นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 53 เดือนเมษายน 2556

Page 1

Energy#53_Cover Out_Pro3.indd 1

3/26/13 1:57 PM


§ |¤ ï | oo §rÓ : Cooling Tower, Air Washer Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condensers

¤ s ¤| Ö ¤l {yÖ p i | 54/15-17 s } ~ o Ö i o¤ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th

Energy#53_Cover In_Pro3.indd 1

3/26/13 2:01 PM


Energy#53_p3_Pro3.ai

1

3/21/13

6:15 AM


Contents Issue 53 April 2013

High Light 42 Energy Award : สรางสรรคสงิ่ ประดิษฐจากวัสดุ เหลือใช จุดประกายความคิด เพือ่ โลกสดใส 62 Energy Focus : พลังงานขาดแคลน.. ปญหาของเรา อยาแกไขจากภายนอก แตควรแกจากภายใน 64 Insight Energy : ไทย-เยอรมนี จับมือ พัฒนาระบบขนสงลดผลกระทบ ตอสภาพภูมิอากาศอยางยั่งยืน 65 Energy Legal : กองทุนพัฒนาไฟฟา เพือ่ ชุมชนยัง่ ยืน 66 Energy Knowledge : ผาทําความสะอาดตัวเอง What’s Up รุน ใหม ฆาเชื้อโรคและทําลายสารเคมีตกคาง 77 Asean Update : ลาวเปดตัวโรงงานผลิตกาซชีวภาพ ไดยาวนานกวาเดิม แหงแรกในประเทศ 85 Energy Exhibit : PYRAMID ENERGY EXPO 2013 80 Around The World : นักออกแบบจากสหรัฐอเมริกา Energy Exhibit นิทรรศการเทคโนโลยี สรางลูกฟุตบอลทีส่ ามารถสรางพลังงานจลนผลิตกระแสไฟฟาได ประหยัดพลังงาน 101 Energy Movement Commercial 30 Greenovation Cover Story 34 Technology Update 20 Cover Story : Green Product เทรนดโลก 36 Greee 4U : ไอเดียบรรเจิด.. คําตอบของพลังงานยั่งยืน รองเทาแตะสนามหญา ลดโลกรอน 82 Special Report I : ไดเวลารถเมลไทยตองใชเชือ้ เพลิงชีวภาพ 51 Energy Loan : ธ.กสิกรไทย ชูโปรแกรมสินเชือ่ E 85 หรือ ED 95 คนไทยก็มีแตได รับประกันการประหยัดพลังงาน สนับสนุนการลงทุน ดานการจัดการพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ 83 Special Report II : เอสเอ็มเอ โซลาร รวมมือ มจธ. 57 Waste to Wealth : โครงการ“เปลีย่ นขยะเปนทอง” พัฒนาการศึกษาและวิจยั ไมโครกริด สรางสรรค Eco Product ดีไซนเก เพิ่มคุณคา 84 Special Report III : หลีกหนีวถิ ชี วี ติ คนเมือง ใหวัสดุเหลือใช สูช วี ติ ทามกลางธรรมชาติ ณ ดาษดา Interview 14 Exclusive I : “กฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย” กลุมมิตรผล ปรับแผนการผลิตนํ้าตาล เพิ่มไฟฟาปอนรัฐ 16 Exclusive II : ม.มหิดล ชูนโยบาย“มหาวิทยาลัยสีเขียว” ตนแบบชุมชนรักษสงิ่ แวดลอมและประหยัดพลังงาน 18 Exclusive III : นินนาท ไชยธีรภิญโญ “Toyota Eco Network”เครือขายเพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน 89 Energy Concept : 10 สถาบันอาชีวศึกษาขานรับ โครงการ ASEP หนุนการเรียนการสอน และฝกอบรมชางเทคนิคยานยนตรนุ ใหม

57

4

Energy#53_p4,6_Pro3.indd 4

3/26/13 4:01 PM


Energy#53_p5_Pro3.ai

1

3/21/13

6:28 AM


Contents Issue 53 April 2013

Industrial & Residential 26 Energy Design : ประสบการณใหมแหงการพักผอน ดวยดีไซนทค่ี าํ นึงถึงการใชพลังงาน 46 Green Industrial : Betagro Life Cycle Thinking …กาวสูการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 50 Tools & Machine : Solar Tester PV 150 เครือ่ งทดสอบการติดตัง้ ระบบเซลลแสงอาทิตย 91 Energy Management : กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัตขิ อง ผูขอรับใบอนุญาตหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข การขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๕ 96 Saving Corner : เทคโนโลยีการกักเก็บความรอนและ วัสดุกกั เก็บความรอน (Thermal Energy Storage) ตอนที่ 1 Transportation & Alternative Energy 68 Renergy : ลัดฟารวมคณะนายกฯ ยิ่งลักษณ สูราชอาณาจักรสวีเดน-เบลเยียม-อียู 70 Automobile Update : NISSAN SYLPHY 1.8 CVT พีร่ อง…ซีดานระดับพรีเมียม 75 Green Logistics : กรีน โอเชียน (Green Ocean) 94 Vehicle Concept :อากาศยาน…ประหยัดพลังงาน ยอดเติบโตพุงสูงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก Environment Protection 40 Green Community : คิดจะพักผอนคิดถึง “โอบ โอบ โฮมสเตย” กิจกรรมดี ๆ ตามวิถธี รรมชาติ 60 O Waste Idea : การผลิตปุย หมัก จากขยะอินทรียป ระเภท Garden Wastes โดยใชหวั เชือ้ จากถังหมักขยะแบบไรอากาศ

70

46 87

Environment Alert : การตลาดสีเขียว ตอบโจทยผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

FAQ 98 Energy Clinic : การประยุกตใชงานระบบผลิต พลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย Regular Feature 8 Editor’s Talk 10 Get Idea : เคล็ดลับประหยัดพลังงานจากเหลาเซเลบ 52 How to : โคมไฟแสนสวย จากชอนและขวดพลาสติก 54 Energy Tip : ลดคาใชจายภายในบาน ทําไดงาย ๆ สบายกระเปา 73 Have to know : กลยุทธรบั มือ…คาไฟฟาทีท่ าํ งาน 103 Members : แบบสมัครสมาชิก 104 Energy Thinking : คิดบวก ชีวิตบวก 106 Event & Calendar : นิทรรศการ งานประชุม และอบรมดานพลังงานทีน่ า สนใจ ประจําเดือนเมษายน 2556

6

Energy#53_p4,6_Pro3.indd 6

3/26/13 4:02 PM


Energy#53_p7_Pro3.ai

1

3/21/13

6:46 AM


Editors’ Talk ผานพนเทศกาลปใหมไทยกันไปแลว เดือนเมษายนเปนอีกเดือน หนึง่ ทีม่ วี นั หยุดยาวในชวงเทศกาลสงกรานต หลายคนคงไดทอ งเทีย่ ว พักผอนคลายรอนพักสมองกันไปหลังจากทีค่ รํา่ เครงทํางานอยาง หนัก แตหลายคนเลือกทีจ่ ะเดินทางกลับบานไปใชเวลาอยูก บั ครอบครัว ทีห่ า งหนาหายตากันไปนาน ไมวา จะทําอะไรในชวงวันหยุดยาวทีผ่ า นมา หวังวาสิง่ ทีท่ กุ คนไดรบั กลับมาคือการชารจแบตใหกบั ตัวเอง ใหพรอม รับมือกับการทํางานทีร่ ออยูต รงหนา สูก นั ตอไปคะทุกคน เดือนนีจ้ ดั เปนเดือนทีร่ อ นทีส่ ดุ ของป สิง่ ทีต่ ามมาพรอมกับ อุณหภูมคิ วามรอนของอากาศ ก็คอื ปริมาณการใชพลังงานไฟฟาที่ สูงมากในการสรางความเย็นเพือ่ ลดความอบอาวของอากาศ ยิง่ รอน มากก็ยงิ่ ใชพลังงานมาก ไหนจะโรงงานอุตสาหกรรมทีต่ อ งใชพลังงาน ไฟฟาจํานวนมหาศาลในกระบวนการผลิตอยูแ ลว เมือ่ ความตองการ จากทัง้ 2 ภาคสวนโคจรมาพบกัน ไมตอ งคิดเลยวาเดือนนีเ้ พียงเดือน เดียวอัตราการใชพลังงานไฟฟาตองทะลุถงึ ขีดสุดแนนอน ไหนจะแหลงกาซธรรมชาติทใี่ ชในการผลิตกระแสไฟฟาของ ประเทศไทยอยางแหลงใหญในประเทศพมาหยุดซอมบํารุงประจําป ในชวงเดือนนีพ ้ อดี หลายฝายคาดการณกนั วาอาจเกิดปญหาไฟฟา ตกหรือไฟฟาดับในบางสวนของประเทศ สงผลใหหลายหนวยงาน ในทุกภาคสวนออกโรงกันมารณรงคชว ยกันประหยัดพลังงาน ผาน กิจกรรมตาง ๆ ทีเ่ ห็นไดชดั เจนทีส่ ดุ คงจะหนีไมพน กิจกรรมยอดฮิต ทีท่ กุ หนวยงานเชิญชวนใหปฏิบตั ิ ไดแก การปดไฟทีไ่ มไดใชเปนเวลา 1 ชัว่ โมง เพือ่ ชวยลดการใชพลังงานและชวยลดโลกรอนอีกทางหนึง่ ดวย ถึงจะเปนการแกปญ  หาทีป่ ลายเหตุ แตกน็ บั วาเปนจุดเริม่ ตนทีด่ ี ทีท่ กุ คนควรจะใชโอกาสนีใ้ นการสรางจิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน จนติดเปนนิสยั และกลายเปนกิจวัตรประจําวันไปในทีส่ ดุ การประหยัดพลังงานเปนเรือ่ งของทุกคน ไมใชเรือ่ งของใคร คนใดคนหนึ่ง เราทุกคนควรจะคิดเสียใหมวา “หากโลกอยูได ประเทศชาติอยูไ ด เราทุกคนก็อยูไ ด” ถาทุกคนคิดไดเชนนี้ การรณรงค ใหชว ยกันปดไฟอยางนอย 1 ชัว่ โมง คงไมตอ งกลายเปนวาระแหงชาติ เหมือนเชนทีผ่ า นมา วาระแหงชาติควรจะนําไปใชแกไขปญหาทีม่ ผี ล กระทบอยางรุนแรงตอประเทศชาติและจําเปนตองรวมมือกันในทุก ภาคสวนเพือ่ แกไขปญหานัน้ ๆ ใหผา นพนไป มากกวาจะเปนเรือ่ งของ การประหยัดพลังงานแคเพียงฉาบฉวยเทานัน้ เรือ่ งของการประหยัด พลังงานควรจะเปนเรื่องที่อยูในจิตสํานึกของพวกเราทุกคน เพื่อ สงตอการใชพลังงานอยางยัง่ ยืนไปสูร นุ ลูกรุน หลานของเราในอนาคต

คณะผูจัดทํา

กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ ปยะนุช มีเมือง

กองบรรณาธิการ นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร เดชรัช นุชพุม วรรณวิภา ตนจาน

ผูจัดการฝายโฆษณา รัตนาพร ออนสี

เลขาฝายโฆษณา ลักคณา อุดศรี

การเงิน แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม วีรเมธ เหลาเราวิโรจน กฤษณา กุลเท็ง

พิมพ บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ปยะนุช มีเี มือื ง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com

200/7-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8

Energy#53_p8_Pro3.indd 8

3/21/13 9:45 PM


R1_Energy#53_p9_Pro3.ai

1

3/26/13

8:19 PM


Get Idea

วรรณวิภา ตนจาน

สวัสดีคะแฟนคลับ Energy Saving ฉบับนี้ เรามีเคล็ดลับ ประหยัดพลังงานจากเหลาเซเลบและศิลปนนักแสดงมาฝากกัน มา ลองดูกันนะคะวาจะมีวิธีไหนกันบาง ไปดูกันไดเลย…

ถาเกิดเราเปนสาวนักช็อป ก็ควรเลิกใชถุงพลาสติก แลวหันมาใชถุงผาแทน ถา เกิดอยูบานก็ควรเปดแอรที่อุณหภูมิ 25 องศา ก็พอแลวคะ เริ่มจากอะไรที่ใกล ๆ ตัว กอน อยางเชน ตอนเชาเราแปลงฟนก็ไมจําเปนตองเปดนํ้าทิ้งไว สวนใครที่มีนิสัยชอบ เปดนํ้าทิ้งไวก็ควรปดซะ เห็นไหมคะวาสิ่งงาย ๆ แคนี้ ถาเราชวยกันทําก็ถือวาเปนมิตร กับสิ่งแวดลอมแลว

- เก ชลลดา เมฆราตรี

ผมจะไม ค  อ ยใช ถุ ง พลาสติ ก เลย เวลาไปซื้ อ ของผมไม ไ ด ใ ห ความสําคัญกับแพ็คเกจเทาไหร เพราะวาจริง ๆ แลวแพ็คเกจเปนสิง่ ลอตา ลอใจใหเราซื้อของมากกวา สิ่งที่เราตองการจริง ๆ อยูขางใน เพราฉะนั้น สิ่งที่อยูขางนอกไมจําเปนก็อยาไปเอามันเลยดีกวาครับ

- บิ๊ก ทองภูมิ

ผมจะไมคอ ยเอาถุงพลาสติกจากรานสะดวกซือ้ เทาไหร คนไทย สวนใหญตดิ นิสยั จนชินบางครัง้ ซือ้ นํา้ 1 ขวดก็ยงั ตองใสถงุ พลาสติก ซึ่งผมมองวามันสิ้นเปลืองมาก ตอนนี้ถาผมซื้อของชิ้นไมใหญมาก ผมจะไมเอาถุงพลาสติก แตผมจะเอาถุงผาไปใสแทน แคนี้ก็นาจะชวย โลกไดเยอะเลยครับ

- กราฟ แบล็ควนิลา

วิ ธี ใ นการอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม นะครับ จริง ๆ แลวเราเริ่มตนไดดวย ตัวเอง ไมตองไปตามนโยบายของใคร เพราะผมคิ ด ว า สิ่ ง แวดล อ มเป น สิ่ ง ที่ จําเปนสําหรับมนุษยทุกคน และถาเกิด ใครทําไดนะครับก็อยากใหลองปลูกตนไม กันคนละตน 60 ลานคน ก็ 60 ลานตน แลวนะครับ หรือวาวิธีที่งายกวานั้นก็คือ ประหยัดพลังงานไฟฟา หรือการที่เรา หันมาเดินทางโดยรถประจําทาง รถไฟฟา หรือปนจักรยานก็ชวยโลกไดแลว ชวงนี้ เริม่ มีเทรนฮิตใหการปน จักรยานกันมากขึน้ ผมว า เป น วิ ธี ก ารที่ ช  ว ยลดโลกรอ นได มากเลยครับ รวมไปถึงสิ่งที่งายที่สุดคือ การเปดแอรบานที่อุณหภูมิ 25 องศา แคนี้ก็ชวยสิ่งแวดลอมไดแลวครับ

- โดง ศิระ เอเอฟ 3

10 10

Energy#53_p10,12_Pro3.indd 10

3/21/13 9:52 PM


Energy#42_p25_Pro3.ai

1

4/23/12

9:07 PM


ผมวาเราควรปลูกฝงเด็กที่กําลังจะโตขึ้นมาใหรูจักสิ่งแวดลอมและชวยกันดูแล รักษา ผานการทํากิจกรรมตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการดูแลรักษาธรรมชาติ อีกอยางหนึง่ นะ ครับเราควรหันมาใชผา แทนกระดาษทิชชู เพราะจะชวยลดการโคนตนไมลงไดมาก อยาง การเช็ดโตะก็เหมือนกัน เราก็ควรใชผาไมควรใชกระดาษทิชชูครับ - เตา ดรากอน ไฟว

สํ า หรั บ ผมแล ว การอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มในวั น นี้ เ ราสามารถทํ า ได วันละนิดวันละหนอย เชนในเรือ่ งของการปดไฟ อยางทีบ่ า นผมบางวันไมเปดไฟเลย จะใชการจุดเทียนตรงระเบียงแทนไดบรรยากาศไปอีกแบบ หรือไมกเ็ ปดพัดลม ถาอากาศรอนมาก อยากใหทุกคนปดไฟกันคนละ 1 นาทีก็ยังดี หรือวาถาไป ไหนมาไหนก็ชวยกันถอดปลั๊กออก อยางเรื่องของการใชกระดาษรีไซเคิลนี่ สําคัญมาก ๆ อยางที่ออฟฟศผม กระดาษที่ใชไปหนาหนึ่งแลว ผมจะนําหนาที่ เหลือมาใชประโยชนอีกครั้งครับ

- แอนดี้ เขมพิมกุ

ผมคิดวาเราทุกคนตองหันมารณรงคลดขยะครับ เพราะทุกวันนี้ขยะมีมากมาย เกลื่อนกลาดไปหมด หรืออะไรที่พอจะนํามารีไซเคิลได เราก็ควรนํากลับมาใชใหม เชน กระดาษ หรืออาจจะเปนอะไรที่เหลือจากสิ่งที่เราไมใชแลว อีกอยางก็คือเรื่องของการ เปดแอรนะครับ ทุกวันนี้คนเราไมรอนก็ยังเปดแอร อาจมาจากความเคยชิน ถาเกิดวา ไมรอนมากเทาไหร ก็ควรหันมาใชพัดลมแทน หรือไมก็เปดหนาตางแทนก็ชวยไดนะครับ

- พิชญ ซีควินท

เรือ่ งลดโลกรอนเปนเรือ่ งใกลตวั เปนเรือ่ งทีท่ กุ คนตองชวยกันคิดชวยกันทํา เพราะ ประเทศของเรานําเขาพลังงานเสียเปนสวนใหญ ฉะนั้นการที่เราใชพลังงานสิ้นเปลือง จะทําใหเงินไหลออกนอกประเทศเยอะ ฉะนั้นเราจึงควรชวยกันประหยัดพลังงาน ถือวา เปนการชวยชาติประหยัดทางหนึ่งดวย สวนตัวผมเองทําธุรกิจทองเที่ยว รีสอรท ที่พัก ที่เขาใหญ การประหยัดพลังงานชวยประหยัดคาใชจายไดมาก และยังเปนการอนุรักษ ธรรมชาติรอบตัวเราดวย

- สงกรานต เตชะณรงค

12 10

Energy#53_p10,12_Pro3.indd 12

3/21/13 9:50 PM


Energy#42_p55_Pro3.ai

1

4/25/12

2:03 PM


Exclusive

รังสรรค อรัญมิตร

14

Energy#53_p14-19_Pro3.indd 14

3/21/13 9:58 PM


“กฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย” …กลุมมิตรผล ปรับแผนการผลิตนํ้าตาล

เพิ่มไฟฟาปอนรัฐ

จากการหยุดซอมแซมแทนขุดเจาะกาซธรรมชาติแหลงยาดานาของพมาในชวงวันที่ 5 - 14 เมษายน 2556 นัน้ ทําใหไมสามารถสงกาซธรรมชาติมาใหประเทศไทยได สงผลใหประเทศไทยขาดแคลน กาซทีใ่ ชในการผลิตไฟฟาประมาณ 1,100 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน จากปจจัยดังกลาว รัฐมนตรีวา การ กระทรวงพลังงานตองออกมาขอความรวมมือกับภาคเอกชนชวยหามาตรการลดการใชพลังงาน ซึ่ง นโยบายปรับแผนกระบวนการผลิตนัน้ เปนแนวทางหนึง่ ของการรองรับภาวะขาดแคลนไฟฟาของภาค เอกชนเฉกเชน กลุม บริษทั มิตรผล ทีเ่ ตรียมมาตรการสนับสนุนนโยบายภาครัฐ เพือ่ ลดปริมาณการใช ไฟฟาในชวงเวลาดังกลาว คุณกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ กลุมมิตรผล เปดเผยวา จากการ ประเมินความเสี่ยงที่ประเทศไทยอาจตองประสบกับภาวะการ ขาดแคลนไฟฟาเปนการชั่วคราว ในชวงที่มีความตองการใช ไฟฟาสูงสุดในเดือนเมษายนนั้น กลุมมิตรผลไดมีการเตรียม มาตรการสนับสนุนนโยบายภาครัฐเพื่อลดปริมาณการใชไฟฟา โดยตัดสินใจหยุดการผลิตชั่วคราวในสวนกระบวนการผลิตบาง สวนของโรงงานนํ้าตาลกลุมมิตรผลทั้ง 5 แหงในประเทศไทย ซึ่ง จะทําใหมีปริมาณไฟฟาคงเหลือขายไดเต็มสัญญา Non-firm จํานวน 96 เมกะวัตต ทางผูดูแลระบบจายไฟฟาของประเทศ สามารถนับรวม สวน Non-firm นี้ไดในสถานการณจําเปน และ ยังชวยเสริมเสถียรภาพในระบบไฟฟาไดดึขึ้น อยางไรก็ตามการปรับแผนลดปริมาณการใชไฟฟาใน กระบวนการผลิ ต นํ้ า ตาลของกลุ  ม มิ ต รผลในครั้ ง นี้ จะไม ส  ง ผลกระทบตอระบบการผลิตปริมาณสินคาคงคลัง รวมไปถึงขั้น ตอนการรับซือ้ ออยจากเกษตรกรชาวไรแตอยางใด เพราะบริษทั ไมไดหยุดการหีบออย ชาวไรยังสามารถนําออยมาสงเขาโรงงาน ไดตามปกติ เพียงแตหยุดกระบวนการผลิตบางสวนเปนการ ชัว่ คราวเทานัน้ ขณะเดียวกันกลุม มิตรผลจะสามารถเพิม่ ปริมาณ การสงไฟฟาใหกับการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ไดมากขึ้น จากเดิมที่มีการสง ไฟฟาตามสัญญาคงที่ (Firm Contract) ในปริมาณ 76 เมกะวัตต เมื่อรวมกับปริมาณไฟฟาที่คงเหลือในระบบการผลิตที่เปนแบบ Non-Firm อีก 96 เมกะวัตต บริษัทจึงสามารถสงไฟฟาเขา ระบบของ กฟผ. และ กฟภ. ในวันที่ 5 เมษายน ไดทั้งหมด 170 เมกกะวัตต หรือเทียบเทาปริมาณการใชไฟฟาของจังหวัด ใหญ ๆ ทั้งจังหวัด

การเกิดวิกฤติการขาดแคลนไฟฟาในครั้งนี้ สะทอนให เห็นวาในอนาคตอันใกลประเทศไทยจะตองพบกับปญหาวิกฤติ พลังงานอยางแนนอน คงถึงเวลาแลวที่ทุกภาคสวน ทั้งภาคครัว เรือน ภาคอุตสาหกรรม และภาครัฐฯ จะตองรวมมือกันอยาง จริงจัง เพื่อหาพลังงานทดแทนอื่นมาใชไดอยางยั่งยืน หนึ่งใน ทางเลือกทีไ่ มควรมองขามคือการสนับสนุนใหใชพลังงานชีวมวล ทดแทนพลังงานที่ผลิตจากเชื้อเพลิงธรรมชาติที่กําลังจะหมดไป ในไมชา หากมีการสงเสริมใหมกี ารปลูกออยมาใชเปนพืชพลังงาน อยางจริงจังจะทําใหประเทศไทยมีผลผลิตออยมากกวา 150 ลาน ตัน ภายใน 5 ป ซึง่ จะทําใหสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดถงึ 2,500 เมกะวัตต หรือประมาณ 19,500 ลานหนวย เทียบเทาเขื่อนทั้ง ประเทศ 2 เทา หรือคิดเปนกระแสไฟฟาที่ผลิตไดจากโรงไฟฟา นิวเคลียร 2.5 โรง สงผลใหลดปริมาณการนําเขากาซธรรมชาติ คิดเปนมูลคาไมนอ ยกวา 8.6 หมืน่ ลานบาท และยังสามารถลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสชู นั้ บรรยากาศไดถงึ 10 ลานตัน เทียบเทาปาชายเลนราว 4.4 ลานไร นั บ เป น ความจํ า เป น อย า งเร ง ด ว นของทุ ก ภาคส ว นที่ เกีย่ วของ ทีจ่ ะตองรวมกันหารือเพือ่ ใหการขับเคลือ่ นการพัฒนา พลังงานทดแทนที่ใชภายในประเทศใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม โดยเร็ว ซึง่ จะทําใหเราไมตอ งพบกับวิกฤติการขาดแคลนพลังงาน ในอนาคตอีกตอไป

15

Energy#53_p14-19_Pro3.indd 15

3/21/13 9:58 PM


Exclusive ปยะนุช มีเมือง

16

Energy#53_p14-19_Pro3.indd 16

3/21/13 9:58 PM


ม.มหิดล ชูนโยบาย

“มหาวิทยาลัยสีเขียว” ตนแบบชุมชน รักษสิ่งแวดลอมและประหยัดพลังงาน

การใชชวี ติ เรียบงายกลมกลืนไปกับธรรมชาติ และนําประโยชนจากธรรมชาติรอบตัวมาใชในการ ดําเนินชีวิตประจําวัน นอกจากจะชวยใหเราใชชีวิตอยางสงบสุขแลว ยังชวยลดการใชพลังงานและ ลดการเบียดเบียนสิ่งแวดลอมไปในคราวเดียวกัน เชนเดียวกับ “มหาวิทยาลัยมหิดล” ที่เขาใจและ เล็งเห็นถึงความสําคัญดังกลาว จึงมุงมั่นและวางนโยบายระยะยาวในการกาวเดินไปบนเสนทาง “มหาวิทยาลัยสีเขียว” จนกลายเปนตนแบบใหมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ดําเนินรอยตาม ศ.พญ.สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล บอกเลาถึงความสําเร็จในการเปนตนแบบ มหาวิทยาลัยสีเขียวใหฟง วา มหาวิทยาลัยมหิดลใหความสําคัญ ในเรือ่ งมหาวิทยาลัยสีเขียวมานานแลว เรามีคณะสิง่ แวดลอมเปน แหงแรกของประเทศไทย ดังนัน้ เรือ่ งของสิง่ แวดลอมจึงไดรบั ความ สนใจมาตั้งแตตนอยูแลว ผูบริหารมหาวิทยาลัยทุกชุดใหความ สําคัญและดําเนินรอยตามนโยบายระยะยาวดานสิง่ แวดลอมอยาง ตอเนือ่ งตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั มหาวิ ท ยาลั ย เราเดิ น หน า ปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น โ ดยรอบ มหาวิทยาลัยเพือ่ ใหเปนเมืองนาอยู เรามีบคุ ลากรทัง้ หมด 3 หมืน่ คน นักศึกษาอีก 3 หมื่นคน ทําอยางไรใหทุกคนอยูรวมกันอยางมี ความสุข ทีผ่ า นมาไดมกี ารจัดโซนนิง่ ของมหาวิทยาลัย โดยแบง เปนโซนการศึกษา โซนที่พักอาศัย และโซนสําหรับตอนรับผูมา ติดตอ พรอมจัดการจราจรโดยรอบมหาวิทยาลัยใหสอดคลอง ในแตละโซนนิง่ นอกจากนีท้ างมหาวิทยาลัยยังจํากัดความสูงของ ตึกภายในมหาวิทยาลัย เพือ่ ปองกันการบังทิศทางลมระหวางกัน ทางมหาวิทยาลัยกําหนดเอาไววา 70 % ของพืน้ ทีต่ อ งเปนพืน้ ที่ สีเขียวเพือ่ เปนปอดของมหาวิทยาลัย ซึง่ แผนการนีเ้ ริม่ มาตัง้ แต ป 2551 แลว จะเห็นไดวาทางมหาวิทยาลัยใหความสําคัญในเรื่องของ การจราจรอยางมาก แตเดิมถนนในมหาวิทยาลัยมีทงั้ หมด 6 ชอง ทาง ไป 3 ชองทาง กลับ 3 ชองทาง มีเกาะกลางถนน หลังจากมี นโยบายเปลี่ยนที่นี่ใหเปนเมืองจักรยาน จึงไดลดชองทางจราจร ใหเหลือ 3 ชองทาง สวนอีก 3 ชองทาง ใชสําหรับรถจักรยาน 2 ชองทาง และเปนถนนคนเดินอีก 1 ชองทาง ปจจุบนั การขีจ่ กั รยาน เปนวิถีของมหิดลไปแลว นอกจากจะชวยลดการใชพลังงานแลว ยังเปนการออกกําลังกายทางหนึ่งดวย ขณะนี้มีการใชจักรยาน ภายในมหาวิทยาลัยมหิดลกวา 1 พันคัน และมีอีก 400 คันที่ เปนจักรยานสีขาว เปนจักรยานทีส่ ามารถยืมไปใชได เมือ่ ใชเสร็จ แลวไมตอ งนํากลับมาคืนทีเ่ กาจอดทิง้ ไวไดเลย คนตอไปสามารถ นําไปใชตอได นอกจากนี้ ใ นเรื่ อ งของการขนส ง สาธารณะ ภายใน มหาวิทยาลัยมีบริการรถรางไวรองรับผูท ตี่ อ งเดินทางระหวางวัน ชวยลดปญหาจราจรแออัดและลดปญหาทีจ่ อดรถลงไปได และใน

ชวงเชากับชวงเย็นจะมีบริการ “ศาลายาลิงค” เปนรถทีไ่ ปสงตามจุด ตาง ๆ เชน ปน เกลา วงเวียนใหญ เพือ่ ลดการใชรถยนตสว นตัวใน การเดินทาง ประชาชนทัว่ ไปทีส่ นใจจะเดินทางมากับรถเราก็ไดทาง มหาวิทยาลัยยินดี แตมขี อ แมวา จะไมจอดรับสงระหวางทางตองมา ลงทีศ่ าลายาเทานัน้ แลวจึงคอยตอรถในภายหลัง ในอนาคตทางมหาวิทยาลัยจะเนนไปที่เรื่องของพลังงาน ทดแทนดวย โดยมีอาคารของคณะเทคนิคการแพทยและอาคาร สํานักงานอธิการบดีเปนตนแบบอาคารประหยัดพลังงาน โดยใช โซลารเซลลและพลังงานลมในการผลิตพลังงานไวใชงาน อาจใช ทดแทนทั้งหมดไมได แตอยากเปนตนแบบใหนักศึกษาของเรา เกิดแนวคิดและนําไปพัฒนาตอยอดในอนาคต นอกจากนี้ทาง มหาวิทยาลัยยังไดทาํ ปุย ชีวภาพไวใชเองมีทงั้ ปุย แบบดินและแบบ เม็ด ซึง่ ปุย สวนทีเ่ หลือจะนําไปจําหนายตอใหกบั ประชาชนทัว่ ไปใน ราคาถูก ในดานของบุคลากรไดมกี ารออกเปนยุทธศาสตรมมี าตรการ ชัดเจน โดยทานอธิการบดีจะมอบหมายนโยบายใหแกคณบดี ในแต ละคณะว าต องลดการใช พลังงานทุกออย างลง 10 % เมื่อครบปจะติดตามผลผานการประเมินผลงาน ซึ่งจะไปมีผลตอ การเลื่อนขั้นเงินเดือนของบุคลากรในแตละคณะ ดานนักศึกษา นัน้ ทางมหาวิทยาลัยจะใชกจิ กรรมเปนตัวรณรงคใหนกั ศึกษาเกิด นิสยั รักษสงิ่ แวดลอมและประหยัดพลังงาน จากการทีม่ หาวิทยาลัย เปลี่ยนแปลงไปเปนมหาวิทยาลัยสีเขียวประโยชนที่เห็นไดชัดเจน คือ เมื่อป 2554 ที่เกิดนํ้าทวมครั้งใหญทุกที่ในพุทธมณฑล นํ้าทวมหมด ยกเวนที่มหาวิทยาลัยมหิดลเทานั้นที่นํ้าไมทวมเลย กลายเปนแหลงพักพิงใหกบั ผูท เี่ ดือดรอนไดมาพักอาศัย เปนศูนย รักษาพยาบาล และเปนศูนยรบั บริจาคอาหาร นับเปนการลงทุนที่ คุม คาและไดกลับคืนมาอยางไมคาดคิด มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลในฐานะสถาบั น การศึ ก ษาเราทํา เรื่องนี้อยางเปนระบบและมีทฤษฎีรองรับ ยินดีที่จะเปนแหลง แลกเปลี่ยนความรู และพรอมใหเขาชมตนแบบดานตาง ๆ และน อ มรั บ ความคิ ด เห็ น ต า ง ๆ เพื่ อ นํ า เอามาปรั บ ปรุ ง แก ไ ขให ดี ขึ้ น ก็ อ ยากเชิ ญ ชวนให ม หาวิ ท ยาลั ย อื่ น ๆ นําไปปฏิบัติบาง เพื่อเปนแบบอยางใหนักศึกษาสามารถนําไป ปฏิบตั ติ ามได 17

Energy#53_p14-19_Pro3.indd 17

3/21/13 10:07 PM


Exclusive

นัษรุต เถื่อนทองคํา

18

Energy#53_p14-19_Pro3.indd 18

3/21/13 9:58 PM


นินนาท ไชยธีรภิญโญ “Toyota Eco Network”

เครือขายเพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน การใสใจสิ่งแวดลอมถือเปนเรื่องที่ผูประกอบการไมควร มองขาม โดยเฉพาะผูประกอบการขนาดใหญยิ่งตองใหความ ใสใจในเรือ่ งดังกลาวอยางมาก เชนเดียวกับ Toyota ทีท่ าํ ธุรกิจ ควบคูไ ปกับการดูแลดานสิง่ แวดลอม ภายใตชอื่ “Toyota Eco Network” กับการทํากิจกรรมดานสิง่ แวดลอมมาอยางตอเนือ่ ง ลาสุดไดรว มมือกับเครือขายสิง่ แวดลอม จัดกิจกรรม ตามรอย ลนเกลาฯ ดวยกาวทีย่ งั่ ยืน โตโยตาปลูกปาชายเลน ปที่ 9 นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานกรรมการ บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด เปดเผยวา กิจกรรมโตโยตา ปลูกปาชายเลน เปนอีกหนึง่ กิจกรรมภายใตโครงการ “Toyota Eco Network เครือขายเพือ่ สิง่ แวดลอมทีย่ งั่ ยืน” มีวตั ถุประสงค เพื่ออนุรักษปาชายเลนปากแมนํ้าผืนสุดทายของภาคกลางใหมี ความอุดมสมบูรณ มีสภาพเหมาะแกการอยูอาศัยของสัตวใน ระบบนิเวศชายเลน และยังเปนการเปดโอกาสใหอาสาสมัครจาก ภาคสวนตาง ๆ ไดแก กลุม ตัวแทนพนักงาน สือ่ มวลชน ผูแ ทน จําหนายโตโยตาและบริษทั ในเครือฯ กลุม ลูกคา สมาชิกเครือขาย Toyota CSR Facebook และนักเรียนนักศึกษา รวมถึงประชาชน ทัว่ ไป ไดรว มกันทํากิจกรรมปลูกปาชายเลน ณ สถานตากอากาศ บางปูตงั้ แตป พ.ศ. 2548 ทีส่ าํ คัญยังเปนการนอมเกลาถวายแดองคพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั ตามแนวพระราชดําริ และเปนการสนองพระราชเสาวนีย สมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ เรื่องการอนุรักษปา และสิ่งแวดลอม รวมถึงการอนุรักษและฟนฟูสภาพปาชายเลน ปากแมนาํ้ แหงนีใ้ หมคี วามอุดมสมบูรณยงิ่ ขึน้ เมือ่ ตนกลาปาชายเลน ทีท่ กุ ภาคสวนรวมกันปลูกมีจาํ นวนกวา200,000ตนตลอดโครงการโตเต็มที่ จะชวยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดไดกวา 2,500 ตันตอป

นอกจากกิจกรรมการปลูกปาชายเลนแลว โตโยตา ยังได ใหการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาและดําเนินงาน ณ ศูนย ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) แกองคการกองทุนสัตวปา โลก สากล (WWF) สํานักงานประเทศไทย อยางตอเนือ่ ง นับตัง้ แตป พ.ศ. 2548 รวมทัง้ สิน้ กวา 25 ลานบาท โดยแบงเปนงบประมาณ สําหรับการจัดสรางอาคารทีใ่ ชเปนศูนยศกึ ษาธรรมชาติ จัดสราง สิง่ อํานวยความสะดวกแกผเู ขาเยีย่ มชม ตลอดจนคาใชจา ยในการ ดําเนินงานภายในศูนยฯ ซึง่ ศูนยศกึ ษาธรรมชาติแหงนีไ้ ดเปดให ประชาชนทัว่ ไปทีส่ นใจไดเขามาเยีย่ มชม เพือ่ เรียนรูถ งึ ระบบนิเวศ ของปาชายเลนอยางใกลชดิ และครบวงจร กิจกรรมปลูกปาชายเลน ณ ศูนยศกึ ษาธรรมชาติกองทัพ บก (บางปู) นับเปนอีกหนึง่ ความสําเร็จของโตโยตา ภายใตแนวคิด Toyota Eco Network ทีไ่ ดรว มกับ กรมพลาธิการทหารบก และ องคการกองทุนสัตวปา โลกสากล ประเทศไทย ในการตอยอดการ ทํากิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดลอม เพือ่ การพัฒนาสังคมไทยอยางยัง่ ยืน ตลอดไป

19

Energy#53_p14-19_Pro3.indd 19

3/21/13 10:08 PM


Cover Story กองบรรณาธิการ

อวสาน…เบนซิน 91

ผลดีทไี่ ด…คุม คาทีจ่ ะเสีย่ ง เปนที่ทราบกันดีสําหรับผู ใชยานพาหนะวา ภาครัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนใหประชาชนหันมาใช นํา้ มันทีม่ สี ว นผสมมากกวาการใชนาํ้ มันแบบ 100% เพือ่ ลดการนําเขาพลังงานใหไดมากทีส่ ดุ ถึงแมจะ ยังมีการนําเขาอยูก็ตาม ซึ่งสวนผสมที่มาเติมเต็มจะเปนสิ่งที่สกัดจากผลผลิตดานการเกษตรจําพวก พืชแปงและพืชนํ้าตาล มองในแงดี เปนการชวยเหลือภาคการเกษตรบานเราใหมีการระบายผลผลิต ออกสูทองตลาด แตหากมองในแงราย ยังมีกลุมผูใชรถยนตที่ยังไมพรอมตอการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ 20

Energy#53_p20-25_Pro3.indd 20

3/22/13 3:59 PM


ความเปนมาของการยกเลิกนํา้ มันเบนซิน เกิดจากนโยบาย การสงเสริมการผลิต การใช ตลอดจนการวิจัยพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก โดยตั้งเปาใหทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล 25% ภายใน 10 ป ซึ่งคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติ เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2554 เห็นชอบ ตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แหงชาติ (กพช.) ในการประชุมครั้งที่ 6/2554 เห็นชอบแผน พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP 25552564) โดยตัง้ เปาหมายการทดแทนการใชนาํ้ มันในภาคขนสงจาก เอทานอล 9 ลานลิตร /วัน ซึ่งการยกเลิกการใชนํ้ามันเบนซิน 91 เปนนโยบายหนึง่ ในการสงเสริมพลังงานทดแทนตามแผน AEDP และ กพช. มีมติเห็นชอบในหลักการใหยกเลิกนํ้ามันเบนซิน 91 ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2555 เปนตนไป จากนั้น ครม. มีมติ ในวันที่ 9 ตุลาคม 2555 เห็นชอบ ตามมติ กพช. ในการประชุมครั้งที่ 4/2555 ใหทบทวนมติเลื่อน กําหนดการยกเลิกเบนซิน 91 เปนวันที่ 1 มกราคม 2556 ตาม ขอเสนอของมติคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนนํา้ มันเบนซินพืน้ ฐาน (G-Base) จาก สถานการณเพลิงไหมโรงกลั่นนํ้ามันที่ผานมา

การยกเลิกเบนซิน 91 ผูบริโภคจะไดประโยชนหลาย ดาน ไดแก

ดานราคา เพราะราคาขายปลีกหนาสถานีบริการจะตางกัน ถึง 8-9 บาทตอลิตร ดานการเกษตร ทําใหมคี วามตองการแกสโซฮอลเพิ่มขึ้น จากประมาณ 1.3 ลานลิตรตอวัน เปน 2.0 ลานลิตรตอวัน ซึง่ ทําให เกษตรกรผูปลูกออยและมันสําปะหลังมีรายไดเพิ่มขึ้น และชวย สรางมูลคาเพิม่ ใหกบั สินคาการเกษตรทําใหราคาพืชผลไมตกตํา่ ดานเศรษฐกิจ ปจจุบนั ประเทศไทยมีกาํ ลังการผลิตเอทานอล ที่เปนสวนผสมในการผลิตแกสโซฮอล 3.3 ลานลิตรตอวัน แตมีความตองการใชเพียง 1.3 ลานลิตรตอวัน หากมีความ ตองการเอทานอลเพิม่ จะทําใหเกิดการจางงานและกอใหเกิดผล ทวีคูณของการใชจาย ซึ่งจะเปนผลดีตอเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศ ดานสิ่งแวดลอม การใชพลังงานทดแทนมีวัฏจักรชีวิตใน สวนที่เปนพืช ซึ่งสามารถดูดซับกาซคารบอนไดออกไซค ดังนั้น การใชแกสโซฮอลจะชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก ซึ่งผูที่ใช แกสโซฮอลจะมีสวนชวยในการลดภาระโลกรอน 21

Energy#53_p20-25_Pro3.indd 21

3/22/13 3:59 PM


ดานความมั่นคงทางพลังงาน ซึ่งการใชเอทานอลที่ผลิต ในประเทศจะชวยลดการพึ่งพาการนําเขานํ้ามันจากตางประเทศ ไดจํานวนมากในระยะยาว หลังจากมีความเห็นชอบในการหยุดจําหนายนํา้ มันเบนซิน 91 โรงกลัน่ นํา้ มันไดทยอยยกเลิกการกลัน่ แตยงั สามารถจําหนายได โดยผอนผันใหจาํ หนาย 3 เดือน ไปจนถึงเดือนมีนาคม เพือ่ รอใหนาํ้ มัน ในคลังและถังนํ้ามันหมดลงเสียกอนคอยทยอยลดปริมาณลง เพราะโดยปกติจะมียอดใชเบนซิน 91 ประมาณ 8 ลานลิตร ตอวัน โดยในสวนของปมนํ้ามันในกรุงเทพฯ จะไมมีเบนซิน 91 จําหนายกอน ขณะทีต่ า งจังหวัดจะไมมนี าํ้ มันจําหนายหลังจากสิน้ เดือนมีนาคม โดยพบวายอดใชนาํ้ มันทีม่ กี ารสัง่ จากคลังของ E20 สูงขึ้นจากเดิม 1.4 ลานลิตรตอวัน เปน 2 ลานลิตรตอวัน เนื่อง มาจากผูคานํ้ามันเตรียมเปลี่ยนหัวจายสวนหนึ่งจากเบนซิน 91 มาเปน E20 เรียบรอยแลว อีกทั้งยอดขายรถอีโคคาร และรถรุน ใหม ๆ ที่สามารถรองรับนํ้ามัน ตั้งแต E20 – E85 มีเพิ่มมากขึ้น จากการความร วมมือของบริษัทรถยนต ในการผลิตรถยนต ที่รองรับพลังงานทดแทนมีจําหนายเพิ่มมากขึ้น กระทรวงพลังงาน ชี้แจงวา หลังจากมีการยกเลิกการ จําหนายเบนซิน 91 ทําใหผูใชนํ้ามันที่ตองเติมนํ้ามันราว 20 ลานลิตรตอวัน เปลีย่ นไปใชนาํ้ มันเบนซิน 95 แทน คิดเปน 11% หรือ ราว 3 ลานลิตรตอวัน ทีเ่ หลือจะหันไปใชนาํ้ มันแกสโซฮอล 95 แกส โซฮอล 91 E20 และ E85 ตามลําดับ สงผลใหปริมาณการใชนาํ้ มัน E20 จะเพิม่ ขึน้ มากแนนอน เพราะรถยนตทผี่ ลิตป 2552 สามารถ ใชไดทงั้ หมด และรัฐบาลอยูร ะหวางพิจารณาใหราคานํา้ มัน E20 ถูกกวานํา้ มันแกสโซฮอล 91 และจากขอมูลของกรมธุรกิจพลังงาน พบวา หลังรัฐบาลสนับสนุน E20 อยางจริงจัง พบวาปริมาณการ ใชเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง และการยกเลิกเบนซิน 91 จะไมกอ ใหเกิด ปญหากับประชาชนทีเ่ ติมนํา้ มันมากนัก เพราะผูใ ชสามารถเปลีย่ น ไปเติมนํา้ มันเบนซิน 95 และนํา้ มันทีม่ สี ว นผสมของเอทานอลแทนได

นอกจากนี้ จากการศึกษาของกระทรวงพลังงานพบวา ผูใ ชนาํ้ มันเบนซิน 91 แทบจะไมไดรบั ผลกระทบเลย เพราะสามารถ ไปใชนํ้ามันชนิดอื่นทดแทนได โดยเฉพาะผูที่เปนหวงรถยนตรุน เกาและรถจักรยานยนตเครื่องยนต 2 จังหวะ ที่มีอยูประมาณ 400,000 คัน ทั่วประเทศ สามารถเปลี่ยนไปเติมนํ้ามันเบนซิน 95 แทนได และจะไมเปนภาระทางคาใชจายมากนัก เพราะเบื้องตน กระทรวงพลังงานอาจเสนอให กบง.พิจารณาปรับลดคาการ ตลาดของเบนซิน 95 ใหเหลือเทากับเบนซิน 91 ทําใหราคา เบนซิน 95 ลดลง ซึง่ การลดราคาเบนซิน 95 ใหใกลเคียงเบนซิน 91 สามารถทํ า ได เพราะราคานํ้ า มั น หน า โรงกลั่ น ของ 2 ชนิ ด ตางกันไมถึง 1 บาทตอลิตร สิง่ ทีน่ า กังวลคือ ประชาชนจํานวนหนึง่ จะหันไปใชกา ซหุงตม (LPG) ภาคขนสงแทน เพราะปจจุบันราคายังอยูในระดับตํ่า ดังนั้น รัฐบาลจะตองดูแลโดยการปรับราคาใหสะทอนตลาดโลก ที่ปจจุบันปรับขึ้นอยางตอเนื่อง ดร. ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา ประเทศไทยมีการใชนํ้ามันเบนซินเฉลี่ยประมาณ 20 ลานลิตรตอ วัน โดยเปนการใชนํ้ามันแกสโซฮอลรวมทั้งหมดเฉลี่ยประมาณ 11 ลานลิตรตอวัน หรือคิดเปน 56% ของนํ้ามันเบนซินทั้งหมด ประมาณการใชเอทานอลเฉลี่ยอยูที่ 1.3 ลานลิตรตอวัน ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานมีนโยบายที่จะสงเสริมการใชเอทานอลใหถึง 9 ลานลิตรตอวัน ภายในอีก 10 ปขางหนา

ดร. ทวารัฐ สูตะบุตร 22

Energy#53_p20-25_Pro3.indd 22

3/22/13 3:59 PM


กระทรวงพลังงานมีนโยบายสงเสริมการใชพลังงานทาง เลือกใน 3 รูปแบบ ไดแก พลังงานไฟฟา พลังงานความรอน และพลังงานเชื้อเพลิง ใหเกิดความสมดุลและนําไปสูความมั่นคง ทางดานพลังงานของประเทศเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยวาง แนวทางสงเสริมการใชพลังงานทางเลือกอยางตอเนื่อง อาทิ สง เสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการผลิตและการใชพลังงานทดแทน อย า งกว า งขวาง ปรั บ ปรุ ง มาตรการจู ง ใจสํ า หรั บ การลงทุ น จากภาคเอกชน แกไขกฎหมายและกฎระเบียบที่ยังไมเอื้อตอ การพัฒนาพลังงานทดแทน ปรับปรุงระบบโครงสรางพื้นฐาน ประชาสัมพันธสรางความรูความเขาใจตอประชาชน เปนตน การสงเสริมการใชพลังงานทดแทนอยางนํา้ มันแกสโซฮอล เพื่ อ พั ฒ นาไปสู  ค วามเป น Green Energy ภาครั ฐ มี นโยบายส ง เสริ ม การรั บ รู  เ กี่ ย วกั บ นํ้ า มั น แก ส โซฮอลล แ ละมี การสนั บ สนุ น ให เ พิ่ ม สถานี บ ริ ก ารและรั ก ษาความสามารถ ในการแข ง ขั น ด า นราคา โดยเฉพาะ E85 และส ง เสริ ม ให มี ก ารใช ร ถยนต FFV (Flex Fuel Vehicles) ศึกษาความเปนไปไดของการติดตั้ง FFV conversion kits ในรถยนตเกา รวมถึงศึกษาความเปนไปไดของการใชในรถ มอเตอร ไซคอีกดวย นายอิทธิคณ ุ สีหโ สภณ ผูอ าํ นวยการสายตลาดอุตสาหกรรมฯ บริ ษั ท บางจากป โ ตรเลี ย ม จํ า กั ด (มหาชน) เป ด เผยว า บริ ษั ท ฯ ให ค วามสํา คั ญ ในการพั ฒ นาพลั ง งานสะอาดตาม แนวพระราชดํ า ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว ฯ ที่ ท รง ตองการใหประเทศไทยพึ่งพาตัวเองในดานพลังงาน บางจากฯ เป น บริ ษั ท นํ้ า มั น รายแรกในเมื อ งไทยที่ ผ ลิ ต และจํ า หน า ย พลังงานทดแทนทั้งแกสโซฮอลทั้ง 91, 95, E20, E85 และ ไบโอดีเซล ซึ่งใชวัตถุดิบสวนหนึ่งจากผลผลิตของเกษตรกรไทย ซึ่งการรณรงคใชพลังงานทดแทนเพื่อสิ่งแวดลอมจะสําเร็จได ตองไดรับการสนับสนุนจากทุกฝาย ตั้งแตการกําหนดนโยบาย ผูผลิตและจําหนาย ตลอดจนผูผลิตรถยนต ซึ่งทายที่สุดแลวจะ สรางความมั่นคงดานสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ใหกับ ประเทศไทยไดอยางยั่งยืน ปจจุบัน นอกจากพลังงานปโตรเลียมกําลังจะหมดไปแลว ภาวะโลกรอนยังเปนประเด็นสําคัญของประชาคมโลก ซึ่งจะ แก ไ ขป ญ หาได นั้ น ทุ ก คนต อ งร ว มมื อ กั น และลงมื อ ทํ า ทั น ที การใชพลังงานปโตรเลียมเปนสาเหตุหนึง่ ของการเกิดภาวะโลกรอน ดังนั้นหากชวยกันพัฒนาและรณรงค ใหใชพลังงานทดแทนที่ ผลิตจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ จะชวยลดการปลอยมลภาวะ จากเชื้อเพลิงเปนแนวทางหนึ่งที่จะชวยลดภาวะโลกรอนได ทําให พวกเรารวมทั้งลูกหลานไทยในอนาคต ไดอยูในสิ่งแวดลอมที่ดี มีอากาศหายใจที่สะอาด

ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังกระตุนผูใชรถใหเห็นความสําคัญของการ รวมลดภาวะโลกรอน และดวยการสนับสนุนจากภาครัฐ และ ความตั้งใจจริงจากภาคเอกชน ประเทศไทยเปนประเทศแรก ๆ ในกลุม อาเซียนทีม่ กี ารใชพลังงานทดแทน โดยเฉพาะแกสโซฮอล นอกจากการขยายการจําหนายพลังงานทดแทนในประเทศ ยัง มองถึงการสงออกเชือ้ เพลิงสะอาดและการเขาไปตัง้ สถานีบริการ นํ้ามันในประเทศเพื่อนบานดวย นายพิทักษ พฤทธิสาริกร รองประธานอาวุโส บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา ทีผ่ า นมา บริษทั รถยนตไดมกี ารพัฒนาผลิตภัณฑเพือ่ ใหสามารถรองรับพลังงาน ทดแทนของภาครัฐอยางตอเนื่อง แผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลั ง งานทางเลื อ ก โดยได มุ  ง มั่ น พั ฒ นารถยนต ที่ ใ ช พลังงานทางเลือกเปนสิ่งที่ฮอนดาใหความสําคัญมาโดยตลอด สําหรับรถยนตฮอนดารุนใหม ๆ ทีมวิศวกรจะคํานึงถึงการ ออกแบบเพือ่ ใหเปนรถยนตทเี่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมสูงสุด โดย จะมีระบบชวยการขับขีแ่ บบประหยัดนํา้ มัน ทัง้ ระบบ Econ Mode และ Eco Coaching แตที่ โดดเดนเปนพิเศษ เปนการพัฒนา ในสวนของระบบเครื่องยนต ใหสามารถรองรับการเติมนํ้ามัน เชื้อเพลิงเอทานอลไดสูงสุดถึง E85 เพื่อรวมขับเคลื่อนพลังงาน สะอาดในระยะยาว เปาหมายสําคัญ คือ การสรางความเจริญกาวหนาดาน เศรษฐกิจและการยึดมัน่ ความเสมอภาคและผลประโยชนรว มกัน ในฐานะผูผลิตยานยนต ฮอนด าพร อมสนับสนุนและดําเนิน นโยบายพลังงานทางเลือก ดวยการผลิตและนําเสนอยานยนต 23

Energy#53_p20-25_Pro3.indd 23

3/22/13 3:59 PM


การสนับสนุนนโยบายของทางภาครัฐทีจ่ ะขับเคลือ่ นการใช พลังงานสะอาด เปนสิ่งที่ยั่งยืนและเกิดประโยชนอยางแทจริง แกประชาชนและสิง่ แวดลอม ทีส่ าํ คัญหากประชาชนยิง่ ใชเอทานอล เปนพลังงานทดแทนเพิม่ มากขึน้ เทาไหร ก็จะสามารถลดการสูญ เสียเงินตราออกนอกประเทศเพื่อนําเขานํ้ามันมากเทานั้น ซึ่งเม็ด เงินเหลานี้จะกลับคืนสูเกษตรกรชาวไทยที่เปนเจาของปจจัยการ ผลิต ซึ่งการใชวัตถุดิบทางการเกษตรเพื่อการผลิตเอทานอล จะทํ า ให ร าคาผลผลิ ต ทางการเกษตรมี เ สถี ย รภาพมากขึ้ น เกษตรกรจะสามารถทราบตนทุนที่แทจริง และมีความมั่นใจ ในการวางแผนการลงทุนเพื่อพัฒนาผลผลิตตอไรใหสูงขึ้นได ชวยสรางประโยชนทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมให กับประเทศไทย

นายพิทักษ พฤทธิสาริกร ที่รองรับพลังงานทางเลือกและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เรื่องของ ความเจริญกาวหนาดานนวัตกรรมยานยนตของไทยยอมเปน ประโยชนตอประเทศในแงของขอตกลงทางการคาและการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขันกับกลุมประเทศตาง ๆ ในฐานะ ฐานการผลิตทีส่ าํ คัญในการสงออกสินคาสูต ลาดโลก โดยอาศัย การเปดเสรีดานการคา การลดภาษี และการปรับโครงสรางภาษี ศุลกากร

ประเทศไทยถือเปนประเทศที่มีศักยภาพในการพัฒนา อุตสาหกรรมดานพลังงานทดแทน โดยเฉพาะเอทานอลใหเปน ศูนยกลางการผลิตและจําหนายได เพราะมีปจจัยเอื้ออํานวย หลายประการ ไมวา จะเปนดานเกษตรกรรม และจํานวนเกษตรกร ชาวไรออยทั้งหมดในอุตสาหกรรมออยในประเทศไทยที่มีกวา 300,000 ราย ซึ่งสามารถเพิ่มจํานวนไดอีก หากทางภาครัฐ ใหการสนับสนุน ออยจะกลายเปนพืชพลังงานที่ปลูกไดบนดิน ทีส่ ามารถนําสวนทีเ่ หลือจากกระบวนการผลิตนํา้ ตาลมาตอยอด เพื่อผลิตเปนเอทานอลไดตลอดทั้งป จะทําใหเรามีปริมาณออยที่ เพียงพอทั้งสําหรับการบริโภคและการนําไปใชเปนพืชพลังงาน ไมทาํ ใหประเทศไทยเกิดปญหาขาดแคลนเชนทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศอืน่ ๆ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีผูผลิตเอทานอลหลายราย ซึ่ง ปจจุบนั สามารถผลิตเพือ่ การสงออกเปนหลัก เนือ่ งจากปริมาณ การใชในประเทศยังมีนอ ย อีกทัง้ ภูมศิ าสตรทตี่ งั้ ของประเทศไทย ยังเหมาะสําหรับระบบโลจิสติกส จากที่มีการสนับสนุนในดาน การของการสงออกเพื่อเพิ่มรายไดใหกับประเทศและเกษตรกร ผูปลูกพืชพลังงาน

นายประวิทย ประกฤตศรี กรรมการผูจัดการ กลุมธุรกิจ พลังงานหมุนเวียน บริษัท มิตรผล ไบโอฟูเอล จํากัด กลาว วา บริษัทมีเจตนารมณในการพัฒนาธุรกิจจากอุตสาหกรรม ออยที่ชัดเจน โดยธุรกิจที่พัฒนาขึ้นมาทุกประเภท จะตองไม เพียงแคสรางมูลคาเพิ่มใหกับองคกร แตตองสรางมูลคาใหกับ ชุมชนและประเทศชาติได ในฐานะตนนํ้าของการผลิตเอทานอล สําหรับนํ้ามันแกสโซฮอล กลุมมิตรผลมีเกษตรกรชาวไรออย คูสัญญาอยูกวา 30,000 ราย ในประเทศไทย ที่พรอมจะปลูก ออยและเพิ่มผลผลิตออย ปจจุบันมีกําลังการผลิตเอทานอล เพื่อรองรับความตองการจากโมลาส (กากนํ้าตาล) 3 โรงงาน 690,000 ลิตรตอวัน และมี 1 โรงงาน ที่ผลิตจากนํ้าออยสด กําลังการผลิต 200,000 ลิตรตอวัน รวม 4 โรงงาน กําลัง การผลิตกวา 900,000 ลิตรตอวัน โดยเทคโนโลยีที่ใชในการ ผลิ ต ทั น สมั ย ที่ สุ ด ซึ่ ง นํ า เข า จากต า งประเทศ เพื่ อ ให มั่ น ใจใน คุณภาพของเอทานอลสําหรับผลิตเปนเชื้อเพลิงในยานยนต ทั้งยังเปนเทคโนโลยีที่ยังสามารถนําผลพลอยไดจากการผลิต (กากหมอกรอง) ไปพัฒนาตอยอดเปนสารปรับปรุงดินเพือ่ กลับ คืนสูไรออยไดอีกดวย อีกทั้งยังสามารถขยายกําลังการผลิต เอทานอลของโรงงานทั้ง 4 แหง หากมีความตองการเอทานอล ในประเทศเพิ่มขึ้น 24

Energy#53_p20-25_Pro3.indd 24

3/22/13 4:11 PM


ดานผูที่ใชนํ้ามันดีเซล ภาครัฐไดเรงใหมีการศึกษาพัฒนา นํา้ มันไบโอดีเซล B5 เปน B7 โดยมอบหมายใหกรมธุรกิจพลังงาน หาแนวทางในการพัฒนาเครื่องยนต ใหสามารถรองรับนํ้ามัน ไบโอดีเซล B7 ได คาดวาตองใชเวลา 2 - 3 ป ในการพัฒนาไปสู ไบโอดีเซล B7 หรือ B10 หากมีการสนับสนุนอยางจริงจัง ก็จะมี สวนชวยในการชวยระบายปาลมนํา้ มันออกสูท อ งตลาดมากยิง่ ขึน้ ถึงแมวาในปจจุบันผูผลิตรถยนตยังไมสามารถออกมารับ ประกันไดวา นํ้ามันดีเซล B7 ที่มีสวนผสมของไบโอดีเซล 7% จะใชในรถยนต ได เพราะยังมีขอเสียบางประการกับเครื่องยนต และสงผลตอสมรรถนะของการขับขี่ ทําใหไมสามารถบังคับใช ไบโอดีเซล B7 ไดในขณะนี้ แตกระทรวงพลังงาน ยืนยันวาพรอมที่จะรับซื้อปาลม นํา้ มันจากเกษตรกรอยางเต็มที่ ซึง่ ในสวนของกระทรวงพาณิชย ควรเรงรัดหาวิธีระบายผลผลิต โดยจากการหารือเบื้องตนเห็น วาแนวทางในการแกไขปญหาควรมีการสรางคลังจัดเก็บนํ้ามัน ปาลม การสรางโรงกลั่นนํ้ามันดีเซลเกรดพรีเมียม และการ พัฒนาการผลิตไบโอดีเซล B7 ซึ่งจะตองมีการลงลึกถึงราย ละเอียดกันตอไป

ทั้งนี้ เมื่อมีการยกเลิกการจําหนายนํ้ามันเบนซิน 91 เปนที่ เรียบรอย เชือ่ วายังมีผใู ชรถเพียงบางสวนไมเปลีย่ นใจไปใชนาํ้ มัน แกสโซฮอลจากหลายเหตุผล อาทิ ยังไมมั่นใจวาจะสามารถใช นํา้ มันแกสโซฮอล ไดหรือไม ซึง่ กระทรวงพลังงานยังไมมีนโยบาย ยกเลิกจําหนายนํ้ามันเบนซิน 95 แตนํ้ามันเบนซิน 95 จะมีราคา ราคาแพง เพราะไมใชนํ้ามันที่มาจากพลังงานทดแทน การเก็บ ภาษีสรรพสามิตและการเก็บเงินเขากองทุนนํ้ามันจึงเก็บตาม อัตราสูงสุด ทําใหนาํ้ มันเบนซิน 95 อยูท รี่ าคา 45-46 บาทตอลิตร กระทรวงพลังงานยืนยันวารถยนตและรถจักรยานยนตที่ ผลิตหลังป พ.ศ.2540 เปนตนมา เครื่องยนตที่เปนแบบหัวฉีด สามารถรองรับการใชนํ้ามันแกสโซฮอล 91 และแกสโซฮอล 95 ไดทั้งหมด แตผูใชรถบางสวนยังคงไมมั่นใจที่จะใชเทานั้น อันที่จริงเมื่อชางนํ้าหนักกันดี ๆ และมองในระยะยาว การ ยกเลิกนํ้ามันเบนซิน 91 จะกอใหเกิดผลดีมากกวาผลเสียใหกับ ทุกภาคสวน ทั้งในสวนของเงินในกระเปา การสรางงานเพิ่มขึ้น การสรางความมั่นคงใหกับประเทศ ลดการนําเขาสิ่งที่เราไมมี และใชสิ่งที่มีใหเกิดประโยชนมากที่สุด ถาคิดเชนนี้ ทุกอยางก็ สามารถเปนไปได 25

Energy#53_p20-25_Pro3.indd 25

3/22/13 3:59 PM


Energy Design รังสรรค อรัญมิตร

ประสบการณ ใหม แหงการพักผอน

ดวยดีไซนที่คํานึงถึงการใชพลังงาน

การออกแบบที่พัก ที่อยูอาศัย ในปจจุบัน นอกจากจะเนนเรื่องความสวยงามและความแปลกใหม แลว สถาปนิกผูอ อกแบบยังตองคํานึงถึงเรือ่ งของการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมควบคูก นั ไปดวย ผานกระบวนการออกแบบหลากหลายขัน้ ตอน เพือ่ สรางสรรคผลงานการออกแบบใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ทั้งดานความสวยงาม ความปลอดภัย รวมถึงการประหยัดพลังงาน ที่เปนกระแสหลักของการ ออกแบบยุคใหมที่นักออกแบบหลายคนตางใหความสําคัญ

26

Energy#53_p26-28_Pro3.indd 26

3/21/13 5:03 AM


ทั้งนี้นอกจากแนวคิดการออกแบบที่เนนความหรูหราแลว ทีน่ ยี่ งั ถูกออกแบบใหเปนโรงแรมประหยัดพลังงาน โดยออกแบบ ใหอิงกับธรรมชาติ ความรมรื่นของตนไมที่รายลอมอยูรอบตัว โรงแรม และใชประโยชนจากธรรมชาติใหมากที่สุด ผสมผสาน ความทันสมัย สะดวกสบายในการพักผอนอยางสมบูรณแบบ และไมกอใหเกิดการสิ้นเปลืองพลังงาน ซึ่งการออกแบบในแตละพื้นที่กําหนดใหใชพลังงานอยูใน กรอบที่จํากัด เชน พื้นที่ Lobby ออกแบบใหสามารถเปดรับลม จากริมชายหาดชวยสรางความเย็นสบายโดยไมตองเปดเครื่อง ปรับอากาศ และยังชวยใหอากาศถายเทไดสะดวก สวนภายใน หองพักไดตดิ ตัง้ กระจกบานใหญ เพือ่ ใหสามารถเปดรับแสงจาก ภายนอกชดเชยแสงสวางภายในหอง และเพื่อใหการประหยัดพลังงานมีประสิทธิภาพใหสมกับ โรงแรมระดับ 5 ดาว ที่นี่ไดติดตั้งระบบไฟฟาแสงสวางประเภท ประหยัดพลังงาน ไมวา จะเปนหลอด LED หลอดฟลูออเรสเซนต T5 ที่ชวยลดการใชพลังงานไดเปนอยางดี ส ว นห อ งนํ้ า ภายในห อ งพั ก ทางโรงแรมติ ด ตั้ ง ฝ ก บั ว ประสิทธิภาพสูงเพื่อลดการใชนํ้า โดยตั้งแรงดันนํ้าใหมีความ เหมาะสมไมแรงจนเกินไปจนทําใหเกิดการสิ้นเปลือง แตยังให ความรูสึกที่ดีในการอาบนํ้า พรอมกันนี้ภายในหองพักยังใช ระบบปรั บ อากาศประสิท ธิภ าพสู ง และติ ด ตั้ ง ระบบเซ็น เซอร เพื่อการประหยัดพลังงาน เมื่อลูกคาเปดประตูระเบียงออกไป ชมทัศนียภาพภายนอก เครื่องปรับอากาศจะหยุดทํางานโดย อัตโนมัติ ซึ่งชวยไมใหอากาศเกิดการรั่วไหลออกสูภายนอกซึ่ง เปนสาเหตุทําใหเครื่องปรับอากาศทํางานอยางหนักเกิดการสิ้น เปลืองพลังงาน และการบําบัดนํา้ เสียเปนอีกหนึง่ แนวทางหนึง่ ของ การออกแบบเพื่อใหเกิดการประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอ สิง่ แวดลอม ซึง่ ที่ เคป ดารา รีสอรท ไดดาํ เนินการบําบัดนํา้ ทีผ่ า น การใชงานแลว โดยนํานํ้าที่ผานการบําบัดแลวกลับมาใชสําหรับ รดนํ้าตนไม ชวยลดตนทุนในการใชนํ้าไดอีกทางหนึ่ง นอกจากการออกแบบใหเกิดการประหยัดพลังงานแลว โรงแรมแหงนี้ยังกําหนดใหมีตารางการดูแลซอมบํารุงอุปกรณ เครื่องจักรใหสามารถใชงานไดดีตลอดเวลา รวมถึงการจัดใหมี การแสดงตัวเลขการใชพลังงานในแตละวันใหพนักงานทุกคน ทราบ เพื่อกอใหเกิดการใชพลังงานอยางคุมคา นอกจากนี้ยัง รณรงค ใหพนักงานปดไฟและเครื่องปรับอากาศเมื่อไมมีการ ใชงาน ควบคุมอุณหภูมิในสํานักงานใหอยูในสภาพอากาศที่ เหมาะสมที่ 25 องศา อีกทั้งรณรงคใหพนักงานคัดแยกขยะ ตั้งแตตนทาง กําหนดใหมีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นในบริเวณโรงแรม มีการจัดตั้งคณะกรรมการดานสิ่งแวดลอม เพื่อใหมีสวนรวม ในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม พรอมกันนี้ไดเชิญชวน “เคป ดารา รีสอรท พัทยา” ถูกเนรมิตขึ้นในรูปลักษณ รวมสมัย โดดเดน โดยมีความสูง 26 ชั้น ลอมรอบดวยพื้นที่ ธรรมชาติกวา 75,000 ตารางเมตร พรอมชายหาดสวนตัว เพื่อ ใหผมู าเยือนไดใกลชดิ กับธรรมชาติ และสัมผัสกับทองทะเลในมุม มองที่สวยงามของเมืองพัทยา

27

Energy#53_p26-28_Pro3.indd 27

3/21/13 5:03 AM


ใหลูกคามีสวนรวมในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดย การไมเปลี่ยนผาเช็ดตัวหรือผาปูที่นอนทุกวัน รวมถึงรณรงคให ใชถุงผาแทนการใชถุงพลาสติก ดานความสะดวกสบาย เคป ดารา รีสอรท ยังออกแบบ ใหมีหองพักกวา 264 หอง ไมวาจะเปนหองดีลักซ หองสวีท และ วิลลา ซึ่งในแตละหองลวนแตนําเสนอทิวทัศนอันตระการตาของ ผืนขอบฟา ที่มองเห็นทะเลกวางสุดสายตา และความแตกตาง ที่ลูกคาจะไดรับ นอกจากสถาปตยกรรมการตกแตงที่งดงาม แลว ในยามคํ่าคืนลูกคายังไดสัมผัสกับดวงดาวระยิบระยับเต็ม ทองฟาอีกดวยครับ สวนกิจกรรมและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ที่นี่มีไว รองรับลูกคามากมาย เรียกไดวาเมื่อไดมาพักผอนที่ เคป ดารา รีสอรท แลวคุณแทบจะไมตองเดินทางไปไหนเลย เพราะที่นี่มี ทั้งรานอาหารและเครื่องดื่มที่เปดใหบริการตลอดทั้งวัน อาทิ Radius รานอาหารนานาชาติรมิ ทะเลกับบรรยากาศสบาย ๆ หรือ จะลองรับประทานอาหารจีนกวางตุง ทีร่ า น Ming Xing ทีร่ งั สรรค ความอรอยใหมาลิ้มลองกัน หรือจะใชเวลาในยามวางที่ Mellow รานค็อฟฟ ช็อปและเบเกอรี่ หรือจะไปหยอนใจที่บารริมสระวาย นํ้าอยาง Twinkle Bar และ Walala Bar ก็ได พรอมกันนี้ เคป ดารา รีสอรท ยังเปนสถานที่ประชุมแหง ใหม สําหรับงานเลี้ยง อีเวนท และการประชุมขนาดตาง ๆ ดวย พื้นที่อันกวางขวางและโปรงสบายของหองบอลรูม ที่สามารถ รองรับผูประชุมไดมากถึง 800 คน เรียกไดวา เคป ดารา รีสอรท เปนที่ ๆ มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครันทีเดียว สําหรับเลมตอไป การออกแบบจะเพิม่ เนือ้ หาทีเ่ ขมขนและ หลากหลายกวาเดิม เลมนี้ทิ้งทวนเรื่องราวของการประหยัด พลังงานภายในรีสอรทไวเพียงแคนี้กอน หากมีเรื่องราวการ ออกแบบที่นาสนใจก็ยังนํามาเสนอใหไดติดตามกัน

28

Energy#53_p26-28_Pro3.indd 28

3/21/13 5:03 AM


9Z$IS;OT9V7D

Energy#48_p56_Pro3.indd 56

10/20/12 3:38 AM


Greenovation วรรณวิภา ตนจาน

เครื่องซักผาที่ใชนํ้า 1 แกว

เทคโนโลยีเครือ่ งซักผาไรนาํ้ ไดรบั ความสนใจอยางมาก เนือ่ งจาก ชวยลดคาใชจา ยรายเดือนไดถงึ 33% ซึง่ เครือ่ งซักผารุน ใหมนไี้ ดรบั การ พัฒนาโดย บริษทั Xeros บริษทั เครือ่ งซักผาชือ่ ดังจากประเทศอังกฤษ โดยใชลูกปดไนลอนเล็ก ๆ ในการดูดซับคราบสกปรก และสามารถ ใชซํ้าได การซักผาดวยวิธีนี้จะชวยลดการใชนํ้าไดถึง 90% โดยใช นํ้าในปริมาณเพียงแค 1 แกวเทานั้น เครื่องนี้สามารถกําจัดคราบ สกปรกตาง ๆ ได เชน หมึก โคลน หรือ ไวนที่หกใส จุดเดนของเครื่อง อยูที่เสื้อผาที่ผานการซักโดยเครื่องนี้จะอยูในสภาพเกือบแหงสนิท ไม ต  อ งใช เ ครื่ อ งป  น แห ง หรื อ ใช เ วลาในการตากแดด แนวคิ ด ใน การทําความสะอาดดวยพอลิเมอร หลังจากทีใ่ ชเวลาถึง 30 ปในการยอมสีพลาสติกในเสนใย เมือ่ เขาพบวาคราบสกปรกนีม้ ปี ฏิกริ ยิ าตอ สารยอมสีคอนขางสูง ทําใหเขาเริ่มหาหนทางในการทําใหพลาสติกที่ทดลองมีผลในทางตรงกันขามตอคราบสกปรก เมื่อลูกปดไนลอน ดูดซับคราบสกปรกและเก็บไวในบริเวณที่มีความชื้น 100% เพื่อใหคราบเหลานี้แพรกระจายไปยังศูนยกลางของลูกปด โดยที่ไมตองใช นํ้า ไมกอใหเกิดนํ้าเสีย และประหยัดคานํ้าในแตละเดือนไดมากทีเดียว

โนตบุคที่ผลิตจากไม ไผ

ASUS บริษัทผลิตคอมพิวเตอรชื่อดังจากประเทศไตหวัน ได สรางความตื่นตาตื่นใจใหกับโลก ดวยการสราง คอมพิวเตอรโนตบุค จากตนไผ เพื่อลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด และ ใชพลังงานไฮบริดเพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟา ชิ้นสวนภายใน คอมพิวเตอรเครือ่ งนีส้ ามารถนํามารีไซเคิลได ไมมกี ารพนสี ทาสี หรือ เคลือบดวยโลหะ กอนหนานี้ บริษัท เดล ไดผลิตคอมพิวเตอรโนตบุค โดยมีรปู ลักษณภายนอกเปนไมไผ และใชพลังงานนอยลงถึง 70% และ มีชิ้นสวนภายในทําจากเหยือกนมและขวดนํ้าที่ใชแลว

ยกทรงผลิตกระแสไฟฟา

สําหรับสาวทรงโตทั้งหลาย ตองรูสึกตกใจแน ๆ เมื่อมีการ คิดคนยกทรงที่สามารถผลิตกระแสไฟฟาจากการเคลื่อนไหว ของหนาอก ขณะนี้ยกทรงดังกลาวมีการติดสายไฟเอาไว เพื่อ ผลิตกระแสไฟฟาบริเวณหนาอกเมื่อมีการเคลื่อนไหว ซึ่งเครื่อง ผลิตไฟฟานีก้ ม็ ปี ญ  หาในการใชงานเชนกัน เชน เครือ่ งนีม้ ีโอกาส เสียหายระหวางการเย็บหรือซัก และผูหญิงที่มีหนาอกขนาดเล็ก จะสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดนอย เนื่องจากมีการเคลื่อนไหว นอยกวาคนที่มีหนาอกขนาดใหญ โดยมีการระบุวา คนที่มี หนาอกเล็กสามารถผลิตกระแสไฟฟาในระดับที่สามารถชารจ เครือ่ งไอพอดได ในขณะทีค่ นมีหนาอกใหญสามารถผลิตกระแส ไฟฟาในระดับที่สามารถใชเปนพลังงานใหแกอาคารพาณิชย ได เลย ยกทรงผลิตกระแสไฟฟานี้ถือเปนตนแบบที่สงผลใหมีการพัฒนาคิดคนเครื่องผลิตกระแสไฟฟาออกมาในรูปแบบอื่น ๆ อยางเชน เสื้อคอกลม เปนตน 30

Energy#53_p30-32_Pro3.indd 30

3/22/13 8:37 PM


ถุงมือซีพีอาร CPR Glove หรือ ถุงมือซีพอี าร ประดิษฐโดยนักศึกษา วิศวกรรมกายภาพ2คนทีช่ อื่ วาCoreyCenten และNileshPatel จากมหาวิทยลัย O’Canada’s McMaster University ที่ ตองการจะปฏิวัติการกูชีพผูที่หยุดหายใจ ซึ่งกระบวนการทํา CPR ที่ถูกตองนั้น ตองมีเทคนิค แตละวินาทีนั้นหมายถึงชีวิต ซึ่งถุงมือซีพีอารนั้นจะชวยลดความผิดพลาด และเพิ่มโอกาส ในความประสบความสําเร็จในการกูชีพ ใหมากขึ้น ถุงมือนี้ ประกอบไปดวย วงจรไฟฟา และเซ็นเซอร (Sensor ) ที่จะชวย ใหผูทํา CPR ทราบอัตราการปมหัวใจ ความหนักเบาในการ ป ม หั ว ใจ และมี สั ญ ญาณเตื อ นเมื่ อ ถึ ง จั ง หวะที่ ต  อ งทํ า mouth-to-mouth

สุดไฮเทค ตาวิเศษติดลิ้น

Brain Port คือ เทคโนโลยีใหมลา สุด ทีส่ ามารถชวยใหคนทีม่ ปี ญ  หาสายตาเสือ่ ม สามารถกลับมามองเห็นไดผา นทางลิน้ โดยนําแผนขยายสัญญาณไฟฟามาอม ไวบนลิ้น สัญญาณไฟฟาจะผานทางลิ้นไปสูสมอง และสมองจะแปลสัญญาณ เปนภาพ โดยภาพทีม่ องเห็นจะมีความละเอียดมากหรือนอยขึน้ อยูก บั จํานวนจุด สัญญาณบนแผนขยายสัญญาณไฟฟา (ปจจุบนั มีความละเอียด 400,600 จุด) ผูใชงาน Brain Port ครั้งแรกจะสามารถใชงานไดอยางชํานาญ เมื่อใชงาน Brain Port ประมาณ 10 ชัว่ โมง รูปภาพทีม่ องเห็นจะเห็นเปนภาพขาวดํา และ ความละเอียดของภาพจะ ขึน้ อยูก บั จํานวนจุดบนแผนขยายสัญญาณ และสามารถ เห็นภาพเคลือ่ นไหวในระดับ 30 frames ตอวินาที เชือ่ วาในอนาคตเทคโนโลยีนจี้ ะ ไดรบั การพัฒนาตอไปอีกมาก และนาจะมีใหใชกนั เร็ว ๆ นีใ้ นอนาคตอันใกลเปน ความหวังของผูพ  กิ ารทางสายตา ถึงแมจะเปนเพียงภาพขาวดําทีไ่ มชดั เจนสักเทา ไหร แตสาํ หรับผูพ  กิ ารทางสายตาแลวแคนกี้ เ็ ปนทีน่ า ยินดีอยางมาก

ถานชารจพลังฉี่

Liquid Powered Battery เปนถานชารจที่ใชฉี่ในการ ชารจถานขนาด AA , AAA ถานรุน นีม้ ชี อื่ วา NoPoPo ยอมาจาก คําวา Non Pollution Power เปนถานทีป่ ลอดสารตะกัว่ (Lead) สารปรอท (Mercury) และสารแคดเมียม(Cadmium) สําหรับ ผูผลิตและคิดคนถานพลังฉี่นี้คือ Aqua Power จากประเทศ ญี่ ปุ  น โดยมี ห ลั ก การทํ า งานคื อ ของเหลวจะทํ า ปฏิ กิ ริ ย า กั น ระหว า งแมกนี เ ซี ย ม ( Magnesium) กั บ อลู มิ เ นี ย ม (Aluminium) ที่บรรจุอยูในถาน วิธีชารจถานทําไดโดยการเติม ของเหลวลงไปโดยใชหลอด ซึ่งของเหลวที่ใชในการทําปฏิกิริยา ไดแก โคลา เบียร เหลาสาเก เลือด ปสสาวะ (ฉี่) และนํ้าเปลา (H2O)

31

Energy#53_p30-32_Pro3.indd 31

3/22/13 8:37 PM


เฟอรนิเจอรที่เร็วที่สุดในโลก Casual Lofa เปนเฟอรนเิ จอรทสี่ ามารถนัง่ ได สบาย ๆ ผูป ระดิษฐ คือ Edward China เฟอรนเิ จอร ที่วานี้เปนโซฟาลายหนังเสือดาวแบบนั่งคู มีโตะเล็ก ไวสําหรับวางเบียรและถาดพิซซา ถาถามวาจะเบรก ไดอยางไร ก็เพียงแคดึงกระปองเบียรที่ติดอยูกับที่ เทาแขนไปดานหลัง โซฟาจะคอย ๆ หยุดลง สวน พวงมาลัยก็ถูกออกแบบมาใหเปนถาดพิซซาขนาด กลางของพิซซาเรีย (Pizzeria) ซึ่งทําความเร็วได สูงสุดกวา 130 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ใชเครือ่ งยนต1800 ซีซี ของ Volkswagen engine

แรงเลอรยนี สกลิน่ หอม พรอมขจัดเซลลูไลท เพอเรียวขาที่กระชับและออนเยาว “แรงเลอร” กางเกงยีนสสญ ั ชาติอเมริกนั เอาใจสาว ๆ ทัว่ โลก สรางสรรคนวัตกรรมใหม “Cosmetic Garment” พรอมแนะนํา “เดนิม สปา (Denim Spa)” คอลเลคชั่น กางเกงยีนส 3 รุนพิเศษ อยางรุน Ultimate Olive ที่มาพรอมกับสารสกัดเขมขนจาก ธรรมชาติ และมอยซเจอร ไรเซอรจากผลมะกอก ที่มีคุณสมบัติในการชวยบํารุงผิวที่ แหงกรานใหนุมนวลขึ้น สําหรับรุน Always Aloe Vera ที่มาพรอมกับมอยซเจอรไรเซอร และนํ้าหอมจากสารสกัดวานหางจระเขที่จะซึมซาบเขาสูผิวในทุกขณะที่สวมใส เพื่อใหคุณ ไดสัมผัสถึงผิวที่นุมนวลขึ้นในทุกยางกาว สวนรุน Anti-Cellulite ที่สุดของนวัตกรรมใน การพัฒนามอยซเจอไรเซอรทเี่ ปนเอกลักษณเฉพาะสูท รีทเมนตทดี่ ที สี่ ดุ โดยใชเทคโนโลยี SKINTEX S ซึ่งอุดมดวยคุณคาสารอาหารจากสาหรายทะเลลึก ที่มีคุณสมบัติในการชวย บํารุงเรียวขาของคุณใหกระชับและคงความออนเยาว

สุดยอดเทคโนโลยีพลาสติกซอมแซมตัว เองไดเหมือนผิวหนังมนุษย

ศาสตราจารย Marek Urban จากมหาวิทยาลัย Southern Mississippi ได คิดคนพลาสติกชนิดพิเศษ Holy Grail of Material Science ซึ่งไดแรงบันดาลใจมา จากผิวหนังของมนุษยที่สามารถซอมแซมตัวเองไดเมื่อมีรอยขีดขวนหรือแตกหักเกิดขึ้น โดยพลาสติกชนิดนีจ้ ะทําปฏิกริ ยิ ากับรอยนัน้ ๆ ในระดับของโมเลกุล และซอมแซมรอยนัน้ ไดเอง โดย ศาสตราจารย Urban บอกวา “พลาสติกของเราใชวธิ เี ลียนแบบธรรมชาติ คือ เมื่อมีรอยขีดขวน หรือบาดแผลบนพื้นผิว พลาสติกจะเปลี่ยนเปนสีแดงตรงบริเวณนั้น จากนั้นเมื่อพลาสติกถูกแสงแดดหรืออุณหภูมิที่เปลี่ยนไป พลาสติกจะซอมแซมตัวเอง โดยไมทิ้งรองรอยใด ๆ เทคโนโลยีที่วานี้คาดวาจะถูกนําไปใชกับอุปกรณพกพา เชน มือถือ แท็บเล็ต รถยนต หรือแมแตปนที่เวลาอยูในสงคราม เมื่ออาวุธเกิดความเสียหาย ก็จะสามารถซอมแซมตัวเองไดทันที อยางกับหนังไซไฟเลยทีเดียว 32

Energy#53_p30-32_Pro3.indd 32

3/22/13 8:37 PM


Energy#53_p33_Pro3.ai

1

3/22/13

4:08 PM

Back to the Basic เครื่องปรับอากาศกับการเลือกใชอยางมีประสิทธิภาพ ผศ.พศวีร ศรีโหมด : หัวหนาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เมือ่ เขาสูฤ ดูรอ น ผูอ า นหลาย ๆ ทานก็คงจะตองการซือ้ เครือ่ งปรับอากาศหรือแอรคอนดิชน่ั มาติดตัง้ เพือ่ ทำความเย็นในทีพ ่ กั อาศัย อยางทีเ่ รา รูก นั อยูแ ลววาการทำงานของเครือ่ งปรับอากาศตองใชกำลังงานไฟฟาสูงมาก ดังนัน้ การเลือกเครือ่ งปรับอากาศมาใชงานจึงเปนสิง่ จำเปนและสำคัญมาก ถาเลือกเครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพต่ำ ๆ ผลที่ตามมาก็คือทานตองแบกรับภาระคาไฟฟาที่แพงมากจากการทำงานของเครื่องปรับอากาศตลอด อายุการใชงานของมันเลยทีเดียว ดังนั้นในฉบับนี้ คอลัมน Back to the Basic ขอยกเรื่องการเลือกเครื่องปรับอากาศอยางมีประสิทธิภาพมาเขียน เลาสูกันฟังครับ วัตถุประสงคของการปรับอากาศ ก็คอื ตองการทีจ่ ะควบคุมอุณหภูมิ ความชืน้ สัมพันธ การไหลเวียนอากาศใหมคี วามเหมาะสม หรือพูดงาย ๆ ก็คอื ทำใหสภาพแวดลอมทีค่ นเราอยูเ ปนพืน้ ทีท่ ร่ี สู กึ สบายนัน่ เอง โดยเจาเครือ่ งปรับอากาศนีจ้ ะเปนอุปกรณทจ่ี ะตองทำหนาทีด่ งั กลาวนี้ หลักการทำงาน ของเครือ่ งปรับอากาศ คือการนำเอาความรอนจากพืน้ ทีห่ รือหองทีต่ อ งการทำความเย็น ถายเทไปสูพ  น้ื ทีภ่ ายนอกโดยผานตัวกลางคือ สารทำความเย็น หรือที่เรียกกันวาน้ำยาแอร โดยจะมีอุปกรณหลัก ๆ ในระบบดังนี้ คอมเพรสเซอร(Compressor) เปนตัวอัดหรือขับเคลื่อนสารทำความเย็นในระบบ ซึง่ การทำงานของคอมเพรสเซอรตอ งใชกำลังงานไฟฟาเปนแหลงจายพลังงานในการขับเคลือ่ น โดยมีคอยลเย็น (Evaporator) ทำหนาทีด่ ดู ซับความรอน ภายในหองมาถายทอดสูส ารทำความเย็น จึงทำใหหอ งเย็นได และคอยลรอ น (Condenser) ทำหนาทีร่ ะบายความรอนของสารทำความเย็น และอุปกรณ ลดความดัน (Throttling Device) ทำหนาทีล่ ดความดันและอุณหภูมขิ องสารทำความเย็น กอนทีจ่ ะเขาสูค อยลเย็น โดยทัว่ ไปจะใชเปนแค็ปพิลลารีท่ ว้ิ บ (Capillary tube) หรือ เอ็กสแปนชั่นวาลว (Expansion Valve) จากหลักการทำงานของเครือ่ งปรับอากาศจะตองใชกำลังงานไฟฟาเปนแหลงจายใหคอมเพรสเซอร เพือ่ สรางปริมาณ จากหลกการทำงานข ความเย็นใหกับพื้นที่ ดังนั้นตัวชี้วัดประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศสามารถพิจารณาไดจากอัตราสวนระหวาง ความสามารถในการทำความเย็นมีหนวยเปนบีทียูตอชั่วโมง (BTU/hr) ตอการใชกำลังงานไฟฟาที่คอมเพรสเซอร ความสามารถในการ มีหนวยเปนกิโลวัตต (kW) ทีเ่ ราเรียกวา อัตราสวนประสิทธิภาพการใชพลังงานระบบปรับอากาศ หรือคา EER (Energy Efficiency Ration)

EER =

ความสามารถในการทำความเย็น (BTU/hr) กำลังงานไฟฟาที่คอมเพรสเซอร (kW)

จจากค ากคา EEER ER นั้นหมายความวา ถาเเครื ครื่องงปรั ปรับอากาศที่ใชแลวประหยัดพลังงาน อมเพรสเซอร จจะต ะตองงมีมีกาารใช รใชกำำลัลังงานไฟฟาที่คอมเ เพรสเซอรต่ำ แตสามารถทำปริมาณ พอจะสรุ คความเย็ วามเยน็ ไไดดม าากหรื กหรอื ใใหห BTU/hr สูง ๆ ดดังั นนัน้ั พ อจะส ปไดวา คา EER ของ โดยก เเครื ครอ่ื งงปรั ปรบั ออากาศจะต ากาศจะตอ งงมีมคี า สูง ๆ จึงจะดี โด ดยกอ นเลื นเลอื กใชเครือ่ งปรับอากาศ ทุกทานสามารถดูไดทฉ่ี ลากแสดงประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานไฟฟาหรือ ฉลากเบอร 5 นัน่ เอง ถาเครือ่ งปรับอากาศทีไ่ ดเบอร 5 จะตองมีคา EER เทากับ หรือมากกวา 11.0 ขึน้ ไป ยิง่ มีคา EER สูงมากยิง่ ดีนะครับ โดยเทคโนโลยีของเครือ่ งปรับอากาศบางรุน สามารถทำคา EER ไดถงึ 17-18 เลยทีเดียว นอกจากการเลือกใชเครือ่ งปรับอากาศทีม่ คี า EER สูง ๆ แลวยังมี อีกปจจัยหนึง่ ทีจ่ ำเปนจะตองเลือก ก็คอื ขนาดของเครือ่ งปรับอากาศให เหมาะสมกับพื้นที่หอง เพราะถาเลือกเครื่องปรับอากาศที่มี BTU/hr ขนาดใหญเกินไปกวาพืน้ ทีห่ อ งก็เปนการสิน้ เปลืองโดยเปลาประโยชน หรือ เลือกเครือ่ งปรับอากาศทีม่ ขี นาดเล็กเกินไป ก็จะทำใหเครือ่ งปรับอากาศ ตองทำงานหนักมาก ใชกำลังงานตลอดเวลา อายุการใชงานก็จะสั้นลง ดังนั้นควรเลือกใหเหมาะสมกับขนาดหอง ดังตารางตอไปนี้ สรุปสุดทายขอฝากไวนะครับ ถาจะเลือกใชเครื่องปรับอากาศ อยาลืมดูตัวเลข EER และพิจารณาขนาดเครื่องปรับอากาศใหเหมาะกับ พืน้ ทีห่ อ งดวยนะครับ เพือ่ จะไดชว ยกันประหยัดพลังงานใหกบั ประเทศชาติและลดคาใชจา ยของตัวทานเองดวย


Technology Update

01

กลองดิจติ อลเปลีย่ นเลนสได แบบกระจกโปรงแสง

กลองโซนี่ α99 ทีม่ าพรอมกับเซ็นเซอร แบบ“Exmor™” CMOS ขนาดฟูลเฟรม (ขนาดเทียบเทาฟลม ) 35 มม. มีความละเอียด 24.3 ลาน พิเซล ขณะทีก่ ารแสดงผลหนาจอ LCD 3 นิว้ (ครอบคลุมการมองเห็น 100%) หนาจอความละเอียด 1,228,800 จุด และใชระบบออโตโฟกัส แบบ Dual AF พรอมทัง้ ตัวประมวลผล BIONZ™ ทีป่ ระมวลผล ภาพวิดโี อไดคณ ุ ภาพ นับเปนกาวสําคัญของคุณภาพของภาพและ เทคโนโลยีกระจกโปรงแสง Translucent Mirror Technology™ โดยระบบบันทึกภาพวิดโี อมีความคมชัดสูงถึง 60p/50p ชองมอง ภาพความคมชัดสูงแบบ XGA OLED Tru-Finder สวนเลนสที่ สามารถใชรว มกันไดกค็ อื โซนีอ่ ลั ฟา A-Mount เลนส, Minolta และ Konica Minolta AF lenses นอกจากนีย้ งั ใชแบตเตอรี่ NP-FM500H โดยมีระยะเวลาการใชงานประมาณ 410 รูป และ ประมาณ 500 รูป (เมือ่ ใชจอ LCD) สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม โทร. 0-2715-6100 หรือ เขาไปที่ http://www.sony.co.th

03

..........................................................................................................................................................................................................................................

วรรณวิภา ตนจาน

02

สุดยอดกลอง Mirrorless พรอมหนาจอ Touchscreen

กลอง Canon EOS M ถือเปนกลอง Mirrorless นวัตกรรม ลาสุดจาก Canon ทีด่ งึ เอาความโดดเดนของกลอง DSLR มายอ สวนไว เนือ่ งจากมีขนาดเล็ก ซึง่ มาพรอมกับเลนส 2 รุน นัน่ คือ EF-M 18-55 mm f/3.5-5.6 IS STM และ EF-M 22m f/2.0 pancake ทีใ่ ชเมาท EF-M เมาทแบบใหมสาํ หรับ Canon EOS M นัน่ เอง โดยขนาดเลนสทงั้ สองตัวนัน้ เมือ่ ประกบเขากับบอดีก้ ลองแลว ดู สวยงาม ขนาดกะทัดรัด รับกับบอดีก้ ลอง แต Canon EOS M จะไมมวี วิ ไฟนเดอรมาให ตองมองภาพผานจอ LCD เพียงอยาง เดียว นอกจากนีต้ วั กลอง Canon EOS M ถึงแมจะไมมแี ฟลชปอป อัพมาให แตสามารถตอแฟลชภายนอกไดดว ยฮอทชูทรี่ องรับการ ทํางานระบบ E-TTL และ E-TTL II ของ Canon อยางเต็มรูปแบบ สามารถสัง่ การแฟลชแบบไรสายไดดว ย นอกจากนีบ้ อดีก้ ลองยัง ทําออกมา 4 สี ไดแก แดง ขาว ดํา และเงิน โดยตัวสีแดงจะเปนตัว สีเมทัลลิค สวนสีอนื่ ๆ จะเปนสีดา น ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.techxcite.com/ topic/10276.html

04

..................................................................................................................................................................

จอ LCD หมุนได 180 องศา เสริมชองวางมือใหม

Nikon D5000 มีขนาดหนาจอ LCD 2.7 นิ้ว สามารถหมุน บิดได 180 องศา ใหความละเอียด 230,000 พิกเซล เปนหนา จอแบบ low-temperature polysilicon TFT vari-angle LCD ที่มาพรอมกับความละเอียด 12.3 ลานพิกเซล ใชเซ็นเซอร แบบ CMOS ระบบ live view พรอมระบบโฟกัสจับใบหนา (face detection) และโฟกัสตามวัตถุ (subject tracking) สามารถถายภาพวีดีโอไดแบบ 720p 24 fps พรอมเสียง และยัง เปนกลองแบบ Single-lens reflex digital camera มีความ ไวแสง ISO 200 ถึง 3,200 ทั้งนี้รองรับฟอรแมทไฟลแบบ NEF (12 bit compressed RAW), JPEG (Baseline-compliant), AVI movie (Motion JPEG compression format with monaural sound) ใช เมมโมรี่การ ดแบบ SD memory card (รองรับ SDHC ดวย) นอกจากนี้ยังใชแบตเตอรี่รุนใหม EN-EL9a ความจุสูงขึ้น ประหยัดพลังงานไดมากขึ้น ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.zoomcamera.net

กลองคอมแพกตสไตล Retro

Fujifilm X-E1 เปนกลอง mirrorless X-E1 ขนาด หนาจอ LCD 2.8 นิ้ว ใชเซ็นเซอร X-Trans CMOS ความ ละเอียด 16.3 ลานพิกเซล มีชองมองภาพอิเล็กทรอนิกสความ ละเอียดสูง โดยใชเซ็นเซอร X-Trans CMOS และตัวประมวลผล EXR Processor ProISO 200-6400 ซึง่ ขยายได 100 – 25,600 ในโหมด JPEG โดยช อ งมองภาพของ X-E1 เป น แบบ อิเล็กทรอนิกส OLED EVF สามารถบันทึกวีดีโอแบบ Full HD (1920X1080) 24 fps พร อ มไมโครโฟนในตัว นอกจากนี้ สามารถต อ ไมค เ พิ่ ม ได โดยที่ แ บตเตอรี่ ส ามารถใช ง านได ถึง 350 ภาพตอการชารจหนึ่งครั้ง ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.zoomcamera.net

34

Energy#53_p34-35_Pro3.indd 34

3/22/13 1:17 AM


กะทัดรัด ใชงานงาย พกพาสะดวก ไปไหนไ ไปไหนไปกัน

ผลิตภัณฑใหมลา สุดจาก Apple ทีต่ อ ยอดมาจาก iPad นัน่ ก็คอื iPad Mini Wi-Fi 32GB - White & Silver ทีย่ อ สวนขนาด หนาจอจาก 9.7 นิว้ เหลือ 7.9 นิว้ ตอบโจทยในเรือ่ งของขนาดทีเ่ ล็ก ลง นํา้ หนักเบา พกพางายขึน้ แตยงั คงไวในเรือ่ งของประสิทธิภาพการ ใชงานทีค่ รบครันดวยความละเอียดหนาจอ 1,024 x 768 พิกเซล ภายใน ใชชปิ ประมวลผล Apple รุน A5 Dual Core ความเร็ว 1 GHz พรอมการด จอ PowerVR SGX543MP2 และแรมขนาด 512 MB โดยมีความจุ ใหเลือกทัง้ 16 GB, 32 GB และ 64 GB Wifi 802.11a/b/g/n ทีม่ ี ความละเอียด 5 ลานพิกเซล และกลองหนา (FaceTime HD) สําหรับ ใชงาน VDO Call ความละเอียดอยูท ี่ 1.2 ลานพิกเซล โดยกลองทัง้ 2 นัน้ รองรับการถายวิดโี อมาตรฐาน ใชลาํ โพงระบบ Stereo ใหพลังเสียง สมบูรณแบบและมีความบางอยูท ี่7.2มิลลิเมตรมีนาํ้ หนักเพียง312กรัม พรอมแบตเตอรี่ Li - Polymer ความจุ 4490 mAh สามารถใชงาน ในการเปดเว็บไซตผา น WiFi ไดตอ เนือ่ ง 10 ชัว่ โมง ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.lazada.co.th

07

..........................................................................................................................................................................................................................................

05

06

แท็บแล็ตอเนกประสงค ทัง้ ทํางาน เลน และโทร ในเครื่องเดียวกัน

สําหรับ Samsung Galaxy Tab 2 นัน้ มีหนาจอ PLS TFT ขนาด 10.1 นิว้ WSVGA ดวยความละเอียดหนาจอ 1,280 x 800 พิกเซล กันรอยแบบ Gorilla Glass ขับเคลือ่ นดวยระบบปฏิบตั กิ าร Android 4.0 Ice Cream Sandwich กลองถายภาพดานหลังความละเอียด 3 ลานพิกเซล สวนกลองดานหนาเปนแบบ VGA รองรับการถายวีดโี อ แบบ HD 720 p ทัง้ นีย้ งั รองรับคลืน่ 3G +Wi-Fi แบบ Quadband ใชไดทกุ เครือขายในประเทศไทย ความจุอยูท ี่ 16 GB และมาพรอมกับ ซีพยี แู บบ Dual-Core ความเร็ว 1GHz , Ram 1GB โดยหนวยความจํา ในตัวเครือ่ งมี 3 ขนาด คือ 8GB, 16GB และ 32GB นอกจากนีย้ งั รองรับการเพิม่ หนวยความจําภายนอก microSD สูงสุดถึง 32 GB และสามารถใชงานเปนโทรศัพทไดดว ย มาพรอมกับแบตเตอรีค่ วามจุ 7,000 mAh ทัง้ นีต้ วั เครือ่ งหนักเพียง 588 กรัม เทานัน้ ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://men.kapook.com

08

..................................................................................................................................................................

สุดยอดแท็บแล็ตโดนใจ เหมาะมือ ใชงานสะดวก ราคาไมแพง

Acer Iconia Tab A510 รุน ใหม ทีม่ าพรอมกับซีพยี ู nVidia Tegra 3 แบบ Quad-Core ขับเคลื่อนดวยระบบปฏิบัติการ Android เวอรชั่น ICS หรือ Ice Cream Sandwich ที่รูจักกัน ดีในบานเรา มีขนาดหนาจอ 10.1 นิ้ว แบบ WXGA ความละเอียด 1,280x800 พิกเซล พรอมดวย แรม 1GB ฮารดดิสกภายในตัว เครือ่ ง 32GB (ฮารดดิสกภายในเปนแบบ SSD หรือ Solid State Drive) และยังสามารถเพิ่มความจุไดดวย Micro SD Card หนาจอมีความละเอียด 1,280 x 800 พิกเซล พอรต HDMI สําหรับ เชือ่ มตอแท็บเล็ตเขากับ HDTV นอกจากนี้ Acer Iconia Tab A510 ยังมาพรอมกับกลองหนา 1 ลานพิกเซล สําหรับการเลนวิดโี อแชท ในขณะทีก่ ลองหลังอยูท ี่ 5 ลานพิกเซล สามารถบันทึกวิดโี อไฮเดฟฯ 720 p ได พรอมดวยโพรเซสเซอรกราฟก 12-Core Nvidia GeForce ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.arip.co.th

แท็บเล็ตสุดบาง กันนํ้า กันฝุนได

Xperia Tablet Z เปนแท็บเล็ตทีท่ าํ งานภายใตระบบปฏิบตั ิ การแอนดรอยด 4.1 ขนาดหนาจอเปนไปตามหลักสากล ดวยขนาด 10.1 นิว้ ความละเอียด 1,200 x 1,920 พิกเซล ตัวเครือ่ งมีนาํ้ หนัก เพียงแค 495 กรัม บาง 6.9 มิลลิเมตร ซึง่ สิง่ นีท้ าํ ให Xperia Tablet Z กลายเปนแท็บเล็ตหนาจอ 10.1 นิ้ว ที่บางและเบาที่สุด ดาน ชิปประมวลผล โซนีเ่ ลือกใชชปิ จากคายควอลคอมม Snapdragon S4 Pro (APQ8064) ความเร็วในการประมวลผลอยูท ี่ 1.5GHz สวนกลองความละเอียดอยูท ี่ 8.1 ลานพิกเซล พรอมดวยเซ็นเซอร แบบ Exmor R มีหนวยความจําสํารอง 2GB หนวยความจําของ ตัวเครือ่ ง 32 GB แบตเตอรีต่ วั เครือ่ งอยูท ี่ 6,000 mAh ตรงจุด นีห้ ลายฝายมองตรงกันวา แบตเตอรีท่ ใี่ หมานอยเกินไป เมือ่ เทียบ กับแท็บเล็ต 10 นิว้ แตสาํ หรับจุดเดนของ Xperia Tablet Z รุน นี้ อยูท สี่ ามารถกันนํา้ กันฝุน ละออง ได ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://hitech.sanook.com/ 35

Energy#53_p34-35_Pro3.indd 35

3/22/13 1:17 AM


Green4U

วรรณวิภา ตนจาน

ไอเดียบรรเจิด…

รองเทาแตะสนามหญา ลดโลกรอน

เคยไดยินคนพูดกันวา เวลาเราเดินอยูบนสนามหญาสีเขียว ก็เปรียบเสมือนแหลงพักกาย พักใจ เราจะรูสึกสดชื่น หายเหนื่อย คลายเครียด ขึ้นมาทันใด จากนั้นจะกอเกิดความรูสึกเชื่อมโยงกับ ธรรมชาติ สงผลใหจิตใจและสุขภาพรางกายผอนคลาย ชาวญี่ ปุ  น หั ว คิ ด สร า งสรรค คิ ด ค น รองเท า แตะที่ มี พื้ น รองเทาเปนสนามหญาเขียวขจี อาจฟงดูแปลก ๆ แตก็นาสนใจ มิใชนอ ย ปกติการไดเดินเทาบนผืนหญาจะทําใหเรามีอารมณเขา ถึงธรรมชาติ สงผลใหจติ ใจและสุขภาพผอนคลาย ขณะนีน้ นี้ กั คิด หัวใสแดนอาทิตยอทุ ยั ไดคดิ คนรองเทาแตะทีส่ ามารถสังเคราะห แสงชวยลดโลกรอนได เจารองเทาแตะรักษโลกนี้ มีรปู รางเหมือน รองเทาแตะทั่วไป แตที่ดูแปลกตากวารองเทาทั่ว ๆ ไป ก็ตรงที่ บริเวณพืน้ รองเทาจะมีสนามหญาเขียวขจี ชวยใหผใู สมคี วามรูส กึ เหมือนไดเดินเลนอยูบนสนามหญาทั้งวัน

โดยจุดประสงคของรองเทาสนามหญาคูน ี้ ก็เพือ่ ตองการให มนุษยทกี่ าํ ลังอยูใ นยุคทีเ่ สีย่ งวาโลกจะแตกไดเห็นความสําคัญของ ธรรมชาติ เพราะเมือ่ มนุษยไดอยูใ กลชดิ กับธรรมชาติจะชวยสงผล ใหอารมณผอ นคลายซึง่ ทําใหสขุ ภาพดีและแข็งแรงตามไปดวย

แตเราก็ยังอดสงสัยไมไดวา รองเทาสังเคราะหแสงทํา จากหญาที่วานี้ จะตองดูแลเหมือนตนไม ใบหญาหรือเปลา ตองรดนํ้าใสปุยหรือไม แลวนานๆ ไป จากรองเทาพื้นหญา จะกลายรางเปนรองเทาหญาแหงๆ ไดมั้ย ถึงอยางไรก็ตามก็ ถือวาเปนรองเทาที่นามีไวใสสักคูหนึ่ง แถมยังชวยลดโลกรอน ไดอีกดวย 36

Energy#53_p36-37,39_Pro3.indd 36

3/22/13 1:08 AM


Energy#51_p52_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/29/13

10:51 AM


Green4U

วรรณวิภา ตนจาน

แม ในปจจุบันตลาดของสินคา Green Product ในกลุมนี้ จะยังคงเปนเพียงตลาดขนาด เล็กเมื่อเทียบกับสินคาและบริการทั่วๆ ไป สวนหนึ่งเปนผลมาจากการที่ราคาสินคายังมีราคาสูง เมื่อเทียบกับสินคาทั่วไป อยางไรก็ตาม ในปจจุบันสินคาประเภทนี้มีอัตราการขยายตัวที่เร็วมาก เนื่องจากผู โภคใหการตอบรับคอนขางดี โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว ากผูบริรโภคใหการตอบรบคอนขา

01

02

กระเปาทรงใบบัว

ลําโพงกระติ๊บขาวเหนียว

กระเปาแฟชัน่ คุณภาพดีทรงใบบัว ผลิตจากยางพาราแท 100% มีขนาด 26 x 27 x 2.5 เซนติเมตร และมีนํ้าหนักเพียง 233 กรัม ทั้งยังมีกลิ่นหอมสดชื่น ดีไซนการออกแบบลงตัว ให ความรูส กึ เรียบงาย และมีสไตล ทีส่ าํ คัญไมกอ ใหเกิดมลพิษ อีก ทั้งยังชวยชาวบานใหมีรายไดเพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่งดวย ราคา 760 บาท http://www.ecoshop.in.th

ลําโพงกระติ๊บขาวเหนียวเท ๆ ที่คุณสามารถพกพาได สะดวก เวลาที่ตองออกไปขางนอก หรือจะวางไวบนโตะทํางาน ก็กิ๊บเก ไมนอย เสียงดัง คุณภาพดี ไมตองใชถาน กระติ๊บขาว เหนียวไมจําเปนตองเอาไวใสขาวเสมอไปนะคะ ราคา 650 บาท http://www.ecoshop.in.th ww

03

04

กระเปาดินสอ/แวนตายางใน รถจักรยานยนต

พวงกุญแจ Paper Mache

กระเปาดินสอดีไซนนา รัก ๆ รูปแบบใหม ปลดล็อกความจําเจ จากกระเปาดินสอแบบเดิม ๆ และยังสามารถเปนกระเปาแวนตาได อีกดวย มีขนาด 24x8 เซนติเมตร นํา้ หนักเพียง 80 กรัม ดีไซน เรียบงาย สไตลนา รัก ๆ ใชสะดวก ทําจากยางในรถจักรยานยนตทใี่ ช แลว ผานการเย็บอยางประณีตจนกลายเปนกระเปาคุณภาพเยีย่ ม ราคา 220 บาท www.ecoshop.in.th

งาน Paper Mache รู ป สุ นั ข และสั ต ว น  า รั ก ต า ง ๆ สามารถนํามาตกแตงบาน หรือเปนของที่ระลึก หรือจะใหเปน ของขวัญวันเกิดก็ได โดยการนําเอาเศษกระดาษทีไ่ มใชแลวมาส รางมูลคาเพิ่ม ที่สําคัญยังสามารถยอยสลายได ไมเปนมลพิษ ตอสิ่งแวดลอมอีกดวย ราคา 95 บาท www.ecoshop.in.th

38

Energy#53_p36-37,39_Pro3.indd 38

3/22/13 1:08 AM


05

06

โคมไฟตั้งโตะ

มานั่งอลูมิเนียม

โคมไฟตั้งโตะสีสันสดใส ขนาด W85 x L90 x H80 เซนติเมตร นํ้าหนักเพียง 7 กิโลกรัม ผลิตจากศษวัสดุเหลือ ใช เศษดาย หัวราวผามานรูปสัตว และสวนตกแตงจากเรซิน ที่ชํารุดเสียหาย และขยะตาง ๆ ในโรงงานผลิตผามาน รวมทั้ง สายคลองผามานมาผสมเขาดวยกัน จนเกิดเปนผลงานชิน้ สวย ราคา 5,500 บาท www.ecoshop.in.th

งานชิน้ นีเ้ ปนการมองทัง้ วงจรผลิตภัณฑเพือ่ สิง่ แวดลอม ตัง้ แตเริม่ จากหาวัตถุดบิ จนกระทัง่ ถึงมือผูบ ริโภค โดยเจาะจง ไปทีก่ ารนําเศษวัสดุทรี่ อการรีไซเคิลมารียสู เพราะไมตอ งการ ใหเกิดมลพิษในอากาศจากการหลอมวัสดุและการขนสง ซึ่ง มานัง่ ตัวนีผ้ ลิตจากเศษอลูมเิ นียมอัดเปนกอน เพือ่ ใหงา ยตอการ ขนเขาเตาหลอมรีไซเคิล ตกแตงดวยเข็มขัดลูกเสือ และเศษไม ราคา 27,000 บาท www.ecoshop.in.th

07

08

โซฟาไม

เกาอี้รถสิบลอ

การลดการใชสวนประกอบที่ไมจําเปน เชน ไม และ น็อต ถือเปนการชวยโลกอีกทางหนึ่ง อีกทั้งการเลือกใชสี และตัวเคลือบที่มาจากธรรมชาติ โดยไมใชทินเนอรที่เปนตัว ทําละลาย นอกจากจะเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมแลว ยังเปน มิตรกับผูใชอีกดวย www.ecoshop.in.th

เกาอีด้ ไี ซนเก ทีม่ ไี อเดียมาจากรถสิบลอจอดอยูบ นเนิน โดยมีขอน ไมเล็ก ๆ ขัดลอหลังไว ซึง่ ภาพทีท่ กุ คนคุน ตานีด้ เู หมือน จะเปนไปไมได แตเปนไปแลวดวยไอเดียของ “ทอป พิพฒ ั น” ที่ ใ ช แ ผ น ไม อั ด เหลื อ ใช ตั ด ให ไ ด ข นาด แล ว นํ า มาต อ กั น โดยโชวสีสันของไมอัด แตถามองดี ๆ จะรูวาเกาอี้ตัวนี้ไม สามารถนั่งได ถาขาดวงกลมเล็ก ๆ ที่อยูดานหลัง ราคา 25,800 บาท www.ecoshop.in.th 39

Energy#53_p36-37,39_Pro3.indd 39

3/22/13 1:08 AM


Green Community วรรณวิภา ตนจาน

คิดจะพักผอนคิดถึง

“โอบ โอบ โฮมสเตย” กิจกรรมดี ๆ ตามวิถีธรรมชาติ

อยากใหทุกคนเขาใจกอนวา “โอบ โอบ โฮม สเตย” เปนบานสไตลพนื้ เมืองทีอ่ ยูใ กลชดิ ธรรมชาติ อันรมรืน่ และเปนบรรยากาศแบบบานๆ ทัง้ ไดเทีย่ ว และยั ง ได เ รี ย นรู  วิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชน นอกจากจะเป น โฮมสเตยแลวยังเปนศูนยการเรียนรูเศรษฐกิจพอ เพียง ซึ่งตั้งอยูในเขตอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัด ราชบุรี โดยเปดใหนกั เรียน นักศึกษา และประชาชน ทั่ ว ไป ได เ ข า มาเรี ย นรู  เ กี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามวิถีธรรมชาติ 40

Energy#53_p40-41_Pro3.indd 40

3/22/13 4:17 PM


โอบ โอบ โฮมสเตย ไดจัดใหมีการเขาคายพักแรมลูกเสือ เนตรนารีสําหรับโรงเรียนตาง ๆ ซึ่งมีการสรางคายดวยไม และ ใบไม โดยใชเชือกผูกแทนตะปู การปรุงอาหารแบบชาวปา รูจักใช ไมฟน รูจักกอไฟ และรูจักใชวัสดุจากธรรมชาติแทนภาชนะ เชน ใชกระบอกไมไผหุงขาว เปนตน ซึ่งกิจกรรมเหลานี้จะอยูในความ ดูแล ควบคุม และคอยใหความรูอยางถูกตอง โอบ โอบ โฮมสเตย มีบานพักอยู 3 หลัง ภายในพื้นที่กลาง ทุง นาทีป่ ลูกอยูร มิ คลอง เลียนแบบบานทัว่ ไปทีอ่ ยูใ นชนบท เพือ่ ให เห็นถึงชีวิตจริงของคนชนบทวา เขาใชชีวิตกันอยางไร ซึ่งภายใน ตัวบานมีหนึง่ หองนอน และมีหนาตางสําหรับเปดรับลมเย็นจากใน คลอง มีหองนํ้าอยูในตัวบาน ซึ่งเปนบานพื้นเมือง ที่ไมไดหรูหรา อะไรมากมาย แตที่นี่จะเปนการใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ธรรมชาติแกผูที่จะเขามาพักผอนเชิงอนุรักษธรรมชาติ

ซึ่งคนที่จะเขามาเที่ยวคือ กลุมคนที่จะมาฝกการเรียนรู ดูหิ่งหอย เก็บผักในคลอง แลวนํามาประกอบอาหารกินกันเอง รวมทั้งกิจรรมพายเรือ เลนนํ้า และตกปลา ซึ่งเปนการดําเนิน ชีวิตที่เรียบงายแบบสังคมชนบท โดยนักทองเที่ยวจะไดเขามา พักรวมกับเจาของบาน พรอมไดรับการถายทอดแลกเปลี่ยน ประสบการณ ประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นแก นักทองเที่ยว และพานักทองเที่ยวเที่ยวชมแหลงทองเที่ยวและทํา กิจกรรมตางๆ เชน เทีย่ วชมสวนผลไม ชมวิถชี วี ติ ของนกกระจาบ และชมการดํานา เปนตน นอกจากจะไดสัมผัสกลิ่นไอธรรมชาติที่บริสุทธิ์แลว นัก ทองเทีย่ วยังจะไดรบั ความสนุกสนานและประทับใจกับกิจกรรม มากมาย ตั้งแตกาวแรกที่คุณกาวเทาเขามา เพราะคุณจะได รับการตอนรับที่เปนกันเอง สบาย ๆ ในสไตลชนบท ไมตองมี พิธีรีตองที่วุนวาย เหมาะสําหรับเติมไฟและพลังชีวิตใหพรอม กลับไปสูกับภารกิจในชีวิตประจําวันกันตอไป 41

Energy#53_p40-41_Pro3.indd 41

3/22/13 4:17 PM


Energy Award รังสรรค อรัญมิตร

สรางสรรคสิ่งประดิษฐ จากวัสดุเหลือใช

จุดประกายความคิด เพือ่ โลกสดใส

การใชชวี ติ ประจําวันของคนเรานัน้ เปนปจจัยสําคัญอันดับตน ๆ ในการลดการใชพลังงานและลด ภาวะโลกรอน ซึง่ การลดใชพลังงานนัน้ มีวธิ กี ารจัดการทีห่ ลากหลาย เริม่ ตัง้ แตวธิ ที สี่ ามารถปฏิบตั ไิ ดงา ย เชน การประหยัดไฟภายในบาน ดวยการควบคุมการใชไฟฟาของเครือ่ งใชไฟฟา การนําสิง่ ของกลับมาใช ใหม หรือการรีไซเคิล (Recycle) การรียสู (Reuse) ดังนัน้ การสงเสริมเพือ่ สรางจิตสํานึกใหกบั ประชาชน มีสว นรวมในการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมจึงเปนปจจัยสําคัญของการลดใชพลังงาน 42

Energy#53_p42-44_Pro3.indd 42

3/21/13 10:14 PM


จากปจจัยดังกลาว หนวยงานภาครัฐและเอกชนไดคิดคน หามาตรการตาง ๆ เพือ่ สงเสริม สนับสนุนใหประชาชนไดตระหนัก และมีจิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน ซึ่งการประกวดด าน การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมนั้นเปนวิธีหนึ่งที่ภาครัฐ และเอกชนใชเปนชองทางในการสงเสริมใหเกิดจิตสํานึกในการ ประหยัดพลังงาน โครงการประกวดสรางสรรคสิ่งประดิษฐจากวัสดุเหลือ ใช ชิงถวยประทาน พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร นัน้ เปนอีกโครงการหนึง่ ทีส่ ง เสริมใหประชาชนเกิดจิตสํานึกในการ อนุรักษพลังงาน โดยเปดโอกาสใหเยาวชนไดมีสวนรวมในการ จัดหาวัสดุเหลือใชหรือนําทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งชวยลดการเกิดขยะ ลดมลภาวะ สูการลดใชพลังงานอยางยั่งยืน นอกจากนี้ ยั ง เป น เวที ใ นการแสดงออกถึ ง ความคิ ด สรางสรรค และรวมทํากิจกรรมที่เปนประโยชนตอสิ่งแวดลอม สําหรับโครงการประกวดสรางสรรคสงิ่ ประดิษฐจากวัสดุเหลือใช ป 2555 แบงการประกวดออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1.ประเภท สิง่ ประดิษฐของใชภายในบานจากวัสดุเหลือใช 2.ประเภทเครือ่ ง แตงกายจากวัสดุเหลือใช 3.ประเภทสิ่งประดิษฐจากวัสดุเหลือ ใชสูภัยนํ้าทวม โดยแบงออกเปน 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาหรืออาชีวศึกษา (ปวช.) และอุดมศึกษา หรือ ระดับอาชีวศึกษา (ปวส.) สําหรับผูชนะเลิศการประกวดในแต ละประเภทจะได รับ รางวัลถวยประทาน พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรัศมิ์ฯ พรอมดวยเกียรติบัตร และทุนการศึกษา 50,000 บาท สวน รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ไดรับโลรางวัล เกียรติบัตร พรอม ทุ น การศึ ก ษา 30,000 บาท รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 2 ไดรับโลรางวัล เกียรติบัตร พรอมทุนการศึกษา 20,000 บาท และรางวัลชมเชย จํานวน 3 รางวัล ไดรับโลรางวัล เกียรติบัตร พรอมทุนการศึกษา 10,000 บาท

ทั้งนี้ นายจตุพร บุรุษพัฒน อธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพ สิง่ แวดลอม ไดเลาถึงโครงการประกวดสรางสรรคสงิ่ ประดิษฐจาก วัสดุเหลือใชวา “เกิดขึ้นจากพระราชดําริของพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรัศมิ์ เมื่อครั้งเสด็จตรวจเยี่ยมราษฎรในพื้นที่ วิกฤตินํ้าทวม 6 จังหวัด ไดแก ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อางทอง สิงหบุรี ชัยนาท และสุพรรณบุรี โดยนักเรียนในพื้นที่ ดังกลาว ไดนําผลงานสิ่งประดิษฐจากวัสดุเหลือใชมาจัดแสดง ซึ่งพระองคทรงชื่นชมและมีพระดําริวาควรดําเนินการขยายผล เพื่อใหเกิดการนําวัสดุเหลือใชในครัวเรือนมาสรางสรรคเปน สิ่งประดิษฐตาง ๆ อันเปนการเพิ่มมูลคาใหกับวัสดุเหลือใช และ เปนการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด ทั้งยังเปนการชวย ลดปริมาณขยะไดอีกทางหนึ่งดวย ซึ่งการมอบรางวัลในปนี้เปน ผลงานการประกวดในป 2555 ที่ผานมา และไดรับการตอบรับ จากโรงเรียนและเยาวชนทั่วประเทศใหความสนใจสงผลงานเขา ประกวดเพิ่มขึ้น” ยกตัวอยางผูที่ไดรับรางวัลชนะเลิศในการประกวด ระดับ อุดมศึกษาและอาชีวศึกษา (ปวส.) ผลงานชื่อ “เกาอี้สุขภาพ กอลิลาหรรษา” เปนผลงานของ นางสาวเบญจมาศ มหาวัน นางสาวฉัตรติยา ลังการัตน และนางสาวธนาวัลย ศรีมะวัฒน นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม โดย นางสาวเบญจมาศ มหาวัน ตัวแทนกลุมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม เลาถึงแนวคิดของผลงานใหฟงวา “หลัง บานดิฉนั เปนปารกทึบจึงเปดโอกาสใหชาวบานในชุมชนนําของมา ทิง้ ดิฉนั และเพือ่ น ๆ เขียนปายติดประกาศหามทิง้ ขยะ และใหชว ย กันทําความสะอาด ปญหาใหญคือกลิ่นเหม็นและความสกปรก ทําใหทศั นียภาพทีส่ วยงามหดหายไป ดิฉนั และเพือ่ น ๆ จึงชวยกัน เก็บยางรถเกาทีถ่ กู นํามาทิง้ มาทําใหเกิดประโยชน ใชเปนทีน่ งั่ พัก เหนื่อย และเกิดแนวคิดในการทําเกาอี้นั่งใหม ๆ โดยนําเกาอี้ที่ไม ใชแลวมาประกอบเขากับยางรถจักรยานทีม่ ลี กั ษณะเปนดอกยาง

43

Energy#53_p42-44_Pro3.indd 43

3/21/13 10:14 PM


และมีสดี าํ ใหความรูส กึ แข็งแรง ทนทาน บึกบึน โดยเนนโครงสราง กลามเนือ้ เปนหมัด ๆ ในลักษณะทีใ่ ชแขนและขารับนํา้ หนักเกาอี้ นี่ คือที่มาของเกาอี้สุขภาพกอริลาหรรษา วัสดุอุปกรณที่ใชในการ ประดิษฐ ประกอบดวย ยางรถจักรยานทีไ่ มไดใชงานแลว ขดลวด ชนิดแข็ง 3 กิโลกรัม กระดาษแข็ง เกาอี้ชํารุด กาวยางชนิดพิเศษ 1 กระปอง สวานเจาะ กรรไกรตัดลวด คีมมัดลวด สีสเปรยสดี าํ 2 กระปอง เทานี้ก็สามารถสรางเปนผลงานจากวัสดุเหลือใชไดแลว หากสนใจจะเลียนแบบก็ไมขัดของนะคะ” และตัวอยาง รางวัลชนะเลิศระดับประถมศึกษา ชือ่ “ทีด่ งึ ฝากระปองแปลงรางสรางสรรคของใชในบาน” เปนผลงานของ เด็กหญิงรจนา กิจเกียรติเลิศผล เด็กหญิงภันทิลา วิทยาสมานสกุล และเด็กหญิงจันทกานต สรานนทวัชรกุล จากโรงเรียนบาน หวยขาน จังหวัดแมฮอ งสอน โดยกลุม เด็กนักเรียนทีช่ นะเลิศเลาถึง แนวคิดใหฟง วา “ทีด่ งึ ฝากระปองนํา้ อัดลมหรือทีด่ งึ ฝาเครือ่ งดืม่ ประเภทตาง ๆ สวนมากจะเปนอลูมิเนียมสีขาวหรือสีเหลืองทอง มีลักษณะเปนหวง นอกจากจะเปนขยะจําหนายได ยังสามารถนํา มารอยเรียงตอกันเปนงานประดิษฐของใชในบาน สงเสริมการคิด สรางสรรค ซึ่งโดยปกติสวนมากมีการนําสวนที่เปนตัวกระปอง อลูมิเนียมไปรีไซเคิลเปนผลงานประดิษฐตาง ๆ มากมายเพื่อลด ขยะ แตสาํ หรับทีด่ งึ ฝากระปองจะถูกทิง้ เปนขยะโดยเปลาประโยชน จึงนํามาประดิษฐเปนของใชในบาน ซึ่งจะชวยลดปริมาณขยะ อีก ทั้งยังเปนการเพิ่มมูลคาใหกับของเหลือใช และใชเวลาวางใหเกิด ประโยชน ประหยัดคาใชจาย นอกจากนี้ยังสามารถประกอบเปน อาชีพเสริมเพิ่มรายไดใหกับครอบครัวอีกทางหนึ่งดวย” นีเ่ ปนเพียงตัวอยางหนึง่ ทีห่ นวยงานภาครัฐไดใหการสงเสริม และสนับสนุนใหเกิดแนวคิดในการนําทรัพยากรธรรมชาติหรือ วัสดุที่เหลือทิ้งมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งเปนแนวทางหนึ่ง ของการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม หากหนวยงานภาค รัฐสงเสริมอยางจริงจังและตอยอดแนวคิดสิ่งประดิษฐผลงาน ของเยาวชนทั้งที่ไดรับรางวัลและไมไดรับรางวัลสูการพัฒนา ให เ กิ ด เป น รู ป ธรรมที่ ส ามารถใช ง านได จ ริ ง หรื อ พั ฒ นาใน เชิงพาณิชยได ไมใชแคการสงเสริมเพือ่ ลดใชทรัพยากรธรรมชาติ ยังลดการเกิดปริมาณขยะ ลดมลภาวะ ลดใชพลังงาน และยัง เปนความยั่งยืนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกดวย สําหรับ รางวัลชนะเลิศระดับมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา (ปวช.) ชื่ อ “โคมไฟมั จ ฉาอั จ ฉริ ย ะ” เป น ผลงานของ นางสาวธั ญ ลั ก ษณ เขี ย วสี และนางสาวสุ ด ธิ ด า มหาวั น จากโรงเรียนหอพระ จังหวัดเชียงใหม ซึง่ นางสาวสุดธิดา มหาวัน เลาถึงแนวคิดใหฟง วา “จากการจัดงานเลีย้ งฉลองวันรับปริญญา ของพีส่ าว หลังเลิกงานรับปริญญามีหนาทีท่ าํ ความสะอาด และ ไดเก็บรวบรวมฝากระปองเครื่องดื่ม ฝากลองอาหาร ฝากลอง ไอศกรีมสําเร็จรูป ฝากลองนมเด็ก ฯลฯ คิดอยูน านวาจะเก็บมา ประดิษฐอะไรดี ดวยความที่หลงเสนหความงดงามของสีสันของ วัสดุเหลือใชเหลานี้ กลางคืนทําการบานสงอาจารย และตองใช โคมไฟสองสวางเพื่ออานหนังสือและทําการบาน จึงเกิดแนวคิด อยากทําโคมไฟรูปปลา เนื่องจากปลาเปนสัญลักษณของความ อุดมสมบูรณ มีกนิ มีใช สวนแนวคิดประเด็นทีส่ องทีแ่ ฝงไวจะสะทอน ใหเห็นถึงโครงสรางของสังคม การทุจริตคอรรปั ชันทีเ่ ปรียบเสมือน “หวงโซอาหาร” ผูม อี าํ นาจจะกดขีข่ ม เหงผูน อ ยดุจปลาใหญกนิ ปลา เล็ก ฯลฯ ดวยเหตุนจี้ งึ เกิดผลงานโคมไฟมัจฉาอัจฉริยะขึน้ มา” 44

Energy#53_p42-44_Pro3.indd 44

3/21/13 10:14 PM


Energy#45_ad ESM_Pro3.ai

1

7/24/12

1:31 AM


Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร

Betagro Life Cycle Thinking

…กาวสูการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

หากพูดถึงโรงงานอุตสาหกรรมแลวคุณคิดถึงอะไร นึกถึงการปลอยมลพิษ การปลอยนํา้ เสีย ทีส่ ง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม หรือนึกถึงกระบวนผลิตทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ซึง่ ปจจุบนั โรงงานอุตสาหกรรม หลายแหงไดสลัดภาพแบบเดิม ๆ ไปแลว จากภาพของโรงงานทีป่ ลอยมลพิษ ปลอยนํา้ เสีย มาเปนโรงงาน ที่ดําเนินงานดานการอนุรักษพลังงานสูการพัฒนาตอยอดเปนโรงงานที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ตั้งแตกระบวนการคนหาวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ไปจนถึงการยอยสลายหรือนํากลับมาใชใหม เครือเบทาโกรเปนอีกตัวอยางหนึ่งของการเปนโรงงาน ที่มีกระบวนการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมภายใตนโยบาย อนุรกั ษพลังงานของประธานกรรมการบริหารเครือเบทาโกร โดย เริ่มดําเนินการดานพลังงานและสิ่งแวดลอมใหสอดคลองกับที่ กฎหมายกําหนด ไมวา จะเปนระบบการจัดการมลพิษ การจัดการ ขยะของเสีย การบําบัดนํ้าเสีย เรียกวา Pollution Control ซึ่ง เปนพื้นฐานของโรงงานทั่วไปที่ตองดําเนินการ

ทั้งนี้ยังไดดําเนินตามมาตรฐานตาง ๆ ของสากล เพื่อ ป อ งกั น ไม ใ ห เ กิ ด ของเสี ย จากกระบวนการผลิ ต เรี ย กว า Pollution Prevention เช น การดํ า เนิ น ตามมาตรฐาน ISO 14001 หรื อ มาตรฐานระบบการจั ด การสิ่ ง แวดล อ ม (Environmental Management System) ที่ใชเปนแนวทาง ใหองคกรหรือหนวยงานสามารถจัดระบบการจัดการของตน เพือ่ ใหบรรลุนโยบายดานสิ่งแวดลอมที่กําหนดไว

46

Energy#53_p46-48_Pro3.indd 46

3/19/13 9:21 PM


ในปจจุบันเบทาโกรไดกาวสูขั้นที่ 3 ของการดําเนินการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม คือ Life Cycle Thinking เพือ่ นําไปสูก ารใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและยัง่ ยืน โดยดําเนิน การในเรือ่ ง Eco efficiency, Law Carbon Process, Carbon Footprint, Waste Development, Energy Conservation, และReuse Recycle Replacement รวมถึ ง การสร า ง จิตสํานึกใหกบั พนักงานไดมสี ว นรวมในการอนุรกั ษพลังงานและ สิ่งแวดลอม โดยมีการเผยแพรนโยบายใหบุคลากรทราบทั่วถึง ซึง่ เนือ้ หาสาระสําคัญของนโยบายมุง เนนการจัดการพลังงานอยางมี ระบบแบบมีสว นรวมและดําเนินการอยางตอเนือ่ ง ไมวา จะเปนการรวม มือกันรณรงค เปด- ปดไฟฟาในจุดทีไ่ มไดใชงาน การคัดแยกขยะ การนําขยะมาแลกไข หรือการสรางจิตสํานึกใหมกี ารคิดกอนใช เพือ่ เปนสวนสําคัญในการลดตนทุนและสรางความยัง่ ยืนใหกบั องคกรใน เครือเบทาโกร และสรางความยัง่ ยืนใหกบั สังคมและชุมชนในอนาคต

นอกจากนี้ ยั ง ได ดํ า เนิ น เรื่ อ ง Zero Waste โดย พยายามนําของเสียจากกระบวนการผลิตมาทําใหเกิดประโยชน มากที่สุด เชน การนําไขมันไกในโรงงานผลิตไกมาผลิตเปน ไบโอดีเซล โครงการวิจัยและพัฒนานําเปลือกไขมาทําแคตาลิส ผลิ ต ไบโอดี เ ซลเพื่ อ ลด Waste และได พ ลั ง งานกลั บ มา ใช ป ระโยชน เรี ย กได ว  า เป น การนํ า เอาวั ต ถุ ดิ บ เหลื อ ทิ้ ง กลับมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่ ง ในการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มของเครื อ เบทาโกรตั้ ง แต เ ริ่ ม ต น จนพั ฒ นาต อ ยอดมาถึ ง ขั้ น ที่ 3 นั้ น สอดคลองกับมาตรฐาน ISO 50001 (Energy Management Standard) เป น การเตรี ย มตั ว สู  ค วามเป น มาตรฐานใน ด า นการจั ด การพลั ง งานเพิ่ ม เติ ม จากการจั ด การพลั ง งาน ตามที่กฎหมายกําหนด 47

Energy#53_p46-48_Pro3.indd 47

3/19/13 9:21 PM


การปรับเปลีย่ นเทคโนโลยีหรืออุปกรณเพือ่ ใหเกิดการ ประหยัดพลังงาน นอกจากนี้การอนุรักษสิ่งแวดลอมของเครือเบทาโกรยัง ไดดําเนินการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีอุปกรณเพื่อการใหเกิดการ ประหยัดพลังงาน ไมวาจะเปนการปรับปรุง “ระบบความรอน” โดยมุง เนนการนําความรอนเหลือทิง้ กลับมาใชงาน (Waste Heat Recovery) โครงการหลักคือการนําความรอนเหลือทิ้งจาก ระบบไอนํ้าและระบบผลิตนํ้ามันรอนกลับมาใชงานดวยอุปกรณ แลกเปลี่ยนความรอน (Economizer) โดยดําเนินการกับระบบ ไอนํ้ า และระบบผลิ ต นํ้ า มั น ร อ นที่ ติ ด ตั้ ง ไปแล ว ทุ ก โรงงาน สวนโรงงานที่สรางใหมกําหนดใหระบบไอนํ้าและระบบผลิตนํ้ามัน รอนใหติดตั้ง Economizer มาจากโรงงานผูผลิตตั้งแตเริ่มตน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใชงาน “การปรับปรุงระบบไฟฟา” มุงเนนการใชพลังงานไฟฟา อย า งเหมาะสม โครงการหลั ก คื อ การใช ง านมอเตอร แ ละ ปมนํ้า โดยการติดตั้งระบบควบคุมความเร็วรอบมอเตอร VSD (Variable Speed Drive) เพื่อลดการใชพลังงานไฟฟาในชวง เวลาที่มีการผลิตนอย และ “การใชพลังงานทดแทน” เพื่อลด การใชพลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิง โดยพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือกหลัก ๆ ของเบทาโกรนั้นพัฒนาจากระบบ ฟาร ม และโรงงานในเครื อ ที่ มี ก ารบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ขั้ น ต น ด ว ย ระบบปด นอกจากจะชวยลดปญหากลิน่ จากระบบบําบัดนํา้ เสียแลว ยังสามารถรวบรวมไปผลิตเปนแกสชีวภาพหรือ Biogas อีกดวย ซึ่งแกสชีวภาพที่ไดจะนํามาผลิตกระแสไฟฟาใชภายในโรงงาน หรือฟารมชวยลดตนทุนในกระบวนการผลิตไดเปนอยางดี ลดใช พลังงานไดประมาณ 12 ลานบาท และคืนทุนภายใน 3 ป

พรอมกันนี้เบทาโกรยังไดมีการศึกษาและใชงานพลังงาน แสงอาทิตยเพื่อผลิตนํ้ารอนใชในกระบวนการผลิต และเลือก ใช Biomass รวมถึงการใช Heat pump ประสิทธิภาพสูงมา ทดแทนการใชเชื้อเพลิงแอลพีจีในระบบหมอตมไอนํ้า สามารถ ลดใชพลังงานไดประมาณ 10 ลานบาท และสามารถคืนทุน ไดภายใน 2 ป ดานระบบขนสงไดติดตั้งอุปกรณแกสในรถ บรรทุกเพื่อลดใชนํ้ามันดีเซล และไดติดตั้งระบบ GPS เพื่อ ควบคุมการขนสงใหอยูบนเสนทางที่กําหนด ทั้งนี้ภาพรวมของ กระบวนการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมในเครือเบทาโกร นั้น สามารถลดใชพลังงาน ลดการปลอยคารบอนไดออกไซดได ไมนอยกวา 5% ตอป อยางไรก็ตาม สิ่งสําคัญที่สุดในการดําเนินการอนุรักษ พลังงานของเบทาโกรนั้น คือการสรางคุณภาพของพนักงาน ใหมีจิตสํานึกรักองคกรแลวมีสวนรวมกับองคกรและผูบริหาร ในการอนุรักษพลังงานของกระบวนการผลิต สูการลดตนทุน ดานพลังงาน โดยสะทอนออกมาเปนคุณภาพของสินคาที่ดี ที่สามารถแขงขันได ในตลาดโลก ภายใตกระบวนการลดใช พลังงานตั้งแตตนนํ้าจนถึงปลายนํ้านั่นเอง

48

Energy#53_p46-48_Pro3.indd 48

3/19/13 9:21 PM


Energy#40_p25_Pro3.ai

1

2/21/12

3:29 PM


Tools & Machine รังสรรค อรัญมิตร

ปจจุบนั มีผปู ระกอบการสนใจลงทุนในโครงการผลิตไฟฟาเซลล แสงอาทิตยเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากพืน้ ทีส่ ว นใหญของประเทศไทยมีศกั ยภาพ เพียงพอตอการพัฒนาและผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย ซึ่งในการเลือกพื้นที่ติดตั้งนั้นตองอาศัยเครื่องทดสอบการติดตั้ง ระบบเซลลแ สงอาทิ ต ย และการตรวจวั ด อุ ป กรณ ร ะบบเซลล แสงอาทิตย เพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการลงทุน

Solar Tester PV 150 เครือ่ งทดสอบการติดตัง้ ระบบเซลลแสงอาทิตย เครื่องทดสอบการติดตั้งระบบเซลลแสงอาทิตย (Solar Tester PV 150) นั้น เปนอุปกรณสําหรับบันทึกขอมูลระหวาง การทดสอบสถานีไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย เชน คาพลังงาน แสงอาทิตย (Irradiance) คาอุณหภูมิแวดลอม (Ambient Temperature) คาอุณหภูมิของแผงรับพลังงานแสงอาทิตย ขณะทํางาน (Panel Temperature) จากเครือ่ ง Solar Servey 200R และคาแรงดันกระแสตรง (Voc) คากระแสไฟฟา (Isc) คาความตานทานของสายกราวด (Rpe) คาความเปนฉนวน (Array Insulation Resistance) โดยคาทีว่ ดั ไดจะสงไปยังตัว เครื่องทดสอบ (PV150 Solar Tester) ผานการสื่อสารแบบ ไรสาย (SolarLink Connectivity) ซึง่ คาทีว่ ดั ไดจะแสดงทีม่ มุ บนขวามือของเครือ่ งทดสอบ และจะบันทึกขอมูลทุกครัง้ เพือ่ เปน ฐานขอมูลในการตรวจสอบครัง้ ตอไป ทั้ ง นี้ การส ง ค า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย (Irradiance) จากเครื่องวัดคาพลังงานแสงอาทิตย (Solar Survey 200R) ไปบันทึกในเครือ่ งทดสอบ (PV150 Solar Tester) นัน้ ชวยลดขัน้ ตอน การทํางานในการจดบันทึกขอมูลของผูทดสอบเมื่ออยูหนางาน (On-Site) โดยตัวเครือ่ งทดสอบนัน้ สามารถบันทึกขอมูลผลการ ทดสอบในตัวเครือ่ งไดถงึ 200 คา โดยขอมูลตาง ๆ ทีถ่ กู บันทึก สามารถสงตอไปยังคอมพิวเตอรผานสาย USB และโปรแกรม SolarCert Element เพือ่ เก็บบันทึกเปนฐานขอมูลไว

สําหรับโปรแกรม SolarCert Element ประกอบไปดวย เมนูคําสั่ง Check list เปนรูปแบบเอกสารที่ใชประกอบการ ทํารายงานการทดสอบ โดยผูทําการทดสอบตองเตรียมการ Installation Diagram เปนสวนทีใ่ หผทู าํ การทดสอบสามารถใช เขียนวงจร PV Array, PV String, Inverter และอืน่ ๆ ทีจ่ าํ เปน ใชประกอบการรายงาน โดยโปรแกรมจะมีการเตรียมอุปกรณที่ จําเปนและเชือ่ มตอไวพรอมสําหรับใชงานอยางดีเยีย่ ม PV System Inspection Report เปนรายการทีผ่ ทู ดสอบ ตองทําการทดสอบตามลําดับขัน้ สามารถใชไดทงั้ การตรวจสอบ การติดตัง้ ระบบครัง้ แรก หรือการซอมบํารุงตามระยะเวลา Array Test Report เปนสวนที่เปนรายงานขอมูลผลการทดสอบที่ สามารถนําเอาขอมูลจากตัวเครื่องมาใสในรายงานนี้ไดอยาง งายดาย โดยผูทํารายงานสามารถเลือกชองในตารางที่ตองการ ใสคา และเลือกขอมูลทีส่ ง มาจากเครือ่ งทดสอบ หลังจากนัน้ เพียง “Click” ขอมูลผลการทดสอบจะสงเขาไปในรายงานอยางอัตโนมัติ ลดระยะเวลาทํารายงานของผูปฏิบัติงานลงได เนื่องจากในแตละ สถานีไฟฟาที่ใชพลังงานจากแสงอาทิตยจะมีวงจรที่เรียกวา PV String จํานวนมาก โดยในแตละ PV String จะใช Array Test Report เปนรายงานของแตละ String แต PV System Verification Certificate จะเปนรายงานการทดสอบของทั้ง ระบบนัน่ เอง

50

Energy#53_p50_Pro3.indd 50

3/19/13 9:50 PM


Energy Loan วรรณวิภา ตนจาน

ธ.กสิกรไทย ชูโปรแกรมสินเชื่อ รับประกันการประหยัดพลังงาน สนับสนุนการลงทุน

ดานการจัดการพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ

โปรแกรมสิ น เชื่ อ รั บ ประกั น การประหยั ด พลั ง งานกสิ ก รไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) เปนสินเชื่อธนาคารใหกับ ผูประกอบการในรูปของสินเชื่อลีสซิ่ง เพื่อเชาซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ และเงินกูระยะยาวเพื่อสนับสนุนการลงทุนในโครงสรางการจัดการดาน พลังงานใหมีประสิทธิภาพ ผานการใชบริการจาก บริษัทจัดการดาน พลังงาน (Energy Service Company – ESCO) ซึ่งเปนบริษัทที่ปรึกษา และบริหารจัดการดานพลังงานอยางครบวงจร มีการรับประกันผลการ ประหยัดพลังงานที่ไดจากการลงทุน ซึ่งผูประกอบการสามารถมั่นใจไดวาผลการประหยัดพลังงานที่ ไดจากการลงทุนในโครงการฯจะเปนที่มาหลักของการชําระคืนเงินกูของลูกคา คุ ณ ศุ ก ลรั ต น ภู ริ วั ฒ นะ ผู  ช  ว ยกรรมการผู  จั ด การ ธนาคารกสิกรไทย ใหรายละเอียดสินเชือ่ วา ธนาคารกสิกรไทยใหการ สนับสนุนดานการเงินแกลกู คา ดวยวงเงินสินเชือ่ สูงสุด 100% ของ เงินลงทุนทัง้ หมดของโครงการ ลูกคาสามารถมัน่ ใจในผลของการ ประหยัดพลังงาน ซึ่งเปนแหลงที่มาของการชําระคืนเงินกูโดยไม รบกวนกระแสเงินสดจากการดําเนินงานปกติของกิจการ ชวยลด ตนทุนการใชพลังงานของกิจการได สงผลใหเกิดความมัน่ คงทาง สถานะการเงินและมีความสามารถในการแขงขันระยะยาว ดังนัน้ ทางธนาคารจึงมีความมุง มัน่ ทีจ่ ะสรางความมัน่ คงและ แข็งแรงใหกบั ผูป ระกอบการ ดวยการใชหลักคิดของ Creating Shared Value (CSV) ก็คอื การทีอ่ งคกรธุรกิจมุง มัน่ ดําเนินงาน ทีก่ อ ใหเกิดประโยชนแกสงั คม และในขณะเดียวกันก็สง เสริมให ธุรกิจสามารถแขงขันกันได โดยการทีอ่ งคกรธุรกิจจะตองมีการ สรางวิธกี ารทีเ่ ปนรูปธรรมทีจ่ ะสรางสรรคคณ ุ คาเพิม่ ใหแกสงั คม ซึง่ เปนการพยายามหาพืน้ ทีแ่ หงความสําเร็จรวมกันระหวางธุรกิจ และสังคม โดยสิ น เชื่ อ รั บ ประกั น การประหยั ด พลั ง งานกสิ ก รไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) ใหการสนับสนุนทัง้ วงเงินกูร ะยะยาว และวงเงินลิสซิง่ หรือเชาซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ (K-Equipment Financing) จากบริษทั แฟคเตอรี แอนด อีควิป เมนท กสิกรไทย เพือ่ ใหผปู ระกอบการนําไปลงทุนพัฒนาระบบจัดการ ดานพลังงานของบริษทั ใหเกิดการประหยัดพลังงานสูงสุด ชวยลด ตนทุนดานพลังงานทีม่ แี นวโนมสูงขึน้ และเปนผลดีตอ สภาพแวดลอม การใชพลังงานของประเทศโดยรวม สําหรับคุณสมบัตขิ องผูข อกูส นิ เชือ่ นัน้ ตองเปนโครงการลงทุน ทีม่ วี ตั ถุประสงคเพือ่ การจัดการดานพลังงานใหมปี ระสิทธิภาพทีม่ ี การรับประกันผลการประหยัดพลังงานจากบริษทั ESCO ทัง้ นีต้ อ ง เปนบริษทั ESCO ทีผ่ า นเกณฑการพิจารณาของธนาคาร สวนอัตรา ดอกเบีย้ นัน้ เปนไปตามระเบียบทีท่ างธนาคารกําหนด

นอกจากจะเปนการขานรับกับนโยบายของภาครัฐในการ สงเสริมเรือ่ งการประหยัดพลังงานในปจจุบนั แลว ยังถือเปนการ เชื่อมโยงใหผูประกอบการตระหนักถึงความสําคัญของการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และยังเปนการอนุรกั ษพลังงานทาง หนึง่ ซึง่ จะสรางความเขมแข็งใหกบั ผูป ระกอบการสามารถประหยัด คาใชจา ยไดในระยะยาว และสงผลตอการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ ของประเทศในภาวะวิกฤติการณดา นราคาพลังงานทีย่ งั คงเพิม่ สูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง 51

Energy#53_p51_Pro3.indd 51

3/22/13 8:44 PM


How To

วรรณวิภา ตนจาน

โคมไฟแสนสวย จากชอนและขวดพลาสติก ในชีวิตประจําวันของเราทุกคน ตองพบเจอกับวัสดุเหลือใชจําพวก ชอนพลาสติกและขวดพลาสติกทีถ่ กู ทิง้ เกลือ่ นกลาดอยูต ลอดเวลา และถาสะสมไว มากพอสมควรก็อาจจะหาเวลาวางมาทําสิ่งประดิษฐสวยๆ งามๆ กันดูบาง นะคะ เพราะของตกแตงบานไมจําเปนตองเปนของแพงๆ ก็ได ยกตัวอยาง เชน โคมไฟจากชอนและขวดพลาสติกที่ทําเองไดงายๆ ที่บาน

อุปกรณที่ตองใชในการทําโคมไฟ มีดังนี้ • • • • •

ชอนพลาสติก ขวดพลาสติก หลอดไฟ พรอมเดินสายไฟ กาว กรรไกร

เมื่อเตรียมอุปกรณเสร็จก็ลงมือทํากันไดเลย… • ขั้นแรกใหใชกรรไกรตัดกนขวดพลาสติกออก • จากนัน้ ใหตดั ดามชอนพลาสติกออก ใหเหลือแตปลายชอน • นํามาเรียงซอนกันทาดวยกาวรอนเปนชั้น ๆ โดยซอน ทับจากดานลางขึ้นดานบนคลายเกล็ดปลา • หลังจากนัน้ นําหลอดไฟมาใสใหเรียบรอย ก็จะไดโคมไฟ สวย ๆ ที่ทําจากขวดและชอนพลาสติก จากตัวอยางทีใ่ ชชอ นพลาสติกสีขาว อาจดัดแปลงเปนชอน สีอนื่ ๆ แทนเพือ่ เพิม่ สีสนั ก็ได โคมไฟจากชอนและขวดพลาสติก เหลือใช นอกจากจะชวยลดขยะเพื่อโลกแลว เรายังไดโคมไฟ ดีไซนสวย ๆ ไวใชงาน เพือ่ นํามาตกแตงบานไดตามใจชอบ

52

Energy#53_p52_Pro3.indd 52

3/22/13 12:56 AM


popsicle stick bird

ศิลปะจากไมไอติม และเศษไมนาํ มาทํางานประดิษฐ เพราะเปนสิง่ ทีใ่ กลตวั และสามารถหาไดงาย ที่ทุกคนรูจักซึ่งใครๆ ก็สามารถทําไดดวยตัวเอง เอาไวใสปากกา ดินสอ ใสมอื ถือ หรือจะเอาถวยนํา้ พลาสติกใสไวปลูกตนไม เล็กๆ เอาไปประดับโตะทํางานกันก็ไดนะคะ ขั้นตอนการทําคือ • • • • •

เริ่มตนจากตัดไมไอติมแบงเปน 2 สวนเทาๆ กัน แลวนํามาประกอบเปนกรอบ 4 เหลี่ยม ทากาวทิ้งไวใหแหง จํานวน 4 ชุด นํากรอบ 4 เหลี่ยมมาทากาวประกอบกันทีละคู เสร็จแลวนํามาทากาว ประกบกันเปนกลอง 4 เหลี่ยมโดยใชเทปกระดาษยนติดประคองไวจนกาวแหง จากนั้นตัดไมไอติมใหยาวพอดี วางเรียงตามกันปดรอบโครงกลองทั้ง 4 ดาน สวนดานกนกลอง จะเรียงขวางกลับดานกัน

การทําสวนหัว

• โดยใชไมไอติมแบงครึ่งมาประกอบกันเปนรูป 3 เหลี่ยมดานเทา 2 ชุด ตัดไมไอติมยาว 4 ซ.ม. แลวตัดเฉียงปลายฝงตรงขามทั้งสองดานใหเหลือ 3 ซ.ม. • นํามาประกอบกันเปนรูป 3 เหลี่ยม 2 ดานตั้งขึ้น สวนดานลางเปนไมตัดเฉียง ทากาวใหติดกัน แลวใชเทปกระดาษยนติดประคองไวรอกาวแหง • จากนั้นจึงนําลูกตาพลาสติก มาทากาวติดที่ดานบนของ 3 เหลี่ยม

การทําสวนขา

• นํากลอง 4 เหลีย่ มมาตอขา ดานละ 1 ขา ใชไมไอติมแบงครึง่ ทากาวติดชิดดานหลังของตัวกลอง ใหยาวออกมาประมาณ 1 นิ้ว ทิ้งไวใหกาวแหง • ตัดไมไอติมแบงครึง่ จํานวน 4 อัน ใชคทั เตอรเฉือนมุมใหปลายดานทีต่ ดั โคงมนเหมือนอีกดานหนึง่ • นํามาประกบกับขาทัง้ 2 ขาง ใหปลายมนเสมอกัน (หาขวดยาหมองหรืออะไรก็ไดมารองหนุนดาน หนาไว) ใหดานหนาสูงกวาดานหลังประมาณ 1/2 ซ.ม. กดขาลางใหแนบกับพื้นใหเทาๆ กัน • ตัดแบงครึ่งไมไอติมอีก 2 อัน แลวตัดปลายดานในใหเฉียงรับกับขาที่ตั้ง โดยใหปลายดานหนา ยาวกวาเล็กนอย • นําสวนหัวของนกมาทากาว ประกอบเขากับตัวกลองดานหนา ใหไมยึดดานหลังยาว 4 ซ.ม. อยู แนวเดียวกับกึ่งกลางกลอง

การทําสวนปกและหาง

• การทําปก : ตัดไมไอติมแบงครึ่ง 2 อัน แลวตัดปลายเฉียงยาว 1 นิ้ว มาวางประกบกับไมไอติม เปนรูปตัว Y ให ปลายดานบนยาวเสมอกัน ทําแบบเดียวกัน 2 ชุด • การทําหาง : ทําแบบเดียวกันการทําปก แตเสริมขางออกไปอีกขางละ 1 อัน รวมเปน 4 อัน แลวเพิ่มชุดบนอีก 3 ใหสั้นกวา ทากาววางทับเสริมความแข็งแรง • แทงหางสามารถแยกสวนจะวางไวในกลอง หรือจะทากาวติดกับตัวกลองดานหลังก็ได แลวแตการใชงาน • เสร็จแลวควรหยอดกาวเสริมความแข็งแรงใหทั่วอีกครั้ง ถานําไปใสของที่มีนํ้าหนัดกลัววากลองจะ หงายหลัง ก็ใหเสริมไมไอติมตอจากหางใหยาวลงไปยันกับพื้น (ในรูปสังเกตุดีดี จะเห็นอยูดานหลังขา) เปนอีกหนึ่งชิ้นงานที่ทั้งใสเครื่องเขียน ใสแกวนํ้าปกดอกไมสด ปลูกตนไม และมือถือ หวังวาสิ่ง ประดิษฐชนิ้ นีจ้ ะเปนทีพ ่ งึ พอใจของใครหลายๆคนนะคะ นอกจากจะไดสงิ่ ประดิษฐดไี ซนเกไมซาํ้ แบบใครแลว ขอบคุณขอมูลจาก http://www.bloggang.com 53

Energy#53_p53_Pro3.indd 53

3/19/13 9:57 PM


Energy Tip เด็กเนิรด

ลดคทําาไดใช จ า  ยภายในบ า น งาย ๆ สบายกระเปา เรื่องของการประหยัดคาใชจายภายในบาน หลายคนคงไดลงมือทํากันบางแลว แตหลายคนอาจ ไดแคคิด แตยังไมไดลงมือทํา เพราะไมรูจะเริ่มตนตรงไหน ไมตองกังวลใจไป วันนี้เรามีเทคนิคงาย ๆ ในการประหยัดคาใชจายภายในบานมาฝากกัน ยิ่งใกลเดือนเมษาหนารอนแลวดวย การประหยัดคา ไฟฟาจึงเปนสิ่งที่จําเปนและสมควรทําอยางยิ่ง เริม่ ตนจากเรือ่ งงาย ๆ รอบตัวกันกอน อยางเชน การปลูก ตนไมใหญสกั 2-3 ตน บริเวณรอบ ๆ บาน จะไดมรี ม เงาชวยบัง แสงแดดในหนารอน พอเขาสูหนาหนาวก็จะมีตนไมไวชวยบังลม เย็นที่จะพัดเขาสูตัวบาน ยิ่งในหนารอนการติดฉนวนกันความรอนจะชวยใหบาน เย็นขึน้ หากเปนไปไดการเลือกใชกระจกกันความรอนจะชวยลด ปริมาณการใชเครือ่ งปรับอากาศและพัดลมลงได ทีส่ าํ คัญยังชวย ประหยัดเงินในกระเปาลงไดเยอะทีเดียว ถาบานไหนตองการใชโทรศัพท ไรสาย แนะนําใหเลือกซื้อ โทรศัพทรุนที่มีแบตเตอรี่แบบประจุไฟใหมไดจะชวยประหยัด เงินไดมาก หรือถาตองการจะเลือกซื้อคอมพิวเตอรเครื่องใหม แนะนําใหเลือกซื้อโนตบุคแทนจะดีกวา เพราะกินไฟนอยกวา คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ

สําหรับทานใดที่ชอบอาบนํ้าในอางอาบนํ้า แนะนําใหปรับเปลี่ยนนิสัยนั้นซะ และ หันมาอาบนํา้ ดวยฝกบัวแทน เพราะการอาบนํา้ ดวยฝกบัวจะชวยประหยัดนํา้ ไดมากกวา การอาบนํ้าในอางอาบนํ้าถึง 1 เทา รับรองวาบิลคานํ้าของคุณตัวเลขตองลดลงชัวร นอกจากนีก้ ารเปลีย่ นหลอดไฟภายในบานใหเปนหลอดประหยัดพลังงานทัง้ หมด จะชวยประหยัดคาไฟฟาไดมาก ยิ่งถาใครที่กําลังมีโครงการจะรีโนเวทบานใหมควร หันมาใหความสนใจในเรื่องของการเลือกใชหลอดไฟประหยัดพลังงานจะชวยลดคา ใชจายภายในบานไดมากทีเดียว ในสวนของเครื่องใชไฟฟาภายในบาน เราอาจคิดวาปดสวิตซเมื่อเลิกใชงานแคนี้ ก็เปนอันเสร็จพิธี แตจริง ๆ แลวไมไดเปนเชนนั้น โทรทัศน เครื่องเสียง เครื่องเลนวีซีดี/ ดีวีดี ยังคงมีกระแสไฟฟาเขาไปเลี้ยงอยูตลอดเวลาแมเราจะปดเครื่องแลว ดังนั้นหาก เวลาทีเ่ ราไมไดใชงานควรถอดปลัก๊ ไฟออก หรือเสียบปลัก๊ ตัวเครือ่ งเขากับปลัก๊ ไฟพวง ทีม่ ปี มุ เปด/ปดไฟจะชวยประหยัดคาไฟฟาในแตละเดือนไดมาก สําหรับตูเ ย็นและเครือ่ งซักผาควรเลือกซือ้ รุน ทีม่ ฉี ลาก ประหยัดไฟเบอร 5 กํากับไว จะชวยลดการใชพลังงานไฟฟาลงไดมากเชนกัน ปดทายกันทีเ่ รือ่ งเครือ่ งปรับอากาศสําหรับบานขนาดใหญ แนะนําใหตดิ ตัง้ ระบบเซ็นทรัลแอร หรือระบบจายแอรจากทอแอรรวม หากตองการติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศในหอง ๆ เดียว ควรเลือกซือ้ เครือ่ งปรับอากาศทีม่ กี าํ ลังในการทําความเย็นเหมาะสมกับขนาดหอง สามารถสอบถามรายละเอียดจากรานคาที่จําหนายเครื่องปรับอากาศได ขอบคุณขอมูลจากเว็บไซต http://www.jabchai.com 54

Energy#53_p54_Pro3.indd 54

3/21/13 11:58 PM


Energy#29_p49_Pro3.ai

1

3/24/11

3:17 AM


Energy Tip เด็กเนิรด

ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ หลอดไฟ

ขยะมีพิษทิ้งอยางไรใหถูกวิธี หากพู ด ถึ ง พลั ง งานที่ ถู ก บรรจุ อ ยู  ใ นรู ป แบบของถ า นและแบตเตอรี่ คงไม มี ใ ครไม รู  จั ก เรี ย กว า เคยผ า นมื อ กั น มาแล ว ทั้ ง นั้ น แต ร  อ ยทั้ ง ร อ ยเมื่ อ ใช ง านเสร็ จ แล ว ก็ ทิ้ ง ขว า งกั น มั่ ว ซั่ ว จะมีสักกี่คนที่จะตระหนักถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมากับสิ่งแวดลอมจากถานกอนนอยเหลานี้ นอยคนนักที่จะรูถึงโทษของสารโลหะหนัก ตะกั่ว และปรอท ที่ถูกบรรจุอยูภายใน พรอมที่จะกระจายเปนมลพิษออกสูดิน นํ้า อากาศ ซึ่งผูที่อยูใกลเคียงกับแหลงทิ้งขยะ เหลานีย้ อ มเสีย่ งทีจ่ ะไดรบั สารพิษอันตราย รวมทัง้ คนเก็บขยะดวย ดังนัน้ เราจึงควรหันมา ใสใจกันทีต่ น เหตุดว ยการแยกขยะไปทําลายใหถกู ทีถ่ กู ทาง โดยเกรดของขยะจะลดหลั่น กันไปตามสภาพความปนเปอ น เชน ขยะจากบานเรือนทีท่ าํ การคัดแยกแลวจัดวาเปนขยะ อยางดีมีมูลคาสูง สวนขยะที่สามารถนําไปรีไซเคิลไดก็จะถูกสงตอไปยังโรงงานรีไซเคิล นับวาเปนอีกหนึ่งวิธีที่ชวยประหยัดพลังงานและลดการใชสารเคมีลงไดอยางถูกวิธี วิธีทิ้งถานไฟฉายใชแลวอยางงายที่สุด คือ เก็บรวบรวม ถานทีใ่ ชแลวมาใสรวมกันไวในถุงดํา ติดปายวาเปนขยะพิษ (ถาน ไฟฉายใชแลว) เพื่อแจงใหคนเก็บขยะทราบ หากมีซากถาน ไฟฉายมากมายหลายกิโล สามารถโทรเรียกฝายรักษาความ สะอาดของเขตที่เราอยูใหไปรับถึงที่ไดเลย วิธีทิ้งหลอดฟลูออเรสเซนตอยางงายที่สุด คือ นําหลอด ฟลูออเรสเซนต ใสปลอกกระดาษที่เคยใสมา หรือจะหอดวย กระดาษหนังสือพิมพหลาย ๆ ชัน้ แทนก็ได แลวเขียนไวสกั หนอยวา “หลอดไฟใชแลว” แบตเตอรีม่ อื ถือ กระปองสเปรย และตลับหมึก ก็ทําอยางเดียวกัน โดยเฉพาะหลอดฟลูออเรสเซนตเปนของรีไซเคิลไดเกือบ ทั้งหมด (95%) ทั้งแกว อลูมิเนียมที่ขั้วหลอด เวนก็แตสารปรอท กับผงฟอสเฟอรที่เคลือบหลอด ที่มีอันตรายตอรางกายมนุษย ตองระวังอยาทําหลอดแตก จากนั้นขยะมีพิษเหลานี้จะถูกแยกทิ้งลงชองรับขยะพิษที่ อยูทายรถเก็บขยะ และจะถูกลําเลียงไปยังสถานีขนถาย 3 แหง ทัว่ กรุงเทพฯ ซึง่ จะมีบริษทั เอกชนมารับไปกําจัดตอ ดวยการผาน ขั้นตอนบําบัดทางเคมีกอนจะฝงกลบตอไป แหลงรับขยะพิษจําพวก ถานไฟฉาย, ถานชารจ (Li-ion และ Ni-MH) ติดตอไดที่ บริษทั ยูมคิ อร มารเก็ตติง้ เซอรวสิ เซส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-678-1122-26 แหลงรับหลอดฟลูออเรสเซนต ติดตอไดที่ บริษัท ไทย โตชิบาไลทติ้ง จํากัด โทร. 0-2501-1425-9 และ บริษัท ฟลิปส อิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2652-8652 ชวยกันคนละไมคนละมือโลกเราคงนาอยูข นึ้ อีกเยอะ

56

Energy#53_p56_Pro3.indd 56

3/21/13 11:56 PM


Waste to Wealth ปยะนุช มีเมือง

B

โครงการ “เปลี ่ ย นขยะเป น ทอง” สรางสรรค Eco Product ดีไซนเก เพิ่มคุณคาใหวัสดุเหลือใช เรื่องการรีไซเคิลสิ่งของเหลือใช ใหกลับมา ใช ป ระโยชน ไ ด อี ก ครั้ ง เป น เรื่ อ งที่ ห ลายคน คงรูจ กั กันดี แตอาจรูจ กั ในภาพของการประดิษฐ สิ่ ง ของชิ้ น เล็ ก ชิ้ น น อ ยจากวั ส ดุ เ หลื อ ใช จ าก ของสวนตัวหรือของใชภายในบาน สําหรับวัสดุ เหลื อ ใช จํ า นวนมหาศาลที่ ไ ด จ ากโรงงาน อุตสาหกรรมตาง ๆ ที่ผานมาอาจนําไปขายตอ ใหกับโรงงานรับซื้อของเกาเทานั้น แตตอไปนี้ จะไมเปนเชนนั้นอีกตอไป เพราะวัสดุเหลือใชที่วา นี้จะถูกนําไปรีไซเคิลสรางสรรคเปนผลิตภัณฑ Eco Product ดีไซนเก ๆ ที่มีมูลคาสูงขึ้น ชวย สรางรายไดเสริมใหกับธุรกิจไดอีกทางหนึ่ง

โครงการ “เปลี่ยนขยะเปนทอง : รับกระแสโลกรอนและ สรางคุณคาใหวัสดุเหลือใช” เปนโครงการความรวมมือระหวาง องคกรภาครัฐและสถาบันการศึกษาอยาง โครงการสนับสนุน การพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (iTAP) ภายใตศนู ย บริหารจัดการเทคโนโลยี (TMC) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และผูเชี่ยวชาญจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร สนับสนุนผูป ระกอบการในการออกแบบวัสดุเหลือใช ใหกลายเปนผลิตภัณฑชิ้นสวยเพื่อเพิ่มมูลคาสินคาและสราง จุดขายในตลาดสินคา Eco Product ในอนาคต ทีผ่ า นมา สวทช. มีหนาทีร่ บั ผิดชอบในการนําวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เ ข า มาเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ให ผู  ป ระกอบการในภาคธุ ร กิ จ และอุ ต สาหกรรมของไทย โดย ให คํ า ปรึ ก ษาและสนั บ สนุ น ภาคเอกชนอย า งครบวงจร เช น การลดตนทุน ลดของเสียดวยการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การประหยัดพลังงาน การพัฒนาผลิตภัณฑใหม การพัฒนา กระบวนการใหมใหทนั สมัยขึน้ การพัฒนาการออกแบบใหมดี ไี ซน เปนเอกลักษณ และการพัฒนาแบรนดของตนเอง รวมทั้งการ พัฒนาระบบมาตรฐานในกระบวนการผลิตใหไดมาตรฐานสากล สําหรับโครงการ “เปลี่ยนขยะเปนทอง : รับกระแสโลก 57

Energy#53_p57-58_Pro3.indd 57

3/22/13 9:02 PM


สําหรับโครงการ “เปลี่ยนขยะเปนทอง : รับกระแสโลกรอนและ สรางคุณคาใหวัสดุเหลือใช” จัดขึ้นเปนปที่ 4 แลว โดยใหการ ชวยเหลือภาคอุตสาหกรรมแกปญหา สรางวิกฤตใหเปนโอกาส ซึ่งเปนวิธีการหนึ่งของ Creative Economy หรือ เศรษฐกิจ สร า งสรรค ผ า นการใช ศิ ล ปะผสมผสานกั บ วิ ท ยาศาสตร ในการสร า งสรรค ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ ป น ที่ ต  อ งการของผู  บ ริ โ ภค โดยนํ า กลยุ ท ธ ก ารเปลี่ ย นเศษของเหลื อ ใช ข องผู  ผ ลิ ต ในภาคอุตสาหกรรมใหกลับมามีคุณคาอีกครั้ง แปลงจากตนทุน ใหกลายเปนรายไดอีกทางหนึ่งของธุรกิจ

ผศ.ดร.สิงห อินทรชูโต ผูเชี่ยวชาญของ iTAP เลาถึง ประสบการณการทํางานที่ผานมาใหฟงวา จากการทํางานใน โครงการเปลีย่ นขยะเปนทอง 4 ปทผี่ า นมา มีความเปลีย่ นแปลงที่ เห็นไดชัดเจน คือ ในชวงปแรก ๆ การทํางานยังเปนการทดลอง ในขั้นพื้นฐาน สรางผลิตภัณฑจากธุรกิจใครธุรกิจมัน แตในชวง ปหลัง ๆ ทางโครงการไดเริ่มจับเอา 2-3 ธุรกิจมาทํางานดวยกัน เชน ไมกับอลูมิเนียม หรือไมกับกระจก เปนตน จนในปจจุบัน เกิดเปนเครือขายของธุรกิจในโครงการขึน้ มา ความเปลีย่ นแปลง อีกอยางที่เห็นไดชัดเจน คือ จากแตกอนที่ผลิตแตเฟอรนิเจอร เป น หลั ก ป จ จุ บั น ทางโครงการขยั บ มาทํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ ต  น นํ้ า มากขึ้น เชน บันได ประตู เปนตน ซึ่งอุปสรรคและปญหาที่พบ ในการทํางาน คือ ผูประกอบการสวนใหญมักไมชอบทําการ ทดลองเปนเวลานาน ใจรอน อยากเห็นผลเร็ว สวนใหญอยาก ใหทางโครงการดีไซนชิ้นงานใหเลย ปญหาอีกอยางหนึ่งที่พบคือ มีผูเขารวมโครงการจํานวนมาก แตผูเชี่ยวชาญมีเวลาไมพอ ดังนั้นจึงตองจํากัดจํานวนธุรกิจเทาที่ทําได ที่ผานมาไดถายทอด ความรูใ หกบั เจาหนาทีข่ องโครงการมากขึน้ เพือ่ ทีจ่ ะสงเขาไปชวย โรงงานตาง ๆ ไดมากขึ้น สําหรับธุรกิจที่สนใจเขารวมโครงการนี้ เมื่อติดตอเขามา ทางโครงการจะส ง ที ม เจ า หน า ที่ เ ข า ไปเยี่ ย มชมโรงงาน โดยหลังจากที่เขาไปดูโรงงานและไดพูดคุยกัน จะรูไดทันทีเลย วาโรงงานนี้เหมาะที่จะเขารวมโครงการหรือไม หากโรงงานไมมี เจาหนาที่รับผิดชอบในเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คงจะเขารวมโครงการ ไมได เนื่องจากระยะเวลาในการเขารวมโครงการตองใชเวลา นานพอสมควร หรือถาเขาไปดูแลวเห็นวามีเศษวัสดุเหลือนอย ก็คงไมแนะนําใหทําเพราะไมคุมคาในระยะยาว โครงการนี้เปน ประโยชนอยางมากสําหรับธุรกิจที่มีเศษวัสดุเหลือใชจํานวนมาก และตองการสรางแบรนดเปนของตัวเอง แนะนําวาลองเขารวม โครงการนี้ดูนาจะเปนประโยชนกับธุรกิจในอนาคต 58

Energy#53_p57-58_Pro3.indd 58

3/22/13 9:02 PM


Energy#51_p66_Pro3.ai

1

1/23/13

10:20 PM


O Waste Idea

การผลิตปุย หมัก

โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ้ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

จากขยะอินทรียป ระเภท Garden Wastes

โดยใชหวั เชือ้ จากถังหมักขยะแบบไรอากาศ ปจจุบันปญหาขยะอินทรียประเภท Garden wastes จากพื้นที่สีเขียวหรือสวนสาธารณะ ซึ่งเปนขยะอินทรีย ที่มีไนโตรเจนมาก เชน เศษหญา เศษใบไม เศษพืชผัก เปนปญหาดานขยะมูลฝอยที่สําคัญประเภทหนึ่งที่สงผล กระทบตอสิ่งแวดลอม เนื่องจากเปนขยะที่ยอยสลายไดในธรรมชาติ นับวันก็ยิ่งสงผลเสียมากยิ่งขึ้น ปญหามลพิษ ที่เกิดจากขยะอินทรีย ไดแก ปญหากลิ่นเหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไมสวยงามจากการทิ้งขยะ จึงมีความ จําเปนที่จะตองมีการจัดการขยะมูลฝอยจากชุมชนอยางเหมาะสม เพื่อชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ไมวาจะ เปนการรีไซเคิลขยะ การฝงกลบขยะตามหลักสุขาภิบาล และการทําปุยหมักจากขยะอินทรีย เปนตน

มาทําปุยหมักจากขยะอินทรียกันเถอะ… ชวยลดปริมาณขยะได

ปุยหมักเปนปุยอินทรียชนิดหนึ่งที่ไดมาจากการนําวัสดุ อินทรียสารตาง ๆ เชน เศษใบไม หญาแหง ผักตบชวา ฟางขาว ซังขาวโพด ตลอดจนขยะมูลฝอยตามบานเรือน นํามาหมักรวม กับมูลสัตว โดยใชจุลินทรียเปนหัวเชื้อที่นํามาจากแหลงตาง ๆ เชน นํ้าจุลินทรียที่ไดจากกระบวนการหมักเศษอาหาร เศษผัก และผลไม เปนตน ซึ่งปุยหมักที่ไดมีลักษณะเปนผงเปอยยุย สีนํ้าตาลปนดํา สามารถนําไปใชประโยชน ไดหลากหลาย เชน ใช สําหรับไมผล พืชผัก และไมดอกไมประดับ สําหรับปจจัยที่มีผลตอการทําปุยหมัก ไดแก อุณหภูมิ อากาศ ความชื้น และวัสดุอินทรียสาร โดยจะดูที่อัตราสวน ของคารบอนตอไนโตรเจน ทั้งนี้ในการหมักปุยเริ่มตนควรมี อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนประมาณ 30:1 แตในกรณีที่ ปุยหมักเสร็จแลวจะตองมีคาอัตราสวนไมเกิน 20:1 เพื่อปองกัน การดึงไนโตรเจนจากดิน นอกจากนี้การเติมอากาศเพื่อชวยเรง กระบวนการหมักปุยใหเร็วขึ้นสามารถทําไดหลายวิธี เชน การ ใสอากาศลงไปในกองปุยโดยตรง แตวิธีที่งายที่สุดคือการพลิก กลับกองปุย โดยพบวาถาไมพลิกกลับกองปุยจะใชเวลาในการ ยอยสลายสารอินทรียนานกวาถึง 3-4 เทา

รูปแบบของกระบวนการหมักทําปุย

กระบวนการหมักทําปุยสามารถทําได 2 รูปแบบ คือ 1. การทําปุยหมักดวยกระบวนการหมักแบบใชอากาศ การทําปุยหมักแบบใชอากาศ (aerobic compost ) อาศัย จุลินทรียที่ใชออกซิเจนในการยอยสลายวัสดุอินทรียสาร ทั้งนี้ ตองมีสภาวะที่เหมาะสมตอการทํางาน คือ ตองมีการถายเทของ อากาศอยางเพียงพอ

2. การทําปุยหมักดวยกระบวนการหมักแบบไมใชอากาศ การทํ า ปุ  ย หมั ก แบบไม ใ ช อ ากาศ (anaerobic compost) จะอาศัยจุลินทรียที่ไมใชออกซิเจนยอยวัสดุอินทรียสาร ผลผลิต ของการยอยสลายวัตถุอนิ ทรีย คือ แกสมีเทน (methane gas) และวัสดุอนิ ทรียท ยี่ อ ยสลายแลว ถาตองการนําแกสมีเทนมาใช เปนเชื้อเพลิงตองทําการหมักปุยในระบบปด

โครงการผลิตปุยหมักสูตรใบจามจุรีโดยใช หัวเชื้อจากถังหมักขยะอินทรีย

สืบเนื่องจากโครงการความรวมมือระหวางจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กับทาง University of Tokyo ภายใตการ สนับสนุนโครงการโดยองคกร JICA และ องคกร JST จาก ประเทศญี่ปุน ไดมีการพัฒนาถังหมักขยะอินทรียขึ้นมาสําหรับ จัดการขยะเศษอาหารภายในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ ผลิตภัณฑหนึง่ ทีไ่ ดจากถังหมักขยะอินทรียก ค็ อื นํา้ หมักจุลนิ ทรีย ซึ่ ง มี ศั ก ยภาพในการนํ า ไปใช ป ระโยชน เ ป น หั ว เชื้ อ สํ า หรั บ ทํ า ปุยหมัก สําหรับแนวทางของการผลิตปุยหมักสูตรใบจามจุรี เนื่ อ งจากใบจามจุ รี เ ป น เศษใบไม ที่ มี ป ริ ม าณค อ นข า งมากใน พื้นที่ของมหาวิทยาลัย ดังนั้นเพื่อชวยลดปริมาณขยะอินทรีย ประเภทเศษใบไม จึงนําไปใชเปนวัสดุทาํ ปุย หมัก โดยใชหวั เชือ้ จาก ถั ง หมั ก ขยะอิ น ทรี ย  ที่ ไ ด พั ฒ นาขึ้ น มาภายใต โ ครงการความ รวมมือนี้ สามารถสรุปแนวทางและขั้นตอนการดําเนินการ ดังนี้ 1. ผสมวัสดุทําปุยหมักในภาชนะโดยใชใบจามจุรี 0.2 กิโลกรัม ถานแกลบ1 กิโลกรัม ปุยขี้วัว 1 กิโลกรัมเปนสวนผสม ตามสูตรที่พัฒนาขึ้นมานี้ 2. ผสมนํา้ จุลนิ ทรียท ไี่ ดจากการหมักเศษอาหาร 2.5 ลิตร และรดนํ้าจุลินทรียดังกลาวเพิ่ม 1 ลิตรตอสัปดาห

60

Energy#53_p60-61_Pro3.indd 60

3/22/13 1:26 AM


3. ผสมสวนผสมใหเขากันแลวปดดวยใบตอง เพื่อรักษา ความชื้นและคลุมดวยผาใบอีกชั้นหนึ่ง เพื่อควบคุมใหความชื้น ในกองปุยหมักมีคาประมาณ 60-70 % 4. ทําการพลิกกองปุย เพือ่ ผสมปุย ใหเขากันสัปดาหละครัง้ 5.หมักจนปุยหมักสมบูรณเปนเวลาประมาณ 6-7 สัปดาห และวิเคราะหคาพารามิเตอรตาง ๆ ตามมาตรฐานปุยอินทรีย ผสมแรธาตุธรรมชาติ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ (พ.ศ. 2544)

รูปที่ 1 ใบจามจุรีแหงที่นํามาปนดวยเครื่องปนนํ้าผลไม ใหละเอียดกอนนําไปทําปุย

คุณลักษณะของปุยหมักที่ไดจากการหมัก ขยะอินทรียเศษใบไม

เมื่อดําเนินการหมักปุยหมักจนเสร็จเรียบรอยแลว จะ เกิดปฏิกิริยาทางเคมีที่สามารถมองเห็นได เชน มีการยุบตัวลง ของกองปุย เนื้อปุยเปนสีดําคลํ้า พบวาในชวงสัปดาหที่ 6-7 ปุย หมักที่ไดมีลักษณะรวนซุยและมีการจับตัวรวมเปนเนื้อเดียวกัน สีของปุยดําสนิท และไมมีกลิ่น คุณสมบัติของปุยที่ไดสามารถ ผานเกณฑคามาตรฐานปุยอินทรียผสมแรธาตุธรรมชาติของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ (พ.ศ. 2544) ดังแสดงในตาราง ที่ 1 สําหรับคุณลักษณะดานตาง ๆ เชน ขนาดปุย ปริมาณ ความชื้น ปริมาณวัสดุอื่น เชน หิน กรวด พลาสติก ปริมาณ อินทรียวัตถุ อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน (C/N) คาความเปน กรด – ดาง และคาการนําไฟฟา เปนตน

คุณลักษณะ

เกณฑกําหนด

คาที่ ได

ไมเกิน 12.5x12.5

ไมเกิน

ปริมาณความชื้น (% โดยนําหนัก)

ไมเกิน 20

12.9

คาความเปนกรด– ดาง

5.5 – 8.5

8.3

อั ต ราส ว นคาร บ อนต อ ไนโตรเจน (C/N)

ไมเกิน 20 : 1 (เกณฑทั่วไป)

13.3 : 1

ฟอสฟอรัส (total P2O5) (% โดยนํ้าหนัก)

ไมนอยกวา 0.5

0.94

คาการนําไฟฟา EC (เดซิซีเมน/เมตร)

ไมเกิน 6

5

วัสดุอน เชน หิน กรวด พลาสติก (%โดยนํา้ หนัก)

ไมเกิน 10

<10

ขนาดของปุย (มม.)

รูปที่ 2 นํ้าจุลินทรียที่ไดจากการหมักเศษอาหาร ของถังหมักขยะอินทรียของโครงการที่พัฒนาขึ้น

รูปที่ 3 เมื่อผสมปุยใหเขากันแลวจึงปดดวยใบตอง

รูปที่ 4 การรดนํ้าจุลินทรียเพิ่มในทุกสัปดาห

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหปุยเมื่อหมักปุยไดสมบูรณ แลว (7 สัปดาห) และเปรียบเทียบคุณสมบัติปุยตามมาตรฐาน ปุยอินทรียผสมแรธาตุธรรมชาติของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ (พ.ศ. 2544)

รูปที่ 5 แสดงลักษณะทางกายภาพของปุยหมักในสัปดาหที่ 7 61

Energy#53_p60-61_Pro3.indd 61

3/22/13 1:26 AM


Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา

พลังงานขาดแคลน… ปญหาของเรา

อยาแกไขจากภายนอก แตควรแกจากภายใน ยังคงเปนทีจ่ บั ตามองตอสถานการณความนาเปนหวงของเมืองกรุง ตอวิกฤตพลังงานทีจ่ ะเกิดขึน้ ในชวงเดือนเมษายน อันที่จริงปญหาพลังงานจะไมนาเปนหวงมากเทานี้ หากประเทศไทยพึ่งพาตนเอง หรือพึ่งพาการนําเขาพลังงานใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได อันที่จริงเมื่อมองกันใหดีๆ การหยุดจายกาซ เพื่อซอมบํารุงของเพื่อนบานนั้นถือเปนเหตุการณปกติที่เกิดขึ้นทุกป แตที่นาเปนหวงเพราะเปน ชวงที่ประเทศไทยมีการใชพลังงานสูง และเปนชวงที่อากาศรอนที่สุดของป เปรียบเสมือนคําโบราณ ที่วา “นํ้าลด ตอผุด” นั่นเอง ถึงแมวาภาคสวนที่เกี่ยวของอยางรัฐบาลและการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดออกมาชี้แจงวา จะมีสํารอง ไฟฟาเพิม่ ขึน้ ในชวงพมาหยุดซอมทอกาซธรรมชาติในวันที่ 5-14 เมษายน เนือ่ งจากผูผ ลิตในประเทศและตางประเทศจะผลิตไฟฟา เพิม่ ขึน้ โดยการสํารองไฟฟาจะเพิม่ เปนกวา 1,000 เมกะวัตต ขณะที่ ความตองใชไฟฟาสูงสุดหรือชวงพีกคาดวาจะลดตํ่ากวาเดิม ที่ ค าดไว เนื่ อ งจากทุ ก ภาคส ว นได ใ ห ค วามร ว มมื อ ลดใช พลังงาน ทั้งประชาชน หางสรรพสินคา โรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม จึงเชื่อวาการใชพลังงานจะลดลง

เหตุการณดงั กลาวไดรบั ผลกระทบเปนวงกวางในพืน้ ทีเ่ มือง หลวงอยางกรุงเทพมหานคร เพราะมีการใชพลังงานมหาศาล ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ประจํ า วั น โดยเฉพาะด า นการคมนาคม อยางรถไฟฟา ซึ่งปจจุบันในวันทําการมีผูโดยสารประมาณ 4 แสนเที่ ย วคนต อ วั น โดยการรถไฟฟ า ขนส ง มวลชนแห ง ประเทศไทย (รฟม.) ออกมาชี้แจงวา ไดหารือในสวนที่เกี่ยวของ เพือ่ ใหการใหบริการรถไฟฟาสายเฉลิมรัชมงคล (MRT) สามารถ ให บ ริ ก ารประชาชนได โดยมีก ารประชุ ม เตรียมความพร อม แผนรองรับไวเรียบรอยแลวในทุกกรณี

6262

Energy#53_p62-63_Pro3.indd 62

3/21/13 10:31 PM


ทั้ ง นี้ ได ใ ห เ จ า หน า ที่ ทํ า หนั ง สื อ สอบถามรายละเอี ย ด ที่ชัดเจนจากทางการไฟฟานครหลวงวา ในวันดังกลาวจะมีการ ปรับโหลดกระแสไฟหรือมีการเปลี่ยนแปลงการจายกระแสไฟ เขาระบบในสวนของรถไฟฟาใตดนิ อยางไรบาง เพือ่ จะไดวางแผน การบริ ห ารจัดการได ถู ก ต อ ง แต ใ นเบื้ อ งต น คาดว า จะไม ส  ง ผลกระทบตอผูโดยสารในการใชบริการมากนัก เช น เดี ย วกั บ ภาคอุ ต สาหกรรม โดยกรมส ง เสริ ม อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดเสนอแนวคิดโครงการ การจัดการพลังงานแบบสมบูรณเพือ่ ยกระดับประสิทธิภาพการ ใชพลังงานสําหรับอุตสาหกรรม เพื่อชวยเหลือผูประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมในชวงวิกฤตพลังงาน เนนกระบวนการผลิต ที่มีการประหยัดพลังงานมากขึ้น ลดการสูญเสียจากการใช พลังงานทีเ่ กินความจําเปน เพือ่ ใหวสิ าหกิจสามารถลดตนทุนดาน ปริมาณการใชพลังงานไดไมนอยกวา รอยละ 5 ซึ่งนับเปนการ ชวยลดปริมาณการใชไฟฟาในภาพรวมของกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ซึง่ เปนสวนหนึง่ ในการลดภาวะวิกฤติพลังงานครัง้ นีด้ ว ย สํ า นั ก พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมเป า หมาย กรมส ง เสริ ม อุตสาหกรรม ชี้แจงวา ชวงวิกฤตพลังงานเปนชวงที่มีอัตรา การใชพลังงานสูงสุดในรอบป สงผลใหปริมาณไฟฟาสํารองของ ประเทศไทยลดลงเหลือเพียง 750 เมกะวัตต ทําใหมีโอกาสสูง ทีไ่ ฟฟาจะไมพอใช และเกิดปญหาไฟดับบางพืน้ ทีไ่ ด โดยสัดสวน การใชพลังงานไฟฟาเมื่อแยกตามสาขาพบวาภาคอุตสาหกรรม มีการใชไฟฟามากที่สุดถึง 43 % ของกําลังการผลิตทั้งประเทศ เมือ่ พมาหยุดจายกาซฯ แนนอนวายอมสงผลกระทบโดยตรงตอ ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งปจจุบันประเทศไทยมีโรงงานทั้งขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก รวมกวา 70,000 แหง คิดเปนปริมาณ การใชไฟฟาของภาคอุตสาหกรรมรวม 12,000 เมกะวัตต ทั้ ง นี้ กรมส ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม (กสอ.) กระทรวง อุตสาหกรรม ไดหาแนวทางในการบริหารจัดการและบริหาร ความเสี่ยงใหกับภาคอุตสาหกรรม เพื่อใหผูประกอบการภาค อุ ต สาหกรรมสามารถรั บ มื อ และปรั บ ตั ว รั บ กั บ สถานการณ ที่เกิดขึ้นได ตลอดจนมีแนวทางในการประหยัดพลังงานและ ไดจัดทําโครงการการจัดการพลังงานแบบสมบูรณ เพื่อยก ระดั บ ประสิ ท ธิ ภ าพการใช พ ลั ง งานสํ า หรั บ อุ ต สาหกรรมขึ้ น ซึ่งเปนโครงการที่ไดดําเนินการมากวา 10 ป โดยเล็งเห็นถึง

ประโยชนของภาคอุตสาหกรรมในการลดการใชพลังงาน จึงมี การจัดทําโครงการและกําหนดมาตรการในการใชพลังงานขึ้น เพื่อผลประโยชนทั้งของผูประกอบการและของประเทศ ที่ผานมา มีภาคอุตสาหกรรมหลายสาขาไดเขารวมโครงการดังกลาว มาแล ว กว า 700 กิ จ การ ส ง ผลให ทุ ก กิ จ การสามารถเพิ่ ม ประสิทธิภาพการใชพลังงานไดอยางยั่งยืน อยางไรก็ตาม บทเรียนจากการที่ประเทศตองแขวนอยูบน เสนดายจากการขาดแคลนพลังงานครั้งนี้ กระทรวงพลังงานได จัดทําแผนไฟฟาของประเทศขึ้นใหม ภายใตชื่อ แผนพัฒนา กําลังการผลิตไฟฟาของประเทศ (PDP) พ.ศ.2556-2576 หรือ PDP 2013 ซึ่งเปนแผนไฟฟาระยะยาว 20 ปของประเทศ โดยประสานงานกั บ สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ใหสรุปตัวเลขคาดการณ การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของประเทศแยกเป น รายป ตั้ ง แต พ.ศ.2556-2576 เพื่อประกอบการจัดทําแผนดังกลาว ซึ่งคาด วาจะตองปรับอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มขึ้นจาก แผน PDP ฉบับปจจุบัน ที่กลาวมาเปนเพียงบางสวนที่เกิดขึ้นจากปญหาวิกฤต พลังงาน กับการเรงแกปญ  หาและทางออกใหกบั ประเทศ คําถามคือ ทําไมประเทศไทยไมมกี ารเตรียมความพรอมเพือ่ รับมือกับปญหา ดังกลาวซึ่งจะเกิดขึ้นทุกป ไมใชวาเกิดปญหาแลวหาทางแกดวย การถอดสูทไปทํางาน ปรับแอรใหเหลือ 25 องศา ในความเปน จริงจะถอดสูทหรือปรับแอร ทุกคนก็ตองใชพลังงานอยูดี ไมใช แกปญหาดวยการลดใชพลังงานในชวงวิกฤตเทานั้น เมื่อหมด วิกฤตพลังงานก็กลับมาใชเหมือนเดิม ทางออกของประเทศคือ ทําอยางไรใหมีพลังงานใชอยาง เพียงพอ ไมใชฟมุ เฟอย ทําอยางไรใหประเทศไทยลืมคําวา พึง่ พา เพื่อนบานในการแกปญหา ทั้งที่ปญหาเกิดขึ้นในบานของเราเอง โหรพลังงานเคาะโตะเลยวา หากยังทํากันไมได ยังไงเสียปหนา เราก็ตองมาปวดหัวกับปญหาพลังงานขาดแคลนอีกแนนอน รวมถึงปตอๆ ไปดวย 63

Energy#53_p62-63_Pro3.indd 63

3/21/13 10:31 PM


Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา

ไทย-เยอรมนี จับมือ

พัฒนาระบบขนสง

ลดผลกระทบตอสภาพ ภูมิอากาศอยางยั่งยืน ทีผ่ า นมาประเทศไทยมีการเติบโตดานเศรษฐกิจคอนขางสูง ทําใหอตั ราการใชยานพาหนะในประเทศ มีจาํ นวนเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็ว สงผลใหหวั เมืองใหญๆ ตองเผชิญกับปญหารอบดาน ไมวา จะเปนปญหา การจราจร การใชเชื้อเพลิงในปริมาณที่สูง มลพิษทางอากาศ และอุบัติเหตุทางจราจรที่นับวันจะยิ่ง ทวีความรุนแรงมากขึ้น ภาคการขนสงในประเทศไทย ถือเปนภาคสวนทีม่ กี ารปลอย กาซคารบอนไดออกไซดในปริมาณสูง และเพือ่ ทีจ่ ะรับมือกับปญหา ดังกลาว จึงจําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองมีการสงเสริมและนํานโยบาย การขนสงอยางยัง่ ยืนมาใชอยางเรงดวน ทัง้ การพัฒนาระบบขนสง มวลชน การกําหนดมาตรฐานการปลอยกาซเรือนกระจกของยาน พาหนะทีใ่ ชสาํ หรับเดินทางและยานพาหนะทีใ่ ชในการขนสง รวมทัง้ การเดินทางทีไ่ มใชเครือ่ งยนต (Non-Motorised Transport) สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมกับ องคกรความรวมมือระหวางประเทศของเยอรมัน (GIZ) เปดตัว โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและบรรเทาผล กระทบตอการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในภาคการขนสงทางบก ในภูมภิ าคอาเซียน โดยสนับสนุนประเทศไทยและประเทศสมาชิก อาเซียนในการพัฒนาแผนปฏิบตั กิ ารและกลยุทธการดําเนินงาน ในภาคการขนสง พรอมกับปรับปรุงศักยภาพการติดตามผลการ พัฒนานโยบายในครัง้ นี้ สําหรับโครงการดังกลาวมีระยะเวลาดําเนินการจนถึงปลายป 2558 โดยไดรบั ทุนสนับสนุนจากกระทรวงเพือ่ ความรวมมือทาง เศรษฐกิจและการพัฒนาแหงสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี นอกจากนี้ ยังมีหนวยงานอื่นที่รวมโครงการไดแก สํานักงานนโยบายและ แผนการขนสงและจราจร สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรม ควบคุมมลพิษ และองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก

นางรวีวรรณ ภูริเดช รองเลขาธิการสํานักงานนโยบาย และแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เป ด เผยว า ถือเปนโครงการทีด่ ี ทีจ่ ะไดเรียนรูป ระสบการณของนานาประเทศ เพื่ อ พั ฒ นายุ ท ธศาสตร ก ารขนส ง ทางบก รวมทั้ ง ปรั บ ปรุ ง การตรวจวัด การรายงานผล และการตรวจสอบ(Measurement Reporting and Verification, MRV) ในประเทศไทย ซึ่งโครงการนี้ยังชวยเสริมสรางความรวมมือระหวางผูเชี่ยวชาญ ระดับทองถิน่ และนานาชาติ เพือ่ รวมกันพัฒนานโยบายการขนสง ทางบกที่เหมาะสมกับประเทศไทยในอนาคต ด า น มร.สเตฟาน บั ค เคอร หั ว หน า โครงการของ องคกรความรวมมือระหวางประเทศของเยอรมัน (GIZ) กลาววา การลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคการขนสงจะเกิดขึน้ พรอม กับการพัฒนาคุณภาพอากาศ โดยลดความหนาแนนทางการ ขนสงและพัฒนาความมัน่ ดานพลังงาน ซึ่งประเทศไทยไดมีการ บรรจุนโยบายดานการขนสงอยางยั่งยืนไวในแผนแมบทแลว ดั ง นั้ น นโยบายการขนส ง ที่ ยั่ ง ยื น จะทํ า ให ป ระเทศในภู มิ ภ าค อาเซียนรวมทั้งประเทศไทยไดรับประโยชนอยางมาก นอกจากนี้ การพัฒนานโยบายดังกลาวยังทํางานรวมกับ กระทรวงคมนาคมและหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งของประเทศ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง เรื่ อ งการขนส ง สิ น ค า สี เ ขี ย ว (Green freight) ที่ ยั ง ไม ไ ด รั บ ความสนใจ เท า ที่ค วรอีก ดวย

64

Energy#53_p64_Pro3.indd 64

3/21/13 11:35 PM


Energy Legal

กองทุนพัฒนาไฟฟา

นัษรุต เถื่อนทองคํา

เพื่อชุมชนยั่งยืน กองทุ น พั ฒ นาไฟฟ า จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดยสํ า นั ก งานคณะ กรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ตามพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ เปนทุนสนับสนุนใหมีการใหบริการไฟฟาไปยังทองที่ตางๆ อยาง ทั่วถึง กระจายความเจริญไปสูทองถิ่น พัฒนาชุมชนในทองถิ่นที่ ไดรับผลกระทบจากการดําเนินงานของโรงไฟฟา สงเสริมการใช พลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยีในการประกอบกิจการไฟฟาที่ มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย โดยคํานึงถึงความสมดุลของ ทรัพยากรธรรมชาติและสรางความเปนธรรมใหกับผูใชไฟฟา กองทุนพัฒนาไฟฟา เริ่มเปนที่รูจักและดําเนินการอยาง จริ ง จั ง เมื่ อ ป 2554 ในการคั ด สรรคณะกรรมการพิ จ ารณา โครงการของแตละชุมชนและเสนอแผนโครงการฯ กอนเริ่ม กระจายเงินใหกับโครงการฯ ตาง ๆ ในป 2555 ที่ผานมา ใหกับ ชุมชนทีอ่ าศัยอยูใ นเขตพืน้ ทีต่ งั้ โรงไฟฟา เพือ่ ไปชวยเหลือในเรือ่ ง การพัฒนาคุณภาพชีวติ และสรางความมัน่ คงเรือ่ งอาชีพและราย ไดใหชุมชนอยางยั่งยืน ทั้งนี้ แหลงที่มาของกองทุนฯ มาจากผูรับใบอนุญาต ประกอบกิจการไฟฟา เงินคาปรับ เงินบริจาค หรือดอกผลที่เกิด ขึ้นจากเงินกองทุน โดย กกพ.จะเปนผูจัดสรรเงินเพื่อการใชจาย ในแตละวัตถุประสงคของการพัฒนา ป ๆ หนึ่งจะมีเม็ดเงินนําสง เขากองทุนพัฒนาไฟฟาประมาณ 2,000 ลานบาท/ป ซึ่งผูรับใบ อนุญาตผลิตไฟฟาจะนําภาระเงินกองทุนฯ ไปเปนสวนหนึ่งของ คาไฟฟาที่เรียกเก็บจากผูใชไฟฟาทั่วประเทศ โดยมีหลักเกณฑ วา ในระหวางกอสรางโรงไฟฟา จะตองนําสงเงินเปนรายป ตาม กําลังการผลิตในอัตรา 50,000 บาทตอเมกะวัตต/ป ทั้งนี้ ตองไม นอยกวา 50,000 บาท/ป และ ระหวางการผลิตไฟฟา โรงไฟฟา จะนําสงเปนรายเดือน ตามปริมาณพลังงานไฟฟาที่ผลิตได และ ตามชนิดของเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟา ตลอดอายุของโรงไฟฟา กองทุนพัฒนาไฟฟาแบงประเภทกองทุนฯ ไว 3 ประเภท ดวยกัน คือ กองทุนประเภท ก มีการบริหารจัดการเต็มรูปแบบ มีราย ไดมากกวา 50 ลานบาท/ป กองทุนประเภท ข พืน้ ทีท่ ไี่ ดรบั เงินจัดสรรปานกลาง มีราย ไดมากกวา 1 ลานบาท แตไมเกิน 50 ลานบาท/ป กองทุนประเภท ค พื้นที่ที่ไดรับเงินจัดสรรนอย มีรายได ไมเกิน 1 ลานบาท/ป

ที่ผานมา กองทุนพัฒนาไฟฟาไดรับการยอมรับจากภาค ประชาชน และการตอบแทนจากภาคลงทุ น ควบคู  ไปกั บ การ พัฒนาคุณภาพชีวิตแบบยั่งยืน เปนแนวทางการดําเนินงาน ของกองทุนพัฒนาไฟฟา ชุมชนสามารถเขารวมดําเนินงาน พัฒนาชุมชนแหลงที่อยูอาศัยของตนเอง โดยเสนอโครงการที่ เปนประโยชนตอการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นของตนที่ไดรับผล กระทบจากการดําเนินงานของโรงไฟฟา ภายใตหลักเกณฑที่ กกพ. กําหนดใน 11 ดาน คือ ดานการสงเสริมคุณภาพชีวิต สุขภาพ และสุขภาวะ, ดานการพัฒนาอาชีพ, ดานการพัฒนาการ เกษตร, ด า นการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ชุ ม ชน, ด า นการพั ฒ นา คุณภาพชีวิต, ดานการพัฒนาการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีทองถิ่น, ดานการพัฒนาชุมชน, ดานการอนุรักษ และพัฒนาสิ่งแวดลอม, ดานการใชจายเพื่อกรณีฉุกเฉินและ ชวยเหลือผูทุกขยากเดือดรอน, ดานการพัฒนาศักยภาพของ ผูที่เกี่ยวของกับกองทุน และโครงการและแผนงานอื่นๆ ที่เปน ประโยชนตอ การพัฒนาชุมชนในพืน้ ทีต่ ามที่ กกพ. เห็นชอบ

65 37

Energy#53_p65_Pro3.indd 37

3/19/13 10:33 PM


Energy Knowledge เด็กเนิรด

ผาทําความสะอาดตัวเองรุนใหม ฆาเชื้อโรคและทําลายสารเคมีตกคาง ไดยาวนานกวาเดิม

นักวิทยาศาสตรจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย เดวิส (University of California, Davis) ในเมือง เดวิส สหรัฐอเมริกา ไดพฒ ั นาผาฝายทีท่ าํ ความสะอาดตัวเองไดเมือ่ รับแสง โดยผาดังกลาวมีสารทีม่ ี ฤทธิฆ์ า เชือ้ แบคทีเรียไดหลายชนิดทีเ่ ปนตัวการทําใหเสือ้ ผามีกลิน่ อับ ทัง้ ยังสามารถทําลายสารพิษตาง ๆ เชน ยาฆาแมลงทีต่ กคางไดอกี ดวย “Ning Liu” นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาเอก ภาควิ ช าสิ่ ง ทอ มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย เดวิส หนึง่ ในทีมวิจยั เปดเผยถึงงาน วิจยั ชิน้ นีว้ า สิง่ ทอหรือผาทีพ ่ วกเขาคิดคนขึน้ มาใหมนสี้ ามารถนํา ไปประยุกตใชเปนชุดปองกันสารเคมีและสิ่งมีชีวิตที่เปนอันตราย (chemical and biological protective clothing) สําหรับผู ทีท่ าํ งานดานดูแลสุขอนามัย ดานการผลิตอาหารในโรงงานอาหาร ดานกสิกรรม รวมถึงผูท เี่ ปนทหาร

อินทรียล ะลายไดทไี่ วตอแสง (organic soluble photosensitive compound) เนื่องจากมีฟงกชันที่ทําปฏิกิริยากับพอลิเมอร ไดดีในโครงสรางของสารชนิดนี้ โดยพวกเขาเลือกที่จะใชสาร 2-Anthraquinone carboxylic acid (2-AQC) ในการบําบัด (treat) เสนใยฝาย Liu ไดรวมสาร 2-AQC ลงในเนื้อผาฝายดวยปฏิกิริยา เอสเทอริฟเ คชัน่ อยางงาย (simple esterification reaction)

(ภาพซายแสดงเสนใยฝาย ภาพกลางแสดงเสนฝายที่บําบัดดวยสาร2-AQC 0.025 โมลาร ภาพขวาแสดงเสนฝายที่บําบัด ดวยสาร 2-AQC 0.2 โมลาร สารดังกลาวยึดติดกับเสนใยเซลลูโลสในฝายดวยพันธะที่แข็งแรงยากแกการถูกชะลาง แมในปจจุบนั จะมีการพัฒนาสิง่ ทอหรือผาทีท่ าํ ความสะอาด ตัวเองออกมาในหลายรูปแบบ แตสว นมากมักเคลือบดวยสารที่ มีอายุการใชงานสัน้ และถูกชะลางออกไดงา ย อยางเชน ผาทีเ่ คลือบ ดวยสาร N-halamine ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการทําลายเชือ้ โรคและ ยอยสารพิษตาง ๆ ลดลง เมือ่ ผาผานการใชงานและซักหลายครัง้ และยังยอยสลายไปอยางรวดเร็วเมื่อไดรับแสงอาทิตยโดยตรง เชนเดียวกับผาทีเ่ คลือบดวยอนุภาคไทเทเนียมไดออกไซดทมี่ ขี อ จํากัดในการพัฒนาใหมคี ณ ุ สมบัตทิ นทานตอการใชงาน เนือ่ งจาก อนุภาคไทเทเนียมมีแรงดึงดูดและความสามารถในการทําปฏิกริ ยิ า กับเสนใยอินทรีย ไดตํ่า จึงไมสามารถเลือกใชกระบวนการตรึง อนุภาค (immobilization) ลงบนพืน้ ผิวเสนใยแทนกระบวนการ เคลือบได แมวา กระบวนการตรึงอนุภาคจะเปนวิธที ชี่ ว ยเพิม่ ความ ทนทานตอการใชงานไดมากกวากระบวนการเคลือบอนุภาคก็ตาม ดวยเหตุนที้ มี วิจยั จึงคิดวาสารทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ เี่ หมาะสมตอ การนํามาประยุกตใชกบั เสนใยสิง่ ทอพอลิเมอรมากทีส่ ดุ คือ สาร

โดยเริ่มจากนําเนื้อผามาจุมลงในสารผสมของ 2-AQC และ N,N-carbonyldiimidazole จากนั้นเขยาและบมไวเปนเวลา 24 ชัว่ โมง เมือ่ เนือ้ ผาแหงจะสังเกตเห็นวาสาร 2-AQC จะยึดติดกับ เสนใยเซลลูโลสในเนือ้ ฝายดวยพันธะทีแ่ ข็งแรง ยากแกการถูกชะลาง ตางจากสารทําความสะอาดตัวเองทีใ่ ชกนั อยูใ นปจจุบนั งานวิจยั นีไ้ ดรบั การตีพมิ พในวารสารเคมีวสั ดุ (Journal of Materials Chemistry) ซึ่งเปนงานวิจัยที่ไดรับทุนจาก สามสถาบันไดแก ทุนวิจยั บัณฑิตศึกษา Jastro Shields ของ วิทยาลัยเกษตรกรรมและสิง่ แวดลอม มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย เดวิส มูลนิธวิ ทิ ยาศาสตรแหงชาติสหรัฐฯ (National Science Foundation) และหนวยปองกันและลดภัยคุกคามสหรัฐฯ (U.S. Defense Threat Reduction Agency) ขอบคุณขอมูลจาก…ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC)

66

Energy#53_p66_Pro3.indd 66

3/19/13 10:35 PM


Energy#52_p107_Pro3.ai

1

2/23/13

1:51 AM

27-30 March 2014 BITEC Bangkok

14

14

14


Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ราชอาณาจักรสวีเดน

ภาพกองทัพเรือ “ไวกิง้ ” ความยิง่ ใหญในอดีตไดจางหาย ไปตามกาลเวลา นาทีนี้นอกจากคนทั่วไปจะรูจักสวีเดนในฐานะ ประเทศที่ มี เ หล็ ก คุ ณ ภาพดี ห าคู  เ ปรี ย บเที ย บได ย ากในโลก ปจจุบนั เรือ่ งทีเ่ ราควรรูแ ตมกั ไมรกู ค็ อื สวีเดนใชพลังงานทดแทน มากที่สุดในสหภาพยุโรปถึง 49% อันดับที่สองคือ ประเทศ ลัตเวีย 41% สวนตัวเต็งในความรูสึกของคนไทยอยางเยอรมนี กลับใชพลังงานทดแทนจริง ๆ เพียง 18% จากที่ตั้งเปาหมาย ไว 30% ในขณะที่สเปนใชพลังงานทดแทนโดยรวมถึง 20% และ เปนประเทศที่ใชไฟฟาจากพลังงานทดแทนสูงที่สุดในกลุม G20 เรามารูจักสวีเดนกันเพิ่มอีกสักหนอย ในฐานะผูนําดานพลังงาน ทดแทนในสหภาพยุโรป และอาจเปนผูนําดานพลังงานทดแทน ของโลกดวย

ลัดฟารวมคณะนายกฯ ยิง่ ลักษณ สูราชอาณาจักรสวีเดน-เบลเยียม-อียู

การเยือนยุโรปของทานนายกรัฐมนตรีของไทยทีผ่ า นมา วัตถุประสงคหลักเพื่อเปนการเจรจาทางการคากับสหภาพ ยุโรปใหไทยไมเสียเปรียบ และเพิม่ โอกาสทางการคาโดยเฉพาะ อยางยิ่งเรื่องของ FTA ผูเขียนแอบดีใจอยูเงียบ ๆ วากลุม ธุรกิจที่อยูในเปาหมายอยางพลังงานทดแทนก็รวมเดินทางใน ครั้งนี้ดวย พลังงานทดแทนของเราไมตกขบวน แถมไดรวม ขบวนไปกับ Big Boss ของ ปตท.อีกดวย ยิ่งทําใหภาพของ พลังงานทดแทนไทยแข็งแกรงในสายตาของคูคาอยางยุโรป นอกจากนั้นยังมีบริษัทชั้นนําดานพลังงานทดแทนไปดวยอีก หลายบริษัท เชน มิตรผล เอสซีจี ดับเบิ้ลเอ ราชาอีควิปเมนท และโอแกส โซลูชั่น

สวีเดนมีเมืองหลวงชื่อ “กรุงสตอกโฮลม” มีการปกครอง แบบเดียวกับประเทศไทยคือ มีพระมหากษัตริยเปนประมุข และ บริหารงานโดยนายกรัฐมนตรี มีรัฐสภา มีประชากรประมาณ 8 - 9 ลานคน บนพื้นที่กวา 449,000 ตารางกิโลเมตร ประชากร มีรายไดตอคนมากกวาคนไทยประมาณ 7 เทา คนไทยรูจัก ประเทศกลุมนอรดิกในยุโรปเหนือในนามของกลุมสแกนดิเนเวีย ประเทศสวีเดนมีความไดเปรียบทางภูมิศาสตรเหนือกวาประเทศ อืน่ ในยุโรปเหนือ คือ มีอากาศอบอุน กวาดวยอิทธิพลของกระแส นํ้าอุน ทําใหมีความอุดมสมบูรณของปาไมเปนอยางมาก จึงไม ตองสงสัยเลยวาทําไม Biomass และ Biogas ที่นี่จึงกาวมา เปนอันดับตน ๆ ของยุโรป โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อไมกี่ปมานี้เอง สวี เ ดนได ส ร า งความฮื อ ฮาไปทั่ ว โลก ด ว ยการเป ด ตั ว รถไฟ พลังงาน Biogas ขบวนแรกของโลก ซึ่งวิ่งดวยความเร็ว 130 กิโลเมตรตอชั่วโมง เร็วกวา รฟท.ดวยซํ้าไป สวี เดนตั้ง เป า หมายการใชพ ลัง งานทดแทนในป 2020 ไวถึง 50% ของการใชพลังงานทั้งหมด ซึ่งดูจะเปนไปไดงายกวา ประเทศไทยที่ตั้งไวเพียง 25% เนื่องจากสวีเดนมีประชากรนอย รายไดสูง และที่สําคัญที่สุด คือ นโยบายของรัฐ นอกเหนือจาก Biomass จํานวนมหาศาลแลว Biogas ก็มีใหเห็นทั่วประเทศ ยังมี Biofuel หรือเชือ้ เพลิงชีวภาพ อยางเชน เอทานอล ED-95 (ใชแทนดีเซล) ก็ถูกนํามาใชทั้งรถขนสง รถโดยสาร แมกระทั่ง รถบรรทุกขยะ สวีเดนมีเปาหมายจะลดการใชนิวเคลียรลง และ อาจเลิกใชในที่สุดถาทําได นอกจากนี้ บริษัท Mälarenergi ผูผลิตพลังงานรายใหญของสวีเดนกําลังกอสรางโรงไฟฟาจาก

68

Energy#53_p68-69_Pro3.indd 68

3/21/13 9:33 PM


ขยะขนาด 175 MW ถือไดวา มีขนาดใหญทสี่ ดุ ในโลก พลังงาน ทดแทนทีเ่ ขมแข็งนอกเหนือจากทีก่ ลาวมาแลว ยังมีพลังงานนํา้ ที่ อยูท างตอนบนของประเทศคิดเปนสัดสวนถึง 50% ของพลังงาน ทดแทนเลยทีเดียว สวนสายลมแสงแดดสวีเดนไมมศี กั ยภาพมากนัก คํ า ขวั ญ ประเทศสวี เ ดนคื อ “เกิ ด สวี เ ดน โตสวี เ ดน ตายสวีเดน” แตอยาลืมมาเทีย่ วเมืองไทย วายนํา้ ทะเลอุน ๆ การแพทย ก็ทนั สมัย สวนความปลอดภัยคนไทยคงตองชวยกันดูแลใหดดี ว ย

ทุกทานก็ประทับใจ นอกจากนีย้ งั ไดมโี อกาสฟงการนําเสนอแนวคิด เรื่องพลังงานทดแทนจากบริษัท Fortum ซึ่งมีเทคโนโลยีชั้นนํา ดานพลังงานทดแทนมากมาย ทัง้ ทีเ่ หมาะสมกับสภาพปจจุบนั และ พลังงานในอนาคต

ราชอาณาจักรเบลเยียม

เมืองหลวงคือ “บรัสเซลส” และเปนศูนยกลางของสหภาพ ยุโรป มีประชากรประมาณ 11 ลานคน มีพนื้ ทีน่ อ ยกวาไทย 15 เทา แตมรี ายไดตอ คนมากกวาคนไทยถึง 10 เทา มีความสัมพันธกบั ประเทศไทยเปนอยางดีในทุกดานเหมือนสวีเดน ถึงแมเบลเยียมจะมีศกั ยภาพดานการผลิตพลังงานทดแทน นอย แตก็ตั้งเปาหมายไวอยางนาสนใจคือในป 2050 จะเปน ประเทศทีใ่ ชพลังงานทดแทนเต็ม 100% ใครทีอ่ ยูถ งึ ก็ลองติดตาม ดูทั้ง ๆ ที่ปจจุบันประเทศเบลเยียมตองนําเขาพลังงานไฟฟาถึง 77.9% และสามารถผลิตพลังงานทดแทนไฟฟาเพียง 1.4% โดย ภาพรวมแลวเบลเยียมยังมีการใชพลังงานทดแทนถึง 13% นอกจากนีเ้ บลเยียมยังไดพยายามเขามาลงทุนดานพลังงาน ทดแทนในประเทศไทย เช น การปลู ก สบู  ดํ า ร ว มกั บ องค ก ร ประเทศญี่ ปุ  น ที่ จั ง หวั ด นครราชสี ม าเพื่ อ ผลิ ต ไบโอดี เ ซลและ สรางเกาะจําลองขึ้นมาเพื่อกักเก็บพลังงานไฟฟาจากกังหันลม เปนตน

ความคาดหวังของภาคเอกชน

เจาหนาทีข่ องกองสนเทศเศรษฐกิจ กรมเศรษฐกิจระหวาง ประเทศ ประสานงานในครั้งนี้ไดดีอยางหาที่ติไมได ภาคเอกชน ภาครัฐ และนักขาวไดรบั ความสะดวกสบายอยางมาก โดยผูเ ขียน จะขอเจาะลึกเฉพาะในสวนของพลังงานทดแทน คณะของเรามีโอกาสเขาเยีย่ มชม “ซิมไบโอซิต”ี้ (SymbioCity) ในกรุงสตอกโฮลม โดยมีโรงงานเกา ๆ ทีถ่ กู นํามาจัดวางแนวคิด พลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม ใชพลังงานเกือบทั้งหมดจากพลังงาน ทดแทน โดยเฉพาะอยางยิ่งพลังงานขยะ ที่มีการจัดเก็บโดย สงผานตามทอ ราวกับวาเปนนํ้าเสียโดยอาศัยแรงดูดระบบ สูญญากาศ แลวนําไปใชผลิตความรอนและไฟฟา นอกจากนี้ นํา้ เสียก็ถกู บําบัดดวยเทคโนโลยีชวี ภาพ (Biogas) และนํากาซ ไปใชผลิตไฟฟา สวนลักษณะของอาคารก็ไดรบั การออกแบบให ใชพลังงานนอยทีส่ ดุ นาเสียดายทีอ่ ณ ุ หภูมไิ มเปนใจเนือ่ งจากเปน ชวงอุณหภูมติ ดิ ลบ จึงไมสะดวกทีจ่ ะเดินชมนาน ๆ แตผรู ว มคณะ

ทายสุดของการมาเยือนกรุงสตอกโฮลมคงตองยอมรับ ในดานการใชเชือ้ เพลิงชีวภาพอยางเต็มรูปแบบของสวีเดน ทีเ่ รา เห็นไดจากรถเมลทกุ คันในกรุงสตอกโฮลม จะมีการเขียนดานขาง รถวา “Biogasbuss” หรือไมก็ “Ethanolbuss” ดูแลวก็นา ทึง่ อยางมาก จึงไมแปลกใจเลยวาทําไมสวีเดนกลาที่จะประกาศตัว วาจะปลอดจากเชือ้ เพลิงฟอสซิลในป 2030 และทีป่ ระทับใจทีส่ ดุ ของคณะเดินทางคือ การจัดเลีย้ งอาหารคํา่ ที่ City Hall สําหรับ บุคคลทั่วไปหรือนักทองเที่ยวแลว โอกาสที่จะไดเขาไปในเวลา คํ่ า คื น นั้ น แทบจะไม มี เ ลย เนื่ อ งจากในเวลาปกติ ศ าลากลาง จังหวัดแหงนีใ้ นเวลากลางวันจะเปนสถานทีท่ อ งเทีย่ วอันดับตน ๆ ของผูม าเยือนสวีเดน ทีผ่ า นมาเราไดรบั การตอนรับจากรัฐบาลเบลเยียมอยางดีเยีย่ ม เชนกัน โดยทานนายกฯ ได Lunch talk อยางนาสนใจกับภาครัฐ และภาคเอกชนของเบลเยียม รวมทัง้ คณะของเรา ซึง่ ทัง้ หมดนี้ BOI ของไทยเปนผูจ ดั ขึน้ กอนกลับคณะนักธุรกิจของไทยยังไดมโี อกาส ฟงการบรรยายจาก European Commission และถามตอบปญหา อุปสรรคเดิม ๆ และทีย่ งั ไมมอี ะไรเปลีย่ นแปลง นัน่ ก็คอื NTB หรือขอ กีดกันทางการคาทีไ่ มใชภาษี และกอนเดินทางกลับคณะของเราไดมี โอกาสไปชม “Materialise NV” เปนการนําเทคโนโลยีการออกแบบ ผลิตภัณฑ 3D มาใชอยางนาสนใจ ชวยทําใหงานยาก ๆ กลับกลาย เปนเรือ่ งงาย และทีส่ ดุ ทายทีไ่ ปเยีย่ มชมก็คอื “โรงงาน IMEC”ไ ซึง่ ใช นาโนเทคโนโลยีในการผลิตเวเฟอรของแผน Solar cell พวกเราตาง ประทับใจหอง Clean Room เพราะเปนหองทีป่ ลอดฝุน สําหรับผลิต ผลิตภัณฑดว ยนาโนเทคโนโลยีโดยเฉพาะ นอกเหนือจากการเจรจาเชิงนโยบายดาน FTA ทีท่ า นนายกฯ ไดมอบหมายใหมผี รู บั ผิดชอบเรงการเจรจาตอไปแลว สิง่ ทีค่ วรจะ นําแนวคิดจากการดูงานมาปรับใชกบั เมืองไทยในดานพลังงาน ทดแทนก็คือ 1) กรุงเทพฯไดเวลาใชรถเมลเชื้อเพลิงชีวภาพ แลว ไมใชใชกา ซธรรมชาติทนี่ บั วันจะหมดไป 2) สราง Bangkok Green City รอบนอกกรุงเทพฯ แหงใดแหงหนึง่ เปนทีด่ งู านและ ประชาสัมพันธความเปนผูนําดานพลังงานทดแทนของไทย โดยอาศัยขยะของกรุงเทพมหานครแทนทีจ่ ะนําไปเผาใหเสีย่ งเกิด ไดออกซิน ก็นาํ มาผลิตเปนเชือ้ เพลิง RDF (Refuse Derived Fuel ) อยางในสวีเดนแทน สวนนํา้ เสียก็นาํ มาผลิตกาซชีวภาพ เปนตน เพราะไหน ๆ ก็จะทํางานกันแบบไรรอยตออยูแ ลว 69

Energy#53_p68-69_Pro3.indd 69

3/21/13 9:37 PM


Automobile Update นัษรุต เถื่อนทองคํา

NISSAN SYLPHY 1.8 CVT พีร่ อง…ซีดานระดับพรีเมียม นิสสัน คายรถยนตที่มีชื่อติดหูคนไทยมาเปนเวลานาน แมวาตลอดระยะเวลาที่ผานมาจะไมไดขึ้น แทนของผูนํายอดจําหนายรถในประเทศมากนัก แตแนนอนวามีแฟนพันธุแทที่ติดตามผลงานอยาง ตอเนือ่ ง ทําใหชอื่ ชัน้ ไมเคยหางหายไปไหน และผูท ใี่ ชรถยอมรูด วี า รถในสังกัดมีสงิ่ ซอนเรนทีห่ ลายคาย ไมมี แตชวง 2-3 ปที่ผานมา นิสสันไดกลับมาสรางชื่อดวยการเปดตัวรถอีโคคารจนเปนที่รูจักอีกครั้ง ดวยยอดขายกวา 100,000 คัน เมื่อนํ้าขึ้นใหรีบตัก นิสสันจึงเรงทําตลาดตอเนื่อง ดวยการเปดตัว รถยนตนั่งซีดานในชื่อใหมวา “SYLPHY” NISSAN SYLPHY เปดตัวเพื่อทําตลาดกลุมรถซีดานที่ กอนหนานีม้ ี TIIDA ประจําการอยูแ ลว เมือ่ มองหนาตาจริงๆ แลว มีความแตกตางอยางชัดเจนในเรื่องของการออกแบบ เพราะจะ คลายไปทางพี่ใหญอยาง NISSAN TEANA เสียมากกวา ถือ เปนการกลับมาอยางสวยหรูหลังจากทีน่ สิ สันเคยอยูอ นั ดับตน ๆ ของตลาดกลุมนี้มายาวนาน

เมื่อกลาวถึงเรื่องการออกแบบภายนอกที่แตกตาง ลอง มาดูกันดีกวาวา SYLPHY มีดีดานการออกแบบอยางไร โดยนํา เสนอในรุน 1.8 V CVT สีแดงเลือดนก รุน รอง TOP ของอนุกรมนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับรถกลุมนี้ในตลาด ตองบอกวาออกแบบ ไดดูดี หรูหรา และดูมีระดับ ทั้ง ๆ ที่การจัดวางกลุมเปาหมาย เปนตลาดระดับกลางเปนสวนใหญ เปนความจงใจของตนสังกัด ที่สรางความแตกตางใหกับกลุมตลาดเดิม ๆ ดวยการเติมเต็ม ความหรูหราเขาไปใหมากที่สุด แตก็ไมลืมแอบเติมความสปอรต ขอมูลจําเพาะ เขาไปดวย ดานหนาของตัวรถ โดดเดนดวยโคมไฟหนาที่ออกแบบให เครื่องยนตแบบ 4 สูบ หัวฉีดอิเล็กทรอนิกสมัลติพอยท โฉบเฉีย่ ว พรอมไฟ LED เรียงแถวในตําแหนงลางสุดของโคมไฟ (ECCS) 32 bit ใชงานในแบบของไฟหรี่ไมใชไฟเดย ไลท วางขั้นกลางดวยกระจัง ความจุ 1,798 ซีซี หนาดีไซนใหมแบบโครเมียมที่โคงรับกับเสนสายดานหนาของ กําลังสูงสุด 131 แรงมา ที่ 6,000 รอบตอนาที รถอยางลงตัว เนนความหรูหราดูเปนผูใหญ โดยรุนนี้มีการติด แรงบิดสูงสุด 174 นิวตันเมตร ที่ 3,600 รอบตอนาที ตั้งไฟตัดหมอกดานหนามาใหดวย สวนดานทายก็เดนไมแพกับ พวงมาลัยแบบ แร็คแอนดพิเนียน พรอมระบบ ดานหนา โดยเฉพาะไฟทายแบบ LED ดีไซนพิเศษใหโคงรับไป เพาเวอรควบคุมดวยไฟฟา (EPS) กับเสนสายโคงมนรอบคัน ปลอดภัยตลอดการขับขี่ เพิ่มความ ระบบเบรก หนา ดิสกเบรก แบบมีชอ งระบายความรอน สวางชัดเจนเวลาเบรกหรือยามกลางคืน พรอมโครเมียมที่แซม หลัง ดิสกเบรก ตามจุดตาง ๆ ดูหรูหรา คลายรถยุโรปไมใชนอย ระบบกันสะเทือน หนา แบบอิสระแม็คเฟอรสันสตรัท การตกแตงภายใน ไดเพิ่มความหรูหราดวยการใชโทน พรอมเหล็กกันโคลง สีเทาสบายตา โดดเดนดวยมาตรวัดเรืองแสงแบบ FINE VISION หลัง ทอรชันบีม พรอมเหล็กกันโคลง มองชั ด กว า เดิ ม ในทุ ก ช ว งเวลา พร อ มไฟแผงหน า ป ด สี ข าว ความยาว x กวาง x สูง 4,615 x 1,760 x 1,495 มิลลิเมตร เพิ่มจอแสดงผลขอมูลอเนกประสงค MULTI-INFORMATION ขนาดลอ 16 x 6.5J พรอมยาง 195/60R16 DISPLAY(MID) สามารถแสดงผลข อ มู ล การขั บ ขี่ ทั้ ง การ 52 ลิตร แจงเตือนระยะทางที่วิ่งไดจากนํ้ามันที่เหลือในถัง แถบแสดง ความจุนํ้ามัน ECO ZONE (Accelerator Pedal Guide) และอัตราการ สิ้นเปลืองนํ้ามันขณะขับขี่ 70

Energy#53_p70-72_Pro3.indd 70

3/21/13 9:21 PM


71

Energy#53_p70-72_Pro3.indd 71

3/21/13 9:21 PM


ระบบเครื่องเสียงเปนแบบ BUILT IN จอสี สามารถแสดง ผลเมื่อทําการถอยผานกลองขนาดเล็กที่ทายรถ เสียดายรุน ที่นําเสนอนี้ ไมมีระบบ GPS มาให ควบคุมการทํางานไดจาก พวงมาลั ย MULTI-FUNCTION(MULTI-FUNCTION STEERING WHEEL) ที่ปรับได 4 ทิศทาง ดานระบบปรับอากาศ แบบอัตโนมัติมาพรอมกับการปรับอุณหภูมิแยกอิสระซาย-ขวา (Dual Climate Control Auto Air Conditioner) สามารถ ปรับความเย็นแยกตามความตองการของผูขับขี่ ผูโดยสาร ตอนหนา และยังมีชองแอรในสวนของที่นั่งตอนหลังมาใหดวย นอกจากนีย้ งั มีการติดตัง้ ระบบกุญแจอัจฉริยะ (INTELLIGENT KEY) สามารถเปด-ปดประตูและหองเก็บสัมภาระทายรถอยาง งายดาย ปองกันการโจรกรรมดวยระบบ Immobilizer และ Panic Alarm ดานสมรรถนะของ SYLPHY มีใหเลือก 2 ขนาด คือ 1.6 และ 1.8 ลิตร โดยเครื่องยนตขนาด 1.8 ลิตร เปนเครื่องบล็อก ใหม รหัส MRA8DE ใหกําลังสูงสุด 131 แรงมา ที่ 6,000 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุดที่ 174 นิวตันเมตร ที่ 3,600 รอบ ตอนาที มาพรอมระบบวาลวแปรผันคู Twin C-VTC (Twin Continuously Variable-valve Timing Control System) ระบบวาลวแปรผันทั้งฝงไอดีและไอเสียเพื่อประสิทธิภาพการเผา ไหม ประหยัดนํา้ มันอยางมีประสิทธิภาพดวยการลดขนาดหัวฉีด ใหเล็กลง เพิ่มการฉีดจายนํ้ามันเชื้อเพลิงใหเปนละอองฝอยมาก ยิ่งขึ้น 2 หัวฉีด/กระบอกสูบ ทํางานควบคูกับระบบเกียรแปรผัน XTRONIC CVT ที่ขึ้นชื่อดานขับเคลื่อนที่นุมนวล โดยไมรูสึกถึง การเปลี่ยนเกียร ดวยการเพิ่มชวงอัตราทดเกียรใหกวางกวา ใหแรงบิดสูงในชวงตน รักษารอบเครื่องยนต ไดตอเนื่อง เพิ่ม ความเร็วไดนมุ นวลฉับไว ทีส่ าํ คัญประหยัดนํา้ มันและลดคาใชจา ย ในการบํารุงรักษามากกวาเกียรอัตโนมัติทั่วไป จากการทดสอบขับ ดานการตอบสนองของเครื่องยนต นั้นใหการตอบสนองตอคันเรงดี หลายทานที่ไมคุนเคยกับเกียร XTRONIC CVT มักบนวาเครื่องยนตอืด ตองขอแกขาวสักเล็ก นอยนะครับ ปจจุบันรถยนตของนิสสันรุนใหม ๆ จะใชเกียรตัวนี้ เกือบทั้งหมด ยกเวนที่เปนเกียรธรรมดาเทานั้น การที่อัตราเรงดู เหมือนอืด ไมไดเกิดจากเครือ่ งยนต แตเกิดจากนิสยั ของตัวเกียร XTRONIC CVT ที่ใหอัตราเรงที่คอนขางนุมนวล อาจไมทันใจสิง เทาหนักมากนัก แตเรือ่ งของความเร็วนัน้ สามารถไตไปไดถงึ ระดับ 180 กิโลเมตรตอชัว่ โมง รวมถึงเรือ่ งการเก็บเสียงก็สามารถทําได ดีที่ความเร็วสูงเชนกัน

อีกหนึ่งขอดีของเกียร XTRONIC CVT คือ เมื่อรถไต ความเร็วไปเรือ่ ย ๆ จะสังเกตเห็นวารอบเครือ่ งจะไมสงู นัก และเมือ่ คงความเร็วเอาไว รอบเครือ่ งก็จะลดลงมาอีก สงผลถึงอัตราการ สิ้นเปลืองอยางชัดเจน ซึ่งในความเร็วที่ 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง จะใชรอบเครื่องเพียง 1,500 รอบตอนาที เทานั้น ซึ่งในเครื่อง ขนาด 1.8 ลิตร มีอัตราทดเกียรอยูที่ 4.006- 0.550

ตลอดระยะเวลาที่ทําการทดสอบทั้งในเมืองและนอกเมือง เรื่องของอัตราการสิ้นเปลืองเฉลี่ยขึ้น ๆ ลง ๆ ไปมาอยูที่ 14 กิโลเมตรตอลิตร บวกลบไมเกิน 0.5 ถือวานาพอใจสําหรับ เครือ่ งยนตขนาด 1.8 ลิตร แนนอนวาอยูท เี่ รือ่ งของการขับขีด่ ว ย หากใจรอนเทาหนักก็ไมประหยัด ตอใหรถออกแบบมาดีแคไหน ก็ตาม โดย NISSAN SYLPHY เปดตัวทั้งหมด 4 รุน คือ 1.6 E CVT, 1.6 V CVT, 1.8 V CVT และ 1.8 V NAVI CVT เคาะราคา ไวที่ 799,00 - 931,000 บาท

72

Energy#53_p70-72_Pro3.indd 72

3/21/13 9:21 PM


Have To Know Bar Beer

กลยุทธรับมือ…คาไฟฟาที่ทํางาน

การรณรงคประหยัดพลังงานเปนเรือ่ งทีห่ ลายฝายใหความสนใจมากขึน้ ซึง่ การประหยัดพลังงาน ในบาน ทีอ่ ยูอ าศัย เปนเรือ่ งทีท่ กุ คนใหความใสใจกันและทํากันอยูท กุ วัน เพราะถาประหยัดก็เทากับชวย ลดคาใชจายของตัวเองลง เหลือเงินเก็บออมในกระเปาเพิ่มขึ้น แตในขณะเดียวกัน เรามักจะมองขาม การประหยัดพลังงานในที่ทํางานของตัวเอง เพราะยังไมมีการรณรงคเชิญชวนใหประหยัดพลังงาน ในที่ทํางานอยางจริงจัง หากพนักงานขององคกรทุกคน ใหความใสใจและรวม มื อ กั น ประหยั ด พลั ง งานในที่ ทํ า งานกั น คนละเล็ ก คนละน อ ย นอกจากที่ทํางานของคุณชวยลดคาใชจายที่ไมจําเปนลงไดแลว อาจทําใหบริษทั มีเงินเหลือมาเปนโบนัสสําหรับพนักงาน นอกจากนี้ ยังจะชวยประเทศของเราลดการใชพลังงานและลดคาใชจายใน การนําเขาพลังงานจากตางประเทศดวย การใชไฟฟาในปจจุบนั ของประเทศไทย ในอาคารสํานักงาน ของภาครัฐและภาคเอกชน มีการใชไฟฟาประมาณ 47,897 ลานหนวย หรือประมาณ 30% เปนอันดับ 2 รองจากภาค อุตสาหกรรมที่มีการใชไฟฟาสูงถึงประมาณ 72,296 ลานหนวย หรือประมาณ 45% ในขณะที่อันดับ 3 คือครัวเรือนที่อยูอาศัย มีการใชไฟฟาประมาณ 36,447 ลานหนวย หรือประมาณ 23% ทั้งนี้ เมื่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศ มีอัตราการเติบโตที่สูงขึ้น ก็ยิ่งสงผลใหมีการใชไฟฟาในภาคสวนตางๆ สูงขึ้นเชนกัน สํ า หรั บ การประหยั ด พลั ง งานในอาคารหรื อ สถานที่ ทํางานใหไดผลนั้น ตองอาศัยความรวมมือจากทุกคนในองคกร ในทุกระดับและทุกฝาย และทีส่ าํ คัญตองมีการปฏิบตั อิ ยางจริงจัง และตอเนื่อง ซึ่ง สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) มี 5 ขั้ นตอนการประหยั ดพลั งงานในที่ทํ างานมาแนะนําเป น แนวทางให ในการปฏิบัติ ดังนี้

รวมตัง้ เปาหมายและวางแผนปฏิบตั กิ าร กําหนดเปาหมาย การประหยัดพลังงานภายในหนวยงานทุกๆดานอยางครอบคลุม เชน ตั้งเปาการลดการใชไฟฟาไวที่ 10% ลดการใชนํ้ามันใหได 5% ในระยะเวลา 1 ปตอกัน เปนตน และวิเคราะหสัดสวนการ ใชพลังงานในหนวยงาน พรอมทั้งวางแผนลดปริมาณการใช พลังงานในแตละสวน และแตละแผนกอยางเหมาะสม

73

Energy#53_p73-74_Pro3.indd 73

3/21/13 11:39 PM


จัดตัง้ ทีมประหยัดพลังงานภายในองคกร จัดตัง้ ทีมทํางาน เพื่อใหความรูและประชาสัมพันธแกบุคลากรในหนวยงานทุก คน ทราบเกี่ยวกับโครงการประหยัดพลังงานในหนวยงาน เพื่อ ใหเกิดความรวมมือในการประหยัดพลังงาน โดยใหความรูและ ประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ อาทิ บอรดประชาสัมพันธตาม จุดตางๆ ในอาคาร เสียงตามสาย เปนตน รวมถึงจัดกิจกรรม รณรงค ติดตามผล และรายงานผลตลอดชวงเวลาของการลด ใชพลังงาน ลงมือปฏิบัติและจัดกิจกรรมรณรงคอยางตอเนื่อง รวม มือกันประหยัดพลังงานตามแผนทีต่ งั้ ไวอยางจริงจังในทุกๆ ดาน เพื่อใหเกิดการลดใชพลังงานอยางเปนรูปธรรม เชน กําหนด ใหลิฟตหยุดเฉพาะชั้น ตั้งคาปดหนาจอคอมพิวเตอรขณะที่ไม ใชงานเกินกวา 15 นาที และกระตุนใหเกิดการปฏิบัติอยางตอ เนื่อง ดวยการสงเสริมและจัดกิจกรรมรณรงคลดใชพลังงาน อยางสมํ่าเสมอจากทีมประหยัดพลังงานในองคกร อาทิ จัดการ แขงขันการลดใชพลังงานของแผนกตางๆ และมีการมอบรางวัล เพื่อกระตุนใหพนักงานเกิดความตื่นตัวในการลดใชพลังงาน

หมัน่ ตรวจสอบประสิทธิภาพอุปกรณเครือ่ งใช หมัน่ ตรวจ เช็คความพรอม ของอุปกรณสํานักงานใหมีความสมบูรณอยู เสมอ หากตรวจพบวาอุปกรณชิ้นใดชํารุด ก็ควรรีบซอมแซมให อยูในสภาพสมบูรณดังเดิม ซึ่งจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพเครื่อง ใชไฟฟาใหกลับมามีประสิทธิภาพดังเดิมและประหยัดพลังงาน เพิ่มขึ้น อาทิ ทําความสะอาดแผนกรองอากาศอยางนอยเดือน ละ 1 ครั้ง และทําความสะอาดแผงระบายความรอนทุก 6 เดือน เปนตน รายงานผล ติดตามผลการประหยัดพลังงานเปนระยะๆ ตลอดระยะเวลาแผนประหยัดพลังงาน ประเมินผลการดําเนิน งานและรายงาน แจงผลไปยังทุกฝายที่เกี่ยวของ เมื่อครบระยะ เวลาตามแผน เพื่อนําไปปรับปรุงและพัฒนาแผนปฏิบัติการ ในปตอไปใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ขั้นตอนดังกลาว หลายคนมักมองวาไมใชหนาที่ของตนที่ จะตองใสใจ เพราะมองวาแคมาทํางานไปวันๆ ก็เปนอันจบ แต หากมองยอนไปวา เรื่องของพลังงานเปนเรื่องที่เกี่ยวของเราทุก คน เพราะถาหากวันหนึ่งพลังงานหมดไป เราทุกคนเปนผูที่ไดรับ ผลกระทบอยางแนนอน ฉะนั้ น การประหยั ด พลั ง งานสํ า หรั บ ที่ ทํ า งานจึ ง ไม ใ ช เรื่ อ งที่ ไ กลตั ว หากเราทุ ก คนเริ่ ม ลงมื อ และปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนอยางจริงจัง เทานี้ก็จะสามารถลดใชพลังงานไดตามเปา หมาย และวิธีการนี้ สามารถนําไปปฏิบัติใชกับบานของเราเอง ดวย เพื่อชวยประหยัดคาใชจายใหกับทั้งสํานักงานของคุณ และบานของเราไดนั้นเอง

74

Energy#53_p73-74_Pro3.indd 74

3/21/13 11:41 PM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง ผูอํานวยการหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

ปจจุบันปฏิเสธไมไดเลยวา จากบทเรียนภัยธรรมชาติ หลายครั้งที่ผานมาเปนบทพิสูจน ใหเห็นแลววา ธุรกิจจะตอง เผชิญกับภยันตรายหรือพบกับสิง่ ทีไ่ มคาดฝนอีกมาก ดวยเหตุ นี้ทําใหทุกธุรกิจขับเคลื่อนเขาสูการดําเนินธุรกิจที่เปนมิตรกับ สิง่ แวดลอม และถือเปนโจทยใหญของผูบ ริหารทีจ่ ะโนมนาวใหทกุ คนทีเ่ กีย่ วของในองคกรเห็นดวยกับวาระสีเขียว ซึง่ แตละองคกร/ ธุรกิจพยายามทีจ่ ะสรางความแตกตางในวาระ สีเขียวของตนใหมี ความเหนือชัน้ หรือมากกวาคูแ ขงขัน จนกลายเปนทีม่ าของกระแส “นานนํา้ สีเขียว” (Green Ocean)

กรีน โอเชียน (Green Ocean)

อยางไรก็ดี กอนจะมาเปนนานนํา้ สีเขียวนัน้ ในอดีตเริม่ จาก การทําธุรกิจแบบนานนํา้ สีแดง (Red Ocean) เปนการทําธุรกิจ ทีต่ ลาดมีการแขงขันกันอยางรุนแรงมุง ทีจ่ ะเอาชนะคูแ ขงขัน ทําทุก วิถที างในการลดตนทุนของอุตสาหกรรม และใชราคาเปนจุดดึงดูด ใจผูบริโภค เปรียบเสมือนมีปลาวาฬหลายตัวแกงแยงชิงอาหาร กันกิน จนทําใหเกิดการบาดเจ็บเลือดไหลอาบจนทะเลเปนสีเลือด ตอมาก็เปน การทําตลาดแบบน านนํ้าสีคราม (Blue Ocean) คือ ตลาดใหมทไี่ มเคยมีใครเขาไปทําตลาด ไมมคี แู ขงขัน หรือคูแ ขงขันยังไปไมถงึ มีโอกาสทางการตลาดมาก ไดแก ประเทศ ในแถบแอฟริกาใตและอเมริกาใต รวมถึงการสรางความแตกตาง ทางสินคาและบริการ โดยอาจมีการจับกลุม ลูกคาทีเ่ ปนลักษณะ เฉพาะเจาะจง (Niche) หรือการสรางความตองการใหม ๆ (New Demand) ตอบสนองใหกบั ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม หลังจากนั้นก็เปนการทําธุรกิจนานนํ้าสีเหลือง (Yellow Ocean) เปนตลาดทีย่ งั มีการแขงขันไมมากนัก หรือมีการแขงขัน กันปานกลางเริ่มมีกําลังซื้อ อันจะสรางโอกาสทางการแขงขัน และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ รวมทัง้ การเปดเสรีทางการคา การลดกําแพงภาษี และการเชือ่ มโยงระบบขนสงระหวางประเทศ

เล็งเห็นถึงโอกาสทางการคาการลงทุน เชน แถบอินโดจีน อาเซียน ตะวันออกกลาง เปนตน ซึง่ ประเทศเหลานีม้ คี วามนาสนใจเปนพิเศษ เนื่องจากคาขนสงราคายังไมแพงมากนักและพื้นฐานวัฒนธรรม ความคิดมีความใกลเคียงกัน ตามมาดวย นานนํา้ สีขาว (White Ocean) เริม่ จากวิกฤติ แฮมเบอรเกอร หรือ “ซับไพรม” (Subprime) เกิดจากการที่ สถาบันการเงินปลอยสินเชือ่ ใหกกู บั ลูกหนีท้ มี่ เี ครดิตทางการเงิน ตํา่ กวามาตรฐานหรือคุณภาพรองลงมา โดยใชอสังหาริมทรัพย เปนหลักทรัพยคํ้าประกันจนเกิดวิกฤติดังกลาว ทําใหธุรกิจหัน มาคํานึงถึงจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ ความมีศีลธรรม ปรับ มุมมองจากที่คอยตักตวงผลประโยชนจากสังคม มาเปนการ ชวยเหลือ แบงปน รวมถึงเปนสวนหนึ่งของสวนรวมในการขับ เคลื่อนการบริหารงานทุกภาคสวน ตั้งแต พันธกิจ วิสัยทัศน นโยบาย การผลิต การบริหาร การตลาด การสือ่ สาร การบริหาร งานบุคคล เปนตน อันจะกอใหเกิดประโยชนสงู สุดแกผมู สี ว นไดสว น เสียขององคกร (Stakeholders) ลาสุด นานนํา้ สีเขียว (Green Ocean) เปนเรือ่ งทีเ่ กีย่ วพัน กับระบบนิเวศวิทยา (Ecosystems) ตัง้ แตตน นํา้ กลางนํา้ และ ปลายนํา้ รวมถึงคุณภาพชีวติ ของมนุษย และความเสมอภาคเปน ธรรมในสังคม ซึง่ จากเดิมทีม่ เี พียงมิตดิ า นสิง่ แวดลอม เชน เรือ่ ง ทรัพยากรธรรมชาติ ของเสีย มลภาวะ ฯลฯ นอกจากนีน้ า นนํา้ สี เขียวยังเปนหนทางทีจ่ ะชวยธุรกิจยกระดับการทํางานในการพัฒนา ผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสรางโอกาสในการเขา ถึงตลาดที่มีความตองการเรื่องรักษาสิ่งแวดลอม การอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัง้ ตอบสนองพฤติกรรมของผูบ ริโภคที่ หวงใยในความปลอดภัย สุขอนามัย และคุณภาพชีวติ โดยมีองค ประกอบอยู 2 สวน สวนแรกคือ ธรรมาภิบาลสีเขียว (Green Governance) เปนสิ่งที่สําคัญของทุกธุรกิจที่จะตองปฏิบัติตอ กันทั้งภายในและภายนอกองคกรไมวาภาครัฐหรือเอกชน โดย มีหลักการทีส่ าํ คัญคือ ความโปรงใส (Transparency) อธิบาย ได (Accountability) และความรับผิดชอบ (Responsibility) 75

Energy#53_p75-76_Pro3.indd 75

3/19/13 10:52 PM


หรืออีกนัยยะหนึ่งก็คือ จะตองมีจริยธรรมและคุณธรรมในการ ผลิตสินคาที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ไมทําลายสิ่งแวดลอม และ ไมคากําไรเกินควร โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพการใชทรัพยากร (Resource Efficiency) ความรับผิดชอบกระบวนการผลิต (Process Accountability) และประสิทธิผลผลิตภัณฑ (Product Effectiveness) สวนที่สอง คือ บุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย เปนเรื่อง เกีย่ วกับการสรางอุปนิสยั (Green Habits) เริม่ ตนจากการพัฒนา ทัศนคติและจิตสํานึกของบุคลากร โดยธุรกิจจะตองมีกระบวนการ จัดการทรัพยากรมนุษยในการปลูกฝง DNA ใหกับคน หรือ บุคลากรในองคกรใหเกิดขึน้ 10 ประการ คือ 1. Reduce คือ การรูจ กั ทะนุถนอม บํารุงรักษา ใหมอี ายุ ยืนยาว คงทนถาวรใชไดนานทีส่ ดุ นอกจากนีอ้ าจมีการลดขนาด หรือปริมาณสิง่ ของตาง ๆ ลง เชน มีการ warm up เครือ่ งจักร กอนเดินเครือ่ งทุกครัง้ การประกอบในบางจุดจากเดิมเคยใชนอ็ ต หรือสกรูกเ็ ปลีย่ นเปนการล็อคโดยใชชนิ้ สวนของสวนประกอบนัน้ ๆ แทน เปนตน 2. Reuse คือ การรูจ กั หมุนเวียน นําสิง่ ของทีใ่ ชแลวมาใช ใหม เพือ่ ใหเกิดประโยชนสงู สุด เชน ขวด แกว พาเลทพลาสติก หรือกรณีการนํานํา้ ทีซ่ กั ผาไปแลว นําไปรดนํา้ ตนไมตอ 3. Recycle คือ นําสิง่ ของทีท่ งิ้ แลว หรือเศษทีไ่ มใชแลวนํามา ผานกระบวนการแปรรูปหรือการผลิตใหม ซึง่ สามารถนํากลับมาใช ใหมได ไดแก กระดาษ แกว ลวด เหล็ก ทองแดง กระจก พลาสติก 4. Rethink คือ เปลี่ยนวิธีคิดใหมอยางสรางสรรค โดย ระดมความคิดเห็นภายในบริษทั หาวิธปี ระหยัดพลังงานหรือคิดหา วิธอี อกแบบผลิตภัณฑ/บริการทีเ่ ปนนวัตกรรมทีป่ ระหยัดตนทุน เชน จะตองเปลีย่ นวัฒนธรรมและความเชือ่ ในรูปแบบการสรรหา และคัดเลือกพนักงาน จากเดิมทีเ่ ลือกเฉพาะความสามารถบุคคล เปลีย่ นเปนไมตอ งทําขอสอบวัด IQ แตเปลีย่ นเปนทดสอบ EQ แทน 5. Recondition คือ การนําสิง่ ของทีม่ อี ยูแ ลวมาปรับสภาพ

ใหม เชน เครือ่ งจักรกลแทนทีจ่ ะซือ้ เครือ่ งใหม ก็แคเปลีย่ นชิน้ สวน แลวก็ใชไดใหมเหมือนเดิม 6. Refuse คือ การปฏิเสธ หลีกเลีย่ ง และไมใชวตั ถุดบิ หรือ ผลิตภัณฑที่เปนพิษตอสิ่งแวดลอม โดยมีการออกกฎขอบังคับ ซัพพลายเออรหรือผูปฏิบัติงาน เชน ไมใชบรรจุภัณฑที่ทําจาก พลาสติก เพราะจะสรางปญหาขยะทีเ่ ปนมลพิษตอสิง่ แวดลอม 7. Return คือ การรูจ กั ใชสงิ่ ของทีส่ ามารถนําชิน้ สวนมาแลก ใหมได เชน กรณีเครือ่ งจักรตกรุน เปนตน 8. Repair คือ การรูจักซอมแซมฟนฟูสิ่งของเครื่องใชที่ สึกหรอใหสามารถใชประโยชนได ซึง่ การซอมแซมนัน้ ถือวาทําให ธุรกิจไมตองสิ้นเปลืองทรัพยากรทางการเงินซื้อเครื่องจักรหรือ อุปกรณใหมประหยัดการใชสอยดังกลาวได 9. Reject คือ รูจักปฏิเสธหรืองดการใชสิ่งของที่เห็นวา เปนการทําลาย สรางมลพิษแกสงิ่ แวดลอม ไดแก วัตถุดบิ สาร เคมี หรือโฟม 10. Refill คือ การรูจ กั ใชสงิ่ ของทีส่ ามารถเติมผลิตภัณฑใน ภาชนะเดิมได เชน การใชตลับหมึกแบบเติมหมึกได หรือผลิตภัณฑ ชนิดแบบเติมไมวา จะเปนนํา้ ยาลางหองนํา้ นํา้ ยาลางจาน นํา้ ยาปรับ ผานุม ฯลฯ อยางไรก็ตาม ปญหาโลกรอนยังคงเปนประเด็นสําคัญที่ ทําใหโลกเกิดการเปลีย่ นแปลงและประสบภาวะวิกฤตทางสภาพ แวดลอม สภาพภูมอิ ากาศ โดยจะสงผลกระทบตอธุรกิจทัง้ ทาง ตรงและทางออม ซึง่ ลวนแลวแตเกิดจากฝมอื มนุษย ดังนัน้ การ ที่ธุรกิจจะประสบความสําเร็จไดในยุคนี้ จําเปนตองอาศัยการ ขับเคลือ่ นไปพรอม ๆ กันทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน ไมวา จะเปน มาตรการในการกํากับควบคุมดูแลสิ่งแวดลอมตามกฎหมาย การมีเจาหนาที่ภาครัฐเขาไปทําหนาที่ในการกํากับดูแลอยาง เขมงวด การมีมาตรการจูงใจ สงเสริม ชักชวนธุรกิจตาง ๆ ใหเขา สูน า นนํา้ สีเขียวอยางจริงจัง อันจะนําไปสูก ารพัฒนาธุรกิจควบคู กับสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน

76

Energy#53_p75-76_Pro3.indd 76

3/19/13 10:52 PM


Asean Update เดชรัช นุชพุม

พมาเปดใหผปู ระกอบการพลังงานตางชาติ

เขามาควบคุมการขุดเจาะพลังงาน นอกชายฝงอยางเต็มรูปแบบ

ประเทศพม า เป ด โอกาสให บ ริ ษั ท หรื อ ผู  ป ระกอบการด า น พลังงานตางชาติยื่นเสนอราคาประมูลในการไดกรรมสิทธิ์ขุดเจาะ นํ้ า มั น และก า ซธรรมชาติ แ หล ง ใหม น อกชายฝ  ง ที่ จ ะมี ขึ้ น ในเดื อ น เมษายน โดยทางการพมาจะยกเลิกกฎในการใหกรรมสิทธิ์ที่จะตอง มีบริษัททองถิ่นสัญชาติพมาเปนผูรวมทุนในการทํางานออกไป ถือเปนการขยับตัวทางดานพลังงานทีน่ า สนใจของประเทศพมา โดยกอนหนานี้การจะเขาไปลงทุนทําธุรกิจของบริษัทตางชาติในพมา นั้นเปนเรื่องที่ยุงยากและลําบากมาก เนื่องจากปญหาการปดประเทศ และการถูกควํ่าบาตรจากนานาชาติ แตในปจจุบันประเทศพมากําลัง เปดประเทศเพือ่ เตรียมความพรอมเขาสูป ระชาคมอาเซียน หรือ AEC โดยเปดใหนักลงทุนตางชาติเขาไปทําธุรกิจในพมามากขึ้น อยางในกรณีนกี้ เ็ ปดโอกาสใหนกั ลงทุนตางชาติเขาไปลงทุนดาน พลังงานนํ้ามันและกาซธรรมชาติ โดยยกเลิกขอหามเรื่องผูประกอบ การในทองถิ่น ซึ่งจะชวยเพิ่มโอกาสใหนักลงทุนตางชาติเขาไปลงทุน ทําธุรกิจมากขึ้นซึ่งมีผลโดยตรงตอประเทศไทย เนื่องจากรายงานทางสถิติพบวา พมามีรายไดจากการสงออกพลังงานกาซธรรมชาติ ในป 2012 ถึง 3.5 พันลานเหรียญสหรัฐ โดยประเทศหลักที่ทําการสงออกก็คือประเทศไทย ดังนั้นนาติดตามวาการเปดโอกาสดาน พลังงานในครั้งนี้สงผลอยางไรตอประเทศไทยของเรา เพื่อเตรียมรับมือกับเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ลาวเปดตัวโรงงานผลิต

กาซชีวภาพแหงแรกในประเทศ

ลาวเปดตัวโรงงานผลิตกาซธรรมชาติแหงแรกของประเทศ ซึ่ ง จะสามารถผลิ ต นํ้ า มั น เตาได 90 ล า นลู ก บาศก เ มตร หรื อ ประมาณ175 ลานลิตร โดยโรงงานดังกลาวจะเปลี่ยนแปลงนํ้าเสีย จากโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตรแปงมันสําปะหลังใหกลายเปน พลังงานเชื้อเพลิง โรงงานทีว่ า นีเ้ ปนการรวมมือกันระหวางกลุม บริษทั ผูพ  ฒ ั นาการ ผลิ ต ก า ซธรรมชาติ ข องไทยและลาว ซึ่ ง เป น โรงงานแห ง แรกที่ สนับสนุนพลังงานเชื้อเพลิงใหแกชุมชนทองถิ่นและมีความเปนมิตร กับสิ่งแวดลอม โดยจะสามารถลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดกวา 300,000 ตันตอป และลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดอีก 60,000 ตันตอป ถื อ เป น การขยั บ ตั ว ของลาวในด า นพลั ง งาน โดยหาแหล ง พลังงานทดแทนเพื่อนํามาใชผลิตพลังงานเชื้อเพลิงใหแกประชาชน และไมสรางปญหาใหกับสิ่งแวดลอม นับเปนการเริ่มตนที่ดีในการ รวมมือกันดานพลังงานของประเทศในกลุมประชาคมอาเซียน 77

Energy#53_p77-78_Pro3.indd 77

63

3/22/13 8:50 PM


พลังงานแสงอาทิตยอาจชวย แกปญหาเรื่องพลังงานไฟฟา ในชนบทพมา

ทางการพมาหวังจะใหทงั้ ประเทศใชไฟฟาทีผ่ ลิตจากพลังงานแสงอาทิตย ในป 2013 ดวยการเริม่ ตนติดตัง้ โครงการพลังงานแสงอาทิตยและเปลีย่ น ระดับขนาดของพลังงานจากกิโลวัตตเปนเมกะวัตต ซึง่ ไดรบั ความสนใจจาก นักลงทุนตางชาติทจี่ ะเขามารวมลงทุนในโครงการนี้ โดยการเริม่ ตนโครงการ ดังกลาวมีสาเหตุมาจากการขาดดุลดานพลังงานไฟฟาของประเทศ และชวย ใหประชาชนในพืน้ ทีช่ นบทไดมไี ฟฟาใช โดยเขตอุตสาหกรรมของพมาจะไดรบั ประโยชนอยางมาก เนือ่ งจากตัง้ อยูใ นเขตพืน้ ทีท่ มี่ แี สงแดดและความรอนสูง อยางเชน มัณฑะเลย เปนตน แต กลุม ประชาชนในชนบทก็จะไดรบั ประโยชนจากโครงการพลังงานแสงอาทิตย นีเ้ ชนกัน จากสถิตใิ นปจจุบนั พบวามีเพียง 26 เปอรเซ็นต ของประชากรพมา เทานัน้ ทีม่ กี ระแสไฟฟาใชและมีเพียง 4 เปอรเซ็นต จาก 26 เปอรเซ็นต ทีเ่ ปน พืน้ ทีใ่ นชนบท โครงการนีอ้ าจเปนทางออกในการแกไขปญหาการขาดแคลน ไฟฟาใชในเขตชนบทของประเทศพมาได เปนอีกหนึง่ ความเคลือ่ นไหวของเพือ่ นบานในกลุม ประชาคมอาเซียนทีน่ า สนใจ พมาเพือ่ นบานของเรากําลังมุง มัน่ พัฒนาดานพลังงาน ทดแทนเพือ่ นํามาใชภายในประเทศทัง้ ภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม เปนอีกทางเลือกหนึง่ ในการลดตนทุนคาใชจา ยดานไฟฟา และ เปนทีน่ า จับตามองในอนาคตวาจะสงผลกับประเทศไทยอยางไรเมือ่ ถึงชวงเวลาทีต่ อ งเปดประชาคมอาเซียน

เวียดนามวางระบบสายไฟใตดนิ

ในเมืองทีส่ รางขึน้ ใหมในเขตจังหวัด

บาเรีย-หวุงเตา

ทางการเวียดนามเริม่ ตนโครงการติดตัง้ สายไฟฟาใตดนิ ทีม่ คี วาม ยาวกวา 30.6 กิโลเมตร ในพืน้ ทีข่ องเมืองทีส่ รางขึน้ ใหมในเขตจังหวัด บาเรีย – หวุงเตา ทางตอนใตของประเทศ เพือ่ พัฒนาทัศนียภาพของเมือง และสรางความมัน่ คงปลอดภัยของระบบจายไฟฟา โดยใชเงินลงทุนกวา 5.5 ลานเหรียญสหรัฐ โดยโครงการดังกลาวแบงออกเปนสองระยะ โดยระยะแรกจะเดิน สายไฟฟาใตดนิ แรงดันปานกลางระยะทาง 12.9 กิโลเมตร และสรางสถานี แปลงไฟฟา 27 แหง สวนในระยะทีส่ องจะติดตัง้ สายไฟใตดนิ แรงดันตํา่ เพิม่ อีก 12.7 กิโลเมตร ซึง่ เมืองใหมแหงนีถ้ กู สรางขึน้ เพือ่ แกไข ปญหาความหนาแนนของประชากรในเมืองหวุงเตาทีเ่ ปนเมืองขึน้ ชือ่ ของประเทศเวียดนามและเพือ่ สงเสริมการทองเทีย่ วใหกบั จังหวัดดวย เวียดนามเตรียมปรับตัวดานพลังงานขนานใหญกอนเขาสูประชาคมอาเซียน ดวยการสรางเมืองใหมเพื่อลดความหนาแนนของ ประชากรและวางระบบสายไฟใตดินเพื่อไมใหมาบดบังทัศนียภาพในการทองเที่ยวนับเปนกลยุทธอยางหนึ่งในการดึงดูดนักทองเที่ยว นาจับตามองวาในอนาคตเวียดนามจะมีโครงการอะไรออกมาเพือ่ สรางประโยชนใหกบั ประเทศตอไป 62

Energy#53_p77-78_Pro3.indd 78

78

3/22/13 8:50 PM


Energy#51_p75_Pro3.ai

1

1/23/13

10:23 PM


Around The World เดชรัช นุชพุม

นักออกแบบจากสหรัฐอเมริกา สรางลูกฟุตบอลทีส่ ามารถสรางพลังงานจลน ผลิตกระแสไฟฟาได

ทีมศิษยเกาจากมหาวิทยาลัยฮาวารด สหรัฐอเมริกา ทําการ พัฒนาลูกฟุตบอลทีส่ ามารถสรางพลังงานจลนไดในขณะเลนฟุตบอล ที่เรียกวา “Soccket ball” โดยลูกฟุตบอลดังกลาวสามารถผลิต พลังงานไฟฟาไดนาน 3 ชั่วโมง ในขณะที่ใชเวลาเลนฟุตบอลเพียง 30 นาที ซึ่งลูกฟุตบอลที่วานี้ยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมดวย “Soccket ball” นี้ ใชกลไกที่ติดตั้งอยูภายในลูกฟุตบอลใน การเก็บเกีย่ วและกักเก็บพลังงานจลนจากการทีล่ กู ฟุตบอลถูกใชงาน ซึ่ ง ลู ก ตุ  ม ขนาดเล็ ก ภายในจะเป น ตั ว ควบคุ ม การทํ า งานผ า นการ เคลือ่ นไหว โดยจะเปนตัวเปดเครือ่ งกําเนิดไฟฟาใหเชือ่ มตอกับทีช่ ารจ แบตเตอรี่ ซึ่งตัวลูกฟุตบอลนั้นทําจากวัสดุโฟม EVA กันนํ้า มีความ นุม และสามารถสูบลมได นวั ต กรรมลู ก ฟุ ต บอลดั ง กล า วเป น สิ่ ง ที่ น  า สนใจอย า งยิ่ ง เนื่องจากกีฬาฟุตบอลเปนกีฬาที่ไดรับความนิยมไปทั่วโลก นิยมเลน ทั้งแบบเปนทางการที่มีการแขงขันจริง และเลนกันเพื่อความสนุกสนานในหมูเพื่อนฝูง หากมีลูกฟุตบอลอเนกประสงคในการเลนและ ยังสามารถผลิตพลังงานจลนเพื่อสรางกระแสไฟฟาไปในเวลาเดียวกัน จะชวยสรางประโยชนในการเปนแหลงพลังงานทางเลือกอีกทาง หนึ่งในอนาคต

บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพแดน กังหันลมมีแผนการผลิตยางรถยนต จากดอกแดนดิไลออน บริษทั เทคโนโลยีชวี ภาพจากประเทศเนเธอแลนด วางแผนที่ จะใชยางจากรากของดอกแดนดิไลออนเปนวัสดุชนิดใหมสาํ หรับ ผลิตยางรถยนต อันที่จริงแลวรากของดอกแดนดิไลออนนั้น มีขนาดเล็ก มากเกินกวาจะผลิตเปนวัตถุดิบในเชิงพาณิชย ได จึงทําใหบริษัท ผูผ ลิตดังกลาววางแผนทีจ่ ะพัฒนารูปแบบใหมของรากดอกแดน ดิไลออน ดวยการใชเทคโนโลยี DNA เปลี่ยนแปลงรูปแบบของ รากดอกใหมีประสิทธิภาพดานความความแข็งแรง และสามารถ ผลิตนํา้ ยางไดมากพอทีจ่ ะนําไปใชในกระบวนการผลิตยางรถยนต แนวคิดในการพัฒนาดังกลาว เปนการพัฒนาทีส่ าํ คัญอยางยิง่ ในอนาคต เนื่องจากแนวโนมความตองการใชงานยางรถยนตมี เพิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ ทําใหวตั ถุดบิ ทีจ่ ะนํามาผลิตเปนยางรถยนต แบบเดิ ม ๆ อย า งยางพาราอาจมี ป ริ ม าณไม เ พี ย งพอกั บ ความตองการ ซึง่ การมองหาทางเลือกทดแทนจากวัตถุดบิ ชนิดอืน่ นับเปนทางออกหนึง่ ในการแกไขปญหาทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต 80

Energy#53_p80-81_Pro3.indd 80

3/22/13 8:57 PM


นักศึกษาแดนโรตีคิดคน

วิธีเก็บพลังงานลมจากการวิ่งของรถไฟ

กลุมนักศึกษาจากประเทศอินเดียไดทําการพัฒนาวิธีการ สรางพลังงานลมจากการวิ่งของรถไฟ โดยการติดตั้งกังหันลม ขนาดเล็กไวในรางรถไฟที่มีระยะทางกวา 196 กิโลเมตร ดวยความเร็วของรถไฟ ทีมวิจัยคาดการณและระบุสถานที่ ที่แนนอนสําหรับการติดตั้งกังหันลมและคาดการณประสิทธิภาพ ของโครงการไว ล  ว งหน า โดยพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมในการติ ด ตั้ ง กั ง หั น ลม คื อ ภายในอุ โ มงค ข องรถไฟและจุ ด เชื่ อ มต อ ของ ทางรถไฟใตดินกับบนดิน โดยพลังงานจะถูกเก็บไวในแบตเตอรี่ สามารถผลิตพลังงานไฟฟาได 500 วัตตตอ ชัว่ โมง หรือ 12 กิโลวัตต ตอวัน แตมีการคาดการณวาแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นอาจทําให กังหันลมสูญเสียความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟา โดยอาจ ผลิตได 200 วัตตตอชั่วโมง หรือ 4.8 กิโลวัตตตอวัน โครงการดั ง กล า วเป น ประโยชน ต  อ การสร า งพลั ง งาน ทดแทนของโลก ซึ่ ง รางรถไฟนั้ น มี อ ยู  ใ นทุ ก ประเทศทั่ ว โลก หากนําโครงการนี้ออกเผยแพรใหเห็นถึงประโยชนของการติดตั้ง กังหันลมในรางรถไฟเพื่อผลิตพลังงานไฟฟา ก็จะเปนตัวอยางให กับประเทศตาง ๆ ในการหาแหลงพลังงานทดแทนมาใชภายใน ประเทศของตน

เปรูติดตั้งปายโฆษณา

ที่สามารถผลิตนํ้าดื่มสะอาดจากอากาศ มหาวิทยาลัย UTEC ในกรุงลิมา ประเทศเปรู ทําการพัฒนา ปายโฆษณาแหงแรกของโลกทีส่ ามารถผลิตนํา้ ดืม่ สะอาดไดจาก สภาพอากาศ ปายโฆษณาบิลบอรดดังกลาว ถูกติดตัง้ ไวในพืน้ ทีท่ แี่ หงแลง และมีปริมาณฝนตกนอยมากตลอดทัง้ ป แตพนื้ ทีน่ นั้ กลับมีความชืน้ ในอากาศสูงถึง 98 เปอรเซ็นต โดยภายในปายโฆษณาจะมีระบบ ปฏิบตั กิ ารเครือ่ งกรองตาง ๆ ติดตัง้ ไวสาํ หรับแปลงอากาศใหกลาย เปนนํา้ บริสทุ ธิ์ แลวสงนํา้ สะอาดนัน้ ลงสูแ ทงกทตี่ ดิ ตัง้ ไวดา นลางของ ปาย เมือ่ ตองการจะดืม่ นํา้ ก็เพียงแคเปดกอกนํา้ และรองนํา้ ไปใช โครงการนีช้ ว ยสรางประโยชนใหกบั ประชนในพืน้ ทีด่ งั กลาว เปนอยางมาก ทําใหอากาศกลายมาเปนประโยชนในการสรางนํา้ ดืม่ ใหกบั ประชาชนในพืน้ ที่ ซึง่ ปายโฆษณานีเ้ ปนอุปกรณตวั อยางทีน่ า สนใจและนาจะนําไปตอยอดใชประโยชนในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ เนือ่ งจากสราง ประโยชนถงึ สองดาน ทัง้ ดานการโฆษณาสินคา และการผลิตนํา้ ดืม่ สะอาดใหกบั ประชาชน

81

Energy#53_p80-81_Pro3.indd 81

3/22/13 8:57 PM


Special Report กองบรรณาธิการ

100% ส ว นผู  ผ ลิ ต เครื่ อ งยนต ช าวต า งประเทศ ถ า อยากจะ ขายก็คงตองผลิตเครื่องยนตใหเหมาะสมกับ ED 95 ทั้งนี้อยู ที่ปริมาณความตองการในตลาดและนโยบายรัฐวาจริงจังมาก นอยเพียงใด E 85 กรีนเบนซิน คนไทยเริม่ คุน หูเชือ้ เพลิงใหมนมี้ ากขึน้ เมือ่ ยักษใหญคา ยรถเกงผลิตรถเกงออกมาอวดโฉมเปดตัวใหเลือก หลากหลายยีห่ อ นํา้ มัน E 85 ไดมาจากเอทานอล 99.5% ผสมกับ นํา้ มันเบนซินพืน้ ฐานทีต่ อ งปรับแตงสูตรเล็กนอยในปริมาณ 15% เขาใจงาย ๆ ก็คอื เอทานอล 85% ผสมเบนซินฟอสซิล 15% ก็ได นํา้ มันเบนซินมาเติมรถเพือ่ ลดมลพิษ และลดการขาดดุลยการคา

ไดเวลารถเมล ไทยตองใชเชื้อเพลิงชีวภาพ

E 85 หรือ ED 95 คนไทยก็มแี ตได

ผลพวงจากการเยือนสวีเดนและเบลเยียมของคณะทาน นายกฯ พรอมภาคเอกชน อาจจะเปนความโชคดีของผูท เี่ กีย่ วของ กั บ เอทานอลในเมื อ งไทยก็ ไ ด ที่ ร ถยนต โ ดยสารสาธารณะ (รถเมล) คันแลวคันเลาทีว่ งิ่ ผานหนาโรงแรมทีเ่ ราพักอยู ใชเชือ้ เพลิง ชีวภาพไม Biogas ก็ Ethanol และถาสังเกตใหดีรถบรรทุก ขยะที่นี่ ก็ใชเชื้อเพลิงชีวภาพ ทั้ง ๆ ที่วัตถุดิบของพลังงานที่ กลาวมานี้ ประเทศสวีเดนแทบจะไมมีอยูเลย ตรงกันขามกับ ประเทศไทยที่มีมากจนลน และตองหาทางสงออก แตคนไทย เองกลับตองอดทนกับอากาศเสียในเมืองหลวง…แปลกแตจริง จากการแถลงขาวผานสือ่ ไทยขามทวีปมาลงในหนังสือพิมพ หลายฉบับของทานรองนายกรัฐมนตรี นายกิตติรตั น ณ ระนอง คอนขางชัดเจนทีจ่ ะผลักดันใหรถเมลกรุงเทพใชเอทานอลแทนใช กาซ NGV ทีน่ บั วันจะขาดแคลน จะเปน E85 หรือ ED95 คงตอง พิจารณาลงลึกถึงขอดีและขอดอยกันอีกที ED 95 นํ้ า มั น ดี เ ซลสายพั น ธุ  ใ หม เกิดจากสวนผสมจาก เอทานอลที่ มี ค วาม บริสทุ ธิ์ 95% ผสมสาร ปรุงแตง (Additive) อี ก 5% ใช ท ดแทน ดี เ ซลจากฟอสซิ ลได ส ว นเครื่ อ งยนต อ าจ ตองมีการปรับแตงกัน บาง แตถา ผลิตจํานวน มากเปนอุตสาหกรรม ก็คงไมเปนปญหาแต อยางใด สวน Additive ก็สามารถผลิตไดแลว ในประเทศไทย ดีเซล พันธุใหม ED 95 จึง เปนเชื้อเพลิงของไทย

ถารถเมล ไทยจะใชเชื้อเพลิงชีวภาพปญหา นาจะอยูตรงไหน

1.แอลกอฮอล 95% สําหรับ ED 95 1.เบนซินที่มีใชกันแพรหลายอยู เปนชนิดเดียวกับที่ ใชผสมอาหารรับ แลวในประเทศไทยเพียงแตเพิ่ม ประทาน มีความสะอาดบริสุทธิ์ จึงเขา สถานีบริการใหเพียงพอเทานั้น ขายตองเสียภาษีเดียวกันกับสุรา 2.เครองยนตดีเซลสําหรับ ED 95 มี ผูผลิตนอยราย ทําใหราคาอาจจะยัง สูงอยู ถาดัดแปลงในประเทศดวยการ ใสฝาสูบ ก็สามารถใชไดในระดับหนึ่ง เทานั้น ตองมีการสั่งผลิตเปนจํานวน มากหรือตองนําเขา 3.ราคายังไมแนนอน

2.หากมีการสั่งซื้อจํานวนมาก การผลิตเครองยนตสําหรับใชกับ รถโดยสารก็จะมีราคาตํ่าลง

3.ลิตรละ 22.98 บาท (8 มีนาคม 2556)

สําหรับการผลิตเอทานอลในประเทศไทยไมตอ งเปนหวงวาจะ ไมเพียงพอ เพราะปจจุบนั มีโรงงานผลิตเอทานอลทัง้ สิน้ 21 โรงงาน ใชวตั ถุดบิ จากกากนํา้ ตาล 11 โรงงาน (1.9 ลานลิตรตอวัน) ใชมนั สําปะหลังเปนวัตถุดบิ 6 โรงงาน (1.28 ลานลิตรตอวัน) สวนอีก 4 โรงงานใชทงั้ กากนํา้ ตาลและมันเสน (0.7 ลานลิตรตอวัน) รวมแลวมี กําลังการผลิตรวม 3.9 ลานลิตรตอวัน ประเทศไทยจึงไดเปนผูผ ลิต เชือ้ เพลิงชีวภาพเอทานอลเปนอันดับที่ 8 ของโลก ชวยลดการนําเขา นํา้ มันเชือ้ เพลิงกวา 15,000 ลานบาทตอป หากมีตลาดรองรับแลว โรงงานตาง ๆ เหลานีก้ จ็ ะสามารถเพิม่ กําลังการผลิตไดอกี นับเทา ตัว โดยสวนใหญจะเปนเอทานอลจากมันสําปะหลัง เนือ่ งจากออย ไมสามารถเพิม่ ปริมาณการปลูกไดมากกวานีม้ ากนัก หากรัฐเอาจริงเอาจังตอเรือ่ งนี้ ใตฟา เมืองไทยมีอะไรทีร่ ฐั จะทํา ไมได ถาสิง่ นัน้ เปนประโยชนตอ สวนรวม โดยเฉพาะอยางยิง่ ชาวไรทวั่ ประเทศ จะไดขายผลผลิตกันเต็มเม็ดเต็มหนวย ไมตอ งออกมาปด ถนนขอความชวยเหลือจากภาครัฐบอย ๆ เหมือนในปจจุบนั

82

R1_Energy#53_p82_Pro3.indd 82

3/23/13 12:54 AM


Special Report วรรณวิภา ตนจาน

เอสเอ็มเอ โซลาร รวมมือ มจธ. พัฒนาการศึกษาและวิจัยไมโครกริด

นับเปนโครงการความรวมมือครั้งแรกของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี กั บ บริ ษั ท เอสเอ็ ม เอ โซลาร (ไทยแลนด) จํากัด ซึ่งเปนสาขาในประเทศไทยของ บริษทั เอสเอ็มเอ โซลาร เทคโนโลยี เอจี ผูน าํ ดานเทคโนโลยี โซลาร อิ น เวอร เ ตอร ร ะดั บ โลกจากประเทศเยอรมนี ที่ ไ ด ริ เ ริ่ ม ให เ กิ ด โครงการต น แบบเพื่ อ ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การ ศึ ก ษาและวิ จั ย ด า นไมโครกริ ด โดยมี ร ะบบพลั ง งาน แสงอาทิตยเปนสวนประกอบสําคัญ ซึง่ จะพัฒนาแทนทดสอบ หรือทีเ่ รียกอีกอยางหนึง่ วา โมเดลจําลองของระบบผลิตไฟฟา แบบผสมผสานโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ เปนแทนทีส่ ามารถนํา ระบบอุปกรณใหมๆ มาติดตัง้ ทดสอบไดตลอดเวลา นายอนุ ส นธิ์ อติ ลั ก ษณะ กรรมการผู  จั ด การ บริ ษั ท เอสเอ็มเอ โซลาร (ไทยแลนด) จํากัด กลาวถึงการบันทึกขอตกลง ความรวมมือทีท่ าํ ขึน้ ระหวาง บริษทั เอสเอ็มเอ โซลาร (ไทยแลนด) จํากัด และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เพื่อ สนับสนุนดานการศึกษาและวิจยั ดานไมโครกริด โดยมีเนือ้ หาดัง ตอไปนี้ ประการที่ 1 สงเสริมใหมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาองค ความรูด า นพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ เปนสวนสําคัญตอเทคโนโลยี ไมโครกริดทัง้ การผลิตไฟฟาและความรอน โดยสามารถนําไปใช ใหเกิดประโยชนได เพือ่ ใหความรูแ ละสงเสริมศักยภาพของนักวิจยั คณาจารย นักศึกษา และบุคลากรของทัง้ สองฝาย ประการที่ 2 ใหการสนับสนุนอินเวอรเตอรและอุปกรณเครือ่ ง มือทีเ่ ปนผลิตภัณฑของบริษทั ใหทางมหาวิทยาลัยนําไปพัฒนาแทน ทดสอบระบบผลิตไฟฟาแบบผสมผสานโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ ขึ้นที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี บางขุนเทียน และประการสุดทาย ทัง้ สองฝายจะสงเสริมการดําเนินงานตาง ๆ ทัง้ การสงเสริมใหเกิดกิจกรรมความรวมมือทางดานวิชาการใหกบั ผูท สี่ นใจเขาศึกษาดูงาน เพือ่ นําระบบพลังงานทดแทนนีไ้ ปตอยอด และประยุกตใชในอนาคต เชน การสัมมนา การอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ เปนตน ดั ง นั้ น จึ ง ถื อ ได ว  า เป น จุ ด เริ่มตนที่สําคัญ สามารถศึกษา สภาวะการทํ า งานที่ เ หมาะสม ของระบบไมโครกริ ด ที่ ติ ด ตั้ ง อยูในพื้นที่ตาง ๆ ของประเทศ และระบบที่ จ ะดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง เพิ่ ม เติ ม ในอนาคต ผ า นระบบ

จําลอง (Mock up) ที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี บางขุนเทียน ซึง่ ไดมกี ารศึกษาวิจยั ดานระบบพลังงานสะอาดมาเปนเวลานานกวา 20 ป และ เพือ่ ใหสอดคลองกับทิศทางการวิจยั ในอีก 10 ปขา งหนา ของหองปฏิบตั กิ าร วิจยั บูรณาการระบบพลังงานสะอาด (2020 CESi Roadmap) ของ สถาบัน พัฒนาและฝกอบรมโรงงานตนแบบ นอกจากนี้ยังรองรับการจัดฝกอบรมดานไมโครกริดและการศึกษา ดูงานของนักวิชาการ นักศึกษา และประชาชนผูสนใจทั่วไป สามารถนํา ความรูท ี่ไดและเทคโนโลยีไปปฏิบัติไดจริง และกอใหเกิดประโยชนสงู สุดให กับสังคมไทยในอนาคต 83

Energy#53_p83_Pro3.indd 83

3/21/13 5:34 AM


Special Report นัษรุต เถื่อนทองคํา

หลี ก หนี ว ถ ิ ช ี ว ี ต ิ คนเมื อ ง สูชีวิตทามกลางธรรมชาติ ณ ดาษดา เชื่อหรือไมวา คนที่ใชชีวิตอยูในเมืองหลวง รอยละ 70-80 เบื่อชีวิตแบบวิถีคนเมือง ที่ตองเรงรีบ แกงแยง และแขงขันทีส่ งู กวาวิถชี วี ติ แบบชนบท ทางออกคือการแสวงหาสถานทีเ่ พือ่ ผอนคลายอารมณ เบือ่ หนายทีเ่ จอทุกวัน โดยเฉพาะบรรยากาศแบบธรรมชาติกบั สถานทีเ่ ทีย่ วทีไ่ มไกลจากเมืองหลวงมาก นัก ฉบับนี้ Spcial Report จึงขอแนะนํา “ดาษดา” เพือ่ เอาใจผูท รี่ กั ธรรมชาติและดอกไมเปนชีวติ จิตใจ ดาษดา ถือเปนสถานที่ทองเที่ยวที่เอาใจคนรักตนไมและ ดอกไมโดยเฉพาะ ที่ตองกลาวเชนนี้ เพราะเมื่อทานกาวเขามา พืน้ ที่ ดาษดา สิง่ แรกทีจ่ ะพบไดคอื ความรมรืน่ ของพรรณไมหลาก หลาย เกือบจะเต็มพื้นที่ ทั้งในสวนของโรงแรม ดาษดา รีสอรท ทีส่ รางสรรคขนึ้ มาจากแรงบัลดาลใจจากความสุขจากการชืน่ ชม ดอกไม ผานการออกแบบดวยความใสใจในรายละเอียด เพือ่ เสนอ ประสบการณสุดพิเศษและสรางนิยามใหมสําหรับการพักผอน ทามกลางออมกอดของไมดอกนานาพันธุ โดยมีหอ งพักใหเลือก 5 แบบ ตกแตงอยางมีสไตล เพือ่ นําประสบการณของสัมผัสแหง มวลดอกไมมาสูว นั พักผอนไดอยางเต็มที่ ไฮไลทของดาษดา คือ ดาษดา แกลเลอรี ทีเ่ ปรียบเสมือน สวรรคของผูท ชี่ นื่ ชอบความงามของดอกไม ดวยความมหัศจรรย ของศิลปะที่รังสรรคผานการจัดดอกไมสด เสมือนเขาชมใน แกลเลอรีเรือนกระจก โดยมีการหมุนเวียนผลัดเปลีย่ นตามเทศกาล และฤดูกาล เพื่อใหความสุขหลายรูปแบบ และสามารถเลือกซื้อ ดอกไมสด ไมกระถาง และของทีร่ ะลึกติดไมตดิ มือกลับบานไดอกี ดวย

ทีข่ นึ้ ชือ่ ไมแพพรรณไมทจี่ ดั แสดงคือ ไอศครีมและเบเกอรี่ จากราน La Lalla ที่ตกแตงสไตลเบอเกอรี่ตัวรานออกแบบ ผนังกั้นดวยกระจกมีใหเลือกนั่งทั้งแบบ indoor และ outdoor สามารถมองเห็นสวนสวยและดอกไมจํานวนมากไดอยางชัดเจน และเมนู เ ด น ต อ งยกให กั บ ไอศครี ม โฮมเมด ที่ ดี ไ ซน โ ดยนํ า เอกลักษณเฉพาะตัว ทีไ่ ดแรงบันดาลใจมาจากดอกไมนานาพันธุ นอกจากนี้ ยังมีการแสดงพันธุ ไมยามราตรีอีกดวย ผสมผสาน การแสดงจากศิลปนชื่อดังในบางโอกาส สามารถเดินชมตนไม ดอกไมในยามคํ่าคืนทามกลางบรรยากาศโรแมนติกและอากาศ เย็นสบายในเรือนกระจกขนาดใหญ สําหรับทานที่กําลังมองหาแหงพักผอนที่ไมไกลมากนัก ลองแวะไปสัมผัสพันธุนานาพันธุ ไดที่ ดาษดา ตั้งอยูกอนทาง ขึ้นเขาใหญฝงปราจีนบุรี จากกรุงเทพฯ ใชเวลาไมเกิน 2 ชั่วโมง จากกรุ ง เทพ แล ว คุ ณ จะหลงไหลในสิ่ ง ที่ ธ รรมชาติ ส ร า งขึ้ น อยางดอกไมนานาพันธอยางไมรูลืม

100 84

Energy#53_p84_Pro3.indd 84

3/19/13 10:57 PM


Energy Exhibit กองบรรณาธิการ

PYRAMID ENERGY

EXPO 2013

นิทรรศการเทคโนโลยี ประหยัดพลังงาน 85

R1_Energy#53_p85-86_Pro3.indd 85

3/27/13 11:55 AM


สํานักพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานพลังงาน กระทรวงพลังงาน ไดจัดงานสัมมนาและตลาดนัดเทคโนโลยีประหยัดพลังงานขึ้น ในชวงเดือนมีนาคมที่ผานมา ภายใตชื่อ “PYRAMID ENERGY EXPO 2013” ณ อาคารอนุรักษพลังงานเฉลิมพระเกียรติ เทคโนธานี อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี โดยไดรบั เกียรติจาก นายทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน เปนประธานเปดงาน พรอมบรรยายพิเศษ ในหัวขอ “เทคโนโลยีการอนุรักษพลังงานสูอนาคต” ทั้งนี้การจัดงานสัมมนาและตลาดนัดเทคโนโลยีประหยัด พลั ง งานนั้ น ได รั บ การตอบรั บ จากผู  ป ระกอบการอาคาร สํานักงาน โรงงาน และประชาชนทั่วไป เขารวมชมงานจํานวน มาก โดยภายในงานนอกจากจัดแสดงสินคาเกี่ยวกับเทคโนโลยี ประหยัดพลังงานแลว ยังมีการจัดเสวนาเรื่อง ESCO to AEC ซึ่งมีตัวแทนจากหนวยงานตาง ๆ เขารวมสัมมนาดวย ไมวาจะ เปนตัวแทนจากกรมฯในฐานะผูเชี่ยวชาญโครงการฯ ESCO ตั ว แทนจากโรงพยาบาลวิ ภ าวดี ตั ว แทนจากผู  ส นั บ สนุ น ดานการเงิน ไดแก ธนาคาร CIMB และบริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จํากัด ซึ่งเปนตัวแทนบริษัทที่ปรึกษาดานพลังงาน ที่มีประสบการณตรงมาใหความรูดานการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอม สรางความสนใจใหกับเจาของธุรกิจและผูรับผิด ชอบดานพลังงานจํานวนมาก

นอกจากนี้ภายในงานยังมีการจัดสัมมนา 4 เทคโนโลยี แห ง อนาคต เพื่ อ ให ค วามรู  กั บ ผู  ที่ อ ยู  ใ นวงการพลั ง งานและ ผูที่สนใจ ในหัวขอ “4TECH To The Future” ซึ่งก็ไดรับ การตอบรับเปนอยางดีเชนกัน โดยมีเนื้อหาทั้งในเรื่องเทคโนโลยี หลอดแห ง อนาคต LED, เทคโนโลยี โ อโซน, เทคโนโลยี Chiller ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง , เทคโนโลยี ก ารจั ด การพลั ง งาน (Software Computer), สํ า หรั บ ผู  ที่ ส นใจและพลาด งานในครั้ ง นี้ ค งต อ งรอป ห น า กระทรวงพลั ง งานฝากบอก มาวาจะจัดขึน้ อีกแนนอน แตจะเปนรูปแบบใดนัน้ ติดตามขาวคราว ไดในเว็บไซตของกระทรวงพลังงาน www.energy.go.th

86

R1_Energy#53_p85-86_Pro3.indd 86

3/27/13 11:55 AM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

การตลาดสีเขียว

ตอบโจทยผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสําหรับผูผลิตแลว คงอยากไดคําตอบวา “ทําแลวไดอะไร” กอนทีจ่ ะปรับเปลีย่ นกระบวนการผลิต หรือผันตัวเปนผูผ ลิตสินคา สีเขียว ซึ่งในปจจุบันกระแสสีเขียวหรือความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เปนการคํานึง ถึงสิง่ แวดลอมจากปญหาทีเ่ กิดขึน้ ไมวา จะเปนปญหามลพิษ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ซึง่ ขณะนี้ ไดแก ความแหงแลง การขาดแคลนนํา้ และไฟปา ทีไ่ ดรบั ผลกระทบโดยตรง หากมองยอนอดีตไป หนังสือเลมหนึง่ ชือ่ “Silent Spring” โดยนักเขียน ราเชล คารสนั (Rachel Carson) ในป 1962 เชือ่ มโยงการผลิตในภาคเกษตรกรรมทีใ่ ชสาร ฆาแมลงจํานวนมากมีผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและระบบนิเวศ สิง่ มีชวี ติ ตาง ๆ ในธรรมชาติ หายไป กลายเปนความเงียบเพราะสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ถูกทําลายหมดจากพิษของสารฆา แมลงสูส ตั วทอี่ าศัยอยูใ นพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมนัน้ การเปลีย่ นแปลงจึงเกิดขึน้ อยางมากมาย ในปจจุบนั เกิดกระแสการบริโภคทีไ่ มเบียดเบียนโลก ไมผลาญทรัพยากรธรรมชาติ และ มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดการใชทรัพยากร ลดของเสีย เกิดกรีนโปรดักส หรือ สินคาสีเขียวมากมาย ผูผ ลิตถูกกระแสสังคมผลักดันใหปรับเปลีย่ นการผลิตทีเ่ ปนมิตร ตอสิง่ แวดลอมมากขึน้ นักการตลาดเขามามีบทบาทมากขึน้ เพราะเชือ่ วาคนทัว่ ไปจะหัน มาสนใจสิง่ แวดลอมมากขึน้ เมือ่ พบวาตัวเองกําลังทํารายโลกอยู และสิง่ ทีผ่ บู ริโภคกลัว คือการที่ทรัพยากรบนโลกกําลังลดลงจนอาจไมเพียงพอตอการดํารงชีวิตของมนุษย การกลัวผลกระทบตอสุขภาพ อนาคตของชนรุน หลังทีจ่ ะเติบโตขึน้ มาและตองใชชวี ติ บนโลกนี้ กรีนมาเก็ตหรือการตลาดสีเขียว จึงไมใชแคการปลอยผานสินคาตาง ๆ เทานัน้ แตหมาย ถึงการตลาดสีเขียวทีจ่ ะมีการเติบโตอยางรวดเร็วจากปญหาตาง ๆ ขางตน มีลกู คาหัวใจสีเขียว เพิ่มมากขึ้น การเพิ่มยอดขายและสวนแบงตลาดสําหรับสินคาสีเขียวหรือผลิตภัณฑที่เปน มิตรตอสิง่ แวดลอมตองปรับเปลีย่ นกลยุทธมากขึน้ การใสใจสิง่ แวดลอมจะมองถึงการทดแทน ความยัง่ ยืนทีเ่ ปนนวัตกรรมของการเปลีย่ นแปลงทุกสิง่ ทุกอยาง การลดการใชวตั ถุดบิ พลังงาน มีความจําเปนตอธุรกิจในปจจุบัน การตลาดจะเปนตัวชวยขยายความดี ความเปนมิตรตอ สิง่ แวดลอมสําหรับผลิตภัณฑทเี่ ขามาในตลาด ในภาวะการคาเสรีการตลาดสีเขียวถือไดวา เปน โอกาสอันดีทจี่ ะไดรบั การสนับสนุนอยางมาก เชน อุตสาหกรรมยานยนตปรับตัวมาผลิตรถยนต อีโคคาร ยานยนตทปี่ ระหยัดนํา้ มัน หรือเครือ่ งปรับอากาศทีใ่ ชพลังงานไฟฟานอย เปนสัญญาน บงบอกการปรับเปลี่ยนการตลาดสีเขียวในภาวะการแขงขันที่เขมขนขึ้น บริษัทยักษใหญตาง พยายามขวนขวายกันหาซือ้ ตราสัญลักษณทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมหรือฉลากสีเขียวมากขึน้ เพือ่ รองรับการตลาดสีเขียวทีข่ ยายตัวมากขึน้ เชน บริษทั ปูนซิเมนตไทย เปดตัวสินคาในเครือ ั ฑทสี่ ามารถยอย โดยใชแบรนด Eco value บริษทั ผลิตนํา้ ดืม่ ใชฉลากแสดงขวดบรรจุภณ สลายไดและลดปริมาตรขวดในการกําจัด

87 87 87

Energy#53_p87-88_Pro3.indd 87

3/22/13 12:12 AM


เชื่อไดวาในอนาคต ตามหางสรรพสินคาจะเต็มไปดวย สินคาสีเขียว และองคกรภาครัฐหรือองคกรพัฒนาเอกชน NGO จะจับตาดูสินคาเหลานี้มากขึ้น ซึ่งสินคาที่แสดงตนเปนสินคาที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมตองแสดงความชัดเจนวาเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมอยางไร และควรแสดงวัฏจักรของสินคา สื่อตาง ๆ จะเริ่มใหความสนใจในการใหความรูเกี่ยวกับสินคาสีเขียวมาก ขึ้น การโฆษณาสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การสื่อสารใน รูปแบบตาง ๆ จะเพิม่ มากขึน้ ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั กลยุทธทางการตลาด ของสินคาสีเขียวทีจ่ ะนํามาใช อยางไรก็ตาม การรับรูข า วสารของ ผูบริโภคมีมากขึ้น ภาพและขอความสะทอนถึงความตองการ บริโภคสินคาทีม่ คี ณ ุ ภาพและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ภาครัฐเปน ตัวกลางทีจ่ ะชวยผลักดันกระแสการตลาดสีเขียว โดยมีหนวยงาน ตรวจสอบขอเท็จจริงทีจ่ ะบอกกับผูบ ริโภคมากขึน้ กิจกรรมสําคัญ ในหลายประเทศทีท่ าํ คือ การจัดซือ้ จัดจางสินคาและบริการทีเ่ ปน มิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น ซึ่งเปนที่ทราบดีวาภาครัฐก็เปนผู บริโภครายใหญรายหนึง่ ทีจ่ ะชวยสนับสนุนสินคาสีเขียว

ในสวนของนักธุรกิจเองมองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น การลงทุนเทคโนโลยีสเี ขียวจึงเปนสิง่ สําคัญ เชน การหาพลังงาน ทางเลือกทดแทนการใชนาํ้ มัน มีการวิจยั และพัฒนามากขึน้ การ เปดตัวสินคาใหม ๆ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ตอบโจทยตอ สุขภาพและผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางชัดเจน นี่เปนสวนหนึ่ง ของการตลาดที่เปนสีเขียวและจะเปนไปในทิศทางดังกลาวมาก ขึ้น นักวิจัยและนักวิทยาศาสตรมองปรากกฎการณนี้คือการ go green ของหลายประเทศ เปนโอกาสตอยอดการลงทุนวิจยั และพัฒนานวัตกรรมดานสิ่งแวดลอม เพิ่มรายไดใหกับบริษัท ผูผลิต เทคโนโลยีสีเขียวเปนโมเดลทางธุรกิจที่นักการตลาดถือ เปนโอกาสสําคัญ โดยการตลาดสีเขียวมองที่การสื่อสารความ ใสใจตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โดยตัวสินคาและผูบริโภคเขา ถึงขอมูลดังกลาวจากสื่อตาง ๆ การสรางคุณคาของสินคาและ คุณภาพการใชประโยชนของสินคาทีไ่ มเปลีย่ นแปลงแตคมุ คาและ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การสื่อสารของนักการตลาดจะนําไปสู การเขาถึงพฤติกรรม รูปแบบการใชชวี ติ และความคาดหวังของ ผูบริโภคที่นักการตลาดตองจับใจประชาชนในสวนนี้ พรอม กั บ ราคาสิ น ค า ที่ อ าจแพงขึ้ น แต ไ ด คุ ณ ภาพและเป น มิ ต รต อ สิง่ แวดลอมทีผ่ บู ริโภคยอมรับได เราคงตัง้ ความหวังวา การตลาดสีเขียว (Green Marketing) จะเลนบทบาทสําคัญในการพัฒนาสินคาสีเขียว การทดแทน ความตองการที่จะบริโภคสีเขียวของประชาชน และยังเปนการ ตอยอดสําหรับสินคาสีเขียวที่จะออกมาในตลาดอยางเหมาะสม ผูบริโภคเองตองรูเทาทันกระแสความตองการดังกลาว จึงอาจ ตองมีการทดสอบ ตรวจสอบความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมของ ผลิตภัณฑและสื่อโฆษณาอยางจริงจัง การสรางความนาเชื่อถือ จากการแสดงขอมูลสินคาอยางแทจริง สําหรับการตลาดสีเขียวจึงเปนกลยุทธทนี่ กั ธุรกิจ ผูผ ลิต ตองใหความสําคัญและพัฒนาอยางตอเนือ่ ง สือ่ สารใหประชาชน ผูบ ริโภคไดรบั รูร บั ทราบอยางทัว่ ถึง มีการขยายตลาดผลิตภัณฑ สีเขียวอยางตอเนื่อง อยางนอยก็เปนคําตอบสําหรับการผลิต ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมในปจจุบนั

เอกสารอางอิง

- รัฐ เรืองโชติวิทย สินคาสีเขียวกับการตลาด เอกสารประกอบการบรรยาย การคาและสิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตร ม.ราชภัฏสวนดุสิต กทม. 2553 - USEPA .” Eco label” USA 1998

88

Energy#53_p87-88_Pro3.indd 88

3/22/13 12:12 AM


Vehicle Concept Bar Beer

10 สถาบันอาชีวศึกษา ขานรับ

โครงการ ASEP

หนุนการเรียนการสอนและ ฝกอบรมชางเทคนิคยานยนตรุนใหม กระทรวงศึกษาธิการ รวมกับ เชฟโรเลต ลงนามบันทึกความรวมมือในการสนับสนุนดานเครื่อง มือ เทคโนโลยี การฝกอบรมสําหรับครูและนักเรียน เพือ่ ตอกยํา้ ความมุง มัน่ ในการยกระดับการศึกษา ในประเทศไทย ดวยการขยายโครงการศูนยการศึกษาเทคโนโลยียานยนต Automotive Service Educational Program (ASEP)

89

Energy#53_p89-90_Pro3.indd 89

3/21/13 11:44 PM


มร.มารตนิ แอพเฟล ประธานกรรมการ ประจําประเทศไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษัท เจนเนอรัล มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา ไดรวมมือกับกระทรวงศึกษาธิการเดินหนา ขยายโครงการศูนยการศึกษาเทคโนโลยียานยนต (ASEP) โดย ลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือกับ ดร.ชัยพฤกษ เสรีรักษ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และคุณครรชิต ไชยสุโพธิ์ ผูอํานวยการฝายนโยบายรัฐกิจ ประจําประเทศไทยและเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต บริษัท เจนเนอรัล มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด โดย จะทํางานอยางใกลชิดรวมกับวิทยาลัยอาชีวศึกษา 10 แหงทั่ว ประเทศ ตั้งแตจังหวัดอุบลราชธานีไปจนถึงจังหวัดสงขลา เรื่อง การเรียนการสอนและการฝกอบรมชางเทคนิคยานยนตรุนใหม ศูนยการศึกษาเทคโนโลยียานยนต (ASEP) จะผสม ผสานการฝกทักษะในหองเรียนตามมาตรฐานเขากับการสัมผัส ประสบการณทํางานที่ศูนยผูแทนจําหนาย พรอมเปดโอกาสให นักเรียนไดมโี อกาสเขาทํางานจริงในอนาคต ถือเปนตัวอยางทีด่ ใี น การทํางานรวมกันระหวางรัฐบาลและเอกชน เพือ่ สรางการเติบโต ของอุตสาหกรรมยานยนตและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศซึ่ง ทุกฝายลวนไดประโยชนจากโครงการนี้ ที่ผานมา เชฟโรเลต ประเทศไทย ไดใหการสนับสนุน ทุนมากกวา 61.5 ลานบาท ในโครงการฝกอบรมชางเทคนิค เนื่ อ งจากประเทศไทยกํ า ลั ง เติ บ โตอย า งต อ เนื่ อ ง และภาค อุตสาหกรรมมีความตองการชางเทคนิคทักษะสูงจํานวนมาก ในการทํางานดานบริการหลังการขายรักษาความพึงพอใจของลูกคา ในระดับสูงสุดเหมือนเชนทีผ่ า นมา

การเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมยานยนต ไ ทยได ก ลายมา เปนศูนยกลางของภูมิภาค จึงมีความตองการบุคลากรดานชาง เทคนิคยานยนตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งนักเรียนของวิทยาลัย อาชีวศึกษาทีอ่ ยูภ ายใตโครงการ ASEP จะมีขอ ไดเปรียบเพิม่ ขึน้ ทัง้ นีใ้ นป 2554 มีนกั เรียนในโครงการ ASEP จบการศึกษาจํานวน 524 คน ในขณะที่ป 2555 มีนักเรียนเขารวมโครงการนี้ 704 คน ทั้งนี้ นักเรียนในโครงการ ASEP ที่ผานการฝกอบรมจาก ศูนยบริการของเชฟโรเลต จะไดรับโอกาสในการประเมินผล Technician และ Master Technician ซึ่งสามารถพัฒนา ไปเปนผูจัดการฝายการบริการไดในอนาคต โดยในปจจุบันมี นักเรียนในโครงการ ASEP ราว 50 คนไดเขาฝกงานและทํางาน ประจําที่ศูนยผูแทนจําหนาย ซึ่งนักเรียนในโครงการ ASEP ที่ สําเร็จการศึกษาไปจะมีผเู ชีย่ วชาญดานการฝกอบรมทําการตรวจ สอบความกาวหนาของนักเรียนตลอดหลักสูตรอยางใกลชิด โดยทํางานรวมกับวิทยาลัยอาชีวศึกษาเพื่อปรับปรุงมาตรฐาน การเรียนการสอนใหดียิ่งขึ้น โครงการ ASEP มีวิทยาลัยที่รวมลงนามบันทึกขอตกลง ความรวมมือ ดังนี้ วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี, วิทยาลัย เทคนิคชลบุรี, วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี, วิทยาลัยเทคนิค พิษณุโลก, วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี, วิทยาลัยเทคนิคกาญจนา ภิเษกอุดรธานี, วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา, วิทยาลัยเทคนิค มหาสารคาม, วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ และวิทยาลัย เทคนิคหาดใหญ

90

Energy#53_p89-90_Pro3.indd 90

3/23/13 8:35 PM


Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001 wonlop.r@gmail.com

กฎกระทรวง

กําหนดคุณสมบัติของผูขอรับใบอนุญาต หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข

การขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๕

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคสอง และมาตรา ๔๘/๑ วรรคสองแหงพระราชบัญญัติ การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึง่ แกไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตกิ ารสงเสริมการ อนุรักษพลังงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําได โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ ๑ กฎกระทรวงนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอย แปดสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ ๒ ในกฎกระทรวงนี้ “ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน” หมายความ วา ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานใหเปนไปตามกฎ กระทรวงวาดวยการกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการ จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม “ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน “โรงงานควบคุ ม ” หมายความว า โรงงานที่ มี พ ระราช กฤษฎีกากําหนดใหเปนโรงงานควบคุม ตามมาตรา ๘ “อาคารควบคุ ม ” หมายความว า อาคารที่ มี พ ระราช กฤษฎีกากําหนดใหเปนอาคารควบคุม ตามมาตรา ๑๘ ขอ ๓ ผูข อรับใบอนุญาตตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ ตองหาม ดังตอไปนี้ (๑) ในกรณีที่เปนบุคคลธรรมดา (ก) มีสัญชาติไทย (ข) ไดรับอนุญาตใหเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมตามกฎหมายวาดวยวิศวกร ในสาขาที่กําหนดใหการ จัดการพลังงานเปนงานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขานั้น (ค) เปนผูสําเร็จการฝกอบรมดานการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานตามหลักเกณฑ และวิธีการที่อธิบดี ประกาศกําหนด (ง) มี ผู  ชํ า นาญการและผู  ช  ว ยผู  ชํ า นาญการตามที่ กําหนดไวในขอ ๔

(จ) ไมอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตหรือไมเคย ถูกเพิกถอนใบอนุญาตที่ออกตามกฎหมายวาดวยการสงเสริม การอนุรักษพลังงานในระยะเวลาสามปกอนวันขอรับใบอนุญาต หรือไมเปนผูเคยตองโทษโดยคําพิพากษาถึงที่สุดในความผิด ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน เวนแต พนโทษมาแลวไมนอยกวาสามปกอนวันขอรับใบอนุญาต (๒) ในกรณีที่เปนนิติบุคคล (ก) ตองจดทะเบียนนิติบุคคลตามกฎหมายไทย และ มีวัตถุประสงคเพื่อประกอบธุรกิจ หรือใหบริการเกี่ยวกับการ อนุรกั ษพลังงาน หรือการแกไขปญหาสิง่ แวดลอมจากการใชและ การผลิตพลังงาน (ข) ไดรับอนุญาตใหเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมตามกฎหมายวาดวยวิศวกรและมีคุณสมบัติและไมมี ลักษณะตองหามตาม (๑)) (ง) และ (จ) (ค) กรรมการหรื อ ผู  จั ด การของนิ ติ บุ ค คล หรื อ บุ ค คลใดซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบในการ ดํ า เนิ น งานของนิ ติ บุ ค คลอย า ง น อ ยหนึ่ ง คน ต อ งมี คุ ณ สมบั ติ ตาม (๑) (ก) (ข) และ (ค) (ง) กรรมการหรื อ ผูจัดการของนิติบุคคล หรือ บุ ค คลใดซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบใน การดําเนินงานของนิตบิ คุ คล ต อ งไม มี ลั ก ษณะต อ งห า ม ตาม (๑) (จ) 91

Energy#53_p91-93_Pro3.indd 91

3/19/13 11:13 PM


ขอ ๔ ผูขอรับใบอนุญาตตองมีผูชํานาญการและผูชวย ผูชํานาญการซึ่งมีจํานวน หนาที่ และคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (๑) ผูชํานาญการอยางนอยหนึ่งคน ทําหนาที่เปนผูตรวจ สอบและรับรองการจัดการพลังงาน และจัดทํารายงานผลการ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน โดยผูชํานาญการ แตละคนสามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานใหกบั โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมไดไมเกินสามสิบแหงในแตละ รอบของการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ตามกฎ กระทรวงวาดวยการกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการ จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ทั้งนี้ ผู ชํานาญการตองมีคณ ุ สมบัตแิ ละไมมลี กั ษณะตองหามตามขอ ๓ (๑) (ก) (ข) (ค) และ (จ) (๒) ผูชวยผูชํานาญการอยางนอยสองคน ทําหนาที่ชวย ผูชํานาญการในการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน และชวยผูช าํ นาญการจัดทํารายงานผลการตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงานโดยผูชวยผูชํานาญการแตละคนสามารถ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานใหกับโรงงานควบคุม หรืออาคารควบคุมไดไมเกินสามสิบแหงในแตละรอบของการ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวง วาดวยการกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการจัดการ พลังงานในโรงงานควบคุม และอาคารควบคุม ทั้งนี้ ผูชวยผู ชํานาญการตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามขอ ๓ (๑) (ก) (ค) และ (จ)

ขอ ๕ ผูชํานาญการและผูชวยผูชํานาญการตองไมเปน ผูชํานาญการหรือผูชวยผูชํานาญการใหกับผูรับใบอนุญาตราย อื่นในเวลาเดียวกัน และตองไมเปนบุคลากรประจําของโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุมที่เขาไปดําเนินการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน ขอ ๖ การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานใน โรงงานควบคุมและอาคารควบคุมแตละแหงตองดําเนินการโดย ผูชํานาญการอยางนอยหนึ่งคนและผูชวยผูชํานาญการอยาง นอยสองคน ขอ ๗ ใหผูขอรับใบอนุญาตยื่นคําขอรับใบอนุญาตตอ อธิบดี พรอมดวยเอกสารและหลักฐานตามทีร่ ะบุไวในแบบคําขอ รับใบอนุญาต ขอ ๘ เมือ่ อธิบดีไดรบั คําขอรับใบอนุญาตแลว ใหตรวจสอบ คําขอรับใบอนุญาต เอกสารและหลักฐานวามีความถูกตองครบ ถวนหรือไม ในกรณีทคี่ าํ ขอรับใบอนุญาต เอกสาร หรือหลักฐาน ไมถูกตองครบถวน ใหอธิบดีแจงใหผูขอรับใบอนุญาตแกไขเพิ่ม เติมคําขอรับใบอนุญาตหรือจัดสงเอกสารหรือหลักฐานใหถูก ตองครบถวนภายในระยะเวลาที่อธิบดีกําหนด ในกรณีที่ผูขอรับใบอนุญาตไมแกไขเพิ่มเติมคําขอรับใบ อนุญาตหรือไมจัดสงเอกสารหรือหลักฐานใหถูกตองครบถวน ภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาผูขอรับใบอนุญาตทิ้ง คําขอรับใบอนุญาต และใหอธิบดีจําหนายเรื่องออกจากสารบบ แลวแจงเปนหนังสือใหผูขอรับใบอนุญาตทราบ

92

Energy#53_p91-93_Pro3.indd 92

3/19/13 11:13 PM


ข อ ๙ ในกรณี ที่ อ ธิ บ ดี ต รวจสอบคํ า ขอรั บ ใบอนุ ญ าต เอกสาร และหลักฐานแลวเห็นวามีความถูกตองครบถวน อธิบดี จะมีคําสั่งออกใบอนุญาตใหแกผูขอรับใบอนุญาตไดเมื่อปรากฏ วาผูขอรับใบอนุญาตมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตาม ที่กําหนดไวในขอ ๓ อธิบดีตองแจงผลการพิจารณาเปนหนังสือใหผูขอรับใบ อนุญาตทราบภายในเกาสิบวันนับแตวนั ทีอ่ ธิบดีไดรบั คําขอรับใบ อนุญาต เอกสาร และหลักฐานที่มีความถูกตองครบถวน ในกรณี ที่ อ ธิ บ ดี มี คํ า สั่ ง ออกใบอนุ ญ าต ให ผู  ข อรั บ ใบ อนุญาตมารับใบอนุญาตภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจง คําสั่งออกใบอนุญาต หากไมมารับใบอนุญาตภายในกําหนด เวลาดังกลาว ใหถือวาผูขอรับใบอนุญาตสละสิทธิการเปนผูรับ ใบอนุญาต และใหอธิบดีจําหนายเรื่องออกจากสารบบ แลวแจง เปนหนังสือใหผูขอรับใบอนุญาตทราบ ในกรณีที่อธิบดีมีคําสั่งไมออกใบอนุญาต ใหแจงสิทธิและ ระยะเวลาอุทธรณ ไวในหนังสือแจงผลการพิจารณาใหผูขอรับ ใบอนุญาตทราบดวย ขอ ๑๐ ในการออกใบอนุญาต อธิบดีอาจกําหนดเงื่อนไข ให ใบอนุญาตต องปฏิบัติดวยก็ได ใหผูผูรับบใบอนุ าตตองปฏบตดวยกได ขอ ๑๑ ในกรณีทผี่ รู บั ใบอนุญาต ประสงคจะเปลี่ยนแปลงผูชํานาญการ หรือผูชวยผูชํานาญการหรือประสงค จะจัดใหมผี ชู าํ นาญการหรือผูช ว ยผูช าํ นาญ การเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากที่ไดรับอนุญาต ใหยื่นคําขออนุญาตเปลี่ยนแปลงหรือแกไข จํานวนผูชํานาญการหรือผูชวยผูชํานาญ การตออธิบดี พรอมดวยเอกสารและหลัก ฐานตามที่ ร ะบุ ไ ว ใ นแบบคํ า ขออนุ ญ าต เปลี่ ย นแปลงหรื อ แก ไ ขจํ า นวนผู  ชํ า นาญ การหรือผูชวยผูชํานาญการ ในการพิ จ ารณาคํ า ขออนุ ญ าต เปลี่ ย นแปลงหรื อ แก ไ ขจํ า นวนผู  ชํ า นาญ การหรือผูชวยผูชํานาญการให นําความในขอ ๘ และขอ ๙ มาใช บังคับโดยอนุโลม

เปนหนังสือใหอธิบดีทราบลวงหนาไมนอยกวาเจ็ดวันกอนการ เลิกดําเนินการ พรอมสงใบอนุญาตคืนใหแกอธิบดีเพื่อประทับ ตรายกเลิกใบอนุญาตตอไป ขอ ๑๓ ในกรณีทใี่ บอนุญาตสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด ในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาต ตออธิบดี พรอมดวยเอกสารและหลักฐานตามที่ระบุไวในแบบ คําขอรับใบแทนใบอนุญาตใบแทน ใบอนุญาตใหใชแบบใบอนุญาต โดยระบุคาํ วา “ใบแทน” ไว ที่ดานบนของใบอนุญาต ขอ ๑๔ คําขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาต คําขออนุญาต เปลี่ยนแปลงหรือแกไขจํานวนผูชํานาญการหรือผูชวยผูชํานาญ การ และคําขอรับใบแทนใบอนุญาต ใหเปนไปตามแบบที่อธิบดี ประกาศกําหนด หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๔๗ (๓) แหงพระราชบัญญัติการสงเสริม การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่ ง แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย พระราชบัญญัตกิ ารสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดบัญญัติใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน และมาตรา ๔๘/๑ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ไดบัญญัติใหใน กรณีที่จะตองมีการตรวจสอบและรับรองการ จัดการพลังงานตามมาตรา ๔๗ (๓) อธิบดีกรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงานอาจ อนุ ญาตให บุคคลหรือนิ ติ บุคคลเป นผูดําเนิน การแทนพนักงานเจาหนาที่ได โดยการกําหนด คุณสมบัติ การขอรับใบอนุญาตและการอนุญาต ดังกลาว ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง จึงจําเปนตอง ออกกฎกระทรวงนี้

ข อ ๑๒ ในกรณีที่ผูรั บใบ อนุญาตประสงคจะเลิกดําเนินการ ตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลั ง งานใหผู  รั บ ใบอนุ ญ าตแจง

93

Energy#53_p91-93_Pro3.indd 93

3/19/13 11:13 PM


Vehicle Concept กองบรรณาธิการ

อากาศยาน…ประหยัดพลังงาน

ยอดเติบโตพุง สูงในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟก กระแสประหยัดพลังงานถือเปนกระแสที่มีการเติบโตอยางตอเนื่อง สวนหนึ่งเปนเพราะมนุษยเริ่ม ตระหนักวาพลังงานที่เราเผาผลาญอยูทุกวันนั้นกําลังจะหมดไป โดยเฉพาะภาคการขนสงที่มีการใช พลังงานครั้งละมากๆ อยางเครื่องบินโดยสารหรืออากาศยาน ซึ่งปจจุบันมีความตองการเครื่องบิน โดยสารเชิงพาณิชยรนุ ใหมเกือบ 10,000 ลํา รวมไปถึงเครือ่ งบินขนาดใหญอกี 3,800 ลํา ทัง้ นี้ แอรบสั ยักษ ใหญดานการผลิตเครื่องบินระดับโลกไดพยากรณการตลาดประจําภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกวา จะมีแนวโนมความตองการเครื่องบินขนาดใหญที่สามารถบรรจุผู โดยสารไดครั้งละมากๆ เพื่อชวย ประหยัดพลังงานไดมากขึ้น สายการบินในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก จะทําการรับมอบ เครื่องบินโดยสารเชิงพาณิชยและเครื่องบินขนสงสินคาใหม ประมาณ 9,870 ลํา มูลคา 1.6 ลานลานดอลลารสหรัฐ คิดเปน รอยละ 35 ของจํานวนเครื่องบินใหมที่มีการสงมอบทั่วโลกในอีก 20 ปขางหนา ซึ่งเปนตัวเลขที่มากกวายุโรปและอเมริกาเหนือ หากมองในแงมูลคา สายการบินใหมของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก จะมีสว นแบงทางการตลาดเฉลีย่ รอยละ 40 ของตลาดการบินโลก สะทอนใหเห็นอัตราความตองการเครื่องบินที่พุงสูงขึ้นอยางตอ เนื่องของสายการบินในภูมิภาคนี้ 94

Energy#53_p94-95_Pro3.indd 94

3/21/13 11:50 PM


ตลาดเครื่องบินโดยสารเชิงพาณิชย มีการคาดการณวา เครื่องบินที่ใหบริการอยูในสายการบินตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก จะเพิ่มจํานวนขึ้น 2 เทาภายใน 20 ปขางหนา จาก 4,300 ลํา ในปจจุบันเปน 10,440 ลําในอนาคต โดยอิงจากอัตราการ เติบโตดานการจราจรทางอากาศประจําป ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นกวาคา เฉลี่ยมาตรฐานถึงรอยละ 5.8 และการซื้อเครื่องบินใหมจํานวน เกือบ 3,500 ลํา เพื่อทดแทนเครื่องบินรุนเกาที่ใหบริการอยูใน ปจจุบนั ทีร่ องรับผูโ ดยสารไดไมมากพอ ทําใหสนิ้ เปลืองเชือ้ เพลิง ในการเพิ่มเที่ยวบินเพื่อรองรับผูโดยสาร การเพิม่ ขึน้ ของชุมชนเมืองในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟก ทําให การจราจรทางอากาศมุงเนนไปที่อัตราการขยายตัวของบรรดา เมืองหลักประจําภูมภิ าค จนนําไปสูอ ตั ราความตองการเครือ่ งบิน โดยสารเชิงพาณิชยที่มีขนาดใหญขึ้น มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อตอบสนองตอความตองการและขจัดขอจํากัดของสนามบิน โดยสายการบินในภูมภิ าคจะมีความตองการเครือ่ งบินลําตัวกวาง กวา 3,840 ลํา ซึ่งคิดเปนรอยละ 44 ของปริมาณความตองการ เครื่องบินขนาดใหญทั่วโลก

ความตองการเครื่องบินลําตัวกวางดังกลาว รวมไปถึง เครื่องบินทางเดินคู อาทิ A330 และ A350 XWB จํานวน 3,080 ลํา และเครื่องบินรุนใหญพิเศษที่สามารถบรรทุกไดมากกวา 400 ที่นั่ง อาทิ A380 อีกประมาณ 760 ลํา เพื่อใชในเสนทางบิน ที่มีความหนาแนนของผูโดยสารมาก ประหยัดพลังงานมากขึ้น โดยในตลาดเครื่องบินรุนใหญ สายการบินแหงภูมิภาคเอเชียแปซิฟกจะมีความตองการเครื่องบินขนาดใหญอยาง A380 มากที่สุด คิดเปนรอยละ 45 ของจํานวนเครื่องบินขนาดใหญที่ จะทําการสงมอบในอนาคต

ดานการขนสงสินคาทางอากาศ ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกก็ ครองตลาดโลกอีกเชนกัน ลาสุดเครื่องบินขนสงซึ่งใหบริการกับ สายการบินในภูมภิ าคจะมีจาํ นวนเพิม่ ขึน้ จาก 316 ลํา เปน 887 ลํา คิดเปนรอยละ 30 ของฝูงเครื่องบินขนสงทั่วโลก แมวาเครื่องบิน ขนสงสินคาสวนใหญจะไดรับการดัดแปลงมาจากเครื่องบิน โดยสาร แตคาดการณวาจะมีความตองการเครื่องบินขนสงใหม ประมาณ 251 ลําในอีก 20 ปขางหนา โดยรอยละ 30 ของเครื่อง บินขนสงจะเปนเครื่องบินลําตัวกวางที่มีพิกัดบรรทุกระหวาง 45 -70 ตัน ชวยลดเที่ยวของการขนสงและพลังงานไดเปน จํานวนมาก ภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟก เปนตลาดหลักทีส่ าํ คัญอยางมาก และจะมีผลเกี่ยวเนื่องตอตลาดการบินทั่วโลกในอีก 20 ปขาง หนา จากการเติบโตทางดานเศรษฐกิจ การขยายตัวของเมือง และรายไดที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหผูคนเดินทางมากขึ้น สงผลใหเกิด ความตองการเครื่องบินขนาดใหญและมีประสิทธิภาพมารอง รับการเติบโต ถือเปนการเพิ่มทางเลือกในการลดเที่ยวบินและ ลดการใชเชื้อเพลิงตอเที่ยวไดมากขึ้นในอนาคต 95

Energy#53_p94-95_Pro3.indd 95

3/21/13 11:50 PM


Saving Corner โดย คุณทนงศักดิ์ วัฒนา

รูปที่ 1 โรงงานไฟฟา Gemasolar กําลังการผลิต 19.9 MW ในประเทศสเปน ( ที่มาhttp://www.dailymail.co.uk )

เทคโนโลยี ก ารกั ก เก็ บ ความร อ น และ วัสดุกกั เก็บความรอน (Thermal Energy Storage) ตอนที่ 1 เมื่อเร็ว ๆ นี้ บริษัท Torrerol Energy ซึ่งเปนบริษัทที่ประสบผลสําเร็จในการสรางโรงงานผลิต ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่สามารถผลิตไฟฟาตลอด 24 ชั่วโมง โดยใชเทคโนโลยีหอคอยรวมแสง โรงงานไฟฟาแหงนี้ มีชื่อวา “Gemasolar” กําลังการผลิต 19.9 MW ตั้งอยูทางตอนใตของประเทศ สเปน นับเปนความกาวหนาอีกขั้นหนึ่งของการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย โดยปกติการใช พลังงานแสงอาทิตยเพื่อผลิตไฟฟาจะมีขอดอย คือ การผลิตไฟฟาจะผลิตไดเฉพาะตอนกลางวัน ที่มีแสงแดดเทานั้น การที่โรงไฟฟาดังกลาวสามารถผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมงนั้น ไดมีการใช เทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานความรอน (Solar Thermal Storage) จากแสงอาทิตย ไวในวัสดุเก็บ ความรอน (Thermal Storage Material) โดยโรงไฟฟาแหงนี้ใชสารละลายเกลือ เปนวัสดุเก็บความ รอน สามารถเก็บอุณหภูมิไดสูงถึง 500 Co ซึ่งพลังงานความรอนนี้สามารถนําออกมาใชในชวงที่ไมมี แสงแดดไดนานถึง 15 ชัว่ โมง โดยการถายเทความรอนใหสารละลายทํางาน เพือ่ นําไปหมุนกังหันไอนํา้ ในการผลิตไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมง จากความสํ า เร็ จ ดั ง กล า ว นั บ ว า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย จะเป น ทางเลื อ กของพลั ง งานทดแทนที่ น  า สนใจในอนาคต อันใกล เพราะวาพลังงานแสงอาทิตยเปนแหลงพลังงานทดแทน ที่ใหญ มีศักยภาพสูง และไมมีวันหมดไปจากโลก โดยเฉพาะใน ประเทศไทย มีคาเฉลี่ยความเขมรังสีแสงอาทิตยทั่วประเทศอยูที่

ประมาณ 18.2 MJ/m2 –day หรือถากลาวเปนเปอรเซ็นตของ พื้นที่พบวา 14.3% ของพื้นที่ทั้งประเทศมีความเขมของรังสีแสง อาทิตยอยูที่ 19-20 MJ/m2-day และ 50.2% ของพื้นที่ทั้ง ประเทศมีความเขมของรังสีแสงอาทิตยอยูท ี่ 18-19 MJ/m2-day จะเห็ น ได ว  า พื้ น ที่ ส  ว นใหญ ข องประเทศมี ศั ก ยภาพพลั ง งาน

96

Energy#53_p96-97_Pro3.indd 96

3/22/13 12:51 AM


แสงอาทิตยคอนขางสูง แตพลังงานแสงอาทิตยกลับไมไดถูก นํามาใชใหเกิดประโยชนอยางเต็มประสิทธิภาพ เนือ่ งจากมีขอ เสีย คือใชงานไดเฉพาะตอนกลางวันทีม่ แี สงแดดเทานัน้ และยังมีความ ไมคงทีข่ องความเขมแสง ดังนัน้ เทคโนโลยีการนําความรอนจาก แสงอาทิตยมาใช จึงไมคอ ยไดรบั ความนิยมมากนัก แตจากสภาพ ปญหาดังกลาว เราสามารถแกไขไดเชนเดียวกับโรงผลิตไฟฟา พลังงานแสงอาทิตย ของ บริษัท Torrerol Energy โดยการ พัฒนาเทคโนโลยีการสะสมความรอน หรือกักเก็บความรอนไว ในวัสดุกกั เก็บความรอน และคอย ๆ ถายเทพลังงานความรอนที่ สะสมไวออกมาใชในยามทีไ่ มมแี สงแดดหรือจายพลังงานความรอน ในยามทีค่ วามเขมแสงไมคงที่ นับเปนเรือ่ งทีน่ า สนใจและนาไดรบั การพัฒนาอยางยิ่งยวด เพื่อตอบโจทยอีกมากมายในการใช ประโยชนจากพลังงานความรอนของแสงอาทิตย และยังเปนการ ลดการใชพลังงานจากฟอสซิล นัน่ หมายถึง ยังชวยลดภาวะโลก รอนไดอกี ทางหนึง่ ดวย

พลั ง งานและการสะสมพลั ง งาน (Energy Storage Methods)

ในปจจุบันพลังงานเปนสิ่งสําคัญตอการดํารงชีวิตของ มนุษย มนุษยมีการใชพลังงานตลอดเวลา โดยเฉพาะพลังงาน จากไฟฟา ซึง่ การผลิตไฟฟาของไทยตองอาศัยเชือ้ เพลิงฟอสซิล เปนสวนใหญ หรือ ประมาณ 70% นับวาสูงมาก นอกจากพลังงาน ไฟฟาแลว มนุษยยังใชพลังงานในรูปแบบอื่น ๆ ตลอดเวลา เชนกัน เชน พลังงานกล พลังงานความรอน และพลังงานเคมี การใชพลังงานของมนุษย ในรูปแบบตาง ๆ ที่กลาวมา เพื่อ ตอบสนองความตองการของมนุษยและนับวันจะเพิ่มขึ้นตลอด เวลา ปจจุบันการผลิตและการใชพลังงานของมนุษยยังขาด ประสิทธิภาพ หรืออาจยังไมเกิดความคุมคาสูงสุด เชน การผลิต ไฟฟา กับความตองการใชไฟฟา ยังมีความไมเหมาะสมในบาง ชวงเวลา อยางเชน ชวง Peak การผลิตไฟฟายังไมเพียงพอ หรือ ชวง Off-Peak มีการผลิตมากเกินไป จากปญหาดังกลาว ถาเราสามารถเก็บสะสมพลังงานสวนเกินในชวงใชนอย มาใชใน ชวงที่มีความตองการสูงได จะทําใหการใชพลังงานของเราจะมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นการศึกษาเรื่องการสะสมพลังงานใน รูปแบบของพลังงานชนิดตาง ๆ จึงมีความสําคัญ เพื่อใหการใช พลังงานของเรามีประสิทธิภาพ หรือเพียงพอกับความตองการ ในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการเก็บสะสมพลังงานที่เกิดจาก แหลงพลังงานทดแทนนับวามีความสําคัญอยางยิ่งยวดในการ ใชพลังงานทดแทนใหเกิดประโยชนสูงสุด การสะสมพลังงานกล (Mechanical Energy Storage) พลังงานกล เปนรูปแบบของพลังงานทีเ่ กีย่ วของกับการเคลือ่ นที่ หรือกําลังจะเคลื่อนที่ โดยพลังงานที่มีอยูในวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ เราเรียกวา “พลังงานจลน” และที่อยูวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ เรา เรียกวา “พลังงานศักย” ถาวัตถุอยูบนที่สูงพลังงานศักยชนิดนี้ เราเรียกวา “พลังงานศักยโนมถวง” นอกจากนั้น พลังงานกล อาจสะสมอยูในกําลังของไหลก็ได อยางเชน พลังงานจากลมอัด (Compressed air energy Storage:CAES) โดยพลังงานลม อัดจะถูกเปลี่ยนเปนพลังงานกลได โดยผานอุปกรณที่เรียกวา Actuator เชน มอเตอรลม กระบอกลม เปนตน

ก) มอเตอรลม

ข) กระบอกลม

รูปที่ 2 แสดงอุปกรณที่เปลี่ยนพลังงานลมเปนพลังงานกล การสะสมพลังงานไฟฟา (Electrical Storage) โดยทัว่ ไป พลังงานไฟฟาจะถูกสะสมอยูในแบตเตอรี่ซึ่งจะสะสมในรูปของ เคมีแบตเตอรี่ สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ (Primary Battery) เปนแบตเตอรี่เมื่อใชงานไฟจนหมดแลว ไมสามารถชารจใหมได เชน ถานไฟฉาย และแบตเตอรี่ทุติยภูมิ (Secondary Battery) เปนแบตเตอรี่ที่ใชงานไฟหมดแลว สามารถนําไปประจุไฟเพิ่มเติมได และสามารถนํากลับมาใช งานใหมได โดยไฟฟาที่จายออกจากแบตเตอรี่เกิดจากการทํา ปฏิกิริยาทางเคมี ที่นิยมใชกันมาก คือ แผนตะกั่ว (ขั้วลบ) กับ แผนตะกัว่ ไดออกไซด (ขัว้ บวก) โดยใชสารละลายกํามะถันเจือจาง เปนสารละลายไฟฟา การสะสมเคมีความรอน (Thermochemical energy storage) เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงพลังงานความรอน เมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เชน การเผาไหม (Combustion) ซึ่งเปนปฏิกิริยาระหวางสาร กับ ออกซิเจน (O2) ซึ่งเปนปฏิกิริยา คายความรอน อยางเชน สารตัง้ ตนเปนสารไฮโดรคารบอนจะเกิด ปฏิกิริยา ดังสมการ CH4(g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(l) ∆Ho = - 890 kJ การสะสมความร อน (Thermal Energy Storage) เปนกระบวนการในการเก็บรักษาพลังงานความรอนในวัสดุทสี่ ามารถ เก็บสะสมพลังงานความรอนได เมื่อตองการใชพลังงานความ รอนก็อาศัยตัวกลางในการแลกเปลี่ยนความรอน ดึงความรอน ออกจากวัสดุเก็บความรอน ถาจะกลาวไปแลว กระบวนการ เก็บสะสมความรอนเปนเรื่องที่มีความสําคัญอยางมากในงาน วิศวกรรม โดยปกติความรอนที่ผลิตไดจะมีการใชไป และบาง สวนจะเกิดการสูญเสีย หรือถูกปลอยทิ้งไป ทั้ง ๆ ที่ความรอน ดังกลาวยังมีศักยภาพในการใชงานในบางกระบวนการได หรือ แมแตการใชประโยชนจากพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย ซึง่ เปนขอดอยของพลังงานแสงอาทิตย คือใชประโยชนไดเฉพาะเมือ่ มีแสงอาทิตยเทานั้น ทางออกของการใชพลังงานความรอนจาก แสงอาทิตย คือ การพัฒนาระบบสะสมพลังงานความรอนใหมี ประสิทธิภาพและใชไดตอเนื่องตลอดทั้งวัน ติดตามตอนตอไปในฉบับหนา… 97

Energy#53_p96-97_Pro3.indd 97

3/22/13 12:51 AM


Energy Clinic

ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

การประยุกตใชงานระบบผลิตพลังงานไฟฟา

จากเซลลแสงอาทิตย

Q : สวัสดีครับอาจารย ชวงนีโ้ รงงานผมไฟฟากระพริบและดับบอยมากเลยครับ สืบเนือ่ งจากประเทศ พมาแจงหยุดสงกาซธรรมชาติ ระหวางวันที่ 5-12 เมษายน นี้ เพือ่ ซอมบํารุงแทนขุดเจาะกาซธรรมชาติ ยาดานา ทําใหหลายฝายเริม่ วิตกวาไฟฟาในประเทศไทยจะดับทัง้ ประเทศจริงหรือเปลาครับ แลวเรามีแผน ผลิตพลังงานทดแทนมาใชในเหตุการณดงั กลาวไดอยางไร และอยากถามอาจารยวา ปจจุบนั การขยายตัว ของระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยเปนอยางไรบางครับ

A : พลังงานจากแสงอาทิตยเปนพลังงานไดเปลาทีม่ กี ารใช งานมานานแลว โดยทัว่ ไปสามารถแบงการใชงานออกเปน 2 ประเภท คือ แบบการนํามาใชเปนความรอน และแบบการนํามาผลิตไฟฟา การนํามาใชเปนความรอนนัน้ มีการใชอยางแพรพลายในหลาย ๆ รูปแบบ เชน การอบแหง การทํานํา้ รอน รวมถึงการทําความเย็น สวนการนําแสงอาทิตยมาผลิตไฟฟานัน้ สวนใหญมกั ใชอปุ กรณที่ เรียกวา “โซลาร เซลล”

เซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) เปนสิง่ ประดิษฐทสี่ รางขึน้ เพือ่ เปนอุปกรณสาํ หรับเปลีย่ นรูปพลังงาน โดยเปลีย่ นพลังงาน แสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟา ผานการนําของสารกึง่ ตัวนํา เชน ซิลคิ อน โดยนําสารดังกลาวมาผานกระบวนการทางวิทยาศาสตร เพือ่ ผลิตใหเปนแผนบางบริสทุ ธิ์ และเมือ่ มีแสงตกกระทบบนแผน เซลลดงั กลาว รังสีของแสงทีม่ อี นุภาคของพลังงานประกอบทีเ่ รียกวา โปรตอน (Proton) จะถายเทพลังงานใหกบั อิเล็กตรอน (Electron) ในสารกึง่ ตัวนําจนมีพลังงานมากพอทีจ่ ะขามพนจากแรงดึงดูดของ อะตอม (atom) และเคลือ่ นทีไ่ ดอยางอิสระ ดั ง นั้ น เมื่ อ อิ เ ล็ ก ตรอนเคลื่ อ นที่ ค รบวงจรจะทํ า ให เ กิ ด ไฟฟากระแสตรงขึน้ เมือ่ พิจารณาลักษณะการผลิตไฟฟาจากเซลล แสงอาทิตยพบวา เซลลแสงอาทิตยจะมีประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา สูงทีส่ ดุ ในชวงเวลากลางวัน ซึง่ สอดคลองและเหมาะสมในการนําเซลล แสงอาทิตยมาใชผลิตไฟฟา เพือ่ แกไขปญหาการขาดแคลนพลังงาน ไฟฟาในชวงเวลากลางวัน ซึง่ ก็ไปสอดคลองกับสถานการณปจ จุบนั กรณีทพ ี่ มาแจงกําหนดหยุดสงกาซธรรมชาติเพือ่ ซอมบํารุงรักษา ระบบสงกาซธรรมชาติทหี่ ลุมผลิตยาดานา ซึง่ สงผลกระทบโดยตรง ตอระบบการผลิตไฟฟาของประเทศไทย ทําใหปริมาณไฟฟาหายจาก ระบบ 4,100 เมกะวัตต อาจสงผลใหเกิดปญหาไฟดับเปนบางชวง ดังนัน้ ระบบโซลารเซลลจงึ เหมาะสมจะเปนระบบสํารองพลังงานของ แตละครัวเรือน เพือ่ ใชในการดําารงชพตอไป รงชีพตอไป

Q : อาจารยครับแลวเซลลแสงอาทิตยทนี่ ยิ มใชกนั อยูใ นปจจุบนั มีกชี่ นิดครับ A : เซลลแสงอาทิตยทนี่ ยิ มใชกนั อยูใ นปจจุบนั แบงออกเปน 2 กลุม ใหญ ๆ คือ 1. กลุม ทีท่ าํ จากสารกึง่ ตัวนําประเภทซิลคิ อน จะแบงตามลักษณะของผลึกทีเ่ กิดขึน้ คือ แบบทีเ่ ปนรูปผลึก (Crystal) และแบบทีไ่ มเปนรูปผลึก (Amorphous) ซึง่ แบบทีเ่ ปนรูปผลึก จะแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ชนิดผลึกเดีย่ วซิลคิ อน (Single Crystalline Silicon Solar Cell) และ ชนิดผลึกรวมซิลคิ อน (Poly Crystalline Silicon Solar Cell) สวนแบบทีไ่ มเปนรูปผลึก คือ ชนิดฟลม บาง อะมอรฟส ซิลคิ อน ( Amorphous Silicon Solar Cell) 2. กลุมที่ทําจากสารประกอบที่ไมใชซิลิคอน ซึ่งในประเภทนี้ จะเปนเซลลแสงอาทิตยที่มีประสิทธิภาพสูงถึง 25% ขึ้นไป มีราคาสูงมาก ไมนิยมนํามาใชบนพื้นโลก สวนใหญจะใชงานสําหรับดาวเทียมและระบบรวมแสงเปนหลัก แตการพัฒนากระบวนการ ผลิตสมัยใหมจะทําใหมีราคาถูกลง และนํามาใชมากขึ้นในอนาคต (ปจจุบันนํามาใชเพียง 7 % ของปริมาณที่มีใชทั้งหมด ) 98

Energy#53_p98-100_Pro3.indd 98

3/22/13 12:07 AM


สวนประกอบของเซลลแสงอาทิตย แรงเคลือ่ นไฟฟาทีผ่ ลิตขึน้ จากเซลลแสงอาทิตยเพียงเซลลเดียวจะมีคา ตํา่ มาก การนํามาใชงานจะตองนําเซลลหลาย ๆ เซลล มาตอกันแบบอนุกรมเพือ่ เพิม่ คาแรงเคลือ่ นไฟฟาใหสงู ขึน้ เซลลทนี่ าํ มาตอกันในจํานวนและขนาดทีเ่ หมาะสม เรียกวา “แผงเซลลแสงอาทิตย” (Solar Module หรือ Solar Panel) การทําเซลลแสงอาทิตยใหเปนแผงก็เพือ่ ความสะดวกในการนําไปใชงาน ดานหนาของแผงเซลล ประกอบดวย แผนกระจกทีม่ สี ว นผสมของเหล็กตํา่ ซึง่ มี คุณสมบัตใิ นการยอมใหแสงผานไดดี และยังเปนเกราะปองกันแผนเซลลอกี ดวย แผงเซลลจะตองมีการปองกันความชืน้ ทีด่ มี าก เพราะจะตองอยูก ลางแดดกลางฝน เปนเวลายาวนาน ในการประกอบจะตองใชวสั ดุทมี่ คี วามคงทนและปองกันความชืน้ ไดดี เชน ซิลโิ คน และอีวเี อ (Ethereal Vinyl Acetate) เปนตน เพือ่ เปนการปองกัน แผนกระจกดานบนของแผงเซลล จึงตองมีการทํากรอบดวยวัสดุทมี่ คี วามแข็งแรง Q : อาจารยครับแลวการประยุกตใชงานแผงเซลลแสงอาทิตยทาํ อยางไรครับ A : การประยุกตใชงานแผงเซลลแสงอาทิตย สามารถแบงการใชงานไดสองแบบหลัก ๆ ไดแก ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบ อิสระ (Off Grid System) และระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยชนิดตอเชือ่ มระบบสายสง (On Grid System) ซึง่ มีตงั้ แตระบบขนาดเล็ก สําหรับบานเรือน จนถึงระบบผลิตพลังงานไฟฟาขนาดใหญ โดยสามารถติดตัง้ ไดทงั้ ในระดับพืน้ ดินหรือบนหลังคา หรือใชเปนสวนประกอบ ของอาคารทีเ่ รียกวา Building Integrated PV (BIPV) ก็ได

ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย แบบอิสระ (Stand Alone Solar Systems) ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย แบบอิสระ เหมาะสําหรับพืน้ ทีท่ อี่ ยูห า งไกล ซึง่ อยูน อกระบบสายสงของการไฟฟา โดย แผงเซลลแสงอาทิตยจะผลิตไฟฟากระแส ตรงผานการควบคุมแรงดันใหเหมาะสม โดยเครื่องควบคุมการประจุไฟฟา และ เก็บพลังงานไฟฟาทีผ่ ลิตไดไวในแบตเตอรี่ เพือ่ นํากลับมาใชในยามคํา่ คืน ในกรณีที่ ตองการใชไฟฟากระแสสลับ จะใชเครือ่ ง แปลงไฟฟากระแสสลับหรืออินเวอรเตอร สร า งกระแสสลั บ จ า ยให อุ ป กรณ ไฟฟากระแสสลับอีกครั้งหนึ่ง ตัวอยาง ของระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย แบบอิสระ ไดแก ระบบไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยเพือ่ บานพักอาศัย ระบบปมนํา้ พลังงานแสงอาทิตย ระบบไฟฟาแสงสวาง พลังงานแสงอาทิตย และระบบผลิตไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยเพือ่ การสือ่ สาร เปนตน

ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ชนิดตอเชือ่ มระบบสายสง (Grid-connected Solar Systems) ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ชนิดตอเชื่อมระบบสายสงของการไฟฟา พลังงานไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากแผงเซลลแสง อาทิตยจะถูกนํามาแปลงเปนไฟฟากระแส สลับดวยอินเวอรเตอร เพือ่ จายใหกบั เครือ่ ง ใชไฟฟา และหากระบบสามารถผลิตไฟฟา ไดมากกวาทีเ่ ครือ่ งใชไฟฟาตาง ๆ ตองการ พลังงานไฟฟาที่เหลือก็จะถูกขายคืนให กับการไฟฟา ตัวอยางระบบผลิตไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยชนิดตอเชื่อมระบบ สายสง ไดแก ระบบไฟฟาพลังงานแสง อาทิตยเพือ่ บานพักอาศัยทีม่ รี ะบบสายสง ของการไฟฟาผาน และโรงไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตย เปนตน

Q : อาจารยครับเราจะมีวธิ กี ารคํานวณ และออกแบบระบบเซลลแสงอาทิตยตอ ง ทําอยางไรครับ A : กอนการตัดสินใจซือ้ แผงโซลาร เซลล เราควรทราบถึงระบบทีเ่ ราตองการใช เพือ่ ใหการลงทุนทีค่ มุ คาและเหมาะสม ผูใ ช ควรตองรูค วามตองการใชไฟฟาในแตละวัน และสถานทีต่ ดิ ตัง้ จึงจะสามารถคํานวณ สวนประกอบของระบบได ซึง่ ปกติอปุ กรณ ไฟฟาแตละชนิดใชพลังงานเทาใด (วัตต หรือ Watt) และเราตองการเปดใชงานนาน กีช่ วั่ โมงตอวัน รวมถึงกรณีทแี่ ผงเซลลแสง อาทิตยไมสามารถรับแสงเพือ่ ผลิตพลังงาน ไฟฟาได ตองรูว า จะใชพลังงานสํารองทีไ่ ด จากแบตเตอรีไ่ ดนานเทาใด ตัวอยาง บานหลังหนึง่ ตองใชไฟฟา ที่ผลิตไดจากเซลลแสงอาทิตย ไปใชกับ หลอดไฟฟลูออเรสเซนตชนิดมีบลั ลาสต อิเล็กทรอนิกสในตัว จํานวน 2 ดวง (18W X 2) เปนเวลา 6 ชัว่ โมงตอวัน, โทรทัศนสี 21 นิว้ (120 W) ประมาณ 3 ชัว่ โมงตอวัน สิง่ ทีต่ อ ง ใชในระบบเซลลแสงอาทิตย ประกอบดวย 99

Energy#53_p98-100_Pro3.indd 99

3/22/13 12:07 AM


เครือ่ งแปลงกระแสไฟฟา (Inverter) ทําหนาทีแ่ ปลงไฟฟา จากแบตเตอรี่ 12 โวลท เปน 220 โวลท ซึง่ ควรมีขนาดกําลังเพียงพอ ทีจ่ ะจายไฟฟาใหแกอปุ กรณ จะไดขนาดของเครือ่ งแปลงกระแสไฟฟา = (18 W X 2 ดวง) + (120 W) = 156 W ดังนัน้ ขนาดของเครือ่ งแปลงกระแสไฟฟา ควรมีขนาด 156 W แตควรมี ขนาดทีส่ งู กวา สําหรับขนาดทีเ่ หมาะควรใช ขนาด 200 W ซึง่ ใชกบั แบตเตอรีข่ นาด 12 โวลต แบตเตอรี่ (Battery) ทําหนาทีเ่ ก็บสํารองไฟฟาในเวลาทีแ่ ผงโซลารเซลลไมสามารถรับแสงได (เวลากลางคืน) แบตเตอรีท่ เี่ หมาะสมกับการใชงานในระบบเซลลแสงอาทิตย ควรใชแบตเตอรีช่ นิด Deep Cycle แตจะมีราคาสูง ซึง่ เราสามารถเลือกใชกบั แบตเตอรีช่ นิดอืน่ แทนได เชน แบตเตอรี่ รถยนต หรือ แบตเตอรีแ่ หง (Sealed Lead Acid Battery) ก็ได จะมีราคาถูกกวา ขนาด กระแส/ชัว่ โมงของแบตเตอรีส่ ามารถคํานวณไดจาก Ah = คาพลังงานรวม / [แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ X 0.6 (% การใชงานกระแสไฟฟาทีอ่ ยู ในแบตเตอรี)่ X 0.85 (ประสิทธิภาพของ Inverter)] = {( 18W X 2 ดวง) X 6 ชัว่ โมง} + {(120 W) X 3 ชัว่ โมง} / [12 โวลต X 0.6 X 0.85] = 94.117 Ah ดังนัน้ ขนาดของแบตเตอรีท่ ใี่ ชจะเปน ขนาด 12 โวลต 96.08 Ah หรือมากกวา ฉะนัน้ ควรใชขนาดรุน 12 โวลต 105Ah หรือ 125Ah เครือ่ งควบคุมการประจุกระแสไฟฟา (Charge Controller) จะทําหนาทีค่ วบคุมการประจุกระแสไฟฟาลงในแบตเตอรี่ ชวยยืดอายุการใชงานของ แบตเตอรีไ่ ด ซึง่ ตองมีขนาดเทากับหรือมากกวา กระแสไฟฟา (Amp) ทีไ่ หลผานจากแผง โซลารเซลลสแู บตเตอรี่ ดังนัน้ ขนาดของเครือ่ งควบคุมการประจุกระแสไฟฟา ควรมีขนาด เกินกระแสไฟฟาของแผงโซลารเซลล (Solar cell) ขนาดของแผง = คาการใชพลังงานรวม/5 ชัว่ โมง (ปริมาณแสงอาทิตยทนี่ า จะไดใน 1 วัน) = {(18 W X 2 ดวง) X 6 ชัว่ โมง} + {(120 W) X 3 ชัว่ โมง} / 5 ชัว่ โมง = 115.2 Ah ดังนัน้ ขนาดของเซลลแสงอาทิตยทตี่ อ งใช คือ ขนาด 12 โวลต 115.2 วัตต หรือมากกวา หมายเหตุ : ควรมีพลังงานสํารองไวใชในกรณีทแี่ ผงเซลลแสงอาทิตยไมสามารถผลิตพลังงานไฟฟาได เชน เวลาทีฝ่ นตกหรือไมมแี สง อาทิตยควรจะเพิม่ ขนาดของแผงโซลารเซลลและแบตเตอรีเ่ พือ่ ใชในการเก็บพลังงานสํารอง Q : ระบบโซลารเซลลผลิตพลังงานไฟฟานีน้ า สนใจมากเลยครับ อาจารยจะหารายละเอียด อุปกรณหรือสอบถามเรือ่ งราคาไดทไี่ หนครับ A : ทานทีส่ นใจรายละเอียดเพิม่ เติมระบบโซลารเซลลผลิตพลังงานไฟฟาสูบนํา้ สามารถ ติดตอไดที่ บริษทั กรีน แอนด อีโค ไอเดีย จํากัด โทร. 0-2349-7514 โทรสาร. 0-2349-7515 Q : ขอบคุณครับอาจารย ผมไดความรูเ กีย่ วกับระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสง อาทิตยทใี่ นอนาคตจะเปนพลังงานทดแทนทางเลือก ซึง่ นํามาใชประโยชนไดมากเลยครับ สวัสดีครับอาจารย A : ครับ สวัสดีครับ

เอกสารอางอิง

1. ทีป่ รึกษาดานพลังงานและสิง่ แวดลอม โดย นายกิตติศกั ดิ์ จัน่ เพชร กรรมการผูจ ดั การ บริษทั แอ็ดวานซ เอนเนอรยี่ เซฟวิง่ จํากัด 2. เอกสารการทดสอบอุปกรณประหยัดพลังงานในเครือ่ งปรับอากาศ บริษทั แอ็ดวานซ เอนเนอรยี่ เซฟวิง่ จํากัด 3. หนังสือการทําความเย็นและการปรับอากาศ, ผศ. น.อ. ดร.ตระการ กาวกสิกรรม 4. http://www.prachachat.net/news_detail.php 5. http://www.kmitl.ac.th/~kpmonsak/Refrigeration/Refrigeration_AirConditioning_Introduction.pdf 6. เอกสารคุณลักษณะของผลิตภัณฑ Happy air บริษทั กรีน แอนด อีโค ไอเดีย จํากัด

100

Energy#53_p98-100_Pro3.indd 100

3/22/13 12:07 AM


Movement บักสีเดอ

อิเมอรสนั ฯเปดศูนยบริการ และศูนยฝก อบรมในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต

เมือ่ เร็ว ๆ นี้ อิเมอรสนั ไคเมท เทคโนโลยี ประเทศไทย ผูใ หบริการดาน ระบบระบายความรอน ระบบปรับอากาศ และระบบทําความเย็นสําหรับทีพ ่ กั อาศัย โรงงานอุตสาหกรรมและการพาณิชย แถลงขาวเปดตัวเปนศูนยบริการ และศูนยฝก อบรม ณ โรงงานผลิตทีจ่ งั หวัดระยอง เพือ่ เปนศูนยกลางสําหรับ ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และพันธมิตรทีอ่ ยูใ นอุตสาหกรรมเครือ่ ง ทําความเย็น รวมถึงเปนศูนยกลางใหบริการจัดสงกระจายสินคา ซึง่ สามารถ ตอบสนองความตองการทีม่ มี ากขึน้

พพ. ผนึก พีอเี อ ลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ โครงการบริหารจัดการเพือ่ ประหยัดพลังงาน

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) รวมกับ การไฟฟาสวนภูมิภาค (พีอีเอ) และหนวยงานภาครัฐกวา 20 แหง จัดพิธี ลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือในโครงการบริหารจัดการประหยัด พลังงานในอาคารของภาครัฐ ที่ โรงแรมปริ้นซ พลาเลซ กรุงเทพฯ ซึ่งเปน โครงการที่สอดคลองกับนโยบายแผนอนุรักษพลังงาน 20 ป ที่ไดกําหนด ใหลดความเขมขนการใชพลังงานลง 25% ในป 2573 และยังเปนทางออก สําหรับปญหาดานพลังงานในปจจุบัน

เทสโก โลตัส รณรงคใหผบู ริโภครวมประหยัดพลังงาน ซือ้ เครือ่ งใชไฟฟาเบอร 5 ออกคาไฟฟรี

นายภาณุศกั ดิ์ ซือ่ สัตยบญ ุ รองประธานกรรมการ ฝายการคาและ พาณิชย สินคาเครือ่ งใชไฟฟา เทสโก แถลงขาวเปดตัวแคมเปญ “ซัมเมอรนี้ ลด การใชไฟฟา ลดคาไฟ” ณ เทสโก โลตัส สาขาพระราม 4 โดยออกคาไฟใหฟรี นานสุด 6 เดือน เมือ่ ผูบ ริโภคซือ้ เครือ่ งใชไฟฟาเบอร 5 ทีร่ ว มรายการกวา 80 รายการ เพือ่ เปนการรณรงคใหผบู ริโภคไดรว มลดใชพลังงาน และเปนสวนหนึง่ ในมาตรการอนุรกั ษพลังงานของภาครัฐ

101

Energy#53_p101-102_Pro3.indd 101

3/22/13 4:32 PM


เยีย่ มชมโรงงานแปรรูปเนือ้ ไกและโรงงานอาหารสัตว CPF

เมือ่ เร็ว ๆ นี้ บริษทั เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) หรือ ซีพเี อฟ นําสือ่ มวลชนเขาเยีย่ มชมโรงงานแปรรูปเนือ้ ไก อ.โชคชัย และโรงงาน ผลิตอาหารสัตวปกธงชัย จ.นครราชสีมา ซึ่งเปนโรงงานที่มีความโดดเดน ดานการบริหารจัดการในกระบวนการผลิต รวมถึงกระบวนการอนุรกั ษพลังงาน และสิง่ แวดลอมทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ปจจุบนั โรงงานแหงนีม้ โี ครงการทีเ่ กีย่ วของ กับการประหยัดพลังงานกวา 200 โครงการ และมีเปาหมายประหยัดพลังงาน ไมตาํ่ กวา 10 ลานบาท หรือ 5- 7% ตอป

เอฟแอนดเอ็น พัซเซิล ไทยแลนด โอเพน ครั้งที่ 4 ชิงโลพระราชทาน

เมือ่ เร็ว ๆ นี้ นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ หัวหนาพรรคประชาธิปต ย ใหเกียรติ เปนประธานในพิธเี ปดการแขงขัน “เอฟแอนดเอ็น พัซเซิล ไทยแลนด โอเพน ครัง้ ที่ 4 และคําคม ชิงแชมปประเทศไทย ชิงโลพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ” ประจําป 2013 ณ ศูนยการคา เดอะมอลล บางกะป โดยมี นายณัฐพล ชืน่ เพ็ง จาก บริษทั เอฟแอนดเอ็น แดรีส่  (ประเทศไทย) จํากัด เปนประธานจัดการแขงขัน ซึง่ การแขงขันในครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เพือ่ ใหเยาวชนไทยไดมโี อกาสพัฒนาความรูแ ละทักษะ ดานภาษาอังกฤษอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพรอมเขาสูย คุ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ในป 2558

บานปูฯ เผยกลยุทธการดําเนินธุรกิจ ป 56

ชวงเดือนมีนาคมทีผ่ า นมา บานปูฯ ไดจดั งานเลีย้ งขอบคุณสือ่ มวลชน พรอมแถลงแผนการดําเนินงานของป 2556 ณ โรงแรม เดอะ เรสท ดีเทล หัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ โดย นายชนินท วองกุศลกิจ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั บานปู จํากัด (มหาชน) เปดเผยถึงแผนการดําเนินงานใหฟง วา บานปูตงั้ เปาหมาย ผลิตถานหินในป 2556 ทีป่ ระมาณ 48 ลานตัน เพิม่ ขึน้ ประมาณ 4.2 ลานตัน จาก ป 2555 โดยมาจากแหลงผลิตในประเทศอินโดนีเซีย 29 ลานตัน ออสเตรเลีย 15 ลานตัน และจีนอีก 3 ลานตัน

102

Energy#53_p101-102_Pro3.indd 102

3/22/13 4:36 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท รวมภาษีมูลคาเพิ่มแลว 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท รวมภาษีมูลคาเพิ่มแลว เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

103

Energy#53_p103_Pro3.indd 103

3/22/13 1:34 AM


Energy Thinking เด็กเนิรด

คิดบวก ชีวิตบวก

ขณะทีก่ าํ ลังทองโลกไซเบอรเพือ่ หาขุมปญญามาเติมพลังใหกบั คลังสมอง ก็ไดพบกับขอคิดดี ๆ ในการดําเนินชีวติ ของ ทาน ว.วิชรเมธี เขาโดยบังเอิญ หลายทานอาจเคยผานตามาบางแลว แตหลายทานอาจจะยังไมเคยเห็น เราจึงนําขอคิดดี ๆ ทีว่ า นีม้ าแบงปนในพืน้ ทีต่ รงนี้ ถาอานแลวคิดตามคงไดรบั ประโยชน ไมนอ ย แตถา อานแคผา นตาเฉย ๆ ก็คงจะไมผดิ อะไร แตเสียดายแทนทีค่ ณ ุ จะพลาดขอคิดดี ๆ ในการดําเนินชีวิตไปอีกหนึ่งเรื่อง หวังวาสิ่งที่นํามาแบงปนนี้จะเปนประโยชนกับคุณผูอานไมมากก็นอย เวลาเจองานหนัก ใหบอกตัวเองวา นี่คือโอกาสในการ เตรียมพรอมสูความเปนมืออาชีพ เวลาเจอปญหาซับซอน ใหบอกตัวเองวา นี่คือบทเรียนที่ จะสรางปญญาไดอยางวิเศษ เวลาเจอความทุกขหนัก ใหบอกตัวเองวา นีค่ อื แบบฝกหัด ที่จะชวยใหเกิดทักษะในการดําเนินชีวิต เวลาเจอนายจอมละเมียด ใหบอกตัวเองวา นี่คือการฝก ตนใหเปนคนที่สมบูรณแบบ (perfectionist) เวลาเจอคําตําหนิ ใหบอกตัวเองวา นี่คือการชี้ขุมทรัพย มหาสมบัติ เวลาเจอคํานินทา ใหบอกตัวเองวา นี่คือการสะทอนวาเรา ยังคงมีความหมาย เวลาเจอความผิดหวัง ใหบอกตัวเองวา นี่คือที่ธรรมชาติ กําลังสรางภูมิคุมกันใหชีวิต เวลาเจอความปวยไข ใหบอกตัวเองวา นี่คือการเตือนให เห็นคุณคาของการรักษาสุขภาพใหดี เวลาเจอความพลัดพราก ใหบอกตัวเองวา นี่คือบทเรียน ของการรูจักหยัดยืนดวยขาของตัวเอง เวลาเจอลูกหัวดื้อ ใหบอกตัวเองวา นี่คือโอกาสทองของ การพิสูจนความเปนพอแมที่แทจริง

เวลาเจอแฟนทิ้ง ใหบอกตัวเองวา นี่คือความเปนอนิจจังที่ ทุกชีวิตมีโอกาสพานพบ เวลาเจอคนที่ใชแตเขามีคูแลว ใหบอกตัวเองวา นี่คือ ประจักษพยานวาไมมีใครไดทุกอยางดังใจหวัง เวลาเจอภาวะหลุดจากอํานาจ ใหบอกตัวเองวา นีค่ อื ความ เปนอนัตตาของชีวิตและสรรพสิ่ง เวลาเจอคนกลิ้งกะลอน ใหบอกตัวเองวา นี่คืออุทาหรณ ของชีวิตที่ไมนาเจริญรอยตาม เวลาเจอคนเลว ใหบอกตัวเองวา นี่คือตัวอยางของชีวิตที่ ไมพึงประสงค เวลาเจออุบตั เิ หตุ ใหบอกตัวเองวา นีค่ อื คําเตือนวาจงอยา ประมาทซํ้าอีกเปนอันขาด เวลาเจอศัตรูคอยกลั่นแกลง ใหบอกตัวเองวา นี่คือบท ทดสอบวา “มารไมมี บารมีไมเกิด” เวลาเจอวิกฤต ใหบอกตัวเองวา นี่คือบทพิสูจนสัจธรรม “ในวิกฤตยอมมีโอกาส” เวลาเจอความจน ใหบอกตัวเองวา นีค่ อื วิธที ธี่ รรมชาติเปด โอกาสใหเราไดตอสูชีวิต เวลาเจอความตาย ใหบอกตัวเองวา นี่คือฉากสุดทายที่จะ ทําใหชีวิตมีความสมบูรณ

104

Energy#53_p104_Pro3.indd 104

3/22/13 8:47 PM


Energy#42_p92_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/23/12

10:21 PM


Event Calendar

นิทรรศการ งานประชุม และอบรม

ดานพลังงานทีน่ า สนใจ ประจําเดือนเมษายน 2556

2 เมษายน 556 2 ชื่องาน : สายโซการผลิตรักษสิ่งแวดลอม : กุญแจสูการผลิตอยาง ยั่งยืนในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สถานที่ : หองออดิทอเรียม อาคารศูนยประชุม อุทยานวิทยาศาสตร ประเทศไทย จ.ปทุมธานี เวลา : 08.30-16.30 น. การผลิตสินคาใหแขงขันไดในทุกวันนี้ จําเปนตองอาศัย Supply Chain ที่เขมแข็ง ในภาวะที่ทั่วโลกกําลังเผชิญกับปญหารอบดาน ทั้งเรื่องสิ่งแวดลอม การขาดแคลนพลังงาน และทรัพยากรในการ ผลิต รวมถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate Change) ทุกฝายตางเรียกรองใหมีการเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนา เศรษฐกิจสู “เศรษฐกิจสีเขียว” หรือ Green Economy รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม : ติ ด ต อ คุ ณ สายสมร/คุ ณ เพชราพร โทร. 0-2654-6500 ตอ 4122/4611

25 เมษายน 2556 ชื่องาน : แนวการออกแบบงานเสริมกําลังคอนกรีตโครงสราง และ ปองกันแผนดินไหวดวยระบบคารบอนไฟเบอร สถานที่ : อาคาร วสท. เวลา : 09.00-16.00 น. ปจจุบันเทคโนโลยีในงานกอสรางมีมากมายใหเลือกใช เพื่อพัฒนา เทคนิคการกอสรางใหวิศวกร หรือชางเทคนิค รวมทั้งผูรับเหมาทั่วไป ใหสามารถเลือกใชไดอยางเหมาะสมและอํานวยความสะดวกมากขึ้น รวมถึงงานซอมแซมหรืองานเสริมกําลัง จึงควรศึกษาถึงมาตรฐาน และนวัตกรรมการใชงานอยางถูกตอง รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.eit.or.th/ หรือสอบถามไดที่ คุณธิดาวรรณ แสงทอง อีเมล : tidawan@eit.or.th

3 เมษายน 2556 ชือ่ งาน : นวัตกรรมการใชกระจกสําหรับเมืองรอนชืน้ และการประหยัด พลังงาน รุนที่ 2 สถานที่ : หองประชุมชั้น 4 อาคาร วสท. เวลา : 09.00-16.00 น. คุณสมบัติผูเขาอบรม 1. วิศวกรอาคาร สถาปนิก หรือผูออกแบบ 2. วิศวกรโยธา วิศวกรพลังงาน 3.ผู  ป ระกอบการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย และบุ ค คลที่ ส นใจทั่ ว ไป รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.eit.or.th/ หรือสอบถามไดที่ คุณธิดาวรรณ แสงทอง อีเมล : tidawan@eit.or.th

19 เมษายน 2556 ชื่องาน : หลักสูตรพัฒนาบุคลากรภาคปฏิบัติเพื่อการปรับปรุง ประสิทธิภาพการใชพลังงานของเครื่องจักรและอุปกรณมาตรฐาน การใชพลังงานในระบบอัดอากาศ สถานที่ : สถานจัดการและอนุรักษพลังงาน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เวลา : 08.30-17.00น. คุ ณ สมบั ติ ผู  เ ข า อบรม เป น บุ ค ลากรของโรงงานหรื อ อาคาร ที่ ดู แ ลเครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ ห ลั ก โดยมี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาไม ตํ่ า กว า ปวส.ในสาขาใดสาขาหนึง่ ไดแก ไฟฟา เครือ่ งกล ชางยนต อุตสาหการ รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www2.dede.go.th/bhrd/

4-5 เมษายน 2556 ชื่องาน : การวางผังและตนไมใหญในงานกอสราง สถานที่ : หองประชุมชั้น 4 อาคาร วสท. เวลา : 09.00-16.00 น. วิทยากร : ศาสตราจารยกติ ติคณ ุ เดชา บุญคํา้ ศิลปนแหงชาติ สาขา ทัศนศิลป (ภูมิสถาปตยกรรม) ประจําป 2549 ผูบุกเบิกการศึกษา และวิชาชีพดานภูมิสถาปตยกรรม และที่ปรึกษาโครงการทั้งของภาค รัฐและเอกชนไปจนถึงงานวางผังหลักโครงการขนาดใหญ และงาน วางแผนพัฒนาแหลงทองเที่ยวตาง ๆ จํานวนมาก รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.eit.or.th/ หรือสอบถามไดที่ คุณธิดาวรรณ แสงทอง อีเมล : tidawan@eit.or.th 4 เมษายน 556 2 ชื่องาน : พลังงานหมุนเวียนทําใหคาไฟแพงจริงหรือ ? สถานที่ : ณ หองวอเตอรเกท บอลรูม ซี ชัน้ 6 โรงแรมอมารี วอเตอรเกท ประตูนํ้า กรุงเทพฯ เวลา : 08.30-15.30 น. เพื่อเผยแพรขอมูลขาวสารและเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิด เห็นในเรื่องพลังงาน ทั้งในดานการกําหนดนโยบายพลังงานของรัฐ การสงเสริมการอนุรักษพลังงานและพลังงานหมุนเวียน ตลอดจน ประเด็นปญหาตาง ๆ ที่หลายฝายใหความสนใจ รายละเอียดเพิ่มเติม : https://docs.google.com

25-28 เมษายน 2556 ชื่องาน : การออกแบบอาคารพักอาศัยสูงนอยกวา 3 ชั้น รุนที่ 9 สถานที่ : ณ หองประชุมชั้น 4 อาคาร วสท. ซอยรามคําแหง 39 เวลา : 08.30-16.30 น. โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ พัฒนาความรูท างวิศวกรรมทีเ่ กีย่ วของกับการ กอสรางบานพักอาศัยที่สูงนอยกวา 3 ชั้น ตอบุคลากรที่เกี่ยวของ ไดแก วิศวกร สถาปนิก ผูดําเนินการกอสราง และชางเทคนิค และ เพื่อประโยชนในการสอบเลื่อนระดับจาภาคีวิศวกรเปนระดับสามัญ วิศวกร ของสภาวิศวกร รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.eit.or.th/ หรือสอบถามไดที่ คุณธิดาวรรณ แสงทอง อีเมล : tidawan@eit.or.th 27 เมษายน 2556 ชื่องาน : การตรวจสอบระบบไฟฟาเพื่อความปลอดภัย รุนที่ 5 สถานที่ : อาคาร วสท. ซอยรามคําแหง 39 หองประชุม 1 ชั้น 4 เวลา : 12.30-13.00 น. (ลงทะเบียน) ไฟฟาเปนสิง่ จําเปนสําหรับอาคารและสถานประกอบการทัว่ ไป แตไฟฟา ก็มีอันตรายทั้งตอชีวิตและทรัพยสิน การตรวจสอบระบบไฟฟาเพื่อ ความปลอดภัย จึงเปนการตรวจสอบเพือ่ ใหมนั่ ใจวาอุปกรณไฟฟายัง สามารถใชงานไดอยางปลอดภัย ถือเปนภาระหนาทีท่ สี่ าํ คัญของเจาของ และผูด แู ลอาคาร รวมถึงชางไฟฟาประจําสถานประกอบการ รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.eit.or.th/ หรือสอบถามไดที่ คุณนพมาศ ปนสุวรรณ อีเมล : pinsuwan@eit.or.th

106

Energy#53_p106_Pro3.indd 106

3/22/13 12:02 AM


§ |¤ ï | oo §rÓ : Cooling Tower, Air Washer Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condensers

¤ s ¤| Ö ¤l {yÖ p i | 54/15-17 s } ~ o Ö i o¤ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th

Energy#53_Cover In_Pro3.indd 1

3/26/13 2:01 PM


Energy#53_Cover Out_Pro3.indd 1

3/26/13 1:57 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.