Energy#61_Cover Out_Pro3.indd 1
11/26/13 4:16 PM
Energy#61_Cover In_Pro3.indd 1
11/26/13 2:17 AM
ระบบทดสอบเครองอินเวอรเตอรที่ ใชกับ สถานี ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย (Grid-Connected Photovoltaic Inverter)
สําหรับโรงงานผลิตเครองอินเวอรเตอร และหองปฏิบัติการทดสอบ
PV Inverter
ที่ตองการทดสอบ
Utility Grid
Photovoltaic Panels
PV Simulation
PV Inverter
AC Grid Simulation
เครองสรํางสภาวะพลังงานจากเซลลแสงอาทิตย (PV Simulation) - สามารถสรางสภาวะพลังงานที่เกิดจากเซลล แสงอาทิตย โดยไมตองใชแผงเซลลแสงอาทิตย - ตอบสนองตอ IV Curve ไดรวดเร็วแบบไดนามิค (Dynamic Performance) มีความละเอียดสูง 4096 จุด - ทดสอบความทนทานของอินเวอรเตอรจากการ กระชากของกระแสเฉียบพลัน เมอแสงอาทิตยขาดหาย (Max Power Point Tracking)
เครองสรํางสภาวะแรงดันไฟฟํากระแสสลับ (AC Grid Simulation)
Solar PV Rooftop
- สามารถสรางสภาวะแรงดันไฟฟา Under/Over Voltage, สภาวะความถี่ Under/Over Frequency สําหรับทดสอบการตัด-ตอเครองอินเวอรเตอร - ทดสอบการจายไฟฟากระแสตรง (DC Injection) ตามมาตรฐาน 1547.1-2005 ได - ทดสอบการปองกันการจายไฟฟาแบบแยกโดด (Anti-Islanding) ตามมาตรฐาน IEC 62116-2008 ได - สามารถทางานในโหมดทีร่ องรับกระแสไหลยอนกลับ (Regenerative Mode) โดยไมเกิดการ reverse protection, trip, fault, damage, short, burnt ที่จะทาใหเกิดความเสียหาย ระหวางการทดสอบ หรือการทดสอบหยุดชะงักไมเสร็จสมบูรณตามขั้นตอนที่กําหนด โดยการไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาค - สามารถทาการทดสอบการตัด-ตอของเครองอินเวอรเตอร ตามขอกําหนดของการไฟฟา นครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาคได สําหรับระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย บนหลังคา (Solar PV Rooftop)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ คุณเฉลิมพร 085-489-3461 บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด
2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/ametek Energy#61_p03_Pro3.indd 3
11/26/13 1:20 AM
High Light 22 19 25 36 44 66
What’s Up
72 Around The World 74 ASEAN Update 102 Energy Movement
Cover Story 10 54
Cover Story : ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง… สูการพัฒนาพลังงานอยางยั่งยืนตามแนว พระราชดําริ Special Report : จับทิศทางการพัฒนากําลัง การผลิตไฟฟาของไทยกับ ราชบุรีโฮลดิ้ง
Interview 46 48 50 64
Exclusive : SKYACTIV Technology นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม Exclusive : กรีนแลมผูน าํ เขาแผนลามิเนต ใหญทสี่ ดุ ในเอเชียเนนคุณภาพเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม Exclusive : จอหนสัน คอนโทรล พัฒนาโซลูชั่น ดานประหยัดพลังงานครบวงจรหวังเปนเบอรหนึ่ง ตลาดเครื่องปรับอากาศ Energy Concept : The Power Green Camp คายผูนําเยาวชนวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม
76 78 80 82 83 90
Greennovation Green 4 U : บานหลังเล็ก แนวคิดสถาปนิกสวีเดน ดีไซนเกเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Energy Award : Machine Technology Award 2013 รับรางวัลเทคโนโลยีเครื่องจักรกลยอดเยี่ยม Energy Knowledge : มหาวิทยาลัยเชียงใหม วิจัยพลังงานทดแทนเปลี่ยนสาหรายใหเปน นํ้ามันชีวภาพ Eco Shop : ผลิตภัณฑ CONCEPTREE แหลงชอปของคนรักษโลก Energy Loan : พพ.เดินหนาโครงการสนับสนุน การใหคําปรึกษาดานพลังงานเพื่อลดตนทุน พลังงานใหกับธุรกิจ SME Energy Focus : ไฟเขียว 2 เดือนปรับราคา LPG ภาคครัวเรือนไดมากกวาเสีย…ลดภาระกองทุน นํ้ามันฯสบายกระเปา Insight Energy : อาชีวะ – สาธารณะสุข เดินหนาสงเสริมการอนุรักษพลังงาน Special Scoop : กระทรวงพลังงาน – ปตท. สงมอบโครงการ ”เยาวชนอาสา พัฒนาพลังงานชุมชน” ป2 Energy Rules : กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติยัน หลุมสํารวจปโตรเลียมปลอดภัย Prefabrication : Wood Mood experience บานไม สไตล รีสอรทสุดยอดนวัตกรรมตนแบบ Prefab House Energy Exhibit : Bus & Truck’13 ตลาดรถ ใหญโตทะลุเปา พพ. เปดโครงการใหคําปรึกษาเพื่อ
19 4
Energy#61_p04,06_Pro3.indd 4
11/25/13 11:11 PM
Energy#61_p05_Pro3.ai
1
11/23/13
2:43 AM
56
43
32
34
Environment Protection
ลดตนทุนพลังงาน
85
Industrial & Resident 28 32 34 38 94
96
88
Green Industrial : โรงพยาบาลพญาไท 2 ลดพลังงานภายใตแนวคิด Green Hospital Residence : “ฟชเฮาส” บานประหยัดพลังงาน สุดเกที่สิงคโปร Energy Design : โรงเรียนจากอิฐรีไซเคิล ณ หมูบานถงเจียงประเทศจีน Tool&Machine : คอมเพรสเซอรลูกสูบแบบ เซมิ-เฮอรเมติก รุนโคปแลนดสตรีม Saving Corner : Energy from Waste [Efw] Technology โรงไฟฟาพลังงานนํ้า ขนาดเล็กจากแหลงนํ้าแรงดันสูง ตอนที่2 [Small hydropower from Wastewater] Energy Management : คูมือการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานสําหรับผูตรวจสอบ พลังงาน (ตอนที่ 6)
92 99
Regular Feature 8 16
Editor ’s talk Get Idea : ปลูกจิตสํานึกประหยัดพลังงาน ตั้งแตเด็กเทานี้ก็ชวยชาติไดแลว 42 How to : เนรมิตเกาอี้ตัวเกา ใหดูใหม นานั่ง ตามสไตล คนรุนใหม 40 Energy Tips : เคล็ด(ไม)ลับกอนเลือกซื้อ 60 Have to Know : ใสใจสักนิด…เพิ่มความปลอดภัย ยามเดินทาง 104 Energy Thinking : ทํางานใหไดคุณภาพ และปริมาณ 105 แบบสมัครสมาชิก 106 Event & Calendar
Transportation & Alternative Energy 56 62 68 70
Auto Update : ยางรถยนต อุปกรณสิ้นเปลือง กับการพัฒนาสูความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Vehicle Concept : VOLVO Concept Coupe สืบตํานานอดีตสูเทคโนโลยี Plug in Hybrid Renergy : ใคร? คือพระเอกหรือผูรายตัวจริง ของพลังงานทดแทนของไทย Green logistic : ผูประกอบการโลจิสติกสไทย กับการปรับตัวสู AEC ตอนที่1
0 Waste Idea : เทคโนโลยีการบําบัดนํ้าชะ ขยะมูลฝอยดวยกระบวนการเฟนตัน Environment Alert : ทิศทางการผลิตที่เปน มิตรตอสื่งแวดลอมจากผูผลิตสูผูบริโภค Green Community : ตามรอยพอกับ โคก หนอง นา โมเดล ปองกันปญหานํ้าทวม ฝนแลง Energy Clinic : ไขขอของใจเรื่องหลอดไฟกับ ภาวะโลกรอน
62
6
Energy#61_p04,06_Pro3.indd 6
11/25/13 11:11 PM
เครื่องบันทึกและวิเคราะหการใช ไฟฟา สําหรับงานประหยัดพลังงาน FLUKE 1730 Three-Phase Energy Logger ตรวจสอบการใชพลังงานไฟฟา ตั้งแตจุดตอเขาโรงงานเรื่อยไปจนถึง แตละวงจรไฟฟา เปรียบเทียบขอมูลในแตละชวงเวลาเพื่อดูภาพรวม
ฟลุค… มั่นใจทุกคาที่วัด
- จอทัชสกรีน เขาถึงเมนูไดงาย - สลับสายเชื่อมตอใหถูกตองอัตโนมัติ - ใชไฟฟาไดจากระบบโดยตรง - บันทึกผลลง USB หรือ SD Card - มีแคลมปใหเลือกตามการใชงาน รองรับกระแสสูงสุด 6000 A
รุนใหม ใชงาย ประหยัด
iFlex Flexible probes รุนใหม ใช ในที่คับแคบ ได โดยสะดวก
ทํา Energy Study และ Load Study โดยใช ไฟ จากระบบไดเลย สามารถติดตั้งได ในตูคอนโทรล
FLUKE 434-II, FLUKE 435-II Three-Phase Power Quality and Energy Analyzers วิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้น และแจกแจงความสูญเสียจากสาเหตุตางๆ พรอมคํานวณตัวเลขตนทุนที่สูญเปลาไดทันที
รุนใหญ สมรรถนะ สูงเยี่ยม
คาสูญเสียจากสายไฟไมไดขนาด คาสูญเสียจาก Reactive power คาสูญเสียจาก Unbalance คาสูญเสียจาก Harmonics คาสูญเสียจากกระแส Neutral รวมเปนเงินจากกิโลวัตตชั่วโมง ที่สูญเสียไป
โพรบยืดหยุนรองรับกระแส สนใจติดตอ : คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณพลธร 08-1834-0034, คุณจิรายุ 08-3823-7933
บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด
ไดสูงถึง 6000 A
2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/power-quality Energy#61_p07_Pro3.indd 8
11/23/13 2:02 AM
คณะผู้จัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา
สวัสดีคุณผูอานทุกทาน เหลือเวลาอีก 1 เดือน ก็จะกาวเขาสูปใหมกันแลว ใครที่ยังมีอะไรคางคาหรือยังทําไมเสร็จในปนี้ เรงมือทํากันไดแลวนะคะ จะไดสําเร็จตามที่ตั้งใจไว สวนใครที่มีเปาหมายใหม ๆ ก็ขอใหปหนาเปน ปเริ่มตนที่ดีสําหรับการกาวไปสูสิ่งใหมที่ดีกวาคะ นอกจากเดือนธันวาคมจะเปนเดือนสุดทายของปแลว ยังเปนเดือนทีบ่ รรจุวนั สําคัญวันหนึง่ สําหรับลูก ๆ ทุกคนเอาไวดว ย นัน่ ก็คอื วันพอแหงชาติ ในโอกาสนี้ ทีมงาน Energy Saving ขอเปนสวนหนึง่ ทีร่ ว มอวยพรใหคณ ุ พอทุกทานมี ความสุข มีครอบครัวทีน่ า รักและอบอุน ตลอดไปคะ สําหรับเรือ่ งเดนประจําฉบับนีข้ อนําเสนอพระอัจริยภาพของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั ในดานพลังงานทดแทน ทีพ ่ ระองคทรงมีสายพระเนตรยาวไกล เล็งเห็นถึงปญหาพลังงานขาดแคลนทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต พระองคทา นจึง มีพระราชดําริพฒ ั นาโครงการพลังงานทดแทนตาง ๆ เพือ่ เปนตนแบบให พสกนิกรชาวไทยไดนาํ ไปใชและนําไปปฏิบตั ติ าม ใหสามารถขามผานปญหา พลังงานขาดแคลนไปไดดว ยดี สวนรายละเอียดของโครงการตาง ๆ จะมีอะไร บางนัน้ ติดตามอานไดในเลมคะ นอกจากนี้ ภายในเลมยังคงอัดแนนไปดวยเนือ้ หาดานพลังงานอยางครบครัน ทัง้ ในประเทศและตางประเทศ อาทิ โรงพยาบาลพญาไท 2 ตนแบบ Green Hospital หรือ โรงเรียนจากอิฐรีไซเคิล ของประเทศจีน ทีป่ ง ไอเดียนําอิฐเกา จากบานที่รื้อทิ้งมาตอยอดใหเกิดประโยชนโดยการนําไปสรางโรงเรียน นั บ เป น แนวทางหนึ่ ง ในการลดใช พ ลั ง งานในการผลิ ต วั ส ดุ ก อ สร า ง และยังเปนตนแบบใหกบั โรงเรียนอืน่ ๆ ทีม่ คี วามสนใจในอนาคต ที่เกริ่นมาเปนเพียงนํ้าจิ้มเรียกนํ้ายอยเทานั้น หากอยากชิมอาหารสมอง มือ้ ใหญคงตองพลิกอานหนังสือทีท่ า นกําลังถืออยูใ นมือฉบับนีใ้ นหนาถัด ๆ ไป แลวพบกันใหมปห นาคะ… สวัสดี
บรรณาธิการบริหาร สุภาเพ็ญ เพ็งสุข
หัวหนากองบรรณาธิการ
ปยะนุช มีเมือง
กองบรรณาธิการ
นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร อภัสรา วัลลิภผล
เลขากองบรรณาธิการ พิชญาภา อินทโลหิต
ผูจัดการฝายขาย ศุภแมน มรรคา
เลขาฝายขาย สุกัญญา สัปศาร
การเงิน แสงอรุณ มงคล
ศิลปกรรม
กฤษณา กุลเท็ง
พิมพ
บริษัท ภัณธรินทร จํากัด
จัดจําหนาย บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด
ผูจัดทํา
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
200/7-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ปยะนุช มีเมือง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com
ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองไดรับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง
8
Energy#61_p08_Pro3.indd 8
11/26/13 3:30 PM
Energy#61_p09_Pro3.indd 9
11/26/13 12:44 AM
Cover Story กองบรรณาธิการ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง... สูการพัฒนาพลังงานอยางยั่งยืน ตามแนวพระราชดําริ 10
Energy#61_p10-15_Pro3.indd 10
11/22/13 10:08 PM
เชื่อวาประสพนิกรชาวไทยทุกคนคงคุนเคย กับคําวา “เศรษฐกิจพอเพียง” กันเปนอยางดี เนือ่ งจากเปนพระราชดํารัสทีพ ่ ระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชมหาราช ชี้ แนวทางการดํารงชีวติ แกประสพนิกรชาวไทย ในทุกระดับ ตัง้ แตระดับครอบครัว ระดับชุมชน ระดับองคกรทัง้ ภาครัฐและเอกชน จนถึงระดับ บริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เพื่ อ ให กาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัฒน ความหมายของความพอเพียงนั้น หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจํ า เป น ที่ จ ะต อ งมี ร ะบบภู มิ คุ ม กั น ใน ตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อั น เกิ ด จากการเปลี่ยนแปลงทั้ง ภายนอก และภายใน โดยจะต อ งอาศั ย ความรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยาง ยิ่ ง ในการนํ า วิ ช าการตา ง ๆ มาใช ใ นการ วางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และ ขณะเดี ย วกั น จะต อ งเสริ ม สร า งพื้ น ฐาน จิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ ของรัฐในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซือ่ สัตยสจุ ริต และใหมคี วามรูท เี่ หมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญ ญา และความรอบคอบ เพือ่ ใหสมดุล และพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกไดเปนอยางดี
ภายใต ป รั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในหลวงของ พวกเรายังเปนตนแบบใหกับประสพนิกรชาวไทย ในอีกหลายดาน ยกตัวอยางเชน ทรงเปนตนแบบ การอนุรกั ษนาํ้ ตนแบบในการจัดการทรัพยากรนํา้ ต น แบบการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ ตนแบบในการทําฝนหลวง ตนแบบการพัฒนา พลังงานทดแทน และอีกหลาย ๆ อยางลวนแลว แตเปนการพัฒนาตามหลักของความพอเพียง ที่เปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 86 พรรษา 5 ธันวาคม 2556 จึงไดนําตนแบบดาน พลังงานทดแทนมานําเสนอ เพื่อใหประสพนิกร ชาวไทยได น อ มนํ า พระราชดํ า ริ ก ารใช พ ลั ง งาน อยางรูคุณคาผานนิตยสาร Energy Saving และเพือ่ เปนแรงบันดาลใจในการพัฒนาเทคโนโลยี พลังงานทดแทนสูเศรษฐกิจพอเพียง
สํ า หรั บ การพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน ตามแนวพระราชดํารินั้นเกิดขึ้นดวย สายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงที่ทรงเล็งเห็น และมี พ ระราชดํ า ริ ใ ห เ ตรี ย มพั ฒ นา พลั ง งานทดแทนเพื่ อ รั บ มื อ กั บ ค า นํ้ า มั น ที่ จ ะแพงขึ้ น เมื่ อ ประมาณ ป พ.ศ. 2504 และทรงริเริ่มการพัฒนา พลั ง งานทดแทนโดยการนํ า เอาวั ส ดุ ทางการเกษตรมาแปรรู ป เป น นํ้ า มั น สําหรับเครื่องยนตและรถยนตประเภท ตาง ๆ เพื่อลดการพึ่งพาการนําเขา นํ้ามันจากตางประเทศมาตั้งแตนํ้ามัน ยังมีราคาลิตรละไมกี่บาท โดยเปนไป ตามหลั ก การ “การพึ่ ง ตนเอง” คื อ การลดตนทุนการผลิต เพราะสามารถ ผลิตใชเองได ปจจุบันจึงมีการศึกษา วิ จั ย พลั ง งานตามแนวพระราชดํ า ริ อยูมากมายและนํามาใชจริงอีกหลาย โครงการ ดังนี้ 11
Energy#61_p10-15_Pro3.indd 11
11/22/13 10:08 PM
ไบโอดีเซล พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงศึกษาการ ผลิตนํา้ มันดีเซลจากนํา้ มันของพืชชนิดตาง ๆ เชน นํา้ มันมะพราว นํา้ มันปาลม นํา้ มันถัว่ ลิสง นํ้ามันถั่วเหลือง นํ้ามันไขมันสัตว รวมทั้ง นํ้ า มั น ที่ ใ ช แ ล ว จากการปรุ ง อาหาร โดย นํ า มาผ า นขบวนการทางเคมี การเติ ม แอลกอฮอล และสารเรงปฏิกิริยาบางตัว ภายใตสภาวะอุณหภูมิสูง ทําใหไดผลผลิต เปน “ไบโอดีเซล” ซึ่งมีคุณสมบัติใกลเคียง นํ้ามันดีเซล สามารถนํามาใชกับเครื่องยนต ดีเซลได โดยไมเกิดปญหากับเครื่องยนต เปนการศึกษานํารองเพือ่ ใหเกิดการตอยอด และประชาชนชาวไทยจะไดใชพลังงานทดแทน ที่มีราคาถูกลง
แกสชีวภาพ เมื่ อ ป พ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว ไดพระราชทานพระราชดําริ ให โ ครงการส ว นพระองค สวนจิ ต รลดา ทดลองผลิ ต แก ส ชี ว ภาพจากมู ล โคนม โดยนําเศษพืชหรือมูลสัตวมาหมักในถังหรือ บอในสภาพที่ขาดอากาศเปนระยะเวลาหนึ่ง จนเกิดแกส ซึ่งรอยละ 50 เปนแกสมีเทน มีคณ ุ สมบัติ ติดไฟได นํา้ หนักเบากวาอากาศ และไมมีกลิ่น สวนแกสที่เหลือประกอบดวย แกสคารบอนไดออกไซด แกสไขเนา และ แกสอื่น ๆ อีกหลายชนิด สามารถนํามา ใชเปนเชื้อเพลิงได เปนการสรางประโยชน จากวั ส ดุ เ หลื อ ใช แ ละยั ง ได แ หล ง พลั ง งาน ใหมทดแทนนํ้ามันเชื้อเพลิงดวย ตอมาไดมี โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริทดลอง เรือ่ งพลังงานแกสชีวภาพ เพือ่ เปนแหลงเผย แพรความรูแกประชาชน เชน ศูนยศึกษา การพั ฒ นาห ว ยทราย อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี ทําแกสชีวภาพ จากมูลวัว ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส ทําระบบผลิตกาซชีวภาพจากมูลสัตว เปนตน
แกสโซฮอล การพัฒนาแกสโซฮอลเริ่มตนอยางเปนรูปธรรม เมือ่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เสด็จพระราชดําเนิน ตรวจเยี่ยมโครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา ใน พ.ศ.2528 โดยทรงมีพระราชดํารัสใหศกึ ษาการ ผลิตเอทานอลจากออย เพราะอนาคตอาจเกิดภาวะ ขาดแคลนนํ้ามันและราคาออยตกตํ่า การแปรรูป ออยเปนเอทานอลจะชวยแกปญหาดังกลาวไดอีก ทาง และในป พ.ศ. 2529 โครงการสวนพระองค ไดเริ่มผลิตแอลกอฮอลจากออย หลังจากนั้นได มีหนวยงานรัฐและเอกชนใหความรวมมือในการ พัฒนาแอลกอฮอลที่ใชเติมรถยนตอยางตอเนื่อง จนเมือ่ ป พ.ศ. 2539 การปโตรเลียมแหงประเทศ ไทย (ปตท.) รว มกับ สถาบัน วิจั ย วิท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยีแหงประเทศ ไทย (วท.) และโครงการสวน พระองค ไดรว มกันปรับปรุงคุณภาพแอลกอฮอลที่ ใชเติมรถยนต โดยการนําแอลกอฮอลที่โครงการ สวนพระองคผลิตไดทมี่ คี วามบริสทุ ธิจ์ ากเดิม 95% ไปกลั่นซํ้าเปนแอลกอฮอลบริสุทธิ์ 99.5% แลวจึง นํามาผสมกับนํ้ามันเบนซินออกเทน 91 ในอัตรา แอลกอฮอล 1 สวน กับ เบนซิน 9 สวน เปนนํ้ามัน “แกสโซฮอล” ทดลองเติมใหกับรถเครื่องยนต เบนซินของโครงการสวนพระองค
12
Energy#61_p10-15_Pro3.indd 12
11/22/13 10:08 PM
ทัง้ ยังเปนการสนับสนุนผลผลิตทางการเกษตรในประเทศ จึงมีพระราชดํารัสใหมโี ครงการพัฒนา พลังงานทดแทน เพือ่ ศึกษาแนวทางการนํานํา้ มันพืช โดยเฉพาะอยางยิง่ นํา้ มันปาลมมาใชงาน แทนนํา้ มันดีเซล โดยทรงมีพระราชดําริเรือ่ งการออกแบบและสรางเครือ่ งหีบนํา้ มันปาลม ตัง้ แต ป พ.ศ. 2518 ตอมา ในป พ.ศ. 2528 ไดพระราชทานพระราชดําริใหมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สรางโรงงานสกัดนํา้ มันปาลมขนาดเล็กทีส่ หกรณนคิ มอาวลึก จังหวัดกระบี่ และทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ ใหสรางโรงงานนํา้ มันปาลมบริสทุ ธิข์ นาดเล็ก กําลังผลิตวันละ 110 ลิตร ทีศ่ นู ยศกึ ษา การพัฒนาพิกลุ ทองอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส ในชวงป 2531 ตอมาในเดือน มกราคม พ.ศ. 2544 พระราชทานงบประมาณจากมูลนิธิชัยพัฒนา จํานวน เงินประมาณ 8 ลานบาท ใหมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เพื่อสรางโรงงานสกัดนํ้ามันปาลม ขนาดกําลังผลิต 2 ตันทะลายตอชัว่ โมง ทีส่ หกรณนคิ มอาวลึก จํากัด จ.กระบี่ และงบประมาณ 3 ลานบาท และเครือ่ งยนตขนาด 8 แรงมา 3 เครือ่ ง รถไถเดินตาม ขนาด 11 แรงมา 2 คัน และขนาด 8 แรงมา 2 คัน เพือ่ ใชในโครงการทดสอบการใชนาํ้ มันปาลมทดแทนนํา้ มันดีเซลใน เครือ่ งจักรกลการเกษตร ตลอดจนในป พ.ศ. 2550 กรมอูท หารเรือรวมกับ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ทดลองใชนาํ้ มันไบโอดีเซล บี 100 โดยใชปาลมนํา้ มันเปนวัตถุดบิ ตามแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เพือ่ ลดมลพิษและควันดําปกปองสิง่ แวดลอม การทดลองเปน ระยะเวลา 3 ปไดผลดีเปนอยางยิง่ และในป 2553 ไดนาํ ไบโอดีเซล บี 100 มาใชในเรือ “อังสนา” เรือพระทีน่ งั่ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ดีโซฮอล โครงการดีโซฮอล (นํา้ มันดีเซล + แอลกอฮอล) ทีโ่ ครงการสวนพระองค สวนจิตรลดา เริม่ ขึน้ ใน ป พ.ศ. 2541 โดยการปโตรเลียมแหงประเทศไทย รวมกับ โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา ทดลองผสมแอลกอฮอล 95% กับนํ้ามันดีเซล และสารอีมัลซิไฟเออร ที่มีคุณสมบัติทําให แอลกอฮอลกบั นํา้ มันดีเซลผสมเขากันโดยไมแยกชัน้ ในอัตราสวน 14 : 85 : 1 แลวนําดีโซฮอลไป ใชเปนนํา้ มันเชือ้ เพลิงสําหรับเครือ่ งยนตดเี ซล เชน รถกระบะ และ รถแทรกเตอรของโครงการสวน พระองคฯ ซึง่ ผลการทดลองพบวา สามารถใชดโี ซฮอลเปนเชือ้ เพลิงไดดพ ี อสมควร และสามารถ ลดปริมาณควันดําไดรอยละ 50
พลังงานความรอนจากแกลบ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ ทรงเล็งเห็นวา เชื้อเพลิงถานที่ทําจากไมจะหาไดยากขึ้นใน อนาคต จึงมีพระราชดําริใหคนควาทดลอง นําวัสดุเหลือใชมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด เช น ผั ก ตบชวา มาอั ด เป น แท ง เชื้ อ เพลิ ง ซึ่งเรียกวา “เชื้อเพลิงเขียว” และถานจาก แกลบ ซึ่งปจจุบันโครงการสวนพระองคใน สวนจิตรลดามีโครงการเกี่ยวกับการผลิต ถานแกลบอัดแทง โดยนําแกลบที่ไดจาก โรงสีขาวสวนจิตรลดามาผานกระบวนการ เพื่ อ บดและการอั ด แกลบให เ ป น แท ง ถ า นแกลบมี ค วามร อ นสู ง และไม มี ค วั น สามารถนําไปใชแทนถานไมได ซึ่งเปดให ประชาชนทั่ ว ไปเขา เยี่ ย มชม เพื่ อ จะไดนํ า ความรูไปพัฒนาสําหรับการประกอบอาชีพ ใหเหมาะสมกับตนเองเพื่อความเปนอยูที่ พอเพี ย งต อ ไป ดั ง นั้ น การใช ถ า นแกลบ จึ ง ช ว ยลดการทํ า ลายป า ไม เ พิ่ ม มู ล ค า ให แกลบที่ ไ ม มี ป ระโยชน แ ล ว และช ว ยลด ของเสียจากโรงสีขาว
13
Energy#61_p10-15_Pro3.indd 13
11/25/13 10:52 PM
พลังงานนํ้า พระองคทา นทรงมองการณไกลเล็งเห็นวานํา้ และไฟฟาเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิต พระองค ท รงมี พ ระราชดํ า รั ส เห็ น ชอบกั บ ทางรัฐบาลวาควรมีโครงการเขื่อนกักเก็บ นํ้าไวใช และเพื่อทําการผลิตกระแสไฟฟาให เพี ย งพอต อ ความต องการของประชาชน จึงกอใหเกิดโครงการสรางเขื่อนภูมิพลขึ้น นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรง ยังมีพระราชดํารัสใหพิจารณาหาวิธีการนํา นํ้าที่ระบายผานคลองลัดโพมาใชประโยชน โดยกรมชลประทานรับเปนเจาภาพดําเนิน การเมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2551 และไดมีการติดตั้งกังหันผลิตไฟฟานํารอง ติ ด ตั้ ง ที่ ป ระตู ร ะบายนํ้ า คลองลั ด โพโดย ใชหลักการพลังงานจลน ซึ่งเปนหลักการ เดียวกันกับพลังงานกังหันลม ซึ่งการติดตั้ง นอกจากจะไมลดประสิทธิภาพและประโยชน ของโครงการประตู ร ะบายนํ้ า เดิ ม แต ยั ง เสริมศักยภาพดานผลิตพลังงานทดแทน เขาไปอีก ซึ่งมีกําลังผลิตไฟฟาไมนอยกวา 80 กิโลวัตต หลักการกังหันผลิตไฟฟานี้ได รับการนําไปขยายผลตอที่ประตูระบายนํ้า บรมธาตุ จังหวัดชัยนาท สามารถประหยัด คาไฟฟาไดถึง 30,000 บาท ตอเดือน พลังงานแสงอาทิตย ภายในโครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากแนว พระราชดํ า ริ โ ครงการหลวงต า ง ๆ ได มี การนํ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ม าใช ห ลาก หลายรู ป แบบ โดยพิ จ ารณาถึ ง ความ เหมาะสมกับการใชงานเปนสําคัญ และเปน การพั ฒ นาคิ ด ค น เทคโนโลยี ที่ ส ามารถ ผลิ ต เองได ภ ายในประเทศ ซึ่ ง นอกจาก เปนการนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชในการ ดําเนินการภายในโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริตาง ๆ แลว ยังเปนตัวอยางและ แหลงความรูแ กประชาชนทีส่ นใจนําพลังงาน แสงอาทิตย ไปใชประโยชนภายในครัวเรือน หรื อ ประกอบธุ ร กิ จ ของตนเองอี ก ด ว ย โดยพลังงานแสงอาทิตยทนี่ าํ มาใชเปนตนแบบ พลังงานทดแทนตามแนวพระราชดํารินั้น มีหลายระบบดวยกัน เชน การใชพลังงาน แสงอาทิตยเพือ่ ผลิตนํา้ รอน การใชพลังงาน แสงอาทิตยในการผลิตกระแสไฟฟา การใช พลังงานแสงอาทิตยในการอบแหง การใช พลังงานแสงอาทิตยในการสูบนํ้า การผลิต ไฟฟ าจากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย แบบผสม ผสาน เปนระบบผลิตไฟฟาที่ถูกออกแบบ สําหรับทํางานรวมกับอุปกรณผลิตไฟฟา อืน่ ๆ เชน ระบบเซลลแสงอาทิตยกบั พลังงานลม และเครือ่ งยนตดเี ซล ระบบเซลลแสงอาทิตย กับพลังงานลมและไฟฟาพลังนํ้า เปนตน
พลังงานลม โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดามีการ ใชพลังงานลมมานานกวา 20 ป โดยใชใน การวิดนํ้าเพื่อถายเทนํ้าของบอเลี้ยงปลานิล ดังแนวพระราชดําริเรื่องการใชพลังงานลม สวนใหญเปนเรือ่ งการสูบนํา้ เชน กังหันลม สูบนํา้ สําหรับการปลูกปาดวยการใชพลังงาน ลมมาใชสบู นํา้ ขึน้ ไปบนภูเขา โดยติดตัง้ กังหัน ลมไวบนเขา เมื่อกังหันหมุนก็จะทําใหเครื่อง สูบนํา้ ทํางาน ดึงนํา้ ขึน้ ไปใหความชุม ชืน้ แกดนิ ตนไมกเ็ จริญเติบโตได คนทีผ่ า นไปแถวนัน้ จะ เห็นกังหันเรียงกันอยู ตลอดจนปจจุบนั ไดมี การนํามาผลิตพลังงานไฟฟาอยางที่ทราบ กันดีในโครงการชั่งหัวมัน เปนอีกโครงการ ตามแนวพระราชดํ า ริ ป พ.ศ. 2552 ที่ บานหนองคอกไก ตําบลเขากระปุก อําเภอ ทายาง จังหวัดเพชรบุรี เพือ่ เปนตนแบบของ ความพอเพียง โดยกังหันลมผลิตไฟฟาใน โครงการชั่งหัวมันมีกําลังผลิตไฟฟาขนาด 50 กิโลวัตต จํานวน 20 ตน โดยการไฟฟา สวนภูมภิ าคจะรับซือ้ ไฟฟาทีผ่ ลิตได สวนเทคโนโลยีกังหันลมนั้นมี 2 ชนิด คือ กังหันลมแถบหมุนแนวแกนตั้ง (Vertical Axis Turbine) เปนกังหันลมที่มีแกนหมุน และใบพัดตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของลม ในแนวราบ กังหันลมแถบหมุนแนวแกนนอน (Horizontal Axis Turbine) เปนกังหันลม ที่มีแกนหมุนขนานกับการเคลื่อนที่ของลม ในแนวราบ โดยมีใบพัดเปนตัวตัง้ ฉากรับแรงลม
และสามารถผลิ ต พลั ง งานได 2 รู ป แบบ คือ กังหันลมเพื่อสูบนํ้า (Wind Turbine for Pumping) เปนกังหันทีร่ บั พลังงานจลน จากการเคลื่ อ นที่ ข องลมและเปลี่ ย น ให เ ป น พลั ง งานกลเพื่ อ ใช ใ นการชั ก หรื อ สู บ นํ้ า จากที่ ตํ่ า ขึ้ น ที่ สู ง เพื่ อ ใช ใ นการทํ า นาเกลื อ การเกษตร การอุ ป โภคและ การบริโภค ปจจุบันมีใชอยูดวยกัน 2 แบบ คือ แบบระหัดและแบบสูบชัก กังหันลมเพือ่ ผลิตไฟฟา (Wind Turbine for Electric) เปนกังหันทีร่ บั พลังงานจลนจากการเคลือ่ นที่ ของลมและเปลีย่ นใหเปนพลังงานกล จากนัน้ นําพลังงานกลมาหมุนเครือ่ งกําเนิดไฟฟาเพือ่ ผลิตเปนพลังงานไฟฟา ปจจุบนั มีการนํามา ใชงานทัง้ กังหันลมขนาดเล็ก (Small wind Turbine) และกังหันลมขนาดใหญ (Large Wind Turbine) ประเทศไทยมีทรัพยากรที่สามารถพัฒนา ตอยอดเปนพลังงานทดแทนไดอยางมหาศาล และสามารถนํามาพัฒนาตอยอดใชได 100 เปอรเซ็นต แตพลังงานทดแทนบางอยาง กับไมถูกพัฒนาอยางจริงจังตามตนแบบ ของในหลวง หากประเทศหรือหนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของกับพลังงานมีการพัฒนา และสงเสริมใหเกิดการใชพลังงานทดแทน อยางจริงจัง เชือ่ วาประเทศไทยจะไมเกิดวิกฤติ ด า นพลั ง งานอย า งแน น อน แถมยั ง เป น ตนแบบใหกบั ชาวตางชาติไดอกี ดวย
14
Energy#61_p10-15_Pro3.indd 14
11/22/13 10:08 PM
“ถาไมไดทําเชื้อเพลิงทดแทน เราก็เดือดรอน แลวก็เปนหวง แตเราไมตองเปนหวง ถาคนอื่นเขาไมทําเขาอาจจะไมมีนํ้ามันไบโอดีเซลใช แตวาเรามี เราคือขาพเจา ทําเอง คนอื่นอาจจะไมมี ก็ไมเปนไรตองเห็นแกตัว แตละคนถาเห็นแกตัว ก็รูวาไมเปนไร เพราะแตละคนก็ตองพยายามที่จะหาพลังงานทดแทนทั้งนั้น” พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตฯ เมื่อวันอาทิตยที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2548
ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา ขอพระองคทรงพระเจริญ ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะขาพระพุทธเจา ทีมงานนิตยสาร Energy Saving
เอกสารอางอิง หนังสือ “72 ป แกวขวัญ วัชรโรทัย เลขาธิการพระราชวัง” นพดล พลเสน. ความเปนมาของ “แกสโซฮอล” ในประเทศไทย. จาก http://www.thaienv.com/content/view/667 http://www.eppo.go.th/royal/index.html 15
Energy#61_p10-15_Pro3.indd 15
11/22/13 10:08 PM
Get Idea อภัสรา วัลลิภผล
ปลูกจิตสํานึกประหยัดพลังงานตั้งแตเด็ก... เทานี้ก็ชวยชาติไดแลว
(
ในปจจุบันมีการรณรงคลดการใชพลังงานกันมากขึ้น ไมวาจะเปนการปดไฟ ปดนํ้า ลวนเปนการลดการใชพลังงาน ทั้งสิ้น แตทั้งหมดนี้เปนเพียงแคบางสวนเทานั้น แทจริงแลวจะตองเปนความรวมมือจากทุกฝาย “คุณกวิน ทังสุพานิช” เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน เปนบุคคลอีกทานหนึง่ ทีส่ นับสนุนการลดใชพลังงาน และตองการ ปลูกฝงใหทุกคนมีจิตสํานึกในการใชพลังงานอยางประหยัด…
)
เรื่องของการประหยัดพลังงานเปนเรื่องที่ตองใหความสําคัญควรมีการ วางแผนเชิงบูรณาการเพือ่ ใหทกุ ภาคสวนเขามาชวยในการประหยัดพลังงาน ผมเชื่อวาในสวนของพี่นอ งประชาชนเองนาจะมีประเด็นในการสรางนิสยั การ ประหยัดพลังงานไดอยูแลว ซึ่งการสรางนิสัยปลูกจิตสํานึกเองก็มีอยูใน สวน ไมวา จะเปน สวนของการประชาสัมพันธ การใหความรูด า นการประหยัด พลังงานตั้งแตยังเด็ก เพื่อสรางใหพวกเขาเปนคนที่ประหยัดพลังงาน ใน สวนนี้ตองใชเวลา อยางไรก็ตาม ผมมองวาเราเองก็มีเครื่องมือหลาย ๆ ตัว ที่เขามาชวยในการประหยัดพลังงานซึ่งตอนนี้กําลังดูอยู ไมวาจะเปนเรื่อง การออกกฎกติกาเกี่ยวกับเรื่องของกลไกตาง ๆ เชน การนําเอาราคาคา ไฟเขามาสงเสริมในเรื่องของการประหยัดพลังงาน ตัวอยางเชน ถาใคร ประหยัดพลังงานไดมากที่สุดจะมีสวนลดในการจายคาไฟที่ถูกลง หรือถา ใครที่ลงทุนในเรื่องของการประหยัดพลังงานจะมีการใหประโยชนเพิ่มเติม ก็จะมีสวนลดใหอีกเชนกัน และถาหากมีการใชไฟในชวงเวลาที่คาไฟสูง ๆ อาจจะมีการเก็บเงินเพิ่มอะไรประมาณนี้ ซึ่งนี่ก็เปนนโยบายที่ทําได คือ มีการเอาเรื่องของราคามาสะทอนในเห็นภาพ เปนนโยบายในเรื่องอื่น ๆ ในการประหยัดพลังงานที่ทํามาเรื่อย ๆ อยูแลว ผมวาจะตองใชมาตรการ หลาย ๆ อยางมาประกอบกันเพื่อใหมาสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมของคน ได แตจะทําอยางไรถึงจะเปลี่ยนพฤติกรรมของคนไดก็ตองขึ้นอยูกับปจจัย หลาย ๆ อยางรวมกัน ทายสุดผมเชือ่ วาสิง่ สําคัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะทําใหประหยัดพลังงานไดอยางกวางขวาง คือทุกคนจะตองมีจิตสํานึกในเรื่องของความตระหนักในการใชพลังงาน อยางไรถึงจะเกิดประโยชนมากที่สุด เพราะวาการที่คุณสามารถประหยัด พลังงานไดมาก ๆ เทากับคุณไมตองสรางโรงไฟฟาอีก 1 โรง และจะเปนการ ลดตนทุนของปจจัยตาง ๆ เชน ลดซื้อเชื้อเพลิงจากตางประเทศ ผมวาเปน เรื่องที่ตองทําอยางจริง ๆ จัง ๆ ไมใชวาเอาแตสรางโรงไฟฟาเพื่อที่จะไดมี กําลังการผลิตไฟฟาใหเพียงพอตอความตองการเทานั้น
10 16
Energy#61_p16,18_Pro3.indd 16
11/23/13 12:36 AM
GreenNovation Rainbow
à¤Ã×èͧ·íÒ¹éíÒÍØ‹¹»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹
เปนการพัฒนาบนฐาน peilter- กึง่ ตัวนํา technolgoyเพือ่ นําความรอนใหนํ้าที่ไหลเวียนสามารถทํางานรวมกับพลังงาน นํา้ ในรมจากเตาเสียบ มาพรอมกับถังเก็บนํา้ ในเครือ่ งเชือ่ มตอ กั บ ระบบท อ สามารถเป ด เครื่ อ ง และ seting อุ ณ หภู มิ ไดตามตองการ ไมกอใหเกิดมลพิษ ไมมีอันตรายจากคลื่น แมเหล็กไฟฟา (ขอมูลจาก www.thai.alibaba.com)
The Boom ÅíÒ⾧ÃÑ¡É âÅ¡
ลําโพงแบบพกพาตัวนี้ เปน Bluetooth เวอรชั่น 4 มาพรอมกับ แบตเตอรีป่ ระหยัดพลังงาน ฟงเพลงไดยาวนานตอเนือ่ งกวา 12 ชัว่ โมง หรือ ใชในการสนทนาสายโทรศัพทไดยาวนานเทา ๆ กัน สามารถเปดแสตนดบาย ทิง้ ไวไดนานถึง 4 เดือน เชือ่ มตองายและจดจําการจับคูอ ปุ กรณในการ ใชงานครัง้ ตอไป แคเพียงเปดเครือ่ งก็พรอมใชงานรวมกันไดทนั ทีไมตอ ง ค น หาใหม อี ก รอบ (ข อ มู ล จาก www.appdisqus.com/)
ชุดพลังงานแสงอาทิตย LandStar ชุดผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย เหมาะสําหรับสถานที่ที่ไมมไฟฟ ีไฟฟาใช บานพักอาศัย สถานที่ธรรมชาติ บานพักเล็กๆรีสอรทโฮมสเตย สเตตย
Solar Home Light System 20 ÇÑμμ 12Ah/4,500 ºÒ· 40 ÇÑμμ 25Ah/9,999 ºÒ· 60 ÇÑμμ 40Ah/12,700 ºÒ· 90 ÇÑμμ 56Ah/15,700 ºÒ· 150 ÇÑμμ 100Ah/19,900 ºÒ·
ÀÒÂ㹪شSolar-Cell20ÇÑμμ »ÃСͺ´ŒÇ • ἧâ«Å‹Òà à«Å • ªØ´¤ÇÒÁ¤ØÁ¡ÒêÒÃ μ • áºμàμÍÃÕ่ 12v Output USB2¨Ø´ • ªØ´ËÅÍ´ä¿ 4 ËÅÍ´ • ªØ´ÊÒªÒà μâ·ÃÈѾ· 10 ÃØ‹¹ • ÃѺ»ÃСѹ 6 à´×͹
ÀÒÂ㹪شSolar-Cell 40,60,90,150ÇÑμμ »ÃСͺ´ŒÇ • ἧâ«Å‹Òà à«Å • ªØ´¤ÇÒÁ¤ØÁ¡ÒêÒÃ μ • áºμàμÍÃÕ่ 12v Output USB2¨Ø´,AC220v 2¨Ø´,»ÅÑ๊¡¨Ø´ºØËÃÕ่,DC12V 1¨Ø´ • ªØ´ËÅÍ´ä¿ 2 ËÅÍ´ • ªØ´ÊÒªÒà μâ·ÃÈѾ· 10 ÃØ‹¹ • ·Õ่ªÒà μ俺ŒÒ¹ • ÃѺ»ÃСѹ 6 à´×͹
บริษัท ชานซ อินเตอร กรุปจํากัด 258/3 หมู 9 ถนนงามวงศวาน ซ.9 ต.บางกะสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท 02-952-57046-6, มือถือ 091-750-0232, แฟกซ 02-952-5689 Energy#61_p17_Pro3.indd 17
July 2012 l 17
11/25/13 11:59 PM
Get Idea อภัสรา วัลลิภผล
(
ใชพลังงานอยางคุมคา หันมาใชกระดาษรี ไซเคิล เมื่อพูดถึงการใชกระดาษตอวัน ในหลาย ๆ ที่ จะเห็นไดวาวัน ๆ นึง มีการใชกระดาษเยอะมากเลย แตจะทํา อยางไรใหเราสามารถใชกระดาษไดอยางคุมคาที่สุด “คุณมิลค เขมสรณ หนูขาว” ผูสื่อขาวสาวสวย เปนอีกคนนึง ที่ใชกระดาษตอวันในปริมาณมาก ทั้งนี้ คุณมิลคเลยมีขอคิดดี ๆ ในการใชกระดาษอยางไรใหประหยัดมาฝากกัน
)
การประหยัดพลังงานของพีม่ ลิ คเองจะเอาจากเรือ่ งใกล ๆ ตัว อยางเชน ในเรื่องของการใชกระดาษรีไซเคิล เพราะพีเ่ ปนนักขาววัน ๆ อานสคริป เยอะมาก กระดาษก็เลยเยอะ ทั้งเอกสารเกี่ยวกับงาน ตาง ๆ ลวนเปน กระดาษทั้งหมด พี่เลยใชกระดาษอยางประหยัดโดยใชทั้ง 2 หนา หรือ ไมกจ็ ะเอาเทคโนโลยีเขามาชวย เชน ipad นํามาใชแทนกระดาษ เปลีย่ น จากอานบนกระดาษมาอานใน ipad แทน ในสวนนีส้ ามารถชวยลดการ ใชกระดาษไดเยอะมากทีเดียว และในสวนของหนังสือพิมพก็เชนกัน วัน ๆ อานอยูห ลายฉบับจึงทําใหมหี นังสือพิมพกองอยูม ากพอสมควร พี่ก็จะใชวิธีการรวบรวมไวเปนลัง ๆ แลวนําไปคัดแยกขยะเพื่อนําไป รีไซเคิลจะไดนํากลับมาใชไดอีกครั้งนึง” สุดทายพี่มิลลอยากจะฝากถึงเรื่องของการใชพลังงานวา “เรื่องของ พลังงานถือเปนเรือ่ งทีใ่ กลตวั มาก ๆ ตองปลูกฝงกันตัง้ แตเด็ก ๆ พอโตขึน้ จะสามารถเขาใจอยางลึกซึ้งวาการชวยกันประหยัดพลังงานมีความ สําคัญอยางไร ไมใชแคจังหวัดที่คุณอยูที่เดียว แตหมายถึงระดับโลก เพราะเปนเรื่องที่ตองชวยกัน จะเห็นไดวาเวลาไฟดับแคชั่วโมงเดียว ก็ ทําใหเราเดือดรอนกันแลว ดังนัน้ คิดวาถาเราไมมไี ฟฟาใช ไมมพ ี ลังงานใช สิง่ จะจะตามมาคืออะไร พีม่ ลิ ลเลยอยากใหเด็ก ๆ คิดถึงปญหาทีจ่ ะตามมา พอเราเห็นถึงปญหา เราจะไดไมใชพลังงานอยางฟุมเฟอย”
“คุณมิลค เขมสรณ หนูขาว” ผูสื่อขาว, พิธีกร
18 10
Energy#61_p16,18_Pro3.indd 18
11/23/13 12:38 AM
Green 4U Rainbow
“นกนอยทํารังแตพอตัว” เปนสุภาษิตไทยที่หมายถึง เมื่อ จะทําอะไรควรทําแตพอตัว เพื่อใหสมฐานะตัวเอง เชน เดียวกับTengbom Architects บริษัทสถาปนิกชื่อดังจาก ประเทศสวีเดน ดูทาจะเห็นดวยกับสุภาษิตไทยนี้ของเรา เพราะพวกเขาที่ไดรวมมือกับนักศึกษาจาก University of Lund ร ว มกั น พั ฒ นาที่ พั ก อาศั ย รู ป แบบใหม สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง มี จุ ด เด น ตรงที่ มี ข นาดเล็ ก กะทั ด รั ด ช ว ย ประหยัดวัสดุที่ใชในการกอสราง และที่สําคัญ สรางดวย วัสดุที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ที่พักตนแบบหลังนี้มีขนาดเพียง 10 ตาราง เมตร ภายในได รับการจัดอยางเปนสัดสวนและครบครัน ไมตางจากบาน พักอาศัยทั่วไป ที่มีทั้งสวนทํางาน มุมพักผอน หองครัว ห อ งนํ้ า และห อ งนอน วั ส ดุ ที่ ใ ช ใ นการก อ สร า งทั้ ง หมด ลวนเปนวัสดุที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ผนังและโครงสราง เกือบทั้งหมดทําจากไมอัด ซึ่งคุณสมบัติของไมอัดนอกจาก จะมีความแข็งแรงทนทานสูงแลว ยังมีความคงตัวไมยืดหด และแตกง า ย สามารถตอกตะปู ห รื อ ใช ต ะปู ค วงขั น ใกลขอบแผนหรือทุกสวนไดรอบดาน สามารถตัด เลื่อย และฉลุไดงาย ไมแตกหัก สามารถโคงงอไดโดยไมฉีกหัก และสามารถรั บ นํ้ า หนั ก ได สู ง กว า ไม ธ รรมดา แถมยั ง มี กระบวนการผลิ ต ที่ ไ ด ม าตรฐาน ไม ส ร า งมลพิ ษ ต อ ทั้ ง ผูอาศัยและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติในการเปนฉนวนที่ดี สามารถ รั ก ษาอุ ณ หภู มิ ภ ายในให อ ยู ส บายได ไม ว า ภายนอก จะรอนหรือหนาวก็ตาม สามารถประกอบไดงาย ใชเวลา ไมมากแถมยังมีราคาตอหนวยถูกมาก จึงไมเปนภาระของ นักศึกษาในการเชาสําหรับพักอาศัย โดยราคาเชาตอหนวย จะถูกลงถึง 50% เมื่อเทียบกับราคาเชาที่พักอาศัยโดยเฉลี่ย ทั่วไปของนักศึกษาในปจจุบัน นอกจากนี้ ยังชวยประหยัด ทรัพยากรในการกอสรางลงไดถึง 40% นั่นยอมหมายถึง ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มจะถู ก ทํ า ลายน อ ยลงไปด ว ย นับวาเปนประโยชนตอทุกฝายอยางแทจริง 19
Energy#61_p19_Pro3.indd 19
11/14/13 8:34 PM
Green 4U Rainbow
เก มีสไตล ดวยของใชรักษโลก เมือ่ พูดถึงของใชทเี่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมแลว คงจะหนีไมพน ของใชทอี่ ยูใ กลตวั ไมวา จะเปนโตะ เกาอี้ ของตกแตงบาน หรือแมกระทัง้ เครือ่ งแตงกาย ของเราที่ยังตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอม เห็นแบบนี้แลวทาง Green 4U มีของใชมีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมาฝากกันดวย เพื่อจะไดเปนทางเลือก กับคุณผูอานอีกทางหนึ่ง ดีไซนของ Reestore ที่ประกาศชัดวาจะ ยืนอยูขางสิ่งแวดลอม แตตองมี ความเทดวย ดังนั้นจึงเลือกหยิบเอาของใกลมือ (ที่กลายเปนขยะไปแลว) มาสรางสรรคใหมในสไตลสุดทันสมัย Max McMurdo ซึ่งเปนนักออกแบบ ผลิตภัณฑผูกอตั้ง Reestore โดยมีเฟอรนิเจอรออกมา 3 แบบดวยกัน (ขอมูลเพิ่มจากwww.tcdc.or.th)
02 โตะเรืองแสงจากถังเครื่องซักผา เมือ่ เครือ่ งซักผาพังแทนทีจ่ ะทิง้ ใหกลายเปนขยะ ก็สามารถนํา มาดัดแปลงเปนโตะเก ๆ ไดอยางลงตัว
01
โซฟาอางอาบนํ้า ดวยดีไซนทแี่ ปลกไมซาํ้ ใคร ทีน่ าํ เอาอางอาบนํา้ ใชแลวมาประยุกตกลายเปนโซฟาตัวใหม เปลีย่ น จากอางอาบนํา้ ธรรมดา ๆ ใหแปลกตามีสไตล
03 เกาอี้จากรถเข็นชอปปง
จากรถเข็นธรรมดากลายเปนเกาอีน้ งั่ ชิล ๆ ดีไซนเก ไก นัง่ แลวทําใหรสู กึ เหมือนอยากไปชอปปง กันเลยทีเดียว
20
Energy#61_p20-21_Pro3.indd 20
11/22/13 9:40 PM
04
05
4.เกาอี้ไมอัด เก า อี้ แนวคิ ด ของ Minimalist ที่ เ ป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม ใชทรัพยากรพลังงานและกอใหเกิดมลพิษนอยที่สุด ผลิตโดยการ ตัดออกมาจากแผนไมอัดเพียงแผนเดียว ดวยการวางแผนการใช วัสดุอยางดี ทําใหเหลือเศษวัสดุนอยที่สุด
5.ชั้นวางของจากตอไม เปลี่ยนจากตอไมเกาหรือตนไมที่ตายแลวนํามาตัดแตงใหกลายเปน ชั้นวางของไดโดยไมตองเปลืองเงินซื้อใหม แถมยังเปนการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติอีกดวย (ขอมูลเพิ่มจาก p-dit.com)
06
6.โคมไฟเศษไม งานดีไซนจากราน O’Thentique จากเศษไมเหลือ ๆ สามารถนํามาทํา ให มี คุ ณ ค า เพิ่ ม นอกจากจะลดขยะแล ว ยั ง ได ง านดี ไ ซน ส วย ๆ อีกดวย
07นวัตกรรมสิ่งทอ
สร างสมดุลในรางกาย ที่ ผลิตจากวัสดุเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม เปนผลงานของนักศึกษา จากมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลที่ อ อกแบบเสื้ อ ผ า ออกกําลังกายจากเสนไหม 50% และเสนใย โพลีโพรพิลนี ทีม่ สี ว นผสมของถานแมคคาเดเมีย 50% ทํ า ให มี คุ ณ สมบั ติ ก ารดู ด ซั บ กลิ่ น ใน ตัว ชวยระบายอากาศ ลดกลิ่นอับ ตานทาน แบคทีเรียและไฟฟาสถิต
08
หมวกจากเสนใยธรรมชาติ ผลิตจากเสนใยผักตบชวา เสนใยสับปะรด และ เสนใยไผ สูง านสรางสรรค อยางมีศิลปะ แถมยังสามารถยอยสลายไดเองตามธรรมชาติ (ขอมูลเพิ่มจากwww.sn2.tataya.net)
21
Energy#61_p20-21_Pro3.indd 21
11/22/13 9:40 PM
GreenNovation Rainbow
02 UVeBand
01
สายรัดขอมืออัจฉริยะ เปนผลงานของแพทยชาว อเมริกนั ทีค่ ดิ คนสายรัดขอมืออัจฉริยะเพือ่ ชวย เตือนปริมาณแสงยูวีในขั้นอันตรายตอผิวหนัง UVeBand ทําจากวัสดุเคลือบซิลโิ คนกันนํา้ ได อุปกรณจะมีเทคโนโลยีทตี่ ดิ ตัง้ ไวภายในทํางาน เองอัตโนมัติเมื่อสัมผัสกับผิวหนัง ถาตองการ ปดการทํางานเพียงแคถอดออกจากขอมือ เทานัน้
SAVE COOL
เปนอุปกรณทชี่ ว ยลดพลังงานไฟฟาของเครือ่ งปรับ อากาศได 20-40 % ดวยการติดตัง้ SAVE COOL ทีม่ แี ผง Cooling Pad ทีม่ นี าํ้ หลอเลีย้ งทําใหอากาศ ที่มีอุณหภูมิความรอนสูงลดลงไดถึง 4-8 องศา ประหยัดไฟฟา และยังสามารถลดการใชพลังงาน ไดอกี ดวย
04 Twirl N’Take
03
กลองรักษโลก ประหยัดพลังงาน ชิน้ นีเ้ ปนกลองดิจติ อลทีม่ หี นาตา คลายกับมีดตัดพิซซา แตเมือ่ เสียบกับแทนชารจ จะกลายราง เหมือนกับกระถางตนไมทนั ที วิธใี ชกค็ อื การกลิง้ ลอทรงกลมเพือ่ ชารจพลังงานนัน่ เอง หลังจากนัน้ ก็นาํ ไปถายภาพไดตามใจชอบ โดยการกลิง้ 15 วินาที จะถายภาพได 1 ภาพ นอกจากจะเกไก แลวยังชวยลดปญหาสิง่ แวดลอมดวย
โคมไฟลมลุก
โคมไฟนีใ้ นตอนกลางวัน เมือ่ จับตัวโคมไฟ กลับหัวลงจะใชชารจไฟจากแผงพลังงาน แสงอาทิตยที่อยูดานใน และเมื่อยามดึก สามารถนํามาใช โดยจับตัง้ ขึน้ เหมือนเดิม หากเชื่อมตอกับสัญญาณไวไฟ จะทําให เปลีย่ นแสงไดเหมือนสัญญาณไฟจราจร สนองนโยบายของรัฐบาลสวีเดนทีต่ อ งการ ใหทุกบานมีระบบการวัดปริมาณ การใช พลังงานในแตละเดือน
22
Energy#61_p22,24_Pro3.indd 22
11/7/13 10:54 PM
Energy#61_p23_Pro3.ai
1
11/22/13
11:12 PM
GreenNovation Rainbow
05
06 ไอพอด Go Green
แอปเปลสงเสริมใหคนสงไอพอด ไอโฟน รุน เกา มา รีไซเคิล โดยคาสงก็ฟรี หรือถานํามือถือเครือ่ งเกา ไปทีร่ า นแอปเปล ก็จะไดลด 10 % คาไอพอดเครือ่ ง ใหมดว ย ซึง่ ลาสุดทีม่ กี ารเปดตัว ไอพอด ทัช และ ไอพอด นาโนรุน ใหม ทีผ่ ลิตจากกระจกทีป่ ลอดสารหนู และสารตะกัว่ ไมมสี ว นประกอบของพลาสติกแบบ PVC ทีเ่ ปนอันตราย และทีส่ าํ คัญคือสามารถนําไป รีไซเคิลได
ไดรเปาผมแหงไว 2 เทา
ถึงแมหนาตาจะดูเหมือนเครื่องเปาผมทั่ว ๆ ไป ไมมีอะไรที่โดดเดน แตประสิทธิภาพการทํางานทีน่ อกจากจะถนอมเสนผมแลว ยังเปนไดรที่ เปนมิตรกับธรรมชาติเพราะประหยัดพลังงานกวา 50 % เมือ่ เทียบกับ เครือ่ งเปาผมทีเ่ ราใชอยูใ นปจจุบนั
07
Ohm ปนไว ชารจไฟเร็ว
ทํางานดวยการชักนําของสนามแมเหล็ก จากพลังงาน การปน จักรยานก็สามารถจะชวยใหไดนาโมของเครือ่ ง นีป้ น กระแสไฟฟาได เพือ่ สงตอไปยังอุปกรณไฮเทคที่ เชือ่ มตออยู และยังสามารถชารจไฟกับแบตเตอรีแ่ บบ ลิเธียม ไอออน 1200 mAh ไดภายใน 45 นาที
08
เครื่ อ งป น จั ก รยานไฟฟ า ระบบ Poly - V belt
เคลื่ อ นไหวเงี ย บและราบรื่ น ปรั บ ระดั บ ความฝดได 8 ระดับ หนาจอแสดงเวลา ความเร็ ว ระยะทาง แคลอรี่ และวงล อ ขับเคลื่อนดวยระบบแมเหล็กที่มีแรงหมุน คงที่ นอกจากจะเปนเครือ่ งออกกําลังกาย แลว ยังสามารถผลิตไฟฟาไดอกี ดวย 24
Energy#61_p22,24_Pro3.indd 24
11/7/13 10:55 PM
News Update ศรัย ณ อรัญ
อัพเดทความเคลอนไหวพลังงานไทย สําหรับสถานการณพลังงานในประเทศไทย มีขาวคราวที่นาสนใจใหไดอัพเดทกันเริ่ม ตัง้ แตขา วการหยุดซอมทอกาซธรรมชาติ 3 แหงตั้งแตปลายป 56 ไปจนถึงกลางป 57 โดยแหลงกาซธรรมชาติเยตากุน ของสหภาพ เมียนมาร ซึ่งเปนแหลงที่ประเทศไทยนําเขา กาซจะหยุดซอมบํารุงทอในวันที่ 25 ธ.ค. 56 ไปจนถึงวันที่ 8 ม.ค. 57 และการปดซอม บํารุงทอกาซแหลงบงกชในอาวไทยชวงวันที่ 10 เม.ย. – พ.ค. 57 ซึง่ กระทรวงพลังงาน พิจารณาสถานการณแลววาอยูใ นขัน้ วิกฤติ เสี่ยงตอการเกิดปญหาไฟฟาดับในประเทศ ไดจึงไดเตรียมความพรอมนํานํ้ามันเตามา สํารองใหโรงไฟฟาอยางพอเพียง พรอม กันนี้ยังไดเลื่อนการปดซอมบํารุงทอกาซ แหลงบงกชทีอ่ ยูใ นอาวไทยออกไปกอน สวนการ ปดซอมบํารุงทอกาซในพืน้ ทีพ ่ ฒ ั นารวมไทย – มาเลเซีย (เจดีเอ) ชวงวันที่ 13 มิ.ย. -10 ก.ค. 57 ไดมอบหมายใหกรมธุรกิจพลังงาน (ธพ.) ไปเจรจากับโรงกลัน่ นํา้ มัน 3 แหง ไดแก ไทย ออยล เอสโซ และบางจาก เพือ่ ใหเลือ่ นการ หยุดซอมบํารุงโรงกลั่นที่จะหยุดบางหนวย ชวงเดียวกับทีท่ อ กาซธรรมชาติพนื้ ทีพ ่ ฒ ั นา รวมไทย-มาเลเซีย (ทอเจดีเอ) แหลงเอ 18 หยุดซอม เพือ่ ไมใหกระทบกับแผนผลิตไฟฟา ปอนพื้นที่ภาคใตซึ่งประเมินผลจากทอเจดี เอหยุดจะกระทบตอโรงไฟฟาจะนะ จ.สงขลา กําลังผลิต 720 เมกะวัตต ตองหยุดผลิตทัง้ หมด
นอกจากนีป้ ลัดกระทรวงพลังงานยังไดใหการ ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไป เจรจากับมาเลเซียเพื่อขอรับซื้อไฟฟาจาก มาเลเซียเพิม่ ขึน้ แตหากมาเลเซียไมสามารถ เพิ่มกําลังการผลิตเพื่อปอนไฟฟาเพิ่มขึ้น ใหกับประเทศไทยได อีกทางเลือกหนึ่งของ กระทรวงพลังงาน คือ ขอใหโรงไฟฟาแหงอืน่ ๆ เพิ่มกําลังการผลิตและปอนไฟฟามาสํารอง ใหกบั ภาคใตแทน รวมทัง้ ขอความรวมมือกับ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (สอท.) และสภาอุ ต สาหกรรมการท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทย ลดการใช ไ ฟฟ า โดยเฉพาะ ผูป ระกอบการในภาคใต เพือ่ ลดปริมาณความ ตองการใชไฟฟาแบบเขมขนในระหวางวันที่ 13 มิ.ย.-10 ก.ค. 57 โดยคาดวาจะสามารถ ลดความตองการใชไฟฟาไดประมาณ 800 เมกะวัตต
และก็มีแนวโนมวาจะไมสูงนักเพราะผลผลิต ปาลมมีมากทั้งมาเลเซียและประเทศไทย ซึ่ง เปนปจจัยสําคัญของการเพิ่มสัดสวนผสม ในนํ้ามันดีเซลจากบี 5 เปน บี 7 เพื่อชวย เหลือเกษตรกรซึ่งเดิมจะนํามาผลิตบี 100 เพื่อผสมดีเซลเปนบี 5 จํานวน 5 หมื่นตัน ตอเดือน เมื่อเพิ่มสัดสวนเปนบี 7 จะทําใหมี ผลผลิตเปน 7 หมื่นตันตอเดือน
อีกขาวทีต่ อ งอัพเดท คือ กระทรวงพลังงานมี เปาหมายทีจ่ ะผลักดันการจําหนายนํา้ มันดีเซล บี 7 ในวันที่ 1 มกราคม 2557 โดยไดมอบหมาย ใหกรมธุรกิจพลังงาน (ธพ.) ไปเจรจากับคาย รถยนตในประเทศวาจะมีความพรอมในการใช มากนอยเพียงใดกอนมาสูภ าคปฏิบตั ิ
ทั้ งนี้ คาดวาการใชเอทานอลจะเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากหลังยกเลิกเบนซิน 91 ผูคานํ้ามัน คายตางชาติทเี่ ดิมยังไมจาํ หนายแกสโซฮอล อี 20 กําลังอยูระหวางปรับหัวจายนํ้ามัน เบนซิน 91 เปนอี 20 ทั้งเชลล คาลเท็กซ เอสโซ เพราะอี 20 มีราคาตํา่ กวาแกสโซฮอล 91 ถึง 3 บาทตอลิตร และรถยนตทจี่ ะใชอี 20 ก็มมี ากกวาลานคันทําให ปตท.และบางจาก จําหนายอี 20 ไดอยางมากในชวงทีผ่ า นมา
เนื่ อ งจากสต อ กปาล ม ดิ บ (CPO) มี แ นว โนมเพิ่มมากขึ้นหลังจากที่ราคาโลกตกตํ่า เหลือเพียง 21-22 บาทตอกิโลกรัมในขณะนี้
อยางไรก็ตาม ในปจจุบนั การใชบี 100 อยูใ น ระดับ 2.8 ลานลิตรตอวัน ขณะทีก่ ารใชเอทานอล หลังจากการยกเลิกการจําหนายนํา้ มันเบนซิน 91 ตัง้ แต 1 ม.ค. 56 ไตรมาสแรกปนกี้ ารใช สูงถึง 2.3-2.4 ลานลิตรตอวันจากเดิม 1.3 ล า นลิ ต รต อ วั น ทํ า ให ภ าพรวมการใช พลังงานทดแทนจากไบโอดีเซลและเอทานอล รวมสูงถึง 5 ลานลิตรตอวัน
25
Energy#61_p25_Pro3.indd 25
11/26/13 12:26 AM
Energy Award รังสรรค์ อรัญมิตร
Machinery Technology Awards 2013 รับรางวัลเทคโนโลยีเครื่องจักรกลยอดเยี่ยม
สภาวะโลกร้อนหรือการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศนัน้ เป็น ภาพสะท้อนของวิกฤตด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อมได้อย่างชัดเจน ซึง่ ก�าลังส่งผลกระทบอย่างเป็นรูปธรรมกับวิถกี ารด�ารงชีวติ ของ มนุษย์ ซึง่ การลดปริมาณการใช้พลังงานทีเ่ กิดจากฟอสซิลแล้ว หันไปพึง่ พาพลังงานหมุนเวียนกันมากขึน้ เป็นแนวทางหนึง่ ทีช่ ว่ ย ยืดอายุของสิง่ แวดล้อมให้คงสภาพดีตอ่ ไปได้นาน
จากปั จ จั ย ดั ง กล่ า วหน่ อ ย งานภาครั ฐ ได้ ส นั บ สนุ น ให้ เกิ ด การใช้ พ ลั ง งานทดแทน ผ่ า นหลายแนวทางด้ ว ยกั น ทั้ง การส่งเสริมด้านสินเชื่อ ส่ ง เสริ ม ในเรื่ อ งของการรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า ในราคาที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี ด้านพลังงานทดแทน รวมถึง การจัดประกวด เพื่อเป็นการ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนทั่ ว ไป หั น มาพึ่ ง พาการใช้ พ ลั ง งาน ทดแทนการมากขึ้น 26
Energy#61_p26-27_Pro3.indd 26
11/7/13 11:07 PM
การประกวดรางวัลเทคโนโลยีเครื่องจักร กลยอดยี่ยมประจ�าปี 2556 (Machinery Technology Award) ของกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทีร่ ว่ มกับสมาคม เครื่ อ งจั ก รกลไทยในงานนิ ท รรศการเทิ ด พระเกียรติพระอัจฉริยภาพพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย” และ“พระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย” เป็นอีก โครงการหนึ่งที่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา เทคโนโลยี พ ลั ง งานทดแทน และเป็ น การ ประกาศเกี ยรติคุณให้กับบริษัทที่คนไทย เป็ น เจ้ า ของพั ฒ นาเทคโนโลยี ขึ้ น เอง มีความโดดเด่น สามารถผลิตและใช้งานได้จริง ในเชิ ง พาณิ ช ย์ ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ส� า คั ญ ยิ่ ง ของ การยกระดั บ ขี ด ความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ นอกจากนี้ยังเป็นการ
เผยแพร่ความรู้ด้านเทคโนโลยีเครื่องจักร กลอุตสาหกรรมให้เป็นทางเลือกส�าคัญของ การลดต้นทุนด้านพลังงาน และการลดผล กระทบต่อสิง่ แวดล้อม สูแ่ นวทางของการลด ภาวะโลกร้อนนั่นเอง ส� า หรั บ ผลงานที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล เทคโนโลยี เครื่ อ งจั ก รกลยอดยี่ ย มประจ� า ปี 2556 (Machinery Technology Award) ในสาขาเครื่ อ งจั ก รกล ขอยกตั ว อย่ า ง ระบบกระเบื้องหลังคาพลังงานแสงอาทิตย์ (CeraFino Solar Syste) ของ “ตราช้าง” ที่มีความโดดเด่นตอบรับกระแสของการใช้ พลังงานทดแทนได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะ การพึง่ พาพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตไฟฟ้า โดยเทคโนโลยี ก ระเบื้ อ งหลั ง คาพลั ง งาน แสงอาทิ ต ย์ ข องตราช้ า งนั้ น ถู ก ออกแบบ ใ ห ้ ส า ม า ร ถ น� า เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ผ ลิ ต แผงเซลล์แสงอาทิตย์และเทคโนโลยีการผลิต กระเบื้ อ งหลั ง คาคุ ณ ภาพสู ง มาผสานเข้ า กั น ด้ ว ยการผนวกเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ แ บบ
Polycrystalline Silicone Solar Cell เข้ากับกระเบื้องหลังคาเซราฟีโน่ ที่สามารถ ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าให้หลังคาสวยกลมกลืนเหมือนกระเบื้อง มุงหลังคาทั่วไป และไม่ต้องติดตั้งแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ซ้อนบนกระเบื้องหลังคา ท�าให้ ประหยั ด เวลาและค่ า ใช้ จ ่ า ยในการติ ด ตั้ ง หมดปัญหาเรื่องรั่วซึม เรียกได้ว่าเป็นการ ตอบสนองความต้ อ งการของผู ้ ที่ ส นใจ ติ ด แผงโซลาร์ เ ซลล์ ห ลั ง จากที่ ก ระทรวง พลังงานมีการส่งเสริมการติดตัง้ โซลาร์เซลล์ บนหลังคาอีกด้วย นอกจากนี้ แ ล้ ว การได้ ม าของรางวั ล ไม่ ได้ ถู ก พิ จ ารณาเพี ย งเพราะเป็ น กระเบื้ อ ง พลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นนวัตกรรมสมัย ใหม่อย่างเดียว แต่การได้มาของรางวัลยัง ถู ก พิ จ ารณาในรายละเอี ย ดด้ า นอื่ น ด้ ว ย ทั้ ง ในเรื่ อ งของการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ การพั ฒ นากระบวนการผลิ ต กระเบื้ อ ง การพั ฒ นาวิ ธี ก ารประกอบกระเบื้ อ งกั บ Solar Cell และ การจั ด ระบบ Solar System ให้ เ หมาะสมกั บ การใช้ ง านของ ผู้บริโภค อย่ า งไรก็ ต ามส� า หรั บ ผู ้ ที่ พ ลาดการ ส่ ง ผลงานเข้ า ประกวดในปี นี้ ส ามารถส่ ง
ผลงานเข้ า ประกวดในปี ห น้ า ได้ เ พราะ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเขาจัด ขึ้นทุกปี ซึ่งในปี 2557 การประกวดคาดว่า ยังคงใช้หลักเกณฑ์เดิม โดยจะแบ่งประเภท รางวั ล ออกเป็ น 3 สาขา ซึ่ ง จะประกอบ ไปด้วย 1).สาขาเครื่องจักรกลการเกษตร (Agricultural machinery) 2).สาขา เครื่ อ งจั ก รกลการผลิ ต (Production machinery) 3).สาขาเครื่องจักรกลด้าน พลังงานและสิ่งแวดล้อม (Energy and Environment machinery) และยังจัดให้มี รางวัลสุดยอดเทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลยอด เยี่ยม (Best of the Best Technology Award) ทีเ่ ป็นทีส่ ดุ ของบริษทั ทีไ่ ด้รบั รางวัล ของทัง้ 3 สาขา เมือ่ ทราบหลักเกณฑ์คราว ๆ กั น แล้ ว ผู ้ ที่ ส นใจส่ ง ผลงานเข้ า ประกวดปี หน้ า เตรี ย มตั ว ให้ พ ร้ อ มกั น นะครั บ 27
Energy#61_p26-27_Pro3.indd 27
11/7/13 11:08 PM
Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร
ปจจุบนั อาคารสํานักงานตาง ๆ เริม่ ใหความสนใจในการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมมากขึน้ พรอมกับมีการปรับเปลีย่ นเทคโนโลยี อุปกรณทชี่ ว ยใหเกิดการประหยัดพลังงาน โดยมีการวางแผนตามนโยบายทีแ่ ตกตางกันออกไป ตามความจําเปนในการใชงานและ งบประมาณในการลงทุนของหนวยงานนัน้ ๆ ซึง่ การอนุรกั ษพลังงานนอกจากลดตนทุนดานพลังงานแลวยังลดผลกระตอสิง่ แวดลอม และลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดอกี ดวย ยกตัวอยาง โรงพยาบาลพญาไท2
โรงพยาบาลพญาไท2
ลดพลังงานภายใตแนวคิด
Green Hospital
28
Energy#61_p28-30_Pro3.indd 28
11/19/13 10:48 PM
จากวิสยั ทัศนของผูบ ริหารโรงพยาบาล โดย นพ.อนันตศักดิ์ อภัยรัตน ผูอํานวยการ โรงพยาบาลพญาไท2 ที่ไดตระหนักถึงการ อนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มจึ ง ได มี แนวคิดทีด่ าํ เนินการประหยัดพลังงาน ภายใต แนวคิด Green Hospital เพือ่ เปนตัวอยาง ของโรงพยาบาลสีเขียว เพื่อที่จะไดรณรงค ส ง เสริ ม เผยแพร ค วามรู เทคโนโลยี การอนุรักษพลังงาน ใหกับหนวยงานตางๆ ที่มีความสนใจ และสรางความตระหนักใน การใชพลังงานอยางรูค ณ ุ คา การดํ า เนิน ตามนโยบายด านการอนุรั กษ พลั ง งานของโรงพยาบาลพญาไท2 นั้ น เริ่มจากการแตงตั้งที่ปรึกษาดานพลังงาน และคณะกรรมการดานพลังงานขึ้นมาเพื่อ
หาแนวทางการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานให เ กิ ด ประสิทธิภาพ โดยกําหนดออกมาเปนนโยบาย ดวยกัน 5 ขอ 1.การลดพลังงานลงใหได 10 % ในทุกป โดยไมมผี ลกระทบตอลูกคา หรื อ ผู ป ว ยที่ ม าใช บ ริ ก าร 2.ลดการสู ญ เสียพลังงานที่ไมจําเปน 3.การใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ 4.ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ขอบังคับที่เกี่ยวของกับเรื่องการประหยัด พลังงาน 5.การเปนองคกรที่เปนแบบอยาง แกองคกรอืน่ ๆ ดานการอนุรกั ษพลังงาน
ความเข า ใจเรื่ อ งการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ก า ร ก ร ะ ตุ น พ นั ก ง า น ผ า น กิ จ ก ร ร ม ประชาสัมพันธตางๆ ควบคูไปกับการสราง จิตสํานึกของการอนุรักษพลังงานตลอดจน ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การปรั บ ปรุ ง อุ ป กรณ ที่ มี อ ยู ใ ห มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง และประหยั ด พลังงาน ผานการลงทุนในเทคโนโลยีการ อนุ รั ก ษ พ ลั ง งานได อ ย า งเหมาะสม จึ ง กอใหเกิดผลการอนุรักษพลังงานไดอยาง ตอเนือ่ งและยัง่ ยืน
ทั้ ง นี้ ภ ายใต ก ารดํ า เนิ น ตามนโยบายด า น พลั ง งานดั ง กล า วทางโรงพยาบาลได ฝ ก อบรมดานจัดการพลังงานใหกับบุคลากร ทุ ก แผนก ทุ ก ระดั บ ชั้ น ตั้ ง แต ผู บ ริ ห าร ไปจนถึ ง ระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารให มี ค วามรู
โดยเริ่ ม ดํ า เนิ น การปรั บ เปลี่ ย นระบบ VSD Chiller ซึง่ เปน Chiller ประสิทธิภาพสูง ทีม่ รี ะบบ VSD คอยควบคุมคอมเพรสเซอร ที่อยูในเครื่อง Chiller ใหเกิดความเหมาะ สมกับโหลดและใหเกิดการประหยัดพลังงาน ณ จุดทีผ่ ลิตนํา้ เย็น ซึง่ จะประหยัดพลังงาน มากกวา Chiller รุน เกาทีต่ ดิ ตัง้ ระบบ VSD ควบคุมมอเตอรชลิ เลอรอกี ทีพรอมกันนีย้ งั ได ติดตัง้ ระบบ Chiller Plant Management System (CPMS) ระบบควบคุมและจัดการ เครือ่ งทําความเย็นอัตโนมัติ โดยเปนการรวม เครือ่ ง Chiller ไวทเี่ ดียวกันทัง้ หมด 4 ตัว แต เปดใชงานเพียง 2 ตัว และสํารองการใชงาน 2 ตัวเพือ่ สลับการทํางานกันในชวงเวลากลางวัน และกลางคืน ซึง่ ระบบ CPMS นีจ้ ะสามารถ ควบคุมการทํางานของระบบทําความเย็น หรือปรับอากาศทั้งหมดของโรงพยาบาลให เปนไปอยางมีประสิทธิภาพโดยระบบจะผลิต นํ้าเย็นแลวสงไปยังเครื่องปรับอากาศที่มี อยูใ นหองตาง ๆ ของแตละอาคารไดอยางมี ประสิทธิภาพ จากกอนหนานัน้ โรงพยาบาลพญาไท2 ติดตัง้ Chiller แยกการทํางานกันอาคารละ 2 ตัว และจะเปดการทํางานพรอมกันทัง้ หมด 4 ตัว ซึง่ ทําใหสนิ้ เปลืองพลังงานอยางมาก และจาก การเปลีย่ นมาใช VSD Chiller และรวมไวที่ เดียวกันจึงทําใหสามารถประหยัดพลังงานได มากกวา Chiller รุน เกาประมาณ 20-30 % และอี ก หนึ่ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของ Chiller รุนใหมนั้นจะถูกผลิตขึ้นมารองรับกับสาร ทําความเย็น R410A สารทําความเย็นทีเ่ ปน ตอสิง่ แวดลอม พรอมกันนีย้ งั ไดมกี ารติดตัง้ ระบบ VSD ควบคุมมอเตอรชุดจายลมเย็น ของอาคารอีก เรียกไดวา ชวยลดทัง้ พลังงาน และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมกันเลยทีเดียวครับ การเพิม่ ประสิทธิภาพดานการประหยัดพลังงาน โรงพยาบาลพญาไท2 ยั ง ได มี ก ารปรั บ เปลีย่ นมาใชหลอดไฟแอลอีดโี ดยไดเนนการ ติดตั้งในพื้นที่ที่ตองใชไฟ 24 ชั่วโมง เชน อาคารจอดรถ หรือบริเวณทางเดิน และในสวน ภายในออฟฟศ สํานักงานไดเปลี่ยนเปน 29
Energy#61_p28-30_Pro3.indd 29
11/19/13 10:48 PM
หลอดประหยัดพลังงาน T5 และหลอดตะเกียบ นอกจากนัน้ ก็จะมีการติดตัง้ ระบบเซนเซอร แสงสวาง บริเวณโถงทางเดิน เมื่อชวงเวลา ไม มี ค นเดิ น แสงสว า งจากหลอดไฟก็ จ ะ หรี่ลง เวลาคนเดินผานไฟก็จะสวางขึ้นชวย ประหยัดพลังงานไดเปนอยางดี นอกจากนีแ้ ลวยังไดตดิ ตัง้ โซลาร คอเลคเตอร (Solar Collector) ระบบผลิตนํ้ารอนดวย พลังแสงอาทิตย แทนการใชระบบฮีทปม (Heat Pump) หรือชุดอุปกรณผลิตนํา้ รอน ดวยไฟฟา และลดการผลิตนํา้ รอนดวยระบบ Boiler โดยจะใช Boiler ผลิตนํา้ รอนเฉพาะ ตอนกลางคื นช วยลดการใชแก สแอลพีจี ลง 24 ตันตอเดือน จากทีเ่ คยใชประมาณ 40 ตัน ตอเดือน ตลอดจนการติดตัง้ โซลารเซลลผลิต ไฟฟาสําหรับแสงสวางทางเขาโรงพยาบาล อีกระบบหนึง่ ทีใ่ ชในการประหยัดพลังงานของ โรงพยาบาลพญาไท2 คือระบบ Air to Air Heat Exchanger หรื อ ระบบการแลก เปลี่ยนอากาศ ซึ่งไดมีการติดตั้งทดลองใช ในหองสํานักงานที่มีพนักงานจํานวนมาก เพื่ อ เพิ่ ม อากาศบริ สุ ท ธิ์ ใ ห กั บ ออฟฟ ศ สามารถลดคารบอนไดออกไซดภายในหอง ชวยลดภาระการทํางานของเครือ่ งปรับอากาศ และประหยัดพลังงาน
อยางไรก็ตามเพือ่ ใหการประหยัดพลังงานของโรงพยาบาล พญาไท2 มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นที่นี่ยังไดติดตั้งระบบ Energy management system ซึ่งเปนระบบบริหาร จั ด การพลั ง งานแบบครบวงจรที่ ส ามารถควบคุ ม และ ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณประหยัดพลังงานได ทั้งหมด และสามารถตรวจสอบปริมาณคาไฟฟาในแตละ อุปกรณ แตละชวงวัน เวลา พรอมกันนี้การประหยัด พลังงานยังไดมกี ารหลีกเลีย่ งการใชพลังงานชวง On peak โดยเปลี่ยนเวลาการตมนํ้ารอนและเตรียมผาเช็ดตัวผูปวยในชวงเวลาที่คาไฟถูกในชวงเวลา 05.00 – 09.00 น. ซึง่ ชวยลดคาใชจา ยดานพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเปนไปตามวัตถุประสงคโรงพยาบาลแหงนี้ยังได ดําเนินโครงการประกวดนวัตกรรมการอนุรักษพลังงาน “The best innovation for P2 Green Hospital” ภายในองคกรเพือ่ พัฒนาตอยอดองคความรูเ พือ่ สรางความยัง่ ยืนดานการ อนุรกั ษพลังงานและรักษาสิง่ แวดลอมใหกบั โรงพยาบาล จากจุดเริม่ ตนทีพ ่ ฒ ั นาความรูจ ากการ อบรมไปสูก ารปฏิบตั ใิ นองคกร ไดอยางถูกตอง โดยพนักงานไดนาํ ความรูต า ง ๆ จากการอบรม สัมมนารวมถึงการดูงานมาประยุกตใชกบั การดําเนินการของโรงพยาบาล กอใหเกิดผลอยางเปน รูปธรรม และสรรคสรางนวัตกรรมขึน้ มาใหมอยางตอเนือ่ ง พรอมกันนี้ยังไดมีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหกับตัวอาคารเพื่อสรางอากาศบริสุทธิ์แก บุคลากรและผูปวย ตลอดจนการรณรงคใหบุคลากรมีการคัดแยกขยะเพื่อนําไป รีไซเคิล และรียสู เชน กระดาษทีน่ จี้ ะนํากลับมาใชใหมใหเกิดประโยชนสงู สุด และการนํา นํา้ จากหองไตเทียมมาบําบัดแลวนํามาใชกบั ชักโคก เปนตน ผลของการดําเนินการโรงพยาบาลพญาไท2 ณ ปจจุบนั สามารถลดการใชพลังงานได อยางตอเนือ่ ง ลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดถงึ 2,900 ตัน หรือคิด เปนลดการตัดตนไมลง 722 ตน และดัชนีการใชพลังงาน (kWh/IPD) ลดลงไดกวา 20 % เมื่อเทียบกับปกอ นทําโครงการ สวนในป 2557 โรงพยาบาลพญาไท2 มีเปาหมาย การลดใชพลังงานใหไดอกี 10 % เปนไปไดไมยากครับสําหรับเปาหมายในแตละปของโรงพยาบาลพญาไท2 ทีต่ งั้ เปาไว เพราะทีน่ เี้ ขามีการพัฒนาดานการประหยัดพลังงานอยางตอเนือ่ งเพือ่ นําไปสูเ ปาหมาย ทีส่ าํ คัญคือความยัง่ ยืน
30
Energy#61_p28-30_Pro3.indd 30
11/19/13 10:48 PM
Energy#61_p31_Pro3.ai
1
11/26/13
3:48 PM
Residence
“ฟิ ช เฮาส์ ” บ้านประหยัดพลังงานสุดเก๋ ที่สิงคโปร์ รังสรรค์ อรัญมิตร
บ้านเป็นได้มากกว่าวิมานบนดินเพราะว่าปัจจุบนั การออกแบบ บ้านหรือที่พักอยู่อาศัยนั้นนอกจากออกแบบให้ดูสวยงาม หน้ า อยู ่ แ ล้ ว การออกแบบให้ ส ามารถลดการใช้ พ ลั ง งาน เพื่อตอบสนองความต้องการของคนในยุคปัจจุบันยังเป็น ปั จ จั ย ส� า คั ญ ของผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย ที่ ต ้ อ งการคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี หลังจากที่ สภาพแวดล้อมเปลีย่ นแปลงไป อากาศร้อนมากขึน้ มลพิ ษ ทางอากาศและมลภาวะทางเสี ย งที่ มี ม าก ภายใต้ ความเจริญทางวัตถุเริ่มขยายสู่สังคมชนทบจากป่ากลายเป็น ป่ า ปู น ดั่ ง นั้ น หากจะออกแบบบ้ า นให้ ส ามารถเปิ ด รั บ ลม รับแสงธรรมชาติที่มีความปลอดภัยไรมลพิษและประหยัด พลังงานคงต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการออกแบบ ภายใต้การค�านึงถึงสภาพแวดล้อมและพื้นที่ตั้ง 32
Energy#61_p32-33_Pro3.indd 32
11/7/13 11:17 PM
การออกแบบอาคารหรื อ บ้ า นพั ก อาศั ย ในภูมิภาคเขตร้อนริมทะเลที่มีเสถียรภาพ ดู แ ลรั ก ษาง่ า ย ประหยั ด พลั ง งานและ ไม่ร้อนอบอ้าว ขอยกตัวอย่างการออกแบบ บ้านสมัยใหม่ที่ใส่ใจพลังงาน “ฟิชเฮ้าส์” บ้ า นพั ก ตากอากาศสุ ด หรู ส ไตล์ โ มเดิ ร ์ น ที่ ป ระเทศสิ ง คโปร์ ซึ่ ง เป็ น ผลงานการ ออกแบบของ บริ ษั ท Guz Architects โดยเน้นให้เป็นบ้านทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ประหยั ด พลั ง งาน และเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บ ธรรมชาติ ที่ตอบสนองความสะดวกสบาย ของผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย ตั่ ง แต่ มุ ม มองจากทาง เข้ า บ้ า น บริ เ วณรอบบ้ า น ที่ ดู ร ่ ม รื่ น ของ ต้ น ไม้ ใ หญ่ แ ละความสดใสของทะเลและ ท้องฟ้า โดยส่วนใหญ่เป็นต้นไม้เดิมของ ที่ดินที่มีอยู่ ซึ่งการออกแบบจะไม่พยายาม ตั ด ต้ น ไม้ แ ต่ จ ะตกแต่ ง ให้ ก ลมกลื น กั น ไป มี ก ารน� า พั น ธุ ์ ไ ม้ พื้ น ถิ่ น เข้ า มาตกแต่ ง เพิ่มกลิ่นอายในบรรยากาศริมทะเล ส่วนตัวบ้านหรือโครงสร้างบ้าน “ฟิชเฮ้าส์” ได้ รั บ การออกแบบให้ ส อดคล้ อ งกั บ สภาพอากาศที่ร้อนชื้นของประเทศสิงคโปร์ โดยผูอ้ อกแบบได้ออกแบบภายในห้องพักให้ สอดคล้องกับสิง่ แวดล้อมภายนอก ทัง้ รูปแบบ รูปทรง ในลักษณะ 360 องศาสามารถเปิด รั บ ลมธรรมชาติ แ ละแสงสว่ า งได้ ร อบทิ ศ เพือ่ ให้ผอู้ ยูอ่ าศัยมีความรูส้ กึ โล่ง โปร่ง สบาย โดยใช้สระว่ายน�า้ เป็นตัวเชือ่ มระหว่างตัวบ้าน กับภูมทิ ศั น์ดา้ นนอก ทัง้ ยังให้มมุ มองทีเ่ ชือ่ มต่อ และสอดรับกับท้องทะเล เรียกได้ว่าเป็นการ ระบายอากาศด้วยวิธธี รรมชาติไปในตัว และ ช่วยลดการใช้พลังงานของเครือ่ งปรับอากาศ แสงสว่างจากไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี ซึง่ นอกจาก ได้รับประโยชน์จากธรรมชาติมาช่วยในการ ลดใช้พลังงานแล้วผู้อยู่อาศัยยังสามารถ เปิดกระจกชมบรรยากาศวิวที่สวยงามของ ท้องทะเลทางด้านนอกได้อย่างเต็มที่
แนวคิดดังกล่าวยังรวมถึงการออกแบบให้ “มีเดียรูม” หรือห้องดูหนังฟังเพลงที่อยู่ บริ เ วณชั้ น ใต้ ดิ น มี ผ นั ง ที่ ท� า ด้ ว ยกระจก อะครีลิกรูป “ตัวยู” เพื่อให้แสงสว่างจาก ธรรมชาติเข้าถึงและยังมองเห็นสระว่ายน�้าที่ โอบล้อมอยู่บริเวณด้านนอกอีกด้วย เพื่ อ ให้ เ กิ ด การใช้ พ ลั ง งาน อ ย ่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ บริ เ วณหลั ง คาได้ รั บ การ ออกแบบติ ด ตั้ ง แผงเซลล์ แสงอาทิตย์ชนิดบางและโค้งงอ เต็มพืน้ ทีห่ ลังคาเพือ่ ให้สามารถ รองรั บ พลั ง งานได้ เ พี ย งพอ ส�าหรับใช้งานในบ้านทัง้ หลัง ส่วนหลังคาตรงระเบียงห้อง นั่งเล่นและลานจอดรถที่ไม่ได้ ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ก็ ไ ด้ รั บ การออกแบบให้ มี ลักษณะเป็น “กรีนรูฟ” หรือ หลั ง คาที่ มี ส นามหญ้ า และ ต้ น ไม้ อ ยู ่ ท างด้ า นบน เพื่ อ ให้ ผู ้ พั ก อาศั ย ได้ อ ยู ่ ใ กล้ ชิ ด ธรรมชาติ ทั้งยังสามารถใช้ ประโยชน์จัดกิจต่างๆ หรือขึ้น ไปเดินเล่นชมวิวได้ ด้วยเหตุนี้ “ฟิชเฮ้าส์” จึงเป็นบ้านพัก ตากอากาศที่ ม อบทั้ ง ความ หรู ห รา สะดวกสบาย และ ยั ง ช่ ว ยให้ ผู ้ พั ก อาศั ย ได้ ใ ช้ ชี วิ ต แบบเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บ ธรรมชาติอย่างแท้จริง
เ รี ย ก ไ ด ้ ว ่ า ก า ร อ อ ก แ บ บ ต ้ อ ง ใ ห ้ ครอบคลุมปัจจัยพื้นฐานต่างๆ รอบด้าน ครบถ้ ว นทุ ก มิ ติ ทั้ ง ความเหมาะสมของ สภาพแวดล้ อ ม กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ระบบภูมอิ ากาศ ทิศทางกระแสลม แสงแดด ลักษณะเฉพาะของที่ดิน วัฒนธรรม ศิลปะ ประเพณี ตลอดจน การตลาดทีต่ อ้ งตอบโจทย์ ชัดเจนเพื่อความส�าเร็จของโครงการมาก ที่สุดนั่นเอง หากสนใจจะน�าเอาแนวทางการ ออกแบบ“ฟิชเฮ้าส์”บ้านประหยัดพลังงาน สุดเก๋ที่สิงคโปร์หลังนี้ก็เหมาะดีครับส�าหรับ สภาพอากาศแบบไทย...แล้วเล่มหน้าจะพาไป เยือนรีสอร์ทแบบพอเพียงทางภาคเหนือ ของไทยรับเทศกาลปีใหม่ 33
Energy#61_p32-33_Pro3.indd 33
11/7/13 11:15 PM
Energy Design ณ อรัญ
âçàÃÕ¹¨Ò¡ÍÔ°ÃÕä«à¤ÔÅ ³ ËÁÙ‹ºŒÒ¹¶§à¨Õ§ »ÃÐà·È¨Õ¹ สถาปตยกรรมในปจจุบันจะถูกออกแบบใหคํานึงถึงสภาพแวดลอม การประหยัดพลังงานมากขึน้ ซึง่ แสดงใหเห็นวาผูอ อกแบบหรือสถาปนิก ใหความใสใจในการรักษาสภาพแวดลอมของโลกมากกวาการทีจ่ ะคํานึง เพียงแคความสวยงาม หรือความคุม คาทางเศรษฐศาสตรเพียงอยางเดียว โดยการออกแบบที่คํานึงถึงการประหยัดพลังงานและสิ่งแวดลอมนั่นมี หลักเกณฑการออกแบบที่แตกตางกันออกไปตามความเหมาะสมของ สภาพแวดลอม รวมไปถึงการเลือกใชวสั ดุทเี่ หลือใช หรือเหลือใชวสั ดุทอ งถิน่ ซึง่ เปนอีกแนวทางหนึง่ ของการออกแบบเพือ่ ลดใชพลังงานและลดคาใชจา ย
34
Energy#61_p34-35_Pro3.indd 34
11/22/13 10:23 PM
เพือ่ ลดตนทุนดานวัสดุกอ สรางและตอบโจทย การประหยัดพลังงาน ผูออกแบบและคณะ ทํางานไดเลือกใชวัสดุที่ผานการใชงานแลว อยางอิฐ กระเบือ้ ง ขยะ รีไซเคิลและ เศษอิฐ เศษหิน ทีไ่ ดจากการรือ้ บานเรือนเกาในชุมชน แถบนี้ นํามารีไซเคิลแลวสรางเปนอาคารเรียน ขนาดใหญ ทดแทนอาคารเรียนหลังเดิม ดานการออกแบบเพือ่ ตอบโจทยการประหยัด พลังงานนั้นไดออกแบบผนังในสวนทางเดิน มี ก ารก อ อิ ฐ เว น เป น ช อ งตารางสี่ เ หลี่ ย ม เพือ่ กันความรอนจากแสงแดด และใหอากาศ สามารถถ า ยเทสะดวก ซึ่ ง การออกแบบ ยังสามารถชวยใหรักษอุณหภูมิความรอน ไดเปนอยางดีใชวงฤดูหนาว สวนโครงสราง หลั ก ของอาคารเป น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก เพือ่ ความมัน่ คงแข็งแรง
แกปญ หาโดยใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมอาคาร เรียนหลังนี้จึงถือเปนอาคารที่สรางขึ้นบน พืน้ ฐานของทรัพยากรและภูมปิ ญ ญาทองถิน่ ผสมผสานกับองคความรูสมัยใหมไดอยาง ลงตัว ทีส่ าํ คัญเปนตัวอยางของการออกแบบ ที่ใชทรัพยากรที่มีนอยใหเกิดประโยชน ได อยางมีประสิทธิภาพ
ในสวนหลังคามีการใชดนิ และปลูกพืชคลุมดิน เพือ่ ลดความรอน และยังมีการเจาะชองแสง เพื่อนําแสงธรรมชาติจากภายนอกเขามา สูภายในอาคารเพื่อลดการใชไฟฟาในเวลา กลางวัน ดวยทักษะการออกแบบและการ ทั้งนี้การออกแบบที่คํานึงถึงการประหยัด พลั ง งานและความพอเพี ย งโดยนํ า หลั ก แนวคิ ด ของภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ผสมกั บ เทคโนโลยี ส มั ย ใหม ข องการออกแบบนั้ น ไมไดมใี นประเทศไทยอยางเดียว ยกตัวอยาง ปรัชญาการออกแบบโรงเรียนประถม ณ หมูบ า นถงเจียง (Tongjiang) ในเมืองเฉิงตู เมืองเอกของมณฑลเสฉวน ประเทศจีน ซึ่ง เปนผลงานการออกแบบ ของ Mr. John Lin และคณะทํางาน Rural Urban Framework (RUF) ถูกออกแบบภายใตขอจํากัดของ นักเรียนที่มีจํานวนเพิ่มขึ้น และขอจํากัด ในเรือ่ งงบประมาณของการกอสราง โดยเปน ความทาทายใหมของผูอ อกแบบทีต่ อ งพึง่ พา วัสดุดบิ ในทองถิน่ เนือ่ งจากทีต่ งั้ ของโรงเรียน แหงนีน้ นั้ อยูใ นพืน้ ทีช่ นบทอันหางไกลตัวเมือง โดยชาวบ า นในชุ ม ชนประกอบอาชี พ เกษตรกรรมซึง่ มีรายไดไมมาก โอกาสในการ จัดหาทรัพยากรในการกอสรางจึงนอยตาม
แนวคิ ด ที่ สํ า คั ญ ของการออกแบบ คื อ ออกแบบใหอาคารดูกลมกลืนกับธรรมชาติ สิ่ ง แวดล อ มในท อ งถิ่ น ประกอบกั บ การ ออกแบบใหมีหองสมุดเพื่อเปดโอกาสให ชาวบานในชุมชนใกลเคียงสามารถเขามาใช ประโยชนไดอยางเต็มที่ สําหรับอาคารเรียน หลังใหมนี้ประกอบดวยหองเรียน 11 หอง สามารถรองรับนักเรียนไดถงึ 450 คน เพิม่ ขึน้ จากอาคารเดิมทีร่ องรับไดเพียง 220 คน เรียกไดวา เปนการออกแบบใหเกิดความยัง่ ยืน บนพื้นฐานของความพอเพียงผสมผสาน การใชเทคโนโลยีสมัยใหมไดอยางลงตัวใน บริบทโดยรอบ อยางไรก็ตามการเลือกใช วั ส ดุ ที่ เ ป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ มที่ เ น น วั ส ดุ ที่หาไดงายในทองถิ่นนับเปนปจจัยสําคัญ ของผู อ อกแบบในป จ จุ บั น ที่ ไ ด คํ า นึ ง ถึ ง การคิดคนและพัฒนาวัสดุใหมๆ อยูต ลอดเวลา เพือ่ การออกแบบทีม่ คี วามยัง่ ยืน 35
Energy#61_p34-35_Pro3.indd 35
11/22/13 10:23 PM
Energy Knowledge Rainbow
ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁ‹ ÇԨѾÅѧ§Ò¹·´á·¹ à»ÅÕ่¹ÊÒËËÒÂãˌ໚¹¹ํ้ÒÁѹªÕÇÀÒ¾
“
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ทําการวิจยั พลังงานทดแทนจากแพลงตอนพืช “สาหรายขนาดเล็ก” สูก ระบวนการทางเคมีแปรรูปเปนนํา้ มันชีวภาพ “ไบโอดีเชล” หวังลดตนทุนเชือ้ เพลิงในอนาคต
”
รศ.ดร.ยุวดี พีรพรพิศาล จากหองปฏิบตั กิ ารวิจยั สาหรายประยุกต สาขาวิชาจุลชีววิทยา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม เปดเผยถึงทีม่ าของการทําวิจยั ครัง้ นีว้ า ปจจุบนั เปนทีท่ ราบ กันดีวา เชือ้ เพลิงจากถานหินใกลจะหมดไปจากโลก โอกาสทีพ ่ ชื ในยุค ปจจุบนั จะกลายเปนฟอสซิลถานหินคงไมมอี กี แลว นักวิทยาศาสตรจงึ พยายามหาพลังงานจากแหลงใหม ๆ ซึง่ คงหนีไมพน พลังงานชีวภาพ ทีโ่ ลกของเรายังสามารถผลิตไดอยางตอเนือ่ งและไมมวี นั หมด มีสงิ่ มีชวี ติ เล็ก ๆ อีกชนิดหนึง่ ทีก่ าํ ลังเปนทีก่ ลาวขวัญกันวา สามารถให พลังงานแกโลกของเราดวยศักยภาพสูงและไมมวี นั หมด บางคนใหความ เห็นวาสิ่งมีชีวิตนี้เปนความหวังเดียวของโลกที่สามารถจะใหพลังงาน แกมนุษยชาติอยางไมจํากัดเวลา สิ่งมีชีวิตนี้ คือ สาหรายขนาดเล็ก (microalgae) ซึ่งเรามักพบเห็นโดยทั่วไปทั้งในนํ้า บนบก เราเรียก สาหรายขนาดเล็กนี้วา “แพลงตอนพืช” สาหรายขนาดเล็กเหลานี้ ดํารงชีวติ อยูไ ดดว ยการสังเคราะหแสง ทีต่ อ งใชกา ซคารบอนไดออกไซด และนํา้ เปนวัตถุดบิ ผลลัพธทไี่ ด คือ นํา้ ตาลซึง่ เปนอาหารของพืชและ กาซออกซิเจน จากกระบวนการนีจ้ ะมองเห็นประโยชนทยี่ งิ่ ใหญของสาหรายอีกอยาง หนึง่ คือ การใชกา ซคารบอนไดออกไซด จึงเทากับวาสาหรายเหลานีช้ ว ย ลดกาซเรือนกระจก พรอมกันนัน้ ยังใหกา ซออกซิเจนแกแหลงนํา้ หรือ สิง่ แวดลอม ซึง่ ความสําคัญตรงนีย้ งิ่ ใหญใกลเคียงกับพืชหรือตนไมที่ เรายกยองกันวาเปนสิง่ มีชวี ติ ทีช่ ว ยลดกาซเรือนกระจกเลยทีเดียว ความ สําคัญของสาหรายดังกลาวนับวาชวยในเรือ่ งสิง่ แวดลอมไดเปนอยางดี 36
Energy#61_p36-37_Pro3.indd 36
11/14/13 8:41 PM
สาหรายขนาดเล็กเองก็มีสิ่งที่ไดเปรียบพืช นํา้ มันอืน่ ๆ อีกหลายประการ นอกจากจะมีกรด ไขมันสูงดังทีก่ ลาวมาแลว สาหรายขนาดเล็ก ยังเพาะเลี้ยงงาย ใชสารอาหารที่ไมซับซอน มากนัก เก็บเกีย่ วไดเร็ว ราว 2-3 อาทิตยก็ เก็บเกีย่ วไดแลว นํา้ เลีย้ งสาหรายยังสามารถ เลีย้ งสาหรายรุน ตอไปไดอกี หลายครัง้ ในการเลี้ยงสาหรายขนาดเล็ก ใชพื้นที่นอย มาก เมื่อเทียบกับการปลูกพืชนํ้ามันชนิด อืน่ ๆ และยังใชแรงงานนอยกวาการปลูกพืช นํา้ มันชนิดตาง ๆ อีกดวย ขอไดเปรียบเหลานี้ นํามาซึ่งความหวังที่จะไดนํ้ามันจากสาหราย ขนาดเล็ก ผลการวิจัย ทั้งในประเทศแถบ ทวีปอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย แมกระทั่ง ในเอเชีย มีกลุม นักวิจยั ทีท่ าํ งานวิจยั เกีย่ วกับ สาหรายนํา้ มัน หรือนํา้ มันจากสาหรายมาเปน
ระยะเวลานานพอสมควร และผลการวิจัยก็ ดีขึ้นมาตามลําดับ ไมวาจะเปนทีม ปตท. ที่ กรุงเทพมหานคร หรือทีมเชียงใหม (Chiang Mai Cluster) ทีป่ ระกอบไปดวยมหาวิทยาลัย เชียงใหม มหาวิทยาลัยแมโจ และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา สําหรับผลงานวิจัยอยูในระดับที่นาพึงพอใจ และนับเปนโอกาสอันดีที่กลุมเชียงใหมได รับทุนสนับสนุนการทําวิจัยในเรื่องพลังงาน ชีวภาพของสาหรายขนาดเล็ก จาก บริษัท แอลวี เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ซึง่ เปนบริษทั ที่สรางโรงงานปูนซีเมนตในประเทศตาง ๆ ซึ่งกระบวนการผลิตปูนซีเมนตจะเกิดกาซ คารบอนไดออกไซดปริมาณมาก ถานํากาซ คารบอนไดออกไซดเหลานี้มาเลี้ยงสาหราย ขนาดเล็กใหเจริญได แลวนํามวลของสาหราย มาใชเปนพลังงานอีกทางหนึง่ ใหกบั โรงงานก็ นาจะเปนแนวคิดทีด่ ี
รศ.ดร.ยุวดี กลาวตอวา เซลลของสาหราย เหลานีม้ กี รดไขมันคอนขางสูง เมือ่ เทียบกับ พืชอืน่ ๆ โดยทัว่ ไปจะมีราว 20% แตบางชนิด อาจมีถงึ 60-70% ถาสามารถเลีย้ งสาหราย ขนาดเล็กเหลานีไ้ ดปริมาณมาก ๆ แลวนํามา ผานกระบวนการทางเคมี ทีเ่ รียกวา เอสเทอริฟเคชัน (esterification) ในที่สุดก็จะได ไบโอดีเซล ซึง่ ใชเปนนํา้ มันเติมรถไดเลย หรือ อาจใชกระบวนการทางกายภาพโดยการเผา ดวยความรอนสูง ๆ ที่เรียกวา ไพโรไลซิส (pyrolysis) ซึง่ เปนกระบวนการเปลีย่ นแปลง องคประกอบทางเคมีโดยใชความรอน ใน สภาวะไรอากาศ ซึง่ ในทีส่ ดุ ก็จะไดนาํ้ มันออก มาเชนกัน นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการอืน่ ๆ อีกหลายอยางที่สามารถเปลี่ยนชีวมวลของ สาหรายเปนนํา้ มันได อยางไรก็ตามงานวิจยั สาหรายนํา้ มัน ยังตองดําเนินการศึกษาตอไปอีกสักระยะหนึง่ และจะเปน ประโยชนตอมนุษยชาติจริง ๆ ก็ตอเมื่อสามารถลดตนทุนการผลิตไดอยางสมเหตุสมผล ซึง่ ณ เวลานัน้ เราคงไดนาํ้ มันจากสาหรายไปใชเติมรถกันแลว
37
Energy#61_p36-37_Pro3.indd 37
11/14/13 8:41 PM
Tools & Machine Mr.T
คอมเพรสเซอร์ลูกสูบแบบเซมิ-เฮอร์เมติก รุ่นโคปแลนด์สตรีม
การลดต้นทุนด้านพลังงานเป็นหัวใจส�าคัญ ของภาคอุตสาหกรรมซึง่ ปัจจุบนั มีเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ถูกผลิตออกมารองรับความต้องการ ประหยั ด พลั ง งานกั น มากขึ้ น โดยระบบ ท�าความเย็นนั้นเป็นอีกระบบหนึ่งที่มีความ จ�าเป็นอย่างมากส�าหรับใช้ลดต้นทุนด้าน พลั ง งานของผู ้ ป ระกอบซู เ ปอร์ ม าร์ เ ก็ ต ธุรกิจค้าปลีกอาหารสดห้องเย็นหรือธุรกิจ ที่ต้องการใช้ความเย็นเป็นส่วนส�าคัญของ กระบวนการผลิต ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การยกระดั บ คุ ณ ภาพ ชี วิ ต ของผู ้ บ ริ โ ภคเจ้ า ของธุ ร กิ จ ต้ อ ง เลื อ กเทคโนโลยี ร ะบบท� า ความเย็ น ที่ มี ประสิทธิภาพเพือ่ เก็บรักษาอาหารให้สะอาด ปลอดภัยในทุกขั้นตอนตั้งแต่การผลิตการ แปรรูปการขนส่งและการจัดเก็บซึ่งจะข่วย ให้อาหารมีคุณภาพและผู้บริโภคมีสุขภาพ อนามัยที่ดีขึ้น
ค อ ม เ พ ร ส เ ซ อ ร ์ ลู ก สู บ แบบเซมิ - เฮอร์ เ มติ ก รุ ่ น โคปแลนด์สตรีมนั้นเป็นทาง เลือกหนึง่ ของผูป้ ระกอบการ ที่ ต ้ อ งการเทคโนโลยี ร ะบบ ท�า ความเย็น ที่มีคุณสมบัติ ยืดหยุ่นสามารถใช้กับสาร ท�าความเย็นได้หลากหลาย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพได้ ม าก ขึ้นถึง 10 % เมื่อใช้กับสาร ท�าความเย็นชนิดR-404A ซึ่งผู้ติดตั้งและ ผู้ใช้งานสามารถเลือกได้ตามความต้องการ ทั้ ง เทคโนโลยี อิ น เวอร์ เ ตอร์ ห รื อ ดิ จิ ต อล โมดู เ ลชั่ น เพื่ อ การลดการใช้ พ ลั ง งานและ ลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยคอมเพรสเซอร์ โ คปแลนด์ ส ตรี ม มีให้เลือกทั้งแบบ 4 สูบและ 6 สูบสามารถ ใช้ กั บ สารท� า ความเย็ น HFCที่ ใ ช้ ทั่ ว ไปใน ปัจจุบันของคอมเพรสเซอร์แบบเซมิ-เฮอร์ เมติก ระบบดิจิตอลส�าหรับ การปรับ ก�าลัง การผลิตอย่างต่อเนื่องได้ง่ายดายรวมทั้ง กลุ่มที่ออกแบบส�าหรับแอพลิเคชั่นที่ใช้สาร ท�าความเย็น Co2 และภายใต้ประสิทธิการประหยัดพลังงาน คอมเพรสเซอร์ โคปแลนด์ ส ตรี ม ได้ พัฒนาเทคโนโลยีของวาล์ว Discus TM ใหม่ ซึ่ ง ท� า ให้ เ สี ย งเงี ย บลงได้ ม ากที่ สุ ด ถึง 7 เดซิเบลซึ่งถือว่าต�่าและมีประสิทธิภาพ มากยิ่ ง ขึ้ น รวมทั้ ง ลดค่ า ใช้ จ ่ า ยในการใช้ พลั ง งานได้ ถึ ง 15 % นอกจากนี้ แ ล้ ว ผลิตภัณฑ์ใหม่นยี้ งั ประกอบด้วย CoreSense
Diagnostics ซึ่งเป็นโมดูลอิเล็กทรอนิกส์ ทีใ่ ห้การปกป้องคอมเพรสเซอร์ได้เป็นอย่างดี รวมทัง้ มีประโยชน์ในการช่วยให้ระบบมีความ เสถียรมากขึ้นอีกด้วย อย่างไรก็ตามคอมเพรสเซอร์โคปแลนด์สตรีม ยั ง เป็ น โซลู ชั่ น ส� า หรั บ ระบบท� า ความ เย็ น แบบครบวงจรและเป็ น โซลู ชั่ น ที่ เน้ น แอพพลิ เ คชั่ น เพื่ อ การใช้ ง านใน ซูเปอร์มาร์เก็ตที่ช่วยให้เกิดความสะดวก ในการบ� า รุ ง รั ก ษาเชิ ง ป้ อ งกั น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� า งานพร้ อ มกั น นี้ คอมเพรสเซอร์ลูกสูบแบบเซมิ-เฮอร์เมติก รุ ่ น โคปแลนด์ ส ตรี ม ยั ง สามารถรองรั บ การใช้งานในธุรกิจค้าปลีกอาหารห้องเย็น และบริ ก ารอาหารซึ่ ง มุ ่ ง เน้ น ความคุ ้ ม ค่ า มากขึ้ น ที่ ลู ก ค้ า จะได้ รั บ จากการเลื อ กใช้ คอมเพรสเซอร์ ร ะบบควบคุ ม และความ เ ชี่ ย ว ช า ญ ด ้ า น อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ ข อ ง คอมเพรสเซอร์ที่มีให้เลือกอย่างครบวงจร ส� า หรั บ หลั ก การท� า งานของคอมเพรส เ ซ อ ร ์ โ ค ป แ ล น ด ์ ส ต รี ม โ ซ ลู ชั่ น ร ะ บ บ ท� า ค ว า ม เ ย็ น แ บ บ ค ร บ ว ง จ ร นี้ ยั ง ไ ด ้ พั ฒ นาเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นเทคโนโลยี คอมเพรสเซอร์ส�าหรับระบบท�าความเย็น ระบบควบคุ ม เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ระบบการตรวจสอบเครื อ ข่ า ยระยะไกล และอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม ขั้ น ตอนการท� า งาน (flowcontrol) ระบบควบคุมดังกล่าวยัง สามารถเชื่อมต่อกับแพลตฟอร์มการตรวจ สอบระยะไกลซึ่งสามารถท�าการตรวจสอบ ได้ตลอด 24 ชั่วโมงช่วยให้การใช้พลังงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและอาหาร ยังคงคุณภาพสูงอีกด้วย
38
Energy#61_p38_Pro3.indd 38
11/7/13 11:21 PM
Energy#58_p23_Pro3.ai
1
8/28/13
9:58 PM
Energy Tips เด็กเนิรด
ใครทีก่ าํ ลังเลือกซือ้ เครือ่ งทํานํา้ อุน สําหรับบานใหม เรามีคาํ แนะนําดี ๆ ในการเลือกซือ้ เครือ่ งทํา นํ้าอุนมาฝาก เครื่องทํานํ้าอุนเปนเครื่องใชไฟฟาที่คอนขางกินไฟ ดังนั้น กอนการเลือกซื้อ เครื่องทํานํ้าอุนควรศึกษาขอมูลในการเลือกซื้ออยางรอบคอบ ดังนี้ ชนิดของเครื่องทํานํ้าอุน
เครือ่ งทํานํา้ อุน ไฟฟาแบงชนิดของการทําความรอนได 3 ชนิด ดวยกัน ไดแก 1.หมอตมทองแดง ขอดีของหมอตมชนิดนี้ สามารถทนทานความรอนไดดี อายุการใชงานนาน ไมรั่วซึม และปลอดภัยกวา 2.หมอตมกริลลอน เปนหมอตมพลาสติกแบบทนความรอนสูง ราคาถูก แตมีอายุการใชงานสั้น แตกรั่วงาย 3.หมอตมแบบขดลวดทองแดง ขอดีของแบบขดลวดทองแดง สามารถ ทําความรอนไดเร็ว แตควรระวังเรื่องหินปูนที่อาจอุดตันไดงาย
ตัวตัดไฟอัตโนมัติ
อุปกรณปองกันไฟดูด โดยการตัดไฟอัตโนมัติ หากมีไฟฟารั่วไหล แบงได 2 ชนิด ดวยกัน คือ 1.แบบ ELCB หรือ ELB เปนตัวตัดไฟอัตโนมัตทิ ไี่ ดรบั ความนิยมสูง หนาตา มีลักษณะเปนแทงสี่เหลี่ยมสีดํา เหมือนกับเซฟตี้เบรกเกอรของเครื่องปรับ อากาศ และปมนํ้า ขอดีของ ELCB คือ ทนทาน ปลอดภัยแนนอน และหา อะไหลไดงาย 2.แบบ ESD เปนแผงวงจรตัดไฟอิเล็กทรอนิคสเล็ก ๆ สามารถตัดไฟได อยางรวดเร็ว หากมีกระแสไฟรัว่ ไหลออกมานิดเดียว แตมอี ายุการใชงานสัน้ หาอะไหลยาก
การประหยัดพลังงาน
เครื่องทํานํ้าอุนถือเปนเครื่องใชไฟฟาที่กินไฟพอสมควร การ เลือกซื้อเครื่องใชไฟฟาประหยัดพลังงานเบอร 5 เปนสิ่งแรก ที่ควรนึกถึงอยางยิ่ง สําหรับการเลือกซื้อเครื่องทํานํ้าอุนอาจ เลือกที่มีถังนํ้าภายในตัวเครื่องและมีฉนวนหุม เพราะชวยลด การใชพลังงานไดถึง 10-20% ทั้งนี้ อาจพิจารณาเพิ่มเติม ที่หั วฝ ก บัวดวย ถาเปน หัวฝก บัวแบบประหยัดนํ้า (Water Efficient Showerhead) จะชวยประหยัดนํา้ มากกวาหัวฝกบัว ทั่วไปถึง 25-75% ขอบคุณขอมูลจาก http://www.infinitydesign.in.th
ทั้งนี้ หากเครื่องทํานํ้าอุนไมมีระบบปองกันไฟดูดที่ทางผูผลิตใสมาใหเลย แนะนําใหติดตั้งตัวตัดไฟ ELCB เพิ่มเติม เพื่อเสริมความปลอดภัยเขาไป แตหากที่ตัวเครื่องมีการติดตั้งระบบตัดไฟแบบ ELCB อยูแลว อันนี้ก็ ไมจําเปนตองติดตั้งตัวตัดไฟเพิ่มเติม แตหากเปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิคส แบบ ESD อาจจําเปนตองติดตั้งตัวตัดไฟ ELCB เพิ่มเติม เพื่อเสริมความ ปลอดภัยเขาไปดวย เพราะหากแผงวงจรดานในเกิดชํารุดเสียหาย จะไดมี ตัวตัดไฟแบบ ELCB เปนตัวสํารองความปลอดภัยอีกชั้นหนึ่ง
ตัวตัดไฟโดยวัดจากอุณหภูมิ
หากซือ้ เครือ่ งทํานํา้ อุน ใหม ควรดูวา มีระบบตัดไฟโดยวัดจากอุณหภูมหิ รือไม ซึ่งจะทําหนาที่ตัดไฟเวลานํ้าอุนรอนไดระดับ สามารถแบงได 2 ชนิด คือ 1.แบบตัดอัตโนมัติและตอโดยอัตโนมัติ ถือเปนระบบตัดไฟที่สะดวกและ งายตอการใชงานมากที่สุด โดยจะตัดไฟเมื่อมีอุณหภูมิสูงผิดปกติ และจะ ตอใหเองโดยอัตโนมัติหากอุณหภูมิกลับมาปกติอีกครั้ง 2.แบบตัดอัตโนมัติและตอไมอัตโนมัติ เปนระบบที่เนนความปลอดภัย เปนหลัก โดยจะทําการตัดไฟหากมีอุณหภูมิผิดปกติ และตองกดปุมรีเซ็ต ทีต่ วั Thermostat เพือ่ ยกเลิกการตัดไฟ ตรงนีอ้ าจเรียกชางมาตรวจสอบ ปญหาที่เกิดขึ้น เมื่อระบบไดตัดไฟไปแลวเพื่อความปลอดภัย 40
Energy#61_p40-41_Pro3.indd 40
11/14/13 8:51 PM
เทคนิคประหยัดพลังงานแบตเตอรี่ Windows Phone 8 ปรับคาความสวางหนาจอ โดยปกติความสวางของหนาจอ Nokia Lumia 920 และ Lumia 820 คอนขางสวางมาก เพื่อใหดูโดดเดนและสีสันสดใส สามารถมองเห็น ไดดีในที่รม หากตองการประหยัดแบตเตอรี่มากขึ้น ควรปด “Automatic Brightness setting” และเลือกใหหนาจอแสดงผลเปน low หรือ medium ก็พอ โดยเขาไปตั้งคาที่ Settings > brightness
โทรศัพท Nokia Lumia Windows Phone 8 มาพรอม กับแบตเตอรี่ที่มีระยะเวลาการใชงานยาวนานพอสมควร ไมวาจะเปน Nokia Lumia 920 หรือ Nokia Lumia 820 ในบางครัง้ คุณอาจจําเปนตองประหยัดแบตเตอรีโ่ ทรศัพท ไวใชงานในเวลาสําคัญ ในขณะทีแ่ บตเตอรีเ่ หลือนอยลงทุกที ทราบหรือไมวา…โทรศัพท Windows Phone 8 ทุกรุน มีฟงกชั่น การใชงาน ที่เรียกวา “Battery Saver” โดยเฉพาะ เมื่อคุณเปดใช งานโทรศัพท ฟงกชั่นที่วานี้จะปดการทํางานของแอพ ที่กําลังทํางาน อยู เชน ปดการเช็คอีเมลตามระยะเวลาที่กําหนด, ปดการแจงเตือน โดยอัตโนมัติ ซึง่ จะชวยยืดระยะเวลาการใชงานแบตเตอรีใ่ หยาวนานขึน้ นอกจากจะเปดใชงาน “Battery Saver” แลว มีสิ่งที่ควรทําตอ ดังตอไปนี้
ตั้งคา Location Services มีแอพพลิเคชัน่ หลายตัวบน Windows Phone 8 ทีใ่ ชงาน Location services และตองอัพเดทสถานที่อยูของคุณตลอดเวลา ซึ่งการ อัพเดทสถานที่ตลอดเวลาจะทําใหเปลืองแบตเตอรี่มาก หากตองการ ประหยัดแบตเตอรี่ใหใชงานไดนานขึ้น ควรปดการใชงาน Location Service ไปกอน เมื่อไมไดใชงานโทรศัพท ใหเขาไปที่ Settings > Location เพื่อตั้งคาปดการใชงาน ตั้งเวลาปดหนาจอ เปลี่ยนการตั้งคาเวลาปดหนาจอโดยอัตโนมัติใหเหลือนอยที่สุด เพื่อ ลดการสิ้นเปลืองพลังงาน หลังจากที่คุณไมไดใชงานโทรศัพท โดย เขาไปตั้งคาที่ Settings > Lock + Wallpaper หากปฏิบตั ติ ามคําแนะนําดังกลาว รับรองวาจะชวยประหยัดแบตเตอรี่ Windows Phone 8 และยืดระยะเวลาการใชงานไดนานขึน้ แนนอน… ขอบคุณขอมูลจาก http://www.wdsphonetablet.com
ปด WiFi หากคุณไมปด ไวไฟของโทรศัพทไว wireless card จะ scan หาคลืน่ สัญญาณไวเลสทีส่ ามารถเชือ่ มตอไดตลอดเวลา และแจงเตือนเมือ่ พบ สัญญาณที่สามารถเชื่อมตอได ทําใหเปลืองแบตเตอรี่โดยไมจําเปน แนะนําใหปด ไวไฟไว เมือ่ ไมตอ งการเชือ่ มตอกับ wireless network Sync E-mail ใหนอยลง หากไมเปดใชงานโหมด Battery Saver โทรศัพทจะดําเนินการ sync mail กับ server ตามระยะเวลาทีค่ ณ ุ ตัง้ ไว เชน 15 นาที หรือ 30 นาที เพือ่ เปนการประหยัดแบตเตอรี่ Windows Phone 8 แนะนําใหตงั้ คา sync email ใหนอยลง
25 41
Energy#61_p40-41_Pro3.indd 41
11/14/13 8:51 PM
How To Rainbow
เนรมิตเก้าอี้ตัวเก่า ให้ดูใหม่ น่านั่ง นับวันแฟชั่นเปลี่ยนไปตามฤดูกาล ตามสไตล์คนรุ่นใหม่ ดังนั้นอยายอมใหเกาอี้ตัวโปรดของเรา นอยหนา มาแปลงโฉมเกาอี้ตัวเกาดวย เบาะรองนั่งและที่ครอบพนักเกาอี้สุดเก ไกที่ถอดเปลี่ยนได แคนี้ก็อินเทรนด ได ตลอดเวลาแลว
อุปกรณ
1. เตรียมผาตามขนาดของเกาอี้และ พนักพิงเกาอี้ โดยเผื่อผาโดยรอบดานละ 1 เซนติเมตร อยางละ 2 ชิ้น 2. ริบบิ้น จํานวน 2 เสน (ดูใหความยาว พอเหมาะกับขนาดของที่นั่ง) 3. ใยสังเคราะหสําหรับยัดเบาะ 4. สายวัด เข็มหมุด เข็ม ดาย และกรรไกร กอนอื่นตองวัดขนาดของเกาอี้และที่นั่ง เพื่อตัดผาตามขนาด โดยเผื่อผาโดยรอบ ดานละ 1 เซนติเมตร
วิธีทําเบาะรองนั่ง
1. ประกบผาดานถูกเขาหากันแลวเย็บริม โดยรอบ เวนชองไวประมาณ 10 นิ้ว สําหรับกลับ ชิ้นงานและยัดใยสังเคราะห (ถามีสวนโคงใหขริบตรง สวนโคง เพื่อความมนสวยเวลากลับชิ้นงาน) 2. กลับชิ้นงาน แลวยัดใยสังเคราะหเขาไปหนาบาง ตามชอบไดเลย 3. ทบครึ่งริบบิ้น สอดริบบิ้นในชองที่เวนไว ตรึงดวย เข็มหมุด จากนั้นสอยหรือเย็บปด
วิธีทําที่ครอบพนักเกาอี้
1. พับครึ่ง ประกบผาดานถูกเขาหากัน แลวเย็บริมดานขางทั้งสอง 2. เย็บตัดมุมตามขนาดความหนาของ พนักพิง เพื่อใหที่ครอบเขารูปกับพนักพิง 3. กลับชิ้นงาน แลวพับเย็บริมบริเวณขอบ เพียงเทานี้ เราก็ไดเกาอี้ตัวใหมในแบบที่ ไมซํ้าใคร แถมยังประหยัดเงินในกระเปาไดอีกดวย วาง ๆ ลองทําดูกันนะคะ (จาก: หนังสือ Sew Sweet หวาน หวาน งานผา) 42
Energy#61_p42-43_Pro3.indd 42
11/14/13 8:59 PM
แปลงโฉมหลอดไฟขาด ใหกลับมาสองแสงไดอีกครั้ง เมื่อที่บานหลอดไฟขาด จะทิ้งก็เสียดาย นํามาดัดแปลงใหหลอดไฟ กลับมาใหความสวางไดอีกครั้งกันดีกวา นอกจากใหแสงสวางแลว ยังสามารถนํามาตกแตงบานไดอีกดวย
อุปกรณ
1.หลอดไฟขาด หรือ หลอดไฟที่ใชไมไดแลว 1 หลอด 2. เชือกชุปนํ้ามัน 1 เสน 3.นํ้ามันกาด 4.จุกกอกหรือจุกไมสําหรับทําฐาน
วิธีทํา
1.นําหลอดไฟที่ขาดแลว มาหมุนตรงขั้วออก 2.ใสนํ้ามันกาดลงไฟ พรอมเสนเชือกชุบนํ้ามัน เจาะสายใหโผลขึ้นมา จากฐานหลอดไฟ วิธีนี้เปนวิธีงาย ๆ ที่นําของเหลือใชมาทําประโยชน แถมยังไดของ ตกแตงบานสวย ๆ อีกดวย ลองทํากันคะ
43
Energy#61_p42-43_Pro3.indd 43
11/14/13 8:59 PM
Eco shop กองบรรณาธิการ
ผลิตภัณฑ์ CONCEPTREE แหล่งช้อปของคนรักษ์โลก
“CONCEPTREE” เป็นผลิตภัณฑ์ทถี่ กู ออกแบบขึน้ มาภายใต้แนวคิด ของการอนุรักษ์และใส่ใจสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นการแบ่งปันสิ่งดีดี ให้ทกุ คนบนโลกใบนี้ ซึง่ จากเหตุการณ์ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ คงจะเชื่อได้ว่า eco entrepreneur ทางเลือกหนึ่งที่ผู้ประกอบการ จะหันมาให้ความสนใจ เพียงแต่ใครจะท�าก่อนและมีช่องทางในการท�า อย่างไรเท่านั้นเอง คุณณัฎฐยา อรรจนานันท์ เจ้าของ CONCEPTREE เล่าว่า จุดเริ่ม ต้นมาจากตนเองมีวิถีชีวิตที่อยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ และมองเห็นความ ส�าคัญ และความสวยงามตามธรรมชาติ จึงไม่อยากเห็นใครมารังแก ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมดีดีที่ตนเองรัก จึงได้ลุกขึ้นมาท�าในสิ่งที่เรา เชื่อว่า น่าจะดีต่อตัวเราและครอบครัวของเรา และรวมไปถึงดีต่อโลก ใบนี้ของเราทุกคน เพื่อโลกใบนี้อยู่กับเราอย่างยั่งยื่น โดยเริ่ ม จากการกิ น การอยู ่ อย่ า งพอเพี ย ง ตามธรรมชาติ ใช้ ชี วิ ต ตั้ ง แต่ หั ว จรดปลายเท้ า แบบเบี ย ดเบี ย นโลกให้ น ้ อ ยที่ สุ ด ด้วยเหตุนเี้ อง จึงหันมา ผลิตสินค้าทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ภายใต้ชอื่ CONCEPTREE ซึ่ ง อาจจะไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ย และต้ อ งใช้ เ งิ น ลงทุ น ค่อนข้างมาก ในการค้นหาเลือกวัสดุ รวมถึงการคิดค้นขัน้ ตอนในการ ผลิตสินค้าอย่างทีเ่ ราต้องการ แต่ผลทีไ่ ด้รบั ก็คมุ้ กับค่าใช้จา่ ยและเวลา ที่สูญเสียไป แต่สิ่งที่เราได้ คือ การได้มอบสิ่งที่ดีดีให้กับครอบครัว ที่เรารัก และแบ่งปันสิ่งที่ดีให้กับทุกคนบนโลกใบนี้ ส� า ห รั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ C O N C E P T R E E ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด ้ ว ย กลุม่ ที่ 1 ผลิตภัณฑ์ Recycled แปรสภาพของใช้แล้วเพือ่ น�ากลับมา ใช้ ใ หม่ ประเภทขวดน�้ า พลาสติ ก เมื่ อ ใช้ แ ล้ ว สามารถน� า มาผ่ า น กระบวนการผลิตใหม่กลายเป็นเส้นใย น�ามาถัก ทอ และเย็บ จนได้เป็น สินค้าต่าง ๆ เช่น กระเป๋า เสือ้ ยืด สายคล้องป้ายชือ่ เป็นต้น การน�าของเก่า มาแปรสภาพมาใช้ ใ หม่ ไม่ เ พี ย งแต่ ช ่ ว ยลดปริ ม าณขยะของโลก แต่ยังช่วยสร้างสินค้าใหม่โดยไม่จ�าเป็น ต้องเบียดเบียนทรัพยากร ของโลกเพิม่ ขึน้ เราสามารถผลิตของใหม่จากของเก่าทีเ่ รามีอยูแ่ ล้วได้ กลุ ่ ม ที่ 2 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ Organic สิ น ค้ า ผลิ ต จากฝ้ า ยและใยไผ่ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ จ ากฝ้ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ ผ ่ า นการใช้ ส ารฟอกย้ อ มใน กระบวนการผลิ ต โดยในขั้ น ตอนของการผลิ ต จะใช้ เ พี ย งวั ส ดุ
ธรรมชาติเท่านั้น ท�าให้ได้เส้นใยฝ้ายจากธรรมชาติแท้ ๆ รวมทั้งใช้ เชื้อเพลิงและพลังงานน้อย ในกระบวนการผลิต ช่วยลดปริมาณก๊าซ เรือนกระจกลง แตกต่างจากกระบวนการผลิตแบบดั้งเดิม กลุม่ ที่ 3 เป็นผลิตภัณฑ์ Energy กลุม่ พลังงานธรรมชาติทอี่ ยูร่ อบตัวเรา ไม่วา่ จะเป็น แสง น�า้ หรือแม้กระทัง่ ร่างกายของตัวเราเอง สามารถผลิต เป็นกระแสไฟฟ้าได้โดยไม่ต้องท�าลายสิ่งแวดล้อม เราจึงสามารถใช้ ชีวิตได้ง่ายขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ธรรมชาติสร้างมาให้แล้วจากนาฬิกา ที่ใช้พลังงานน�้า ไฟฉายจากการปั่น หมุน หรือบีบ เครื่องคิดเลขที่ใช้ การเขย่า วิทยุจากพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น กลุ่มที่ 4 ผลิตภัณฑ์ Biodegradable กลุ่มสินค้าที่ย่อยสลายได้ ซึง่ หน้าตาและคุณประโยชน์เหมือนพลาสติกทีใ่ ช้อยูท่ วั่ ไป สกัดจากแป้ง ข้าวโพดและอ้อย สามารถย่อยสลายภายใน 12-24 เดือน นอกจากนี้ ยังมีวสั ดุอกี ประเภทหนึง่ ทีเ่ รียกว่า Mater - Bi สกัดจากเมล็ดข้าวโพด น�ามาผลิตเป็นสินค้าที่มีคุณลักษณะคล้ายพลาสติก สามารถย่อย สลายได้และไม่กอ่ ให้เกิดมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อม เมือ่ ใช้เสร็จแล้วน�าไป กลบฝังดิน ก็สามารถย่อยสลายไปตามธรรมชาติภายใน 12-24 เดือน กลุ่มสุดท้าย Textile เทกซ์ ไทล์ สิ่งทอประเภทเสื้อยืดของเรา ผลิต จากเส้นใยธรรมชาติ อาทิ ฝ้าย ใยไผ่ นอกจากนี้ยังผลิตจากเส้นใย โพลีเอสเตอร์ที่รี ไซเคิลน�ากลับมาใช้ใหม่ เสื้อยืดที่ผลิตจากเส้นใย ธรรมชาติ จะมี คุ ณ ภาพพิ เ ศษที่ ใ ห้ ผิ ว สั ม ผั ส นุ ่ ม เหมื อ นเส้ น ไหม ทัง้ ยังมีความแข็งแรงทนทาน ไม่กอ่ ให้เกิดการระคายเคือง และสามารถ ซักเครื่องได้ โดย CONCEPTREE ได้ผลิตและน�าเข้าผลิตภัณฑ์ทั้ง 5 กลุ่ม มา จ�าหน่าย ซึ่งบางประเภทผลิตได้เอง มีทั้งที่ผลิตวัตถุดิบขึ้นมาเอง บางอย่างต้องสั่งซื้อวัตถุดิบจากแหล่งผลิตอื่น ๆ ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ แต่ถ้าเป็นในกลุ่มของ Energy กลุ่มพลังงานธรรมชาติ ยังผลิตเองไม่ได้ต้องน�าเข้าตัวผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศ เข้ามาขาย เสริมกับสินค้าทีเ่ ราผลิตได้เอง เพือ่ จะได้มสี นิ ค้าครอบคลุมในทุกกลุม่ การใช้งานในชีวติ ประจ�าวัน ปัจจุบนั มีสนิ ค้าให้เลือกกว่า 50 ชนิด ราคา แพงกว่าสินค้าทั่วไปอยู่บ้าง เพราะด้วยวัตถุดิบและขั้นตอนการผลิต แต่ราคาไม่สูงมาก จนคนทั่วไปซื้อหาไม่ได้
44
Energy#61_p44_Pro3.indd 44
11/7/13 11:46 PM
Energy#61_p45_Pro3.ai
1
11/23/13
12:08 AM
Exclusive นัษรุต เถื่อนทองคํา
46
Energy#61_p46-49_Pro3.indd 46
11/26/13 4:28 PM
SKYACTIV Technology นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม
เทคโนโลยีถึงแมจะเปนสิ่งที่มนุษยเปนผูคิดคน แตก็ถือวาเปนสิ่งที่มนุษยเองก็ตองกาวตามใหทัน เพราะเปนสิ่ง ที่เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตโดยตรง อยางเทคโนโลยีจากยานยนต ซึ่งปจจุบันมีความลํ้าหนาทั้งเรื่องของสมรรถนะที่ ควบคูกับการประหยัดเชื้อเพลิง และการกอใหเกิดมลภาวะ ซึ่งมีการคิดคนเพื่อกาวผานขอจํากัดตาง ๆ ใหไดเทคโนโลยี ที่สมบูรณแบบมากกวาที่ผานมา ลาสุด “มร.โชอิชิ ยูกิ” ประธานกรรมการ บริษัท มาสดา เซลส ประเทศไทย จํากัด ไดเปดตัวเทคโนโลยีที่จะขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนตใหกับประเทศ อยาง “SKYACTIV Technology” SKYACTIV Technology เปนเทคโนโลยีลา สุด ทีม่ าสดาไดนาํ เขามาสู ตลาดรถยนตเมืองไทย เพือ่ เพิม่ ทางเลือกใหกบั ผูท ชี่ นื่ ชอบเทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมควบคูกัน โดยเปดตัวเทคโนโลยีนี้ที่ถูกบรรจุอยูใน รถยนตรนุ ใหมของ MAZDA CX-5 โมเดลลาสุด ถือเปนครัง้ แรกทีค่ วาม ตองการของผูใชรถไดรับการตอบสนองอยางครบถวนสมบูรณแบบ ทัง้ สมรรถนะทีท่ รงประสิทธิภาพ ควบคูก บั การเปนรถยนตทปี่ ระหยัดนํา้ มัน รวมถึงเทคโนโลยีสะอาดปลอยมลภาวะไอเสียตํา่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม สามารถใชงานไดจริงในชีวิตประจําวันดวยการบํารุงดูแลรักษางาย ไมตอ งเสียคาใชจา ยราคาแพงสําหรับอุปกรณอนื่ ๆ เพิม่ เติมแตอยางใด นอกจากนี้ ในการเปดตัว SKYACTIV Technology ในรถยนต MAZDA CX-5 ยังเปนครัง้ แรกทีม่ าสดาแนะนําเครือ่ งยนตประเภทดีเซลสะอาด CLEAN DIESEL เขามาจําหนายในประเทศไทย สะทอนใหเห็นถึง ความมุงมั่นตั้งใจจริงที่จะเสนอทางเลือกที่ดีที่สุดใหกับผูใชรถชาวไทย ซึง่ CX-5 เปนรถอเนกประสงคประเภทครอสโอเวอรเอสยูวี มีเครือ่ งยนต ใหเลือกถึง 3 แบบ ดวยกัน ทัง้ เครือ่ งยนตดเี ซลและเครือ่ งยนตเบนซิน ทีร่ วบรวมเทคโนโลยีดงั กลาวไวทงั้ คัน ไมวา จะเปน เครือ่ งยนต ระบบเกียร โครงสรางตัวถัง และระบบชวงลาง ความสดใหมของ SKYACTIV Technology ถือเปนสิง่ ทีผ่ ใู ชรถอยาก สัมผัส โดยเฉพาะในรถยนต CX-5 ทีเ่ พิง่ เปดตัวในประเทศไทย บวกกับ ดีไซนรถในรูปแบบ KODO : Soul of Motion หรือจิตวิญญาณแหง การเคลื่อนไหว ถือเปนทางเลือกใหมใหกับผูใชรถยนตทั่วโลกรวมถึง ลูกคาชาวไทย ทีน่ อกจากความประหยัดนํา้ มันเชือ้ เพลิงแลว ยังตองการ รถยนตทมี่ สี มรรถนะทรงพลังสูง ขับสนุกอีกดวย ซึง่ เทคโนโลยีดงั กลาว แสดงใหเห็นถึงความสําเร็จหลังจากเปดตัวไปเมือ่ ชวงตนปทผี่ า นมา ดวย ยอดจําหนายมากกวา 400,000 คัน
SKYACTIV Technology แบงออกเปน 5 นวัตกรรม ประกอบดวย SKYACTIV-D คือ เครื่องยนตดีเซลที่ใหแรงบิดสูง และการเผาไหม สะอาด รอบจัด ตอบสนองดี และใหการขับขีส่ นุกขึน้ กวาเดิม โดยยก ระดับกําลังของเครื่องยนตดีเซลใหอัตราการเผาไหมที่สมบูรณที่สุด ประหยัดนํา้ มันมากขึน้ 20% ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 20% และผานมาตรฐานขอบังคับมลพิษ EURO 6 SKYACTIV-G คือ เครื่องยนตเบนซิน ที่ใหความแรงมาคูกับความ ประหยัด ดวยเครือ่ งยนตสนั ดาปภายใน ฉีดเชือ้ เพลิงโดยตรงเขาสูห อ ง เผาไหมอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหมอี ตั ราสวนการอัดสูงทีส่ ดุ ในโลก คือ อัตรา 14.0 : 1 ชวยใหประหยัดนํา้ มันมากขึน้ 15% แรงบิดเพิม่ ขึน้ 15% และคากาซคารบอนไดออกไซดลดลง 15% SKYACTIV-DRIVE เทคโนโลยีเกียรอจั ฉริยะทีเ่ พิม่ ความเราใจใหระบบ เกียรอตั โนมัติ ตอบสนองดี คืนความสนุกใหการขับขี่ พรอมทัง้ ประหยัด นํ้ามันเชื้อเพลิง ถูกออกแบบทางวิศวกรรมใหตอบสนองแมนยําแบบ เดียวกับเกียรธรรมดา ไมวา จะเปนเครือ่ งยนตเบนซินหรือดีเซลแรงบิดสูง เขาเกียรออกตัวแรง เปลีย่ นเกียรไดรวดเร็ว และเรงแซงไดอยางนุม นวล SKYACTIV – BODY เปนการออกแบบโครงสรางใหนํ้าหนักเบา แข็งแรง และใหความปลอดภัยในระดับสูง แตนาํ้ หนักเบากวาเดิม โดย ลดนํ้ า หนั ก ส ว นเกิ น ลง 8% ทํ า ให ช ว ยประหยั ด นํ้ า มั น มากขึ้ น โดยโครงสรางตัวถังใหมทาํ ใหตวั รถมีความแข็งแกรงมากขึน้ 30% SKYACTIV-CHASSIS การออกแบบระบบช ว งล า งและระบบ บังคับเลี้ยวใหม ใหควบคุมรถไดอยางคลองแคลว การตอบสนอง เปนธรรมชาติมากขึ้น เพิ่มความสบายในการขับขี่ และเสถียรภาพ ในการทรงตั ว ของรถได อ ย า งเหนื อ ชั้ น คงไว ซึ่ ง ความแข็ ง แกร ง ที่ เ หนื อ กว า จากการใช เ หล็ ก กล า คุ ณ ภาพสู ง แต นํ้ า หนั ก เบา โดยลดนํ้ า หนั ก ส ว นเกิ น ของโครงสร า งช ว งล า งลง 14%
47
Energy#61_p47,50-51_Pro3.indd 47
11/19/13 10:39 PM
Exclusive อภัสรา วัลลิภผล
48
Energy#61_p46-49_Pro3.indd 48
11/15/13 10:41 PM
กรี น แลม ผูนําเขาแผนลามิเนตใหญที่สุดในเอเชีย เนนคุณภาพ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
บริษัท กรีนแลม เอเซีย แปซิฟก (ประเทศไทย) จํากัด หนึ่งในเครือ บริ ษั ท Greenply Industries Limited (GIL) ผูนําเขาและจัด จํ า หน า ยวั ส ดุ ป ด ผิ ว ลามิ เ นต แบรนด “กรีนแลม” ซึ่งเปนสินคา ในกลุม “กรีนโปรดักท” มีโรงงาน ผลิ ต ลามิ เ นตที่ ใ หญ ที่ สุ ด ใน ภูมภิ าคเอเชีย และมีกาํ ลังการผลิต โดยประมาณ 1,000,000 แผ น ต อ เดื อ น ได รั บ มาตรฐานจาก สถาบัน Greenguard ประเทศ สหรัฐอเมริกา และ Green Label ประเทศสิงคโปร
คุณดิษฐกาน ทิพวัลย ประธาน บริษัท กรีนแลม เอเชีย แปซิฟค (ประเทศไทย) จํ า กั ด และ กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท พอรท 09 จํากัด เลาถึงที่มาการนําเขาและ จั ด จํ า หน า ยวั ส ดุ ป ด ผิ ว ลามิ เ นต ภายใต แบรนด กรี น แลม ว า เริ่ ม แรกที่ จั ด ตั้ ง โรงงานผลิต เราคํานึงถึงความเปนมิตรกับ สิ่ ง แวดล อ มเป น หลั ก อย า งชื่ อ บริ ษั ท ก็ บ ง บอกอยู แ ล ว มี ก ระบวนการผลิ ต ที่ ประหยัดพลังงาน ตัวผลิตภัณฑเองอยาง แผ น ลามิ เ นตก็ ผ ลิ ต จากกระดาษรี ไ ซเคิ ล และวัสดุที่สามารถนํามารีไซเคิลได ถึง 80% นอกจากจุดเดนของผลิตภัณฑที่ดี มีสีสัน ลวดลาย พื้นผิวสวยงามใหม ๆ ของแผน กรีนแลมลามิเนตที่มีใหเลือกกวา 700 แบบ แลว กรีนแลมยังตอกยํ้าการเปนผูนําของ นวัตกรรมทีก่ า วลํา้ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ แนวใหม ผ า นการนํ า เสนอแผ น HIGH PRESSURE LAMINATE (ไฮเพรชเชอร ลามิเนต) เกรด SAFEGUARD PLUS ANTIBACTERIAL ทีส่ ามารถยับยัง้ เชือ้ แบคทีเรีย ไมกอ ใหเกิดโรคภูมแิ พตา ง ๆ ตอผูใ ชงาน ซึง่ เปนลามิเนตแบรนดเดียวในเอเชียทีไ่ ดรบั การ รับรอง JIS STANDARD ประเทศญีป่ นุ นอกจากนี้ ทางบริษทั ฯ ยังไดจดั ทําโครงการ BONDED FOR PERFECTION โดยการ ผนวกสองเทคโนโลยี วั ส ดุ สี เ ขี ย วระหว า ง กรีนแลมลามิเนต กับ ไมอดั เฌอรา (SHERA ply) นวั ต กรรมวั ส ดุ ไ ฟเบอร ค อมโพสิ ต โซลูชนั่ วัสดุแกนใชทดแทนไมอดั ไมเอ็มดีเอฟ และไมพารติเกิล สําหรับงานเฟอรนิเจอร ฝา เพดาน และผนัง เพื่องานตกแตงภายใน ที่สมบูรณแบบ (กันนํ้า กันปลวก กันไฟ และ กันเชือ้ รา) มีอายุการใชงาน 10 ป ขึน้ ไป โดย เนนทําการตลาดในกรุงเทพฯและปริมณฑล สําหรับปนี้ บริษัทตั้งเปายอดขายทั้งปไวที่ 750 ลานบาท ซึ่งเกินเปาที่วางไว ปจจุบัน
ยอดขายหลั ก 70% มาจากดี ล เลอร ที่ มี 100 รายทั่วประเทศ สวนอีก 30% มาจาก ลูกคาโครงการ ผูรับเหมา และสถาปนิก และในป 57 ทางบริษัทคาดวาจะโตประมาณ 10% ตามภาวะเศรษฐกิจ ปจจุบันมูลคา ตลาดรวม 2,000 ลานบาท จากการสรางยอดขายอยางกาวกระโดด ทํ า ให บ ริ ษั ท มี แ นวคิ ด ที่ จ ะเป น ตั ว แทน จําหนายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแก พม า เวี ย ดนาม ลาว กั ม พู ช า มาเลเชี ย และไทย จากปจจุบันที่สิงคโปรเปนตัวแทน จํ า หน า ยหลั ก ซึ่ ง ป จ จุ บั น ได เ ริ่ ม เข า ไปทํ า ตลาดในกลุม ประเทศดังกลาวแลว ซึง่ มียอด ขายประมาณ 5% ของยอดขายในไทย นอกจากนี้ บริษัทยังมีแนวคิดที่จะตั้งฐาน การผลิตในไทย เพื่อลดขั้นตอนการขนสง และนําเขาจากอินเดีย รวมถึงการรองรับ การขายในภูมิภาคอีกดวย โดยกอนหนา นี้ ไ ด เ จรจาซื้ อ ที่ ดิ น เพื่ อ สร า งโรงงานที่ กบินทรบรุ ี กําลังการผลิต 400,000 แผนตอ เดือน งบลงทุน 1,500 ลานบาท ใชแรงงาน ประมาณ 300 คน แตเกิดนํ้าทวมจึงชะลอ แผนการลงทุนออกไปกอน ปจจุบนั บริษทั แม ทีอ่ นิ เดียเตรียมขยายกําลังการผลิตเพิม่ เปน 5 ลานตารางเมตรตอเดือน จากปจจุบันมี กําลังการผลิต 1 ลานตารางเมตรตอเดือน สุดทาย คุณดิษฐกาน กลาววา อยากให ผู ผ ลิ ต คํ า นึ ง ถึ ง ผู บ ริ โ ภคให ม าก ๆ ควร คํานึงสิ่งแวดลอมเปนหลัก เพราะผูบริโภค ไม รู เ รื่ อ งในส ว นนี้ สั ก เท า ไหร นอกจาก จะแข ง ขั น ในส ว นของการตลาดแล ว ยั ง อยากให เ น น ในเรื่ อ งของคุ ณ ภาพ และความปลอดภัยของผูบริโภคใหมากขึ้น สวนผูบริโภคเวลาเลือกซื้อผลิตภัณฑควร คํานึงถึงคุณภาพเปนหลัก อยางเลือกของ ที่ราคาถูกเพียงอยางเดียว เพราะสุขภาพ ถือเปนเรื่องสําคัญ
49
Energy#61_p46-49_Pro3.indd 49
11/15/13 10:41 PM
Exclusive รังสรรค อรัญมิตร
50
Energy#61_p47,50-51_Pro3.indd 50
11/19/13 10:36 PM
จอหนสัน คอนโทรลส
พัฒนาโซลูชั่นดานประหยัดพลังงานครบวงจร หวังขึ้นเบอรหนึ่งตลาดเครื่องปรับอากาศ การอนุรักษพลังงานภายในองคกร นอกจากรณรงค สงเสริมใหพนักงานเกิดจิตสํานึกแลวการเลือกใช เทคโนโลยี เ พื่ อ การประหยั ด พลั ง งานก็ เ ป น ป จ จั ย สํา คั ญ อีกอย างหนึ่ งที่ช วยลดตน ทุน ดา นพลั งงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งปจจุบันนั้นมีเทคโนโลยี มากมายที่ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น มารองรั บ การประหยั ด พลังงาน ไมวา จะเปน ระบบแสงสวาง เครือ่ งปรับอากาศ เครื่องทํานํ้ารอน ระบบ Chiller Boiler หรือแมแต ในปจจุบนั ไดถกู พัฒนาเปนระบบควบคุมการประหยัด พลังงานภายในอาคารที่สามารถควบคุมไดทั้งระบบ จอหนสัน คอนโทรลส เปนบริษัทหนึ่งที่ไดพัฒนาอุปกรณ และ เทคโนโลยีดานการประหยัดพลังงานออกมารองรับภาพรวม ของตลาดประหยัดพลังงานทั้งในประเทศไทย และตลาดโลก ซึ่ง คุณอุทยั โลหชิตรานนท กรรมการผูจ ดั การ จอหนสัน คอนโทรลส ประเทศไทย เลาถึงแนวความคิดการพัฒนาเทคโนโลยีและการ ทําตลาดใหฟงวา กอนอื่นตองบอกวา จอหนสัน คอนโทรลส ใหบริการระบบการ จัดการอาคารในรูปแบบของผลิตภัณฑ การบริการและโซลูชั่น ประหยัดพลังงานที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและ ลดตนทุนการปฏิบัติงานในอาคาร โรงงานอุตสาหกรรมใหแก ลูกคามากกวา 1 ลานรายทัว่ โลก โดยมีสาํ นักงานราว 700 สาขา มากกวา 150 ประเทศ เรียกไดวาเปนผูนําในดานเทคโนโลยี อุ ป กรณ ก ารควบคุ ม และบริ ก ารสํ า หรั บ การทํ า ความร อ น ระบบระบายอากาศ ระบบปรั บ อากาศ ระบบทํ า ความเย็ น ระบบควบคุ ม อาคารอาคารอั ต โนมั ติ วาล ว เทอร โ มสตั ท ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ รวมถึงระบบความปลอดภัยและ ปองกันเพลิง นอกจากนี้แลวในแตละปจอหนสัน คอนโทรลส จะมีโครงการดานพลังงานหมุนเวียนมากกวา 100 โครงการ ซึ่งครอบคลุมเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลมและ พลังงานความรอนใตพื้นโลกอีกดวย ดานการทําตลาดนัน้ จอหนสัน คอนโทรลส ไดพฒ ั นาผลิตภัณฑ ใหมปี ระสิทธิภาพดานการประหยัดอยางตอเนือ่ งเพือ่ ตอบสนอง ความตองการของตลาดประหยัดพลังงานทีเ่ ติบโตอยางตอเนือ่ ง เชนกัน โดยเรามีโปรดักสทหี่ ลากหลายครบวงจรสําหรับเปนทาง เลือกใหกับผูบริโภคดังที่กลาวมาขางตน ลาสุดเปดตัวเครื่อง ปรับอากาศ YORK® YES Series Inverter ซึ่งเปนเครื่อง
ปรับปริมาณสารทําความเย็นอัตโนมัติ (VRF) รุนลาสุดที่มีคุณสมบัติโดดเดน ดานการประหยัดพลังงาน ความสะดวกสบาย ชวงการทําความเย็นที่กวาง การ ใชงานทีย่ ดื หยุน และระบบควบคุมอันชาญฉลาด ทีพ ่ รอมมอบความสะดวกสบาย สูเจาของอาคารเชิงพาณิชยและที่อยูอาศัย โดยระบบ YORK® YES Series มี อั ต ราส ว นประสิ ท ธิ ภ าพพลั ง งาน (Coefficient Of Performance– COP) สูงสุดอยูที่ 4.0 ณ อัตราการใชงาน เต็มกําลัง และอัตราสวนประสิทธิภาพพลังงาน ณ ระดับการใชงานตางๆ หรือ Integrated Part Load Value (IPLV) ทีค่ า 6.0 ซึง่ ทัง้ สองอัตราถือเปนมาตรวัด ประสิทธิภาพการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศ ที่จะชวยใหเจาของอาคาร สามารถบริหารจัดการพลังงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ หากพูดถึงเรื่องการเติบโตขอยกตัวอยางบางโปรดักส เชน เครื่องปรับอากาศ ระบบ VRF ปจจุบันภาพรวมของตลาดในประเทศไทยโตประมาณ 10 % จาก เดิม 2 % ของตลาดเครื่องปรับอากาศทั่วไปที่เปนระบบ Split Type Air ดาน สวนแบงตลาดเครื่องปรับอากาศที่เปนระบบ VRF กับระบบ Split Type Air เราโตประมาณ 5 – 6 % ขณะเบอรหนึ่งของเมืองไทยโตแค 10 % สวนรายได ทั้งบริษัทตั้งเปาโตปละ 20 % ภายใตกลยุทธการทําตลาดโดยเจาะกลุมลูกคา บริษทั วิศวกรรมทีเ่ ปนตัวแทนจําหนายเพราะงานระบบตองมีการติดตัง้ มีบริการ หลังการขายที่ดี ซึ่งตองเลือกตัวแทนที่มีความสามารถจริง ๆ การขยายชอง ทางการจําหนาย และพยายามจะไมขายแขงกับลูกคา เราโตแบบงาย ๆ ไมตอง คิดสูตรสลับซับซอน นอกจากนี้แลวจอหนสัน คอนโทรลสไดมีการขยายศูนยบริการทั่วประเทศเพื่อ บริการใหกับลูกคา โดยปจจุบันมีศูนยบริการอยูทั่วประเทศทั้งหมด 8 ศูนย ที่ เชียงใหม ขอนแกน นครราชสีมา พัทยา สมุทรสาคร ภูเก็ต หาดใหญ และ กรุงเทพฯ และจะขยายเพิ่มเพื่อใหบริการอยางทั่วถึง ดานอนาคตการเติบโตของธุรกิจบริการระบบการจัดการอาคารในรูปแบบของ ผลิตภัณฑ และโซลูชั่นดานประหยัดพลังงานตาง ๆนั้นเรามองวาตลาดในเมือง ไทยมีโอกาสโตอยางตอเนื่อง และโตแบบกาวกระโดด เนื่องจากปจจัยเรื่อง การประหยัดพลังงานซึ่งเปนเทรนดใหมที่ทุกภาคสวนเริ่มใหความสนใจมากขึ้น ประกอบกับมีโปรเจ็คใหม ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลาไมวาจะเปน อาคารสํานักงาน โรงพยาบาล คอนโด หางสรรพสินคา ชอปปง มอลล การเติบโตขยายสูจ งั หวัดตาง ๆ ทั่วประเทศซึ่งเปนทิศทางที่ดีมาก อยางไรก็ตามในเรือ่ งของการประหยัดพลังงานนัน้ อยากใหรฐั บาลมีความชัดเจน ในเรือ่ งของการสงเสริมเรือ่ งประหยัดพลังงานหรือสงเสริมใหประชาชนใชสนิ คา ประหยัดพลังงานมากขึน้ รวมถึงความชัดเจนในเรือ่ งการสงเสริมใหภาคเอกชน พัฒนาเทคโนโลยีใหมีประสิทธิภาพดานการประหยัดพลังงานมากขึ้น มีการ กระตุนในเรื่องของการลดภาษี ซึ่งรัฐบาลก็ทําแตอยากใหกวางขวางขึ้นแลวมัน กระตุนในภาพใหญไดโดยไมตองพึ่งการนําเขาอุปกรณจากตางประเทศ 51
Energy#61_p47,50-51_Pro3.indd 51
11/22/13 9:36 PM
Energy#59_p107_Pro3.ai
1
9/17/13
1:54 AM
Energy#59_p02_Pro3.ai
1
9/17/13
12:31 AM
11.05-11.30 .
Special Report รังสรรค อรัญมิตร
แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา หรือ PDP 2010 (ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 3) หรือ Power Development Plan ในปจจุบนั ประเทศไทย พึง่ พากาซธรรมชาติจากอาวไทยและนําเขาจากประเทศพมามาใชเปนเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟาในสัดสวน 66 % ใชถา นหินเพียง 18.9% ทีเ่ หลือเปนพลังงานนํา้ และพลังงานทดแทน อยางไรก็ตามจากแนวโนมกาซธรรมชาติในอาวไทยทีใ่ กลจะหมดไปทุกวัน ประกอบกับสัญญานําเขากาซธรรมชาติจากประเทศพมาใกลหมดสัญญาลงในอีก 10 ปขางหนา จากแนวโนมดังกลาว สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เตรียมแผนเสนอแนวทางการปรับโครงสรางการผลิตไฟฟาตามแผนพัฒนา กําลังผลิตไฟฟา PDP 2013 ใหม ตอรัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน คาดวาจะสามารถสรุปแผนดังกลาวไดภายในสิน้ ป 2556 54
Energy#61_p54-55_Pro3.indd 54
11/19/13 11:33 PM
โดยแผนใหมที่จะเสนอตอกระทรวง พลังงานนัน้ จะมีการปรับสัดสวนการ ผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติลงเหลือ 50 % จาก 66 % โดยจะผลักดันใหเกิด โรงไฟฟาถานหิน ที่ จ.กระบี่ ขึ้นมา ทดแทน รวมทั้ ง รั บ ซื้ อ ไฟฟ า จาก ประเทศพมา และกัมพูชา เพิ่มเปน 25 % จากปจจุบนั มีสดั สวนการรับซือ้ ไฟฟาจากประเทศลาว 15 % รวมถึง การพัฒนาพลังงานทดแทน จะเห็นไดวา แนวทางการพัฒนากําลัง ผลิตไฟฟาของรัฐบาลใหนาํ้ หนักไปที่ การรับซือ้ ไฟฟาจากประเทศเพือ่ นบาน และการนําเขาถานหินมาผลิตไฟฟาใน ประเทศไทย โดยหากเปรียบเทียบกับ การใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติราคา ตนทุนการผลิตอะไรจะคุม คากวากัน ซึง่ นายพงษดิษฐ พจนา กรรมการผูจัดการใหญ บมจ.ผลิตไฟฟา ราชบุรโี ฮลดิง้ แสดงความคิดเห็นวา ตนทุนในการผลิตไฟฟาจากกาซ ธรรมชาติประมาณ 3 – 4 บาทตอหนวย ตนทุนราคาคาไฟฟา 3.60 บาท ตอหนวย ในขณะทีก่ ารรับซือ้ ไฟฟาพลังงานนํา้ หรือโรงไฟฟาถานหิน จากประเทศเพือ่ นบาน ตนทุนในการผลิตไฟฟาประมาณ 2.10 บาทตอ หนวย ขึน้ อยูก บั เทคโนโลยีและความซับซอนของโครงการสวนตนทุนราคา คาไฟฟาก็เทากันกับตนทุนในการผลิตไฟฟา ด า นการพั ฒ นาโรงไฟฟ า ถานหินนัน้ คาดวาภายใต PDP ฉบับใหม กระทรวงพลังงาน น า จะเป ด ประมู ล โรงไฟฟ า เอกชนอิสระรายใหญ (ไอพีพ)ี ขึน้ มาใหม เปนโรงไฟฟาถานหิน ประมาณ 2 – 4 โรง ขนาด กํ า ลั ง การผลิ ต โรงละ 800 เมกะวัตต ซึง่ เปนแนวทางหนึง่ ของการเพิม่ ศักยภาพในการ ผลิตไฟฟาใหกบั ประเทศไทย ในสวนของการพัฒนาโรงไฟฟาถานหินที่การไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.) กําลังดําเนินการอยูน นั้ ปจจุบนั ถาไมสามารถ ดําเนินการได และกระทรวงพลังงานเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามา ดําเนินการตอนัน้ ราชบุรโี ฮลดิง้ ก็สนใจทีเ่ ขามาลงทุน ดวยความมัน่ ใจใน เทคโนโลยีวา เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม แตการดําเนินงานโรงไฟฟาถานหิน ปญหาอยูท เี่ รือ่ งของการยอมรับของคนในพืน้ ที่ และกลุม เอ็นจีโอ ซึง่ โรงไฟฟาถานหินจะเกิดขึน้ ไดหรือไมนนั้ ปจจัยสําคัญขึน้ อยูก บั คนในพืน้ ที่ ที่จะไปตั้งโรงไฟฟา ไมมั่นใจวาจะสามารถสื่อสารใหเขาใจและสราง การยอมรับไดหรือไม ซึง่ กฟผ.ดําเนินงานมานานแลว ยังไมสามารถ ดําเนินการไดเลย อยางไรก็ตาม หากเปนไปไดอยากใหมีตนแบบโรงไฟฟาถานหินเกิด ขึน้ เปนโรงแรกในประเทศไทยกอน โดยอาจเซ็นสัญญาประชาคมไว ถา โรงไฟฟาถานหินไมดีจริงตามที่รัฐบาลหรือกระทรวงพลังงานเสนอ ก็
ใหปด ถาวรเลย อยากใหโอกาสเขาสักครัง้ หนึง่ เพราะคงไมมอี ะไรดีไป กวาการพิสูจนขอเท็จจริงวาดีตามที่รัฐบาลกลาวไวหรือไม แตถา ถามวาภาคเอกชนจะสามารถดําเนินการพัฒนาโรงไฟฟาถานหิน ไดหรือไมนั้น มีบริษัทเอกชนบางกลุมที่สามารถดําเนินการได เชน กลุมบริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร จํากัด เพราะอยูในพื้นที่ทาเรือ อุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด อาจขยายพื้ น ที่ เ พิ่ ม เติ ม ได อี ก แต ถ า เป น บริ ษั ท เอกชนกลุ ม ใหม แล ว เป ด พื้ น ที่ โ รงไฟฟ า แหงใหมกน็ า จะทําไดยาก เพราะตองทําใหเกิดการยอมรับในสังคมไทย สวนแนวทางการพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของราชบุรโี ฮลดิง้ นัน้ ปจจุบนั มีโครงการผลิตและจําหนายไฟฟาเชิงพาณิชยจํานวน 26 โครงการ และโครงการที่อยูระหวางการกอสรางและพัฒนาโครงการอีกจํานวน 6 โครงการ ได แ ก โครงการโรงไฟฟ า ราชบุ รี เ วอลด โคเจนเนอเรชั่ น กํ า ลั ง การผลิ ต 210 เมกะวั ต ต โครงการโรง ไฟฟ า ผลิ ต ไฟฟ า นวนคร กํ า ลั ง การผลิ ต 122 เมกะวั ต ต โครงการผลิตไฟฟาพลังงานลมเขาคอ กําลังการผลิต 60 เมกะวัตต โครงการผลิตไฟฟาชีวมวลสงขลา กําลังการผลิต 9.9 เมกะวัตต โครงการโรงไฟฟาหงสา ที่ สปป.ลาว กําลังการผลิต 1,878 เมกะวัตต โครงการโรงไฟฟ า พลั ง งานนํ้ า เซเป ย น เซนํ้ า น อ ย สปป.ลาว กํ า ลั ง การผลิ ต 410 เมกะวั ต ต ซึ่ ง โครงการทั้ ง หมดอยู ร ะหว า ง การกอสราง ต อ งติ ด ตามกั น ต อ ไปว า ทิ ศ ทางการพั ฒ นาการผลิ ต ไฟฟ า ของประเทศไทยเพื่ อ เพิ่ ม กํ า ลั ง ผลิ ต ไฟฟ า ให ส อดคล อ งกั บ ความตองการใชภายในประเทศ และลดสัดสวนที่เปนเชื้อเพลิง กาซธรรมชาติลง โดยหาแนวทางทดแทนจะดําเนินไปในทิศทางใด หากยั ง ไม ส ามารถลดสั ด ส ว นก า ซธรรมชาติ ม าผลิ ต ไฟฟ า ได ในอนาคตอั น ใกล ประเทศไทยจะมี ต น ทุ น ในการผลิ ต ไฟฟ า ที่แพงขึ้นอีกเทาตัว ซึ่งจะทําใหตนทุนคาไฟเพิ่มขึ้น แตหากสามารถ เดินไปตามแผน PDP ของภาครัฐหรือกระทรวงพลังงานทีก่ าํ หนดไว เชื่อวาคนไทยจะไดใชไฟฟาในราคาที่ไมแพงมากนัก 55
Energy#61_p54-55_Pro3.indd 55
11/19/13 11:33 PM
Auto Update BarBeer
ยางรถยนต… อุปกรณสิ้นเปลือง
กับการพัฒนาสูความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
เชือ่ หรือไม? ตัวการในการทําลายสิง่ แวดลอม ทีส่ าํ คัญของโลก ไมไดเปนเรือ่ งของสงคราม ที่เกิดมาหลายยุคหลายสมัย ไมไดเกิดจาก การระเบิดของเตาปฏิกรณนิวเคลียรเกิด การผิดพลาดและระเบิดจนเปนขาวใหญโตไป ทั่วโลก แตเปนปจจัยที่อยูใกลกับตัวเรามาก ที่สุดอยางรถยนต เพราะเปนสิ่งที่กอใหเกิด ผลกระทบตอโลกตั้งแตเดินสายการผลิต แมยังไมเห็นผลทันตา แตก็เปรียบเสมือน มะเร็งรายที่กําลังกอตัวอยางเงียบ ๆ โลกมี ก ารหมุ น ของวิ วั ฒ นาการอย า ง ตอเนือ่ ง โดยเฉพาะการเติบโตดานการขนสง การจราจรมี ค วามแออั ด คั บ คั่ ง ทั้ ง บน ทองถนน อากาศ และทะเล ในชวงป พ.ศ. 2543 – 2553 ที่ ผ า นมา ยอดจํ า หน า ย รถยนตนั่งในอาเซียนมีอัตราเติบโดยเฉลี่ย
14% ตอป เคยมีการคาดการณวาปริมาณ รถยนตบนทองถนนในอาเซียนจะเพิ่มขึ้น เปน 55 ลานคัน ในป พ.ศ. 2563 เนื่องจาก คนชั้ น กลางมี ค วามต อ งการใช ร ถยนต เพิ่ ม มากขึ้ น มี ก ารประเมิ น ว า ผู ค รอบ ครองรถยนตในเอเชียจะเติบโตมากกวานี้ โดยเฉพาะหัวเมืองใหญ ๆ อยาง กรุงเทพมหานคร กรุงโซล และเซี่ยงไฮ Global Automotive Executive Survey 2013 ไดสาํ รวจสภาวะตลาดยานยนตระดับโลก ในป พ.ศ. 2556 และคาดการณ ว า ใน อีก 15 ปขางหนา สัดสวนการเติบโตดาน ปริมาณรถยนตจะมาจากประเทศในกลุม BRIC หรือ บราซิล รัสเซีย อินเดียและจีน ถึ ง 85% โดยในจํ า นวนนี้ 36% มาจาก ประเทศจีน และประเทศไทย เปนประเทศที่ มีแนวโนมของความหนาแนนจากรถยนต
56
Energy#61_p56-58_Pro3.indd 56
11/26/13 1:05 AM
ปจจุบันมากกวาคาเฉลี่ยของอาเซียนที่ 44 คันตอประชากร 100 คน ถึง 3 เทา ซึ่งปริมาณดังกลาวคาดการณวาจะเพิ่มขึ้นอีก 1 ใน 3 ถึง ระดับ 4 ลานคัน ในอีก 3 ปขางหนา เปนผลมาจากโครงการอีโคคารที่ รัฐบาลไทยเปดตัวโครงการไปในชวงตนป พ.ศ. 2550 สงผลใหประเทศไทยจะมีรถมากกวา 4 ลานคัน ภายในชวงสิน้ ทศวรรษนี้ แนอนนวาเรือ่ งของมลภาวะจะตามมาตามจํานวนของรถยนตทเี่ พิม่ ขึน้ และภัยมืดที่ติดตามมากับรถยนตทุกคันคือ ยางรถยนต ซึ่งไมวาจะ เปนยางรถยนตที่ผลิตมาไดมาตรฐาน หรือไมไดมาตรฐาน ลวนกอ มลพิษในรูปแบบทีม่ องไมเห็น ทางออก คือ การมีมาตรฐานยางรถยนต สีเขียว (Green tires) ที่มีแรงเสียดทานตํ่า ชวยเพิ่มการประหยัด เชือ้ เพลิง และจะเขามามีบทบาทสําคัญในการพัฒนายานยนตในอนาคต จากการวิจยั โดย มหาวิทยาลัยเทคนิคแหงเมืองมิวนิค ประเทศเยอรมนี พบวา ยางที่ใชในรถยนตนั่งมีสวนสําคัญอยางมากตอการบริโภค นํ้ามันและสิ่งแวดลอม โดยยางรถยนตสงผลตอการบริโภคนํ้ามัน คิดเปน 1 ใน 4 ของรถยนตนั่ง และ 1 ใน 3 ของรถกระบะเชิงพาณิชย ซึ่งการสิ้นเปลืองเกิดจากการแรงเสียดทานของยางที่มีผลตออัตรา การบริโภคนํ้ามัน พลังงานทีส่ ญ ู เสียไปในยางรถยนตเกิดจากความรอนและการเปลีย่ น รูปลักษณของยาง เนื่องจากยางตองทําหนาที่เกาะถนนและเบรก อยูต ลอดเวลา ขณะทีย่ างรถยนตสเี ขียวทีไ่ ดรบั การพัฒนาเปนพิเศษ ใหความทนทานเพิม่ ขึ้น ปรับปรุงความปลอดภัยดวยแรงเสียดทานที่ นอยลงพรอมชวยลดอัตราบริโภคนํ้ามันดวยการลดการสูญเสีย พลังงานลง ที่ผานมามีการประเมินวายางรถยนตสงผลตออัตรา บริโภคนํา้ มันและแรงเสียดทานราว 20-30% ขณะเดียวกันยางรถยนต ยังสงผลตออัตราการปลอยคารบอนไดออกไซดถึง 24% ทีผ่ า นมา สหภาพยุโรป หรือ อียู ตองการใหผบู ริโภคไดรบั ทราบขอมูล ในการซือ้ ยางรถยนตจงึ ประกาศใชขอ บังคับการติดฉลากยางรถยนต (Tire Labeling Legislation) ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดยฉลากยางดังกลาวจะแบงระดับของยางโดยการวัดประสิทธิภาพ 3 ประการ คือ ดานการประหยัดเชื้อเพลิง ดานการยึดเกาะถนนบน พื้นเปยก และดานการเกิดระดับเสียงจากการเคลื่อนตัวของลอรถ
แนนอนวามาตรวัดทีต่ ดิ มากับฉลากยางรถยนต สะทอนถึงการบริโภค นํา้ มันและการปลอยมลพิษคารบอนอยางมาก ดังนัน้ ขอมูลทีจ่ าํ เปนจึง ตองปรากฏอยูบนฉลากเพื่อใหผูบริโภคไดรับรูถึงความประหยัดและ ผลกระทบตอระบบนิเวศในการเลือกใชงานยางรถยนต ทําใหผบู ริโภค ไดตระหนักถึงการเลือกใชยางรถยนตสีเขียวที่มีความเปนมิตรกับ สิง่ แวดลอม ขณะเดียวกัน ความสําเร็จของการบังคับใชขอ บังคับการติด ฉลากยางรถยนตในยุโรป ซึง่ หลายประเทศทัว่ โลกกําลังเดินตามในการ ชวยลดการบริโภคเชือ้ เพลิงในประเทศ ลดปริมาณคารบอนไดออกไซด และเพิ่มมาตรฐานความปลอดภัยของยางรถยนต สําหรับภูมิภาคเอเชีย แปซิฟค มีหลายประเทศที่ดําเนินมาตรการ ในทิศทางเดียวกันนี้ รัฐบาลเกาหลีใตไดประกาศใชขอบังคับการติด ฉลากยางรถยนต เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 โดยวางเปาหมาย ลดคารบอนไดออกไซด ใหได 30% ภายใน ป พ.ศ. 2563 สวน ประเทศญีป่ นุ ก็รเิ ริม่ ใชขอ บังคับการติดฉลากยางรถยนตแบบสมัครใจ ตั้งแต ป พ.ศ. 2553 เปนตนมา และไดรับการสนับสนุน โดย สมาคม ผู ผ ลิ ต ยางรถยนต แ ห ง ญี่ ปุ น หรื อ Japan Automobile Tire Manufacturers Association (JATMA) ซึง่ เปนองคกรอิสระทีก่ อ ตัง้ โดยกลุมผูผลิตยางในญี่ปุน สําหรับในยุโรปและเกาหลี ฉลากยาง มีผลบังคับใชแลวทําใหยางรถยนตที่วางจําหนายตองติดฉลากยาง รถยนต แตประเทศญี่ปุนมีการเปดใชแบบสมัครใจเฉพาะผูผลิตที่เขา รวมโครงการเทานั้น
57
Energy#61_p56-58_Pro3.indd 57
11/26/13 1:05 AM
ประเทศจีน ถือเปนตลาดรถยนตทมี่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ ในเอเชียไดประกาศลดมลพิษคารบอนไดออกไซด ลง 40-45% ภายใน ป พ.ศ. 2558 ดวยการใช ฉลากยางในระยะสั้น ผูผลิตยางรถยนตอยางนอย 25% จะตองผลิตยางประหยัดเชื้อเพลิงและมลพิษ ตํ่าภายในอีก 2-3 ปขางหนา ขณะที่ประเทศอินเดีย ก็ ป ระกาศอย า งเป น ทางการว า จะลดปริ ม าณ คารบอนไดออกไซดในประเทศลง 20-25% ภายใน ป พ.ศ. 2563 ฉลากยางรถยนตจึงเปนประเด็นที่มี ความสําคัญใหหลายรัฐบาลทัว่ โลกผลักดันใหมยี าง รถยนตสีเขียวในตลาดเพิ่มมากขึ้น เพื่อตระหนัก และตื่นตัวในการมุงเนนรักษาสิ่งแวดลอมทั่วโลก สําหรับการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ เออีซี (ASEAN Economic Community – AEC) ถือเปนความหวังที่จะเสริมความแข็งแกรงใหกับ ประเทศไทยเป น ศู น ย ก ลางด า นยานยนต ข อง ภู มิ ภ าค กั บ หน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการผลิ ต รถยนต ชิ้นสวนยานยนต รวมถึงยางคุณภาพ โดยจะตองรักษามาตรฐานการผลิตใหทดั เทียมกับ ระดับโลกเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน พรอมกับตอบสนองความตองการของลูกคาใน ดานสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ประเทศไทย จึงควรมีเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเดินตามกระแส หลั ก ของการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอย า งการใช ฉลากยางรถยนต
ทั้งนี้ การบังคับใชขอบังคับการติดฉลากยางรถยนตในแตละภูมิภาคและในแตละประเทศจะ แตกตางกัน เนื่องจากเหตุผลหลายดาน แตทางอียูไดสรางแบบอยางและสงผลใหภูมิภาค อื่นและประเทศตาง ๆ ไดปฏิบัติตาม เชน ประเทศบราซิล ภาครัฐบาลไดมีการหารือเรื่อง ฉลากยาง ในชวงตนป พ.ศ. 2553 กอนที่ในชวงกลาง ป พ.ศ. 2555 รัฐบาลบราซิลยืนยันวา จะปฏิบัติตามรูปแบบของอียูในการกําหนดฉลากยางรถยนต โดยวางเปาหมายบังคับใชใน ป พ.ศ. 2558 ซึ่งเปนกระบวนการที่ใชเวลานอยกวาอียูถึงครึ่งหนึ่ง สวนประเทศไทย ไมนาจะเปนเรื่องยาก เพราะถือวามีความพรอมที่จะบังคับใชฉลากยาง ภายในระยะเวลา 3-5 ป ขางหนา ซึ่งอาจใชวิธีการผลักดันดวยความสมัครใจอยางใน ประเทศญี่ปุน หรืออาจใชขอกฎหมายเหมือนกับในสหภาพยุโรป ซึ่งการวางมาตรฐาน ดานสิ่งแวดลอม ประเทศไทยเปนอีกหนึ่งประเทศที่มีการขับเคลื่อนอยางตอเนื่อง หาก ไดรับการสนับสนุนจากทุกฝายจนเกิดเปนบัญญัติขอกฎหมาย ประเทศก็จะสามารถ เดิ น หน า ต อ ยอดโครงการที่ เ คยสํ า เร็ จ มาแล ว อย า งโครงการอี โ คคาร ก็ เ ป น ได
58
Energy#61_p56-58_Pro3.indd 58
11/26/13 1:05 AM
Energy#61_p59_Pro3.indd 79
11/23/13 12:03 AM
Have To Know น้องบูล... ตอบได้
ใส่ ใจสักนิด...
เพิ่มความปลอดภัยยามเดินทาง เชื่อหรือไม่? ภายในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมี ปริมาณของรถยนต์เพิ่มขึ้นมาบนท้องถนนมากขนาดไหน ในจ�านวนดังกล่าวจะมีทั้งผู้ขับขี่เก่าและผู้ขับขี่ใหม่ ผู้ขับขี่ ทีใ่ ส่ใจกับการขับขีแ่ ละผูท้ ไี่ ม่ใส่ใจในการขับขี่ และเชือ่ หรือ ไม่ว่า เรื่องเล็กๆ น้อยๆ ของการใส่ใจสิ่งรอบตัวภายใน รถยนต์ขณะขับขี่ สามารถลดโอกาสของการเกิดอุบัติเหตุ บนท้องถนนได้ ด้วยปริมาณรถยนต์ที่เพิ่มขึ้น ขัดแย้งกับ พื้ น ที่ ถ นนที่ เ ท่ า เดิ ม ส่ ง ผลให้ ผู ้ ขั บ ขี่ ต ้ อ ง ใช้ ชี วิ ต อยู ่ บ นรถยนต์ ต ่ อ ครั้ ง ในแต่ ล ะวั น เป็ น เวลานาน ผู ้ ขั บ ขี่ ไ ม่ น ้ อ ยจึ ง ต้ อ งหา กิจกรรมเพื่อเป็นการฆ่าเวลาตามกิจกรรม ในแต่ละวันของแต่ละบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการ รับประทานอาหาร คุยโทรศัพท์ แต่งหน้าท�าผม หรือแม้กระทั่งท�างานบนรถเสียเลย แน่นอนว่าเรื่องของไลฟสไตล์ของแต่ละคน จะถูกสะท้อนออกมาในเรื่องรถยนต์ สะท้อน บุคลิกของเจ้าของได้อย่างแจ่มชัด ไม่ว่าจะ เป็นคนรักความสะอาดและชอบจัดของอย่าง เป็นระเบียบ หรือเป็นคนที่ชอบขนสัมภาระ มากมายไปไหนมาไหนด้วยแถมยังไม่เคยทิ้ง ของชิ้นไหนเลยแม้แต่เศษขยะต่างๆ สิ่งที่มักถูกมองข้ามคือ การจัดเก็บสิ่งของ ภายในรถยนต์แบบไม่เป็นที่เป็นทาง อาจ ก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุบนท้องถนนได้ เช่น ขวดน�า้ และกระป๋ อ งเครื่อ งดื่ม ด้ วยความเคยชิน ของเรา เมื่อรับขวดน�้ าจากการเติมน�้ ามัน เรามักโยนขวดน�้าไปที่ด้านหลังเสมอ เมื่อรถ เคลื่อนที่อาจกลิ้งไปอยู่ใต้เบรกหรือคันเร่ง ท�าให้ควบคุมรถไม่ได้และท�าให้เกิดอุบัติเหตุ ในที่สุด หรือสิ่งของเล็กๆ น้อยๆ อย่างอื่นก็ อาจเป็นสาเหตุได้เช่นกัน
บริษัทผู้เชี่ยวชาญด้านประกันภัยรถยนต์ใน ประเทศอังกฤษผู้จัดท�าเวปไซต์ Confused. com เปิ ด เผยผลส� า รวจที่ จั ด ท� า ขึ้ น เมื่ อ ปีพ.ศ. 2554 พบว่า 1 ใน 5 ของผู้ขับขี่ใน อั ง กฤษประสบอุ บั ติ เ หตุ อั น เนื่ อ งมาจาก สิง่ ของทีจ่ ดั วางไม่เป็นระเบียนภายในรถยนต์ แม้จะมีการประชาสัมพันธ์ถอื เรือ่ งอุบตั เิ หตุที่ อาจเกิดขึ้นจากเรื่องดังกล่าว แต่ผู้ขับขี่ก็ยัง คงคุ้นเคยกับการพกพาสัมภาระที่ไม่จ�าเป็น ติดตัวเข้าไปในรถเสมอ โดยผลส�ารวจของ เจดี พาวเวอร์ เผยให้เห็นว่า สิง่ ของทีค่ นนิยม ถือขึน้ รถเป็นล�าดับต้นๆ คือ โทรศัพท์มอื ถือ ปากกา แว่นตา กระเป๋าสตางค์ ทิชชู่ และเศษ เหรียญ และในจ�านวนผูข้ บั ขีท่ เี่ ป็นสุภาพสตรี 90 % ยังน�ากระเป๋าถือติดตัวขึ้นรถอีกด้วย เรื่องของการวางสิ่งของและความรกภายใน รถยนต์จึงเป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้าม เริ่มที่ เราควรที่จะมีกล่องเก็บของที่จ�าเป็น เพื่อ ใช้ในกรณีฉุกเฉิน สิ่งของต่างๆ ในกล่อง นี้อาจมีตั้งแต่น�้าดื่ม ขนมที่ให้พลังงานสูง ไฟฉายและถ่านส�ารอง สายจั๊มพ์แบตเตอรี่ และอื่นๆ สิ่งที่คุณควรท�าก็คือรวบรวมของ เหล่านี้ไว้ในกล่องที่มีฝาปิดให้เรียบร้อยและ เก็บเอาไว้ท้ายรถ
60
Energy#61_p60-61_Pro3.indd 60
11/7/13 11:52 PM
หาตะกร้าสัมภาระมาวางทีพ ่ นื้ รถหรือท้ายรถ ส�าหรับใส่ของที่คุณจะต้องใช้งานระหว่างวัน จะช่วยจัดการให้สงิ่ ของต่างๆ ทีค่ ณ ุ ต้องหยิบใช้ ระหว่างวันดูเป็นระเบียบเรียบร้อยมากขึ้น และหากการใช้ เ วลาอยู ่ ใ นรถวั น ละหลาย ชั่วโมง แน่นอนว่าจะเกิดขยะ ซึ่งเป็นสิ่งที่ หลี ก เลี่ ย งได้ ย าก คุ ณ จึ ง ควรเตรี ย ม ถุ ง พลาสติ ก เล็ ก ๆ ไว้ ใ ส่ เ ปลื อ กลู ก อม ซองขนม กระป๋ อ งเครื่ อ งดื่ ม เปล่ า และ กระดาษช�าระ อย่าลืมเอาถุงขยะไปทิง้ ทุกครัง้ เมื่อกลับถึงบ้านหรือทุกครั้งที่มีโอกาส หากคุณเป็นคนหนึง่ ทีช่ อบรับประทานอาหาร ในรถ ระวังอย่าให้เศษอาหารหล่นหรือปล่อย สิ่งสกปรกทิ้งไว้โดยไม่ยอมดูดฝุ่นหรือหยิบ ไปทิ้ง วิธีง่ายๆ ที่จะช่วยดูแลเบาะและพรม ในรถของคุณให้สะอาดอยู่เสมอก็คือการ พกทิชชูเ่ ปียกไว้ในกล่องเก็บของเพือ่ เช็ดเศษ ขนมทีห่ ล่นโดยไม่ตงั้ ใจ หรือใช้เช็ดมือเปือ้ นๆ ก่อนป้ายไปโดนส่วนอื่นๆ ของรถ การใส่ใจในการจัดระเบียบรถของคุณเป็น ประจ�าทุกวันเมือ่ กลับถึงบ้าน เป็นเรือ่ งส�าคัญ และต้องท�าอย่างจริงจัง ไม่ใช่แค่หยิบชิ้นนั้น ไปวางตรงนี้ หรือย้ายจากมุมหนึ่งไปวางอีก มุมหนึ่งเท่านั้น แต่ควรหยิบของที่ไม่ใช้แล้ว ออกจากรถ และท�าความสะอาดทันที จะช่วย คุ ณ ลดปั ญ หาจากการแบกรั บ ภาระของ รถโดยไม่จ�าเป็นไปไหนมาไหนให้สิ้นเปลือง พลังงานโดยใช่เหตุ และลดการก่อให้เกิด อุบัติเหตุโดยไม่ได้ตั้งใจได้อีกด้วย
61
Energy#61_p60-61_Pro3.indd 61
11/7/13 11:53 PM
Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
วอลโว คายรถยนตตน กําเนินจากสวีเดน ทีม่ ดี ดี า นความปลอดภัยตัง้ แตอดีตจนถึง ปจจุบันและคุณภาพของเหล็กที่ดีที่สุด ถึงแมวาปจจุบันจากถูกคายรถจากจีน เทคโอเวอรเปนที่เรียบรอย แตทางผูบริหารใหมยังคงยืนยันจุดยืนของวอลโว โดย เฉพาะเรือ่ งของการดีไซนอนั เปนเอกลักษณของตัวรถเอาไว ลาสุดไดคลอดรถยนต แนวคิด Volvo Concept Coupe 2014 จากตนแบบของรถทีไ่ ดรบั ความนิยมในอดีต Volvo P1800 สูเ ทคโนโลยีปจ จุบนั ทีใ่ สใจดานสิง่ แวดลอมกับ Plug in Hybrid
VOLVO Concept Coupe
สืบตํานานอดีตสูเ ทคโนโลยี Plug in Hybrid
62
Energy#61_p62-63_Pro3.indd 62
11/25/13 11:48 PM
Volvo P1800 ถือเปนรถยนตในตํานานยุค 60 กับการออกแบบ ใหเปนรถสปอรตสองประตูที่ขึ้นชื่อเรื่องดีไซนที่งดงามรุนหนึ่ง ของวอลโว จากอดีตถึงปจจุบัน P1800 ไดถูกนํามาปรับใหเขา กับยุคสมัยกับการกลับมาในรูปแบบของ Concept car โดย ที ม ออกแบบยั ง คงรั ง สรรค ร ถต น แบบที่ ค งกลิ่ น ไอเดิ ม เอาไว แตไดบรรจุเทคโนโลยีของระบบขับเคลื่อนใหมหมดจดภายใตชื่อ Volvo Concept Coupe 2014
Volvo P1800
Volvo Concept Coupe ถูกออกแบบใหแตกตาง จากตนแบบ P1800 โดยเพิ่มความภูมิฐานมากขึ้น โดยจงใจใชแนวเสนที่มีความนุมนวลบนรูปทรงแบบ สปอรตคูเปสองประตู ใหเหลี่ยมมุมจากสันสวนที่โคง เวาดานบั้นทายสอดประสานไปกับไฟทายแอลอีดีรูป ตัวซี รับแนวโคงของหลังคาคูเปที่เล็กและลาดเอียง ในมุมที่พอดีกับแนวดานขาง เสาหนาและเสาทายมี ขนาดเกือบเทากัน เพิ่มทัศนวิสัยยามขับขี่ใหมมาก ยิ่งขึ้น หลังคาทําจากกระจกที่สามารถปรับแสงได เมื่อวิ่งผานสภาพแสงตาง ๆ เสนสายดานขางตัวถัง ที่ดูทึบตันรับกับลออัลลอยขอบ 21 นิ้ว ภายในหองโดยสาร เปนอีกสวนที่ไดจากตนแบบ P1800 มาตรวัดเรืองแสงสีฟาทรงกระบอก เบาะ แบบตัวแขงพรอมเข็มขัดนริภัยสี่จุดยึด จอแสดง ผลขนาดใหญกลางคอนโซลระบบสัมผัส พื้นที่ผูขับขี่ และผูโดยสารถูกแยกจากกัน โดยวัสดุที่ใชประกอบ ด ว ยพลาสติ ก หนั ง และโลหะอะลู มิ นั ม อั ล ลอย หัวเกียรแบบพลาสติกใสคลายแกว ตามแนวคิด ของการออกแบบจากสแกนดิเนเวียไดอยางชัดเจน
ถึงแมวา จะเปนรถแนวคิด แต Volvo Concept Coupe 2014 ไมไดเปน เพียงรถทีอ่ อกแบบไวโชวเพียงอยางเดียว แตไดมกี ารติดตัง้ เครือ่ งยนต ใหสามารถขับขีไ่ ดจริงดวยการติดตัง้ เครือ่ งยนตเบนซิน DRIVE-E แบบ 4 สูบแถวเรียงขนาด 2 ลิตร เทอรโบ ทํางานรวมกับระบบ Plug-in Hybrid เมือ่ ทํางานคูก นั จะสามารถรีดแรงมามากถึง 400 ตัว กับแรงบิด 600 นิวตันเมตร ผานระบบขับเคลื่อนลอหลังตามแบบฉบับของ P1800 ทําไม Volvo Concept Coupe 2014 ถึงไดบรรจุเครือ่ งยนตทสี่ ามารถ ขับเคลือ่ นได แทนทีจ่ ะเปนแนวคิดทีอ่ ยูเ พียงบนกระดาษรางแบบเทานัน้ ก็เพราะวาเครือ่ งยนตตระกูล DRIVE-E เปนเทคโนโลยีทพ ี่ งึ่ เปดตัวไปไม นาน ทั้งเครื่องยนตแบบเบนซินและดีเซล อัดอากาศดวยเทอรโบ โดย TRU 140S เครื่องเบนซินจะจายเชื้อเพลิงดวยระบบหัวฉีดแบบไดเรคอิ นเจคชั่น ที่ โดดเดนอยางมากคือ เครื่องดีเซลจายเชื้อเพลิงดวยชุดหัวฉีดคอม มอลเรลไดเรคอินเจคชั่น มีแรงดันสูงถึง 2,500 บาร ทํางานรวมกับ ระบบอัดอากาศ หรือ เทอรโบ เครื่องบล็อกนี้สามารถสรางแรงมาได ถึง 245-306 แรงมา รวมถึงระบบมอเตอรไฟฟา Plug-in Hybrid ก็ จะถูกนํามาใชรถวอลโวรุนตอ ๆ ไปมากยิ่งขึ้น
63
Energy#61_p62-63_Pro3.indd 63
11/25/13 11:48 PM
Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
The Power Green Camp คายผูนําเยาวชนวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม
เยาวชนคือกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนประเทศ เพราะเปนกําลังกลุมเล็ก ๆ ที่มีความคิดสรางสรรคสิ่งใหม ๆ ใหเกิดขึ้น ผานสองมือและความคิดบวกที่มีตอทุกสิ่ง ปจจุบันกลุมเยาวชนเขามามีบทบาทมากขึ้น ลําพังความคิดสรางสรรคของพวกเขา ไมอาจถูกถายทองออกมาได หากไมไดรับการสนับสนุนจากผูใหญใจดี ใหมีเวทีแสดงออกถึงความคิดสรางสรรค อยางคาย The Power Green Camp ที่เปรียบเสมือนเวทีใหเยาวชนไดแสดงออกถึงแนวคิดในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง
64
Energy#61_p64-65_Pro3.indd 64
11/15/13 10:51 PM
The Power Green Camp หรือ คาย เพาเวอรกรีน ถือเปนพืน้ ทีแ่ ละเวทีใหเยาวชน ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4-5 สาย วิทยาศาสตรจากทั่วประเทศ ไดแสดงพลัง ดานความคิดและการเปนผูน าํ ในการนําเสนอ ความคิดสรางสรรคเพือ่ การดูแลและอนุรกั ษ ทรัพยากรนํ้าอยางยั่งยืน ผานการแสดง นิ ท รรศการโครงงานกลุ ม วิ ท ยาศาสตร สิง่ แวดลอม โดยไดดาํ เนินโครงการติดตอกัน มาเปนปที่ 8 ภายใตหวั ขอ “วิกฤตินาํ้ วิกฤติโลก เพาเวอร ก รี น รวมพลั ง จั ด การนํ้ า ข า ม พรมแดนแบบบู ร ณาการ” เพื่ อ สะท อ น จิ ต สํ า นึ ก และการมี ส ว นร ว มในการดู แ ล อนุรักษทรัพยากรนํ้าแบบบูรณาการอยาง ยัง่ ยืน ณ ศูนยการเรียนรู มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา
ภายใตความรวมมือระหวาง คณะสิง่ แวดลอม และทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และ บริษทั บานปู จํากัด (มหาชน) ทีด่ าํ เนินการ จั ด โครงการค า ยเยาวชนวิ ท ยาศาสตร สิ่งแวดลอม หรือ The Power Green Camp รุน ที่ 8 และโครงการคายผูน าํ เยาวชน วิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม หรือ The Power Green Leader Camp รุน ที่ 6 เพราะเล็งเห็น ความสํ า คั ญ ของการสร า งและพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษยใหมคี ณ ุ ภาพและศักยภาพ เพือ่ เปนพืน้ ฐานใหเยาวชนเกิดความตระหนัก ตอทรัพยากรนํา้ ของประเทศ โครงการดังกลาว ยังมุงเนนใหเยาวชนเกิด การเรียนรู ฝกทักษะ มีจติ สาธารณะ คิดเปน ทําเปน มีเหตุมผี ล และรูจ กั การคิดวิเคราะห ต อ ป ญ หาทรั พ ยากรนํ้ า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ผ า น กระบวนการเรียนรูท างวิทยาศาสตร ปลูกฝง เยาวชนใหเห็นถึงความสําคัญของสิง่ แวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ ผานการเรียนรู เนือ้ หา การฝกทักษะโดยการทดลอง พรอม ทัง้ การปฏิบตั จิ ริง และการศึกษานอกสถาน ที่ สงเสริมและเปดโอกาสใหเยาวชนไดรับ การเสริ ม สร างทัศนคติที่ดีต อการเรี ยนรู
ทางวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม เพือ่ นําไปสูก าร ศึกษาตอทางดานวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอมใน ระดับมหาวิทยาลัยอยางมีประสิทธิภาพ หัวขอ “วิกฤตินํ้า วิกฤติโลก เพาเวอรกรีน รวมพลั ง จั ด การนํ้ า ข า มพรมแดนแบบ บูรณาการ” เปนโจทยที่ตองการใหเยาวชน สามารถเรี ย นรู แ บบบู ร ณาการเกี่ ย วกั บ ทรัพยากรนํา้ เพือ่ เตรียมเยาวชนใหสามารถ ปรั บ ตั ว เตรี ย มพร อ ม และนํ า ความรู ม า ประยุกตใชในการดําเนินชีวติ ประจําวัน โดยมี แนวทางการเรียนรูแ บบการสืบเสาะหาความรู ทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง รวม ทั้งการเรียนรูจากการปฏิบัติจริงจากแหลง เรียนรูต า ง ๆ ทัง้ นอกและในหองเรียน รวมทัง้ ในระบบเครือขายอินเตอรเน็ต พรอมการ พัฒนาเยาวชนใหมจี ติ สํานึกตอทรัพยากรนํา้ สงเสริมความรูดานสิ่งแวดลอมแกเยาวชน ในการนําไปสูการปฏิบัติ เพื่อการพัฒนา สิง่ แวดลอมทีย่ งั่ ยืน ตลอดจนเพือ่ สรางเครือขาย และแกนนําทางดานวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม เพือ่ ถายทอดใหเยาวชน ชุมชน และสังคม ที่ตองนําเรื่อง “นํ้า” มาเปนหัวขอหลักของ The Power Green Camp ปนี้ เพราะ นํ้าเปนทรัพยากรสําคัญที่สามารถเกิดขึ้น และทดแทนไดอยูตลอดเวลา จนเรียกวา วัฏจักรของนํา้ ซึง่ นํา้ มีบทบาททัง้ ในการรักษา อุณหภูมิของโลกใหพอเหมาะ และจัดเปน สวนประกอบที่สําคัญของรางกายมนุษย นอกจากนี้ยังเปนแหลงกําเนิดของสิ่งมีชีวิต เชน พืช สัตว กอใหเกิดความอุดมสมบูรณ และรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เปนตน ปจจุบนั ในภูมภิ าคตาง ๆ รวมทั้ ง ประเทศไทย กํ า ลั ง ประสบป ญ หา ทรัพยากรนํา้ อันไดแก ป ญ หาทรั พ ยากรนํ้ า ที่ มี จํ า กั ด และป ญ หา ก า ร ข า ด แ ค ล น นํ้ า ที่ มี แ นวโน ม รุ น แรง ขึ้ น โดยวิ ก ฤตการณ การขาดแคลนนํ้ า มา จากหลายสาเหตุ เชน ความต อ งการใช นํ้ า ในกิ จ กรรมต า ง ๆ มี ป ริ ม า ณ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น ความไม ส มดุ ล ของ ทรั พ ยากรนํ้ า ระหว า งฤดู แ ล ง และฤดู ฝ น การเกิดภาวะฝนทิ้งชวงนานจนเกิดปญหา ภัยแลงสงผลใหพื้นที่เกษตรกรรมเสียหาย
รวมถึงการใชนํ้าที่ขาดการวางแผนที่รัดกุม และเหมาะสม ตลอดจนแหลงนํา้ หลายแหงมี สภาพทีก่ าํ ลังเสือ่ มโทรม เนาเสีย คุณภาพนํา้ ไมเหมาะสม ไมสามารถนํานํา้ กลับมาใชไดอกี The Power Green Camp และงานแสดง นิ ท รรศการโครงงานกลุ ม วิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ มเพาเวอร ก รี น 8 เป น หนึ่ ง ใน กิ จ กรรมของโครงการค า ยเยาวชน วิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม จัดขึน้ ในชวงปลาย เดือนตุลาคมที่ผานมา โดยมีเยาวชนหัวใจ สีเขียวที่กําลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 และ 5 สายวิทยาศาสตร จํานวน 65 คน จาก ทั่วประเทศ ใชชีวิตรวมกันตลอดระยะเวลา 8 วัน เพื่อเรียนรูถึงความสําคัญของการ จั ด การทรั พ ยากรนํ้ า อย า งยั่ ง ยื น การใช วอเตอรฟุตพริ้นท แนวทางการปองกันและ แกไขปญหามลพิษทางนํ้า จากคณาจารย ผู เ ชี่ ย วชาญจากคณะสิ่ ง แวดล อ มและ ทรั พ ยากรศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล และวิ ท ยากรจากหน ว ยงานด า นการดู แ ล อนุรักษนํ้า ตลอดจนไดเรียนรูการมีสวน ร ว มของชุ ม ชนในการดู แ ลและอนุ รั ก ษ แม นํ้ า ท า จี น จากกิ จ กรรมทั ศ นศึ ก ษา ศูน ยทาจีน ศึก ษา โรงเรียนวัดดอนหวาย จังหวัดนครปฐม เพือ่ ใหสอดคลองกับการเตรียมตัวรับการเขา สูป ระชาคมอาเซียนในป 2558 คายเพาเวอร กรีน 8 ไดมกี ารเสริมการเรียนรูก ารบริหาร จัดการนํ้าเปนภาษาอังกฤษจากวิทยากรที่ เปนเจาของภาษา ผานกระบวนการเรียนรูที่ สนุกสนานและเนนการมีสว นรวมของผูเ รียน ซึ่งนับเปนปที่สองของคายเพาเวอรกรีน ที่ มีการจัดการเรียนรูด ว ยภาษาอังกฤษ
65
Energy#61_p64-65_Pro3.indd 65
11/15/13 10:51 PM
Energy Loan อภัสรา วัลลิภผล
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) ด�าเนินการ สนั บ สนุ น ให้ ค� า ปรึ ก ษาเพื่ อ ลด ต้นทุนพลังงานให้โรงงาน SME กว่า 2,000 แห่ง หวังให้เกิดการลงทุน อย่างต่อเนือ่ ง ตัง้ เป้าผลักดันกลุม่ อุตสาหกรรมสิง่ ทอ อาหาร เครือ่ งดืม่ ไม้ อโลหะ ที่มีขนาด 50 แรงม้า ขึ้นไป ที่สามารถท�าให้เกิดการใช้ พลั ง งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ทัง้ ยังต้องการให้ภาคอุตสาหกรรม ไทยสามารถแข่งขันรองรับ AEC ทีก่ า� ลังมาถึงได้
พพ. เดินหน้าโครงการสนับสนุนการให้ค�าปรึกษาด้านพลังงาน เพื่อลดต้นทุนพลังงานให้กับธุรกิจ SME นายประมวล จั น ทร์ พ งษ์ อธิ บ ดี ก รม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) เปิ ด ตั ว โครงการสนั บ สนุ น การ ให้คา� ปรึกษาเพือ่ ลดต้นทุนพลังงานในโรงงาน อุ ต สาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ ก พร้อมกล่าวว่า จากที่กระทรวงพลังงานได้ ก�าหนดเป้าหมายในแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี ซึ่งถือเป็นนโยบายส�าคัญของรัฐบาล ที่ได้แถลงต่อรัฐสภา โดยจะลดความเข้มข้น การใช้พลังงาน หรือ Energy Intensity ให้ได้ร้อยละ 25 ภายในปี 2573 ปัจจุบัน แนวทางส�าคัญที่จะด�าเนินการ คือ การเร่ง เข้าไปให้กลุม่ ผูใ้ ช้พลังงานสูง โดยเฉพาะกลุม่ ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมให้เกิดการ ประหยัดพลังงานอย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ทั้งนี้ พพ. ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก กองทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ด�าเนิน โครงการสนั บ สนุ น การให้ ค� า ปรึ ก ษาเพื่ อ ลดต้นทุนพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดเล็ ก (SME) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่ม SME ดังกล่าว ได้ รับการตรวจวัดและค�าปรึกษาแนะน�าในการ ด�าเนินมาตรการอนุรกั ษ์พลังงานทีเ่ หมาะสม เพื่อให้โรงงานอุตสาหกรรม SME เหล่านี้ มีศักยภาพในการด�าเนินโครงการอนุรักษ์ พลั ง งานต่ อ ไป ซึ่ ง เบื้ อ งต้ น ได้ ก� า หนดไว้ ประมาณ 2,000 แห่งทั่วประเทศ โดยจะ พิจารณากลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอ อาหาร เครือ่ งดืม่ ไม้ อโลหะ ซึง่ มีโรงงานขนาดแรงม้า ติดตั้ง 50 แรงม้าขึ้นไป
พพ.พบว่ า สถานประกอบการหลายแห่ ง ยั ง ขาดความรู ้ ความเข้ า ใจในเรื่ อ งการ ใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์ ท�าให้ขาด การบ�ารุงรักษาที่เหมาะสม ไม่ทราบวิธีการ ที่จะใช้เครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพทางด้าน พลังงาน จึงเป็นเหตุให้สูญเสียพลังงานไป โดยเปล่าประโยชน์ ดังนั้น พพ.จึงพิจารณา แล้วเห็นว่า การเข้าไปแนะน�าปรึกษาเรือ่ งการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการ ตรวจวัด วิเคราะห์ ก็จะท�าให้ทราบถึงโอกาส และมาตรการที่จะช่วยลดการใช้พลังงานได้ ซึ่งในท้ายที่สุดผู้ประกอบการก็จะลดต้นทุน ลงได้ และน� า เงิ น ไปพิ จ ารณาการลงทุ น ต่อยอดเพิ่มเติมได้ ส� า หรั บ ผู ้ ที่ ส นใจเข้ า ร่ ว มโครงการต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ดั ง นี้ 1.ผู ้ ข อรั บ การสนั บ สนุ น ต้ อ งเป็ น สถานประกอบการที่ เ ป็ น โรงงาน อุ ต สาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ ก (ไม่เป็นโรงงานควบคุมตามพระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ.2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550) 2.ผู้ขอรับการ สนั บ สนุ น ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ แ ละ เงือ่ นไขของโครงการ ตลอดจนให้ความร่วมมือ ในการด�าเนินการต่าง ๆ ในโครงการ ทั้งนี้ ในการสมัครหรือด�าเนินการใด ๆ เกี่ยวกับ โครงการ จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของสถานประกอบการ โดยเอกสารใบสมั ค ร หนั ง สื อ สั ญ ญา สนับสนุน และเอกสารอื่น ๆ ในโครงการ จะต้ อ งลงนามโดยเจ้ า ของกิ จ การ หรื อ
กรรมการผู้จัดการ หรือผู้มีอ�านาจท�าการ แทนนิ ติ บุ ค คล 3.ผู ้ ข อรั บ การสนั บ สนุ น จะต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและคุณสมบัตขิ อง บุคคลหรือนิติบุคคลที่จะเข้าเป็นคู่สัญญา กั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ตามประกาศคณะ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ (ป.ป.ช.) เรื่องหลักเกณฑ์และวิธี การจัดท�าและแสดงบัญชีรายการรับจ่าย ของโครงการที่ บุ ค คลหรื อ นิ ติ บุ ค คลเป็ น คู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2554 นายประมวล กล่าวเพิ่มเติมว่า นอกจาก โครงการให้ ค� า ปรึ ก ษาฯแล้ ว ขณะนี้ พ พ. ได้มีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่ม อุ ต สาหกรรมให้ ป ระหยั ด พลั ง งานด้ ว ย ได้ แ ก่ โครงการสนั บ สนุ น การลงทุ น เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย น ปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งจั ก ร วั ส ดุ อุปกรณ์เพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน (20 – 30 % Direct subsidy) ซึ่งจะเป็นการช่วยเหลือ ด้านการเงินแบบให้เปล่าร้อยละ 20 – 30 ของการลงทุน โครงการส่งเสริมการลงทุน ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Revolving Fund) และโครงการ ขอรับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้จาก กรมสรรพกากร เป็นต้น ผู้สนใจสามารถ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์บริการ วิชาการ พพ. 02-223-7474 หรือที่เว็บไซด์ www.dede.go.th
66
Energy#61_p66_Pro3.indd 66
11/7/13 11:56 PM
Energy#61_p67_Pro3.indd 67
11/22/13 11:57 PM
Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ใคร ? คือพระเอกหรือผู้ร้ายตัวจริง ของพลังงานทดแทนไทย ข่าวหนาหูด้านพลังงานทดแทนที่กระจายไป ทัว่ ประเทศและทัว่ โลก นัน่ คือ รง.4 ซึง่ หมายถึง ใบอนุ ญ าตให้ ส ร้ า งโรงงานอุ ต สาหกรรม ทั่ว ๆ ไป รวมทั้งพลังงานทดแทน สาเหตุ อาจเกิดจากการปรับเปลี่ยนนโยบายและวิธี การพิจารณาใบอนุญาตของกรมโรงงาน อุตสาหกรรม แต่แท้ทจี่ ริงแล้วธุรกิจพลังงาน ทดแทนที่ลุ่ม ๆ ดอน ๆ อยู่นี้ ยังมีหน่วยงาน หรือองค์กรอีกกว่า 10 แห่ง เข้ามามีส่วน ร่วมในการตรวจสอบการขอใบอนุญาต 1 ใบ จึ ง ขอยกตั ว อย่ า งบางองค์ ก รที่ มี บ ทบาท ส�าคัญเพื่อช่วยกันโหวตว่า ใครคือพระเอก หรือผู้ร้ายตัวจริง ก่อนอื่นต้องท�าความเข้าใจก่อนว่า ธุรกิจ พลั ง งานซึ่ ง รวมถึ ง พลั ง งานทดแทน เป็ น ธุรกิจเกิดใหม่ในประเทศไทย กฎระเบียบที่ ค้างคาในแต่ละหน่วยงานไม่ได้ถูกยกเลิกไป แม้แต่ มาตรา 48 แห่ง พ.ร.บ.ประกอบ ไทยก็ โ ตมาด้ ว ยวิ ธี ก ารแบบครอบครั ว นี้ ไว้เนื้อเชื่อใจกัน จะมีผลเสียบ้างก็น้อยมาก เมื่ อ มี เ รื่ อ งของการเมื อ งเข้ า มาทุ ก อย่ า ง ก็เปลีย่ นไป และมีเรือ่ งเป็นข่าวออกไปทัว่ โลก
กิ จ การพลั ง งาน ที่ ม อบให้ กกพ.หรื อ Regulator รับผิดชอบ ก็ไม่ได้ยกเลิกหรือ ลดอ�านาจหน่วยงานเดิมลงเลยแม้แต่น้อย หรือเข้าใจง่าย ๆ ว่าแทนที่ กกพ.จะเป็น One Stop Service แต่กลับเพิม่ ขัน้ ตอนและเพิม่ เวลาการขออนุญาตออกไปอีก ลองอ่านใน ผังดูวา่ กกพ.ความหวัง One Stop Service ของพลังงานทดแทน มีหน้าที่ถามความเห็น หน่วยงานอื่นเท่านั้น ค�าตอบว่าโอเคเพื่อให้ ลดอ�านาจตัวเองลงนั้นคงยาก แล้วใครมี อ�านาจหน้าที่อะไรบ้าง
1.ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4) ก่อนเกิดวิกฤตใบอนุญาตโรงงานต่าง ๆ เมือ่ จะตั้งโรงงานก็จะต้องปรึกษาอุตสาหกรรม จั ง หวั ด และมี ก ารพิ จ ารณากั น เบื้ อ งต้ น เหมือนการตรวจประเมินทั่วไปแบบ Walk Through …ถ้าไม่มอี ะไรผิดสังเกตก็ยนื่ เรือ่ ง ไว้แล้วเตรียมก่อสร้างได้เลย ส่วนขั้นตอน การตรวจสอบให้ใบอนุญาต ก็ปล่อยให้เป็น ไปตามระบบราชการ บางโครงการโรงงาน เสร็จแล้ว ใบอนุญาตยังรอเข้าคิวลงนามอยู่ เลย จะถูกหรือผิดประการใดอุตสาหกรรม
วันนี้ทางสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ก�าลังประสานกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในการที่จะเป็นเกตเวย์การขออนุญาต ซึ่ง ระยะเวลาที่ทางกรมโรงงานฯ ก�าหนดเร็ว ที่สุดที่เอกสารสมบูรณ์ ก็คือ 90 วัน บวก ระยะเวลาด� า เนิ น การก่ อ นและหลั ง ช่ ว ง พิจารณาอีก 120 วัน หากเอกสารไม่ครบ ระยะเวลาก็จะขยายไปอีกเป็น 210 วันโดย ประมาณ 2.คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) องค์กรมหาชนเกิดใหม่ แต่ยังไม่มี อาวุธติดให้ครบมือ มีหน้าทีส่ อบถามความเห็น ไปทั่วทุกองค์กรที่เกี่ยวข้อง แม้ว่าจะไม่มี ข่าวความไม่โปร่งใสออกมา แต่ระยะเวลาที่ ผ่านเข้า กกพ.ก็ใช้เวลาในกระบวนการที่รับ ผิดชอบหลายเดือนเหมือนกัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งช่วงแรก ๆ ที่ตั้งองค์กรใหม่ ๆ หาก
68
Energy#61_p68-69_Pro3.indd 68
11/7/13 11:59 PM
5.ผั ง เมื อ ง ผู ้ ก� า หนดนโยบายอาจลื ม เรื่ อ งของ ผังเมือง ซึ่งอยู่สังกัดกรมโยธาธิการและผังเมือง ภายใต้การดูแลของกระทรวงมหาดไทย ได้ยินชื่อ นี้อย่าเพิ่งตกใจ มหาดไทยยุคใหม่มีหน่วยงานด้าน สิ่งแวดล้อมและพลังงานด้วย...จึงขอเสนอว่าการ ประชุมระดับนโยบายพลังงานทดแทน รัฐบาลควร เพิ่มหน่วยงานดังต่อไปนี้เข้าไปด้วย อาทิ ผังเมือง BOI กรมควบคุมมลพิษ กรมอนามัย และตัวแทน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งจาก อบจ. อบต. และเทศบาล ไม่ควรเป็นการเชิญเฉพาะตัวแทนจาก กระทรวง ปัญหาผังเมืองในขณะนี้ ส่งผลกระทบ ต่อพลังงานทดแทนไม่น้อยไปกว่าใบอนุญาตอื่น ๆ จังหวัดไหน ๆ ก็อยากให้ตวั เองเป็นพืน้ ทีส่ เี ขียว แต่ก็ ต้องมองภาพรวมว่า ถ้าเรายังต้องการความสะดวก สบาย ก็ต้องแลกมาด้วยการพัฒนา เราเพียงแต่ ช่วยกันดูแลให้ได้คุ้มกับเสียก็แล้วกัน ภาพรวมการขอใบอนุญาตผลิตจ�าหน่ายไฟฟ้าเป็นเหมือนในปัจจุบัน คือ เมื่อรวมระยะเวลาการท�างานของทุกองค์กรแล้ว ก็จะไม่น้อย กว่า 2 ปี ถึงจะได้รับใบอนุญาต จึงมีผู้ตั้งค�าถามว่า การตั้ง กกพ. เพื่อเป็นศูนย์รวมรับผิดชอบของรัฐนั้น พลาดเป้าหรือไม่ นอกจากนี้ พ.ร.บ.พลังงานทดแทนที่ออกมาอีก 1 ฉบับ กกพ.จะไปอยู่ส่วนไหน ของพลังงานทดแทน...? 3.กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ปราการ ด่านสุดท้ายของใบอนุญาต หลังจากระหกระเหินและหลุดรอดผ่าน ขัน้ ตอนต่าง ๆ แล้ว ก็มาทีค่ ณะกรรมการพลังงาน โดยมีทา่ นปลัดกระทรวงฯ เป็นประธาน ระยะเวลาหัวท้ายไม่พ้น 3-4 เดือน ปัญหาอาจเนื่องจาก ประธานติดภารกิจ หรือมีเรื่องเข้าประชุมมาก จึงต้องรอคิวนาน การเข้าคณะกรรมการชุดนี้ มี Yes มี No มีลุ้น แต่ท่านสบายใจได้ว่า ถ้าผ่านปราการนี้ก็ไปลงนาม PPA กับการไฟฟ้าได้เลย การไฟฟ้าทั้ง 3 หน่วยงาน ได้แก่ การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) การ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จะต้องเป็นผู้ลงนามในสัญญากับผู้ประกอบกิจการไฟฟ้า ที่ ผ่านมาไม่เคยมีข่าวว่าเรื่องไปช้าที่การไฟฟ้าทั้ง 3 แห่ง จนกระทั่งมา วันนี้ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตร่วมกันปฏิเสธ การรับซื้อไฟฟ้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเหตุผลประกอบ น่ารับฟังอย่างมาก ค�าถามก็คือ ท�าไมไม่มีการแจ้งล่วงหน้า ปล่อย ให้โครงการลงทุนไปแล้ว ซึ่งบางโครงการก็เป็นการสนับสนุนเงินทุน จากกระทรวงพลังงาน สาเหตุอาจเนื่องจากการไฟฟ้าทั้งสองสังกัด กันคนละกระทรวงกับเงินสนับสนุนก็ได้ 4.ท้องถิ่น ในที่นี้อาจหมายถึง อ�านาจส่วนหนึ่งที่ยังอยู่ที่กระทรวง มหาดไทย แน่นอนที่สุดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นเจ้าของพื้นที่ ที่จะสร้างโรงไฟฟ้า ย่อมต้องพิจารณาอย่างรอบคอบให้สมประโยชน์ ทั้งผู้ลงทุนและท้องถิ่น โดยพิจารณาจากความเจริญที่จะเข้ามาใน ท้องถิ่น หักลบกับสภาพสิ่งแวดล้อมที่อาจเสียไปบ้าง หากคุ้มค่าก็ คงจะตอบโอเค
พ.ร.บ.ร่ ว มทุ น มี ชื่ อ เป็ น ทางการว่ า “พระราช บั ญ ญั ติ ก ารให้ เ อกชนร่ ว มลงทุ น ในกิ จ การของ รัฐ” ได้ช่วยฝ่าทางตันโครงการใหญ่ ๆ ของรัฐมา แล้ว เป็นพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนในกิจการ ของรัฐที่เกิน 1 พันล้านบาทขึ้นไป ส่วนกฎหมาย รอง (กฎหมายลูก) ส�าหรับการร่วมลงทุนที่ต�่ากว่า 1 พันล้านบาท แต่เดิมอ�านาจอนุมัติเป็นของผู้ว่า ราชการจังหวัดตามนโยบายการกระจายอ�านาจ แต่ ร่างใหม่มแี นวโน้มจะคืนอ�านาจกลับไปสูเ่ จ้ากระทรวง ที่เกี่ยวข้องและเพิ่มขั้นตอนมากมายซึ่งหากเป็นไป ตามร่างแล้ว โครงการ PPP โรงไฟฟ้า 1 อ�าเภอ 1 เมกะวัตต์ คงต้องคิดใหม่ ท�าใหม่ หรืออาจจะไม่ สามารถท�าต่อก็เป็นไปได้ NGO ถ้าเป็น NGO พันธุ์แท้ก็คงไม่เท่าไร แต่ถ้า เป็นธุรกิจของ NGO ก็คงต้องแก้ไขให้ตรงจุด เรื่อง ของพลังงาน NGO ระดับสากลมักจะมีความเห็น แย้งเฉพาะ 2-3 เทคโนโลยี แต่ก็มีเหตุผลประกอบ ความเห็น เช่น เตาเผาขยะ เนื่องจากควบคุมมลพิษ ได้ยาก และไม่ได้น�าทรัพยากรมาใช้อย่างคุ้มค่า และ อีกเทคโนโลยีหนึง่ ก็คอื การผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน ซึง่ เทคโนโลยีเดิม ๆ อาจยังสะอาดไม่พอ นอกจากนี้ NGO ก็ยงั กังวลเรือ่ งระบบการขนส่งถ่านหิน เป็นต้น ความจริงแล้วยังมีผู้ที่เกี่ยวข้องอีก...เมื่อท่านเห็น ภาพช้างทั้งตัวแล้ว อย่าเพิ่งถอดใจ มติ ครม. เมื่อ วันที่ 13 สิงหาคม 2556 เห็นชอบในแนวทาง One Stop Service ซึ่งหากฝันของชาวพลังงานทดแทน เป็นจริง ระยะเวลาการขออนุญาต จาก 2-3 ปี อาจ เหลือเพียง 2-3 เดือน ก็เป็นได้ ซึ่งผู้ต้องหาและ ผูร้ า้ ยตัวจริง จะได้แปลงร่างกลายเป็นอัศวินขีม่ า้ ขาว น�าขบวน AEDP ปี 2556 สู่เป้าหมาย เชิดหน้า ชูตา ใน AEC และในเวทีโลก...
69
Energy#61_p68-69_Pro3.indd 69
11/7/13 11:59 PM
Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง ผูอํานวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
ผูประกอบการโลจิสติกสไทย กับการปรับตัวสู AEC ตอนที่ 1 เมื่ อ ต น เดื อ นพฤศจิ ก ายนที่ ผ า นมา ทาง หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัย เซาธ อี ส ท บ างกอก ได จั ด สั ม มนาเรื่ อ ง “ผูประกอบการโลจิสติกสกับการปรับตัว เขาสู AEC” ณ ศูนยนทิ รรศการและการประชุม ไบเทค บางนา มี ทั้ ง การบรรยายพิ เ ศษ โดย ดร.ธนิต โสรัตน และการเสวนาพูดคุยกัน ระหว า ง ผศ.ดร.วิ ชั ย รุ ง เรื อ งอนั น ต คุณจักรชัย วิสทุ ธากุล และดร.สิทธิชยั ฝรัง่ ทอง ซึ่ ง ข อ มู ล ดั ง กล า วในการสั ม มนาน า จะมี ประโยชนสําหรับผูประกอบการโลจิสติกส จึงขอนํามาฝากในฉบับนี้
จุ ด เปลี่ ย นประเทศไทยโอกาสและความ ทาทายเรื่องของ AEC เปนเรื่องของการ เปลี่ยนบริบทของภูมิภาค AEC เปนหนึ่งใน ข อ ตกลงที่ ย กระดั บ เป น เรื่ อ งของสั ง คม และวัฒนธรรม พูดถึงการใชสิ่งแวดลอม รวมกันซึง่ อาจมีกองกําลังในอนาคต เรือ่ งของ ภาษาจนถึงการเปลี่ยนแปลงระบบราชการ จุดเปลี่ยนของอาเซียนจะยิ่งใหญจะเปนการ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของมนุ ษ ย EU เป น ตั ว อย า งที่ ดี ซึ่ ง EU ไม ไ ด ผ นึ ก เป น เนื้ อ เดียวกัน แตเรื่องของอาเซียนพูดถึงเฉพาะ AEC เป น เรื่ อ งของประชาคมเศรษฐกิ จ
อาเซี ย นมารวมกั น เป น ข อ ตกลงที่ ก อ ให เกิดสินคาและบริการ เกิดเสรีกันทุกภาค อุตสาหกรรม ตางชาติหรืออาเซียนจะเขามา ถือหุนรอยละ 70 ของการบริการโลจิสติกส การเปลี่ ย นแปลงของภู มิ ภ าคส ง ผลต อ ผูป ระกอบการของไทย ซึง่ การทีก่ าํ ลังจะเขาสู AEC ประเทศไทยเปนแหลงเรียนรูใหกับ หลาย ๆ ประเทศ โดยเฉพาะพมา เพราะ ประชาชนพม า อยู ใ นเมื อ งไทยประมาณ 2 ลานคน พวกเขาสามารถนําความรูไ ปพัฒนา ประเทศได แมกระทัง่ เวียดนามก็พฒ ั นาไดมาก
70
Energy#61_p70-71_Pro3.indd 70
11/22/13 9:56 PM
แม แ ต กั ม พู ช าก็ อ ย า ประมาท แต ม าเลเซี ย ไม ไ ด ม องประเทศไทย เปนคูแขง เพราะไทยมีปญหาภายในประเทศ โดยมาเลเซียในป 2020 ประกาศวาจะเปนประเทศที่ยกระดับเปนประเทศที่พัฒนาแลว อีกทั้ง การเขาสูอาเซียนตองเปลี่ยนจากความทาทายเปนโอกาส โดยใหเห็น ภาพที่เกิดการเชื่อมกันของโครงสรางพื้นฐาน จะมีเรื่องของการคา เปนตลาดฐานการผลิตรวมกัน AEC พูดถึงเสรีทางการคา เรื่องของ โครงสรางพื้นฐานตองอาศัยโลจิสติกส และตองทําความเขาใจวาเปน โลจิสติกสขามพรมแดน อยางไรก็ดี การเปนศูนยกลางของไทยไมวา จะไปประเทศใดในภูมภิ าค อาเซียนก็ตองผานไทย การเชื่อมโยงของโลจิสติกสมีทั้งดานบวกและ ดานลบในแตละประเทศตองมีกฎหมายแตละประเทศ การมองอาเซียน วามีธุรกิจอะไรบาง ตองทําเมื่อมีการรวมกันมีการพัฒนาไปเรื่อย ๆ กอนทําการคาและลงทุนตองเขาใจประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ประวัติศาสตร และอุปนิสัย ในเรื่องของการ Sourcing และ Service Sector การใหบริการโลจิสติกส และสปา ร า นอาหาร ซึ่ ง ประเทศไทยไดเปรียบสามารถ ไปทําธุรกิจได สวนการทําธุรกิจ ในตางประเทศควรระวัง เพราะ สวนมากรูไมจริง สวนคนที่รู จริงจะเปน International อีก เรื่องที่สําคัญในการทําการคา คือ เรื่องศักดิ์ศรี ตองเขาใจ การเข า สู อ าเซี ย นในมุ ม มอง ของการเปนผูประกอบการที่ดี AEC มีหัวใจสําคัญอยู 2 เรื่อง คือ 1. การเปนการตลาดฐาน เดี่ยว กับ 2. การเปนฐานการ ผลิตรวมกัน 1. การเปนการตลาดฐานเดีย่ ว หมายความวา เรามีภาษีภายใตการ เชือ่ มโยงหรือการคมนาคมในการขนสง การสงมอบของสินคาโลจิสติกส จะสงมอบ 3 ระเบียงเศรษฐกิจ คือ ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ ระเบียง เศรษฐกิจใต ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก ระเบียงเศรษฐกิจตะวันตก - ในระเบี ย งเศรษฐกิ จ เหนื อ มี ถ นนหลายถนนเชื่ อ มโยงประเทศ เพื่อนบาน ทางเหนือออกจากเชียงรายถึงบอหันของจีน ระยะทาง ประมาณ 200 – 250 กิโลเมตร -ในสวนระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกและตะวันตก จะเปนเสน R9 ทาง ดานมุกดาหารไปสุดที่โฮดาของเวียดนาม -ในระเบียงเศรษฐกิจใต จะเปนเสน R5 ทางดาน กาญจนบุร-ี นครปฐมกบินทรบุรี-อรัญประเทศ-พนมเปญ 2. การเปนฐานการผลิตรวมกัน ตนทุนการผลิตไทยแขงขันไมได ทั้ง ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคการคา-บริการของไทย จึง เริ่มมีแนวคิดการยายฐานการผลิตไปสูประเทศเพื่อนบานที่มีตนทุน การผลิตทีต่ าํ่ กวาไทย การขาดแหลงวัตถุดบิ และทรัพยากรธรรมชาติ จําเปนทีจ่ ะตองแสวงหาแหลงผลิตใหมซงึ่ มีทรัพยากรทีพ ่ อเพียงและมี ราคาทีต่ าํ่ กวาการผลิตในประเทศ สําหรับปจจัยการเลือกแหลงลงทุนใน ประเทศเพือ่ นบาน ทิศทางการลงทุนของไทยจะไหลออกไปนอกประเทศ ซึ่งอุตสาหกรรมของไทยเติบโตเร็ว ไมวาจะเปนธุรกิจปูนซีเมนต ไทย เครือเจริญโภคภัณฑ นํ้าตาลมิตรผล แตธุรกิจ SMEs เติบโตชา
เมือ่ 10 ปทแี่ ลว การใชแรงงานของไทยคาแรงแพงกวาเพือ่ นบาน 3 เทา ในอนาคต มาเลเซีย สิงคโปร อินเดีย จะไปลงทุนในพมา แมแตคนไทย ก็จะไปลงทุนในประเทศเพื่อนบานและกลับมาขายภายในประเทศ นอกจากนี้ เรื่องโลจิสติกสในยุคนี้เดินดวยระบบ Digital โลจิสติกส จึงกลายเปน E-Logistic แลว กระบวนการโลจิสติกส ไมใชจะเปน กระบวนการเคลื่อนยายสินคาเพียงอยางเดียว แตเปนกระบวนการ รวบรวมข อ มู ล ข า วสาร ดั ง นั้ น ผู ใ ห บ ริ ก ารโลจิ ส ติ ก ส ต อ งเข า ใจ ภูมิศาสตรของการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมในภาคการผลิต โดยเฉพาะการเปดเสรี AEC เขาสูอาเซียนจะเปนการขนสงขามแดน ระหวางประเทศ การเปดภาคโลจิสติกสของคนไทยนั้น เปนภาคเดียว ที่มีปญหาและการแขงขันสูง อยางไรก็ดี ในภาพรวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC เปรียบ เสมือนเหรียญสองดาน คือ เปนทั้งโอกาสและความท าทาย ขึ้น อยูกับวามีการปรับตัวหรือรอโชคชะตาเศรษฐกิจ (ใหม) และชุมชน ไร พ รมแดนของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเชี ย นจะก อ ให เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลงอยางคาดไมถึง ทั้งในระดับปจเจกบุคคลและระดับธุรกิจ ทีจ่ ะตองเผชิญกับผูป ระกอบการโลจิสติกสทงั้ ในกลุม ประเทศอาเซียน และนอกกลุมอาเซียน ฉบับหนาจะกลาวถึงผูประกอบการโลจิสติกส ไทยจะตองติดอาวุธอะไร ? ในการเตรียมพรอมสู AEC ครับ 71
Energy#61_p70-71_Pro3.indd 71
11/22/13 9:56 PM
Around The World พิชญาภา อินทโลหิต
เตาเสียบปลั๊กไฟแบบพกพา พลังงานแสงอาทิตย แสงอาทิตย หรือ แสงแดด ที่เราพบเจอกันอยูทุกวันนี้ สามารถ นํามาใชประโยชนไดอยางมหาศาลในรูปแบบของพลังงานแสงอาทิตย เรามาดูคอนเซ็ปตของเตาเสียบปลั๊กไฟสุดเทที่อาศัยพลังงานแสง อาทิตยในการชารจไฟชิน้ นี้ เปนผลงานออกแบบของ Kyuho และ Boa oh ภายใตชอื่ Window socket จะเสียบปลัก๊ ทีไ่ หนก็ไดแมแตกระจก!! เพียงติดตัง้ socket ไวกบั พืน้ ผิวทีส่ ามารถรับพลังงานแสงอาทิตยได พลังงานก็จะถูกเก็บไวใน socket เมื่อนําปลั๊กไปเสียบที่ socket ก็ใช พลังงานไฟฟาไดทันที และ socket นี้ยังสามารถเคลื่อนยายไปติด กับกระจกที่ไหนก็ได พกพาสะดวก ปลั๊กตัวนี้สามารถดึงพลังจาก แสงอาทิตยและเก็บพลังงานไฟฟาได 1,000 mAh ใชเวลาประมาณ 5-8 ชั่วโมงในการชารจไฟใหเต็ม และใชงานตอเนื่องไดประมาณ 10 ชั่วโมงตอการขารจ 1 ครั้ง แตผลงานนี้ยังเปนแคแนวความคิด prototype เทานั้น แตก็นับวาเปนจุดเริ่มตนที่ดีของไอเดียการใช พลังงานทดแทนในอนาคต
ตึกที่อบอุน…กลางกรุงสตอกโฮลม ตึก Kungsbrohuset อาคาร 13 ชั้น ตั้งอยูใจกลางกรุงสตอกโฮลม ถูกออกแบบขึน้ มาโดยมีสงิ่ แวดลอมเปนโจทยหลัก ผนังอาคารสองชัน้ ทําหนาที่เหมือนกระติกนํ้ารอนกักเก็บความรอนจากแสงอาทิตยที่ สองเขามาเพือ่ ชวยใหความอบอุน ภายในอาคาร ทัง้ นีย้ งั มีระบบควบคุม อุณหภูมิภายในที่เชื่อมตอกับระบบพยากรณอากาศ จึงสามารถ ปรับเปลี่ยนอุณหภูมิในอาคารใหเหมาะสมกับสภาวะอากาศภายนอก ไดอยางเหมาะสม แตสิ่งที่สนใจ คือ การกอสรางตึกสีเขียวแหงนี้ ใชทตี่ งั้ อาคารซึง่ อยูใ กลสถานีรถไฟทีม่ คี นพลุกพลานใหเปนประโยชน โดยติดตั้งเครื่องดักจับความรอนจากรางกายคนกวา 250,000 คน ทีส่ ญ ั จรผานสถานีในแตละวัน และเปลีย่ นใหเปนพลังงานเพือ่ ใชภายใน อาคาร ดวยกระบวนการทัง้ หมดทีก่ ลาวมานี้ ทําให Kungsbrohuset ใชพลังงานเพียงแคครึ่งหนึ่งของตึกที่มีขนาดเทา ๆ กัน
“เเพลนเน็ตโซลาร” นวัตกรรมจากสวิสเซอรแลนด ลักษณะเดนของเรือแพลนเน็ตโซลาร (Planet Solar)คือ แผงรับพลังงานแสงอาทิตย จํานวน 38,000 ชิ้ น ซึ่งการทํางานของเรือใหญ ลํ านี้จะนําพลังงานแสงอาทิตย โดยแผง รับพลังงานแสงอาทิตยที่อยูบนเรือ มาแปลงเปนพลังงานเพื่อใชในการขับเคลื่อนเรือ เรือลํานีเ้ กิดขึน้ เพราะตองการชวยปกปองสภาพแวดลอมและชัน้ บรรยากาศของโลก โดยใชเงิน ลงทุนสรางจํานวน 15 ลานยูโร หรือ ประมาณ 477 ลานบาท รองรับผูโ ดยสารไดประมาณ 40 คน ในปจจุบันไดมีการพัฒนาและสรางสรรคนวัตกรรมเพื่อเปนทางเลือกสําหรับการใชพลังงาน ในอนาคต ดังนั้นยานพาหนะอยางเรือก็มีการดัดแปลงใหประหยัดพลังงานและเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมเชนกัน 72
Energy#61_p72-73_Pro3.indd 72
11/25/13 11:51 PM
รถเก็บขยะพลังงานไฟฟาของฝรั่งเศส กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส คือ เมืองแรกทีน่ าํ รถเก็บขยะไฟฟา มาใชแทนรถเก็บขยะแบบดั้งเดิมที่ทั้งเสียงดังและสรางมลพิษ เปนอยางมาก รถคันนีใ้ ชพลังงานจากแบตเตอรีล่ เิ ธียม-ไอออน จํานวน 7 กอน ถือวาเปนรถเก็บขยะคันแรกที่ใชพลังงานไฟฟา 100% และ ยังสามารถวิ่งไดนานตอเนื่อง 8 ชั่วโมง และใชเวลาชารจ แบตเตอรี่ 8 ชัว่ โมงเชนกัน และคุณสมบัตพ ิ เิ ศษอีกขอหนึง่ คือ จากเดิมรถเก็บขยะแบบเกามีเสียงรบกวนขณะทํางานแตรถ เก็บขยะแบบใหมนแี้ ทบจะไมมเี สียงรบกวนเลย ทําใหพนักงาน สามารถทํางานในเวลากลางคืนได โดยเสียงรถจะไมรบกวน ประชาชนในเวลากลางคืนและยังหลีกเลี่ยงปญหาการจราจร ที่ติดขัดในเวลากลางวันได นอกจากนี้ยังชวยลดการปลอยมลพิษขึ้นสูชั้นบรรยากาศ อีกดวย
นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษสกัด ไฮโดรเจนจากนํ้ามันดอกทานตะวัน นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษคิดไกลนํากาซไฮโดรเจนมาเปนพลังงาน ทางเลือกใหมสาํ หรับรถยนตทจี่ ะมาทดแทนนํา้ มันเชือ้ เพลิง โดยทีมงาน ไดรวมกันพัฒนาวิธีสกัดไฮโดรเจนดวยการใชนํ้ามันดอกทานตะวัน, นํ้า, อากาศ และตัวเรงปฎิกิริยาเพียง 2 ตัว โดยตั้งความหวังวา นวัตกรรมทีว่ า นีจ้ ะเปนเชือ้ เพลิงแหลงพลังงานทางเลือกใหมแทนนํา้ มัน ที่มีราคาพุงไมเวนแตละวัน แมจะอยูในขั้นตอนการทดลองและตนทุน การผลิตคอนขางสูง แตดวยประสิทธิภาพของการประหยัดพลังงาน และชวยปกปองสิง่ แวดลอม นาจะทําใหกา ซไฮโดรเจนทีผ่ ลิตจากนํา้ มัน ดอกทานตะวันเปนที่ตองการในอนาคต
จีนเจงผลิตกาซมีเทนจาก…มูลหมู ชาวจีนในชนบทที่หางไกลความเจริญ ที่อาศัยฟนและถานหิน เปนเชื้อเพลิงมานาน สงผลใหมีการตัดไมทําลายปามากมายจนนา เปนหวง รอนถึงรัฐบาลจีนตองเรงหาพลังงานชดเชยเพื่อมาทดแทน โดยสํานักงานอนุรักษธรรมชาติของทางการจีนไดแนะนําใหชาวจีน ในมณฑลยูนานหันมาใช “เครื่องยอยกาซชีวภาพ” ทั้งประหยัดและ เขากับวิถีชีวิตของชาวชนบทไดดปนอยางดี หลักการก็แสนงายคือ มูลจากเลาหมู , โถสวม และขยะจากหองครัว นํามาผสมรวมกันใน แท็งคใตดิน และสงตอไปยังเครื่องยอยกาซชีวภาพอุณหภูมิสูง ทําให ไดกาซมีเทนสามารถใชจุดเตาและตะเกียงใหความอบอุนแทนไมและ ฟน แถมกากทีเ่ หลือยังนํามาใชเปนปุย ชัน้ ดีใสตน ไมใหงอกงามอีกดวย นับวาเปนการใชทรัพยากรที่มีอยางฉลาดและคุมคาจริง ๆ
73
Energy#61_p72-73_Pro3.indd 73
11/26/13 3:42 PM
ASEAN Update กองบรรณาธิการ
อาเซียน-สหภาพยุโรปวางมาตรฐานฉลากประหยัด ASEAN SHINE ถื อ เป น การยกระดั บ ประสิทธิภาพของเครือ่ งใชไฟฟา สูก ารผลิตและ จําหนายสินคาเครือ่ งใชไฟฟาทีม่ มี าตรฐานดาน การประหยัดพลังงานระดับเดียวกันทั้งภูมิภาค ชวยใหเกิดความตองการใชเครื่องใชไฟฟาที่ ประหยัดพลังงาน และชวยเพิ่มการประหยัด พลังงานไดมากกวา 5,373 กิโลวัตตชวั่ โมง คาดวา จะชวยประหยัดพลังงานไดถงึ 21,500 ลานบาท และนํ า ไปสู ก ารกระตุ น การค า ในอาเซี ย นได มากถึง 4.55 % และลดปญหาภาวะโลกรอนที่ เกิดจากการใชพลังงาน อาเซียน-สหภาพยุโรป(อียู) เตรียมรวมมือ ศึกษามาตรฐานดานประสิทธิภาพทางพลังงาน เพือ่ ใชรว มกัน หรือ “ASEAN SHINE “ โดย อียสู นับสนุนวงเงินศึกษา 1.749 ลานยูโร 80 % ของเงินทุนทัง้ หมดทีใ่ ชในโครงการ มีระยะเวลา โครงการ 4 ป (2013-2016) เพื่อลดการ ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ลดภาวะ โลกรอนรวมกัน
ทั้งนี้ จะเริ่มจากเครื่องปรับอากาศเปนอันดับ แรก เพราะเปนเครือ่ งใชไฟฟาทีม่ ปี ริมาณการใช ในอาเซียนประมาณ 50 % ทีผ่ า นมามาตรฐานที่ กํากับประสิทธิภาพทางดานพลังงานของเครือ่ ง ปรั บ อากาศและเครื่ อ งทํ า ความเย็ น ในแต ล ะ ประเทศ ยังคงมีมาตรฐานที่ความแตกตางกัน โดยเฉพาะในกลุม ประเทศของอาเซียน
ประเทศไทยเปนผูนําในมาตรฐานเครื่องใช ไฟฟาประหยัดพลังงานอันดับ 1 ของอาเซียน มีการใชมาตรฐานฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 (HEPS) ซึ่ ง สามารถประหยั ด ไฟฟ า ได มากกวาเครื่องใชไฟฟาทั่วไปถึง 30 % แต ประเทศเพื่อนบานในอาเซียนหลายประเทศ ยังคงใชเครือ่ งใชไฟฟาทีม่ มี าตรฐานประหยัด ไฟในระดับทีต่ าํ่ กวาหรือไมไดใหความสําคัญ ในเรื่องดังกลาว หากมาตรฐาน ASEAN SHINE เริม่ ใช จะทําใหสนิ คาเครือ่ งใชไฟฟา ในอาเซียนมีมาตรฐานในระดับเดียวกับไทย และผูบริโภคจะไมสับสนกับฉลากประหยัด พลั ง งานของเครื่ อ งใช ไ ฟฟ า อี ก ต อ ไป โดยมาตรฐานการประหยั ด พลั ง งาน เครื่องใชไฟฟาที่จะถูกนํามาใชจะอยูภายใต มาตรฐานสากล คือ ISO5151 เวอรชนั่ 2010 ขึ้นไป สําหรับเครื่องปรับอากาศก็จะตอง มีคา EER มากกวา 3.2 ขึน้ ไป
ดันพลังงานทดแทนภาคขนสงรับ AEC การสงเสริมการใชพลังงานทดแทนในกลุมผู ประกอบการรถบรรทุก เปนเรือ่ งทีก่ ลุม ประเทศ อาเซียนใหความสําคัญ เพราะมีการใชพลังงานที่ คอนขางสูง แมวา จํานวนรถทีอ่ ยูใ นระบบจากนอย กวาภาคครัวเรือนก็ตาม การวางรากฐานในการ ลดการใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงและลอยตัวราคานํา้ มัน ดีเซลในอนาคตเพื่อเปดรับประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน(เออีซ)ี จึงเปนเรือ่ งสําคัญ
กาซแอลเอ็นจี มีศกั ยภาพไมแพนาํ้ มันดีเซล รวมทัง้ ราคาถูกกวา จะชวยลดตนทุนในการขนสงสินคา รวมทั้งยังเปนการแกปญหาขาดแคลนนํ้ามันดีเซล เนื่องจากขณะนี้มีผูผลิตรถยนตหลายคาย เริ่มปรับเปลี่ยนการใชนํ้ามันเชื้อเพลิงสําหรับรถยนตนั่งสวนบุคคลใหสามารถใชนํ้ามันดีเซล ซึง่ รัฐบาลตรึงราคาไวไมเกินลิตรละ 30 บาท ซึง่ ถือวาเขามาแยงใชนาํ้ มันดีเซลของภาคขนสง
แนวทางการปรับเปลี่ยนมาใชพลังงานทดแทน ในกลุม ผูใ ชรถบรรทุก กระทรวงพลังงานไดมกี าร วางแผนใหกลุม รถบรรทุกหันมาใชกา ซปโตรเลียม เหลว(แอลเอ็นจี) และเปดกวางใหผูที่สนใจเขา มาลงทุนเปดสถานีบริการแอลเอ็นจี โดยศึกษา รายละเอียดอยางรอบดาน ไมวา จะเปนจํานวนรถ บรรทุกทีส่ ามารถปรับเปลีย่ นมาใชแอลเอ็นจี วิธี การปรับเปลี่ยน รวมถึงจุดใหบริการของสถานี ซึง่ เห็นวาไมควรมีจาํ นวนมาก แตใหมรี ะยะหางของ สถานบริการทีเ่ หมาะสมกับชวงระยะทางการขนสง โดยขอใหมสี ถานีบริการใหครอบคลุมทัว่ ประเทศ โดยจะเรงดําเนินการใหเสร็จกอนเปดเออีซี 74
Energy#61_p74_Pro3.indd 74
11/19/13 11:38 PM
ASEAN Update กองบรรณาธิการ
ปรับโครงสรางดีเซลรับอาเซียน ประเด็นเรื่องการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน ยังเปนที่จับตาดูจากทุกฝาย บนคําถามที่ วาประเทศไทยจะมีความพรอมหรือไมกับ เรื่องของพลังงาน นักวิชาการไดแนะนําให ประเทศไทยปรับโครงสรางราคาพลังงาน ใหเหมาะสม โดยเฉพาะราคานํ้ามันดีเซลที่ ประเทศไทยจํ า หน า ยในราคาที่ ตํ่ า ที่ สุ ด ใน อาเซียน ทิศทางและแนวโนมสถานการณนํ้ามันของ โลกและทิศทางราคานํ้ามันดิบในตลาดโลก ป 2557 คาดวาจะยังคงผันผวนและทรงตัว อยูในระดับสูงใกลเคียงกับป 2556 ที่ 90112 เหรี ย ญสหรั ฐ ต อ บาร เ รล จากคาด การณ ร าคานํ้ า มั น ดิ บ ดู ไ บป ห น า จะเฉลี่ ย อยูที่ 104 เหรียญสหรัฐตอบารเรล ลดลง เล็กนอยจากปนี้ที่เฉลี่ย 105 เหรียญสหรัฐ เนื่องจากปริมาณการผลิตนํ้ามันดิบในกลุม นอกโอเปก ซึ่งเปนกลุมประเทศที่ไมใชโอเปก
จะเพิ่มขึ้นอีก 1.7 ลานบารเรลตอวัน ขณะที่ ความตองการใชนํ้ามันดิบโลกปหนา คาดวา จะโตขึ้น 1.1 ลานบารเรลตอวัน ซึ่งเปนผล มาจากเศรษฐกิ จ โลกที่ ข ยายตั ว 3.4% แตกย็ งั ไมอาจคาดเดาไดแนนอน เพราะปจจัย ดานความขัดแยงในตะวันออกกลางยังคงมีอยู ซึ่งเป นตัวแปรให ราคานํ้ามันในตลาดโลก ปรับตัวได แตจะสงผลกระทบตอราคานํา้ มัน ดิบในระยะเวลาสั้นเทานั้น
คิดเปนเงินอุดหนุนที่รัฐตองสูญเสียภาษีถึง 3 แสนลานบาท ซึ่งรัฐบาลนาจะนําเงินสวนนี้ ไปใชชวยเหลือประชาชนในดานอื่นมากกวา ที่ผานมา การอุดหนุนราคาดีเซลไมใหเกิน 30 บาทตอลิตร เปนราคาถูกทีส่ ดุ ในอาเซียน นั บ ว า ผู ใ ช นํ้ า มั น ดี เ ซลเป น อภิ สิ ท ธิ์ ช น เสียภาษีนอยมาก สิ่งที่เกิดขึ้นคือผลเสีย ตอระบบโลจิสติกสของไทย ทําใหยอดใชดเี ซล เพิม่ จาก 50 ลานลิตร เปน 60 ลานลิตรตอวัน
ป 2557 ความตองการใชนํ้ามันของโลกจะ อยูที่ประมาณ 91 ลานบารเรล/วัน จากปนี้ อยูที่ 90 ลานบารเรล/วัน เปนสัดสวนที่ เพิ่มจากภูมิภาคเอเชียเปนหลัก โดยเฉพาะ ประเทศจี น ที่ มี ป ริ ม าณการใช เ กื อ บแซง สหรัฐอเมริกาในการนําเขานํา้ มัน และประเทศ ในตะวันออกกลางทีม่ กี ารใชพลังงานเพิม่ ขึน้ ทํ า ให ป ห น า ความต อ งการใช นํ้ า มั น ของ ประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นาจะมากกว า ประเทศ พัฒนาแลวเปนครั้งแรก และการผลิตจาก กลุ ม นอกโอเปกมี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น ทํ า ให โอเปกอาจตองลดกําลังการผลิตนํ้ามันลง เพื่อใหเกิดความสมดุล
สําหรับนโยบายที่จะเพิ่มสํารองนํ้ามันทาง ยุทธศาสตรเปน 90 วันนั้น ประเทศไทย จําเปนหรือไม เพราะประเทศไทยไมไดเปนผู ใชนาํ้ มันรายใหญ และไมไดราํ่ รวย จึงไมนา จะ สูงถึง 90 วัน หากเกิดสงครามในปจจุบนั ก็ไม นายาวนานถึง 90 วัน หรือหากปดชองแคบ ฮอรมุสในตะวันออกกลางก็จะปดเปนระยะ เวลาสั้น ๆ โอกาสที่จะใชสํารองยุทธศาสตร เกิน 45 วัน จึงเปนไปไมได แตก็เห็นดวยที่ เพิ่มสํารองนํ้ามันทางกฎหมายของเอกชน จาก 5 % เปน 6 % จาก 36 วัน เปน 43 วัน อยางไรก็ตาม สิ่งที่ตองอธิบายและสราง ความเขาใจตอประชาชน คือ ราคาหนาโรง กลั่นนํ้ามันจะทําอยางไรใหโปรงใส
หลายประเทศทั่วโลกเริ่มหันไปใชพลังงาน ทางเลือกเพิ่มมากขึ้น หลังรัฐบาลดําเนิน นโยบายพลังงานทางเลือกและอนุรักษสิ่ง แวดลอม ซึง่ ประเทศไทยเองทัง้ ภาคประชาชน ภาครัฐ ผูป ระกอบการโรงกลัน่ ควรทีจ่ ะเขาใจ กลไกที่แทจริงของพลังงาน เพื่อนําไปสูการ ลงมือปฏิบัติใหเปนรูปธรรม กอนการเขาสู เขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดย ภาครั ฐ บาลควรพิ จ ารณาปรั บ โครงสร า ง พลังงานใหเหมาะสม โดยเฉพาะภาษีดีเซล ที่ลดภาษีสรรพสามิตมานานกวา 2 ปครึ่ง
นักวิชาการยังใหความเห็นอีกวา เรื่องการ ปรับโครงสรางราคาพลังงานใหสะทอนขอ เท็จจริงทั้งราคาแอลพีจี กาซเอ็นจีวี กองทุน นํ้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งดีเซลนาจะปรับภาษีขึ้น และหากปรับขึ้นไป ราคาจะอยูที่ประมาณ 33-34 บาท/ลิตร หากดีเซลและแอลพีจปี รับ ราคาเหมาะสม นํา้ มันเบนซินก็จะสามารถลด ราคาลงมาได โดยปรับลดเงินกองทุนนํ้ามัน ของเบนซินลงมา เพราะอัตราทีเ่ ก็บ 10 บาท/ ลิตร เปนอัตราที่ยังสูงอยู
75
Energy#61_p75_Pro3.indd 75
11/15/13 10:58 PM
Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา
ä¿à¢ÕÂÇ 2 à´×͹»ÃѺÃÒ¤Ò LPG ÀÒ¤¤ÃÑÇàÃ×͹
ä´ŒÁÒ¡¡Ç‹ÒàÊÕÂ... Å´ÀÒÃСͧ·Ø¹¹้ÓÁÑ¹Ï ÊºÒ¡ÃÐà»‰Ò กาวผานพน…ชวงทีห่ นักอึง้ ไปแลว 2 เดือน กับการปรับตัวเพือ่ รับนโยบายปรับราคาแอลพีจภี าคครัวเรือน แนนอนวาตองมี ภาคสวนทีไ่ ดรบั ผลกระทบและภาคสวนทีไ่ ดรบั ประโยชน แตหากมองกันใหลกึ ถึงแกนแทของการดําเนินนโยบายดังกลาวแลว ผลดีที่เกิดขึ้นจะกลับคืนสูภาพรวมของประเทศมากกวา ซึ่งเปนสิ่งที่ตองยอมรับ เพราะถาหากประเทศของเราสามารถ ยืนหยัดขึ้นมาได ประชาชนของประเทศก็จะอยูไดเชนกัน
Energy Focus ฉบับนี้ยังคงติดตามประเด็นรอนมาพักใหญ ถึงแมวา ปจจุบันจะเริ่มเขาที่เขาทางพอสมควรแลวก็ตาม แตก็ยังถือเปนประเด็น ที่ตองมีการติดตามอยางตอเนื่อง เพราะยังมีประชาชนอีกไมนอยที่ยังไม เขาใจวาจะไดรับประโยชนอยางไรกับการปรับราคาดังกลาว ความคื บ หน า ของการปรั บ ราคาแอลพี จี ภ าคครั ว เรื อ น เมื่ อ ก า วเข า สูเดือนที่ 2 ของโครงการ โดย นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เผยวาภายหลัง จากกระทรวงพลังงานไดมีมาตรการชวยเหลือเพื่อบรรเทาผลกระทบ ตอผูมีรายไดนอยประมาณ 7.5 ลานครัวเรือน รวมทั้งรานคา หาบเร แผงลอยอาหาร อี ก ประมาณ 2.3 แสนราย ให ไ ด ซื้ อ ก า ซ LPG
76
Energy#61_p76-77_Pro3.indd 76
11/15/13 11:04 PM
ในราคาเดิม จากนโยบายปรับราคาแอลพีจี ภาคครั ว เรื อ นไปแล ว ตั้ ง แต เ ดื อ นกั น ยายน 2556 เปนตนมา โดยภาครัฐพบวาสงผลบวก ต อ ฐานะกองทุ น นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ได ป ระมาณ 280 ล า นบาท และลดภาระค า ใช จ า ยผู มี รายไดนอย รวมทั้งรานคา หาบเร แผงลอย อาหาร ที่มาใชสิทธิ์ไดประมาณ 1 ลานบาท
ที่นาสังเกต คือ เดือนตุลาคมที่ผานมา มี จํานวนสายที่ประชาชนติดตอเขามาเริ่มลด นอยลงกวาครึ่งหนึ่ง สวนหนึ่งเปนเพราะ ประชาชนเริ่มเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนการใช สิทธิ์มากขึ้น เรื่องที่ประชาชนโทรศัพทเขา มาสอบถามชวงแรก จะเปนเรื่องเกี่ยวกับ การขอรั บ สิ ท ธิ์ การใช สิ ท ธิ์ การกดรหั ส การลงทะเบียนเพิ่มเติม สวนในชวงเดือน ตอ ๆ มา สวนใหญจะเปนเรื่องปญหาที่ราน คาแกสไมเขารวมโครงการและมีการปฏิเสธ การขายแกสราคาเดิม
สาเหตุที่รานจําหนายแกสเขารวมโครงการ นอย สวนหนึ่งเปนเพราะรานแกสจํานวน หนึ่งยังไมไดรับเงินสํารองจายจากผูคากาซ ตามมาตรา 7 ซึ่งกรณีดังกลาวกระทรวง พลั ง งานโดยกรมธุ ร กิ จ พลั ง งานได มี ก าร ทําความเขาใจผานการจัดกิจกรรมเดินสาย จั ด สั ม มนาผู ป ระกอบการร า นค า แก ส ทั่ ว ประเทศถึงเดือนพฤศจิกายน เพือ่ ใหรา นคา แกสเขาใจถึงสิทธิป์ ระโยชนทจี่ ะไดรบั รวมถึง ทราบขั้นตอนในการจําหนายกาซหุงตมให แกผูใชสิทธิ์ในโครงการดังกลาวไดอยาง ถูกตอง ซึง่ กิจกรรมดังกลาวจะชวยใหรา นคา แกสไดพบกับตัวแทนผูคาตามมาตรา 7 นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ทําสัญญารวมโครงการ เพื่อรับเงินสํารอง ขอกังวลในชวงเริ่มตนโครงการ คือ ผูที่มีสิทธิ์ จายลวงหนาได เขารับการชวยเหลือจะไมเขาใจขั้นตอนการลง ทะเบียนนั้น พบวาชวง 2 เดือนแรกจํานวนผู ที่ผานมา ถึงแมวาตัวเลขของผูมาใชสิทธิ์ มีสิทธิ์ซื้อราคาเดิมที่มาลงทะเบียนผานระบบ เพื่อซื้อกาซราคาเดิมจะยังไมมากนัก แต SMS จํานวน 67,596 ครั้ง โดยมีการใชสิทธิ์ คาดวาจะเพิ่มจํานวนอยางตอเนื่องแนนอน ซื้อกาซผานระบบ SMS จํานวน 75,551 ครั้ง จากหลายปจจัย ไมวาจะเปนราคาแอลพีจี ซึ่งการลงทะเบียนของผูมีสิทธิ์ และการเริ่มใช ที่ ท ยอยปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น ประชาชนเริ่ ม เข า ใจ สิทธิ์ซื้อกาซยังมีจํานวนนอย เนื่องจากมีปจจัย การมาใชสิทธิ์มากขึ้น และจํานวนรานคา หลายประการ อาทิ แกสยังไมหมด ราคายัง แกสที่จะเพิ่มมากขึ้น จึงอยากใหผูที่อยูใน ปรับขึน้ ไมมาก ความไมคนุ เคยกับระบบ รวมถึง ขายไดรับสิทธิ์ชวยเหลือไปลงทะเบียนและ ใชสิทธิ์ใหมาก เพราะกระทรวงพลังงานมี รานแกสปฏิเสธการขายเอง ความตั้งใจที่จะบรรเทาผลกระทบจากการ ทั้งนี้ ไดมีมาตรการรองรับ โดยการเปดบริการ ปรับราคาใหแกผูมีรายไดนอย โดยเฉพาะ สาย Hotline ของกระทรวงพลังงาน ตั้งแต รานคา หาบเร แผงลอยอาหาร อยางเต็มที่ ก อ นเริ่ ม ต น การปรั บ ราคาในเดื อ นสิ ง หาคม และทั่วถึงมากกวาเดิมนั่นเอง จนถึ ง เดื อ นตุ ล าคม 2556 ซึ่ ง มี ผู ไ ม เ ข า ใจ สอบถามเรื่ อ งนโยบายการปรั บ ราคาและ มาตรการชวยเหลือในเดือนสิงหาคม ติดตอ สอบถามเฉลี่ย 350 สาย/วัน เดือนกันยายน เฉลี่ย 320 สาย/วัน และเดือนตุลาคม เฉลี่ย 144 สาย/วัน
77
Energy#61_p76-77_Pro3.indd 77
11/15/13 11:04 PM
Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา
อาชีวะ – สาธารณสุข
เดินหนาสงเสริมการอนุรักษพลังงาน
ปจจุบัน เรื่องของการประหยัดพลังงาน เปนที่สนใจจากทุกภภาคสวนโดยเฉพาะ เอกชน ที่ใหความสนใจในการดําเนินการ ซึง่ ถือเปนสวนหนึง่ ในดานความรับผิดชอบ ต อ สั ง คม ภาคส ว นที่ ค วรเป น ต น แบบ คงหนี ไ ม พ น ภาครั ฐ บาล จึ ง ได มี ก าร สงเสริมและสนับสนุนอยางตอเนือ่ ง ลาสุด… กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน เห็นชอบสนับสนุนโครงการสงเสริมการ อนุรักษพลังงานในโรงพยาบาล และสถาน ศึกษา กวา 2,000 ลานบาท เพื่อเปนแบบ อยางดานการอนุรักษพลังงานและกระตุน เศรษฐกิจของประเทศ
โรงพยาบาล และสถานศึกษา ยังมีการใช อุปกรณ ไฟฟา ที่มีประสิทธิภาพตํ่า แตมี จํานวนชั่วโมงของการใชงานมาก ซึ่งจะนํามา สู ก ารสิ้ น เปลื อ งพลั ง งานโดยใช เ หตุ และ ยัง ขาดแคลนงบประมาณในการปรับ ปรุง อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จึ ง ได เห็ น ชอบสนั บ สนุ น โครงการส ง เสริ ม การ อนุ รั ก ษ พ ลั ง งานในภาครั ฐ ในสํ า นั ก งาน คณะกรรมการอาชี ว ศึ ก ษา กระทรวง สาธารณสุข วงเงินรวม 2,000 ลานบาท เพื่อนําไปปรับเปลี่ยน หรือพัฒนาอุปกรณ ไฟฟาใหมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น และที่สําคัญ ตองประหยัดพลังงานใหไดมากที่สุด
กระทรวงพลังงาน หนวยงานที่เปนกําลัง ขั บ เคลื่ อ นด า นพลั ง งานของประเทศ กั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพความมั่ น คงผ า น กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ทีผ่ า นมากระทรวงพลังงานไดมกี ารสนับสนุน ภาคสวนตางๆ ทัง้ ในภาครัฐและเอกชนอยาง ตอเนื่อง จนเรื่องของพลังงานไมใชเรื่องที่ ไกลตัวแตอยางไร เพราะในทุกๆ ประเทศ ยั ง คงต อ งพึ่ ง พาเรื่ อ งของพลั ง งานอย า ง ไมมีที่สิ้นสุด
การขั บ เคลื่ อ นในส ว นของโครงการ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงานในสํานักงานคณะ กรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงพลังงาน งานจะสนับสนุนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟา ดวยเซลลแสงอาทิตยบนหลังคา(Solar PV Rooftop) ในอาคารสถานศึกษาในสังกัด สํ า นั ก งานคณะกรรมการอาชี ว ศึ ก ษา 350 แหงทัว่ ประเทศ ขนาดกําลังผลิต 40 KW รวมทั้งหมด 14 MW รวมถึงการติดตั้งบน พื้ น ราบ นอกจากเรื่ อ งของการประหยั ด พลั ง งานที่ จ ะได รั บ ยั ง สามารถใช เ ป น สื่ อ สาธิตใหนักศึกษาไดเรียนรูหลักการทํางาน การดูแลรักษา และการซอมบํารุง อีกดวย
กระทรวงพลั ง งานได ดํ า เนิ น มาตรการ อนุรักษพลังงานในอาคารภาครัฐ พบวา
สําหรับการสงเสริมการอนุรักษพลังงานในสวน ของกระทรวงสาธารณสุข จะเนนทีก่ ลุม อาคารโรง พยาบาลภาครัฐทีม่ กี ารใชพลังงานสูง โดยดําเนิน การสนับสนุนการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลล แสงอาทิตยบนหลังคา หรือ Solar PV Rooftop รวม 450 แหงทัว่ ประเทศ จํานวน 20 KW รวม 9 MW และจะทํ า การปรั บ เปลี่ ย นจากหลอดไฟเดิ ม คุณภาพตํา่ มาใชหลอดไฟ LED ในระบบแสงสวาง ทัง้ หมดรวม 225,000 หลอด ทั้ ง นี้ โครงการส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ในภาคส ว นของภาครั ฐ ที่ มี ค ณะอนุ ก รรมการ กองทุ น เพื่ อ ส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน เห็นชอบครัง้ นีจ้ ะสามารถชวยใหเกิดการประหยัด พลังงานของประเทศได 8.74 ktoe/ป หรือ พันตัน เทียบเทานํ้ามันดิบ สามารถลดการปลอยกาซ CO2 57,397 ตันตอป และกอใหเกิดการกระตุน เศรษฐกิจของประเทศจากโครงการไมนอยกวา 2,120 ลานบาท เรื่ อ งขอการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ไม ใ ช เ รื่ อ ง ที่ ไ กลตั ว ที่ ต อ งรอให ใ ครมาสอนหรื อ รอการ สนับสนุนจากการภาคสวนใดๆ ขอเพียงเรามี จิตสํานึกในการอนุรักษรวมกัน แมเปนเพียงจุด เล็กๆ แตเมื่อทําพรอมกัน ก็สามารถเพิ่มตัวเลข การประหยัดพลังงานใหกับประเทศไดไมนอย งายๆ เริ่มกันที่บานของเราเองก็ได
78
R1_Energy#61_p78_Pro3.indd 78
11/26/13 9:50 PM
Energy#61_p79_Pro3.indd 79
11/22/13 11:51 PM
Special Scoop กองบรรณาธิการ
กระทรวงพลังงาน - ปตท.สงมอบโครงการ “เยาวชนอาสา พัฒนาพลังงานชุมชน” ป 2 ภายใต ค วามร ว มมื อ ของของผู ใ หญ ใ จดี อยางกระทรวงพลังงาน โดย กรมพลังงานทดแทน และอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน และ บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) เกิ ด เป น โครงการสร า งศู น ย พ ลั ง งาน ทดแทนให กั บ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ ห า งไกล ภายใต โครงการ “เยาวชนอาสา พั ฒ นาพลั ง งานชุ ม ชน” กั บ การก า วเข า สู ป ที่ 2 ในการสนั บ สนุ น ผลงาน ของนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ นํ า มาใช จ ริ ง ในการพั ฒ นา แหลงชุมชนที่เปนรูปธรรม
80
Energy#61_p80-81_Pro3.indd 80
11/26/13 4:44 PM
โครงการสรางศูนยพลังงานทดแทนใหกบั ชุมชนในพื้นที่หางไกล ในปนี้ยังคงไดรับ ความสนใจจากนักศึกษาสถาบันตาง ๆ เขา รวมโครงการเปนจํานวนมาก โดยทีมชนะเลิศ ทีส่ รางสรรคผลงานใหสามารถใชงานไดจริง ไดแก ทีมลูกแมเดียว จากมหาวิทยาลัย แมโจ จังหวัดเชียงใหม กับผลงาน “ศูนย พลังงานทดแทนแบบผสมเพือ่ ชีวติ ทีด่ ยี งิ่ กวา จากชุมชนชายแดนสูร ะดับนานาชาติ” ผูถายทอดแนวคิดของผลงานโครงการนี้ คือ นายปยะพงษ ยงเพชร หัวหนาทีม “ลูกแมเดียว” เปดใจวาผลงานโครงการ ศูนยพลังงานทดแทนแบบผสมเพือ่ ชีวติ ทีด่ ี ยิง่ กวา จากชุมชนชายแดนสูร ะดับนานาชาติ สรางใหกบั สถานธรรมปลีกวิเวก อําเภอเวียง แหง จังหวัดเชียงใหม ใชเวลาในการดําเนิน โครงการรวมเดือน โดยทีมลูกแมเดียว ไดทมุ เทแรงกายแรงใจทํางานฝาฟนอุปสรรค ตาง ๆ ดวยความรวมมือรวมใจของชาวบาน ในชุมชน อีกทั้งพระภิกษุและสามเณรใน สถานธรรม สําหรับผลงานของทีมปฏิบตั กิ ารลูกแมเดียว ไดทําการกอสรางศูนยพลังงานทดแทน แบบผสมเพื่อชีวิตที่ดียิ่งกวา จากชุมชน ชายแดนสูระดับนานาชาติ ประกอบดวย เทคโนโลยีตา ง ๆ ทีส่ ง มอบดังนี้
1. ติดตั้งระบบผลิตกระแสไฟฟาแสงสวางในเวลากลางคืน จากแผง โซลารเซลลขนาด 40 วัตต สามารถใชงานได 12 ชัว่ โมงตอวัน และมีการ สํารองไฟไวใชงานไดถงึ 3 วัน สําหรับวันทีไ่ มมแี ดด โดยมีทงั้ หมด 8 ตน ทําการติดตัง้ ในจุดสําคัญ ๆ ของพืน้ ที่ 2. สรางเตาเผาขยะแหงจากถังนํา้ มัน 200 ลิตร โดยมีระบบกําจัดมลพิษ จากการเผาขยะ และมีกลไกพิเศษในการนําพลังงานความรอนที่เกิด จากการเผาขยะมาผลิตนํ้ารอนเพื่อใชประโยชนแกพระภิกษุสามเณร เยาวชน และประชาชนทัว่ ไป ทีม่ าปฏิบตั ธิ รรม เพราะสถานธรรมปลีกวิเวก อยูใ นพืน้ ทีภ่ เู ขาลอมรอบ ทําใหมอี ากาศหนาวเย็น 3. สรางโรงเรือนอบแหงพลังงานแสงอาทิตย โดยใชหลักการเรือนกระจก (greenhouse effect) ใหรงั สีดวงอาทิตยสง ผานแผนโพลีคารบอเนต เขาไปภายในจนเกิดความรอน สําหรับใชอบผลิตผลตาง ๆ ภายในชุมชน เพือ่ การบริโภคและจําหนาย 4. สรางกังหันลมขนาดเล็ก ทีผ่ ลิตจากถังนํา้ มัน 200 ลิตร และติดตัง้ แผงโซลารเซลล ดวยเทคโนโลยี Hybrid System เพือ่ นําพลังงานลม และพลังงานแสงอาทิตยมาใชผลิตไฟฟาในโหมดแสงสวาง นอกเหนือจากการกอสรางผลงานดานพลังงานทดแทนแลว ทีมลูกแม เดียวยังไดถา ยทอดความรูเ กีย่ วกับการผลิตโคมไฟ LED ขนาด 2W ใหกับพระภิกษุสามเณร พรอมปลูกจิตสํานึกใหรูจักการแยกขยะ โดยทําถังขยะหลากสีเพือ่ งายตอการแยกขยะ ตลอดการปฏิบตั งิ าน เปนการถายทอดความรูท คี่ รบรูปแบบ ไดรบั ความรวมมือจากพระภิกษุ สามเณรมาชวยงานตลอดเวลา เปนโครงการทีป่ ระสบความสําเร็จทัง้ จากตัวโครงการเอง และยังเพิม่ ความรูด า นพลังงานใหแกชมุ ชนในพืน้ ที่ ไดอยางมาก
81
Energy#61_p80-81_Pro3.indd 81
11/19/13 11:14 PM
Energy Rules ทิดเปง
กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติยัน หลุมสํารวจปโตรเลียมปลอดภัย
เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ประเทศไทยตกอยูใ นความหวาดกลัวจากปญหาสิง่ แวดลอม กับการรัว่ ไหลของนํา้ มันดิบ เรือ่ งทีห่ ลายฝายใหความ สนใจ เพราะถือเปนปญหาทีก่ อ ใหเกิดผลกระทบตองคนหมูม าก โดยเฉพาะคนในพืน่ ที่ จนเกิดปญหาอยางตอเนือ่ งระหวาง ผูป ระกอบการและประชาชนในพืน้ ที่ โดยเฉพาะปญหาสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดจากการประกอบกิจการดานปโตรเลียม จากความกังวลดานสิง่ สิง่ แวดลอม นํามาซึง่ กรณีที่มีการเคลื่อนไหวของสมาคมประมง 3 แหง ประกอบดวย สมาคมการประมง สมุทรสาคร, สหกรณประมงแมกลอง จํากัด และ สมาคมประมงเรือลากคูสมุทรสงคราม กับการยื่นหนังสือรองเรียนตอผูวาราชการ จังหวัดสมุทรสาคร เมือ่ ปลายเดือน ตุลาคม 2556 เพื่ อ คั ด ค า นการเจาะหลุ ม สํ า รวจ ปโตรเลียม ในอาวไทยของบริษทั เอ็มพี จี 1 (ประเทศไทย) จํากัด เนื่องจากไมไดรับ ขอมูลเกี่ยวกับตําแหนงที่ชัดเจนของหลุม เจาะของบริษัทดังกลาวเกิดเปนความกังวล วาหลุมสํารวจปโตรเลียมทีจ่ ะดําเนินการเจาะ สํารวจนั้นอาจอยูในบริเวณอาวไทยตอนใน (อาวตัว ก) ซึ่งหนวยงานที่เกี่ยวของอยาง กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ จะตองแจงสมาคม การประมงแหงประเทศไทยกอนดําเนินการ
ทั้ ง นี้ ก รมเชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ ในฐานะ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของการการเจาะสํารวจของ โครงการดังกลาว ไดดาํ เนินการชีแ้ จงวาหลุม สํารวจปโตรเลียมครัง้ นี้ ไดแก หลุมมาลิดา-1 อยูใ นแปลงสํารวจ จี1/48 ในอาวไทย ดําเนิน การโดยบริษทั เอ็มพี จี 1 (ประเทศไทย) จํากัด อยูหางจากจังหวัดสมุทรสาคร ประมาณ 180 กิโลเมตร และหางจากชายฝงจังหวัด ประจวบคีรขี นั ธ 90 กิโลเมตร ตําแหนงหลุม เจาะอยูท ลี่ ะติจดู 11 องศา 44 ลิปดา 41 พิ ลิปดา เหนือ ลองจิจดู 100 องศา 35 ลิปดา 21 ฟลปิ ดาตะวันออก จากพิกัดของการเจาะหลุมสํารวจดังกลาว ไม อ ยู ใ นเขตอ า วไทยตอนใน ซึ่ ง ตาม พระราชบัญญัตกิ าํ หนดเขตจังหวัดในอาวไทย ตอนใน พ.ศ.2502 มาตรา 3 กําหนดเขตตํา่ สุดของอาวไทยตอนในไวที่ ละติจดู 12 องศา
35 ลิปดา 45 ฟลิปดา เหนือ นอกจากนั้น การเจาะหลุมสํารวจ มาลิดา-1 นี้ ไดรบั ความ เห็นชอบในรายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิง่ แวดลอม หรือ EIA เรียบรอยแลว ซึง่ ถือ เปนการมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมที่มีความ นาเชือ่ ถือในปจจุบนั ทีห่ ลายฝายยังคงกังวลและความไมเขาในของ ประชาชนในพื้นที่ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ขอยื น ยั น ว า จะกํ า กั บ ดู แ ลการเจาะสํ า รวจ ของบริ ษั ท ผู รั บ สั ม ปทานให เ ป น ไปตาม พระราชบัญญัตกิ าํ หนด มาตรฐานของความ ปลอดภัย และใหดาํ เนินการตามมาตรการใน รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม อยางเครงครัด รวมทั้งใหเกิดผลกระทบตอ การประกอบอาชีพของประชาชนในทองถิน่ ให นอยทีส่ ดุ เพราะถือเปนอาชีพหลักของพืน้ ที่ รวมถึงการทองเทีย่ วดวย
82 82
Energy#61_p82_Pro3.indd 82
11/19/13 10:57 PM
Prefabrication โดย : ชนากานต สันตยานนท ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
Wood Mood experience
บ้านไม้ สไตล์รีสอร์ท นวัตกรรมต้นแบบ Prefab House
รู จั ก กั บ กิ จ กรรมหลากหลาย ภายใต โ ครงการ “นวั ต กรรมการ พั ฒ นาที่ พั ก อาศั ย กึ่ ง สํ า เร็ จ รู ป ” ที่ สวทช. ร ว มงานกั บ คณะ สถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยมี อ.กัลยา โกวิทวิสิทธิ์ เปนหัวหนาคณะผูเชี่ยวชาญ เพื่อสงเสริม ผูประกอบการใหมีความรูและแนวทางการสรางนวัตกรรมดานที่พัก อาศัยกึ่งสําเร็จรูป (Prefabrication) ผานเทคนิควิธีและแนวคิดทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม ตลอดระยะเวลา 2 ป ที่ผาน มา กับผูประกอบการจํานวน 15 บริษัท พรอมกับเปรียบเทียบขอดีขอจํากัด ของการกอสรางระบบ Prefab เพือ่ พัฒนาระบบการกอสราง นอกพืน้ ทีก่ อ สราง (Offset) ชวยลดปญหาและเพิม่ ประสิทธิภาพการ กอสรางในฉบับที่ผานมา ฉบับนีจ้ ะเลาถึงกรณีตวั อยางของผูป ระกอบการทีป่ ระสบความสําเร็จ จากการเขารวมโครงการ “นวัตกรรมการพัฒนาที่พักอาศัยกึ่ง สําเร็จรูป” ซึ่งจะขอกลาวถึงความสําเร็จจากการเขารวมโครงการ ของ บริษัท เอส บี พี ทิมเบอร กรุป จํากัด ซึ่งถือเปนบริษัทที่มีการ เจริญเติบโตอยางรวดเร็ว ผานการใหการสนับสนุนของ สวทช. ตลอด 6 ป ที่ ผ า นมา ตั้ ง แต ก ารเป น เพี ย งผู ผ ลิ ต และจํ า หน า ย ไมแปรรูป ไมแบบกอสราง และดวยวิสยั ทัศนของผูบ ริหารทีไ่ ดรว มเดิน ทางไปศึกษาดูงานตางประเทศผานกิจกรรมที่ สวทช. ใหการสนับสนุน ในหลาย ๆ ครั้ ง ทํ า ให เ กิ ด การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ห ลากหลาย ตอบโจทย และตอบสนองความต อ งการของตลาดมากขึ้ น ทั้ ง ใน ด า นคุ ณ ภาพระดั บ มาตรฐานสากลและบริ ก ารที่ เ ป น เลิ ศ เชน ผลิตภัณฑไมจริงเพื่อการอยูอาศัย
หลังจากที่ขยายธุรกิจโดยการกอตั้ง บริษัท ไพรซ ออฟ วูด อินดัสทรีส จํากัด ในป 2544 เพื่อผลิต ไม พื้ น ไม คิ้ ว ขอบบั ว ผนั ง บั น ได ซึ่ ง ขอรั บ การ สนับสนุนจากโครงการ iTAP ดวยเชนกัน เพื่อเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต จนสามารถสร า งแบรนด CHALE’T และลาสุดคือ การพัฒนารูปแบบบาน สําเร็จรูป ซึ่งถือเปนการตอยอดในเชิงพาณิชยได อยางเปนรูปธรรมและชัดเจนที่สุดอีกครั้งหนึ่งของ บริษัท ดวยแนวคิดบาน Wood Mood แบรนดใหม ล า สุ ด ของการสร า งบ า นที่ มี ร ะบบผนั ง รั บ นํ า หนั ก มีวิศวกรมืออาชีพเปนผูออกแบบและควบคุมการ ผลิ ต ด ว ยเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย ผสมผสานกั บ ที ม งานด า นสถาป ต ยกรรมศาสตร ที่ ล งตั ว จนทํ า ให บ า นสามารถเข า ถึ ง ธรรมชาติ เ สมื อ นเป น บ า นพัก ตากอากาศที่เปนสวนตัว สามารถเลือกแบบบาน ไดดวยตัวเอง ผานแบบมาตรฐานที่มีดีไซนทันสมัย และสวยงาม จํานวน 11 แบบ 11 อารมณ พรอม เฟอรนิเจอรครบครัน สามารถสรางเสร็จไดอยาง รวดเร็วภายใน 15 วัน (ตอพื้นที่ 30 ตร.ม.) ประหยัด ทั้งเวลา แรงงาน ทรัพยากร และเงินทุนไดมาก
83
Energy#61_p83-84_Pro3.indd 83
11/20/13 12:19 AM
ลาสุดบริษัทฯเพิ่งเปดตัว Wood Mood experience บานไมแทสําเร็จรูป สไตลรสี อรท สุดยอดนวัตกรรมตนแบบ Prefab House ในนามของ บริษทั ไพรซ ออฟ วูด อินดรัสทรีส ซึ่ง สวทช. ขอนําเสนอเปนกรณีตัวอยางของ ความสําเร็จในการเขารวมโครงการ “นวัตกรรมการพัฒนาที่พักอาศัยกึ่ง สําเร็จรูป” ซึ่งมีจุดเดนที่เรียกวา “S ยกกําลัง 5” ไดแก S1 (Speed) : สรางเสร็จเร็วภายใน 15-30 วัน (ขึ้นกับขนาดของบาน) S2 (Strong) : แข็งแรง (ออกแบบโดยวิศวกร) S3 (Save) : ลดคาโสหุย คาเดินทางตรวจงาน คาออกแบบ คาที่ปรึกษา คาคุมงาน S4 (Science) : ทนทาน 40-50 ป เพราะใชไมอัดนํายา ทําใหการันตีปลวก มอด รา และอบไมอยางดี ไมบิด โกง งอ S5 (Sanctuary) : บานไมอบอุน สวยงามตามธรรมชาติ อยูเย็นสบาย
สนใจเขาเยี่ยมชมบานตัวอยางไดที่โชวรูมที่ตั้งอยูบนถนนบรมราชชนนี (พุทธมณฑลสาย 3) สอบถามรายละเอียดไดที่ โทร. 0-2831-8222 หรือเขาไปที่เว็บไซต www.woodmoodexperience.com 84
Energy#61_p83-84_Pro3.indd 84
11/20/13 12:19 AM
O Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล
เทคโนโลยีการบําบัดนํ้าชะขยะมูลฝอย ดวยกระบวนการเฟนตัน ควันหลงจาก…งานประชุมวิชาการนานาชาติที่เกาหลี เนื่องจากผูเขียน และ ดร.ธนากร เมธาธรรม ซึ่งเปนหนึ่งในคณะ ผู ร ว มงานวิ จั ย ได ไ ปเข า ร ว มงานประชุ ม วิ ช าการระดั บ นานาชาติ CESE 2013 หรือ The Sixth Annual Conference on The Challenges in Environmental Science and Engineering ที่ เ มื อ งแดกู ประเทศเกาหลี ระหว า งวั น ที่ 29 ตุ ล าคม ถึ ง วั น ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 ซึ่งจัดโดยสมาคม KSWW (Korea Society of Water&Wastewater) รวมกับ สมาคม LJS Environment ของประเทศ Australia โดยทางผูเขียน และ ดร.ธนากร เมธาธรรม ไดนําเสนอการบรรยายทั้งแบบ Oral และ Poster Presentation ซึ่งมีงานวิจัยเรื่องหนึ่ง คือ “การบําบัดนํ้าชะขยะมูลฝอยจากหลุมฝง กลบขยะของเทศบาลนครขอนแกน โดยกระบวนการเฟนตัน (Khon Kaen Municipal Landfill Leachate Treatment by Fenton Processes)” นําเสนอโดย Thanakorn Methatham, Ming Chun-Lu and Chavalit Ratanatamskul* ไดรับรางวัลงาน วิจัย Best Poster Award ในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งนี้ดวย เปนความประทับใจที่ผลงานวิจัยดานการบําบัดของเสียใน ประเทศไทยไดรับความสนใจจากคณะกรรมการและผูเขารวมประชุม วิชาการระดับนานาชาติในครั้งนี้
ผลกระทบของนํ้าชะขยะมูลฝอยตอสิ่งแวดลอม… เปนอยางไร? นํ้ า ชะขยะมู ล ฝอยเป น ของเหลวที่ ไ หลชะล า งผ า นหรื อ ออกมาจาก ขยะมูลฝอย ซึ่งประกอบดวย สารละลาย สารแขวนลอยผสมอยู นํ้ า ชะขยะมู ล ฝอยมี ค วามสกปรกสู ง ในด า นปริ ม าณสารอิ น ทรี ย ไนโตรเจน สารละลาย รวมทั้งเชื้อโรค ถาจัดการไมเหมาะสมหรือ อยางไมถูกวิธีจะสงผลใหเกิดการปนเปอนตอสิ่งแวดลอมอยางมี นัยสําคัญ ปจจุบันการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนทองถิ่น สวนใหญยังคงเลือกใชวิธีการฝงกลบในสถานที่ฝงกลบมูลฝอยตาม หลักสุขาภิบาล โดยขยะมูลฝอยจะถูกจัดเก็บจากแหลงกําเนิดเพื่อ รวบรวมและลําเลียงไปฝงกลบในสถานที่ฝงกลบมูลฝอยที่เตรียมไว ทั้งนี้ เมื่อนํ้าฝนตกลงมาชะมูลฝอยแลวซึมลงดานลางจะทําใหเกิด นํ้าชะมูลฝอย ซึ่งนํ้าชะมูลฝอยอาจมีการปนเปอนของมวลสาร เชน โลหะหนัก สารอินทรีย และจุลินทรียที่กอใหเกิดโรคอยูดวย หากนํ้า ชะมูลฝอยซึมลงไปปนเปอนในแหลงนํ้าผิวดินหรือแหลงนํ้าใตดินที่มี การนํานํ้าไปใชเพื่อการอุปโภคบริโภคก็อาจเปนอันตรายตอสุขภาพ ของมนุษย และสิ่งมีชีวิตในแหลงนํ้าได ดังนั้นสถานที่ฝงกลบมูลฝอย ที่ดีตองสามารถปองกันการไหลซึมของนํ้าชะมูลฝอยสูสิ่งแวดลอม รวมทั้งมีระบบการบําบัดนํ้าชะขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นอยางเหมาะสม 85
Energy#61_p85-86_Pro3.indd 85
11/19/13 11:04 PM
กระบวนการเฟนตันที่ประยุกตใชกับระบบบําบัด นํ้าเสียสงผลตอนํ้าเสีย คือ ลดคา BOD และ คา COD ลดกลิ่นและสี รวมทั้งชวยกระบวนการ ยอยสลายทางชีวภาพและทําลายสารอินทรียที่ เปนมลพิษ
กระบวนการเฟนตั น …กั บ การบํ า บั ด สารอิ น ทรี ย ไ นโตรเจนในนํ้ า ชะขยะ มูลฝอย
รูปแสดงนํ้าชะขยะมูลฝอยที่เกิดจากสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย
รูปแสดงสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย
หลักการของเทคโนโลยีกระบวนการเฟนตัน กระบวนการเฟนตั น เป น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ของกระบวนการแอดวานซ อ อกซิ เ ดชั่ น (Advanced Oxidation Processes, AOPs) ซึ่งเปนกระบวนการบําบัดนํ้าเสีย ทางเคมี โดยเปนการเติมสารอินทรียลงไปใหเกิดปฏิกิริยาของไฮดรอกซิลเรดิคัล (Hydroxyl Radical, HO•) ในการบําบัดสารอินทรียในนํ้าเสีย กระบวนเฟนตันถูก คนพบโดย H.J.H. Fenton ในป 1876 หรือ เมื่อ 137 ปที่แลว โดย Fenton พบวา ไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2) และเฟอรรัสไอออน (Fe2+ ) จะเกิดปฏิกิริยา ทางเคมีที่มีลักษณะเฉพาะ และสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสรางของโมเลกุลของสาร เคมีที่เปนพิษได โดยมีออกซิไดซระหวางเฟอรัสไอออนกับไฮโดรเจนเปอรออกไซด กระบวนการนี้ไดถูกนํามาประยุกตใชกับระบบบําบัดนํ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ที่มีสารพิษประเภทสารประกอบอินทรียปะปน เชน ฟนอล สารประกอบอะโรมาติก หรือ สารเคมีที่มาจากวัสดุสียอม ยาฆาแมลง สารกันบูด พลาสติก ยาง เปนตน
กระบวนการเฟนตั น เป น เทคโนโลยี ห นึ่ ง ใน กระบวนการออกซิ เ ดชั่ น ขั้ น สู ง (Advanced Oxidation Process) สําหรับโครงการวิจัยนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการบํ า บั ด สารประกอบอิ น ทรี ย ไนโตรเจน รวมทัง้ แอมโมเนียในนํา้ ชะขยะมูลฝอยดวย กระบวนการเฟนตัน ซึง่ ใชระยะเวลาการออกซิไดซ ที่รวดเร็วและสั้นกวาของระบบบําบัดทางชีวภาพ โดยมีการทดลองกับนํ้าเสียจริงจากหลุมฝงกลบ ขยะของเทศบาลนครขอนแกน ดําเนินการศึกษา วิจัยในระดับหองปฏิบัติการที่อุณหภูมิหองและ มี ก ารควบคุ ม สภาวะกรดด า งที่ พี เ อชเทา กั บ 3 สําหรับการบําบัดนํา้ ชะขยะมูลฝอยดวยกระบวนการ เฟนตันมีการใชตวั เรงปฏิกริ ยิ าเปนเฟอรรสั ไอออน ทําปฏิกิริยารวมกับไฮโดรเจนเปอรออกไซด ใน กระบวนการออกซิเดชัน่ ขัน้ สูง จากการศึกษาพบวา สภาวะที่เหมาะสมควรเลือก ใชอัตราสวนเฟอรรัสไอออนตอไฮโดรเจนเปอร ออกไซด เทากับ 1 : 30 มิลลิโมลาร โดยใชเวลา ในกระบวนการออกซิ เ ดชั่ น อย า งน อ ย 5 นาที สามารถให ป ระสิ ท ธิ ภ าพการบํ า บั ด แอมโมเนี ย (NH3-N) ที เ คเอ็ น (TKN) และสารอิ น ทรี ย ไนโตรเจน (Org-N) รอยละ 70.52, 77.27 และ 78.94 ตามลําดับ การวิเคราะห ไนเตรทจากการ บําบัดดวยกระบวนการเฟนตัน พบวา ไนเตรทมี แนวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น จากเดิ ม เนื่ อ งจากแอมโมเนี ย ถูกออกซิไดซเปลี่ยนรูปมาเปนไนเตรทจึงสงผล ใหไนเตรทมีคาสูงขึ้น และพบวาสัดสวนของสาร อิ น ทรี ย ไ นโตรเจน (Org-N) มี แ นวโน ม ลดลง อยางมีนัยสําคัญ นอกจากนั้นยังพบวาการเพิ่ม ความเขม ข น ไฮโดรเจนเปอรอ อกไซดส ง ผลให ประสิทธิภาพการบําบัดสารประกอบไนโตรเจน มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ขณะที่การเพิ่มความเขมขน เฟอรรัสไอออนสงผลใหประสิทธิภาพการบําบัด สารประกอบอินทรีย ไนโตรเจนมีคาลดลง ดั ง นั้ น กระบวนการเฟนตั น เป น อี ก เทคโนโลยี หนึ่งที่จะเปนทางเลือกของการบําบัดนํ้าเสียยอย สลายยากในอนาคตตอไป ทั้งยังชวยสงเสริม การทํ า งานของระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ชี ว ภาพให มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นอีกดวย และเปนการรักษา สิ่งแวดลอมที่ยั่งยืนใหกับโลกของเรานะครับ
86
Energy#61_p85-86_Pro3.indd 86
11/19/13 11:04 PM
Energy#57_p87_Pro3.ai
1
7/24/13
9:55 PM
Environment Alert โดย : รัฐ เร�องโชติว�ทย นักว�ชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพ�เศษศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยว�จัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสร�มคุณภาพสิ่งแวดลอม
ทิศทางการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จากผูผลิตสูผูบริโภค ในสถานการปจจุบัน ภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจเปน ปญหาในภาคการผลิตอยางมาก ตั้งแตคาเชื้อเพลิงที่ สูงขึน้ มีผลกระทบตอตนทุนการผลิตในหลายภาคสวน การผลิตตองปรับตัว ราคาสินคาสูงขึ้น ผูบริโภคซื้อ สินคาตามความจําเปน เนือ่ งจากคาครองชีพสูงขึน้ ดังนัน้ การปรับตัวนอกจากการปรับราคาสินคาตามตนทุน ที่สูงขึ้นแลว ทางหนึ่ง คือ การพัฒนาการผลิตให ได ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น ทิ ศ ทางการผลิ ต ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมเปนทางเลือกหนึ่งของผูผลิตยุคใหม
เนื่องจากการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ผลลัพธจะออกมาในรูปของการใชเทคโนโลยี สะอาด การใชระบบการรับรองโดยการขอฉลาก สิง่ แวดลอมแบบตาง ๆ เชน ฉลากเขียว หรือ ฉลากคารบอนฟุตพริน้ ท เปนตน ทิศทางของ การผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในสภาวะ วิกฤติเศรษฐกิจ จึงเปนการตอบโจทยของ ผูผลิตในการลดการเกิดของเสีย ลดการ ใช พ ลั ง งานและการใช ท รั พ ยากรอย า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง นํ า ไปสู ก ารตอบรั บ ของ ผูบริโภคในหลายภาคสวนที่มีสวนรวมใน ทิศทางดังกลาว และมีความสําคัญตอการ วิเคราะหบทบาทและทิศทางออกเปนสวนตาง ๆ ที่ประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติเปนแมบทในการชีท้ ศิ ทางเขาสู เศรษฐกิจสีเขียว ดังนี้ 1.บทบาทของภาคธุ ร กิ จ กั บ การผลิ ต ผูทําธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตจะ ตองจัดระบบการผลิตและโรงงานใหไดตาม มาตรฐานทีก่ าํ หนดไว ทัง้ การผลิตตลอดจน ผลิตภัณฑ ไดรับการยอมรับจากผูสั่งสินคา ผู บ ริ โ ภค ซึ่ ง มี ก ารเรี ย กร อ งให ผู ผ ลิ ต
ผูป ระกอบการ ตองปรับเปลีย่ นระบบการผลิต รวมทั้งการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อใหการ ผลิตทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม จากทีผ่ า นมามี ผลกระทบจากกระบวนการผลิตทีเ่ ปนปญหา สิ่งแวดลอมหลายดานจนเกิดกระแสความ ตองการของผูบริโภคที่ตองการสินคาที่เปน มิตรตอสิง่ แวดลอม ตัง้ แตการผลิตจนกระทัง่ เปนผลิตภัณฑทตี่ อบสนองตอความตองการ ของตางประเทศ มีการดําเนินการมายาวนาน ในการออกขอกําหนดตาง ๆ สงผลใหเกิด ความจําเปนในการปรับระบบการผลิตตามขอ กําหนด หรือเงือ่ นไขทีป่ ระเทศทีส่ งั่ ซือ้ สินคา ตองการ เชน ขอกําหนดการเลิกใชสารพิษหรือ โลหะหนักในสินคาทีเ่ ปนของเลน การกําจัดซาก บรรจุภณ ั ฑ ซากสินคาอิเล็กทรอนิกส เปนตน 2. แนวคิดการผลิตทีย่ งั่ ยืน เปนการดําเนินการ ที่ ผู ผ ลิ ต รวมทั้ ง ภาคบริ ก ารก า วสู ค วาม เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยการใหความ สําคัญดูแลรักษาสิง่ แวดลอม ตอบสนองความ ตองการการบริโภคของประชาชนที่ใสใจตอ สิง่ แวดลอมทีส่ ง ผลตอการตัดสินใจของผูผ ลิต โดยการผลิตที่ยั่งยืนตองเริ่มจากการเลือก
ใชวตั ถุดบิ ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และไมสิ้นเปลือง จากการพัฒนาเทคโนโลยี และการใชทรัพยากรใหมขี องเสียนอยทีส่ ดุ มี การเลือกใชเทคโนโลยีสะอาดในการผลิต และ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ซึง่ นําไปสูก ารบริการ จัดการกระบวนการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ เพิม่ ผลผลิตอยางเหมาะสม 3.การดํ า เนิ น การผลิ ต ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิง่ แวดลอมในประเทศไทย เมือ่ มีการขยายตัว ของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอยางรวดเร็วใน ประเทศ ภายใตการแขงขันทางการคาทีส่ ง ผล กระทบตอการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศเสื่อมโทรม ในที่สุดประเทศไทย ตองใหความสําคัญถึงแนวคิดการพัฒนาที่ ยัง่ ยืน การดําเนินการเพือ่ ใหเกิดการคุม ครอง ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม จากการพัฒนา เริม่ ตน ในป พ.ศ. 2515 ในเวทีการประชุมที่ ชี้ใหเห็นปญหาและการขยายแนวความคิด การพัฒนาที่ยั่งยืน จนเกิดรูปแนวทางแผน ปฏิบตั กิ ารที่ 21 (Agenda 21) ในป พ.ศ. 2535 มีการประชุมสุดยอดระดับโลกที่ นครรีโอเดอ จาเนโร กํ า หนดข อ เรี ย กร อ งและเงื่ อ นไข ให ป ระเทศต า ง ๆ ที่ เ ข า ร ว มเป น สมาชิ ก ดําเนินการรวมกัน
88
Energy#61_p88-89_Pro3.indd 88
11/8/13 12:05 AM
และในป พ.ศ. 2545 มีการประชุมที่ กรุง โจฮันเนสเบอรก เพื่อทบทวนและประเมิน ปญหาในการปฏิบัติ การมีสวนรวมของทุก ฝาย กําหนดกติกาสากลและสนธิสัญญา ตาง ๆ ในภาคการผลิต ภาคเกษตร ภาค อุ ต สาหกรรม และบริ ก าร ในการรั ก ษา ระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ทีส่ ามารถ ไปดวยกันไดกบั การพัฒนาทีค่ าํ นึงถึงหลักการ ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางคุม คา และคํานึง ถึงขีดจํากัดของทรัพยากรนัน้ คํานึงถึงผล กระทบสิง่ แวดลอมและการใชเทคโนโลยีสะอาด ในการผลิต ซึง่ สอดคลองกับแผนการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทกี่ ลาวมาขางตน หรือ เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) นัน่ เอง ดังนั้น การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใน บริบทของไทย โดยสํานักงานคณะกรรมการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มุง การพัฒนา เศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน และตอบโจทยการอยูร ว มกัน ในสังคมโลก การพัฒนาสูฐานเศรษฐกิจ เดียวกันของระบบประเทศในอาเซียน (AEC) ใน ความหมายของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ไดอยางตอเนื่องและเพียงพอในระยะยาว หรือการขับเคลือ่ นการพัฒนาเศรษฐกิจโดย ไม ห ยุ ด หรื อ สะดุ ด การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ที่ยั่งยืน ภายใตเงื่อนไขกระบวนการผลิต และบริ โ ภคที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มที่ มี ประสิทธิภาพ และไมทาํ ลายสิง่ แวดลอมกับการ บริการเศรษฐกิจสวนรวมอยางมีประสิทธิภาพ เพือ่ รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในระยะยาว ของประเทศไทย
เอกสารอางอิง
-กรมควบคุมมลพิษ เอกสาร แผนแมบทแหงชาติวา ดวยการผลิตทีส่ ะอาด 2545 กรุงเทพฯ -สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ แผนยุทธศาสตรการผลิตทีเ่ ปนมิตร ตอสิง่ แวดลอม 2548 กรุงเทพฯ -สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที่ 11 กรุงเทพฯ
การผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมจึงเปน กระบวนการผลิตและบริการทีต่ อบสนองความ ตองการทีจ่ าํ เปน และเพือ่ ยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชนที่ดําเนินไป โดยไมสราง ความเสียหายแกสภาพแวดลอม ทิศทางการ ผลิตทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม จึงเปนการใช กระบวนการผลิตสินคาและบริการ เพือ่ สนอง ความตองการทีจ่ าํ เปนและยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน โดยไมสงผลกระทบตอ สภาพแวดลอม จนกลายเปนขอจํากัดในการ ผลิตในอนาคต
8989
Energy#61_p88-89_Pro3.indd 89
11/15/2556 BE 1:12 AM
Energy Exhibit กองบรรณาธิการ
BUS & TRUCK’13 ตลาดรถใหญโตทะลุเปา
ผานพนงานแหงปเปนทีเ่ รียบรอยกับ BUS & TRUCK ’13 กาวเขาสูป ท ี่ 11 อยางสวยหรูกบั ยอดจําหนายเกินคาดทีจ่ ะชวย ดันยอดจําหนายรถใหญในป 56 ใหถงึ 45,000 คัน ในการเตรียมความพรอมโครงการ 2 ลานลานบาท และการเปดเสรีอาเซียน ทีจ่ ะสงเสริมใหภาคการขนสงโลจิสติกสเติบโตมากยิง่ ขึน้ สวนคาย ฟูโซ ไดนาํ Super Creat 380 แรงมา เฟองเร็ว เขารวมงาน ดานคายรถบรรทุกจากจีน ก็ตอบรับเขารวมงานอยางเหนียวแนน ไมวา จะเปน คาย DF นํารุน 360 แรงมา มาแนะนําตัว คายซันลอง นํารถโดยสาร 2 เมตร ทัง้ สําเร็จรูปและแชสซีส มาใหลกู คาไดยลโฉม คาย FAW ดายุน และ ไบเบน ตางก็นาํ รถรุน ใหมและโปรโมชัน่ พิเศษมานําเสนอเฉพาะในงาน BUS & TRUCK ’13 เทานัน้ สวนของอุปกรณเกีย่ วเนือ่ ง ก็เขารวมงาน อยางคับคัง่ อยางยางรถใหญ ยีห่ อ มิชลิน บริดจสโตน แดวู อพอลโล ก็ตางขนสินคามานําเสนออยางมากมาย นอกจากนี้ ยังมีอุปกรณ กาซธรรมชาติ NGV อีกทัง้ อุปกรณประดับรถใหญตา ง ๆ อีกมากมาย
คุณชาตรี มรรคา กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ทีทเี อฟ อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด ประธานจัดงาน BUS & TRUCK ’13 เปดเผยวา การจัดงาน BUS & TRUCK ในปนถี้ อื เปนการฉลองปที่ 10 ของการจัดงาน และยังคง ไดรบั การตอบรับอยางดี ทัง้ จากบริษทั รถยนตทขี่ นเทคโนโลยีสาํ หรับ รถใหญมาโชวอยางเต็มที่ ทัง้ บริษทั ทีท่ าํ ตลาดอยูแ ลว รวมถึงบริษทั ใหม ทีพ ่ งึ่ เขารวมงานในครัง้ นี้ BUS & TRUCK ’13 สามารถทํายอดจําหนายไดเกินคาดตามทีผ่ บู ริหาร จากคายรถใหญตงั้ เปาไววา ปนยี้ อดจําหนายรวมรถใหญจะเติบโตจนแตะ ระดับ 45,000 คัน ซึง่ ถือเปนยอดทีส่ งู เปนประวัตกิ ารณ เนือ่ งจากมีปจ จัย สงเสริมหลายอยาง ไมวา จะเปนโครงการกอสรางของทางรัฐบาล และทัง้ เอกชน นอกจากนี้ ยังมีโครงการ 2 ลานลานบาท และการเปดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC เปนตัวหนุนใหภาคการขนสงมีการขยาย ตัวมากยิง่ ขึน้
สวนกิจกรรรมในงาน BUS & TRUCK ’13 ในปนไี้ ดมกี ารจัดประกวด THAILAND BEST BUS BODY 2013 เพือ่ คัดเลือกรถโดยสารทีถ่ กู มาตรฐาน ปลอดภัยและสวยงาม ตามเกณฑของกรมขนสงทางบก รวมถึงสีสนั จาก THAILAND TOUR THEQUE 2013 ซึง่ จัดตอเนือ่ ง มาเปนปที่ 6 แลว การออกแบบตัวถังรถโดยสารปรับอากาศ หรือ BEST BUS DESIGN 2013 และการเล็งเห็นความสําคัญทีจ่ ะชวยยกระดับ มาตรฐานพนักงานขับรถดวยการมอบรางวัล “ผูป ด ทองหลังพวงมาลัย” ใหกับพนักงานขับรถบรรทุกและรถโดยสารดีเดน การมอบรางวัล BUS & TRUCK Best Seller Award สําหรับรถเพือ่ การพาณิชย ทีม่ ยี อดสูงสุดในแตละป
ตลอด 10 เดือนที่ผานมา ตลาดรถใหญมีการแขงขันอยางมาก โดยยอดจําหนายรถใหญตงั้ แต 3 ตันขึน้ ไปมีมากถึง 40,000 คัน ตัวเลข ดังกลาวยังไมรวมยอดขายรถใหญจากจีนอีกเกือบ 2,000 คัน จึงเชือ่ วา ภายในสิน้ ปนคี้ า ยรถใหญจะสามารถสรางยอดขายไดถงึ 45,000 คัน จากปทแี่ ลวสรางยอดขายได 38,000 คัน ซึง่ ถือเปนการสรางสถิตใิ หมใน วงการรถบัสและรถบรรทุก
นอกจากนี้ ในดานวิชาการ ยังใหมกี ารจัดสัมมนาในประเด็นทีน่ า สนใจ จากตัวแทนทัง้ จากภาครัฐบาลและเอกชน อาทิ การสัมมนาของสมาคม ผูป ระกอบขนสงทัว่ ไทย ในหัวขอ “สํารวจความพรอมรถบัสไทยกอนเขาสู AEC” การสัมมนาของสหพันธการขนสงทางบกแหงประเทศไทยในหัวขอ “เรงเครือ่ งเปนสภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทย ” การสัมมนาของ กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย ในหัวขอ “ดานขน สงและโลจิสติกสทางบก กอนเขาสู AEC 2558”
สําหรับงาน BUS & TRUCK ’13 ทีจ่ ะจัดขึน้ ระหวางวันที่ 7-9 พฤศจิกายน 2556 ทีผ่ า นมา ณ ศูนยนทิ รรศการและการประชุมไบเทค เปนงานที่ กระตุน ยอดขายรถใหญใหเปนไปตามเปาหมายทีว่ างเอาไว โดยคายรถ อยางเบนซไดนาํ รถบัส 15 เมตร และรถตู สปนเตอร เขารวมงานเปนปแรก คายวอลโวไดนาํ รุน FM11 และ ยูดี ทรัคส ไดนาํ รุน Quester เขารวมงาน
งาน BUS & TRUCK ’13 ยังถือเปนหนึง่ ในงานทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ เปนการเตรียม ความพรอมรวมกันกาวเขาสู AEC อีกทัง้ ยังเปนการเปดโอกาสใหผผู ลิต ผูป ระกอบการดานรถบรรทุก รถโดยสาร ไดรบั ความรูจ ากวิทยากร ผูเ ชีย่ วชาญ และทรงคุณวุฒิ ในการพัฒนาธุรกิจการคาเพือ่ กาวไปสูก าร เปนศูนยกลางของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอกี ดวย
90
Energy#61_p90-91_Pro3.indd 90
11/25/13 11:38 PM
พพ. เปดโครงการใหคําปรึกษา เพอลดตนทุนพลังงาน
กระทรวงพลังงาน โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน เตรียมเดินหนาโครงการสนับสนุนการใหคาํ ปรึกษาเพือ่ ลดตนทุนพลังงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กกลุม ภาคตะวันออกอยาง เปนทางการ เพือ่ ใหคาํ ปรึษา แนะนํา ในการเพิม่ ศักยภาพดานพลังงานในพืน้ ที่
คุณประมวล จันทรพงษ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน ประธาน เปดโครงการสนับสนุนการใหคาํ ปรึกษาเพือ่ ลดตนทุนพลังงาน เปดเผยวา ปจจุบนั มีการ ใชพลังงานเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก ในภาคตะวันออกซึ่งมีโรงงานดังกลาวอยูเปนจํานวนมาก โครงการสนับสนุนการให คําปรึกษาเพือ่ ลดตนทุนพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก จึงเกิดขึน้ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพของการทํางานและใหคาํ ปรึกษาแนะนําในการดําเนินมาตรการดานการ อนุรักษณพลังงานใหเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ป 2555 ที่ผานมา มีการใชพลังงานคิดเปนมูลคารวม 1.8 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่ผาน มารอยละ 3.9 โดยมีการนําเขาพลังงานคิดเปนมูลคารวม 1.44 ลานลานบาท สูงขึ้นรอย ละ 16.65 ซึ่งจะเห็นไดวาความตองการใชพลังงานของประเทศมีแนวโนมสูงขึ้นอยางมาก กระทรวงพลังงาน ไดมีการกําหนดยุทธศาสตร โดยมีเปาหมายใหมีการใชพลังงานของ ประเทศ เกิดการประหยัดและมีประสิทธิภาพ โดยมุง เนนเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน ในภาคอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก เพือ่ ใหคาํ ปรึกษา แนะนําในการดําเนินการ อนุรักษพลังงาน ซึ่งกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานไดดําเนินโครงการ ร ว มกั บ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง พร อ มตรวจวั ด ถึงศักยภาพดานพลังงาน ของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก ในกลุม ภาคตะวันออก ซึง่ ประกอบดวย จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี และจังหวัดสระแกว จํานวน 200 แหง
สําหรับโรงงานทีส่ ามารถเขารวมโครงการจะ ตองไมเปนโรงงานควบคุมตาม พ.ร.บ. การ สงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 และฉบับที่แกไข ขนาดแรงมาที่ขึ้นทะเบียน กั บ กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม ตั้ ง แต 50 แรงมาขึ้นไป โดยการจัดงานในครั้งนี้เพื่อ เปนการประชาสัมพันธโครงการใหกับกลุม เปาหมายไดรับทราบ และเขารวมโครงการ มากยิ่งขึ้น สําหรับผูประกอบการที่สนใจเขา รวมโครงการจะไมมีการเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งสิ้น ระยะเวลาการดําเนินโครงการตั้งแต บัดนี้ไปจนถึงเดือน มีนาคม 2557 91
Energy#61_p90-91_Pro3.indd 91
11/25/13 11:38 PM
Green Community อภัสรา วัลลิภผล
บริษทั เชฟรอน ประเทศไทย รวมกับ สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง และ มูลนิธกิ สิกรรมธรรมชาติ จัดโครงการ “พลังคน สรางสรรคโลก รวมพลังตามรอยพอของแผนดิน” เปนโครงการทีร่ วบรวมกลุม อาสาสมัครภาคประชาชนกวา 2,000 คน ที่พรอมใจกัน เดิน วิ่ง ปน ทั้งหมด 9 วัน เปนการเดินทางจากปลายนํ้า กรุงเทพฯ ไปยังตนนํ้าเหนือเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ จังหวัดสระบุรี เพือ่ ชวยกันปองกันและแกไขวิกฤตินาํ้ อยางยัง่ ยืน และยังแวะเยีย่ มเยือนเรียนรูค วามรูจ ากชาวบานตามชุมชน รายทางทีไ่ ดนาํ ศาสตรพระราชาไปปฏิบตั จิ ริง จนสามารถพึง่ พาตนเองและเผือ่ แผแบงปนแกผอู นื่ ได
ตามรอยพอ กับ โคก หนอง นา โมเดล
ปองกันปญหานํ้าทวม ฝนแลง
จากขอมูลของ สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ลุม นํา้ ทีต่ อ งพึงเฝาระวังมากทีส่ ดุ จาก 9 ลุม นํา้ คือ ลุมนํ้าปาสัก ซึ่งถือวาอยูในขั้นวิกฤต เนื่องจากพื้นที่ปาถูกทําลาย ทั้งเผา ไถ ตัด จนเกิดเปนเนินเขาหัวโลน ซํ้ายังทําเกษตร เชิงเดีย่ ว ปลูกมันสําปะหลัง สวนยาง ขาวโพด ทําใหขาดพืน้ ทีป่ า ผสมผสานทีจ่ ะชวยยึดเกาะ หนาดินและอุม นํา้ เวลาฝนตกก็จะชะลางเอา ตะกอนดินทั้งหลายที่หลากมากับนํ้าไหลลง สูแ มนาํ้ สูเ ขือ่ น ทําใหหนองนํา้ ลําคลอง และ แหลงนํา้ ธรรมชาติตนื้ เขิน เขือ่ นและอางเก็บนํา้ ก็เหลือพื้นที่เก็บนํ้าไดนอยลง หนาแลงจึง แลงจัด หนานํา้ หลากก็มนี าํ้ เหลือลนทะลักลง มาทวมบานเรือนในที่สุด ประชาชนที่อยูใน ลุม นํา้ นีจ้ งึ ไดรบั ผลกระทบ ตัง้ แตจงั หวัดเลย ไลมาจนถึงนํา้ หนาว เพชรบูรณ ลพบุรี สระบุรี อยุธยา กรุงเทพฯ ไปจนถึงสมุทรปราการ
คุณไพโรจน กวียานันท ประธานกรรมการ บริหาร บริษทั เชฟรอน ประเทศไทย สํารวจ และผลิต จํากัด เผยถึงโครงการฯนีว้ า หลัง จากทีด่ าํ เนินโครงการตลอด 9 วัน ของการ เดินทางเรียนรูศ าสตรพระราชาในการบริหาร จัดการนํ้าจากปลายนํ้าสูตนนํ้า เพื่อเรียนรู จากสถานที่จริงและลงมือปฏิบัติจริงในการ แกไขปญหานํ้าทวมและนํ้าแลงอยางยั่งยืน นับเปนความรวมมือและกระแสตอบรับทีด่ ยี งิ่ จากประชาชนคนไทย โดยเฉพาะคนจิตอาสา ทีเ่ ขารวมขบวนเดินทางทัง้ 9 วัน กวา 2,000 คน ทัง้ หนวยงานภาครัฐ เอกชน ประชาชน และเยาวชนในชุมชนทองถิน่ ตลอดเสนทางที่ เขารวม เพือ่ รับทราบถึงปญหาและวิธกี ารแกไข ของพื้นที่ตนเอง จนทําใหมีชาวบานเขารวม กวา 300 ครัวเรือน โครงการฯนีเ้ ปนการชวย ชาวบานในการทําพืน้ ทีส่ าํ หรับอุม นํา้ สถาบัน
เศรษฐกิจพอเพียงทําโมเดลตนแบบ เรียกวา “โคก หนอง นา โมเดล” เปนแบบทีใ่ ชไดผลจริง คือ ขุดหนองไวเก็บนํ้าใชเพื่อทําการเกษตร เอาดินจากการขุดหนองไปทําโคก เอาบานไป อยูบ นโคกทีเ่ ปนทีส่ งู ปลูกปาปลูกตนไมไวบน โคก ไวกนิ ไวใช ทีเ่ หลือก็เก็บขาย และยกหัว คันนาใหสูง เมื่อตะกอนลงมาจะไดถูกเก็บไว ในฝายคันนา เมือ่ ฝนตกลงมาสามารถอุม นํา้ ได 100 % ไมปลอยใหทว ม สามารถอุม นํา้ ฝน ไวไดหมด ตามทีใ่ นหลวงทรงตรัสไว วิธนี จี้ ะ แกไขปญหานํา้ ทวมนํา้ แลงไดอยางยัง่ ยืนทีส่ ดุ
92
Energy#61_p92-93_Pro3.indd 92
11/15/13 11:16 PM
นอกจากนั้น ขบวนรณรงคยังรวมกับชาวจังหวัดสระบุรี โยนระเบิด จุลินทรียกอนลงแมนํ้าปาสักเพื่อชวยใหนํ้าใสสะอาดขึ้น โดยมีกลุม นักสืบสายนํา้ เยาวชนในพืน้ ที่ ชวยวิเคราะหจลุ นิ ทรียใ นนํา้ จากนัน้ จึงไป เรียนรูเ กษตรทฤษฎีใหมบนทีด่ นิ ผืนแรกของพอ ทีว่ ดั มงคลชัยพัฒนา ชวยกันแกปญหาปลูกขาวในพื้นที่แลงแหงนํ้า ตอดวยการดูการ แกปญหาการจัดการนํ้าดวยภูมิปญญาแบบ “อางใหญเติมอางเล็ก อางเล็กเติมสระนํ้า” ที่อางเก็บนํ้าหวยหินขาว และเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ ที่ปจจุบันนํ้าแหงเห็นตะกอนดินกองอยูกลางนํ้าชัดเจน ทําใหขบวน รณรงค ไดรับทราบปญหาอันแทจริงของสถานการณภัยแลงที่ลุมนํ้า ปาสักกําลังเผชิญอยูในขณะนี้ ดร.วิวัฒน ศัลยกําธร ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง และมูลนิธิ กสิกรรมธรรมชาติ กลาววา กิจกรรมนี้ทําใหเราไดพิสูจนวา ความรู ของเราเองที่เหมาะสมกับบานเรามากที่สุด ถึงแมการเดินทางตลอด 9 วัน ของโครงการฯ ไดจบลงไปแลว แตโครงการนีย้ งั ไมสนิ้ สุดจะมีการ สานตอโครงการอีก 3 ป เริ่มตั้งแต ป 2557 - 2559 เพื่อใหรากฐานที่ เราสรางมาในครัง้ นีส้ าํ เร็จอยางเปนรูปธรรม และจะเดินหนาปฏิบตั บิ ชู า ตามรอยพระองคทานตอไป โดยมีเปาหมายในการคนหา “ชุมชนและ คนมีใจ” 100,000 ราย เขารวมภารกิจแสนหลุมขนมครกหยุดนํา้ ทวม นํา้ แลงอยางยัง่ ยืน ซึง่ ทุกคนสามารถมีสว นรวมกับภารกิจนีไ้ ด ถารวม พลังชวยกันลงมือทําจริงตามศาสตรพระราชาและภูมปิ ญ ญาทองถิน่ วิกฤตจะบรรเทาและเราจะผานพนไปไดอยางแนนอน และในตลอด เสนทางการทําโครงการมี 4 ดาราและคนดังทีอ่ าสาเขารวมกิจกรรมดวย คือ คุณแพนเคก - เขมนิจ จามิกรณ คุณออม - อรรคพันธ นะมาตร คุณบอย - พิษณุ นิ่มสกุล และ คุณกอง - ทรงกลด บางยี่ขัน เปน ผูน าํ ขบวนการเดินทางและทํากิจกรรมไปดวยกันจนถึงปลายทาง สราง ความประทับใจใหแกประชาชนตลอดเสนทาง
ดังนัน้ เมือ่ ถึงพืน้ ทีต่ น นํา้ เหนือเขือ่ นปาสักชลสิทธิ์ บริเวณบานโปงเกตุ อําเภอมวกเหล็ก กําลังพลอาสาสมัครหลายรอยคน จึงรวมพลังชวย กันหาทางเก็บกักนํา้ ดวยวิธตี า ง ๆ ทัง้ สรางฝายชะลอนํา้ ขุดเสนทางนํา้ เชือ่ มหนอง คลอง บึง ดวยคลองไสไก ปลูกปาเปยก คือ กลวย สีเสียด ขอย ใหดินชุมนํ้ากอนระดมยิงกระสุนเมล็ดพันธุเพื่อเพิ่มปริมาณ ไมยนื ตน สวนบอนํา้ ทีเ่ คยขุดไวแลวแตนาํ้ แหงขอด ก็ทาํ การยาบอดวย มูลวัวควายผสมนํา้ เพือ่ ปองกันนํา้ ซึมตามภูมปิ ญ ญาชาวบาน ดวยหวัง ใหเด็ก ๆ โรงเรียนบานโปงเกตุ ไดมีบอเก็บนํ้าไวใชตลอดป และเปนตน นํ้าที่ชุมชื้นใหคนปลายนํ้าไดพึ่งพา
ดาน คุณบุญลอม เตาแกว เกษตรกรผูนําเครือขายเศรษฐกิจ พอเพียงหนองโน จังหวัดสระบุรี กลาวถึง ประโยชนทไี่ ดรบั จากโครงการ นีว้ า โครงการนีถ้ อื เปนโครงการตามรอยพอทีผ่ สู นับสนุนเขามาปลูกฝง ชาวบานใหลุกขึ้นมาบริหารจัดการนํ้า เพื่อใหมีนํ้ากินนํ้าใชตลอดป ปองกันนํ้าทวม เกษตรกรสามารถมีนํ้าใชตลอดทั้งป จากกิจกรรม 9 วัน ที่ผานมา ถือเปนการเริ่มตนโครงการที่ดี ซึ่งตอนแรกชาวบาน ยังไมคอยเขาใจเกี่ยวกับการจัดการนํ้า หลังจากทางเชฟรอน สถาบัน เศรษฐกิจพอเพียง และ มูลนิธกิ สิกรรมธรรมชาติ เขามาชวยใหความรู พรอมทั้งระดมทุน จึงทําใหชาวบานตื่นตัวและมีความเขาใจมากขึ้น ซึ่ง โครงการนี้มีระยะเวลาถึง 9 ป และตลอด 9 ป ทางผูสนับสนุนจะสงคน มาชวยทําโครงการใหบรรลุสูเปาหมายตามที่วางไว ถาโมเดลนี้ดําเนิน ตอไปเหตุการณนํ้าทวมก็จะไมเกิดขึ้นแนนอน 93
Energy#61_p92-93_Pro3.indd 93
11/15/13 11:16 PM
Saving Corner โดย : คุณทนงศักดิ์ วัฒนา
Energy from Waste (EfW) Technology โรงไฟฟาพลังงานนํ้าขนาดเล็กจากแหลงนํ้าทิ้งแรงดันสูง ตอนที่ 2 (Small hydropower from Wastewater) ฉบับที่แลวกลาวถึงพลังงานนํ้าจากเทคโนโลยีกังหันลมเพื่อใชในการ ผลิตไฟฟาไปแลว สําหรับฉบับนีจ้ ะมาตอยอดเรือ่ งราวดังกลาว วาดวย เรือ่ งกังหันนํา้ แตละประเภท พรอมคุณสมบัตใิ นการใชงาน ดังนี้ 1. กังหันนํา้ ประเภทหัวฉีด (Impulse Turbine) เปนกังหันนํา้ ทีอ่ าศัย แรงฉีด หรือแรงกระแทกของนํา้ ทีไ่ หลมาจากทอสงนํา้ มักจะมีหวั นํา้ สูง โดยผานหัวฉีดกอนจะถูกฉีดไปยังใบกังหันนํา้ ลํานํา้ ทีอ่ อกจากหัวฉีดจะ มีความแรงและเร็ว เมือ่ ไปกระแทกกับใบกังหันนํา้ จะทําใหใบหมุน การ ทํางานของกังหัน (แสดงในรูปที่ 3) ซึง่ การควบคุมการหมุนของกังหันนํา้ ทําได โดยการปรับขนาดหัวฉีดนํ้าที่กระแทกใบกังหันนํ้า กังหันนํ้า ประเภทนี้ สามารถแบงออกได 3 ชนิด ไดแก
1.2 กังหันนํ้าเพลตัน (penton turbine) กังหันชนิดนี้จะมีลักษณะ ลูกถวยคู ทําหนาที่ในการรับแรงกระแทกของนํ้าที่ออกจากหัวฉีด (แสดงในรูปที่ 5) ซึ่งบางครั้งสามารถออกแบบใหหัวฉีดมีมากกวา 1 หัวฉีด ทําใหกังหันนํ้าสามารถรับกําลังจากนํ้าไดมากขึ้น ในขณะที่ ขนาดของกังหันนํา้ มีขนาดเทาเดิม ปจจุบนั กังหันชนิดนีไ้ ดรบั ความนิยม ใชในระบบผลิตไฟฟาพลังงานนํา้ มาก เนือ่ งจากมีประสิทธิภาพสูง
รูปที่ 5 ลักษณะของใบกังหันนํา้ เพลตัน
รูปที่ 3 ลักษณะการทํางานของกังหันนํา้ ประเภทหัวฉีด 1.1 กังหันแบงกี (banki turbine) กังหันแบงกีจะมีลกั ษณะคลายกับ พัดลมกรงกระรอก การทํางานของกังหันนํ้าประเภทนี้อาศัยลํานํ้าที่ มีหัวนํ้าตํ่าตกกระทบ หรือฉีดกระแทกบริเวณใบกรงกระรอก กังหัน ประเภทนีเ้ หมาะกับแหลงนํา้ ทีม่ คี วามสูงของหัวนํา้ ไมมากนัก และตองการ กําลังการผลิตคอนขางตํา่ ปจจุบนั ไมนยิ มใชแลว ลักษณะของกังหันนํา้ ชนิดนี้ (แสดงในรูปที่ 4)
รูปที่ 6 ลักษณะของใบกังหันนํา้ เพลตันทีม่ มี ากวา 1 หัวฉีด รูปที่ 4 แสดงลักษณะกังหันนํา้ แบงกี (Bamki Turbine) 94
Energy#61_p94-95_Pro3.indd 94
11/14/13 9:53 PM
1.3 กังหันนํ้าเทอร โก (Turgo turbine) กังหันนํ้าชนิดนี้มีลักษณะ คลายกับกังหันนํา้ เพลตัน แตจะมีลกู ถวยเพียงขางเดียว และมีลกั ษณะ ตืน้ กวาชนิดแพลตัน เปนกังหันนํา้ ทีถ่ กู พัฒนาตอยอดมาจากกังหันนํา้ เพลตัน เหมาะสําหรับระดับหัวนํา้ ทีม่ คี วามสูงปานกลาง กังหันนํา้ ชนิดนี้ สามารถรับแรงกระแทกจากลํานํา้ ไมสงู มากนัก แตสามารถรับปริมาณ นํ้าไดมากกวาชนิดเพลตัน ลักษณะของกังหันนํ้าชนิดนี้ (แสดงไดใน รูปที่ 7 รูปที่ 8 และรูปที่ 9)
3 ประเภท ไดแก กังหันนํา้ ฟรานซิส (Francis turbine) กังหันนํา้ เคป แลน (Kaplan turbine) และกังหันนํา้ เดเรียซ(deriaz turbine) รูปแบบ กังหันนํา้ ประเภทแรงปฏิกริ ยิ า ทัง้ 3 แบบ (แสดงในรูปที่ 10)
ก)กังหันนํา้ ฟรานซิส
ข)กังหันนํา้ เคปแลน
ค)กังหันนํา้ เดเรียซ
รูปที่ 10 แสดงลักษณะทัว่ ไปของกังหันนํา้ ประเภทแรงปฏิกริ ยิ า รูปที่ 7 ลักษณะของกังหันนํา้ เทอรโก
การประยุกตกงั หันนํา้ กับแหลงนํา้ ทิง้ แรงดันสูง ในบางกระบวนการหรือบางระบบที่ตองใชนํ้าที่มีแรงดันเขามาเกี่ยวของในการ ทํางานของระบบ มักมีปริมาณและแรงดันนํา้ เหลือทิง้ ซึง่ ทัง้ แรงดันและปริมาณ ของนํ้าทิ้งยังมีศักยภาพในการนํามาขับเคลื่อนกังหันนํ้าได เชน ในกระบวนทํา นํา้ ใหบริสทุ ธิด์ ว ยกระบวนการออสโมสิสผันกลับ หรือ RO เปนกระบวนการไหล ของนํา้ ซึมผานแผนเยือ่ บาง ๆ หรือ เมมเบรน โดยอัตราการไหลของนํา้ ทีผ่ า น เมมเบรนอยูในรูปของความสัมพันธของความดัน (Pressure) ความเขมขน (Concentration) และอุณหภูมิ (Temperature) ในระหวางกระบวนการจะมี นํา้ บางสวนซึง่ ไมสามารถซึมผานเมมเบรนได และไหลออกจากระบบโดยมีปริมาณ นํา้ และความดันสูง ขึน้ อยูก บั การออกแบบและปริมาณความเค็มของนํา้ ทีน่ าํ มา ผานระบบ RO การประยุกตนาํ กังหันนํา้ มาติดตัง้ ทีท่ างออกของนํา้ ทิง้ จากระบบ RO (แสดงในรูปที่ 11)
รูปที่ 8 ลักษณะการฉีดนํา้ กระแทกใบกังหันนํา้ เทอรโก
รูปที่ 11 การประยุกตใชกงั หันนํา้ ติดตัง้ ทีท่ างออกของนํา้ ทิง้ RO เพือ่ ขับ เครือ่ งสูบนํา้ เขาระบบ RO
รูปที่ 9 ลักษณะของกังหันนํา้ ผลิตไฟฟาเทอรโก 2. กังหันนํา้ ประเภทแรงปฏิกริ ยิ า (Reaction turbine) เปนกังหันนํา้ ทีต่ อ งอาศัยความแตกตางของแรงดันนํา้ ทางดานเขาและดานออกของ กังหันนํา้ เพือ่ ขับดันใหใบกังหันนํา้ หมุน กังหันนํา้ ประเภทนี้ ใบกังหันจะ จมอยูในนํ้าทั้งหมด และมักจะใชกับนํ้าที่มีความแตกตางของความสูง นํา้ ไมมากนัก กังหันนํา้ แรงปฏิกริ ยิ าทีม่ กี ารใชงาน สามารถแบงไดเปน
นอกจากนี้ ในระบบบําบัดนํา้ เสียมักติดงตัง้ เครือ่ งสูบนํา้ เพือ่ สงนํา้ ไปยังบอพัก นํา้ และบอปรับสภาพนํา้ กอนปลอยลงบอแบบอิสระ ซึง่ มีศกั ยภาพนําพลังงาน นํา้ ทิง้ ในระบบบําบัดนํา้ เสียนํากลับมาใชงานได โดยการติดตัง้ กังหันนํา้ แบบแรง ปฏิกริ ยิ าทีป่ ลายทางออกของทอนํา้ ทิง้ เพือ่ ไมใหมผี ลกระทบตอแรงดันนํา้ ในระบบ นี่เปนเพียงบางสวนที่ประยุกตการนําพลังงานนํ้าทิ้งกลับมาใชประโยชนเทานั้น การพิจารณาวาแตละกระบวนการ หรือการทํางานของอุปกรณมปี ริมาณนํา้ และ แรงดันนํา้ เหลือทิง้ เทาไร เปนเรือ่ งทีผ่ เู กีย่ วของในสายงานตองเปนผูพ จิ ารณาจะได ครอบคลุมและถูกตอง ในการนําพลังงานนํา้ เหลือทิง้ กลับมาใชงาน รวมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพของระบบ ลดผลกระทบดานสิง่ แวดลอม และอาจสงผลโดยตรงตอ ตนทุนการผลิตทีล่ ดลงไมมากก็นอ ย เพือ่ โลกใบนีจ้ ะไดอยูค กู บั เราตลอดไป 95
Energy#61_p94-95_Pro3.indd 95
11/14/13 9:53 PM
Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001/wonlop.r@gmail.com
คูมือการตรวจสอบ
และรับรองการจัดการพลังงาน สําหรับผูตรวจสอบพลังงาน
(ตอนที่ 6)
ภาคผนวก ก
ตัวอยางแบบฟอรมที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงาน
จาก กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการจัดการ พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการดําเนินการ จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ กําหนดใหพนักงานเจาหนาที่ บุคคลหรือนิติบุคคล (ผูตรวจสอบ พลังงาน) ที่อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน อนุญาต มีหนาที่ดําเนินการตรวจสอบและรับรอง (Certification Audit) ตามที่กําหนด สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน จึงจัดทําคูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงานสําหรับผูต รวจสอบพลังงาน ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหผทู ี่ มีหนาทีท่ เี่ กีย่ วของใชเปนแนวปฏิบตั ติ อ ไป โดยคูม อื มีสว นประกอบ ดังนี้ • บทที่ ๑ เกณฑการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน • บทที่ ๒ ขัน้ ตอนการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน • ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน • ภาคผนวก ข กฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการตรวจสอบและรับรองการ จัดการพลังงาน โดย Energy Saving ฉบับทีผ่ า นมา ไดกลาวถึง คํานํา บทที่ ๑ และ บทที่ ๒ ไปแลว ดังนัน้ ในฉบับนีจ้ ะกลาวถึง ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมที่ เกีย่ วของกับการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานตอไป หวังวา ผูอานจะไดรับประโยชนจากคูมือนี้ครับ โดยเฉพาะผูที่เกี่ยวของจาก อาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ทีต่ อ งปฏิบตั ติ ามกฏหมายฉบับนีค้ รับ
ตัวอยางแบบฟอรมที่คูมือฉบับนี้ไดบรรจุไวนั้น มีวัตถุประสงคเพื่อ ใหการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานของผูตรวจสอบ พลังงานมีแนวทางในการดําเนินการที่ชัดเจน ฉบับนี้จะขอเริ่มจาก ภาคผนวก ก-๓ รายการตรวจสอบการจัดการพลังงานในการดําเนินงาน ตามขอกําหนดกอนครับ เพือ่ ใหผอู า นทราบถึงรายการคําถาม เอกสาร หรือ หลักฐาน ที่ผูตรวจสอบพลังงานจะเขามาดําเนินการตรวจที่ โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม แตเนื่องจากรายการตรวจสอบฯ ดังกลาวมีความยาวพอสมควร จึงขออธิบายแยกเปน 8 ขั้นตอน ตามแนวทางการพัฒนาระบบจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 5 การกําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน และ แผนการฝกอบรม และกิจกรรมเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน ขอ 7 เจาของโรงงานควบคุมและเจาของอาคารควบคุมตองจัดให มีการกําหนดเป าหมายและแผนอนุรักษพลังงาน ของพลังงานที่ ประสงคจะใหลดลง โดยกําหนดเปนรอยละของปริมาณพลังงานที่ใช เดิมหรือกําหนดระดับของการใชพลังงานตอหนึ่งหนวยผลผลิต รวม ทั้งระบุระยะเวลาการดําเนินการ การลงทุนและผลที่คาดวาจะไดรับ จากการดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา ในการดําเนินการตามแผนอนุรักษพลังงานตามวรรคหนึ่ง เจาของ โรงงานควบคุมและเจาของอาคารควบคุมตองจัดใหมี แผนการฝก อบรมและจัดใหมีกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน โดยให บุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมเขารวมฝกอบรมและ รวมกิจกรรมอยางตอเนื่อง เพื่อเปนการใหความรูและสรางจิตสํานึก ใหเกิดความตระหนักถึงผลกระทบจากการใชพลังงาน และเผยแพร ใหบุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมทราบอยางทั่วถึง
96
Energy#61_p96-99_Pro3.indd 96
11/25/13 11:32 PM
รายการตรวจสอบการจัดการพลังงาน
ดํ า เนิ น การ
97
Energy#61_p96-99_Pro3.indd 97
11/25/13 11:32 PM
98 96
Energy#61_p96-99_Pro3.indd 98
11/25/13 11:32 PM
เอกสารอางอิง
คูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงาน สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน พฤษภาคม ๒๕๕๖ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๓
97 99
Energy#61_p96-99_Pro3.indd 99
11/25/13 11:32 PM
Energy Clinic กองบรรณาธิการ
ไขขอของใจเรื่องหลอดไฟกับภาวะโลกรอน แสงอุลตราไวโอเล็ตออกมา แสงอุลตราไวโอเลตนี้จะไปกระตุนฟอส เฟอรที่ฉาบภายในหลอดไฟและทําใหเกิดแสงสวาง หลอดประหยัดมี บัลลารตแมเหล็กและจะกระพริบเมือ่ เปด หลอดประหยัดแบบบัลลารต ไฟฟามีขายทั่วไปในปจจุบัน ตองการทราบเรื่องสารปรอทในหลอดประหยัด หลอดประหยัดมีสารปรอทอยูใ นปริมาณนอย ยีห่ อ ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงกวา มักจะมีปริมาณสารตะกัว่ นอยกวา (3 มิลลิกรัมหรือนอยกวา) อยางไร ก็ตาม การเลือกใชหลอดประหยัดแทนหลอดกลมสามารถลดการ ปลอยสารตะกั่วไดอยางแนนอน
หลายคนอาจมีคําถามในใจเกี่ยวกับการเลือกซื้อเลือกใช หลอดไฟประเภทตาง ๆ วาควรจะเลือกซือ้ หรือเลือกใชแบบ ไหน เพื่อใหประหยัดพลังงานและลดภาวะโลกรอน ยอหนา ตอไปมีคําตอบใหกับทุกคําถามที่คุณสงสัย การเปลี่ยนหลอดไฟจะสรางความเปลี่ยนแปลงจริงหรือ หลอดกลมลาสมัยที่ยังคงใชกันอยูทําใหสูญเสียพลังงานมากกวา 90% ไปกับการเปลี่ยนเปนความรอนแทนที่จะเปนแสงสวาง เพียงแคการเปลี่ยนมาใชหลอดประหยัดแทนหลอดกลม สามารถลด ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด (CO 2) ได 20 ตัน ซึ่งเทากับการปด โรงงานผลิตเชื้อเพลิงที่ทําลายสิ่งแวดลอมขนาดกลาง 25 แหง ทําไมหลอดประหยัดจึงดีกวา หลอดกลมใชพลังงานนอยกวา 10% ในการใหแสงสวาง ขณะที่ พลังงานกวา 90% สูญเสียในรูปของความรอน พลังงานสวนใหญที่ ใชเปนพลังงานที่ไดจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ทําใหมีการปลอยคารบอน ไดออกไซต สาเหตุของภาวะโลกรอน หลอดประหยัดใชพลังงานนอยกวาหลอดกลม 5 เทา นัน่ หมายความวา จะทําใหเกิดมลพิษจากคารบอนไดออกไซตนอ ยกวามาก ดังนัน้ หลอด ประหยัดจึงเปนมิตรกับสภาพภูมิอากาศและเงินในกระเปาของเรา หลอดประหยัดทํางานอยางไร หลอดประหยัดคลายกับหลอดฟลูออเรสเซนตขนาดเล็ก มีสว นประกอบ สําคัญอยู 2 สวน คือ หลอดที่เติมกาซลงไป (บางครั้งเรียกวา หลอดหรื อ สตาร ท เตอร ) และบั ล ลาร ต แม เ หล็ ก หรื อ ไฟฟ า โดย พลังงานในรูปของกระแสไฟฟาจากบัลลารตจะไหลผานกาซ ทําใหเกิด
การผลิตพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ถานหิน ปลอยสารตะกัว่ ออกสูส งิ่ แวดลอม การประหยัดพลังงานโดย เปลีย่ นมาใชหลอดประหยัดจะทําใหการปลอยสารตะกัว่ จากการเผาไหม เชื้ อ เพลิ งฟอสซิ ลน อ ยลง สารตะกั่ ว ที่ ลดลงนี้ น อยกว าสารตะกั่ ว เพียงเล็กนอยในหลอดประหยัดในปริมาณสูงกวามาก จะทําอยางไรกับหลอดไฟกลมและหลอดประหยัดที่เกาแลว หลอดกลม (ทั้งที่เกาแลวและยังใชงานไดอยู) สามารถทิ้งในถังขยะ ธรรมดาไดเลย แตหลอดประหยัดควรนําไปรีไซเคิล มีจุดทิ้งขยะมีพิษ ชิ้นเล็ก ๆ สําหรับรีไซเคิลแทบทุกประเทศ หลอดประหยัดจะกระพริบและใชเวลานานกวาจะสวางเต็มที่หรือไม ขึ้นอยูกับคุณภาพของหลอดประหยัด ในที่ ๆ คุณตองการใหไฟสวาง ทันที นาจะใชหลอดประหยัดที่คุณทดลองในราน LED คืออะไร และเปลี่ยนไปใชแทนหลอดประหยัดไดหรือไม LED ยอมาจาก ไดโอดเปลงแสง (Light Emitting Diode) ขณะนี้ มีการประชาสัมพันธอยางหนัก ซึ่งอาจแซงหนาหลอดประหยัดใน ไมกี่ปขางหนา หลอดประหยัดมีอายุการใชงานนานเทาไร หากใชงานเฉลี่ยวันละ 3 ชั่วโมงตอวัน (ประมาณ 1,000 ชั่วโมงตอป) หลอดประหยัดที่รับประกันอายุการใชงาน 6,000 ชั่วโมง (ซึ่งเปนการ รับประกันทีน่ อ ยทีส่ ดุ ในหลอดประหยัดทีม่ คี ณ ุ ภาพดี) จะมีอายุการใชงาน นาน 6 ป สวนหลอดกลมมักมีอายุการใชงานเพียง 1 ป หลอดประหยัด บางชนิดมีอายุการใชงานนานถึง 15 ป สุดทายหวังวา คุณผูอ า นคงจะไดรบั ทราบขอมูลในการตัดสินใจเลือกซือ้ หลอดไฟไปไมมากก็นอย โอกาสหนาเราจะสรรหาขอมูลดี ๆ ที่เปน ประโยชนมาฝากกันอีก ขอมูลอางอิงจาก http://www.greenpeace.org
100
Energy#61_p100_Pro3.indd 100
11/22/13 10:01 PM
Energy#59_p59_Pro3.ai
1
9/17/13
12:58 AM
Energy Movement กองบรรณาธิการ
ดร.วิ ฑู ร ย สิ ม ะโชคดี ประธานมู ล นิ ธิ ก ารจั ด การ ทรัพยากรอยางยัง่ ยืน (3 อาร) จัดปาฐกถาพิเศษใน หัวขอ “3R กลยุทธนาํ ไทยสูก ารพัฒนาอยางยัง่ ยืน” โดยมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ประธานทีป่ รึกษามูลนิธิ การจัดการทรัพยากรอยางยัง่ ยืน (3 อาร) พระมหา วุฒชิ ยั วชิรเมธี (ทาน ว.วชิรเมธี) ดร.วิฑรู ย สิมะโชค ดี ประธานมูลนิธิการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน (3 อาร) นายวิเชียร จุง รุง เรือง อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ และนายชลธร ดํารงศักดิ์ ผูอํานวยการศูนยพัฒนา ความเปนเลิศและความยัง่ ยืน บริษทั ปูนซีเมนตไทย จํากัด (มหาชน) เขารวมปาฐกถาในครัง้ นีด้ ว ย
นายบุนชาน กุลวทัญู ผูชวยกรรมการผูจัดการ ธนาคารกสิกรไทย นายประมวล จันทรพงษ อธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน และนายสุวฒ ั น เชีย่ วชาญชัย รองผู วาการวางแผนและพัฒนาระบบไฟฟา การไฟฟาสวน ภูมภิ าค (กฟภ.) รวมเปดตัวบริการสินเชือ่ ประหยัดไฟ กสิกรไทย (K-Top Up Loan for Energy Saving (Lighting Solution)) วงเงินกู 100% ของคาใชจา ยใน การลงทุนเปลีย่ นมาใชหลอดไฟ LED โดยไมตอ งมีหลัก ประกัน ชวยลดตนทุนคาไฟฟาไดสงู สุด 80% เฉลีย่ คืน ทุนภายใน 2 ป พรอมจับมือภาครัฐมอบเงินสนับสนุน แผนลงทุนทีผ่ า นเกณฑ ณ ธนาคารกสิกรไทย สํานัก พหลโยธิน เมือ่ เร็ว ๆ นี้
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประกาศเปดใหบริการอาวพราว อุทยานแหงชาติ เขาแหลมหญา-หมูเกาะเสม็ด ตอนรับฤดูกาล ทองเที่ยว หลังจากตรวจสอบคานํ้าทะเลทุกหาด กลับสูส ภาวะปกติ อยูใ นเกณฑมาตรฐานเพือ่ การ นันทนาการ พรอมเปดเผยแผนแกไขและฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และแผน ติดตามประเมินผลตอเนื่องอีก 1 ป สรางความ มัน่ ใจการกํากับ ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมใหคงอยูอ ยางยัง่ ยืน เมือ่ เร็ว ๆ นี้
กระทรวงพลังงาน จับมือ กระทรวงศึกษาธิการ รวมเปดตัวโครงการ “พลังคิด สะกิดโลก” และ ลงนามในบันทึกความรวมมือ เพือ่ ขับเคลือ่ นการ รณรงคประชาสัมพันธเพื่อสงเสริมการอนุรักษ พลังงานในสถานศึกษาทัว่ ประเทศ โดยมีกลยุทธ การสื่อสารวา “ความสุขจะเกิดขึ้นได เกิดจาก การเปลี่ยนมุมคิดการประหยัดพลังงาน รวม พลังเยาวชนไทยลดการใชพลังงาน : ลดวันนี้ ชีวิตมีสุข”
102
Energy#61_p102-103_Pro3.indd 102
11/25/13 11:17 PM
นายพงษดษิ ฐ พจนา กรรมการผูจ ดั การใหญ บมจ. ผลิตไฟฟา ราชบุรโี ฮลดิง้ ปรับกลยุทธการเติบโตเพือ่ เพิม่ ศักยภาพ พรอม เสริมความสามารถในการแขงขัน โดยยังคงรักษาฐานธุรกิจเดิม และเดินหนาขยายตลาดใหมที่มีศักยภาพและขยายสูธุรกิจอื่นที่ สามารถเพิม่ มูลคาได
บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จํากัด ใหการตอนรับ คิน หมอง ยุน และเหว เพียว อู ผูจัดการทั่วไป บริษทั คิน หมอง ยุน เทรดดิง้ จํากัด ผูผ ลิตอุปกรณ ไฟฟาและผูรับเหมาระบบไฟฟาแรงสูงรายใหญ ในพมาซึง่ เดินทางเขามาเยีย่ มชมศักยภาพการทํางาน ของบริษัทฯพรอมหารือแนวทางในการทําธุรกิจ กอสรางรวมกันในประเทศพมา ณ บริษทั อิตลั ไทย วิศวกรรม จํากัด เมือ่ เร็ว ๆ นี้
สถาบันพลังงาน มช. พัฒนางานวิจยั ในโครงการ การเพิม่ ศักยภาพ การผลิตกาซชีวภาพจากพืชพลังงานเพือ่ ทดแทนกาซปโตรเลียมเหลว ในเชิงพาณิชย เพื่อศึกษาระบบผลิตกาซชีวภาพอัดสําหรับทดแทน กาซหุมตม ภายใตการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเพือ่ สงเสริม การอนุรกั ษพลังงาน
เปดไลนผลิตเครือ่ งยนตเพือ่ สิง่ แวดลอม น.ส. ยุคนธร วิเศษโกสิน กรรมการผู จัดการ ฟอรด ประเทศไทย มร. เคน มิเนียลลี่ ประธานบริษทั ออโตอลั ลาย แอนซ ประเทศไทย จํากัด พรอมผู บริหารระดับสูงและพนักงาน ออโตอลั ลายแอนซ ประเทศไทย รวมฉลองการ เปดไลนการผลิตเครือ่ งยนต 1.0 ลิตร อีโคบูสต เครื่องยนตขนาดเล็กเพื่อ สิง่ แวดลอม ของรถฟอรด เฟยสตา ใหม อยางเปนทางการ ทีโ่ รงงาน ออโตอลั ลาย แอนซ ประเทศไทย จังหวัดระยอง
103
Energy#61_p102-103_Pro3.indd 103
11/25/13 11:18 PM
Energy Thinking เด็กเนิรด
ทํางานให้ได้ทั้งคุณภาพและปริมาณ เคยถามตัวเองไหมวา เราทํางานไดคณ ุ ภาพหรือไม หรือไดแตปริมาณ การที่จะทํางานให ไดทั้งคุณภาพและปริมาณไปพรอม ๆ กัน ควรทํา อยางไรบาง เรามีขอ คิดดี ๆ ในการทํางานมาฝากกัน
1. ไมมีนิสัยทํางานตามสบายอารมณ อยาใหการทํางานขึ้นกับอารมณ วันไหนอารมณดีจึงจะลงมือทํางาน และทํางานไดดี วันไหนอารมณไมดี ก็ไมทํางาน หรือทํางานอยาง เสียไมได ผลงานที่ออกมาก็ไมดี 2. เพาะนิสัยทํางานใหไดผลดี ดังนี้ 2.1 ทํางานเปนระเบียบ มีการวางแผนการทํางานระยะสัน้ และระยะยาว ไมทํางานโดยไมมีจุดมุงหมาย เพื่อชวยใหการทํางานไมหลงทางและ การดําเนินงานงายขึ้น 2.2 ไมยอมรับงานที่ไมไดคุณภาพ หรือการทํางานชุย ๆ ตองนึกถึง ชื่อเสียงและเกียรติยศ 2.3 มีความกระตือรือรนในการทํางาน แมจะตองเหน็ดเหนื่อย 2.4 แมงานจะยากลําบากหรือมีอุปสรรค บังคับตัวเองไมใหยอทอ หรือหมดกําลังใจในการทํางาน 2.5 หาเพื่อนรวมงานที่ขยันขันแข็ง สูงาน มาชวยแบงเบาภาระ เพื่อใหไดปริมาณงานมากขึ้น แตคงไวซ่งึ คุณภาพของงาน 2.6 ศึกษาหาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ เพื่อปรับปรุงแกไขงาน ใหไดคุณภาพตามมาตรฐาน 2.7 ทํางานดวยใจรัก ไมทิ้งงาน เพราะเห็นแกการเที่ยวเตร 2.8 การทํางานทุกชนิดตองประเมินผลงาน เพื่อหาขอผิดพลาด และแนวทางแกไขปญหาที่เกิดขึ้น 2.9 ไมรอชา หรือผัดวันประกันพรุง หากแนใจวาจะทํางานนี้ ตองมุงมั่น อดทน และเอาชนะงานใหได 3. ไมอยูวาง คนเราทุกคนที่อยูนิ่งเฉย โดยไมทํางาน และไมพัฒนาตัวเอง ก็เปรียบเสมือนคนที่ตายไปแลวนั่นเอง
104
Energy#61_p104_Pro3.indd 104
11/15/13 11:19 PM
แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)
ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ
ชาย
หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........
ตําแหนง :
เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................
อาชีพ :
นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค
นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา
ลักษณะงานของหนวยงาน :
วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ
วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................
สถานที่จัดสงนิตยสาร
ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)
วิธีชําระเงิน
เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่
www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ
เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต
HO
ro P T
m
!! n otio
105
Energy#58_p103_Pro3.indd 105
8/28/13 6:43 PM
Energy#61_p106_Pro3.ai
1
11/26/13
2:03 AM
Energy#61_Cover In_Pro3.indd 1
11/26/13 2:17 AM
Energy#61_Cover Out_Pro3.indd 1
11/26/13 4:16 PM