นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 56 เดือนกรกฎาคม 2556

Page 1

27-30 March 2014 BITEC Bangkok

14

Energy#56_Cover Out_Pro3.indd 1

6/27/13 9:01 AM


9Z$IS;_LTE _IGT 11.05-11.30 ;.

Energy#56_Cover In_Pro3.indd 1

6/27/13 9:04 AM


Energy#56_p3_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/22/13

12:01 AM


Contents Issue ssue 55 June Ju e 2013 0 3

75 14 What’s up

High Light

77

42

Asean Update : การเชือ่ มตอระบบไฟฟาในภูมภิ าค AEC เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดานพลังงาน 75 Around The World : 101 Energy Movement

Cover Story 14 80

Cover Story : Green Logistics ขนสงสีเขียว เพื่อสิ่งแวดลอม Special Report : พพ.เปดโครงการสนับสนุน การกํากับดูแลและสงเสริมการปฎิบัติงาน ตามพรบ.การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ.2535

Interview

20 22 24 93

Exclusive : อิตัลไทย กาวกระโดดขึ้นแทนผูนํา Exclusive : ซีพเี อฟเดินหนาจัดการพลังงานอยางยัง่ ยืน Exclusive: “เอ็กโก กรุป ” เรงการลงทุนดานพลังงาน Energy Concept : มหาวิทยาลัยขอนแกน โชวผลงานนํ้ามันไปโอเจ็ท จากนํ้ามันปาลม

62 66 65 58 82 83 30 36 32 64 56

36

Energy Award : CPF ควารางวัล AEMAS มาตราฐานดานพลังงานระดับอาเชียนรายแรก Energy Focus : วิกฤตไฟดับ 14 จังหวัด บทเรียนที่ตองหาทางแกไข Insight Energy : ไฟเขียว…Solar Rooftop Energy Legal : บุคลากรรับผิดชอบดูแลสถานที่ ใชกาซปโตรเลียมเหลว Energy Knowledge : กรอบโทรศัพทลบ รอยขีดขวนเองไดดวยนวัตกรรมดานยนตกรรม Energy Exhibit : Siemen Process Automation Conference & Exhibition Energy Exhibit : Secutech Thailand 2013 Greenovation Eco Shop : เฟอรนเิ จอรปลูกตนไมได ดีไซนลดโลกรอน Green 4 u : “Grey To Green” กระเบื้องคอนกรีต ปูพื้น ปลูกตนไมได Energy Loan : ธ.กรุงเทพ หนุนผูป ระกอบการ SMEs ใหกูสินเชื่อบัวหลวงประหยัดพลังงาน Waste to Weath : กลยุทธการตลาดเชิงสรางสรรค หนุนสินคารักษโลกใหแข็งแกรง

4

Energy#56_p04,06_Pro3.indd 4

6/26/13 8:38 PM


Energy#56_p5_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/22/13

12:03 AM


84 46

88

Contents Issue 55 June 2013 Industial & Resident

Environment Protection

38 50

53

26 46

90 95

Energy Design : Creative Living in The City Green Industrial : อิเมอรสันฯปรับเปลี่ยน สรางจิตสํานึกอนุรักษพลังงาน Residence : บานแนวคิดใหมใสใจพลังงาน Tool & Machine : Heat Pump เทคโนโลยี ผลิตความรอนแบบดึงอากาศรอนมาผลิตนํ้ารอน Energy Management : การตรวจและรับรอง การจัดการพลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงาน Saving Corner : เทคโนโลยีการกักเก็บความรอน และวัสดุกกั เก็บความรอน ( Thermal Energy Storage )

Transportation & Alternative Energy 68 70 84 88

Renergy : พลังงานขยะ กทม.200MW หายไปไหน ใครคือคอขวด? Automobile Update : MERCEDES-BENZ E300 BlueTEC HYBRID Green Logistics : สรางจิตสํานึกสีเขียวในองคกร Vehicle Concept : Walking Assist นวัตกรรมเครื่องชวยเดินสําหรับผูปวย

40

86

FAQ 98

Green Community : เยือนตําบลเทพเสด็จชิม สุดยอดกาแฟสดสรางอาชีพ สรางรายไดพรอมรักษปาในเวลาเดียวกัน O Waste Idea : เมืองสีเขียว(Green City) กับการลดของเสียอยางยั่งยืน Environment Alert : ถึงเวลาการลงทุน โครงการขนาดใหญ Energy Clinic : มาตรการอนุรักษพลังงาน : การลดอุณหภูมิอากาศเขาเครื่องอัดอากาศ

Regular Feature 8 12 51 60 73 103 104 106

Editor’s Talk Get Idea How to : ที่วางรองเทาสุดฮิป Energy Tips : 7 วิธีใชตูเย็นใหประหยัดพลังงาน Have to Know : ถานหิน…ไมนากลัวอยางที่คิด แบบสมัครสมาชิก Thinking : องคความรูดานการประหยัดพลังงาน Event & Calendar

6

Energy#56_p04,06_Pro3.indd 6

6/26/13 8:38 PM


Energy#56_p7_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/22/13

12:09 AM


กรรมการผูจัดการ สวัสดีแฟนประจํานิตยสาร Energy Saving ทุกทาน เขาสู ชวงหนาฝนกันแลว จะเดินทางไปไหนมาไหนอยาลืมพกรมติดตัว กันดวยนะคะ จะไดหา งไกลจากไขหวัดกันทุกคน หากใครทีใ่ ชรถ สวนตัวในการเดินทางก็คอ ย ๆ ขับ อยารีบรอน เพราะถนนลืน่ อาจเกิดอันตรายได ดวยความปรารถนาดีจากใจทีมงานทุกคน ชวงนี้ขาวคราวในแวดวงพลังงานมีออกมาใหเห็นอยาง ตอเนือ่ ง แตเรือ่ งทีก่ าํ ลังอยูใ นความสนใจและพูดถึงกันมากในตอนนี้ คงจะหนีไมพนเรื่องของการสรางโรงฟาถานหิน ซึ่งตอนนี้ มี ข  า วออกมาสองกระแสว า การสร า งโรงไฟฟ า ถ า นหิ น ที่ภาคใตแทจริงแลว เนื่องมาจากในอนาคตขางหนาหลาย พื้นที่ในภาคใตจะถูกพัฒนาใหเปนเมืองอุตสาหกรรมหนัก ซึ่ ง ต อ งใช ไ ฟฟ า จํ า นวนมากในกระบวนการผลิ ต เพราะ ภาคอุ ต สาหกรรมอย า งเดี ย วก็ ใ ช ไ ฟฟ า ถึ ง 30 – 40% ของทั้งระบบ ดังนั้น การสํารองพลังงานไฟฟาจึงเปนตัวแปร สําคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรม สวนขาวอีกกระแสหนึ่ง บอกวา การสรางโรงไฟฟาถานหินก็เพื่อรองรับการใชไฟฟา ของพีน่ อ งชาวใตและภาคธุรกิจในพืน้ ทีท่ มี่ คี วามตองการใชงาน คอนขางมาก คงตองรอดูกันตอไปวา บทสรุปสุดทายแลว การกอสรางโรงไฟฟาถานหินมีวตั ถุประสงคเพือ่ การใดกันแน แตทั้งนี้และทั้งนั้นขอใหคํานึงถึงผลประโยชนของชาติเปนหลัก ผลทีอ่ อกมาคงไดมากกวาเสียอยางแนนอน อีกประเด็นหนึ่งที่ไมพูดถึงคงจะไมได ตอนนี้คงจะทราบ กันแลววา ผูว า การการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) คนใหมเปนใคร บทสรุปตกเปนของ “นายสุนชัย คํานูณเศรษฐ “ แต ไ ม ว  า จะเป น ใคร เราเชื่ อ มั่ น ว า ต อ งเป น ที่ ย อมรั บ ของ พนักงาน กฟผ. และทํางานตอจาก นายสุทัศน ปทมสิริวัฒน ผู  ว  า การคนป จ จุ บั น ได เ ป น อย า งดี ส ว นวิ สั ย ทั ศ น ข อง ผู  ว  า กฟผ.คนใหม จ ะน า สนใจสักแคไหนเราจะนํามาเสนอ ในโอกาสตอไป…แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ

ชาตรี มรรคา

หัวหนากองบรรณาธิการ ปยะนุช มีเมือง

กองบรรณาธิการ นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร บุษยารัตน ตนจาน

เลขากองบรรณาธิการ พิชญาภา อินทโลหิต

ผูจัดการฝายโฆษณา รัตนาพร ออนสี

เลขาฝายโฆษณา สุกัญญา สัปศาร

การเงิน แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม กฤษณา กุลเท็ง

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ปยะนุช มีเมือง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com

200/7-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองไดรับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8

Energy#56_p08_Pro3.indd 8

6/25/13 8:33 PM


Energy#40_p25_Pro3.ai

1

2/21/12

3:29 PM


Get Idea

บุษยารตน ยารัตน ตนจาน ตนจาน

ที่ ามาแทนที่รถ หากใน Q : คิดยังไง าคตตอ งใชร ถย น อ ใน  า  ถ ต แ ู  ะเค นั อย เติมนํ้ามัน นนผี้ มยงั ใชร ถทเี่ ตมิ นาํ้ ม บของรถตองดีดวย เพราไฟฟา อ า  A:ต ตวาระบ าใช ถ ฟาก็ดีครับ แี่เขาผลิตรถประเภทนี้ขึ้นม ๆ เพราะใช ไฟ น า ง ง ั ล พ งาย ศท ที่เปน กไ ข องตางประเท เกิดไฟ ไหมได เห็นรายการข าเสียหายเยอะมาก อาจ าํ้ หนา ของเทคโนโลยคี งจะแ วิธีขี่ ลัดวงจรขึ้นมาํ นวนมาก แตด ว ยความล าวาง ๆ เดินทางใกล ๆ ใช แบตเตอรรจี่ ยาก ทางที่ดีถาวันไหนถ ปญหานี้ไดไม ลดโลกรอนไดนะครับ จักรยาน ชวย ลังงานไฟฟ อนาคตมีรถพ

าม ชาคริต แยมน

Q : อยากใหพูดเชิญชวนให คนทั่วไปหันมาใชผลิตภัณฑ green product A : ชมอยากใหท กค ุกคน มาก ๆ นอกจากเราจะไดใช นหหั​ันมาใชสินคา GGreen Product กัน ใชใหมใหเกิดประโยชนและคุสินคาเก ๆ ที่นําเอาสิ่งของเหลือใชกลับมา ที่สําคัญเรายังไดมีสวนรวมใมคาแลว ยังชวยลดปริมาณขยะไปในตัว นการอนุรักษสิ่งแวดลอมแ รอนอีกดวยคะ ละภาวะโลก

ชมพู – อารยา เอ ฮารเก็ต

ไฟฟา ลังคาบานผลิต ห น บ ด ิ ต  ล ซ เ  ร า าจะใชโซล Q : คิดยังไงถ เซล เราะ) ติดโซลาร โลก ว ั (ห ย เล ด ิ ะต จ ง ใชเอ รูวาผมกําลัง มยังชวยลด A : ถามเหมือนจากโรงงาน เพราะประหยัด แถ มมไี อเดยี จะตดิ ฟาใช อนนผี้ ยอมดีกวาซื้อไฟา งประเทศคอ นขา งใชก นั เยอะ ต รอ นไดด ว ย ในต เหมือนกันนะครับ โซลารเซลที่บาน

วาน - ธนกฤต พ

านิชวิทย

10

Energy#56_p10,12_Pro3.indd 10

6/22/13 1:20 AM


ไทยจะไปทางไหน?

หากกาซธรรมชาติจากอาวไทย หมดไป ปญหาใหญเกีย่ วกับพลังงานของประเทศไทยในอีกไมถงึ 10 ปขางหนา หากกาซหมดอาวเราจะทําอยางไร เราจะเอา อะไรมาผลิตกระแสไฟฟา คาไฟจะแพงหรือเปลา? คําถาม รอยแปดพันเกาจะตองเกิดขึ้นมากมาย

ปจจุบนั ประเทศไทยมีความตองการใชพลังงานไฟฟาเพิม่ ขึน้ ประมาณปละ 1,500 เมกะวัตต โดยการผลิตกระแสไฟฟามาจาก กาซธรรมชาติ 68% ถานหิน 19% และพลังงานหมุนเวียน 6% จะเห็นวาการผลิตไฟฟาของไทย พึ่งพิงกาซธรรมชาติเปนหลัก มาเปนเวลานาน ซึ่งโอกาสการสํารวจพบกาซธรรมชาติเพิ่มเติม จะมีนอยกวาความตองการกาซและกาซในอาวจะเริ่มลดลงจน หมดไปในที่สุด หากกาซธรรมชาติยังเปนเชื้อเพลิงหลักจนทําให เราตองนําเขากาซแอลเอนจีที่มีราคาสูงกวากาซในอาวสองถึง สามเทา ตั้งแตป 2555 ทําใหผูที่เกี่ยวของเกิดความวิตกกังวล เกี่ยวกับเรื่องนี้ และเตรียมรับมือกับปญหาที่คาดวาจะเกิดขึ้น กับพลังงานไทย แผนการพั ฒ นากํ า ลั ง ผลิ ต ไฟฟ า ของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 และแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก พ.ศ. 2555-2564 ไดกาํ หนดใหมสี ดั สวนการ ใชพลังงานทดแทนประมาณ 7,413 พันตันเทียบเทานํ้ามันดิบ (ktoe) ในป 2555 แตจะเพิ่มขึ้นเปน 25,000 ktoe ในป 2564 หรือคิดเปน 25% ของการใชพลังงานทั้งหมด ถึ ง เวลาแล ว ที่ ทุ ก ฝ า ยที่ เ กี่ ย วข อ งจะพิ จ ารณาหาแหล ง พลังงานอืน่ เพือ่ เปนการเตรียมการใหดใี นอนาคตหลีกเลีย่ งการ เกิดภาวะวิกฤตได ซึง่ นักวิชาการและผูเ กีย่ วของคาดการณวา อีก 15-20 ป หนีไมพนการใชพลังงานทดแทนอื่นๆ เชน 1) ถานหิน เคยมีภาพลบในอดีตวาเปนเชื้อเพลิงที่มีผล ตอสิ่งแวดลอม แตดวยเทคโนโลยีปจจุบัน สามารถเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมไดดีขึ้น

2) เชือ้ เพลิงพลังงานทดแทน (Renewable) อยางอืน่ เชน พลังงานแสงอาทิตย ชีวภาพและชีวมวลตางๆ ซึง่ ในอดีตเคยเปน เชือ้ เพลิงทีม่ ตี น ทุนสูง ไมคมุ ตอการลงทุน แตในปจจุบนั มีการพัฒนา เทคโนโลยีตา งๆ เพือ่ ใหเชือ้ เพลิง Renewable สามารถคุม ทุนไดใน ระดับชุมชนในแตละภูมภิ าคได 3) นิวเคลียร อาจจะเปนทางเลือกในระยะยาวไดเพราะสามารถ ผลิตพลังงานไดเปนจํานวนมากและตอเนือ่ ง ทัง้ นีก้ ารบริหารสัดสวนการเลือกใชเชือ้ เพลิงตางๆ (Energy Mix Policy) คงตองขึน้ อยูก บั การตัดสินใจของผูเ กีย่ วของระดับ นโยบายวา ประเทศจะไปทางไหน ประเทศไทยจะมีความเสีย่ งสูงมาก หากตองพึง่ พาพลังงาน จากประเทศเพือ่ นบาน ยกตัวอยางเชน นําเขากาซจากพมาหรือการ ซือ้ ไฟฟาจากลาว รวมถึงการซือ้ ไฟฟาจากโรงไฟฟานิวเคลียรของ เวียดนาม หรือซือ้ ไฟฟาจากโรงไฟฟาถานหินทีเ่ กาะกง เพราะจะทําให คาไฟแพง โดยคาดวา คาไฟฟาฐานป 2573 อาจสูงขึน้ ถึงหนวยละ 6 บาท จากปจจุบนั คาไฟฟาอัตราหนวยละ 3 บาท สําหรับการพัฒนาประเทศ ก็มกี ารใชพลังงานสูงกวาคาเฉลีย่ ของโลก เชน GDP โต 1% ไทยใชพลังงาน 1-1.1% ขณะทีป่ ระเทศ พัฒนาแลว GDP โต 1% ใชพลังงานไปแค 0.5-0.6% แสดงถึง ประสิทธิภาพการใชพลังงานของประเทศเราตํา่ โดยไทยเปนผูน าํ เขาพลังงานสุทธิ (Net Importer) และมีแนว โนมทีจ่ ะมีการนําเขาเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ขณะทีท่ รัพยากรดานพลังงาน ก็มจี าํ กัดและมีแตจะหมดไปทุกวัน แตการหาทดแทนทําไดยากขึน้ ดังนัน้ เราจึงมีความเสีย่ งทีจ่ ะมีการนําเขาพลังงานมากขึน้ เรือ่ ยๆ 44

Energy#56_p11_Pro3.indd 11

6/22/13 1:28 AM


Q : คุณม A : สําหรับีวิธีในการชวยโลกปร ะหยัดพลัง ตัวกบเองจ คะ คือ กบ งาน ะ คอ ยรอ นเท จะปดเครื่องใชไฟฟามีวิธีในการประหยัดพ อยางไรบาง ทุกครั้งที่เล ล รับลมเย็น า ไหรก บกจ็ ะใชพ ิกใชงาน ห ังงานงาย ๆ นะ  ด ั ล ม ๆ มากทีเดียว จากธรรมชาติ ก แทนเครอื่ งปรบั อา รือถาอากาศไม ก บคิดวานาจ คะ ะชวยโลกลาศ เปด หนา ตา ง ดใชพลังงา นได กบ – ส

ุวนันท คงย ิ่ง

Q : คิดอยางไรถาในอนาคตจะมีนํ้ามันใชไดอีกแค 50 ปเทานั้น A : ควรใชวิธีการสรางคลังเก็บนํ้ามันปาลม เพื่อนํานํ้ามันปาลม ที่เปนสวนเกินไปเก็บไวในสต็อก และตองมีการบริหารจัดการในชวงที่ นํา้ มันแพง เพือ่ ชวยรักษาเสถียรภาพราคานํา้ มันปาลม ซึง่ ในอนาคตถา นํา้ มันจะหมดจริง ๆ ก็คงตองปรับตัวในการดําเนินชีวติ ประจําวันใหไดคะ

ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ

Q : คิดจะทําอยางไรเกี่ยวกับการสรางโรงไฟฟาใชเอง ภายในประเทศไทย A : ผมอยากเสนอรัฐบาลใหยกระดับการกอสราง โรงไฟฟาใหเปน “วาระแหงชาติ” เพือ่ หาขอสรุปวา ในอนาคต การผลิตไฟฟาของประเทศจะตองใชเชื้อเพลิงใดเปนหลัก เชน พลังงานหมุนเวียน กาซธรรมชาติ ถานหิน นิวเคลียร นํ้า เพื่อจะไดลงทุนกอสรางไดถูกตองตามความตองการ เพราะ ปจจุบนั ทางเลือกของเชือ้ เพลิงทีใ่ ชในการผลิตไฟฟามีไมมาก

นายพงษดิษฐ พจนา

12

Energy#56_p10,12_Pro3.indd 12

6/22/13 1:20 AM


Energy#55_p13_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/21/13

9:56 PM


Cover Story นัษรุต เถื่อนทองคํา

GREEN

LOGISTICS

ขนส งสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล อม

โลจิสติกส (LOGISTICS) คําที่ถูกพูดถึงมากในปจจุบัน ช ว งแรกที่ ไ ด ยิ น คนส ว นใหญ มั ก ไม ค  อ ยสนใจกั บ คํ า นี้ ม ากนั ก หากยังไมเขาใจถึงการทํางานวามีผลกระทบหรือเกี่ยวของกับ การดําเนินชีวติ ของเราอยางไร รวมทัง้ กอใหเกิดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมมากนอยเพียงไร แนนอนวาเรือ่ งของขัน้ ตอนกระบวนการ ทํางานยอมมีทั้งสวนที่กอใหเกิดประโยชน และมีผลกระทบตอ สิ่ ง แวดล อ มรอบด า น จนเกิ ด เป น โครงการสํ า คั ญ ภายใต ชื่ อ “GREEN LOGISTICS”

14

Energy#56_p14-19_Pro3.indd 14

6/22/13 1:48 AM


โลจิสติกส (Logistics) หลายทานคงเคยไดยินกันบางจาก สื่อตาง ๆ บางคนเขาใจดีวามีความเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันอยางไร เชนเดียวกับหลาย ๆ ทานทีเ่ คยไดยนิ อยูท กุ วันเชนกัน แตกลับไมเขาใจ วามีความเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของเราอยางไร ? กอนหนานี้ โลจิสติกส หมายถึง การสงกําลังบํารุงในทางทหาร การขนสงยุทโธปกรณ และไดนําเอาวิธีการดังกลาวมาประยุกตใชกับ ระบบการขนสง คมนาคม ทําใหโลจิสติกสถูกบัญญัติใหเปนความ หมายของระบบขนสง รวมถึงการจัดการ วางแผน กําหนดและ ควบคุมกิจกรรมการเคลือ่ นยายลําเลียงสินคาจากทีห่ นึง่ ไปสูอ กี ทีห่ นึง่ เพื่อการอํานวยความสะดวกของกระบวนการไหลของสินคาตั้งแตจุด เริม่ จนถึงมือผูบ ริโภค โดยวิธกี ารและกระบวนการทีท่ าํ ใหเกิดคาใชจา ย และตนทุนโดยรวมในการกระจายสินคาใหตํ่าที่สุด ป จ จุ บั น การแข ง ขั น ของการค า ราคาสิ น ค า จะอยู  ใ นภาค อุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม ซึ่งมีราคากําหนดอยูในระดับหนึ่ง และมีสวนที่สําคัญ คือ คาขนสง หากราคาคาขนสงถูกก็จะชวยลด ภาระตนทุนของสินคาได เชน หากมีสินคาเขามา ทําอยางไรจะใหไป สูโรงงานไดเร็วที่สุด ฉะนั้นทางเลือก คือ เสนทางขนสงหรือระบบ โลจิสติกสที่เหมาะสมและประหยัดที่สุด 95% ของการขนสงทัว่ โลกเปนการขนสงทางนํา้ เพราะขนสงได มากทีส่ ดุ รองลงมา คือ ระบบรางและระบบถนน ยกตัวอยางเชน นํา้ มัน 1 ลิตร ระยะทาง 1 กิโลเมตร ถาขนสงทางนํา้ จะขนสงสินคาหรือของได ประมาณ 217 ตัน แตถาขนสงดวยระบบราง นํ้ามัน 1 ลิตร ระยะทาง 1 กิโลเมตร จะขนสินคาได 85 ตัน และทางถนนจะเหลือ 25 ตัน จะเห็น ไดวา ระบบขนสงทางนํา้ กับระบบรางจึงมีคา ใชจา ยถูกทีส่ ดุ แตทเี่ หมือน กัน คือ การใชเชือ้ เพลิงจากเครือ่ งยนต ซึง่ กระบวนการเผาไหมจะทําให เกิดมลภาวะมากกวาภาคสวนอื่น ๆ หลายเทา Green Logistics หรือ โลจิสติกสเพื่อสิ่งแวดลอม จึงเขามา มีบทบาทตอกระบวนการคา การขนสง และการสงมอบสินคา ซึ่งเปน แนวโนมของโลกในการใหความสําคัญตอการปลอยคารบอนไดออกไซด ทีเ่ กิดจากการเผาผลาญพลังงานในรูปแบบตาง ๆ ในภาคขนสง รวมถึง การใชบรรจุภัณฑที่ไปทําลายทรัพยากรธรรมชาติอยางสิ้นเปลือง จึ ง เกิ ด เป น การบริ ห ารจั ด การโลจิ ส ติ ก ส ใ นส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สิ่ ง แวดล อ มที่ จ ะมี ผ ลกระทบต อ การเปลี่ ย นแปลงสภาวะโลกร อ น รวมถึงผลกระทบตอสิง่ แวดลอมซึง่ เกิดจากกิจกรรมตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของ กับโลจิสติกส โดยที่กิจกรรมโลจิสติกสจะเกี่ยวของกับการเคลื่อน ยาย รวบรวม จัดเก็บ กระจายสินคา ไมวาจะเปนการขนสงประเภทใด ซึ่งสวนใหญยังคงใชพลังงานในรูปของนํ้ามันฟอสซิล กิจกรรมการเคลือ่ นยายและการจัดเก็บสินคาในภาคโลจิสติกส ยังเกี่ยวของกับการใชบรรจุภัณฑในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งกวารอยละ 80 จะอยูใ นรูปกลองกระดาษหรือแพคเกจจิง้ ทีท่ าํ จากกระดาษ ซึง่ วัตถุดบิ สําคัญในการผลิตกระดาษจะใชเยื่อไม ซึ่งลวนแตเปนทรัพยากรทาง ธรรมชาติ คําวา Green Logistics จึงเกี่ยวของกับการนําวัสดุที่ใช ในการบรรจุภณ ั ฑใหสามารถนําไปรีไซเคิลใหม และพยายามหลีกเลีย่ ง บรรจุภัณฑที่ไมเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ประเทศที่พัฒนาแลวอยาง สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุน ไดเริ่มมี ขอจํากัดทางการคาเกี่ยวกับ Green Logistics โดยเริ่มออกมาเปน มาตรการเขมงวดใหผูนําเขาเลือกใชซัพพลายเออรที่มีระบบ Green

Logistics และมี ม าตรการนํ า เข า สินคาประเภทอิเล็กทรอนิกส เครื่อง ใชไฟฟา เครื่องคอมพิวเตอร โดย กําหนดใหผูนําเขาตองมีกระบวนการ ในการทําลาย หรือสงกลับคืนซาก ให กั บ ประเทศที่ ส  ง ออก ซึ่ ง เป น กระบวนการโลจิ ส ติ ก ส ที่ เ รี ย กว า Reverse Logistics หลายประเทศ มีมาตรการยกเลิกการใชไมปดหนา ตู  ค อนเทนเนอร ห รื อ การใช แ ผ น พาเลทที่ทําจากไม ซึ่งถือวาไมเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม เพราะนอกจาก จะทําลายทรัพยากรธรรมชาติแลว ยังอาจมีการปนเปอ นแมลงทีฝ่ ง อยู ในเนื้อไม สงผลกระทบกับสิ่งแวดลอมของประเทศนั้น ๆ เชน ประเทศ ออสเตรเลีย และยุโรปบางประเทศ ก็หามมีการใชวัสดุเหลานี้ สําหรับประเทศไทย ทั้งภาครัฐและเอกชนยังไมคอยใหความ สําคัญตอกระบวนการจัดการ Green Logistics มากนัก เห็นได จากระบบการขนสงของไทยกวารอยละ 80 เปนการขนสงทางถนน มีการใชนํ้ามันสูงกวาการขนสงทางราง 3.5 เทา และสูงกวาการขนสง ทางนํ้าถึง 7 เทา ซึ่งการขนสงทางรถไฟมีสัดสวนอยูเพียงรอยละ 2 ถือวาตํ่ามาก สงผลใหตนทุนโลจิสติกสของไทยสูงกวาประเทศคูแขง การใชนํ้ามันในภาคการขนสง มีปริมาณที่สูงกวาภาคการผลิต นอก เหนือจากการทีท่ าํ ใหประเทศไทยตองเสียเงินตราตางประเทศในการนํา เขานํ้ามันแลว ยังสงผลตอมลพิษทางอากาศ ยิ่งจังหวัดใดอยูในพื้นที่ ศูนยกลางการขนสงและกระจายสินคาก็จะไดรับผลกระทบมากยิ่งขึ้น Green Logistics จึงถือเปนเรื่องที่ทุกภาคสวนตองเรงออก มาตรการปรับปรุงโครงสรางพืน้ ฐานเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของการขนสง ควบคูกับการปลูกจิตสํานึกในการรักษาสภาวะแวดลอมโดยใหมีผล กระทบนอยทีส่ ดุ เชน การปรับเปลีย่ นเชือ้ เพลิงของรถบรรทุกเปน NGV ซึ่งอาจตองลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องคอนขางสูง แตในระยะยาวคุม คาทั้งตอตนทุนที่ลดลงและผลกระทบตอสภาวะแวดลอม กระแสของ Green Logistics คงจะเปนสิ่งที่ผูประกอบการโลจิสติกสและภาค ผูส ง ออกตองใหความสําคัญ ในอนาคตอันใกลหลายประเทศจะใชเปน ขอจํากัดในรูปแบบมาตรการทีม่ ใิ ชภาษี (NTB:Non-Tariff measures) หากไมปรับตัวก็จะสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจในอนาคตได ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ฉบับที่ 11 ( พ.ศ. 2555-2559) ไดกําหนดความพึงประสงคตามกรอบไว 3 ขอไดแก 1.เปนสังคมที่มีความมั่นคง ทั้งทางเศรษฐกิจ ทางอาหาร พลังงาน และมีความมั่นคงในชีวิตในสังคมมีคุณภาพและมีความสุข 2.ด า นวั ฒ นธรรม มี วั ฒ นธรรมประชาธิ ป ไตย วั ฒ นธรรมความ สรางสรรค และวัฒนธรรมการยอมรับความแตกตางที่มีหลากหลาย ในประเทศใหสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข และ 3. สังคมสี เขียว สังคมที่เปนมิตรกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

15

Energy#56_p14-19_Pro3.indd 15

6/22/13 1:48 AM


การพัฒนาเศรษฐกิจประเทศและสังคมอยางยั่งยืน ที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอมในการขับเคลื่อนสูสังคมสีเขียว ตามแนวทางของ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) มีอยู 10 ปจจัย ในการดําเนินการ ไดแก 1. การออกแบบสีเขียว 2. การผลิตสีเขียวทีค่ าํ นึงถึงการผลิตทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวลลอม 3. การจัดซื้อจัดจางสีเขียวของภาครัฐ 4. ความรับผิดชอบตอสังคม 5. ความรวมมือกันในภาคบริการ 6. การฟนฟูทรัพยากร 7. การเพิ่มประสิทธิภาพการใชทรัพยากร 8. การสรางงานและอาชีพสีเขียว 9. กฎระเบียบเพื่อการพัฒนาสีเขียว 10. การเพิม่ การอุดหนุนอุตสาหกรรมทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม

ทางดาน ดร. พงษธนา วณิชยกอบจินดา ผูอํานวยการ หลักสูตร Global MBA in Logistic management มหาวิทยาลัย หอการคาไทย เปดเผยวา การเตรียมความพรอมสําหรับประเทศไทย ในการขยายตั ว ด า นการขนส ง และโลจิ ส ติ ก ส ภ ายใต ก ารพั ฒ นา โครงสรางพื้นฐานไทยดวยการลงทุนสรางระบบรถไฟความเร็วสูง มีผลดีตอประเทศมาก เนื่องจากระบบการขนสงและโลจิสติกสเปน ธุรกิจหลักสําคัญที่ชวยขับเคลื่อนและผลักดันใหเกิดการเติบโตทาง เศรษฐกิจ กระจายรายไดและความเจริญไปสูภูมิภาค และนําความ กาวหนาทางการศึกษาไปสูท อ งถิน่ ชนบท เกิดการจางงาน สรางธุรกิจ ตอเนือ่ งมากมาย สงเสริมเกิดการถายทอดทางเทคโนโลยีทวั่ ถึงทุกภูมภิ าค และลดปญหาการเคลื่อนยายแรงงานจากทองถิ่นเขาสูสวนกลาง

โดยอาศัยการสนับสนุนนโยบายทางการเงินและการคลังของ ภาครัฐ ซึ่งทั้ง 10 ขอที่กลาวมาจะทําไดสําเร็จตองอาศัยการเพิ่ม โครงสรางพื้นฐานสีเขียว เชน ระบบโลจิสติกส การใชการขนสงอยาง มีประสิทธิภาพ การเพิ่มการขนสงระบบรางใหเร็วที่สุดเพื่อลดการใช พลังงาน นายเตชะ บุณยะชัย รองประธานสภาผูสงสินคาทางเรือแหง ประเทศไทย กลาววา เพื่อสรางศักยภาพของผูสงออก สิ่งที่ตองให ความสําคัญคือกระบวนการดานโลจิสติกส ไมวา จะเปนการลดตนทุน การขนสง และลดสินคาคงคลัง แตแนวโนมการคาในอนาคต สิ่งที่ ปฏิเสธไมได คือ การทําธุรกิจที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หรือ Green Logistics ทางเลือกเพื่อการแขงขันที่ยั่งยืน สภาผูส ง ออกฯ เปนผูน าํ เอาแนวคิดการบริหารจัดการโลจิสติกส ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หรือกรีนโลจิสติกสเขามาเผยแพรและ สรางความตระหนักใหกบั ผูป ระกอบการไทยมาอยางตอเนือ่ ง โดยการ สนับสนุนเผยแพรองคความรูแ ละแบบอยางทีด่ ขี องการบริหารจัดการ โลจิสติกสจากตางประเทศใหกบั ผูป ระกอบการ และการสนับสนุนแนว คิดกรีนโลจิสติกสในภาควิชาการ โดยตระหนักถึงความสําคัญของ การพัฒนาเทคโนโลยีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จึงมุงมั่นพัฒนาใน การดําเนินการสรางความรวมมือการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อดําเนิน การพั ฒ นาระบบในระยะยาวและสร า งสรรค แ นวทางการจั ด การ โลจิสติกสและโซอุปทานเพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืนตอไป ดาน นายชาญชัย สุวิสุทธะกุล ผูตรวจราชการกระทรวง คมนาคม เปดเผยวา ไดมีการหารือเกี่ยวกับโครงการนํารองการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพในรถบรรทุก และการจัดตั้งศูนยกลาง การขนสงสีเขียวเพื่อลดการใชกาซเรือนกระจก ประเทศที่คาดวาจะ รวมนํารองในโครงการดังกลาว ประกอบดวย ประเทศไทย ลาว และ เวียดนาม เพื่อเปนการแกไขปญหาเรื่องของการวิ่งรถเที่ยวเปลา หากโครงการดังกลาวเริ่มใชจะถือวาเปนการสอดคลองกับการเปด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 2558 โดยมอบหมายให สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ทําการ ศึกษา จากนัน้ จะสรุปและเสนอใหคณะอนุกรรมการกระทรวงคมนาคม พิจารณารายละเอียดในการดําเนินการตอไป

16

Energy#56_p14-19_Pro3.indd 16

6/22/13 1:48 AM


หากโครงการดังกลาวสามารถลงทุนพรอมกันทัว่ ประเทศ จะยิง่ เกิดการรวมทุนกอสรางโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตตาง ๆ อยาง ตอเนื่อง สงผลใหเกิดการถายทอดโนฮาวดและเทคโนโลยีใหมเขาสู ประเทศไทย เกิดการพึ่งพากันระหวางประเทศ พรอมกับไทยจะมีการ พัฒนาดานโนฮาวดใหม ๆ ที่เกี่ยวของกับความตองการใชภายใน ประเทศ ยิ่งสงผลใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ประเทศไทยจะสามารถยกระดับประเทศใหสามารถหันมาผลิตสินคา สงออกทีม่ มี ลู คาเพิม่ มากขึน้ และขายโนฮาวด โดยไมตอ งไปแขงขันสูก บั กลุม ประเทศอืน่ ๆ ทีม่ ตี น ทุนตํา่ อีกตอไป อยางกลุม ประเทศเพือ่ นบาน เพราะผูผลิตสินคาที่มีมูลคานอยจะตองหนีจากไทย หันไปมองหา ประเทศที่มีตนทุนตํ่าอื่นแทน ประเทศไทยจะกลายเปนเมืองหลวงของอาเซียน มีศักยภาพ และมีความสามารถที่ไดเปรียบในการเปนศูนยกลางการเชื่อมโยง กับอาเซียน กอใหเกิดการดึงดูดผูเชี่ยวชาญที่มีโนฮาวดที่ดีของ ตางประเทศเขาสูไทย ไทยจะกลายเปนศูนยกลางการเชื่อมโยงทาง เทคโนโลยีของอินโดจีน ยิ่งเมื่อรวมประเทศเปน AEC อยางสมบูรณ จะสรางโอกาสใหไทยขึ้นเปนอันดับหนึ่งและเปนเวทีใหไทยไดแสดง บทบาทและศักยภาพของการเปนศูนยกลางอาเซียนอยางเต็มตัว และ อยากแนะนําการปรับตัวรับมือตอไปวา ไทยจะตองมีมมุ มองการแขงขัน ในระบบเศรษฐกิจ เปนการแขงขันของกลุม AEC +6 คือ นอกจาก มีประเทศในกลุม AEC แลว ยังมี จีน เกาหลีใต ญี่ปุน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และอินเดีย อยูในตลาดเดียวกันดวย อยางไรก็ตาม ภาค รัฐจะตองเปนผูนําการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานเพื่อใหภาค เอกชนสรางกลไก สรางระบบการเคลื่อนยายสินคาไดอยางรวดเร็ว และมีตน ทุนที่เหมาะสม ในขณะที่ รศ.สุธรรม อยูในธรรม คณบดี ค ณะนิ ติ ศ าสตร มหาวิ ท ยาลั ย หอการคาไทยและผูอํานวยการ สถาบัน วิ ช าการนโยบายสาธารณะกั บ ธุ ร กิ จ และ การกํ า กั บ ดู แ ล (APaR) มหาวิ ท ยาลั ย หอการค า ไทย เป ด เผยว า อนาคตของ ประเทศไทยในยุ ค การขยายตั ว ทางด า น โครงสรางพื้นฐานของประเทศ ไดแก ดาน การขนสง ดานคมคมนาคม ดานพลังงาน ดานเทคโนโลยี และดานขอมูลการสื่อสาร ยอมมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ ในภาพรวมอยางมาก เพราะนอกจากจะเปนตนทุนที่สําคัญของภาค ธุรกิจแลว ยังเปนโอกาสสําคัญทีภ่ าคเศรษฐกิจการคาระหวางประเทศ จะมีการขยายตัวและเติบโตสูงขึน้ อีกดวย โดยเฉพาะในยุคของการเปด เสรีทางการคาและการรวมตัวทางเศรษฐกิจของกลุม ประเทศตาง ๆ ทัว่ โลก รวมทั้งการเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

17

Energy#56_p14-19_Pro3.indd 17

6/22/13 1:48 AM


ประเทศไทยสามารถดึงดูดใหตา งประเทศเขามาลงทุนในประเทศ ได เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยูตรงจุดศูนยกลางของภูมิภาคที่เอื้อ อํานวยตอการผลิตและกระจายสินคาไปยังประเทศตาง ๆ ทั่วโลกได อยางสะดวกรวดเร็ว ถาหากมีการพัฒนาระบบการขนสงและระบบ การสื่อสารที่ดีมากขึ้น ยอมทําใหการเจรจาธุรกิจและการคาระหวาง ประเทศเปนไปอยางรวดเร็วมากกวาเดิม ทั้งยังมีตนทุนทางเศรษฐกิจ และพลังงานลดลงอยางมาก และสามารถนํางบประมาณที่ลดลงไป ใชในการเพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาปจจัยสําคัญที่เกี่ยวของแทน อาทิ อุตสาหกรรมการผลิตสินคา บริการธุรกิจนําเขาและสงออกการทองเทีย่ ว รวมถึงการพัฒนาบุคลากรทั้งในระดับฝมือและระดับมืออาชีพดวย อีกหนึ่งหนวยงานที่มีการขับเคลื่อนดาน Green logistics คือ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โดยเตรียมนําโครงการ พัฒนาระบบขนสงอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมมาใช อาทิ การปรับรูปการเคลื่อนยายจากรถไปเรือ หรือ รถไปราง การวางระบบรางขนสง การกําหนดเสนทางการเดินรถไม ใหผานพื้นที่ชุมชน การกําหนดเวลาเดินรถ ฯลฯ มาตรการดังกลาว มีเปาหมายเพื่อเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม โดย เฉพาะนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่มีการขนสงที่หนาแนนและกอ ใหเกิดมลพิษจํานวนมาก ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ประธานกรรมการการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (กนอ.) เปดเผยวา โครงการพัฒนาระบบขนสงอยางมี ประสิทธิภาพ ปลอดภัย และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม(Green logistics) ในกลุ  ม นิ ค มฯ และท า เรื อ อุ ต สาหกรรมพื้ น ที่ ม าบตาพุ ด จั ง หวั ด ระยอง จากแผนยกระดับกลุมนิคมมาบตาพุดสูเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ผาน 3 กลยุทธ ไดแก กลยุทธการปรับเปลี่ยนรูปแบบ การขนสง (Shift mode) กลยุทธการกํากับดูแลตามกฏหมาย กลยุทธการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน โดยคาดหวังวาจะสามารถลด ความหนาแนนการจราจรขนสงระหวางทาเรือ ประหยัดพลังงาน และ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยมีรายละเอียด ในการขับเคลื่อน ดังนี้ 1. การปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนสง (Shift mode) ไดแก การ เคลือ่ นยาย วัตถุดบิ ผลิตภัณฑ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ปรับเปลีย่ นรูป แบบการขนสง อาทิ รูปการเคลื่อนยายจากรถไปเรือ หรือรถไปราง การวางระบบรางขนสง ฯลฯ 2. การกํากับดูแลตามกฏหมาย มีวตั ถุประสงคเพือ่ ควบคุมและ ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฏหมายการขนสง และยกระดับมาตราฐาน ความปลอดภัยในการขนสง อาทิ การกําหนดเสนทางการเดินรถไมให ผานพื้นที่ชุมชน การกําหนดเวลาเดินรถ ฯลฯ 3. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนา โครงสรางพืน้ ฐานดานการขนสง และลดความหนาแนนของการจราจร บนถนนและรองรับการขยายตัวดานการขนสงจากภาคอุตสาหกรรม ในอนาคตในทุกชองทาง ทั้งนี้ กนอ. มีนโยบายในการกํากับดูแลสิ่งแวดลอมรวมกับ ทุกภาคสวน เพือ่ ใหสามารถอยูร ว มกับชุมชนไดอยางยัง่ ยืน โดยเฉพาะ มาตราการเฝาระวังและควบคุมสิ่งแวดลอม ซึ่งศูนยเฝาระวังและ ควบคุมคุณภาพสิ่งแวดลอม (EMCC) เปนกลไกลที่สําคัญในการ ติดตามเฝาระวังและควบคุมสัง่ การในการจัดการดานสิง่ แวดลอมตาง ๆ ซึ่งเปนสวนหนึ่งในการขับเคลื่อนดาน Green logistics

18

Energy#56_p14-19_Pro3.indd 18

6/22/13 1:48 AM


สวนในตางประเทศก็หนั มาใหความสําคัญกับ Green logistics เชนเดียวกันกับประเทศเพื่อนบานอยางสิงคโปร เมื่อเดือนเมษายน ที่ผานมา สํานักงานการทาเรือ และทางทะเลสิงคโปร (MPA) มีแผน ลงทุนถึง 100 ลานดอลลารสิงคโปร ในชวง 5 ปขางหนา เพื่อกระตุน ใหเกิดการเดินเรือขนสงสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมมากขึน้ ในนาน นํ้าสิงคโปร โดยการดําเนินงานระยะแรกของโครงการริเริ่มเพื่อนาน นํ้าสีเขียวสิงคโปรนั้น มีเงินลงทุนราว 50 ลานดอลลาร เพื่อใชจายใน 3 โครงการหลัก คือ เรือสีเขียว ทาเรือสีเขียว และเทคโนโลยีสีเขียว โครงการเรือสีเขียวนั้น เปนการกําหนดใหเรือขนสงสินคาที่ ติดธงชาติสิงคโปรรับนโยบายเรือประหยัดพลังงานเขามาใช จะไดรับ สวนลด 50% ในคาธรรมเนียมจดทะเบียนเริ่มแรก และเงินคืนภาษีอีก 20% สําหรับการจายภาษีรายป สวนโครงการทาเรือสีเขียว เริม่ ดําเนินการมาตัง้ แตเดือน ก.ค.ป ที่แลว และปรับใชกับเรือทุกประเภทที่เขามาในนานนํ้าสิงคโปร จะตอง ลดการปลอยมลพิษใหไดตามมาตรฐานที่กําหนดไว และมีเทคโนโลยี การกรองมลพิษติดตั้งบนเรือใหสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติของ องคกรทางทะเลระหวางประเทศ เพื่อลดการปลอยซัลเฟอร หรือใช เชื้อเพลิงที่มีซัลเฟอรในระดับตํ่า ซึ่งตามมาตรฐานไอเอ็มโอกําหนดไว ไมถึง 0.1% ซึ่งถาเรือลําใดสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว จะได รับสวนลดคาธรรมเนียมการใชทาเรือ 15% เปนตน สวนทาเรือแอนทเวิรบในเบลเยี่ยม ทาเรือรอตเตอรดัม และ อัมสเตอรดัม ของเนเธอรแลนด ก็มีการดําเนินโครงการทํานอง

เดียวกันนี้ เชนเดียวกับอีกหลายทาเรือในสหรัฐที่เสนอมาตรการ จูงใจ อาทิ โครงการเชื้อเพลิงซัลเฟอรตํ่า เปนตน โดยทาเรือนิวยอรก และนิวเจอรซีย ของสหรัฐ มีการเสนอมาตรการจูงใจดังกลาวใหกับผู ประกอบการเดินเรือทีใ่ ชนาํ้ มันเตาซัลเฟอรตาํ่ หรือตํา่ มาก เมือ่ เรือแตละ ลําเขามาอยูใ นเขต 20 ไมลทะเลจากทาเรือ จะตองแลนดวยความเร็วไม เกิน 10 น็อต เพื่อลดการปลอยมลพิษนั่นเอง สําหรับประเทศไทย Green logistics ถือเปนเรือ่ งทีไ่ มอาจมอง ขาม โดยเฉพาะเมือ่ มีการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไมเปน เพียงแคการรวมฐานการผลิตและฐานการตลาดระหวางประเทศสมาชิก ประชาคมเทานัน้ หากแตยงั รวมถึงการพัฒนาและเชือ่ มโยงเครือขายโซ อุปทานทัง้ ในและตางประเทศเขาดวยกัน ยอมทําใหการจัดการโลจิสติกส การคาและโซอปุ ทานของธุรกิจไทยในอนาคตมีความซับซอนมากขึน้ ขอบเขตการบริหารจัดการโลจิสติกสจะครอบคลุมทัง้ ในมุมของ การจัดสรรทรัพยากร การสรางคุณคาในผลิตภัณฑหรือบริการใน มุมมองของลูกคา ไมเพียงแคเรื่องของราคาหรือคุณภาพสินคาและ บริการเทานั้น ยังรวมถึงกระบวนการและความสามารถในการตอบ สนองหรือเติมเต็มความตองการของลูกคาไดอยางรวดเร็วและเชื่อ ถือไดมากขึ้น อี ก ทั้ ง การจั ด การความสั ม พั น ธ ภ ายใต โ ซ อุ ป ทานอย า งมี ประสิทธิภาพ ยังถือเปนอีกปจจัยภายใตแนวคิดของการจัดการ โลจิสติกสที่จะสงผลใหประเทศไทยประสบความสําเร็จและเติบโตได อยางยั่งยืนตอไป

19

Energy#56_p14-19_Pro3.indd 19

6/22/13 1:48 AM


Exclusive

รังสรรค อรัญมิตร

20

Energy#56_p20-25_Pro3.indd 20

6/17/13 9:54 PM


“อิตัลไทย” กาวกระโดดขึ้นแทนผูนํา

งานกอสรางระบบพลังงานทดแทนและวิศวกรรม

นายสกล เหลาสุวรรณ กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั อิตลั ไทยวิศวกรรม จํากัด หรือ (ITALTHAI Engineering : ITE) หนึง่ ในบริษทั ผูน าํ ดานวิศวกรรม ภายใต “อิตลั ไทย กรุป ” เปดเผยวา ธุรกิจของบริษทั แบงออก เปน 4 กลุม ไดแก กลุม ธุรกิจพลังงานทดแทน (Renewable Energy) อาทิ โรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตย โรงไฟฟาพลังงานลม รวมถึงโรงไฟฟาพลังความรอน กลุมธุรกิจ เกีย่ วกับสถานีไฟฟาแรงสูง (High Voltage Power Substations) กลุมงานกอสราง ระบบสาธารณูปโภคสําหรับโรงงานปโตรเคมี และโรงงานขนาดใหญ รวมถึงกลุมธุรกิจ งานระบบไฟฟาและเครื่องกลของอาคารสูง สุขาภิบาล ไฟฟา ประปา และ แอร ที่ผานมา อิตัลไทยวิศวกรรม เติบโต 1,600 ลานบาท เนือ่ งจากทัง้ 4 กลุม ธุรกิจนัน้ มีลกู คาประจําอยูแ ลว ในปนตี้ งั้ เปาเติบโตไวที่ 3,000 – 5,000 ลานบาท ซึง่ 5 เดือนทีผ่ า นมา ลู ก ค า ให ค วามไว ว างใจดํ า เนิ น การหลาย โครงการ นอกจากนีย้ งั มีงานทีร่ อดําเนินการ อีกประมาณ 4,000 ลานบาท แตสามารถรับ รูร ายไดในปนปี้ ระมาณ 3,800 ลานบาท สําหรับกลุม ธุรกิจทีโ่ ตแบบกาวกระโดด คือ กลุม Renewable Energy ซึง่ อิตลั ไทย ไดงานกลุมนี้เยอะมาก เนื่องจากผูรับเหมา

งานกอสรางโรงไฟฟาพลังงานทดแทนยัง มีคูแขงไมมาก และอิตัลไทยฯ ก็เปนบริษัท แรก ๆ ทีเ่ ปนผูอ อกแบบ จัดหา และกอสราง โรงไฟฟ า พลั ง งานทดแทน ทั้ ง พลั ง งาน แสงอาทิตย พลังงานลม ปจจุบนั มีงานโรงไฟฟา พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ที่ ก  อ สร า งเสร็ จ แล ว ที่จังหวัดลพบุรี 55 เมกะวัตต ของบริษัท พัฒนาพลังงาน หรือ National Energy Development (NED) พลังงานแสงอาทิตย แบบหมุ น ตามดวงอาทิ ต ย 8 เมกะวั ต ต ที่จังหวัดสระบุรี และโรงไฟฟาพลังงานลม เทพพนา 8 เมกะวัตต ทีจ่ งั หวัดชัยภูมิ นอกจากนี้ ยั ง มี โ รงไฟฟ า พลั ง งาน แสงอาทิตยทกี่ าํ ลังดําเนินการกอสรางพรอม จายไฟ ในป 2556 จํานวน 98.5 เมกะวัตต อาทิ บริษัทไทยโซลา เอ็นเนอรยี ในเครือ มาลีนนท 3 โครงการ ทีจ่ งั หวัดสุพรรณบุร,ี Solarco Group ของ กลุมเอ็กโก กรุป 3 โครงการ ทีจ่ งั หวัดนครปฐม, และ Soleq Solar (Thailand) ที่จังหวัดกําแพงเพชร 4 โครงการ และทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี 1 โครงการ, และในป จ จุ บั น อยู  ร ะหว า งการประมู ล อี ก 2 บริษทั ทัง้ บางจาก โซลาร เอ็นเนอรยี จํากัด และ บริษทั เสริมสรางพลังงาน จํากัด พรอมกันนี้ยังไดงานของการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ในการ

กอสรางโครงการโรงไฟฟาพระนครเหนือ ชุด 2 ซึง่ อยูร ะหวางดําเนินการกอสรางสถานี ไฟฟาในกับการไฟฟานครหลวง 4 แหง และ ยังดําเนินการกอสรางโรงงานปโตรเคมีคอล ให กั บ SCG Group, IRPC และ PTT Chemical ที่กลาวมาทั้งหมดนี้เปนสวน สําคัญทีช่ ว ยใหบริษทั เติบโตแบบกาวกระโดด ทัง้ นีบ้ ริษทั มีความเชือ่ มัน่ ในประสิทธิภาพ ของที ม งานวิ ศ วกร โดยเฉพาะงานระบบ ไฟฟาและเครื่องกล ที่มีความเขมแข็ง ดวย ประสบการณที่สั่งสมมานาน อีกทั้งมีระบบ การจัดการคุณภาพ ISO 9001 : 2008 ควบคุม คุ ณ ภาพ เรื่ อ งออกแบบก อ สร า งได รั บ การพั ฒ นามานาน ระบบการจั ด การ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่เขมงวด ตามกฎหมาย และตามความตองการของลูกคา ทัง้ ยังเนนเรือ่ งการประสานงานกับลูกคาอยาง ใกลชดิ เพือ่ การสงงานตรงตามกําหนดเวลา พรอมมุง มัน่ ในการพัฒนาการใหบริการงาน กอสรางอยางตอเนือ่ ง ดวยเทคโนโลยีขนั้ สูง และใหบริการในแบบ One Stop Services เพือ่ ใหระบบสาธารณูปโภคและระบบผลิตสามารถ ทํางานไดอยางตอเนื่อง เชื่อถือได มีความ ปลอดภัยไดมาตรฐานตามทีก่ ฎหมายกําหนด ลดความเสีย่ งตออุบตั ภิ ยั เพิม่ ประสิทธิภาพ และประหยั ด พลั ง งานให ม ากที่ สุ ด 21

Energy#56_p20-25_Pro3.indd 21

6/17/13 9:54 PM


Exclusive ปยะนุช มีเมือง

22

Energy#56_p20-25_Pro3.indd 22

6/17/13 9:54 PM


บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เปน องคกรที่ใหความสําคัญกับการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอมมาโดยตลอด โดยไดคิดคนนวัตกรรมเพื่อใหทุก กระบวนการผลิตสามารถใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจน สรรหาเทคโนโลยีใหม ๆ ในการผลิต พลังงานทดแทนอยางตอเนื่อง

ซีพีเอฟเดินหนาจัดการพลังงานอยางยั่งยืน นายสุชาติ สิทธิชัย รองกรรมการผูจัดการอาวุโส เปดเผยวา โรงงานแปรรูปเนือ้ ไก จังหวัดนครราชสีมา โดดเดนดานการบริหารจัดการ ที่มีคุณภาพควบคูไปกับการอนุรักษพลังงานที่ทํามาอยางตอเนื่อง โดยตั้งเปาหมายการประหยัดพลังงานไมตํ่ากวา 10 ลานบาทตอป ป จ จุ บั น โรงงานแห ง นี้ มี โ ครงการที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การประหยั ด และ อนุรกั ษพลังงานมากกวา 200 โครงการ ยกตัวอยางเชน การนํานํา้ มันพืช ใชแลวมาผลิตเปนนํ้ามัน B100 ที่สามารถใชแทนนํ้ามันดีเซลใน รถบรรทุก รถโฟลคลิฟท และรถกระบะเครื่องยนตคอมมอนเรลของ โรงงานได 100% โดยไมตองปรับเปลี่ยนเครื่องยนต และยังไมพบ ปญหากับเครือ่ งยนตเลย นอกจากนี้ ยังดําเนินโครงการผลิตไบโอแกส จากระบบบําบัดนํ้า เพื่อนํากาซที่ไดจากการบําบัดไปใชแทนนํ้ามันเตา สําหรับผลิตไอนํ้า คาดวาจะประหยัดไดถึง 21ลานบาทตอป ทั้งนี้ โรงผลิตนํ้ามันไบโอดีเซลของโรงงานซีพีเอฟนครราชสีมา สามารถรองรับนํา้ มันพืชใชแลว 100,000 ลิตรตอเดือน โดยนํานํา้ มันพืช ใชแลวจากกระบวนการแปรรูปอาหารประเภททอด เฉลี่ยเดือนละ 62,000 ลิตร มาผลิตเปนนํา้ มันไบโอดีเซลไดทงั้ หมด เทากับวาสามารถ ผลิตนํา้ มันไบโอดีเซลใชในโรงานไดถงึ 744,000 ลิตรตอป ชวยประหยัด คาใชจายดานพลังงานนํ้ามันเชื้อเพลิงประเภทดีเซลไดถึงปละกวา 1.44 ลานบาท และนํ้ามันที่ผลิตไดนั้นยังผานการรับรองมาตรฐาน ไบโอดีเซลชุมชน จาก กรมธุรกิจพลังงาน ซึ่งสามารถยอยสลายได ดวยกระบวนการทางชีวภาพ ทีส่ าํ คัญโครงการนี้ ยังชวยตัดตอนนํา้ มัน ทอดซํ้าไมใหกระจายสูชุมชนและผูบริโภคทั่วไป เนื่องจากนํ้ามันพืช ใช แ ล ว เป น อั น ตรายต อ ผู  บ ริ โ ภค เพราะมี ส ารก อ มะเร็ ง รวมทั้ ง

สารเคมีอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นระหวางกระบวนการประกอบอาหารที่สง ผลกระทบโดยตรงตอสุขภาพ ถือเปนอีกความภาคภูมิใจที่ซีพีเอฟ มีสวนในการปกปองสุขภาพของคนไทย ดาน โรงงานผลิตอาหารสัตวปก ธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ก็ให ความสําคัญกับการจัดการพลังงานอยางมีประสิทธิภาพเชนกัน การันตี ไดจากการควารางวัลชนะเลิศ Eagle Award ประจําป 2004 จาก ความโดดเดนดานการออกแบบโรงงานเพื่อการประหยัดพลังงาน ซึ่ง เปนรางวัลระดับโลกดาน Construction Design Standard จาก สหรัฐอเมริกา ขณะเดียวกันยังมีการจัดการและปรับปรุงกระบวนการ ผลิตเพื่อใหสอดคลองกับการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ อาทิ การสรางสรรคนวัตกรรมดานพลังงาน ที่ชื่อวา “Economizer” หรือ “เครือ่ งแลกเปลีย่ นความรอน” ทีไ่ มเพียงแตชว ยลดการสูญเสีย พลังงานความรอนโดยเปลาประโยชน ยังชวยลดการใชพลังงาน ในกระบวนการผลิตอาหารสัตวไดเปนอยางดี โดยเริ่มจากแนวคิดที่วาโรงงานอาหารสัตวมีการใชความรอน เพื่อเพิ่มอุณหภูมินํ้าใหสูงถึงระดับ 105 องศาเซลเซียส กอนสงเขาสู หมอไอนํา้ หากมีการนําความรอนทีก่ ระบวนการผลิตปลอยทิง้ กลับมา ใชใหม โดยผาน Economizer นี้ จะทําใหนํ้าทีไ่ หลเขาสูหมอไอนํ้ามี อุณหภูมิสูงขึ้นได ซึ่งจะบรรลุผลใน 2 ดาน คือ ลดความรอนสูญเปลา ที่ถูกปลอยทิ้ง และลดการใชพลังงานในการเพิ่มอุณหภูมินํ้า เปนการ นํ า พลั ง งานสู ญ เปลา กลั บ มาใชใ หม ไ ด อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จาก การดํ า เนิ น งานด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานอย า งต อ เนื่ อ ง ทํ า ให โรงงานซีพเี อฟ ปกธงชัย ประหยัดไดถึงปละกวา 21 ลานบาท 23

Energy#56_p20-25_Pro3.indd 23

6/17/13 9:55 PM


Exclusive

นัษรุต เถื่อนทองคํา

24

Energy#56_p24-25_Pro3.indd 24

6/25/13 12:55 AM


“เอ็กโก กรุป”

เรงลงทุนดานพลังงาน มุงรักษาระดับการเติบโตตอเนื่อง “เอ็กโก กรุป” หรือ บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หนึ่งในบริษัท ที่ดําเนินกิจการดานพลังงาน เตรียมเดินหนาแสวงหาโอกาสการลงทุน ใหม ๆ ทั้งในประเทศ ภูมิภาคอาเซียน และขยายสูภูมิภาคเอเชีย เพื่อยก ระดับการผลิตไฟฟาอยางตอเนือ่ ง หลังผลการดําเนินงานไตรมาสแรกของ ป 2556 มีกําไร 2,090 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอน คิดเปนรอยละ 21 นายสหัส ประทักษนุกูล กรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป เปดเผยวา จาก ผลประกอบการไตรมาสแรกของ เอ็กโก กรุป แสดงใหเห็นถึงการบริหารจัดการโรง ไฟฟาเชิงพาณิชยอยางมีประสิทธิภาพ และ ยังมีความพรอมในการขยายการลงทุน โดย มีสถานะการเงินที่แข็งแกรงและไดรับการ สนับสนุนจากสถาบันการเงินเพื่อนําเงินมา ลงทุนอีกจํานวนมาก ซึ่งผลการดําเนินงาน ไตรมาสที่ 1 ป 2556 สิน้ สุด ณ เดือนมีนาคม 2556 เอ็กโก กรุป มีกาํ ไรกอนผลกระทบจาก อัตราแลกเปลี่ยน (FX) จํานวน 2,090 ลาน บาท เพิม่ ขึน้ จากชวงเวลาเดียวกันของปกอ น จํานวน 364 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 21 สําหรับผลการดําเนินงานดานธุรกิจ จนถึงปจจุบัน เอ็กโก กรุป มีโครงการโรง ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย จํานวน 2 โรง และไดเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชยแลว ไดแก โรงไฟฟาบึงสามพัน จ.เพชรบูรณ ซึ่งเปน โรงไฟฟาแหงที่ 4 ที่ดําเนินการโดย บริษัท จี-พาวเวอร ซอรซ จํากัด (จีพีเอส) โดย ไดเดินเครื่องเชิงพาณิชยแลว เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2556 และโรงไฟฟาลพบุรี โซ ลาร สวนขยาย ที่ดําเนินการโดย บริษัท พัฒนาพลังงานธรรมชาติ จํากัด (เอ็นอีดี) โดยไดเดินเครื่องเชิงพาณิชยแลว เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2556

ส ว นความคื บ หนา ของโครงการที่ เอ็กโก กรุป มีสว นเขาไปถือหุน ซึง่ อยูร ะหวาง การกอสรางในชวงไตรมาสแรก จํานวน 4 โครงการ ไดแก โครงการโรงไฟฟ า พลั ง งานลม เทพพนา ตั้ ง อยู  ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ กอสรางแลวเสร็จประมาณ รอยละ 70 คาด วาจะเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย ไดในเดือน กรกฎาคม 2556 โครงการโรงไฟฟาพลังงานขยะชุมชน หาดใหญ จังหวัดสงขลา กอสรางแลวเสร็จ ประมาณรอยละ 65 คาดวาจะเริ่มเดินเครื่อง เชิงพาณิชยไดในเดือนสิงหาคม 2556 โครงการโรงไฟฟ า พลั ง งานแสง อาทิตย โซลาร โก ประกอบดวย โรงไฟฟา จํานวน 6 แหง ตัง้ อยูใ นพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครปฐม และสุพรรณบุรี กอสรางแลวเสร็จประมาณ ร อ ยละ 20 คาดว า จะเริ่ ม เดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิชยไดในเดือนธันวาคม 2556 โครงการโรงไฟฟาพลังนํา้ แบบฝายนํา้ ลนไซยะบุรี ใน สปป.ลาว อยูร ะหวางการเตรียม พื้ น ที่ แ ละเริ่ ม ก อ สร า งบางส ว น ก อ สร า ง แลวเสร็จประมาณรอยละ 7 คาดวาจะเริม่ เดิน เครือ่ งเชิงพาณิชยไดในเดือนมกราคม 2562 ทั้งนี้ มีความคืบหนาของโครงการที่ อยูระหวางการพัฒนา จํานวน 5 โครงการ ประกอบดวย โครงการผูผ ลิตไฟฟารายเล็ก (SPP) จํานวน 3 โครงการ ไดแก โครงการ

ทีเจ โคเจน จังหวัดปทุมธานี, โครงการที พี โคเจน และ เอสเค โคเจน จังหวัดราชบุรี รวมกําลังการผลิต 375 เมกะวัตต ซึ่งทั้ง 3 โครงการอยูระหวางการทํารายงานศึกษา ผลกระทบสิ่ ง แวดล อ ม (EIA) และการ เตรี ย มการด า นวิ ศ วกรรมและจั ด หา เครื่องจักร (EPC) นอกจากนี้ ยังมีโครงการโรงไฟฟา ขนอมแหงใหม จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ มีกําลังการผลิต 900 เมกะวัตต อยูระหวาง การเจรจาทําสัญญาซื้อขายไฟฟา (PPA) และการลงทุ น พั ฒ นาโครงการโรงไฟฟ า ถานหินเคซอนสวนขยาย ประเทศฟลิปปนส มีกําลังการผลิตประมาณ 500 เมกะวัตต อยูในระหวางการเจรจาขอตกลงรวมทุน ป จ จุ บั น เอ็ ก โก กรุ  ป มี โ รงไฟฟ า ทั้งในประเทศและตางประเทศที่เดินเครื่อง เชิ ง พาณิ ช ย แ ล ว จํ า นวน 20 แห ง คิ ด เป น กํ า ลั ง การผลิ ต ตามสั ญ ญาซื้ อ ขาย ไฟฟ า ตามสั ด ส ว นการถื อ หุ  น ของบริ ษั ท ประมาณ 4,510 เมกะวัตต และมีโครงการ ที่ อ ยู  ร ะหว า งการก อ สร า งและพั ฒ นาอี ก จํานวน 9 โครงการ คิดเปนกําลังการผลิต ตามสัญญาซื้อขายไฟฟาตามสัดสวนการ ถือหุนของบริษัท ประมาณ 1,610 เมกะวัตต รวมกําลังการผลิตตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟา ตามสั ด ส ว นการถื อ หุ  น ของบริ ษั ท ทั้ ง สิ้ น ประมาณ 6,120 เมกะวัตต

25

Energy#56_p24-25_Pro3.indd 25

6/25/13 12:56 AM


Energy Design รังสรรค อรัญมิตร

26

Energy#56_p26-28_Pro3.indd 26

6/7/13 12:30 AM


27

Energy#56_p26-28_Pro3.indd 27

6/7/13 12:30 AM


28

Energy#56_p26-28_Pro3.indd 28

6/7/13 12:30 AM


Energy#56_p29_Pro3.ai

1

6/17/13

9:58 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

:

/EcoLightTechAsia


Greenovation บุษยารัตน ตนจาน

t h g i L k o o B D E L r a l o S จุด แตโคมไฟนี้ าะ พ ฉ เ  ด งไ า ว งส ส แ  ให โคมไฟสวนใหญมักศิ ทางใดกไ็ ด ทสี่ าํ คญ ั ยงั ใชห ลอด LED ท นึ่ง ใน สามารถดดั ตวั กา นไปวา แตใชพลังงานตํ่า จุดเดนอีกอยางห เ ซลล ที่ใหแสงสวางมากการถผลติ พลงั งานไวใ ชเองไดจ ากแผงโซลารงึ่ ครัง้ กค็ อื โคมไฟนยี้ งั สาม ใชง านไดน าน 1 ชวั่ โมง ตอ การชารจ หน ขนาดเลก็ ทสี่ ามารถพกพาไปใชงาน สะดวกสบายในการ

The Portable W atermelon Coo ler สํ า ห รั บ ค น ทุกที่ทุกเวลาคงเปรั ก แ ต ง โม ก า ร ได  ลิ้ ม ร ส แ ต ง โม ตูเย็นเคลื่อนที่เพ นเรื่องที่นายินดี นักออกแบบชาว ห ว า น ฉํ่ า ส ด ชื่ น และความเย็นไดโ ื่อแตงโมโดยเฉพาะ ซึ่งเครื่องนี้สาม ญี่ปุนไดประดิษฐ ารถใหความรอน ถึง 14 ลิตร จะแดยใชพลังงานจากแบตเต เ ต อ ร ่ ี น อ ก ช จ  แ ต ง โม หรือจะใ แชเย็นก็สามารถ ะใสผักหรืออาหา ากนี้ยังมีความจุ ทําได รเพื่ออุนรอนหร ือ

8 0 9 e c i o V r Sola

ดวยนักออกแบบชื่อดัง อบ ะก ปร ง ่ ซึ าร มก รร ะก คณ ิ้นนี้ ไดรับเลือกจาก ลอันทรงเกียรตินี้ และเปปนมิตรกับสิ่งแวดลอมช Award ในประเภทอุปกรณหูฟงไรสาย โดยรางวั l CES งานแสดง สมั​ัยแล ซนทันสม หูฟงดีดีไซน ternationa Innovations รรม ใหหไดรับรางวัล CES เล็คทรอนิคสเพื่อผูบริโภค (CEA) ซึ่งเปนผูจัดงาน Inงการจากสมาคมนักออกแบบ หกรร ในอุตสาหก ใน นทา นคาอิ ก รสนับสนุนโดยสมาคมสิ ที่สุดในโลก นอกจากนี้ยังไดรับการรับรองอยางเปหูฟงบลูทูธพลังแสงอาทิตยตัวแรก ไดรับกา เปน ที่ใหญ เทคโนโลยีสําหรับผูบริโภคหงสหรัฐอเมริกา (IDSA) ดวย SolarVoice 908 งเพยี้ นไดเปนอยา งดี เวลาการใชง านสูงสุด ี ย มแ เส งเต็มที่ วนรอบขา งและ ผลิตภัณฑอุตสาหกรร ดิจติ อลซึง่ ชวยลดเสียงรบก ิตยอยูที่ 140 ชั่วโมง หากหูฟงไดรับแสงอาทิตยอยา บบ ลแ ลผ มว ระ  ป วร แ ท อฟ งอาท มาพรอ มซ าสแตนดบายเมื่อไมไดรับแส ของหูฟงอยูที่ 5 ชั่วโมง เวลด จะมีเวลาสแตนดบายไมจํากั 30

Energy#56_p30-31_Pro3.indd 30

6/20/13 12:59 AM


Solar Butterfly Kit

การเรยี นรสู าํ หรบั เดก็ ถ แถมยังไดพ  ฒ ั ั นาจินตนาการ อื เปน เรอื่ งสาํ คญ และความคิดสรา ยงิ่ ถา ไดเ รยี นรอู ยา งสนกุ ผีเสื้อแสงอาทิตย งสร แสงอาทติ ย แถม ของเลนสุดสรางสรรคชิ้นนี้ จะชว รคด ว ย คงจะดีไมน อ ย จินตนาการของเดยงั ไดส นกุ สนานไปกบั การแตง แตม ยใหเด็กไดเรียนรูเรื่อง แสงแดดสอง เม ็ก ๆ วิธีการงาย ๆ แคนําผีเสื้อไป สสี นั บนปก ผเี สอื้ ตาม เองได ยิ่งไปกวา ื่อแสงแดดสองมาโดนแผงโซลารเ ติดกับกระจกดานที่มี ทําใหเห็นเหมือนวนั้นยังมีเงาที่เปนแสงสีจากการที่แซลล ผีเสื้อจะขยับปก าผีเสื้อบินไดจริง สงทะลุผานปกผีเ ๆ สื้อ

f o o R n Gree

บบ ามเหลี่ยม ที่ออกแ ว  า งส ร ท ป รู ว ย ี เด น ้ ั ช อ ่ ื ที่ ช าคาร อาคารหลังนี้เปนอ  ไ ด  อ ย  า งเ ต็ ม ที่ ผ  า น ท าง ห น  า ต  า ง ตปลอย ย แ าทิ ต สุด ม าเ พื่ อ ให  รั บ แ ส งอ ที่ใชพลังงานจากสิ่งแวดลอมอยางสูง ี้ ส าม าร ถ รั บ ด ะน ิ Velux เปนแนวค ด  น  อ ย ที่ สุ ด ด  ว ย อ าค าร ลั ก ษ ณ ประกอบดวย ค าร  บ อ น ได อ อ ก ไซกวาอาคารทั่วไปถึง 3 เทา หลังคา กระเบื้องปลูก แสงอาทิตย ไดมาก ผงรับพลังงานแสงอาทิตย สลับกับ กับตัวอาคาร กระเบื้องที่ทําจากแะใหทั้งความอบอุนและความเย็นสบาย ( local grid) ตนไมเล็ก ๆ โดยจ พลงั งานสว นเกนิ ไวใ นทอ ภายในอาคาร าย ใน อ าค าร และสามารถกกั เกบ็ ํ่ า คื น ใน ข ณ ะที่ ก าร ถ  า ย เท อ าก าศ ภ เพื่ อ นํ า ไป ใช  ย าม ค นไดสูดอากาศบริสุทธิ์ตลอดเวลา ก็สะดวกสบายเสมือ

กระเปาพลังงานแสง

อาทิตย

จะดีแคไหน พกติดตัว ไมตอ ถากระเปาที่ใส iPad, iPhone ใสส มั ภาระตา ง ๆ งหวงเรื่องที่ชารจแบตเตอรรี่อีกต และอุปกรณตาง ๆ ที่ ของเราได เวลาทสามารถเปน แหลง ผลติ พลงั งานไฟ อไป ปจจุบันมีกระเเปปา กระเปาที่ติดตั้งแ ่ีแบตเตอรรี่ใกลจะหมด เพียงแค ฟา ปอ นใหก บั อปุ กรณ กระเปาใบนี้ทําหน ผงเซลลแสงอาทิตย ที่เหลือก็ป เสียบสายชารจเขากับ าที่ปอนพลังงานให ล กับอุปกรณของเ อยใหเปนหนาที่ของ ราตอไป

31

Energy#56_p30-31_Pro3.indd 31

6/20/13 12:59 AM


Green4U

บุษยารัตน ตนจาน

“Grey To Green” กระเบื้องคอนกรีตปูพื้น

ปลูกตนไมได นวัตกรรมความงามของกระเบื้องคอนกรีตปูพื้นที่ปลูกตนไมได ใหทั้งความสดชื่นและความแข็งแกรงในเวลาเดียวกัน หากบ านเมื องเป น เพี ย งเมื องคอนกรี ต ที่ ปราศจากสี เขี ยว ของตนไม ไรความสดชื่น คงไมนาอยูสักเทาไร ดังนั้น “Caroline Brahme” ดีไซเนอรสาวชาวสวีเดน จึงไดพยายามคิดคนเติมเต็ม ธรรมชาติลงไปในพื้นที่เมืองใหไดมากที่สุด โดยการออกแบบกระเบื้องคอนกรีตปูพื้นทางเดินใหสามารถ ปลูกตนไมตนเล็ก ๆ ได ซึ่งในแตละแผนจะมีจํานวนและตําแหนงของ หลุมสําหรับปลูกตนไมแตกตางกันไป มีตงั้ แต 1 หลุม ไปจนถึง 8 หลุม สามารถสรางรูปแบบของสีเขียวไดหลากหลาย เพือ่ นํามาทดแทนพืน้ ทีส่ าธารณะอันแหงแลง ผลงานนีน้ อกจาก จะไดใจแลว ยังไดรางวัล Ung Svensk Form 2012 หรือ รางวัล สําหรับดีไซเนอรรุนใหม แตเจงของสวีเดนทานนี้ นอกจากจะเปนวัสดุที่มีความแข็งแรงทนทานแลว ยังสามารถ รองรับนํ้าหนักรถไดอยางสบาย ๆ หากกระเบื้องคอนกรีตเกิดชํารุด แตกหักเสียหาย สามารถเปลี่ยนแผนใหมไดทันที แถมแผนเดิมยังนํา ไปใชประโยชนปูพื้นที่จุดอื่นของบริเวณบานไดอีกดวย

32

Energy#56_p32_Pro3.indd 32

6/17/13 10:07 PM


Energy#56_p33_Pro3.ai

1

6/22/13

2:03 AM


Green4U

บุษยารัตน ตนจาน

รองเทาบูทกัญชง

02

รองเทาบูท Hemp Thai ผลิตจากตนกัญชง พืชที่ใชประโยชน ในการผลิตเสนใยที่มีคุณภาพสูง ยืดหยุน แข็งแรง ทนทาน โดยเย็บใหมตี ะเข็บนอยทีส่ ดุ เพือ่ ลดการตัดทิง้ ของเศษผา ทีอ่ ยูภ ายใตแนวคิดลดโลกรอน โดยใชวตั ถุดบิ จากธรรมชาติใหเกิดประโยชนสงู สุด http://www.thaismefranchise.com

แจกันเปเปอรมาเช

01

ของแตงบานที่ทําจากกระดาษหรือกระดาษหนังสือพิมพที่ไม ใชแลว นํากลับมาใชใหเกิดประโยชนอีกครั้งหนึ่ง ชวยลดโลกรอน ดวยการออกแบบเปนแจกันเปเปอรมาเช ในแบบเรียบหรู คลาสสิก สําหรับตกแตงบาน http://www.banraksinlapa.com

03

เกาอี้ปลูกตนไมได

เก า อี้ ไ ม Greenaround ถู ก ออกแบบขึน้ มาเพือ่ ชวยลดโลกรอนทาง หนึง่ เนือ่ งจา งจากผูใ ชสามารถปลูกตนไมใน เกาอีไ้ ด นอก นอกจากจะใชประโยชนแลว ยัง ชวยใหสดชืน่ ในระหวางทํางานไดอกี ดวย www www.Greenaround.net

เฟอรนิเจอรกระดาษแข็ง

04

ชั้นวางของนี้ทําจากกระดาษแข็ง ที่นอกจาก จะใชงานไดดีแลว ยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมดวย นอกจากแข็งแรงทนทานแลว ยังเปนวัสดุรีไซเคิล 100% http://www.arthousegroups.com

34

Energy#56_p34-35_Pro3.indd 34

6/17/13 10:11 PM


06 จักรยานกระดาษแข็ง

05 กลองทิชชูจากหวงขวดนํ​ํ้าดื​ื่ม

จั ก รยานคั น นี้ ผ ลิ ต ขึ้ น จากวั ส ดุ รี ไ ซเคิ ล 100% ยกเวนเบรกและโซ ทุกสวนของจักรยาน รวมทัง้ เบาะรองนัง่ ทํามาจากกระดาษแข็งทีแ่ ข็งแรง ทนทาน ดวยวิธกี ารพับซอนกันหลาย ๆ ชัน้ กอน เคลือบดวยเรซินอยางดี รองรับนํ้าหนักไดสูงถึง 220 กิโลกรัม มีนาํ้ หนักเบาเพียง 9 กิโลกรัม http://www.bloggang.com

กลองทิชชูทวี่ า นีท้ าํ จากหวงขวดนํา้ ดืม่ โดยนํามาผสม ผสานเขากับแผนซีดีเหลือใช ชวยลดโลกรอนดวยการใช วัสดุรีไซเคิล ชวยลดปริมาณขยะและรักษาสภาพแวดลอม อีกทางหนึง่ ดวย http://www.ruammit2011.com/

08 07

เกาออี​ี้ทีเชิ้ต TT-Shirt -Shirt Chair Chaiir ตตัวั นนี​ี้ เเกิกดิ จากก จากการนํ การนําํ เสือ้ ยืดกวา 40 ตัว มาถักทอเขากับโครงเหล็ก ชองตาขาย สานใหเปนตัวเกาอี้ สีสันสดใส สวยงามแปลกตา แถมยังนัง่ สบายอีกตางหาก http://www.greenistasociety.com

ถังใสของก องกระป กระปองงเบี เบบียรร ถังใสของผลิตจากกระปองเบียรรีไซเคิล ดีไซน เก เย็บประกอบกันดวยความประณีต ใชใสของหรือจะ ใชเปนถังขยะก็ได แข็งแรงทนทาน ลดขยะ ลดโลกรอน ไปในตัว http://www.perdmuak.com 35

Energy#56_p34-35_Pro3.indd 35

6/17/13 10:12 PM


Eco shop

บุษยารัตน ตนจาน

เฟอร์นิเจอร์ ปลูกต้นไม้ได้ ดีไซน์ลดโลกร้อน

เฟอรนเิ จอรปลูกตนไมได เปนแนวคิดการออกแบบทีช่ ว ยใหทกุ คนสามารถอยูใ กลชดิ กับธรรมชาติได แมแตทที่ าํ งาน รวมถึงการพักผอนในบาน แนวคิดดังกลาวเปนของสถาปนิกหนุมไฟแรง “คุณพชร จําปาเงิน” เจาของแบรนด Greenaround การปลูกตนไมในบาน หรือ ในอาคารนั้น อันดับแรกตองเลือก สายพันธุตนไมที่เหมาะสมกอน ตนไมตองสามารถอยูไดโดยไมตอง รดนํา้ และตนไมจะอยูร อดไดดตี อ งมีแสงแดดสอง ทัง้ หมดนีเ้ ปนโจทย ที่ทาทาย ซึ่งคุณพชรสามารถแกโจทยนี้ไดสําเร็จ คุณพชร เลาวา “แบรนด Greenaround เกิดขึ้นมา โดย จุ ด ประกายจากการที่ ผ มเป นสถาปนิ กรั บออกแบบสถานที่ ให กับ อาคารสํานักงาน และบานเรือนหลายแหง พบวาลูกคาสวนใหญ ตองการใหออกแบบโดยใหทุกมุมของบานสามารถปลูกตนไมได เพื่อใหผูอยูอาศัยไดใกลชิดกับธรรมชาติมากที่สุด ผมและเพื่อน ๆ สถาปนิก จึงไดคดิ หาวิธกี ารเพือ่ ใหสามารถปลูกตนในทีพ ่ กั อาศัยได” สําหรับเฟอรนเิ จอรปลูกตนไมได วัสดุทใี่ ชทําจากธรรมชาติแท ๆ เชน หวาย และไมสัก เนื่องจากวัสดุทั้ง 2 ชนิด มีแหลงผลิตที่สามารถ สัง่ ทําสินคาได และเปนวัสดุทไี่ ดรบั ความนิยมในกลุม ของคนทีช่ นื่ ชอบ เฟอรนิเจอรจากวัสดุธรรมชาติ โดยทุกแบบผมจะเปนคนออกแบบเองทัง้ หมด และเนือ่ งจากเปน แบรนดนองใหมในตลาด จึงใหความสําคัญกับดีไซนที่มีฟงกชั่นการ ใชงานหลากหลาย แปลกใหมไมเหมือนใคร เพือ่ ใหสามารถแขงขันกับ ผูผลิตรายอื่น ๆ ที่อยูในตลาดได จะเห็นไดวาวัสดุหวายในทองตลาด มีผูผลิตที่แข็งแกรงอยูแลว ซึ่งลูกคาสวนใหญรูจักดี และมักไปซื้อ ผลิตภัณฑจากที่นั่น เพราะมีราคาถูกกวา และมีแบบใหเลือกมากมาย สวนไมสักแมไมมีผูผลิตรายใหญเหมือนหวาย แตก็มีคนทํากันมาก ในสวนของการทําตลาดนั้น มุงเปาไปที่ตลาดสงออกเปนหลัก เพราะขายงานดีไซน ดังนั้นราคาจึงคอนขางสูง กวาเฟอรนิเจอร ประเภทเดียวกัน ซึ่งคนไทยอาจมองวาแพงเกินไป ในขณะที่การขาย ชาวตางชาติสว นใหญกพ ็ อใจและเปนราคาทีเ่ ขารับได เขายินดีทจี่ ะจาย เพื่อซื้อความพึงพอใจ เพราะราคาที่เราตั้งขึ้นมาถือวายังไมสูงมาก เปนราคาที่ชาวตางชาติรับได การไดทํางานเฟอรนิเจอร เปนจุดเริ่มตนที่ทําใหผมไดทํางาน ออกแบบยางเต็มที่ ไมจาํ เปนตองทําตามความตองการของใครเหมือน งานประจํา นีเ่ ปนอีกเหตุผลหนึง่ ทีท่ าํ ใหเกิดธุรกิจตรงนีข้ นึ้ มา และการที่ ลูกคาใหการตอบรับเปนอยางดี ถือเปนเครื่องชี้วัดความสามารถของ เราไดดวย กวาจะไดผลงานชุดนี้ออกมา ไดมีการทําวิจัยเกี่ยวกับการ ปลูกตนไมในอาคาร ทําใหผมทราบวาตนไมชนิดไหนเหมาะจะปลูกใน อาคารไดบาง และตองดูแลรักษาอยางไร

ส ว นต น ไม ที่ นํ า มาใช ใ นครั้ ง นี้ เลื อ กใช ไ ม ป ระดั บ ขนาดเล็ ก โดยพยายามเลือกสายพันธุท สี่ ามารถเจริญเติบโตไดในทีร่ ม สวนใหญ เปนประเภทไมใบหรือไมเลื้อย ซึ่งลูกคาสามารถเลือกตนไมใหเราปลูก ได หรือลูกคาจะนํามาปลูกเองก็ได ในชวงแรกรับประกัน 3 เดือน วาตนไมจะไมตาย แตถาตนไมตายกอน 3 เดือน ทางเรายินดีจะปลูก ใหใหม ซึ่งการปลูกตนไมในอาคารจะเลือกใชเจลปลูกตนไมแทนการ ปลูกในดิน เพราะตนไมจะอยูไดนานกวา โดยไมจําเปนตองใหนํ้ามาก “Greenaround” ตองการจะเปนสวนหนึ่งในการมีสวนรวม รณรงคลดโลกรอน เพราะการปลูกตนไมหนึ่งตน มีสวนชวยลด ความรอนของโลกไดมากทีเดียว ปจจุบันทั่วโลกตางใหความสําคัญ กับภาวะโลกรอนมาก ถาสามารถออกแบบสินคาใหสอดคลองหรือ ไปดวยกันไดกับเรื่องดังกลาว ก็จะเปนชองทางหนึ่งในการทําตลาดให ประสบความสําเร็จได แมจะเปนรายใหมก็ตาม

36 36

Energy#56_p36_Pro3.indd 36

6/20/13 1:37 AM


Energy#56_p37_Pro3.ai

1

6/26/13

8:55 PM


Residence

รังสรรค อรัญมิตร

บานแนวคิดใหม ใสใจพลังงาน

บานแนวคิดใหมของคุณเปนเชนไร ถูก ออกแบบมาใหสามารถตอบโจทยดา นการประหยัด พลังงานไดมากกวาบานทัว่ ไป มีการนําเทคโนโลยี สมัยใหมมาใชในการสรางบานเพื่อการประหยัด พลังงาน เนนการออกแบบใหเกิดผลกระทบตอ ธรรมชาตินอ ยทีส่ ดุ ประกอบกับใชเทคโนโลยีระบบ ความปลอดภัยทีท่ นั สมัย เพือ่ รองรับความสะดวก สบายของการใชชีวิต รวมทั้งการสรางบานที่อยู อาศัยทีม่ รี ปู ทรงแปลกใหม ซึง่ ทัง้ หมดลวนตอบ โจทยไลฟสไตลของคนรุน ใหมไดทงั้ สิน้

38

Energy#56_p38-39_Pro3.indd 38

6/25/13 8:47 PM


ในส ว นของโครงสร า งผลิ ต ด ว ยระบบ Construction technology ซึ่งผลิตจากโรงงานที่ทันสมัย 100% โดยใชเหล็ก มาตรฐานนํามาผานกระบวนการเคลือบกัลวาไนซ (GALVANIZED) เพื่อใหทนตอความชื้น สวนวัสดุผิวอาคารภายนอกเปนอลูมิเนียม คอมโพสิต ประกอบกับใชวสั ดุหนิ สังเคราะหทผี่ ลิตจาก SYNTHETIC STONE หุมสวนหนาคาน ทั้งหมดเปนวัสดุสําเร็จรูปสามารถเคลื่อน ยายติดตั้งไดสะดวก และยังกําหนดขนาดใหเหมาะสมกับพื้นที่ปลูก สรางได ชวยลดปริมาณขยะจากการกอสราง ไมรบกวนสิ่งแวดลอม ชวยประหยัดเวลาในการติดตั้ง โดยใชระยะเวลาในการกอสรางเพียง 5 วันเทานั้น นอกจากนี้ ยังไดติดตั้งฉนวนกันความรอนโพลียูเรเทนโฟมิอน ซูเลชั่นที่ชั้นกลางระหวางผิวภายนอกและผิวภายในเพื่อลดความรอน จากภายนอกเขาสูภายในบาน พรอมติดกระจกนิรภัย 2 ชั้น ปองกัน ความรอน UV และเสียงรบกวน กระจกติดฟลมลดความรอนปองกัน UV ตกแตงวัสดุผิวพื้นดวยไมลามิเนตรองดวยโฟมกันเสียงปูทับบน แผนซีเมนตบอรด ซึ่งการเลือกใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมชวย ลดการใชพลังงานไดเปนอยางดี

ตอบรับไลฟสไตลดวยขนาดพื้นที่

บานสําเร็จรูป Aidol MYH ของ บริษทั เอสทู กรุป (ประเทศไทย) จํากัด เปนแนวคิดที่ตอบโจทยความตองการของคนรุนใหมไดเปน อยางดี ไมวาจะเปนเรื่องการประหยัดพลังงาน ดีไซน พื้นที่อยูอาศัย ราคา รวมถึงฟงกชั่นการใชงาน ที่คิดคนขึ้นมาเพื่อตอบสนองการ อยูอาศัยแนวใหม ภายใตแนวคิด “Lifestyle Space Creation” ซึ่ง สามารถนํามาประยุกตใชขยายขอบเขตจินตนาการของผูอยูอาศัยใน การสรางสรรคพื้นที่อยูอาศัย รวมถึงพื้นที่เพื่อการพาณิชยแบบไมมี ขีดจํากัด สะดวกรวดเร็วในการติดตั้งดวยนวัตกรรม smart space ที่เปนพื้นผนังสําเร็จรูปพรอมติดตั้ง

ดานรูปแบบหรือขนาดของ Aidol MYH นั้น มีใหเลือกหลาย ขนาดตามความตองการใชงาน ทั้ง ขนาด S : Smart Space ขนาด พื้นที่ใชสอยรวม 13.5 ตารางเมตร เพื่อเปนพื้นที่สรางสรรคความสุข สวนตัว แบบพื้นที่โลง ขนาด M : Smart Space ขนาดพื้นที่ใชสอย 24 ตารางเมตร เติมเต็มการใชชีวิตแบบ Fully Interior ทีก่ ําหนด ไดตามไลฟสไตลของผูอยูอาศัย สามารถเลือกไดสองแบบ คือ แบบ มีหองนํ้า และแบบมีหองครัว ขนาด L : Smart Space ขนาดพื้นที่ ใชสอยรวม 30 ตารางเมตร เสริมความสมบูรณแบบของไลฟสไตลการ อยูอาศัยที่ออกแบบเองไดในทุกตารางนิ้ว สามารถปรับเปลี่ยนไดงาย ในอนาคต เลือกไดทั้งแบบพื้นที่โลง หรือแบบที่มีหองนอน พรอมหอง แตงตัว หองครัว หองนั่งเลน และหองนํ้า ขนาด XL : Smart Space ขนาดพื้นที่ใชสอย 36 ตารางเมตร ทั้งหมดนี้ถูกออกแบบใหกอสราง ไดตามจินตนาการสามารถออกแบบตอเติมไดหลายรูปแบบไมวาจะ เปนบานชั้นเดียวหรือสองชั้น ทั้งนี้ ภายใตแนวคิด “Lifestyle Space Creation” ผนวกกับ การพิจารณาการใชชีวิตของคนในสังคมเมืองที่มีพื้นที่จํากัดในการ สรางบาน สามารถนํา Aidol MYH ไปติดตั้งในพื้นที่ขนาดเล็ก และ ตกแตงไดหลากหลายฟงกชนั่ การใชงาน ทัง้ หองทํางาน รานขายมือถือ หองซอมดนตรี หองออกกําลังกาย หรือจะขยายขอบเขตจินตนาการ โดยนําไปสรางเปน สปา รีสอรท ก็เก ไก ไปอีกแบบ นอกจากนี้ Aidol MYH ยังสามารถนําไปผลิตในเชิงอุตสาหกรรมไดอีกดวย ซึ่งเปน ประโยชนตอวงการอุตสาหกรรมกอสรางอยางมาก เนื่องจากชวยลด ปริมาณวัสดุ ลดปญหาการขาดแคลนแรงงาน และชวยลดปริมาณขยะ ที่เหลือใชจากการกอสรางไดอีกดวย

39

Energy#56_p38-39_Pro3.indd 39

6/25/13 1:10 AM


Green Community บุษยารัตน ตนจาน

“กาแฟชั้นหนึ่ง นาทึ่งดอยลังกา สวนยามอนฤษี ชา กาแฟดี มีธรรมชาติสวยงาม” เปนคําขวัญของชาวตําบล เทพเสด็จ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม แหลงทอง เทีย่ วทางธรรมชาติทสี่ วยงาม เชน นํา้ ตกเทพเสด็จ (นํา้ ตก ตาดเหมย) นํ้าตกตาดหมอก ดอยลังกา ผาโงม สันบอจือ และมอนฤษี บรรยากาศดี พรอมมีกาแฟสดใหดื่มตาม ตองการ

เยือนตําบลเทพเสด็จ ชิมสุดยอดกาแฟสด

สรางอาชีพ สรางรายได พรอมรักษปาในเวลาเดียวกัน

ซึง่ มีลกั ษณะภูมปิ ระเทศเปนภูเขาสูงและทีร่ าบสลับลอนเนินเขา เปน แหลงตนนํา้ ลําธารของแมนาํ้ กวง ไหลลงสูแ มนาํ้ ปง ซึง่ อยูส งู จากระดับนํา้ ทะเลปานกลาง เฉลีย่ 1,050 เมตร พืน้ ทีส่ ว นใหญเปนพืน้ ทีเ่ กษตรกรรรม เชน ปลูกชา (เมีย่ ง) กาแฟอราบิกา พืชและดอกไมเมืองหนาว นอกจากนี้ ยังพูดไดวา กาแฟสดชัน้ ดีตอ งทีต่ าํ บลเทพเสด็จ เดิมพืน้ ทีต่ าํ บลเทพเสด็จ อยูใ นเขตการปกครองของตําบลปาเมีย่ ง เมือ่ มีจาํ นวนประชากรเพิม่ มากขึน้ จึงแยกเขตการปกครองใหม โดยใชชอื่ วา ตําบลเทพเสด็จ เนือ่ งจากพืน้ ทีส่ ว นใหญของตําบลเทพเสด็จเปนภูเขาสูง (เชน ดอยปางแดง ดอยกิ่วลม ดอยแมตอนหลวง และดอยลังกา) ทีม่ โี ครงการหลวงปาเมีย่ ง ตัง้ อยู ณ บานปางบง หมูท ี่ 1 ซึง่ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดเสด็จเยีย่ มโครงการนี้ ถึง 2 ครัง้ สภาตําบลจึงใชชอื่ นีเ้ พือ่ เปนสิรมิ งคล มีเขตการปกครอง 8 หมูบ า น และ เกษตรกรไดรบั การสงเสริมใหปลูกกาแฟทัง้ 8 หมูบ า น 40

Energy#56_p40_Pro3.indd 40

6/20/13 1:14 AM


เนือ่ งจากกาแฟอราบิกา (Arabica) เปนกาแฟทีช่ อบอากาศเย็น นิยมปลูกทางภาคเหนือ มีรสชาติเขม กลมกลอม และมีกลิน่ หอม เปน กาแฟคุณภาพดีทคี่ นสวนมากนิยมดืม่ โดยทัว่ โลกนิยมดืม่ กาแฟอราบิกา ถึงรอยละ 70 และมีหลายคนการันตีวา เปนกาแฟชัน้ หนึง่ ของไทย ดังนัน้ สถานีตน กลาดอยหลวงจึงไดจดั ตัง้ โครงการสงเสริมการ ปลูกกาแฟอราบิกา โดยใหความสําคัญกับสายพันธุ และการดูแลเอาใจใส เพือ่ เพิม่ ผลผลิตตอไรใหกบั เกษตรกร ตลอดจนใหความรูเ พือ่ พัฒนา ใหไดมาตรฐานทีส่ ากลยอมรับ นอกจากนีส้ ถานีตน กลาดอยหลวงยังเปน สถานีสาธิตการเพราะเลี้ยงตนกลากาแฟ และยังเปนศูนยฝกอบรม ใหความรูเรื่องการเพาะเลี้ยงตนกลากาแฟ และการปลูกกาแฟใหมี คุณภาพ เพือ่ การพัฒนาทางดานการเกษตรกรรม สําหรับเกษตรกรที่ เขารวมโครงการ คือ ผูท ปี่ ลูกกาแฟทัว่ ประเทศ ประมาณ 1,000 ราย และ มีพนื้ ทีใ่ นการเพาะปลูกตัง้ แต 3 ไร ขึน้ ไป กาแฟถือเปนเครือ่ งดืม่ ชนิดหนึง่ ทีม่ คี วามสําคัญทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทย สามารถสรางรายไดใหกบั ประเทศไดถงึ ปละประมาณ 2,500 ลานบาท มีพนื้ ทีใ่ นการปลูกกาแฟทีใ่ หผลการผลิตแลว 388,662 ไร มีจาํ นวนผลผลิต 50,442 ตัน นอกจากนีก้ าแฟอราบิกา เปนไมยนื ตนทีม่ อี ายุยาวนานกวา 50 ป เจริญเติบโตไดดภี ายในรมเงาของปาไมและใหผลผลิตกาแฟทีม่ คี ณ ุ ภาพ เมือ่ ปลูกทีค่ วามสูง 800 เมตรขึน้ ไป หรือในสภาพทีเ่ หมาะสม กาแฟอราบิกา จึ ง เหมาะที่ จ ะส ง เสริ ม ให ป ลู ก บนพื้ น ที่ สู ง ทางภาคเหนื อ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ อีกทัง้ กาแฟอราบิกา ยังเปนพืชทีใ่ หผลตอบแทนสูง เกษตรกรสามารถสรางรายไดมากกวา 40,000 บาท ตอไรตอ ป ดังนัน้ จึงเปนการสรางอาชีพและรายไดใหกบั เกษตรกร ทําให เกษตรกรมีความเปนอยูท ดี่ ขี นึ้ มีการดํารงชีวติ ทีม่ คี ณ ุ ภาพดีขนึ้ กอใหเกิด การพึง่ พาระหวางคนกับปา ทําใหปา ตนนํา้ บนพืน้ ทีส่ งู ยังคงทําหนาทีส่ าํ คัญ ในการผลิตนํา้ ฝน และรักษานํา้ ไวในปา ชวยลดปญหานํา้ ปาไหลหลาก ในฤดูฝน และปญหาไฟปาในฤดูแลง อีกทัง้ ยังทําใหคนอยูร ว มกับปาได อยางมัน่ คงและยัง่ ยืน 41

Energy#56_p40-41_Pro3.indd 41

6/17/13 10:16 PM


Energy Award รังสรรค อรัญมิตร

CPF ควารางวัล AEMAS

มาตรฐานดานพลังงานระดับอาเซียนรายแรก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Asean Economic Community (AEC) เกิดขึน้ มาในภาวะทีต่ อ งใสใจสิง่ แวดลอมและพลังงาน ที่นับวันจะหมดไป รัฐมนตรีดานพลังงานของ 10 ประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดกอตั้งองคกร AEMAS หรือ ASEAN Energy Management Scheme ขึ้นมา เพื่อสนับสนุนใหประเทศสมาชิกสามารถจัดการดานพลังงานไดอยางยั่งยืน พรอมจัด ใหมีการมอบรางวัลดานการประหยัดพลังงานสําหรับผูประกอบการและองคกรที่มีผลงานการประหยัดพลังงานตามมาตรฐานที่ AEMAS กําหนด

โดยรางวัลมาตรฐาน AEMAS นั้น ไดพัฒนามาจากมาตรฐาน EMAS Energy Management Scheme ของยุโรป เปนองคกร ที่สนับสนุนดานเทคนิคและใหคําปรึกษาพัฒนาระบบ AEMAS ใหมี ประสิทธิภาพ จนไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง ทั้งจาก EU จีน และนานาประเทศ รวมทัง้ ระบบ ISO 50001 ก็ยงั ไดพจิ ารณานําประเด็น สําคัญบางอยางของระบบ AEMAS ไปประยุกตใชดวย สําหรับ โรงงานแปรรูปสุกรแปดริ้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา ของ บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เปน โรงงานอุ ต สาหกรรมแห ง แรกของประเทศไทยที่ ไ ด ก ารรั บ รอง

มาตรฐาน AEMAS ระดับ Energy Management Gold Standard ซึ่งเปนระดับพื้นฐานของระบบ AEMAS ตองผานเกณฑการประเมิน หลายข อ ด ว ยกั น ยกตั ว อย า งเช น ต อ งมี น โยบายด า นพลั ง งาน มีงบประมาณพลังงาน เพือ่ การกระจายการลงทุนใหครอบคลุมทัง้ โรงงาน ตองแสดงผลการกระจายงบประมาณเพือ่ การประหยัดพลังงาน มีการ สรางขวัญกําลังใจใหกับพนักงานที่สามารถสรางผลงานที่ดีดานการ ประหยัดพลังงาน มีการจัด EAC หรือ Energy Account Centre ขึ้นมา เพื่อแบงความรับผิดชอบดานพลังงานใหครอบคลุม มีการติด ตัง้ มิเตอรระบบวัดควบคุมพลังงาน จัดสัมมนากลุม ยอยดานพลังงาน

42

Energy#56_p42-44_Pro3.indd 42

6/22/13 2:18 AM


ใหกับพนักงานทุกป มีผูจัดการพลังงานที่ไดการรับรองดานพลังงาน จาก AEMAS และโครงการประหยัดพลังงานตองไดรับการทวนสอบ โดย Third party เปนผูตรวจสอบ สวนการประเมินผลนั้น AMAS-THAILAND จะเปนผูประเมิน ผลกอนสงตอไปให AEMAS ประเมินผลอีกครั้ง แลวจึงออกใบรับ รองมาตรฐานใหกับบริษัทที่ผานการประเมิน ผูที่ไดมาตรฐานรับรอง ในระดับ 1 ดาว หากภายใน 2 ป ไมสามารถพัฒนาตอยอดใหไดระดับ 2 ดาว หรือ Gold Standard 2nd Star จะถูกถอดออกจากรางวัล โดยมาตรฐานในระดับ 2 ดาว จะตองมีผลประหยัดพลังงานอยางนอย 5% ภายใน 2 ป สวน Gold Standard 3nd Star หรือ 3 ดาว ตอง ไดรับการตรวจผลงานผานเกณฑ Two Star เปนครั้งที่ 2 ภายใน ระยะ 1 ป 6 เดือน ถึงจะไดรับรางวัลมาตรฐาน AEMAS ในระดับ Gold Standard 3nd Star หลังจากนั้นในระยะเวลา 1 ปครึ่ง หากผูประเมิน ตรวจสอบพบวาผลประหยัดพลังงานไมเปนไปตามเกณฑกจ็ ะถูกถอด รางวัลใหเหลือ 2 ดาว ทั้งนี้โรงงานแปรรูปสุกรแปดริ้ว ยังไดตั้งเปาขยายผลการใช ระบบ Energy Management Gold Standard ในระดับ Gold Standard 2nd Star ในไตรมาสที่ 2 ของป 2557 และจะเปน Excellent / Best Practice in Energy Management System หรือ Gold Standard 3rd Star ซึ่งเปนมาตรฐานขั้นสูงสุดของ อาเซียน ในป 2558 อย า งไรก็ ต ามเบื้ อ งหลั ง ความสํ า เร็ จ ในครั้ ง นี้ ข องโรงงาน แปรรูปสุกรแปดริว้ ไดดาํ เนินการดานการอนุรกั ษพลังงานมาโดยตลอด ซึ่งกอนหนาที่จะไดรับรางวัลมาตรฐาน AEMAS โรงงานแปรรูปสุกร แหงนี้ไดนําระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO 50001 : 2011 มาประยุกต ใชตั้งแต ป พ.ศ.2554 พรอมกับนําระบบ Energy Management มาตรฐานอาเซียนมาประยุกตใชดวย โดยไดรับการ สนับสนุนดานเทคนิควิชาการจาก สํานักความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม (CPF SHE Office) จนกระทั่งไดรับการรับรอง มาตรฐานดังกลาว ทัง้ นีต้ ลอดระยะเวลา 16 เดือน (ม.ค. 55 – เม.ย. 56) ที่นําระบบ AEMAS มาใช โรงงานแหงนี้มีผลประหยัดพลังงานกวา 6.5 ลานบาท หรือคิดเปน 16% นอกจากนี้โรงงานแปรรูปสุกรแปดริ้ว ยังไดสรางความรวม มือจากพนักงานทุกระดับในการชวยกันประหยัดพลังงาน โดยจัดให มี Motivation Plan ซึ่งเปนเครื่องมือสรางขวัญและกําลังใจใหกับ พนักงานชวยกันคิดปรับปรุงกระบวนการทํางานจากสิ่งเล็ก ๆ จน เกิดเปนนวัตกรรมดานพลังงาน หรือโครงการขนาดใหญ การจัด ใหมีการทวนสอบ Energy Baseline และ Energy Efficiency Improvement โดยผูจ ดั การพลังงาน และผูต รวจประเมินทีเ่ ปนบุคคล ที่สาม (Third party) ชวยใหทราบสถานะของการจัดการพลังงาน อยางแทจริง ซึง่ หัวใจสําคัญของการประหยัดพลังงานคือการรณรงค ใหพนักงานมีจิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน ไมวาจะเปนเรื่องเปดปดไฟในเวลาทีเ่ หมาะสม ปรับแอรทอี่ ณ ุ หภูมิ 25 องศา ปดสวิตชไฟให เรียบรอยทุกครั้งหลังเลิกงาน รวมถึงเปลี่ยนมาใชเทคโนโลยีประหยัด พลังงานในโรงงาน

43 43

Energy#56_p43_Pro3.indd 43

6/25/13 12:49 AM


โดยโรงงานแหงนี้ยังไดติดตั้งระบบ ผลิตนํ้ารอนแบบผสมผสานจากพลังงาน แสงอาทิตย หรือ Solar Hybrid System Energy Saving Hot Water Generator ซึ่งระบบนี้สามารถชวยลดการใชพลังงาน ไฟฟา 26,455 กิโลวัตตตอป ลดการปลอย ก า ซเรื อ นกระจก 16 ตั น คาร บ อนต อ ป การติดตั้งไฟสนามหรือไฟถนนเปนระบบ โซลารเซลลชว ยใหเกิดการประหยัด 37,850 เมกะจูลตอป และไดมีการปรับเปลี่ยนใบพัด Evaporative Condenser จากเดิมตัว ใหญ 4 ตัว ใหเปนตัวเล็ก 10 ตัว เพือ่ กระจาย การทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิด การประหยัดถึง 76,632 เมกะจูลตอป พรอมกันนี้ยังไดนําระบบ 3 R การ Recycle Reuse Reduce มาใชในการ

บริ ห ารจั ด การของเสี ย อี ก ด ว ย ไม ว  า จะ เปนการคัดแยกขยะเพื่อนําไป Recycle หรือจําหนายตอใหกับผูรับซื้อของเกา การ บําบัดนํ้าเสียแลวนํากลับมาใชใหมสําหรับ รดนํา้ ตนไม สวนเศษอาหารหรือเศษวัตถุดบิ สุกรที่เกิดจากขบวนการผลิตก็จะนําไปขาย ทั้งหมดโดยไมเหลือเศษ และเพื่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพในการลดใช พลังงาน โรงงานยังไดมุงมั่นขยายผลดาน การจัดการพลังงานอยางยั่งยืน โดยบริษัท กํ า หนดเป น นโยบายให ผู  บ ริ ห ารสายงาน ต าง ๆ ของ ซีพีเอฟ นํ าระบบ Energy Management ของ AEMAS ไปใช ตลอด หวงโซการผลิต ตั้งแตตนจนถึงมือผูบริโภค (Value chain) โดยซีพีเอฟตั้งเปาหมาย ภายในป 2557 จะสามารถขยายผลการ

ใช ม าตรฐาน AEMAS ในกลุ  ม เกษตร อุ ต สาหกรรมส ง ออกสั ต ว บ กและสั ต ว นํ้ า จํานวน 11 หนวยงาน พรอมเชิญชวนผูที่ สนใจและผูจําหนายเขารวมโครงการดวย ทั้งนี้ หากผูประกอบการ หนวยงาน หรือองคกรตาง ๆ สนใจการขยายผลเพื่อ ใชมาตรฐาน AEMAS สอบถามรายละเอียด ด า นการสนั บ สนุ น วิ ช าการจาก AEMAS Thailand ในการอบรมหลักสูตรผูจัดการ พลั ง งานมื อ อาชี พ ได ที่ www.aemasthailand.org เพื่อเพิ่มศักยภาพและความ สามารถในการลดการใชพลังงานอยางเปน รู ป ธรรม และเพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ดานการแขงขันในตลาดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน Asean Economic Community ที่กําลังจะมาถึง

44

Energy#56_p42-44_Pro3.indd 44

6/22/13 2:18 AM


Energy#56_p45_Pro3.ai

1

6/26/13

9:06 PM

Max. Combination Capacity up to 680,000 Btuh.


Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร

อิเมอรสันฯ ปรับเปลี่ยน

สรางจิตสํานึก

อนุรักษพลังงาน

การเลื อ กใช เ ทคโนโลยี ห รื อ การปรั บ เปลี่ ย น เครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรมนั้น เปนแนวทาง หนึ่งที่ชวยใหเกิดการประหยัดพลังงานและใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ สูเปาหมายการลดใชพลังงานของ แตละบริษทั และนอกเหนือจากการปรับเปลีย่ นอุปกรณ เพื่อการประหยัดพลังงานแลว สิ่งสําคัญอีกอยางหนึ่ง ที่จะชวยใหเกิดการประหยัดพลังงานไดเปนอยางดี คือ การปลูกจิตสํานึกดานการอนุรักษพลังงานแกบุคลากร ภายในองคกรนั่นเอง

สําหรับ บริษัท อิเมอรสันไคลเมท เทคโนโลยี ประเทศไทย ผูผ ลิตระบบระบายความรอน ระบบปรับอากาศ และระบบทําความเย็น เชื่อวา การดําเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมเปนสวน สําคัญทีน่ อกจากจะเกิดประโยชนกบั กระบวนการผลิตของโรงงานแลว ยังกอใหเกิดประโยชนตอ ชุมชนทีอ่ ยูร อบขางโรงงานดวย ซึง่ การดําเนิน นโยบายดานพลังงานของอิเมอรสนั ไคลเมท ไมไดเปนเพียงแคการทํา ตามกฎหมายและขอบังคับเทานั้น แตยังพยายามที่จะลดและกําจัด ของเสียที่อันตราย รวมถึงการนํากลับมาใชใหมในกระบวนการผลิต โดยของเสียจะถูกกําจัดดวยวิธกี ารทีป่ ลอดภัยและไมเปนอันตรายตอ สิ่งแวดลอมหรือชุมชนรอบขาง 46

Energy#56_p46-48_Pro3.indd 46

6/17/13 10:21 PM


อยางไรก็ตาม ในการดํ าเนินการดานอนุรักษ พลังงานและ สิ่งแวดลอมที่ผานมา อิเมอรสันไคลเมทไดดําเนินการหลากหลาย โครงการเพื่อสนับสนุนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและการ อนุรักษพลังงาน ซึ่งสอดคลองกับนโยบายอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปน การนําความรอนกลับมาใชใหมในขั้นตอนการลางชิ้นสวนผลิตภัณฑ การนําความรอนจากขัน้ ตอนการอบเคลือบชิน้ งาน (heat treatment process) จากเตา Blue Furnace กลับมาใชงานที่กระบวนการอบ ชิ้นงานใหแหงที่เตาอบวานิช การติดตั้งชุดควบคุม ความเร็วของเครื่องอัดอากาศของโรงงาน เพื่อให สามารถปรับความเร็วรอบของเครื่อง อั ด อากาศตามความต อ งการได โ ดย อัตโนมัติ ชวยใหใชพลังงานได อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

และลดการสูญเสียพลังงานทีเ่ กิดขึน้ จากแรงดันทีเ่ กินความตองการได รวมถึงการจัดการนํา้ เสียทีม่ ปี ระสิทธิภาพและสอดคลองกับขอบังคับ ของกฎหมาย และมีแผนติดตัง้ ระบบการจัดการอาคารทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ที่ใชโซลูชั่นของอิเมอรสันทั้งหมด นอกจากนี้ อิเมอรสัน ไคลเมท ยังไดใชความพยายามและ การลงทุนอยางตอเนื่องในการปรับเปลี่ยนอุปกรณและเทคโนโลยี ในสวนของกระบวนการผลิตที่จะชวยลดการใชพลังงานและชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใชพลังงานใหเกิดความคุม คา โดยการปรับเปลีย่ น โคมไฟไฮเบยที่ใชหลอดเมทัลฮาไลน 250 วัตต เปนหลอดไฟ LED ในสวนของการผลิตทั้งหมด ชวยประหยัดพลังงานไดถึง 452,506 กิโลวัตตตอป นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนหลอดไฟฟลูออเรสเซนต ในสวนสํานักงานและโคมไฟ 400 วัตต ตามพืน้ ทีด่ า นนอกรอบ ๆ โรงงาน เปนหลอด LED ชวยประหยัดพลังงานได 165,359 กิโลวัตตตอป

จากการดําเนินการตามนโยบายดานการอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอมนัน้ อิเมอรสนั ไคลเมท สามารถประหยัดพลังงานได 5.87% ในป 2011-2012 และในปนี้ยังมีโครงการดานการประหยัดพลังงาน อยางตอเนื่อง เพื่อการลดการใชพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตามเปาหมายทีว่ างไว สวนการปลูกฝงจิตสํานึกใหกบั พนักงานนัน้ ทีผ่ า นมาโรงงานแหง นีไ้ ดตดิ ตัง้ สวิตซการปดเปดไฟแบบแยกสวนทีโ่ ตะของพนักงาน เพือ่ ให ทุกคนไดมสี ว นรวมในการประหยัดไฟ และเปดโอกาสใหพนักงานทุกคน สงขอเสนอแนะในการปรับปรุงและชวยประหยัดพลังงาน หากคําแนะนํา นั้นทางผูบริหารและคณะกรรมการเห็นวามีประโยชน และนําไปสูการ ปฏิบตั จิ ริง พนักงานผูเ สนอแนะจะไดรบั รางวัลตอบแทน ซึง่ เปนวิธหี นึง่ ในการจูงใจใหพนักงานเกิดจิตสํานึกและรวมกันลดใชพลังงาน ซึง่ ก็ได รับการตอบรับจากพนักงานเปนอยางดีในการใหความรวมมือ 47

Energy#56_p46-48_Pro3.indd 47

6/17/13 10:21 PM


อิเมอรสันไคลเมทเทคโนโลยีของประเทศอื่นใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อแบงปน เรียนรู และนําสิ่งที่ดีที่สุดมาประยุกตใชในการ อนุรักษพลังงาน อย า งไรก็ ต าม จากนโยบายอนุ รั ก ษ พลังงานและสิ่งแวดลอมยังไดเปดศูนยบริการ และศูนยฝก อบรมขึน้ ทีโ่ รงงานผลิตจังหวัดระยอง เพือ่ เปนศูนยกลางสําหรับการฝกอบรมใหความรู ทั้ ง เรื่ อ งการพั ฒ นาระบบเครื่ อ งทํ า ความเย็ น และการพั ฒ นาระบบการประหยั ด พลั ง งาน พรอมเปนศูนยกลางในการกระจายสินคา และ ให บ ริ ก ารแก ไ ขป ญ หาหรื อ ซ อ มแซมเครื่ อ ง ทําความเย็นคอมเพรสเซอร สามารถตอบสนอง ความต อ งการที่ มี ม ากขึ้ น และแตกต า งกั น ของลูกคาในเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดอยาง มีประสิทธิภาพ นอกจากการกระตุน ใหพนักงาน มี ส  ว นร ว มในโปรแกรมการอนุ รั ก ษ พลั ง งานแล ว อิ เ มอร สั น ฯยั ง ได รณรงคใหโรงเรียนในชุมชนใกลเคียง รูจักการนําของเหลือใชกลับมาใชใหม พรอมกับบริจาควัสดุเหลือใช เชน แกน ของลวดเชื่อมขนาดใหญที่เหลือจาก การใชงาน (welding wire drum) ให แ ก โ รงเรี ย นเหล า นั้ น และสอนให ปรับปรุงตกแตงเพือ่ ใหสามารถนํากลับ มาใชไดอยางสวยงาม หรือการนําไม พาเลทกลับมาทําเปนชัน้ วางรองเทาใหกบั โรงเรียนบานพันเสด็จ ในจังหวัดระยอง เปนตน ส ว นเป า หมายการอนุ รั ก ษ พลั ง งานนั้ น อิ เ มอร สั น ฯ ต อ งการ เป น ผู  นํ า ในอุ ต สาหกรรมด า นการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดย การพัฒนาเทคโนโลยีที่ชวยใหลูกคา สามารถตอบสนองต อความทาทาย ดานสิ่งแวดลอม พรอมกับการพัฒนา กระบวนการผลิตที่มีประสิทธิผลดาน ตนทุน และมีประสิทธิภาพสูงในการ ใช พ ลั ง งาน รวมถึ ง การสร า งสรรค ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ช  ว ยประหยั ด พลั ง งาน ตลอดการดําเนินงานที่สอดคลองกับ กฎหมายปองกันสิ่งแวดลอม เพื่อนํา ไปสูเปาหมายการลดใชพลังงาน 3% ในทุก ๆ ป และลดปริมาณของเสียให ได 25% ตอป เพื่อใหเกิดการยอมรับ ในฐานะผู  นํ า ในอุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว โดยการทํางานแบบเครือขายรวมกับ

การดํ า เนิ น การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิง่ แวดลอมของอิเมอรสนั ไมไดหยุดนิง่ เพือ่ เทานี้ แตยงั ไดแสวงหาแนวทางในการอนุรกั ษพลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติอยางตอเนื่อง เพื่อเปน สวนหนึง่ ในการรับผิดชอบของพนักงานทุกคนที่ จะสรางสิ่งแวดลอมและชุมชนที่ดีรวมกัน

48

Energy#56_p46-48_Pro3.indd 48

6/17/13 10:21 PM


Energy#56_p49_Pro3.ai

1

6/22/13

2:37 AM


Tools & Machine ณ อรัญ

Heat Pump

เทคโนโลยีผลิตน้ําร้อนแบบดึงอากาศมาผลิตน้ําร้อน ผูป ระกอบการโรงแรม รีสอรท โรงพยาบาล ศูนยการคา อพารทเมนท หรือสถานบริการหลาย ๆ แหง นอกจากจะใหความสําคัญในการ ประหยัดพลังงานในระบบแสงสวางและระบบปรับอากาศแลว ความจําเปน ในการลดการใชพลังงานในการผลิตนํา้ รอนก็มคี วามสําคัญเชนกัน ซึง่ ปจจุบนั ผูป ระกอบการตาง ๆ ไดพฒ ั นาเทคโนโลยีในการผลิตนํา้ รอนเพือ่ ใหเกิดการประหยัดพลังงานมากขึน้ เทคโนโลยีการผลิตนํา้ รอนไดถกู พัฒนาอยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหเกิดการประหยัด พลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ อยางเชน ปมความรอน หรือ Heat Pump เปนอีก เทคโนโลยีหนึง่ ทีช่ ว ยใหประหยัดพลังงานในกระบวนการผลิตนํา้ รอน หากพูดใหเขาใจกันงาย ๆ คือ ปมความรอน หรือ Heat Pump นัน้ มีหลักการ ทํางานคลาย ๆ กับเครือ่ งปรับอากาศและตูเ ย็น เพียงแตเปลีย่ นจากการทําความเย็น มาเปนทําความรอน ซึง่ ปมความรอนของ สตีเบล เอลทรอน ชวยประหยัดพลังงานได สูงถึง 80% และสามารถผลิตนํา้ รอนไดถงึ 60 องศาเซลเซียส โดยดึงเอาความรอน จากแหลงความรอน แลวนําไปถายเทในบริเวณทีต่ อ งการความรอน ดวยเหตุนจี้ งึ ถูก เรียกวาปมความรอน เนือ่ งจากทําหนาทีใ่ นการปมเอาความรอนจากแหงหนึง่ ไปยัง อีกแหงหนึง่ วัฏจักรการทํางานมีลกั ษณะเชนเดียวกับระบบทําความเย็นแบบอัดไอ (Mechanical Vapor Compression Refrigeration System) ตางกันเพียงแค ปมความรอนจะเลือกใชประโยชนจากความรอนเปนหลัก และควบคุมอุณหภูมคิ วาม รอนแทนความเย็น และไดความเย็นเปนผลพลอยไดของระบบ ปมความรอนจะทําหนาทีส่ ง ผานความรอนไปยังดานทีร่ บั ความรอน ซึง่ ถาสง ความรอนไปเรือ่ ย ๆ อีกฝง ก็จะรอนขึน้ และเมือ่ สะสมมาก ๆ จะทําใหมอี ณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ มากกวาอุณหภูมขิ องแหลงความรอน ตัวอยางเชน อุณหภูมขิ องอากาศหรือ ความรอนภายนอกอาคารสูงเพียง 34 องศาเซลเซียส แตปม ความรอนซึง่ มีสาร ทํางานในวงจรทีส่ ามารถดูดความรอนจากอากาศแลวไปถายเทใหกบั บริเวณหรือ ตัวกลางทีต่ อ งการทําความรอน เชน นํา้ ซึง่ สามารถสะสมความรอนไดจนอุณหภูมิ สูงตามความตองการ ดวยหลักการทํางานของปมความรอน นอกจากจะผลิตนํา้ รอนไดตามอุณหภูมิ และปริมาณทีต่ อ งการแลว ยังถูกออกแบบเพือ่ ใหมปี ระสิทธิภาพสูง สามารถผลิต นํา้ รอนไดโดยใชพลังงานนอยทีส่ ดุ ซึง่ ดูไดจากคาสัมประสิทธิส์ มรรถนะ (COP : Coefficient of Performance) โดยหาไดจากสัดสวนของความรอนทีผ่ ลิตได ตอความรอนทีใ่ ช และควรทดสอบภายใตมาตรฐานทีช่ ดั เจน เชน DIN EN 255-3 หรือ DIN EN 14511-3 ซึง่ เปนมาตรฐานเฉพาะสําหรับปมความรอน อยางไรก็ตาม นอกจากชวยใหเกิดการประหยัดพลังงานดังทีก่ ลาวมาแลว ปมความรอนตองใช นํา้ ยาเหมือนกับระบบทําความเย็น ควรเลือกใชนาํ้ ยาทีไ่ มไดอยูใ นกลุม คลอโรฟลูออ โรคารบอน ซึง่ เปนนํา้ ยาทีไ่ มทาํ ลายโอโซนในชัน้ บรรยากาศ ไมกอ ใหเกิดมลภาวะกับ สิง่ แวดลอม และยังปลอดภัยจากไฟฟาดูด หมดกังวลเรือ่ งไฟฟารัว่ หรือไฟฟาช็อต ขณะใชนาํ้ รอน เนือ่ งจากผลิตนํา้ รอนจากระบบสวนกลาง ผูใ ชไมไดสมั ผัสนํา้ รอนและ เครือ่ งใชไฟฟาโดยตรง 50

Energy#56_p50_Pro3.indd 50

6/20/13 1:04 AM


How To

บุษยารัตน ตนจาน

ที่วางรองเทาสุดฮิป ปจจุบนั เรามีหลายวิธใี นการชวยลดโลกรอน ตัง้ แตเรือ่ งใหญ ๆ อยางเชน เรือ่ งการประหยัดพลังงาน ไปจนถึงเรือ่ งเล็ก ๆ อยางเรือ่ งการลดขยะ หากทีบ่ า นใครมีแผนยางเกาสามารถนํามาประดิษฐเปนของใชเก ๆ ไดนะคะ ลงมือทํากันไดเลย…

วิธที าํ

วัสดุอปุ กรณ

1. แผนยาง 2. แผนไมตดั ความยาวเทากัน (20 x 1 x 3/4 นิว้ ) 3. แลคเกอร (นํา้ มัน หรือ นํา้ based) 4. ลวด 5. ตะปู

1. เตรียมแผนไมทตี่ ดั ขนาดเทากัน และ แผนยาง ทีเ่ ลือก ใชแผนยางก็เพราะวาสามารถพับได 2. วัดระยะความหางของไมใหเทากัน แลวตอกดวยตะปู 3. เมื่อทําเสร็จแลว ใหทาแลคเกอร วิธีใชใหผสมดวย นํ้ามันเบนซินหรือนํ้ามันสน รายละเอียดการใชใหดูที่ขางขวด จะบอกวิธกี ารใชอยางละเอียด 4. เมือ่ ทําทาสีเสร็จแลว ตากแดดใหแหง จากนัน้ ตกแตง ลวดลายตามความตองการ การใชเ วลาว า งโดยการนํ า ของเหลื อ ใชห รื อ ของเกา มา ประดิษฐของตกแตงสารพัดประโยชน นอกจากจะชวยพัฒนาความ คิดสรางสรรคแลว ยังเพิม่ ทักษะงานฝมอื อีกดวย

51

Energy#56_p51_Pro3.indd 51

6/26/13 9:11 PM


เชือ่ วาหลายคนคงเคยเห็นโคมไฟสวย ๆ มากมายหลายแบบ เคยสงสัยไหมวา วิธกี ารทําโคมไฟประดับบาน เขาทํากันยังไง ยากไหม แลวมีขนั้ ตอนอะไรบาง อยาก ลงมือทําดวยตัวเองบาง ฉบับนีเ้ รามีวธิ ที าํ โคมไฟเสนดายมาฝาก

โคมไฟเส้นด้าย ง่า

ย ๆ คุณก็ทําได้

าร

ก นี้ มไฟทตี่ อ ง ั ง ค โ ด  ด า ณ น ร  ข ก ต เตรยี มอปุ งขนาดตา ง ๆ แลว แ ลาเทก็ ซ

ยา กาว 1. ลกู บอลหรบั งานฝม อื หรอื 2. กาวสาํ ย หรอื เสน ปา น 3. เสน ดา าเมจกิ ล 4. ปากก หรบั ปลอ ยลมลกู บอ เครอื่ งใชไ ฟฟา ทวั่ ไป ํ า น 5. เขม็ ส อดไฟหาซอื้ ไดท รี่ า 6. ชดุ หล ง ใหม ชี อ งวา ่ ื อ เพ ล อ บ ลกู วธิ ที าํ ารวาดไกดไลนล งไปบน ก ทากาว โดยม ร า ก ิ ค น 1. เรมิ่ จาก ได ค ล ดว ยเท ะตดิ ไปกบั เชอื ก ไ ป ไ อ  า บ เข ู ก ฟ ล ไ บ ด อ ใสห ลอ เอาเชอื กมาพนั ร ทจี่ บั เชอื ก กาวจ 2. มาะ เวลา มากจนเกนิ ไป เห อ ทาํ โคมไฟ  พ ั บ ค ร แ ห ํ า ื อ ว า  ส ่ ี ม ว ก ท ไ ะ ว ทากา อลและเชอื กเลอ อื กปา นทเี่ ตรยี ม กจากบนลงลา ง ทาํ ใหล กู บ หลงั จากนนั้ ใหเ อาเช เ ทคนคิ การพนั เชอื วทมี่ อื ไปเรอื่ ย ๆ ช า 3. บอล โดยใอื่ ย ๆ พรอ มกบั ทาก เี่ ชอื กทบั กนั หรอื ู ก ล ๆ บ อ ท มาพนั ร ทตี่ า งกนั พนั ไปเร บี รอ น เพราะเวลา ันไปกอนหนานี้ ดว ยองศา าํ อยา งใจเยน็ อยา ร ึดใหเสนเชือกที่พ ใหเชือกมีความ พยายามท งตึงของเชือกชวยย ับกาวที่ทามือจะทํา ไขวกันแร หลุดงาย ประกอบก อยูนิ่ง ไม ทจี่ ะยดึ ตดิ กนั เหนยี วพอ

หเ ลย ไลน อยา ใ ด ก ไ  น เส ๆ ใหอ ยรู อบ ก ื อ เช ั น พ ของเชอื ก าม ั ด ย า ต ย ุ ด จ พ น ใ . 4 าก งไป ย ลนเขา ไปม ยี ดดว ยการเทกาวล ใหก บั โคมไฟเสน ดา ๆ ไ  ด ก ไ  น เส ง ขอบ ขง็ แร ายละเอ ล คอ ย 5. ใหเ กบ็ ร สี่ ดุ เพอื่ เพมิ่ ความแอ ยลมออกจากลกู บอ ยี งเทา นี้ ม ากท ารปล ดา ย เพ แตล ะจดุ ให แ หง หลงั จากนนั้ ทาํ กอกมาจากโคมไฟเสน แลว ทงิ้ ไวใ ห อลทถี่ กู ปลอ ยลมอ ดงึ เอาลกู บ รจ็ เรยี บรอ ย กเ็ ปน อนั เส

522

Energy#56_p52_Pro3.indd 52

6/20/13 1:08 AM


O Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

เมืองสีเขียว (Green City) กับการลดของเสียอยางยัง่ ยืน

ในปจจุบนั ปญหาจากขยะมูลฝอยในเมืองใหญหรือมหานครมีปริมาณเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากการเติบโตอยางรวดเร็ว ของเมืองและกิจกรรมตาง ๆ ภายในเมืองโดยทีย่ งั ขาดความพรอมดานการจัดการของเสียอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ ซึง่ เปนสาเหตุสาํ คัญทีก่ อ ใหเกิดปญหาสิง่ แวดลอมในดานตาง ๆ มากมาย เชน ปญหากลิน่ เหม็น การปนเปอ นตอคุณภาพนํา้ เปนแหลงแพรกระจายของเชื้อโรค การกอใหเกิดเหตุรําคาญ และความไมนาดู การปลดปลอยกาซมีเทนซึ่งเปนกาซเรือน กระจกจากการฝงกลบขยะมูลฝอยทีส่ ง ผลกระทบตอภาวะโลกรอนไดมากกวากาซคารบอนไดออกไซดถงึ 21 เทา นอกจากนัน้ การเผาทําลายขยะในที่โลงซึ่งไมมีระบบควบคุมกาซหรือไอเสียจะปลอยกาซพิษที่ทําลายสุขภาพของเรา สํ า หรั บ กรณี ป  ญ หาขยะมู ล ฝอยของกรุ ง เทพมหานครใน ปจจุบัน มีมากกวา 9,000 ตันตอวัน แตยังมีการเก็บขยะมูลฝอยได ประมาณรอยละ 63 เมือ่ เปรียบเทียบกับคาเฉลีย่ ของเมืองใหญอนื่ ๆ ใน ทวีปเอเชีย (จํานวน 22 เมือง) ซึง่ มีการเก็บขยะมูลฝอยไดถงึ รอยละ 83 และจากขอมูลของสํานักรักษาความสะอาดกรุงเทพมหานคร พบวา ขยะมูลฝอยทีก่ รุงเทพมหานครเก็บรวบรวมได ประกอบดวย เศษอาหาร ใบไม กิ่งไม มากที่สุด ถึงรอยละ 50 ที่เหลือเปนวัสดุรีไซเคิล 30% ขยะทั่วไป 17% และขยะอันตราย 3% ซึ่งจากองคประกอบดังกลาวชี้ ใหเห็นวา ถามีการคัดแยกขยะอยางมีประสิทธิภาพจะสามารถนํามาใช ประโยชน ไดมากถึง 80% หรือประมาณ 7,000 ตันตอวัน ทั้งยังชวย ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะนําไปฝงกลบและลดปญหาโลกรอนจาก การฝงกลบขยะมูลฝอยอีกดวย

เมืองสีเขียวกับแนวทางการลดของเสียอยางยั่งยืน เมืองสีเขียว (Green City) มีเปาหมายใหทกุ ภาคสวนในสังคม ไดมคี วามรูค วามเขาใจในการปรับตัวดานการผลิต บริโภค และการใช ทรัพยากรอยางคุม คา ลดการปลอยของเสียสูส งิ่ แวดลอม โดยใชหลักการ 3Rs ในการลดการใชสิ่งของที่เปนพิษตอสิ่งแวดลอม ลดการใช พลังงาน ลดการใชนาํ้ และทรัพยากรอืน่ ๆ การใชสงิ่ ของวัสดุ อุปกรณ ตาง ๆ อยางคุม คา กอนทีจ่ ะทิง้ เปนขยะ และการนําของเสียกลับมาใชใหม โดยการคัดแยกสิ่งของที่สามารถนํากลับไปเขากระบวนการผลิต เปนสินคามาใชใหม โดยไมทิ้งเปนขยะ รวมไปถึงการสรางวัฒนธรรม ในการเลือกใชสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

ปจจัยทีต่ อ งพิจารณาในการขับเคลือ่ นสูแ นวทางของ เมืองสีเขียว ในการขับเคลื่อนกิจกรรมของเมืองเพื่อเขาสูแนวทางของเมือง สีเขียวนั้น จําเปนตองพิจารณาปจจัยตาง ๆ เพื่อชวยลดปริมาณ ขยะมูลฝอยที่จะสงไปกําจัดใหเหลือนอยที่สุด ดังตอไปนี้ - การส ง เสริ ม แนวทางลดอั ต ราการเกิ ด ขยะมู ล ฝอยต อ ประชากรใหนอยที่สุด - การเพิ่มสัดสวนของขยะมูลฝอยที่สามารถเก็บขนได และได รับการกําจัดอยางถูกหลักสุขาภิบาล - นโยบายการลดของเสีย ใชซํ้า และการนํากลับมาใชใหม ที่มีประสิทธิภาพ - นโยบายการเก็บขนและการกําจัดของเสียของเมืองที่มี ประสิทธิภาพ

5353

Energy#56_p53-54_Pro3.indd 53

6/26/13 8:28 PM


กรณีศึกษาเมืองสีเขียวของประเทศญี่ปุน ปจจุบันประเทศญี่ปุนไดมีการสงเสริมการสรางเมืองสีเขียว อยางจริงจัง เนือ่ งจากรัฐบาลญีป่ นุ ตัง้ แตสมัยของอดีตนายกรัฐมนตรี Junichiro Koizumi ไดมีการผลักดันใหนโยบาย 3 Rs (Reduce, Reuse, Recycle) ในการจัดการของเสีย กลายเปนนโยบายของ ประเทศอยางจริงจัง และพรอมกาวสูสังคมแบบ Zero waste ทั้งนี้ ทางรัฐบาลญี่ปุนตระหนักดีถึงการเติบโตทางเศรษฐกิจที่กาวกระโดด มากเกินไป และหากขาดการวางแผนที่ดีอาจทําใหเกิดปญหาสิ่ง แวดลอมตามมา นอกจากนีท้ างรัฐบาลญีป่ นุ ยังไดประกาศใชกฎหมาย The Law for the Production of Effective Utilization of Recycled Resources ของญีป่ นุ เมือ่ ป ค.ศ. 1991 ซึง่ มีวตั ถุประสงค ในการปรับปรุงนโยบาย 3Rs ใหสามารถเพิม่ อัตราการรีไซเคิลของเสีย เพื่อนํากลับมาใชใหมใหไดมากถึง 40% ภายใน ป ค.ศ. 2010 รวมถึง การสงเสริมบทบาทการบริโภคและการผลิตแบบยั่งยืน เพื่อลดการ เกิดของเสียและมลพิษตอสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด การลดการปลอย กาซเรือนกระจกเพื่อลดปญหาโลกรอน สําหรับนโยบายการพัฒนา เมืองสีเขียวนั้น ญี่ปุนไดมีวัตถุประสงคของการพัฒนาเมืองสีเขียว ในประเด็นตอไปนี้ 1. การสงเสริมแนวทางหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหม 2. การจัดการของเสียแบบผสมผสาน 3. การรักษานิเวศสิ่งแวดลอมแบบยั่งยืน โดยมุงเปาสูงสุดที่ Zero waste และ Zero emission

ทิศทางใหมของการจัดการของเสียสําหรับเมือง สีเขียว สามารถสรุปเปนหลักการพื้นฐาน ดังนี้ 1) หลักการปองกันมลพิษ หลักการนี้เปนหัวใจสําคัญสําหรับกลยุทธการจัดการของเสีย การลดปริมาณและความเปนพิษของของเสียที่แหลงกําเนิด มีการ ปรับปรุงกระบวนการผลิตใหสะอาดขึ้น (Cleaner Technology) และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Environmental friendly) รวมไปถึง การสรางแรงจูงใจใหผบู ริโภคหันมาใชสนิ คาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม การสรางตลาดสําหรับสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม การลดปริมาณ บรรจุภัณฑ (Packaging) สําหรับสินคา 2) หลักการ 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle) สํ า หรั บ ของเสี ย ที่ เ หลื อ จากหลั ก ปฏิ บั ติ ก ารป อ งกั น มลพิ ษ ควรสงเสริมแนวทางในการนํากลับวัสดุมาใชประโยชนใหมใหไดมาก ที่สุด ไดแก ของเสียบรรจุภัณฑ (packaging waste) ของเสีย ที่เกิดจากยานพาหนะใชแลว (end-of-life vehicles) ของเสีย ประเภทแบตเตอรี่ ของเสียประเภทเครื่องใชไฟฟา (electrical and electronic waste) 3) การปรับปรุงแนวทางการกําจัดขั้นสุดทาย และมาตรการ ติดตามดานสิ่งแวดลอม สําหรับของเสียสวนที่ยังคงเหลือ หลังจากผานแนวทางของ หลักการปองกันมลพิษ และหลักการ 3Rs แลว และตองมีการกําจัด ขั้นสุดทายตอไปดวยวิธีการฝงกลบหรือวิธีการเผาทําลายในเตาเผา ต อ ไปนั้ น สํ า หรั บ ทั้ ง สองวิ ธี นี้ จํ า เป น ต อ งมี ก ารกํ า กั บ ดู แ ลและมี มาตรการติดตามดานสิง่ แวดลอมอยางใกลชดิ เนือ่ งจากอาจกอใหเกิด ผลกระทบสิง่ แวดลอมอยางมากและมีนยั สําคัญ หากไมมกี ารควบคุม ดูแลระบบที่ดีเพียงพอ 4) สงเสริมแนวทางการมีสว นรวมของชุมชนในการลดปริมาณขยะ การมีสวนรวมของชุมชนในการลดปริมาณขยะเปนการจัดการ ขยะที่ยั่งยืน เนื่องจากผูกอเกิดขยะมูลฝอยไดตระหนักถึงปญหา สิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ มีการรวมมือกันลดการเกิดขยะมูลฝอย รวมไปถึง การคัดแยกและใชประโยชนขยะมูลฝอยอยางรูคุณคา

กลองรีไซเคิลแบตเตอรี่ใชแลว

สําหรับการลดปริมาณขยะมูลฝอยทุก ๆ 1 กิโลกรัม จะชวย ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ไดถึง 0.3 กิโลกรัม ดังนั้น เราควรมาชวยกันคัดแยกขยะและนําไปใชประโยชนอยางคุมคา เพื่อ ลดปญหาสิ่งแวดลอมและภาวะโลกรอน ชวยบรรเทาภัยพิบัติที่อาจ เกิดขึ้น อีกทั้งยังเปนการพัฒนาเมืองเขาสูแนวทางของเมืองสีเขียว (Green city) ตอไป

ผลิตภัณฑปุยเม็ดที่ผลิตจากขยะอินทรีย 5454

Energy#56_p53-54_Pro3.indd 54

6/26/13 8:31 PM


Energy#42_p55_Pro3.ai

1

4/25/12

2:03 PM


Waste to Wealth

โดย : ชนากานต สันตยานนท ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

B

ฉบับที่ผานมา ไดกลาวถึงวิธีการที่โครงการ “เปลี่ยน ขยะเปนทอง : รับกระแสโลกรอนและสรางคุณคาใหวัสดุ เหลือใช” หรือ โครงการ Waste to Wealth (W2W) นํามา พัฒนาผลิตภัณฑใหมจากเศษเหลือใช คือ กระบวนการ ออกแบบจากเศษวัสดุ ดวยวิธีการที่เรียกวา “UPCYCLING” ซึ่งถือเปนเทรนดใหมในการเพิ่มมูลคาสินคารักษโลก โดย การแปลงสภาพเศษวัสดุเหลือใช หรือการทําใหวัสดุหรือ ผลิตภัณฑที่ไมสามารถใชงานตามหนาที่เดิมใหกลาย เปนผลิตภัณฑใหมที่มีคุณภาพและมีมูลคาสูงขึ้น โดยมี ความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ผานการบูรณาการความคิด สรางสรรคและการออกแบบ ใหสอดคลองกับความตองการ ของตลาดทั้งในปจจุบันและอนาคต

กลยุทธการตลาดเชิงสรางสรรค หนุนสินคารักษโลกใหแข็งแกรง เปนที่ทราบกันดีวา สินคาดีแตไมมีใครรูจัก ก็ไม สามารถขายได และยากที่จะนําสินคาไปตอยอดทางธุรกิจ ไดอยางตอเนื่อง ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี ภายใต สํ า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี แ ห ง ชาติ (สวทช.) สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใน ฐานะเจาของงบประมาณดําเนินโครงการ W2W ตระหนักดี วา “กลยุทธในการทําการตลาด” เปนปจจัยสําคัญในการ สนับสนุนผูประกอบการที่เขารวมโครงการ W2W ในการ นําเสนอผลิตภัณฑรักษโลกสูผูบริโภค ซึ่งการใชกลยุทธ ชูการตลาดถือเปนการกระตุนผูบริโภคใหเกิดความสนใจ และรับทราบถึงผลิตภัณฑรักษโลกจากโครงการ W2W และจากการรวมมือกันระหวาง สวทช. และ คณะ สถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซึ่งมี ผศ.ดร. สิงห อินทรชูโต (หัวหนาคณะผูเชี่ยวชาญโครงการ W2W) ดูแลโครงการมาอยางตอเนือ่ งตลอด 5 ป ทีผ่ า นมา ทําให มีหลายองคกรเห็นถึงความสําเร็จของโครงการ และไดยนื่ มือ เขามาสนับสนุนใหการเกิดความแข็งแกรงของกิจกรรมสง เสริมการตลาด เชน การสนับสนุนพืน้ ทีส่ าํ หรับนําเสนอผลงาน ตนแบบในงานนิทรรศการเพือ่ ประชาสัมพันธโครงการฯ อาทิ 1.งานแสดงสินคาเฟอรนเิ จอรระดับนานาชาติ (TIFF : Thailand International Furniture Fair) ตั้งแตป 2009-2013 (จัดขึ้นในเดือนมีนาคมของทุกป) - หนวยงานที่สนับสนุนพื้นที่ในการนําเสนอผลงาน ไดแก 1) สมาคมอุตสาหกรรมเครือ่ งเรือนไทย (เจาของพืน้ ที่ ในการนําเสนอผลงาน) 2) กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย (ผูป ระสานงานหลักในการขอการสนับสนุนพืน้ ทีฯ่ )

งาน TIFF ป 2009

56

Energy#56_p56-57_Pro3.indd 56

6/20/13 1:56 AM


งาน TIFF ป 2011

งาน TIFF ป 2010

แนวคิดมุง การขาย ในการสนับสนุนใหผปู ระกอบการทีเ่ ขารวมโครงการฯ มีการเติบโตทางการตลาดควบคูไปกับการงอกงามของการสรรสราง ผลิตภัณฑรักษโลกเพื่อปอนสูผูบริโภคและสังคมในอนาคต ปจจุบัน ประชากรทั่วโลกหันมาใหความสนใจเลือกใชผลิตภัณฑที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม (Eco-Friendly Product) เพื่อสนับสนุนแนวคิด รักษโลกซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของการจัดการสิ่งแวดลอมเชิงเศรษฐกิจ ที่ผนวกแนวคิดดานเศรษฐศาสตรและสิ่งแวดลอมเขาไปในขั้นตอน ของการออกแบบ การผลิต การนําไปใช และการกําจัดหลังการใชงาน โดยพิจารณาตลอดวัฏจักรชีวติ ของผลิตภัณฑ (Product Life Cycle) ชวยลดตนทุนและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไปพรอม ๆ กัน

งาน TIFF ป 2013 2. การจัดนิทรรศการที่ธนาคารไทยพาณิชย สํานักงานใหญ ในวันที่ 11-22 ธันวาคม 2556 - หนวยงานที่สนับสนุนพื้นที่ในการนําเสนอผลงาน ไดแก 1) ธนาคารไทยพาณิชย สํานักงานใหญ (เจาของพื้นที่ ในการนําเสนอผลงาน) 3. การจัดนิทรรศการที่ CDC (Crystal Design Center) ศูนยการออกแบบครบวงจรแหงแรกในประเทศไทยและภูมภิ าคเอเชีย ในวันที่ 16-30 สิงหาคม 2553 - หนวยงานที่สนับสนุนพื้นที่ในการนําเสนอผลงาน ไดแก 1) CDC (เจาของพื้นที่ในการนําเสนอผลงาน) 4. งานสถาปนิก’56 (Architect Expo 2013) ระหวางวันที่ 30 เมษายน – 5 พฤษภาคม 2556 ณ ชาเลนเจอร ฮอลล 1-3 อิม แพค เมืองทองธานี - หนวยงานที่สนับสนุนพื้นที่ในการนําเสนอผลงาน ไดแก 1) สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ (เจาของพืน้ ที่ ในการนําเสนอผลงาน) จากการบูรณาการหลากหลายแนวคิด เชน แนวคิดการมุง เนน การผลิต/ผลิตภัณฑ, แนวคิดมุง การตลาด/การตลาดเพือ่ สังคม และ

ซึง่ ทางโครงการฯ มีความยินดีและภูมใิ จอยางยิง่ ทีไ่ ดเปนสวนหนึง่ ในการพัฒนาผูป ระกอบการทัง้ 26 บริษทั ทีเ่ ขารวมโครงการฯ ในการ สรางสรรคสนิ คารักษโลกจํานวนกวา 500 ชิน้ จาก 200 โมเดล ผานการ แปลงเศษในหลากหลายวัสดุ เชน ไม เหล็ก อลูมเิ นียม ผา ดาย กระจก อะคริลิก แกว ดวยศิลปะและเทคโนโลยี กอใหเกิดแรงบันดาลใจ และตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการใช ท รั พ ยากรอย า งคุ  ม ค า การประหยัดพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และการพัฒนาบุคลากร ของบริษัทในหลากหลายหนวยงาน อาทิ การออกแบบ การวิจัยและ พัฒนา การผลิต และวิศวกรรม ถือเปนอีกภารกิจสําคัญของโครงการฯ ในการสงเสริมดานบุคลากรใหเปนกําลังสําคัญของบริษทั และประเทศ ในอนาคต ฉบับหนาจะมาเลาถึงปจจัยความสําเร็จ (Key Success Factor) ที่ ทําใหผปู ระกอบการกาวผานอุปสรรคและขอจํากัดทีม่ ี จนสามารถเปนหนึง่ ในผูท ปี่ ระสบความสําเร็จในการผลิตสินคารักษโลกใหกบั ผูบ ริโภคทีส่ นใจ สินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม

หากทานสนใจเขารวมโครงการ ติดตอที่ คุณชนากานต สันตยานนท (chanaghan@tmc.nstda.or.th) โทรสาร. 0-25647082 โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381 57

Energy#56_p56-57_Pro3.indd 57

6/20/13 1:56 AM


Energy Knowledge เด็กเนิรด

กรอบโทรศัพทลบรอยขีดขวนเองได ดวยนวัตกรรมดานยนตกรรม นิสสันเปนผูร เิ ริม่ นํานวัตกรรมดานวิศวกรรมยานยนต ทีน่ สิ สันไดพฒ ั นามาหลายปมาใชกบั อุปกรณเสริมของโทรศัพท เคลือ่ นทีอ่ ยางกรอบของสมารทโฟนชือ่ ดัง นวัตกรรมทีน่ สิ สันนํามาใชคอื เทคโนโลยีสารเคลือบปองกันรอยขีดขวน (Scratch Shield) ที่มีความยืดหยุนสูงเหมาะนํามาเคลือบพื้นผิวที่ถูกเสียดสีบอย ๆ อยางพื้นผิวภายนอกของตัวรถยนต หรือกรอบของ โทรศัพทเคลือ่ นที่ สารเคลือบชนิดนีจ้ ะทําหนาทีป่ อ งกันรอยขีดขวนใหกบั กรอบ และสามารถซอมแซมรอยขีดขวนดวยตัวเองได

การทดสอบเทคโนโลยีสารเคลือบปองกันการขีดขวนกับ พืน้ ผิวของรถยนต

เมือ่ เปรียบเทียบระหวางกรอบโทรศัพททเี่ คลือบดวยสารเคลือบ ชนิดนีก้ บั สารเคลือบแบบทัว่ ไป จะเห็นความแตกตางของพืน้ ผิวสัมผัส ดานนอกของกรอบทีเ่ คลือบดวยสารเคลือบปองกันรอยขีดขวนจะมีผวิ สัมผัสคลายเจล มีความยืดหยุน ชวยเพิม่ ความทนทานตอการขีดขวนได มากขึน้ และทําใหกรอบไมลนื่ ผูใ ชจบั โทรศัพทตดิ มือไดดกี วากรอบทีม่ พ ี นื้ ผิวมันเงาจากการเคลือบดวยสารเคลือบแบบทัว่ ไป นอกจากนี้ นิสสันยังพิถพ ี ถิ นั ในการเลือกใชพลาสติกเกรดสูง ทีใ่ ช อยางกวางขวางในวงการอุตสาหกรรมยานยนต อยาง พลาสติกเอบีเอส (acrylonitrile-butadiene-styrene : ABS) ทีน่ าํ มาทําตัวกรอบ เพือ่ ให กรอบมีความแข็งแรงและทนทานกวากรอบทีท่ าํ ขึน้ จากพลาสติกชนิดอืน่

ภาพแสดงรอยขีดขวนบนพืน้ ผิวของรถยนตทผี่ า นการลางรถ มาแลว 50 ครั้ง ภาพขวาคือพื้นผิวที่ทาดวยสารเคลือบปองกัน รอยขีดขวนสังเกตไดวา มีปริมาณรอยขีดขวนนอยกวาภาพซาย ที่เปนพื้นผิวที่ทาดวยสารเคลือบทั่วไปถึง 5 เทา

เทคโนโลยีสารเคลือบปองกันรอยขีดขวน (Scratch Shield)

สารเคลือบปองกันรอยขีดขวน (Scratch Shield) เปนสารเคลือบ ชักเงาแบบใส (clear coat) ทีท่ นทานตอการขีดขวนไดมากกวาสารเคลือบ ชักเงาแบบใสทัว่ ไป ทัง้ ยังชวยซอมแซมรอยขีดขวนบาง ๆ ไดดว ยกลไกที่ เกิดจากโครงสรางพืน้ ฐานของสารเคลือบ โดยโครงสรางดังกลาวจะมีสว น ผสมของเรซินทีม่ คี วามหนาแนนและยืดหยุน สูงเปนพิเศษ ทําใหสามารถ รับแรงไดดี ลดความลึกของรอยบากจากการขีดขวนได ทัง้ ยังชวยทําให เกิดปฏิกริ ยิ าทางเคมีทสี่ ามารถคืนสภาพพืน้ ผิวในสวนนัน้ กลับมาเปน รูปรางเดิม และเติมเต็มในสวนทีเ่ ปนรอยตําหนิได แตอยางไรก็ตาม ประสิทธิภาพของสารเคลือบอาจหมดไปโดยสิน้ เชิง หากชั้นของสารเคลือบบนพื้นผิวหลุดลอกออกไป หรือมีการขีดขวน อยางรุนแรงจนเปนรอยบากทีล่ กึ เขาไปตัดพันธะทีอ่ ยูภ ายในของโครงสราง ของสารเคลือบ นอกจากนั้น ความลึกของรอยขีดขวนและอุณหภูมิ แวดลอมยังมีผลตอระยะเวลาทีว่ สั ดุจะใชในการซอมแซมตัวเองอีกดวย ในบางกรณีอาจใชระยะเวลาซอมแซมยาวนานถึง 1 สัปดาห เลยทีเดียว

ภาพแสดงลักษณะพืน้ ผิวกอนและหลังการซอมแซมตัวเอง โดย ใชเวลาตัง้ แต 1 วัน จนถึง 1 สัปดาห ปจจุบันนิสสันไดนําเทคโนโลยีสารเคลือบปองกันรอยขีดขวน (Scratch Shield) ไปใช จ ริ ง กั บ รถยนต ข องนิ ส สั น แล ว ทั้ ง รถ อเนกประสงค (Sport Utility Vehicle) รุน Murano X-trail และ รุน Infiniti รวมถึงรถสปอรต รุน 370Z ดวย สวนการนําเทคโนโลยีนี้ ไปใชกบั โทรศัพทตดิ ตามตัวนัน้ ทางนิสสันไดอนุญาตให NTT DoCoMo ผูนําดานโทรศัพทเคลื่อนที่ระดับโลกนําเทคโนโลยีดังกลาวไปใชกับ โทรศัพทเคลือ่ นทีร่ นุ NEC N-03B เรียบรอยแลว ขอบคุณขอมูลจาก MTEC

58

Energy#56_p58_Pro3.indd 58

6/6/13 11:17 PM


Energy#47_p92_Pro3.ai

1

9/21/12

9:50 PM


Energy Tip เด็กเนิรด

7 วิธี ใชตูเย็นใหประหยัดพลังงาน เวลาที่ทํางานมาเหนื่อย ๆ การดื่มนํ้าเย็น ๆ สักแกวชวยดับกระหายไดดี และชวยใหเราสดชื่นขึ้น ฉะนั้นอุปกรณ ไฟฟาภายในบานที่ขาดไมได ก็คือ “ตูเย็น” นอกจากจะชวยกักเก็บความเย็นแลว ยังชวยใหอาหารสดอยูเสมอ หากใครที่กําลังมองหาตูเย็นไว ใชสักเครื่อง มีวิธีการเลือกซื้อและใชตูเย็น ใหประหยัดพลังงานมาฝาก… การเลือกซื้อตูเย็นควรพิจารณาดังนี้ 1. เลือกซือ้ ตูเ ย็นทีม่ ขี นาดคิวใหเหมาะสมกับสมาชิกภายในบาน หรือใหเหมาะกับความจําเปนทีต่ อ งใชงาน เชน ครอบครัวขนาด 3-4 คน ควรใชตูเย็นขนาด 4.5 - 6 คิว 2. เลือกใชตเู ย็นทีม่ ฉี นวนกันความรอนชนิดโฟมฉีดและมีผนังหนา จะชวยปองกันความรอนจากภายนอกไมใหเขาสูต เู ย็นได ชวยใหอาหาร ที่แชเย็นไดงายขึ้น 3. ตูเย็นแบบประตูเดียวจะใชไฟฟานอยกวาแบบ 2 ประตู ในขนาดที่เทากัน 4. เลือกใชตูเย็นที่มีฉลากประหยัดไฟ เบอร 5 5. ตูเย็นที่มีการละลายนํ้าแข็งอัตโนมัติจะใชพลังงานมากกวา ตูเย็นที่ละลายนํ้าแข็งดวยการกดปุม

6. ตูเย็นที่มีถาดรองรับนํ้าอยูขางนอกตัวเครื่องชวยใหไมตอง เปดประตูตูเย็นบอยครั้ง ทําใหอุณหภูมิความเย็นคงที่สมํ่าเสมอ แต ตูเย็นชนิดนี้จะใชพลังงานไฟฟามากกวาตูเย็นที่ไมมีถาดรองรับนํ้าอยู ดานนอกตัวเครื่อง 7. เลือกซื้อตูเย็นที่ไมใชสารประกอบ CFC ในการทําความเย็น เพื่อลดผลกระทบตอชั้นโอโซนในบรรยากาศ

วิธีการใชตูเย็นใหประหยัดพลังงานมีขอปฏิบัติดังนี้ 1. ควรตั้งตูเย็นในที่มีอากาศถายเทและใหหางจากผนังไมนอย กวา 15 เซนติเมตร 2. ควรปลอยใหอาหารรอนเย็นตัวลงภายนอกตูเ ย็น กอนทีจ่ ะนําเขาไป เก็บไวในตูเ ย็น ควรคลุมอาหารหรือของแชทมี่ คี วามชืน้ กอนแชในตูเ ย็น เพราะอาหารเปยกชื้นจะทําใหคอมเพรสเซอรทํางานหนักขึ้น 3. ไมควรแชของในตูเ ย็นมากเกินไป เพราะจะทําใหคอมเพรสเซอร ทํางานหนัก และเปลืองไฟมากขึ้น 4. ควรดูดฝุนทําความสะอาดดานหลังตูเย็นสมํ่าเสมอ จะชวย เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของตูเย็นไดมาก 5. ละลายนํ้าแข็ง ตรวจสอบ และทําความสะอาดขอบยางประตู ตูเ ย็นสมํา่ เสมอ ควรตรวจสอบขอบยางประตูตเู ย็นใหอยูใ นสภาพทีใ่ ช งานไดดี ปดไดสนิท ทดสอบโดยใชธนบัตรหรือกระดาษวางในตําแหนง ตาง ๆ ระหวางขอบยางประตูกบั ตูเ ย็น แลวปดประตูตเู ย็น จากนัน้ คอย ๆ ดึงธนบัตรหรือกระดาษออก ถาดึงออกไดโดยงาย แสดงวาความเย็น ภายในตูรั่วไหล ควรเรียกชางมาตรวจสอบแกไขทันที 6. ไมควรตั้งอุณหภูมิใหเย็นมาก เพราะทําใหสิ้นเปลืองไฟมาก ควรตั้งอุณหภูมิความเย็นใหเหมาะสม คือ 3 - 5 องศาเซลเซียส และ ที่ชองแชเข็งควรตั้งที่อุณหภูมิ - 10 ถึง - 15 องศาเซลเซียส 7. เปด - ปดตูเย็นเทาที่จําเปน ควรปดใหสนิททุกครั้ง ชวยให คอมเพรสเซอรไมตองทํางานหนัก ประหยัดไฟไดมาก นอกจากนี้ ในกรณีที่ตูเย็นมีการตอสายลงดินควรระวัง อยาใหตูเย็นมีกระแสไฟฟารั่วลงดิน เพราะจะทําใหเปลืองไฟมากขึ้น สังเกตไดจากมิเตอรมาตรวัดไฟฟา หากพบวาจานมาตรวัดยังหมุน ทํางานอยู แสดงวาตูเ ย็นมีกระแสไฟฟารัว่ ลงดิน ควรรีบเรียกชางมาซอม และแกไขโดยทันที

60

Energy#56_p60-61_Pro3.indd 60

6/22/13 2:54 AM


10 วิธีงายๆ หยุดภาวะโลกรอน

ปจจุบันภาวะโลกรอนกําลังสงผลกระทบอยาง รุนแรง เราสามารถชวยกันลดภาวะโลกรอนไดงาย ๆ ดวย 10 วิธี ดังตอไปนี้ 1. เปลี่ยนหลอดไฟ การเปลีย่ นหลอดไปจากหลอดไสเปนหลอดประหยัดไฟหนึง่ ดวง จะชวยลดคารบอนไดออกไซดได 150 ปอนดตอป 2. ขับรถใหนอยลง หากเดินทางในระยะทางใกล ๆ อาจใชการเดินหรือการขีจ่ กั รยาน แทนการขับรถยนตระยะทาง 1 ไมล จะปลอยคารบอนไดออกไซด 1 ปอนด 3. รีไซเคิลของใช ลดขยะของบ า นคุ ณ ให ไ ด ค รึ่ ง หนึ่ ง จะช ว ยลดคาร บ อน ไดออกไซด ไดถึง 2,400 ปอนดตอป 4. เช็คลมยาง การขั บ รถโดยที่ ย างมี ล มน อ ย อาจทํ า ให เ ปลื อ งนํ้ า มั น ได ถึ ง 3% จากปกติ นํ้ า มั น ทุ ก ๆ แกลลอนที่ ป ระหยั ด ได จะลด คารบอนไดออกไซดได 20 ปอนด

5. ใชนํ้ารอนใหนอยลง การทํานํ้ารอนใชพลังงานในการตมสูงมาก การปรับเครือ่ ง ทํานํา้ อุน ใหมอี ณ ุ หภูมแิ ละแรงนํา้ ใหนอ ยลง จะลดคารบอนไดออกไซด ได 350 ปอนดตอ ป หรือการซักผาในนํา้ เย็น จะลดคารบอนไดออกไซด ไดปละ 500 ปอนด 6. หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑที่มีบรรจุภัณฑเยอะ เพียงแคลดขยะของคุณ 10% จะลดคารบอนไดออกไซด ไดถึง 1,200 ปอนดตอป 7. ปรับอุณหภูมิหอง (สําหรับเมืองนอก) ในฤดูหนาว ควรปรับอุณหภูมขิ อง heater ใหตาํ่ ลง 2 องศา และในฤดูรอน ปรับใหสูงขึ้น 2 องศา จะลดคารบอนไดออกไซด ได 2,000 ปอนดตอป 8. ปลูกตนไม การปลูกตนไมหนึง่ ตนจะดูดซับคารบอนไดออกไซดได 1 ตัน ตลอดอายุของมัน 9. ปดเครื่องใชไฟฟาที่ไมใช ปดทีวี คอมพิวเตอร เครื่องเสียง และเครื่องใชไฟฟาตาง ๆ เมื่อเลิกใช ชวยลดคารบอนไดออกไซดไดนับพันปอนดตอป 10. บอกเพื่อน ๆ ของคุณเกี่ยวกับวิธีเหลานี้… 61

Energy#56_p60-61_Pro3.indd 61

6/22/13 2:54 AM


Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา

วิกฤตไฟดับ 14 จังหวัด บทเรียนที่ต้องหาทางแก้ไข

ประเทศไทยไดรบั บทเรียนครัง้ สําคัญดานพลังงาน จากปญหาไฟฟาดับเปนวงกวาง 14 จังหวัดภาคใต กับหัวเมืองใหญ และแหลงทองเที่ยวสําคัญ โดยกระทรวงพลังงานที่มีหนาที่หลักในการดูแลความมั่นคงดานพลังงานไดออกมาขอโทษ ประชาชนชาวใตถึ งเหตุ การณที่เ กิด ขึ้น ไมวาสาเหตุที่ แทจริงจะเกิดจากอะไร จะดวยเหตุสุดวิสัย หรื อเหตุ ผ ลใดๆ ก็ตาม เหตุการณดังกลาวก็เกิดขึ้นแลว และสรางความเสียหายตอภาพลักษณของประเทศไมนอย ที่สําคัญผูที่ไดรับผล กระทบ ก็คือ ประชาชนตาดําๆ อยางเราๆ ทานๆ นั่นเอง

62

Energy#56_p62-63_Pro3.indd 62

6/6/13 11:01 PM


เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 ประเทศไทย 14 จังหวัดภาคใต ประสบปญหาไฟฟาดับครั้งใหญ ตั้งแตเวลา 18.52 - 23.37 น. สรางความตืน่ ตกใจใหกบั ผูท อี่ ยูใ นพืน้ ทีจ่ าํ นวนมาก รวมถึงนักทองเทีย่ ว จํานวนไมนอย นายพงษศักดิ์ รักตพงศ ไพศาล รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน ไดออกมาขอโทษประชาชนชาวใตทไี่ ดรบั ผลกระทบ ซึ่ ง ทุ ก ฝ า ยที่ เ กี่ ย วข อ งได เ ร ง เข า ดํ า เนิ น การแก ไ ขอย า งเร ง ด ว น จนสามารถทยอยจายกระแสไฟฟาไดทั้งหมด ตั้งแตเวลา 23.45 น. พรอมกันนีไ้ ดสงั่ การใหมกี ารตัง้ คณะทํางานเพือ่ ตรวจสอบขอเท็จจริง ของเหตุ ก ารณ ใ นครั้ ง นี้ เพื่ อ นํ า บทเรี ย นครั้ ง สํ า คั ญ มาศึ ก ษาหา แนวทางปองกันปญหาดังกลาวทั้งในระยะสั้นและระยะยาวตอไป ทีน่ า จับตา คือ ภาคใตเปนภูมภิ าคทีย่ งั ไมสามารถผลิตไฟฟาได เพียงพอตอความตองการในพื้นที่ ตองพึ่งพาการสงไฟฟาจาก ภาคกลาง โดยความตองการใชไฟฟามีสูงถึง 2,200 เมกะวัตต ในขณะที่โรงไฟฟาภาคใตมีกําลังการผลิตเพียง 1,600 เมกะวัตต ทําใหโรงไฟฟาอื่น ๆ ในภาคใต อาทิ โรงไฟฟาขนอม, โรงไฟฟาจะนะ และโรงไฟฟาเขื่อนรัชประภา ถูกปลดออกจากระบบโดยอัตโนมัติ เนื่ อ งจากความถี่ ไ ฟฟ า ลดตํ่ า ลงกว า มาตรฐาน 50 Hz (เฮิ ร  ต ) เพื่อความปลอดภัยของโรงไฟฟา สงผลใหเกิดไฟฟาดับเปนวงกวาง ทางแกไขเฉพาะหนาของ กฟผ. คือ การเรงผลิตไฟฟาจากโรง ไฟฟาทุกโรงในภาคใตอยางเต็มกําลังการผลิต และยังเดินเครือ่ งผลิต ไฟฟาจากนํา้ มันดีเซลที่ จ.สุราษฎรธานี รวมทัง้ ประเทศมาเลเซียไดสง ไฟฟามาชวยอีก 200 เมกะวัตต เหตุไฟฟาดับ 14 จังหวัดภาคใตใน ครั้งนี้ สรางความเสียหายไมตํ่ากวา 10,000 ลานบาท และเปนตัวแปร ที่ชี้ใหเห็นวาประเทศไทยกําลังเขาสูภาวะเสี่ยงตอความไมพอเพียง ดานพลังงานอยางแทจริง สืบเนื่องจากเหตุการณดังกลาว การประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2556 รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ไดรายงานสถานการณไฟฟาดับ 14 จังหวัดภาคใต โดยสรุปสาเหตุ วาเกิดจากฟาผาที่อําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี สงผลใหไฟฟา ลัดวงจร ทําใหระบบปองกันสายสงไมสามารถใชงานได แตก็สามารถ แกไขจนเสร็จสิ้นและกลับมาใชงานไดตามปกติ โดยที่ประชุมไดสั่งการใหหนวยงานที่เกี่ยวของพิจารณาหา แนวทางปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งแผนการเตรียม ความพรอมรองรับในกรณีฉุกเฉิน และแผนปองกันปญหาระยะยาว และกระทรวงพลังงานไดจัดการประชุมรวมคณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน (กกพ.) กับ 3 หนวยงานการไฟฟาอยางเรงดวน โดยไดวางมาตรการในการปองกัน ซึ่งจะใชแนวทางเดียวกับกรณีที่ ประเทศเมียนมารปดซอมบํารุงแทนขุดเจาะกาซธรรมชาติ เปนเหตุให ไมสามารถจายกาซเพื่อผลิตไฟฟาของประเทศไทยได กรณีไฟฟาดับในภาคใต หากมีการดับไฟตามจุดตาง ๆ ใน บางพื้นที่ จะสามารถชวยภาคใตได หากเกิดเหตุการณข้นึ อีกครั้งคง ตองขอความรวมมือในการดับไฟในจุดทีม่ คี วามพรอมสามารถดับได เพื่อควบคุมปริมาณไฟฟาโดยการรักษาจุดสําคัญไว และมีการใหคา ตอบแทนเพิ่มเติมแกกิจการที่ใหความรวมมือ เบื้องตนนั้นทาง คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ไดมอบหมายใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไปหา ปริมาณไฟฟาสํารองของประเทศเพิม่ ขึน้ เพือ่ รองรับกรณีทโี่ รงไฟฟา ภาคใตไมสามารถเกิดขึ้นได โดยเฉพาะในชวงที่โรงไฟฟาถานหิน สะอาด จ.กระบี่ ยังมีการรับฟงความเห็นประชาชนอยู และยังไม สามารถประเมินไดวาจะไดทําการกอสรางหรือไม

นอกจากนี้ ยังใหมีการเตรียมความพรอมระบบไฟสํารองกรณี เกิดปญหาขึ้น โดยเฉพาะระบบสายสงตองเพียงพอ โดยเนนรวมถึง เขตกรุงเทพมหานครที่ตองเตรียมพรอม เพราะหากเกิดเหตุขัดของ ดานกระแสไฟฟาจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจคอนขางมาก อีกทัง้ ยังมี การเสนอแผนระยะยาว เพือ่ เปนทางเลือกในการผลักดันใหมโี ครงการ ขุดเจาะกาชสํารองเพิ่มเติม เพื่อใหเพียงพอตอการใชงานในอนาคต ปญหาดานพลังงานที่เกิดขึ้นทั้ง 2 เหตุการณ ไมวาจะเปนการ ขาดแคลนกาซเพือ่ ใชในการผลิตไฟฟา หรือปญหาไฟฟาดับ 14 จังหวัด ภาคใต ถือเปนบทเรียนทีส่ าํ คัญและเปนสัญญาณเตือนใหประเทศไทย ทราบถึงความมั่นคงดานพลังงาน ที่ไมใชเรื่องลอเลน การแกปญหา เฉพาะหนาไมใชทางออกทีด่ ี ทุกฝายตองตระหนักวา เหตุการณตา ง ๆ อาจเกิดขึ้นได หากยังไมมีการเตรียมการรับมือที่ดี และปญหาดาน พลังงานเปนเรือ่ งใหญทเี่ กีย่ วของกับประชาชนโดยตรง แมประเทศไทย จะมีการเตรียมความพรอมเพื่อสรางความมั่นคงดานพลังงานมา อยางตอเนือ่ งก็ตาม ซึง่ ในสายตาของผูท เี่ กีย่ วของอาจมองวาทีผ่ า นมา นั้นทํามาดีแลว แตหากมองในสายตาของประชาชนแลว คงไดแต คิดในใจวา “ที่ผานมานั้นดีอยูแลว แตยังไมดีที่สุด” เทานั้นเอง

63

Energy#56_p62-63_Pro3.indd 63

6/6/13 11:01 PM


Energy Loan บุษยารัตน ตนจาน

ธ.กรงุ เทพ หนนุ ผปู ระก ใหกูสินเชื่อบ อ บ ก าร SMEs ัวหลวงป ระหยัดพลัง

งาน

ก ระกอบการธุรกิจขนาด ป  ู ผ น ุ น ส บ ั น ส อ ่ ื เพ  ม ให างเลือกสําหรับสินเชื่อ ธนาคารกรุงเทพเพิ่มท นและลดตนทุนการผลิต งงา ทุนดานการประหยัดพลั

ลางและขนาดยอม

ลง

สินเชือ่ บัวหลวงประหยัดพลังงาน เปนสินเชือ่ อัตราดอกเบีย้ ตํา่ เพื่อการลงทุนปรับปรุงอุปกรณและเครื่องจักรในโรงงาน ตลอดจน ปรับภูมิทัศนทางกายภาพของกิจการ เพื่อประโยชนในการประหยัด พลังงาน สามารถขอกูไ ดในวงเงินตัง้ แต 1 ลานบาทขึน้ ไป โดยไมจาํ กัด วงเงินกูส งู สุด มีระยะเวลาการผอนชําระ 3-7 ป โดยทางธนาคารมีวตั ถุประสงค เพือ่ เปนเงินทุนหมุนเวียนในการ ดําเนินกิจการขยายธุรกิจ หรือเพือ่ ปรับปรุงกิจการหรือสถานประกอบ การ หรือเปนเงินทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ ผูข อกูต อ งเปนบุคคลหรือ นิตบิ คุ คลทีเ่ ปนเจาของสินทรัพยในโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนตาม ทีท่ างธนาคารกําหนด สําหรับคุณสมบัตผิ ขู อสินเชือ่ ทีเ่ ปนบุคคลธรรมดา มีสญ ั ชาติไทย บรรลุนติ ภิ าวะ สามารถทํานิตกิ รรมตามกฎหมายได แตอายุรวมของ ผูก แู ละระยะเวลาการกูต อ งไมเกิน 65 ป และไมมปี ระวัตเิ สียหายทางการเงิน สวนนิติบุคคลตองเปนผูที่ถือหุนเกินกวา รอยละ 51 ของจํานวนหุน ทีจ่ าํ หนายแลวทัง้ หมด และไมมปี ระวัตเิ สียหายทางการเงิน นอกจากนี้ธนาคารยังจัดสัมมนาและการอบรมเชิงปฏิบัติการ

สําหรับลูกคาทั่วประเทศ ซึ่งเปนการอบรมเกี่ยวกับกลยุทธและการ วางแผนธุรกิจ ทัง้ ยังจัดพิมพเอกสารเผยแพรสาํ หรับ SMEs หลายฉบับ การสัมมนานัน้ เปนโอกาสสําคัญอยางหนึง่ สําหรับการสรางเครือขาย ธุรกิจและเรียนรูจ ากประสบการณของผูป ระกอบการทานอืน่ ๆ โดย คุณศุภกิจ รุง โรจน ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร Pizza Today เปนผูห นึง่ ทีเ่ ขารวมสัมมนาทีธ่ นาคารจัดขึน้ ซึง่ เขากลาววา “การสัมมนา นีช้ ว ยในการสรางธุรกิจอยางมาก ผมมัน่ ใจวา เมือ่ เรามุง มัน่ อดทน และ รักความกาวหนา รวมทัง้ ไดรบั การสนับสนุนดวยดีจากธนาคารกรุงเทพ Pizza Today จะตองเปนฟาสตฟตู ของไทยทีป่ ระสบความสําเร็จอยาง แนนอน” ทัง้ นี้ ทางธนาคารมีความภูมใิ จทีไ่ ดเปนสวนหนึง่ ในการสนับสนุน การลงทุนเพือ่ การประหยัดพลังงาน เพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การผลิตอยางมีคณ ุ ภาพ อีกทัง้ ธุรกิจสามารถเจริญเติบโตไดแมตอ ง เผชิญกับปญหาวิกฤตดานพลังงาน และภาวะชะลอตัวของเศรษฐกิจ ประเทศ ผูส นใจสอบถามเพิม่ เติมไดที่ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ทุกสาขา โทร. 1333 หรือ (66) 0-2645-5555

64

Energy#56_p64_Pro3.indd 64

6/17/13 10:43 PM


Energy Legal BAT MAN

บุคลากรรับผิดชอบ

ดูแลสถานที่ ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว สิง่ ทีผ่ ปู ระกอบการไมควรมองขาม วาดวยเรือ่ งของการควบคุมความปลอดภัยในองคกรของธุรกิจทีม่ คี วามจําเปนใน การใชกา ซปโตรเลียมเหลว คือ ผูท มี่ าดูแล ระวัง และปองกันอันตราย จากการประกอบธุรกิจ หรือชือ่ ทางการตามกฎหมาย วา “บุคลากรเฉพาะที่รับผิดชอบดูแลสถานที่ใชกาซปโตรเลียมเหลว” กับหนาที่หลักในการรับผิดชอบดูแลสถานที่ใชกาซ ปโตรเลียมเหลว เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายกําหนด ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ และวิธีการในการ เก็บรักษา การกําหนดบุคลากรที่รับผิดชอบและการยกเวนไมตอง ปฏิ บั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ อั น ตรายสํ า หรั บ สถานที่ ใ ช ก  า ซ ปโตรเลียมเหลว ที่กรมธุรกิจพลังงานรับผิดชอบ ประกาศกรมธุรกิจ พลังงาน เรือ่ ง หลักเกณฑ วิธกี าร การฝกอบรม เรือ่ งกาซปโตรเลียมเหลว การระวังและการปองกันอันตรายของบุคลากรเฉพาะทีร่ บั ผิดชอบดูแล สถานที่ใชกาซปโตรเลียมเหลว สําหรับโรงงานหรือสถานประกอบการทีเ่ ขาขาย ตองมีบคุ ลากร เฉพาะที่รับผิดชอบดูแลสถานที่ใชกาซปโตรเลียมเหลว โดยตาม กฎหมายจะพิจารณาหลัก ๆ คือ สถานทีม่ กี ารใชกา ซปโตรเลียมเหลว หรือไม และมีปริมาณการครอบครองเทาไร สถานที่ใชกาซปโตรเลียมเหลว หมายถึง สถานประกอบการที่ มีการเก็บรักษากาซปโตรเลียมเหลว เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงหรือวัตถุดิบ สําหรับกระบวนการผลิต แตไมรวมถึงการใชเพือ่ เปนเชือ้ เพลิงสําหรับ หุงตมในครัวเรือน ตองพิจารณาใหดีวาเปนสถานที่ใชกาซปโตรเลียม เหลวหรือไม โดยดูจากวิธกี ารใชเปนเชือ้ เพลิงหรือวัตถุดบิ ในการผลิต การครอบครองวัตถุอนั ตรายในสถานทีใ่ ชกา ซปโตรเลียมเหลว ทีม่ ปี ริมาณการเก็บกาซปโตรเลียมเหลวรวมกันไมเกิน 500 กิโลกรัม ไดรบั การยกเวนไมตอ งขออนุญาตมีไวในครอบครองกาซปโตรเลียมเหลว ตามมาตรา 23 วรรคหนึ่ ง แห ง พระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ อั น ตราย พ.ศ. 2535 ขอ 4 (ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ และ วิธีการในการเก็บรักษา การกําหนดบุคลากรที่รับผิดชอบและการ ยกเวนไมตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 สําหรับสถานทีใ่ ชกา ซปโตรเลียมเหลว ทีก่ รมธุรกิจพลังงานรับผิดชอบ พ.ศ. 2554) ทั้งนี้ ผูมีไวในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายในสถานที่ใชกาซ ปโตรเลียมเหลว ที่มีปริมาณการเก็บกาซปโตรเลียมเหลวรวมกันเกิน 500 กิโลกรัม ตองขออนุญาตมีไวในครอบครองกาซปโตรเลียมเหลว

ตามมาตรา 23 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ซึ่งจะตองมี “บุคลากรเฉพาะที่รับผิดชอบดูแลสถานที่ใชกาซ ปโตรเลียมเหลว” ตามขอ 31 (ประกาศกระทรวงพลังงาน เรือ่ ง หลักเกณฑ และวิ ธี ก ารในการเก็ บ รั ก ษา การกํ า หนดบุ ค ลากรที่ รั บ ผิ ด ชอบ และการยกเว น ไม ต  อ งปฏิ บั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ อั น ตราย พ.ศ. 2535 สําหรับสถานทีใ่ ชกา ซปโตรเลียมเหลว ทีก่ รมธุรกิจพลังงาน รับผิดชอบ พ.ศ. 2554) สําหรับคุณสมบัตขิ องบุคลากรเฉพาะทีร่ บั ผิดชอบดูแลสถานที่ ใชกา ซปโตรเลียมเหลว ตามประกาศกระทรวงพลังงาน เรือ่ ง หลักเกณฑ และวิธกี ารในการเก็บรักษา การกําหนดบุคลากรทีร่ บั ผิดชอบและการ ยกเวนไมตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 สําหรับสถานทีใ่ ชกา ซปโตรเลียมเหลว ทีก่ รมธุรกิจพลังงานรับผิดชอบ พ.ศ. 2554 ไวดังนี้ 1. บุคลากรเฉพาะที่รับผิดชอบดูแลสถานที่ใชกาซปโตรเลียม เหลวที่ผานการฝกอบรมตามประกาศดังกลาว 2. ผูที่ไดรับบัตรประจําตัวหรือหนังสือรับรองวาเปนเจาหนาที่ ความปลอดภัยในการทํางานวิชาชีพ ตามกฎหมายวาดวยความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน 3. ผูควบคุมดูแลตามกฎหมายวาดวยวัตถุอันตราย 4. พนักงานบรรจุกาซตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซ ปโตรเลียมเหลว ผูที่มีคุณสมบัติตองรับความเห็นชอบจากกรมธุรกิจพลังงาน กอน โดยใหยนื่ บัตรประจําตัวหรือหนังสือรับรองตามกฎหมาย พรอม ทัง้ หลักสูตรตอกรมธุรกิจพลังงาน เพือ่ พิจารณาใหความเห็นชอบ เมือ่ ไดรบั ความเห็นชอบแลว ก็ถอื วาเปนผูเ ขารับการฝกอบรมทีเ่ ขารับการ ฝกอบรมและสอบผานตามประกาศ และสามารถเปนบุคลากรเฉพาะที่ รับผิดชอบดูแลสถานที่ใชกาซปโตรเลียมเหลวได

65

Energy#56_p65_Pro3.indd 65

6/6/13 10:56 PM


Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา

เปนทีน่ า จับตามองอีกครัง้ หนึง่ สําหรับการเสริมศักยภาพดานพลังงานของประเทศ ภายใตการนํารองของภาครัฐโดยกระทรวงพลังงาน ดวยการอนุมัติงบประมาณใหกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน เดินหนาสิ่งที่ทําไวอยางตอเนื่องกับการสงเสริมการใช พลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย ที่ถือเปนพลังงานไดเปลา โดยเริ่มจากภาครัฐเพื่อเปนตนแบบในการตอยอด สูภาคสวนอื่น ๆ ตอไป

ไฟเขียว…

Solar Rooftop บนหลังคาอาคารภาครัฐ กระทรวงพลั ง งาน อนุมัติ กองทุนเพื่อส งเสริม การอนุรั ก ษ พลังงาน จํานวน 1,847 ลานบาท ดําเนินการติดตั้งระบบผลิตไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยบนหลังคา (Solar Rooftop) อาคารภาครัฐ ซึ่งเปนเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่มีความเหมาะสม สนับสนุนการ ประหยัดพลังงานไฟฟา ลดคาใชจาย และลดการนําเขาเชื้อเพลิงใน การผลิตไฟฟา ปจจุบนั มีอาคารภาครัฐกระจายอยูท วั่ ประเทศประมาณ 5,298 แหง มีการใชพลังงานในภาพรวมประมาณ 673 ลานหนวย/ป หรือ ปละ 57 ktoe ซึง่ มีภาระคาใชจา ยสําหรับคาไฟฟาในอาคารภาครัฐกวา 2,500 ลานบาท/ป ดังนั้นการติดตั้งระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคา (Solar Rooftop) ชวยใหหนวยงานภาครัฐสามารถผลิตไฟฟาใช ไดเองภายในอาคาร และยังชวยตอบสนองความตองการใชพลังงาน ในชวงกลางวัน (Peak load) อีกดวย

โครงการ Solar Rooftop ตั้ง เป า ติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคาอาคารศาลากลางจังหวัด ในเขตรับผิดชอบของการไฟฟาสวนภูมิภาคทั้ง 74 จังหวัด และ บนหลังคาอาคารของรัฐในเขตจังหวัดในความรับผิดชอบของ การไฟฟาสวนภูมิภาคทั้ง 74 จังหวัด อาทิ อบต. เทศบาล ฯลฯ รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 25 เมกะวัตต โดยแบงเปนจังหวัดขนาดใหญ ทีม่ จี าํ นวนตําบลมากกวา 180 ตําบล จํานวน 8 จังหวัด รวมกําลัง การผลิตติดตั้ง 6 เมกะวัตต จังหวัดขนาดกลางที่มีจํานวนตําบล ระหวาง 90-180 ตําบล จํานวน 27 จังหวัด รวมกําลังการผลิต ติดตั้ง 10.5 เมกะวัตต และจังหวัดขนาดเล็กที่มีจํานวนตําบล นอยกวา 90 ตําบล จํานวน 39 จังหวัด รวมกําลังการผลิตติด ตั้ง 8.5 เมกะวัตต การดําเนินการโครงการดังกลาว คาดวาจะชวยประหยัด พลังงานไฟฟาไดถงึ 36.5 kwh /ป คิดเปนจํานวนเงินทีป่ ระหยัด ไดประมาณ 146 ลานบาท/ ป และลดการใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงในการ ผลิตไฟฟาประมาณ 11 ลานลิตร/ป หรือ ปละประมาณ 330 ลานบาท นอกจากนี้ยังชวยลดปญหาผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ได ประมาณ 18,980 ตั น/ป ลดการปล อ ยซั ล เฟอร ไ ดออกไซด (Sox) ไดประมาณ 5 ตัน/ป และลดการปลอยไนโตรเจนออกไซด (NOx) ไดประมาณ 52 ตัน/ป เปรียบเทียบจากราคาไฟฟา 4 บาท/หนวย และ ราคานํ้ามันดีเซล 30 บาท/ลิตร

66

Energy#56_p66_Pro3.indd 66

6/6/13 10:53 PM


Energy#56_p67_Pro3.ai

1

6/26/13

10:41 PM

The AEC Commercial Vehicle Exposition

งานเเสดงรถเพื่อการพาณิชยเเละกิจการพิเศษ ครั้งที่ 10 งานเดียวในอาเซียน

ฉลองครบรอบ 10 ป เพิ่มพื้นที่จัดแสดงธุรกิจบริการรถขนสง - รถโดยสาร ตอบสนองทุกความตองการของผูประกอบการขนสง จัดเต็ม นวัตกรรมรถเพื่อการพาณิชย รับ AEC เราใจกับการประชัน แสง สี เสียง Thailand Tour Theque ครั้งที่ 7 เวทีเดียวในโลก ครั้งแรก!!! Miss Bus Hostess การประกวดสาวงาม มากความสามารถดานการบริการบนรถโดยสาร ฯลฯ

จัดโดย The alternative energy vehicle exposition.

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นเเนล จำกัด TEL : +66 2717 2477 E-Mail : info@BusAndTruckMedia.com

13 The automotive aftermarket & services exposition.

2013/2014


Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ขยะกว า 10,000 ตั น ต อ วั น ของกรุงเทพมหานคร ถูกนักพัฒนา โครงการแปลงขยะเป น พลั ง งาน จองตาเปนมันอยากไดสัมปทาน สวน นักวิชาการสิ่งแวดลอมเห็นวาเมื่อไหร จะกําจัดขยะใหถูกวิธี ภาครัฐที่ไมใช กทม.มองวาเมื่อไหรจะไดผูวา กทม. ที่สนใจจัดการขยะอยางจริงจัง สวน ชาวบานบริเวณใกลเคียงกับบอฝงกลบ กทม.คิดอยางไรคงไมตองบอก แลว กรุงเทพมหานครเองละคิดอยางไร ?

” พลังงานขยะ กทม. 200 MW หายไปไหน ใครคือคอขวด

ปจจุบนั กรุงเทพมหานครมีขยะโดยเฉลีย่ ประมาณ 10,000 ตันตอวัน ขยะเกื อ บทั้ ง หมดยั ง คงใช วิ ธี ฝ  ง กลบเหมื อ นในอดี ต โดยนํ า ขยะ จากสถานีขนถายมูลฝอยสายไหม จํานวน 2,100 ตันตอวัน และจาก สถานีขนถายมูลฝอยหนองแขม จํานวนกวา 4,000 ตันตอวัน ไปฝงกลบ ที่ อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม สวนขยะจํานวน 2,200 ตันตอวัน ทีส่ ถานี ขนถายมูลฝอยออนนุช ใชวธิ หี อ ดวยพลาสติก (Wrapping) แลวสงไป ฝงกลบที่ ต.ทาถาน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา โดยมีขยะอีก 1,000 ตัน ใชวธิ หี มักเปนปุย ในยานออนนุช สวนทีเ่ กินสัญญาในแตละวัน ผูร บั จาง จะเฉลี่ยกันไปกําจัด สําหรับขยะติดเชื้อยังคงใชวิธีการเผา นอกจากนี้ ผูบริหารกรุงเทพมหานครสมัยที่แลวยังไดจัดซื้อเตาเผาขยะแบบ เผาตรงที่ ไ ม ต  อ งแยกขยะขนาด 300-500 ตั น ต อ วั น ขณะนี้ ใ น เขตหนองแขมไดรบั การตอตานจากชุมชนหมูบ า นทีพ ่ กั อาศัยและ NGO 68

Energy#56_p68-69_Pro3.indd 68

6/17/13 10:46 PM


สองแนวทางนี้เปนโครงการที่ไดรับความสําเร็จเปนอยางดีใน สวีเดนและฟนแลนด สามารถติดตอขอดูงานไดโดยตรง หรือติดตอ ผานทางสถานทูตจะไดรับความสะดวกเปนอยางดี

โรงไฟฟ า พลั ง งานขยะ เอกชนลงทุ น 100% กทม.เสียคากําจัดขยะเทาเดิม

จากปริ ม าณขยะมากมายมหาศาลที่ มี อ ยู  อ ย า งต อ เนื่ อ ง นักวิชาการประเมินวา สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดไมนอ ยกวา 200 MW ยิง่ ถานําขยะจากบอฝงกลบเดิมมาใชดว ยแลว อาจไดมากกวาทีก่ ลาวมา แลวปญหาอยูท ไี่ หน ? ใครคือคอขวด เปนคําถามทีไ่ มมคี าํ ตอบตลอด ระยะเวลานับสิบป วันนี้ผูเขียนตัวเล็ก ๆ ขอตอบปญหาใหญ ๆ ดังนี้

ป ญ หาขยะกทม.เกิ ด จากการเมื อ ง-กฎระเบี ย บเทคโนโลยี หรือการผูกขาด ? เพื่ อ ให ค วามเป น ธรรมกั บ ผู  เ กี่ ย วข อ ง ป จ จุ บั น องค ก ร ปกครองสวนทองถิ่นทั่วประเทศ ไมวาจะเปนเทศบาล อบต. และอบจ. ตางหาพื้นที่กําจัดขยะไดยาก แมจะเปนเทคโนโลยีแสนแพงแคไหน นอกจากนี้ชุมชนบางแหงยังคิดวาขยะของที่ไหนก็ควรกําจัดที่นั่น สําหรับกรุงเทพมหานครนับวามีความสามารถพิเศษที่นําขยะไปทิ้ง นอกพืน้ ทีไ่ ดโดยไมถกู ตอตาน ไมวา ปญหาทีผ่ า นมาจะเกิดจากสาเหตุ ใดก็ตาม คอขวดที่เห็นเปนรูปธรรมประการหนึ่ง คือ พ.ร.บ.รวมทุน ป พ.ศ.2535 ที่เหมารวมวา การกําจัดขยะที่มีการนํามาใชประโยชน ไมวา จะเปนการผลิตไฟฟา นํา้ มัน หรือพลังงานความรอน ทีม่ กี ารลงทุน มากกวา 1 พันลานบาท เขาขายตองเขา พ.ร.บ.ชุดนี้ ซึ่งตองใชเวลา กวา 3 ป ผาน กรม กองตาง ๆ กวา 20 หนวยงาน โดยไมทราบคําตอบ วา Yes หรือ No ทําใหผูรับจางนําขยะ กทม.ไปกําจัดทั้งหลายตอง ระวังตัวไมใหเขาขายนี้ ผลลัพธจึงเปนอยางที่ทานเห็น คือ ฝงกลบ และฝงกลบ… พระราชบัญญัตกิ ารใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 (พ.ร.บ.รวมลงทุนฯ) รางตั้งแตรัฐบาลที่แลวแตมาคลอดเมื่อ มีนาคม พ.ศ.2556 นี้เอง เนื้อหาสาระเปดกวางใหดําเนินโครงการ รวมทุนได โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงการแปลงขยะเปนพลังงานขนาด ใหญ ๆ อยางเชน ในกรุงเทพมหานคร สวนทานที่มองโลกในเชิงลบก็ คิดแตวา จะมีความไมโปรงใส แนวทางการผลิตพลังงานไฟฟาจากขยะ มีสองแนวทางที่นาจะเปนไปได และสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม นอยที่สุด คือ 1. สรางโรงไฟฟาชีวมวลและเชื้อเพลิงจากพลังงานขยะ RDF (จากขยะที่คัดแยกปรับปรุงคุณภาพแลวในปริมาณ 80% และไมสับ จากการตัดแตงตนไมในกทม.อีก 20%) กําลังการผลิตไฟฟา 200 MW ควรสรางในพืน้ ทีเ่ ดียวเพือ่ ใหเกิด Economy of Scale และตัง้ โรงงาน แปลงขยะเปน RDF ในพื้นที่รอบ ๆ กรุงเทพมหานคร เพื่อสง RDF มาใชที่โรงไฟฟา 2. ตั้งโรงไฟฟาพลังงานขยะรอบ ๆ กรุงเทพมหานคร ขนาด ประมาณ 50 MW โดยมีสวนของการพัฒนาเชื้อเพลิงและรีไซเคิลใน บริเวณเดียวกัน

จากการที่กระทรวงพลังงานมีนโยบายชัดเจนที่จะสงเสริม การผลิตพลังงานจากขยะ ทั้งขยะชุมชน และขยะอุตสาหกรรมที่ไมใช ขยะอันตราย ดวยการอุดหนุนราคาไฟฟาจากเชื้อเพลิงขยะ มีผลให เอกชนสามารถลงทุนได 100% ปจจุบันมีภาคเอกชนทั้งในประเทศ และนักลงทุนจากตางประเทศเขามาลงทุนสรางโรงไฟฟาจากขยะชุมชน แลวกวา 5-6 แหง และเริ่มดําเนินโครงการไดแลวในบางเทศบาล โดย เปนโครงการขนาด VSPP คือ ผลิตไฟฟาจําหนายระหวาง 6-9.9 MW และมีแนวโนมจะพัฒนาใหเกิดโรงไฟฟาขยะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

เทคโนโลยีการยอย-คัดแยก และปรับปรุงขยะใหเปน RDF เชือ้ เพลิงคุณภาพดี เปนการใชเครื่องจักรแทนคน เพื่อใหสอดคลองกับคาแรงงาน และมาตรฐาน HIA โดยเริ่มตนจากการยอยขยะและแยกขยะอินทรีย ออกจากขยะอื่น ๆ เพื่อนําไปบําบัดใหแหงดวยเทคโนโลยีชีวภาพ (Bio-Dry) ใหสามารถใชเปน RDF สวนขยะที่เหลือจากขั้นตอนแรก จะถูกแยกโลหะ แกว หิน ดิน ทราย ออก แลวนําสวนที่สามารถใชเปน เชื้อเพลิงได เชน กระดาษ เศษไม ผา พลาสติก ไปปรับปรุงคุณภาพ ด ว ยการผสมกั บ ขยะอิ น ทรี ย  ที่ แ ห ง แล ว รวมทั้ ง เชื้ อ เพลิ ง เสริ ม ประเภทไม สับ ซึ่งโดยปกติแ ลวขยะชุม ชนที่เรามองว านารังเกียจ หากผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพแลว จะกลายเปนเชื้อเพลิง ความร อ นสู ง และปลดปล อ ยสารเจื อ ปนในอากาศตํ่ า เนื่ อ งจาก เชื้อเพลิงสวนใหญเปนชีวมวล ผู  เ ขี ย นหวั ง ว า บทความนี้ จ ะช ว ยทํ า ให ก รุ ง เทพมหานคร มี ภาพลักษณทดี่ ขี นึ้ และผูเ กีย่ วของกับการจัดการขยะมีกาํ ลังใจเดินหนา ดานพลังงานเพือ่ สิง่ แวดลอมตอไป สําหรับเทคโนโลยีอาจมีหลากหลาย กว า ที่ ย กตั ว อย า งมานี้ หากแต ต  อ งเป น เทคโนโลยี ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอม ควบคุมไดงาย และคาดการณ ไดวาจะไมเกิดมลพิษ ในระยะยาว หากขยะเจาปญหากวาหนึ่งหมื่นตันตอวันของ กทม. กลายเปนโรงไฟฟา 200 MW ไมเพียงแต กทม.และผูลงทุนจะ ไดรบั ประโยชนเทานัน้ ยังมีธรุ กิจ SME ตอเนือ่ งดานรีไซเคิล ไมนอ ยกวา 500 ตันตอวัน ไดประโยชนดวย เปนการใชประโยชนจากขยะที่ สมบูรณแบบและถูกหลักสุขาภิบาล เปนแหลงดูงานของชาวอาเซียน และในอนาคตหากโรงไฟฟ า ป ด ซ อ ม คนกทม.จะได มี ไ ฟฟ า ไว แบงปนกันใชในยามวิกฤต

69

Energy#56_p69_Pro3.indd 69

6/20/13 1:21 AM


Automobile Update นัษรุต เถื่อนทองคํา

Z N E B S E D E C MER D I R B Y H C E T e u l B 0 0 3 E

MERCEDES-BENZ คายรถยนตจากเยอรมัน เปดตัว The new E-Class ยนตรกรรมหรูซีดาน ครั้งแรกในอาเซียนและในประเทศไทย ภายใตความหรูหราตามแบบฉบับคายดาวสามแฉก กับ 3 รุนหลัก E 200 Executive, E 300 BlueTEC HYBRID Executive และ E 300 BlueTEC HYBRID AMG Dynamic โดยรุนที่นาจับตาไมนอย คือ รุน E 300 BlueTEC HYBRID ที่มาพรอมเทคโนโลยีดีเซลไฮบริด

70

Energy#56_p70-72_Pro3.indd 70

6/17/13 10:51 PM


The new E-Class ไดรับการปรับโฉมใหม ทั้งรูปลักษณ ภายนอกและภายใน เนนความเปนสปอรตมากขึน้ รูปลักษณภายนอก ดานหนาถูกปรับเปลีย่ นมากทีส่ ดุ คือ แผงกระจังหนา และโคมไฟคูห นา โดยกระจั ง หน า ตกแต ง แบบ Executive เปน แบบลาย 3 แถบ พรอมโลโกเมอรเซเดส-เบนซบนฝากระโปรงหนา และในรุนที่ตกแตง แบบ AMG Dynamic กระจังหนาเปนลาย 2 แถบ พรอมโลโก เมอรเซเดส-เบนซดวงใหญตรงกลาง สวนการดีไซนเนนเสนสายใหเกิดการพลิ้วไหว และมิติดานขาง ทําใหสดั สวนรถดูยาวขึน้ โดดเดนดวยการนําไฟแบบ LED มาใชอยาง เต็มรูปแบบ ไฟหนาเปนแบบ LED High Performance ไฟทายแบบ LED fibre-optic โคมไฟคูห นาไดรบั การออกแบบใหมหมด โดยรวม ชุดไฟ LED ทั้งหมดเขาไวดวยกันอยางลงตัว ไมวาจะเปน ไฟตํ่า ไฟสูง ไฟเลีย้ ว และไฟ daytime ทําใหเกิดลายเสนกราฟกสวยงามสะดุดตา มากขึ้น อีกทั้งยังเปนครั้งแรกที่โคมไฟแบบ LED ไดรับการออกแบบ ใหอยูรวมในกรอบเดียวกัน สื่อถึงไฟคูหนาซึ่งเปนสัญลักษณดั้งเดิม ของ E-Class ไวเหมือนเดิมอีกดวย ภายในหองโดยสารออกแบบใหเขากับรูปลักษณภายนอกให ดูหรูหราขึ้น สวนเบาะหุมหนังพรอมดวยพนักพิงศีรษะคูหนาแบบ NECK-PRO head restraints รวมถึงแผงคอนโซลหนาพรอม ลายไมแบบ high-gloss brown eucalyptus, high-gloss brown burr walnut หรือ high-gloss black ash wood นาฬกาไดรับ การดี ไ ซน เ ป น แบบอนาล็ อ กอยู  ร ะหว า งช อ งระบายความเย็ น เครือ่ งปรับอากาศ ระบบควบคุมอุณหภูมอิ ตั โนมัตแิ บบ THERMATIC

นอกจากนั้น ยังมีระบบมัลติมีเดีย COMAND Online ควบคุม การทํางานของวิทยุและดีวีดี สามารถเชื่อมตออินเตอรเน็ต พรอม controller และระบบนําทาง (navigation system) เพื่อใหความ เพลิดเพลินในขณะขับขี่ รวมทั้งระบบเชื่อมตอโทรศัพทเคลื่อนที่ผาน บลูทูธ เพื่อใหความสะดวกสบายในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น The new E-Class มาพรอมกับเทคโนโลยีและระบบความ ปลอดภัยใหมที่ผสานความสะดวกสบายและความปลอดภัยดวย ระบบ Intelligent Drive เพื่อใหผูขับขี่และผูโดยสารไดรับความ ปลอดภัยสูงสุด ดวยระบบการชวยเหลือและระบบความปลอดภัยที่มี ประสิทธิภาพ เปนยานยนตที่มีความปลอดภัยมากที่สุดคันหนึ่งใน เซ็กเมนทนี้ โดยระบบดังกลาวมีพนื้ ฐานมาจากแนวคิดการปกปองกอนเกิด เหตุและหลังเกิดเหตุเขาไวดว ยกัน ภายใตระบบควบคุมอัจฉริยะเพียง หนึง่ เดียวทีท่ าํ งานสอดประสานกัน ไมวา จะเปนระบบปกปองกอนเกิดเหตุ (PRE-SAFE® system) เข็มขัดนิรภัยแบบ 3 จุด 5 ที่นั่ง ทั้งคูหนา และคูหลัง แบบผอนแรงและรั้งกลับอัตโนมัติ ถุงลมนิรภัยดานหนา 2 ตําแหนง พรอมเซ็นเซอรวัดแรงปะทะและการคาดเข็มขัดนิรภัย ถุงลมนิรภัยดานขาง 4 ตําแหนง มานถุงลมนิรภัยปองกันศีรษะ ถุงลมนิรภัยบริเวณสะโพก 2 ตําแหนง สําหรับผูข บั ขีแ่ ละผูโ ดยสาร ซึง่ ชวยเสริมการปกปองใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุดเมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ รวมถึง ระบบความปลอดภัยอื่น ๆ อาทิ ระบบชวยเตือนอาการเหนื่อยลา ขณะขับขี่(ATTENTION ASSIST) ระบบชวยเตือนการขับรถใหอยูใน ชองทาง (Lane Keeping Assist) และระบบชวยการนํารถเขาจอด อัตโนมัติ (Active Parking Assist)

71

Energy#56_p70-72_Pro3.indd 71

6/17/13 10:52 PM


ดานสมรรถนะของ E 300 BlueTEC HYBRID บรรจุเครือ่ งยนต ดีเซล 4 สูบ 2,143 ซีซี. ถือเปนหนึ่งในรุนที่ประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิง ที่สุดในคลาส โดยมีเอาทพุทของระบบ 150 กิโลวัตตจากเครื่องยนต ดีเซล และ 20 กิโลวัตตจากมอเตอร ไฟฟา อัตราการสิ้นเปลือง นํ้ามันเชื้อเพลิงรวม 4.2 - 4.1 ลิตร/100 กม. และการปลอย CO2 เพียงแค 110-107 กรัม/กม. ถึงแมจะเปนเครือ่ งยนตดเี ซล แตใหความเงียบและความผอนคลาย ตลอดการเดิ น ทาง โดยเครื่ อ งยนต จ ะดั บ ลงและมอเตอร ไ ฟฟ า จะทํางานเมือ่ ขับขีด่ ว ยความเร็วตํา่ กวา 160 กม./ชม. ชวยลดทัง้ อัตรา การสิ้นเปลืองนํ้ามันเชื้อเพลิงและการปลอยไอเสียอยางยั่งยืน โดย แหลงพลังงานไฟฟาไดจากแบตเตอรี่ลิเธียมไออนประสิทธิภาพสูง ขนาดกะทัดรัดทีค่ อยเก็บพลังงานจากมอเตอรไฟฟาและจายพลังงาน คืนจากการเบรกสามารถนํามาใชงานไดเมื่อจําเปน The new E-Class ใชเกียรอัตโนมัติ 7G-TRONIC PLUS มาตรฐานสํ า หรั บ การทํ า งานแบบไฮบริ ด โดยเฉพาะ ผู  ขั บ ขี่ แ ละ ผู  โ ดยสารแทบจะไม ไ ด ยิ น เสี ย งการเปลี่ ย นระบบการทํ า งานจาก เครื่องยนตแบบเผาไหมภายในไปเปนมอเตอร ไฟฟาและการเปลี่ยน เกียร สวนระบบเบรกเปนแบบจายพลังงานคืนโดยจะเก็บพลังงาน สวนเกินไวในแบตเตอรี่เมื่อรถเริ่มวิ่งชาลง พรอมดวยฟงกชั่น ECO Start/Stop แบบประหยัดพลังงานสามารถดับเครือ่ งยนตแบบเผาไหม ภายในได เมื่อหยุดตรงสัญญาณไฟจราจร จากนั้นจะสตารทอีกครั้ง โดยอัตโนมัติโดยอาศัยพลังงานไฟฟาที่เก็บไว ดานระบบชวงลางเปนแบบ DIRECT CONTROL มีคุณสมบัติ ที่ดี ทั้งในดานความคลองตัวและสะดวกสบาย โชกแอ็บซอฟเบอรจะ คอยปรับการทํางานใหเหมาะสมกับสภาพการขับขี่โดยอัตโนมัติ โดย รักษาเสถียรภาพรถชวยใหขบั ขีไ่ ดแมในสภาพพืน้ ผิวถนนไมดี ควบคุม ดวยพวงมาลัย Direct-Steer ระบบบังคับเลี้ยวโดยตรงชวยเสริม ความสะดวกในการใชงาน พวงมาลัยเพาเวอรแบบไวตอความเร็ว พรอมอัตราทดพวงมาลัยแบบปรับได ซึ่งขึ้นอยูกับมุมเลี้ยวรถยนต สามารถตอบสนองตอมุ มเลี้ยวได อยางรวดเร็ว และชวยทุนแรง คนขับในการบังคับพวงมาลัย The new E-Class ออกจําหนาย 3 รุน หลัก ดวยราคา 3,490,000 บาท ในรุน E200 Executive, 3,990,000 บาท ในรุน E300 BlueTEC HYBRID Executive และ 4,490,000 บาท ในรุน E300 BlueTEC HYBRID AMG Dynamic 72

Energy#56_p70-72_Pro3.indd 72

6/17/13 10:52 PM


Have To Know Ironn Maan

ถานหิน…

ไมนากลัวอยางที่คิด

สืบเนื่องจากที่ประเทศไทยประสบปญหาวิกฤตพลังงาน เนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิตไฟฟาใหกับประเทศ ทั้งทางตรงและทางออม สงผลใหประเทศไทยตองหันมาทบทวนถึงความพรอมดานพลังงานวาเพียงพอตอความตองการ หรือไม ทําใหมกี ารนําแหลงพลังงานทีพ ่ บมากอยาง “ถานหิน” กลับมาพิจารณาในการเสริมศักยภาพใหกบั ประเทศอีกครัง้ จากอดีตจนถึงปจจุบันถานหินถือเปนแหลงพลังงานสําคัญ อุตสาหกรรมถานหินรวมทั้งการสํารวจ การผลิต และการใช มีการ พัฒนามาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในประเทศที่เปนผูนําทางดาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และกลุมประเทศใน ยุโรป สวนประเทศไทยถึงแมจะมีปริมาณสํารองถานหินอยูมากกวา 2,000 ลานตัน แตสวนใหญเปนถานหินที่มีคุณภาพตํ่า ตั้งแตลิกไนต (Lignite) จนถึง ซับบิทูมินัส (Sub-bituminous) และยังไมเปนที่ ยอมรับตอประชาชนมากนัก เนื่องจากภาพลบดานผลกระทบตอ สิง่ แวดลอมในอดีต ทําใหการใชถา นหินเปนเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟา ยังคงเปนที่จับตาจากประชาชนในพื้นที่ อนาคตคาดวาจะมีการใชถา นหินเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากเปนเชือ้ เพลิง ที่มีราคาถูก และมีปริมาณสํารองมาก เมื่อเปรียบเทียบกับเชื้อเพลิง ชนิดอื่น แตทั้งนี้การนําถานหินมาใชผลิตพลังงานจะตองใชควบคูกับ เทคโนโลยีถานหินสะอาด เพื่อกําจัดสารพิษที่ถูกปลอยออกมาใน กระบวนการผลิต การพัฒนาเทคโนโลยีถานหินสะอาดมีในหลายประเทศ เชน ญี่ปุน และจีน ทําใหเทคโนโลยีนี้แพรหลายมากขึ้น และมีราคาถูกลง ตัวอยางในประเทศจีน ประมาณการวามีโรงงานผลิตกาซจากถานหิน เพื่อใชในอุตสาหกรรมตาง ๆ มากกวา 10,000 แหง และมีโรงงานที่มี ศักยภาพในการผลิต Coal Water Mixture หลายโรงงาน 73

Energy#56_p73_Pro3.indd 73

6/20/13 1:18 AM


สําหรับศักยภาพของเทคโนโลยีถา นหินสะอาดมีปริมาณสํารอง ของถานหินจํานวนมาก เมื่อเทียบกับนํ้ามันดิบและกาซธรรมชาติ หากมีวธิ กี ารนํามาใชทเี่ หมาะสมจะสามารถใชไดนานไมนอ ยกวา 200 ป เมื่อเทียบกับปริมาณนํ้ามันดิบและกาซธรรมชาติ ที่กําลังจะหมดไป ในระยะเวลา 40-60 ปนี้ สวนประเทศไทยปจจุบันการใชเทคโนโลยีถานหินสะอาดจํากัด อยูเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมการผลิตสินคา เชน อุตสาหกรรมการ ผลิตปูนซิเมนต อุตสาหกรรมผลิตกระดาษ เปนตน เนือ่ งจากการผลิต ไฟฟาดวยเชื้อเพลิงถานหินยังไมเปนที่ยอมรับจากประชาชน ถึงแมวา เทคโนโลยีถานหินสะอาดจะสามารถชวยลดและปองกันผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมไดก็ตาม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ไดดําเนิน โครงการเพื่ อ ส ง เสริ ม การใช เ ทคโนโลยี ถ  า นหิ น สะอาดในภาค อุตสาหกรรมตาง ๆ ผานโครงการออกแบบรายละเอียดเทคโนลียี แบบ Circulating Fluidized Bed Combustion ใหกบั โรงงานผลิต กระดาษเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการใชเชือ้ เพลิง และชวยลดปริมาณ มลพิษทีจ่ ะเกิดจากการใชถา นหินเปนเชือ้ เพลิง ซึง่ การใชถา นหินภายใน ประเทศจํากัดอยูในลักษณะที่ใชเปนเชื้อเพลิงสันดาปโดยตรง และใช เปนวัตถุดิบในกระบวนการผลิตและใชความรอนใน 2 ภาค การผลิต คือ ภาคการผลิตไฟฟา (Power Sector) และภาคอุตสาหกรรม (Non-power Sector or Industrial Sector) ถานหินทีใ่ ชในประเทศไทยสวนใหญใชในการผลิตภาคไฟฟาถึง รอยละ 81 ทีเ่ หลือรอยละ 19 ใชในภาคอุตสาหกรรม เรียงลําดับการใช จากมากไปหานอย ไดแก อุตสาหกรรมซีเมนต, กระดาษ, เยือ่ ไฟเบอร, อาหาร, ปูนขาว, ใบยาสูบ, โลหะ, แบตเตอรี่ และอื่น ๆ การใชถา นหินยังไมแพรหลายในประเทศไทย เนือ่ งจากประชาชน ยังตอตานการใชถานหินเปนเชื้อเพลิง เชน การตอตานการกอสราง โรงไฟฟาถานหินเปนเชื้อเพลิงที่ บอนอก หินกรูด ดังนั้นจึงตองมี การประชาสัมพันธผลดีของเทคโนโลยีถานหินสะอาด รวมถึงโรงงาน อุตสาหกรรมยังขาดความรูความเขาใจในเทคโนโลยีถานหินสะอาด ซึ่งในระดับประเทศยังไมมีศูนยขอมูลดานเทคโนโลยีถานหินสะอาด ขอมูลเกีย่ วกับถานหิน การใชถา นหินกระจัดกระจายในหลายหนวยงาน ไมมีงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยเทคโนโลยีถานหินสะอาด ดังนั้น การใชเทคโนโลยีถานหินสะอาดในประเทศขณะนี้ตองสั่งนําเขาจาก ตางประเทศ นอกจากนี้ ยังไมมมี าตราการหรือนโยบายทีช่ ดั เจนในการสงเสริม การใชเทคโนโลยีถา นหินสะอาดใหกบั ผูป ระกอบการ ราคาคาขนสงสูง และคุณภาพของถานหินในประเทศมีคา ความรอนตํา่ กํามะถันและเถา สูง เปนอุปสรรคตอการพัฒนาและใชถา นหินเปนเชือ้ เพลิง

74

Energy#56_p73-74_Pro3.indd 74

6/17/13 10:56 PM


Around The World พิชญาภา อินทโลหิต

ตึกสูงคลายแปรงขัดหองนํ้าที่สวิส ในอนาคตตึกสูงอาจมีหนาตาประหลาดคลายแปรงขัดหองนํา้ ไอเดียนี้ เปนของ Belatchew Arkitekter นักออกแบบชาวสวิส ทีอ่ อกแบบใหตกึ สูงลดการใชพลังงาน และ สามารถสรางพลังงานไวใชไดดว ยตัวเอง ตึกทีว่ า นี้ คือ “Strawscaper” เปนตึกพลังงานลมในอนาคต มีหนาตาคลายแปรง ขัดหองนํา้ อันใหญ โดยมี piezoelectric fibers ทีม่ ลี กั ษณะเปนเสนยาว ๆ อยูร อบตัวตึก เมือ่ เสนทีว่ า นีเ้ กิดการเคลือ่ นไหวก็จะเปลีย่ นจากพลังงานลม เปนพลังงานไฟฟา อยางไรก็ตาม ไอเดียนีย้ งั เปนเพียงการออกแบบตึกสูงใน อนาคต หากสรางไดจริงคงชวยประหยัดพลังงานไดมากทีเดียว

ฟ ล ป ิ ป น ส เปลี่ยนกองขยะเปนแหลงพลังงานสะอาด การยอยสลายขยะนัน้ ทําใหเกิดกาซมีเทน หนึง่ ในกาซเรือนกระจก ทีน่ กั วิจยั และนักวิทยาศาสตรลงความเห็นวาเปนตัวการทีก่ อ ใหเกิดภาวะ โลกรอน กองขยะทีใ่ หญทสี่ ดุ ในกรุงมะนิลาของประเทศฟลปิ ปนส ไดทาํ การ เปลีย่ นแปลงกาซมีเทนใหกลายเปนพลังงานไฟฟาทีส่ ามารถนําไปใชในครัว เรือนได โดยกาซมีเทนทีว่ า นัน้ จะถูกกักเก็บไวในทอทีอ่ ยูล กึ ลงไปในพืน้ ทีท่ งิ้ ขยะ เมือ่ เกิดการยอยสลายกาซมีเทนทีไ่ ดจะถูกดูดและสงไปยังดานลางของที่ ทิง้ ขยะ เพือ่ ปมลงเครือ่ งกําเนิดพลังงานเพือ่ เปลีย่ นเปนพลังงานไฟฟาตอไป อีกไมนาน เราอาจหุงขาวดวยไฟฟาจากกองขยะก็เปนได

กระแสไฟฟาจากพลังงานคลื่นในมหาสมุทร อาจเคยไดยินกันมาบาง สําหรับพลังงานที่เกิดจากคลื่นในมหาสมุทร แตที่นา สนใจกวานั้น คือ ปจจุบันเราสามารถดักจับพลังงานจากคลื่นไดทุกที่ สิ่งประดิษฐที่วา นี้เปนผลงานของบริษัท Ocean Power Delivery ในประเทศสกอตแลนด โดยนัก วิจัยของบริษัทไดออกแบบแนวทอตอกันยาว 450 ฟุต ซึ่งแตละทอนั้นถูกเชื่อมตอโดย ขอตอขนาดใหญ โดยนําไปลอยไวกลางมหาสมุทร เครื่องอัดระบบไฮดรอลิกภายใน ขอตอจะตานทุก ๆ การเคลื่อนไหวของคลื่น ซึ่งการเคลื่อนไหวแบบนี้จะสูบฉีดนํ้ามันที่ มีความดันสูงผานมอเตอรไฮดรอลิกเพื่อผลิตเปนพลังงานไฟฟา บริษัท Ocean Power Delivery ในประเทศสกอตแลนดประสบความสําเร็จใน การติดตั้งโรงไฟฟาพลังคลื่นบริเวณชายฝงประเทศโปรตุเกส ฟารมดักพลังงานคลื่น นี้ใชพื้นที่เพียงครึ่งไมลแตสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดถึง 30 เมกะวัตต รองรับความ ตองการใชพลังงานไฟฟาไดถึง 20,000 ครอบครัว

75

Energy#56_p75-76_Pro3.indd 75

6/20/13 1:33 AM


ปาไมแนวตั้งที่มิลาน ตึกสูง 27 ชั้น ที่เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี ออกแบบโดยสถาปนิกอดีตบรรณาธิการ นิตยสาร Design and Architecture ดวยแนวคิด Go Green Concept ตึกนีถ้ กู ปกคลุมดวย ตนไมจาํ นวนมาก นอกจากจะชวยปกปองตัวอาคารจากมลภาวะตาง ๆ ของเมืองแลว ยังชวยกรอง คารบอนไดออกไซด และชวยเพิม่ ออกซิเจนใหกบั เมือง ในขณะเดียวกันยังชวยลดความรอนในฤดู รอนหรือชวงทีม่ แี ดดจัด ลดการใชพลังงานภายในตัวอาคาร ซึง่ ในชวงหนาหนาวตนไมจะผลัดใบ แสงแดดสามารถสองเขามาในตัวอาคารได ชวยเพิม่ ความอบอุน ใหกบั ผูท ใี่ ชชวี ติ ในตึกไดเปนอยาง ดี สวนการดูแลตนไมนนั้ จะใชนาํ้ ทีใ่ ชแลวภายในอาคารในการรดนํา้ ตนไม นับเปนการออกแบบทีไ่ ด ประโยชน ประหยัด และชาญฉลาดทีเดียว

เมืองใหญทั่วโลก รวมดับไฟ รักษโลก ลดใชพลังงาน โบสถบาสิลิกา ของมหาวิหารเซนตปเตอร ในนครรัฐวาติกัน ดับไฟลง พรอมสถานที่สําคัญกวา 7,000 แหงทั่วโลก ที่ตอบรับเขา รวมโครงการ “Earth Hour 2013” ซึ่งเปนการรณรงคแสดงความ หวงใยสภาพแวดลอมและลดการใชพลังงานของโลก โครงการนี้จัด โดยกองทุนคุม ครองสัตวปา หรือ “WWF” ถัดออกมาไมไกลจากสํานัก วาติกนั เวทีจดั งานของ WWF ในกรุงโรม มีผสู นใจเขารวมงานแนนขนัด ภายในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ก็รวมทําพิธีกดสวิทซดับไฟของหอ ไอเฟล ดานรัสเซียที่เขารวมโครงการนี้เปนปแรกก็ไดทํารวมดับไฟฟา ที่พระราชวังเครมลินดวย

พมาหวังขึน้ เบอร 1 สงออกพลังงานโลก บริษัทพลังงานยักษใหญตางประเทศพุงเปาไปที่ประเทศพมา เพื่อขุดเจาะนํ้ามันและกาซ ธรรมชาติ ปจจุบันนอกจาก ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม (ปตท.สผ.) ที่ประสบความสําเร็จ ในการเจรจาสัมปทานขุดเจาะนํ้ามันและกาซธรรมชาติแลว ยังมี บริษัท อีพีไอ โฮลดิ้งส จาก ฮองกง บริษัท จีโอ เปโทร อินเตอรเนชั่นแนล โฮลดิ้ง สัญชาติสวิสเซอรแลนด และบริษัท ปโต รนาส จากประเทศมาเลเซีย ดวย แนวโนมการลงทุนในแหลงพลังงานมีเพิม่ มากขึน้ หลังจากทีร่ ฐั บาลพมาไดมกี ารเชือ้ เชิญ บริษัทตาง ๆ ใหเขามาประมูลแหลงนํ้ามันบริเวณชายฝงทะเล 18 แหง เมื่อเดือนที่ผานมา และ จะเปดใหประมูลแหลงนํ้ามันนอกชายฝงทะเลอีก 50 แหง เร็ว ๆ นี้ หนวยขาวกรอง หรือ ซีไอเอ ของสหรัฐอเมริกา คาดการณวา ขณะนี้พมามีนํ้ามันสํารองอยูที่ประมาณ 50 ลานบารเรล และ มีกาซธรรมชาติอยูประมาณ 2.832 แสนลานลูกบาศกเมตร

76

Energy#56_p75-76_Pro3.indd 76

6/20/13 1:33 AM


ASEAN Update รังสรรค อรัญมิตร

การพัฒนาพลังงานไฟฟาภายในประเทศใหมปี ระสิทธิภาพและมีความมัน่ คงเพียงพอ ตอการใชงานในอนาคต เพือ่ ลดการนําเขากาซธรรมชาติทใี่ ชในการผลิตไฟฟา แกปญ  หา การขาดแคลนไฟฟาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตรัฐบาลมีแนวคิดเพิ่มสัดสวนการรับซื้อไฟฟา จากประเทศเพือ่ นบาน เพิม่ สัดสวนการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน ตามแผนการพัฒนา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป (พ.ศ.2555 - 2564) หรือ แผน AEDP เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพใหเพียงพอตอการผลิตไฟฟา

การเชื่อมตอระบบไฟฟาในภูมิภาค AEC เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดานพลังงาน นอกจากแนวทางดังกลาวแลว การยายฐานการผลิตไฟฟาไปยัง ประเทศทีม่ แี หลงวัตถุดบิ ทีใ่ ชในการผลิตไฟฟา เพือ่ ใชแลกเปลีย่ นไฟฟา แทนการขนยายวัตถุดบิ เปนอีกแนวทางหนึง่ ในการเพิม่ ประสิทธิภาพ ความมั่นคงดานพลังงาน และยังชวยลดการนําเขาพลังงานกาซ ธรรมชาติ ลดตนทุนดานการขนสง ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม และ ลดความคัดแยงกับชุมชนชาวบานหรือกลุม องคกรอิสระ ซึ่งการแลกเปลี่ยนไฟฟาแทนการขนยายวัตถุดิบที่ใชเปนเชื้อ เพลิงในการผลิตไฟฟามีแนวทางอยางไร ดร.วัฒนพงศ รักษวเิ ชียร คณบดีวทิ ยาลัยพลังงานและสิง่ แวดลอม มหาวิทยาลัยพะเยา เลาวา แนวคิดการแลกเปลี่ยนไฟฟาแทนการขนยายเชื้อเพลิงธรรมชาตินนั้ ในภูมภิ าคยุโรป หรือ EU ไดเริม่ ดําเนินการในเรือ่ งนีไ้ ปแลว ซึง่ หลาย ประเทศใหความสําคัญกับเรือ่ งนี้ เนือ่ งจากการขนยายวัตถุดบิ เปนเรือ่ งที่ คอนขางลําบากในอนาคต ไมวา จะเปนถานหิน กาซธรรมชาติ เพราะราคา ตนทุนในการขนยายมีราคาแพงขึน้ และยังเสียเวลาในการขนยาย จึงนับ

เปนแนวทางทีด่ หี ากการพัฒนาระบบไฟฟาในประเทศไทย และภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่กําลังจะเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะ นําหลักคิดนีไ้ ปประยุกตใช สําหรับแนวทางการแลกเปลี่ยนไฟฟานั้น ตองใชเทคโนโลยี Smart Grid ในการสงพลังงานไฟฟาจากโรงไฟฟาทีม่ แี หลงพลังงาน แทนการเคลือ่ นยาย นํา้ มัน กาซ และถานหิน ออกจากพืน้ ทีไ่ ปยังประเทศ ทีต่ อ งการผลิตไฟฟา แตไมมเี ชือ้ เพลิงเปนของตนเอง และกรณีพลังงาน ทดแทน ลม แสงอาทิตย นํา้ ทะเล ความรอนใตพภิ พ ทีจ่ ะเปนพลังงาน หลักในอนาคตทีเ่ คลือ่ นยายไมได ก็สามารถไปลงทุนในตางประเทศได โดยเฉพาะประเทศในกลุม AEC เพือ่ แปรรูปเปนพลังงานไฟฟาแลวกระ จายไฟฟาตอเขาสายสง เพือ่ แลกเปลีย่ นไฟฟาใหกบั ประเทศนัน้ ๆ แลว จึงตอสายสงไฟฟาเชือ่ มตอมายังประเทศไทย ชวยลดตนทุนในการนํา เขาเชื้อเพลิง และยังเปนการเพิ่มประสิทธิภาพความมั่นคงดานไฟฟา ดังทีก่ ลาวมาขางตน

77

Energy#56_p77-78_Pro3.indd 77

6/25/13 1:15 AM


ทั้งนี้ การจัดจําหนายไฟฟาผานสายสงจะมีการเชื่อม โยง Smart Grid 4 Level เปนหลักการเดียวกันกับการตอ เชื่อมเครือขายของการสื่อสารที่เปนรูปแบบโครงสรางพื้น ฐานสากลขององคกรระหวางประเทศที่ไมสามารถตางคน ตางทําได แตจะเปนแบบ win-win agreement เปนธุรกิจ ในเวทีโลกของประเทศทีม่ สี ว นไดสว นเสีย คือ ผูเ ปนเจาของ แหลงพลังงาน นํา้ มัน กาซ ถานหิน และพลังงานทดแทน โดย ใชการกระจายทุนขนาดใหญของการสรางโรงไฟฟาสวนกลาง รวมกันในระดับโลกและภูมภิ าค เพือ่ Feed เขา Smart Grid 4 Level เพือ่ ทําการซือ้ ขายพลังงานไฟฟาผานสายสงแทน การซือ้ ขายเชือ้ เพลิง ดานความคุม ทุนนัน้ Smart Grid 4 Level จะใชเวลา ขนยายพลังงานทีถ่ กู แปลงเปนไฟฟาแลวสงถึงผูใ ช โดยมีเวลา เปนวินาที ชวยลดเวลาการขนสงพลังงานจากวิธีเดิมที่ตอง ใชเวลาเปนสัปดาหหรือเปนเดือน ลดการสูญเสียพลังงาน จากการปรับสมดุลภาระทางไฟฟา (Balance Load) ไดถงึ 10-20% แกการขาดแคลนพลังงานไดอยางฉับพลัน ดวย Transmission Line แทนความลาชาในการขนสงเชือ้ เพลิง ดวยระบบการขนสงแบบเดิมทีต่ อ งเดินทางไกลรอบโลก 1,000 – 20,000 กิโลเมตร ชวยลดคาใชจา ยมหาศาลในการเคลือ่ น ยายเชือ้ เพลิงจํานวนมหึมาทีม่ ปี ริมาณเปนพันลานตันตอวัน นี่เปนแนวคิดเบื้องตนของหลักการแลกเปลี่ยนไฟฟา ขนยายไฟฟาจากประเทศหนึง่ สูอ กี ประเทศหนึง่ เพือ่ ลดตนทุน การขนสงเชือ้ เพลิง การนําเขาเชือ้ เพลิง และเปนทางเลือกหนึง่ ของการเพิ่มประสิทธิภาพดานพลังงานของประเทศไทย ติดตามตอนตอไปเลมหนาครับ…

78

Energy#56_p77-78_Pro3.indd 78

6/25/13 1:15 AM


Energy#42_p92_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/23/12

10:21 PM


Special Report กองบรรณาธิการ

พพ.เปดโครงการสนับสนุนการกํากับดูแลและสงเสริมการปฏิบัติงาน ตาม พ.ร.บ.การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.2535 (ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) สําหรับโรงงานและอาคารที่เขาขายควบคุม

นายอํ า นวย ทองสถิ ต ย อธิ บ ดี กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน (พพ.) เปนประธานในงานสัมมนา เปดตัวโครงการสนับสนุนการกํากับดูแลและ สงเสริมการปฏิบตั งิ าน ตาม พ.ร.บ.การสงเสริม การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน พ.ศ.2535 (ฉบั บ แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) ณ โรงแรมเดอะ ทวินทาวเวอร กรุงเทพฯ เมื่อเร็ว ๆ นี้ พรอม ผูแทนจากหนวยงานที่ไดรับมอบหมายเปน ผูดําเนินการจํานวน 8 ราย ประกอบดวย บริษัท เฟองสิริ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด, บริษัท เอ็นเนอรยี่ คอนเซอรเวชัน่ เทคโนโลยี จํากัด, มหาวิทยาลัยรังสิต, บริษัท มิตรเทคนิคัล คอนซัลแทนท จํากัด รวมกับ บริษัท นิรินศิริ กรุป จํากัด, บริษัท เคเวอร เวย จํากัด, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, มหาวิทยาลัย ศิลปากร และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี

นายอํานวย ทองสถิตย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน

และอนุรักษพลังงาน กลาวเปดงานสัมนาเปดตัวโครงการ

วัตถุประสงคเพื่อสํารวจตรวจสอบ สถานภาพโรงงาน/อาคารที่ เ ข า ข า ยเป น โรงงานและอาคารควบคุมประมาณ 5,400 แหง แบงเปนโรงงานควบคุมประมาณ 4,000 แหง และอาคารควบคุมประมาณ 1,400 แหง เพือ่ ผลักดันใหโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม ดําเนินการตามมาตรฐานการจัดการพลังงาน ตามกฎหมาย และตรวจสอบความถูกตอง ของกิ จ กรรมที่ โ รงงานควบคุ ม /อาคาร

ควบคุมปฏิบัติตามกฎหมาย และสนับสนุน ใหโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม ดําเนิน การปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน ในระบบหรืออุปกรณ เพื่อกอใหเกิดการ ใช พ ลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ที่จะกอใหเกิดการอนุรักษพลังงานและลด การปลอยกาซเรือนกระจก ที่มีผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมของโลก

80

Energy#56_p80_Pro3.indd 80

6/25/13 12:32 AM


จึงจําเปนตองเรงผลักดันใหโรงงาน/อาคารควบคุมตามกฏหมาย ดําเนินการมาตรฐานการอนุรกั ษพลังงานใหเปนรูปธรรม ซึง่ มาตรการที่ สําคัญประการหนึง่ คือ มาตรการดานกฎหมายทีม่ งุ เนนใหโรงงานควบคุม และอาคารควบคุมมีการบริหารจัดการดานพลังงานอยางเปนระบบ เพือ่ ใหเกิดผลการประหยัดทีเ่ ปนรูปธรรมและตอเนือ่ ง ตามทีไ่ ดกาํ หนดไว ในพระราชบัญญัตกิ ารสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ.2535 โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) มีหนาทีใ่ นการ กํากับดูแลสงเสริมและสนับสนุนใหโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย โดยการจัดใหมโี ครงการสนับสนุนการกํากับดูแล และสงเสริมการปฏิบตั งิ านตาม พ.ร.บ.การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ.2535 นอกจากจะชวยประหยัดพลังงานและลดการปลอยกาซ เรือนกระจกในระยะยาวแลว ยังเปนการลดมูลคาการนําเขาพลังงาน ของประเทศ และยังชวยลดตนทุนการผลิตหรือการบริการ เพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขันของผูป ระกอบการไทยในเวทีโลกอีกดวย

ดานพลังงานของโรงงาน/อาคารควบคุม ตรวจการขอผอนผันการ ปฏิบัติตามกฎหมาย ติดตามโรงงาน/อาคารควบคุมที่ไดรับการผอน ผันไปแลว ใหจัดสงขอมูลการใชพลังงาน (ไฟฟาและเชื้อเพลิง) มายัง พพ. ในระยะเวลาที่กําหนด

ทีมผูบริหารจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงานพรอมผูแทนจากหนวยงานที่ไดรับมอบหมายเปนผูดําเนิน การทั้ง 8 ราย

นายวั ล ลภ เรื อ งด ว ยธรรม ผู  จั ด การโครงการฯ

บริ ษั ท มิ ต รเทคนิ คั ล คอนซั ล แท น ท จํ า กั ด กล า วรายงาน วัตถุประสงคของการดําเนินโครงการฯ โดยมาตรการดานกฎหมายตาม พ.ร.บ.การสงเสริมอนุรักษ พลังงานฯ ดังกลาว ถือเปนเครื่องมือสําคัญที่จะผลักดันการอนุรักษ พลังงานของประเทศใหสําเร็จตามเปาหมาย พพ. ไดจัดหาหนวยงาน ซึง่ เปนทีย่ อมรับดานการอนุรกั ษพลังงาน เพือ่ ชวยทําหนาทีก่ าํ กับดูแล ประสานงานกับผูป ระกอบการใหสามารถปฏิบตั ติ ามกฎหมายไดอยาง ครบถวนถูกตองและตอเนื่อง จํานวน 8 ราย และยังมีกิจกรรมที่ตอง ดําเนินการภายใตกรอบของโครงการฯ ไดแก 1. สํารวจสถานภาพและหลักฐานของโรงงานเพิ่มเติมที่คาดวา จะอยูในขายเปนโรงงาน/อาคารควบคุม ใหขึ้นทะเบียนเปนโรงงาน ควบคุมกับ พพ. ใหถูกตอง 2. การจัดประชุมสัมมนาเพือ่ ชีแ้ จงแนวทางปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ใหกับผูบริหารทีมงานดานการอนุรักษพลังงาน รวมถึงผูรับผิดชอบ ดานพลังงานของโรงงาน/อาคารควบคุมอีกอยางนอย 30 ครัง้ คาดวา จะมีผูเขารวมไมนอยกวา 3,100 คน ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ 3. ติดตอเพื่อเขาเยี่ยมเจาของหรือผูบริหาร หรือคณะทํางาน ด า นการจั ด การพลั ง งานของโรงงาน/อาคาร เพื่ อ ให คํ า แนะนํ า / คําปรึกษา เพื่อวิเคราะหหามาตรการอนุรักษพลังงาน แกไขปญหา/ อุปสรรค และผลักดันใหปฏิบัติตามกฎหมายใหครบถวนและถูกตอง 4. สุม เขาตรวจสอบในโรงงาน/อาคารหลังการเขาเยีย่ มพบ เพือ่ ใหคําแนะนํา/คําปรึกษา 5. ตรวจผลการดําเนินงานของโรงงาน/อาคารควบคุมในการ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย เชน ตรวจสอบคุณสมบัตกิ ารแตงตัง้ ผูร บั ผิดชอบ

ผูเขารวมสัมมนาเปดโครงการฯ ประกอบดวยตัวแทนจาก โรงงาน/อาคารควบคุม และทีมงานทีป่ รึกษาทัง้ 8 รายซึง่ กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานไดมอบหมายใหที่ปรึกษาทั้ง 8 ราย ดําเนินโครงการฯ โดยแบงเขตพืน้ ทีค่ วามรับผิดชอบ ไดแก 1. บริษทั เฟอ งสิริ เอ็นจิเนียริง่ จํากัด รับผิดชอบโรงงานควบคุม เขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดสมุทรปราการ นนทบุรี สมุทรสาคร (อ.กระทุม แบนและ อ.บานแพรว) เพชรบุรี ราชบุรี (ยกเวน อ.โพธาราม และ อ.เมืองราชบุร)ี 2. บริษทั เอ็นเนอรยี่ คอนเซอรเวชัน่ เทคโนโลยี่ จํากัด รับผิดชอบ โรงงานควบคุมเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี สมุทรสงคราม นครนายก อางทอง นครปฐม และกาญจนบุรี 3. มหาวิทยาลัยรังสิต รับผิดชอบโรงงานควบคุมเขตพื้นที่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม แพร ลําปาง ลําพูน อุตรดิตถ ตาก สุโขทัย กําแพงเพชร พิษณุโลก พิจติ ร พระนครศรีอยุธยา ชัยนาท สระบุรี สิงหบรุ ี นครสวรรค เพชรบูรณ อุทยั ธานี ปราจีนบุรี นาน พะเยา แมฮอ งสอน และ ประจวบคีรขี นั ธ 4. บริษัท มิตรเทคนิคัลคอนซัลแทนท จํากัด รวมกับ บริษัท นิรนิ ศิริ กรุป จํากัด รับผิดชอบโรงงานควบคุมเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดกาฬสินธุ ขอนแกน ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรรี มั ย มหาสารคาม มุกดาหาร รอยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรนิ ทร หนองคาย หนองบัวลําพูน อุดรธานี อุบลราชธานี ชลบุรี (ยกเวน อ.บานบึง) สระแกว จันทบุรี ตราด บึงกาฬ และยโสธร 5. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รับผิดชอบโรงงานควบคุมเขตพืน้ ที่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล สุราษฎรธานี ประจวบคีรขี นั ธ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี และ สมุทรสาคร (อ.เมืองสมุทรสาคร) 6. บริษทั เคเวอร เวย จํากัด รับผิดชอบโรงงานควบคุมเขตพืน้ ที่ จังหวัดระยอง ฉะเชิงเทรา ลพบุรี สระแกว จันทบุรี ตราด ชลบุรี (อ.บานบึง) และราชบุรี (อ.โพธาราม และ อ.เมืองราชบุร)ี 7. มหาวิทยาลัยศิลปากร รับผิดชอบอาคารควบคุมเอกชนในเขต พืน้ ที่ 8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รับผิดชอบอาคาร ควบคุมเอกชนในเขตพืน้ ที่ 81

Energy#56_p80-81_Pro3.indd 81

6/22/13 3:10 AM


Energy Exhibit กองบรรณาธิการ

เรียกไดวา เปนอีกงานหนึง่ ทีไ่ ดรบั การตอบรับเปนอยางดี สําหรับงาน “Siemens Process Automation Conference & Exhibition” หรือ SPACe 2013 ทีจ่ ดั ขึน้ เมือ่ เดือนมิถนุ ายน 2556 ทีผ่ า นมา ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลเวิลด โดยวัตถุประสงคในการ จัดงานครัง้ นี้ เพือ่ เสริมสรางความสัมพันธกบั กลุม ผูใ ช โดยการกอตัง้ User community หรือ โครงการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นจากผู ใช ซึง่ สามารถตอบโจทยไดทกุ ความตองการของผูใ ชเทคโนโลยีของซีเมนส

Siemens Process Automation Conference & Exhibition 2013

นอกจากเปนเวทีแสดงเทคโนโลยีลํ้า สมัยดานกระบวนการผลิตแลว ภายในงาน ครัง้ นีย้ งั มีเวทีสมั มนาของลูกคา และผูเ ขารวม งานไดใชเปนเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและ ประสบการณการเรียนรู เพื่อการเขาใจถึง ความตองการของกลุม ลูกคาและผูเ ขารวมงาน ไดรถู งึ ปญหาตาง ๆ จากผูใ ชเทคโนโลยีของ ซีเมนสไดมากขึน้ นอกจากนี้ การจัดงานในปนี้บริษัท ซีเมนส ไดจัดตั้งคณะกรรมการสําหรับกลุม

ผูใช Process automation มา เพื่อให ผูใ ชไดมารวมตัวกันแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และอัพเดทเทคโนโลยี นวัตกรรม ดานการผลิต เพื่ อ ตอบโจทย ก ารประหยั ด พลั ง งานใน กระบวนการผลิตของแตละอุตสาหกรรม ไมวา จะเปน อุตสาหกรรมเหมือง ซีเมนต ฟูด แอนด เบฟเวอเรจ เคมิคอล ออยแอนดแกส นํา้ ตาล อุ ต สาหกรรมผลิ ต ไฟฟ า ฯลฯ ซึ่ ง ระบบ Automation System Controller ภายใต ซอฟตแวร SIMATIC PCS 7 ของซีเมนส

สามารถตอบโจทยไดหมดทุกอุตสาหกรรมที่ ตองการลดใชพลังงานและเพิม่ ประสิทธิภาพ ดานกระบวนการผลิตใหสามารถแขงขันไดใน ตลาดโลก นอกจากนี้ ภายในงานยังไดอพ ั เดท เทคโนโลยีใหม ๆ และหัวขอสัมมนาเกีย่ วกับ ฟ ง ก ชั่ น ใหม ใ นการใช ง านที่ มี ป ระโยชน ตอลูกคาในอุตสาหกรรมนัน้ ๆ เพือ่ ใหคคู า มอบเทคโนโลยีและการออกแบบทีถ่ กู ตองให กับลูกคา

82 82

Energy#56_p82_Pro3.indd 82

6/26/13 9:21 PM


Secutech Thailand 2013

เตรียมพบกับ “Secutech Thailand 2013” งานแสดงสินคาและ บริการดานความปลอดภัย อัคคี ภัย และการปองกันอุบตั ภิ ยั พบกับ นวัตกรรมลํา้ ยุคของเทคโนโลยีเพือ่ ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ จากทัว่ โลกกวา 200 บริษทั โดยการ จัดงานในครัง้ นีเ้ กิดขึน้ ภายใตการ รวมมือกันระหวางสองผูจ ดั มืออาชีพ บริษทั เมสเซแฟรงคเฟรต นิว อีรา บิซเิ นส มีเดีย จํากัด และ บริษทั ทีที เอฟ อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด คุณชาตรี มรรคา กรรมการผูจ ดั การ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เป ด เผยว า รู  สึ ก ยิ น ดี แ ละเป น เกี ย รติ ที่ ไดรวมมือกับ บริษัท เมสเซแฟรงคเฟรต นิว อีรา บิซเิ นส มีเดีย จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ผูจัดงานแสดงสินคามากประสบการณ ใน การจัดงาน Secutech Thailand 2013 เพือ่ สรางโอกาสใหกบั ธุรกิจดานการรักษาความ ปลอดภัยที่มีแนวโนมเติบโตอยางตอเนื่อง ทัง้ นี้ ในฐานะผูร ว มงาน บริษทั ทีทเี อฟ จะนํา เอาความรูป ระสบการณ เครือขายดานธุรกิจ สือ่ ประชาสัมพันธ ตลอดจนทรัพยากรตาง ๆ มาชวยเสริมสรางศักยภาพงานแสดงสินคาทีจ่ ะ เกิดขึน้ ในครัง้ นี้ โดยจะทําหนาทีป่ ระชาสัมพันธ งานผานชองทางตาง ๆ ไดแก นิตยสาร โทรทัศน เว็บไซด และงานแสดงสินคา ที่ครอบคุลม หลาย ๆ ธุรกิจ เชน กอสราง รถเพือ่ การพาณิชย และการประหยัดพลังงาน เพือ่ ดึงผูเ ขาชมงาน ทีม่ ศี กั ยภาพทัง้ ชาวไทยและชาวตางชาติ

สําหรับการจัดงาน Secutech Thailand 2013ครัง้ นี้ไดรบั การสนับสนุนจากกรมสวัสดิการ และคุม ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ซึง่ เปน หนวยงานที่มีสวนสําคัญในการพัฒนาและ ควบคุมมาตรฐานความปลอดภัย อันเปนการ ผสานความรวมมือกันระหวางภาคภาครัฐ และ เซเคียวเทค ไทยแลนด เพือ่ พัฒนามาตรฐาน ความปลอดภั ย ให กั บ ภาคอุ ต สาหกรรม ชวยดึงดูดผูเชี่ยวชาญในภาคอุตสาหกรรม ใหเขามารวมงานมากขึน้ เตรี ย มพิ สู จ น ศั ก ยภาพของธุ ร กิ จ รักษาความปลอดภัยในประเทศไทย ไดที่ งาน Secutech Thailand 2013 งานแสดง สินคาและบริการดานความปลอดภัย อัคคีภยั และการป อ งกั น อุ บั ติ ภั ย ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย ในวันที่ 3 – 5 กรกฎาคม 2556 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

83

Energy#56_p83_Pro3.indd 83

6/25/13 12:39 AM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง ผูอํานวยการหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

สรางจิตสํานึกสีเขียว ในองคกร

กระแสสีเขียวใสใจตอสิ่งแวดลอม ขณะนี้สังคมกําลังใหความสนใจและใหความสําคัญ กับเรื่องดังกลาวมาก ไมวาจะเปนในระดับโลก ระดับประเทศ ชุมชน องคการ และบุคคล แต ทุกวันนี้กระแสสีเขียวกลับกลายเปนกระแสแฟชั่น สีเขียวเสียมากกวา เนื่องจากทุกคนทุกองคกร จะทําเพียงฉาบฉวย เพื่อหวังผลประโยชน เชิงธุรกิจมากกวาที่จะสรางความยั่งยืนในเรื่อง การสรางจิตสํานึกสีเขียวใหตดิ เปนนิสยั ใหกบั ลูกคา ซัพพลายเออร บุคลากรในทุก ๆ ที่ ทั้งที่ทํางาน และนอกที่ทํางาน หรือเรียกวา “จิตสํานึกสาธารณะ เพื่อสิ่งแวดลอม” ซึ่งสวนใหญจะรณรงคภายใต กิจกรรมทีอ่ งคกรกําหนดไวเปนแผนงานตลอดทัง้ ป

84

Energy#56_p84-85_Pro3.indd 84

6/25/13 9:31 PM


การสรางจิตสํานึกสีเขียวนับวาเปนเรือ่ งทีส่ รางไดยากมาก เปน นามธรรม มักมองกันวาทุกคนเกิดการเรียนรูจากสถาบันการศึกษา แลวนาจะเขาใจ ไมใชเรือ่ งทีอ่ งคกรจะตองใหความรูห รือปลูกฝงอีกครัง้ อยางไรก็ดี ไมวา สถาบันการศึกษาจะสอนหรือไมกต็ าม บุคคลจะจดจํา ไดหรือไม ไมใชเรื่องสําคัญ แตที่สําคัญมากถึงมากที่สุด คือ องคกร จะตองมีวิธีการและดําเนินการใหเกิดขึ้นอยางตอเนื่องในเชิงระบบ ซึ่งผูเขียนเห็นควรวาตองมีการดําเนินการ ดังนี้ 1. การใหความรู สรางวินัย และปลูกฝงความรูสึกทางดาน สิง่ แวดลอม นัน่ คือ ตองทําใหพนักงานทุกคนปฏิบตั เิ ปนนิสยั อยูใ น DNA ของทุกคน หรือที่เรียกวา Green Heart โดยมองวา องคกรมีภาระ ในการชําระคาไฟฟาเพิ่มสูงขึ้น มีการใชวัสดุสิ้นเปลืองในปริมาณที่ สูงขึ้น ฯลฯ ดวยเหตุนี้ การที่เราเปนพนักงานคนหนึ่งในองคกร เปน สวนหนึ่งของสังคม ประเทศชาติ และโลกใบนี้ ตองมีความรับผิดชอบ ในการรักษาสิง่ แวดลอม ตองปฏิบตั กิ ารรณรงคประหยัดพลังงานและ ใชทรัพยากรอื่น ๆ ใหเกิดความคุมคา เชน ใหพนักงานปดนํ้า ปดไฟ ปดคอมพิวเตอร ปดประตู เพือ่ ประหยัดพลังงานจากเครือ่ งปรับอากาศ รวมทัง้ การใชกระดาษ 2 หนา ฯลฯ เพือ่ สรางจิตสํานึกในการประหยัด พลังงานจนเปนวิถีชีวิตของคนทํางานภายในองคกร รวมถึงองคกร อาจมีโครงการประหยัดพลังงานหรือทรัพยากรอื่น ๆ ไดแก ธนาคาร ขยะ โดยใหพนักงานนําขยะมาขาย เพือ่ แปรรูป และจัดจําหนาย เปนตน นอกจากนี้ เมื่อออกจากที่ทํางานตองการซื้อผลิตภัณฑอะไร ก็ตาม ควรหาขอมูลทางโลกออนไลน เชน บริษัทที่ผลิตสินคามี การรักษาสิ่งแวดลอมหรือวัตถุดิบที่โรงงานนํามาผลิตเปนพิษกับ สิ่งแวดลอมหรือไม เมื่อรับประทาน/บริโภคผลิตภัณฑแลว สามารถ ยอยสลายได เปนตน ซึ่งในโลกออนไลนสามารถหาขอมูลไดงาย ๆ จากบล็อก กระทู หรือขอความที่มีการโพสตไว ฯลฯ หากผลิตภัณฑ ดังกลาวดีจริงก็ควรไดรบั การสงเสริมกระจายขาวสาร Share ใหเพือ่ น ๆ ไดรบั ทราบ หรือกด Like หากผลิตภัณฑไมดจี ริงก็ควรกระจายขอมูล ขาวสารในสังคมออนไลนในลักษณะความจริง ไมมีอคติ หรือเขียน ความไมดีของผลิตภัณฑจนเกินจริง รวมถึงการสรางเครือขายสังคม ออนไลนในระดับบุคคลและองคกรดวย 2. การระดมความคิดของพนักงานในเรื่องประหยัดพลังงาน (Green Concept) โดยเปดโอกาสใหพนักงานมีสว นรวมในการเสนอ ความคิดเห็นดานสิ่งแวดลอม แลวใหฝายบริหารนําไปเปนนโยบาย ดําเนินการสรางกลไกใหเกิดขึ้นภายในบริษัท รวมถึงการกํากับดูแล โดยคณะกรรมการการพัฒนาอยางยัง่ ยืน ทัง้ ในระดับธุรกิจและระดับ บริษัท เพื่อใหมั่นใจวานโยบายและแผนดําเนินงานตาง ๆ มีการนําไป ปฏิบัติจริงอยางมีประสิทธิภาพ

3. จัดกิจกรรมสีเขียว (Green Activity) ใหเกิดขึ้นภายใน องคกร เพือ่ เปนการกระตุน ยํา้ เตือนใหเกิดการรับรูจ ดจําและบุคลากร สามารถนําไปปฏิบัติจนเคยชิน/เปนนิสัย ตั้งแตการทําปายรณรงค ประหยัดพลังงาน กิจกรรมชวนไปปลูกปา ปายเชิญชวนใหงดใชถุง พลาสติก การรณรงคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงาน ในองคกรใหเลิกใชกลองโฟมในการบรรจุอาหารเพื่อผลดีตอสุขภาพ และยังชวยลดขยะในสิ่งแวดลอมดวย 4. สรางระบบโลจิสติกสสีเขียว (Green Logistics) ใหเกิดขึ้น ภายในการทํางานขององคกร โดยหลักการจัดการโลจิสติกสภายใน บริษทั ดังนัน้ ในสวนทีเ่ ปนโลจิสติกสภายในบริษทั ตองมาตรวจสอบดูวา เริม่ จากสวนไหนไปถึงสวนใดทีต่ อ งเปนกรีน โดยทยอยปรับใหเปนกรีน โลจิสติกส โดยเฉพาะในสวนของการบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม เชน การใหบริการจัดสงสินคาดวยพาหนะทีม่ อี ตั ราการบริโภคนํา้ มันนอย ลดการขนสงเที่ยวเปลาและการรวมเที่ยวสงสินคาเพื่อชวยลดการใช พลังงาน ลดมลภาวะ และลดปริมาณกาซเรือนกระจก 5. สรางความเชื่อมั่นใหกับชุมชนดวยความสมดุลระหวาง การพัฒนาภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการบริการ ใหเกิดขึน้ อยางแทจริง (Green Community) ที่ผานมาการทํางานขององคกร ธุรกิจกับชุมชนไมคอ ยจะไปดวยกันเปรียบเสมือนเสนประ แตนบั จากนี้ ไปควรเปนเสนตรง โดยอาจจัดตัง้ เปนคณะทํางานเพือ่ ทําหนาทีเ่ สมือน ตัวกลางในการสือ่ สารระหวางองคกรธุรกิจกับชุมชนใหการดําเนินการ เปนไปอยางโปรงใสและตรวจสอบได พรอมทั้งรับขอรองเรียนใหเกิด การแกไขปญหาอยางรวดเร็ว เพื่อใหชุมชนมั่นใจวาองคกรธุรกิจ มีความจริงใจใสใจตอคุณภาพชีวิตของชุมชน 6. การเสริมแรงบวกสีเขียว (Green Plus) เพือ่ ทําใหพฤติกรรม ของบุคลากรยังคงอยูตลอดไป และเกิดพฤติกรรมเชิงบวกอยาง ตอเนือ่ ง ซึง่ อาจไมจาํ เปนตองใชเงินเปนรางวัลตอบแทน แตอาจใชวตั ถุ สิง่ ของหรือถอยคําแสดงความรูส กึ ทีส่ ามารถสรางบรรยากาศกระตุน ใหเกิดความภูมิใจและความพึงพอใจตอตนเอง โดยองคกรธุรกิจและ ผูบริหารเห็นควรที่จะตองพิจารณาการเสริมแรงบวกสีเขียว เชน แผนกหรือฝายใดสามารถประหยัดไฟฟาเมื่อเทียบกับเดือนที่แลวได 30% จะไดรับคูปองบานพักตากอากาศที่จังหวัดเชียงใหมฟรี เปนตน อยางไรก็ตาม การสรางจิตสํานึกสีเขียวใหเกิดขึน้ ภายในองคกร หรือบุคลากร นับวาเปนเรือ่ งทีส่ รางไดยากและเปนนามธรรม แตทา ยทีส่ ดุ แลว องคกรจะไมสามารถตานทานกับกระแสสีเขียวยุคโลกาภิวฒ ั นได และ จะตองดําเนินการใหเกิดขึน้ อยางตอเนือ่ งในเชิงระบบ

85

Energy#56_p84-85_Pro3.indd 85

6/25/13 9:31 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

จากทีผ่ า นมาประเทศไทย มีการพัฒนาหลายดาน การลงทุน จํานวนมหาศาลของภาครัฐใน การขนสงมวลชนเพือ่ เชือ่ มตอระหวาง ประเทศในการขนถายสินคาและวัตถุดบิ ทีม่ มี ลู คามหาศาลถึง 2.2 ลานลานบาท ตามมาดวยการกอสรางในการขยายตัว ของภาคอุตสาหกรรม การคิดและเริม่ โครงการจัดสรรนํา้ ขนาดใหญมลู คากวา สามแสนหาหมืน่ ลานบาท ทีใ่ นขณะนี้ รัฐบาลกูเ งินมาเพือ่ การลงทุนดังกลาว

ถึงเวลาการลงทุนโครงการขนาดใหญ

ตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไป ?

ประเทศไทยมีโครงการขนาดใหญ อภิมหาโปรเจคมากมาย มีแรงงานอพยพเขามาจํานวนมาก ตามมาดวยการขยายตัวของเมือง ความตองการสาธารณูปโภคและสินคาตาง ๆ มากขึ้น ลวนแลวแต มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทั้งสิ้น การทบทวนการพัฒนาที่ผานมา บงบอกใหเห็นผลตางระหวางการไดประโยชนกับการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล อ ม และคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนอย า งชั ด เจน ยกตัวอยางเชน การขึน้ ราคาสินคา โดยเฉพาะกลุม อาหาร เชน ไขไก เกิดจากความตองการปริมาณอาหารที่มากขึ้นตามการเติบโตของ ประชากร ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอม อุณหภูมใิ น ประเทศไทยสูงขึน้ แมไกไมออกไข ปริมาณไขไกในตลาดนอยลง ราคาจึง สูงขึน้ ตามขออางของทานรัฐมนตรีทดี่ แู ลในเรือ่ งดังกลาว ทัง้ หลายทัง้ ปวงเหลานี้ หลายครัง้ ไดเคยเขียนถึงการเปลีย่ นแปลงของโลก ทีร่ ะบุถงึ ปรากฏการณภยั ทางธรรมชาติทมี่ คี วามถีแ่ ละความรุนแรงสูงขึน้

จึงกลาวไดวา ความหมายของผลตางของการพัฒนาในเชิงบวก คือ การพัฒนาประเทศใหมีความทันสมัยรองรับการเปดประเทศ ทางการคา การลงทุนขามชาติ และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ แต มีผลเชิงลบสุดขั้ว คือ การปรับตัวของประชาชน คุณภาพชีวิตของ ประชาชนเปลี่ยนไป รวมทั้งสภาพแวดลอมที่เสื่อมโทรมอยางรุนแรง จึงอยากเปดประเด็นใหหลายภาคสวนตองพิจารณาถึงมาตรการ ตาง ๆ ที่รองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ตอการปรับ ตัวของประชาชนในสภาพที่เกิดขึ้น ไดทันตอสถานการณหรือไม ใน ประเด็นตอไปนี้จงึ เปนการนําเสนอเพื่อใหมองเห็นถึงระบบการจัดการ สิ่งแวดลอมในการปรับตัวเพื่อประโยชนตอการพัฒนา หรือจะเปน ประเด็นสาธารณะเพื่อหยิบยกไปขยายผลตอไปในอนาคต

86

Energy#56_p86-87_Pro3.indd 86

6/6/13 10:34 PM


ประเด็นแรก การทบทวนนโยบายหรือแผนแหงชาติทรี่ องรับการ ลงทุนขนาดใหญ ตองเปนการทบทวนเพือ่ กําหนดนโยบายสาธารณะ ในเชิงรุก เชน การกําหนดวาระดานสิ่งแวดลอมเปนวาระแหงชาติ รัฐบาลควรใหความสําคัญตอการพัฒนาควบคูก บั การปองกันปญหา สิง่ แวดลอม ปญหาคุณภาพชีวติ สุขภาพของประชาชน ใหสอดคลอง กับการลงทุนและการพัฒนาที่กําหนดไวในแตละพื้นที่ของประเทศ เชน โครงการแสนลานในการบริหารจัดการนํ้า ตองมีนโยบายการ ปองกันผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน รวมถึง ประเด็นดานการใชประโยชนทดี่ นิ ทีค่ มุ คาตอการพัฒนาและการอนุรกั ษ ทรัพยากรธรรมชาติ การจัดสรร การชดเชยทรัพยากรธรรมชาติ ทีค่ มุ คากับการสูญเสียอยางเปนธรรม ประเด็นที่สอง การทบทวนเครื่องมือในการจัดการสิ่งแวดลอม อยางเปนระบบ และทําใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ เห็นไดจากการบังคับ ใชกฏหมายทีเ่ กีย่ วของดานสิง่ แวดลอม ยังไมสอดรับกับปญหาทีเ่ กิดขึน้ เชน ปญหาการพิทักษทรัพยากรปาไม สัตวปา ที่ตองปรับเปลี่ยน กฏหมายใหเหมาะสมกับสถานการณลกั ลอบตัดไม ลาสัตวปา ใหมกี าร บังคับใชอยางจริงจังและมีโทษที่รุนแรง การลักลอบทิ้งกากของเสีย อุตสาหกรรม นํา้ เสียทีม่ ผี ลกระทบตอแหลงนํา้ สาธารณะ และเปนพิษ ตอประชาชนตองไดรบั การจัดการอยางเรงดวน และมีผลในทางปฏิบตั ิ ที่จะจํากัดพื้นที่ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตลอดจนการเยียวยาประชาชนที่ ไดรับความเดือดรอนอยางเหมาะสมและทันตอสถานการณที่เกิดขึ้น พรอมทั้งการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของใหมีบทลงโทษตอผูกระทํา ผิดอยางรุนแรงและจริงจัง ประเด็นทีส่ าม การใชมาตรการทางเศรษฐศาสตรเพือ่ การจัดการ สิ่งแวดลอม ที่รอคอยกันมานาน เพราะการตีความ การกําหนด มาตรการที่เหมาะสมจะตองเรงรัดใหนํามาใชอยางจริงจัง และมีผล ทางปฏิบัติโดยเฉพาะมาตรการชดเชยจากผูกอมลพิษที่ตองเปน ผูรับผิดชอบ การเก็บภาษีคารบอนสําหรับอุตสาหกรรมที่ปลอยกาซ เรือนกระจก ควรดําเนินการอยางเปนธรรม และมีความชัดเจนใน การคํานวณ และเปนจริงในการปฏิบตั ิ

ประเด็นทีส่ ี่ การวิเคราะหผลกระทบสิง่ แวดลอม ในยุค ใหมนตี้ อ งมีการปรับเปลีย่ นใหเกิดมาตรการลดผลกระทบ หรือมาตรการปองกันผลกระทบที่เปนจริงในทางปฏิบัติ ไมใชอยูแตในรายงาน EIA และไมเคยถูกหยิบยกมาใช อยางจริงจัง รวมทัง้ มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพ สิ่งแวดลอม ที่เมื่อเกิดปญหาสามารถชี้ตนตอการเกิด ปญหาไดอยางชัดเจน โดยเฉพาะในนิคมอุตสาหกรรมขนาด ใหญ เชน นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ทีม่ กี ารรัว่ ไหลของ สารเคมีบอ ยครัง้ ทัง้ ทีม่ กี ารวิเคราะหผลกระทบสิง่ แวดลอม กอสรางหรือขยายโครงการ ประเด็นทีห่ า การมีสว นรวมของประชาชน ในวาระที่ นําเสนอเปนคําสวยหรูทมี่ กั จะใชสาํ หรับโครงการขนาดใหญ ของภาครัฐและเอกชน ที่ตองทํากอนการลงมือเดินหนา โครงการ ซึ่งหลายโครงการเข็ดขยาดไมอยากลงทุนใน ประเทศไทย เพราะกลัวตอการทําประชาพิจารณ ในประเด็นนี้ อยากเรียกรองใหมกี ารทบทวนโครงการ และหนาทีใ่ นการ ทําใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชนอยางแทจริง ในที่นี้ อยากใหเห็นกลไกทีจ่ ะขับเคลือ่ นใหเกิดการมีสว นรวมอยาง แทจริง นัน่ หมายถึง ตองมีองคกรกลางในการดําเนินการใน เรือ่ งดังกลาว มีทกั ษะและความเขาใจในปญหาของประชาชน การจัดการที่ดิน การใชประโยชนที่อยูบนพื้นฐานความ ขัดแยงของโครงการกับการประกอบอาชีพของประชาชน วันนีค้ งตองทบทวนและกําหนดขอบเขต แนวทางทีช่ ดั เจน จากบทเรียนปญหาการมีสว นรวมของประชาชนในโครงการ ขนาดใหญหลายโครงการทีม่ กั จะมีการตอตานอยางรุนแรง จากภาคประชาชน และ NGO ในพืน้ ที่ สรุปประเด็นทัง้ หมดทีห่ ยิบยกมานี้ ตองการชีใ้ หเห็นวา เมือ่ จะมีโครงการอภิมหาโครงการขนาดใหญในประเทศไทย ต อ งมี ก ารทบทวนการรองรั บ ป ญ หาที่ เ คยเกิ ด ขึ้ น สําหรับโครงการขนาดใหญ และนาจะเปนเสียงเตือนจาก สภาพแวดลอมในปจจุบนั ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยางชัดเจน ภาวะภัยพิบัติทางธรรมชาติที่คงจะมีมากขึ้นและรุนแรงขึ้น ควบคูกับการพัฒนา การลงทุนที่จะเรงใหเกิดผลกระทบ ในดานตาง ๆ มากมาย จําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองมีแผนการ รองรับอยางชัดเจน ไมใชคดิ ไป ทําไป เชน อภิมหาโปรเจค ของประเทศไทยทีน่ า จะวิตกกัน แลวอนาคตของลูกหลานจะเปนอยางไร ตองรอให เกิดปญหากอนหรือไม แลวจึงตามแกกันจนเปนปญหาที่ สางกันไมตก

87

Energy#56_p86-87_Pro3.indd 87

6/6/13 10:34 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

ทัว่ โลกมีการพัฒนานวัตกกรรมตางๆ ออกมากมาย เพือ่ ตอบสนอง ความตองการและการใชชวี ติ ของมนุษยใหมคี วามเปนอยูท ดี่ ขี นึ้ และสบายขึน้ ที่ผานมาเรามักเห็นการพัฒนาเพื่อรองรับคนปกติ นอยนักที่จะพัฒนา สําหรับผูปวย หรือมีก็อาจเปนการพัฒนาที่ยากตอการเขาถึงของบุคคล ทั่วไป ปจจุบันไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีสําหรับผูปวยที่งายตอการเขาถึง และสามารถพกพาไปไดทกุ ที่ กับ “Walking Assist” หรือ นวัตกรรมเครือ่ ง ชวยเดินสําหรับผูปวย

Walking Assist นวัตกรรม

เครื่องชวยเดิน

สําหรับผูปวย บริษัท ฮอนดา มอเตอร จํากัด หนึ่งในบริษัท ยักษใหญทมี่ กี ารพัฒนานวัตกรรมดานตาง ๆ อยาง ตอเนื่อง โดยมุงเนนทั้งเทคโนโลยียานยนต และ เทคโนโลยีทเี่ กีย่ วของกับการดําเนินชีวติ ของมนุษย ในปจจุบัน สรางความสุขใหกับผูปวยใหสามารถ เดินหรือเคลื่อนไหวไดอยางสะดวก ดวยการศึกษา วิจัยเกี่ยวกับเครื่องชวยเดิน Walking Assist มา ตั้งแตป 2542 Walking Assist เครื่ อ งช ว ยเดิ น นี้ ใ ช เทคโนโลยี ช  ว ยพยุ ง การเดิ น อั จ ฉริ ย ะที่ ส ามารถ ปรั บ ให ต รงกั บ การใช ง านของแต ล ะบุ ค คล (cooperative control) ซึ่งไดรับการพัฒนา มาจากการเฝ าศึ ก ษาท าทางการเดินของมนุ ษย เช น เดี ย วกั บ อาซิ โ ม หุ  น ยนต ค ล า ยมนุ ษ ย ที่ ฮอนดาคิดคนขึ้นมา เครื่องชวยเดิน Walking Assist ควบคุมการทํางานดวยมอเตอรและระบบ คอมพิวเตอร โดยประมวลขอมูลจากเซ็นเซอรที่อยู บนมุมสะโพกในขณะเดิน เพื่อรักษาสมดุลในการ ยกขาแตละขางขึ้นจากพื้น และการกาวไปขางหนา ทําใหกาวเทาไดยาวขึ้น และชวยใหเดินไดงายขึ้น

88

Energy#56_p88-89_Pro3.indd 88

6/26/13 9:24 PM


ป จ จุ บั น ฮอนด า ร ว มศึ ก ษาวิ จั ย การ ใชเครื่องชวยเดิน Walking Assist เพื่อทํา กายภาพบําบัดและการฟนฟูสมรรถภาพของ รางกายในโรงพยาบาล 7 แหง และเปดใหโรง พยาบาลที่ ส นใจอื่ น ๆ เข า ร ว มการทดสอบ ประสิทธิภาพครั้งนี้ โดยใหเชาเครื่องชวยเดิน Walking Assist จํานวน 100 เครื่อง เพื่อให โรงพยาบาลที่เขารวมโครงการฯ นําไปทดสอบ การใชงาน และนําขอคิดเห็นจากผูใชงานจริงมา ปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน และการใชงาน อุปกรณชวยเดินดังกลาวใหดียิ่งขึ้น ถื อ เป น อี ก หนึ่ ง นวั ต กรรมที่ มุ  ง มั่ น สรางสรรคใหสามารถนํามาใชงานไดจริง และ เปนประโยชนตอมนุษยตอไป ภายใตแนวคิด “คิ ด ค น นวั ต กรรมเทคโนโลยี เ พื่ อ ช ว ยเหลื อ มนุษย” อยางแทจริง

ลักษณะเฉพาะของเครื่องชวยเดิน หัวใจของ Walking Assist คือ มอเตอรขนาดเล็กและระบบควบคุม ที่พัฒนาและ ออกแบบใหมีขนาดกะทัดรัด จึงทําใหเครื่องชวยเดิน Walking Assist มีนํ้าหนักรวมเพียง 2.6 กิโลกรัม สวมใสงาย เพียงใชเข็มขัดรัดเทานั้น เหมาะกับทุกรูปราง และไมเปนภาระของผูใช จากการทํางานรวมกับสถาบันทางการแพทย ตลอดจนองคกรธุรกิจ และสถาบันวิจยั ตาง ๆ มาอยางตอเนื่อง นับตั้งแตเริ่มตนการวิจัยและพัฒนาในระยะแรก ทําใหเครื่องชวยเดิน Walking Assist ไดรับการยอมรับในประสิทธิภาพในการนําไปใชเพื่อบําบัดและฟนฟู สมรรถภาพของรางกาย จากผูที่เขารับการรักษาเพื่อฟนฟูสมรรถภาพการเดิน รวมถึง นักกายภาพบําบัด แพทย และนักวิจัย 89

Energy#56_p88-89_Pro3.indd 89

6/22/13 2:57 AM


Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001 wonlop.r@gmail.com

คูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน สําหรับผูตรวจสอบพลังงาน (ตอนที่ 1) จาก กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธกี ารจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 และประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการดําเนินการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคาร ควบคุม พ.ศ. 2552 กําหนดใหพนักงานเจาหนาที่ บุคคลหรือนิตบิ คุ คล (ผูต รวจสอบพลังงาน) ทีอ่ ธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงานอนุญาต มีหนาที่ดําเนินการตรวจสอบและรับรอง (Certification Audit) ตามที่กําหนด

สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน จัดทําคูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงานฉบับนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูที่มีหนาที่ที่เกี่ยวของใชเปนแนวปฏิบัติตอไป โดยคูมือมีสวน ประกอบดังนี้ • เกณฑการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน • ขั้ น ตอนการตรวจสอบและรั บ รองการจั ด การพลั ง งาน • ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมทีเ่ กีย่ วของกับการตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน

• ภาคผนวก ข กฎหมายที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน หวังวาผูอานจะไดรับประโยชนจากคูมือนี้ครับ โดยเฉพาะผูที่ เกี่ยวของจากอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ที่ตองปฏิบัติตาม กฎหมายฉบับนี้ การตรวจสอบและรับรองและการตรวจประเมินระบบการจัดการ พลังงาน หรือที่เรียกวา Energy Management System Audit เปนเครื่องมือเพื่อยืนยันวาองคกรที่ถูกตรวจประเมิน (Audit) มีการ จัดการและการปฏิบัติดานพลังงานที่เหมาะสม เพียงพอที่จะนําไปสู

90

Energy#56_p90-92_Pro3.indd 90

6/22/13 3:14 AM


เปาหมายดานพลังงานทีก่ าํ หนดไว อีกทัง้ หากนําการตรวจประเมินทีเ่ ปน ระบบมาใช อ ย า งสมํ่ า เสมอ จะช ว ยปรั บ ปรุ ง ผลการดํ า เนิ น งาน (Performance) ดานพลังงานขององคกรโดยชี้ใหเห็นจุดแข็งและ จุดออนของระบบการจัดการพลังงานสามารถนําไปสูก ารขยายผลและ การปรับปรุงทีเ่ หมาะสมตอไป การตรวจประเมินมีดว ยกัน 3 ประเภท ไดแก • การตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) หรือเรียกวา First Party Audit เปนการตรวจประเมินโดยบุคลากรภายในของ องคกร ในบางครั้งอาจใหบุคลากรจากหนวยงานภายนอกมาตรวจ ประเมินแตเปนการดําเนินงานในนามขององคกร • การตรวจประเมินโดยคูค า (Supplier Audit) หรือเรียกวา Second Party Audit เปนการตรวจประเมินโดยบุคลากรของคูค า ทีม่ ี ผลประโยชนรว มกับองคกรทีถ่ กู ตรวจ • การตรวจสอบและรับรอง (Certification Audit) หรือเรียกวา Third Party Audit เปนการตรวจประเมินโดยบุคลากรของหนวยงาน อิสระ เปนการเปรียบเทียบลักษณะที่ปรากฏของระบบการจัดการ กับเกณฑทกี่ าํ หนด หากพบวาลักษณะดังกลาวเปนไปตามเกณฑกจ็ ะมี การรับรอง (Certify) เพือ่ เปนหลักฐานยืนยัน กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการจัดการ พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 และ ประกาศ กระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการดําเนินการจัดการ พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 กําหนดใหมี ทัง้ การตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) และการตรวจสอบและ รับรอง (Certification Audit) โดยในสวนของการตรวจสอบและรับรอง นัน้ ระบุให “เจาของโรงงานควบคุมและเจาของอาคารควบคุมจัดใหมี การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานของโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุมโดยผูต รวจสอบและรับรอง” โดยใหพนักงานเจาหนาที่

บุคคลหรือนิตบิ คุ คล ทีอ่ ธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงานอนุญาต มีหนาทีด่ าํ เนินการตามทีก่ าํ หนด กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัตขิ องผูข อรับใบอนุญาต หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน พ.ศ. 2555 กําหนดใหมผี ตู รวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน 2 ระดับ ไดแก ระดับผูช าํ นาญการและ ระดับผูช ว ยผูช าํ นาญการ โดยบุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีป่ ระสงคจะขอรับ ใบอนุญาตเปนผูต รวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานไมวา ระดับใด จะตองมีคณ ุ สมบัตแิ ละไมมลี กั ษณะตองหามตามทีก่ าํ หนดในขอ 3 ของ กฎกระทรวงฯ ซึง่ หนึง่ ในคุณสมบัติ [ขอ 3 (1) ค] กําหนดใหผตู รวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงานตองผานการฝกอบรมหลักสูตรดานการ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานตามหลักเกณฑและวิธกี ารที่ อธิบดีประกาศกําหนด คูมื อการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานสําหรับ ผูตรวจสอบพลังงานฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูที่มีหนาที่ในการ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานหรือผูท มี่ หี นาทีต่ รวจติดตาม และประเมินการจัดการพลังงานตามขอกําหนดของระบบการจัดการ พลังงาน ใชเปนแนวปฏิบตั สิ าํ หรับการตรวจสอบการจัดการพลังงาน ของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม รวมถึงการใหการรับรองผลการ ตรวจสอบดังกลาวแกโรงงานและอาคารควบคุมตอไป

บทที่ 1 เกณฑการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน

การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน เปนการตรวจสอบ วาระบบการจัดการพลังงานของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมเปนไป ตามขอกําหนดของกฎหมายหรือไม โดยในกระบวนการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน มีคาํ สําคัญทีใ่ ชและคําจํากัดความ ดังตอไปนี้

91

Energy#56_p90-92_Pro3.indd 91

6/22/13 2:51 AM


จากคํานิยามของ “เกณฑ การตรวจประเมิน” จะเห็นไดวา การตรวจสอบและรับรองมีเกณฑทตี่ อ งใชอยู 2 ประเภท ไดแก • ประเภทที่ 1 เกณฑที่กําหนดโดยกฎกระทรวงกําหนด มาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุม และอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 และประกาศกระทรวงพลังงานเรื่อง หลักเกณฑและวิธีการดําเนินการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุม และอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 ระบบการจัดการพลังงานของโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุม “ทุกแหง” จะตองดําเนินการตามเกณฑนี้ ตารางในภาคผนวก ก-3 แสดงรายการตรวจสอบการจัดการพลังงาน ในการดําเนินงานตามเกณฑนี้ โดยเปนหนาทีข่ องผูช ว ยผูช าํ นาญการ ที่จะนํารายการตรวจดังกลาวตรวจสอบรายงานการจัดการพลังงาน ทีไ่ ดรบั จากโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม • ประเภทที่ 2 เกณฑที่กําหนดขึ้นโดยโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม ไดแก นโยบาย ขัน้ ตอนการทํางาน วัตถุประสงค และเปา หมาย เปนตน เกณฑประเภทนีจ้ ะแตกตางกันไประหวางโรงงานควบคุม และอาคารควบคุม ไมมโี รงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมทีจ่ ะมีเกณฑ นี้เหมือนกันในทุกๆ ประเด็น ในการตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงานตามเกณฑประเภทนีผ้ ตู รวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน จะตองศึกษา วิเคราะห เอกสารทีเ่ กีย่ วของของโรงงานควบคุมและอาคาร ควบคุมทีจ่ ะตรวจสอบและรับรองกอนเริม่ ดําเนินการเพือ่ ใหเขาใจระบบ การจัดการพลังงาน ตัวอยางเชน จากรายงานการจัดการพลังงานของโรงงานควบคุม แหงหนึ่ง ผูตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน สามารถสราง Energy Use Diagram ไดตามที่แสดงในรูป ซึ่งสามารถสรุปใน เบือ้ งตนไดวา โรงงานแหงนีม้ กี ระบวนการเผาไหมเพือ่ ผลิตไอนํา้ ซึง่ คาดวา จะเปนอุปกรณทมี่ นี ยั สําคัญสูง

• พบวาไมมี procedure กําหนดแนวทางในการควบคุมการทํางาน ผูตรวจสอบและรับรอง พิจารณาใหเปน “ขอคิดเห็นการ ปรับปรุง (Observation)” • พบวามี procedure กําหนดวา ตองควบคุม และพบหลักฐาน วามีการควบคุม แตมคี า บางคาสูงกวาทีก่ าํ หนด ผูต รวจสอบและรับรอง พิจารณาใหเปน “ขอคิดเห็นการ ปรับปรุง (Observation)” • พบวามี procedure กําหนดวา ตองควบคุม แตไมพบหลักฐาน วามีการควบคุม ผูตรวจสอบและรับรอง ตองพิจารณาตอวา เปนความ ไมสอดคลองแบบรายแรง (Major) หรือไมรา ยแรง (Minor) โรงงานแหงนี้มีการใชอากาศอัด ดังนั้นผูตรวจสอบและรับรอง ควรจัดเตรียมทีจ่ ะขอดูเอกสารเกีย่ วกับการทดสอบปริมาณอากาศอัด ที่รั่ว (Compressed Air Leak) ผูตรวจสอบและรับรอง สามารถ พิจารณาตามเกณฑ ดังนี้ • พบวาไมมี procedure กําหนดใหมกี ารทดสอบและกําหนด แนวทางการทดสอบ ผูต รวจสอบและรับรอง พิจารณาใหเปน “ขอคิดเห็นการ ปรับปรุง (Observation)” • พบวามี procedure กําหนดวา ตองมีการทดสอบ อยางนอย ปละ 1 ครัง้ แตพบวาหลักฐานมีการดําเนินการครัง้ สุดทายเมือ่ 2 ปทแี่ ลว ผูตรวจสอบและรับรอง ตองพิจารณาตอวา เปนความ ไมสอดคลองแบบรายแรง (Major) หรือไมรา ยแรง (Minor) • พบวามี procedure กําหนดวา ตองมีการทดสอบ อยางนอย ปละ 1 ครัง้ แตไมพบหลักฐานการดําเนินการตามทีก่ าํ หนด ผูตรวจสอบและรับรอง ตองพิจารณาตอวา เปนความ ไมสอดคลองแบบรายแรง (Major) หรือไมรา ยแรง (Minor) ผูต รวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ตองจัดเตรียมรายการ ตรวจ (Checklist) ประเภทนีก้ อ นลงพืน้ ที่ และตองจัดทําขึน้ หลังจาก ไดขอขอมูลทีจ่ าํ เปนจากโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ไมมี Checklist ขององคกรใดที่เหมือนกันทั้งหมด จึงเปนการยากที่จะจัดเตรียม Checklist ทีส่ ามารถนําไปใชลว งหนาตางจากรายการตรวจสอบตาม ขอกําหนดประเภทที่ 1 ฉบับหนามาติดตามตอในบทที่ 2 ขั้นตอนการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานครับ เอกสารอางอิง คูมื อการตรวจสอบและรั บรองการจัดการพลังงานสําหรับ ผูตรวจสอบพลังงาน สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรกั ษพลังงาน พฤษภาคม 2556 ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 3

ดังนัน้ ผูต รวจสอบและรับรอง ควรจัดเตรียมเกณฑทจี่ ะตรวจสอบ การใชงานหมอไอนํา้ เชน ตรวจการควบคุมปริมาณออกซิเจนสวนเกิน (Excess Oxygen) เปนตน ผูต รวจสอบและรับรอง สามารถพิจารณา ตามเกณฑ ดังนี้

92

Energy#56_p90-92_Pro3.indd 92

6/22/13 2:52 AM


Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

มหาวิทยาลัยขอนแกน โชวผลงานนํ้ามันไบโอเจ็ท จากนํ้ามันปาลม

ต น เหตุ ห ลั ก ของมลพิ ษ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ชั้ น บรรยากาศและสภาพแวดลอมของโลก ลวนมีสาเหตุ มาจากนํ้ามือของมนุษยทั้งสิ้น และเปนปญหาสะสม มานานนับศตวรรษ โดยเฉพาะการเผาไหมจากสิ่ง อํ า นวยความสะดวกที่ ม นุ ษ ย คิ ด ค น ขึ้ น อย า ง “ยานพาหนะ” ถึงแมวา ทุกวันนีก้ ารกอมลพิษดังกลาว จะยังหาทางออกที่ดีหรือเลิกใชไมได การลดและ การหามาทดแทนจึงเปนทางออกที่ดีที่สุด

90 93

Energy#56_p93-94_Pro3.indd 93

6/20/13 1:42 AM


นํา้ มันเชือ้ เพลิงทีผ่ า นกระบวนการเผาไหมเปนปจจัยหลักทีก่ อ ให เกิดกาซซัลเฟอร ไดออกไซด อันเปนตนเหตุของการเกิดฝนกรดและ เกิดกาซเรือนกระจก หรือ กาซคารบอนไดออกไซด จึงสงผลใหเกิด ภาวะโลกรอน กระแสโลกจึงหันมาสนใจดานอนุรักษพลังงานและ สิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น โดยเฉพาะระบบขนส ง มวลชนทางอากาศ หลายหน ว ยงาน เช น องค ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว า งประเทศ (International Civil Aviation Organization) หรือ ICAO ได กํ า หนดให เ ครื่ อ งบิ น พาณิ ช ย ทุ ก ลํ า ที่ ผ  า นน า นฟ า ยุ โ รป ตองมีการผสมนํ้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพลงในเครื่องบิน รวมทั้งสมาคม ขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (International Air Transport Association) หรือ IATA ก็ไดรวมรณรงคใชนํ้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพ ขึ้นในหลายสายการบิน รศ.ดร.เฉลิม เรืองวิริยะชัย ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ในฐานะหัวหนาโครงการวิจยั พรอมคณะวิจยั จึง ไดพฒ ั นากระบวนการผลิตนํา้ มันเชือ้ เพลิงชีวภาพสําหรับเครือ่ งบินขึน้ มา ภายใตโครงการวิจยั เรือ่ ง “การวิจยั และพัฒนาการผลิตนํา้ มันเชือ้ เพลิงชีวภาพ HRJ (Hydrotreated Renewable Jet) จากนํา้ มันปาลม” โดยไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยมาอยางตอเนื่อง 2 ป (2553-2554)

จาก สํ า นั ก พั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาและวิ จั ย ด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี (สบว.) โปรแกรมวิจัยเชิงบูรณาการดานการพัฒนา พลังงานเชือ้ เพลิงสําหรับประเทศไทย ภายใตการดูแลของ ศูนยความ เปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี (PERCH-CIC) การวิจยั และพัฒนาการผลิตนํา้ มันเชือ้ เพลิงชีวภาพ ไดเลือกใช “นํา้ มันปาลมโอเลอิน” เปนวัตถุดบิ ในการผลิตนํา้ มันเชือ้ เพลิงชีวภาพ อาศัยกระบวนการไฮโดรแคร็กกิ้ง โดยใชเครื่องปฏิกรณชีวภาพ ตนแบบขนาดเล็กสําหรับผลิตนํ้ามัน ที่ใชตัวเรงปฏิกิริยาจําเพาะ โดย มีหลักการ คือ การทําใหโมเลกุลของนํ้ามันปาลมแตกตัวเล็กลงที่ เกิดบนตัวเรงปฏิกิริยา พรอมเติมกาซไฮโดรเจนลงไปที่อุณหภูมิและ ความดันสูง เพื่อเรงใหเกิดปฏิกิริยาทางเคมี โดยตัวเรงปฏิกิริยาตั้ง ตนที่ใช ก็คือ “ซีโอไลต” ที่มีลักษณะเปนผงสีขาว นํามากระตุนดวย การอบที่อุณหภูมิสูง จากนัน้ จะผสมสารละลายของโลหะผสม 2 ชนิด คือ นิเกิล และ โมลิบดินมั ลงไป แลวใหความรอนทีอ่ ณ ุ หภูมิ 120 องศาเซลเซียส ตามดวย การเผาทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู ๆ จะไดตวั เรงปฏิกริ ยิ าทีม่ คี วามจําเพาะในการเกิด ปฏิกริ ยิ าไฮโดรแคร็กกิง้ ผลการวิจยั ในการผลิตนํา้ มันทําใหไดนาํ้ มันเชือ้ เพลิงชีวภาพหลายชนิด เชน นํา้ มันไบโอเจ็ท นํา้ มันเบนซิน และไบโอดีเซล นอกจากจะไดนาํ้ มันเชือ้ เพลิงชีวภาพทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงแลว ยังให ประสิทธิภาพดานการเผาไหมทดี่ ขี นึ้ มีคา เลขซีเทนและเลขออกเทนสูงขึน้ และสามารถนําไปใชกับเครื่องยนตรอบสูง อยางเครื่องบินไอพน และเครื่องยนตเบนซินได ผลงานวิจัยดังกลาวยังเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และสามารถ นํานํ้ามันพืชทุกชนิดมาผลิตเปนนํ้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพได แตอาจได ผลิตภัณฑที่แตกตางกันขึ้นอยูกับวัตถุดิบเริ่มตนและสภาวะที่เลือก ใชวิจัย ดังนั้น จึงนับไดวา เปนอีกหนึ่งนวัตกรรมของการผลิตพลังงาน ทดแทนนํ้ามันดิบใตดินที่นับวันจะหมดลงไป นอกจากนี้ ทีมนักวิจยั จะตอยอดพัฒนาตัวเรงปฏิกริ ยิ าจําเพาะ และใชพืชนํ้ามันหรือนํ้ามันพืชเปนวัตถุดิบตั้งตน เพื่อใหมีราคาตํ่าลง สามารถนําไปสูการผลิตในภาคอุตสาหกรรมตอไป

94

Energy#56_p93-94_Pro3.indd 94

6/20/13 1:42 AM


Saving Corner

น อ  ร ม า ว ค บ ็ ก เ บ จ ก ั น อ ก ต ) ร e า g a r ก ี o t ย S y ล g โ r e n น E โ l a เทค กบ็ ความรอ น (Therm โดย คุณทนงศักดิ์ วัฒนา

และ วสั ดกุ กั เ

เนื่องจากพลังงานแสงอาทิตยเปนแหลงพลังงานที่ใหญมากและไมมีวันหมด มนุษยจึงพยายามใชประโยชนจากพลังงาน แสงอาทิตยตงั้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั แตอยางไรก็ตามพลังงานแสงอาทิตยยงั มีขอ จํากัด คือ ไมสามารถใชงานไดอยางตอเนือ่ ง ดังนัน้ การพัฒนาระบบสะสมพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย เพือ่ ใชประโยชนจากพลังงานแสงอาทิตยไดอยางตอเนือ่ ง หรือ ใชประโยชนในชวงเวลาทีม่ คี วามตองการใชงาน ปจจุบนั มีการนําระบบการกักเก็บพลังงานความรอนจากแสงอาทิตยมาประยุกต ใชกับงานตาง ๆ หรืออุปกรณในชีวิตประจําวันของมนุษยมากมาย หรือแมแตโรงผลิตไฟฟาขนาดใหญ ในสวนนี้จะขอกลาวถึง การนําเทคโนโลยีระบบสะสมพลังงานความรอนจากแสงอาทิตยมาประยุกตใชงานในปจจุบัน เครื่องทํานํ้าอุน/รอน พลังงานแสงอาทิตย์ เปนอุปกรณที่มี การประยุกตใชการสะสมความรอนดวยความรอนสัมผัส โดยใชนาํ้ เปน ตัวกลางในการสะสมพลังงานความรอน โดยทัว่ ไปเครือ่ งทํานํา้ อุน /รอน พลังงานแสงอาทิตยจะประกอบดวยสวนประกอบ 2 สวนหลัก ๆ คือ แผงรับแสงอาทิตย (Solar Collector) และถังเก็บนํ้ารอน ปจจุบัน เครื่องทํานํ้าอุน/รอน พลังงานแสงอาทิตยไดถูกพัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่ อ ให ป ระสิ ท ธิ ก ารทํ า งานหรื อ แม แ ต ป ระสิ ท ธิ ภ าพการกั ก เก็ บ ความรอนสูงขึ้น แมจะมีความเขมของแสงอาทิตยนอยก็ตาม

รูปที่ 10 สวนประกอบและการทํางานของเครือ่ งทํานํา้ อุน /รอน พลังงานแสงอาทิตย

ในป จ จุ บั น รู ป แบบของเครื่ อ งทํ า นํ้ า อุ  น /ร อ น ด ว ยพลั ง งาน แสงอาทิตย แบงออกไดหลายรูปแบบ เชน แบงตามรูปแบบของแผงรับ แสงอาทิตย ซึ่งแบงได 3 รูปแบบ คือ การผลิตนํ้ารอนแบบรวมแสง (Focusing Solar Collector) (รูปที่ 11), การผลิตนํ้ารอนแบบ แผนเรียบ (Flat Plate Solar Collector) (รูปที่ 10) และการผลิต นํ้ารอนแบบหลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube Solar Collector) (รูปที่ 12) การแบงเครื่องทํานํ้าอุน/รอน ตามการไหลของสารทํางาน สามารถแบง 2 แบบ คือ แบบ Passive หรือ แบบระบบเทอรโมไซฟอน (Thermosiphon Systems) และแบบ Active Solar Heater เปน ระบบที่มีปมนํ้ารอน ทําหนาที่ขับเคลื่อนนํ้าในระบบใหเคลื่อนที่ผาน อุปกรณตาง ๆ

รูปที่ 11 ลักษณะของระบบทํานํา้ รอนแบบแผนรับแสงรวมแสง ชนิด Parabolic Troughs

95

Energy#56_p95-97_Pro3.indd 95

6/17/13 11:18 PM


รูปที่ 12 ระบบผลิตนํ้ารอนดวยหลอดสุญญากาศ เนื่องจากเครื่องทํานํ้าอุน/รอน พลังงานแสงอาทิตย มีการใช งานกันอยางแพรหลายและกวางขวาง จึงมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางานของระบบ ปจจุบนั มีการพัฒนาเครือ่ ง ทํานํ้ารอนที่มีประสิทธิภาพสูงกวาแบบหลอดสุญญากาศ เรียกวา U Tube โดยใช ท  อ ทองแดงทํ า เป น รู ป ตั ว ยู ภ ายในหลอดแก ว สุ ญ ญากาศ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของแผงรั บ แสงอาทิ ต ย ในแตละแบบ ดังแสดงในรูปที่ 13

รูปที่ 14 ระบบผลิตนํ้ารอน Active Solar Heater แบบ Closed Loop เครือ่ งอบแหงพืชผลทางการเกษตร เนือ่ งจากประเทศไทยเปน ประเทศเกษตรกรรม มีพืชผลทางการเกษตรมากมาย การอบแหง หรือตากแหง เปนวิธกี ารหนึง่ ทีน่ ยิ มกันมาอยางชานาน เพือ่ การจัดเก็บ พืชผลทางการเกษตรใหมีอายุยาวนานขึ้น หรือเพื่อลดปริมาณนํ้า ที่มีอยูในตัวผลิตภัณฑ แสงแดดเปนทางเลือกหนึ่งในการลดความชื้น ที่ประหยัดที่สุด แตอยางไรก็ตาม แสงแดดยังมีขอจํากัดเรื่องความ ตอเนื่องหรือความสมํ่าเสมอในการอบแหง ซึ่งวัสดุทางการเกษตร บางอยางตองใชความตอเนื่องในการอบแหง เชน ยางพารา ดังนั้น การประยุกตใชระบบสะสมพลังงานความรอนมาใชในการอบแหงจึงมี ความจําเปนมาก ในปจจุบันมีหลายหนวยงานพยายามพัฒนาระบบนี้ เพื่อใหใชงานไดจริงและตอเนื่อง สวนรูปแบบทั่วไปของระบบการอบ แหงพืชผลทางการเกษตรโดยใชพลังงานแสงอาทิตยรวมกับระบบ สะสมความรอน สามารถแสดงไดในรูปที่ 15

รูปที่ 13 กราฟแสดงประสิทธิภาพเครื่องทํานํ้ารอนแบบ U Tube เมื่อเทียบกับแบบอื่น ๆ การแบงเครือ่ งทํานํา้ อุน /รอน พลังงานแสงอาทิตย อีกแบบ คือ แบงตามการไหลของสารทํางาน สามารถแบงได 2 แบบ คือ Passive หรื อ แบบระบบเทอร โ มไซฟอน (Thermosiphon Systems) ดังแสดงในรูปที่ 10 และแบบ Active Solar Heater เปนระบบที่มีปม นํ้ารอน ทําหนาที่ขับเคลื่อนนํ้าในระบบใหเคลื่อนที่ผานอุปกรณตาง ๆ ดังแสดงในรูปที่ 14 รูปที่ 15 หลักการทํางานของการอบแหงพลังงานแสงอาทิตย รวมกับตัวสะสมพลังงานความรอน ที่มา : http://www.sciencedirect.com

96

Energy#56_p95-97_Pro3.indd 96

6/20/13 1:26 AM


ระบบการอบแหง มี 3 สวนหลัก คือ แผงรับพลังงานแสงอาทิตย (Solar Collector), อุปกรณเก็บสะสมความรอน (Heat Storage Unit) และอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน ซึ่งนิยมเปนระบบปดเพื่อ งายตอการออกแบบ ในสวนประกอบของระบบ แผงรับพลังงาน แสงอาทิตย (Solar Collector) จะมีความคลายคลึงกับระบบผลิตนํา้ รอน พลังงานแสงอาทิตย (ในหัวขอที่กลาวมาแลว) สวนอุปกรณสะสม ความรอนที่ใชในงานอบแหง มีความหลากหลายแลวแตผูออกแบบจะ เลือกใช เชน ออกแบบการสะสมความรอนดวยความรอนสัมผัส โดย ใชนํ้าหรือหินเปนตัวกลางในการสะสมพลังงานความรอน ดังตัวอยาง ตูอบแหงยางพารา ของ ศูนยวิจัยยาง จังหวัดสงขลา

ขอจํากัดเรื่องแสงแดดที่มีเฉพาะกลางวัน ดังนั้น การพัฒนาระบบ สะสมพลังงานความรอนมาใชรวมกับระบบผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตยจึงมีมาอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถผลิตพลังงานไฟฟา ใชไดตลอดเวลา รวมถึงทดแทนการผลิตไฟฟาจากพลังงานฟอสซิลซึง่ นับวันจะเหลือนอยลงไปทุกที ปจจุบนั บริษทั Torrerol Energy ซึง่ เปน บริษทั ทีป่ ระสบผลสําเร็จในการสรางโรงงานผลิตไฟฟาโดยใชพลังงาน แสงอาทิตย สามารถผลิตไฟฟาใชไดตลอด 24 ชั่วโมง

รูปที่ 17 แสดงลักษณะระบบผลิตไฟฟาแบบจานพาราโบลา รวมกับเครื่องยนตสเตอรลิง นับวาเปนความสําเร็จอยางดีเยี่ยมของการใชประโยชนจาก พลังงานแสงอาทิตยในอนาคตอันใกล จะมีการประยุกตใชในระบบ อื่น ๆ เพื่อใหการใชประโยชนจากพลังงานแสงอาทิตยเปนไปอยาง ยั่งยืน นั่นหมายถึงมนุษยจะมีพลังงานใชอยางไมมีวันหมด และจะไม สงผลกระทบตอระบบสิง่ แวดลอม ซึง่ นับวันมีแตจะเสือ่ มโทรมลง

รูปที่ 16 ตูอบแหงยางพารา โดยใชพลังงานแสงอาทิตยรวม กับระบบสะสมความรอนที่ใชหินเปนตัวสะสมความรอน การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย อันที่จริงระบบผลิต ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยมีการใชมานานพอสมควรแลวใน ตางประเทศ และมีหลายรูปแบบ เชน ระบบจานพาราโบลารวมกับ เครื่องยนตสเตอรลิง (Parabola Dish/Stirling engine system) ดังแสดงในรูปที่ 17 แตการผลิตไฟฟายังขาดความตอเนื่องจาก

97

Energy#56_p95-97_Pro3.indd 97

6/17/13 11:19 PM


Energy Clinic

ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

มาตรการอนุรักษพลังงาน : การลดอุณหภูมิอากาศเขาเครื่องอัดอากาศ ความเปนมาและลักษณะการใชงาน โรงงานอุตสาหกรรมประเภทไมเฟอรนเิ จอร ซึง่ ทําผลิตภัณฑเฟอรนเิ จอรจากไมยางพารา เครือ่ งเรือน ชิน้ สวนเฟอรนเิ จอร เพือ่ สงใหกบั ลูกคาตอไป โดยพลังงานไฟฟาทีใ่ ชในกระบวนผลิตสวนใหญจะเกีย่ วกับเครือ่ งอัดอากาศเพือ่ ใชในกระบวนการผลิต จากทางทีมผูป ฏิบตั งิ านอนุรกั ษพลังงานไดไป สํารวจการใชพลังงานในสวนตาง ๆ ภายในโรงงานแลวพบวา ระบบอัดอากาศจํานวน 9 ชุด มีพกิ ดั ขนาด 30 HP จํานวน 1 ชุด 15 HP จํานวน 5 ชุด และ 7.5 HP จํานวน 3 ชุด โดยเปดใชงานตลอดเวลาประมาณ 8-14 ชัว่ โมง/วัน เพือ่ นําลมมาใชในกระบวนการควบคุมระบบนิวแมติกสในเครือ่ งจักรตาง ๆ

รูปแผนผังแสดงตําแหนงการติดตัง้ เครือ่ งอัดอากาศ

ปญหาของอุปกรณ/ระบบกอนปรับปรุง จากการสํารวจการใชงานของระบบอากาศอัดของโรงงาน พบวา มีการใชเครือ่ งอัดอากาศจํานวน 9 ชุด โดยปกติจะเปดใชงานตลอดเวลา เพื่อนําลมมาใชในกระบวนการเปาทําความสะอาดชิ้นงานและควบคุม ระบบนิวแมติกสในเครื่องจักรตาง ๆ อีกทั้งบางสวนยังนําไปทําความ สะอาดรางกายและพบวาภายในหองอากาศอัดมีการระบายอากาศยัง ไมดพ ี ออากาศภายในหองมีอณ ุ หภูมคิ อ นขางสูง โดยอุณหภูมเิ ขาทาง

ทอดูดอากาศเขาเครื่องอัดอากาศ (ตรวจวัดไดประมาณ 44.3 °C) เนือ่ งจากการปรับทอดูดลมไวดา นลาง ดังนัน้ จึงดูดเอาลมรอนจากคอลย นํา้ มันทีถ่ กู ระบายความรอนของตัวเครือ่ งอัดอากาศเอง ทําใหอากาศรอน ทีป่ ลอยออกจากเครือ่ งแลวถูกดูดเขาสูเ ครือ่ งอัดอากาศอีกเครือ่ งหนึง่ ทําใหอณ ุ หภูมสิ งู มีผลทําใหมวลอากาศทีไ่ ดนอ ย ทําใหภาระการทํางาน ของเครือ่ งอัดอากาศสูงมากขึน้ และสิน้ เปลืองพลังงาน

98

Energy#56_p98-100_Pro3.indd 98

6/26/13 9:35 PM


วิธีการคํานวณผลการอนุรักษพลังงาน จากสูตร… รูปแสดงการติดตั้งเครื่องอัดอากาศกอนปรับปรุง

แนวคิดและขั้นตอนการดําเนินการ

1. ตรวจวัดคาอุณหภูมิอากาศรอบ ๆ เครื่องอัดอากาศ เพื่อ นํามาวิเคราะหหาผลประหยัด 2. ดําเนินการตอทอ PVC เพื่อไปดูดอากาศจากบริเวณนอก หองเครื่องอัดอากาศ ซึ่งมีอุณหภูมิตํ่ากวา 3. ตรวจวั ด ค า พลั ง งานไฟฟ า ที่ ใ ช และสั ด ส ว นการทํ า งาน (% On load) ของเครื่องอัดอากาศทั้ง 2 ชุด (กอนปรับปรุง) เพื่อใช ในการคํานวณผลการประหยัดที่ไดรับจากมาตรการ 4. วิเคราะหผลการประหยัดพลังงานที่ได 5. กําหนดผูร บั ผิดชอบในการเปด-ปด ในการดูแลเครือ่ งอัดอากาศ 6. ทางทีมงานชีแ้ จงใหพนักงานทีป่ ฏิบตั งิ านในแตละพืน้ ทีน่ นั้ ได รับทราบ และใหความรูเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานใหกับพนักงาน และขอความรวมมือกับพนักงานในการชวยกันประหยัดพลังงาน 7. สรุปผลการดําเนินการและผลประหยัดที่เกิดขึ้นจากการ ดําเนินมาตรการ

แทนคา kW load คือ กําลังไฟฟาตรวจวัดชวงเครื่องอัดอากาศทํางาน ที่มี Load kW unload คือ กําลังไฟฟาตรวจวัดชวงเครื่องอัดอากาศ ทํางานที่มี Unload t load คือ ระยะเวลาของเครื่องอัดอากาศทํางานที่มี load t unload คือ ระยะเวลาของเครือ่ งอัดอากาศทํางานทีม่ ี Unload พลั งงานไฟฟ าที่ ใช kW = k/(k-1) x (mRT/1,000) x [(p2/p1)k-1/k -1] 1. The Fluid is Air 2. The Compress action was adaptation compression as PVk = constant 3. k air = 1.395 4. 1 Stage Compressor in this case

รูปแสดงการปรับปรุงทิศทางของทอดูดอากาศ

จํานวนเครือ่ งอัดอากาศทัง้ หมด กําลังไฟฟาของเครือ่ งอัดอากาศกอนการปรับปรุง กําลังไฟฟาของเครือ่ งอัดอากาศหลังการปรับปรุง คิดเปนกําลังไฟฟาทีส่ ามารถประหยัดได จํานวนชัว่ โมงในการทํางานในสวนการผลิต รูปแสดงอุณหภูมิกอนเขาเครื่องอัดอากาศหลังปรับปรุง ระยะเวลาดําเนินการ เงินลงทุน ผลทีป่ ระหยัดได ระยะเวลาคืนทุน

1 7,200.00 22,140.23 0.493 0.33

สัปดาห บาท บาท/ป toe/ป ป

เปอรเซ็นการทํางาน

= 1 ระบบ = 65.85 kW = 63.92 kW = 1.93 kW = 12 ชม./วัน = 312 วัน/ป = 80%

99

Energy#56_p98-100_Pro3.indd 99

6/26/13 9:35 PM


คิดเปนพลังงานไฟฟาทีป่ ระหยัด = (1.93 x 12 x 312 x 80 %) = 5,780.74 kWh/ป คาพลังงานไฟฟาเฉลีย่ ตอหนวย = 3.83 บาท/kWh คิดเปนเงินทีป่ ระหยัดได = (5,780.74 x 3.83) = 22,140.23 บาท/ป คิดเปนผลประหยัดจากพลังงาน = (5,780.74 x 3.60) = 20,810.66 MJ/ป

คาใชจายในการดําเนินการ ทอ PVC 4 “ จํานวน รวมเงินลงทุนทัง้ หมด ระยะเวลาคืนทุน

= 1,200.00 บาท/ ชุด = 6.00 ชุด = 7,200.00 บาท/ชุด = 7,200.00 / 22,140.23 = 0.33 ป

ขอเสนอแนะ หลังจากการดําเนินการติดตัง้ ชุดดูดอากาศรอน เพือ่ การระบาย อากาศรอนออกไปทิง้ ดานนอกของหลังคาโรงงานแลว ควรดําเนินการ ทําปลองทอสงลมรอนติดกับชองระบายความรอนของเครือ่ งอัดอากาศ ตอไปยังชุดระบายอากาศรอนดานบนหลังคา เพือ่ ลดอุณหภูมบิ ริเวณหอง ใหลดลงอีกทางหนึง่ และติดตัง้ ในเครือ่ งอัดอากาศทีใ่ ชงานเปนประจํากอน แลวดําเนินการอยางตอเนือ่ งจนครบจํานวนการใชเครือ่ งอัดอากาศ

สรุปสภาพหลังปรับปรุง ดําเนินการตอทอ PVC เพือ่ ดูดอากาศทีม่ อี ณ ุ หภูมติ าํ่ กวา ซึง่ จะ ไมสง ผลกระทบตอการทํางานของเครือ่ ง สามารถประหยัดไฟฟาลงได 5,780.74 กิโลวัตต-ชัว่ โมงตอป คิดเปนเงิน 22,140.23 บาทตอป

100 98

Energy#56_p98-100_Pro3.indd 100

6/26/13 9:35 PM


Movement

กองบรรณาธิการ

สนพ.เรงผลักดันพลังงานทดแทนตามแผน AEDP สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน นําผูส อื่ ขาวและคณะเจาหนาที่ สนพ.เยีย่ มชมการผลิตกาซชีวภาพใน การผลิตไฟฟาของ บริษทั ไทย ไบโอแกซ เอ็นเนอรยี่ จํากัด (TBEC) ที่ จ. สุราษฎรธานี ซึง่ เปนโครงการผลิตกาซชีวภาพทีใ่ หญทสี่ ดุ ในประเทศไทย สามารถรองรับนํา้ เสียไดวนั ละ 23,334 ลูกบาศกเมตร หรือปละประมาณ 7 ลานลูกบาศกเมตร สามารถนําไปผลิตกระแสไฟฟาไดปล ะ 14.6 ลานหนวย เพือ่ จําหนายใหการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.)

นีโอ จับมือ เรเซอร มอบหลอดประหยัดไฟ ใหสาํ นักงานตํารวจแหงชาติ บริษทั เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ นั่ ออรกาไนเซอร จํากัด (นีโอ) รวมกับ บริษัท เรเซอรการไฟฟา (ประเทศไทย) จํากัด มอบหลอดไฟประหยัด พลั ง งานให กั บ สํ า นั ก งานตํ า รวจแห ง ชาติ เพื่ อ ช ว ยส ง เสริ ม การ ประหยัดพลังงานในสํานักงานใหเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยงานนี้ เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการจัดงาน Eco light Tech Asia 2013 ที่จะจัดขึ้นระหวาง วันที่ 13 – 15 พฤศจิกายน 56 นี้

ปตท. รวมรักษพลังงาน ผานการตนู “PTT COMIC CONTEST” ป 3 บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) แถลงขาว สานตอโครงการประกวด วาดการตนู ครัง้ ใหญทสี่ ดุ ในประเทศไทย “PTT Comic Contest” ป 3 ตอน “Let’s save the world…เมือ่ พรุง นีไ้ มมพ ี ลังงาน” เพือ่ รณรงคให เยาวชนรวมถึงประชาชนทัว่ ไป ตระหนักถึงความสําคัญของพลังงานทีเ่ ปน ปจจัยหลักในการดํารงชีวติ ณ อาคาร ปตท. สํานักงานใหญ ถ.วิภาวดีรงั สิต สนใจสมัครและติดตามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ www.facebook.com/ pttcomic สงผลงานไดตงั้ แตบดั นี้ - 31 ส.ค.56

อินเตอรเฟซ เปดตัวพรมสายพันธุใหมสไตล มินมิ ลั อินเตอรเฟซ เปดตัวพรมคอลเลคชั่นใหม “แฟลทวีฟ” (Flat weave) ที่มีความบางแตถักทอดวยเสนดายที่หนาแนนเหมือนกับ วัสดุปพ ู นื้ แข็ง แตยงั คงคุณสมบัตผิ วิ สัมผัสของพรมไว ชวยลดเสียง สะทอนของพืน้ ทีโ่ ลงกวาง และลดความเมือ่ ยลาจากการยืน โดยดีไซเนอร ออกแบบขึ้นเพื่อตอบสนองความนิยมในการตกแตงภายในสไตล เรียบงายและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม พรอมตัง้ เปาเปนอุตสาหกรรมแหง แรกของโลกในการจัดการของเสียใหเปนศูนย ลดผลกระทบอันเนือ่ งมาจาก การผลิตทีม่ ผี ลตอสิง่ แวดลอมใหหมดไปภายในป 2563 101

Energy#56_p101_Pro3.indd 101

6/25/13 12:36 AM


การไฟฟานครหลวง มอบรางวัล “กฟน. อาคารประหยัดพลังงาน” นายอาทร สินสวัสดิ์ ผูว า การการไฟฟานครหลวง (กฟน.) เปน ประธานในพิธมี อบรางวัลตราสัญลักษณ ระดับที่ 1 “กฟน. อาคารประหยัด พลังงาน” จํานวน 23 อาคาร ทีไ่ ดรบั การคัดเลือกรับมอบรางวัลในโครงการ “สงเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานภายในอาคาร” หรือ MEA Energy Saving Building โครงการประกวดหาสุดยอดอาคาร ประหยัดพลังงานในเขตจําหนายของการไฟฟานครหลวง ณ หองเวิลด บอลรูมBชัน้ 23โรงแรมเซ็นทาราแกรนด แอทเซ็นทรัลเวิลดเมือ่ เร็วๆนี้

ผวจ.สระบุรี เปดโรงไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตย นายถาวร พรหมมีชยั ผูว า ราชการจังหวัดสระบุรี เปนประธานเปด โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ขนาด 11.38 เมกะวัตต ของกลุม บริษทั พรีเมียร โดยมี คุณวิเชียร พงศธร กรรมการผูจ ดั การใหญ รวมเปด สะพานไฟเขาโครงขายการไฟฟา

ปตท.จัดงานคืนความรูส ชู มุ ชน นายโชคชัย ธนเมธี ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญแยกกาซ ธรรมชาติ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) คุณนิยม ดวงสม นายอําเภอขนอม และคุณรังสิมา ตัณฑเลขา ผูอ าํ นวยการโปรแกรมทรัพยากรชีวภาพ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ รวมเปดงาน “คืนความรูสูชุมชน โครงการวิจัยหาดขนอม ระยะที่ 2” และ “คาย เยาวชนขนอมรักษบา นเกิด ครัง้ ที่ 3” ณ โรงแยกกาซธรรมชาติขนอม จ.นครศรีธรรมราช

ลงนามความรวมมือสงเสริมศักยภาพ SMEs นายประเสริฐ บุญชัยสุข รมว.กระทรวงอุตสาหกรรม เปน ประธานในพิธลี งนามขอตกลงความรวมมือการสงเสริมและสนับสนุน ศักยภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ระหวาง สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) โดยมี นายชัยพร ชยานุรกั ษ รอง ผอ.สสว. เปนตัวแทน และ น.ส.รัชนี ทีปประสาน ผอ.ดานลูกคาองคกรธุรกิจ บมจ.ทรู คอรปอเรชัน่ รวมลงนาม

102

Energy#56_p102_Pro3.indd 102

6/26/13 9:29 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

103

Energy#54_p103_Pro3.indd 103

4/10/13 11:35 PM


Energy Thinking ปยะนุช มีเมือง

องค์ความรู้ด้านการประหยัดพลังงาน หากพูดถึงเรือ่ งของการประหยัดพลังงาน หรือ การลดใชพลังงาน ทีก่ าํ ลังเปนกระแสนิยมในสังคมบานเราอยูใ นขณะนี้ หลายหนวยงานทัง้ ของภาครัฐและเอกชนตางชวยกันรณรงคลดการใชพลังงานใหเห็นอยูเ นือง ๆ แตกเ็ ปนเพียงการรณรงค อยางผิวเผิน ขาดการใหองคความรูท ถี่ กู ตองเหมาะสม ทีผ่ า นมาจึงเห็นแตการรณรงคปด ไฟดวงทีไ่ มใช หันมาใชถงุ ผาแทน การใชถงุ พลาสติก หรือชักชวนกันไปปลูกปาชายเลน ฯลฯ เปนตน

ทีเ่ กริน่ มาทัง้ หมด ไมใชเรือ่ งทีไ่ มดี แตเปนเรือ่ งดีทคี่ วรไดรบั การขยายตอไปพรอม ๆ กับการใหความรูท กี่ วางขวางมากขึน้ เพราะ ทีผ่ า นมากิจกรรมรณรงคตา ง ๆ ยังเปนการแกปญ  หาทีป่ ลายเหตุเทานัน้ หากแต ต  น เหตุ ยั ง คงขมวดปมกั น ยุ  ง เหยิ ง โดยไม ไ ด รั บ การแก ไ ข อยางถูกตอง สงผลใหเกิดการแกไขปญหาซํ้าเดิม ที่ไมมีวันจบสิ้น เปลืองเวลา เปลืองสมอง แทนทีจ่ ะเอาสมองไปคิดหรือฝกปรือรอยหยัก ใหแหลมคมยิง่ ขึน้ ดวยการวางแผนหรือคิดคนอะไรใหม ๆ ทีเ่ ปนประโยชน ตอชาวโลก หรือเอาเวลาทีม่ อี ยูไ ปใชแกไขปญหาใหม ๆ ทีท่ า ทายความ สามารถ นาจะเปนการดีกวาไมใชหรือ… ทีผ่ า นมาการแกไขปญหาหลาย ๆ อยาง ตองมีพนื้ ความรูท ถี่ กู ตอง และกวางขวางเพียงพอที่จะเปนภูมิความรูใหนําไปประยุกตใชไดอยาง เหมาะสม หากกิจกรรมบางอยางทีท่ าํ เปนประจําเกิดเปนความออนลา และเคยชิน องคความรูจ ะเปนตัวขับเคลือ่ นสําคัญทีจ่ ะชวยผลักดันใหเรา คิดคนสิง่ ใหม ๆ ขึน้ มาประดับโลกกลม ๆ ใบนี้ ความรูก เ็ ปรียบเสมือน ดินสอหรือปากกาทีใ่ ชในการขีดเขียนไอเดียสรางสรรคบนแผนกระดาษ แหงจินตนาการทีไ่ มมวี นั สิน้ สุด หากหยุดคิดโลกนีก้ ค็ งจะตายลงในไมชา ปจจุบันการแกไขปญหาพลังงานในบานเรา ยังไมมีอะไรใหม ไมมอี ะไรสรางสรรค ยังยํา่ อยูก บั ทีซ่ าํ้ รอยเทาเดิมในอดีต เพราะไมวา จะ หันไปทางใดการประหยัดพลังงานยังคงพบเจอเพียงไมกี่เรื่องเทานั้น หากเราใหความรูกับประชาชนมากขึ้น โดยปูพื้นฐานตั้งแตที่มาของ พลังงาน รวมถึงการใชพลังงานในเชิงสรางสรรค แทนทีจ่ ะหันมาชวยกัน ปดไฟลดใชพลังงานเพียงอยางเดียว แตเปลี่ยนมาเปนการออกแบบ อาคารบานเรือนใหประหยัดพลังงาน หรือการเลือกใชวัตถุดิบที่เปน นวัตกรรมประหยัดพลังงานในการกอสราง การเลือกใชผลิตภัณฑที่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ฯลฯ นาจะเปนการแกไขปญหาทีต่ น เหตุมากกวา ทีผ่ า น ๆ มา แตทั้งนี้และทั้งนั้นก็ตองอยูที่การสงเสริมจากภาครัฐบาลดวย อยางเชน ผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ปจจุบันในทองตลาด จะมีราคาสูงมาก รัฐจะมีวิธีการใดที่จะชวยใหสินคาเหลานี้ราคาถูกลง เพือ่ ทีค่ นเดินดิน กินขาวแกง อยางเรา ๆ ทาน ๆ สามารถหยิบจับและ ครอบครองเปนเจาของได…ถาทําไดอยางนีก้ จิ กรรมประหยัดพลังงานที่ รณรงคกนั อยูอ าจเปลีย่ นแปลงรูปแบบไปหรือมีไอเดียใหม ๆ ทีน่ า สนใจ มากขึน้ ก็เปนได ?

1004 104

Energy#56_p104_Pro3.indd 104

6/6/13 10:26 PM


Energy#56_p105_Pro3.ai

1

6/25/13

10:01 PM


Event Calendar พิชญาภา อินทโลหิต

นิทรรศการ งานประชุม และอบรม.. ดานพลังงานที่นาสนใจประจําเดือนกรกฎาคม 2556 ฟา ัดพลังงานไฟ ย ะห ร 6 5 ะป 5 2 ล แ ม 4 กรกฎาค ล็ดลับเพิ่มประสิทธิภาพ า ชื่องาน : เค รับ : ีตนทุนคาไฟฟ น ช ั ะด ล แ า  ฟ ประโยชนที่ไดิเคราะหสวนประกอบคาไฟ งระบบ - ทราบการว ทางการลดคาไฟฟา ระสทิ ธภิ าพขอ ป ่ ิ ม เพ ร า ว ก น แ ใน า ร ห  ะวธิ กี า เพื่อใช ารแนวทางแล ระบบ - ทราบหลกั ก ง ๆ ดคา ไฟฟา จาก ล ร า  ก ธ ั พ า  ล ต ล น  ผ ใชพลังงา ารและวธิ กี ารวเิ คราะห ําไป - ทราบหลกั ก าง ๆ ๆ ที่สามรถน ง า  ต า ษ ก ึ ต  ศ ี และอุปกรณ รลดคาไฟฟาจากกรณ -9 - ทราบวิธีกานไดจริง -2862-1396 .0 ร โท ด ั ก า ํ จ า ี ประยุกตใชง าม : บริษัท เอ็ม แอนด อ : member@me.co.th ติดตอสอบถ ww.me co.th,E-mail หรือเขาไปที่ w 5-6-7 กรกฎ ชื่องาน : มาตาคม 2556 ระบบไฟฟา รฐานติดตั้งไฟฟาสําหรับป ระเทศไทยและอ สถานที่ : อาค อกแบบ า ร ว ส ท . ชั้น3 หรือ 4 ซ.ร เขตวังทองหลา ามคําแหง39 แ ขวงพลับพลา เวลา : 08.30 ง กรุงเทพ – 16.30 น. เนื้อหา : - ขอกําหนดท - การตอลงดินั่วไป - มาตรฐานไฟ - บริเวณอันต ฟา และ บริภัณฑไฟฟา - มาตรฐานติดราย - อาคารชุด อ ตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศ ติดตอสอบถา าคารสูง อาคารขนาดใหญ ไทย ม : โทร. 0-21 84-4600-9 ต อ 520 , 521 ,5 22 , 523

ม กรรมสิ่งแวดลอ ม 2556 12-14 กรกฎาค ารอบรมพื้นฐานความรูดานวิศว ชื่องาน : โครงก ําแหง 39 (ภาคีพิเศษ) งประชุม อาคาร วสท. ซอยรามค สถานที่ : ณ หอ.30 น. โดยประมาณ น เวลา : 8.30-16 ลอมที่เกี่ยวของใ วัตถุประสงค รมพื้นฐานดานวิศวกรรมสิ่งแวด - เพื่อเปนการอบ อสราง กับสภาวิศวกร การควบคุมงานก รูเพื่อมุงขอใบอนุญาตภาคีพิเศษ ว า ม เข  า ใจ ใน ง า น - เปนกรอบความ ผู  เ ข  า อ บ ร ม ได  ท บ ท ว น ค ว า ม รู  ค - เป  น โอ ก า ส ให ลอ ม วิศวกรรมสิ่งแวด: คุณวีนา กรุดเงิน @gmail.com, g n la าม e ถ g บ n อ a ส h อ  s ต om ติด a@eit.or.th , s E-mail : ween

15-16 กรกฎา ชื่องาน : การพ คม 2556 สถานที่ : ณ ศ ัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ปทุมวัน กรุงเทพูนยประชุมบางกอกคอนเวชั่นเซเพื่อความยั่งยืน ็นเตอร เซ็นทรัล วัตถุประสงค : เวิลด - เพอื่ เปน เวทเี ผ และเทคโนโลยี แ ยแพรผ ลงานวจิ ยั ในระดบั นานาช ผูสนใจทั่วไป ทั้ง ละสงั คมศาสตรข องคณาจารย าตดิ า นวทิ ยาศาสตร - เพอื่ เปน การแลชาวไทยและชาวตางประเทศ  นกั วจิ ยั นกั ศกึ ษา และ ในสาขาวิชาตาง กเปลยี่ นความรแู ละประสบการ ั นางานวจิ ยั แนวทางในการพๆ ระหวางนักวิจัย คณาจารย ณก ารพฒ แ ฒ ั ล ะน น าป ก ั ศ ร ก ึ ะเ ษา เพื่อเปน ท ศ - เพอื่ สรา งเครอื ข า  ย ค ว าม รว มมอื ทางวชิ าก ของมหาวิทยาล ารของคณาจาร ย นกั วจิ ยั 9 แหง และหนว ัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง ติดตอสอบถามยงานภายนอกทั้งในประเทศแล โทร.0-2282-9 : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช ะตางประเทศ 009-15 ตอ 60 ม 93 และ 6097 งคล

2556 ะก าย ว าม คิ ด 20-28 กรกฎาคม แ ล ะน วั ต ก ร ร ม ท ด แ ท น “ จุ ด ป ร ชื่ อ งา น : น โย บ าย” ยีและพัฒนา พิชิตโจทยพลังงานประชุม 4 อาคารปฏิบัติการเทคโนโลรศรีธรรมราช สถานที่ : ณ หอ ยาลัยวลัยลักษณ อ.ทาศาลา จ.นค ี คุณธนารักษ นวัตกรรม มหาวิท าเรื่องธุรกิจพลังงานชีวภาพ โดยม ประพัทธ และ รายละเอียด : เสวนเชียร สุขสรอย รศ.ดร. สุเมธ ไชย พงษเภตรา คุณวิ ทธิ์ รวมเปนวิทยากร รศ.ดร.วรรณา ชูฤคุณนันทนภัส เหมทานนท ติดตอสอบถาม : at.ra@wu.ac.th E-mail nantaph 27 กรกฎาคม 2 ชื่องาน : 2013 T556 สถานที่ : ศูนยก hai Green Building Expo รายละเอียด : น ารประชุมและนิทรรศการไบเทค บ ออกแบบ การก ําเสนอนวัตกรรมเทคโนโลยีที่เหม างนา อนุรักษพลังงานอสราง การบํารุงรักษาอาคาร ท าะสมเพื่อใชในการ การแสดงสินคา และรักษาสิ่งแวดลอมผานการป ี่สอดคลองกับการ บริษัทชั้นนาํ ใหบรผลิตภัณฑ วสั ดุ อปุ กรณ Green ระชุมวิชาการ และ product และรวม ติดตอสอบถาม ิการที่ปรึกษาอาคารสีเขียว : ส ถ าบ ันอาคารสีเขียวไท ตอ 203 , 08-40 ย โทร.0-23199 9 -5 1 9 9 6555 Email : thaigre enbuilding@g mail.com

106

Energy#56_p106_Pro3.indd 106

6/25/13 9:50 PM


9Z$IS;_LTE _IGT 11.05-11.30 ;.

Energy#56_Cover In_Pro3.indd 1

6/27/13 9:04 AM


27-30 March 2014 BITEC Bangkok

14

Energy#56_Cover Out_Pro3.indd 1

6/27/13 9:01 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.