Energy#60_Cover Out_Pro3.indd 1
10/29/13 1:54 PM
Energy#60_Cover In_Pro3.indd 1
10/29/13 1:59 PM
เครองมือทดสอบการติดตั้งและบารุงรักษา ระบบเซลลแสงอาทิตยและพลังงานลม หากคุณทางานกับเกี่ยวข้องกับการผลิตไฟฟ้า จากโซลาเซลลและกังหันลม นี่คือผูชวยมืออาชีพ ที่จัดการงานใหคุณไดอยางมีประสิทธิภาพ
FFluke luke 810 810 Vibration Vibr ration Tester
ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนของ ตัวเจ็นเนอเรเตอรและใบกังหันลม เพอหาความผิดปกติ
SOLAR-100
Solar Power Meter
PV150 V150 150 Solar S l Commissioning Tests ตรวจวัดคุณสมบัติของ แผงโซลารเซลล วัด Insulation, Voc, Isc, Power
Fluke 1625 Earth Ground Tester ตรวจวัดระบบกราวดจาก แผงโซลาเซลลถึงอาคารที่ ติดตั้งอินเวอรเตอร
SOLAR-600 วัดคาพลังงานแสงอาทิตย Solar Analyzer ที่ตกกระทบโซลาเซลล
วิเคราะหพลังงานแสง อาทิตย V-I Curve, แรงดันและกระแสสูงสุด, ประสิทธิภาพ
Fluke 435-II Power Quality Analyzer
ตรวจวัดประสิทธิภาพของ อินเวอรเตอรจากระบบ DC Generator เทียบกับ AC Output
เพอการทดสอบ การแปลง พลังงาน
BAT-500 Battery Capacity Tester ทดสอบความสามารถของ แบตเตอรี่ในระบบสํารองไฟ จายกําลัง และอายุใชงาน
Fluke Ti27 Thermal Imager
Fluke 215C Handheld Oscilloscope
วัดคาอุณหภูมิแผงโซลาเซลล วัดและวิเคราะหการสอสาร ตรวจหาจุดเสอมของแผง ที่เชอมตอกันในสถานีไฟฟา วัดไดจากระยะไกล รวดเร็ว กับกังหันลม ผานระบบ และปลอดภัย บัสขอมูล
TM Fluke CNXTM Wireless System
ชุดเครองมือวัดระบบไรสาย เชอมตอใชงานรวมกัน 5 โมดูล ระยะไกล 20 เมตร
Fluke 381 Remote Digital Clamp Meter ตรวจวัดและติดตามการทํางาน ของพลังงานไฟฟาตามจุดตางๆ อานคาไดระยะไกล
สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 085-489-3461, คุณสารกิจ 08-1641-8438, คุณธีระวัฒน 08-1555-3877
บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด
2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 55 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/energy Energy#60_p03_Pro3.indd 3
10/24/13 11:38 PM
25
High Light
83
What’s Up
68 Around The World 70 ASEAN Update 102 Energy Movement
14 16 25 36 46 66
Cover Story 40 54
Cover Story : Top Ten ของขวัญรักษโลกยอดนิยม Special Report : เยือนมาเลเซีย… ศึกษาดูงานโรงไฟฟาถานหิน Jimah
Interview 48
50 52 64
Exclusive : NGV DEVELOPMENT วิธคี ดิ เปนเรือ่ งสําคัญ…ในการทํางาน Exclusive : BIG ลุยตลาดกาซอุตสาหกรรม เนนความปลอดภัย ประหยัดพลังงาน Exclusive : “อิเมอรสนั ”ตอกยํา้ ผูน าํ เทคโนโลยี เพือ่ การประหยัดพลังงาน Energy Concept : มทร.ธัญบุรี โชวกนึ๋ ผลิตกาซชีวภาพจากนํา้ เสียของการยีตาล
76 78 80 82 83 90
GreenNovation Green 4U Energy Award : KMITL INNOVATIVE AWARD 2013 เวทีโชวกนึ๋ นวัตกรรมดานพลังงาน Energy Knowledge : จาระบี รักษสงิ่ แวดลอม Eco Shop : กรอบรูป ดีไซนเก ของแตงบานรักษสงิ่ แวดลอม Energy Loan : ตอบโจทยทกุ การลงทุนดานพลังงาน กับ มูลนิธพ ิ ลังงานเพือ่ สิง่ แวดลอม Energy Focus : ปรับราคา…LPG ยกระดับประเทศ อะไร…ยกระดับคนในประเทศ Insight Energy : ECO CAR 2 ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ Special Scoop : 3 พันธมิตรผนึกกําลังสรางปาชุมชน ตัง้ เปาเพิม่ พืน้ ทีป่ า 40% ทัว่ ประเทศ Energy Rules : ขับเคลือ่ นโซลารเซลลแนวชายแดน Prefabrication : เปรียบเทียบขอดี-ขอจํากัด การกอสรางระบบ Prefab Energy Exhibit : BUS&TRUCK’13 หนึง่ งาน…ทีร่ อคอยของรถพาณิชย หนึง่ เดียว…กับการกาวสูป ท 1ี่ 0
4
Energy#60_p04,06_Pro3.indd 4
10/25/13 10:03 PM
ระบบทดสอบ PV Solar Inverter เพอประสิทธิภาพการแปลงพลังงานจากโซลารเซลล ใหเปนพลังงานไฟฟาอยางสูงสุด คุมคาตอการลงทุน
ชุุดจําลองพลังงานจากเซลส แสงอาทิตย (PV Panel Simulation) แส
ชุุดจําลองแรงดันไฟฟา กกระแสสลับ ((AC A Grid Simulation)
จํจาาลองแรงดันกระแสตรงในชวง 6 – 1000 Vdc ขนาดกาลังวัตตขึ้นกับ 60 600 ตัวแปลงพลังงานไฟฟา จุดเดนคือ กระแส รั่วไหลตํา จึงปลอดภัยตอการทดสอบ, กา การตอบสนอง I-V Curve Dynamic Sim Simulation ไดรวดเร็วและประสิทธิภาพสูง
สสรางสภาวะแรงดันไฟฟากระแสสลับ สําหรับทดสอบ มีจุดเดนที่ความเที่ยงตรง สูสงทั้งแรงดันและความถี่ จําลองไดทั้ง กการจาย (Source) และการรับ (Sink) และ จํจาลองสภาวะทดสอบแบบกําหนดเองได
PV OUTPUT DC DISCONNECT
AC DISCONNECT
EXISTING AC DISTRIBUTION CENTER ELECTRIC UTILITY
CHARGE CONTROLLER
AC CIRCUITS
DC DISCONNECT BATTERY BANK
AC LOADS
PV INVERTER
ชชุดจําลองแบตเตอรี่ ที่ ใชเก็บพลังงานไฟฟา ท ((Battery String Simulator)
จจําลองพฤติกรรมของแบตเตอรี่ทั้งในโหมดสแตติก แ และไดนามิ ค สาหรับแบตเตอรีท่ กุ ชนิด เชน Nickel M Hydride, Lithium Ion, และ Nickel Cadmium Metal จํจาลองเซ็นเซอร thermistor, strain gauges, h heater loads, และ cell bypass/short
HOUSE LOADS
ชุดจําลองภาระโหลด ((House H Load or EElectronics Load) จําลองภาระโหลดทีเ่ กิดจากเครองใช ไฟ ไฟฟาภายในบาน เชน ระบบแสงสวาง, ทีว,ี ตูเ ย็น, เครองซักผา พัดลม และอนๆ สา สามารถจําลองภาระโหลดตางๆในการ ทด ทดสอบไดอยางแมนยา
AMETEK มีเครองมือเพอจําลองและทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณที่ ใชกับพลังงานแสงอาทิตยที่เหมาะสําหรับ หนวยงานทดสอบของรัฐ ผูผลิต และผูนําเขาสินคาอยางครบถวน (Complete Solution Compliance Test) รวมทั้ง ครอบคลุมตามขอกําหนดของมาตรฐานสากล เชน UL 1741/IEEE1547, IEC62116, DIN VDE 1026-1-1, IEC61000-3-15
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ คุณเฉลิมพร 085-489-3461 บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด
2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/ametek Energy#60_p05_Pro3.indd 5
10/25/13 10:26 PM
56
Industrial & Resident 28
32 34 38 94 96
Green Industrial : ชไนเดอร เปดโรงงานบางปู…. โชวมาตราฐานการจัดการพลังงาน Residence : เดอะ กรีนเนอรี่ รีสอรทฯ… ใชธรรมชาติชว ยลดพลังงาน Energy Design : “เอจ แลนด เฮาส” บานฝงดินชวยประหยัดพลังงาน Tool&Machine : MGE Galaxy เครือ่ งสํารองไฟฟา… ความเสถียรทีม่ าพรอมความยืดหยุน Saving Corner : Energy from Waste (Efw) Technology Energy Management : คูม อื การตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงานสําหรับ ผูตรวจสอบพลังงาน (ตอนที่ 5)
28
32 21
Transportation & Alternative Energy 56
62 72 74
Auto Update : LEXUS GS 300h ทีส่ ดุ ของไฮบริดสปอรตซีดาน Vehicle Concept : Code130R – Tru140S 2 ตนแบบคูเปคา ยโบวไทน Renergy : พลังงานทดแทน เหรียญ 2 หนา Green logistics : กรีนอาเซียน
56
Regular Feature 8 10
Environment Protection 85 88 92 99
0 Waste Idea : การจัดการขยะมูลฝอย ในสถานการณนาํ้ ทวม Environment Alert : ความลมเหลวในการบริหาร จัดการนํา้ ชวงภาวะวิกฤติทจี่ ะกลับมา Green Community : บริดจสโตน รวมกับ มูลนิธิ EDF มอบจักรยาน ลดมลภาวะทางอากาศ Energy Clinic : ชือ่ มาตราการอนุรกั ษพลังงาน การควบคุมกําลังไฟฟาสําหรับแสงสวาง (Power Control for Lighting)
20 22 60 104 105 106
Editor ’s talk Get Idea : เคล็ด(ไม)ลับ การประหยัดนํา้ มัน ทําไดงา ยนิดเดียว How to : ชัน้ วางของจากหนังสือเกา Energy Tips : วิธปี ระหยัดแบตเตอรีม่ อื ถือ ระบบปฏิบตั กิ าร Android Have to Know : Solar Cell ตัวกินแสง แปลงเปนพลังงาน Energy Thinking : ขอคิดในการทํางาน จากคนดังทัว่ โลก แบบสมัครสมาชิก Event & Calendar
6
Energy#60_p04,06_Pro3.indd 6
10/26/13 3:50 PM
Energy#60_p07_Pro3.ai
1
10/24/13
11:09 PM
คณะผู้จัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา
บรรณาธิการบริหาร สุภาเพ็ญ เพ็งสุข
หัวหนากองบรรณาธิการ ปยะนุช มีเมือง
แวะมาทักทายคุณผูอ า นเหมือนเชนเคย ชวงเดือนทีผ่ า นมาชุม ฉํา่ ไปดวยสายฝน ทีด่ เู หมือนความแรงของมันคอนขางเอาแตใจ หนักบางเบาบางแลวแตโอกาส ทีเ่ ปนเชนนี้ เพราะนํา้ มือมนุษยอยางเรา ๆ ทาน ๆ ทีท่ าํ ใหโลกกลม ๆ ใบนีง้ อแงเอาแตใจ สุดทาย แลวคนทีจ่ ะชวยโลกใหดขี นึ้ ไดกค็ อื มนุษยเรานีเ่ อง Energy Saving ฉบับนี้ มีไอเดียในการเลือกซื้อของขวัญ ของที่ระลึก สําหรับโอกาสพิเศษตาง ๆ อยางเชน วันปใหมที่กําลังจะเดินทางมาถึงในเร็ววันนี้ ใครทีอ่ ยากรูว า ของขวัญทีค่ นนิยมซือ้ ใหกนั ในชวงเทศกาลปใหม 10 อันดับมีอะไรบาง แตถา จะใหดเู ก ไกและใสใจสิง่ แวดลอมขอกระซิบวาคุณจะไดไอเดียดี ๆ ในการเลือกซือ้ ของขวัญสไตลรกั ษโลกทีร่ อใหคณ ุ คนหาในหนาถัด ๆ ไป รับรองวาไมผดิ หวังอยางแนนอน การทีเ่ ราจะชวยกันดูแลรักษาโลกใหอยูก บั เราไปนาน ๆ นัน้ บางทีวธิ กี าร ที่ใชก็อาจไมตองยุงยากซับซอน แคใสใจ ใสความคิด และใสความหวงใยเขาไป อยางการเลือกใชสนิ คาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม หรือ Green Product ในชีวติ ประจําวัน ก็สามารถชวยโลกไดทางหนึง่ แลว สวนเรื่องของพลังงานนั้น กระแสในปจจุบันที่ยังคงมาแรงอยางตอเนื่อง คงเปนเรือ่ งของ “โซลาร รูฟท็อป” ทีใ่ ชผลิตกระแสไฟฟาไวใชงานภายในหนวยงาน หรือภายในครัวเรือน หากมีไฟฟาเหลือใชกส็ ามารถนําไปขายใหกบั หนวยงานภาครัฐ ไดแก กฟภ. และ กฟน. ได ซึง่ โครงการดังกลาวกําลังไดรบั การสงเสริมอยางจริงจัง จากภาครัฐ ในการสนับสนุนใหประชาชนและภาคอุตสาหกรรมตืน่ ตัวหันมาใชพลังงาน ทดแทนกันมากขึน้ เพือ่ แกปญ หาการขาดแคลนวัตถุดบิ ในการผลิตกระแสไฟฟาจาก แหลงปโตรเลียมทีก่ าํ ลังจะหมดลงในไมชา ใครทีส่ นใจยังสามารถดําเนินการไดจนถึง วันที่ 15 พฤศจิกายนนี้ สุดทาย ขอแสดงความยินดีกับ “คุณประมวล จันทรพงษ” ที่ขยับ ตําแหนงจาก รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน ขึน้ แทนเปน อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) คนปจจุบนั รวมทัง้ “คุณเสมอใจ ศุขสุเมฆ” ทีข่ ยับจากรองผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ไปเปนผูตรวจราชการกระทรวงพลังงานไดไมนาน ก็มีคําสั่งใหกลับมารับตําแหนง ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน คนลาสุด ตองขอแสดงความยินดี กับผูใหญทั้งสองทานมา ณ ที่นี้ หวังใจวาอนาคตของพลังงานไทยคงสดใสกวา ทีเ่ ปนอยูใ นปจจุบนั
ปยะนุช มีเมือง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com
กองบรรณาธิการ
นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร อภัสรา วัลลิภผล
เลขากองบรรณาธิการ พิชญาภา อินทโลหิต
ผูจัดการฝายขาย แอนดี้ เฮเดน
เลขาฝายขาย สุกัญญา สัปศาร
การเงิน แสงอรุณ มงคล
ศิลปกรรม
กฤษณา กุลเท็ง
พิมพ
บริษัท ภัณธรินทร จํากัด
จัดจําหนาย บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด
ผูจัดทํา
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
200/7-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองไดรับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง
8
Energy#60_p08_Pro3.indd 8
10/24/13 10:29 PM
55
Energy#60_p9_Pro3.indd 9
10/24/13 5:28 PM
Get Idea อภัสรา วัลลิภผล
เคล็ด(ไม)ลับ การประหยัดนํา มัน ทําไดงายนิดเดียว
(
โลกเราในขณะนี้ถูกทํารายลงเยอะมาก เห็นไดจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้นมากมาย เชน นํ้าทวม ฤดูกาลที่เปลี่ยนไป สาเหตุ พวกนี้ไมไดเปนเรื่องไกลตัวเราอีกตอไปแลว เห็นแบบนี้ทาง Get Idea จึงได ไปพูดคุยกับพิธีกรสาวมากความสามารถ อยาง “คุณลิตา-อินทชลิตา ผุลลาภิวัฒน” ซึ่งเธอคนนี้นอกจากจะเกงในสายอาชีพของตัวเองแลว เธอยังมีวิธีประหยัด พลังงานแบบงายๆ มาฝากกัน
)
ในเรื่องของการประหยัดพลังงาน โดยสวนตัวของลิตา เองนาจะเปนเรื่องของการประหยัดนํ้ามัน เพราะลิตาขับรถมา ทํางานทุกวัน และตัง้ แตรถ 4 แสนคัน ออกมาทําใหรถติดมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งปกติรถก็ติดหนักอยูแลว ขนาดวันเสาร-อาทิตย ยังติดเลย ดวยเหตุนจี้ งึ ทําใหนาํ้ มันหายไปเร็วมาก ลิตาเลยมีวธิ ี การประหยัดนํา้ มันแบบงาย ๆ คือ อยางเมือ่ กอนสมัยคุณพอ คุ ณ แม ก อ นออกจากบ า นมั ก จะสตารท รถทิ้ ง ไว ก อ นเพื่ อ เปนการวอรมเครือ่ งซึง่ จะทําใหเปลืองนํา้ มันลิตาก็เปลีย่ นจาก สตาร ท รถเป น ขั บ รถออกมาช า ๆ ประมาณ 2-3 กม. แลวจึงเปลีย่ นจากนํา้ มันมาเปนแกซ นอกจากจะประหยัดนํา้ มัน แลวยังประหยัดเงินในกระเปาอีกดวย กอนจะไปไหนควรจะ ศึกษาเสนทางกอนจะไดประหยัดเวลาและนํ้ามันไปในตัว หรือ หาตัวชวยไดจาก Google Map และจส.100 ก็ชว ยไดเหมือน กัน หมั่นคอยเช็คลมยาง สลับเปลี่ยนยางทุก ๆ 3 เดือน เมื่อ เราสลับยางก็จะทําใหศูนยถวงของยางดีขึ้น รถจะกินนํ้ามัน นอยลง และในสวนของการเปดแอร ในรถ ช วงนี้อากาศ ไมคอ ยรอน ชวงเวลากลางคืนลิตากลับบานก็ไมคอ ยเปดแอรคะ และนอกจากจะมีวธิ ปี ระหยัดนํา้ มันแลว ทางองคกรของ ลิตาก็มีการรณรงคใหพนักงานนําภาชนะมาใสอาหารเอง ถา มีภาชนะมาเองราคาอาหารจะลดลงมา 3-5 บาท จริง ๆ เรื่อง การประหยัดพลังงานลิตาวาเปนหนาที่ของทุกคน ถาอยาก ใหโลกเรานาอยูก็ควรที่จะหันมาใสใจในเรื่องใกลตัว อยามอง วาเปนเรื่องไกลตัว เพราะบางทีถาเราละเลยบางสิ่งบางอยาง อาจจะกลับมาทํารายเราก็ได
“คุณลิตา-อินทชลิตา ผุลลาภิวฒ ั น” พิธกี ร
10
Energy#60_p10,12_Pro3.indd 10
10/24/13 10:45 PM
Energy#57_p87_Pro3.ai
1
7/24/13
9:55 PM
Get Idea อภัสรา วัลลิภผล
คิด ใหเปนเรองสนุก แคนี้ก็สามารถชวยลดการใชพลังงานได
(
การเดินทางของคนเมืองในปจจุบันดูเหมือนวาจะวุนวายไปซะทุกจุด ไมเวนแมแตวันหยุดที่หันไปทางไหนรถติด ไปซะทุกที่ แตถาเราลดการใชยานพาหนะไดตรงนี้นาจะชวยไดเยอะ อยางเชน “คุณฮองเต-กนตธร เตโชฬาร” ดารา พิธีกร ของ JSL ก็เปนอีกคนหนึ่งที่เลือกนั่งรถประจําทางแทนการขับรถมาทํางาน เรามาลองดูซิวาทําไมคุณฮองเต ถึงเลือกที่จะใชวิธีนี้ในการประหยัดพลังงาน
)
จริง ๆ แลวตัวผมไมไดเปนคนประหยัดพลังงานเลย เรียกไดวา เปนคนใชพลังงานเปลืองดวยซํา้ สวนคนทีป่ ระหยัดจริง ๆ จะเปนคุณพอ มากกวา คุณพอเปนคนคอยดูแลในเรื่องของการเปด – ปดแอร ซึ่ง ตอนแรกผมเองก็ไมคอ ยไดทาํ ตาม แตชว งหลัง ๆ มานี้ ผมตองทําเพราะ ไมอยากใหคุณพอคอยวามากกวา ปกติแลวผมนอนในหองรับแขก เพราะจะใชทํางานดวยนอนดวย แลวหองมันใหญจึงทําใหเปลืองไฟ กวาปกติ ผมเองก็อยากจะประหยัดการใชพลังงานก็เลยปฏิวัติตัวเอง โดยการจัดหองนอนของตัวเองเพือ่ ใหเหมาะกับการทํางานและการนอน เพื่อเปนการประหยัดการใชไฟและแอร สวนในเรื่องของการประหยัดพลังงานดานอื่น ๆ คงเปนเรื่องที่ ผมไมเคยคิดที่อยากจะมีรถเลย ผมคิดวาการมีรถสําหรับผมเปนเรื่อง สิน้ เปลือง ไมวา จะเปนเรือ่ งของความรับผิดชอบตาง ๆ การหาทีจ่ อดรถ อุบัติเหตุ ฯลฯ ซึ่งผมคิดวาเราสามารถเดินทางไดโดยไมตองขับรถเอง เพราะปจจุบนั การเดินทางไปไหนตอไหนก็มรี ถบริการตลอด ไมวา จะเปน รถไฟฟา รถไฟใตดิน รถเมลประจําทาง รถแท็กซี่ และ มอเตอร ไซค รับจาง ผมวาถาคนเราเลือกใชบริการพวกนีถ้ นนบานเราคงจะโลงกวานี้ แนนอน ขอดีในการทีเ่ ราเลือกใชบริการดังทีไ่ ดบอกไป ผมวามันนาสนุกนะ มีเพื่อนรวมทางเยอะดี ไดเห็นพฤติกรรมของคนรอบขาง มีคนขับรถ ใหเรานั่ง สบายกวาเรานั่งอยูในรถคนเดียวเยอะเลย และที่สําคัญชวย ลดการใชพลังงานไดตั้งหลายทางดวย
“คุณฮองเต-กนตธร เตโชฬาร” ดารา พิธกี ร ของ JSL
12
Energy#60_p10,12_Pro3.indd 12
10/24/13 10:45 PM
GreenNovation Rainbow
â¤Áä¿áËǹྪà »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹
โคมไฟสวย ๆ ดีไซน เปนรูปแหวนเพชร เมือ่ เปด ไฟสวนทีเ่ ปนรูปเพชรจะเรือง แสงขึ้นมา พรอมกับคําวา I LOVE U สามารถนําไปตัง้ ไว ทีไ่ หนก็ได ใชตกแตงบานหรือ หองนอน ทัง้ นี้ โคมไฟยังชวย ประหยัดพลังงาน เพราะใช พลังงานจาก USB สามารถ เสียบกับคอมพิวเตอร และ Notebook ได หรือสามารถ ใช Adapter ทีใ่ หมาเสียบ เขากับไฟบานตามปกติกไ็ ด เชนกัน โคมไฟแหวนเพชร มาพรอมกลองใสนารัก ๆ สามารถนําไปผูกโบว แลวสง ถึงผูร บั ไดทนั ที มีขนาด 16.5 x 16.5 x 15.3 ซม. ขอมูลจาก www. gift2like.com
ËÅÍ´ä¿»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹
โนวัตกรรมหลอดไฟประหยัดพลังงาน LEM DC สามารถใชกบั ไฟบานได มีหลายขนาดใหเลือกใชตาม ความตองการ หลอดประหยัดไฟ LEM มีคณ ุ ลักษณะ อันโดดเดน คือ ใหแสงสีขาว และมีประสิทธิภาพในการ สองสวางสูงกวา หลอด LED ทัว่ ไป ทัง้ ยังประหยัด ไฟไดสูงถึง 80 % และมีอายุการใชงานที่ยาวนาน ไมมคี วามรอน และไมปลอยรังสี UV จึงปลอดภัย สําหรับทุกคนในครอบครัว สามารถประยุกตกับ การใชงานไดหลากหลาย ไมวาจะเปน การตกแตง ภายในบานพักอาศัย หรือใชรว มกับแผงโซลารเซลล ก็ได ขอมูลจาก www.thai-plastic.com
ชุดพลังงานแสงอาทิตย LandStar ชุดผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย เหมาะสําหรับสถานที่ที่ไมมไฟฟ ีไฟฟาใช บานพักอาศัย สถานที่ธรรมชาติ บานพักเล็กๆรีสอรทโฮมสเตย สเตตย
Solar Home Light System 20 ÇÑμμ 12Ah/4,500 ºÒ· 40 ÇÑμμ 25Ah/9,999 ºÒ· 60 ÇÑμμ 40Ah/12,700 ºÒ· 90 ÇÑμμ 56Ah/15,700 ºÒ· 150 ÇÑμμ 100Ah/19,900 ºÒ·
ÀÒÂ㹪شSolar-Cell20ÇÑμμ »ÃСͺ´ŒÇ • ἧâ«Å‹Òà à«Å • ªØ´¤ÇÒÁ¤ØÁ¡ÒêÒÃ μ • áºμàμÍÃÕ่ 12v Output USB2¨Ø´ • ªØ´ËÅÍ´ä¿ 4 ËÅÍ´ • ªØ´ÊÒªÒà μâ·ÃÈѾ· 10 ÃØ‹¹ • ÃѺ»ÃСѹ 6 à´×͹
ÀÒÂ㹪شSolar-Cell 40,60,90,150ÇÑμμ »ÃСͺ´ŒÇ • ἧâ«Å‹Òà à«Å • ªØ´¤ÇÒÁ¤ØÁ¡ÒêÒÃ μ • áºμàμÍÃÕ่ 12v Output USB2¨Ø´,AC220v 2¨Ø´,»ÅÑ๊¡¨Ø´ºØËÃÕ่,DC12V 1¨Ø´ • ªØ´ËÅÍ´ä¿ 2 ËÅÍ´ • ªØ´ÊÒªÒà μâ·ÃÈѾ· 10 ÃØ‹¹ • ·Õ่ªÒà μ俺ŒÒ¹ • ÃѺ»ÃСѹ 6 à´×͹
บริษัท ชานซ อินเตอร กรุปจํากัด 258/3 หมู 9 ถนนงามวงศวาน ซ.9 ต.บางกะสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท 02-952-57046-6, มือถือ 091-750-0232, แฟกซ 02-952-5689 Energy#60_p13_Pro3.indd 13
July 2012 l 13
10/22/13 1:51 PM
GreenNovation บุษยารัตน ตนจาน
03
01 เครื่องปองกันขโมยจักรยาน 3 in1 กลุมนักออกแบบจากประเทศลัตเวีย ไดสรางอุปกรณอเนกประสงคแบบ 3in1 “BikeWatch” ที่ทํางานได 3 อยาง ภายในอุปกรณเดียว คือมีทั้งระบบเตือนภัย มีหลอดไฟ LED ใหพลังงานแสงสวาง และมีสายล็อครถจักรยาน โดยอุปกรณดงั กลาว มีขนาด 3.9 x 3.5 x 1.5 นิว้ ภายในมีระบบเสียงเตือนปองกันภัย 105 เดซิเบล และมีหลอดไฟ LED ที่มีความสวางของแสง 50,000 มิลลิแคนเดลลา รวมทั้งมีสายเคเบิลสําหรับ ใชลอ็ คจักรยานอีกดวย “BikeWatch” เปนนวัตกรรมสําคัญทีช่ ว ยเพิม่ ประสิทธิภาพใน การปองกันรถจักรยานถูกขโมย ซึง่ จะชวยใหมผี สู นใจหันมาใชรถจักรยานเพิม่ มากขึน้
ประหยัดพลังงานเครื่องปรับอากาศ เป น อุ ป กรณ ที่ มี ซ อฟต แ วร ใ นตั ว มี Sensor, Processing Unit, Switching Unit ทําหนาทีร่ ว มกับ เทอรโมสตรัทตรวจจับการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมลิ ม จ า ยหน า คอยล เ ย็ น แล ว ปรั บ ให ค อมเพรสเซอร ทํางานเทาที่จําเปนสัมพันธกับความเย็นที่ตองการ เพื่อลดการใชพลังงาน ชวยประหยัดคาไฟฟาได มากกวา 30% คุมทุนใน 6-8 เดือน อายุใชงาน มากกวา 15 ป ไมตอ งบํารุงรักษา ติดตัง้ เสร็จภายใน 20 นาที ใชไดกบั แอรเกา-ใหมทกุ ขนาด ไมจาํ กัดบีทยี ู รุนใหมมีสัญญาณไฟเตือนเมื่อนํ้ายาแอรขาดหรือ ตองทําความสะอาด
04 02 Kyocera EOS Unveils Kinetic Flexible OLED Cell Phone นับวาเปนการคิดคนเทคโนโลยีเพือ่ อนาคตจริง ๆ สําหรับ Kyocera ทีท่ าํ การออกแบบ ใหมกี ารใชพลังงานจลน หรือพลังงานจากการเคลือ่ นไหวของตัวเรามาแปลงเปนพลังงาน ในการขับเคลือ่ นโทรศัพทมอื ถือ นอกจากนีย้ งั ทําการออกแบบใหสามารถพับไดเหมือน กับกระเปาพกพาใบเล็ก ๆ โดยสวนประกอบของ Kyocera EOS นี้ มีสว นผสมของสาร โพลีเมอรอยูค รึง่ หนึง่ และในสวนของจอภาพยังเปนแบบพิเศษ OLED ทีก่ นิ ไฟนอยและ ยืดหยุน ได Kyocera EOS ทําการออกแบบโดยนักออกแบบผลิตภัณฑศลิ ปอุตสาหกรรม ชือ่ “Susan McKinney” และทีมออกแบบในซาน ดิเอโก และบังคลาเทศ
ไฟสารพัดประโยชน FLEXI เป น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ ที่ พ ยายามพั ฒ นาของ สิ่งเดียวใหมีประโยชนที่หลากหลาย ออกแบบโดย Kyeore Kim, Jaesuk Han, Sungkuk Hong, และ Sena Joo เป น อุ ป กรณ ใ ห แ สงสว า งที่ มี นํ้ า หนั ก เบา พกพาสะดวก เหมาะกั บ กิ จ กรรม แคมปงและสามารถใชงานไดหลากหลาย คุณอาจ ม ว นเหมื อ นม ว นกระดาษ ก็ จ ะกลายเป น ไฟฉาย สองสวาง เปนคบไฟฟา หรือถาจะคลี่ออกเปนแผน กวาง ก็สามารถใชเปนแผนรองสําหรับอานหนังสือ ในที่มืดได ผลงานชิ้นนี้มีความโดดเดนที่ดีไซน แต ยังไมไดออกแบบแหลงใหพลังงานเอาไว หากในอนาคต เอามาต อ ยอดใช กั บ แผงโซลาร เ ซลล ที่ ส ามารถ ยืดหยุนได ก็จะเปนสิ่งประดิษฐที่ลงตัวทีเดียว
14
Energy#60_p14-15_Pro3.indd 14
10/18/13 11:38 PM
05 ไฟขั้นบันไดพลังงานแสงอาทิตย ไฟขัน้ บันไดเรืองแสงดวยพลังงานแสงอาทิตย หรือ Super Slim Solar Accent Lights ชวยตกแตงสวนไดหลากหลายวิธี โดยทีไ่ มตอ งกังวล ถึงเรือ่ งของการเดินสายไฟหรือการติดตัง้ ใหอยูใ กลปลัก๊ ไฟแตอยางใด มีขนาด 38.1 ซม. x 2.54 ซม. (15 นิว้ x 1 นิว้ ) ติดตัง้ ไดทงั้ บนพืน้ ผิว แบนแข็งและออนนุม ชุดไฟขัน้ บันไดพลังงานแสงอาทิตย มีลกั ษณะเปน หลอดไฟเรียวยาว ใน 1 ชิน้ ประกอบดวย LED 2 หลอด และมีแผงเซลล แสงอาทิตยอยูต รงกลาง เมือ่ รับพลังงานจากแสงอาทิตยจะเก็บพลังงาน ไวทแี่ บตเตอรีช่ ารจขนาด AA Ni - Cd 500 mAh ซึง่ การชารจพลังงาน เพียง 6 ชัว่ โมง จะใชงานสําหรับไฟขัน้ บันไดไดถงึ 10 ชัว่ โมง ซึง่ ไฟจะเปด ขึน้ เองอัตโนมัตเิ มือ่ ถึงเวลาเย็น และจะดับลงเมือ่ แผงโซลารเซลลไดรบั พลังงานจากแสงอาทิตยอกี ครัง้ ในตอนเชา
07
คียบอรดไรสายรักษสิ่งแวดลอม
Adesso หนึ่งในผูนําอุปกรณดานจัดเก็บขอมูล เผยโฉมนวัตกรรม คียบอรดไรสายรุนบางเบา พรอมทัชแพดในตัว ขนาดเล็ก กะทัดรัด สะดวกสบาย คลองตัวในการใชงาน WKB-4000UB เหมาะสําหรับพกพา ประยุกตใชงานกับโนตบุก หรือคอมพิวเตอรพซี ี อีกทัง้ ยังเปนมิตรกับ สิง่ แวดลอม รวมทัง้ ประหยัดพลังงานดวยโหมด Sleep เมือ่ ไมมกี ารใช งาน WKB-4000UB มีคณ ุ สมบัตใิ นการรองรับสัญญาณไรสาย บน คลืน่ ความถี่ 2.4 GHz ดวย RF Connectivity ทีเ่ พิม่ ระยะทางไดไกล ถึง 30 feed เชือ่ มตอดวย USB Wireless สําหรับคียบ อรดไรสายนี้ มีปมุ ฟงกชนั่ ตาง ๆ มาใหอยางครบครัน ตัง้ แต Numeric Keypad, ปุม ฟงกชนั่ F1 – F12 พรอมทัชแพดในตัว ทีร่ องรับการใชงานแบบมัลติทชั มีขนาดความกวาง 11.75 x 8.25 นิ้ว รองรับการทํางานแบตเตอรี่ ขนาด AAA
Soil-Powered Alarm Clock
06 มือถือฉุกเฉินแคใสถานก็โทรได นวัตกรรมของโลกสื่อสารกับมือถือประหยัดพลังงานที่ไมตองชารจ แบตเตอรี่ เพียงมีถา น 1 กอน และซิมการดก็ใชงานไดทนั ที ถูกพัฒนา โดยบริษทั สแปร วัน ในประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดจากแนวคิดทีต่ อ งการ ใหมมี อื ถือใชงานไดนานทีส่ ดุ และทําใหประหยัดพลังงานยิง่ ขึน้ โดยการ ตัดฟงกชั่นหนาจอ และใชงานรวมกับถานไฟฉายประหยัดพลังงาน รุน อัลติเมต แอล 91 ของเอ็นเนอรไจเซอร ซึง่ ทําใหมปี ระสิทธิภาพในการ ใชงานดีขนึ้ ทัง้ นี้ เครือ่ งสามารถสแตนดบายไดนาน 2 เดือน โทรตอเนือ่ ง 10 ชม. ใชไฟฉายแอลอีดนี านถึง 24 ชม.
เปนผลงานของนักออกแบบชาวดัตชชื่อ Marieke Staps ที่ใช พลั ง งานจากความชื้ น ในดิ น เพื่ อ ให พ ลั ง งานกั บ นาฬ ก าปลุ ก นักออกแบบใชกระถางตนไม 2 กระถาง ซึง่ เพียงพอในการใหพลังงาน กับนาฬกาได ดินในกระถางจะดําเนินกระบวนการทางชีวภาพของมัน คือ กระบวนการทีด่ นิ สรางแบคทีเรีย กระบวนการดังกลาวจะทําใหเกิด ไฟฟา การดูดพลังงานไฟฟา จากดินทําไดงาย ๆ เพียงนํา แผนสังกะสีเล็ก ๆ กดลงไปใน กระถางดานหนึ่ง และกระถาง อีกดานหนึ่งเปนแผนทองแดง จากนั้นนําตัวหนีบจากนาฬกา ที่ประดิษฐ ไวเปนพิเศษมาตอ เข า กั บ แผ น สั ง กะสี แ ละแผ น ทองแดง และจึงรดนํา้ ในกระถาง ไดตามปกติ
08
15 51
Energy#60_p14-15_Pro3.indd 15
10/18/13 11:38 PM
Green 4U บุษยารัตน ตนจาน
01
เกาอี้ปายสัญญาณจราจร ผลงานชิ้ น นี้ เ รี ย กว า Broadway Armchair ถู ก ผลิ ต ขึ้ น จากเศษเหล็ ก ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว จากโรงงาน และปายจราจร โดยการใชเทคนิคมากมายทีจ่ ะจัดการ กับปายสัญญาณที่ทํามาจากวัสดุที่มีความแข็งแรง ให มี ป ระโยชน ใ ช ส อยต อ ไป เก า อี้ ป า ยจราจรตั ว นี้ จึงมีทงั้ ความแข็งแรง ทนทาน ดีไซดเก ไก ไมซาํ้ แบบใคร
03 โคมไฟขวดนํ้าพลาสติก
เกาอี้ไมเกาและโครงลอจักรยาน
ทํ า จ า ก ข ว ด นํ้ า อั ด ล ม ที่ ไม ใ ช แ ล ว อุ ป กรณ ห าซื้ อ ไดจากรานขายของเกาทั่วไป เหนี ย ว ทนทาน ไม ข าดง า ย ลายดอกไม สวยงาม เหมะนําไป ใชตกแตงบาน
เก า อี้ ตั ว นี้ ทํ า จากเศษไม เ ก า โดยเอามารวมกั น ในรู ป ทรงใหม ด ว ยการนํ า เศษไม ท อ นยาว หลากหลายขนาด เล็กบางหนาบาง เอามารวมกัน ใหเปนรูปทรงกลม ครอบดวยขอบโลหะอะลูมีเนียม จากล อ จั ก รยานเก า ทุ ก อย า งเป น การรี ไ ซเคิ ล ช ว ยลดปริ ม าณขยะและยั ง ได ข องชิ้ น ใหม ที่ ใ ช ประโยชน ไดอีกดวย ที่สําคัญดูดีไมนอยเลยทีเดียว
02 กระเปาใบกัญชง
04
กระเป า ใบกั ญ ชงผลิ ต ภั ณ ฑ จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ โ ด ย ก า ร ใ ช วั ต ถุ ดิ บ ที่ เ ป น มิ ต ร กั บ สิ่งแวดลอม โดยใชภูมิปญญา ชาวบานในการทําเพื่อสืบทอด วัฒนธรรมอันดีงามของชาวมง นอกจากนี้ยังมีความสวยงาม คงทาน ใชงานไดดีอีกดวย
16
Energy#60_p16-17_Pro3.indd 16
10/11/13 11:08 PM
06 05 กระเปาเศษผาหลากชนิด
ผลิตขึ้นจากเศษผา เตนทซาฟารี ผาหม ของทหาร สายหนัง วัสดุรีไซเคิลอื่น ๆ เปนกระเปาทีท่ นั สมัย สีสนั ลวดลายสวยงาม สะทอนใหเห็นแรงถึงบันดาลใจที่เกี่ยวกับ การรักษโลก และอยากใหโลกนี้ดีขึ้น
ซอง iPhone ซอง iPhone เปนงานฝมือที่ใช ผาซับใน ผิวนอกทําจากไมกอก มี คุ ณ สมบั ติ ไ ม เ ก็ บ ความร อ น นํา้ หนักเบา และทนทานเปนพิเศษ
07
08 วิทยุหัวใจสีเขียว ฟงไดทั้ง AM/FM + weather Band ไม จํ า เป น ต อ งใช แ บตเตอร รี่ แค ป น ๆ 1 นาที ก็จะไดฟง เสียงเพลงนานถึง 20 นาที หรือถาหมดแรงปนก็หันมาเติมพลังงาน ดวยแสงโซลารเซลลแทน เปนวิทยุรักษ โลกที่นาสนใจไมนอย
เมาส ไมไผ เมาส ไร สายได รั บ การออกแบบ ให ส ามารถใช ง านได ส บาย จับถนัดมือ ซึง่ เขากันเปนอยางมาก เมื่อวางอยูบนโตะทํางานของคุณ ผลิ ต จากวั ส ดุ ธ รรมชาติ อ ย า ง ไม ไ ผ ซึ่ ง เป น ผลงานทํ า มื อ ที่ มี ความปราณีต สวยงามอยางลงตัว
17
Energy#60_p17_Pro3.indd 17
10/17/13 9:47 PM
Green 4U บุษยารัตน ตนจาน
Bangkok
Tree House
รี ส อร ท ท า มกลางธรรมชาติ ริ ม แม นํ้ า กั บ พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว เหมาะกั บ วันพักผอน ที่รีสอรทแหงนี้เปนพื้นที่ ที่นาศึกษาธรรมชาติมากที่สุดแหงหนึ่ง ของภูมิภาคเอเชีย เปนรีสอรทสีเขียว ที่ คํ า นึ ง ถึ ง ระบบนิ เ วศวิ ท ยา มี ก าร ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งป น ไฟและระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย เลื อ กใช วั ส ดุ ต กแต ง จาก ธรรมชาติ ใชงานศิลปะรูปแมลงในการ ตกแต ง ห อ งพั ก ภายในห อ งพั ก เลือกใชวัสดุโปรงแสง อยางกระจกใส กระจกเงา ทําใหภายในหองดูกวางขึ้น และชวยประหยัดพลังงาน
นอกจากนี้ ภายในหองพักยังมีหองนํ้า และห อ งแต ง ตั ว ชั้ น ล า ง บั น ไดถู ก ตั้ ง ลด หลั่ น ขึ้ น ไปยั ง ห อ งนอนชั้ น สอง และยั ง มี ดาดฟาใหนอนรับสายลม ชมแมนํ้า พรอม ชมบรรยากาศรอบขางไดอยางสบายใจ ทัง้ นีย้ งั มี กิจกรรมไวใหผูเขาพัก อาทิ Complimentary Tour โดยการป น จั ก รยานศึ ก ษาธรรมชาติ วิถีชี วิ ต ชุ ม ชน ไหว พ ระ ไว ใ ห พั ก ผ อ นกั น อยางสบายกายสบายใจ 18
Energy#60_p18_Pro3.indd 18
10/11/13 11:05 PM
Energy#58_p33_Pro3.ai
1
8/28/13
12:45 AM
How To บุษยารัตน ตนจาน
DIY ชัน้ วางของจากหนังสือเกา สําหรับใครทีก่ าํ ลังเบือ่ ชัน้ วางของแบบเดิมๆ และอยากลองหัน มาทําอะไรดวยตัวเองบาง ขอนําเสนอไอเดียนี้เลยคะ ชั้นวางของที่สามารถทําเองไดงายๆ ไปดูกนั เลยวาอุปกรณมอี ะไรบาง
อุปกรณ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
แทงเหล็ก หนังสือ สวาน น็อต ไมบรรทัด ดินสอ
สวนวิธกี ารทํา เริม่ จาก ทําการติดฐานทีว่ างหนังสือกับ ฝาผนัง โดยทําการวัดระดับและ ขนาดความกวางใหตรง กอนใช สวานเจาะใหยดึ ติดกับผนัง จากนัน้ เลือกหนังสือ นํามาวางเปนชั้นวางของ แคนี้ก็เปนอันเสร็จพิธี
20
Energy#60_p20-21_Pro3.indd 20
10/22/13 2:09 PM
บางทีเราก็อยากมีตนไม ดอกไม ประดับตกแตง ในบานใหดูสวยงาม สดชื่น กันบางใชไหมคะ ปกติคุณ อาจตกแตงบานโดยการใชกระถางตนไมหรือแจกัน ดอกไมไซสปกติ ซึ่งบางทีก็กินเนื้อที่ในบานพอสมควร วันนี้คุณลองมาเปลี่ยนรูปแบบการตกแตงดูบางไหม ลองมาทํ า DIY กระถางต น ไม แ ม เ หล็ ก ไซส มิ นิ กั น แลวนําไปติดตกแตงตูเย็นใหสวยสดชื่น ถือเปนการ ประหยัดพื้นที่แนวนอนของบานในไปตัวดวยคะ
วิธที าํ ก็ไมยาก ใหหาพวกไมกอ็ กทีท่ าํ เปนจุกปดขวดไวน จากนัน้ ก็คอ ย ๆ เจาะรูตรงกลางไม ทําใหตรงกลางนั้นเปนรู สําหรับใสดนิ ได เสร็จแลวก็นาํ ตนไมเล็กๆ ทีต่ อ งการปลูกมา ใสในดิน นําแผนแมเหล็กมาติดไวดา นหลังตัวกระถางตนไม ทีท่ าํ จากจุกไม จากนัน้ ก็ทาํ กระถางตนไมเล็ก ๆ แบบนีอ้ อกมา สักจํานวนหนึง่ เทานีก้ เ็ สร็จแลว นําไปตกแตงบริเวณทีต่ อ งการ ใหดสู วยงามกันไดเลย
...DIY
กระถางตนไมไซสมินิ เติมเต็มความสดชน
21
Energy#60_p20-21_Pro3.indd 21
10/22/13 2:07 PM
Energy Tips เด็กเนิรด
วิธีประหยัดแบตเตอรี่มือถือ ระบบปฏิบัติการ Android
วิ ธี ป ระหยั ด แบตเตอรี่ ห รื อ การลดใช พ ลั ง งานแบตเตอรี่ มื อ ถื อ ระบบ ปฏิบตั กิ ารAndroid สามารถนําไปใชไดกบั smartphone รุน ตาง ๆ อาทิ Samsung msung Galaxy Note2, Samsung S3 และมือถือระบบปฏิบัติการ Android รรุุนและ เวอรชั่นตาง ๆ เชน Android 2.3, Android 4.0, 4.1 หลาย ๆ คนคงเคยประสบ ประสบ ปญหาแบตเตอรี่มือถือหมดเร็ว บางคนแบตอยูไดไมถึง 1 วัน ก็หมดแลว เรามี วิธีดี ๆ ในการยืดเวลาการใชงานแบตเตอรี่สําหรับระบบ Android มาฝากกั กกัน
วิธีประหยัดหรือลดการใชแบตเตอรี่ Android 1. ใหปด Apps ตาง ๆ ที่ไมไดใชงาน แตโปรแกรมยังทํางานอยู Settings → Apps → Running ใหคลิกที่โปรแกรมที่ตองการหยุดไมใหทํางาน โดยกดปุม Stop 2. ถามี…ใหเปดโหมดประหยัดพลังงาน 3. ถาไมไดใชงานมือถือใหใชโหมดพักการใชงานเครื่อง โดยการกดปุมเปดปดเครื่อง 4. ปดการใชงานบลูทูธ (BlueTooth) Settings → Bluetooth → เลื่อน tab เปน off 5. ปดใชงานไวไฟ (Wi-Fi) Settings → Wi-Fi → เลื่อน tab เปน off 6. ปดการซิงคแบบอัตโนมัติของ Apps ตาง ๆ Settings → Accounts & sync → เลื่อน tab เปน off 7. ลดเวลาการเปดแบ็คไลท 8. ลดความสวางหนาจอ Settings → Display → Brightness แลวลดความสวาง เอาเทาที่เราสามารถมองเห็นได ไมสวางเกินไป 9. ปด Auto-rotate screen คือ ไมใหหนาจอหมุนไป-หมุนมา Settings → Display → Auto-rotate screen เอาเครื่องหมายถูกออก 22
Energy#60_p22,24_Pro3.indd 22
10/11/13 11:01 PM
Energy#60_AD
Chapm_Pro3.ai
1
10/11/13
11:32 PM
Energy Tips เด็กเนิรด
ว ็ ร เ ด ม ห ต บ แ า ห ญ ป ก แ 7 S iO รี่ใน
อ ต เ ต บ แ ด ั ย ห ะ วิธีปร
หลังจาก Apple เปดใหอัพเดต iOS 7 กันไปเมื่อเร็ว ๆ นี้ เชื่อ วามีหลายคนอัพเดตแลว และพบวาเครื่องใชงานแบตเตอรี่หมดไว ขึน้ อยางเห็นไดชดั เราจะมาดูวธิ ชี ว ยลดการกินแบตเตอรีข่ อง iOS 7 ลงในระดับหนึ่ง เพื่อชวยใหการใชงานแบตเตอรี่นานขึ้น 1. เปด Reduce Motion (ปด Parallax) ตัวของ Reduce Motion ก็คอื ลักษณะการแสดงผลทีเ่ สมือน วาไอคอนแอพกับภาพวอลลเปเปอรเบื้องหลังแยกชั้น (layer) ออก จากกัน ซึง่ หลายคนอาจคุน เคยในชือ่ เรียกชวงแรก ๆ ชือ่ วา Parallax นั่นเอง แนนอนวาการใชเอฟเฟคทการแสดงผลแบบนี้ จะตองใช พลังงานมากกวาการแสดงผลแบบภาพนิง่ ตามปกติ ไมมกี ารแยกชัน้ layer ประกอบกับอาจทําใหผูใชหลายทานเวียนหัวได การปด Reduce Motion ใน iOS 7 สามารถทําไดโดยเขาไปที่ • ภาษาอังกฤษ : Settings > Accessibility > Reduce Motion > เลือกใหเปน On • ภาษาไทย : การตั้งคา > การชวยการเขาถึง > ลดการ เคลื่อนไหว > เลือกเปดสวิทช (ทําใหเปนสีเขียว) เพียงเทานี้ไอคอนและภาพวอลเปเปอรก็จะไมแยก layer แบบ เดิมแลว นาจะชวยลดการกินแบตและชวยลดอาการเวียนหัวลงไดบา ง 2. ปด Dynamic Wallpaper อีกหนึง่ คุณสมบัตทิ เี่ พิม่ เขามาใน iOS 7 ก็คอื ภาพวอลลเปเปอร ทีส่ ามารถเคลือ่ นไหวได หรือทีเ่ รียกวา Live Wallpaper และแนนอน วามันกินแบตเตอรี่มากกวาภาพนิ่งพอสมควร ดังนั้นถาใครอยาก ประหยัดแบตใน iOS 7 ก็ควรจะปดไป การปด Dynamic Wallpaper ก็ไมยาก เพียงแคเปลีย่ นภาพ วอลเปเปอรเปนภาพนิ่งเทานั้นเอง 3. ปด AirDrop AirDrop เปนฟเจอรสาํ หรับรับสงไฟลกบั เครือ่ งทีใ่ ชงาน iOS 7 ดวยกัน โดยใช WiFi เปนตัวกลาง (ลักษณะใกลเคียงกับ WiFi Direct) แตทําออกมาใหใชงานไดงายกวา สามารถเลือกไดวาจะใหทุกคนที่ อยูในบริเวณนั้นมองเห็นเครื่องเรา หรือจะใหเฉพาะคนที่อยูในบัญชี รายชือ่ ของเราเทานัน้ ทีจ่ ะมองเห็นและรับสงไฟลกบั เราได ซึง่ การใชงาน AirDrop นัน้ จําเปนจะตองเปดใชงานทัง้ WiFi และ Bluetooth สงผล ใหกินแบตเตอรี่เอาเรื่องทีเดียว
ดังนั้น ถาเราไมไดใชงาน AirDrop อยู ก็ควรจะปดการทํางาน ของมันเสีย ซึ่งการเปดและปด AirDrop สามารถทําไดโดยลากนิ้ว จากดานลางจอขึ้นมาเพื่อเรียกแถบ Control Center จากนั้นกดที่ คําวา AirDrop แล วกดปด/Off พอกดปดแลว ก็ใหกดปดการ เชื่อมตอ WiFi กับ Bluetooth ตามที่ตองการ (ถาจะใช WiFi ตอ ก็ไมตองกดปด WiFi นะ) 4. ปดการเชื่อมตอพื้นฐานเมื่อไมจําเปน วิธีนี้จัดเปนวิธีพื้นฐานสําหรับการประหยัดแบตเตอรี่ นั่นคือ การปดการเชื่อมตอที่ไมจําเปน เชน WiFi/3G/Bluetooth/GPS แถมใน iOS 7 ก็ยังปดงายกวาเดิมดวย เพราะมีทางลัดใหปด WiFi และ Bluetooth ไดจากแถบ Control Center เลย สวนการปด WiFi/3G/Bluetooth จากในเมนู Settings ก็ สามารถทําไดเชนเดิม นอกจากนี้ ถาใครอยากปด GPS (Location) สามารถเขาไปไดที่ เมนู Settings > Privacy > Location Services จากนัน้ ก็ปด สวิทช ถาเปนเมนูภาษาไทยก็ใหเขาทีเ่ มนู ความเปนสวนตัว > บริการหาที่ตั้ง แลวกดปดสวิทชเชนเดียวกัน 5. ปดการดึงขอมูลเบื้องหลัง บางแอพพลิเคชันจะสามารถใชสิทธิ์ในการดึงขอมูลเบื้องหลัง เพือ่ อัพเดตขอมูลในเครือ่ งใหทนั สมัยเปนระยะ ๆ แบบอัตโนมัติ โดยที่ เราไมตองกดเปดแอพเลย ซึ่งอาจชวยเพิ่มความสะดวกใหเราก็จริง แตกม็ กี ารใชงานแบตเตอรีด่ ว ยเชนกัน ถาใครอยากลดการใชพลังงาน ของระบบลง ลองปดฟเจอรนี้ได วิธีปด • ภาษาอังกฤษ : Settings > General > Background App Refresh > กดสวิทชปด หรือเลือกปดอันที่ตองการ • ภาษาไทย : ทั่วไป > ดึงขอมูลใหมของแอพอยูเบื้องหลัง > กดสวิทชปด หรือเลือกปดอันที่ตองการ เพียงเทานี้ ก็นาจะชวยเพิ่มระยะเวลาการใชงานแบตเตอรี่บน iOS 7 ไดบางพอสมควร
24
Energy#60_p22,24_Pro3.indd 24
10/11/13 11:01 PM
Energy Award เด็กปา
KMITL INNOVATIVE AWARD 2013 เวทีโชวกึ๋นนวัตกรรมดานพลังงาน หากพู ด ถึ ง เรื่ อ งพลั ง งานนั้ น มี ค วามจํ า เป น กั บ มวลมนุ ษ ยชาติ ม าตั้ ง แต สมัยดึกดําบรรพ แตในปจจุบนั นัน้ มีความจําเปนมากยิง่ ขึน้ เพราะพลังงานในอนาคต ขางหนาเริ่มหมดลงทําใหผูคนเห็นคุณคามากขึ้น และพยายามหาแนวทางการ ประหยัดพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ
การส ง เสริ ม การใช พ ลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจึ ง เป น บทบาทสํ า คั ญ ของหน ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน โดยได มี ก ารส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให เ กิ ด งานวิ จั ย ด า นพลั ง งานในหลายรู ป แบบ ทั้ ง การสนั บ สนุ น งบประมาณ การใช พลั ง งานทดแทน การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน เพื่ อ การพั ฒ นาและส ง เสริ ม ให เ กิ ด เทคโนโลยีใหม ๆ ดานการประหยัดพลังงานในอนาคต การจัดประกวดถือเปนแนวทางหนึ่งในการสงเสริมเพื่อใหเกิดการพัฒนา นวัตกรรม อุปกรณประหยัดพลังงานใหม ๆ เพือ่ รองรับการใชพลังงานอยางประหยัด และยังเปนการกระตุนใหเกิดจิตสํานึกดานการอนุรักษพลังงานในบุคคลทั่วไป
25
Energy#60_p25-27_Pro3.indd 25
10/11/13 10:54 PM
ส ถ า บั น เ ท ค โ น โ ล ยี พ ร ะ จ อ ม เ ก ล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง เป น หน ว ยงานหนึ่ ง ที่ จั ด โครงการประกวดนวั ต กรรมด า นพลั ง งาน ในโครงการ KMITL INNOVATIVE AWARD โดยเริ่มจัดประกวดครั้งแรกในป 2012 และไดรับ การตอบรั บ จากนั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาทั่ ว ประเทศ เป น อย า งดี ในป นี้ จึ ง จั ด ประกวดขึ้ น เป น ป ที่ 2 (KMITL INNOVATIVE AWARD 2013) ภายใต แนวคิด “นวัตกรรมพลังงานเพื่อประเทศไทย” หรือ INNOVATIVE ENERGY FOR THAILAND ชิงถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี วัตถุประสงคสาํ คัญของโครงการ เพือ่ แสดง ใหเห็นถึงศักยภาพของเด็กไทยในการใชหลักการ ความรู ความคิ ด สร า งสรรค และจิ น ตนาการ พั ฒ นาผลงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ น วั ต กรรมอุ ป กรณ ประหยั ด พลั ง งานที่ ส ามารถลดการใช พ ลั ง งาน หรือสรางแนวทางใหม ๆ ในการใชพลังงานเพื่อ เป า หมายสู ก ารบริ ห ารจั ด การการใช พ ลั ง งาน อยางมีประสิทธิภาพ และยังชวยสรางจิตสํานึก รักษพลังงานใหแกประชาชนในสังคม หนวยงาน องคกรตาง ๆ ของภาครัฐและเอกชน ใหตระหนักถึง ปญหาวิกฤติพลังงานที่จะเกิดขึ้นในประเทศไทย และตอมวลมนุษยชาติในอนาคตอันใกล พรอมทั้ง หาแนวทางป อ งกั น และแก ไ ขร ว มกั น ซึ่ ง เป น สิ่งสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศชาติตอ ไปในอนาคต อยางไรก็ตาม การประกวดในปนี้มีผลงานที่ สงเขาประกวดกวา 100 โรงเรียนทั่วประเทศ และ ไดประกาศผลออกมาแลววาทีมใดไดรับรางวัลบาง ซึ่งแตละผลงานมีความโดดเดนไมแพกันครับ
สําหรับผลงานทีไ่ ดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก ทีม The Winner 1 โรงเรียน สุ ร าษฎร พิ ท ยา จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี กั บ ผลงาน “ผลิ ต ภั ณ ฑ GBC ที่เลี้ยงดวยนํ้าทิ้งจากการทํายางแผนดิบ” เปนผลงานที่คิดคนหาวิธีการกําจัด นํ้าเสียจากการทํายางแผนดิบ โดยนํานํ้าเสียมาประยุกต ใชใหเกิดประโยชน ด ว ยการนํ า แบคที เ รี ย บางชนิ ด มาเลี้ ย งในนํ้ า เสี ย ที่ มี ค วามเป น กรดสู ง และ นํามาผลิต Gelatinous Bacterial Cellulose (GBC) เพือ่ ปรับปรุงและประยุกต ใชเปนผลิตภัณฑทดแทนพลาสติก นอกจากนี้ นํา้ ทีไ่ ดจากการเพาะเลีย้ งแบคทีเรีย เซลลูโลสยังมีสภาพเปนกรดสามารถนํามาทําเปนยางแผนดิบไดอีกดวย จากการสั ม ภาษณ ตั ว แทนที่ ไ ด รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ นางสาวอรวรรณ ทัศนเบญจกุล จาก ทีม The Winner 1 ไดแสดงความคิดเห็นวา “ตนเองและ เพื่อน ๆ ในทีม ไดทราบรายละเอียดของการประกวดจากทางโรงเรียน เห็นวาเปน โครงการทีน่ า สนใจมาก และเปนโครงการทีม่ ปี ระโยชน ทีเ่ ปดโอกาสใหเยาวชนไทย ไดแสดงความรู ความสามารถ และเปนประสบการณที่ดี จึงไดปรึกษากับอาจารย เพือ่ สงผลงานเขารวมประกวด โครงการ “KMITL INNOVATIVE AWARD 2013” เปนโครงการที่ทําใหตนและเพื่อน ๆ ไดใชความรูที่เรียนมาปรับปรุง ประยุกต และสรางเปนผลงานวัตกรรมดานการประหยัดพลังงานที่เปนประโยชนกับชุมชน โดยผลงานที่สงเขาประกวดนี้ คํานึงถึงประโยชนการประหยัดพลังงานหรือการ ลดใชพลังงานเปนหลัก คือการหาวัตถุดิบทดแทนพลาสติกที่มีการผลิตโดยไม ใชพลังงาน และการที่ไดรับรางวัลชนะเลิศในโครงการนี้ ตนและเพื่อน ๆ ดีใจมาก ที่สามารถแสดงใหสังคมไดเห็นถึงความสามารถของเด็กไทย อีกทั้งผลงานที่ได ประดิษฐขนึ้ มายังสามารถตอบแทนและชวยเหลือสังคมไดอกี ดวย หากมีโครงการนี้ อีกในปหนาจะเขารวมประกวดแนนอน”
26
Energy#60_p25-27_Pro3.indd 26
10/11/13 10:54 PM
สวน รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ไดแก ทีมปากปลา โรงเรียนปลาปากวิทยา จังหวัดนครพนม กับผลงาน “เตายาง 3in1” เปนผลงานทีม่ แี นวคิดมาจากการนําพลังงาน ความร อ นทั้ ง หมดจากการหุ ง หาอาหาร มาใชใหเกิดประโยชนสูงที่สุด โดยวิธีการ ใชงานนั้นจะนําอาหารที่ตองการยางมายาง บนเตา แลวนําเตาซึง่ บรรจุถา นไมมาวางตรง กลางถังแลวปดฝา ซึง่ จะทําใหเกิดความรอน ภายในถัง และเมือ่ อากาศรอนลอยขึน้ ดานบน จะเคลื่อนที่ผานลูกหมุนระบายอากาศ ที่ติด อุปกรณผลิตกระแสไฟฟาไว ทําใหไดพลังงาน ไฟฟามาใชงานไดอีกดวย รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ไดแก ทีม Lemon Auto Project โรงเรียนทาขาม พิทยาคม จังหวัดชลบุรี กับผลงาน “เครือ่ ง ลางและคัดขนาดผลมะนาวพลังงานสะอาด” เปนการนําพลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย มาเปลีย่ นเปนพลังงานไฟฟาสําหรับใชอาํ นวย ความสะดวกในการลาง การเช็ด และการ คัดแยกขนาดผลมะนาว ซึ่งผลงานดังกลาว มี แ นวคิ ด มาจากเกษตรกรผู ป ลู ก มะนาว ทีต่ อ งมีการเก็บและคัดขนาดของผลมะนาวให ไดขนาดตามความตองการ และหากตองการ ใชเครื่องชวยคัดแยกก็จําเปนตองลงทุนซื้อ เครื่องในราคาสูง ทําใหเสียตนทุนมาก อีก ทั้งเกษตรกรผูปลูกมะนาวและผูนํามะนาว ไปบริโภคจะไมไดลางผลมะนาวกอนนําไปใช ซึง่ มีสารปนเปอ น สารเคมีตกคาง หรือเศษดิน เศษทรายตาง ๆ จับอยูที่ผิวของผลมะนาว สงผลใหผูบริโภคไดรับสารพิษหรือเชื้อโรค ตาง ๆ เขาสูรางกาย จึงไดคิดคนสิ่งประดิษฐ ในการชวยเหลือเกษตรกรขึ้นมา เปนอีกหนึง่ โครงการทีน่ า สนใจไมนอ ย สําหรับโครงการ “KMITL INNOVATIVE AWARD” ซึ่ ง น อ ง ๆ นั ก เรี ย นที่ พ ลาด โอกาสในการสงผลงานเขารวมประกวดใน ปนี้ เตรียมตัวใหพรอมและสงผลงานเขา รวมประกวดไดอีกในป 2014 ซึ่งสถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบั ง บอกวา จะยั ง คงจั ด โครงการนี้ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ เปดโอกาสใหเยาวชนไทย ทั่ ว ประเทศได ร ว มสร า งสรรค น วั ต กรรม ด า นการประหยั ด พลั ง งาน ได คิ ด ค น สิ่งประดิษฐ ใหม ๆ ดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ที่ถือเปนรากฐานสําคัญในการ พั ฒ นาประเทศให ทั ด เที ย มกั บ นานาชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งดานพลังงานซึ่งถือเปน ปจจัยสําคัญในการใชชีวิตประจําวันสําหรับ มนุษยเรา
ผลงาน เครื่องชาร์จ พลังงานลม
ผลงาน เครื่องเตือน ระดับน้ํา อัตโนมัติ
ปหนาเปดรับสมัครในวันที่เทาไหร เดือนไหนนั้น สามารถติดตามรายละเอียด ไดที่ ฝายสารนิเทศและประชาสัมพันธ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง โทรศัพท 0-2329-8111 / 0-2635-7775 หรือเขาไปที่ www.kmitlaward.com ไดเลยครับ 27
Energy#60_p25-27_Pro3.indd 27
10/11/13 10:54 PM
Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร
ชไนเดอร เปดโรงงานบางปู ....โชวมาตรฐานการจัดการพลังงาน
ผมนัง่ จิตนาการยอนมองอดีตไปในยุคทีไ่ มมไี ฟฟาใช ตามที่ ปู ยา ตา ยาย เคยเลาใหฟง ถึงการใชชวี ติ ในยุคนัน้ เลยตั้งคําถามในใจวาทําไมเขาถึงอยูกันอยางมีความสุขได ทัง้ ๆ ทีไ่ มมไี ฟฟา ไมเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาชวยใหการดํารง ชีวิตเกิดความสะดวกสบาย แตในปจจุบันเราคงจะปฏิเสธ ไมไดวาในยุคของเทคโนโลยี ยุคของอุตสาหกรรม นั้น มีบทบาทอยางมากกับการใชชวี ติ ของคนเราซึง่ นําไปสูก ารใช ทรัพยากรธรรมชาติเพือ่ ผลิตไฟฟา และการผลิตเชือ้ เพลิง ในจํ า นวนมหาศาลเพื่ อ รองรั บ กั บ ความเจริ ญ ก า วหน า ทางเทคโนโลยี และการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม จากปจจัยดังกลาวโรงงานอุตสาหกรรมจึงไดหาวิธกี าร ประหยัดพลังงาน โดยเริ่มจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สรางจิตสํานึกใหกับพนักงาน การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี และอุปกรณประหยัดพลังงานในกระบวนการผลิต ซึ่งเปน อีกหนึง่ ปจจัยสําคัญทีน่ อกจากจะชวยลดตนทุนดานพลังงาน แลวยังชวยลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ ลดการปลอย กาซเรือนกระจกอันเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดภาวะโลกรอน
28
Energy#60_p28_Pro3.indd 28
10/18/13 11:26 PM
โรงงาน ชไนเดอร อิเล็คทริค ไทยแลนด ก็เชน เดียวกันทีไ่ ดตระหนักถึงเรือ่ งการประหยัดพลังงาน ซึ่งนอกจากพัฒนาเทคโนโลยี และโซลูชั่นเพื่อเปน ทางเลือกในการลดการใชพลังงานใหกบั หนวยงาน หรือบริษทั อืน่ ๆ แลวยังไดนาํ มาเปนทางเลือกในการ ประหยัดพลังของโรงงานชไนเดอร บางปูดว ยเชนกัน เพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ทัง้ นีภ้ ายใตโครงการ Schneider Energy Action program หรื อ แผนปฏิ บั ติ ก ารด า น พลังงานระดับโลก เพื่อมุงเนนการลดใชพลังงาน ของโรงงานชไนเดอร อิเล็คทริค นั้นไดมีการใช ผลิ ต ภั ณ ฑ และโซลู ชั่ น ด า นประหยั ด พลั ง งาน (Energy Efficiency) มาชวยในการบริหารจัดการ พลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด เพื่ อ ช ว ย ลดตนทุนคาใชจายดานพลังงาน และลดคารบอน ฟุตพริน้ ท ดวนการดําเนินการ 4 ขัน้ ตอนหลักในการ จัดการพลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ (Active Energy Efficiency) เริ่มจากขั้นตอนที่ 1.ตรวจสอบและ วัดคาการใชพลังงาน (Measure) 2.แกไขเรื่อง พืน้ ฐาน (Fix the basic) เชน ติดตัง้ อุปกรณทใี่ ช พลังงานนอย แกไขปจจัยทีท่ าํ ใหเกิดการใชพลังงานสูง 3.ติดตั้งระบบจัดการพลังงานแบบอัตโนมัติเพื่อ ชวยลดพลังงานและคาใชจา ย (Optimize through automation and regulation) เชน การติดตัง้ ระบบควบคุมแสง และขัน้ ตอนที่ 4.การตรวจสอบ และควบคุ ม (Monitoring & Control) เช น การติดตัง้ ตัววัดการใชพลังงาน และระบบวิเคราะห ประสิทธิภาพการใชพลังงาน
นอกจากนี้ ก ารอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ของโรงงานชไนเดอร ยั ง มี ก ารจั ด การ พลั ง งานอย า งเป น รู ป ธรรมที่ ชั ด เจน ไมวาจะเปนการปรับปรุงการใชทรัพยากร ด า นพลั ง งานให คุ ม ค า กั บ การลงทุ น การจัดทําระบบเอกสารและการรายงาน ปรับปรุงดานพลังงานเพื่อลดคาใชจาย และเพิม่ ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ตลอดจนการจัดการในโครงการทีเ่ กีย่ วของ กับการลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด ทีป่ ลดปลอยออกไป เพือ่ การบริหารจัดการ พลังงานไดอยางยั่งยืน อยางไรก็ตามถึงแมโรงงานชไนเดอร ยังไมไดตดิ ตัง้ โซลูชนั่ การประหยัดพลังงาน เต็ ม 100 เปอร เ ซ็ น ต แต ใ นป จ จุ บั น ก็ ยังชวยให สามารถประหยัดพลังงานได ถึ ง 25.6 เปอร เ ซ็ น ต ต อ ป หรื อ ป ล ะ 236 เมกกะวัตตชั่วโมง เทียบเทาการลด การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากถึง 142 ตัน
29
Energy#60_p28-30_Pro3.indd 29
10/17/13 10:06 PM
ซึง่ การดําเนินการดานอนุรกั ษพลังงาน และสิ่งแวดลอมดังที่กลาวมาขางตนนอกจาก ชวยใหเกิดการประหยัดพลังงานแลวยังทํา ให ช ไนเดอร มี กํ า ไรมากขึ้ น จากต น ทุ น ด า น พลังงานที่ลดลง และยังชวยใหไดมาตรฐาน ใบรับรอง ISO 50001 ที่สามารถการันตีถึง การประหยัดงานและประสิทธิภาพการจัดการ ดานพลังงานภายในองคกรไดเปนอยางดี เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด า นพลั ง งาน โรงงานชไนเดอรบางปูยังไดติดตั้ง“พาวเวอร โลจิค มอนิเตอร” ที่ชวยใหสามารถมอนิเตอร การใช พ ลั ง งานแบบเป น สั ด ส ว น รวมถึ ง การแก ไ ขเรื่ อ งพื้ น ฐานของการประหยั ด พลังงานอยางการเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศ ให มีค วามสัมพันธกั บขนาดของหองแตล ะ หองพรอมอุปกรณควบคุม โดยระบบควบคุม ความเย็ น ภายในโรงงานได เ ปลี่ ย นเป น แบบใชไฮโดรคารบอน ตลอดจนอุปกรณ ควบคุ ม ระบบป ม นํ้ า เพื่ อ ใช ใ นสายการ ผลิ ต ซึ่ ง ช ว ยให เ กิ ด การประหยั ด พลั ง งาน ไดอยางชัดเจนมากขึ้น นอกจากนี้ ยั ง ได มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น อุ ป กรณ อื่ น ๆ เช น หลอดไฟ ที่ นี่ ไ ด มี ก ารเปลี่ ย นมาใช ห ลอดฟลู อ อเรสเซนต (Fluorescent Lamp) แบบ T5 ที่ใชไฟนอย การเปลี่ ย นมาใช ห ลอดตะเกี ย บ โดย อุ ป กรณ ต า งๆ ทั้ ง หมดต อ เชื่ อ มกั บ ระบบ StruxureWare ที่ ทํ า ให ส ามารถประเมิ น ประสิทธิภาพการใชพลังงานไดอยางแมนยํา และชวยทําใหออกแบบกลยุทธหรือกิจกรรม ในการลดการใชพลังงานได การจัดกิจกรรมสนับสนุนใหพนักงาน มีสวนรวมในการดําเนินจัดการไมวาจะเปน การร ว มกั น ดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม ผ า น โครงการ Use Your Legs ลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม รวมถึงการรณรงคใหพนักงาน ช ว ยกั น ป ด ไฟ ป ด แอร ก อ นเวลาพั ก เที่ ย ง หรือเลิกงาน 15 นาที เพื่อใหทุกคนไดมี สวนรวมในการประหยัดพลังงาน และเปด โอกาสใหพนักงานทุกคนสงขอเสนอแนะใน การปรับปรุงและชวยประหยัดพลังงาน หาก คําแนะนํานั้นทางผูบริหารและคณะกรรมการ พลังงานเห็นวามีประโยชน และนําไปสูการ ปฏิ บั ติ จ ริ ง พนั ก งานผู เ สนอแนะจะได รั บ รางวัลตอบแทน ซึ่งเปนวิธีหนึ่งในการจูงใจ ใหพนักงานเกิดจิตสํานึกและรวมกันลดใช พลังงาน ซึ่งก็ไดรับการตอบรับจากพนักงาน เปนอยางดีในการใหความรวมมือ นอกจากนี้ ยังไดรณรงคใหชุมชนใกลเคียงรูจักการนํา ของเหลื อ ใช ก ลั บ มาใช ใ หม เพื่ อ ให ชุ ม ชน ชาวบ า นเห็ น คุ ณ ค า และใช ป ระโยชน จ าก ของเหลือใชไดอยางมีประสิทธิภาพ
การดําเนินดานการประหยัดพลังงาน ที่ผานมาของ โรงงาน ชไนเดอร อิเล็คทริค นอกจากไดมาตรฐาน ISO 50001: 2011 แหงแรกในภาคพื้นเอเชียตะวันออก ยังชวย ใหไดรับรองมาตรฐานการประหยัดพลังงาน มาตรฐานอืน่ อีกดวย ไมวา จะเปน ISO 9002 , ISO 9001, ISO 14001, OSHAS 18001 และยั ง คงเดิ น หน า ต อ ไปเพื่ อ เป า หมาย การใช พ ลั ง งานที่ ล ดลงในทุ ก ๆ ป ต อ ไป โดยมี แ ผนติ ด ตั้ ง เทคโนโลยี โ ซลาร เ ซลล บนหลั ง คาของลานจอดรถ เพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟ า ใช ใ นโรงงานอุ ต สาหกรรม ในชวงเวลากลางวัน และเพื่อการประหยัด พลั ง งานที่ ม ากขึ้ น ซึ่ ง ที่ ก ล า วมาทั้ ง หมด เ ป น วิ ธี ห นึ่ ง ที่ ช ว ย ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต อ สิ่ ง แวดล อ มหรื อ ชะลอการหมดลงของ พลั ง งานธรรมชาติ ที่ ไ ม ส ามารถแก ไ ข ใหเปนเหมือนดังเชนในอดีตได
30
Energy#60_p28-30_Pro3.indd 30
10/17/13 10:06 PM
Energy#60_p31_Pro3.indd 31
10/24/13 11:18 PM
Residence รังสรรค อรัญมิตร
สําหรับเดือนพฤศจิกายนอากาศ ในหลายพืน้ ทีข่ องประเทศไทยเริม่ เย็นลง โดยเฉพาะพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือของประเทศไทย ซึง่ ในชวงนี้ หลายคนคงมีโปรแกรมเดินทางทองเทีย่ ว ไวแลววาจะไปสัมผัสไอหนาวกันทีไ่ หน
à´ÍÐ ¡ÃÕ¹à¹ÍÃÕ่ ÃÕÊÍà ·Ï ....์¹¸ÃÃÁªÒμÔª‹ÇÂŴ㪌¾Åѧ§Ò¹ เมือ่ พูดถึงบรรยากาศในชวงฤดูหนาวแลวเขาใหญเปนสถานที่ แหงหนึง่ ทีย่ งั คงมีเสนหส าํ หรับนักทองเทีย่ วเดินทางมาเยือน เพือ่ สัมผัส อากาศหนาว ซึง่ บริเวณโดยรอบอุทยานแหงชาติเขาใหญนนั้ มีสถานที่ พักผอนหลายแหงใหเลือกพักผอนกัน โรงแรม เดอะ กรีนเนอรี่ รีสอรท เขาใหญ อีกหนึง่ สถานที่ พักผอนทีห่ นาสนใจเนือ่ งจากไมเนนการออกแบบเพือ่ ความสวยงาม เพียงอยางเดียว แตยงั ใหความสําคัญเรือ่ งการอนุรกั ษพลังงานและ สิง่ แวดลอมดวย โดยดําเนินการภายใตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ การนําธรรมชาติสงิ่ แวดลอมมาเปนสวนสําคัญในการลดใชพลังงาน สําหรับการออกแบบของ เดอะ กรีนเนอรี่ รีสอรท นัน้ เปนแนว โมเดิรน เทรนดีท้ ผี่ สมผสานจิตวิญญาณพืน้ ทีส่ เี ขียวของปาเขาเอาไว ไดอยางกลมกลืน และออกแบบใหมรี ะเบียงหนาตาง เพือ่ ใหทกุ หอง สามารถชมวิวทิวทัศนอนั สวยงามของเขาใหญไดรอบทิศ สรางความ ผอนคลายกับผูม าเยือนและยังชวยใหเกิดการประหยัดพลังงานอีกดวย เนือ่ งจากสามารถเปดชองรับแสงธรรมชาติชดเชยแสงสวางภายใน รวม ถึงเปดรับลมจากธรรมชาติมาชดเชยการเปดเครือ่ งปรับอากาศ และให ลูกคาไดสมั ผัสโอโซนของเขาใหญทมี่ อี ากาศเย็นสบายตลอดทัง้ ป โดย เฉพาะชวงฤดูหนาวยิง่ ไมตอ งเปดเครือ่ งปรับอากาศเลยครับ เรียกไดวา เปนการพึ่งพาธรรมชาติหรือการนําเอาธรรมชาติมาชวยลดการ ใชพลังงานไดเปนอยางดีครับ 32
Energy#60_p32-33_Pro3.indd 32
10/15/13 9:49 PM
นอกจากนี้ เพือ่ ใหการประหยัดพลังงาน เกิดประสิทธิภาพสูง โรงแรมแหงนี้ยังไดมี การปรับเปลีย่ นมาใชหลอดประหยัดพลังงาน ไมวา จะเปนหลอดตะเกียบ หลอดฟลูออเรสเซนต T5 และหลอดแอลอีดี รวมถึงการปรับเปลีย่ น มาใชเครือ่ งปรับอากาศประหยัดพลังงาน ในสวนของ LIFE Park หรืออุปกรณ เครื่องแบบ Adventure ทั้งหมดใชระบบ ไฟฟาในการผลักดันประมาณ 10% ใชนาํ้ มัน 5% นอกเหนือจากนัน้ 85% ใชแรงเวียงดวย ระบบเครือ่ งกลประหยัดพลังงานซึง่ ชวยลดใช พลังงานในสวนนี้ และภายใตปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงโรงแรมแหงนี้ไดมีการคัดแยกขยะ เปนสัดสวน โดยขยะทีเ่ ปนขวดแกว พลาสติก กระดาษ คัดแยกไวจาํ หนายและนําไปรีไซเคิล สวนเศษอาหาร พืชผัก นําไปจัดการทําเปนนํา้ หมักชีวภิ าพเพือ่ นําไปใชสาํ หรับบําบัดนํา้ ทีผ่ า น การใชงานแลว โดยการเติบเขาระบบบําบัดและ เมือ่ มีการบําบัดนํา้ แลวก็จะนํามาหมุนเวียนกลับ มารดนํา้ ตนไม การดําเนินภายใตเศรษฐกิจพอเพียง เดอะกรีนเนอรี่ รีสอรท ยังปลูกผักปลอดสารพิษ และปลูกไมดอก ไมประดับ ไวใชในโรงแรมซึง่ ไมตอ งซือ้ ผักสวนครัว และไมดอกไมประดับ เลย นอกจากชวยใหประหยัดคาใชจายแลว สวนเกษตรแบบพอเพียงแหงนีย้ งั เปดโอกาส ใหชาวบานชุมชนใกลเคียงสามารถเขามาขอ รับการอบรมเรียนรูก ารทําปุย หมัก การปลูก ผักปลอดสารพิษ และเศรษฐกิจพอเพียงตาม แนวพระราชดํารัชทีเ่ ปนปรัชญาชีแ้ นวทางการ ดํารงชีวติ อีกดวยครับ
เพือ่ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมของ เดอะ กรีนเนอรี่ รีสอรท ยัง ไดนาํ นโยบายการประหยัดแบบมีสว นรวมของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงานมาประยุกตใช ภายในองคกร เพือ่ ปลุกจิตสํานึกและใหพนักงานมีสว นรวมในการประหยัดพลังงาน อยางแมบา นจะทําความ สะอาดหองพักทีน่ ี่ จะไมมกี ารเปดแอร เปดไฟ ในการทําความสะอาด โดยจะเปดประหนาตางแทน และรณรงค ใหพนักงานปดนํา้ ปดไฟ เมือ่ ไมใช นอกจากนี้ ภายในหองพักทีน่ ไี่ ดตดิ ปายประกาศหรือแผนพับทีม่ ขี อ ความ ชวยประหยัดพลังงานไวในหองนอนและหองนํา้ เพือ่ รณรงคใหลกู คาทีเ่ ขามาพักผอนรวมกันประหยัดพลังงาน อีกดวย เรียกไดวา เปนโรงแรมหนึง่ ทีน่ าํ เอาปรัชญาพอเพียงและธรรมชาติสงิ่ แวดลอมมาชวยลดใชพลังงานให เกิดประสิทธิไดเปนอยางดี อยางไรก็ตาม สําหรับผูท ยี่ งั นึกไมออกวาจะไปสัมผัสกลิน่ อายแหงลมหนาวทีไ่ หน เดอะ กรีนเนอรี่ รีสอรท เขาใหญ ยังรอทุกทานไปเยือน แลวเลมหนามาติดตามกันดูวา จะไปเยือนทีพ ่ กั ทีใ่ สใจพลังงานกันทีไ่ หนครับ
33
Energy#60_p32-33_Pro3.indd 33
10/15/13 9:50 PM
Energy Design รังสรรค อรัญมิตร
ซึ่งการออกแบบสวนใหญจะคํานึงถึงสภาพ แวดล อมของแต ละพื้น มาเปนโจทยกําหนดการ ออกแบบทีม่ คี ณ ุ ภาพ ประกอบกับ การศึกษาทิศทาง แดดและลมอยางละเอียด เพือ่ ใหเกิดความเหมาะสม กับการใชประโยชนของผูอ ยูอ าศัย และเพือ่ ความยัง่ ยืน ยังไดคาํ นึงถึงการเลือกใชวสั ดุทม่ี อี ยูใ นทองถิน่ รวมถึง การออกแบบไมใหเสียเศษ ตลอดจนการเลือกระบบ ประหยัดพลังงานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อชวยลดผล กระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มและช ว ยลดการสู ญ เสี ย พลังงาน ขอยกตัวอยางผลงานการออกแบบที่อยู อาศัยของตางประเทศที่มีความโดดเดนมาแนะนํา เพือ่ อัพเดทไอเดียใหไดรจู กั กัน “เอจแลนด เฮาส” บานหรูในเมืองออสติน เมืองหลวงของรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ถูกเนรมิต ขึ้นมาใหเปนบานประหยัดพลังงาน ลํ้าสมัย และ โดดเดน ดวยสไตลรวมสมัย ดูคลายกอนเคกที่ ถู ก แบ ง สั ด ส ว น และออกแบบให ดู ก ลมกลื น กับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดเปนอยางดี
“
ปปจจุบันเราจะเห็นสิ่งประดิษฐหรือผลงานการออกแบบที่มีความ โดดเดน ลํ้าสมัย ประหยัดพลังงาน เกิดขึ้นมากมาย ซึ่งการออกแบบ ใหเกิดการประหยัดพลังงานนัน้ ไมเพียงเปนแคกระแสเทานัน้ แตยงั เปน ปจจัยหลักที่สถาปนิกและเจาของโครงการไดใหความสําคัญ
”
“เอจแลนด เฮ า ส ” บานฝงดินชวยประหยัดพลังงาน
34
Energy#60_p34-35_Pro3.indd 34
10/22/13 2:18 PM
ทัง้ นีก้ ารทีบ่ า นถูกออกแบบใหอยูใ นโพรงลึก และถูกโอบลอมดวยผืนดินกลับกลายเปนขอดี เพราะจะชวยใหอากาศภายในบานเย็นสบายตลอด ฤดูรอนและอบอุนในชวงฤดูหนาว ซึ่งชวยประหยัด พลังงานไดเปนอยางดี เหมาะกับสภาพอากาศของ รัฐเท็กซัส ทีม่ อี ากาศหนาว แตหากจะนํามาประยุกต ออกแบบในประเทศไทยก็สามารถทําไดในพืน้ ทีท่ าง ภาคเหนือและภาคอีสาน โดยเฉพาะพื้นที่บนดอย นอกจากนี้ ในส ว นของหลั ง คาซึ่ ง ได รั บ แรงบันดาลใจมาจากศิลปะการพับกระดาษแบบ ญี่ปุน หรือ “โอริ ก ามิ” ยังถู ก ออกแบบใหเปน “หลังคาสีเขียว” ที่ปกคลุมไปดวยดอกไมปาพันธุ พื้นเมืองนานาชนิด ซึ่งสามารถทําหนาที่เปนฉนวน ป อ งกั น ความร อ นและให ค วามเย็ น อี ก ชั้ น หนึ่ ง กอนเขาถึงตัวบาน
โดย เอจแลนด เฮาส นัน้ เปนผลงาน การออกแบบของบริ ษั ท สถาปนิ ก ที่ ชื่ อ “เบอร ซี่ เฉิ น ” ได รั บ แรงบั น ดาลใจการ ออกแบบมาจาก pit-house หรือ บานที่ อยูล กึ ลงไปในดิน โดยมีสว นของหลังคาโผล ขึน้ มาดานบน เปนบานเกาแกและดัง้ เดิมของ ชนพืน้ เมืองอเมริกนั ในสมัยโบราณ โดยบริเวณ ดังกลาวเคยเปนแหลงอุตสาหกรรมนํา้ มันและ กาซธรรมชาติ จึงมีรอ งรอยของการขุดเจาะ และฝงทอขนาดใหญเอาไวเปนแนวยาว เมือ่ มีการฟน ฟูทดี่ นิ ในบริเวณดังกลาวจึงจําเปน ตองรื้อแนวทอและสิ่งปลูกสรางออก สงผล ใหผนื ดินเต็มไปดวยหลุมบอมากมาย จากรองรอยในอดีต จึงเปนที่มาของ การออกแบบบานเอจแลนด เฮาส ภายใต แนวคิ ด ที่ ต อ งการเยี ย วยาบาดแผลหรื อ ร อ งรอยความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากภาค อุตสาหกรรม โดยการออกแบบนัน้ ไดคาํ นึง ถึ ง พื้ น ที่ ตั้ ง เพื่อใหสอดรั บกับสภาพของ ผืนดินที่มีลักษณะเปนโพรงลึกหลังทําการ รื้อทอกาซขนาดใหญของเชฟรอนออกจาก พื้นที่ โดยออกแบบใหสามารถใชประโยชน จากธรรมชาติมาชวยในการประหยัดพลังงาน ใหไดมากทีส่ ดุ พรอมทัง้ ยังเปนการคืนความ สวยงามใหกั บสภาพแวดล อม ตลอดจน ฟนฟูระบบนิเวศและรักษาพันธุ ไมประจําถิ่น ที่เคยเจริญเติบโตในพื้นที่ดังกลาวใหกับมา มีชวี ติ ชีวาอีกครัง้
เทานัน้ ยังไมพอ “เอจแลนด เฮาส” ยังมีระบบ บริหารจัดการดานพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด โดยการติดตัง้ ระบบ Heating Ventilation and Air Conditioning (HVAC) ซึ่ ง เป น ระบบทําความเย็นดวยวงจรของนํ้าเปนตัวสงถาย ความรอนและความเย็นใหกับระบบทําความรอน ระบบทํ า ความเย็ น ระบบระบายอากาศ และ เครื่องปรับอากาศ ซึ่งนอกจากประหยัดพลังงาน แลวยังชวยกรองอากาศใหบริสุทธิ์อีกดวย เรียกไดวา เปนการออกแบบใหเกิดความยัง่ ยืน ควบคูกับความหรูหราโดดเดนไดเปนอยางดี โดย ตัวบานถูกแบงออกเปนสองสวน คือ สวนของหอง นอน และพืน้ ทีใ่ ชสอยอืน่ ๆ รวมเนือ้ ทีภ่ ายในบาน ประมาณ 130 ตารางเมตร และเนือ่ งจากภายในบาน มีพื้นที่คอนขางจํากัด เจาของบานจึงมีไอเดียเก ไก ดวยการเตรียมรถเอนกประสงคไวเปนทีพ ่ กั สําหรับ แขกผูม าเยือน 35
Energy#60_p34-35_Pro3.indd 35
10/22/13 2:18 PM
Energy Knowledge เด็กเนิรด
“
ปจจุบนั สิง่ แวดลอมเปนพิษดวยฝมอื มนุษย การเปลีย่ นแปลงของโลกทุกวันนี้ หากพวกเราไมชว ยกันดูแลโลกกลม ๆ ใบนี้ แลวใครจะชวยดูแล อยางเชน การหันมาใช ผลิตภัณฑสเี ขียวกันในชีวติ ประจําวัน ก็สามารถชวยโลกเราไดไมมากก็นอ ย
”
¨ÒÃкÕÃÑ¡É ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ เมื่อเร็ว ๆ นี้ วารสาร Green Chemistry ไดตีพิมพผลงานวิจัยที่นาสนใจชิ้นหนึ่ง คือ “จาระบีสีเขียว” หรือ “จาระบีรักษสิ่งแวดลอม” ผลงานของคณะวิจัยจากมหาวิทยาลัย Huelva ประเทศสเปน José María Franco ผูน าํ คณะวิจยั เผยวา เนือ่ งจากตองการคิดคนจาระบีสตู รใหมทที่ าํ ขึน้ จากสารธรรมชาติทงั้ หมด สามารถยอยสลายไดในธรรมชาติรอ ยเปอรเซ็นต และไมมสี ารตกคาง หลงเหลือใหเปนมลภาวะตอสิ่งแวดลอมเหมือนจาระบีที่ใชกันอยูในปจจุบัน ซึ่งรวมไปถึงจาระบี อีซแี อลทีส่ าํ นักงานดานสิง่ แวดลอมออกมาตรการใหใชแทนจาระบีแบบเดิม จาระบีเปนผลิตภัณฑหลอลื่นที่มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลวเหมาะสําหรับการใชงานใน หลายจุดโดยเฉพาะสวนที่เปนตลับลูกปน แบริ่ง คันชักคันสง หูแหนบ หรือจุดที่นํ้ามันจะเกิด การรัว่ ไหลไดงา ย เนือ่ งจากนํา้ มันไมมคี วามหนืดเหมือนจาระบี สมบัตคิ วามหนืดนีจ้ ะชวยใหจาระบี เกาะติดเนือ้ งานไดดกี วา ดังนัน้ ในสวนของเครือ่ งจักรทีไ่ มสามารถใชนาํ้ มันหลอลืน่ ได จาระบีจงึ หลอลืน่ ไดสมบูรณ กวานัน่ เอง นอกจากนี้ จาระบียงั มีขอ ดีอกี อยางหนึง่ คือ ขอทีน่ าํ้ มันไมมี จาระบีสามารถใชเปน ตัวผนึก (sealant) หรือปดชองวางเพื่อปองกันฝุนและนํ้าที่จะเขาไปสรางความเสียหายใหกับ เครือ่ งจักรได จาระบี มี ส ว นผสมหลั ก สองชนิ ด ได แ ก นํ้ า มั น หล อ ลื่ น พื้ น ฐานที่ ทํ า จากนํ้ า มั น สังเคราะหหรืออนุพันธของนํ้ามันดิบ และสารเพิ่มความหนืด (thickener) หรือที่เรียกวา สารอุมนํ้ามัน ซึ่งทําจากสบูหรือเกลือของโลหะ (metallic soap) สบูโลหะที่ผสมลงไป นี้จะชวยอุมและจับเกาะสวนผสมอื่น ๆ เอาไว ทําใหจารบีขนเหนียว มีความคงตัวไมเยิ้ม เหลวเหมื อ นนํ้ า มั น นอกจากนี้ ผู ผ ลิ ต อาจเติ ม สารเพิ่ ม คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษอื่ น ๆ ได ต าม ความตองการ เชน สารปองกันสนิม สารปองกันการเกิดปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน่ สารรับแรงกดสูง และสารปองกันการสึกหรอ 36
Energy#60_p36-37_Pro3.indd 36
10/18/13 11:20 PM
ปญหาสิ่งแวดลอมจากสารหลอลื่น หรือจาระบีที่ ใชกันอยู ในปจจุบัน ถึงแมวานํ้ามันหลอลื่นพื้นฐานและสบูโลหะจะ ทําใหจาระบีทใี่ ชกนั อยูน นั้ มีประสิทธิภาพการใชงานทีด่ ี แตสารทัง้ สองชนิดนีเ้ ปนสารทีไ่ มสามารถยอยสลาย ไดตามธรรมชาติ และเปนตัวการสําคัญที่กอใหเกิด มลภาวะทางสิง่ แวดลอม จากการรายงานผลกระทบทางดานสิง่ แวดลอม ของนํา้ มันทีม่ สี ว นประกอบพืน้ ฐานทีไ่ ดจากนํา้ มันดิบ (mineral-based oil) ตัง้ แต นํา้ มันไฮดรอลิค นํา้ มัน อุตสาหกรรม และนํา้ มันหลอลืน่ อืน่ ๆ จากเครือ่ งจักร ทีป่ ลอยลงสูแ มนาํ้ ทะเล และพืน้ ดิน เปนจํานวนหลาย ลานตันตอป พบวา นํ้ามันเหลานี้มีความเปนพิษตอ สัตวนํ้า ขัดขวางการเจริญเติบโตของพืช และทําให นํ้าใตดินไมบริสุทธิ์เปนระยะเวลานานกวารอยป ผล กระทบที่รุนแรงทั้งหลายเหลานี้สงผลใหสํานักงาน ดานสิ่งแวดลอมตองออกมาตรการควบคุมการใช สารหลอลื่นประเภทดังกลาว และใหใชสารหลอลื่น ทีถ่ กู ออกแบบมาเพือ่ รักษาสิง่ แวดลอม หรือทีเ่ รียกวา อี ซี แ อล (Environmentally Considerate Lubricants : ECLs) แทน อีซแี อลเปนสารหลอลืน่ ชนิดใหมทเี่ กิดจากการ เปลีย่ นนํา้ มันหลอลืน่ พืน้ ฐานจากนํา้ มันดิบใหเปนนํา้ มัน พืช ทําใหอซี แี อลมีราคาสูงขึน้ แตจะปลอยสารระเหย อินทรียในอัตราทีช่ า ลง จึงทําใหมรี ะดับความเปนพิษ ทีต่ าํ่ ลงกวาสารหลอลืน่ ชนิดเดิม
“Oleogel” ทางเลือกที่ดีกวา แมวา อีซแี อลจะเปนทางเลือกทีด่ กี วา แตกไ็ มใช ทางเลือกทีด่ ที สี่ ดุ เพราะอีซแี อลยังมีสารใหความหนืด ที่ยังคงสรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอม ตางจากจาระบี รักษสิ่งแวดลอมสูตรใหมของ Franco ที่เรียกวา “Oleogel” Oleogel เปนสารทีท่ าํ จากสารธรรมชาติรอ ย เปอรเซ็นต ไมวา จะเปนนํา้ มันหลอลืน่ พืน้ ฐานทีท่ าํ จาก นํ้ามันละหุง (Castor Oil/Ricin Oil) และสารเพิ่ม ความหนืดทีใ่ ชสว นผสมของเอทิลและเมทิลเซลลูโลส ซึง่ เปนสารจากธรรมชาติทไี่ มคอ ยมีใครนึกถึง ดังนัน้ Oleogel จึงไมทงิ้ สารตกคางสะสมในสิง่ แวดลอม และ ยังมีประสิทธิภาพไมแพสารหลอลืน่ ชนิดเดิม Franco กลาววา Oleogel นี้ สามารถทนตอ อุณหภูมใิ นระดับสูง ๆ ไดเปนอยางดี จึงทําใหความ หนืดของมันไมเปลี่ยนแปลงไปมาก ตรงกันขามกับ จาระบีสตู รเดิม เมือ่ ไดรบั แรงเฉือ่ ยทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู ความ หนืดของมันจะเปลีย่ นแปลงไป จนสังเกตเห็นวามันจะ ไหลออกมาในปริมาณมาก ดังนัน้ เมือ่ ใชจาระบีกบั ลอแบริง่ ภายใตความเคน สูง จาระบีสตู รใหมนจี้ ะมีความคงตัว และเกาะติดเนือ้ งานไดดกี วา จึงไมจาํ เปนตองเติมบอยครัง้ นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการผลิตทีง่ า ยกวาเดิมอีกดวย อยางไร ก็ตาม งานวิจยั ชิน้ นีย้ งั อยูใ นชวงวิจยั ขัน้ ตน จึงตองใช เวลาคนควาเพิ่มเติมอีกสักระยะ เพื่อใหสารหลอลื่น มีคณ ุ ภาพและความเสถียรทางกลทีเ่ หมาะสม ขอบคุณขอมูลจาก MTEC 37
Energy#60_p36-37_Pro3.indd 37
10/18/13 11:20 PM
Tools & Machine ณ อรัญ
MGE Galaxy เครื่องสํารองไฟฟา …ความเสถียรที่มาพรอมความยืดหยุน เครื่ อ งสํ า รองไฟฟ า เป น เทคโนโลยี หนึ่งในระบบพื้นฐานประหยัดพลังงานที่มี ความจํ า เป น สํ า หรั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ทั้ ง ภาคอุตสาหกรรม และกิจกรรมเชิงพาณิชย ทุกประเภทเนือ่ งจากเครือ่ งสํารองไฟฟาไมได ถูกใชเพื่อสํารองไฟฟาอยางเดียวแตยังถูก ใชเปนสวนหนึ่งของกระบวนการผลิต ซึ่งถูก ออกแบบใหมีหลากหลายขนาดใหเหมาะสม กับการใชงานของแตละอุตสาหกรรมหรือขึน้ อยูกับความจําเปนในการใชงาน เชน เครื่อง สํารองไฟฟาทีใ่ ชสาํ หรับเครือ่ งคอมพิวเตอร เครื่องสํารองไฟฟาที่ใชสําหรับหนวยงาน หรือ ออฟฟศ ตลอดจนเครื่องสํารองไฟฟา สําหรับภาคอุตสาหกรรม โดยป จ จุ บั น นั้ น ถู ก พั ฒ นาให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการใช ง านและประหยั ด พลั ง งานมากยิ่ ง ขึ้ น ยกตั ว อย า งเครื่ อ ง สํารองไฟฟารุน MGE Galaxy แบบ 3 เฟส ทีส่ ามารถรองรับโหลดตัง้ แต 20 – 120 kVA ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองความหลาก หลายของธุ ร กิ จ ตั้ ง แต สํ า หรั บ ห อ งดาต า เซ็นเตอร ไปจนถึงโรงงานอุตสาหกรรมและ สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ MGE Galaxy จึงเปนโซลูชั่นที่ชวย ป อ งกั น ป ญ หาที่ เ กิ ด จากไฟฟ า ไม เ สถี ย ร ไฟตก ไฟกระพริบ ไฟกระชาก เหมาะสําหรับ ป อ งกั น ป ญ หาไฟไม เ สถี ย รที่ จ ะเกิ ด กั บ ร ะ บ บ ก า ร ทํ า ง า น ที่ สํ า คั ญ ใ น อ า ค า ร โรงงานอุตสาหกรรม ปกปองเต็มประสิทธิภาพ ด ว ยระบบดั บ เบิ้ ล คอนเวอร ชั่ น ออนไลน มี ข นาดกะทั ด รั ด ไม เ ปลื อ งพื้ น ที่ ติ ด ตั้ ง แข็ ง แรงทนทาน ง า ยต อ การบํ า รุ ง รั ก ษา และสามารถลดคาใชจา ยการลงทุนระยะยาว ไดมากถึง 93% ชวยประหยัดพลังงานจาก ไฟฟาตกไดเปนอยางดีครับ
อยางไรก็ตาม MGE Galaxy ยังมี ระบบการสํารองหากอุปกรณ ใดอุปกรณ หนึง่ เสีย เพิม่ ความไววางใจมากขึน้ และสราง ความมั่นใจในการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และง า ยต อ การติด ตั้ง เนื่อ งจากการเชื่อ ม ต อ ทั้ ง หมดจะทํ า จากด า นหน า ของเครื่ อ ง ไม ต อ งติ ด ตั้ ง จากด า นหลั ง หรื อ ด า นข า ง ชวยลดความยุงยากในการติดตั้งและการ บํารุงรักษา นอกจากนี้ยังมีระบบการทํางาน สํารองคูกันไปถึง 6 โมดูล เพื่อปรับใหเขา กั บ ความต อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของพลั ง งาน และสามารถเลือกเวลาในการสํารองขอมูล
ตั้งแต 5 นาทีจนถึง 8 ชั่วโมงเพื่อตอบสนอง ความตองการทีแ่ ตกตางกัน สามารถเปลีย่ น จากอุปกรณที่รองรับระบบเดียวเปนแบบ ระบบทํ า งานคู เพิ่ ม กํ า ลั ง การผลิ ต ไฟฟ า ทั้งหมดโดยการใชงานยูพีเอสหลาย ๆ ตัว พรอมกันได เรียกไดวาเปนเทคโนโลยีหนึ่งที่ถูก พั ฒ นาขึ้ น มารองรั บ กระบวนการผลิ ต ในภาคอุตสาหกรรม หรือกระบวนการทํางาน ในออฟฟศเพือ่ ใหเกิดการประหยัดพลังงาน และเพื่อลดตนทุนการผลิตในยุคที่พลังงาน มีราคาแพงไดอยางมีประสิทธิภาพ
38
Energy#60_p38_Pro3.indd 38
10/17/13 10:25 PM
Energy#59_p107_Pro3.ai
1
9/17/13
1:54 AM
Cover Story อภัสรา วัลลิภผล
Top Ten ของขวัญรักษโลกยอดนิยม ชวงนี้มองไปทางไหนเห็นแตคนนิยมใชของใชแนวรักษโลกกันมาก โดยเฉพาะของที่ผลิตจากวัสดุธรรมชาติ อีก แคเดือนกวา ๆ ก็จะถึงเทศกาลปใหมกันแลว หลาย ๆ องคกรคงกําลังมองหาของขวัญเพื่อใหเปนขวัญกําลังใจแก พนักงานในการทํางานในปตอไป รวมถึงหลาย ๆ คนที่กําลังมองหาของขวัญปใหมเพื่อใหกับคนที่รัก แตจะวาไปแลว ของขวัญในปจจุบันก็มีใหเลือกสรรกันมากมาย โดยเฉพาะของขวัญที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมก็นาสนใจไมนอย การ เลือกซือ้ สินคาทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมมอบใหแกกนั เปนของขวัญในเทศกาลปใหม เปนวิธหี นึง่ ทีจ่ ะชวยบรรเทาปญหา ภาวะโลกรอน และในโอกาสดี ๆ แบบนี้ ขอแนะนํา 10 อันดับของขวัญปใหมยอดฮิตมาฝากกัน (จากผลสํารวจเอแบค โพลล และ www.yenta4.com)
40
Energy#60_p40-45_Pro3.indd 40
10/24/13 10:05 PM
1. แพ็คเกจทัวร เป น ของขวั ญ อย า งหนึ่ ง ที่ เ หมาะ สําหรับคนรักคนรูใจ ซึ่งองคกรตาง ๆ เอง ก็มักเลือกแพ็คเกจทัวรเปนรางวัลใหญให พนักงานที่โชคดีไดไปเที่ยวพักผอนในชวง ปใหมกัน สํ า หรั บ แพ็ ค เกจทั ว ร เ ชิ ง อนุ รั ก ษ ธรรมชาติ เปนอีกหนึ่งรูปแบบการทองเที่ยว ทีช่ ว ยรักษาธรรมชาติ ไมทาํ ลายสิง่ แวดลอม พร อ มทั้ ง ได รั บ ความสุ ข จากการเดิ น ทาง เปนการทองเที่ยวแบบ Ecotourism หรือ Green Travel ซึ่ ง เหมาะกั บ สภาวะของ โลกในปจจุบัน ที่เราควรรวมมือกันประหยัด พลังงานและรักษาสิง่ แวดลอม การทองเทีย่ ว แบบ Ecotourism หรือ Green Travel มี ทัง้ การเทีย่ วชมธรรมชาติและศึกษาเรือ่ งราว ของสรรพชีวิต เชน เดินเที่ยวบนเสนทาง ศึกษาธรรมชาติภายในเขตอุทยานแหงชาติ เดินปาระยะไกล ดูนก ดูผีเสื้อ ดูพรรณไม รวมถึงการทองเที่ยวเชิงเกษตร เชน การ เที่ ย วชมฟาร ม ปศุ สั ต ว ไร อ งุ น ล อ งแพ พายเรือแคนนูและเรือคยัคชื่นชมธรรมชาติ ก็ มี ใ ห เ ลื อ กหลายจั ง หวั ด ไม ว า จะเป น ภูเก็ต กาญจนบุรี เชียงใหม ฯลฯ 2. สินคา IT มีตงั้ แตชนิ้ เล็ก ๆ ไปจนถึงชิน้ ใหญ ๆ มี ตัง้ แตราคาถูกไปจนถึงราคาแพง เชน iPod, iPad, iPhone, โทรศัพทมอื ถือ, เกมส Play Station, กลองดิจิตอล, Handy drive เปนตน ซึ่งการเลือกซื้อของขวัญประเภทนี้ ขึ้นกับความเหมาะสมและกําลังทรัพยของ ผูซื้อดวย ตัวอยางเชน
Samsung E1107 Crest Solar โทรศั พ ท มื อ ถื อ ที่ ใ ช พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย โดยติดตั้งแผงโซลารเซลลไวที่ฝาหลัง ชารจ ประมาณ 1 ชั่ ว โมง สามารถสนทนาได นาน 5 - 10 นาที รองรับเครือขาย GSM 900/1800 MHz จอแสดงผล CSTN 65K สี ความละเอียด 128 x 128 พิกเซล เสียง เรียกเขา MP3, Polyphonic มีไฟฉายในตัว เครือ่ งเลนวิทยุ FM พรอมดวยระบบติดตาม โทรศัพทเมือ่ สูญหาย ราคาอยูท ี่ 1,990 บาท (ขอมูลจาก www.siamphone.com)
ทีวีรักษโลก ซัมซุง รุน LEDTV รุน B8000 เป น นวั ต กรรมที่ เ ป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม กิ น ไฟตํ่ า กว า โทรทั ศ น แ อลซี ดี ทั่วไป ไมมีสวนประกอบของสารปรอทในตัว วัสดุ ในสวนฐานวางและขาตั้งทีวียังทําจาก วัสดุรไี ซเคิลชวยลดมลพิษตอ สิง่ แวดลอมได เปนอยางดี ราคาเริม่ ตน 79,990 บาท (ขอมูล จากwww.siamphone.com)
sun & cloud กลองถายรูปดิจิตอล จากประเทศญี่ปุน ไมจําเปนตองใชพลังงาน จากแบตเตอรี่ สามารถถ า ยภาพได โ ดย พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานมือหมุน ชารจไฟ สามารถใชพลังงานจากแหลงอืน่ ได ผานสาย USB ความละเอียด 3 ลานพิกเซล ปรับคา ISO ได 100-800 ถายภาพนิ่งและ วีดีโอได รองรับการด SDHC ถึง 16 GB ราคาอยูที่ 13,900 บาท (ขอมูลจาก www. mensmile.com)
3. ออแกไนเซอร ไมวาจะเปน สมุดโนต กระดาษโนต ถือเปนของขวัญที่มีประโยชนมาก ๆ เหมาะ สําหรับคนทํางานที่สุด ที่จะชวยใหผูรับได บันทึกสิ่งสําคัญลงไปในนั้น
4. นาฬกา เปนของขวัญที่สรางความประทับใจ ใหกับผูรับไดไมนอย เปนของขวัญที่ผูรับ สามารถใชประโยชนและใสตดิ ตัวทุกวัน SEIKO ECO Watch นาฬกาพลังงาน แสง มาพรอมกับระบบโครโนกราฟจับเวลา แบบ 1/5 วินาที นานถึง 60 นาที ผสาน เทคโนโลยีระบบโซลารเซลลมาขับเคลื่อน เวลา สามารถเก็ บ สํ า รองได ทุ ก พลั ง แสง ทั้ งจากแสงอาทิตย แ ละแสงไฟจากหลอด ฟลูออเรสเซนสไดยาวนานถึง 6 เดือน สามารถ กันนํา้ ไดถงึ 100 เมตร ราคา 14,900 บาท (ขอมูลจาก www.bloggang.com) นาฬกา LED iron samurai เปน นาฬกาที่มีรูปแบบไมเหมือนใคร ประหยัด พลังงาน ผลิตจากหลอด LED ตัวนาฬกา เป น เหมื อ นสร อ ยข อ มื อ สแตนเลส บอก เวลาด ว ยแสงไฟจากหลอด LED ราคา ประมาณ 8,000 บาท (ขอมูลจาก www. sellledwatch.blogspot.com) 5. กระเปา เป น ของขวั ญ อี ก ชิ้ น หนึ่ ง ที่ ผู รั บ สามารถนําไปใชประโยชนและพกพาติดตัว ไปไดทุกที ไมวาจะเปนกระเปาผา กระเปา สตางค กระเปาแฟชั่น ฯลฯ เรียกไดวา ใคร ที่ไดกระเปาเปนของขวัญปใหมตองรูสึกดี มากแนนอน
41
Energy#60_p40-45_Pro3.indd 41
10/24/13 10:05 PM
Mandarina Duck แบรนดกระเปา จากอิตาลี ทีอ่ อกแบบโดยคํานึงถึงความเปน มิตรตอสิ่งแวดลอม หรือ Eco-Friendly ใชผาเปนวัสดุหลัก เนนฟงกชั่นการใชงาน ที่ครบครัน คุณภาพสูง คํานึงถึงประโยชน ใชสอยเปนหลัก ราคาเริ่มตนที่ 5,000 บาท (ขอมูลจาก www.globalfashionreport. com)
กระเปาสะพายพลังงานแสงอาทิตย เปน ผลงานการออกแบบของนักศึกษาวิศวกรรม เครื่ อ งกล มหาวิ ท ยาลั ย ไอโอวา สเตต ในกระเปามีสายชารจสําหรับไอพอด มือถือ กลองถายรูป เมื่อกระเปาอยูกลางแสงแดด 3 ชั่ ว โมง จะมี พ ลั ง งานมากพอที่ จ ะชาร จ อุปกรณเหลานี้ได ราคาเริ่มตนที่ 10,000 บาท (ขอมูลจาก itshee.exteen.com)
6. รถยนต การมอบรถยนตใหเปนของขวัญถือเปนสิ่งที่พิเศษมาก แสดงถึงความหวงใยที่ผูใหมี ตอผูรับ และถือเปนของขวัญที่ชิ้นใหญพอสมควร รับรองวาผูรับจะตองดีใจอยางบอกไมถูก Mitsubishi i-MiEV รถพลังงานไฟฟาจากประเทศญี่ปุน มี 4 ที่นั่ง ระบบสงกําลัง และ เครื่องยนต ใชระบบแบตเตอรี่ลิเธียมอิออน ขนาด 330 โวลท มอเตอรไฟฟา และระบบชารจไฟ ซึ่งมอเตอรไฟฟาใหกําลัง 47 กิโลวัตต หรือ 64 แรงมา และแรงบิดสูงสุด 180 นิวตัน-เมตร ระยะเวลาในการชารจแบตเตอรี่ใหเต็มอยูที่ 7-14 ชั่วโมง เดินทางไดไกล 160 กิโลเมตรตอ การชารจ 1 ครั้ง ราคาเริ่มตนที่ 900,000 บาท (ขอมูลจาก www.autospinn.com) Nissan Leaf ใชพลังงานไฟฟา100% ไรมลพิษ เล็กกะทัดรัด นํ้าหนักเบา ชารจไฟฟา 1 ครั้ง จะเดินทางไดถึง 160 - 200 กิโลเมตร พลังขับเคลื่อนมาจากมอเตอรไฟฟาแบบ AC 3 สามารถสงกําลังออกมาไดถึง 80 กิโลวัตต( แรงมา ) แรงบิดสูงสุดที่ 280 นิวตัน-เมตร ทําความเร็วสูงสุดได 145 กิโลเมตร/ชั่วโมง ราคาเริ่มตนที่ 400,000 บาท (ขอมูลจาก www. iwebgas.com) 7. ของตกแตงบาน ถือเปนของขวัญที่มีประโยชน ขึ้นอยูกับรูปแบบและลักษณะการใชงานของของขวัญ ชิน้ นัน้ ไมวา จะเปน แจกันดอกไม โคมไฟ กรอบรูป เกาอี้ ฯลฯ ปจจุบนั มีของตกแตงบานมากมาย ที่ดีไซนไดอยางเก ไก เหมาะสําหรับนํามาใชเปนของขวัญในโอกาสพิเศษ 8. งานแฮนดเมด อาจเรียกไดวา เปนของขวัญที่ลํ้าคาที่สุดในบรรดาที่กลาวมาทั้งหมดเลยก็วาได อะไร ก็ตามที่คุณลงมือทํามันดวยตัวเอง คุณคาของมันไมไดอยูที่ความสวยงาม เพราะถาคุณใชใจ ทํามันขึ้นมากับมือ รับรองวาผูรับตองประทับใจแนนอน เพราะเปนของขวัญที่มีชิ้นเดียวในโลก เปนการบงบอกวาของขวัญชิ้นนี้พิเศษสุดสําหรับผูรับคนเดียว
Cut n’ Paste เปนแบรนดของคนไทย ที่ ตั้ ง ใจออกแบบ โดยใช ก ระดาษ Kraft Paper Fabric อายุการใชงานเทียบเทากับ หนัง นํ้าหนักเบา ทนทาน ซักทําความสะอาด ได เมื่อใชงานไประยะหนึ่งจะเกิดรอยยับ ซึ่ง เปนเสนหของกระดาษชนิดนี้ กระเปาทุกใบ เปนงานแฮนดเมดตัดเย็บและประกอบขึ้น ทีละใบอยางประณีต รวมถึงการเลือกใชวสั ดุ ที่มีคุณภาพดี ทําใหสินคาแตละชิ้นมีอายุ การใชงานนาน ราคาเริ่มตนที่ 800 บาท (ขอมูลจาก www.wearyouwant.com)
9. หนังสือ ของขวัญชิน้ นีถ้ อื เปนสิง่ สําคัญ เพราะหนังสือเปนทีอ่ ดุ มไปดวยคุณคาทางความรู การให หนังสือหนึง่ เลม อาจใหอะไรกับคนทีไ่ ดรบั มากกวาทีผ่ ใู หคดิ ไว ประเภทของหนังสือทีค่ วรซือ้ คือ หนังสือใหความรู สาระบันเทิง หนังสือแทนความรูสึก หนังสือจุดประกายความคิด และหนังสือ ประเภทอานแลวทําใหผูรับคิดถึงผูให อันดับที่ 10 อันดับสุดทาย คือ กระเชาของขวัญบํารุงสุขภาพ ไมวาจะเปน ผลไม ซุปไกสกัด รังนก โสม ฯลฯ เปนของขวัญที่เหมาะสําหรับผูใหญคนพิเศษอยางมาก เพราะ สื่อถึงความรักความหวงใยที่คุณมีใหทานเสมอมา ของขวัญทั้ง 10 อันดับ นาจะชวยใหคุณตัดสินใจเลือกซื้อของขวัญไดงายขึ้น ที่นี้เราลอง มาดูการเลือกซื้อของขวัญของหนวยงานดานพลังงานกัน ดูสิวาแตละหนวยงานมีแนวทางใน การเลือกซื้อของขวัญอยางไร
42
Energy#60_p40-45_Pro3.indd 42
10/24/13 10:05 PM
นายธาตรี ริ้วเจริญ ผูอํานวยการฝาย สื่ อ สารองค ก าร การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) เลาวา ที่ผานมาการไฟฟา ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) รณรงค เรื่องการประหยัดพลังงานมาโดยตลอด ดังนั้น การเลือกซื้อของขวัญ ของชํารวย ของที่ระลึก สํ า หรั บ มอบในวาระพิ เ ศษ หรื อ ในเทศกาล ปใหม จะเลือกใชผลิตภัณฑหลอดตะเกียบ เบอร 5 ซึ่งเปนหลอดประหยัดไฟ ที่สั่งผลิตเปนพิเศษ ภายใตแบรนด กฟผ. มาเปนของขวัญ ของชํารวย มอบใหกับประชาชน หรือบุคคลทั่วไปตามแต วาระโอกาส เพื่อใชเปนเชิงสัญลักษณ ในการ ประหยัดพลังงาน สรางจิตสํานึกใหประชาชน ทั่วไปรูจักและหันมาใชหลอดตะเกียบกันมากขึ้น เพราะเป น ของที่ ร ะลึ ก ที่ มี โ อกาสนํ า ไปใช ง าน สูงกวาสิ่งของชนิดอื่น ๆ โดยตลอดระยะเวลา 6 ป ในการเลือกใช หลอดตะเกียบเปนของที่ระลึกไดรับการตอบรับ จากประชาชนดี ม าก และยั ง ช ว ยลดการใช พลังงาน ลดความจําเปนในการสรางโรงไฟฟา ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ลดการนําเขา เชื้ อ เพลิ ง ก า ซธรรมชาติ เ พื่ อ การผลิ ต ไฟฟ า สอดคลองกับแนวคิดที่ทุกฝายไดรับประโยชน รวมกันในการชวยโลก สําหรับ กฟผ. ในปตอ ๆ ไป ก็ยงั คงเลือกใชหลอดตะเกียบเบอร 5 เปนของ ที่ระลึก ของชํารวย เหมือนเชนเดิม
นายประเสริ ฐ สลิ ล อํ า ไพ ผู ช ว ย กรรมการผู จั ด การใหญ สื่ อ สารองค ก ร และกิจการเพื่อสังคม บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บอกเล า ว า ปตท. เป น บริ ษั ท เกี่ยวกับพลังงาน แนนอนวาการเลือกใช ของขวัญ ของที่ระลึกนั้น จะเนนสิ่งของที่ เป น กรี น โปรดั ก ส หรื อ ไม ก็ เ ป น สิ่ ง ของที่ เกี่ยวกับพลังงาน และใชงานไดนาน ทนทาน โดยคํานึงถึงหลัก 3 R (Reduce Reuse Recycle) เพื่อใหสามารถนํากลับมาใชใหม หรือใชซํ้าได อยางไรก็ตาม ในแตละป ปตท.จะมี ของขวัญ ของทีร่ ะลึก หลากหลายชนิดดวยกัน โดยในป ที่ ผ า นมาจะเป น วิ ท ยุ พ ลั ง งานกล ใช มื อ หมุ น เพื่ อ สร า งพลั ง งานในตั ว เอง ไมตองพึ่งพาพลังงานจากถาน หรือไมอาจ เลื อ กเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากไบโอพลาสติ ก เชน แกว กระบอกใสนํ้า นอกจากนี้ แลว ยังไดอุดหนุนสินคาชุมชนในพื้นที่ ที่ ปตท. เขาไปสงเสริมมาเปนของขวัญ ของที่ระลึก ใหกับลูกคา ส ว นในป นี้ ยั ง คงคํ า นึ ง ถึ ง ประโยชน การใชงานในชีวิตประจําวัน อยาง พาวเวอร แบงค อุปกรณสําหรับชารจมือถือ ปฏิทิน ภาพพลั ง งานและมี ข อ ความรณรงค ก าร อนุรักษพลังงาน เพื่อสรางจิตสํานึกใหกับ ผูรับ หวังวาของที่เลือกจะเปนประโยชน และ มีคุณคากับผูรับ และสามารถนําไปใชใหเกิด ประโยชนสูงสุด
ดาน นายนาวิน นาคนาวา ผูอ าํ นวยการ กลุ ม งานประชาสั ม พั น ธ กรมพั ฒ นา พลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน ระบุวา กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน มีคอนเซ็ปตในการเลือกของชํารวย ของขวัญ หรือของทีร่ ะลึก ทีค่ าํ นึงถึงองคกร ดวย จึงเนนเรื่องการอนุรักษพลังงานเปน หลัก โดยในยุคแรก ๆ ประมาณป 2545 จะใช การแจกถุงผา จนคนเริม่ ใชกนั มาก ก็เปลีย่ น มาเปนปากกาที่ทําจากกระดาษรีไซเคิล และ เสือ้ นาโน โดยการพิมพขอ ความรณรงคการ ประหยัดพลังงานลงบนเสื้อ หรือขอความที่ สื่อความหมายถึงการรับผิดชอบตอสังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อสรางจิตสํานึกใหผูรับ แตยคุ ปจจุบนั ไดนาํ แนวคิดถุงผากลับมาเปน ของขวัญ ของที่ระลึก อีกครั้ง โดยเปลี่ยน ดีไซน ใหดูเก ไกขึ้น เพื่อใหคนรับสามารถ นําไปใชงานไดจริง นอกจากนั้น จะเปนเสื้อ โปโลพิ ม พ ข อ ความรณรงค ก ารประหยั ด พลังงาน ซึ่งผูรับสามารถใสไดตั้งแตเด็ก จนถึงผูบริหาร และใสไดทุกโอกาส
43
Energy#60_p40-45_Pro3.indd 43
10/24/13 10:05 PM
ทางด า น นางสาวจณิ น เอี่ ย มสอาด ผูจัดการฝายสื่อสารองคกร บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ EGCO Group เลาถึง แนวคิดในการเลือกของขวัญ ของที่ระลึก วา “เอ็กโก กรุป เนนเลือกของที่สามารถใชงานได จริงควบคูก บั คํานึงถึงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม รวมถึงของจากชุมชนในพืน้ ทีร่ อบโรงไฟฟา และ ชุมชนที่เรารวมดูแลเรื่องการอนุรักษปาตนนํ้า โดยคาดหวังใหผูรับสามารถนําไปใชประโยชน ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถใชซาํ้ หรือ นํ า กลั บ มาใช ใ หม ไ ด จะไม เ ลื อ กใช ข องเก็ บ ไว โ ชว ห รื อ ของประดั บ ส ว นบรรจุ ภั ณ ฑ เราก็ไมอยากใหเหลือทิง้ จึงออกแบบใหสามารถ นํากลองไปใชงานตอไดเชนกัน
ในป ที่ ผ า นมา เอ็ ก โก กรุ ป เลื อ ก ของขวั ญ ป ใ หม เ ป น ถ า นชาร จ พร อ ม แท น ชาร จ ไฟฉายหลอดแอลอี ดี ที่ สามารถใชซํ้าไดและเปนประโยชนตอชีวิต ประจํ า วั น รวมถึ ง ออกแบบกล อ งภาคใต แนวคิด “Energy for Life” เราไมหยุดนิ่ง ที่จะรวมสรางพลังงาน…เพื่อชีวิต ซึ่งเปน แบรนดวิชั่นของเอ็กโก กรุป ดี ไ ซน บ นกล อ งเป น การบอกเล า เรื่ อ งราวเพื่ อ สร า งความเข า ใจถึ ง ความ เชื่อมโยงของทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเปน ที่มาของพลังงาน จนถึงการผลิตไฟฟาจาก เชื้อเพลิงหลากหลายชนิด และตัวอยางของ โรงไฟฟาประเภทตาง ๆ ซึ่งสอดคลองกับ
ธุรกิจและแนวทางการดําเนินธุรกิจของเรา ในขณะเดียวกันก็มีความสวยงาม คงทน และมี คุ ณ ค า เฉพาะในตั ว โดยเรื่ อ งราวที่ สอดแทรกบนกลองเหลานี้มุงหวังที่จะเสริม สรางแนวคิดและแรงบันดาลใจใหผูรั บใน การใชพลังงานอยางรูคุณคาดวย สําหรับ คอนเซ็ ป ต ข องขวั ญ ในป นี้ ยั ง อยู ร ะหว า ง ดําเนินการ แตแนวทางการเลือกของขวัญ ยังคงเหมือนเชนทุกปที่ผานมา” ทั้ ง ห ม ด นี้ เ ป น ส ว น ห นึ่ ง ใ น ก า ร เลื อ กของขวั ญ ที่ คํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล อ ม การใช วั ส ดุ ที่ ส ามารถนํ า กลั บ มาใช ใ หม ได ถือเปนขอคิดและแนวทางดี ๆ ที่ทาง Energy saving นํามาฝากกัน
44
Energy#60_p40-45_Pro3.indd 44
10/24/13 10:05 PM
สุดทาย…มาเอาใจคนเกิดปมะเมีย(มา)
มาดูกันซิวา ของขวัญที่เหมาะกับคนเกิดปมะเมียจะเปนอะไร? ไลฟสไตลของคนปมะเมีย เปนหนุมสาวสังคม มีความจงรักภักดี มีความโดดเดนในหมูเพื่อนฝูง มีเพื่อนมาก แตคนที่รูใจ มีนอย เปนคนหัวการคา ชางคิดชางฝน เกงรอบตัว ไมชอบวางแผนทําอะไรลวงหนา แตจะรอสิ่งใหม ๆ ใหผานเขามาในชีวิต มากกวา ทํางานอะไรก็สําเร็จ และโนมนาวใจคนเกง เวลาที่ตั้งเปาทําอะไรจะมีไอเดียเหลือลน และมีพลังเหลือหลายพอที่จะบรรลุ เปาหมายของตัวเองได แตเปนคนมีขีดความอดทนจํากัด แถมกลัวความลมเหลวจนเปนคนวิตกจริต สงางามแตภายนอก ภายในใจลึกๆ แลวจิตใจไมมั่นคง ตองการใหผูคนยอมรับและชื่นชม อารมณรอน และทะเยอทะยานจนทําใหคนรอบขาง ขวัญกระเจิง เปนคนตกหลุมรักงาย แคเห็นหนาหรือรอยยิ้มก็ทําใหคนปมาเคลิ้มไดแลว นิสัยแบบนี้มีปญหาตามมาแนนอน นอกจากป ม ะเมี ย จะเป น คนที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ ชี วิ ต ครอบครั ว และความรั ก เหนื อ สิ่ ง อื่ น ใดแล ว ของขวั ญ ที่เลือกใหคนที่เกิดปมะเมีย ควรเปนชุดชั้นในเซ็กซี่ ดีไซนสวย เก เท หรือชุดนอนเนื้อผานุม ๆ ใสนอนแลวอุนสบาย เพียงเทานี้ก็จะทําใหคนเปดปนี้นึกถึงผูใหตลอดเวลาแลว… (ขอมูลจาก www.9pyinfo.com)
45 45
Energy#60_p40-45_Pro3.indd 45
10/24/13 10:05 PM
Eco shop
“
Rainbow
”
ปจจุบันกระแสอนุรักษสิ่งแวดลอมหรือที่เราเรียกกันติดปากวา “กระแสรักษ โลก” กําลังเปนเทรนดที่มาแรงจนทําใหการดําเนินธุรกิจของผูประกอบการ ตองหันมาจับตามองและใหความสําคัญโดยการปรับเปลี่ยนตัวเองใหเขากับกระแสนี้ดวย
บริษทั เอสแอล แอคเซนท แอนด เดคอร จํากัด เปนอีกบริษทั หนึ่งที่ผลิตสินคาประเภทตกแตงบานโดยคํานึงถึงเรื่องการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ระยะเวลายาวนานถึง 20 ป คุณสุวรรณี เลิศรัชตากร กรรมการผูจัดการบริษัท เลาถึง แรงบันดาลใจในการทําธุรกิจที่ ควบคู ไ ปกั บ การอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มคื อ อะไร พร อ มทั้ ง บอกถึ ง กลยุทธในการขับเคลื่อนธุรกิจของบริษัท บริษทั ดําเนินธุรกิจมาตัง้ แต ป 2544 โดยเริม่ จากธุรกิจสงออก ของขวัญของแตงบาน ซึ่งเปนธุรกิจที่ตัวเองมีประสบการณ ในการ ทํางานมานานกวา 20 ป ธุรกิจหลัก ๆ คือ การเปนตัวแทนใหกบั ลูกคา ตลาดอเมริกา เพือ่ สงออกกรอบรูปและของตกแตงบาน เชน เทียนหอม แจกัน เซรามิค เฟอรนเิ จอรชนิ้ เล็ก ๆ ทีท่ าํ จากหวาย โรงงานตัง้ อยูใ น ไทยและเวียดนาม และตอมาเริม่ หันมาจับลูกคาในประเทศเพิม่ เติม โดย ลูกคาในประเทศจะมุง ขายสินคาทีน่ าํ เขาจากเวียดนามและสินคาทีผ่ ลิต ในประเทศ
เริม่ จับความตองการของตลาดสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม เพราะเห็นถึงความตองการของลูกคาตางประเทศโดยเฉพาะตลาด กลุม อเมริกาและประเทศทางแถบยุโรป เนือ่ งจากประเทศดังกลาวเนน คุณภาพของสินคาตองผานเกณฑมาตรฐานของแตละประเทศ เชน FDA Standard ในอเมริกา แมจะเปนเพียงของแตงบานก็ตาม เพราะ เขาคํานึงถึงผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรกับผูใ ชสนิ คาและสิง่ แวดลอมดวย เรา ก็เลยไดไอเดียจากตรงนัน้ และคิดวานาจะเปนทางเลือกทีด่ ใี หกบั ผูบ ริโภค ในบานเรา เพราะจะไดใชของที่มีความสวยงามมีดีไซนเฉพาะตัวและมี คุณภาพควบคูก นั ไป ในสวนของกรอบรูปดีไซนหรู ทีค่ ดั สรรวัตถุดบิ ในการผลิตทีเ่ ปน มิตรกับสิ่งแวดลอม โดยเนนการใชวัสดุจากธรรมชาติที่ไมทําลายสิ่ง แวดลอม เชน ไม เราจะเลือกใชไมยางหรือไมมะมวง ซึง่ เปนไมเศรษฐกิจ สามารถปลูกทดแทนได สวนทีเ่ นนมาก ๆ คือจะไมใชไมทตี่ ดั มาจากปา ธรรมชาติ ถาเปนไมแปรรูปก็จะใชไม MDF (Medium Density Fiber Board) ซึง่ เปนไมทที่ าํ มาจากเศษไมรไี ซเคิลเศษไมทใี่ ชจะเปนประเภททีม่ ี เสนใย เชน ยูคาลิปตัส ยางพารา หรือพืชทีใ่ หเสนใย เชน กากชานออย โดยนําเศษไมมาผสมกับกาวสังเคราะหแลวอัดขึน้ รูป ผานกระบวนการ อบแหงหรือ “Dry Process” เพือ่ ใหเสนใยยึดเหนีย่ วเปนเนือ้ เดียวกัน สวนสีทใี่ ชยอ มก็จะตองผานมาตรฐานเรือ่ งสารตะกัว่ และแคดเมียมของ FDA standard ดวย คือ ตองมีไมเกิน 0.006% per ppm เปนคาทีไ่ ม กอใหเกิดอันตรายตอผูใ ชสนิ คา เมือ่ ยอยสลายจะไมทงิ้ กากทีเ่ ปนพิษกับ สิง่ แวดลอมไมทใี่ ชกส็ ามารถยอยสลายไดงา ยตามธรรมชาติ ในเรือ่ งของกระแสของการใชสนิ คากลุม นีม้ มี าหลายปแลวในตาง ประเทศ สวนในไทยเองปจจุบนั จะเห็นวาองคกรใหญ ๆ ก็เริม่ มีความสนใจ ในการใชสนิ คากลุม นีม้ าระยะหนึง่ แลว รวม ๆ กับมีการรณรงคเรือ่ งสิง่ แวดลอมและโลกรอนกันมากขึน้ จากภาวะอากาศทีแ่ ปรปรวน ฉะนัน้ จะ เห็นวาแนวโนมของสินคากรีนนาจะเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ คุณสุวรรณี ทิง้ ทายวา ในอนาคตมองวาการซือ้ ขายสินคากลุม นี้ นาจะสูงขึน้ เรือ่ ย ๆ จะเห็นไดวา มีสถิตกิ ารคนหาสินคาประเภทนีม้ ากขึน้ ผลิตภัณฑแบรนดเนมดัง ๆ เองก็เริม่ โฆษณาสินคากรีนเพือ่ เปนจุดขาย ดวย เพราะฉะนัน้ สินคากลุม นีย้ งั ไงก็คงมีการเติบโตสูงขึน้ เรือ่ ย ๆ อยาง แนนอน (ขอมูลจาก pantavanij.com)
46
Energy#60_p46_Pro3.indd 46
10/18/13 11:12 PM
Energy#58_p23_Pro3.ai
1
8/28/13
9:58 PM
Exclusive นัษรุต เถื่อนทองคํา
48
Energy#60_p48-53_Pro3.indd 48
10/22/13 2:55 PM
NGV DEVELOPMENT วิธีคิดเปนเรื่องสําคัญ... ในการทํางาน การที่เราจะทําอะไรสักอยาง เราอยาคิดแคทําเพียงใหผานไปวันๆ หรือแคใหจนงาน นั้นๆ ก็เปนพอ แตเราควรที่จะทําใหดีที่สุด เพื่อใหงานจบอยางสวยงาม และไมใหมีเสียง ติกลับมาได สิ่งสําคัญคือ “วิธีคิดในการทํางาน” คิดอยางไรเพื่อใหงานที่ทําออกมาดีที่สุด คิดอยางไรเพื่อใหงานสําเร็จตามที่หวัง เพราะเพียงแคการใสใจและตั้งใจคงไมเพียงพอ สําหรับการที่จะทํางานใหญอยาง “วสันต กอเกียรติตระกูล” แหง NGV DEVELOPMENT ทามกลางการแขงขันบนเสนทางที่เรื่องของความเชื่อถือและ ความไวใจเปนตัวตัดสินชีเ้ ปนชีต้ ายสําหรับการทํางาน และลบสิง่ ทีค่ น สวนใหญมกั คิดวาเปนไปไมได จนสามารถลบคําสบประมาทไดมากวา 8 ป ของ NGV DEVELOPMENT กับการพัฒนาและวิจัยการติดตั้ง เชื้อเพลิงรวมดีเซล + NGV สําหรับรถเครื่องยนตดีเซลจนสามารถ ประหยัดเชื้อเพลิงไดในระดับ 80-120 กิโลเมตร/ ลิตร การพัฒนาระบบเครื่องยนตดีเซลรวม NGV ที่ผานมา มักมี เสียงตอบรับที่ไมดีนักสําหรับการติดตั้งในบานเรา หรือในรถโดยสาร สวนบุคคล ยิ่งมีเสียงคัดคานมากเทาไหร ยิ่งตองหาวิธีคิดในการ แกปญหาดังกลาวใหได และดวยความที่คลุกคลีอยูกับยานยนต มาเปนเวลานาน บวกกับความรูเรื่องระบบอีเล็กทรอนิกสในรถยนต และกลไกในยานยนต กับแนวคิดที่จะตอยอดในการพัฒนาดาน พลังงานทดแทนในรถยนต จึงนํามาสูการติดตั้งระบบดีเซลรวม NGV หรือ TFC หรือTwin Fuile Commonrail ระบบทีเ่ หมาะสําหรับติดตัง้ กับรถกระบะหรือรถเครื่องยนตดีเซลคอมมอนเรล ที่สามารถให การประหยัดนํ้ามันถึง 80-120 กิโลเมตร/ ลิตร เมื่อใชรวมกับ NGV ระบบดีเซลรวม NGV ของ NGV DEVELOPMENT ไดมีการ คิดคนมากวา 8 ป กอนทีป่ ระเทศไทยจะประสบวิกฤติราคานํา้ มันเสียอีก เพราะรถเครือ่ งยนตดเี ซลมีบทบาทอยางมากในประเทศไทย มีสดั สวน การใชงานในเชิงพาณิชยมากกว ารถยนตสวนบุคคล ในหนึ่งวัน ประเทศสูญสียนํ้ามันดีเซลเปนจํานวนมหาศาล ทําอยางไรจะลด การใชโดยที่ไมลดการใชงาน เพื่อชวยโลก ซึ่งโดยสวนตัวมองวาเปน วาระแหงชาติภาคประชาชนที่ไมควรมองขาม รถเชิงพาณิยส ว นใหญในปจจุบนั ใชเครือ่ งยนตดเี ซล คอมมอนเรล ขนาด 2.5 ลิตร จะสิ้นเปลืองนํ้ามันทั่วไปเมื่อวิ่งความเร็วไมเกิน 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง ที่ประมาณ 13 กิโลเมตร/ ลิตร และถาวิ่ง 120 กิโลเมตรตอชั่วโมง จะอยูที่ 8-9 กิโลเมตร/ ลิตร แตเมื่อนํามาติดตั้ง เชื้อเพลิงรวมกันระหวางดีเซลรวมกับ NGV จะสามารถเพิ่มระยะทาง ไดมากกวา ปจจุบันสูงสุดที่ทําไดกวา 90 กิโลเมตร/ ลิตร ขึ้นไปและ สิน้ เปลือง NGV ไมมาก ซึง่ ตัวเลขดังกลาวหลายคนไมเชือ่ เมือ่ ไมเชือ่ แลว ก็มีการตําหนิตางๆ วาจะสามารถทําไดจริงหรือไม หลายคนตองการ
ทดสอบ แตไมกลาทํากับรถตัวเอง ที่ศูนยติดตั้งจึงมีรถหลายรุน ใหผูสนใจไดมาทดสอบ ที่ตองมีหลายรุน เพราะเราออกแบบ ECU เพื่อรองรับรถยนต รุนนั้นๆ โดยตรง ไมไดมีการนํากลอง ECU ของรุนอื่นมาใชทดแทนกัน ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ตองตอสูกับความเชื่อที่คิดวาเปน ไปไมไดของการติดตั้งเชื้อเพลิงรวมดีเซล + NGV แตเมื่อติดตั้งแลว และนําไปใชแลวถึงเชือ่ รวมถึงตองตอสูก บั หนวยทีก่ ลาวหาวาเกินจริง แต จริงๆ แลวสามารถใช งานไดจริงและประหยัดจริง ซึ่งทั้งหมด เกิดจากความพยายาม ไมทอ และยอมใหผูที่ยังไมเชื่อสามารถพิสูจน ไดทุกอยาง หลายคนที่เอารถมาติดตั้ง เดิมเสียคานํ้ามันเดือนละ 2 หมื่นบาท แตเมื่อมาติดตั้งดีเซลรวมกับ NGV สามารถประหยัดได ครึ่งหนึ่ง ซึ่งผูขับขี่ตองเขาใจธรรมชาติของเครื่องยนตและการใชงาน ดีเซลรวม NGV ดวย ระบบดีเซลรวม NGV ของ NGV DEVELOPMENT ติดตั้งมา แลวกวา 1,000 คัน ทุกคันสามารถพูดไดเต็มปากวาสามารถประหยัด นํ้ามันไดดีทุกคัน แตไมสามารถเอาไปคุยกับใครไดเลย เพราะบานเรา ยังมองวาการดีเซลรวมกับ NGV ยังเปนเรื่องที่ไมนาเชื่อถือ แตคนที่ สามารถยืนยันไดกค็ อื ลูกคาทีม่ าติดตัง้ แลวมีการบอกกันปากตอปาก ปจจุบัน ไดมีการสั่งซื้อรถใหมหลายรุนหลายยี่หออยางนอย เดือนละ 1 คัน งบประมาณในการพัฒนาอีกอยางนอย 1,000,000 บาท ตอเดือน เพือ่ นํามาติดตัง้ ระบบดีเซลรวม NGV ใหลกู คาเอาไปทดสอบ การใชงาน โดยใหเอาไปใชงาน 3 วัน หรือ 7 วัน เพือ่ เพิม่ ความเชือ่ มัน่ วา ไมวารถรุนไหนในตลาด ก็สามารถติดตั้งไดแบบตรงรุน ที่ผานมา การตอสูของดีเซลรวมกับ NGV กับความไมเชื่อของ ผูใ ชรถยนต เปนเรือ่ งทีค่ อ นขางเหนือ่ ยและทอ แตตอ งคิดแกไขใหตรงจุด เพราะวิธีคิดเปนเรื่องสําคัญ… ในการทํางาน แตหากยังไมเปนที่ ยอมรับ อาจเห็นเทคโนโลยีของคนไทยเติบโตในตางประเทศก็เปนได เพราะปจจุบันเทคโนโลยีของ NGV DEVELOPMENT ถูกทาบทาม จากหลายประเทศ และตอไปเราอาจตองซื้อเทคโนโลยีของคนไทยใน ตางประเทศก็เปนได 49
Energy#60_p48-53_Pro3.indd 49
10/22/13 3:05 PM
Exclusive อภัสรา วัลลิภผล
“
กวา 25 ปแลว ทีบ่ ริษทั บางกอก อินดัสเทรียลแกส จํากัด (BIG) ผูน าํ นวัตกรรมกาซอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย ซึง่ เปนบริษทั ในเครือ Air products and Chemicals Inc ประเทศสหรัฐอเมริกา ใหบริการกาซ อุตสาหกรรมพรอมติดตัง้ สถานีเพือ่ จายกาซเขาในระบบการผลิตของลูกคา ดวยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ปลอดภัย ไดมาตรฐานโลก และลาสุดไดทาํ การ เปดตัว “Industrial Gas Complex (ศูนยรวมการใหบริการกาซอยางครบ วงจร)” ณ โรงงานแยกอากาศ BIG3 ตัง้ อยูท ี่ นิคมอุตสาหกรรมเหมราช ชลบุรี (บอวิน) จังหวัดชลบุรี ถือเปน กาซอุตสาหกรรมคอมเพล็กซ แหงแรกทีใ่ หบริการครอบคลุม กาซหลากหลายชนิด
”
50
Energy#60_p50-51_Pro3.indd 50
10/24/13 10:15 PM
BIG ลุยตลาดกาซอุตสาหกรรม เนนความปลอดภัย ประหยัดพลังงาน
คุ ณ ป ย บุ ต ร จ า รุ เ พ็ ญ ก ร ร ม ก า ร ผูจัดการ บริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแกส จํากัด หรือ บีไอจี เผยวา ทาง BIG ไดขยาย โรงแยกอากาศที่ชลบุรีใหสามารถผลิตกาซ เหลวได 920 ตันตอวัน ตางจากเดิมที่เคย ผลิตได 500 ตันตอวัน เทานั้น พรอมทั้งเปด Integrated Industrial Gas Complex ซึ่ ง เป น ศู น ย ร วมการให บ ริ ก ารก า ซครบ วงจรแหงแรกและแหงเดียวในประเทศไทย ที่ครอบคลุมทุกความตองการ ดวยทําเลที่ อยูใจกลางอุตสาหกรรมของภาคตะวันออก พร อ มสนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมไทยให เ ป น ศูนยกลางเศรษฐกิจและการผลิตยุคใหม ของภูมิภาค ผลิตภัณฑและบริการที่ BIG พรอม ให ก ารสนั บ สนุ น ในอุ ต สาหกรรมต า ง ๆ เชน อุตสาหกรรมการกลั่นนํ้ามัน ปโตรเคมี แก ว และกระจก เหล็ ก อิ เ ล็ ก โทรนิ ก ส เคมีภัณฑ รถยนตและชิ้นสวน ยางรถยนต และผลิตภัณฑยาง ซีเมนต เกษตรกรรม การปรับคุณภาพนํ้า งานตรวจสอบในหอง ปฎิบัติการและพลังงานทางเลือกอื่น ๆ คอมเพล็กซกาซอุตสาหกรรรมของ BIG มีจุดเดน 4 ดาน ไดแก 1.การผลิตและ ใหบริการทุกรูปแบบการจัดจําหนายกาซ (Exclusive Supply Synergy) ตัง้ แตระบบ เครือขายการขนสงทางทอสําหรับลูกคาที่ อยูในนิคมอุตสาหกรรมและพื้นที่ใกลเคียง การขนสงทางรถบรรทุกกาซเหลว การติดตัง้ โรงแยกอากาศขนาดเล็กในพืน้ ทีโ่ รงงานของ ลูกคา บริการหนวยผลิตกาซเคลื่อนที่ และ ผลิตภัณฑกาซแบงบรรจุ ที่มีโรงงานแบง บรรจุกาซตามมาตรฐานสากลของบริษัทฯ 2.ความคุมคา (Exclusive Economic Synergy) เนื่องจาก BIG มีการผลิตดวย กํ า ลั ง การผลิ ต ก า ซเหลวที่ ใ หญ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย 3.ความไววางใจไดในการจัดสง ก า ซได อ ย า งต อ เนื่ อ งและคุ ณ ภาพได มาตรฐาน (Exclusive Supply Synergy) ดวยระบบ Telemetry ซึง่ เปนระบบอัตโนมัติ ที่ตรวจวัดปริมาณสํารองกาซ ชวยใหรูถึง อั ต ราการใช ง านก า ซที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปใน
แตละชวงเวลาของลูกคา บริษทั ฯ จึงประเมิน ปริ ม าณสํ า รองก า ซที่ เ หลื อ อยู แ ละจั ด ส ง กาซใหแกลกู คาไดอยางเหมาะสมและแมนยํา ทันเวลา รวมทัง้ ระบบ Gas Analyzer ทีช่ ว ย วิเคราะหความบริสุทธิ์ของผลิตภัณฑใหได มาตรฐานตลอดเวลา ตลอดจนกําลังการ ผลิตทีม่ ากทีส่ ดุ สามารถสนองความตองการ ของลูกคาไดอยางตอเนื่อง และ 4.ความ พรอมดานบริการ (Exclusive Service Synergy) ทั้งการจัดสงผลิตภัณฑอยาง ครบวงจร และการสนับสนุนโดยทีมวิศวกร ผูเชี่ยวชาญของ BIG ที่สามารถใหบริการ ไดทันทวงทีแมในยามฉุกเฉินหรือตองการ เรงดวน เพราะขอไดเปรียบดานระยะทาง ที่ใกลกับโรงงานลูกคา ทางดานบริการของลูกคาทาง BIG มี ก ารให ลู ก ค า ทดลองการบริ ก ารอยู ที่ 2-3 เดือน การจายเงิน จายเปนปริมาณการใช คิดเปนยูนิต ใชเทาไหรจายเทานั้น ถูกใจก็ รวมงานกันตอ ถาไมถูกใจก็แยกยายกันไป ในสวนนี้ BIG ความเสี่ยงจะนอย เมื่ อ มาพู ด ถึ ง การทํ า งานในป 57 บอกวา ทางเราจะพยายามเนนในเรื่องของ การใชพลังงาน การใชออกซิเจน ผมมองวา ในระยะสั้ น ระยะกลาง และระยะยาว ของเมืองไทยยังคงเนนในเรื่องของการใช พลั ง งาน และพลั ง งานในออกซิ เ จน แต ถาเปนในสวนของระยะกลางและระยะยาว จริง ๆ แลวคงเนนที่ไฮโดรเจนเพราะถาเรา มองไปถึ ง ไฮโดรเจนที่ นํ า มาเป น เชื้ อ เพลิ ง ในอนาคต เนือ่ งจากระยะสัน้ คงยังไมสามารถ ตอบโจทยได สวนในชวงระยะกลางนาจะอยู ที่ 5 -10 ป ไปแลว สวนระยะยาวตองมา พิจารณากันอีกที สําหรับผลประกอบการเมื่อป 2555 ที่ผานมาทาง BIG มีรายไดอยูที่ 5,300 ลาน บาท และปนี้คาดวาจะโตขึ้น 10% ซึ่งปนี้ ต อ งยอมรั บ ว า อุ ต สาหกรรมในเมื อ งไทย ตอนนี้คอนขางหดตัว ถาเราไมมีเรื่องของ นวัตกรรมในสวนตาง ๆ อุตสาหกรรมจะ โตขึ้นไมมาก แตตอนนี้เรามีนวัตกรรมซึ่ง นวัตกรรมตาง ๆ ไมไดขึ้นอยูกับการเติบโต
อุตสาหกรรม แตจะขึ้นอยูที่วาลูกคาวันนี้ ตองการจะเพิ่มการผลิต อยากจะใหมีการ ใชพลังงานที่ดีขึ้นหรือไม ในสวนนี้ชวยเรา ไดเยอะเลย สวนกระบวนการผลิตของทาง BIG ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมนั้น กระบวนการ ผลิ ต ของทาง BIG เอง เราพยายามใช ไฟฟาใหนอยที่สุด เพราะโดยปกติการผลิต กาซจะตองใชไฟฟามากพอสมควร ยิ่งการ ผลิตกาซออกมาเปนในรูปแบบของเหลวนั้น ใช พ ลั ง งานไม น อ ยเลย สิ่ ง ที่ เ ราประหยั ด พลังงานในวันนี้ คือ เราสงกาซโดยใชระบบทอ เพื่อเปนการประหยัดพลังงานไดมากที่สุด นอกจากนี้ วิธีการสงกาซใหลูกคาจะมีมาตร วัดการใชกาซใหลูกคา ซึ่งโดยปกติการสั่ง ของลูกคามักจะสั่งเผื่อไวเพราะกลัวเราสง ไมทัน เราแกปญหาโดยการไปติดตั้งมาตร วัดการใชกา ซของลูกคา เราสามารถรูไ ดเลย วาเมื่อไหรจะไปสง ในสวนที่ลูกคาอยูไกลสง ทางทอไมได เราจะสงเปนของเหลวและเมื่อ มีการสงแบบนี้มากขึ้น เราสามารถสราง กลุมลูกคาได และสามารถไปสรางโรงงาน ใกล ๆ กับลูกคาโดยใชอากาศผลิตเปนกาซ แบบนี้ เ ราไม ต อ งผลิ ต เป น ของเหลวและ สามารถลดการใชไฟฟาไดแลว ขณะนี้ เ บื้ อ งต น ของการทํ า CSR ไม ใ ช แ ค ก ารเก็ บ ขยะชายฝ ง เท า นั้ น ซึ่ ง จริง ๆ แลวเปนเรื่องของความปลอดภัย มากกวา บริษัทที่ไมคํานึงถึงปลอดภัยก็พัง ตั้งแตตนแลว เพราะฉะนั้นสิ่งที่สําคัญคือ ความปลอดภัย ยิ่งในโรงงานอุตสาหกรรม เปนเรื่องที่สําคัญมาก ถาโรงงานไหนไมมี ความปลอดภัยเราจะไมรวมงานดวย เรื่อง ผลกําไร คาตอบแทนไมเกีย่ วเลย ปจจุบนั การ ใชพลังงานเปนตนทุน เราจะทําอยางไรถึงจะ ชวยกันอนุรักษพลังงานไดและในเรื่องของ สิ่งแวดลอมถาเราดูแลดี ๆ ก็สามารถชวย ลดตนทุนเพือ่ รักษาสิง่ แวดลอมไดแลว
51
Energy#60_p50-51_Pro3.indd 51
10/24/13 10:16 PM
Exclusive รังสรรค อรัญมิตร
52
Energy#60_p48-53_Pro3.indd 52
10/22/13 2:56 PM
“ อิเมอรสัน”
ตอกยํ้าผูนําเทคโนโลยี เพื่อการประหยัดพลังงาน ปจจุบันภาคอุตสาหกรรมไดใหความสําคัญกับ การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมมากขึ้น โดยมี การปรับเปลี่ยนมาใชเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตให มีประสิทธิภาพดานการประหยัดพลังงาน ไมวาจะเปน การปรับเปลีย่ นมาใชระบบปรับอากาศประสิทธิภาพสูง ระบบผลิตนํ้ารอน ระบบแสงสวาง ระบบทําความเย็น ซึง่ ความตองการประหยัดพลังงานนัน้ ยังเปนอานิสงส ตอผูประกอบการที่ผลิตอุปกรณ เทคโนโลยีประหยัด พลังงาน และไดพัฒนาโซลูชั่นใหมๆ ขึ้นมารองรับกับ ความตองการดานการประหยัดพลังงาน เฉกเชน บริษัท อิเมอรสัน ไคลเมท เทคโนโลยี จํากัด ซึ่ง เปนผูผลิต ผูพัฒนา และจําหนาย เทคโนโลยี อุปกรณระบบ ระบายความรอน ระบบระบายอากาศ ระบบเครื่องปรับอากาศ และระบบทําความเย็นที่มีประสิทธิภาพ สําหรับที่พักอาศัย อุ ต สาหกรรมและการพาณิ ช ย ที่ ไ ด พั ฒ นาโซลู ชั่ น ด า น ประหยัดพลังงานขึ้นมาอยางตอเนื่อง ลาสุดไดมีการพัฒนาโซลูชั่นสําหรับระบบทําความเย็น ใหประหยัดพลังงานขึ้นมาใหม โดย นางสาวเอมี่ จอหนสัน ผูอ าํ นวยการฝายการตลาดดานระบบปรับอากาศ ประจําภูมภิ าค เอเชีย-แปซิฟค บริษัท อิเมอรสัน ไคลเมท เทคโนโลยี จํากัด เลาใหฟงวา ปจจุบันภาคอุตสาหกรรมไดใหความใสใจและ กังวลเรื่องของการอนุรักษพลังงาน การรักษาสิ่งแวดลอม และ ความปลอดภัยในดานอาหาร มากขึ้น จึงเปนความรับผิดชอบ ของอิเมอรสันที่จะพัฒนาและนําเสนอเทคโนโลยี โซลูชั่นที่จะ รับมือกับความทาทายเหลานีใ้ หได เพือ่ ตอบสนองความตองการ ของภาคอุตสาหกรรมที่ตองการลดตนทุนดานพลังงาน ทัง้ นีจ้ ากการวิจยั ของอุตสาหกรรมเพือ่ ผลิตสารทําความ เย็นชนิดใหมรวมทั้งโซลูชั่นใหมๆ นั้น ทําให อิเมอรสัน ไดทําการ พัฒนาเพื่อขยายกลุมผลิตภัณฑที่ไดมาตรฐานและสอดคลอง กับกฎระเบียบ (compliance) ที่ เขมงวดขึ้นในดานความ ปลอดภัยในอาหารและการรักษาสิ่งแวดลอม โดยลาสุด อิเมอรสัน ไดพัฒนาโซลูชั่นสําหรับระบบ ทําความเย็นครบวงจรหลายรายการสําหรับธุรกิจคาปลีกอาหาร
หองเย็น และบริการอาหาร เพื่อชวยในการเก็บรักษาอาหารใหสะอาดปลอดภัย ในทุกขั้นตอน ตั้งแตการผลิต การแปรรูป การขนสง และการจัดเก็บ ดวยการ เพิม่ ประสิทธิภาพและผสานเทคโนโลยีคอมเพรสเซอรสาํ หรับระบบทําความเย็น ระบบควบคุมเพื่อการอนุรักษพลังงาน ระบบการตรวจสอบเครือขายระยะไกล และอุปกรณควบคุมขั้นตอนการทํางาน (flow control) โซลูชนั่ ครบวงจรสําหรับระบบทําความเย็นนี้ เนนในเรือ่ งของแอพพลิเคชัน่ เพื่อการใชงานในซูเปอรมารเก็ต โดยนําเสนอคอมเพรสเซอรแบบกึ่งปดผนึก (semi-hermatic) แบรนดโคปแลนด (Copeland™) ในตระกูล Stream ที่มาพรอมกับเทคโนโลยี CoreSense Diagnostics™ ซึ่งทําหนาที่ปกปอง คอมเพรสเซอร พ ร อ มกั บ มอบความสะดวกในการบํ า รุ ง รั ก ษาเชิ ง ป อ งกั น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานและความนาเชื่อถือของระบบ และยังสามารถ เชื่อมตอกับแพลตฟอรมการตรวจสอบระยะไกลซึ่งสามารถทําการตรวจสอบ ไดตลอด 24 ชั่วโมง และยังมีกลุมผลิตภัณฑใหมที่ออกแบบมาใหใชรวมกับสาร ทําความเย็นที่ลดการกอใหเกิดสภาวะโลกรอน เชน R32, CO2 และ R290 เพื่อ ตอบรับสูก ารเปลีย่ นแปลงในอุตสาหกรรมทีต่ อ งหันมาใชสารทําความเย็นทีเ่ ปน มิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น อยางไรก็ตามอิเมอรสันเชื่อวาเทคโนโลยีที่ชวยประหยัดพลังงานและรับ ผิดชอบตอสิ่งแวดลอมของเราสามารถชวยใหลูกคาลดการใชพลังงาน ลดการ สูญเสียอาหารสด และเอื้อตอการพัฒนาสังคมเมืองอยางยั่งยืน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดเตรียมที่จะเปดตัวผลิตภัณฑ ใหมสูตลาดในอนาคตอันใกลนี้ เพื่อตอกยํ้าความเปนผูนําในอุตสาหกรรม HVACR ไดแก คอมเพรสเซอร โคปแลนดสโครลที่ใชกับสารทําความเย็นชนิด R410A (R410A Copeland ScrollTM) ขนาด 60 แรงมา ซึง่ นับเปนคอมเพรสเซอรรนุ ใหญทสี่ ดุ ในโลก
53
Energy#60_p48-53_Pro3.indd 53
10/23/13 9:06 AM
Special Report รังสรรค อรัญมิตร
ผูที่อยูในแวดวงพลังงานคงทราบ กันดีวา แหลงถานหินในเหมืองแมเมาะ ป จ จุ บั น เหลื อ กํ า ลั ง การผลิ ต ถึ ง ป 2600 หรืออีกประมาณ 34 ปก็จะหมด สวนกาซ ธรรมชาติในอาวไทยก็กําลังจะหมดอีก 10 ปขางหนา ซึ่งจากปจจัยดังกลาวกระทรวง พลังงานไดพิจารณาสัดสวนของเชื้อเพลิง ที่ ใ ช ใ นการผลิ ต ไฟฟ า ให มี ค วามเหมาะ สมเพื่อสรางความมั่นคงใหกับพลังงาน ไทยในอนาคต โดยตั้งเปาลดสัดสวนการ ใชกาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาลงให เหลือ 45% และเพิม่ สัดสวนถานหินกวา 30% จากปจจุบันประเทศไทยพึ่งพาการใชกาซ ธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา ประมาณ 66% ถานหินเพียง 18.9% เทานั้น
เยือนมาเลเซีย ...ศึกษาดูงาน โรงไฟฟาถานหิน
Jimah
โดยการเพิม่ สัดสวนของถานหินสําหรับใชเปน เชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟานัน้ คณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติไดมมี ติใหการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.) สรางโรงไฟฟาถานหิน 4 โรงกําลัง การผลิตรวม 4,000 เมกะวัตต ตามแผนพัฒนากําลัง ผลิตไฟฟา PDP2010 (ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 3) หรือ Power Development Plan การเดินตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของ ประเทศไทยนัน้ การไฟฟาฝายผลิตฯ ไดวางเปาหมาย การสร า งโรงไฟฟ า ถ า นหิ น ที่ บ า นทุ ง สาคร ตําบลปกาสัย อําเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ขนาด 800 เมกะวัตต เพือ่ เปนโรงแรกทีจ่ ะเขาสูร ะบบ ในการผลิตไฟฟาในป 2562 และหลังจากนัน้ โรงถัดไป จะเขาสูร ะบบในป 2565,2568 และ 2571 ตามลําดับ อยางไรก็ตามการสรางโรงไฟฟาในประเทศไทย นัน้ ตองผานกระบวนการ และขัน้ ตอนทีห่ ลากหลาย ดวยกันไมวา จะเปนการสํารวจเรือ่ งผลกระทบตอสิง่ แวดลอม แหลงทองเทีย่ ว ชุมชนชาวบานทีอ่ ยูร อบพืน้ ที่
54
Energy#60_p54-55_Pro3.indd 54
10/17/13 10:35 PM
โรงไฟฟา ทีส่ าํ คัญคือการตอตานจากประชาชน และกลุม องคกรอิสระ ทีเ่ ปนอุปสรรคสําคัญใน การสรางโรงไฟฟาในประเทศไทย และตองทํา ประชาพิจารณ EHIA และ EIA 3 ครัง้ ดวยกัน ซึง่ คงไมตอ งอธิบายกันมากเพราะคงทราบกัน ดีวา ขัน้ ตอนทีต่ อ งดําเนินการนัน้ เปนอยางไร จ า ก ขั้ น ต อ น ที่ ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ อุปสรรคตางๆ ในการสรางโรงไฟฟาถานหิน ในประเทศไทยการไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) จึงไดจัดทริปพาผูสื่อ ขาวไปศึกษาดูงานที่ โรงไฟฟาถานหินจิมาห (Jimah) ประเทศมาเลเซีย โดยตัง้ อยูต ดิ กับ ชายฝง ทะเลทาเรือ Dickson รัฐเนกรี เซมบิลนั ซึ่ ง การดํ า เนิ นการสร างโรงไฟฟ าถ านหิน แหงนีส้ ามารถดําเนินการตามแผนทุกอยางใน ระยะเวลาทีก่ าํ หนด ทัง้ ๆทีข่ นั้ ตอนในการสราง โรงไฟฟาก็ไมไดแตกตางกันมาก โดยมีการทํา ประชาพิจารณ EHIA เหมือนกันแตขนั้ ตอน ของมาเลเซียจะนอยกวาประเทศไทย และไมมี การประทวงจากประชาชน หรือองคกรอิสระ เพราะกฎหมายประเทศมาเลเซียเขมงวดกวา ประเทศไทยจึงทําใหสามารถดําเนินการสราง โรงไฟฟาตามขัน้ ตอนในระยะเวลาทีว่ างไว ทัง้ นี้ นายเยน อัดนาน บิน โมฮัมหมัด หัวหนาแผนก QHSE ของโรงไฟฟาจิมาห (Yen Adnan Bin Mohamad ,QHSE-Head of Department of Jimah O&M SDN BHD) ไดเลาถึงโรงไฟฟา จิมาห (Jimah) ใหฟงวา “เปนโรงไฟฟาของบริษัท Jimah Energy Venture ซึ่งเปนบริษัทลูกของ การไฟฟามาเลเซีย มีกาํ ลังการผลิตไฟฟา
ยูนติ ละ 700 เมกะวัตต จํานวน2ยูนติ รวม กําลัง การผลิต 1,400 เมกะวัตต มูลคาการลงทุน ประมาณ 6,100 ลานริงกิตมาเลเซีย ไดเริม่ ขัน้ ตอนการศึกษาผลกระทบดานสิง่ แวดลอมเมือ่ ป พ.ศ.2548 ใชเวลาการกอสรางโครงการ 4ป ก็สามารถจายกระแสไฟฟาเขาสูร ะบบและขาย ไฟฟาในเชิงพาณิชยไดในป พ.ศ. 2552 โรงไฟฟ า จิ ม าห ใ ช ถ า นหิ น ประเภท บิ ทู มิ นั ส และซั บ บิ ทู มิ นั ส นํ า เข า จาก อินโดนีเซีย และออสเตรเลีย เปนเชื้อเพลิง ปละประมาณ 4.3 ลานตัน โดยมีการลงทุน ติ ด ตั้ ง ระบบป อ งกั น มลภาวะสิ่ ง แวดล อ ม ทั้ ง เครื่ อ งกํ า จั ด ก า ซซั ล เฟอร ไ ดออกไซด (Flue Gas Desulphurisation-FGD) แ ละเค รื่ อ ง ดั ก ฝุ น แ บบ ไ ฟ ฟ า ส ถิ ต ย (Electrostatic Precipitator-ESP) ทีส่ ามารถดูแลรักษาสิง่ แวดลอมไดเปนอยางดี พรอมกันนี้การลําเลียงถานหินจากทาเรือสู โรงไฟฟาเปนระบบปดทั้งหมด ทําใหลดผล กระทบตอสิง่ แวดลอมโดยไมไดเปนปญหากับ ชุมชน และอุปสรรคในการดําเนินโครงการเลย ทั้งนี้ในปจจุบันประเทศมาเลเซียมีโรง ไฟฟาทีใ่ ชเทคโนโลยีถา นหินสะอาด จํานวน 4 โรง คือ โรงไฟฟา Manjung ขนาดกําลัง การผลิต 2,100 เมกะวัตต ,โรงไฟฟา Sultan Salahuddin Abdul Aziz ขนาดกําลังการ ผลิต 2,420 เมกะวัตต ,โรงไฟฟา Jimah ขนาดกําลังการผลิต 1,400 เมกะวัตต และ โรงไฟฟา Tanjung กําลังการผลิต 2,244 เมกะวัตต รวมกําลังการผลิตทัง้ หมด 8,160 เมกะวัตต โดยโรงไฟฟาทัง้ 4 ตัง้ อยูต ดิ กับ
ชายฝง ทะเล เพือ่ ความสะดวกในการขนถาย ถานหินนําเขาจากตางประเทศ ซึง่ ในแตละโรง จะไมเกิดปญหาเรือ่ งการตอตานจากประชาชน หรื อ องค ก รอิ ส ระ และไม มี ผ ลกระทบต อ สิง่ แวดลอมทางทะเลเนือ่ งจากมีระบบปองกัน ทีไ่ ดมาตรฐาน นอกจากนีแ้ ลวสัดสวนการใชเชือ้ เพลิง ในการผลิตไฟฟาของประเทศมาเลเซียนัน้ เปน ถานหินถึง 45% กาซธรรมชาติ 43% นํา้ มัน 6% พลังงานนํ้า 6% โดยมาเลเซียนั้นถือ เปนประเทศทีม่ ปี ริมาณสํารองกาซธรรมชาติ จํานวนมาก แตไดมีการปรับนโยบายที่จะใช ถานหินนําเขาทีม่ ตี น ทุนทีถ่ กู กวามาผลิตไฟฟา ในขณะที่กาซธรรมชาติ ซึ่งมีราคาสูงไดมี การสงออกในรูปแอลเอ็นจีเพื่อเปนรายได ใหกบั ประเทศ” เรียกไดวาแตกตางกับประเทศไทย เลยนะครับ ทีใ่ ชกา ซธรรมชาติมาผลิตกระแส ไฟฟาในสัดสวนทีม่ ากกวาถานหินตามทีก่ ลาว มาขางตน ซึ่งในอนาคตหากประเทศไทยไม สามารถพัฒนาโรงไฟฟาถานหินเพิม่ ขึน้ ไดก็ จะทําใหมตี น ทุนคาไฟฟาทีส่ งู ขึน้ ประมาณ 6 บาทตอหนวยตามการคาดการณของ กฟผ. สวนปจจุบนั อัตราคาไฟเฉลีย่ อยูท ี่ 3.76 บาท ตอหนวย หลังจากนี้ทิศทางการสรางโรงไฟฟา ถานหินจะดําเนินการอยางไรนัน้ ขึน้ อยูก บั การ ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยวา จะสามารถ บริหารจัดการสรางโรงไฟฟาใหไดตามแผน ของนโยบายทีร่ ฐั บาลกําหนดไวหรือไม หากไม เปนไปตามแผนกระทรวงพลังงานก็พรอมทีจ่ ะ 55
Energy#60_p54-55_Pro3.indd 55
10/17/13 10:35 PM
Auto Update BarBeer
“เทคโนโลยีไฮบริด” เทคโนโลยีลกู ผสมทีไ่ ดรบั การยอมรับจากผูใ ชรถยนตมาเปนเวลาพาสมควร จนปจจุบนั ไดมกี ารบรรจุไฮบริด อยูในยานยนตหลากหลายยี่หอ หลายระดับรุนเพื่อตอบสนองความตองการของผูขับขี่ที่ใสใจดานการอนุรักษพลังงาน ลาสุด เลกซัสกรุป บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ไดเปดตัว LEXUS GS 300h รถไฮบริดสายเลือดสปอรตซีดานระดับหรูหรา ทีม่ าพรอมกับนวัตกรรม Full Hybrid
LEXUS GS 300h ที่สุดของไฮบริดสปอรตซีดาน ปที่ผานมา เลกซัสกรุป บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ไดเปดตัวยานยนต สปอรตระดับหรูหรากับรุน GS250, GS350 และ GS450h โดยมีการตอบรับเปนอยางดีในปนี้ ดวยการตอบรับจากลูกคาหลายระดับ ทําใหตองมีการเพิ่มทางเลือกใหกับผูที่ชื่นชอบเรื่องของ เทคโนโลยีที่ควบคูกับความประหยัด ดวยการแนะนํารถไฮบริดสปอรตซีดาน LEXUS GS 300h ภายใตแนวคิด The True leading of Luxury Hybrid vehicle ที่สุดของไฮบริดสปอรตซีดาน ที่ผสานระบบการทํางานของเครื่องยนตและมอเตอรไฟฟากําลังสูงไดอยางสมบูรณแบบ LEXUS GS 300h ถือเปนอีกหนึ่งยนตกรรมไฮบริดที่ตนสังกัดไดออกแบบภายใตปรัชญา L-finesse เพิม่ ความโฉบเฉีย่ วและปราดเปรียวตามหลักอากาศพลศาสตร เสริมดวยสัญลักษณ ที่บงบอกถึงความเปนยานยนตเพื่อสิ่งแวดลอมคือตัวอักษร h ซึ่งหมายถึงระบบ Full Hybrid และ GS 300h ถือเปนรถไฮบริดรุน ลาสุดทีพ ่ ฒ ั นาและออกแบบภายใตแนวคิด The Power of h การออกแบบภายนอกเนนความปราดเปรียว และดุดนั ในแบบสปอรตซีดาน โดยกระจังหนา ออกแบบ Spindle Grille เอกลักษณเฉพาะของเลกซัส พรอมระบบไฟ LED Daytime Running Lights(DRL) ทรงหัวลูกศรโฉบเฉี่ยว พรอมจัดระเบียบการไหลของกระแสลมใหไหลผานอยาง ราบเรียบดวยครีบควบคุมการไหลของอากาศ Aero Stabilizing Fins ทีบ่ ริเวณกระจกมองขาง และไฟทาย รวมถึงการติดตัง้ แผงควบคุมอากาศใตทอ งรถและการออกแบบปลายทอไอเสียใหเปน สวนหนึ่งของกันชนหลัง ชวยลดเสียงลมปะทะบริเวณตัวรถและใตทองรถ และเพิ่มเสถียรภาพ ในการควบคุมรถไดอยางมั่นคงมากขึ้น 56
Energy#60_p56-58_Pro3.indd 56
10/11/13 10:38 PM
ภายในออกแบบใหอารมณสปอรต หรูหราและลํ้าสมัย โดยใชวัสดุตกแตงภายในดวยขอบโลหะ เบาะนั่งใชวัสดุหนังแทจาก หนังวัวชั้นดี ตัดเย็บดวยความพิถีพิถันแบบโชวการเดินเสนดาย (Stitching) พรอมระบบแผนที่นําทาง (Lexus Navigation) ที่ แ สดงข อ มู ล การจราจรอั จ ฉริ ย ะ Real time ระบบเครื่ อ งเสี ย งถู ก ออกแบบเฉพาะห อ งโดยสารของเลกซั ส เท า นั้ น กั บ Lexus Premium Audio System พรอมลําโพงแบบแยกเสียง 12 ตัว เพิ่มสัมผัสแหงความสะดวกสบายดวยระบบควบคุม แบบมัลติฟงชั่น Remote Touch Interface (RTI) ที่สามารถควบคุมการทํางานของระบบตาง ๆ ภายในรถอยางงายดาย เพียงปลายนิ้วสัมผัส อยางที่กลาวขางตน LEXUS GS 300h มาพรอมการขับเคลื่อนแบบ Full Hybrid รุนลาสุด จึงอัดแนนดวยเทคโนโลยี ที่ผสานการทํางานรวมกันของเครื่องยนต 4 สูบแถวเรียง D-4S Dual VVT-i 2.5 ลิตร และมอเตอร ไฟฟาใหกําลังสูงสุด 223 แรงมา ถายทอดพลังการขับเคลือ่ นผานระบบสงกําลังแบบอัตราทดแปรผันตอเนือ่ ง E-CVT (Electronically-Continuously Variable Transmission) ทําใหจังหวะการเปลี่ยนเกียรนุมนวลโดยใหอัตราเรง 0 – 100 กิโลเมตร/ ชั่วโมง เพียง 9.2 วินาที มีอัตราความสิ้นเปลืองนํ้ามันเฉลี่ยอยูที่ 19.23 กิโลเมตร/ ลิตร และปลอยมลพิษตํ่าสุดตามมาตราฐาน ยูโร 5 ซึ่งเปนมาตรฐาน สูงสุดของโลก ขับเคลื่อนดวยระบบรองรับแบบเเปรผัน AVS (Adaptive Variable Suspension) ทํางานสัมพันธกับ Drive Mode Select ที่สามารถปรับเปลี่ยนไดตามรูปแบบการขับขี่ ใหทั้งความนุมสบายในรูปแบบการขับขี่ปกติ และใหความมั่นคง เมื่อขับขี่ในแบบสปอรต 57
Energy#60_p56-58_Pro3.indd 57
10/11/13 10:38 PM
ดานระบบความปลอดภัย ไดมีการ เติมเต็มเทคโนโลยีเอาไวอยางครบครัน เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยสูงสุดในทุกการเดินทาง มั่ น ใจทุ ก เส น ทางกั บ การขั บ ขี่ ที่ คํ า นึ ง ถึ ง ความปลอดภัยสูงสุด ดวยถุงลมเสริมความ ปลอดภัย 10 จุด สําหรับผูขับขี่ ผูโดยสาร ตอนหนาและบริเวณหัวเขา 4 จุด บริเวณ เสาคูหนา 2 จุด และดานขางเบาะที่นั่งตอน หนาและหลัง 4 จุด ใหความปลอดภัยสูงสุด เข็มขัดนิรภัย ELR แบบ 3 จุด แบบผอนแรง ดึงและรั้งกลับอัตโนมัติ (pre-tensioner and force limited) สําหรับที่นั่งตอนหนา และที่นั่งตอนหลัง ชวยลดอาการบาดเจ็บ จากแรงกระแทกในกรณีเกิดอุบัติเหตุ ระบบจัดการรวมไดนามิคของตัวรถ VDIM (Vehicle Dynamics Integrated Management) จะคอยตรวจจั บ และ แกไขการสูญเสียการทรงตัวกอนที่อาการ ดังกลาวจะเกิดขึ้นโดยประสานการทํางาน ของระบบเบรคแบบปองกันลอล็อค (ABS) ระบบเพิ่มแรงเบรคอัตโนมัติ BA (Brake Assist) ระบบรักษาแรงดันเบรค (Adaptive Brake + Hold) ระบบชวยออกตัวบนทาง ลาดชัน (Hill Start Assist) ระบบควบคุม การทรงตัว (Vehicle Stability Control) ระบบป อ งกั น การลื่ น ไถล (Traction Control) และ ระบบพวงมาลัยพาวเวอร ไฟฟ า (Electric Power Steering) เพิ่มความปลอดภัยทุกการเขาโคง
ร ะ บ บ ป อ ง กั น ก า ร ลื่ น ไ ถ ล T R C (Traction Control) ปองกันลอหมุนฟรี ขณะออกตัว ชวยเพิ่มความปลอดภัยขณะ ออกตั ว บนสภาพถนนที่ เ ป ย กลื่ น พร อ ม ระบบเบรคแบบป อ งกั น ล อ ล็ อ ค ABS (Anti-Lock Brake System) ระบบเพิ่ม แรงเบรคอัตโนมัติ BA (Brake Assist) และ ระบบปรั บ สมดุ ล แรงดั น เบรค (Adaptive Brake + Hold) ชวยประสานการทํางานใน การควบคุมรถใหเปนไปอยางแมนยํา แมใน เวลาเบรกกระทันหัน ไฟเบรคกระพริบฉุกเฉิน (Emergency Brake Light) โดยไฟเบรคจะกระพริบถี่ขึ้น โดยอั ต โนมั ติ เ มื่ อ รถเบรกอย า งกระทั น หั น เพือ่ เตือนใหรถทีต่ ามมาทราบ ปองกันการเกิด อุบตั เิ หตุจากการถูกชนทาย ระบบปองกันการ โจรกรรม Immobilizer ที่จะตรวจสอบความ ถูกตองของรหัสกุญแจรถกอนสตารททุกครัง้ และ Intrusion Sensor ระบบตรวจจับปองกัน การรุกรํา้ ภายในตัวรถ พรอมสัญญาณเตือน อัตโนมัติ เพื่อปองกันการโจรกรรม นอกจากนี้ ระบบเตือนแรงดันลมยาง (Tyre Pressure Warning) แจ ง เตื อ น สถานะแรงดันลมยางทั้ง 4 ลอ และระบบชวย จอด (Park Assist) โดยเซนเซอรกะระยะทั้ง บริเวณกันชนหนาและกันชนหลังจะชวยตรวจ จับสิ่งกีดขวางทํางานรวมกับกลองมองหลัง พรอมแสดงเสนชวยกะระยะในขณะถอยจอด ใหความปลอดภัยพรอมเพิ่มความมั่นใจใน ทุกการถอยจอด สํ า หรั บ LEXUS GS 300h เปด ตั ว ดวย 3 รุนหลัก คือ รุน GS300h Luxury, GS300h Premium และ GS300h Premium Moonroof ดวยราคาจําหนาย ที่ 4,090,000 บาท - 4,490,000 บาท พรอม การรับประกัน 4 ป โดยไมจํากัดระยะทาง
58
Energy#60_p56-58_Pro3.indd 58
10/11/13 10:38 PM
Energy#60_p59_Pro3.indd 18
10/24/13 5:34 PM
Have To Know นองบูล… ตอบได
พลั ง งานที่ ม าแรงและมานานมากในช ว งนี้ คงหนีไมพน พลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย ทําไม ถึงมาแรงและมานาน... ก็เพราะเปนพลังงานที่เกิด ขึ้นใหมทุกวัน คงที่ และไมมีวันสิ้นสุด ชวงตน ของการคิดคนและพัฒนานั้น มักถูกมองเปนทาง เลือกทายๆ เพราะมีตนทุกคอนขางสูงและใหผล ตอบแทนไมคุมคาสักเทาไหรนัก แต ณ ปจจุบัน ดวยเทคโนโลยีที่พัฒนาอยางตอเนื่องแลว ทําให Solar cell มีประสิทธิภาพสูงมากขึน้ แตราคาถูกลง
Solar cell ตัวกินแสงแปลงเปนพลังงาน 60
Energy#60_p60-61_Pro3.indd 60
10/17/13 9:44 PM
การทํ า งานของโซล า เซลล เป น ขบวนการเปลี่ ย นพลั ง งานแสงเป น กระแสไฟฟ า ได โ ดยตรง โดยเมื่ อ แสงซึ่ ง เป น คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า และมี พ ลั ง งาน กระทบกับสารกึ่งตัวนํา จะเกิดการถายทอดพลังงานระหวางกัน พลังงานจากแสง จะทํ า ให เ กิ ด การเคลื่ อ นที่ ข องกระแสไฟฟ า หรื อ อิ เ ลคตรอน ขึ้ น ในสารกึ่ ง ตั ว นํ า จึงสามารถตอกระแสไฟฟาดังกลาวไปใชงานได สวนประกอบ n - type ซิลิคอน จะอยูดานหนาของเซลล ทําหนาที่เปนสาร กึ่งตัวนําที่ไดการโดปปงดวยสารฟอสฟอรัส มีคุณสมบัติเปนตัวใหอิเล็กตรอน เมื่อรับพลังงานจากแสงอาทิตย สวน p - type ซิลิคอน จะเปนสารกึ่งตัวนําที่ไดการ โดปปงดวยสารโบรอน ทําใหโครงสรางของอะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน หรือ โฮล เมื่อรับพลังงานจากแสงอาทิตยจะทําหนาที่เปนตัวรับอิเล็กตรอน เมื่อนําซิลิคอนทั้ง 2 ชนิด มาประกบตอกันดวย p - n junction จึงทําใหเกิดเปนโซลาเซลล เมื่อแสงอาทิตยตกกระทบ จะถายเทพลังงานใหกับอิเล็กตรอนและโฮล ทําให เกิดการเคลื่อนไหว เมื่อพลังสูงพอทั้งอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเขาหาเพื่อจับคูกัน อิเล็กตรอนจะวิ่งไปยังชั้น n - type และโฮลจะวิ่งไปยังชั้น p type อิเล็กตรอนวิ่งไป รวมกันที่ Front Electrode และโฮลวิ่งไปรวมกันที่ Back Electrode เมื่อมีการ ตอวงจรไฟฟาจาก Front Electrode และ Back Electrode ใหครบวงจร ก็จะเกิด กระแสไฟฟาขึ้น เนื่องจากทั้งอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเพื่อจับคูกัน สิ่งสําคัญที่เปนตัว บงชี้วา จะสามารถผลิตไฟฟาไดมากนอยเพียงไร คือความเขมของแสง และอุณหภูมิ
เราๆ ทานๆ เคยไดยินกันจนชินหูวา ถาจะผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยก็ตองเปน หนาที่ของแผนดําๆ ที่เรียกวา Solar Cell เทานั้น แลวแผนดําๆ ที่เราเห็นนั้นมีหลัก การทํางานอยางไรถึงสามารถผลิตไฟฟาได หลักการทํางานของ Solar cell นั้นเริ่มที่ การนําเอาสารกึ่งตัวนําที่สวนใหญจะเปน ซิลกิ อน มาผานกระบวนการทางวิทยาศาสตร ใหกลายเปนแผนบางบริสุทธิ์
กระแสไฟ จะเปนสัดสวนโดยตรงกับความเขมของแสง หมายความวาเมื่อ ความเขมของแสงสูง กระแสที่ไดจากโซลาเซลลก็จะสูงขึ้น ในขณะที่แรงดันไฟฟา หรือโวลตแทบจะไมแปรไปตามความเขมของแสงมากนัก ความเขมของแสงที่ใช วัดเปนมาตรฐานคือ ความเขมของแสงที่วัดบนพื้นโลกในสภาพอากาศปลอดโปรง ปราศจากเมฆหมอกและวัดที่ระดับนํ้าทะเลในสภาพที่แสงอาทิตยตั้งฉากกับพื้นโลก นั้นเอง ทั้งนี้ กระแสไฟจะไมแปรตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่แรงดันไฟฟา หรือ โวลท จะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งโดยเฉลี่ยแลวทุกๆ 1 องศาที่เพิ่มขึ้น จะ ทําใหแรงดันไฟฟาลดลง 0.5%
สวนประกอบทีส่ าํ คัญของ Solar cell อยางทีก่ ลาวไวขา งตนวาคือ สารซิลคิ อน(Si) เ ป น ส า ร ช นิ ด เ ดี ย ว กั บ ที่ ใ ช ทํ า ชิ พ ใ น คอมพิ ว เตอร และเครื่ อ งอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ซึ่ ง แน น อนว า เป น สารที่ ไ ม เ ป น อั น ตราย ราคาถูก และคงทน นอกจากนีย้ งั มีวสั ดุชนิด อื่ น ที่ ส ามารถนํ า มาผลิ ต โซล า เซลล ไ ด อี ก เช น กั น อาทิ แกลเลี ย มอาเซไนด และ แคดเมียมเทลเลอไรด แตไมนิยมมากนัก เพราะราคาสูงอยูนั้นเอง
61
Energy#60_p60-61_Pro3.indd 61
10/15/13 9:41 PM
Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
เมื่อไมนานมานี้ ประเทศไทยไดมีโอกาสสัมผัส กับ 2 ยานยนตตน แบบคูเปจากคายรถยนตเชฟโรเลต ภายใตชอื่ Code 130R และ Tru 140S หลังจากไดรบั เสียงตอบรับเปนอยางดีจากงานดีทรอยท ออโตโชว โดย สองรถตนแบบดังกลาวไดรบั การออกแบบเพือ่ สรางแรง บันดาลใจใหแกกลุม ผูซ อื้ รถรุน ใหมและสามารถแบงปน ความคิดเพือ่ รวมกันสรางสรรครถแหงอนาคตได
Code 130R - Tru 140S 2 μŒ¹áºº¤Ù໇¤‹ÒÂâºÇ ä·¹
CHEVROLET Code 130R และ Tru 140S เผยโฉมครั้งแรกในงานบางกอก อินเตอรเนชั่นแนล มอเตอรโชว 2013 และ เปนครั้งแรกของการเปดแสดงในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต และกอนหนานี้ ทั้ง สองคันเคยโชวตัวมาแลวในงาน ดีทรอยท ออโตโชว จนเปนที่กลาวถึงสําหรับผูชื่นชอบ เทคโนโลยีและยานยนตอยางมาก เนื่องจาก ทัง้ Code 130R และ Tru 140S ถูกออกแบบ มาเพื่ อ สร า งแรงบั น ดาลใจให แ ก ก ลุ ม คน รุนใหมและสามารถแบงปนความคิดเพื่อ รวมกันสรางสรรครถแหงอนาคตได
Code 130R
62 62
Energy#60_p62-63_Pro3.indd 62
10/23/13 9:46 AM
มร. กุสตาโว โคลอซซี รองประธาน ฝายการขาย การตลาด และบริการหลัง การขาย ประจําประเทศไทยและเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต บริษัท เจนเนอรัล มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัดและบริษัท เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด เผยถึง 2 ยานยนต ตนแบบวา Code 130R และ Tru 140S เปรี ย บเสมื อ นการแสดงวิ สั ย ทั ศ น แ ห ง อนาคตของบริษทั ใหไดสมั ผัส ซึง่ รถตนแบบ ทัง้ 2 คัน สะทอนถึงความมุง มัน่ ของเชฟโรเลต ในการรั บ ฟ ง เสี ย งของลู ก ค า และพั ฒ นา แนวคิดทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลงอุตสาหกรรม ยานยนตตอไปในอนาคต Code 130R ถูกออกแบบเปนรถคูเป แบบสีท่ นี่ งั่ มีเสนสายการออกแบบทีเ่ รียบงาย ตัวถังใชสีแดงเมทัลลิกสลับดวยลอสีทอง อโนไดซแบบดาน มาพรอมสไตลที่ตกทอด มาจากอดีตโดยเนนสมรรถนะการขับขีแ่ ละใช ระบบขับเคลื่อนลอหลัง ดานหนาเปยมดวย ความดุดนั ซุม ลอมีขนาดใหญสไตลเชฟโรเลต ตัวถังดานขางดีไซนแนวตรงและประทับตา ธงไขวหรือโบวไทนเอกลักษณของเชฟวี่
สมรรถนะการขับเคลือ่ นของ Code 130R คือ เครื่องยนตเทอรโบชารจที่ถูกปรับแตง ให ทํ า งานร ว มกั บ เทคโนโลยี อี แ อสซิ ส ต (eAssist) รถตนแบบรุน นีย้ กระดับยานยนต พลังงานไฟฟาใหกาวไปอีกระดับ ดวยการ ติดตั้งระบบหยุดการทํางานของเครื่องยนต เมื่อรถหยุดนิ่ง ระบบคืนพลังงานขณะเบรก และมีแรงบิดที่ไหลลื่นตอเนื่องเมื่อเหยียบ คันเรง ขณะเดียวกัน ยังรักษาสมดุลของ พละกํ า ลั ง จากเทอร โ บและอั ต ราความ ประหยัดเชื้อเพลิงไดอยางลงตัว สําหรับ Tru 140S เปนรถตนแบบ สไตลแฮทชแบ็กสามประตูสี่ที่นั่งใชระบบขับ เคลื่อนลอหนา รังสรรคดวยแนวคิด รถสุด สปอรตที่ใครก็เปนเจาของได มาพรอมตัว ถั ง สี ข าวแบบด า น ล อ โครเมี ย มประทั บ ตราโบว ไทนของเชฟวี่เชนกัน ทรู 140 เอส ไดรบั การออกแบบใหอดั แนนดวยความมัน่ ใจ โดยพัฒนาบนพืน้ ฐานเดียวกับเชฟโรเลต ครูซ และเชฟโรเลต โวลต รถพลังงานไฟฟา ที่มี จําหนายอยูขณะนี้
ทีมออกแบบของ Tru 140S ตองการ แสดงใหเห็นถึงเทคโนโลยีที่พบไดเฉพาะในรถ ระดับหรู ไมวา จะเปนระบบหัวฉีดไดเรคอินเจคชัน่ และเทคโนโลยี ส ตาร ท -ดั บ เครื่ อ งยนต ที่ ใ ช ตัวสตารทเตอร ระบบสันดาปภายในที่สมดุล รวมถึงระบบขับเคลื่อนไฟฟาที่มอบความคุมคา และประหยัดเชื้อเพลิงสูงสุด รถตน แบบทั้ ง สองรุ น พั ฒ นาจากความ ตองการของกลุม ผูซ อื้ รถทีม่ อี ายุนอ ย ทีใ่ หขอ มูลวา พวกเขาตองการรถที่สะดุดตาแบบคูเปที่รองรับ การใชงานไดดี ซึ่งสไตลตัวถังของทั้ง Code และ Tru สามารถตอบสนองลูกคากลุมนี้ได ภายใน หองโดยสารของรถตนแบบทั้งสองรุน มีระบบ การเชื่อมตอและการตกแตงที่สามารถปรับให ตรงตามความตองการของลูกคาแตละคนได โดยเฉพาะเรือ่ งของระบบการเชือ่ มตอ ซึง่ จะเอือ้ ให พวกเขาสามารถเชื่ อ มอุ ป กรณ พ กพาต า งๆ ผานทางมายลิงคและไวไฟ ทําใหรถยนตกลายเปน สถานีสว นตัว ซึง่ หองโดยสารไดรบั การออกแบบ ใหเปนแบบสองมิติ จึงมีความยืดหยุน สําหรับการ หารือและสนับสนุนใหเกิดการสนทนากันภายใน ขณะขับขี่ไดมกขึ้น
TRU 140S
63 63
Energy#60_p62-63_Pro3.indd 63
10/23/13 9:49 AM
Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
ของเสียที่เกิดจากกิจการของบริษัทใหญในประเทศ เปนปญหาที่มีการหาทางออกอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนมาตรการ ในการปองกันดานสิ่งแวดลอมตาง ๆ จนไดรับการแกไขไปในทางที่ดีขึ้น แมไมหมดไปซะทีเดียว แตก็ยังดีกวาที่ไมหาทางแกไข เสียเลย และหากเปนของเสียที่เกิดจากอุตสาหกรรมในชุมชน การหาทางออกที่จะนําขอเสียนั้นๆ มาทําใหเกิดประโยชนสูงสุด ในแบบวิถีชาวบานถือเปนทางออกที่ดีที่สุด
มทร.ธัญบุรี โชวกึ๋น
ผลิตกาซชีวภาพจากนํ้าเสียของการยีตาล
น อ งๆ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ป ที่ 4 จากคณะ ครุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรม สาขาครุ ศ าสตร อุ ต ส า ห ก า ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ราชมงคลธัญบุรี(มทร.ธัญบุรี) ประกอบดวย นายธํารงศักดิ์ โพธิศ์ รี, นายกรกฤษ เชือ้ ชัยนาท และ นายธงชั ย มิ ด ชั ย ได นํ า ของเสี ย จาก ชุ ม ชนอย า งนํ้ า เสี ย ที่ เ กิ ด จากกระบวนการ ยี ต า ล ม า ผ ลิ ต ก า ซ เ พื่ อ ใ ช ใ น ค รั ว เ รื อ น เพื่ อ การลดภาระด า นค า ใช จ า ยจากการ ใช ก า ซหุ ง ต ม ในชุ ม ชนได อ ย า งมาก โดยมี อาจารย ชั ย รั ต น หงษ ท อง เป น ที่ ป รึ ก ษา ในการวิจัยครั้งนี้ นายธํ า รงศั ก ดิ์ โพธิ์ ศ รี ตั ว แทนคณะ ผูว จิ ยั โครงการการผลิตกาซชีวภาพจากนํา้ เสีย ของการยีตาล เผยถึงที่มาวา ที่บานมีอาชีพ ยีตาลเพื่อเอาเนื้อตาลไปขาย กระบวนการใน การยีตาลตองมีนํ้าเสียทิ้งทุกวัน โดยทิ้งนํ้าเสีย ไว ใ นบ อ หลั ง บ า นโดยทราบถึ ง คุ ณ ค า ที่ มี อ ยู ภายในของบอนํ้าเสียดังกลาว จากการศึกษา และสั ง เกตบ อ นํ้ า เสี ย ทุ ก วั น จะมี ก า ซเกิ ด ขึ้ น จึ ง คิ ด ว า น า จะสามารถนํ า มาทํ า ประโยชน ไ ด ทางคณะผูวิจัยจึงไดคิดโครงงานขึ้น
64
Energy#60_p64-65_Pro3.indd 64
10/17/13 10:40 PM
กระบวนการผลิตกาซชีวภาพจากนํา้ เสียของการยีตาล เริ่ ม จากการสั ง เกตบ อ นํ้ า เสี ย จากการยี ต าลว า มี ข นาด เทาไร โดยขนาดของบอนํ้าเสียในการวิจัยในครั้งนี้มีขนาด 4x4 เมตร จากนั้นนําผาใบมาทําการตัดใหไดขนาดกับบอนํ้า เสียที่ไดจากการยีตาลและคลุมลงไปบนบอนํ้าเสีย เพื่อเก็บ กาซที่ลอยขึ้นมา กาซที่ไดจากการบวนการหมักนํ้าเสียจากการยีตาล ที่ลอยขึ้นเปนกาซชีวภาพ จากนั้นนําทอพีวีซีขนาด 2 นิ้ว มาเจาะรู เพือ่ ใหนาํ้ เขาไปในทอ จากนัน้ เอาทอทีเ่ จาะรู ยึดติดกับ ผาใบทั้ง 4 ดาน ของขอบผาใบ เปนการกดไวบริเวณขอบของ ผาใบ เพื่อไมใหกาซที่เกิดขึ้นไหลออกไปจากบอกาซที่ทําขึ้น และทํ า การต อ ท อ และสายลํ า เลี ย งก า ซไปใช ใ นครั ว เรื อ น จากนัน้ ปลอยใหเกิดกระบวนการเกิดกาซชีวภาพ ประมาณ 7 วัน สิ่งที่ไดคือ กาซที่สามารถนําไปใชในครัวเรือน ซึ่งหัวแกส ที่จะใช ตองเปนหัวแกสพิเศษที่ใชสําหรับกาซชีวภาพ หลังจากที่ไดทดลองใชกาซชีวภาพเปนเวลา 3 เดือน สามารถลดคาใชจายไดมาก เนื่องจากกาซหุงตมที่ใชปกติ จะใช 1 ถัง ตอ 1 เดือน บวกกับราคากาซทีป่ รับขึน้ ทุกเดือน ถือวาเปนการประหยัดและสามารถนํานํา้ เสียจากการยีตาลมา ใชประโยชนได เพราะทีบ่ า นตองยีตาล เพือ่ เอาเนือ้ ตาลสงตลาด ทุกวัน ซึ่งภูมิใจที่นําความรูที่เรียนมา มาใชใหเกิดประโยชน และเพื่ อ นบ า นในหมู บ า นก็ ชื่ น ชม และอยากให มี ใ ช ใ น ครัวเรือนบาง ซึ่งนอกจากกาซชีวภาพที่สามารถนํามาใชได แลว ยังเปนการลดกลิน่ ของนํา้ เสียอีกดวย โดยใชเงินในการ จัดหาคาวัสดุอุปกรณ ในการผลิตกาซชีวภาพจากนํ้าเสีย ของการยีตาล ประมาณ 2,000 บาท คณะวิจัยไดทําการเก็บขอมูลพบวา แตละครัวเรือนจะ มีการใชกาซหุงตมเฉลี่ยเพื่อประกอบอาหารเฉลี่ย 1 ถังขนาด 15 กิโลกรัม ตอ 31 วัน แตเมื่อนํากาซชีวภาพที่ไดมาทําการ ประกอบอาหารแทน คาใชจา ยทีต่ อ งจัดซือ้ กาซหุงตมสามารถ ประหยัดไดเดือนละ 310 บาท หรือสามารถประหยัดคาใชจา ย ไดถึง 3,720 บาทตอป เปนการชวยลดภาระคาใชจายในการ จัดซื้อกาซหุงตมที่มีราคาสูงขึ้นในปจจุบัน ถือเปนการนําของ เสียที่เกิดในชุมชนมาใชใหเกิดประโยชนอีกทาง
65
Energy#60_p64-65_Pro3.indd 65
10/17/13 10:40 PM
Energy Loan อภัสรา วัลลิภผล
คุ ณ สุ ว พร ศิ ริ คุ ณ ผู อํ า นวยการ บริ ห าร มู ล นิ ธิ พ ลั ง งานเพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม (มพส.) ใหขอมูลวา มพส.เปนหนวยงาน อิสระที่ไมไดมุงแสวงหากําไร เปนหนึ่งใน ผูบริหารโครงการกองทุนสงเสริมการลงทุน ดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน ในการเป ด รั บ และพิ จ ารณาข อ เสนอจาก ผู ป ระกอบการที่ มี ค วามสนใจการลงทุ น ใน “โครงการการสงเสริมการลงทุนดาน อนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและพลั ง งานทดแทน” (ESCO REVOLVING FUND) โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหมีการลงทุนใน ดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน ตลอดจนสนับสนุนใหมีการใชบริการธุรกิจ การจัดการพลังงานใหมากขึน้ โดยจะชวยลด การใชพลังงานจากเชือ้ เพลิงฟอสซิลและลด ตนทุนการผลิตดานพลังงานของผูป ระกอบการ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารช ว ยบริ ษั ท เอ็ ก โก (บริษทั ทีป่ รึกษาดานพลังงาน) ในการพัฒนา โปรเจคทางดานการอนุรักษพลังงาน โดยที่ เรามองว า ผู ป ระกอบการหรื อ แม ก ระทั่ ง ธนาคารที่ ป ล อ ยสิ น เชื่ อ เอง ก็ มี ข อ จํ า กั ด ตรงที่วา ยังไมคอยเขาใจเทคโนโลยีทางดาน การอนุรกั ษพลังงาน และพลังงานหมุนเวียน วาเปนอยางไร ทางธนาคารเองก็ไมคอยให เงินสนับสนุนสักเทาไรนักสําหรับตัวโครงการ ที่เปนเทคโนโลยีที่ยังไมเปนที่ยอมรับ และใน ขณะเดียวกันทางผูประกอบการเองอาจมี ฐานะการเงิน หรืองบดุลทีไ่ มดเี ทาไรนัก โอกาส ที่จะไดรับการสนับสนุนจากสถาบันการเงิน อาจยากที่ จ ะได เ งิ น ในส ว นนี้ ท าง มพส. สามารถชวยได โดยเงินกองทุนที่ มพส. ไดรับจัดสรร ใหบริหารจํานวน 250 ลานบาท จาก 500 ลานบาท (ซึง่ แบงคนละครึง่ กับมูลนิธอิ นุรกั ษ พลังงานแหงประเทศไทย) ภายใตรปู แบบการ สงเสริมการลงทุน 6 ลักษณะ ทัง้ นี้ มพส.เปน
ในการทีจ่ ะหาเงินลงทุนเพือ่ ลดตนทุนในการผลิตไปพรอม ๆ กับการประหยัดพลังงานไดนนั้ ใน ปจจุบันมีองคกรที่เขามาชวยให คําปรึกษาเรือ่ งของการหาเงินทุน อยูไ มนอ ย มูลนิธพ ิ ลังงานเพือ่ สิง่ แวดลอม ก็เปนอีกองคกรหนึ่งที่ คอยใหคําปรึกษาในเรื่องของเงิน ลงทุนที่สามารถตอบโจทยความ ตองการของคุณได ไมนอยเลย ทีเดียว
ผูจ ดั การกองทุน โครงการสงเสริมการลงทุน ดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO FUND) ระยะที่ 1 มูลคาบริหาร 250 ลานบาท ในชวงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2551 - กันยายน พ.ศ. 2553 ระยะที่ 2 มพส. ไดรบั มอบหมายใหเปนผูจัดการกองทุนโครงการ สงเสริมการลงทุนดานอนุรักษพลังงานและ พลังงานทดแทน (ESCO Fund) มูลคา บริหาร 300 ลานบาท ในชวงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 - กันยายน พ.ศ. 2555 และ ระยะที่ 3 เดื อ นเมษายน พ.ศ.2556 – มีนาคม พ.ศ.2558 ไดรับมอบหมายใหเปน ผูจ ดั การกองทุนโครงการสงเสริมการลงทุน ดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Fund) มูลคาบริหาร 300 ลานบาท สําหรับผลตอบรับจากการใหบริการ แบ ง เป น 2 ส ว น คื อ ผลตอบรั บ จาก ผู ป ระกอบการ ค อ นข า งดี เพราะทาง ผูประกอบการสามารถเดินเขามาขอเงินทุน ไดงายขึ้น ทั้งนี้เราไมไดใหแคเงินทุนอยาง เดียว แตเราใหคาํ ปรึกษาในการประกอบการ และใหคําปรึกษาในเรื่องของบริษัทเอ็กโกที่ เขามาดูแลดวย ในสวนนี้จะทําใหผูประกอบ อยากที่จะเขามาใชบริการของเรา ส ว นผลตอบรั บ จากบริ ษั ท เอ็ ก โก ถาถามวา บริษทั เอ็กโก โอเคกับเราหรือเปลา เขาก็ น า จะชอบตรงที่ เ ราเป น แหล ง การ เงิ น ที่ ดี ใ ห เ ขาได แต ที่ ไ ม ช อบอาจเป น ในส ว นของกระบวนการการตรวจสอบ มากกวาเพราะเราดูทั้งกําไรตาง ๆ รวมถึง ดูทุนการจดทะเบียนดวย สาเหตุที่เราตอง ตรวจสอบเยอะขนาดนี้ เพราะอยากจะพัฒนา
บริ ษั ท เอ็ ก โกให มี คุ ณ ภาพต อ สั ง คม บางครัง้ ผูป ระกอบการบางรายจะไมมคี วามรู ในดานนี้ ฉะนัน้ บริษทั เอ็กโกจะตองใหความรู แกผูประกอบการ ไมใชเอาเปรียบ ในการทําโครงการทาง มพส.ไมใชเงิน ใหเปลา เนื่องจากเงินของ มพส.จะเปนเงิน ที่ใชในดานของการลงทุน ใหไปแลวเงินจะ กลับเขามาเรียกวา “ทุนหมุนเวียน” ซึง่ ตรงนี้ ผูประกอบการบางสวนเขาใจวาเงินรัฐเปน เงินใหเปลา ไมตองคืนก็ได ซึ่งจริง ๆ ทํา แบบนั้นไมได ถาผูประกอบการไมคืนเงิน ทาง มพส. จะมีการปรับเงิน หรืออาจตอง ยึดของ ฟองศาลตามกฎหมายกันตอไป ซึ่งจะตองทําความเขาใจใหตรงกันวาเงินที่ได จาก มพส. จะตองมีการคืนเสมอ สุ ด ท า ย คุ ณ สุ ว พร ฝากถึ ง ผู ประกอบการวา อยากจะใหกลับไปดูกิจการ ของตนเองวากิจการของคุณมีการอนุรักษ พลั ง งานดี ห รื อ ยั ง เพราะการอนุ รั ก ษ คื อ การลดตนทุน ถาคุณไมมีความรูสามารถ เดินมาหา มพส. ได เพราะเรามีทั้งการให ความรู คํ า แนะนํ า สิ น เชื่ อ ด า นการเงิ น รวมถึ ง เทคนิ ค ต า ง ๆ เกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ คุ ณ จะไดรับประโยชน ในการประหยัดพลังงาน สามารถดาวนโหลดแบบฟอรมขอรับการ สนับสนุนไดที่ www.efe.or.th และยื่น ข อ เสนอรายละเอี ย ดโครงการผ า นทาง escofund@efe.or.th หรื อ ที่ มู ล นิ ธิ พลั ง งานเพื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม มพส. เลขที่ 99/305 ถนนเทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900
66
Energy#60_p66_Pro3.indd 66
10/15/13 9:25 PM
Energy#60_p67_Pro3.ai
1
10/25/13
9:29 PM
Around The World พิชญาภา อินทโลหิต
ทางเลือกเก็บพลังงานของเยอรมนี การใชพลังงานทางเลือกอยางพลังงานแสงอาทิตย หรือ พลังงานลม มักมีปญหาเรื่องการเก็บพลังงานใหไดปริมาณมาก ๆ เพื่อใชในยามจําเปน แตนวัตกรรมแบตเตอรี่ขนาดยักษชนิดใหมของ “ยูนิคอส” บริษัทสัญชาติ เยอรมัน ไมเพียงแตแกไขปญหาเหลานี้ แตยังเปนการเพิ่มศักยภาพความจุ พลังงานทางเลือกใหเพียงพอตอความตองการของทุกครอบครัว โดยบริษทั “ยูนคิ อส”ไดเลือกเกาะกลาซิโอซา ในโปรตุเกส เปนทีส่ าธิต วาแบตเตอรี่ของเขาจะสามารถแจกจายใหกับประชาชนทั้งเกาะไดหรือไม ซึ่ง กอนหนานี้ประชาชนทั้งหมดตองพึ่งพาพลังงานจากนํ้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งผล การทดสอบนั้นเปนไปตามที่คาดการณ ไว คือประชาชนทั้งเกาะสามารถใช พลังงานจากแบตเตอรี่ชนิดใหมนี้ แทนการใชพลังงานจากนํ้ามันเชื้อเพลิง ดังนั้นการหันไปใชพลังงานทางเลือกจึงเปนแนวทางสําคัญ สําหรับ ชีวติ ความเปนอยูข องมนุษยในโลกอนาคต เพราะนอกจากจะเปนทางออกของ ปญหาพลังงานขาดแคลนแลว พลังงานสวนใหญยังเปนพลังงานสะอาดที่ ไมกอใหเกิดมลพิษตอโลกและตอลูกหลานของเราอีกดวย
“ โซลารา ” อากาศยานพลังงานแสงอาทิตย
เครื่องบินประหยัดพลังงาน บริษัท พีซี แอโร ประเทศเยอรมนี เพิ่งประสบความสําเร็จ ในการทดลองบินเครื่องบิน อิเล็กตรา วัน โดยใชพลังงานจาก เครื่องกําเนิดพลังงานแสงอาทิตยที่ติดอยูบนโรงเก็บเครื่องบิน เครื่องบินลํานี้มีศักยภาพในการบินตอเนื่องเปนเวลา 5 ชั่วโมง แตถาหากแบตเตอรี่เต็มจะบินไดไกลกวา 400-500 กิโลเมตร และมีเสียงรบกวนในระดับตํ่ากวาเครื่องบินเล็กปกติถึง 5 เทา เครื่องบินเล็กอิเล็กตรานี้เปนทางเลือกใหมสําหรับธุรกิจ การบินในอนาคตอันใกล แตทั้งนี้ยังคงตองใชเวลาอีกสักพัก ในการผสมผสานเทคโนโลยีชนิดนี้ เครือ่ งยนตไฟฟา ตัวขับเคลือ่ น และแบตเตอรี่ เนือ่ งจากแบตเตอรีม่ นี าํ้ หนักคอนขางมาก ดังนัน้ จึง ตองการระบบทีเ่ หมาะสมเพือ่ มาชดเชยกับนํา้ หนักของแบตเตอรี่ ในยุ ค ที่ นํ้ า มั น แพง และโลกได รั บ ผลกระทบจากภาวะ โลกรอน เครื่องบินอิเล็กตรา วัน เปนนวัตกรรมการบินไฟฟา โดยที่ไมตองพึ่งพานํ้ามันอีกตอไป
พัฒนาขึน้ โดยบริษทั นองใหมอยาง “ ไททัน แอโรสเปซ ” ตั้งอยูมลรัฐนิวเมกซิโก สหรัฐอเมริกา โดยประสบความสําเร็จ เปนอยางมากในการทดลองตนแบบและยังมีแผนสรางลําใหม ที่มีขนาดใหญกวาขึ้นมาตามเปาหมายที่วางเอาไว โดยโซลาราเปนเครื่องบินไรคนขับ ที่ออกแบบมาให สามารถทํางานไดหลากหลาย ตั้งแตการแกะรอยสัตวปา ไปจนถึ ง การรั ก ษาความปลอดภั ย ตามแนวพรมแดน และกระจายสัญญาณโทรศัพทมือถือในพื้นที่ทุรกันดาร นักออกแบบนวัตกรรมนี้ระบุวา พลังงานแสงอาทิตย และเทคโนโลยีแบตเตอรีท่ กี่ า วหนา คือ สิง่ ทีท่ าํ ใหโซลารา เหนือ กวาระบบเทคโนโลยีอนื่ ๆ สามารถกระจายสัญญาณโทรศัพท เคลื่อนที่ไดในรัศมีกวา 400 กิโลเมตร ทั้งยังสามารถลอยอยู บนฟาดวยพลังงานที่ผลิตเองไดนานติดตอกันถึง 5 ป
68
Energy#60_p68-69_Pro3.indd 68
10/25/13 10:36 PM
อิสราเอลปฎิวัติ… ผลิตกระจกพลังงานแสงอาทิตย นวัตกรรมใหมที่จะชวยใหเจาของอาคารสามารถประหยัด คาไฟฟาดวยการติดตัง้ กระจกพลังงานแสงอาทิตย การคิดจะปฎิวตั ิ ตลาดผลิตภัณฑเพื่อลดอัตราการใชพลังงานดวยการออกแบบ ที่แตกตาง การออกแบบกระจก 2 ชั้น ที่ระหวางกระจกทั้ง 2 แผน จะบรรจุแผงพลังงานแสงอาทิตย ความพิเศษของมันอยูที่แผง พลังงานแสงอาทิตยทอี่ ยูภ ายในนัน้ เปนแผงพลังงานแบบโปรงแสง ทําใหอาคารสามารถรับแสงจากภายนอกไดไมตางกับมูลี่ทั่วไป กลาวถึงคุณประโยชนของกระจกแสงอาทิตยนนั้ ชัดเจนมาก ออกแบบกระจกใหแสงทะลุผา นจากวัสดุธรรมดา ๆ อยางพลาสติก ติดแผงพลังงานแสงอาทิตย ไดผสมผสานประโยชน ไวถึง 3 ตอ ดวยกัน อยางแรกคือกระจกจะผลิตกระแสไฟฟาผานแผงพลังงาน ดานใน และในขณะเดียวกันมันจะชวยลดทอนแสงอาทิตยทจี่ ะเขามา ในอาคารทําใหเครือ่ งใชไฟฟาทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึน้ ประหยั ด อั ต ราการจ า ยไฟฟ า ของเครื่ อ งปรั บ อากาศ และ เครื่องใชไฟฟาอื่นๆได
“ถานหิน” พลังงานหลักของจีนแทน “นํ้ามัน” ที่ ป รึ ก ษาด า นพลั ง งานนานาชาติ เป ด เผย ผลการวิ เ คราะห ทิ ศ ทางการใช พ ลั ง งานของโลกว า ประเทศอุ ต สาหกรรมหลั ก อย า งจี น และอิ น เดี ย นั้ น มี ความตองการใชพลังงานจากถานหินมากขึน้ สวนทางกับ แนวคิ ด ที่ ต อ งการลดการปล อ ยก า ซคาร บ อนขึ้ น สู ชั้นบรรยากาศ จี น เป น ผู บ ริ โ ภคและผู ผ ลิ ต รายใหญ ที่ สุ ด ใน โลก โดยราคาของถานหินคิดเปน 1 ใน 3 ของราคา กาซธรรมชาติในเอเชีย และคิดเปนครึ่งหนึ่งของราคา เชื้อเพลิงในยุโรป และจากการวิเคราะหทิศทางการใช พลังงานพบวาภายใน 7 ปนี้ ปริมาณการใชถานหิน ทั่ ว โลกจะเพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง ร อ ยละ 25 ซึ่ ง เที ย บเท า กั บ ปริมาณนํ้ามัน 4,500 ลานตัน แซงปริมาณการใชนํ้ามัน อยูที่ 4,400 ลานตัน
เกาหลีใตคิดคนรถเมลพลังงานสนามแมเหล็กไฟฟา ระบบขนสงมวลชนรถประจําทางนัน้ ไดรบั ความนิยมในหลาย ๆ ประเทศที่ หั น ไปใช ร ถประจํ า ทางที่ อ นุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น เช น รถติ ด แก ส ธรรมชาติ แต นั ก วิ ท ยาศาสตร ช าวเกาหลี ใ ต ไดคิดคนเทคโนโลยีใหมขึ้นสําหรับการขับเคลื่อนรถประจําทาง นั่นคือ สนามแมเหล็กไฟฟา โครงการดังกลาวไดรับการพัฒนาเปนเวลาหลายป โดยใช เทคโนโลยีสะทอนของคลื่นแมเหล็กไฟฟา จากตัวรับคลื่นไฟฟา ที่ติดไวภายในรถประจําทาง และรับคลื่นไฟฟาเพื่อเก็บสะสมเปน พลังงานไวในแบตเตอรี่ ขณะที่รถวิ่งไปบนถนน ภายในป 2558 เทศบาลเมืองของเกาหลีใตจะสัง่ รถประจําทาง พลังงานแมเหล็กไฟฟามาใชเพิม่ อีกกวา 10 คัน และจะเรงเดินหนา พัฒนาเมืองใหกลายเปนเมืองปลอดมลพิษใหไดอนาคต 69
Energy#60_p68-69_Pro3.indd 69
10/25/13 10:38 PM
ASEAN Update กองบรรณาธิการ
เวียดนาม-สหรัฐฯ ลงนามนิวเคลียร
ประเทศอินโดนีเซีย หนึง่ ในประเทศแถบ อาเซียนไดรับขาวดีกับการเตรียมกอสราง ทางรถไฟ เพื่อบรรเทาปญหาการจราจรใน เมืองหลวง หลังจากที่รอคอยโครงการมา เปนเวลานาน รัฐบาลอินโดนีเซีย เดินหนาโครงการ สรางทางรถไฟ ซึง่ กําลังดําเนินการกอสราง ทางรถไฟในกรุ ง จาการ ต า หลั ง จากที่ ประชาชนรอคอยโครงการดังกลาวมาเปน เวลานาน ซึ่งโครงการกอสรางรถไฟของ อินโดนีเซีย มีมาตัง้ แตชว งทศวรรษที่ 1980 แตติดขัดเรื่องระเบียบราชการ และปญหา เรือ่ งเงินทุน จุดประสงคหลักในการกอสราง ครั้งนี้คือ เพื่อแกปญหาการจราจรติดขัด อยางมาก โดยเฉพาะในเมืองหลวง โดยไดทาํ พิธเี ปดการกอสรางเฟสแรกระยะทาง 15.7 กิโลเมตร จากยานเลบัค บูลุส ทางตอนใต ของกรุงจาการตา ไปยังใจกลางกรุงจาการตา สํ า หรั บ การก อ สร า งเฟสแรก จะ ประกอบดวย สถานีรถไฟยกระดับ 7 แหง และสถานีรถไฟใตดนิ อีก 6 แหง มูลคาการ กอสราง 1,500 ลานดอลลารสหรัฐ โดยได รับเงินทุนจากบริษทั ในทองถิน่ และบริษทั ญีป่ นุ สวนกําหนดวันเริม่ ใหบริการ คือสิน้ ป 2559 สวนเฟส 2 ระยะทาง 8.1 กิโลเมตรขึน้ ไปทาง เหนือ กําหนดแลวเสร็จในป 2561
รัฐมนตรีตางประเทศสหรัฐอเมริกา และนายกรัฐมนตรี เวียดนาม ประกาศขอตกลง 123 นอกรอบการประชุมสุดยอดผูน าํ เอเชียตะวันออกในบรูไน ภายใตขอ ตกลงนี้ เวียดนามไดใหคาํ มัน่ วา จะไมรบั เทคโนโลยี อุปกรณ และกระบวนผลิตดานนิวเคลียร และ เมือ่ ขอตกลงไดรบั การอนุมตั จิ ากประธานาธิบดีสหรัฐฯ จะมีการ ทบทวนรางเปนเวลา 90 วัน โดยสภาคองเกรสสหรัฐฯ และหาก ไมมเี สียงคัดคานจากสมาชิกรัฐสภา กฎหมายจะมีผลบังคับใช เวียดนามประสบปญหาขาดแคลนพลังงาน และหวังทีจ่ ะใช พลังงานนิวเคลียรบรรเทาปญหาความขาดแคลนนี้ โดยมีแผนที่ จะสรางโรงไฟฟานิวเคลียรแหงแรกใหสามารถเขาสูร ะบบการผลิต เชิงพาณิชยไดในป 2563 ซึง่ ความตองการใชพลังงานนิวเคลียร ของเวียดนามมากกวา 10% ของความตองการดานพลังงาน ทัง้ หมดของประเทศในป 2573 ที่ผานมา รัฐบาลเวียดนามมีความมุงมั่นในการสราง โรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร แต ยั ง มี เ สี ย งคั ด ค า นจากประชาชนมา โดยตลอด ซึ่งหลายฝายยังวิตกกังวลวา สถานที่ที่ถูกเลือกไว เพือ่ สรางโรงไฟฟานัน้ เสีย่ งตอภัยธรรมชาติรปู แบบตาง ๆ ได
อินโดนีเชีย เตรียมสรางทางรถไฟ แกปญหาจราจร
70
Energy#60_p70-71_Pro3.indd 70
10/25/13 10:32 PM
ความมั่นคงดานพลังงานไฟฟากับ AEC ปจจุบันไฟฟาไดกลายมาเปนหนึ่งใน ปจจัยสําคัญของการดํารงชีวิต เทคโนโลยี และระบบการสื่อสารตาง ๆ ตองพึ่งพาการ ทํางานดวยพลังงานไฟฟาเปนหลัก ดังนั้น โลกในยุคปจจุบันจึงแขงขันกันดานความ มัน่ คงของพลังงานไฟฟา ซึง่ การจะไดมาของ พลังงานไฟฟานั้น ตองมีแหลงเชื้อเพลิงใน การผลิตและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อตอบ สนองความตองการจากภาคประชาชนและ ภาคอุตสาหกรรม เพือ่ สรางความมัน่ คงทาง เศรษฐกิจในอนาคต การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะสราง ความมั่นคงดานเศรษฐกิจไดนั้น ตองอาศัย ปจจัยภายในประเทศ เชน ทรัพยากรทาง ธรรมชาติ การวางแผนนโยบายทางเศรษฐกิจ ซึง่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยอาจไมเพียงพอ ในการแขงขัน นัน่ จึงเปนทีม่ าของการผนึกกําลัง รวมกันของกลุม ประเทศตาง ๆ ในโลก เชนเดียว กั บ การรวมตั ว ของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน ทีร่ จู กั กันดีในชือ่ AEC นัน่ เอง ถึงแมวา ทุกวันนีเ้ ราอาจไมรวู า การเขา เปนสวนหนึง่ ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สงผลดีอยางไร แตการประเมินและวิเคราะห จากสถานการณที่เปนอยูในปจจุบัน ทําให มองเห็นอนาคตไดไมมากก็นอ ย วันนีห้ ลาย ๆ ประเทศในอาเซียน ไดสง สัญญาณในการปรับ เปลีย่ นประเทศเพือ่ เขาสูป ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนกันแลว เชน พมา ลาว และกัมพูชา ทีห่ นั มาใหความสําคัญกับภาคอุตสาหกรรม มากขึน้ เพือ่ การยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจ และเพิ่ ม บทบาทให ม ากขึ้ น ในเวที อ าเซี ย น การผลิตไฟฟาในประเทศเหลานัน้ ไมเฉพาะตอบ สนองตอความตองการของประชาชนเทานัน้ แตตอ งสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมดวย ดังนัน้ แวดวงพลังงานไฟฟาในกลุม ประเทศสมาชิก อาเซียนจึงตองปรับตัว เปลีย่ นแปลง วางแผน และรวมมือกัน เพื่อใหทันกับความตองการ ทีส่ งู ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ที่ผานมาประเทศตาง ๆ ใน AEC ได รวมกลุมเพื่อสรางความรวมมือกันมานาน แลว ไมวา จะเปนการแลกเปลีย่ นองคความรู ในการผลิตไฟฟา การบํารุงรักษาโรงไฟฟา และระบบสายสง รวมถึงการฝกอบรมเชิง ปฏิบัติการรวมกัน เมื่อประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนมาถึงในป 2558 ความรวมมือดาน พลังงานไฟฟาจะปรากฏเปนรูปธรรมมากขึน้ เชน การเชือ่ มตอสายสงไฟฟารวมกันระหวาง ประเทศสมาชิก ซึ่งลาวและพมามีศักยภาพ ในการผลิตไฟฟาจากพลังนํ้า มาเลเซียและ อินโดนีเซีย มีศักยภาพในการผลิตไฟฟา จากถานหิน ซึ่งเปนเชื้อเพลิงที่มีตนทุนถูก
ที่สุด รวมไปถึงการซื้อขายแบงปนกระแส ไฟฟาระหวางกันในชวงเวลาที่มีการใชไฟฟา ตํ่าสุดและสูงสุด เพื่อกอใหเกิดความคุมคา มากทีส่ ดุ จากปริมาณไฟฟาทีม่ อี ยูใ นระบบ จึง เปนทีม่ าของโครงการ ASEAN Power Grid คาดการณกนั วาโครงการนีจ้ ะชวยทําใหไฟฟา มีราคาถูกลง ปจจุบันประเทศไทยผลิตไฟฟาดวย กาซธรรมชาติถึงรอยละ 70 รองลงมาคือ ถานหิน และพลังนํ้า ซึ่งในอนาคตขางหนา ปริมาณกาซธรรมชาติจากแหลงสํารองใน ประเทศจะหมดลง รวมไปถึงพมามีแนวโนมจะ ไมสง ออกกาซธรรมชาติมายังไทยอีก เพราะ ตองเก็บไวเพื่อพัฒนาประเทศ ดังนั้น แผน พัฒนากําลังการผลิตไฟฟาจึงมุงเนนการ พึ่งพาพลังงานในประเทศใหมากที่สุด และ ใหความสําคัญกับการหาพลังงานทดแทน เช น ถ า นหิ น ทั้ ง ในประเทศและนํ า เข า จาก ตางประเทศ ซึง่ มีตน ทุนตอหนวยในการผลิต ไฟฟาตํ่าที่สุด เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต ไฟฟาจากถานหิน รวมถึงการกอสรางโรง ไฟฟาถานหินเพิม่ เติมในอนาคต นอกจากนัน้ ยั ง ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การเพิ่ ม สั ด ส ว น พลังงานหมุนเวียน เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม และเชือ้ เพลิงชีวมวล ใหมกี าํ ลัง การผลิตรวมแลวไมนอ ยกวา 13,000 เมกะวัตต ธนาคารโลกประเมินวา ประเทศไทย มีศกั ยภาพในการเปนฮับของอาเซียน ซึง่ จะ เปนสิง่ ทีท่ าํ ใหประเทศไทยไดเปรียบเมือ่ AEC มาถึง เห็นไดจากอุตสาหกรรมยานยนตใน ประเทศไทย สวนใหญยงั คงตัง้ ฐานการผลิต ในประเทศไทย แมจะเผชิญกับวิกฤตอุทกภัย
เมือ่ ป 2554 ทีผ่ า นมา เพราะทําเลทีต่ งั้ ของประเทศไทย มี ค วามได เ ปรี ย บทางด า นการขนส ง และกระจาย สินคา ซึง่ นัน่ จะชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจใหกบั ประเทศไทยในระยะยาว ไมจาํ กัดแคเพียงอุตสาหกรรม ยานยนตเทานั้น อยางไรก็ตาม ประเทศไทยจะตอง เตรียมพรอมรับมือกับความตองการใชพลังงาน ไฟฟาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ในอนาคต โดยธนาคารโลกมีสว น สนับสนุนการพัฒนาทางดานพลังงานไฟฟาของ ประเทศไทย เชน การใหกยู มื เงินเพือ่ สรางเขือ่ นผลิต ไฟฟาหลายแหง เพราะเล็งเห็นวาไฟฟาคือสวนสําคัญ ทีส่ นับสนุนความสําเร็จของเศรษฐกิจไทย โลกยุ ค ป จ จุ บั น การขาดแคลนไฟฟ า ย อ ม สะทอนถึงความไมพัฒนา เพราะความกาวหนาทาง สังคมและเศรษฐกิจ ยอมตองพึ่งพาพลังงานไฟฟา ดังนัน้ กรอบความรวมมือของ AEC จึงไมจาํ กัดเพียง เรือ่ งเศรษฐกิจเทานัน้ แตการทีจ่ ะสรางความเขมแข็ง ไดจะตองเพิ่มความรวมมือทางดานพลังงานไฟฟา เขาไปดวย เพือ่ สนับสนุนเศรษฐกิจอาเซียนใหกา วขึน้ มามีอาํ นาจในระดับโลก ดังทีช่ าติสมาชิกตัง้ ปณิธาน รวมกันไว
71
Energy#60_p70-71_Pro3.indd 71
10/25/13 10:32 PM
Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
จําไดวา 5 - 6 ป ทีแ่ ลว ธุรกิจพลังงานทดแทน จุติขึ้นมาอยางเปนรูปธรรม เมื่อ “กรมพัฒนา และสงเสริมพลังงาน” เปลี่ยนชื่อเปน “กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน” ชื่อยอวา พพ. ในปจจุบนั สังกัดกระทรวงพลังงานเหมือนเดิม ในชวงเวลานั้นพลังงานทดแทนเปนเพียง CSR : Corporate Social Responsibility ของ บริษัทใหญ ๆ ที่ใชพลังงานมากหรือใชทรัพยากร ของประเทศเป น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ในการผลิ ต สิ น ค า เท า นั้ น ธุ ร กิ จ ด า นพลั ง งานทดแทนในสมั ย นั้ น ไดรับความสนใจนอยมาก แมแตหนวยงานของ ภาครัฐที่เกี่ยวของจะเขามารับรูหรือรับผิดชอบ การขออนุญาตซื้อขายพลังงานทดแทน ไมวาจะเปน ไฟฟาหรือเชือ้ เพลิงชีวภาพ งายเหมือนพลิกฝามือ
พลังงานทดแทน เหรียญ 2 หนา ชวงเวลาที่แสนดีไดหมดไปแลว วันนี้ เรามี กกพ. (Regulator) และกําลังจะมี พ.ร.บ.พลังงานทดแทนของตนเอง และเรา มีหนวยงานภาครัฐ และ NGO ตางเขามา ขอมีสว นรวมอยางลนหลาม เสนทางสูค วาม สํ า เร็ จ เปลี่ ย นจากกลี บ กุ ห ลาบกลายเป น ขวากหนาม พันธนาการทัง้ หนวยงานภาครัฐ ดวยกันเองและบรรดานักลงทุน รวมทัง้ SME ผูใสใจพลังงาน สถานการณ ไมแตกตาง จากความไมเขาใจกันใน 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต เทาใดนัก ความพยายามของผู เ ขี ย นในการ สะท อ นความคิ ด ความเห็ น สู ภ าครั ฐ และ สังคม กําลังจะไปไมเปน ในโอกาสนี้จึงขอ สะทอนความจริงใหสังคมชวยกันพิจารณา ว า ประเทศไทยควรจะเดิ น ไปทางไหน ทามกลางโอกาสและอุปสรรคที่เทา ๆ กัน ซึง่ อาจเปรียบไดกบั เหรียญ 2 หนาทีเ่ ราคุน ชิน เวลาเลนออกหัวออกกอยสมัยเด็ก ๆ
“มาลงทุนพลังงานทดแทนกันเถอะ มีลกู คาและรายไดแนนอนตลอด 20 ป ไมตอ ง จางพนักงานขายใหลาํ บากใจ ลงทุนครัง้ เดียว แตละวันเห็นยอดขายและยอดเงินที่จะไดรับ เมือ่ สิน้ เดือน และไมตอ งจางพนักงานเก็บเงิน แควางบิล หนี้ไมสูญ เหมือนมีเครื่องพิมพ ธนบัตรในบาน…ยิ่งพลังงานมีนอย หายาก และราคาแพง ธุ ร กิ จ พลั ง งานทดแทน สามารถนําเขาตลาดหลักทรัพยฯ สรางกําไร ถึงลูกถึงหลาน…และอีกนานัปการ”
“พลังงานทดแทน ธุรกิจที่มีอนาคต แตไมมปี จ จุบนั ธุรกิจทีต่ อ งขอรับใบอนุญาต จากหนวยงานตาง ๆ มากทีส่ ดุ ยาวนานทีส่ ดุ และมีคาใชจายมากที่สุด ธุรกิจที่ตองใชเวลา ตั้งแตเริ่มลงทุนจนถึงมีรายได 1 บาทแรก ใชเวลา 3-4 ป (ยกเวนพลังงานแสงอาทิตย) เปนอยางนอย ธุรกิจที่ขาดความมั่นคงดาน วัตถุดิบ (Feedstock) เปนธุรกิจที่ภาครัฐ กลัวภาคเอกชนจะสรางภาระคาไฟฟาให สังคม ธุรกิจที่เปนอาหารจานโปรดของกลุม ธุรกิจ NGO และเปนธุรกิจที่สถาบันการเงิน เห็นแตความเสี่ยง…”
72
Energy#60_p72-73_Pro3.indd 72
10/11/13 10:44 PM
หากนําขอมูลใสลงในตารางวิเคราะห SWOT แบบนักวิชาการ จะเห็นไดชดั เจนวา เหรียญดานบวกตอบคําถาม S (Strength) และ O (Opportunity) ไดครบถวน และ เหรียญดานลบก็ตอบคําถาม W (Weakness) และ T (Threat) ไดครบถวนเชนกัน นํ้าหนักเทา ๆ กัน อยูที่วาใครจะหงายดูเหรียญหนาไหน เชื่อดานหัวหรือกอย ผูมีอํานาจและบารมี…ไมวาจะเปนภาครัฐ รัฐสภา สื่อมวลชน หรือคนเดินดิน หากจะให พ ลั ง งานทดแทนของประเทศไทยเดิ น หน า ช ว ยนํ า พาเศรษฐกิ จ ไทย สรางความเขมแข็งใหชุมชน ปญหาสําคัญที่ตองแกไขประการหนึ่ง ก็คือ ระยะเวลา และวิ ธีการขออนุ ญาตต าง ๆ จากธุ รกิจพลังงานทดแทนใหลดลงจาก 2-3 ป เปน 2-3 เดือน เหมือนอุตสาหกรรมอื่น ๆ ไดหรือไม ? อยาลืมวาหลังจากไดรับใบอนุญาตแลว ยังตองใชเวลากอสรางและทดสอบ ระบบอีกราว 2 ป หากเปนภารกิจของภาครัฐก็คงไมมีปญหา ถึงแมเลือกตั้งใหมก็ มีงบประมาณดําเนินการตอ แตถาเปน SME หรือชุมชน คงมีคําตอบใหเห็นอยูแลว
แผนพลังงานทดแทน AEDP 2556 เปนเปาหมายอีก 8 ปจากนี้ ที่นํามาใหทานดูนี้มีนัยสําคัญตอ แผนพลั ง งานของประเทศ และ GDP ของประเทศ มีการประเมินวา พลังงานทดแทนจากไฟฟาแตละ เมกะวัตต (MW) มีการลงทุนรวม ไมตาํ่ กวา 100 ลานบาท มีผลบวกตอ เศรษฐกิจไมนอยกวา 5-8 เทา และ ทีส่ าํ คัญ พลังงานทดแทน รอยละ 80 มาจากพลั ง งานชี ว ภาพ (BioEnergy) จากความหลากหลาย ทางชีวภาพของไทย จากแผนผังที่นํามาเสนอให ดูนี้ หากสังเกตใหดี รอยละ 40 เปนเชื้อเพลิงชีวภาพ อีกรอยละ ประมาณ 60 เปนไฟฟาและพลังงาน ความรอน และขอกระซิบดัง ๆ วา องค ก รพลั ง งานระหว า งประเทศ คาดการณราคากระแสไฟฟ าใน เมืองไทยไวอยางนาตกใจวา อีกไมถงึ 10 ป ราคาจะขยับจากหนวยละ ประมาณ 4 บาทกวา กลายเปน 7 บาท ฉะนัน้ เรามาชวยกันใหความ สนใจตรงนี้กันดีกวา วาทําอยางไร จะช ว ยกั น ใช พ ลั ง งานได อ ย า ง เต็มประสิทธิภาพ และผลิตพลังงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ ปรับองคกร กํากับดูแลระบบไฟฟาแบบจิว๋ แตแจว ฯลฯ สงเสริมพลังงานชุมชน และ กาวสู SMART GRIDE โดยเร็ว เหรียญ 2 หนา หากอยูรวม กันแลว แสดงมูลคาตามอัตราที่ ตราไว ก็ยงั จะคงคุณคา ไมวา จะเปน เหรียญสลึง หรือเหรียญ 10 บาท แ ต สํ า ห รั บ พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น เราตองการ One Stop Service ลดเวลาขัน้ ตอนจาก 3 ป มาที่ 3 เดือน เพื่ อ ความมั่ น คงด า นพลั ง งาน ของไทยในอนาคต
73
Energy#60_p73_Pro3.indd 73
10/15/13 9:21 PM
Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง ผูอํานวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
วิกฤตสภาพภูมิอากาศเปนประเด็น หลักที่อาเซียนควรตระหนักถึง ซึ่งปจจุบัน พบว า ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต กําลังเผชิญกับเหตุการณสภาพภูมิอากาศ ปรวนแปรอยางหนามือเปนหลังมือ เนือ่ งจาก การปล อ ยก าซเรือ นกระจก โดยภู มิภ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใตมีการเติบโตทาง เศรษฐกิ จ และมี ป ระชากรเพิ่ ม ขึ้ น อย า ง รวดเร็ว จึงควรมีบทบาทสําคัญในการหา ทางออกโดยลดการพัฒนาที่มุงปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดสูชั้นบรรยากาศ
กรีนอาเซียน
อนึ่ง ปญหาสิ่งแวดลอมอาเซียนไมใช เรือ่ งของประเทศใดประเทศหนึง่ อีกตอไป แต เปนประเด็นปญหาทีท่ กุ ประเทศในภูมภิ าคจะ ตองใหความรวมมือและความชวยเหลือซึ่ง กันและกัน เชน ปญหามลภาวะหมอกควัน ขามพรมแดน อันเปนสาเหตุหนึ่งของภาวะ โลกรอนนั้น สามารถลุกลามไปทั่วภูมิภาค อาเซียนได หากประเทศสมาชิกไมรวมมือ ป อ งกัน และหาแนวทางแกไ ข ซึ่ง จะสง ผล กระทบตอสภาพความเปนอยู สุขภาพ และ ความปลอดภัยของประชาชน ดังนั้น การ จับมือกันของประเทศสมาชิกในการจัดการ ดูแลสิง่ แวดลอมอยางถูกตอง จะนําไปสูก าร อนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
ทั้งนี้ ภาคธุรกิจจะตองเปนตัวนําทางในการ ชวยกันแกไขปญหาดังกลาว ดวยการปลุก พลังเยาวชนรุนใหม ซึ่งถือวาเปนพลังคน รุนใหมที่จะมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการ ชวยลดโลกรอนและอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม เพือ่ สรางภูมภิ าคอาเซียนใหนา อยูแ ละมีคณ ุ ภาพ ชีวิตที่ดีตอไป ตัวอยางแรก บริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) ร ว มกั บ คณะสิ่ ง แวดล อ มและ ทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ดําเนิน การกิจกรรมคายวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม “เพาเวอรกรีน” อยางตอเนื่องมากวา 7 ป โดยเชิญนอง ๆ ชั้น ม.5 สายวิทยทั่วประเทศ ร ว มเรี ย นรู ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มประชาคม
อาเซี ย น เพื่ อ เตรี ย มความพร อ มในการ ทํ า หน า ที่ พ ลเมื อ งอาเซี ย นสู ก ารอนุ รั ก ษ สิง่ แวดลอม ภายใตแนวคิด “รวมรักษโลกเขียว รวมลดโลกรอน เตรียมสูอ าเซียนหนึง่ เดียว” (Going Green – Going Cool – Going One ASEAN) เพื่ อ กระตุ น ให เ ยาวชน เกิดการตืน่ ตัว ตระหนักถึงปญหาสิง่ แวดลอม ของภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนเสริมสราง ศัก ยภาพของเยาวชนไทยต อ การรองรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 โดย ไดหยิบยกประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมรวม ของประชาคมอาเซียน คือ “ภาวะโลกรอน” (Global warming) มาเปนแนวคิดหลักใน การดําเนินกิจกรรม
74
Energy#60_p74-75_Pro3.indd 74
10/17/13 10:44 PM
เพราะภาวะโลกรอนเปนประเด็นปญหาดานสิง่ แวดลอมทีท่ วั่ โลก และประเทศในกลุมอาเซียนใหความสําคัญ ซึ่งสงผลกระทบตอการ ดําเนินชีวิตของมนุษย และทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ จะเห็นได จากการเพิ่มสูงขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลก การเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศอยางฉับพลัน ฤดูกาลที่ผิดแปลกไปจากเดิม การ เกิดภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น และเกิดขึ้นถี่มากขึ้น ทั้งนี้ สาเหตุ หลักสวนใหญมาจากการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย ที่กอให เกิดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ออกสูชั้นบรรยากาศเปนจํานวนมหาศาล สงผลใหอุณหภูมิ ของทุกภูมิภาคในโลกรอนขึ้น ตัวอยางที่สอง กรณี บริษัท เอสซีจี (SCG) มีการดําเนินธุรกิจ ตามแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืนมาอยางตอเนื่องในชวงหลายป ทีผ่ า นมา ซึง่ สามารถดําเนินธุรกิจอยางถูกทางและประสบความสําเร็จ เปนอยางดี ดวยการสรางความสมดุลระหวางเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดลอม ใหเติบโตไปดวยกัน รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยนความรู เพื่อรวมกันเปนเครือขายเผยแพรแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืนให ขยายวงกวางยิ่งขึ้นทั้งในประเทศไทยและอาเซียน นอกจากนี้ บทบาท ของเอสซีจยี งั มุง เนนการขยายเครือขาย โดยสนับสนุนใหองคกรตาง ๆ นําแนวทางการพัฒนาอยางยัง่ ยืนไปประยุกตใชอยางเปนรูปธรรมมาก ขึ้น เริ่มจากองคกรหรือหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของกับเอสซีจี ทั้งใน สวนตนนํ้า คือ ผูขายและคูธุรกิจ ไปจนถึงปลายนํ้า คือ ลูกคาและคูคา โดยใหคําแนะนําและชวยเหลือเพื่อชวยยกระดับการดําเนินงานดาน การพัฒนาอยางยั่งยืนสําหรับองคกรอื่น ๆ เอสซีจีมุงใหความรูและ สงเสริมใหองคกรตาง ๆ ดําเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอยางยัง่ ยืน อยางจริงจัง เพื่อรวมกันสรางเครือขายสังคมที่ยั่งยืนในระดับภูมิภาค ตัวอยางสุดทาย กลุมมิตรผลมีเปาหมายการทําธุรกิจเพื่อลด คารบอนไดออกไซดใหกบั สิ่งแวดลอมทั้งทางตรงและทางออม ตั้งแต
ขั้นตอนการปลูก การลดขั้นตอนการไถปรับหนาดิน การปลูกและ การใสปุยรดนํ้า จากเดิมที่ตองใชรถไถถึง 3 รอบ ไดนํานวัตกรรมมา ใชใหเสร็จสิ้นภายในรอบเดียว ซึ่งจะชวยลดการใชนํ้ามันและลดการ สรางมลพิษแกสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ ยังรณรงคใหชาวไรลดการ เผาออยกอนตัด ปจจุบันโรงงานที่ภูเวียง จังหวัดขอนแกน เปน ออยสดกวา 90% แลว ทั้งหมดนี้เปนการลดคารบอนไดออกไซด ทางออมในการทําธุรกิจนํ้าตาลของมิตรผลทั้งในและตางประเทศ สวนการชวยลดโลกรอน สวนทางตรงนั้นไดลงทุนในกลุมธุรกิจ พลังงาน ไดแก โรงไฟฟาชีวมวลจากชานออย และการผลิตเอทานอล จากกากนํา้ ตาลทีไ่ ดจากกระบวนการผลิตนํา้ ตาล รวมถึงการผลักดัน ใหมิตรผลเปนศูนยกลางหรือฮับ (Hub) ในธุรกิจผลิตเอทานอลของ เอเชียดวย โดยมีลูกคาในเอเชียเพิ่มขึ้นตอเนื่อง ทั้งในญี่ปุน เกาหลี ไตหวัน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะประเทศฟลิปปนส เปนตลาดที่ดึงดูดผูผลิตเอทานอล เพราะฟลิปปนส ไดออกกฎหมาย ใหมีการเติมเอทานอล 10% ในนํ้ามันเชื้อเพลิงแลว ขณะที่ตลาด ในประเทศไทยจะมีโอกาสเพิ่มขึ้น จากการที่รัฐบาลประกาศยกเลิก การใชเบนซิน 91 ในเดือนตุลาคม 2555 ที่ผานมา อยางไรก็ดี ไมมสี ตู รหรือวิธกี ารสําเร็จรูปตายตัววาจะตองทําเชนไร แตสงิ่ ทีจ่ ะฝากไวใหคดิ ก็คอื การทีป่ ระเทศไทยเปนจุดศูนยกลางในแถบ อาเซียน ดังนัน้ ภาคธุรกิจจึงควรเปนแกนนําพลเมืองโลกทีด่ ใี นการชักจูง กลุม ประเทศอืน่ ๆ ใหคาํ นึงถึงและเห็นความสําคัญของการอยูร ว มโลก อาเซียนดวยกัน หากตองการใหประเด็นเหลานีเ้ กิดขึน้ เปนรูปธรรมจะ ตองไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวนทุกประเทศทั่วทั้งภูมิภาค ใน การจับมือกันพัฒนาทางเศรษฐกิจและการจางงานในภาคการผลิตที่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ทําใหอาเซียนสามารถสรางเสถียรภาพในการ ควบคุมการปลอยกาซเรือนกระจกของโลกไปพรอมกับความสําเร็จ ทางเศรษฐกิจทีส่ มดุลกันระหวางสังคมและสิง่ แวดลอมในระยะยาว
75
Energy#60_p74-75_Pro3.indd 75
10/17/13 10:47 PM
Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา
ปรับราคา... LPG ยกระดับประเทศ อะไร... ยกระดับคนในประเทศ
Talk of the town ในชวงทีผ่ า นมาสําหรับมนุษยเดินดินกินเงินเดือนไปวันๆ คงหนีไมพน เรือ่ งของคาครองชีพทีแ่ อบปรับ ขึ้นกันอยางหนาเลือด บนพื้นฐานของเงินเดือนที่ดูเหมือนวาจะไมขยับตามแตอยางไร นั่นก็คือการปรับขึ้นราคากาซหุงตม หรือ กาซ LPG ภาคครัวเรือน 50 สตางคตอกิโลกรัมทุกเดือน ที่เริ่มตั้งแตเดือนกันยายนที่ผานมา และจะปรับจนกวาราคา แตะที่ระดับ 24.82 บาทตอกิโลกรัม แตปญหาที่ตามมาแน ๆ คือ อาหารจานดวนที่เราๆ ทานๆ สั่งกันทุกวันนี้ ตองจายเพิ่ม กันไปแลว 5-10 บาทเลยทีเดียว สืบเนื่องจากเรื่องดังกลาว ภาคสวน ที่เกี่ยวของไมอาจนิ่งนอนใจได เพราะเปน เรืองที่เกี่ยวของกับปากทองของประชาชน โดยตรง นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ปลัด กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา ประเทศไทยมี รูปแบบของการใชกาซ LPG ที่แตกตางกัน แบงรูปแบบการใชเปนสวนของภาคครัวเรือน ประมาณ 40% สวนภาคคมนาคมประมาณ 25-30% สวนปโตรเคมีประมาณ 30% และ อุตสาหกรรมประมาณ 8% รวมการใชงาน ทั้งหมดประมาณ 150,000-200,000 ตัน ตอเดือน หรือประมาณ 8 ลานตันตอป หากเปรียบเทียบสถิติดังการใช LPG ทัง้ หมดของประเทศ จะเห็นวาการใชพลังงาน ประเภทอื่นกับ LPG ถือวาอยูในเกณฑสูง เพราะมีการนํา LPG ไปใชซํ้ากับพลังงานอื่น ที่มีใชอยูแลว เพราะที่ผานมาประเทศไทย ไดมกี ารอุดหนุนให LPG มีราคาตํา่ สงผลให ภาคคมนาคมภาคขนสงหันมาใชพลังงาน ดังกลาวคอนขางมาก กอนหนานี้จะมีการ
ปรับราคา LPG ภาคอุตสาหกรรมเพราะ มี ก ารใช ใ นปริ ม าณสู ง เพราะว า ราคาถู ก แตพอมีการปรับราคาขึ้นไปเทากับตนทุน ณ โรงกลั่นทําใหปริมาณสัดสวนนี้ไมเพิ่ม แตไปเพิม่ ในรถยนตเนือ่ งจากราคายังตํา่ เมือ่ เทียบกับเชือ้ เพลิงนํา้ มัน หรือเชือ้ เพลิงชนิดอืน่ สงผลใหการใช LPG ในรถยนตสูงมาก สวนการใช LPG ครัวเรือน ไมมีการ เคลือ่ นไหวของปริมาณการใชมากนัก เนือ่ งจาก จํานวนครัวเรือนในประเทศไทยไมไดเพิ่มขึ้น มาก แตในรถยนตนอกจากจะเพิ่มขึ้นแลว ยังมีรถยนตจากที่เคยใชนํ้ามันกลับหันมา ใชพลังงานทดแทนมากขึ้น จากราคานํ้ามัน เชื้อเพลิงที่ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งมี อัตราการเพิ่มจาก 5% ถึง 25-30% ภายใน ระยะเวลาไมถึง 5 ป ทั้งนี้ ไดมีการจัดโครงการบรรเทาผล กระทบจากการปรั บ ราคาขายปลี ก LPG ภาคครัวเรือนใหกบั ประชาชนทีม่ รี ายไดนอ ย
มีสทิ ธิต์ ามนโยบายรัฐบาลดานพลังงาน ปรับ ราคาพลังงานมุงสูสะทอนตนทุนที่แทจริง และใหชวยเหลือเฉพาะกลุมเพื่อใชในราคา เดิ ม ได อ ย า งไม มี กํ า หนดระยะเวลาสิ้ น สุ ด ซึ่งประชาชนที่มีสิทธิ์ซื้อราคาเดิมแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมครัวเรือนรายไดนอยและ กลุมรานคา หาบเร และแผงลอยอาหาร ซึ่ง กลุมครัวเรือนที่ใชไฟฟาไมเกิน 90 หนวย ตอเดือน และผูไ มมไี ฟฟาใชไฟฟาทัว่ ประเทศ ถือวาเปนผูมีรายไดนอยสามารถรับสิทธิ์ซื้อ กาซราคาเดิมกอนมีการปรับราคาไมเกิน 18 กิโลกรัม ตอ 3 เดือน สวนรานคา หาบเร และแผงลอยอาหารไดรับสิทธิ์ซื้อกาซราคา เดิมกอนมีการปรับราคาไมเกิน 150 กิโลกรัม ตอเดือน ป จ จุ บั น กลุ ม ผู ใ ช ไ ฟฟ า ตํ่ า กว า 90 หนวย ผูไ มมไี ฟฟาใช และกลุม รานคา หาบเร แผงลอยอาหารมีประมาณ 8 ลานครัวเรือนที่ สามารถใชกา ซราคาเดิมจึงไมมผี ลกระทบแต อยางใด สําหรับผูม รี ายไดคอ นขางสูงทีอ่ ยูใ น
76
Energy#60_p76-77_Pro3.indd 76
10/11/13 10:31 PM
เกณฑที่ใชไฟฟาเกิน 90 หนวยตอเดือน เชน ภัตตาคารอาหาร รานอาหารขนาดใหญจะมีผลกระทบบางสวนทีจ่ ะเปนตนทุนในการ ประกอบอาหาร ซึง่ การปรับราคาเมื่อเทียบตนทุนของอาหารแลว ไมถึง 1% ของราคาอาหารของผูมีรายไดมาก หากมองในระยะยาวการปรับราคาดังกลาวเปนการปรับ เพื่อสรางความเปนธรรมใหแกผูใชนํ้ามัน โดยเฉพาะผูใชรถ จักรยานยนตและเกษตรกรตองมาแบกรับภาระแทนผูใ ชรถยนต ที่ใช LPG ประเด็นตอมาในเรื่องราคาที่แตกตางกันอยูกอให เกิดการลักลอบการนํา LPG ในครัวเรือนที่มีราคาถูกไปขายใน ราคาแพง เรียกวาเปนการลักลอบการใชขามกลุม เชน ไปรับใน โรงแกสระบุวาเอาไปใชในโรงบรรจุแกสการหุงตม แตพอออก จากโรงแยกแกสก็นําไปขายใหกับปม LPG เพื่อนําไปเติมใหกับ รถยนตแทน รวมถึงการลักลอบนํา LPG ในประเทศไปขายยัง ตางประเทศ เพราะราคาในประเทศมีราคาตํ่ากวาราคามาตรฐาน จึงเกิดกระบวนการลักลอบนําไปขายเปนจํานาวนมาก มีการจับกุม และอยูระหวางการดําเนินคดีเปนจํานวนมากเชนกัน นอกจากนี้ ป 2558 ประเทศไทยและกลุมสมาชิก จะกาว เขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ Asean Economics Community (AEC) หากยังไมมีการปรับราคาใหเปนไปตาม ตลาดโลกหรือใกลเคียงที่สุด หากราคา LPG ในประเทศไทย ตํ่ากวาประเทศเพื่อนบานและจะมีการนํา LPG ในประเทศไทย ไปขายยังตางประเทศไดอยางไมผิดกฎหมาย ถือเปนผลกระทบ ทางเศรษฐกิจของประเทศอย างมาก ปลัดกระทรวงพลังงาน กลาวทิ้งทาย การที่ประเทศไทยจะตองหมุนตามกระแสโลก แนนอนวา เปนเรือ่ งทีจ่ าํ เปนอยางมาก ดวยองคประกอบและปจจัยหลายดาน ที่นํามาซึ่งการปรับราคาดังกลาว ผลดีในระยะยาวแนนอนจะเกิด แตเราตองอยาลืมวาผลเสียในเรือ่ งของการปรับตัวไมใชเรือ่ งงาย เชนกัน โดยเฉพาะกับประเทศไทย ถึงแมวาภาคสวนที่เกี่ยวของจะออกมายืนยันวามีความ จําเปน และมีการแจงเตือนเพื่อเตรียมการรับมือมาเปนเวลานาน มีการหามาตรการรองรับไวอยางรัดกุมแลวก็ตาม แตการปรับ ราคา LPG ประเทศอาจไดประโยชน แตประชาชนในประเทศที่ ยังคงมีรายไดระดับปานกลางถึงนอย จะไดรับผลกระทบอยาง หลีกเลี่ยงไมได ยกตัวอยางงาย ๆ ราคาอาหารที่ปรับราคาเตรียมไวแลว เราตองจายเพิม่ อยางหลีกเลีย่ งไมได ทัง้ ทีร่ ายไดเทาเดิม ถึงแมวา จะมี ก ารวิ จั ย ถึ ง ราคาค า ครองชี พ มาแล ว ว า จะไม ไ ด รั บ ผลกระทบมากนัก แตกลุม รานคา หาบเร แผงลอยอาหาร ไดมกี าร ปรับราคาไปแลว ซึ่งแนนอนวาไมเงินเพียง 1-2 บาท แตอยูที่ ระดับ 10-15 บาท เลยทีเดียว หากมองถึงการเจริญเติบโตของประเทศแลวละก็ สิ่งที่เรา ควรมองใหลึกซึ้งมากกวานี้ก็คือ คุณภาพชีวิตของประชาชน วา มีความพรอมในการปรับตัวเพือ่ รับการเติบโตของประเทศหรือไม ก็คงตองเปนการบานอีกหนึง่ ของทีต่ อ งทําสงคุณครูในเชา วั น รุ ง ขึ้ น หรื อ ถ า เราไม ทํ า การบ า น อย า ลื ม … ว า เราอาจ โดนคุณครูตีไดนะครับ 77
Energy#60_p76-77_Pro3.indd 77
10/11/13 10:31 PM
Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา
เศรษฐกิจกับการเติบโตของประเทศ เปนของคูก นั เปรียบเสมือน นํา้ พึง่ เรือ เสือพึง่ ปา ที่เปนการชวยเหลือคํ้าจุนกันอยูตลอดเวลา ในชวง 2-3 ป ที่ผานมา ประเทศไทยไดมีการ เติบโตอยางมากทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ จากภาคของอุ ต สาหกรรมยานยนต ใ น ภาคสวนของยานยนตประหยัดพลังงาน หรือ ECO CAR จากขอดีดานราคาที่ประชาชน สามารถจับตองได ดวยการสนันสนุนจาก ภาครัฐอยางเต็มที่ เพราะถือวารถยนตที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม จึงไมยากเลยที่จะได เปนโครงการ ECO CAR 2 เพื่อขับเคลื่อน เศรษฐกิจระลอกสองในเวลาตอมา
ECO CAR 2
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ความคืบหนาของโครงการ ECO CAR 2 รัฐมนตรี วาการกระทรวงอุตสาหกรรม นายประเสริฐ บุญชัยสุข เผยวา สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน หรือ BOI รายงานถึงการออกประกาศเพือ่ สงเสริมกิจการผลิต รถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล รุนที่ 2 หรือ ECO CAR 2 โดยผูประกอบการค ายรถยนตที่สนใจ ทุ ก รายสามารถยื่ น ขอรั บ การส ง เสริ ม การลงทุ น ตาม โครงการดังกลาวไดตงั้ แตบดั นีจ้ นถึงวันที่ 31 มีนาคม 2557 BOI ไดสงหนังสือเชิญบริษัทรถยนต ใหเขารวม โครงการ ECO CAR 2 แลว 10 บริษัท ซึ่งในจํานวน ดังกลาวจะมีบริษัทที่สนใจเขารวมโครงการ 5-6 บริษัท และเป น บริ ษั ท ที่ เ คยเข า ร ว มโครงการเก า และบริ ษั ท ที่ ยังไมเคยรวมโครงการเลย และคาดวาจะมีรถยนตจาก โครงการสูตลาดไดภายในตนป 2558
ภายในป 2561 เชื่อวาจะมียอดผลิตรถยนตประหยัดพลังงาน จากโครงการ ECO CAR 1 และ 2 ประมาณ 9.3 แสนคันตอป เมื่อนํา ตัวเลขดังกลาวมารวมกับจํานวนการผลิตรถยนตชนิดอืน่ ประเทศไทย จะมีกําลังการผลิตรถยนตสูงกวา 3 ลานคัน โดยจะเปนการสงออก 70% และจําหนายภายในประเทศ 30% ซึ่งสูงกวาปจจุบันที่มีการสง ออก 50% และจําหนายในประเทศ 50% ซึ่งเปนตัวเลขที่นาสนใจตอ การเติบโตของเศรษฐกิจภายในประเทศอยางมาก เพราะจะมีมลู คาการ ลงทุนประมาณ 30,000-40,000 ลานบาท และการลงทุนการผลิตชิ้น สวนประมาณ 10,000 ลานบาท โครงการ ECO CAR 2 ถือเปนโครงการที่จะเปดกวางใหผู ประกอบการทุกรายที่มีความพรอม และมีความสนใจเขารวมโครงการ ไดอยางเทาเทียมกัน เพื่อสรางการแขงขันของตลาดรถยนตอยางเปน ธรรม เปนไปตามเปาหมายของการกระตุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ผลิตรถยนตของประเทศไทย
เงื่อนไงมาตรฐาน ECO CAR เครื่องยนต เบนซิน(ลิตร) เครื่องยนต ดีเซล อัตราการสิ้นเปลือง(ลิตร/100กิโลเมตร) คารบอนไดออกไซค(กรัม/กิโลเมตร) มาตรฐานไอเสีย มูลคาการลงทุนขั้นตํา(ลานบาท)
ECO CAR 1 1.3 1.4 5 120 ยูโร 4 5,000
ECO CAR 2 1.3 1.5 4.3 100 ยูโร 5 6,500
78
R1_Energy#60_p78_Pro3.indd 78
10/28/13 9:26 PM
Energy#58_p59_Pro3.indd 59
8/28/13 10:02 PM
Special Scoop Bar Beer
ปญหาการตัดไมทําลายปา ปญหาใหญระดับชาติที่หลายฝายหาทางแกไขมา ชานาน แตกไ็ มอาจกําจัดไดหมดสิน้ เพราะมูลคาทีไ่ ดรบั การตอบแทนนัน้ สูงเกินกวาที่ จะหามใจได ซึง่ นอกจากทีห่ นวยงานทีเ่ กีย่ วของจะพยายามปราบปรามแลว ยังตองรวม กันเพิ่มพื้นที่ปาควบคูกันไปดวย โดย กรมปาไม ไดรวมกับ บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี โฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และชุมชนทัว่ ประเทศ ผนึกกําลังขยายปาชุมชนสกัดปญหาการ ทําลายปา และเพิ่มพื้นที่ปาใหถึง 40% ของทั้งประเทศตามเปาหมาย
3 พันธมิตรผนึกกําลัง
สร า งป า ชุ ม ชน ตั้งเปาเพิ่มพื้นที่ปา 40% ทั้งประเทศ
80
Energy#60_p80-81_Pro3.indd 80
10/18/13 11:41 PM
นายบุญชอบ สุทธมนัสวงษ อธิบดีกรมปาไม เลาถึงการดูแลรักษา ทรัพยากรปาไมในปจจุบนั วา ยังพบอุปสรรคในการทํางานหลายดาน ทั้งปญหาการเสื่อมโทรมของทรัพยากรปาไม การบุกรุกพื้นที่ปาของ กลุมนายทุน การลักลอบตัดไมทําลายปา และไฟปาที่สงผลใหพื้นที่ ปาของประเทศลดลง เกิดความแหงแลงและขาดแคลนแหลงนํ้าและ อาหารของชุมชนทองถิ่น และเปนสาเหตุใหเกิดสภาวะโลกรอน จึงได เรงดําเนินการและจัดสรรทรัพยากรตาง ๆ เพือ่ แกปญ หาการบุกรุกปา และการฟน ฟูปา ทีเ่ สือ่ มโทรมใหกลับคืนมา การสงเสริมการจัดการปา ชุมชน เปนโครงการหนึ่งที่ประสบความสําเร็จ กรมปาไมไดเล็งเห็นถึง ศักยภาพของชุมชนที่จะเขามารวมกับภาครัฐในการรักษาทรัพยากร ปาไม โดยการบริหารจัดการพื้นที่ปารอบชุมชนโดยการมีสวนรวม ของชุ ม ชนเพื่ อ ประโยชน ข องชุ ม ชนอย า งยั่ ง ยื น ภายใต ก ารดู แ ล ของเจาหนาที่กรมปาไม เพื่ อ ส ง เสริ ม การจั ด ตั้ ง ป า ชุ ม ชนเพื่ อ การอนุ รั ก ษ ป า อย า ง มีประสิทธิภาพและมีความตอเนือ่ ง กําลังสําคัญทีจ่ ะมาชวยขับเคลือ่ น การดําเนินการคือภาคสวนเอกชนโดยไดรับความรวมมืออยางดี จาก บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ในการจัดทํา โครงการคนรักษปา ปารักชุมชน เพือ่ สรางแนวรวมในการขับเคลือ่ นให เกิดการนําแนวพระราชดําริเกีย่ วกับการพัฒนาปาของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถไปปฏิบตั หิ รือ ประยุกตใชใหเกิดประโยชนอยางกวางขวาง เสริมสรางความเขมแข็ง ของชุมชนและสรางเครือขายใหชุมชนสามารถจัดการปาในชุมชนได อยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตั้งแตที่ไดดําเนินโครงการคนรักษปา ปารักชุมชน ในป 2551 จนถึงปจจุบัน พบวา มีโครงการปาชุมชนที่ขึ้นทะเบียนปาชุมชนกับ กรมปาไมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากจํานวน 6,536 แหง รวมเปนพื้นที่ ปาประมาณ 2.1 ลานไร ในป 2551 เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 8,782 แหง ทั่วประเทศ รวมเปนพื้นที่ปามากกวา 3.5 ลานไร ณ เดือนกันยายน ป 2556 นายพงษดิษฐ พจนา กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ผลิต ไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ในฐานะภาคสวนเอกชน เผยถึง ความรวมมือกับกรมปาไมในการดําเนินการโครงการคนรักษปา ปารักชุมชน ทีด่ าํ เนินการมาตัง้ แตป 2551 ถือวาเปนโครงการทีป่ ระสบ ความสําเร็จเปนทีน่ า พอใจ เห็นไดจากจํานวนของปาชุมชนเกิดขึน้ อยาง รวดเร็วกวาชวงกอนมีโครงการ เกิดเครือขายปาชุมชนที่เชื่อมโยงกัน ทั่วประเทศ เครือขายดังกลาว ถือเปนอีกหนึ่งกําลังสําคัญในการดูแล ปกปองปาของชาติใหเหลืออยูจนถึงวันนี้ สํ า หรั บ การขั บ เคลื่ อ นโครงการระยะที่ 2 ตั้ ง ใจสานต อ เจตนารมณดานการอนุรักษทรัพยากรปาไม โดยสนับสนุนนโยบาย ป า ชุ ม ชนของกรมป า ไม ซึ่ ง เป น แนวทางรั ก ษาและเพิ่ ม ผื น ป า ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพและได ผ ลเป น รู ป ธรรม จากการทํ า งานที่ ผ า นมา โดยตระหนักวาปาชุมชนทุกแหงไดยืดหยัดตอสูปกปองปาอยาง ไมยอทอ เพราะปาคือชีวิต ของทุกชุมชน ทัง้ นี้ บริษทั ฯ พรอมสงเสริมทุกชุมชนทีย่ ดึ มัน่ อุดมการณรกั ษา ปาไมของประเทศใหเดินหนาตอไปอยางเขมแข็ง ชวยกันขยายและ จุดประกายความคิด การตระหนักรูของคนในสังคมใหเห็นคุณคา
ของปาไมและมีสวนรวมดูแลทรัพยากรธรรมปาไมของชาติใหคงอยู จากรุนสูรุนอยางตอเนื่อง เชื่อมั่นวาความรวมมือระหวางกรมปาไม และชุมชน ภายใตโครงการนี้ จะชวยผลักดันใหการดูแลปาของชุมชน ใหเขมแข็งมากขึ้น ชวยใหการบุกรุกทําลายปาลดนอยลง และผืนปา คงอยูอ ยางอุดมสมบูรณ ซึง่ เปนหนทางหนึง่ ทีจ่ ะชวยลดภาวะโลกรอน ไดอยางมีประสิทธิภาพ การดําเนินกิจกรรมการประกวดปาชุมชนตัวอยาง โครงการ คนรักษปา ปารักชุมชน ประจําป 2556 มีปาชุมชนสมัครเขารวม กิจกรรมจํานวน 935 แหงทั่งประเทศ โดยมีปาชุมชนที่ไดรับรางวัล จํ า นวน 132 แห ง ดั ง นี้ รางวั ล ป า ชุ ม ชนชนะเลิ ศ ระดั บ ประเทศ ถวยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และจะไดรับเงินกองทุนอนุรักษปาชุมชนจํานวน 200,000 บาท ไดแก ปาชุมชนบานดงหวยเย็น ตําบลบานโฮง อําเภอบานโฮง จังหวัดลําพูน ปาชุมชนบานดงหวยเย็น จ.ลําพูน เดิมเปนปาไมที่ถูกบุกรุก ทําลายจากการทําสัมปทานเหมืองแรและการลักลอบตัดไม ชาวบาน มีความตระหนักถึงปญหาที่จะเกิดขึ้นจึงไดจัดประชุมชาวบานและ จัดตัง้ ปาชุมชนขึน้ พรอมตัง้ กฎระเบียบของปาชุมชนเพือ่ ยึดถือปฏิบตั ิ กันในชุมชนและจัดกิจกรรมดูแลรักษาปา จนทําใหปา ใหมสี ภาพกลับมา สมบูรณอกี ครัง้ ปจจุบนั ปาชุมชนบานดงหวยเย็นเปนปาทีม่ รี ะบบนิเวศ ที่อุดมสมบูรณ เปนแหลงกําเนิดตนนํ้าลําธารหลายสายที่หลอเลี้ยง ชุมชน เปนแหลงอาศัยของสัตวปา เปนแหลงหาอาหารปาของชาวบาน แหลงสมุนไพรรักษาโรค ชุมชนไดมกี ารจัดทําประปาภูเขาเพือ่ ใชภายใน ชุมชน การจัดทําเสนทางศึกษาธรรมชาติเชิงนิเวศในปาชุมชนเพื่อ สงเสริมการทองเทีย่ ว และการถายทอดและใหความรูด า นการอนุรกั ษ ปาแกเยาวชนในชุมชน รางวัลรองชนะเลิศ ซึ่งจะไดรับโลเกียรติยศจากรัฐมนตรีวาการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และเงินกองทุนอนุรกั ษ ปาชุมชนแหงละ 100,000 บาท จํานวน 3 รางวัล ไดแก ปาชุมชน บ า นวั ง ศิ ล าดิ เ รกสาร ตํ า บลเพิ่ ม พู น ทรั พ ย อํ า เภอบ า นนาสาร จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี , ป า ชุ ม ชนบ า นโค ง ตาบาง ตํ า บลท า ไม ร วก อํ า เภอท า ยาง จั ง หวั ด เพชรบุ รี และป า ชุ ม ชนบ า นตาดริ น ทอง ตําบลธาตุทอง อําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ รางวั ล ป า ชุ ม ชนดี เ ด น ด า นการจั ด การตามหลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงรางวัลพิเศษของปนี้ ที่มุงเนนในการเชิดชูปาชุมชน ทีม่ กี ารพัฒนาปาชุมชนอยางสมดุลและยัง่ ยืน มีความเขาใจและนําหลัก การตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช มีการใชผลิตผลจาก ปาอยางคุมคา พออยูพอกินและไมเบียดเบียนผูอื่น ไดแก ปาชุมชน บานจุฬาภรณพฒ ั นา 12 ตําบลสุคริ นิ อําเภอสุคริ นิ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งจะไดรับโลรางวัลเกียรติยศจากปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม และเงินกองทุนอนุรกั ษปา ชุมชนจํานวน 100,000 บาท รางวัลปาชุมชนดีเดนระดับจังหวัด มีจํานวน 64 รางวัล ไดรับ โลประกาศเกียรติคุณจากอธิบดีกรมปาไม และเงินกองทุนอนุรักษปา ชุมชนแหงละ 25,000 บาท และรางวัลชมเชย จํานวน 63 รางวัล ไดรับ โลประกาศเกียรติคณ ุ จากอธิบดีกรมปาไม และเงินกองทุนการอนุรกั ษ ปาชุมชนแหงละ 10,000 บาท
81
Energy#60_p80-81_Pro3.indd 81
10/18/13 11:41 PM
Energy Rules Sal-Barbier
ขับเคลอนโซลารเซลล แนวชายแดน
พืน้ ทีท่ ไี่ ฟฟายากจะเขาถึง ใชวา จะเปนพืน้ ทีท่ ไี่ มตอ งการใชไฟฟา โดยเฉพาะ 3 จังหวัดชายแดนใต พื้นที่ที่มีความเสี่ยงในทุกดาน ภายใตการสนับสนุนของกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ไดดําเนินการติดตั้งโซลารเซลลผลิตไฟฟาในฐานปฏิบัติการแนวชายแดน เพื่อเปนการเพิ่มศักยภาพ ในการทํางานของบุคลากรในพืน้ ที่ นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ผูอํานวยการ สํ า นั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน (สนพ.)กระทรวงพลั ง งานเล า ถึ ง การ ขั บ เ ค ลื่ อ น โ ค ร ง ก า ร ดั ง ก ล า ว ว า ทหารในพื้ น ที่ เ สี่ ย งอย า ง 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ถื อ เป น กลุ ม บุ ค ลากร ที่ มี ค ว า ม เ สี ย ส ล ะ ต อ ป ร ะ เ ท ศ ช า ติ อย า งมาก กั บ การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ตาม แนวชายแดน เพื่ อ ปกป อ งอธิ ป ไตยและ ความมั่นคงของประเทศ สิ่งจําเปนคือ ไฟฟา เพราะตองมีการ ใช เ ครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ประเภทตางๆ ซึ่งปจจุบันไฟฟาที่นํามาใช งานในฐานปฏิบัติการไดมาจากเครื่องปนไฟ ที่ ใ ช นํ้ า มั น ในการผลิ ต ไฟฟ า เป น หลั ก ซึง่ สามารถตกเปนเปาโจมตีจากผูก อ การราย ไดเนือ่ งจากเวลาทํางานจะมีเสียงคอนขางดัง
กองทุ น เพื่ อ ส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พลังงาน มองเรื่องถึงความจําเปนในการ ใช พ ลั ง งานในพื้ น เสี่ ย งและต อ งไม เ ป น เป า หมายของกลุ ม ก อ การร า ย จึ ง ได สนับสนุนงบประมาณจํานวน 42 ลานบาท ในการดํ า เนิ น การจั ด ซื้ อ ระบบผลิ ต ไฟฟ า ดวยเซลลแสงอาทิตยใหแกหนวยงานทหาร ในเขตพื้นที่ชายแดน ใหมีไฟฟาใชในการ ปฏิบัติภารกิจและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติหนาที่ ภายใต โครงการสงเสริมการ ผลิ ต ไฟฟ า ด ว ยเซลล แ สงอาทิ ต ย สํ า หรั บ ฐานปฎิบัติการทางทหาร ป 2557 โดยไดตั้ง เปาหมายในการติดตั้งรวมกําลังผลิตไฟฟา ทั้งสิ้น 137 กิโลวัตต ในระยะเวลา 12 เดือน เปาหมายในการดําเนินโครงการมีอยู 2 สวนคือ จัดซื้อระบบผลิตไฟฟาดวยเซลล แสงอาทิตยเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั ภิ ารกิจ ของฐานปฏิ บั ติ ก ารทหารในเขตชายแดน (ทหารบก) โดยเนนพื้นที่ดําเนินการใน 3
จังหวัดชายแดนใต จํานวน 180 ระบบ กําลัง การผลิตไฟฟารวมทั้งสิ้น 112.5 กิโลวัตต และจัดซื้อระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสง อาทิตย เพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั ภิ ารกิจของ หนวยปฏิบัติการทหารเรือในเขตชายแดน ไดแก หนวยบัญชาการนาวิกโยธิน จํานวน 16 ฐานปฏิบตั กิ าร และหนวยบัญชาการตอสู อากาศยานและรักษาชายฝง จํานวน 8 ฐาน ปฏิ บั ติ ก าร รวมจํ า นวนระบบที่ ส นั บ สนุ น 28 ระบบ ขนาดกําลังการผลิตไฟฟารวมทั้ง สิ้น 24.5 กิโลวัตต การดํ า เนิ น โครงการดํ า เนิ น การ ในพื้ น ที่ ดั ง กล า ว จะเป น ประโยชน ต อ เจาหนาที่ประจําฐานปฎิบัติการทางทหาร ตามแนวชายแดนไดมีไฟฟา หากทําการ ติ ด ตั้ ง ได ต ามเป า หมายจะประหยั ด ป ล ะ ประมาณ 640,000 บาท และลดการปลอย คาร บ อนไดออกไซด สู ชั้ น บรรยากาศได 96,560 ตันคารบอน/ป
82 82
Energy#60_p82_Pro3.indd 82
10/18/13 11:18 PM
Prefabrication โดย : ชนากานต สันตยานนท ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
เปรียบเทียบขอดี-ขอจํากัด การกอสรางระบบ Prefab
หันมาใชเทคโนโลยีในการกอสรางบานดวยระบบสําเร็จรูปมากขึ้น เพราะระบบการกอสรางแบบสําเร็จรูปที่กอสรางโดยสรางบานเปน ชิน้ สวนตาง ๆ จากโรงงานแลวมาประกอบทีห่ นางาน (Prefabrication) หรื อ พรี แ ฟบเข า มาช ว ยลดความผั น ผวนของราคาวั ส ดุ ก อ สร า ง และลดตนทุนของผูประกอบการ ลดระยะเวลาการกอสรางบาน ชวยผูประกอบการสรางบานไดจํานวนมากขึ้นถึง 5 เทาตัว ฉบับที่แลว ไดเลาถึงการดําเนินกิจกรรมภายใต โครงการ “นวัตกรรมการพัฒนาทีพ ่ กั อาศัยกึง่ สําเร็จรูป” ที่ สวทช.รวมงานกับ คณะสถาปตยกรรมศาสตรและ การผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยมี อ.กัลยา โกวิทวิสิทธิ์ เปนหัวหนาคณะผูเชี่ยวชาญ เพื่อสงเสริม ผูป ระกอบการใหมคี วามรูแ ละแนวทางการสรางนวัตกรรม ดานทีพ ่ กั อาศัยกึง่ สําเร็จรูป (Prefabrication) ผานเทคนิค วิธีและแนวคิดทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม ตลอดระยะเวลา 2 ป ที่ผานมา กับ ผูประกอบการ จํานวน 15 บริษัท ดวยกิจกรรมที่หลากหลาย เชน กิจกรรม จัดอบรมสัมมนา, กิจกรรมการเขาใหคาํ ปรึกษา และกิจกรรม นําเสนอความกาวหนาของการดําเนินโครงการ พรอมนํา เสนอผลงานต น แบบให ส มาชิ ก ในโครงการ เพื่ อ รั บ ฟั ง ข อ เสนอแนะและแลกเปลี่ ย นประสบการณ ข องความ สําเร็จ รวมถึงอุปสรรคที่เกิดขึ้น อันกอใหเกิดกําลังใจและ แรงบันดาลใจกลับไปสรางสรรคผลงานตามความฝนทีต่ งั้ ใจ การนําความรูดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรมมาใช เปนเครือ่ งมือหลักในการเพิม่ คุณภาพของงานกอสราง และ เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานใหกับอุตสาหกรรมกอสรางมี ความสําคัญยิ่ง ในการชวยตอบสนองความตองการของ ผูบริโภค ซึ่งปจจุบันระบบการกอสรางกึ่งสําเร็จรูป (Prefabrication) ไดเขามามีบทบาทอยางมากในอุตสาหกรรม กอสราง และเกิดการพัฒนาเปนธุรกิจรับสรางบาน (Homebuilder) หากมีความรูและเขาใจเทคโนโลยีจะทําใหสามารถ ลดคาใชจา ย ลดการใชทรัพยากร และจัดการระบบในองคกร ของธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ ในภาวะการแขงขันที่มี ความรุนแรงอยางในปจจุบัน จึงทําใหกลุมผูประกอบการ
83
Energy#60_p83-84_Pro3.indd 83
10/18/13 10:58 PM
หากจะเปรียบเทียบขอดี-ขอจํากัด ระหวางการกอสรางระบบ Prefab ซึง่ ก็คอื การพัฒนาระบบการกอสรางนอกพืน้ ทีก่ อ สราง (Offset) เพือ่ ลดปญหาและเพิม่ ประสิทธิภาพการกอสราง โดยสามารถนําเสนอออก มาเปน 6 ประเด็นสําคัญ ดังนี้ 1. ราคา (Cost) ขอดี : สามารถควบคุมตนทุนการกอสรางได รวมถึงลดตนทุน ที่เพิ่มขึ้นในกรณีที่การกอสรางลาชาไดดวย ขอจํากัด : ตองลงทุนในสวนของสถานที่ผลิตและเครื่องจักร เพื่อชวยในการผลิต รวมถึงตนทุนในการขนสง (Logistic) เพิ่มขึ้น 2. เวลา (Time) ขอดี : สามารถควบคุมเวลาการกอสรางไดมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เนื่องจากอาศัยระบบการผลิตอุตสาหกรรม โดยในรายงาน ของ FAIA (The American Institute of Architects) พบวา สามารถเพิ่มประสิทธิภาพมากกวา 50% นอกจากนี้ การกอสรางใน ระบบโรงงานยังชวยลดความผิดพลาดหนางาน ตลอดจนปญหาการ กอสรางในสภาพอากาศไมอํานวย อันสงผลใหการกอสรางลาชาใน ระบบการกอสรางปกติ ขอจํากัด : ตองการบุคลากรที่เขามาบริหารจัดการงานแบบ Concurrent (งานที่ตองทํารวมกันในหลาย ๆ ฝาย) 3. แรงงาน (Labor) ขอดี : ลดการพึ่งพาแรงงานคน ลดอุบัติเหตุจากการทํางาน และเพิม่ ผลผลิต/ปริมาณงาน เมือ่ เทียบกับผลผลิตจากแรงงานคนใน เวลาที่เทากัน
ขอจํากัด : ตองการแรงงานดานเทคนิค และตองเพิ่ม บุคลากรดานการขนสง (Logistic) รวมถึงบุคลากรสําหรับการ จัดการระบบผลิตดวย 4. ขอบเขตงาน (Scope) ขอดี : สามารถทํางานที่มีความละเอียดและซับซอนไดพอ สมควร รวมถึงสามารถลดการใชวัสดุและลดการเกิดเศษขยะที่ เกิดจากการกอสราง ขอจํากัด : มีขอจํากัดในเรื่องของรูปแบบชิ้นงาน ทั้งนี้ขึ้น อยูก บั กลยุทธและการออกแบบของบริษทั และสําหรับโครงสราง กําไรตองอาศัยจํานวนการผลิตจํานวนมาก หรือปริมาณงานทีเ่ ขา มาอยางตอเนื่อง 5. คุณภาพ (Quality) ขอดี : คุณภาพงานเพิ่มขึ้น เนื่องจากการผลิตพึ่งระบบ อุตสาหกรรมทีไ่ ดมาตรฐาน และลดขัน้ ตอนการประกอบติดตัง้ สง ผลใหประสิทธิภาพการกอสรางเพิม่ ขึน้ ใชเวลานอยลง นอกจากนี้ หากมีการวิจัยการตลาดควบคูกับการผลิตจะชวยใหฝายพัฒนา ผลิตภัณฑสะดวกในการวางแผนหรือปรับปรุงระยะยาว ขอจํากัด : หากมีการสรางเครือขายการผลิต ตองมี การจัดการระบบและควบคุมคุณภาพของ Supplier (ผูจัดหา วัตถุดิบ) การออกแบบตองการผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ เพื่อการประกอบ (Assembly) ซึ่งในปจจุบันมีหลักสูตรที่ดําเนิน การเรียนการสอนนอย 6. ความเสี่ยง (Risk) ขอดี : มีโอกาสเกิดนวัตกรรมสูงกวาการกอสรางแบบ ปกติ หากมีการจัดการเก็บขอมูลและพัฒนาผลิตภัณฑตอเนื่อง ขอจํากัด : มีความเสี่ยงในการลงทุนโครงสรางการผลิต และการขนสง การปรับเปลี่ยนโครงสรางการผลิตหรือรูปแบบ ทําไดยาก ฉบับหนาจะเลาถึงกรณีตวั อยางของผูป ระกอบการทีป่ ระสบ ความสําเร็จจากการเขารวมโครงการ “นวัตกรรมการพัฒนา ที่พักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป” ขอขอบคุณ อ.กัลยา โกวิทวิสิทธิ์ หัวหนาคณะผูเชี่ยวชาญ โครงการฯ คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละการผั ง เมื อ ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สําหรับขอมูลการเปรียบเทียบฯ
หากทานสนใจเขารวมโครงการ ติดตอที่ คุณชนากานต สันตยานนท (chanaghan@tmc.nstda.or.th) โทรสาร. 0-2564-7082 โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381
84
Energy#60_p83-84_Pro3.indd 84
10/18/13 10:58 PM
O Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล
การจัดการขยะมูลฝอย ในสถานการณนํ้าทวม จากสถานการณอุทกภัยที่เกิดขึ้นเร็ว ๆ นี้ ในหลายพื้ น ที่ ข องประเทศไทย ทางกรมป อ งกั น และบรรเทาสาธารณภัย หรือ ปภ. ไดรายงานถึง สถานการณนํ้าทวมลาสุด ประจําวันที่ 13 ตุลาคม 2556 พบว า ยั ง มี พื้ น ที่ ที่ ป ระสบภั ย นํ้ า ท ว ม 25 จังหวัด 116 อําเภอ 733 ตําบล 5,542 หมูบาน 337,190 ครั ว เรื อ น ส ว นพื้ น ที่ ที่ ค ลี่ ค ลายแล ว มี 17 จังหวัด ซึ่งผลกระทบที่เกิดจากภัยนํ้าทวมไดสง ผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมเปนอยางมาก โดยเฉพาะป ญ หานํ้ า ท ว มขั ง และเน า เสี ย ป ญ หา ขยะมู ล ฝอยและสิ่ ง ปฏิ กู ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในหลายพื้ น ที่ ขยะที่ลอยอยูในนํ้าจะเปนที่สะสมเชื้อโรค รวมถึง ไปอุ ด ตั น การระบายนํ้ า แต ด ว ยเวลานํ้ า ขึ้ น สู ง ทําใหกําจัดขยะไดยากขึ้น นํ้าจะพาขยะลงมาตาม คลองซึ่งกลายเปนแหลงรวมของขยะจํานวนมาก ที่ไหลลงไปกองรวมกัน หากขยะมูลฝอยไมไดรับ การกําจัดอยางถูกวิธีจะกอใหเกิดผลกระทบดาน สิง่ แวดลอมตอแหลงนํา้ ตามมาในทีส่ ดุ ขยะสวนใหญ ที่ออกจากครัวเรือนชวงนํ้าทวม ไดแก ถุงพลาสติก ขวด หนังสือ เศษไม ตู เตียง ทีวี ที่นอน และเครื่องใช ไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิกสทั้งหลาย เพราะบาน บางหลั ง ขนย ายข าวของไม ทั น ทํ าให ไ ด รั บความ เสียหายทั้งหมด
ผลกระทบด า นสิ่ ง แวดล อ มที่ อ าจ เกิดขึ้นจากภาวะนํ้าทวม กรมควบคุมมลพิษไดใหขอั มูลดานผลกระทบ ด า นสิ่ ง แวดล อ มที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากภาวะนํ้ า ท ว ม วา โดยภาพรวมผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะ นํ้าทวมอาจแบงไดเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ พื้นที่ นอกเมืองซึ่งสวนใหญเปนพื้นที่เกษตรกรรม การ ท ว มขั ง ของนํ้ า จะทํ า ให ห ญ า หรื อ พื ช ผลทางการ เกษตรที่อยูระหวางเพาะปลูกตายและเกิดการเนา เสีย เมื่อระบายนํ้าออกจากพื้นที่แลวจะทําใหแหลง รองรับนํ้าดังกลาวเนาเสียตลอดลํานํ้า มีผลกระทบ ต อ พื้ น ที่ ท า ยนํ้ า สํ า หรั บ พื้ น ที่ ใ นเมื อ งจะเกิ ด การ หมักหมมของขยะและสิ่งปฏิกูลที่เกิดขึ้นในระหวาง นํ้ า ท ว ม ซึ่ ง อาจทํ า ให เ กิ ด การแพร ก ระจายของ เชือ้ โรค เกิดความเสียหายตอระบบกําจัดขยะมูลฝอย ระบบระบายนํ้า ระบบรวบรวมและบําบัดนํ้าเสีย และ เมื่อนํ้าลดลงถนนหนทางตาง ๆ จะมีขยะตกคาง ซึ่งตองไดรับการจัดการอยางถูกวิธี
รูปภาพที่ 1 ขยะมูลฝอยจากภัยนํ้าทวม
แนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยสําหรับบานพักอาศัยที่ถูกนํ้าทวม สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย ไดเสนอแนวทางในการจัดการขยะ มูลฝอย โดยวิธีการคัดแยกขยะมูลฝอยสําหรับบานพักอาศัยและบริเวณบานที่ถูก นํ้าทวม ดังนี้ 1. ขยะมูลฝอย ประเภทเศษอาหารที่เหลือจากการบริโภคแตละวัน กลองโฟม ถุงพลาสติก ที่ใชใสอาหารแลว ทิ้งลงในถุงดํา มัดปากถุงใหแนน ปองกันสัตวและแมลง นําโรคได รวบรวมใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปกําจัด อยางถูกหลักสุขาภิบาล ไมควร ทิ้งลงในแหลงนํ้า 2. ขยะมูลฝอย ประเภทกระปองโลหะ ขวดแกว ขวดพลาสติก กลองนม เก็บแยกไว ไมควรทิ้งลงในแหลงนํ้า นําออกขาย เมื่อสามารถขนออกมาไดหรือเขาสูภาวะปกติ 3. ขยะเครือ่ งใชไฟฟา โตะ เตียง เกาอี-้ ชุดรับแขก ทีช่ าํ รุด เศษไม เศษสิง่ กอสราง ติ ด ต อ ให ห น ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งนํ า ไปจั ด การอย า งเหมาะสม หลั ง จากนํ้ า ลดแล ว
ขยะอันตรายจากครัวเรือน…อาคารสถานประกอบการควรทําอยางไรดี ผู ป ระสบภั ย นํ้ า ทว มอาจไดรั บ อั น ตรายจากขยะอั น ตรายและสารเคมี ใ กลตั ว ที่ใชภายในบานชวงนํ้าทวมได เชน สารมีกําจัดศัตรูพืช สเปรยฆายุง ยาฆาปลวก ฆาแมลงสาบ จําเปนตองมีการจัดเก็บที่ดี สําหรับอาคารสถานประกอบการใหตรวจสอบ สารเคมีตาง ๆ ที่ใชประกอบกิจการภายใน เชน กิจการอูซอมรถ เคาะ พนสีรถ ขัดลาง โลหะ เปนตน ซึ่งอาจมีสารเคมีหลายชนิด เชน เบนซิน เอทธิลอาซีเตท เมื่อถูกนํ้าหรือ นํ้ายากรดดางอาจลุกเปนไฟหรือระเบิดได และหาขอมูลเตรียมไววาสารเหลานั้นถูกนํ้า ไดหรือไม ควรเก็บใหพนนํ้าอยางไรจะไดปลอดภัยกับผูอยูอาศัย การอยูอาศัยใกลนํ้า 85
Energy#60_p85-86_Pro3.indd 85
10/24/13 10:20 PM
ที่มีกลิ่นสารเคมีปนเปอนนาน ๆ อาจมีความเสี่ยงที่จะกอใหเกิด ปญหาระบบทางเดินหายใจได สําหรับแนวทางในการปองกันการรั่วไหลของขยะอันตราย จากครัวเรือนและอาคารสถานประกอบการนั้น กรมวิทยาศาสตร การแพทย ได ใหคําแนะนําและวิธีการปฏิบัติ ดังนี้ 1. เริ่มสํารวจภายในบาน วามีการใชนํ้ายาลางหองนํ้า ทําความ สะอาดครัว พื้น นํ้ายาลางทอตัน ยากันยุงสเปรยฆายุง กับดักหนู ยาฆาปลวกฆาแมลงสาบ สารมีกําจัดศัตรูพืช เก็บที่ไหนอยูในสภาพ ที่เหมาะสมหรือไม 2. สํารวจพื้นที่รอบบาน วามีสารเคมีกําจัดศัตรูพืช ปุย ยาฉีด ปลวก นํ้ายาคลอรีน หรือสารเคมีอื่น ๆ วางไวจุดใด นํ้าทวมถึงหรือไม 3. การป อ งกั น ให พ น นํ้ า หากประเมิ น ว า นํ้ า ท ว มถึ ง ให จั ด เก็ บ ใส ภ าชนะให มิ ด ชิ ด ยกเก็ บ ให สู ง พ น นํ้ า หรื อ ขยั บ ไปวางไว ที่ ปลอดภัยนอกบาน แยกจุดวางจากกองอาหารและนํ้าดื่ม ทําปาย หรือเครื่องหมายใหเห็นชัด ระวังอยาใหรั่วไหลลงนํ้า เพราะอาจเปน อั น ตรายต อ ร า งกายได หรื อ ถ า ไม จํ า เป น ก็ ค วรลดการใช ใ นช ว ง นํ้าทวมไปกอน 4. สํารวจขยะในบาน วามีภาชนะใสนํ้ายาตาง ๆ ขางตนที่ใช หมดแลว และยังไมไดทิ้ง หรือขยะอิเล็กทรอนิกสที่ใชแลวอยูในบาน หรือรอบบานบางหรือไม เชน แบตเตอรี่ ถานไฟฉาย ถามีรวบรวม แยกจากขยะแหงอื่น ๆ ทั่วไป และถารถขยะยังมาเก็บอยู ใหรีบเอา ออกไปกําจัดทิ้ง
การเตรียมความพรอมของเจาหนาที่ของรัฐ… ในการรับมือปญหาขยะจากอุทกภัย เนื่ อ งจากประเทศไทยเคยมี ป ระสบการณ ป ญ หาอุ ท กภั ย ครั้งใหญ ในป พ.ศ. 2554 ซึ่งครั้งนั้นไดมีความรวมมือรวมใจของ หลายภาคสวนในการรวมกันแกปญหาผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยทาง กรมควบคุมมลพิษไดรวบรวมความคิดเห็นและสรุปแนวทางการเตรียม ความพร อ มของเจ า หน า ที่ ข องรั ฐ ในการจั ด การขยะมู ล ฝอยจาก ปญหาอุทกภัย ในดานระบบเก็บรวบรวมและขนขยะมูลฝอย และ การปองกันนํ้าทวมระบบกําจัดขยะมูลฝอย กรณีเกิดภัยแลว ซึ่ง ผูเขียนไดนํามาเลาใหฟงดังนี้
(1)การเตรียมความพรอมของเจาหนาที่ของรัฐ ดานระบบ เก็บรวบรวมและขนขยะมูลฝอย กรณีเกิดภัยแลว ควรดําเนินการ ดังนี้ 1. แจกจายถุงดําสําหรับครัวเรือนและจัดวางภาชนะรองรับ ขยะมูลฝอยตามจุดที่กําหนดไว 2. การเตรี ย มความพร อ มในการดํ า เนิ น การจั ด เก็ บ ขยะ มูลฝอยตามบานเรือนและจุดเก็บโดยใชเรือ 3. สงเสริมแนวทางการคัดแยกขยะและเศษอาคารบานเรือนที่ เสียหายและถูกนํ้าพัดพาออกจากขยะมูลฝอย ไปที่กําจัดเฉพาะเพื่อ นําไปคัดแยกและใชประโยชนตอไป 4. การจัดหาพื้นที่พักขยะมูลฝอยชั่วคราว กรณีที่ไมสามารถ ขนสงขยะไปยังจุดที่กําหนดไวหรือไม สามารถเขาใชระบบกําจัดได โดยใหขนสงขยะไปยังพื้นที่ ชั่วคราวหรือสถานที่ อปท. ขางเคียง (2)การเตรียมความพรอมของเจาหนาที่ของรัฐ ดานการ ปองกันนํ้าทวมระบบกําจัดขยะมูลฝอย (สวนใหญเปนหลุมฝงกลบ ขยะมูลฝอย) ควรดําเนินการดังนี้ 1. จําเปนตองมีการปองกันสถานที่ไมใหถูกนํ้าทวมระบบกําจัด ขยะมูลฝอย โดยการเสริมคันดิน สูบนํ้า ระบายนํ้าฝน หากจําเปนใหมี การปองกันการแพรกระจายของขยะมูลฝอย โดยใชตาขายลอมรอบ บริเวณ 2. กรณีที่คาดวาจะไมสามารถปองกันนํ้าทวมระบบกําจัดขยะ มูลฝอยได ใหเรงนําดินกลบทับขยะมูลฝอยเดิม กอนที่นํ้าจะเขาทวม เพื่อปองกันขยะมูลฝอยหลุดออกสูภายนอก 3. หากมีปญหาในเรื่องนํ้าชะขยะมูลฝอยและกลิ่น สามารถใช นํ้าจุลินทรียชวยบรรเทาปญหาในเบื้องตน 4. จัดใหมีเจาหนาที่ควบคุม เฝาระวังระบบกําจัดขยะมูลฝอย อย างใกล ชิด เพื่อป องกัน แก ไข ป ญหานํ้าท วมเกิ นกว าระดับที่ กําหนด ดังนั้น ถาหากทุกภาคสวนมีสวนรวมในการชวยกันลดปญหา ขยะมูลฝอยจากภัยนํ้าทวม จะเปนการชวยบรรเทาผลกระทบดาน สิ่งแวดลอมที่ตามมาหลังจากนํ้าลดแลว การปองกันปญหามลพิษ สิ่งแวดลอมจากบานเรือนและสถานประกอบการ โดยการคัดแยก ขยะครัวเรือน การไมทิ้งขยะลงสูนํ้า การจัดเก็บสารเคมีไมใหถูกนํ้า ลวนเปนแนวทางที่ดีและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมครับ
86
Energy#60_p85-86_Pro3.indd 86
10/24/13 10:20 PM
Energy#59_p02_Pro3.ai
1
9/17/13
12:31 AM
11.05-11.30 .
Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษศููนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
ความลมเหลวในการบริหารจัดการนํา ชวงภาวะวิกฤติที่จะกลับมา
บทความนี้ไมไดเขียนเพื่อตําหนิใคร แตเปนความตองการเพื่อใหประชาชน ไดตระหนักวา ตนเปนที่พึ่งแหงตน ที่ประเทศนี้เคยประสบวิกฤตินํ้าทวมเมื่อ ป 2554 เกิดภัยพิบัติที่เรียกวามหาอุทกภัย ทําลายเศรษฐกิจและความเสียหาย ของนิคมอุตสาหกรรมที่ประสบภัย จนปจจุบันยังไมกลับคืนมาเหมือนเดิม เห็นได ดวยตาเมือ่ นิคมอุตสาหกรรมหลายพืน้ ทีเ่ งียบเหงา เปนบทเรียนชีวติ ของประชาชน และภาคอุตสาหกรรม ในปนี้พายุหลายลูกไดพัดผานเขามา ความลมเหลวอยาง แรกที่เห็น คือ การคาดการณความรุนแรงของนํ้าที่เขาทวมเฉียบพลันที่จังหวัด สระแกว จังหวัดนครนายก และจังหวัดปราจีนบุรี ชาวบานไมไดรับการเตือนภัย ลวงหนาในการเตรียมการปองกัน มุง เนนแตการแกไขปญหาเฉพาะหนา แจกจาย สิ่งของ แตขาดการเตรียมการในเรื่องการขนสง ประเด็นความลมเหลวตอมา คือ การสื่อสารใหประชาชนรับทราบ หรือการประสานงานระหวางหนวยงานตาง ๆ ยังเปนไปอยางลาชา ไมทันการณ
การเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change) ดู จ ะเป น จํ า เลยสํ า คั ญ ที่ ก อ ให เ กิ ด ภั ย พิ บั ติ รุ น แรงในหลาย ประเทศ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ ทํ า ให ป ระชาชนต อ งปรั บ ตั ว อยางมาก เชน ฤดูหนาวทีร่ สั เซียมาเร็วกวาปกติ ความแหงแลง และแผ น ดิ น ไหวในหลายประเทศที่ มี ค วามรุ น แรงมากขึ้ น ความเสี ย หายและความสู ญ เสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั่ ว โลก เป น บท ทดสอบสํ า คั ญ สํ า หรั บ มนุ ษ ย ช าติ ที่ จ ะดํ า รงอยู บ นโลกใบนี้ ความขาดแคลนที่เกิดขึ้น มองอีกมุมหนึ่งคือการเตือนถึงภัย จากการเปลี่ยนแปลงสูการทําลายลางโลก โดยไมตองเกิดจาก สงครามระหวางมนุษยกันเอง จากที่กลาวมาขางตน มุมมองปญหาอุทกภัยหรือภาวะ ความแหงแลงในประเทศไทย ดูจะนอยนิดและเทียบไมไดกับ หลายประเทศบนโลกที่ประสบปญหานี้ ทั้งที่มีความพรอมกวา ประเทศไทย ทั้งกําลังคน เทคโนโลยีและเศรษฐกิจที่ดีกวา ไทย เองนาจะเปนประเทศที่โชคดีวาประเทศอื่น ๆ ดังนั้นความจําเปน ตอการเตรียมพรอมตอภาวะอุทกภัยที่เผชิญอยูนี้และภาวะ ความแหงแลงในอนาคต ตองมีการศึกษาบทเรียนที่เคยเกิด ขึ้นอยางจริงจัง การวางแผนการบริหารจัดการนํ้าไมจําเปน ตองลงทุนมหาศาล แตตองกําหนดแนวทางที่ชัดเจน และคํานึง ถึงศักยภาพของบริหารจัดการนํ้าที่มีอยูในปจจุบันใหสามารถ ทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ และที่สําคัญคือระบบขอมูลนํ้า ของประเทศที่ตองมีการตรวจสอบวิเคราะหหาปริมาณนํ้าใน ประเทศที่มีอยู ความสามารถในการรองรับนํ้า การบริโภคนํ้า
88
Energy#60_p88-89_Pro3.indd 88
10/11/13 11:12 PM
และการจัดการนํ้าปลายทางอยางเปนระบบ และทั้งวงจรที่เรียกวา วงจรวัฏจักรชีวิตนํ้า ของประเทศ (life cycle water assessment) หรือบางประเทศ เชน เกาหลีทําพิมพเขียว การใชนํ้า การจัดการนํ้าที่เรียกวา Water footprint ของประเทศ ซึ่งเปนการทํางาน รวมกันในหลายหนวยงานของประเทศเกาหลี เองที่รวมมือกันทํางานเพื่อชาติอยางแทจริง ซึง่ เมือ่ เรามีพมิ พเขียว หรือฐานขอมูลนํา้ ของ ประเทศ การวางแผนตอไปคือ การรับมือ ตอสถานการณตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น ไมใชแค นํ้ า ท ว ม แต ต อ งรวมถึ ง นํ้ า แล ง และวงจร การใชนํ้าตลอดป และเมือ่ เขาใจรวมกันทีจ่ ะบริหารจัดการ นํ้ า ของประเทศ จึ ง จํ า เป น ต อ งตอบโจทย ทีว่ า นํา้ ตนทุนของประเทศมีเทาไร การบริโภค นํ้ า ในภาคส ว นต า ง ๆ มี เ ท า ไร ทั้ ง ชุ ม ชน เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม ทัง้ หลายทัง้ ปวง จะเป น ผลรวมที่ แ สดงให ถึ ง นํ้ า เหลื อ ใช ทีจ่ ะตองปลอยระบายออกสูท ะเล นัน่ คือการ ฉายภาพของการใช นํ้ า อย า งครบวงจร ของประเทศ หลังจากนัน้ เปนการคาดการณ ตา ง ๆ เพื่ อหาทิศทางการจัด การนํ้ าที่จะ เปนปญหา เชน กรณีเลวรายของการเกิด อุทกภัย จะจัดการรองรับนํ้าอยางไรในภาวะ เลวรายที่สุด (worse case scenario) รวมทั้งการวางแผนรองรับภัยแลงที่เลวราย ที่สุด การวางแผนการเยียวยา การรับภาระ ตอการอพยพตาง ๆ ตองเตรียมความพรอม และสุดทายการวางแผนฟน ฟูเปนสิง่ ทีจ่ าํ เปน ที่สุด ในเรื่องของระบบการกักเก็บนํ้า ใน ภาวะปจจุบันที่ใชคําตอบวา ตองการสราง เขื่อนจํานวนมาก ใหรองรับลุมนํ้าตาง ๆ ที่
มีการระบายนํ้าสูชุมชนพื้นที่ตอนลาง แต บทพิสูจนหลาย ๆ ประการพบวา เขื่อนไมใช คําตอบสุดทายที่จะชวยปองกันนํ้าทวม เมื่อ ธรรมชาติมคี วามสมดุลเปนปจจัยสําคัญตอ การรองรับนํ้าที่ยั่งยืน ควรที่จะวางแผนใน การเพิ่มพื้นที่เขื่อนโดยธรรมชาติ โดยการ เพิ่มพื้นที่ปา การใชปาเปนเขื่อนธรรมชาติ น า จะเป น คํ า ตอบที่ ดี ที่ สุ ด มี ค วามยั่ ง ยื น กวามหาโครงการลงทุนหลายแสนลานบาท ความสํ า คั ญ ของป า ช ว ยในการบริ ห าร จั ด การนํ้ า ได อ ย า งยั่ ง ยื น เหมื อ นกั บ สภาพแวดล อ มที่ รั ก ษาสภาพระบบนิ เ วศ อย า งยั่ ง ยื น และเป น การใช ป ระโยชน ป า อยางคุม คาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ทีม่ อี ยู หลายสิง่ ไมอาจกลับคืนเมือ่ กลายสภาพ เปนปาคอนกรีตหรือเขือ่ นขนาดใหญ การเชื่ อ มโยงการบริ ห ารจั ด การนํ้ า โดยใชธรรมชาติ โดยการสรางความสมดุลย และการอยู ร ว มกั บ ธรรมชาติ ข องสั ง คม ชุ ม ชนจนถึ ง เมื อ งใหญ ล ว นแล ว ต อ งมี การปรั บ ตั ว การใช ห ลั ก การเศรษฐกิ จ พอเพียงนาจะเปนคําตอบสําหรับการสรางปา เพื่อการบริหารจัดการนํ้าที่มีประสิทธิภาพ นัน่ หมายถึงการใชนาํ้ อยางรูค ณ ุ คา การชะลอ นํา้ อยางมีประสิทธิภาพ นาจะเปนคําตอบทีด่ ี แมวาปจจุบันมีการพัฒนาการขยายตัวของ เมือง การเพิ่มขึ้นของประชากรที่ตองการใช ประโยชนจากทรัพยากรอยางมาก แตหาก ใชวิธีคิดโดยหลักเศรษฐกิจพอเพียงแลว เชื่อวา ทรัพยากรที่มีอยู การปรับตัวจาก นํ้ า ท ว มและนํ้ า แล ง น า จะไม รุ น แรงเช น ที่ผานมา หรือเปนที่ยอมรับไดที่จะปรับตัว อยูรวมกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ที่ ผ า นมา ความล ม เหลวของการ
บริหารจัดการนํา้ หรือการจัดการทรัพยากร ของประเทศ มีคาํ ตอบที่ไมเชื่อมโยงในหลาย มิ ติ มองแต มิ ติ ก ารพั ฒ นา การมุ ง กํ า ไร มากกว า จะยอมรั บ ความพอเพี ย ง การ พั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น จึ ง ดู ห า งไกล โดยส ว นตั ว เชื่อวา การพัฒนากับการอนุรักษ เปนสิ่งที่ ไปดวยกันได โดยขึ้นกับนโยบายการบริหาร ที่เอื้อตอมิติตาง ๆ ทั้งทางสังคม วัฒนธรรม และความเปนอยูของประชาชนที่ไดรับผล กระทบ ในชวงวิกฤติการณตา ง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ตามมา หากมองการลงทุนที่ใชเงินมหาศาล การกอสรางสิ่งตาง ๆ เชน flood way หรือ การเปลี่ยนแปลงเสนทางนํ้าทางธรรมชาติ ลวนแลวแตเปน การประกาศสงครามกับ ธรรมชาติ ซึ่งธรรมชาติไมมีทางแพ ดวย พละกํ า ลั ง มหาศาล และความเป น ไปทาง ธรรมชาติ จําเปนที่ตองตระหนักถึงการอยู รวมกับธรรมชาติ และรูท จี่ ะปรับตัว นาจะเปน ทางออกที่ดีกวาการสูเพื่อเอาชนะ ในชวงชีวิตตอไปนี้ คาดการณ ไดวา ค ว า ม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ที่ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ภัยธรรมชาติจะมีความรวดเร็ว และมีทศิ ทาง ที่จะสงผลกระทบอยางรุนแรง การพัฒนา ที่เกิดขึ้นจึงเปนการพัฒนาเพื่อสนองตอบ ตอความอยูรอด ความสะดวกสบายและ ค า นิ ย มที่ เ น น การพั ฒ นามากกว า การ อนุ รั ก ษ บทเรี ย นสํ า หรั บ มนุ ษ ยชาติ คื อ การไม เ คยเรี ย นรู ป ระวั ติ ศ าสตร แ ละจะ เผชิ ญ ป ญ หาซํ้ า แล ว ซํ้ า อี ก และชี วิ ต ใน ยุ ค ต อ ไปจะเป น ยุ ค ที่ อ ยู กั น อย า งลํ า บาก หากวันนีไ้ มคาํ นึงถึงการปรับตัว การอยูร ว มกับ ธรรมชาติ การใชชีวิตอยางพอเพียงไมเอา เปรียบธรรมชาติ หรือไมทําลายทรัพยากร อยางรุนแรงเทาทีเ่ ปนอยูใ นขณะนี้ 89
Energy#60_p88-89_Pro3.indd 89
10/11/13 11:12 PM
Energy Exhibit กองบรรณาธิการ
BUS & TRUCK’13 หนึ่งงาน... ที่รอคอยของรถพาณิชย หนึ่งเดียว... กับการกาวสูปที่ 10
BUS & TRUCK’13 เตรียมการเปดตัวอยางยิ่งใหญอีกครั้ง สมการรอยคอย เอาใจ ทั้ ง ผู ป ระกอบการรถยนต พ าณิ ช ย แ ละรถยนต โ ดยสารขนาดใหญ และผู ที่ กํ า ลั ง มอง หาเทคโนโลยีดานการขนสงใหมๆ อุปกรณ-บริการ และกิจกรรมหลากหลาย ภายใต แนวคิด “More Power, no border - แรงขามแดน” พรอมความยิ่งใหญกาวเขาสู ปที่ 10 เตรียมรับ AEC 7-9 พฤศจิกายนนี้ ณ ไบเทค บางนา
90
Energy#60_p90-91_Pro3.indd 90
10/22/13 3:03 PM
สําหรับคายรถใหญทเี่ ขารวมงานในปนี้ ยังคงเปนที่นาจับตามอง โดยเฉพาะคายเม อรเซเดส-เบนซ ที่พึ่งเปดตัวใหมในตลาด รถกลุมนี้ โดยสงรถรุน Sprinter 319 CDI กับโฉมใหมลงชิงตลาด คายญี่ปุนอยาง ยูดี ทรัคส จะเปดรุน เควสเตอร คายฟูโซ เปดตัว รถดัมพ รุนโชกุน เครื่องยนต 380 แรงมา คายรถจีนอยางคาย DF นํารถหัวลากเขามา โชวแตยงั ไมจาํ หนาย เพือ่ ใหลกู คาสามารถนํา ไปทดลองใชไดกอน คาย FAW จะนําทั้งอูตอ และลีสซิ่งที่เปนพันธมิตรมาอํานวยความ สะดวกใหเฉพาะงานนี้เทานั้น และคายอื่น ๆ ทีร่ ว มงานก็จะมีรถใหมมาเปดตัวในงาน BUS & TRUCK เปนงานแรกแทบทุกคาย รวม ทั้งรถโดยสารคายซันลอง ก็จะนํารถขนาด 12 เมตรเขามาเปดตัวดวยเชนกัน
BUS & TRUCK มหกรรมยานยนต พื้ น ที่ ร วมพลของผู ที่ ชื่ น ชอบรถใหญ แ ละ รถโดยสาร ดวยการจัดแสดงยนตกรรม และเทคโนโลยี จ ากค า ยรถยนต ทั่ ว โลก พร อ มกิ จ กรรมสํ า หรั บ ทั้ ง ผู ซื้ อ และผู ข าย งานใหญหนึ่งเดียวในอาเซียน ซึ่งปนี้เตรียม จัดงานอยางยิ่งใหญภายใตชื่อ “BUS & TRUCK’13 More Power, no border” อันแนนเต็มพื้นที่จัดแสดง และปนี้ยังพิเศษ กวาทุกป กับการกาวเขาสูปที่ 10 พรอมกัน คุณชาตรี มรรคา กรรมการผู จัดการ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ผูจ ดั งาน BUS & TRUCK’13 กลาวถึง การจัดงานปนี้วา งาน BUS & TRUCK ’13 ถือเปนการจัดงานปที่ 10 ตลอดระยะเวลา ที่ผานมาในฐานะผูจัดงานไดยึดถือปรัชญา ที่วา “งาน BUS & TRUCK ตองเปนงาน ใหผูซื้อมาพบผูขายโดยตรง” ตรงกับความ ตองการของผูประกอบธุรกิจรถขนาดใหญ เปนอยางมาก ดวยปรัชญาดังกลาว ทําให งาน BUS & TRUCK ไดรับการสนับสนุน ดวยดีตลอดมาจนถึงปที่ 10 ของการจัดงาน
สําหรับตลาดรถใหญปนี้ถือวาเปนป ที่นาจับตาอยางมาก เพราะมียอดจําหนาย เติบโตเปนประวัติการณของเมืองไทยโดย 8 เดือนแรกของป ตั้งแตเดือนมกราคมสิงหาคม สามารถจําหนายไดถงึ 32,513 คัน และอี ก 4 เดื อ นที่ เ หลื อ ของปนี้ ค าดวา จะ ทําใหไดถึง 50,000 คัน ตามที่คายใหญ ทุกคายคาดการณ ไว รวมถึงปจจัยเสริม ทีท่ าํ ใหยอดรถใหญจะมากเปนประวัตศิ าสตร กับโครงสร างการพัฒนาระบบการขนส ง 2 ลานลานบาท และโครงการกอสรางการ ขนสงสาธารณะของรัฐบาล การก า วเข า สู ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น หรื อ Asean Economic Community(AEC) ที่จะมาถึงในป 2558 เปนอีกหนึง่ ปจจัยทีจ่ ะสงผลตอตลาดรถขนสง ขนาดใหญเชนกัน เมือ่ เปดการคาเสรีและการ ขนสงแบบเสรี ทั้งรถบรรทุกและรถโดยสาร จะสามารถวิ่งรถขามประเทศกันไดอยางเสรี นํามาสูก ารเติบโตทัง้ คายรถใหญ ยางรถใหญ และอุปกรณตอเนื่อง รวมถึงผูประกอบการ รถบรรทุกและรถโดยสารตางก็ตองปรับตัว ทีจ่ ะขยายธุรกิจการขนสง เพือ่ ใหประสบความ สําเร็จตามทัง้ สองปจจัยเชนกัน
นอกจากนี้ ยังเปนงานที่มีการรวมตัว ของคายยางรถใหญกับบริษัทชั้นนํา อาทิ มิชลิน ,บริดจสโตน, ซุปเปอร ฮอรค, ฮันคุก , แดวู และอพอลโล รวมทั้งยางยี่หออื่นอีก หลายยี่ ห อ ที่ จ ะตามเข า มาโชว น วั ต กรรม ความประหยัดคุมคา พรอมโปรโมชั่นอีกมา กมาย สวนอุป กรณ ตอ เนื่อ งอื่ นๆ อยาง ระบบ GPS มีมากกวา 3 ยี่หอ ที่เตรียมโปร โมชัน่ พิเศษไวใหกบั ลูกคา บริษทั ผูต ดิ ตัง้ กาซ ธรรมชาติ NGV ผูแทนจําหนายทั้งชิ้นสวน และอะไหล ก็มีความพรอมอยางเต็มที่ที่จะ เพิม่ กลุม ลูกคาใหตรงกลุม มากทีส่ ดุ และเพือ่ ความสะดวกของกลุม ลูกคารถใหญ ทางกรุง ศรี ทรัค ซึง่ เปนสินเชือ่ รถใหญทธี่ นาคารกรุง ศรีอยุธยา (มหาชน) ไดตงั้ ขึน้ ใหม ก็ไดเขามา เปดตัวในงานนี้เปนครั้งแรกดวยเหมือนกัน การจัดงาน BUS & TRUCK’13 ป นี้เปนการฉลองครบรอบ 10 ป ไดมีการ เพิ่ ม อี ก หนึ่ ง ไฮไลท ข องงานด ว ยการจั ด ประกวด Miss Bus Hostess ขึ้นเปนครั้ง แรก โดยเปนการประกวดสาวงามทีห่ นาตาดี มีความรูและการบริการที่ประทับใจ รวมถึง การประกวดรถโดยสาร Thailand Best Bus Body ครั้งแรก เปนการประกวดรถ โดยสารทีม่ รี ปู แบบสวยงามและไดมาตรฐาน มีความมัน่ คงปลอดภัย โดยไดรบั การรับรอง จากกรมการขนสงทางบก และการสัมมนา ของกรมเจรจาการคา สัมมนาการเรงเปน สภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทยของ สหพันธการขนสงทางบกแหงประเทศไทย รวมทั้งการบรรยายวิธีการเปดตลาดขนสง ในประเทศพมา โดยบริษัท บลู แอนด ไวท ออฟ เบอรมา จํากัด รวมถึงกิจกรรมอื่นๆ อีกมากมาย 91
Energy#60_p90-91_Pro3.indd 91
10/22/13 3:03 PM
Green Community อภัสรา วัลลิภผล
บริดจสโตน รวมกับ มูลนิธิ EDF มอบจักรยานลดมลภาวะทางอากาศ
การปลู ก ฝ ง จิ ต สํ า นึ ก ในการลดการใช พ ลั ง งานให แ ก เยาวชน ถือเปนความรับผิดชอบของทุกภาคสวนไมวาจะเปน องคกรรัฐบาลหรือเอกชนก็ตาม บริษัท ไทยบริดจสโตนเปน อี ก หน ว ยงานหนึ่ ง ที่ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ในด า นของการ อนุรักษสิ่งแวดลอมและตองการปลูกฝงใหเยาวชนรูจักการ รั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม โดยการมอบจั ก ยานบริ ด สโตนซึ่ ง เป น จักรยานนําเขาของทางบริดสโตนเอง ทั้งยังมอบทุนการศึกษา เพื่อตองการพัฒนาการศึกษาไปพรอม ๆ กัน
บริษัท ไทยบริดจสโตน จํากัด รวมกับ มูลนิธิกองทุน การศึกษาเพือ่ การพัฒนา (มูลนิธิ EDF) จัดกิจกรรมโครงการ บริดจสโตน ปนนํ้าใจ ปนไปสูฝน (Bridgestone Rides the Future 2013) ปที่ 8 มอบทุนการศึกษาพรอมจักรยานยืมเรียน แกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนในเขตพื้นที่การศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ โรงเรียนบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ และโรงเรี ย นบานบกโนนเวีย ง จังหวัดหนองบัวลําภู โดยใน ปที่ 8 ปการศึกษา 2556 นี้ บริดจสโตนไดมอบทุนการศึกษาตอ เนือ่ งเปนระยะเวลา 3 ป พรอมจักรยานยืมเรียนจํานวน 200 ทุน คิดเปนเงิน 2,450,000 บาท
92
Energy#60_p92-93_Pro3.indd 92
10/18/13 11:45 PM
วัตถุประสงคหลักในการมอบจักรยานบริดจสโตน ใหแกนักเรียนนั้น ทางบริดจสโตนเองตองการเนนให นักเรียนไดใชจกั รยานในชีวติ ประจําวัน เนือ่ งจากเล็งเห็นวา จักรยานเปนพาหนะทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม เปนพาหนะ ในการลดมลพิษทางอากาศและเสียง ลดการใชพลังงาน และอยากใหนักเรียนมีสุขภาพที่ดี ซึ่งการปนจักรยาน ประมาณ 6.5 กิโลเมตรตอวัน สามารถชวยลดการปลอย กาซคารบอนไดออกไซดลง 900 กิโลกรัมตอปเลยทีเดียว นอกจากจะมอบทุนการศึกษาและจักรยานยืมเรียน แลว ยังไดมกี ารมอบคูม อื และเครือ่ งเขียน พรอมแนะนํา วิธีการใชจักรยานบริดจสโตน ทั้งยังสอนในเรื่องของ สวนประกอบจักรยานบริดจสโตนทีไ่ ดรบั เพือ่ จะไดสามารถ ซอมบํารุงจักรยานเบือ้ งตนไดดว ยตนเอง อีกทัง้ ยังไดรบั ความรวมมือเปนอยางดีจากตํารวจจราจรสถานีตํารวจ อําเภอเมืองหนองบัวลําภูในการแนะนําเรียนรูก ฎจราจร เครือ่ งหมายจราจร การปฏิบตั ติ ามกฎจราจรอยางเครงครัด เพือ่ สงเสริมความปลอดภัยในการเดินทางของนักเรียน มากยิง่ ขึน้ นายสรรเพชร นิลรัตน กรรมการผูจ ดั การมูลนิธิ กองทุนการศึกษาเพือ่ การพัฒนา (มูลนิธิ EDF) เผยวา “ในนามของตัวแทนเยาวชนไทยทีไ่ ดรบั โอกาสดี ๆ จาก บริษทั ไทยบริดจสโตน จํากัด ทาง มูลนิธิ EDF ขอขอบคุณ บริดจสโตนทีม่ งุ มัน่ สรางสรรคและเล็งเห็นประโยชนในการ มีสว นพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและมองเห็นในเรือ่ ง ของการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม การลดการใชพลังงาน มาโดย ตลอด มูลนิธิ EDF หวังเปนอยางยิง่ วาโครงการนีจ้ ะเติบโต ตอไปเรือ่ ย ๆ รวมถึงหนวยงาน องคกรตาง ๆ จะมารวมกัน สรรสรางกิจกรรมดี ๆ เพือ่ อนาคตทีแ่ จมใสของเยาวชน ไทยทีย่ งั ตองการความชวยเหลืออีกเปนจํานวนมาก”
93
Energy#60_p92-93_Pro3.indd 93
10/18/13 11:45 PM
Saving Corner โดย : คุณทนงศักดิ์ วัฒนา
Energy from Waste (EfW) Technology โรงไฟฟาพลังงานนํ้าขนาดเล็กจากแหลงนํ้าทิ้งแรงดันสูง (Small hydropower from Wastewater) ปจจุบนั พลังงานไฟฟา เปนสิง่ ทีจ่ าํ เปนและไมสามารถขาดได มีการใชงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน ซึ่งการ ผลิตพลังงานไฟฟาของไทยยังคงใชเชื้อเพลิงฟอสซิลเปนหลัก โดยเฉพาะใชพลังงานจากกาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟามาก ถึงรอยละ 72 ของการใชพลังงานทัง้ หมด จากขอมูลของ สํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน พบวา ในป 2552 ประเทศไทยมีการใชพลังงานไฟฟาเพิม่ ขึน้ 0.1% อยูท ี่ 134,489 ลานหนวย และยังคงมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ จากการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ ดังนัน้ เพือ่ ลดความเสีย่ งดานพลังงานและเพิม่ ความมัน่ คง ดานพลังงานของไทย การพัฒนาพลังงานทดแทนจึงเปนแนวทางที่ ควรไดรบั การสนับสนุนอยางเรงดวน เมือ่ พิจารณาความเปนไปได ในเชิงเศรษฐศาสตรของพลังงานทดแทน พลังงานนํา้ ขนาดเล็ก และพลังงานจากชีวมวล เปนพลังงานทางเลือกทีน่ า สนใจมากทีส่ ดุ โดยพลังงานนํา้ มีตน ทุนเพียง 1.2-1.5 บาทตอหนวย และพลังงาน ชีวมวลมีตน ทุนอยูท ี่ 2.1 บาทตอหนวย
และถามองในดานศักยภาพดานพลังงาน จากการประเมิ น ศั ก ยภาพพลั ง งานนํ้ า ของ กระทรวงพลังงาน ในป 2550 พบวา การผลิตไฟฟา จากพลังงานนํา้ ของไทยอยูท ี่ 25,500 เมกะวัตต โดย ศักยภาพพลังงานนํา้ ในระบบหมูบ า นและพลังงาน นํ้าขนาดเล็กอยูที่ประมาณ 1,000 เมกะวัตต ถ า มองด า นเทคโนโลยี ก ารผลิ ต กระแส ไฟฟาจากพลังงานนํ้าขนาดเล็ก มีเทคโนโลยีที่ ไมซับซอน เทคโนโลยีภายในประเทศก็สามารถ พัฒนาใหมศี กั ยภาพได โดยทัว่ ไปการผลิตไฟฟา พลังงานนํ้าขนาดเล็ก สามารถแบงออกไดเปน 3 แบบ คือ ขนาดจิว๋ กําลังไฟฟาไมเกิน 100 กิโลวัตต ขนาดเล็กมาก กําลังไฟฟา 100-1000 กิโลวัตต และขนาดเล็ก กําลังไฟฟา 1-30 เมกะวัตต
รูปที่ 1 เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาจากพลังงานนํา้
94
Energy#60_p94-95_Pro3.indd 94
10/24/13 10:25 PM
การผลิตไฟฟาจากพลังงานนํา้ นอกจากแหลงนํา้ จากธรรมชาติ แลว ยังมีแหลงพลังงานนํา้ ทิง้ ทีม่ ศี กั ยภาพนํามาผลิตกระแสไฟฟาได ซึง่ มักเกิดจากการขนสงนํา้ จากแหลงหนึง่ ไปยังแหลงหนึง่ เชน การสูบนํา้ จากบอพักนํ้าทิ้งไปยังบอปรับสภาพของระบบบําบัดนํ้าเสีย โดยการ ปลอยทิง้ ลงบอ ทัง้ ทีย่ งั มีแรงดัน สามารนํามาใชงานได หรือในกระบวนการ กรองนํ้าดวยระบบออสโมซิสผันกลับ (Reverse osmosis, RO) ซึง่ ในกระบวนการกรองจะเกิดนํา้ บางสวนทีไ่ มผา นการกรอง ออกมาจาก กระบวนการกรอง นํา้ ดังกลาวมีปริมาณและความดันสูง มีศกั ยภาพ นํากลับมาใชประโยชน หรือผลิตเปนกระแสไฟฟาได โดยผานอุปกรณ เชน กังหันนํา้ เปนตน
รู จั ก พลั ง งานจากนํ้ า และเทคโนโลยี กั ง หั น นํ้ า เพือ่ ผลิตไฟฟา นํา้ นอกจากเปนทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชนมากมาย โดยเฉพาะการ ดํารงชีวติ ของสิง่ มีชวี ติ นํา้ ยังเปนแหลงพลังงานทีส่ ะอาดและตนทุนการ ผลิตตํา่ โดยปกติการจะใชประโยชนจากนํา้ ในแงของพลังงานตองสะสม พลังงานของนํ้าใหอยูในรูปของพลังงานศักย และปลอยใหตกลงมา ซึง่ นํา้ จะเปลีย่ นจากพลังงานศักยเปนพลังงานกล เพือ่ ขับดันอุปกรณ หรือ กังหันนํา้ (Hydro Turbine) ซึง่ มีแกนเพลาตออยูก บั เครือ่ งกําเนิด ไฟฟา (Generator) การพิจารณาถึงพลังงานนํา้ จะสามารถผลิตไฟฟา ไดมากนอยเพียงใด พิจารณาจากปริมาณนํา้ และความสูงของแหลงนํา้ ทีป่ ลอยใหตกลงมา สามารถคํานวณไดจากสมการ
ในการจะพิจารณานําพลังงานนํ้ามาใชงาน เพื่อผลิตไฟฟา นอกจากตองพิจารณาอัตราการไหล และความแตกตางของระดับ ความสู ง ของนํ้ า แล ว การเลื อ กใช กั ง หั น นํ้ า ให เ หมาะสมกั บ อั ต รา การไหลและระดับความสูงของนํ้าก็มีความสําคัญเชนกัน กังหันนํ้า (hydro-turbine) ถือเปนอุปกรณสําคัญมากในการผลิตไฟฟา จากพลังงานนํา้ เพราะเปนอุปกรณในการเปลีย่ นพลังงานจลนจากนํา้ เปนพลังงานกล กอนจะสงกําลังไปยังเครือ่ งกําเนิดไฟฟา การเลือกกังหันนํา้ ใหเหมาะสมกับความสูงหัวนํา้ และอัตราการ ไหลของนํา้ จึงเปนสิง่ สําคัญมากในการออกแบบระบบผลิตไฟฟาจาก พลังงานนํ้า โดยทั่วไปกังหันนํ้าสามารถแบงเปนประเภทใหญ ๆ ได 2 ประเภท คือ กังหันนํา้ ประเภทหัวฉีด (Impulse Turbine) ประกอบดวย กังหันแบงกี (banki turbine) กังหันเพลตัน (penton turbine) กังหันนํา้ เทอรโก (turgo turbine) และกังหันนํา้ อีกประเภท คือ ประเภท แรงปฏิกริ ยิ า (Reaction turbine) ซึง่ ประกอบดวย กังหันนํา้ ฟรานซิส (Francis turbine) กังหันนํา้ เคปแลน (Kaplan turbine) และกังหัน นํา้ เดเรียซ (deriaz turbine) ในการพิจารณาเลือกชนิดและขนาดของ กังหันนํา้ สามารถพิจารณาไดจากกราฟในรูปที่ 2
รู ป ที่ 2 การเลื อ กกั ง หั น นํ้ า โดยพิ จ ารณาความสู ง หั ว นํ้ า กั บ อัตราการไหล (ทีม่ า : http://www.hydroworks.co.nz/) ฉบับหนาเรามาทําความรูจ กั กับกังหันนํา้ แตละประเภทกันครับ…
95
Energy#60_p94-95_Pro3.indd 95
10/25/13 9:11 PM
Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001/wonlop.r@gmail.com
คูมือการตรวจสอบ
และรับรองการจัดการพลังงาน สําหรับผูตรวจสอบพลังงาน (ตอนที่ 5)
จาก กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการ จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ประกาศกระทรวงพลังงาน เรือ่ ง หลักเกณฑและวิธกี ารดําเนินการจัดการ พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ กําหนด ใหพนักงานเจาหนาที่ บุคคลหรือนิติบุคคล (ผูตรวจสอบพลังงาน) ที่อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานอนุญาต มีหนาที่ดําเนินการตรวจสอบและรับรอง (Certification Audit) ตามที่กําหนด สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน จึงจัดทําคูมือการตรวจสอบและรับรองการ จัดการพลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงานขึ้น โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูที่มีหนาที่ที่เกี่ยวของใชเปนแนวปฏิบัติตอไป โดยคูมือมีสวน ประกอบดังนี้ • บทที่ ๑ เกณฑการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
• บทที่ ๒ ขั้ น ตอนการตรวจสอบและรั บ รองการจั ด การ พลังงาน • ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมทีเ่ กีย่ วของกับการตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน • ภาคผนวก ข กฎหมายที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน โดย Energy Saving ฉบับทีผ่ า นมา ไดกลาวถึง คํานํา บทที่ ๑ และ บทที่ ๒ ไปแล ว ดั ง นั้ น ในฉบั บ นี้ จ ะกล า วถึ ง ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอร มที่เกี่ยวข องกับการตรวจสอบและรับรองการ จัดการพลังงาน ตอไป หวังวาผูอานจะไดรับประโยชนจากคูมือนี้ครับ โดยเฉพาะผู ที่ เ กี่ ย วข อ งจากอาคารควบคุ ม และโรงงานควบคุ ม ที่ตองปฏิบัติตามกฏหมายฉบับนี้ครับ ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงาน ตัวอยางแบบฟอรมที่คูมือฉบับนี้ไดบรรจุไวนั้น มีวัตถุประสงค เพื่อใหการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานของผูตรวจสอบ พลังงานมีแนวทางในการดําเนินการที่ชัดเจน ฉบับนี้จะขอเริ่มจาก ภาคผนวก ก-๓ รายการตรวจสอบการจั ด การพลั ง งานในการ ดําเนินงานตามขอกําหนดกอนครับ เพื่อใหผูอานทราบถึงรายการ คําถาม เอกสาร หรือ หลักฐาน ที่ผูตรวจสอบพลังงานจะเขามา ดําเนินการตรวจทีโ่ รงงานควบคุม/อาคารควบคุม แตเนือ่ งจากรายการ ตรวจสอบฯดังกลาวมีความยาวพอสมควร จึงขออธิบายแยกเปน 8 ขั้นตอนตามแนวทางการพัฒนาระบบจัดการพลังงาน
96
Energy#60_p96-98_Pro3.indd 96
10/28/13 2:06 PM
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพการอนุรักษพลังงาน ขอ 6 ใหเจาของโรงงานควบคุมและเจาของอาคารควบคุมจัดใหมีการประเมินศักยภาพ การอนุรักษพลังงาน โดยการตรวจสอบและประเมินการใชพลังงานที่มีนัยสําคัญตามหลักเกณฑ และวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา
รายการตรวจสอบการจัดการพลังงาน
97
Energy#60_p96-98_Pro3.indd 97
10/28/13 2:06 PM
เอกสารอางอิง
คูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงาน สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน พฤษภาคม ๒๕๕๖ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๓ 98 96
Energy#60_p96-98_Pro3.indd 98
10/28/13 2:10 PM
Energy Clinic ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย
ชื่อมาตรการอนุรักษพลังงาน
การควบคุมกําลังไฟฟาสําหรับแสงสวาง (Power Control for Lighting)
ความเปนมาและลักษณะการใชงาน อาคารสํานักงานและโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบธุรกิจ ทาเรือจัดเก็บและขนสงสินคาประเภทรถยนต การใชพลังงานสวนใหญ เกี่ ย วข อ งกั บ ระบบไฟฟ า แสงสว า ง เพื่ อ ให ค วามสว า งกั บ พื้ น ที่ ลานจอดรถ ในชวงเวลากลางคืนใชหลอด High Pressure Sodium (HPS) 1,000 W และ 400 W เปนจํานวน 180 ชุด, 21 ชุด ตามลําดับ และหลอด High Pressure Sodium (HPS) 400 W จํานวน 6 ชุด โดยเปนลักษณะติดตั้งบนเสา (EE POST) จํานวน 8 ตน ในบริเวณ ลานจอดรถ ซึ่งเปดใชงานชวงเวลากลางคืน เพื่อใหความสองสวางใน พื้นที่สําหรับกลอง CCTV บันทึกภาพเพื่อรักษาความปลอดภัย และ ปองกันทรัพยสนิ สูญหาย โดยหลอดประเภทนีใ้ ชกาํ ลังไฟฟาทีส่ งู ทําให สิ้นเปลืองพลังงานเปนอยางมาก
รูปลักษณะการติดตั้งโคมไฟฟาแสงสวางกอนการปรับปรุง
แนวคิดและขั้นตอนการดําเนินการ ทางอาคารดําเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบแสงสวาง ดวยวิธีการติดตั้งอุปกรณควบคุมระบบแสงสวางประหยัดพลังงาน ทําหนาที่ปรับระดับแรงดันไฟฟาใหอยูในระดับที่เหมาะสม ตามความ ตองการของแสงสวาง เพราะฉะนั้นอุปกรณแสงสวางในระบบจะไดรับ ระดับแรงดันที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะชวยประหยัดพลังงานไฟฟา ไดประมาณ 20-30 เปอรเซ็นต ในสวนของระบบแสงสวาง โดยทั้งนี้ ตองพิจารณาถึงคาความสองสวางใหอยูในคามาตรฐานตามเกณฑ ที่กําหนดดวย
ปญหาของอุปกรณ/ระบบกอนปรับปรุง การใชระบบไฟฟาแสงสวางภายในบริเวณลานจอดรถมีการใช หลอด High Pressure Sodium (HPS) 1,083W (รวมบัลลาสต) เปนจํานวน 126 ชุดและขนาด 428 W (รวมบัลลาสต) เปนจํานวน 6 ชุด ของเสาไฟจํานวน 5 ตน มีการเปดไฟแสงสวางไวตลอดเวลา ชวงกลางคืนเปนเหตุใหสิ้นเปลืองพลังงานมาก ซึ่งในปจจุบันไดใช อุ ป กรณ ค วบคุ ม การเป ด -ป ด โดยไม ส ง ผลกระทบกั บ ค า ความ สองสวางของหลอดไฟมากนัก ดังนั้นหากดําเนินการปรับปรุงโดย การติดตั้งอุปกรณควบคุมระบบแสงสวางจะชวยประหยัดพลังงาน และชวยลดการใชพลังงานในสวนนี้ลงได
ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. ทําการสํารวจพื้นที่สวนตาง ๆ ที่มีการใชงานที่จะปรับปรุง 2. จัดทําแผนและกําหนดผูรับผิดชอบในการปรับปรุง 3. จัดทําขอเสนอและนําเสนอตอผูบริหารเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. ดําเนินการติดตั้งอุปกรณควบคุมระบบแสงสวางประหยัด พลังงาน 5. ดําเนินการชี้แจงใหพนักงานที่ปฏิบัติงานในแตละพื้นที่นั้น เปด-ปดสวิตซไฟชวงเวลากลางวันและกลางคืนและบริเวณทีไ่ มจาํ เปน ตองใชแสงสวางมากนัก 6. สรุปผลการดําเนินการ และผลการประหยัดทีเ่ กิดขึน้ จากการ ดําเนินมาตรการ 7. แตงตัง้ ทีมงานคอยติดตามการปฏิบตั งิ านในมาตรการดังกลาว 8. นําเสนอผลการดําเนินการใหกบั ผูบ ริหาร และคณะกรรมการ อนุรักษพลังงานรับทราบตอไป
99
Energy#60_p99-100_Pro3.indd 99
10/22/13 3:20 PM
รูปลักษณะการใชงานไฟฟาแสงสวางอยูระหวางดําเนินการ ทดสอบผลประหยัด ระยะเวลาดําเนินการ เงินลงทุน ผลที่ประหยัดได ระยะเวลาคืนทุน
6 1,025,000.00 501,775.95 10.378 2.04
เดือน บาท บาท/ป toe/ป ป
กําลังไฟฟาสูญเสียของบัลลาสต = 28 W กําลังไฟฟาที่ใช = (400 + 28) x 6) /1,000 = 2.57 kW รวมกําลังไฟฟาที่ใช = 139.03 kW ชั่วโมงการเปดใชงานเฉลี่ย = 12 ชั่วโมง/วัน วันทํางาน = 365 วัน/ป เปอรเซ็นตการใชงาน = 95.0 % คาไฟฟาเฉลี่ยตอหนวย = 4.12 บาท/kWh พลังงานไฟฟาที่ใชงาน = (139.03 x 12 x 365 x 95 / 100) = 578,503.83 kWh/ป หลังการปรับปรุง จากการติดตั้งอุปกรณควบคุมระบบแสงสวางจะสามารถประหยัด พลังงานลงไดประมาณ 20 % เปอรเซ็นตการใชงานหลังดําเนินการ= 75.00 % พลังงานไฟฟาทีใ่ ชหลังดําเนินการ = (139.03 x 12 x 365 x 75 / 100) = 456,713.55 kWh/ป พลังงานไฟฟาที่ประหยัดได = (578,503.83 - 456,713.55 = 121,790.28 kWh/ป คาไฟฟาที่ประหยัดได = (121,790.28 x 4.12) = 501,775.95 บาท/ป คิดเปนผลประหยัดจากพลังงาน = 438,445.01 MJ/ป = 10.378 toe/ป คาใชจายในการดําเนินการ Power Control for Lighting จํานวน คาแรงในการติดตั้ง คิดเปนเงินลงทุน ระยะเวลาคืนทุน
ผลการทดสอบควบคุมกําลังไฟฟาสําหรับแสงสวาง (Power Control for Lighting) ของหลอด High Pressure Sodium (HPS) 1,000 W
= = = = =
175,000.000 5.00 30,000.00 1,025,000.000 2.04
บาท/ชุด ชุด บาท บาท ป
สรุปสภาพหลังปรับปรุง หลังจากดําเนินการตามขั้นตอนทําใหสามารถลดการใชพลังงานลง ได คิดเปนผลประหยัดพลังงานไฟฟา 121,790.28 กิโลวัตต-ชั่วโมงตอป หรือคิดเปนการประหยัดคาใชจาย 501,775.95 บาทตอป
วิธีการคํานวณผลการอนุรักษพลังงาน กอนการปรับปรุง จํานวนโคมที่ดําเนินการบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานภายในโรงงาน หลอด High Pressure Sodium (HPS) ขนาด = 1,000 W จํานวน = 126 หลอด กําลังไฟฟาสูญเสียของบัลลาสต
= 83 W = (1,000+83)x126)/1,000 =136.46 kW หลอด High Pressure Mercury (HPM) ขนาด = 400.00 W กําลังไฟฟาที่ใช
จํานวน
=
6
หลอด
100
Energy#60_p99-100_Pro3.indd 100
10/28/13 1:57 PM
Energy#59_p59_Pro3.ai
1
9/17/13
12:58 AM
Energy Movement กองบรรณาธิการ
พีที เติมพลังสัมมาชีพ
พันเอกหญิง ทานผูห ญิง จิตรวดี จุลานนท เลขาธิการมูลนิธิ พระดาบส ใหเกียรติเปนประธานรวมกับ นายพิทกั ษ รัชกิจประการ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) และผูใ หบริการสถานีบริการนํา้ มันพีทกี วา 700 สาขาทัว่ ประเทศ เปดโครงการ พีที เติมพลังสัมมาชีพ เพือ่ สังคม ระยะยาวทีม่ งุ ใหการสนับสนุนมูลนิธพ ิ ระดาบส องคกรกุศลสาธารณะ ที่ดําเนินการสนองพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ โดยรายไดทกุ ๆ 5 สตางคตอ ลิตร จะถูกนําเขาสมบททุน และคาดวา จะรวบรวมเงินบริจาคไดทงั้ สิน้ 17 ลานบาท เมือ่ สิน้ สุดโครงการใน วันที่ 30 พฤศจิกายน 2556
รณรงคอนุรกั ษพลังงาน
คุณวิศาล สายเพ็ชร ผูอ าํ นวยการฝาบบริหาร นายแพทย วิโรจน ตระการวิจติ ร ผูอ าํ นวยการฝายการแพทย โรงพยาบาล นครธน พรอมทีมผูบ ริหาร จัดงาน “Saving Energy Parade Day” เชิญชวนพนักงานและผูใชบริการสรางจิตสํานึกในการ รวมใจประหยัดพลังงาน โดยโครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการ ทํากิจกรรม ภายใตการประกวดคนหาสุดยอดอาคารประหยัด พลังงานกับการไฟฟานครหลวง งานจัดขึ้น ณ โรงพยาบาล นครธน
ลงนามสัญญา
คุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธานกลุม อุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รวม ลงนามในสัญญากับ DRESSER RAND Guascor ประเทศสเปน เพือ่ รับถายทอดเทคโนโลยี Multi FeedStock Gasification มาผลิตในประเทศไทย โดยไดรบั การสนับสนุนจากกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และกระทรวง พลังงาน
มอบทุนสนับสนุนการพัฒนา รถสูตรหนึ่งระดับเยาวชน มร.โมฮาเม็ด ชอบรี บิน เอ บาการ กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั ปโตรนาส อินเตอรเนชันแนล มารเก็ตติง้ (ประเทศไทย) จํากัด ลงนามความรวมมือรวมกับ ศาสตราจารย ดร.ถวิล พึ่งมา อธิการบดี สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง มอบ ทุนสนับสนุนดานการวิจยั คนควา และพัฒนารถสูตรหนึง่ ระดับนักศึกษา(Formular Student Car) พรอม ดําเนินการอบรมและใหความรูเ กีย่ วกับเทคโนโลยีนาํ้ มัน หลอลื่น ซึ่งถือเปนการใชความเชี่ยวชาญในฐานะผูนํา ธุรกิจนํา้ มันหลอลืน่ ระดับโลก เขารวมแลกเปลีย่ นและ พัฒนาดานการศึกษา แกวงการยานยนตครัง้ สําคัญ ของเมืองไทย
102
Energy#60_p102-103_Pro3.indd 102
10/25/13 10:50 PM
เยาวชนรวมอบรมอนุรักษพลังงาน ศู น ย เ ผยแพร ค วามรู ด า นการใช พ ลั ง งานอย า งมี ประสิทธิภาพ สํานักงานนโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน จัดอบรมใหความรู ความเขาใจเรื่องการ อนุรกั ษพลังงาน นักเรียนชัน้ อนุบาล 1 โรงเรียนบานครัววิทยา ภายหลังปรับปรุงนิทรรศการอนุรกั ษพลังงานรูปแบบใหม โดย นําเทคโนโลยีสอื่ มัลติมเี ดียตาง ๆ มาชวยนําเสนอเนือ้ หาใหเขาใจ งายและนาสนใจมากขึน้ เพือ่ ปลูกฝงใหเยาวชนและประชาชนเห็น ความสําคัญดานการอนุรกั ษพลังงาน หนวยงานหรือโรงเรียนใด สนใจเขารับการอบรม สามารถติดตอไดที่ โทร.0 2612 1555 ตอ 212 หรือดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดทาง www.eppo.go.th
EGAT’s Tutor Camp
การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) ร ว มกั บ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (มัธยม) จัดโครงการ EGAT’s Tutor Camp เชิญคณาจารยผทู รงคุณวุฒิ มาใหความรู เพือ่ เตรียมความพรอมใหแกเยาวชนในเขตพืน้ ทีร่ อบ กฟผ. ทัว่ ประเทศ ทีก่ าํ ลังเตรียมตัวสอบเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา โดย มีการจัดติวไปแลวเมือ่ เร็ว ๆ นี้ สวนพืน้ ทีท่ ตี่ อ งการรับฟงการบรรยาย โครงการฯ ทางกฟผ.จะจัดทําซีดแี ละเผยแพรตอ ไป
พพ.แถลงผลโครงการเครือขายฯ คุณพูลศักดิ์ ภูววิเชียรฉาย ผูอ านวยการกลุม มาตรฐาน การอนุรกั ษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน กระทรวงพลังงาน เปนประธานเปดงานสัมมนาแถลงผล การดําเนินโครงการเครือขายศูนยทดสอบเครือ่ งจักรอุปกรณ และวัสดุเพือ่ การอนุรกั ษพลังงาน เพือ่ เปนแนวทางการพัฒนา คุณภาพดานอนุรกั ษพลังงานและผลักดันใหเกิดความรวมมือ ระหวางภาครัฐและภาคเอกชน เมือ่ เร็ว ๆ นี้
กาวสูอ นาคตพลังงานแหงเอเชีย คุ ณ ทวารั ฐ สู ต ะบุ ต ร รองอธิ บ ดี ก รมพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน รวมเปดการประชุมและนิทรรศการ Renewable Energy World Asia 2013 และ Power-gen Asia 2013 “กาวสูอ นาคตพลังงานแหงเอเชีย” ระหวางวันที่ 2-4 ตุลาคม 2556 ณ อาคารชาเลนเจอร ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี เมือ่ วันที่ 2 ตุลาคม 2556
103
Energy#60_p102-103_Pro3.indd 103
10/26/13 3:47 PM
Energy Thinking เด็กเนิรด
ข้อคิดในการทํางานจากคนดังทั่วโลก ความเครียด เปนอุปสรรคในการทํางานที่มักแวะเวียนเขามาทักทายคนทํางานอยางเรา ๆ ทาน ๆ อยูบอย ๆ สิ่งที่ควรทําคือ อยาเอาตัวเองไปจมอยูกับความเครียดและปญหา เราควรจะดึงตัวเองออกมาจากสิ่งเหลานี้ใหเร็วที่สุด ฉบับนี้หยิบเอาคําคมและ ขอคิดดี ๆ ในการทํางานจากคนดังทั่วโลกมาฝากกัน หวังวาจะเปนประโยชน ใหกับเพื่อน ๆ ไมมากก็นอย Well begun is half done. เริ่มตนดวยดีเทากับสําเร็จ ไปแลวครึ่งหนึ่ง คําคม…อริสโตเติล He who asks is a fool for five minutes, but he who does not ask remains a fool forever. ถามเขาอาจดูวาโงเพียง 5 นาที แตคนที่ไมถามสักที อาจโงไปชั่วชีวิต คําคม…ภาษิตจีน Our greatest weakness lies in giving up. ความออนแอที่แยที่สุดของมนุษย คือ การลมเลิกเสียกลางคัน คําคม…โทมัส เอดิสัน Destroy your enemy by making him your friend. จงทําลายศัตรูของทาน ดวยการทําใหเขาเปนมิตร คําคม…อับราฮัม ลิงคอลน Actions speak louder than words. การกระทําดังกวาคําพูด คําคม…อับราฮัม ลิงคอลน Words must be weighed, not counted. คําพูดสําคัญที่นํ้าหนัก มิใชจํานวน คําคม…ภาษิตโปแลนด ผูที่ไมรูจักใชสติปญญาใหเหมาะสมกับโอกาส คือ คนดื้อรั้น ผูที่ใชสติปญญาไมเปน คือ คนโง ผูที่ไมกลาใชสติปญญา คือ ทาส คําคม…เพลโต อัจฉริยะเกิดจากแรงบันดาลใจเพียง 1 เปอรเซ็นต และอีก 99 เปอรเซ็นตคือความอุตสาหะ คําคม…โทมัส อัลวา เอดิสัน เวลามีปญหาในองคกร ปญหาชีวิตและสุขภาพ จะมีทางแกไข ปญหาใหคลี่คลายหลายรูปแบบ แตที่สําคัญตองมีสติ และมีความ รักเปนพื้นฐานสําคัญ จากนั้นจึงคอยใชปญญา เพราะปญญาชวย ใหมองเห็นหนทาง ของการแกปญหาอยางชัดเจนที่สุด คําคม…ชูเกียรติ อุทกะพันธุ เมื่อคุณจะทําธุรกิจใด ๆ ก็ตาม หากคุณชอบและรัก และ พรอมที่จะทุมเทใหกับมัน คุณจะตองประสบความสําเร็จอยาง แนนอน แตคุณตองลงมือศึกษาอยางเปนจริงเปนจังดวย คําคม…ชัยยุทธ กรรณสูต ผมบอกพนักงานอยูเสมอ บนโลกนี้ไมมีคนไหนเกงไปตลอด กาล วันนี้คุณอาจเกง แตพรุงนี้อาจมีคนเกงกวาคุณ เพราะฉะนั้น คนใดก็ตามที่ภูมิใจวา ตนเองเกง จงจําเอาไวเลยวา ความหายนะใกล มาถึงตัวคุณแลว ความโงคืบคลานเขามาใกลตัวคุณแลว คําคม…ธนินท เจียรวนนท ผมพรอมจะเปนนํ้านิ่ง หากมีเขื่อนมาขวางหนา แตถาวันใดที่ เขื่อนนั้นเปราะบาง และโอกาสแหงการสําแดงพลังมาถึง ผมก็พรอม จะกลายเปนกระแสนํ้าที่เชี่ยวกราก โหมกระหนํ่าใสทุกสิ่งที่ขวางกั้น แมกระทั่งเขื่อนที่ครั้งหนึ่งผมเคยสยบยอมก็ตาม คําคม…เจริญ สิริวัฒนภักดี
ผมจะกาวหนาไปสักกาว ก็ตองเจออะไรมากระทบ แตเราก็ พยายามที่จะกาวใหม อีกอยางหนึ่งแบงคกรุงเทพฯ เคยถูกกระทบ ตลอดเวลา และไมเคยทอถอย คําคม…ชาตรี โสภณพนิช เจี้ย ยู เลง โจว ซื่อ ยู โฮ แปลเปนไทยวา กินขาวตองเร็วเหมือน มังกร ทํางานตองทําใหเหมือนเสือ ไมแตผมคนเดียวเทานั้น ลูก ๆ ทุกคนก็ปฏิบัติอยางนี้ คําคม…บุญยสิทธิ์ โชควัฒนา ถาคุณอดทน เพื่อจะทําอะไรสักอยางใหสําเร็จ คุณจําเปนอยาง มากที่จะตองลงมือศึกษาเรื่องนั้น ๆ อยางเปนจริงเปนจัง แตถาคุณ ไมอดทน โอกาสที่คุณจะผิดพลาดก็ยอมมีสูงเชนกัน คําคม…อนันต กาญจนพาสน จงเดินไปหาภูเขา อยาใหภูเขาเดินมาหาเรา เพราะผมคิดวา ปกติ ผูบริหารทั่วไป มักจะเรียกพนักงานมาประชุมกับเรา มันเหมือนเรายาย พนักงานทั้งกองทัพมาหาเรา แตสําหรับผมจะเดินไปหาเขา ผมบอก ลูกนองของผมวา เราตองเดินไปหาลูกคา อยาใหลูกคามาหาเรา คําคม…พรเทพ พรประภา ในเรือ่ งของการพิจารณา ความดีความชอบ ผมจะฟงเสียงตอบรับ จากลูกคาเปนหลักวา ลูกนองแตละคนทํางานลงไปแลว ลูกคาพอใจแคไหน อยางไร ผมจะไมเชื่อหัวหนาอยางเดียว เพราะถาเกิดหัวหนาบางคน ไมชอบลูกนอง อาจเกิดกรณีหัวหนาแกลงลูกนองได คําคม…ประกิต อภิสารธนรักษ ผมมีหลักของอาจารยที่สอนผมอยางหนึ่งวา มนุษยเกิดมาไมมี ใครเกงที่สุด ดีที่สุด หรือแมแตเลวที่สุด เพราะคนที่ดีสุดและเลวที่สุด ไดตายจากโลกนี้นานแลว คนที่เหลืออยูจึงเปนเพียงชีวิตที่มีขึ้นมีลง อยางเดียว คําคม…ไชยวัฒน เหลืองอมรเลิศ ไมวาคุณจะทําอะไรก็ตาม คุณตองศึกษาใหรูแจงเสียกอน กอนที่ จะลงมือทํา และเมื่อลงมือทําแลว ก็ตองทําใหจริง ๆ จัง ๆ ใหมันรูไปเลย วา เราทําไมไหวแลว คําคม…ชวน ตั้งมติธรรม ถาคุณเดินตามรอยเทาคน อื่น…แลวคุณจะมีรอยเทาไวใหคนอื่น เดินตามไหม คําคม…ภัทราวดี มีชูธน สิ่งที่สมบูรณแลวโดยแท มันก็มีความบกพรองอยู สิ่งที่บกพรองอยู แทจริง มันก็สมบูรณดีอยูแลว คําคม…ทานพุทธทาสภิกขุ ถาเราเชื่อมั่น วาทําได ตอให ตองยายภูเขามาถมทะเลในที่สุด ก็สําเร็จจนได แตถาใจเราคิดวา ทําไมได แมจะงายแคพลิกฝามือ ก็ยังไมมีวันประสบความสําเร็จ คําคม…ดร.ซุนยัดเซ็น
104
Energy#60_p104_Pro3.indd 104
10/15/13 9:24 PM
แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)
ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ
ชาย
หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........
ตําแหนง :
เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................
อาชีพ :
นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค
นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา
ลักษณะงานของหนวยงาน :
วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ
วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................
สถานที่จัดสงนิตยสาร
ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)
วิธีชําระเงิน
เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่
www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ
เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต
HO
ro P T
m
!! n otio
105
Energy#58_p103_Pro3.indd 105
8/28/13 6:43 PM
Event Calendar พิชญาภา อินทโลหิต
นิดานพลั ทรรศการ งานประชุ ม และอบรม.. งงานที่นาสนใจประจําเดือนพฤศจิกายน 2556 14-17 พฤศจิกายน 2556
6-8 พฤศจิกายน 2556
ชื่องาน : การลงทุนและเทคนิคการออกแบบติดตั้งระบบผลิตไฟฟา พลังงานและแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) สถานที่ : หองประชุม JUPITER 8 อาคารชาเลนเจอร 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี วัตถุประสงค: - เพื่อใหวิศวกรและผูสนใจที่เขสรวมสัมมนามีโอกาสแลกเปลี่ยน ความเห็น ประสบการณความรูกับวิทยากรและผูรวมสัมมนาดวยกัน เปนการสรางเครือขาย(Networking)สังคมพลังงานแสงอาทิตย - เพื่ อ ให ค วามรู แ ละข อ พิ จ ารณาแสงอาทิ ต ย แ ละด า นเทคนิ ค แกผปู ระสงคจะลงทุนมนระบบพลังงานแสงอาทิตยทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคา (Solar PV Rooftop) - เพือ่ รวบรวมขอมูลสําหรับการจัดทํามาตราฐานวิศวกรรมทีเ่ กีย่ วกับ ระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ติ ด ต อ สอบถาม : โทร.0-23192410-3 , 0-23192708 , 0-21844600-9 โทรสาร.0-23192710 E-mail : eit@eit.or.th
ชื่องาน : สัมมนาวิชาการ เรื่อง การเสริมสรางกระบวนการ มีสว นรวมในการลดมลพิษจากหมอกควันและการเผาในทีโ่ ลง วัตถุประสงค : - เพื่อใหผูเขารวมสมมนาไดรับความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ มลพิษทางอากาศโดยเฉพาะมลพิษจากหมอกควันทีเ่ กิดจาก การเผาในที่โลงกระบวนการมีสวนรวม เทคนิคการติดตาม และประเมินผลโครงการ - ผูเขารับการสัมมนาเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการ มีสว นรวมในการลดมลพิษจากหมอกควันและการเผาในทีโ่ ลง คุณสมบัติของผูเขารวมสัมมนา : บุคลากรจากหนวยงาน ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจสถาบันการศึกษา ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถานที่ : จังหวัดขอนแกน ติดตอสอบถาม : กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม โทร.0-22788444หรือ E-mail : callcenter@deqp.go.th
23 พฤศจิกายน 2556
5 พฤศจิกายน 2556
ชื่องาน : การออกแบบระบบกาซเชิ้อเพลิงรุนที่ 4 สถานที่ : ณ หองประชุมชั้น4 อาคาร วสท. เวลา : 08.00-16.30 น. วัตถุประสงค : - เพื่อใหผูเขารวมสมมนามีความเขาใจในกฎหมายและกฎกระทรวง ที่เกี่ยวกับกาซเชื้อเพลิง - เพื่อใหผูเขารวมสมมนามีความเขาใจในหลักการเบื้องตนของระบบ กาซเชื้อเพลิงและอุปกรณตางๆที่ใชในระบบ - เพือ่ ใหผเู ขารวมสัมมนามีความเขาใจในเรือ่ งการออกแบบและติดตัง้ ระบบทอสงกาซเชื้อเพลิงและระบบควบคุมเพื่อปลอดภัย ติดตอสอบถาม : โทร.0-23192710 ตอ 509 คุณสุพรรณีย
ชือ่ งาน : Economic Outlook : ตามติดเศรษฐกิจไทยป 2557 สถานที่ : ณ หองกัญญลักษณ บอลรูม ชัน้ 3 โรงแรมโฟรวงิ ส ถนนสุขมุ วิท26 รายละเอียด : - ปาฐกถาพิเศษ เรือ่ ง “อนาคตประเทศไทย ภายใตประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน” - เสวนา เรือ่ ง Economic Outlook : ตามติดเศรษฐกิจไทย ป 2557 ติดตอสอบถาม : คุณภารณี จาติเทศะ โทร.0-23451023 โทรสาร.0-23451296-99 e-mail: vrlei@gmail.com
14 พฤศจิกายน 2556
13-15 พฤศจิกายน 2556 ชื่องาน : EcoLightTech Asia 2013งานแสดงเทคโนโลยี
ชื่องาน : มาตรฐานไฟฟาใหมเพื่อกาวสู AEC และมาตราฐาน ดาตาเซนเตอรฉบับแรกของไทย สถานที่ : ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี เวลา : 09.00-16.30 น. ขอกําหนดในการอบรม : - องคประกอบของมาตรฐานดาตาเซนเจอรฉบับแรกของไทย - ที่ตั้งและการจัดการพื้นที่ - งานสถาปตยกรรมและวิศวกรรมโยธา - งานวิศวกรรมระบบไฟฟากําลัง สื่อสาร และปรับอากาศ - ระบบการตอลงดินและการสรางระบบอางอิงสัญญาณ - การปองกันอัคคีภัย - รูปแบบการติดตั้งอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ - แนวทางการจัดการระดับชั้นความเชื่อถือไดของความพรอมใชงาน ติ ด ต อ สอบถามเพิ่ ม เติ ม : วิ ศ วกรรมสถานแห ง ประเทศไทย ซ.รามคําแหง39 โทร.0-23192410-3 , 0-23192708 โทรสาร.0-23192710 รายละเอียดเพิ่มเติมที่ : www.eit.or.th
และนวัตกรรมดานแสงสวาง สถานที่ : ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิต รายละเอียด : ภายในงานนั้นไดรวบรวมสินคาประเภท LED อาทิ หลอดไฟ วงจรไฟฟา จอแสดงผล อุปกรณตรวจการ เปร ง แสง การประกอบติ ด ตั้ ง พื้ น ที่ จั ด แสดงเทคโนโลยี แสงสวางและนวัตกรรมใหมๆจากผูผลิต LED พบกับบริษัท LED ชั้นนําทั้งจากไทยและตางประเทศ กิจกรรมภายในงาน มีบริการจับคูทางธุรกิจ (Business Matching) จัดสัมมนา ใหความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยี LED ทั้งในภาครัฐ และ เอกชน พรอมพาคณะผูเขาชมงานเยี่ยมอาคารสีเขียว รายละเอียดเพิ่มเติม : 0-2203-4203 วันจันทร-ศุกร เวลา 09.00-18.00น. หรือสามารถลงทะเบียนเขาชมงานดวย ตนเองผานทางเว็บไซต www.ecolight-tech.com/
106
Energy#60_p106_Pro3.indd 106
10/22/13 3:23 PM
Energy#60_Cover In_Pro3.indd 1
10/29/13 1:59 PM
Energy#60_Cover Out_Pro3.indd 1
10/29/13 1:54 PM