมพลังงานทดแทนตาม นโยบายของภาครั ฐ ที่ กํ า หนดเป า หมายเพิ่ ม การผลิ ต ไฟฟ า จากพลังงานทดแทนเปน 9,201 เมกะวัตต ในป 2564 ที่มี สัดสวนพลังงานลม 1,200 เมกะวัตต ซึ่งจะชวยลดปริมาณ กาซคารบอนไดออกไซด 270,176 ตันตอป ลดการนําเขานํา้ มันเตา เพือ่ ผลิตไฟฟาไดปล ะประมาณ 96.4 ลานลิตร หรือคิดเปนมูลคา ประมาณ 2,040 ลานบาท นอกจากนี้ วินด เอนเนอรยี่ฯ ยังมีแผนพัฒนาโครงการ ผลิตไฟฟาพลังงานลมอีก 7 โครงการ ไมวาจะเปน โครงการ KORAT 02/1, KORAT 02/2, KORAT 02/3, KORAT 02/4,
โครงการ WATABAK, ST1 และโครงการ NORTH KRISSANA ซึ่งเปนโครงการที่ไดรับการตอบรับซื้อไฟฟาจาก กฟผ. แลว 3 โครงการ ไดแก KORAT 02/1, KORAT 02/2 และ KORAT 02/3 รวมกํ า ลั ง การผลิ ต 270 เมกะวั ต ต และจะสามารถลงนาม ในสัญญาซื้อขายไฟฟา (PPA) ภายในป 2556 นี้ อีกทั้งยังมี โครงการที่รอการตอบรับการพิจารณารับซื้อไฟฟาจาก กฟผ. อีก 4 โครงการ รวม 300 เมกะวัตต คาดวาจะสามารถเดินเครื่อง และจําหนายไฟฟาไดในป 2560 อย า งไรก็ ต าม หากรวมกํ า ลั ง การผลิ ต ทั้ ง โครงการ หวยบง 2 -3 โครงการที่เขาคอ และโครงการที่ไดรับการตอบรับ ซือ้ ไฟฟา และโครงการทีร่ อการตอบรับการพิจารณารับซือ้ ไฟฟา นัน้ จะมีกาํ ลังการผลิตไฟฟารวม 810 เมกะวัตต ภายใตเปาหมาย การผลิตไฟฟาจากพลังงานลมทีจ่ ะสราง 1,000 เมกะวัตต ดังนัน้ เทากับวาเหลืออีก 190 เมกะวัตต ซึ่ง บริษัท วินด เอนเนอรยี่ โฮลดิ้ง จํากัด สามารถผลิตไดตามเปาหมายที่วางไว ตองติดตามกันตอไปวาโครงการผลิตไฟฟาพลังงานลม จะมีแหงใดเกิดขึ้นอีก นอกจากโครงการของวินด เอนเนอรยี่ฯ และจะมีพนื้ ทีใ่ ดทีม่ กี าํ ลังลมเหมาะกับการติดตัง้ กังหันลมทีน่ าํ ไป สูเปาหมายที่รัฐบาลตั้งไว
95
Energy#52_p94-95_Pro3.indd 95
2/27/13 4:18 PM
Special Scoop เจริญรัตน วงศสุวรรณ
เกษตร…ลาดกระบัง เรงเพาะตนกลาเยาวชน
โครงการ “ดํานาเพาะกลาคนเกษตร”
รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มอย า งยั่ ง ยื น
ทีผ่ า นมาหลายคนอาจเคยเห็นการทํานาทัว่ ไป แตการทํานา ทีค่ าํ นึงถึงสิง่ แวดลอมจะมีสกั กีแ่ หงในประเทศไทย ชาวนาทีย่ งั ทํา นาเปนอาชีพเหลือเพียงรุน พอแมของเราเทานัน้ ลูกหลานทีเ่ ขามา เรียนหนังสือก็หนั ไปประกอบอาชีพอืน่ ทีไ่ มใชเกษตรกรรม อาชีพ กระดูกสันหลังของชาติไรซงึ่ เรีย่ วแรงลงทุกที ในอนาคตหากการ ปลูกขาวใชเครือ่ งจักรกลในทุกขัน้ ตอนแทนแรงงานคน คนไทยคง ไดกนิ ขาวทีม่ รี าคาแพงเปนแน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา คุณทหารลาดกระบัง ไดจดั กิจกรรม “ดํานา เพาะกลาคนเกษตร” เพือ่ ปลูกฝงใหเยาวชน บุคคลทัว่ ไป และยังใชเปนวิธกี ารรับนองใหม ของคณะใหรจู กั การทํานาในกรอบแนวคิด “ทองนาอินทรียท ชี่ ว ย อนุรกั ษสงิ่ แวดลอม” โดยคํานึงถึงทรัพยากรธรรมชาติทกุ ปจจัย ตัง้ แต ดิน นํา้ อากาศ และระบบนิเวศ อืน่ ๆ ปลูกฝงใหบณ ั ฑิตรุน ใหม ไดรบั รู ตระหนัก เขาใจ และมีจติ สํานึกในการอนุรกั ษภมู ปิ ญ ญาการ ทํานาแบบไทย ๆ ใหคงอยูส บื ไป
อาจารยวิชัย ลิ้มกาญจนพงศ ไดสอนขอคิดดี ๆ ใหกับ นักศึกษา ในการอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนจากการทํานา โดย “สอนใหคดิ ..แลวลงมือทํา..หากไมทาํ ..เรายอมไมเกิดความ ตระหนักรูและเขาใจปญหาไดอยางแทจริง” บทเรียนดี ๆ ถูก ถายทอดสูภ าคสนาม นอกจากนี้ นางสาวจิราพร วิทาโน ตัวแทน นักศึกษาทีร่ ว มจัดงานจากสาขาวิชาพืชไร กลาววา “จริง ๆ แลว การทํานาแบบอินทรียท ปี่ ลอดสารพิษ นอกจากจะสรางมูลคาเพิม่ ไดมากกวาการทํานาแบบเคมีแลว ตนทุนทีใ่ ชยงั มีราคาถูกกวา สัตวเล็กสัตวนอ ยทีอ่ าศัยอยูใ นนายังชวยหมุนเวียนระบบนิเวศได เปนอยางดี การลดใชพลังงานจากการใชเครือ่ งจักรกลเกษตร ทําใหประเทศของเราประหยัดพลังงานไปไดอกี มาก กิจกรรมทีถ่ กู ถายทอดเหลานีเ้ กิดจากแรงบันดาลใจจากการไปดูงานหลากหลาย สถานที่ แลวอยากนํามาถายทอดตอ”
นอกจากกิจกรรมดํานาแบบอินทรียแลว ภายในงานยังมี กิจกรรมทีส่ นับสนุนแนวคิดวิถเี กษตรแบบพอเพียงและเปนมิตรตอ สิง่ แวดลอมอีกมากมาย โดยเนนใชของไทยจากภูมปิ ญ ญาไทย ทีน่ าํ นวัตกรรมยุคใหมเขามาผสมผสาน แตยงั คงความเปนธรรมชาติ เชน ขีผ้ งึ้ เคลือบเงารถทีท่ าํ มาจากนํา้ มันรําขาว ไวนมะขาม ไวนกระเจีย๊ บ ชาใบขาวตานอนุมลู อิสระ ชุดเพาะเห็ดจิว๋ สําหรับครอบครัวยุคใหม เปนตน สิง่ เหลานีเ้ ปนสุดยอดแนวคิดทีล่ ดตนทุนการผลิต โดยใช วัตถุดบิ ในประเทศ และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม โครงการดังกลาวปลูกฝงใหเกิดความรัก สามัคคี และเปน กิจกรรม “รับนองใหม” ทีม่ ปี ระโยชนดยี งิ่ ความหวังของชาติถกู ถายทอดและปลูกฝงใหกบั เยาวชนเหลานี้ ใหเปนบัณฑิตทีค่ ดิ แบบ green thinking ตอไป เพราะในยุคการเรียนสมัยใหม ปญญาชน ของชาติจะมีสกั กีค่ รุย….ทีล่ ยุ โคลน !!
96
Energy#52_p96_Pro3.indd 96
2/26/13 11:26 PM
Life Style
เจริญรัตน วงศสุวรรณ
SANTORINI PARK @ ชะอํา
สวนสนุกกลิ่นอาย “กรีซ”
ใครกํ า ลั ง มองหาที่ เ ที่ ย วใกล ๆ กรุ ง เทพฯ อยู บ า ง ? ในชวงวันหยุดใชเวลาเดินทางไมนานนักเดินทางมุง หนาสูจ งั หวัด เพชรบุรี มีที่ถายรูปสวย ๆ ช็อปปงเพลิน ๆ แถมมีของเลน สุดหวาดเสียวใหไดทดลองเลนกัน !!
ภายในประกอบดวย 5 โซนหลัก คือ โซนที่ 1 โซนพารค (Park) คือสวนของความมันสความหรรษา โซนที่ 2 โซนวิลเลจ (Village) แหลงช็อปปง สุดฮิพในยานหัวหิน-ชะอํา ทัง้ แบรนดเนม แฮนดเมด หรู ๆ แนว ๆ โซนที่ 3 โซนเรสต แอเรีย (Rest Area) โซนพั ก ระหว า งทางสํ า หรั บ ผู สั ญ จรผ า นมากั บ หลากร า น บรรยากาศสบาย ๆ โซนที่ 4 โซนอีเวนท (Event) พื้นที่สําหรับ จัดกิจกรรมพิเศษตลอดป และโซนที่ 5 โซนวีคเอนด อารต มารเก็ต (Weekend Art Market) ตลาดนัดวันหยุด เปดบริการ วันเสาร-อาทิตย สําหรับผูที่ชื่นชอบงานศิลปะและสินคาทํามือ ในบรรยากาศตลาดนัดในสวน และกิจกรรมอื่น ๆ อีกเพียบ
SANTORINI PARK สวนสนุกแหงใหมที่เพิ่งเปดตัวใน ป 2555 นี้เอง ใครที่ขับรถผานเสนทาง ชะอํา-หัวหิน คงไดเห็น ชิงชาขนาดใหญสะดุดตาตั้งตระหงานติดถนน เดินทางสะดวก มีที่จอดรถกวา 1,500 คัน เดินทางเพียง 2 ชั่วโมงเศษจาก กรุงเทพฯ หรือเพียง 20 นาทีจากหัวหิน สําหรับที่มาของคําวา SANTORINI มาจากสถาปตยกรรมฟาขาวจากเกาะซานโตรินี ประเทศกรีซ เจาของคือ “พีนา กรุป ”บริษทั ทีท่ าํ ธุรกิจดาน Retail และ Outlet Mall อยาง Premium Outlet Cha-Am ภายในมีแหลงช็อปปงมากมาย ภายใตสโลแกนสนุก ๆ “Amused Shopping Experience” ประมาณวา ช็อปกันเพลิน ๆ เดิ น เล น ยามเย็ น ออกกํ า ลั ง กายด ว ยเครื่ อ งเล น ระดั บ โลก ที่มีแคปซูลยักษดีดตัวเราใหลอยสูงลิ่วสุดหวาดเสียว ทามกลาง สถาป ต ยกรรมและงานประติ ม ากรรมที่ ไ ด รั บ แรงบั น ดาลใจ มาจากความงามของเกาะซานโตรินี ประเทศกรีซ เปนอีกหนึ่ง ที่เที่ยวสรางสรรคที่ดึงดูด นักช็อป นักแชะ และนักชิล เพราะ SANTORINI จะมีกิจกรรมมากมายผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนมา สรางความสุขตลอดทั้งป
เปดใหบริการ วันจันทร-พฤหัสบดี เวลา 10.00 – 21.00 น. ไมเสียคาบัตรผานประตู สวนในวันศุกร-เสาร-อาทิตย และ วันหยุดนักขัตฤกษ 10.00 – 21.00 น. คาบัตรผานประตูทา นละ 50 บาท เกริ่นกันมาซะขนาดนี้ สนุกแคไหนบอกไดคําเดียววา “ตองลอง” 97
Energy#52_p97_Pro3.indd 97
2/26/13 11:31 PM
Energy Clinic
ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย
อุปกรณประหยัดพลังงาน ในเครื่องปรับอากาศ Q : สวัสดีครับอาจารย ชวงนีเ้ ริม่ เขาสูฤ ดูรอ นกันแลวนะ ครับ (จริง ๆ แลวตอนนีป้ ระเทศไทยนาจะมีฤดูรอ นฤดูเดียวนะ ครับ เพียงแตรอ นมากหรือรอนนอยเทานัน้ เอง) ก็ตอ งขอรบกวน อาจารยอกี ครัง้ นะครับ เพือ่ เตรียมตัวรับลมรอนทีก่ าํ ลังจะมาถึง ในไมชานี้ ตองเตรียมพรอมหาวิธีประหยัดพลังงานไฟฟา ในสวนของเครื่องปรับอากาศในสภาวะคาไฟแพงขึ้นเรื่อย ๆ เดือนเมษายนที่จะถึงนี้จะมีการปรับคา FT ขึ้นอีกเทาไร ซึ่ง ครอบครัวใหญ ๆ มักจะมีเครือ่ งปรับอากาศไวใชงานหลายตัวมาก ยกตัวอยางบานผมครอบครัวเล็ก ๆ ยังใชเครื่องปรับอากาศ 2 เครือ่ งเลยครับ คาไฟฟาอยูท ปี่ ระมาณเดือนละ 1,800 – 2,200 บาท ถาเปนหนารอนจะอยูท ปี่ ระมาณ 2,300 – 2,800 บาทเลยครับ ผมอยากถามอาจารย ว า ป จ จุ บั น การขยายตั ว ของเครื่ อ ง ปรับอากาศเปนอยางไรบางครับ ถาเปลี่ยนหรือชื้อเครื่อง ปรับอากาศประสิทธิภาพสูงเครือ่ งใหม ราคาจะสูงไหมครับ อยาก ใหอาจารยชว ยแนะนําหนอยครับ A : การใช ง านเครื่ อ งปรั บ อากาศในป จ จุ บั น มี อั ต รา การขยายตั ว สู ง มากเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ สถิ ติ เ มื่ อ 5 ป ก อ น เครื่องปรับอากาศไมไดเปนสินคาขายดีเฉพาะแคในหนารอนอีก ตอไปแลว ไมเพียงสภาพอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงและแปรปรวนจาก ธรรมชาติปกติ แตหนึง่ ในปจจัยทีเ่ ขามาผลักดันใหตลาดขยายตัว คงหนีไมพนการขยายตัวตามอสังหาริมทรัพยที่ปูพรมไปทั่ว ประเทศ จากการเก็บตัวเลขลาสุดใน ชวง 11 เดือนของยอดขาย ทัง้ ตลาดในชวงปทผี่ า นมา พบวาเครือ่ งปรับอากาศ สามารถขยาย ตัวไดมากถึง 13% หรือมูลคา 1.35 หมืน่ ลานบาท แมวา ชวงตนป จะประสบป ญ หาสิ น ค า ขาดตลาดและไม เ พี ย งพอกั บ ความ ตองการ หลังจากที่ฐานการผลิตเครื่องปรับอากาศหลายคาย ประสบภัยนํ้าทวมและชิ้นสวนผลิตขาดตลาด สงผลใหปริมาณ การใชพลังงานไฟฟารวมของทั้งประเทศสูงขึ้นตามไปดวย ปจจุบันทางการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดสงเสริมใหประชาชนรวมใจกันประหยัดการใชพลังงานไฟฟา และใชพลังงานไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ โดยไดขอความรวมมือ กับผูผ ลิตเครือ่ งปรับอากาศใหเขารวมโครงการเพือ่ กําหนดระดับ ประสิทธิภาพและพัฒนาเครื่องปรับอากาศเพื่อติดฉลากแสดง ระดับประสิทธิภาพเบอร 5 โดยเกณฑที่ใชกําหนดใหผลิตภัณฑ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งปรั บ อากาศสํ า หรับ ห อ งต อ งเป น ไปตาม มาตรฐานเลขที่ มอก. 2134 – 2553 ตามประกาศกระทรวง อุตสาหกรรมฉบับที่ 4315 (พ.ศ. 2554) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511
เรื่องยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑเครื่องปรับอากาศ สําหรับหองเฉพาะด านสิ่งแวดลอม ทําใหเครื่องปรับอากาศ ที่ออกจําหนายในป 2554 หรือในป 2012 สําหรับเครื่องปรับ อากาศรุนใหม ประหยัดไฟเบอร 5 จะตองมีคา EER = 11.6 เปน อยางตํ่า ซึ่งราคาเครื่องปรับอากาศคงปรับขยับขึ้นตามไปแลว
Q : อาจารยครับแลวมีเทคโนโลยี/อุปกรณชวยประหยัด พลังงานไฟฟาในเครื่องปรับอากาศบางหรือเปลาครับ A : ปจจุบันมีเทคโนโลยี/อุปกรณชวยประหยัดพลังงาน ไฟฟา ในเครื่ อ งปรั บ อากาศอยู ห ลายชนิ ด ลองไปศึ ก ษาดู ใ น เว็บไซตของกระทรวงพลังงาน แตอาจารยจะแนะนําอุปกรณ ชวยประหยัดพลังงานไฟฟาในเครื่องปรับอากาศชื่อวา Happy Air ใหทราบแลวกัน
98
Energy#52_p98-100_Pro3.indd 98
2/19/13 9:20 PM
Q : อาจารย ค รั บ แล ว เทคโนโลยี / อุ ป กรณ ที่ ชื่ อ ว า Happy Air มีหลักการทํางานอยางไรครับ A : การทํางานของระบบปรับอากาศแบบแยกสวน กลไกการทํางานของเครื่องปรับอากาศ มีสวนประกอบ ที่สําคัญของระบบทําความเย็น (Refrigeration Cycle) หลัก ทั้งหมด 4 สวน ไดแก 1. คอมเพรสเซอร (Compressor) ทํ า หน า ที่ อั ด เพิ่มแรงดัน และขับเคลื่อนสารทําความเย็น (Refrigerant) ใน ระบบ โดยทําใหสารทําความเย็นมีอุณหภูมิและความดันที่สูงขึ้น 2. คอนเดนเซอรหรือคอยลรอน (Condenser) ทําหนาที่ ระบายความรอนของสารทําความเย็นผานทางแผงระบายความ รอน (Fin) และใชพัดลมดูดลมเพื่อใชเปนตัวถายเทความรอน 3. อี ว าปพอเรเตอร ห รื อ คอยล เ ย็ น (Evaporator) ทํ า หน า ที่ ดู ด ซั บ ความร อ นภายในห อ งปรั บ อากาศมาถ า ยเท ใหกับสารทําความเย็น 4. อุปกรณลดความดัน (Throttling Device) ทําหนาที่ ลดความดันและอุณหภูมขิ องสารทําความเย็น โดยทัว่ ไปจะใชเปน แคปพิลลารีทิวบ (Capillary tube) หรือ เอ็กสแปนชันวาลว (Expansion Valve) ระบบการทํ า ความเย็ น ที่ กํ า ลั ง กล า วถึ ง คื อ ระบบอั ด ไอ (Vapor-Compression Cycle) ซึ่ ง มี ห ลั ก การทํ า งาน งาย ๆ คือ การทําใหสารทําความเย็น (นํา้ ยา) ไหลวนไปตามระบบ โดยผานสวนประกอบหลักทั้ง 4 อยางตอเนื่องเปนวัฏจักรการ ทําความเย็น (Refrigeration Cycle) โดยมีกระบวนการดังนี้ 1) เริ่มตนโดยคอมเพรสเซอรทําหนาที่ดูดและอัดสาร ทําความเย็น เพื่อเพิ่มความดันและอุณหภูมิของนํ้ายา แลวสง ตอเขาคอยลรอน 2) นํ้ายาจะไหลวนผานแผงคอยลรอนโดยมีพัดลมเปา เพื่อชวยระบายความรอน ทําใหนํ้ายาที่จะออกจากคอยลรอน มีอุณหภูมิลดลง (ความดัน (P) คงที่) จากนั้นจะถูกสงตอไป ใหอุปกรณลดความดัน 3) นํ้ายาที่ไหลผานอุปกรณลดความดัน จะมีความดันและ อุณหภูมทิ ตี่ าํ่ มาก แลวไหลเขาสูค อยลเย็น (หรือทีน่ ยิ มเรียกกันวา การฉีดนํ้ายา) 4) จากนั้ น นํ้ า ยาจะไหลวนผ า นแผงคอยล เ ย็ น โดย มี พั ด ลมเป า เพื่ อ ช ว ยดู ด ซั บ ความร อ นจากภายในห อ ง เพื่อทําใหอุณหภูมิในหองลดลง สงผลใหนํ้ายาที่ออกจากคอยล เย็นมีอุณหภูมิสูงขึ้น (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกสงกลับเขา คอมเพรสเซอรเพื่อทําการหมุนเวียนนํ้ายาตอไป
หลังจากทีท่ ราบการทํางานของวัฏจักรการทําความเย็นแลว พอจะสรุปงาย ๆ ไดดังนี้ 1) สารทําความเย็นหรือนํ้ายา ทําหนาที่เปนตัวกลาง ดู ด เอาความร อ นภายในห อ ง (Indoor) ออกมานอกห อ ง (Outdoor) จากนัน้ นํา้ ยาจะถูกทําใหเย็นอีกครัง้ แลวสงกลับเขาหอง เพือ่ ดูดซับความรอนอีก โดยกระบวนการนีเ้ กิดขึน้ อยางตอเนือ่ ง ตลอดการทํางานของคอมเพรสเซอร 2) คอมเพรสเซอรเปนอุปกรณชนิดเดียวในระบบทีท่ าํ หนาที่ ขับเคลื่อนนํ้ายาผานสวนประกอบหลัก คือ คอยลรอน อุปกรณ ลดความดัน และคอยลเย็น โดยจะเริม่ ทํางานเมือ่ อุณหภูมภิ ายใน หองสูงเกินอุณหภูมิที่เราตั้งไว และจะหยุดทํางานเมื่ออุณหภูมิ ภายในหองตํ่ากวาอุณหภูมิที่เราตั้งไว ดังนั้นคอมเพรสเซอรจะ เริม่ และหยุดทํางานอยูต ลอดเวลาเปนระยะ ๆ เพือ่ รักษาอุณหภูมิ หองใหสมํ่าเสมอตามที่เราตองการ Q : อาจารยครับแลวอุปกรณ Happy Air จะสามารถ ประหยัดพลังงานไดเทาไหรครับ A : คาใชจายดานพลังงานของระบบปรับอากาศเครื่อง ปรับอากาศเปนอุปกรณ ไฟฟาที่ใชพลังงานมากและสิ้นเปลือง ค า ใช จ า ยสู ง เห็ น ได จ ากพลั ง งานไฟฟ า โดยรวมของเครื่ อ ง ใช ไ ฟฟ า ภายในบ า น 50-80 % เป น พลัง งานที่ ใช กับ เครื่อง ปรับอากาศ แตอยางไรก็ตามดวยอุณหภูมบิ า นเรารอนขึน้ เรือ่ ย ๆ เครื่องปรับอากาศก็มีความจําเปนอยางหลีกเลี่ยงไมได ดังนั้น เราควรจําเปนทีจ่ ะตองทําความเขาใจเรือ่ งคาใชจา ยพลังงาน เพือ่ นํ า ไปพิ จ ารณาประกอบการเลื อ กซื้ อ เครื่ อ งปรั บ อากาศที่ ใ ช พลังงานไฟฟาอยางเหมาะสมและไมเกินความจําเปน ดังแสดง คาใชจายดานพลังงานไฟฟาในตารางที่ 1 ชนิด
Btu/h
วัตต จํานวนหนวย ระยะเวลา ที่ ใชตอชั่วโมง ใชงาน/วัน
920 1150 2900 680 1130 2490 1330
0.92 1.15 2.99 0.68 1.13 2.49 1.33
ตั้ง/แขวน 24000 2710
2.71
ติดหนาตาง 9000 12000 24000 ติดผนัง 9000 12000 24000 12000
พลังงานไฟฟา ที่ใช (หนวย)/เดือน
165.6 207.0 8ชั่ ว โมง 538.2 คอมเพรสเซอร 122.4 ทํางาน 203.4 6 ชั่วโมง 448.2 239.4 487.8
คาไฟ
728.64 910.80 2,368.08 538.36 894.96 1,972.08 1,053.36 2,146.32
ตารางที่ 1 แสดงคาใชจายดานไฟฟา จากเครื่องปรับอากาศประเภทตาง ๆ
อุ ป กรณ ล ดปริ ม าณการใช พ ลั ง งานของเครื่ อ ง ปรับอากาศ
หลักการทํางานของอุปกรณเสริมเพื่อปรับปรุงใหเครื่อง ปรับอากาศเพิ่มประสิทธิภาพ คือ การใชประโยชนจากนํ้าเย็น ที่เกิดจากการควบแนนที่คอยลเย็น ซึ่งเดิมเปนนํ้าทิ้งของระบบ มาใชระบายความรอนของสารทําความเย็นบริเวณทีส่ ารทําความ เย็ น ออกจากหั ว คอมเพรสเซอร ก อ นเข า ระบายความร อ น ที่คอนเดนเซอร ใหสารทําความเย็นมีแรงดันและอุณหภูมิลดลง สงผลใหสามารถควบแนนปริมาณทีม่ ากยิง่ ขึน้ กวาการใชอากาศ 99
Energy#52_p98-100_Pro3.indd 99
2/19/13 9:20 PM
ระบายความรอนอยางเดียว สงผลใหปริมาณการรับความรอน ที่แผงคอยลเย็นทํางานไดเร็วขึ้นกวาระบบเดิม และก็สงผลให คอมเพรสเซอรตัดตอไดเร็วขึ้น ชวยเพิ่มประสิทธิภาพไดไมแพ แอรเบอร 5 แอรอินเวอรเตอร หรือแอร ไฮบริดในทองตลาด แตแอรในกลุมดังกลาวยังสามารถใชอุปกรณเสริมนี้ได โดยมี ผลประหยัดพลังงานเพิ่มขึ้นจากของเดิม โดยผลประหยัดที่ได อยูในชวง 10-30%
การทดสอบกับเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน
ผลการทดสอบกับเครื่องปรับอากาศขนาด 12,000 บีทียู ใชในหองสํานักงานมีการเปดใชงานตั้งแต 10.00 น. – 18.00 น. เปรี ย บเที ย บกั น จํ า นวน 2 วั น ระหว า งวั น ที่ ไ ม มี ก ารติ ด ตั้ ง อุปกรณเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ (Happy Air) และ วันที่มีการติดตั้งอุปกรณ ผลสรุปที่ไดปรากฏวาวันที่ไมมีการ ติดตั้งอุปกรณมีการใชพลังงานไปทั้งสิ้น 6.90 กิโลวัตตชั่วโมง ตอวัน และวันที่มีการติดตั้งอุปกรณมีการใชพลังงานอยูที่ 5.46 กิโลวัตตชั่วโมง โดยสภาวะอากาศภายนอกเฉลี่ยที่ 34.3 และ 34.5 องศาเซลเซียส ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบอัตราการใช พลังงานพบวามีผลประหยัดที่เกิดขึ้นเทากับ 20.9% ซึ่งเปนผล ประหยัดที่นาสนใจสําหรับเครื่องปรับอากาศตามบานพักอาศัย Happy Air 1.80 1.60 1.40 1.20 1.00
kW 0.80 0.60 0.40 0.20 000 0.
Q : อุปกรณ Happy Air นี้นาสนใจมากเลยนะครับ คงจะ ชวยใหผมประหยัดคาไฟฟาได หากมีการนํามาติดตัง้ กันมาก ๆ ก็จะชวยประเทศชาติประหยัดพลังงานลงไดนะครับ อาจารยจะ หารายละเอียดอุปกรณหรือสอบถามเรื่องราคาไดที่ไหนครับ
A : ทานที่สนใจรายละเอียดอุปกรณ Happy Air สามารถ ติดตอไดที่ บริษทั กรีน แอนด อีโค ไอเดีย จํากัด โทร.0-2349-7514 โทรสาร. 0-2349-7515 Q : ขอบคุณครับอาจารย ผมไดความรูเ กีย่ วกับอุปกรณ ชวยประหยัดพลังงานไฟฟาในเครือ่ งปรับอากาศชือ่ วา Happy Air มากเลยครับ ขอบคุณครับอาจารย A : ครับ ลองใชงานดูนะครับ สวัสดีครับ อย า ลื ม นะครั บ การประหยั ด พลั ง งานถื อ เป น หน า ที่ ของพวกเราคนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงาย ๆ จาก ตัวเราเองกอนที่ตองลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพื่อเปนการอนุรักษพลังงานไวใหลูกหลานของเราไดมีใชใน วันขางหนา เอกสารอางอิง 1. ที่ปรึกษาดานพลังงานและสิ่งแวดลอม โดย นายกิตติศักดิ์ จัน่ เพชร กรรมการผูจ ดั การ บริษทั แอ็ดวานซ เอนเนอรย่ี เซฟวิง่ จํากัด 2. เอกสารการทดสอบอุ ป กรณ ป ระหยั ด พลั ง งานในเครื่ อ ง ปรับอากาศ บริษัท แอ็ดวานซ เอนเนอรยี่ เซฟวิ่ง จํากัด 3. หนั ง สื อ การทํ า ความเย็ น และการปรั บ อากาศ, ผศ.น.อ. ดร.ตระการ กาวกสิกรรม 4. http://www.prachachat.net/news_detail.php 5. http://www.kmitl.ac.th/~kpmonsak/Refrigeration/Refrigeration_AirConditioning_Introduction.pdf 6. เอกสารคุ ณ ลั ก ษณะของผลิ ต ภั ณ ฑ Happy air บริ ษั ท กรีน แอนด อีโค ไอเดีย จํากัด
100
Energy#52_p98-100_Pro3.indd 100
2/19/13 9:20 PM
Energy Tip
เจริญรัตน วงศสุวรรณ
10 วิธปี ระหยัดพลังงานแบตเตอรี่ สําหรับ Smart phone ของคุณ
ยุ ค ที่ เ ทคโนโลยี ทั น สมั ย เดิ น ไปไหนมาไหน ก็ มี แ ต ค น Touch หนอจอมือถือกันเต็มบานเต็มเมือง การใชเทคโนโลยี ควบคูกับการประหยัดพลังงานถือวาเราไดชวยโลกอีกทาง หนึ่ง แถมยังชวยประหยัดแบตเตอรี่เพื่อการใชงานที่ยาวนาน ขึ้น โดยเฉพาะผู ใชมือใหมที่ประสบปญหาแบตเตอรี่หมดเร็ว 10 วิธีเหลานี้สามารถชวยคุณได….มาดูกัน !! 1. หมัน่ เปดเช็คเปอรเซนตของแบตเตอรี่ วาถูกใชไปกับอะไร มากทีส่ ดุ เขาไปดูไดที่ setting >> About phone>>Battery use และจงปดสิ่งที่ไมจําเปนลงซะ!
2. ปด 3G ถาไมจําเปน เมื่อคุณไมมีความจําเปนตองใช การรับสงขอมูลดวยความเร็วสูง ควรปดเอาไวเพราะคอนขาง กินแบตเตอรี่มาก 3. ลดความสวางหนาจอ สําหรับคนที่ชอบหนาจอสวาง ๆ คงตองยอมลดความสวางลง ซึ่งจะชวยประหยัดแบตเตอรี่และ ถนอมสายตาไดดวย เขาไปที่ Settings » Sound & Display » Brightness
4. สําหรับหนาจอแบบ Amoled ควรเปลี่ยนสี Background เปนสีดาํ แทนทีร่ ปู ภาพหรือ background สีจดั ๆ แทน
5. ตั้งคา Screen timeout หรือการตั้งใหหนาจอดับเอง อัตโนมัติเมื่อไมใชงาน สามารถตั้งไดเองตามความเหมาะสมของ ผูใชแตละคน เชน 30 วินาที 1 นาที หรือ 2 นาที 6. การปดการเชือ่ มตอ wireless เมือ่ ไมจาํ เปนตองใชงาน ก็สามารถชวยลดการใชแบตเตอรี่ลงไดมาก 7. ปด Bluetooth เมือ่ ไมมคี วามจําเปนตองใชการเชือ่ มตอ กับอุปกรณอื่น ๆ
8. ปดระบบการสั่นและการแจงเตือน เมื่อเปดเสียงเรียก เขาแลวควรปดระบบการสั่น จะชวยลดการใชพลังงานลงได 9. สําหรับมือถือที่มี Widget ควรลดการใช Widget ประดับหนาจอ เพราะจะทําใหมือถือมีการดึงขอมูลมาแสดงผล ตลอดเวลาซึ่งจะทําใหกินแบตเตอรี่มาก
10. อยาเปดแอพพลิเคชั่นทิ้งเอาไว หลังใชแอพพลิเคชั่น เสร็จแลวควรกดปด และกลับไปทีห่ นาจอ home screen จะเปน ทางที่ดีที่สุดหลังการใชงานแอพพลิเคชั่น เพียงเทานี้ เราก็สามารถเก็บแบตเตอรีไ่ วใชงานไดอกี นาน มีประโยชนกับโลกและตัวคุณ “เทคโนโลยีกาวไกล เราก็ตอง ใชหัวใจสีเขียวกาวตาม” สรางจิตสํานึกใสใจพลังงานและสิ่ง แวดลอมจากเรื่องใกลตัว 101
Energy#52_p101_Pro3.indd 101
2/15/13 10:38 PM
Special Report วรรณวิภา ตนจาน
การทองเที่ยวคารบอนตํ่า สนุกสนานแบบอนุรักษธรรมชาติ
ในแตละปทผี่ า นมามีนกั ทองเทีย่ วชาวตางชาติเขามาทองเทีย่ ว ในประเทศไทยเปนจํานวนมาก รวมทัง้ ชาวไทยอยางเรา ๆ ทาน ๆ ดวย ดานเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาไปอยางรวดเร็วเก็บเงิน เก็บทองไดเปนกอบเปนกํา แตมาพรอมกับความเสือ่ มโทรมของ สภาพแวดลอมและแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติอยางเลี่ยง ไมได นอกจากนีก้ ารเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศยังสงผล กระทบตอแหลงทองเที่ยวและทรัพยากรธรรมชาติอีกดวย ฉะนั้นภาคการทองเที่ยวจึงตองพัฒนารูปแบบของการทอง เที่ยวในการปองกันปญหาดังกลาวในอนาคต โครงการปองกันสภาพอากาศในภาคการทองเที่ยวเปน องคกรความรวมมือระหวางประเทศเยอรมัน (GIZ) และองคการ บริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (อพท.) รวมกันดําเนินงาน โดยไดรบั ทุนสนับสนุนจากกระทรวงสิง่ แวดลอมคุม ครองธรรมชาติและความปลอดภัยทางปรมาณูแหง สหพันธรัฐเยอรมนี โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ผสานแนวคิดปกปอง สภาพอากาศเขากับการจัดทําแผนและการจัดการทองเที่ยว เพื่อพัฒนาใหพื้นที่เกาะชางและพื้นที่เชื่อมโยงเปนตนแบบของ การทองเที่ยวที่เปนมิตรตอสภาพภูมิอากาศ
ในขณะที่ พลตรีหญิงจรัสพิมพ ธีรลักษณ ผูจ ดั การพืน้ ที่ พิเศษหมูเกาะชางและพื้นที่เชื่อมโยง กลาววา ในเรื่องของการใช พลังงานทดแทน ซึ่งภาคภาคีการทองเที่ยวไดพยายามทําให ผู ป ระกอบการใส ใ จสิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น หมายความว า ถ า ประชาชนตองการจะเขาพักในโรงแรมสีเขียว สามารถมัน่ ใจไดเลย วาทางโรงแรมมีการจัดการที่ดี ซึ่งผูประกอบการเองก็สามารถ ทําได เชน การปลูกตนไม เปนตน โครงการสงเสริมการทองเที่ยวแบบคารบอนตํ่าเกิดขึ้นใน เขตพื้นที่ จ.ตราด โดยเฉพาะที่เกาะชาง เกาะกูด และเกาะไหง โดยผานการเผยแพรแนวคิดและความรูใ หกบั ผูป ระกอบการในการ ดําเนินการ ซึ่งเกาะชางนับเปนพื้นที่ที่ประสบความสําเร็จในการ ดําเนินโครงการมากที่สุด เนื่องจากทุกภาคสวนตั้งแตองคกร ปกครองสวนทองถิน่ ชุมชน ประชาชน เยาวชน และผูป ระกอบการ ที่พัก ลวนใหความรวมมือในการลดการปลอยกาซคารบอน สูช นั้ บรรยากาศ เริม่ ตัง้ แตการใชชวี ติ ประจําวันจนกระทัง่ กิจกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยว โครงการดังกลาวสงเสริมใหนกั ทองเทีย่ วมีสว นรวมในการ ชวยลดการปลอยกาซคารบอนสูชั้นบรรยากาศ อาทิ การแจก คูมือทองเที่ยวเกาะชาง ที่ประกาศตัวเปนแหลงทองเที่ยวแบบ คารบอนตํ่า ผานกิจกรรมปนจักรยานเที่ยวแทนการใชรถยนต หรือรถจักรยานยนต หรือเมนูอาหารชวยลดโลกรอน เปนตน นอกจากนี้ในเขตพื้นที่ภูเก็ต เกาะสมุย และแหลงทองเที่ยวอื่น ๆ ก็สามารถที่จะนําเอาเกาะชางมาเปนตนแบบในการนําไปจัดการ ในเขตพื้นที่ของตนได
นอกจากนี้ใครจะไปรูวา ทรัพยากรธรรมชาติในบานเรา ที่แมวายังคงมีอยูอยางอุดมสมบูรณนั้นจะสามารถดํารงอยูได อยางยาวนานจนถึงเมื่อใด วันนี้เราจึงจําเปนตองหันกลับมา ประเมิ น ค า ของสิ่ ง แวดล อ มที่ ถู ก ใช ไ ปและที่ เ หลื อ อยู ว า จะ สามารถคงอยูไปไดอีกนานมากนอยแคไหนดังนั้นเราตองหา แนวทางในการพั ฒ นาให สิ่ ง แวดล อ มมี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ ยิ่งขึ้น เพื่อการพัฒนาสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืนตอไป 102
Energy#52_p102_Pro3.indd 102
2/23/13 1:58 AM
แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)
ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ
ชาย
หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........
ตําแหนง :
เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................
อาชีพ :
นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค
นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา
ลักษณะงานของหนวยงาน :
วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ
วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................
สถานที่จัดสงนิตยสาร
ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท รวมภาษีมูลคาเพิ่มแลว 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท รวมภาษีมูลคาเพิ่มแลว เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)
วิธีชําระเงิน
เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........
สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่
www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ
เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต
HO
ro P T
m
!! n otio
103
Energy#52_p103_Pro3.indd 103
2/28/13 9:11 AM
Energy Thinking ปยะนุช มีเมือง
ลําบาก ดีกวา สบาย !!
ขอคิดสะกิดใจทีอ่ ยากพูดถึงในฉบับนี้ เปนเรือ่ งราวสะกิด ตอมความคิดจากเพือ่ นรวมงาน หลายคนคงเคยรูส กึ เหนือ่ ยใจ หนักสมอง นั่งถอนหายใจ พรอมกับลงมือทํางานที่กองอยู ตรงหนา เชื่อเถอะวาความรูสึกเชนนี้ตองเคยเกิดขึ้นกับทุกคน ตัวผูเขียนเองขอสารภาพเบา ๆ วาเคยอยูในหวงอารมณ เชนนีเ้ หมือนกัน แลวเราจะรับมือกับอารมณที่เกิดขึ้นนี้อยางไร ผูเขียนมีขอคิดดี ๆ มาฝากกัน วิธีการรับมือกับสภาพอารมณเชนนี้ อยูที่การปรับความ รูส กึ นึกคิดสวนตัวเพียงเล็กนอยเทานัน้ ยอมรับและปรับทัศนคติ ในมุมบวกแคนชี้ วี ติ ก็เปลีย่ นไปในทางทีด่ ขี นึ้ แลว เรือ่ งราวเกิดขึน้ ในขณะที่ผูเขียนสนทนากับเพื่อนรุนพี่ตางแผนกขณะเดินทางไป ทํางานในตางจังหวัดดวยกัน หลังจากเริ่มตนอาชีพบนเสนทาง นํ้าหมึกไดไมนานนัก ผูเขียนไดรับมอบหมายงานใหรับผิดชอบ มากมายหลายชิ้น ไหนจะงานราษฎร ไหนจะงานหลวงอีก เรียก วาชวงนั้นชีวิตวิ่งวุนหัวหมุนตัวเปนเกลียวหัวเปนน็อตเลยทีเดียว
ระหวางทีเ่ ดินทางอยูน นั้ เกิดอาการนัง่ ถอนใจ พรอมเปรย ๆ ถึงความเหนื่อยลาทางกายและทางใจใหเพื่อนรุนพี่ฟงเพื่อปรับ ทุกข แตคําตอบที่ไดรับกลับมาทําใหผูเขียนถึงกับอึ้ง เปลี่ยนวิธี คิดเปลี่ยนวิธีการทํางานไปเลยทีเดียว แมจะเปนประโยคสั้น ๆ เพียงไมกี่คําเทานั้น ดวยประโยคที่วา “ถาสบาย ๆ เขาก็ไมเรียก วาทํางานนะสิ ถางานสบาย ๆ ใครเขาจะจางใหเราทํางาน เขาทํา เองไมดกี วาเหรอ ถาอยากสบายก็นอนอยูบ า นเฉย ๆ” ครัง้ แรก ที่ไดยินประโยคนี้ทะลุผานโสตประสาทเขาไป อารมณกรุนโกรธ ออกตัวนําแซงเหตุผลซอนเรนที่วิ่งตามหลังมาติด ๆ เนื่องจาก ผิดคาดไมคิดไมฝนวาจะไดยินประโยคนี้ออกมา ผูเขียนถึงกับ นั่งนิ่งพยายามดันหลังเหตุผลใหวิ่งตามสติใหทัน สุดทายเมื่อสติและเหตุผลวิ่งมาพรอม ๆ กัน ผูเขียนได ขอคิดสะกิดใจที่ใช ในการทํางานมาจนถึงทุกวันนี้วา “นั่นสินะ ลําบากยอมดีกวาสบายเปนไหน ๆ” แลวคําตอบของคุณผูอ า น ละ คิดวา “ลําบาก” หรือ “สบาย” ดีกวากัน ?
104
Energy#52_p104_Pro3.indd 104
2/19/13 10:31 PM
Energy#51_p66_Pro3.ai
1
1/23/13
10:20 PM
Event Calendar
นิทรรศการ งานประชุม และอบรม
ดานพลังงานทีน่ า สนใจ ประจําเดือนมีนาคม 2556 2 มีนาคม 2556 ชื่องาน : ความปลอดภัยในการทํางานกับไฟฟา สถานที่ : ศูนยวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย กรุงเทพฯ เวลา : 09.00-16.00 น. เปนที่ทราบกันดีวา อุบัติเหตุเกิดขึ้นไดเสมอ โดยเฉพาะเรื่อง ของไฟฟา ซึ่งสรางความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสิน จึงจําเปนตอง รูวิธีการปฏิบัติที่ถูกตอง จําเปนอยางยิ่งสําหรับผูที่ทํางานไฟฟาหรือ บุคคลทั่วไป รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.eit.or.th
12 - 15 มีนาคม 2556 ชือ่ งาน : การออกแบบผลิตภัณฑเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (EcoDesign of Products: ECD) สถานที่ : โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร กรุงเทพ เลขที่ 8/2 ถนนรางนํา้ แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ เวลา : 09.00 – 17.00 น. เพื่อเขาใจหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม (Eco-Products) และการออกแบบ ผลิตภัณฑเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (EcoDesign) รายละเอียดเพิม่ เติม : Call Center โทร. 0-2642-5001 ตอ 213-216
8 มีนาคม 2556 ชื่องาน : รับมือ AEC ดวยกลยุทธซุนวู สถานที่ : หองอบรมของบริษัท สยามเอชอาร คอรปอเรชั่น จํากัด ถ.เสรีไทย กรุงเทพฯ เวลา : 09.00-16.00น. เพื่อใหผูเขารับการอบรมเขาใจที่มาของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) และการรับมือกับปรากฏการณตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นใน บริบทของ AEC โดยใชกลยุทธซุนวู เพื่อนําแนวคิดของซุนวูไปปรับใช ใหเกิดประโยชนในการบริหารธุรกิจ รายละเอียดเพิ่มเติม : Call (ฝายอบรม-สัมมนา) โทร. 02-8967330
14-15 มีนาคม 2556 ชื่องาน : การออกแบบติดตั้งและประยุกตใชงานโซลาเซลล (Solar Panel Design & Application ) รุนที่ 60 สถานที่ : ณ หองสัมมนา ชั้น 18 อาคารทีซีไอเอฟเทาเวอร (เนชั่นทาวเวอร เดิม) ถนนบางนา-ตราด กม. 4.5 เวลา : 9.00 -16.30 น. เพือ่ ตอบสนองความตองการของผูส นใจทัว่ ไปทีต่ อ งการเรียนรู แนวทาง วิธกี ารออกแบบ และการนําโซลาเซลลไปประยุกตใชงานทัง้ ใน ทางธุรกิจและชีวิตประจําวันไดดวยตนเอง รายละเอียดเพิ่มเติม : โทร. 0-2739-8200 , 0-2739-8204 โทรสาร. 0-2739-8228
12 มีนาคม 2556 ชือ่ งาน : การตรวจสอบและบํารุงรักษาระบบไฟฟาอยางมืออาชีพ สถานที่ : โรงแรมแกรนด เดอ วิลล ณ หองบูรพาภิรมย ชั้น 11 เวลา : 8.30 - 16.00 น. มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา ระบบไฟฟาที่ดีจะตองมีการตรวจสอบเปนประจํา เพื่อเปนการ บํารุงรักษาเชิงปองกัน โดยเฉพาะในงานทีต่ อ งการใหการทํางานเปนไป อยางตอเนือ่ งใหมากทีส่ ดุ การตรวจสอบระบบไฟฟาจะตองกระทําเปน ชวงเวลาไปเรือ่ ย ๆ จนกวาจะเลิกใชงาน รายละเอียดเพิ่มเติม : คุณลัดดาวัลล โทร. 0-2862-1396 ถึง 0-2862-1399 โทรสาร. 0-2862-1395
รับสมัครตั้งแตบัดนี้ - 15 มีนาคม 2556 ชื่องาน : หลักสูตร การประเมินผลกระทบสิง่ แวดลอม (EIA) รุน ที่ 1 ระหวางวันที่ 13 – 17 พฤษภาคม 2556 สถานที่ : สถาบันฝกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีดา นสิง่ แวดลอม เทคโนธานี ต.คลองหา อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี และตางจังหวัด เวลา : 09.00-16.00 น. เพือ่ ใหผเู ขารับการฝกอบรมไดรบั ความรู ความเขาใจ ในหลักการ และแนวทางการประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดลอ ม และสามารถนํา ความรูที่ไดรับไปประยุกต ใชในงานที่เกี่ยวของกับการประเมินผล กระทบสิ่งแวดลอม รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.deqp.go.th
13 มีนาคม 2556 ชื่องาน : การออกแบบและบํารุงรักษาระบบทําความเย็นสําหรับ อุตสาหกรรม สถานที่ : โรงแรมแกรนด เดอ วิลล ณ. หองบูรพาภิรมย ชั้น 11 ระบบทําความเย็นนับเปนหัวใจหลักของกระบวนการผลิตใน หลายอุตสาหกรรม ซึ่งผูเกี่ยวของจะตองมีความเขาใจอยางลึกซึ้งใน วิธกี ารทําความเย็นและการออกแบบระบบทําความเย็น รวมไปถึงการ บํารุงรักษาระบบทําความเย็นอยางถูกตองและครบถวน จึงจะสงผลให กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ รายละเอียดเพิ่มเติม : คุณลัดดาวัลล โทร. 0-2862-1396 ถึง 0-2862-1399 โทรสาร. 0-2862-1395
25 มีนาคม 2556 ชื่องาน : พัฒนาอุตสาหกรรมไทยอยางยั่งยืนดวยมาตรฐานการ จัดการสิ่งแวดลอม สถานที่ : ณ ศูนยนทิ รรศการและการประชุมไบเทคฯ บางนา กรุงเทพฯ เวลา : 09.00-16.30 น. เพือ่ ใหผเู ขารวมสัมมนาทราบสถานการณความเคลือ่ นไหวเกีย่ ว กับการกําหนดมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดลอม และทราบแนวทางการ กําหนดมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอมในอนาคต เตรียมพรอมรับ สถานการณ เพือ่ ไมใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ รายละเอียดเพิ่มเติม : คุณวิชชา พิชัยณรงค โทร. 0-2202-3440 และ 0-2202-3399
106
Energy#52_p106_Pro3.indd 106
2/19/13 10:35 PM
27-30 March 2014 BITEC Bangkok § |¤ ï | oo §rÓ : Cooling Tower, T Air Washerr Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condenserss
¤ s ¤| Ö ¤l {yÖ p i | 54/15-17 s } ~ o Ö i o¤ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th
Energy#52_Cover in_Pro3.indd 1
14
2/27/13 3:21 PM
Ê ¬ 5 q ¬ 52 l 2556
90
Energy#52_Cover Out_Pro3.indd 1
2/27/13 3:27 PM