นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 63 เดือนกุมภาพันธ์ 2557

Page 1

~ ¥ ñ m m }©j ¨ ¨ Ó ¨q pp

jÔ ¢ ËÓ ¢ ­

6

} | ¤|Ò

Thailaand Th nd Ene nergy AAwwarrds ds 201 010, 0, 2012

~ ¥} Busineess Turbbo r Energy Saving Ë ­ 6 r ­ 63 j¡ ×× 2557 Ê ¬ 6 q ¬ 63 i Ö 2557

ecology car 90 www.facebook.com/EnergySavingMedia

Energy#63_Cover Out_Pro3.indd 1

1/28/14 3:21 PM


Energy#63_Cover In_Pro3.indd 1

1/28/14 3:17 PM


Energy#63_Ad Measure_Pro3.ai

1

1/25/14

10:50 AM


High Light 22 19

25

72

36

74

44 66 76 78

What’s Up

72 Around The World 74 ASEAN Update 102 Energy Movement

Cover Story 10 53

Cover Story : Ecology Car… ขับเคลื่อนเศษรฐกิจป 57 Special Report : หญาเนเปยรพืชพลังงานตัวใหม อนาคตพลังงานไทย

80 82 83 90

Greennovation Green 4U : The Fossil Project ชิน้ งานเอกลักษณ จากขยะสลายยาก Energy Award : มจร. 1ใน 4 ทีมตัวแทนเอเชีย เขาชิงแบบบานประหยัดพลังงานSolar Decathlon Europe 2014 Energy Knowledge : วว.วิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีสกัดนํา้ มันจากสายพันธุส าหรายขนาดเล็ก Eco Shop : กระเปาทํามือจากเสนใยธรรมชาติ ดีไซนเก ทันสมัย ไมตองกลัวตกเทรนต Energy Loan : ธนาคารกรุงเทพ เพิ่มทางเลือกใหม ดวยสินเชื่อบัวหลวงกรีน วงเงินสูงสุด 1 ลานบาท Energy Focus : ความมั่นคงดานพลังงาน กับการ…กาวสูป 57 เตรียมรับมือการขยายตัว Insight Energy : Thailand Demand Response ตอยอดสูการรับมือดานพลังงาน Special Scoop : 17 โรงเรียนตามรอยเทาพอ จัดการสิ่งแวดลอมในโรงเรียน-ชุมชน Special Scoop : การสํารวจและผลิตปโตรเลียม ของ บริษัทมูลบาคาลา ปโตรเลียมในประเทศไทย Energy Report : ติดปกผลิตภัณฑใสใจสิง่ แวดลอม ดวยฉลากคารบอนฟุตพริ้นทชวยลดโลกรอน Energy Exhibit : สถาปนิกลานนา 57 โชวเหนือ ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม แอรพอรต

Interview 46 48 50 64

Exclusive : ปูนซีเมนตเอเชียผลิตไฟฟาลมรอน ปลอดมลพิษเนนความปลอดภัย Exclusive : CHOW ลุยลงทุน โซลารเซลลที่ญี่ปุน 18 เมกะวัตต Exclusive : เอ.พี.ฮอนดาเปดแผนสูองคกร แหงความยั่งยืนพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อ ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม Energy Concept : นศ.วิศวกรรมพลังงาน วทส. คิดคนนวัตกรรมพลังงานทดแทน

19

4

Energy#63_p04,06_Pro3.indd 4

1/27/14 9:27 PM


เครื่องบันทึกและวิเคราะหการใช ไฟฟา สําหรับงานประหยัดพลังงาน FLUKE 1730 Three-Phase Energy Logger ตรวจสอบการใชพลังงานไฟฟา ตั้งแตจุดตอเขาโรงงานเรื่อยไปจนถึง แตละวงจรไฟฟา เปรียบเทียบขอมูลในแตละชวงเวลาเพื่อดูภาพรวม

ฟลุค… มั่นใจทุกคาที่วัด

- จอทัชสกรีน เขาถึงเมนูไดงาย - สลับสายเชื่อมตอใหถูกตองอัตโนมัติ - ใชไฟฟาไดจากระบบโดยตรง - บันทึกผลลง USB หรือ SD Card - มีแคลมปใหเลือกตามการใชงาน รองรับกระแสสูงสุด 6000 A

รุนใหม ใชงาย ประหยัด

iFlex Flexible probes รุนใหม ใช ในที่คับแคบ ได โดยสะดวก

ทํา Energy Study และ Load Study โดยใช ไฟ จากระบบไดเลย สามารถติดตั้งได ในตูคอนโทรล

FLUKE 434-II, FLUKE 435-II Three-Phase Power Quality and Energy Analyzers วิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้น และแจกแจงความสูญเสียจากสาเหตุตางๆ พรอมคํานวณตัวเลขตนทุนที่สูญเปลาไดทันที

รุนใหญ สมรรถนะ สูงเยี่ยม

คาสูญเสียจากสายไฟไมไดขนาด คาสูญเสียจาก Reactive power คาสูญเสียจาก Unbalance คาสูญเสียจาก Harmonics คาสูญเสียจากกระแส Neutral รวมเปนเงินจากกิโลวัตตชั่วโมง ที่สูญเสียไป

โพรบยืดหยุนรองรับ กระแสไดสูงถึง 6000 A

สนใจติดตอ : คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณพลธร 08-1834-0034, คุณจิรายุ 08-3823-7933

บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด

2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/power-quality Energy#63_Fluke-1_Pro3.indd 8

1/23/14 10:56 PM


56

56

88

Industrial & Residential

Green Industrial : เทสโกโลตัสตอกยํ้า ความเปนผูนําดานธุรกิจสีเขียวสรางศูนย กระจายสินคาประหยัดพลังงาน Residence : กรุงกวีสรางบานรักษโลก ตอบโจทยกระแสโลกรอน Energy Design : รีสอรทแนวใหมภายใตคอนเซปต เซเวนเอส Tool&Machine : ระบบทําความเย็น แบบ InRow Cooling Saving Corner : รูจักเทคโนโลยีผลิตไฟฟา ความรอนและความเย็นรวม (CCHP หรือ Tri-Generation) Energy Management : คูมือการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานสําหรับผูต รวจสอบพลังงาน (ตอนที่ 8)

28 32 34 38 94 96

Transportation & Alternative Energy 56 62 68 70

Environment Protection 85 88 92

32

Auto Update : เทรนดพลังงาน “ไฮโดรเจน” Vehicle Concept : HONDA FCEV ตนแบบไฮโดรเจน วิง่ ไกล เติมเร็ว Renergy : พลังงานชุมชน CSR ของรัฐ หรือ พัฒนาชุมชน Green logistic : ยุทธศาสตรการบริหารงานจัดซือ้ ยุคใหม

99

0 Waste Idea : ปญหาภัยพิบตั จิ ากสารเคมีรวั่ ไหล สูแ หลงนํา้ ประปาบทเรียนราคาแพง… สูก ารเตรียมพรอมเพือ่ เฝาระวัง Environment Alert : การขาดแคลนนํา้ สะอาด ปญหาทีโ่ ลกตองตระหนัก Green Community : TIPMSE จับมือ มูลนิธิ 3R เปดแหลงเรียนรูเ ครือขายรีไซเคิล ลดขยะลนโลก Energy Clinic : รูจ กั …ฉลากประหยัดไฟ เบอร 5

Regular Feature 8 16

Editor ’s talk Get Idea : ปลูกฝง สรางจิตสํานึก การประหยัดพลังงาน ไปกับกฟผ. 42 How to : เปลี่ยนโตะเกา ใหสวย เก ดวยมือเรา 40 Energy Tips : สารพัดวิธีประหยัดไฟฟา 60 Have to Know : จับสาหราย… ใสถัง 104 Energy Thinking : เปลี่ยนมุมมองชีวิตใหคิดบวก 105 แบบสมัครสมาชิก 106 Event & Calendar 6

Energy#63_p04,06_Pro3.indd 6

1/27/14 9:27 PM


เครื่องมือทดสอบการติดตั้งและบํารุงรักษา ระบบเซลลแสงอาทิตยและพลังงานลม

PV150 Solar Commissioning Tests ตรวจวัดคุณสมบัติของแผง โซลารเซลล วัด Insulation, Voc, Isc, Power

Fluke 1625 Earth Ground Tester ตรวจวัดระบบกราวดจาก แผงโซลาเซลลถึงอาคารที่ ติดตั้งอินเวอรเตอร

SOLAR-600 Solar Analyzer วิเคราะหพลังงานแสง อาทิตย V-I Curve, แรงดันและกระแสสูงสุด, ประสิทธิภาพ

SOLAR-100 Solar Power Meter วัดคาพลังงานแสงอาทิตย ที่ตกกระทบโซลาเซลล เพื่อการทดสอบ การแปลง พลังงาน

Fluke 435-II Power Quality Analyzer

Fluke Ti27 Thermal Imager

ตรวจวัดประสิทธิภาพของ อินเวอรเตอรจากระบบ DC Generator เทียบกับ AC Output

วัดคาอุณหภูมิแผงโซลาเซลล ตรวจหาจุดเสื่อมของแผง วัดไดจากระยะไกล รวดเร็ว และปลอดภัย

BAT-500 Battery Capacity Tester

ทดสอบความสามารถของ แบตเตอรี่ ในระบบสํารองไฟ จายกําลัง และอายุใชงาน

Fluke 810 Vibration Tester

ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนของตัว เจ็นเนอเรเตอรและใบกังหันลม เพื่อหาความผิดปกติ

Fluke 215C Handheld Oscilloscope

Fluke CNX Wireless System

วัดและวิเคราะหการสื่อสารที่ เชื่อมตอกันในสถานี ไฟฟา กับกังหันลม ผานระบบบัสขอมูล

ชุดเครื่องมือวัดระบบไรสาย เชื่อมตอใชงานรวมกัน 5 โมดูล ระยะไกล 20 เมตร

ระบบทดสอบเครื่องอินเวอรเตอรที่ ใชกับ สถานี ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย (Grid-Connected Photovoltaic Inverter) PV Inverter

ที่ตองการทดสอบ

PV Simulation เครื่องสรางสภาวะพลังงานจากเซลล แสงอาทิตย (PV Simulation) - สามารถสรางสภาวะพลังงานที่เกิดจากเซลล แสงอาทิตย โดยไมตองใชแผงเซลลแสงอาทิตย - ตอบสนองตอ IV Curve ไดรวดเร็วแบบไดนามิค (Dynamic Performance) มีความละเอียดสูง 4096 จุด - ทดสอบความทนทานของอินเวอรเตอรจากการ กระชากของกระแสเฉียบพลัน เมื่อแสงอาทิตยขาดหาย (Max Power Point Tracking)

PV Inverter

AC Grid Simulation

เครื่องสรางสภาวะแรงดันไฟฟากระแสสลับ (AC Grid Simulation) - สามารถสรางสภาวะแรงดันไฟฟา Under/Over Voltage, สภาวะความถี่ Under/Over ver Frequency สําหรับทดสอบการตัด-ตอเครื่องอินเวอรเตอร - ทดสอบการจายไฟฟากระแสตรง (DC Injection) ตามมาตรฐาน 1547.1-2005 ไดด - ทดสอบการปองกันการจายไฟฟาแบบแยกโดด (Anti-Islanding) ตามมาตรฐาน IEC EC 62116-2008 ได - สามารถทางานในโหมดทีร่ องรับกระแสไหลยอนกลับ (Regenerative Mode) โดยไมเกิดการ reverse protection, trip, fault, damage, short, burnt - สามารถทาการทดสอบการตัด-ตอของเครื่องอินเวอรเตอร ตามขอกําหนดของการไฟฟานครหลวงและ การไฟฟาสวนภูมภิ าคได สําหรับระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย บนหลังคา (Solar PV Rooftop)

สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณสารกิจ 08-1641-8438, คุณพลธร 08-1834-0034, คุณธีระวัฒน 08-1555-3877

บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด

2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 55 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/solar-wind-test Energy#63_Fluke-2_Pro3.indd 3

1/23/14 11:26 PM


คณะผู้จัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

บรรณาธิการบริหาร ไมวาอะไรรอบ ๆ ตัวจะรอนระอุสักแคไหน ขอใหใจเราอยารอนตามก็ พอ เขาสูชวงเดือนแหงความรักกันแลว ขอใหคนไทยทุกคนรักกัน เริ่ม ตนจากรักประเทศชาติ เห็นแกประโยชนสวนรวม แลวจึงคอยรักตัวเอง เพียงเทานีไ้ มวา จะมีปญ  หาอะไรเกิดขึน้ ก็ตาม เราทุกคนจะสามารถฟนฝา วิกฤตที่เกิดขึ้นไดอยางแนนอน ไมวา จะผานไปกีป่  เรือ่ งของการประหยัดพลังงานยังคงเปนเรือ่ งทีส่ งั คมโลก ใหความสําคัญเสมอมา นอกจากเรื่องของการหาแหลงพลังงานใหม ที่มาจากพลังงานสะอาดตาง ๆ แลว เรื่องของการประดิษฐคิดคน นวัตกรรมที่ชวยประหยัดพลังงานในภาคสวนตาง ๆ ในชวงปที่ผานมา ก็มีใหเห็นอยางมากมาย ลาสุดนอง ๆ นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ตัวแทนประเทศไทยทีไ่ ดรบั เลือก ใหเขารวมแขงขันการออกแบบและกอสรางบานประหยัดพลังงาน โดย ใชพลังงานแสงอาทิตย ในโครงการ Solar Decathlon Europe 2014 หรือ SDE2014 ที่ประเทศฝรั่งเศส โดยมีทีมที่เขารวมแขงขันอีก 19 ทีมจากทั่วโลก ซึ่งแบบบานประหยัดพลังงานที่เขารวมประกวดใชเวลา เตรียมงานนานกวา 6 เดือน ในชือ่ “Baan Chaan” ซึง่ ในระหวางนีน้ อ ง ๆ กําลังอยูในชวงซักซอมการติดตั้งเพื่อใหเกิดความชํานาญกอนนําบาน ดังกลาวไปจัดแสดง ณ เมืองแวรซายส กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ระหวางเดือน มิ.ย. - ก.ค. 2557 ชวยสงกําลังใจไปใหนอง ๆ กลุมนี้ ให สามารถควาชัยชนะกลับมาใหคนไทยทัง้ ประเทศไดภาคภูมใิ จ เราขอเปน อีกหนึ่งกําลังใจอวยพรใหนอง ๆ ควาชัยไดสําเร็จนะคะ

สุภาเพ็ญ เพ็งสุข

หัวหนากองบรรณาธิการ

ปยะนุช มีเมือง

กองบรรณาธิการ

นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร อภัสรา วัลลิภผล

เลขากองบรรณาธิการ พิชญาภา อินทโลหิต

ผูจัดการฝายขาย

ศุภแมน มรรคา

เลขาฝายขาย

สุกัญญา สัปศาร

การเงิน

แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม

กฤษณา กุลเท็ง

พิมพ

กลับมาที่เรื่องของเรากันบางดีกวา ฉบับนี้ยังมีเมนูเด็ด ๆ ในเรื่องของ การประหยัดพลังงานมานําเสนออีกเชนเคย อาทิ รีสอรทแนวใหม ภายใต คอนเซ็ปต 7S ประกอบดวย SPIRIT, SEA, SAND, SEXY, SERVICE, SUCCESS และ SUSTAINABLE ซึง่ ในแตละ S จะมีความหมายอยางไร นัน้ และจะนาสนใจมากนอยแคไหน พลิกอานไดในฉบับ บอกไดคาํ เดียววา อิ่มสมองอยางแนนอน แลวพบกันใหมฉบับหนา…สวัสดีคะ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

200/7-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ปยะนุช มีเมือง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com

ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองไดรับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8

Energy#63_p08_Pro3.indd 8

1/23/14 9:36 PM


Energy#63_p09_Pro3.ai

1

1/21/14

11:33 PM


Cover Story กองบรรณาธิการ

Ecology Car...

ขับเคลื่อนเศษรฐกิจป 57 หากทานเปนผูที่ติดความเคลื่อนไหวของอุตสาหกรรมยานยนต ในประเทศไทยในชวงทศวรรตที่ผานมา จะเห็นไดวามีการเติบโต อยางตอเนื่องเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในแถบเอเชียในทุกดาน โดยเฉพาะเรื่องการเปนฐานการผลิตรถยนตเพื่อสงออกไปยัง ตางประเทศทั่วโลก ซึ่งกอนหนานี้จะเปนกลุมรถยนตเพื่อการพาณิชยหรือรถปคอัพที่ครองตําแหนงในประเทศ แตในชวง 3-4 ป ที่ผานมานี้ จุดเปลี่ยนเกิดขึ้นเมื่อภาครัฐบาลหันมาใหความสําคัญกับยานยนตประหยัดพลังงานและทุกภาคสวนตางขานรับนโยบาย สงผลใหประเทศไทยถูกจับตามองวาเปนเสือแหงเอเชียที่ไมอาจมองขาม

ประเทศไทยไดส รา งประวั ติ ศ าสตร ใ ห กั บ อุตสาหกรรมยานยนตของโลก ดวยการกาว สูระดับท็อปเทนของประเทศผูผลิตรถยนต รายใหญของโลก ดวยภาพรวมของตัวเลข การผลิตรถยนตในประเทศทีโ่ ตขึน้ อยางกาว กระโดด และมีการเปลีย่ นแปลงเปาหมายการ ผลิตอยางตอเนือ่ ง จากเดิมป 2555 มีการตัง้ เปาการผลิตรถยนตทกุ ประเภทไวที่ 1.8 ลานคัน จากนัน้ ปรับเพิม่ เปน 2 ลานคัน เปน 2.1 ลานคัน เปน 2.2 ลานคัน จนปรับไปถึง 2.4 ลานคัน ตามลําดับ ปจจัยหลักที่ทําใหอุตสาหกรรมยานยนตโต สวนกระแสอุตสาหกรรมประเภทอืน่ เนือ่ งจาก การสนับสนุนดานพลังงาน เพื่อลดการใช พลั ง งานเชื้ อ เพลิ ง ภายในประเทศให น  อ ย ที่สุด เกิดเปนโครงการรถยนตอีโคคารขึ้น ในป 2553 ซึ่งไดมีการกําหนดมาตรฐานใน ระดับสากลของการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงและ การกอใหเกิดมลภาวะ อีกทัง้ ยังเปนรถยนตที่ ภาครัฐบาลใหการสนับสนุนดานภาษี สงผลให ราคาจําหนายถูกมากกวารถยนตประเภท อืน่ ๆ จึงทําใหรถยนตประเภทนี้ไดรบั ความ สนใจจากประชาชนไมน อย ถึงแมว าชวง แรกของโครงการอีโคคารจะถูกเขาใจวาเปน Economy Car หรือ รถราคาถูกคุณภาพตํา่ แต แ ท จ ริ ง แล ว อี โ คคาร (ECO CAR : Ecology Car) คือ รถทีอ่ อกแบบใหเปนมิตร กับสิง่ แวดลอมเปนหลัก ซึง่ ประเทศไทยไดใช ขอกําหนดตามมาตรฐานของยุโรป ทัง้ ในสวน ของ Euro และ Global standard Eco car ทีก่ าํ หนดอัตราการสิน้ เปลืองนํา้ มันตอลิตร

ความตื่นตัวของรถยนตประหยัดพลังงาน อยางอีโคคาร ไดกระตุนใหเกิดการผลิตที่ เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งตามความตองการของ ตลาด จนเปนอีกหนึง่ กลไกในการขับเคลือ่ น อุตสาหกรรมยานยนตในประเทศ เทียบเทา เจาตลาดเกาอยางรถยนตเพื่อการพาณิชย อยางรถปคอัพ บวกกับปจจัยดานพลังงาน เชื้อเพลิงที่ป รับ ตัวสู งขึ้น รถอีโคคารแ ละ รถยนตประหยัดพลังงานรูปแบบอื่น จึงถูก จับตามองจากบริษทั รถยนตในการทําตลาด และการผลิตกับรถยนตกลุม ดังกลาวมากขึน้ ในป 2554 ภาครั ฐ บาลได มี ก ารกระตุ  น เศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมยานยนต อี ก ครั้ ง ดวยนโยบายคืนภาษีรถยนตคนั แรก สําหรับ

ประชาชนผูมีรายไดนอยดวยเงินภาษีคืน สูงสุด 1 แสนบาท ในรถยนตตามประเภทที่ กําหนด ซึง่ แนนอนวานโยบายดังกลาวตองมี รถยนตอโี คคารบรรจุอยูใ นนัน้ ดวย เพราะถือ เปนหนึง่ ในนโยบายหลักทีท่ าํ ใหเศษรฐกิจของ ประเทศฟน ตัวอยางกาวกระโดดเชนในปจจุบนั รถยนตประหยัดพลังงานหรืออีโคคารเปน ทีร่ จู กั และชัดเจนมากขึน้ เมือ่ บริษทั นิสสัน มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด ไดเปดตัวรถอีโค คารคันแรกของประเทศไทยในเดือนมีนาคม 2553 เปนรถยนตทปี่ ระหยัดนํา้ มัน เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม ที่พัฒนาขึ้นตามมาตรฐาน ความปลอดภั ย ของคณะกรรมาธิ ก าร เศรษฐกิจยุโรปแหงสหประชาชาติ ซึ่งการ

10

Energy#63_p10-15_Pro3.indd 10

1/27/14 9:34 PM


เปดตัวครัง้ นี้ แสดงใหเห็นถึงความตืน่ ตัวของ ประชาชนตอยานยนตประหยัดพลังงานทีเ่ ปน ยานยนตทางเลือกครั้งแรก โดยมียอดจอง กวา 10,000 คัน ภายในระยะเวลาเพียงเดือน เศษหลังเปดตัวอยางเปนทางการ ดวยยอดจองมหาศาลในเวลาอันสัน้ เปรียบ เสมื อ นจุ ด เปลี่ ย นสํ า หรั บ อุ ต สาหกรรม ยานยนตในประเทศที่อิงดานพลังงานมาก ขึ้น ซึ่งโครงการอีโคคารเปนโครงการที่มี การประชาสัมพันธอยางตอเนื่องในหลาย รัฐบาล และมีการปรับปรุงกฏและขอบังคับให สอดคลองกับสถานการณประเทศและราคา นํ้ามันตลาดโลกที่ปรับเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และภายหลังจากคลอดโครงการดังกลาวออก มา ทําใหประเทศไทยมีความชัดเจนทันทีวา จะสามารถเพิม่ ศักยภาพใหอตุ สาหกรรมยาน ยนตขยายตัวตามอุตสาหกรรมรถปคอัพ ขนาด 1 ตัน ไดอยางแนนอน

สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไดเปด เผยตัวเลขของรถอีโคคารที่ผลิตในประเทศ โดยป 2553 ปแรกทีเ่ ปดโครงการมีกาํ ลังการ ผลิต 59,000 คัน จําหนายในประเทศประมาณ 18,740 คัน สวนทีเ่ หลือสงออกตางประเทศ ทั้งหมด ป 2554 เพิ่มเปน 157,000 คัน จําหนายในประเทศ 59,000 คัน ป 2555 มี กําลังการผลิตเพิม่ เปน 258,969 คัน จําหนาย ในประเทศประมาณ 162,600 คัน ซึง่ ถือเปน อัตราการเติบโตที่รวดเร็ว สวนในป 2556 คาดวาจะมียอดผลิตประมาณ 437,000 คัน โดยมียอดขายในประเทศ 10 เดือนแรก ที่ 140,000 คัน จากปทผี่ า นมาทัง้ ปมยี อดขาย ทัง้ สิน้ 160,000 คัน ทีน่ า สนใจ คือ โครงการอีโคคารสามารถสราง สถิตกิ ารผลิตในประเทศไดเกินคาด โดยยอด ผลิตตั้งแตป 2553 จนถึงเดือนตุลาคม ป 2556 อยูท ี่ 712,000 คัน แบงเปนยอดขาย

ในประเทศกวา 369,000 คัน และสงออก ราว 400,000 คัน ทําใหอีโคคารมีสัดสวน ยอดขายในตลาดรถยนตนั่งกวา 24% ถึง แมวา ประเทศไทยจะประสบกับปญหาภายใน ประเทศทีท่ าํ ใหเศรษฐกิจมีการหยุดชะงัก แต คาดวาเมือ่ สถานการณตา ง ๆ สงบลง ยอด การผลิตรถยนตของประเทศไทยนาจะมียอด ผลิตสูงถึง 3 ลานคันภายใน 5 ป เมื่ อ ตลาดเป น ที่ ย อมรั บ และยื น ยั น ได ว  า สามารถขายไดแนนอน บวกกับปจจัยดาน ราคานํา้ มัน รวมถึงราคาของพลังงานทดแทน อื่น ๆ จึงมีขาวการเปดตัวรถประเภทนี้จาก คายรถยนตอื่น ๆ เชนกัน ไมวาจะเปนคาย รถยนตยักษใหญ ยักษรอง หรือวาคายที่ กําลังทําตลาด จึงพุงเปาหมายมาที่รถยนต ประหยัดพลังงานอยางอีโคคารอยางทีไ่ มเคย มีมากอน ไมวา จะเปนคายฮอนดา, มิตซูบชิ ,ิ ซูซูกิ หรือคายโตโยตาก็ตาม ซึ่งอีโคคารใน

11

Energy#63_p10-15_Pro3.indd 11

1/27/14 9:34 PM


การเดินทางของโครงการรถยนตประหยัด พลังงานหรืออีโคคารเปนทีย่ อมรับและ เกิด การกระตุนเศษรฐกิจไดอยางมหาศาล สง ผลใหมีการตอยอดไปสูโครงการอีโคคาร เฟส 2 โดยกําหนดสเปคของเครื่องยนต ตามมาตรฐาน Euro 5 ที่ ใ ห ป ล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดไดไมเกิน 100 กรัมตอ กิโลเมตร มีอตั ราการใชนาํ้ มันไมเกิน 4.3 ลิตร ตอ 100 กิโลเมตร หากเปนเครือ่ งยนตเบนซิน ตองมีขนาดไมเกิน 1.3 ลิตร สวนเครือ่ งยนต ดีเซลมีขนาดไมเกิน 1.5 ลิตร โดยมีผูผลิต รถยนต ใ นประเทศให ค วามสนใจและรอ ความชัดเจนถึงความเปนไปได ทามกลาง สถานการณการเมืองที่กําลังรอนระอุ และ อาจสงผลกระทบตอความเชือ่ มัน่ ในการลงทุน โดยเฉพาะกับบริษทั รถยนตใหญ ๆ ในประเทศ

ตลาดประเทศไทยปจจุบันมีใหเลือกทั้งแบบ แฮทชแบ็ค(Hatchbacks) 5 ประตู และแบบ ซีดาน(Sedan) 4 ประตู ทัง้ ขนาดเล็กกระทัด รัดไปจนถึงขนาดใหญสาํ หรับครอบครัว ตาม ประโยนชใชสอยของแตละบุคคล แตประเด็น อยูที่คุณสมบัติเฉพาะของรถกลุมนี้ กับพื้น ฐานความเปนของรถยนตประหยัดพลังงาน มาตรฐานสากล เมือ่ ผานเกณฑมาตรฐานดัง กลาวจะไดรบั ประโยชนทางภาษีทางภาษีสรร พามิตร 17 % ซึง่ ถือเปนขอไดเปรียบในเรือ่ ง ราคาอยางยิง่ มาตรฐานหลักของอีโคคารแบงเปนหัวขอหลัก คือ ความประหยัด ตองมีอตั ราการใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงไมเกิน 5 ลิตร ตอระยะทาง 100 กิโลเมตร หรือนํา้ มัน 1 ลิตร วิง่ ไดระยะทาง 20 กิโลเมตร ตองรักษาสิง่ แวดลอมโดยมีการปลอยมลพิษ ปลอดภัยระดับ Euro 4 หรือ ปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดนอ ยกวา 120 กรัม ตอ ระยะทาง 1 กิโลเมตร ดานความปลอดภัยตอง ผานมาตรฐานความปลอดภัยระดับสูง ตาม มาตรฐานความปลอดภัยของยุโรป(UNECE 94 และ 95) ซึ่ ง เป น มาตรฐานความ ปลอดภัยจากการชนดานหนาและดานขาง สุดทายคือความเหมาะสมตอการใชงานดวย เครือ่ งยนตเบนซินมีความจุไมเกิน 1.3 ลิตร และทีย่ งั ไมเห็นตอนนีก้ ค็ อื เครือ่ งยนตดเี ซล ที่ กําหนดใหมขี นาดไมเกิน 1.4 ลิตร

ความชัดเจนเกิดขึน้ เมือ่ นายวิฑรู ย สิมะโชคดี ปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม ยื น ยั น ว า โครงการสงเสริมการลงทุนรถยนตประหยัด พลังงานมาตรฐานสากล หรือ อีโคคาร เฟส 2 ยังคงเดินหนาตอไป แมจะมีการเปลีย่ นถาย งานหลังการเลือกตัง้ ครัง้ ใหม เพราะนโยบาย ดังกลาวผานการอนุมตั จิ าก คณะกรรมการ สงเสริมการลงทุน (BOI) เปนทีเ่ รียบรอยแลว ผูป ระกอบการสามารถยืน่ ขอรับการสงเสริม การลงทุนไดจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม 2557 เชือ่ วาคายรถยนตรายใหญยงั สนใจลงทุนใน ประเทศไทย เพราะไทยมีจุดแข็งหลายดาน ทัง้ เรือ่ งของคุณภาพการผลิต ฝมอื แรงงาน ฯลฯ จึงไมใชเรื่องยากหรือตองกังวลมาก นักสําหรับโครงการอีโคคาร เฟส 2 ในระยะ เวลาอันใกล

แต ไ ม ใ ช เ พี ย งประเทศไทยเท า นั้ น ที่ ม อง ยานยนตประหยัดพลังงานเปนเรื่องสําคัญ แตประเทศเพื่อนบานก็มีความตื่นตัวและมี โครงการคลายกัน โดยในประเทศอินโดนีเซีย ที่มีนโยบาย “โลวคอสตกรีนคาร” รถเล็ก ประหยั ด นํ้ า มั น ด ว ยราคาจํ า หน า ยไม ถึ ง 260,000 บาท ทํ า ให เ กิ ด ตลาดรถยนต เซ็กเมนตใหม และคายรถยนตจากจีนและ

12

Energy#63_p10-15_Pro3.indd 12

1/27/14 9:34 PM


ญี่ปุน ตางเขาไปเปดตลาดรถกลุมนี้เปน จํานวนมาก ซึ่งรถกลุมนี้เปนรถขนาดเล็ก ประเภทซิ ตี้ คาร กินนํ้ ามันน อย โดยภาค รัฐบาลของอินโดนีเซียไดออกนโยบายยกเลิก การเก็บภาษีขายสินคาฟุมเฟอยสําหรับรถ ในกลุม นี้ ถึงแมวา มีสเปกและกฏขอบังคับของโลวคอสต กรีนคารของอินโดนีเซียจะแตกตางจากบานเรา แตภาครัฐบาลของเขาใหการสนับสนุนเต็มที่ จริ ง จั ง และชั ด เจน ทํ า ให ต ลาดรถยนต ประหยัดพลังงานในประเทศไทยควรมองเปน แบบอยาง และคงประมาทไมได เพราะการ ออกนโยบายตาง ๆ ของภาครัฐ จําเปนทีจ่ ะ ตองมองในระยะยาว และเปนมาตรฐานระดับ สากล เพือ่ รักษาตําแหนงผูน าํ ในอาเซียนและ ในเอเชียตอไป

อีกกลุมยานยนตประหยัดพลังงานที่ไดรับ ความสนใจในตลาดเมืองไทย คือ รถยนตแบบ ลูกผสมขับเคลื่อนเครื่องยนตและมอเตอร ไฟฟา หรือ ระบบไฮบริด(Hybrid ) ถึงแมวา จะมีการทําตลาดมากอนรถประเภทอีโคคาร แตก็ยังไมสามารถกระตุนตลาดไดมากนัก เพราะยังมีราคาที่สูงเกินกวาที่คนสวนใหญ จะหาซื้อมาใชกัน โดยประเทศไทยมีโอกาส ไดสัมผัสรถยนต ไฮบริดที่ผลิตและประกอบ ในประเทศและจําหนายจริงในเชิงพาณิชยใน ป 2552 เมื่อคายโตโยตาไดเปดตัวรถยนต ไฮบริดเปนครัง้ แรกในเอเชียกอนประเทศจีน ทีเ่ ปนตลาดใหญดา นรถยนตเสียอีก ซึง่ ขอดี ของรถประเภทนี้ที่ติดตั้งมอเตอร ไฟฟาใน

การขับเคลือ่ นคือ รักษาสิง่ แวดลอมโดยลด การปลอยไอเสีย การประหยัดนํา้ มันมากให อัตราเรงตอเนือ่ ง ความเงียบขณะทีม่ อเตอร ไฟฟาทํางานเพียงอยางเดียว ถึงแมวา รถไฮบริดจะตอบโจทยทตี่ งั้ ไวถงึ เรือ่ ง ของการกอใหเกิดมลภาวะที่นอย ประหยัด นํ้ามันมากขึ้น และไดรับการสนับสนุนจาก ภาครัฐในเรื่องของภาษีใหราคาไมสูงอยางที่ คาดการณไว แตกย็ งั สูงสําหรับผูใ ชบางกลุม ในประเทศ บนความจริงที่วาเรื่องของราคา เปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจซือ้ รถ และดู เหมือนวาจะสําคัญกวาเรือ่ งของสิง่ แวดลอม

ซึ่ ง การเปลี่ ย นมาใช เ ครื่ อ งยนต ไ ฮบริ ด ไม เหมือนกับการเปลี่ยนไปใชพลังงานทดแทน เชน การนํารถไปติดตัง้ พลังงานทดแทนอยาง แอลพีจี (LPG) หรือ เอ็นจีวี (NGV) ทีล่ งทุน ไมมาก เพราะผูใชรถมักคํานึงถึงเรื่องการ ประหยัดเงินในกระเปากอนจะนึกถึงผลกระ ทบตอสิ่งแวดลอม ทั้งเรื่องของราคารถและ ราคาพลังงาน สําหรับรถไฮบริดทีจ่ าํ หนายในประเทศ มีหลัก การทํางานที่แตกตางตามคายรถเจาของ เทคโนโลยี โดยแบงรูปแบบการทํางานออก เปน 2 รูปแบบคือ ระบบไฮบริดทีก่ ารทํางาน ของไฮบริดเปนแบบควบคู ระบบนีจ้ ะใชกาํ ลัง จากเครื่องยนตเปนหลักในการขับเคลื่อน โดยมีมอเตอร ไฟฟาชวย หลักการทํางาน

ของระบบไฮบริ ด ดั ง กล า วในช ว งออกตั ว เครือ่ งยนตจะทําหนาทีห่ ลักในการขับเคลือ่ น และเสริมแรงจากมอเตอร ไฟฟา เมื่อขับขี่ ดวยความเร็วตํา่ หรือคงทีเ่ ครือ่ งยนตจะหยุด ทํางาน และเขาสูโ หมดใชมอเตอรไฟฟาในการ ขับเคลือ่ นเพียงอยางเดียว สวนการเรงแซง มอเตอรไฟฟาจะทํางานผสานกับเครือ่ งยนต อีกครั้งเพื่อเพิ่มกําลังใหมากขึ้น และเมื่อรถ เบรกเครือ่ งยนตจะหยุดทํางาน พรอมกับนํา พลังงานทีส่ ญ ู เสียไปในขณะเบรกเปลีย่ นเปน พลังงานไฟฟา ชารจไฟสงกลับคืนสูแ บตเตอรี่ เก็บพลังงานไวใชอีกครั้ง เมื่อรถหยุดสนิท เครือ่ งยนตและมอเตอรไฟฟาจะหยุดทํางาน โดยอัตโนมัตเิ ขาสูโ หมด Idling Stop เพือ่ การประหยัดนํา้ มันและลดมลพิษ

สวนระบบไฮบริดอีกหนึ่งรูปแบบคือ การ ทํางานแบบแยกอิสระระหวางเครื่องยนต และมอเตอร ไฟฟารวมถึงทํางานผสานกัน เพื่อใหไดสมรรถนะสูงสุด ระบบไฮบริดแบบ นีส้ ว นใหญจะมีมอเตอรไฟฟา 2 ตัว ในการ ขับเคลื่อนและกําเนิดไฟฟา ขณะออกตัว มอเตอรไฟฟาจะทํางานเพียงอยางเดียว เมือ่ ขับขี่ความเร็วคงที่เครื่องยนตและมอเตอร ไฟฟาจะทํางานผสานกันอยางเหมาะสม เพือ่ ประหยัดนํา้ มันสูงสุด ซึง่ พลังงานสวนเกินจะ ถูกแปลงเปนพลังงานไฟฟาเก็บไวทแี่ บตเตอรี่ เมือ่ ตองการเรงแซง เครือ่ งยนตและมอเตอร ไฟฟาผนวกกําลังไฟจากแบตเตอรี่ทําใหได อัตราเรงสูงสุด ขณะเบรกหรือรถหยุด ระบบ ตาง ๆ ก็จะหยุดเชนกันเพือ่ ประหยัดพลังงาน และลดการปลอยมลพิษโดยไมจาํ เปน ถึงแมวารถยนต ไฮบริดจะมีราคาสูงระดับ หนึง่ แตกถ็ อื เปนการเพิม่ มาของกลุม รถยนต ประหยัดพลังงานทีเ่ ขามาเติมเต็มและเพิม่ ทาง เลือกใหกบั ผูใ ชรถจนไดรบั ความสนใจมากขึน้

13

Energy#63_p10-15_Pro3.indd 13

1/27/14 9:34 PM


คายรถฮอนดาจึงทําการเปดตัวรถไฮบริดใน โมเดลที่เล็กลงมา เพื่อลดราคาใหสามารถ จับจองเปนเจาของไดงา ยขึน้ สงผลใหตลาด รถยนตกลุมเครื่องยนตลูกผสมประหยัด พลังงานกลับมาคึกคักอีกครั้ง จึงไดมีการ เปดตัวรถยนตประเภทนี้อยางตอเนื่อง ทั้ง จากคายญีป่ นุ และยุโรป โดยมีราคาจําหนาย ตั้งแตหลักแสน หลักลาน ไปจนถึงหลักสิบ ลานบาทเลยทีเดียว แตใ นประเทศมาเลเซีย ซึ่ง ถือเปนหนึ่ ง ใน ประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตรถยนตใน แถบเอเชีย ไดใหความสําคัญกับยานยนต ประหยัดพลังงานมากขึน้ ดวยนโยบายดาน การผลิตรถยนตของประเทศทีเ่ ปดกวางมาก ขึน้ สําหรับผูผ ลิตรถยนตตา งชาติ ในการลด ขั้นตอนการขอใบอนุญาตผลิตรถยนตและ รถจักรยานยนตที่ใชเครื่องยนต ไฮบริดและ ไฟฟาใหงา ยขึน้ รวมถึงการยกเวนภาษีใหกบั รถยนต ไฮบริดจนถึงเดือนธันวาคม 2558 สวนรถยนตนาํ เขาทีไ่ มใชไฮบริดยังเรียกเก็บ ภาษีเหมือนเดิม และอาจมีแนวโนมวาจะปรับ ขึน้ กวา 100% ประเด็นทีน่ า สนใจในการสนับสนุนการลงทุน ของประเทศมาเลเซีย คือ การการดึงดูดใหบริษทั รถยนตตา งชาติ เขามาผลิตรถยนตประหยัด พลังงานในมาเลเซียเพิม่ มากขึน้ เพือ่ ชวยยก ฐานะประเทศขึ้นมาเปนศูนยกลางการผลิต รถยนตประเภทประหยัดพลังงานใหมากขึ้น รวมถึงการสรางงานไดมากถึง 150,000 ตําแหนง โดยในปจจุบันมาเลเซียมีบริษัทรถยนตอยู ทัง้ หมด 11 บริษทั รวมการจางงานประมาณ 550,000 ตําแหนง หากเปนเชนนี้ ประเทศมาเลเซียจะกลับมาเปน ผูนําดานการผลิตรถยนตอีกครั้ง หลังจาก เสียตําแหนงใหกบั ประเทศไทยและอินโดนีเซีย มากวา 10 ป จากผลของนโยบายกีดกัน บริษทั รถยนตตา งชาติไมใหเขามาแขงขัน เพือ่ ปกปองบริษัทรถยนตภายในประเทศ ทําให การเติบโตของอุตสาหกรรมรถยนตและการ ลงทุนไมโตเทาทีค่ วร

ยานยนตประหยัดพลังงานไมไดมเี พียงแครถ อีโคคารกบั รถไฮบริดเทานัน้ ในตางประเทศได มีการจําหนายและใชจริงของรถยนตพลังงาน ไฟฟาแบบเต็มรูปแบบทีไ่ มมเี ครือ่ งยนตเขามา เกีย่ วของ หรือ (EV : Electric Vehicles) โดยราคาที่ จํ า หนา ยก็ ไ ม ต  า งจากรถยนต เครือ่ งยนตสนั ดาปแบบปกติมากนัก สําหรับ ตางประเทศมีการใชรถยนตประเภทนี้อยาง จริงจัง สําหรับประเทศไทยนั้นเริ่มมีการใช จริงอยูบ า งสําหรับผูใ ชรถยนตบางกลุม โดย มีการนําเขามาจําหนายโดยผูนําเขารถยนต อิสระ ซึ่งเรื่องของราคาแนนอนวายังสูงอยู มาก เพราะเปนรถยนตที่ตองนําเขา 100% ไมไดมกี ารประกอบในประเทศ จึงไมมสี ทิ ธิใ์ ด ๆ ในเรือ่ งของภาษี

14

Energy#63_p10-15_Pro3.indd 14

1/27/14 9:34 PM


โครงการรถยนตพลังงานไฟฟาไมไดถกู พับเก็บ เมือ่ สถาบันวิจยั และเทคโนโลยี ปตท. บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดวจิ ยั และ พัฒนาอยางตอเนื่องเกี่ยวกับรถยนตพลังงานไฟฟา โดยเปด สถานีชารจแบตเตอรีต่ น แบบสําหรับรถยนตพลังงานไฟฟาแหง แรกในประเทศไทย หรือ PTT Pilot EV Charging Station ณ สถาบันวิจยั และเทคโนโลยี ปตท. พระนครศรีอยุธยา เพือ่ เตรียมความพรอมรองรับเทคโนโลยีใชไฟฟาของรถยนต โดยสรางโครงขายสถานีประจุไฟฟา รองรับการชารจกระแสไฟฟา ใหรถที่ใชในโครงการ โดยศึกษา ติดตาม และประเมินผล เทคโนโลยี รวมทั้งมาตรฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการใชงาน รถยนตพลังงานไฟฟา ไมวา จะเปนเทคโนโลยีทใี่ ชในการชารจ, ชนิดของแบตเตอรี่, สถานีชารจ, ตัวรถยนตพลังงงานไฟฟา ทัง้ ในหองปฏิบตั กิ ารและภาคสนาม และตอเนือ่ งไปจนถึงรูปแบบ ธุรกิจการใชไฟฟาในรถยนต หรือ EV Business Model สวนการไฟฟานครหลวง ก็ไดมกี ารขับเคลือ่ นรถยนตพลังงาน ไฟฟาเชนกัน ดวยการศึกษาวิจัยและพัฒนาความนาจะเปน สําหรับอนาคตรถยนตไฟฟาในประเทศ พรอมกับการสรางสถานี ชารจแหงแรกทีส่ าํ นักงานใหญเพือ่ ทดสอบระบบการทํางาน และ มีแผนที่จะขยายเครือขายไปตามพื้นที่สําคัญ รวมถึงการสั่ง ซือ้ รถยนตไฟฟา 20 คัน เพือ่ ทดลองใชงานภายในการไฟฟา นครหลวง สําหรับการเก็บขอมูลในการเตรียมงานวางโครงขาย ในอนาคต เพือ่ เปนขอมูลในการเรียนรูใ หกบั ภาครัฐ เอกชน และ บุคคลทัว่ ไป

เพราะประเทศไทยกับรถยนตพลังงานไฟฟา ยังไมไดรบั ความสนใจเทาทีค่ วร ถึงการผลิต และจําหนายในประเทศอยางจริงจัง เมื่อ เปรียบเทียบกับยานยนตประหยัดพลังงาน ประเภทอื่ น ๆ ทั้ ง ที่ มี เ สี ย งเรี ย กร อ งจาก ประชาชนมาพอสมควร เพราะกอนหนานี้ คายรถยนตจากอเมริกาอยางเชฟโรเลต ได มีการนํารถยนตพลังงานไฟฟาเขามาใหหนวย งานทีเ่ กีย่ วของไดทดสอบถึงสมรรถนะของรถ วาสามารถใชงานไดจริง ไมแพรถยนตปกติ แตอยางไร

ฉะนัน้ หากจะกลาวถึงยานยนตประหยัดพลังงานของประเทศในป 2557 ทีน่ า สนใจเห็นจะเปนรถยนตอโี คคารทมี่ กี ารเติบโตอยางตอ เนือ่ ง ไดทงั้ คาการประหยัดเชือ้ เพลิงทีช่ ดั เจนบนราคาจําหนายที่ ไมแพงมาก จากผลของการแขงขันทางการตลาดในชวงทีผ่ า นมา ทําใหปจ จุบนั รถอีโคคารมสี ดั สวน 13-15% ทัง้ ทีเ่ ปดตัวโครงการ มาเพียง 2-3 ปเทานัน้ ถึงแมวา ตลอดป 2556 ยอดจําหนาย รถยนตจะลดลงถึง 37% เนือ่ งจากสิน้ สุดโครงการรถคันแรก และภาวะเศรษฐกิจไมดเี ทาทีค่ วร ซึง่ เปนตัวบงชีว้ า ตลาดรถยนต ไดกลับคืนสูภ าวะปกติ เนือ่ งจากไดสง มอบรถยนตคนั แรกเปน ทีเ่ รียบรอยเกือบหมดแลว และคาดการณวา ยอดผลิตรถยนต รวมภายในประเทศป 2556 และป 2557 นาจะอยูท ปี่ ล ะ 1.3 ลาน คัน ซึง่ ในจํานวนดังกลาวจะเปนรถยนตประหยัดพลังงานทีเ่ ขาไป แชรตลาดไดกเี่ ปอรเซ็นต เปนเรือ่ งทีต่ อ งติดตามกันตอไป

15

Energy#63_p10-15_Pro3.indd 15

1/27/14 9:34 PM


Get Idea อภัสรา วัลลิภผล

ปลูกฝง สรางจิตสํานึก การประหยัดพลังงาน ไปกับกฟผ.

ในปจจุบันแตละหนวย งานหั น มาให ค วามสํ า คั ญ ด า นการประหยั ด พลั ง งาน พรอมทัง้ ปลูกฝงใหพนักงาน รู  จั ก การใช พ ลั ง งานอย า ง มี คุ ณ ค า เช น เดี ย วกั บ ทาง การไฟฟาสวนภูมิภาค หรือ กฟผ. เปนอีกหนวยงานหนึ่ง ที่ใหความสําคัญในเรื่องนี้

คุ ณ สุ วั ฒ น เชี่ ย วชาญชั ย รองผู  ว  า การ วางแผนและพั ฒ นาระบบไฟฟ า กล า วว า ทางกฟผ.มีดําเนินงานการจัดการดานการ ใชไฟฟา โดยใชกลยุทธ 3 อ. ไดแก อุปกรณ อาคาร และอุปนิสัย เพื่อใหครอบคลุมกลุม ผูใชไฟฟาทั้งภาคที่อยูอาศัย ภาคธุรกิจ และ ภาคอุตสาหกรรม โดยดําเนินการไปพรอมกับ การสรางจิตสํานึกดานการประหยัดพลังงาน แกประชาชนผู ใชไฟฟา ซึ่งไดรับความรวม มือเปนอยางดีจากเหลาพันธมิตร และมีการ รณรงคการประหยัดพลังงานตาง ๆ มาโดย ตลอด สามารถลดปริมาณกําลังไฟฟาใน ระบบลงไดประมาณ 3,000 เมกะวัตต ลดการ ปล อ ยก า ซคาร บ อนไดออกไซด ล งได ก ว า 10.7 ลานตัน สําหรับในสวนของหนวยงานกฟผ.เอง มีการ ติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิที่เซนเซอรแอรถามี การเปดใชแอรเกินคาที่ตั้งไวแอรก็จะตัดการ จายแอรทันที ทั้งนี้ก็ยังมีการติดตั้งแผงโซลา เซลลบนหลังคาเพื่อนําเอากระแสไฟฟาที่ได มาใชในองคกร นอกจากนี้เรายังมีการนําเอา พลังงานชีวมวลที่ผลิตจากเศษอาหาร ของ เหลือใชในภาคเกษตร มาทดลองใชในองคกร ด ว ย สุ ด ท า ยเรายั ง มี ก ารนํ า เอาสาหร า ย ทําการวิจัยและสกัดเปนนํ้ามันเพื่อใชในการ ขั บ เคลื่ อ นเครื่ อ งยนต และยั ง มี การนําเอา นํ้ า มั น ที่ เ หลื อ ใช ม าผ า นกระบวนการทาง วิทยาศาสตรเพื่อใหนํ้ามันที่สามารถใชวิ่งใน เครื่องบินเจ็ทไดอีกดวย

10 16

Energy#63_p16,18_Pro3.indd 16

1/23/14 9:50 PM


Energy#63_p17_Pro3.indd 8

1/28/14 4:19 PM


Get Idea อภัสรา วัลลิภผล

“ปาจีน” หรือ คุณจีราภัสร อริยบุรุษ ผูกอตั้งเว็บไซต Jeban.com เว็บของสาว ๆ ที่มาแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในเรื่องของความสวยความงาม และเมื่อไมนานมานี้ทางจีบันไดจัดงาน SWOP สวย-แลก-ได ที่ใหเหลาบรรดาสาว ๆ มาแลกของใชกัน ซึ่งถือวากําลังจะเปนอีกกระแสหนึ่งที่จะชวยโลกใบนี้ให “เขียว” ยิ่งขึ้น ดวยแนวคิดงาย ๆ คือ เริ่มจากพฤติกรรมของตัวเราเองกอน โดยเฉพาะพฤติกรรม “ซื้อ” ของตัว เอง เพราะเมื่อซื้อมากขยะยิ่งเพิ่ม และยิ่งซื้อมาแลวใชไมทันก็ทําใหเปลืองทั้งเงินกระทบไปถึงสิ่งแวดลอมอีก ดวย ดวยเหตุนี้จึงทําใหกระแส “SWOP” ที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวของคนกลุมคนคอเดียวกัน โดยไดนํา ของใชที่ตัวเองมีอยูมาแลกเปลี่ยนกัน แทนที่จะซื้อมาแลวทิ้ง แตเรายังนําของเหลานั้นกลับมาใชประโยชนได สวนในชีวิตประจําวันของปาจีนเองใน เรือ่ งของการประหยัดพลังงานปาจีนเลา ใหฟง วา ตัวจีนเองคอนขางนึกถึงในเรือ่ ง ของ Eco Saving อยูแ ลว จริง ๆ แลวก็ เริม่ ตัง้ ตัง้ แตทบี่ า นเลย คือ กอนทีจ่ ะสราง บานมีการวางแบบบานใหมแี สงสามารถ ส อ งเข า มาในบ า นได เพื่ อ กลางวั น ไมตอ งเปดไฟ และมีการเจาะฝาผนังหอง เปนชองใสไฟเพือ่ จะไดเปดไฟดวงเดียว สามารถใช ไ ด ห ลายที่ และพยายาม ปลูกฝงลูกใหตระหนักถึงการประหยัด พลังงานอยูแ ลว เชน กอนออกจากบาน ตองชวยกันตรวจสอบวาเราเปดไฟทิง้ ไว หรือเปลา ลืมถอดปลั๊กไฟไหม ก็เปน พืน้ ฐานงาย ๆ ทีเ่ ราสามารถสอนลูกเราได สุดทายปาจีนฝากวา จริง ๆ แลวอยาก ใหทุกคนคิดถึงวาเวลาเราทําอะไรลงใน แตละอยางอยากใหคดิ ใหดี ๆ อยาคิดวา แคฉนั คนเดียวไมทาํ คงไมเปนไร อยากให เราทุกคนหันมาชวยกันประหยัดพลังงาน คนละนิดคนละหนอย รวม ๆ กันก็เยอะ ได เ หมื อ นกั น อย า งของที่ เ ราซื้ อ มา แลวใชเสร็จก็ทงิ้ เลย แตบางทีของพวกนัน้ อาจจะสามารถนํากลับมาใชไดอกี ก็ได

Jeban ชวนสาว ๆ ชวยกันประหยัดพลังงาน 18 10

Energy#63_p16,18_Pro3.indd 18

1/23/14 9:44 PM


The Fossil Project ชิ้นงานเอกลักษณ์ จากขยะสลายยาก

Green 4U Rainbow

2-3 ราย และนํามาเทใสไวในแมพมิ พ ของเหลวจะเริม่ แข็งตัวในรูปแบบ ที่แตกตางกัน โดยอาศัยปจจัยของความรอน ความชื้น และแสง UV ในแต ล ะระดั บ เมื่ อ เกิ ด การแข็ ง ตั ว จะได ห น า ตาของการเรี ย งชั้ น ของเหลวที่ กลายเป น เอกลั ก ษณ ข องงานแต ล ะชิ้ น เสมื อ นเป น ความบังเอิญ Kagan ไดทดลองกระบวนการนี้ตอเนื่องจาก 6 เดือน จนถึง 2 ป โดยไดกอนโพลี่ยูรีเทนที่หนักถึง 4.5 กิโลกรัม และมีชั้น การเรียงตัวกันมากกวา 1,000 ชัน้ ซึง่ เมือ่ นํามาตรวจสอบพบวามีความเหนียว และคงทนแข็งแรงมาก เอือ้ ตอการแกะสลักหรือปรับรูปทรงไดหลากหลาย

เธอจึงพัฒนาออกมาเปนชิ้นงานเฟอรนิเจอรและงานของใชตาง ๆ ที่ตองการคุณสมบัติของวัสดุเหนียวและคงทน ไมวาจะเปนของใชใน บานเชน ตู โตะ ลูกบิด บานจับ หรือแมแตชนิ้ งานเล็ก ๆ อยาง กระดุม สรอย แหวน ตางหู กําไล ทีม่ คี วามสวยงามแตละชิน้ ไมเหมือนกันเลย นอกจากจะไดสนิ คารูปแบบใหมดไี ซนไมเหมือนใครแลว ยังชวยกําจัด ขยะยอยสลายยากและลดการฝงกลบอีกตางหาก ใครจะคิดเลาจากขยะสี ทาบานดานนอกจะสามารถหมุนเวียนเปนเฟอรนเิ จอรประดับบานใหเกได (ขอมูลจาก www.creativemove.com)

สีทาบานเคมีของเหลวทีอ่ อกแบบมาเพือ่ การกลายสภาพเปนของแข็งที่ ทนทานมากทีส่ ดุ ชนิดหนึง่ ทัง้ ปกปองสิง่ กอสรางกลางแจงจากแดด ลม และฝน ประโยชนของมันชางเหลือลน แตในทางกลับกัน คุณสมบัตคิ วาม คงทนเมือ่ แข็งตัวจากการกลายสภาพทางเคมีเมือ่ มันเหลือใช มันจึงกลาย เปนขยะทีย่ อ ยสลายหรือนํากลับไปใชไดใหมยากมาก หรืออีกดานทีผ่ อู ปุ โภคอยางเรา ๆ อาจไมทราบคือ ในอุสาหกรรมสีมสี าร “โพลียูริเทน” หนึ่งในสารกลุมพลาสติกที่ยอยสลายยากมากระดับโลก โดยวิธกี ารยอยสลายนัน้ มีอยูท างเดียวคือ “การฝงกลบ” ซึง่ ใชเวลานาน หลายรอยป และมีผลกระทบกอใหเกิดเคมีปนเปอ นในดิน ดีไซนเนอรอสิ ราเอล Shahar Kagan เริม่ สิง่ ประดิษฐสรางสรรคทชี่ ว ย แบงเบาภาระโลกทีเ่ รียกวา The Fossil Project คือ การนําเอาสีเหลือใช ทัง้ ภาคอุตสาหกรรมและครัวเรือน มาดัดแปลงไดชนิ้ งานใหม ๆ ดีไซน แตกตางไมเหมือนใคร เขาเริม่ จากการขอสีทาบานทีเ่ หลือจากงานชางสี 19

Energy#63_p19_Pro3.indd 19

1/16/14 8:31 PM


Green 4U Rainbow

คืนชีพเฟอรนิเจอรเกา

ดีไซเนอรหนุมดัชต Pepe Heykoop คิดคืนชีพใหบรรดาเศษหนัง รวมทั้ง เฟอรนิเจอรที่ถูกทิ้งอยูตามขางถนน เขาหยิบมารวมกัน ปะติดเศษหนัง ตามขนาดและรูปรางลงบนเฟอรนิเจอรเกาปลอยชายขอบหนังใหทิ้งตัว อิสระกลายเปนแพทเทิรนที่คลายการรวมรางของเซลลหรือสิ่งมีชีวิต บางอยางใหเอ็ฟเฟกตที่งามอยางแปลกประหลาด สะดุดตา และกระตุน ใหนึกถึงความเปนเศษหนังไดอยางชัดเจน (ขอมูลจาก http://www.creativemove.com)

02

01 โคมไฟคลาสสิกจากเศษอะไหลจักรยาน

Carolina Fontoura Alzaga หรือ Caro ดีไซนเนอรอิสระ สราง ผลงานที่มีชอวา CONNECT Series โคมไฟที่ทําจากเศษอะไหล จักรยาน กลายมาเปนโคมไฟในยุควิคตอเรีย และนอกจากจะดูแปลกตา แลวโคมนีย้ งั มีความแข็งแรง ปลอดภัยดูแลรักษางายอีกดวย (ขอมูลจาก http://www.creativemove.com)

03

04

บีนแบ็คจากฝาขวดพลาสติก จักรยานไมไผรักษโลก

Michael Verhaeren นําเอาไมไผมาประกอบเปนจักรยาน ทําเอง ถอดประกอบได พกพาสะดวกเพราะนํา หนักเบากวา เหล็กรีไซเคิล ปนไดจริง รูปทรงก็ดูเทอีกตางหาก

KaCaMa บริษัทออกแบบผลิตภัณฑจากเกาะฮองกงไดออกแบบเกาอี้ beanbag ที่มีชอวา “P.P. Capsule” ซึ่งนําฝาขวดพลาสติกที่ ใชแลวมา เขาเครองบดใหละเอียดเพอบรรจุในเกาอี้ beanbag โดยฝาขวดพลาสติก จํานวน 4,000 ชิ้น สามารถทํา beanbag ได 1 ตัว สวนถุงผาที่ บรรจุนั้นทําจากเสนใยสังเคราะหหรือโพลีเอสเตอรไซเคิล 100% ซึ่งใช พลังงานในกระบวนการรีไซเคิลนอยกวาการผลิตโพลีเอสเตอรบริสุทธิ์ แถมยังมีลักษณะมันวาว ไมซับเหงอ รีดงาย ไมหดไมยืด ทนทาน มีความ ยืดหยุนและรองรับนํา หนักไดดี

20

Energy#63_p20-21_Pro3.indd 20

1/15/14 9:18 PM


05 เฟอรนิเจอรจากเศษกระปอง

Azusa Murakami และ Alexander Groves สรางเฟอรนิเจอรดีไซนสวยจากการหลอขยะ กระปองนํา อัดลม โดยใชเชื้อเพลิงจากนํา มันพืช ที่ผานการใชงานแลว จากขยะที่ ไรคาเปลี่ยนไปเปน อลูมิเนียมเหลว ถือเปนวัสดุตั้งตนชั้นดีที่สามารถ นําไปตอยอดเปนผลิตภัณฑตาง ๆ ได

06

07

เกาอี้กระดาษหนังสือพิมพ

หนังสือพิมพไมใชแลว หรือนิตยสารพิมพสี่สีสวยงาม นอกจากจะทิ้งไป เขาโรงงานเพอผลิตเปนกระดาษรีไซเคิลแลว เรายังสามารถนํามันมาทํา เปนชิ้นงานไดอีกมากมาย อยางเชน เกาอี้ ตัวนี้ที่นักออกแบบไดนําเอา หนังสือพิมพมารีไซเคิลใหกลับมามีประโยชนได้อีกครั้ง นอกจากจะชวย ลดขยะไดแลว เรายังไดตัวอี้เก ๆ ตัวใหมอีกดวย

08

แหวนกระดาษลัง

แหวนจากกระดาษลังรีไซเคิลนี้เปนงานทํามือ ที่นํากระดาษลังมาตัดเปน ทรงตาง ๆ ดวยเลเซอร ติดกาวโพลีเมอรอยางดี ซอนทับเปนชั้น มีผิว สัมผัสดูนาหลงใหล และหนาตาที่สวยงาม ทั้งยังกันนํ า โดยในแตละดีไซน จะมีชอและเอกลักษณเฉพาะตัว

เกาอี้จากวัสดุสีเขียว

เกาอี้ตัวนี้เปนชิ้นสวนเฟอรนิเจอรที่ทันสมัยทําจากวัสดุสีเขียว ออกแบบ โดย Emiliano Godoy ซึ่งทําดวยไม FSC ไดรับการรับรองทําดวย ผักสามารถยอยสลายได ชิ้นสวนภายนอกของเกาอี้เปนวัสดุที่เรียกวา Ecoist เปนวัสดุสีเขียวที่เกิดขึ้นจากการทอผาแตละชิ้น และจากกระดาษ รีไซเคิล เหมาะที่สุดสําหรับบานที่ตองการความทันสมัย 21

Energy#63_p20-21_Pro3.indd 21

1/15/14 9:18 PM


GreenNovation Rainbow

02

03 01

Shaky Washer เครื่องซักผามือถือ

Jung Seub Lee คิดคน Shaky Washer ชิ้นนี้ขึ้น ดวยหนาตา ขนาด และนํ้าหนักประมาณกระบอกใสนํ้า แบบพกพา ถูกออกแบบมาสําหรับการซักผาทีม่ ขี นาด ไมใหญโตนัก สามารถใสเขาไปในเครือ่ งไดพอดี เพียงแค ใสนํ้า ใสผาที่ตองการจะซัก จากนั้นก็เขยา ๆ สักพักก็ เทนํา้ ออกได ใชปริมาณนํา้ นอยกวาการซักผาแบบปกติ ไมมีสารตกคางจากผงซักฟอก นอกจากจะประหยัด พลังงานแลวยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย (ขอมูลจากhttp://www.creativemove.com/)

กังหันลมผลิตนํ้าดื่มจากอากาศ

กังหันลม WMS1000 หรือ Eole Water ใชเวลากวา 15 ป ในการ พัฒนากังหันลมทีส่ ามารถนําไอนํา้ ทีล่ อ งลอยอยูใ นอากาศมาผลิตเปน นํ้าดื่มที่สะอาด โดย 1 วันสามารถผลิตนํ้าไดถึง 1,000 ลิตร พลังงาน ที่ใชในการขับเคลื่อนคือ พลังงานลม ไมมีการปลอยคารบอน สําหรับ ขัน้ ตอนการผลิตนํา้ เริม่ ตนจากการดูดไอนํา้ ในอากาศ จากนัน้ จะถูกสง ตอเขาไปในเครือ่ งอัดอากาศทําความเย็น สงผลใหนาํ้ เกิดการควบกลํา้ กลัน่ ตัวเปนหยดนํา้ สงตอไปตามทอผานเครือ่ งกรองนํา้ ทีไ่ ดมาตรฐาน ของ WHO ผลิตเปนนํ้าดื่มบริสุทธิ์

04

03 03 Energy EGG อุปกรณประหยัดพลังงาน

ผลงานของ ไบรอัน โอเรลลี วิศวกรชาวอังกฤษ ที่พัฒนา ขึ้ น ร ว มกั บ ที ม งานจากมหาวิ ท ยาลั ย Strathclyde เป น เทคโนโลยี ที่ ค ล า ยกั บ ระบบเตื อ นภั ย ภายในบ า น โดยเซ็ น เซอร จ ะตรวจจั บ ความเคลื่ อ นไหวภายในห อ ง ซึ่งทํางานเชื่อมตอแบบไรสายกับอะแด็ปเตอรควบคุม อุปกรณตาง ๆ เมื่อไมมีใครอยูในหอง ระบบจะตัดไฟ เครือ่ งใชไฟฟาโดยอัตโนมัติ ปลอดภัยไรกงั วลเรื่องไฟฟา ลัดวงจร และชวยลดการใชพลังงาน (ขอมูลจาก www.applicadthai.com)

ถุงเรืองแสง พลังงานแสงอาทิตย

LuminAID ผลงานของ Anna Stork และ Andrea Sreshta ดีไซนเนอร ชาวอเมริกัน ที่เล็งเห็นปญหาเรื่องของพลังงาน จึงคิดคนเครื่องมือ ขึ้นมาเพื่อที่จะชวยเหลือในยามฉุกเฉิน หนาตาของ LuminAID มอง เผิน ๆ ก็เหมือนกับถุงพลาสติกทั่วไป แตภายในประกอบไปดวยแผง โซลารเล็ก ๆ ที่สามารถเก็บพลังงานไดดวยการตากแดด 2-3 ชั่วโมง เพียงเทานี้ก็สามารถใหแสงสวางแทนโคมไฟไดยาวนานถึง 10 ชั่วโมง ชารจไฟได 800 ครัง้ นํา้ หนักเบา พกพาสะดวก นอกจากนีย้ งั มาพรอม กับคุณสมบัติที่กันนํ้า และลอยนํ้าได นับวาเปนไอเดียรที่นาชื่นชมเปน อยางมาก (ขอมูลจาก www.portfolios.net )

22

Energy#63_p22,24_Pro3.indd 22

1/15/14 9:21 PM


Energy#62_p31_Pro3.indd 31

12/18/13 10:28 PM


GreenNovation Rainbow

05

06

ชารจแบตเตอรี่พลังงานไฮโดเจน

ภายใตแบรนด horizon fuel cell จากประเทศ สิงคโปร ไดออกแบบระบบพลังงานเซลลเชื้อเพลิง ชนิดใหม สําหรับอุปกรณอิเล็กทรอนิกส Hydrofill MiniPak ที่ ช าร จ แบตเตอรี่ แ บบพกพา ทํ า จาก สารสกัดไฮโดรเจนจากนํ้าที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เหมาะสําหรับเปนแหลงพลังงานพกพาใหกับโทรศัพท มือถือ กลองดิจติ อล หรืออุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสทกุ ชนิด (ขอมูลจาก www.techfresh.net)

เครื่องทํานํ้าอุน พลังงานนํ้า

เครื่ อ งทํ า นํ้ า อุ  น ที่ ไ ด รั บ การพั ฒ นาบนฐาน peilter กึ่ ง ตั ว นํ า technolgoy เพือ่ ความรอนของนํา้ ทีไ่ หลเวียน ทํางานรวมกับพลังงาน นํ้าในรมจากเตาเสียบ มีถังเก็บนํ้าในเครื่องที่เชื่อมตอกับระบบทอ เมือ่ เติมนํา้ เขาไปสามารถตรวจสอบระดับนํา้ บนเครือ่ งได และสามารถ ตั้งอุณหภูมิไดตามตองการ ไมมีกี่สรางมลพิษ ไมมีอันตรายจาก คลื่นแมเหล็ก

08

07 ทีวีรักษโลก

ซัมซุงเปดตัวทีวีรักษโลก นวัตกรรมที่เปนมิตรกับ สิ่ ง แวดล อม กิ นไฟตํ่ ากว าโทรทัศนแอลซีดีทั่ วไป ไมมีสวนประกอบของสารปรอทในตัววัสดุ ในสวน ฐานวางและขาตั้งทีวียังทําจากวัสดุรีไซเคิลที่ชวยลด มลพิษตอ สิ่งแวดลอมของเราไดเปนอยางดี ราคา เริ่มตน 79,990 บาท (ขอมูลจากwww.siamphone.com)

นาฬกา LED iron samurai

เป น นาฬ ก าที่ มี รู ป แบบที่ ไ ม เ หมื อ นใคร ประหยั ด พลั ง งาน ผลิ ต จากหลอด LED ใชงานเฉพาะตองการรูเวลาจึงทําใหประหยัดถาน ดวยตัวนาฬกาเปนเหมือนสรอยขอมือสแตนเลส บอกเวลาดวยแสงไฟ จากหลอด LED บอกเวลาตอเมื่อเรากด ราคาประมาณ 8,000 บาท (ขอมูลจาก www. sellledwatch.blogspot.com)

24

Energy#63_p22,24_Pro3.indd 24

1/15/14 9:21 PM


Energy Award รังสรรค อรัญมิตร

Á¨¸. 1 ã¹ 4 ·ÕÁμÑÇá·¹àÍàªÕ ࢌҪԧẺºŒÒ¹»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ Solar Decathlon Europe 2014 ค น ไ ท ย นั้ น มี ศั ก ย ภ า พ ด  า น ก า ร ออกแบบสถาปตยกรรมไมแพชาติใด ในโลก หากแตไ ม ไ ดรับ การสนั บ สนุน จากหน ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน อย า งจริ ง จั ง ล า สุ ด มหาวิ ท ยาลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี พ ร ะ จ อ ม เ ก ล  า ธ น บุ รี (มจธ.) ผานการคัดเลือกจาก 40 ทีม ทัว่ โลกเขารอบ 20 ทีมสุดทายเปนตัวแทน ประเทศไทยและเปน 1 ใน 4 ทีมของเอเชีย ประกอบไปดวย ญีป่ นุ ไตหวัน อินเดีย ที่ ผานเขารวมการแขงขันประกวดแบบบาน ประหยัดพลังงาน โดยใชพลังงานแสง อาทิตย ในโครงการ Solar Decathlon Europe 2014 (SDE2014) ณ เมือง แวรซายส กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ถือเปนการประกวดแบบบานประหยัด พลังงานระดับโลก

สํ า หรั บ การประกวด โครงการประกวด โดยการประกวดจะมีขนึ้ ในวันที่ 16 มิ.ย. – 19 ก.ค. 57 นี้ ซึ่งการเตรียมความพรอมของ ทีม KMUTT Team จาก มจธ. เปนอยางไรนัน้ จากการสอบถาม คุณพีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย ในฐานะหัวหนาทีม KMUTT Team บอกวา ปจจุบันอยูระหวางการประกอบโครงสราง บ า น โดยมี บ ริ ษั ท ซี แ อนด ที โมดู ล  า เป น ผู  ส นั บ สนุ น ด า นการก อ สร า งบ า น ประหยั ด พลั ง งาน ซึ่ ง คาดว า ช ว งเดื อ น กุมพาพันธ ก็จะสรางเสร็จเรียบรอยพรอม ที่จะนํามาทําการฝกซอมการประกอบติดตั้ง โครงสราง และจัดซอมครัง้ ที่ 2 ในเดือน มี.ค. 57 เพื่อใหเกิดความชํานาญในการติดตั้ง จากนั้นจะทําการแพ็คสวนประกอบตางๆ ของบานรวมทั้งเครื่องมืออุปกรณทั้งหมด ลงเรือสงไปยังฝรั่งเศส ซึ่งตองใชเวลานาน ถึง 2 เดือน คือ ระหวางเดือน เม.ย.-พ.ค.

สํ า หรั บ ช ว งการแข ง ขั น จะเริ่ ม ตั้ ง แต วั น ที่ 16 มิ.ย. – 19 ก.ค. 57 และจะตองประกอบ บานใหเสร็จภายใน 10 วัน หลังจากนั้นก็ จะมีการประกาศผลรางวัลในวันที่ 12 ก.ค. 57 ภายในวันที่ 15 ก.ค. 57 ตองเริม่ ทําการ ถอดชิน้ สวนบานทีป่ ระกอบออก ภายในเวลา 5 วัน และวันที่ 19 ก.ค. ถือเปนวันสิน้ สุดการ แขงขัน รวมระยะเวลาการแขงขันทัง้ สิน้ 34 วัน ทัง้ นีใ้ นการออกแบบของทีม KMUTT Team นั้นไดกําหนดแบบบานและรายละเอียดที่จะ สงเขาประกวดแลวในชื่อ “Baan Chaan” ในสไตลโมเดิรนไทย ภายใตแนวความคิด การออกแบบ Apply จากรูปแบบบานไทย ในสมัยกอน ยึดวัฒนาธรรมรูปแบบความ เปนอยูของครอบครัวไทย และคําวา Baan Chaan เมื่ออานดวยภาษาไทยจะอานวา “บานฉัน” ทําใหมีความรูสึกอบอุน 25

Energy#63_p25-27_Pro3.indd 25

1/23/14 4:06 AM


สําหรับโครงสรางบานเปนเหล็กไมวาจะเปน เสา คาน โครงหลังคา เปนลักษณะคลาย ตู คอนเทนเนอร ส วนผนั งนําเอาไมไผ มา ทําเปนผนังหรือ Bamboo boards โดย ทีม KMUTT Team บอกถึงเหตุผลการ เลือกใชไมไผเพราะตองการโชวเอกลักษณ ความเป น ไทยและเป น ไม ที่ ห าได ง  า ยใน ประเทศไทย สามารถปลูกทดแทนไดงาย ใ ช  ร ะ ย ะ เ ว ล า ไ ม  กี่ ป  ก็ ส า ม า ร ถ นํ า ม า ใชประโยชน ได และยังเปนไมที่ยอยสลาย ไดงายเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมหากเปรียบ เทียบกับไมเนื้อแข็ง

โดยการออกแบบยังมีการปรับใชพื้นที่ชาน ของบ า นไทยให เ ป น พื้ น ที่ ที่ ค รอบครั ว ได มาทํากิจกรรมรวมกันหรือเปนที่พักผอน กลางบ าน การใช พื้นที่ Baan Chaan ไดออกแบบใหรองรับผูอยูอาศัยตั้งแต 4-6 คน อันเปนลักษณะวิถีครอบครัวแบบไทย ที่มีญาติพี่นองอยูรวมกันหลายคน ดังนั้น จึงไดออกแบบบ านหลังนี้ใหสามารถปรับ เปลี่ ย นการใชพื้ น ที่ ใ ห เ ป น พื้ น ที่ พั ก อาศั ย หรือสวนของหองนอนเพิ่มขึ้นไดในอนาคต มี ก ารออกแบบรองรั บ ผู  สู ง อายุ หรื อ คน พิการที่ตองใชรถเข็น โดยจัดใหผูสูงอายุใช พื้นที่อยูชั้นลาง

เพื่อประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน ของบานทีม KMUTT Team ยังไดนาํ คอนเซ็ปท บานไทยมาผสมผสานการออกแบบสมัยใหม โดยมีการวางทิศทางการไหลของลม การใช หลังคาทรงสูง เพื่อใหบานเย็น และการจัด วางตัวเรือนที่ใหมีชานอยูกลางบาน มีตนไม เพื่อใหลมสามารถไหลผานใตบานได การใช เรือ่ งของเฉดสี แสงสวาง และการระบายของ ลมเขามาชวย เรียกไดวาเปนการออกแบบ และก อ สร า งบ า นประหยั ด พลั ง งานครั้ ง นี้ ให ส ามารถตอบโจทย ไ ด ทั้ ง การใช เ ครื่ อ ง ปรั บ อากาศ และระบบลมธรรมชาติ ไ ด อย า งลงตั ว ในแบบฉบั บ ของความเป น ครอบครัวไทย

นอกจากนี้แลวยังไดเลือกใชวัสดุ อุปกรณ ประหยัดพลังงานที่มีประสิทธิภาพไมวาจะ เปน ฉนวนกันความรอนพียูโฟมใตหลังคา กับผนังบานเพื่อลดความรอนเขาสูตัวบาน สวนหลังคาจะเปนเมมเบรนเปนหลังคา Roof deck ช ว ยกั น เสี ย งและแก ป  ญ หานํ้ า รั่ ว 100% พรอมทัง้ ติดตัง้ โซลารเซลลบนหลังคา เพือ่ ผลิตไฟฟาใหเพียงพอตอปริมาณการใช ไฟฟาตอ 6 คน ตอบาน 1 หลัง ภายใตขอ กําหนดการใชไฟฟาในบานไมเกิน 5 กิโลวัตต ตอป ทีส่ าํ คัญของการสรางบานดวยไมนนั้ จะ ชวยใหบานเย็นสบาย โปรงโลง ประกอบกับ การออกแบบบ า นให รั บ กั บ ทิ ศ ทางลม ทิศทางแดด มีชองรับลม ชวยลดพลังงาน ไดกวา 50% ภายใตงบประมาณในการ ลงทุนกอสรางเบื้องตน 15 ลานบาทสําหรับ บาน Baan Chaan ขนาด 110 ตะรางเมตร

26

Energy#63_p25-27_Pro3.indd 26

1/23/14 4:06 AM


สํ า ห รั บ ก า ร อ อ ก แ บ บ บ  า น ห ลั ง นี้ ใ ช  ที ม งานกว า 30 ชี วิ ต ที่ เ ป น ผู  เ ชี่ ย วชาญ เฉพาะด า นของ มจธ.ประกอบด ว ย คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร คณะคุ รุ ศ าสตร และ คณะพลังงานและสิ่งแวดลอม พรอมไดรับ การสนับสนุนจากภาคเอกชน เชน SCG, C&T Modular บริ ษั ท พฤกษา เรี ย ล เอสเตท จํากัด บริษัท ชไนเดอร อีเล็คทริค (ไทยแลนด) จํากัด บริษทั เพาเวอร ไลน จํากัด ที่ ไ ด ส นั บ สนุ น งบประมาณ ให คํ า ปรึ ก ษา การออกแบบ การวางระบบไฟฟา เปนตน

ซึ่ ง โมเดลบ า นที่ ที ม KMUTT Team ส ง เขาประกวดครั้งนี้ ถือวาไดรับกระแสตอบ รับทีด่ ี โดยในการเขารวม workshop ครัง้ ที่ ผานมาไดรับคําชื่นชมจากคณะกรรมการวา เปนแบบบานที่มีความสวยงาม และโดดเดน เพราะมีความแตกตางและใหรายละเอียดได มากกวาทีมอื่นๆ ทั้งเรื่องการยกบานใหสูง ขึน้ จากพืน้ ดิน 60 ซม. และการวางระบบปลัก๊ ไฟสูงขึ้นจากพื้นบาน 40 ซม. เพื่อปองกัน ป ญ หานํ้ า ทว ม และการติ ด ตั้ ง สวิ ต ซ ห รื อ แผงควบคุมระบบไฟฟาสวนกลางไวบนชั้น 2 ทีม KMUTT Team จึงมีความเชื่อมั่น

วาสามารถชนะจนไดรับรางวัลใดรางวัลหนึ่ง ในจํานวน 12 รางวัล ภายใตเงื่อนไขที่ทีม KMUTT Team จะตองสรางบานใหสามารถ ตอบโจทยเรือ่ งของ Innovation, Density, Mobility, Sobriety, Affordability, The project in Its Environment และหัวขอ ที่ใชชี้วัดผลการประกวดถึง 10 หัวขอ ตองรอติดตามกันดูวาผลงานของนักศึกษา ไทยซึ่งผานเขารวมการแขงขันประกวดแบบ บานประหยัดพลังงาน โดยใชพลังงานแสง อาทิตย ในโครงการ Solar Decathlon Europe 2014 เปนครั้งแรกจะสามารถควา รางวัลมาไดตามความคาดหวังของ KMUTT Team หรือไม

27

Energy#63_p25-27_Pro3.indd 27

1/23/14 4:09 AM


Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร

เทสโก โลตัส ยํ้าความเปนผูนําดานธุรกิจสีเขียว สรางศูนยกระจายสินคาประหยัดพลังงาน

นอกจากโรงงานอุตสาหกรรมแลวกลุม ผูป ระกอบการอาคารสํานักงาน อาคาร พาณิชย หรือศูนยการคา หางสรรพสินคา นัน้ เปนสถานประกอบการประเภท หนึง่ ทีม่ กี ารใชพลังงานไฟฟาจํานวนมาก โดยบางอาคารอยางหางสรรพสินคา ใชพลังงานเทียบเทากับหนึ่งจังหวัดเพื่อสรางความสะดวกสบายใหกับผู ใช บริการ และเพื่อความราบรื่นในการดําเนินธุรกิจที่จะนําไปสูความยั่งยืน

ทั้งนี้การใชพลังงานจํานวนมากของอาคารสํานักงาน อาคารพาณิชย ศู น ย ก ารค า หางสรรพสินคา ผู ประกอบการเหล านั้น ตางก็หา มาตรการตาง ๆ เขามาบริหารจัดการพลังงานภายในอาคารตามแต นโยบายทีแ่ ตกตางกันออกไป และตามความเหมาะสมของแตละธุรกิจ แตมจี ดุ มุง หมายเดียวกัน นัน่ คือ การสรางความยัง่ ยืนจากการอนุรกั ษ พลังงานและสิ่งแวดลอมที่นําไปสูธุรกิจสีเขียว

อยางไรก็ตามในเลมที่แลวผมไดนําเสนอเรื่องราว การบริ ห ารจั ด การพลั ง งานของธุ ร กิ จ โรงแรม สําหรับฉบับนีเ้ ราลองไปดูกระบวนจัดการพลังงาน ของศู น ย ก ระจายสิ น ค า ขนาดใหญ ว  า มี วิ ธี ก าร อยางไรเพื่อนําไปสูการเปนธุรกิจสีเขียว

28

Energy#63_p28-30_Pro3.indd 28

1/27/14 9:40 PM


ผมไดมโี อกาสไปเยีย่ มชมศูนยกระจายสินคา อาหารสดแหงใหมของเทสโก โลตัส ทีล่ าํ ลูกกา คลอง 7 พืน้ ทีใ่ ชสอย 39,000 ตารางเมตร บนที่ดินกวา 83 ไร และสามารถจัดเก็บและ กระจายอาหารสดจํานวน 230,000 ลังตอวัน จากคูค า 450 ราย ตลอด 24 ชัว่ โมง ใน 365 วัน ตอป เพือ่ มอบบริการทีด่ ยี งิ่ ขึน้ สําหรับลูกคา กวา 34 ลานคนตอเดือนของ เทสโก โลตัส ในกวา 700 สาขาทั่วประเทศ โดยศูนยกระจายสินคาแหงนีใ้ ชงบการลงทุน กวา 1.6 พันลานบาท สรางใหเปนศูนย กระจายสิ น ค า เพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตของ ธุรกิจภายใตหลักปฏิบัติที่ดีที่สุดของเทสโก คือ “ดีที่สุดสําหรับลูกคา ดีที่สุดสําหรับ สิ่งแวดลอม” สูการประหยัดพลังงาน การเลือกใชวัสดุที่เปนฉนวนพิเศษชวยไมให สูญเสียความเย็นในพื้นที่ควบคุมอุณหภูมิ จึ ง ประหยั ด พลั ง งาน การเลื อ กใช นํ้ า ยา แอมโมเนียสําหรับทําความเย็น coolant ทีเ่ ปน ammonia (NH3) เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และใชพลังงานนอยกวานํ้ายาหลอเย็นชนิด อื่น ๆ ชวยประหยัดนํ้าหลอเย็นแอมโมเนีย 134 ตัน CO2 ตอป ประกอบกับการเลือกใช เครื่องปรับอากาศประหยัดพลังงานเบอร 5 ตลอดจนการติ ด ตั้ ง หลอดไฟหลอด ฟลูออเรสเซนต T5 และหลอด LED ที่ชวย ประหยัดพลังงาน โดยสามารถชวยใหเกิดการ ประหยัดพลังงานกวา 15% ลดการปลอย คารบอนไดออกไซดประมาณ 35 ตัน CO2ตอป นอกจากนี้ ผู  บ ริ ห ารศู น ย ก ระจายสิ น ค า

แหงนี้ยังไดรณรงคใหพนักงานชวยกันลด ใชพลังงานตามจุดตาง ๆ ที่สามารถทําได ไมวา จะเปนการปดไฟเฉพาะพืน้ ทีไ่ มไดใชงาน การตรวจสอบดูแลอุปกรณที่เกี่ยวของกับ พลังงานอยางตอเนื่อง เพื่อประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงานที่ดี ดานระบบกระจายสินคาจากสวนกลางชวย ใหสามารถลดจํานวนเที่ยวของการขนสง สินคาไดอยางมีประสิทธิผล ศูนยกระจาย สิ น ค า อาหารสดที่ ลํ า ลู ก กาจะเข า มาช ว ย เสริมเครือขายศูนยกระจายสินคาของเทสโก โลตัส ในการใหบริการลูกคาใหไดรบั สินคาที่ มีคณ ุ ภาพและสดใหม ดวยระบบการควบคุม อุณหภูมอิ นั ลํา้ หนาและมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากการประหยัดพลังงานภายในศูนย กระจายสินคาอาหารสดลําลูกกาแลวเทสโก โลตั ส ยั ง ได ต ระหนั ก ถึ ง การลดการใช พลังงานในขบวนการขนสงสินคาดวยเชน กัน โดยใชระบบคอมพิวเตอรควบคุมสตอก สินคา รวมถึงการใชไบโอดีเซลในขบวนการ ขนสงสินคาในรถทุกคัน ซึง่ ชวยลดผลกระทบ ตอสิง่ แวดลอมไดอกี ทางหนึง่ ซึง่ การจัดการ พลั ง งานทั้ ง หมดของ เทสโก โลตั ส นั้ น เรียกวาเปนการลดการใชพลังงานและลด คารบอนตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้าเลยทีเดียว ดานกิจกรรม เทสโก โลตัส ยังไดจดั โครงการดีๆ เพื่อสิ่งแวดลอมหลายโครงการไมวาจะเปน โครงการปลูกตนไม 9 ลานตนในอุทยาน แหงชาติทั่วประเทศ โครงการ “ลดโลกรอน รวมใจบริโภคสีเขียว” เพือ่ เชิญชวนผูบ ริโภค 29

Energy#63_p28-30_Pro3.indd 29

1/27/14 9:40 PM


ให เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของการร ว มมื อ กั น บรรเทาภาวะโลกรอนดวยการใชผลิตภัณฑ สีเขียวเพือ่ สิง่ แวดลอม และเพือ่ ใหสอดคลอง กับนโยบายดานการอนุรักษพลังงานและ เปนการลดกระทบตอสิ่งแวดลอมในปจจุบัน สํ า หรั บ ศู น ย ก ระจายสิ น ค า อาหารสด ลํ า ลู ก กาแห ง นี้ สามารถเก็ บ และกระจาย อาหารสดใหกบั สาขาตาง ๆ ของ เทสโก โลตัส ไดในทุกรูปแบบ สําหรับสินคาอืน่ ๆ ทีไ่ มตอ ง มี ก ารควบคุ ม อุ ณ หภู มิ เช น อาหารแห ง อาหารกระปอง หรือผลิตภัณฑอื่นๆ ที่ไมใช อาหารสด จะมีการจัดเก็บและกระจายโดย ศูนยกระจายสินคาที่วังนอย จังหวัดอยุธยา ศู น ย ก ระจายสิ น ค า บางบั ว ทอง จั ง หวั ด นนทบุ รี และศู น ยก ระจายสิ น ค า สามโคก จังหวัดปทุมธานี นอกจากเปนศูนยกระจายสินคาทีช่ ว ยลดการ ใชพลังงานแลว ยังชวยใหเกิดการสรางงาน เพิ่มกวา 1,000 อัตรา ซึ่งในจํานวนนี้เปน พนักงานทีม่ ภี มู ลิ าํ เนาอยูใ นจังหวัดปทุมธานี

กวา 200 อัตรา และในการออกแบบศูนย กระจายสิ น ค า แห ง ใหม นี้ ยั ง ได คํ า นึ ง ถึ ง มาตรฐานความปลอดภั ย สู ง สุ ด ในการ ทํางานสําหรับพนักงาน ทั้งนี้ดวยเทคโนโลยี อั น ลํ้ า หน า ทํ า ให มี พ นั ก งานหญิ ง เพิ่ ม ขึ้ น เปน 40% ซึ่ ง ในภาพรวมทั้ ง หมดของการอนุ รั ก ษ พลังงานและสิ่งแวดลอมของศูนยกระจาย สิ น ค  า แ ห  ง นี้ ส า ม า ร ถ ล ด ก า ร ป ล  อ ย คารบอนไดออกไซด ไดถึง 1,600 ตันตอป หรือ 32% ตอตารางเมตร โดยระบบไดรบั การ ออกแบบใหสามารถลดจํานวนการปลอย ก า ซคาร บ อนไดออกไซด ไ ด อ ย า งยั่ ง ยื น และสามารถชวยเพิม่ อัตราการลดไดมากขึน้ อีกในอนาคต ภายใต ยุ ท ธศาสตร สํ า คั ญ ในการแสดง เจตจํ า นงว า เทสโก จ ะเป น ผู  นํ า ในการ ขับเคลื่อนเพื่อสรางเศรษฐกิจคารบอนตํ่า (Low-carbon economy) พรอมแสดง ภารกิจและพันธะสัญญาขององคกรในฐานะ

ทีเ่ ปนสวนหนึง่ ของการรับผิดชอบทางสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของการประหยัด พลังงานวาภายใน 13 ป นับจากนี้ธุรกิจใน เครือขายของเทสโกทั่วโลกจะตองลดการใช พลังงานลงทั้งในสวนของออฟฟศและราน คาใหได 50% พรอมกับลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดใหไดอยางนอย 30% และ 40% ภายในป 2020

30

Energy#63_p28-30_Pro3.indd 30

1/27/14 9:40 PM


Energy#63_p31_Pro3.ai

1

1/21/14

11:22 PM


Residence รังสรรค อรัญมิตร

¡Ãا¡ÇÕÊÌҧºŒÒ¹ÃÑ¡É âÅ¡ μͺ⨷ ¡ÃÐáÊâšÌ͹ จากกระแสภาวะโลกรอน Global Warming หรือ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ Climate Change นัน้ เปนปจจัยทีท่ าํ ใหหลายคนไดตระหนัก ถึงการใหความสําคัญการอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอม และหาแนวทางการพัฒนาเพือ่ ใหเกิด การประหยัดพลังงาน ตอบสนองในการลดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมและทําใหโลกเกิดความยั่งยืนขึ้น

ทัง้ นี้ การใหความสําคัญกับธรรมชาตินนั้ เปนวิถที ยี่ งั่ ยืนอยางหนึง่ ทีจ่ ะชวยยืดเวลาแหง ความสุขของสิง่ มีชวี ติ บนโลกนีใ้ หนานขึน้ กวาทีเ่ ปนอยู โครงการอสังหาริมทรัพยหลาย ๆ แหงก็ใหความสําคัญการรณรงคลดภาวะโลกรอน การออกแบบทีอ่ ยูอ าศัยรวมไปถึงการ เลือกใชวสั ดุทใี่ หความสําคัญกับการประหยัดพลังงานรักษาสิง่ แวดลอมทัง้ สิน้ รวมถึง การออกแบบใหมพ ี นื้ ทีส่ เี ขียวภายในโครงการเพือ่ เสริมศักยภาพในการลดใชพลังงาน โครงการบานในสนามกอลฟบนพืน้ ทีส่ เี ขียวกวา 1,000 ไร ของบริษทั กรุงกวี จํากัด เปน อีกโครงการหนึ่งที่ไดเนรมิตโครงการบานหรูรักษโลก ภายใตชื่อ “เรือนวิลลา” โดยที่ ตั้งโครงการฯ อยูบริเวณคลอง 4 ถนนรังสิต-นครนายก ซึ่งถูกออกแบบใหรายลอม ไปดวยสายนํ้าหลอเลี้ยงในโครงการยาวกวา 15 กิโลเมตร และธรรมชาติจากตนไม นานาพรรณทีใ่ ชเวลาในการปลูกกวา 10 ป อาทิ กันเกรา คําหมอกหลวง ขานาง ชางนาว ยางนา คงคาเดือน ฯลฯ การรายลอมดวยแนวรั้วธรรมชาติมากกวา 70 % นี้

32

Energy#63_p32-33_Pro3.indd 32

1/15/14 9:26 PM


ทําใหภายในโครงการมีอุณหภูมิตํ่ากวา ภายนอก 1-2 องศา ทําใหรูสึกสบาย เรี ย กได ว  า การนํ า เอาพั น ธุ  ไ ม ต  า ง ๆ มาปลูกนั้นนอกจากเปนการเพิ่มพื้นที่ สีเขียวแลวยังเปนจุดเดนอีกดานหนึ่งใน การชวยลดการใชพลังงานของโครงการ แหงนี้อีกดวย สําหรับแนวคิดการออกแบบบานทัง้ หมด ในโครงการผูออกแบบตั้งใจใหมีเพียง 32 หลังเทานั้น เนนการอยูอยางสบาย ไมแออัดทามกลางสภาพแวดลอมที่ดี ไร ม ลพิ ษ ลั ก ษณะพิ เ ศษอี ก ประการ คือการออกแบบไมใหมีหลังบานชนกัน

แต จ ะออกแบบให มี ห น า บ า นและ หลังบานสวยเหมือนกัน หรือทีเ่ รียกวา two frontages house โดยใหมี สวนครัวหรือสวนของบริการมาไวที่ ดานขาง ดังนัน้ หลังบานจะติดกับสวน กลางหรือคลองเทานั้น สวนฟงกชั่นการใชงานของบานถูก ออกแบบใหมีความเหมาะสมลงตัว และสวยงาม อยางเชน การใชงาน และตําแหนงหองแตละหอง ตั้งแต หองนอนไปจนถึงหองนํา้ เชน การจัดวาง ตําแหนงสุขภัณฑไมหนั หนาเขากระจก การแยกครัวไทยกับครัวฝรัง่ หองนัง่ เลน แ ล ะ ห  อ ง รั บ แ ข ก แ ย ก ส  ว น กั น ประตูหนาตางใหเหมาะสมกับการใช งานจริงในชีวิตประจําวัน ทั้งนี้ภายใน โครงการยังมีบานแบบพิเศษ อยาง เชน เรือนมานพ และเรือนศุภฤกษ ที่ อ อกแบบให มี ห  อ งนอนชั้ น ล า ง เพื่อรองรับความสะดวกสบายของ ผูสูงอายุ หรือเปนหองนอนรับรองแขก อีกทั้งยังสามารถปรับเปลี่ยนเปน หองอื่น ๆ ไดตามความตองการ เชน หองดูหนัง หรือหองทํางาน การเลื อ กใช วั ส ดุ เ ป น อี ก แนวทางหนึ่ ง ของการออกแบบบ า นประหยั ด พลังงานที่ลงตัวกับธรรมชาติสิ่งแวดลอม โดยโครงการแหงนี้ไดเลือกใช เสาเข็ม I26 ขนาดใหญเหนือมาตรฐานทั่วไป ทําใหเมื่อตอกลงไปในดินแลว ไมมีการหักขางใน เพราะหากเกิดปญหาเสาเข็มหักจะไมสามารถมองเห็น และแกไขได สงผลใหบานทรุดและแตกราวไดในภายหลัง อิฐ Cool Block ชวยกันความรอน กันเสียง กันความชื้น ที่สําคัญยัง ใหความสวยงามอีกดวย การเลือกใชกระจกสีเขียวตัดแสงหนา 6-10 มิลลิเมตร เปนการกรองแสงแดดใหคนทีอ่ ยูใ นบาน ในสวนกระจกบานใหญ หรือ Bay window เปนกระจกลามิเนตเพื่อความปลอดภัยและเปดรับ ทัศนียภาพในโครงการไดอยางเต็มที่ เวลากลางวันสามารถเปดรับแดด เพื่อฆาเชื้อโรคและไมจําเปนตองเปดไฟแสงสวาง การเปดรับลมทําได เสมอ ลดการเปดเครือ่ งปรับอากาศไดดี พืน้ ทีจ่ ากฝาถึงเพดานสูงถึง 2.80 เซนติเมตร ทําใหบานดูโลงโปรงสบาย ชั้นใตหลังคากวางขวางสามารถทําเปนหองเอนกประสงค เชน หองพระ หองเก็บของ หรือแมแตทําเปนหองนอนก็ยังได โดยใชวัสดุกันความรอน ถึงสองชั้น เพื่อชวยลดอุณหภูมิภายในบาน ใชแผนสะทอนความรอนและ เพิ่มฉนวนกันความรอนอีกหนึ่งชั้น ระบบสาธารณูปโภคในโครงการฯ ลวนอํานวยความสะดวกและคํานึง ถึงความสวยงาม โดยสายไฟสายโทรศัพทจะรอยทอใตดินไมใหบดบัง ทัศนียภาพ ไฟฟาเปนระบบไฟ 3 เฟส สามารถจายกระแสไฟฟาใหลูกคา แตละแปลงไดถงึ 50 แอมป นอกจากนีย้ งั มีระบบบําบัดนํา้ เสียทีม่ กี ารบําบัด ตามกระบวนการชีวภาพเปนนํ้าที่สามารถนํามาใชประโยชนอื่นไดอีกดวย โครงการบานรักษโลกของกรุงกวีจึงเปนอีกแนวความคิดหนึ่งที่ออกแบบ ธรรมชาติสิ่งแวดลอมใหเกิดประโยชนสูงสุดในการชวยลดใชพลังงานได เปนอยางดีครับ

33

Energy#63_p32-33_Pro3.indd 33

1/15/14 9:26 PM


Energy Design ณ อรัญ

ปจจุบนั เทรนดการออกแบบโรงแรม รีสอรทนัน้ ไดเนนเรือ่ งของการประหยัดพลังงานควบคูก บั รูปแบบทีด่ โู ดดเดน โดยการออกแบบเพือ่ ให เกิดการประหยัดพลังงานไดอาศัยความเปนธรรมชาติบาํ บัดหรือออกแบบทีไ่ มสง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม หรือดึงเอาธรรมชาติมาใชใหเกิด ประโยชนในดานการประหยัดพลังงาน

เรียกไดวาการออกแบบตองใหครอบคลุม ปจจัยพื้นฐานตางๆ รอบดานครบถวนทุก มิติ ทั้งความเหมาะสมของสภาพแวดลอม กฎหมายที่ เ กี่ ย วข อ ง ระบบภู มิ อ ากาศ ทิศทางกระแสลมแสงแดด ลักษณะเฉพาะ ของที่ดิน วัฒนธรรม ศิลปะประเพณี ตลอด จน การตลาดที่ตองตอบโจทยชัดเจนเพื่อ ความสําเร็จของโครงการมากที่สุดนั่นเอง ยกตั ว อย า งโรงแรมรี ส อร ท แนวใหม โครงการนี้ที่ยังไมไดตั้งชื่อเพราะยังสราง ไม เ สร็ จ ซึ่ ง เป นผลงานการออกแบบของ ศาสตราจารยเอกพงษ ตรีตรง คณบดี

คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยแนวทางการออกแบบของอาจารย เอกนั้ น ได แ รงบั น ดาลใจมาจากตั ว “S” ในที่ นี้ ป ระกอบด ว ย SPIRIT, SEA, SAND, SEXY, SERVICE, SUCCESS, SUSTAINABLE จึงกําหนดเปนคาความคิด และธี ม หลั ก เป น “7S” โดยการดึ ง เอา เสนหของการออกแบบลักษณะเซ็กซี่เขาไป ประยุกตใชในการออกแบบทั้งระบบ และได มีการออกแบบ ในตัวโครงการรีสอรทแหงนี้ เป น ตั ว เชื่ อ มกั บ หาดทรายขาว และทะเล เอกลักษณของ จ.ระยอง ใหดูกลมกลืนกับ ความเปนธรรมชาติ

ลายเส นไดทยอยเป นรูปเปนรางจากการ สํารวจโครงการ ณ สถานที่จริง วิเคราะห โครงสร า งทางธรณี มุ ม มอง กระแสลม สภาพที่ ดิ น ต น ไม แล ว ออกแบบเป น รู ป ทรงตัว “S” คลองกันไปตลอดโครงการ ผูก เรื่องราวเสนสายทั้งผัง รูปดาน รูปทรง ทุก มิติไปดวยกัน โดยดึงเฉดสี จากแรธาตุ ดิน หิน ตนไม เขามาประกอบกันเปนกลุมสีของ อาคารทั้งภายใน ภายนอก ไดอยางลงตัว ทัง้ นีใ้ นการออกแบบอาคารในภูมภิ าคเขตรอน ริมทะเลนัน้ ทําใหดแู ลรักษางาย และสามารถ ออกแบบให เ กิ ด การประหยั ด พลั ง งาน

34

Energy#63_p34-35_Pro3.indd 34

1/23/14 3:48 AM


สวนพื้นที่ตอนรับ (LOBBY) ออกแบบใน ลักษณะเปดโลง (OPEN SPACE) เพื่อ เปดรับลมธรรมชาติและลดการใชพลังงาน จากเครื่องปรับอากาศ โดยมีรูปทรงหลังคา คลายหมวก และเครื่องมือหัตถกรรมการ ทําประมง โดยผนังและพื้นเสมือนทองเรือ ที่เทียบทาชายฝงทะเล เสนสายที่โคงไดรูป ปรากฏเปนรูปรางอาคารที่ออนชอยตั่งแต อาคาร 4 ชั้น ที่มีดาดฟาเปนสวนการให บริการอาหารสวนตัวแบบฮันนีมูน ดื่มดํ่า นํ้าผึ้งพระจันทร จากนั้นอาคารก็ลดหลั่นกัน ไปตามแนวของสระวายนํ้าทั้งรูปทรง “S” เพือ่ เสริมฮวงจุย ในการจัดวางดวย และมีมมุ มองสูทะเลและสระนํ้าไปพรอมกัน

และไมรอนอบอาว โดยอาศัยหลักธรรมชาติ สิง่ แวดลอมเขามาชวยลดการใชพลังงาน ลด การพึง่ พาเทคโนโลยีดา นประหยัดพลังงานลง สําหรับรีสอรทแหงนี้เมื่อมองจากผังอาจดู คลายมังกร จินตนาการลึกๆ เสมือนการ จุมพิตระหวางชาย หญิง อันสะทอนจาก ความรักที่ดื่มดํ่า ความออนชอยของอาคาร มีความสอดคลองกันเปนเสมือนรางกาย เดียวกัน กลมกลืน กลมกลอม เหมาะกับการ เปนรีสอรทแนวใหมริมหาดแมพิมพ

ดานทางเขาโครงการในการออกแบบยังคง รักษาความรมรื่นของตนไมใหญเอาไว แต จะตกแตงใหกลมกลืนกันไปกับตัวรีสอรท พรอมกันนี้ยังไดนําพันธุ ไมพื้นถิ่นเขามา ตกแตงเพือ่ เปนเสมือนซุม ตนไมเขาโครงการ ทีค่ อ ยๆ คดเคีย้ วจนเห็นโครงการในลักษณะ ที่ซ อนตัวอยูในต น ไมอั น รม รื่น แลวทอด สะพานสูท ะเลดวยการเชือ่ มโยงกับสระวายนํา้ ประชิดหองตวัดโคงใหรูปสวยงาม

การออกแบบภายในหองพักสอดคลองไป กับภายนอก และสามารถมองเห็นวิว ทิวทัศน ไดถึง 360 องศา มีคอลเล็คชั่นเฟอรนิเจอร ที่ ท นทานด ว ยไม จ ริ ง ในรู ป ทรงอ อ นช อ ย ผสมผสานหัตถกรรมพืน้ ถิน่ เพือ่ ดึงเอกลักษณ รีสอรทใหเดนชัด เรียกไดวาการออกแบบรีสอรทที่ยังไมชื่อ แหงนี้เปรียบเสมือนเปนการรอยเรียงแตง บทกวีสุนทรภูโดยสะทอนสูหองพักและลูก เลนความนารักในทุกมุมมอง แมกระทั่งทาง เดินระหวางอาคารที่เรี ยบเรียงสัมผัสเปน บทกลอน

35

Energy#63_p34-35_Pro3.indd 35

1/23/14 3:48 AM


Energy Knowledge อภัสรา วัลลิภผล

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย หรือ วว. เปนองคกรชั้นนําระดับ อาเซียนในดานวิจัย พัฒนา และบริการดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่ง ทาง วว. เองก็ มี ก ารค น คว า วิ จั ย ด า นพลั ง งานทดแทนอยู  ห ลายโครงการด ว ยกั น อยางเชน การวิจัยและพัฒนาสาหรายที่สามารถนํามาสกัดเปนนํ้ามัน เพื่อในอนาคต สามารถลดการนําเขานํ้ามันจากตางประเทศได

วว.วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสกัดนํ้ามัน จากสายพันธุสาหรายขนาดเล็ก รองจากประเทศญี่ปุนและจีน ที่มีสาหราย เก็ บ รั ก ษาไว ใ นคลั ง ที่ แ ยกจากระบบนิ เ วศ ตาง ๆ กวา 1,000 สายพันธุ และมีระบบ การเพาะเลี้ยงสาหรายระดับขยายกลางแจง ตนแบบ ตั้งแตขนาด 100 – 10,000 ลิตร รวมทั้งมีนักวิชาการและทีมงานที่เชี่ยวชาญ ซึ่งมีประสบการณ ในการวิจัยพัฒนาดาน สาหร า ย ทั้ ง ในระดั บ ห อ งปฏิ บั ติ ก ารและ ภาคสนาม ทําใหมีขอไดเปรียบสูงดานการ คัดเลือกหาสายพันธุที่เหมาะสมที่สุดในการ ตอยอดงานวิจัยแขนงตาง ๆ

ดร.โสภณ สิ ริ ศ รั ท ธา นั ก วิ ช าการ สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี แหงประเทศไทย(วว.) เผยวา ทาง วว. ได สั่ ง สมประสบการณ วิ จั ย และพั ฒ นาด า น สาหรายมาเปนเวลากวา 25 ป มีคลังสาหราย ขนาดใหญติดอันดับ 1 ใน 3 ของเอเชีย

จุดเริ่มตนในการเลือกสายพันธุสาหรายที่ สามารถนํามาสกัดเปนนํา้ มันไดนนั้ ทาง วว.จะ ตองคัดเลือกสาหรายกวา 1,000 สายพันธุ ที่ ส ามารถนํ า มาสกั ด เป น นํ้ า มั น ให ไ ด ม าก ที่สุด เพราะสาหรายแตละสายพันธุจะให สรรพคุณที่แตงตางกันออกไปและมีเพียง กวา 10 สายพันธุเทานั้นที่สามารถสกัดเปน นํ้ามันได สําหรับองคประกอบในการเลี้ยง สาหรายมีอยู 3 สิง่ คือ 1.ประเภทของสาหราย

แตละสายพันธุ 2.สาหรายเหมือนพืชทั่วไป คือกินแสงแดดเปนอาหาร ที่เลี้ยงจําเปนจะ ตองมีแดด และ 3.ธาตุอาหารของสาหราย ผูเลี้ยงจะตองมีการใสปุยใหกับสาหรายเปน อาหารเสริมดวย ซึ่งสาหรายที่นํามาสกัด นั้นเปนสาหรายขนาดเล็ก ที่เลี้ยงไวในอาง ขนาดความยาว 25 เมตร กวาง 3 เมตรและ ลึก 50 เซนติเมตร และภายในบอตองมีใบพัด คอยระบายอากาศในการเลี้ ย งสาหร า ย ระยะเวลาในการเจริญเติบโตของสาหราย ใชเวลาเพียง 7-10 วัน เทานั้น จะเห็นไดวา เมื อ งไทยเหมาะสํ า หรั บ การเพาะสาหร า ย เปนอยางมาก เพราะมีเนื้อที่เยอะ มีนํ้าเยอะ

36

Energy#63_p36-37_Pro3.indd 36

1/23/14 10:14 PM


เราเปนประเทศเกษตรอยูแลวเรื่องการผลิต เลยไมมีปญหา และที่สําคัญเราเปนประเทศ เขตรอน มีแสงแดดสงอยูตลอดเวลา ทําให ประเทศไทยมีองคประกอบทีเ่ หมาะสมในการ เพาะเลี้ยงสาหรายเปนอยางมาก

ในปจจุบันเปนที่ยอมรับกันอยางกวางขวาง วาสาหรายขนาดเล็กมีบทบาทสําคัญตอการ พัฒนาอยางยั่งยืน เนื่องจากสาหรายเจริญ เติบโตโดยกระบวนการสังเคราะหดวยแสง จึงมีศักยภาพสูงที่จะใชเปนวัตถุดิบแหลง ใหมในการผลิตพลังงานหมุนเวียน การสกัด สาหร า ยนอกจากเป นแหล ง พลัง งานใหม แลว กระบวนการผลิตพลังงานจากสาหราย สายพันธุคัดเลือกที่เหมาะสมยังกอใหเกิด ผลิตภัณฑตาง ๆ อีกมากมาย เชน สารออก ฤทธิ์ทางชีวภาพ อาหารมนุษย อาหารสัตว ปุยชีวภาพ พลาสติกชีวภาพ ฯลฯ

ทั้ ง นี้ ปตท. ได ส นั บ สนุ น ทุ น วิ จั ย จํ า นวน 140 ล า นบาทในการดํ า เนิ น โครงการ ภายใต ก ารดํ า เนิ น งานของ เครื อ ข า ย วิ จั ย พลั ง งานจากสาหร า ยขนาดเล็ ก แห ง ประเทศไทย (คพท.) โดยมี ร ะยะเวลา ดํ า เนิ น งาน 7 ป (พ.ศ.2551-2558) มี เป า หมายเชิ ง พาณิ ช ย เ พื่ อ ให ต  น ทุ น ของ นํ้ามันจากสาหรายนอยกวา 150 เหรียญ ต อ บาเรล และเป า หมายเชิ ง เทคนิ ค ให สาหรายมีผลผลิตสูงกวา 30 กรัมตอตาราง เมตรตอวัน และมีปริมาณนํ้ามันประมาณ 40% หรือสามารถคิดเปนผลผลิตนํ้ามัน สาหรายประมาณ 6 ตันนํ้ามันตอไรตอป

ไมรวมผลิตภัณฑพลอยได จําพวกโปรตีน คุ ณ ภาพสู ง สารสกั ด จํ า พวกกรดไขมั น ที่ จํ า เป น ต อ ร า งกาย ซึ่ ง ในเบื้ อ งต น มี ก าร ประเมิ น ต น ทุ น การผลิ ต ซึ่ ง มวลสาหร า ย อยูที่ประมาณ 200 บาทตอกิโลกรัมนํ้าหนัก แหง โดยมีปริมาณนํ้ามันที่ 20-30% ของ สาหรายแหง ซึ่งยังคงเปนตนทุนการผลิต นํ้ามันที่สูงอยู

ในขณะเดี ย วกั น วว. ในการดํ า เนิ น ชุ ด โครงการผลิตนํ้ามันจากสาหรายขนาดเล็ก อยางบูรณาการ โดยใชกระบวนการผลิต รวมกับของเสีย เชน นํ้าทิ้ง และกาซ เพื่อลด ตนทุนการผลิต พรอมทั้งผลิตผลิตภัณฑ รวม เชน ปุยชีวภาพ เพื่อสรางหวงโซมูลคา เพิ่ม อันจะนําไปสูความเปนไปไดในการผลิต นํ้ามันจากสาหราย นํ้ามันดิบจากสาหราย ที่ผลิตจากโรงงานตนแบบ วว. ไดนําสงแก สถาบันวิจัยเทคโนโลยี ปตท. อยางตอเนื่อง เพือ่ พัฒนาเปนเชือ้ เพลิงชีวภาพตอไป

37

Energy#63_p36-37_Pro3.indd 37

1/23/14 10:14 PM


Tools & Machine ณ อรัญ

ระบบทําความเย็น แบบ InRow Cooling อุณหภูมิสูงและเกิดการสิ้นเปลืองพลังงาน เพราะความร อ นทุ ก กิ โ ลวั ต ต ที่ เ กิ ด จาก อุปกรณ ไอทีหมายถึงพลังงาน นอกจากนี้แลว InRow Cooling ยังไดรับ การออกแบบใหสอดคลองกับการใชงาน รวมกับเครือ่ งเซิรฟ  เวอร มีคณ ุ สมบัตใิ นการ กําจัดขอบเขตของความรอน จึงชวยลดการ ใชพลังงานและคาใชจายโดยการขจัดความ รอนออกจากจุดทีก่ อ เกิดความรอนกอนทีจ่ ะ แผวงกวาง พรอมกับออกแบบเพื่อใหใชงาน งายแบบปลัก๊ -แอนด-เพลย และสามารถติด ตั้งไดรวดเร็ว โดยไมจําเปนตองวางทอสาย ระบบชวยลดอุณหภูมิแตอยางใด ระบบทําความเย็นนั้นถูกพัฒนาขึ้นมาหลาย แบบดวยกันเพื่อรองรับกับความตองการ ใชที่แตกตางกันออกไป ซึ่งนอกจากตูเย็น เครื่องปรับอากาศที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน แลว ยังมีระบบทําความเย็นชนิดอื่นๆ อีก ยกตัวอยาง InRow Cooling เปนระบบ ทํ า ความเย็ น สํ า หรั บ ใช กั บ ห อ งดาต า เซ็นเตอรโดยเฉพาะ เพื่อสรางความเย็นและ ระบายความรอนสะสมของดาตาเซ็นเตอร ซึ่ ง เป น จุ ด ที่ มี ก ารสะสมความร อ นมาก ดังนั้น การจัดการระบบความเย็นที่เหมาะ สมถู ก ต อ งจะช ว ยลดพลั ง งานได เ ครื่ อ ง ปรั บ อากาศแบบ InRow Cooling จึงถูกพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพดานการ ประหยัดพลังงานสําหรับระบายความรอน เฉพาะจุด ระบบทําความเย็นแบบ InRow Cooling นั้ น เป น ระบบทํ า ความเย็ น แบบแถวติ ด ตั้ ง ติ ด กั บ ตู  แ รคของเซิ ร  ฟ เวอร ทํ า ให ช  ว ง การปลอยลมเย็นสั้นกวารูปแบบอื่นจึงใช

พลังงานนอยกว าเครื่องปรับอากาศแบบ อยู  ไ กลจากเซิ ร  ฟ เวอร โดยการทํ า ความ เย็นเฉพาะแร็คแตละแถวแทนที่จะทําความ เย็นทั่วทั้งหอง ซึ่งชวยใหประหยัดคาไฟได สูงถึง 10 เทา นอกจากนี้ยั งเปน ระบบควบคุม ความเย็น ที่ชวยใหการคาดการณลวงหนาเกี่ยวกับ ระบบแอรคอนดิชัน ภายในตูระบบสายไฟ หองเซิรฟเวอรหรือหองดาตาเซ็นเตอรเปน ไปอยางมีประสิทธิภาพและมีความแมนยํา สู ง พร อ มทั้ ง จะช ว ยสนั บ สนุ น อุ ป กรณ เน็ตเวิรกในการทํ2 าธุรกิจแบบครบวงจร รวมถึ ง ยั ง เป น การจั ด การกั บ ป ญ หาด า น การระบายความรอนดวยการเนนใหความ สําคัญกับการระบายความรอนออกแทนที่ จะเพิ่มความเย็นเขา และถาหากไมมีการ กํ า จั ด ความร อ นออก ความร อ นภายใน พื้ น ที่ ที่ ใ ช จั ด วางอุ ป กรณ ไ อที ต  า งๆ จะ เกิ ด การสะสมความร อ น ซึ่ ง จะทํ า ให เ กิ ด

ภายใน InRow Cooling มีระบบควบคุม ความเย็นที่สามารถแผกระจายความเย็นได อยางทั่วถึง การจัดวางอุปกรณ บริเวณถัด จากชองระบายความรอนของอุปกรณตา ง ๆ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการขั บ ลมร อ น ออกไปไดอยางสะดวกและรวดเร็ว เรียกไดวาเปนระบบที่ชวยใหผูดูแลระบบ ไม ต  อ งตั้ ง ค า การทํ า ความเย็ น ให ยุ  ง ยาก หรือการออกแบบกลไกใด ๆ ใหสิ้นเปลือง ห อ งเซิ ร  ฟ เวอร ห รื อ ห อ งดาต า เซ็ น เตอร ขององคกรนั้น จําเปนตองใชพลังงานใน ปริ ม าณมาก หากสามารถควบคุ ม การ ทํางานของระบบทําความเย็นใหเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพไดแลว การใชพลังงานก็จะ เปนไปอยางคุม คาและชวยประหยัดคาใชจา ย ดานพลังงานใหกับองคกรลงไดเปนอยางดี สําหรับ InRow Cooling นัน้ มีหลายรุน และ หลายขนาดที่ตางกันใหเลือกใชเพื่อรองรับ ความตองการตามสภาพแวดลอมของหอง เซิรฟ  เวอรหรือหองดาตาเซ็นเตอรครับ

38

Energy#63_p38_Pro3.indd 38

1/23/14 2:49 AM


July 2012 l 39

Energy#63_p39_Pro3.indd 39

1/21/14 11:06 PM


Energy Tips เด็กเนิรด

สารพัดวิธีประหยัดไฟฟ้า ฉบับนี้นําวิธีประหยัดพลังงานแบบงาย ๆ มาฝากกัน แคลงมือทําก็ประหยัดเงินในกระเปาไดแลว… 1. ปดสวิตชไฟ และเครื่องใชไฟฟาทุกชนิดเมื่อเลิกใชงาน สรางใหเปน นิสัยในการดับไฟทุกครั้งที่ออกจากหอง 2. เลือกซื้อเครื่องใชไฟฟาที่ไดมาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพ ใหแนใจทุกครั้งกอนตัดสินใจซื้อ หากมีอุปกรณ ไฟฟาเบอร 5 ตอง เลือกใชเบอร 5 3. ปดเครือ่ งปรับอากาศทุกครัง้ ทีจ่ ะไมอยูใ นหองเกิน 1 ชัว่ โมง สําหรับ เครือ่ งปรับอากาศทัว่ ไป และ 30 นาที สําหรับเครือ่ งปรับอากาศเบอร 5 4. ตัง้ อุณหภูมเิ ครือ่ งปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึง่ เปนอุณหภูมิ ที่กําลังสบาย อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศา ตองใชพลังงานเพิ่มขึ้น รอยละ 5-10 5. ติดตั้งฉนวนกันความรอนโดยรอบหองที่มีการปรับอากาศ เพื่อ ลดการสูญเสียพลังงานจากการถายเทความรอนเขาภายในอาคาร 6. ควรปลูกตนไมรอบ ๆ อาคาร เพราะตนไมขนาดใหญ 1 ตน ให ความเย็นเทากับเครื่องปรับอากาศ 1 ตัน หรือใหความเย็นประมาณ 12,000 บีทียู 7. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อชวยลดความรอนและเพิ่มความชื้นใหกับดิน จะทําใหบานเย็น ไมจําเปนตองเปดเครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป 8. หากอากาศไมรอนเกินไป ควรเปดพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ จะชวยประหยัดไฟ ประหยัดเงินไดมากทีเดียว 9. ใชหลอดไฟประหยัดพลังงาน ใชหลอดผอมจอมประหยัดแทน หลอดอวน ใชหลอดตะเกียบแทนหลอดไส หรือใชหลอดคอมแพคท ฟลูออเรสเซนต 10. ใชหลอดไฟทีม่ วี ตั ตตาํ่ สําหรับบริเวณทีจ่ าํ เปนตองเปดทิง้ ไวทงั้ คืน ไมวาจะเปนในบานหรือขางนอก เพื่อประหยัดคาไฟฟา 11. ควรใชสีออนตกแตงอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อการสะทอน แสงที่ดี และทาภายในอาคารเพื่อทําใหหองสวางไดมากกวา 12. ใชแสงสวางจากธรรมชาติใหมากที่สุด เชน ติดตั้งกระจกหรือติด ฟลมที่มีคุณสมบัติปองกันความรอน แตยอมใหแสงผานเขาได เพื่อ ลดการใชพลังงานแสงสวางภายในอาคาร 13. ปดตูเย็นใหสนิท ทําความสะอาดภายในตูเย็น และแผนระบาย ความรอนหลังตูเย็นสมํ่าเสมอ เพื่อใหตูเย็นไมตองทํางานหนักและ เปลืองไฟ 14. อยาเปดตูเย็นบอย อยานําของรอนเขาแชในตูเย็น เพราะจะทําให ตูเย็นทํางานเพิ่มขึ้น กินไฟมากขึ้น 15. ควรละลายนํ้าแข็งในตูเย็นสมํ่าเสมอ การปลอยใหนํ้าแข็งจับหนา เกินไป จะทําใหเครื่องตองทํางานหนัก ทําใหกินไฟมาก 16. เลือกซือ้ ตูเ ย็นประตูเดียว เนือ่ งจากตูเ ย็น 2 ประตู จะกินไฟมากกวา ตูเย็นประตูเดียวที่มีขนาดเทากัน เพราะตองใชทอนํ้ายาทําความเย็นที่ ยาวกวา และใชคอมเพรสเซอรขนาดใหญกวา

17. ซักผาดวยเครือ่ ง ควรใสผา ใหเต็มกําลังของเครือ่ ง เพราะซัก 1 ตัว กับ ซัก 20 ตัว ก็ตองใชนํ้าในปริมาณเทา ๆ กัน 18. ไมควรอบผาดวยเครื่อง เมื่อใชเครื่องซักผา เพราะเปลืองไฟมาก ควรตากเสื้อผากับแสงแดดหรือแสงธรรมชาติจะดีกวา ทั้งยังชวย ประหยัดไฟไดมากกวา 19. ไมควรปรับจอโทรทัศนใหสวางเกินไป และอยาเปดโทรทัศนให เสียงดังเกินความจําเปน เพราะเปลืองไฟ ทําใหอายุเครื่องสั้นลงดวย 20. อยาเสียบปลั๊กหมอหุงขาวไว เพราะระบบอุนจะทํางานตลอดเวลา ทําใหสิ้นเปลืองไฟเกินความจําเปน 21. กาตมนํ้าไฟฟา ตองดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อนํ้าเดือด อยาเสียบไฟ ไวเมื่อไมมีคนอยู เพราะนอกจากจะไมประหยัดพลังงานแลว ยังอาจ ทําใหเกิดไฟไหมได 22. อยาเปดคอมพิวเตอรทิ้งไวถาไมใชงาน ติดตั้งระบบลดกระแส ไฟฟาเขาเครื่องเมื่อพักการทํางาน จะประหยัดไฟไดรอยละ 35-40 และถาหากปดหนาจอทันทีเมื่อไมใชงาน จะประหยัดไฟไดรอยละ 60 23. ดูสญ ั ลักษณ Energy Star กอนเลือกซือ้ อุปกรณสาํ นักงาน (เชน เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องโทรสาร เครื่องพิมพดีดไฟฟาเครื่องถาย เอกสาร ฯลฯ) ซึง่ จะชวยประหยัดพลังงาน ลดการใชกาํ ลังไฟฟา เพราะ จะมีระบบประหยัดไฟฟาอัตโนมัติ ขอมูลอางอิง : โครงการรวมพลังหาร 2 คิดกอนใช กระทรวงพลังงาน

40

Energy#63_p40-41_Pro3.indd 40

1/23/14 10:24 PM


ขับรถอย่างไร... ให้ประหยัดน้ํามันที่สุด ราคานํ้ามันและราคากาซเพิ่มขึ้นทุกวัน เรา มีวิธีการที่จะชวยคุณประหยัดทั้งเชื้อเพลิง และประหยัดเงินในกระเปา ดังนี้

1. รักษารถใหฟต อยูเ สมอ รถทีส่ มรรถภาพ ไมดี ทําใหสนิ้ เปลืองเชือ้ เพลิง 2. วางแผนการเดินทางเพือ่ หลีกเลีย่ งการใช รถโดยไมจาํ เปน 3. เมื่อเปดแอรจะใชเชื้อเพลิงมากกวา จึง ควรใชอยางประหยัด ควรใชปมุ ทีก่ าํ ลังแอรตาํ่ เปดแอรจนกระทัง่ เย็นทัว่ รถ และปดแอร และ ปลอยใหพดั ลมเปาความเย็นแทน และไมควร เปดแอรขณะทีห่ นาตางเปดอยู 4. เมือ่ ขับรถดวยความเร็วสูงควรปดหนาตาง ใหสนิท เมื่อเปดหนาตางรถจะลากและสิ้น เปลืองพลังงาน การขับรถดวยความเร็วสูง แลวเปดหนาตาง ทําใหเกิดการใชพลังงาน มากกวาการเปดแอร (โดยเฉพาะเมื่อรถมี สภาพไมด)ี 5. ตรวจเช็ ค ลมยางเสมอ การสึ ก เฉพาะ บริเวณกึ่งกลางของหนายาง หรือ OverInflation อันเนื่องมาจาก แรงดันลมยางที่ สูงกวาปกติ ทําใหสนิ้ เปลืองโดยใชเหตุ ไมควร เติมลมจนยางปลิน้

6. หากเปนไปได ลองเปลีย่ นเวลาทํางานเพือ่ หลีกเลีย่ งรถติด ไมควรใหปญ  หาการจราจร มาทํารายเงินในกระเปาคุณ 7. ไมควรติดเครื่องยนตทิ้งไวนานเกินควร หากอยูใ นสถานการณรถติดและไมมแี ผนวา จะไปไหนในอีก 5นาที ก็ควรดับเครือ่ งยนต 8. สําหรับรถใหมไมควรวอรมเครื่องนาน เกินไป เพราะรถไดรบั การเซ็ตมาใหวงิ่ ไดดใี น สภาพเครือ่ งเย็นอยูแ ลว 9. เมือ่ ใชเกียรตาํ่ ไมควรวิง่ ดวยความเร็ว 10. พยายามขับตามความเร็วทีก่ าํ หนด 11.พยายามเหยียบคันเรงอยางชา ๆ เมื่อ สัญญาณไฟจราจรเปนสีเขียว ขอใหคิดไว วารถขาง ๆ ไมไดแขงกับรถของคุณ รถที่ ออกตัวเร็วบริเวณสัญญาณไฟจราจรจะเสีย เชือ้ เพลิงมากกวา 12. ไมจาํ เปนตองเติมเชือ้ เพลิงราคาแพง ๆ เพราะรถสวนใหญถกู สรางมาใหใชไดกบั กาซ โซลีนไรสารอยูแ ลว เช็คกับคูม อื หรือปรึกษา ชางก็ได

13. ทําใหเครื่องยนตเดินเร็วขึ้นเทากับเสีย พลังงานเปลา และไมจําเปนตองเรงกอนจะ ดับเครือ่ ง 14. หากเปนไปได ไปทางเดียวกันควรใชรถคัน เดียวกัน เพราะเทากับเปนการแชรคา ใชจา ยใน การไปทํางานได 15. การเดิน ปนจักรยาน หรือวิ่งสามารถ ทําได 16. เมื่อราคาเชื้อเพลิงแพงมากก็อยาเพิ่ง เติม ควรรอใหราคาลดลงเสียกอน ยิ่งทูซี้ เติมก็ยงิ่ ทําใหบริษทั นํา้ มัน ทราบวายังไงคุณ ก็ยอมเสียเงิน 17. สุดทาย สําหรับการประหยัดเงินในกระเปา สตางค ก็คอื การเลือกซือ้ รถทีป่ ระหยัดนํา้ มัน 20 ไมลตอ แกลอน และ 40 ไมลตอ แกลอน ชวยประหยัดไดมากทีเดียว ขอบคุณขอมูลจาก : www.tsmotor.co.th

41

Energy#63_p40-41_Pro3.indd 41

1/27/14 8:59 PM


How To Rainbow

ผูอานมีโตะตัวเกาที่ใชจนเบื่อแลวบางมั้ยคะ ครั้นจะทิ้งแลวซื้อใหมก็เสียดายเงิน วันนี้เรามีไอเดียงาย ๆ ที่จะชวยเนรมิต โตะตัวเกาของผูอ า น ใหกลายเปนโตะตัวใหมทดี่ สู วยสดใสนาใชอกี ครัง้ หนึง่ ดวยวิธกี ารทําทีง่ า ยแสนงาย ใคร ๆ ก็สามารถทําได

เปลี่ยนโตะเกา ใหสวย เก ดวยมือเรา กอนอื่นเรามาเตรียมอุปกรณกันกอนคะ 1.เทปสติ๊กเกอรสีสันตาง ๆ 2.กรรไกร 3.กระดาษทราย 4.โตะเกาที่ยังมีสภาพการใชงานได

วิธีทํา

- ทําความสะอาดโตะใหเรียบรอย แลวขัดดวยกระดาษทรายใหเรียบ - จากนัน้ ใหตดิ เทปสติก๊ เกอรสสี ลับกันใหสวยงาม ไมจาํ เปนตองมีขนาดเสนสี ทีเ่ ทากัน สามารถสรางความแปลกตาดวยการติดเทปสีใหมขี นาดแตกตางกัน ไดตามใจชอบ สิง่ สําคัญ อยาลืมติดสติก๊ เกอรใหมาถึงขอบโตะดวยนะคะ เพือ่ ใหโตะดูสวย ทุกมุมมอง เพียงเทานี้ผูอานก็จะไดโตะตัวใหมโดยไมตองเสียเงินซื้อใหม เปนการประหยัดเงินในกระเปาไปในตัว

42

Energy#63_p42-43_Pro3.indd 42

1/15/14 9:36 PM


เมื่อเรามีเศษผาเหลือใช สีสดใสจะทิ้งไปก็กลายไปเปนขยะเสียเปลา ๆ ทางเราเลยมีไอเดียรเก ๆ ที่หยิบเอาเศษผามาทํา แผนรองจานสวนตัวสีสันสดใสที่มีชองสําหรับใสชอนสอม ตะเกียบ และทิชชู แบบ all-in-one ชวยสรางบรรยากาศในการ รับประทานอาหารใหเอร็ดอรอยและสนุกสนานยิ่งขึ้น แถมยังพกพาสะดวก สามารถนําออกมาใชไดทุกที่ทุกเวลาอีกดวย

เปลี ย ่ นเศษผ า มาเปนแผนรองจานสไตลหวาน หวาน

อุปกรณ

1. ผา ขนาด 33 × 43 เซนติเมตร จํานวน 2 ชิน้ 2. แผนใยสังเคราะห ขนาด 33 × 43 เซนติเมตร 3. ผาสําหรับตกแตง 4. เข็ม ดาย กรรไกร เข็มหมุด เตารีด

วิธที าํ

- ประกบดานถูกของผา 2 ชิน้ เขาหากัน ทับดวยแผนใยสังเคราะหแลวยึด ดวยเข็มหมุด - เย็บริมโดยรอบโดยเวนชองไวกลับชิน้ งาน 2 นิว้ - กลับชิน้ งานแลวเย็บหรือสอยปดชองทีเ่ วนไว - นําผาสําหรับตกแตงมารีดเก็บชาย - เย็บสอยสวนตกแตงติดกับชิน้ งาน สําหรับชองใสชอ นสอมตะเกียบ และ ทิชชู ใหเวนบริเวณดานบนไวสาํ หรับใส เพียงเทานี้เราก็สามารถมีแผนรองจาน ที่สวยไมซํ้าใคร นอกจากจะ ประหยัดเงินในกระเปาแลวยังชวยลดขยะอีกดวย ยังไงผูอ า นลองทํากัน ดูนะคะ (จาก : หนังสือ Sew Sweet หวาน หวาน งานผา)

43

Energy#63_p42-43_Pro3.indd 43

1/15/14 9:36 PM


Eco shop อภัสรา วัลลิภผล

กระเป าทํามือจากเส นใยธรรมชาติ

ดีไซน เก ทันสมัย ไม ต องกลัวตกเทรนด

ในปจจุบนั คนสวนใหญหนั มาใชของทีเ่ ปน มิตรกับสิง่ แวดลอมกันมากขึน้ ไมวา จะเปน เครื่องประดับตาง ๆ โดยเฉพาะกระเปา ที่ ผู  ผ ลิ ต หั น มาใช เ ส น ใยธรรมชาติ ม า เปนวัสดุหลักในการทําผลิตภัณฑ เชน ดวยกับ รานบัวผัด จังหวัดเชียงใหม ทีน่ าํ เสนใยธรรมชาติมาผลิตกระเปาโดย คํานึงถึงสิ่งแวดลอมเปนหลัก

จนเราพบวาผักตบชวา กระจูด (เปนพันธุ ไมจําพวกกก) ปาหนัน และปอ พืชพวก นี้สามารถนํามาทํากระเปาได เพราะดวย สรรพคุณทีม่ คี วามคงทน สวยงาม เหมาะทีจ่ ะ นํามาทํากระเปา ซึ่งก็ตรงตามความตองการ ของลูกคา เรียกไดวาแรงบันดาลใจที่หันมา ทํากระเปาจากเสนใยธรรมชาติมาจากความ ตองการของลูกคาลวน ๆ

ทางร า นบั ว ผั ด ไม ไ ด ข ายปลี ก เราเป น ผู  ผลิตและสงออกอยางเดียว โดยมีโชวรูม อยูที่เชียงใหม ลูกคาสวนใหญอยูประเทศ ญี่ปุน แถบยุโรป และตอนนี้ก็เริ่มมีลูกคา แถบตะวันออกกลางบางแลว สําหรับลูกคา คนไทยสวนใหญจะเปนเจาของธุรกิจดาน โรงแรมที่ ม าสั่ ง เพื่ อ แจกลู ก ค า ที่ ม าพั ก ใน โรงแรม

คุณวรพิต ไพจิตรกาญจนกุล เจาของราน บัวผัด จังหวัดเชียงใหม เผยวา กวา 20 ป แลวทีร่ า นบัวผัดดําเนินธุรกิจสงออกกระเปา จากเสนใยธรรมชาติ ซึ่งกอนหนานี้ทางเรา ทํากระเปาจากผาฝาย แตเนื่องจากลูกคา จากประเทศญี่ปุนมีความตองการอยากได กระเปาที่ผลิตจากเสนใยธรรมชาติ ทางเรา จึงศึกษาหาแหลงตนกําเนิดเสนใยธรรมชาติ ที่มีอยูตามภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศไทย

ขั้ น ตอนการทํ า กระเป า ของทางเรานั้ น ทําดวยมือทั้งหมด อาจจะเครื่องจักรเขามา ชวยในสวนของสายกระเปาทีท่ าํ จากหนังบาง สําหรับการออกแบบกระเปาแตละแบบนั้น เรามีการศึกษาแฟชัน่ จากสือ่ ตางประเทศและ ในประเทศดวย เพื่อใหแบบออกมามีความ ทันสมัย รวมทัง้ สีของกระเปาก็จะดูวา ในแตละป สีไหนมาแรง สีไหนตรงตามความตองการของ ลูกคา ตรงนีถ้ อื วาเปนจุดเดนของเรา

สินคาของรานบัวผัดถือวาสินคาที่มิตรกับ สิ่งแวดลอม ใชวัสดุจากธรรมชาติ รวมถึง กระบวนการผลิ ต ก็ ไ ม มี ม ลพิ ษ เพราะ สิ น ค า ทุ ก ชิ้ น เป น งานทํ า มื อ หากท า นใด ผ า นไปแถวจั ง หวั ด เชี ย งใหม ส ามารถไป ชมสินคาไดที่โชวรูม อําเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม หรือ ถาสนใจสั่งสินคา ติดตอไดที่ โทร. 08-1950-5923 ราคากระเปาเริ่มตน อยูประมาณ 200 - 800 บาทขึ้นไป

44

Energy#63_p44_Pro3.indd 44

1/16/14 8:42 PM


Energy#63_p45_Pro3.ai

1

1/23/14

4:49 AM


Exclusive อภัสรา วัลลิภผล

46

Energy#63_p46-47_Pro3.indd 46

1/28/14 3:05 PM


ปูนซีเมนตเอเชีย ผลิตไฟฟาจากลมรอน ปลอดมลพิษ เนนความปลอดภัย บริษัทปูนซีเมนตเอเชีย เปด โรงไฟฟาลมรอนขึ้น ณ โรงงานพุกราง จังหวัดสระบุรี มูลคา 1.3 พันลานบาท ถึงแมจะเปนโรงปูนที่เปดทําการโรงไฟฟาเกือบจะสุดทาย แตอยางไรก็ตาม โรงไฟฟาก็สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดถงึ 150 ลานกิโลวัตตตอ ชัว่ โมงตอป ทัง้ นีย้ งั คํานึงถึง ความปลอดภัยของเพือ่ นรวมงานเปนหลัก และถือวาเปนโอกาสดีทสี่ ามารถเห็นตัวอยางจาก โรงไฟฟาอื่น ๆ เพื่อนํามาปรับใชกับโรงไฟฟาของปูนซีเมนตเอเชียเอง

น อ ก จ า ก นี้ ท า ง บ ริ ษั ท ฯ ยั ง ไ ด  นํ า เ อ า เทคโนโลยีและเครื่องจักรอันทันสมัยมาใช ในการผลิตปูนซีเมนตเพื่อใหไดปูนซีเมนตที่ มีคุณภาพมาตรฐานสมํ่าเสมอ พรอมกันนี้ ไดติดตั้งระบบคอมพิวเตอรรุนใหม เพื่อใช ในการควบคุ ม การทํ า งานของเครื่ อ งจั ก ร ต า ง ๆ จากห อ งควบคุ ม กลาง ซึ่ ง ทํ า ให การผลิ ต มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ทางด า น สิ่ ง แวดล อ มนอกเหนื อ จากเรื่ อ งคุ ณ ภาพ ของผลิตภัณฑและบริการแลว ทางบริษัทฯ ยังไดใหความสําคัญในเรื่องของการรักษา คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มโดยรอบบริ เ วณที่ ตั้งโรงงานเปนอยางมาก โดยมีการตรวจ ติ ด ตามสิ่ ง ที่ อ าจก อ ให เ กิ ด มลภาวะตาม จุดสําคัญ ๆ ตาง ๆ เพื่อความมั่นใจวาจะ ไม มี ม ลภาวะที่ เ กิ ด จากโรงงานไปรบกวน ประชาชนที่อาศัยอยูรอบ ๆ บริเวณโรงงาน และชุ ม ชนใกล เ คี ย ง หลายป ที่ ผ  า นมานี้ บริษัทฯไดเนนถึงความสําคัญในการสราง ความรู  ค วามเข าใจเกี่ยวกับ ความรับผิด ชอบของพนักงานทุกคน ที่มีตอธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อ ม ทั้ ง ยั ง ได ทํ า การตรวจ ติดตามการปลอยทิ้งของเสียจากโรงงาน อยางตอเนื่อง และ จัดทํารายงานผานทาง ระบบการรายงานขอมูลกลางของบริษัทฯ ซึ่งการดําเนินงานดังกลาวนี้เปนไปตามขอ กําหนดในพิธีสารของสภาธุรกิจโลกเพื่อ การพัฒนาอยางยั่งยืน

คุณนภดล รมยะรูป กรรมการผูจัดการ ร ว มของบริ ษั ท ปู น ซี เ มนต เ อเซี ย จํ า กั ด (มหาชน) เผยวา การเปดโรงไฟฟาลมรอน ครั้งนี้เพื่อตองการบุคคลภายนอกเขาใจถึง กรรมวิธีการผลิตไฟฟาจากลมรอนที่มา จากกระบวนการเผาปูนเม็ดแทนที่จะปลอย ลมรอนเหลานี้ทิ้งออกไปสูบรรยากาศ กาซ รอนเหลานี้จะนํามาใชในการผลิตไอนํ้าใน หมอไอนํ้าและสงตอไปยังกังหันไอนํ้าเพื่อ ขับเคลื่อนเครื่องกําเนิดไฟฟาในการผลิต กระแสไฟฟา ซึ่งกรรมวิธีการผลิตไฟฟา ดั ง กล า วนี้ จ ะช ว ยลดต น ทุ น ในการผลิ ต พลั ง งานลงตามหลั ก การของพลั ง งาน ทดแทน ในขณะที่ ล ดการใช เ ชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิลใหเหลือนอยที่สุด อันเปนวิถีทางใน การพัฒนาพลังงานสะอาดซึ่งชวยลดการ ปลอยกาซเรือนกระจกไดเปนอยางดี ในสวนของขอดีและขอไดเปรียบการทีเ่ ปดตัว โรงไฟฟ า ช า กว า ที่ อื่ น นั้ น โดยปกติ แ ล ว หลักการในเรื่องของโรงไฟฟาลมรอนไมวา จะเปดชาหรือเร็วก็ถือวาเปนเรื่องดีอยูแลว ถาจะมองในมุมของผูที่มาทีหลังก็จะเห็นวา เรามีตัวอยางจากที่อื่น ใหเห็นเยอะ แลวเรา สามารถนํามาปรับใชใหโรงไฟฟาของเรามี ประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถคนหาขอมูล จากที่ อื่ น ๆ เพื่ อ มาเปรี ย บเที ย บในการ จัดทําโรงไฟฟาของเราใหมีประสิทธิภาพ มากกวาทีอ่ นื่ และสามารถผลิตกระแสไฟฟา ไดมากที่สุด และนอกเหนือจากการสราง โรงงานแลวเรายังนึกถึงในเรื่องของความ ปลอดภัยเปนหลัก ยิ่งในระหวางการทํางาน ของเพือ่ นรวมงานเรายิง่ ใหความสําคัญมาก

สําหรับตัวเครื่องจักรและเครื่องมือตาง ๆ พอเราเลือกไดแลว ทุกอยางจะเปนไปตาม กระบวนการ ถาถามวาจะมีการสรางเพิม่ อีก หรือไมนนั้ ตอนนีเ้ ราคงยังไมมกี ารสรางเพิม่ เพราะการสรางโรงไฟฟาลมรอนนั้นตองใช พื้นที่เยอะมาก แตเตาที่เรามีอยูนั้นถือวา ใหญทสี่ ดุ แลว ถาเราสรางในเล็กกวานีก้ จ็ ะไม สามารถผลิตไฟฟาได เราใชความรอนจาก การผลิตปูนมาผลิตเปนไฟฟา ถาเราสราง โรงไฟฟาขึ้นมาอีกความรอนที่ไดจากการ ผลิตปูนก็อาจจะไมพอทีจ่ ะไปใชผลิตไฟฟาได ดาน คุณโรเบอร โต กัลปลิเอรี กรรมการ ผูจัดการรวมของบริษัท ปูนซีเมนตเอเซีย จํ า กั ด (มหาชน) กล า วถึ ง กํ า ลั ง การ ผลิ ต และการเป ด ตลาดในกลุ  ม ประเทศ อาเซี ย นว า สํ า หรั บ โรงไฟฟ า ขนาด 21 เมกกะวั ต ต นี้ ส ามารถผลิ ต กระแสไฟฟ า ได 150 ลานกิโลวัตตตอชั่วโมงตอปโดย ไม ต  อ งใช พ ลั ง งานฟอสซิ ล ซึ่ ง จะช ว ยลด การกอใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซด ได 120,000 ตั น ต อ ป หรื อ เท า กั บ การปลู ก ตนไมทดแทนในพื้นที่ 150,000 ไร อยางไร ก็ ต าม ในขณะที่ ต ลาดในประเทศยั ง คง เป น สิ่ ง ที่ บ ริ ษั ท ให ค วามสํ า คั ญ ตลาดส ง ออกที่บริษัทใหความสนใจเปนลําดับตน ๆ คื อ พม า และกั ม พู ช า ด า นการลงทุ น ใน ภูมิภาคอาเซียน บริษัทมองวาการเกิดขึ้น ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเปนโอกาส ที่ จ ะผลั ก ดั น ให อุ ต สาหกรรมปู น ซี เ มนต เติบโตขึ้นและแสดงใหเห็นถึงความนาสนใจ ในเรื่ อ งโอกาสการลงทุ น ในภู มิ ภ าค

47

Energy#63_p46-47_Pro3.indd 47

1/28/14 3:05 PM


Exclusive Mr. T

48

Energy#63_p46-51_Pro3.indd 48

1/27/14 9:49 PM


CHOW ลุยลงทุน

โซลารเซลลที่ญี่ปุน 18 เมกะวัตต หลายบริษัทใหความสนใจดานพลังงานทดแทนไมวาจะเปนการลงทุนในประเทศไทย และตางประเทศโดยเฉพาะประเทศใน แถบอาเซียน และเอเชีย ในหลายประเทศที่มีศักยภาพเพียงพอและหนาลงทุน อยางเชนประเทศญี่ปุน มีหลายบริษัทของ ประเทศไทยที่เขาไปลงทุนในโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ลาสุด CHOW เปนอีกบริษัทที่ไดเขาไปลงทุนในประเทศ ญีป่ นุ สําหรับแนวทางการลงทุนในครัง้ นีเ้ ปนอยางไรนัน้ คุณ อนาวิล จิรธรรมศิริ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั เชาว สตีล อินดัสทรี้ จํากัด (มหาชน) หรือ CHOW ผูประกอบธุรกิจผลิตและจําหนายผลิตภัณฑเหล็กแทงยาว (Steel Billet) รายใหญ ของประเทศไดเปดเผยถึงการขยายธุรกิจพลังงานทดแทนประเภทพลังงานแสงอาทิตยวา กอนอื่นตองบอกวา CHOW เปนผูประกอบ ธุรกิจผลิตและจําหนายเหล็กแทงยาว (Steel Billet) คุณภาพระดับมาตรฐานสากลราย ใหญของไทย โดยผลิตภัณฑเหล็กตนนํ้า ของบริษทั ฯ ลูกคาสามารถนําไปแปรรูปเปน ผลิตภัณฑเหล็กตอเนือ่ งเพือ่ การกอสรางได หลายชนิด เชน เหล็กเสนกลม (Round Bar) และเหล็กขอออย (Deformed Bar) ซึง่ จะนํา ไปใชเปนวัสดุกอสรางหลักในอุตสาหกรรม การกอสรางตางๆ เชน การกอสรางบาน อาคารพาณิชย สะพาน เขื่อน ทางยกระดับ และอาคารสูง เปนตน สวนปจจัยที่ตัดสินใจในการลงทุนโครงการ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยโครงการแรก ทีป่ ระเทศญีป่ นุ นัน้ มองวามีโอกาสเติบโตทาง ธุรกิจอยางชัดเจน เนื่องจากรัฐบาลญี่ปุนได มีนโยบายปลดระวางโรงไฟฟานิวเคลียรที่ หมดอายุ และสนับสนุนการผลิตไฟฟาจาก พลังงานทดแทนซึ่งไดรับการสนับสนุนจาก รัฐบาลญี่ปุนเปนอยางดี รวมถึงไดรับการ ส ง เสริ ม การลงทุ น ทางด า นนี้ ข องสถาบั น การเงินตางๆ ประกอบกับ CHOW ไดศึกษา และเตรียมความพร อมสําหรับการลงทุน ในตลาดนี้มาพอสมควร ทั้งดานพันธมิตร ทีมงาน และบุคลากรตางๆ จึงทําใหสามารถ ขับเคลือ่ นธุรกิจไดทนั ทีทคี่ ณะกรรมการของ บริษัทมีมติอนุมัติโครงการดังกลาว โดย เม็ดเงินในการลงทุนจะมาจากเงินกูยืมจาก สถาบันการเงินเปนหลัก สวนที่เหลือบริษัท จะใชเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท คาดวาจะ สามารถคืนทุนไดประมาณ 9 ป ซึง่ การลงทุน ในครั้งนี้ก็เพื่อเสริมความแข็งแกรงใหกับ

กระแสเงินสดและเงินปนผลใหกับนักลงทุน ไดดีในระยะยาว สํ า หรั บ โครงการโรงไฟฟ า พลั ง งานแสง อาทิ ต ย ใ นประเทศญี่ ปุ  น นั้ น มี กํ า ลั ง การ ผลิต 18 เมกะวัตต คิดเปนมูลคาโครงการ ประมาณ 1,863.90 ลานบาท โดยบริษัท เชาว อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (CI) ซึ่งเปน บริษัทยอยของ CHOW เปนผูลงทุน และ ตั้งบริษัท พรีเมียร โซลูชั่น จํากัด ใหเปนผู ดําเนินการพัฒนาโครงการอยางครบวงจร ทั้งการจัดหาที่ดิน ใบอนุญาตตางๆ ที่จําเปน และเกี่ยวของกับการจําหนายไฟฟา แผง พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ตลอดจนอุ ป กรณ ต า งๆ และการกอ สร า งที่ เ กี่ ย วขอ ง เพื่ อ ทํ า ให ส ามารถพั ฒ นาโครงการพลั ง งาน แสงอาทิตย ไดตามที่บริษัท เชาว อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด ในฐานะผูวาจางไดกําหนด ไว ซึ่งปจจุบันโครงการโรงไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตย โครงการนี้ มีใบอนุญาตขาย ไฟฟ า ที่ ผ ลิ ต จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ใ ห แกการไฟฟาฯ ของประเทศญี่ปุนเรียบรอย แลว ที่ราคา 40 เยนตอหนวย เปนเวลา 20 ป ซึ่งคาดวาโครงการนี้จะเริ่มกอสราง ไดตั้งแตไตรมาส 1/2557 และแลวเสร็จใน ไตรมาส 3/2557 ทั้ ง นี้ หากเปรี ย บเที ย บกั บ การลงทุ น โครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยใน ประเทศไทยแลว จากการศึกษาขอมูลนั้น การลงทุ น ในประเทศญี่ ปุ  น จะคุ  ม ทุ น กว า เนื่องจากราคารับซื้อไฟฟาหากคิดเปนเงิน

ไทยก็จะไดประมาณ 12 บาทตอหนวยตอ อายุสัญญา 20 ป สวนการรับซื้อไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยของไทยนั้นเพียง 6 บาทรวมกั บ ค า ไฟฐานเป น 9.50 บาท ในระยะเวลา 10 ป ห ลั ง จากนั้ น ก็ จ ะเป น ราคารับซื้อปกติ ประกอบกับนโยบายของ รัฐบาลไทยดานโครงการพลังงานทดแทน ยังไมชัดเจนในเรื่องของการสนับสนุน แต การลงทุนในญี่ปุน สามารถมั่นใจไดวาการ รั บ ซื้ อ ไฟฟ า ค อ นข า งแน น อนผลิ ต ได เ ท า ไหรหนวยงานภาครัฐของญี่ปุนรับซื้อหมด ดานแผนการขยายโครงการนั้นตองพัฒนา โครงการที่มีอยูใหชัดเจนกอนหากมีโอกาส ก็พรอมที่จะขยายโครงการหรือเขาไปลงทุน ในโครงการใหมเพิ่ม อยางไรก็ตามการมุง ลงทุนในธุรกิจพลังงาน ทดแทนประเภทพลังงานแสงอาทิตยในครั้ง นี้ ก็ เ พื่ อ สานต อ ปณิ ธ านของคณะกรรม การบริษัทฯ ที่ตองการลงทุนในธุรกิจที่มี ศักยภาพ และกระจายความเสี่ยงไปสูธุรกิจ อืน่ รวมทัง้ กระจายความเสีย่ งไปตางประเทศ ประกอบกับโครงการพลังงานแสงอาทิตย เปนโครงการที่กอใหเกิดรายไดและกระแส เงินสดที่สมํ่าเสมอ สนับสนุนใหผลประกอบ การของบริษัทฯ เติบโตไดอยางแข็งแกรง และมั่นคงในอนาคต ซึ่งจะสรางมูลคาเพิ่ม ใหแกผูถือหุนในระยะยาว โดยคาดวาจะเห็น ความคืบหนาของธุรกิจอยางตอเนื่องตั้งแต ตนป 2557 เปนตนไป

49

Energy#63_p46-51_Pro3.indd 49

1/27/14 9:52 PM


Exclusive ณ ลาดพราว

50

Energy#63_p46-51_Pro3.indd 50

1/27/14 9:49 PM


เอ.พี . ฮอนด า เปดแผนสูองคกรแหงความยั่งยืนพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม

ไมใชเรื่องงายเลย ที่บริษัทหนึ่งบริษัทใดจะสามารถถือครองตลาดดานธุรกิจไดยาวนานกับการแขงขันที่คอนขางสูงและรุนแรงมา โดยตลอด การมองขามผานไปขางหนาเปนโจทยที่ตองทําการบาน การหาวิธีแกไขใหม ๆ ในเกมการชิงตําแหนงและรักษาความเปน ผูนําเปนเรื่องที่สําคัญ นี้คือจุดยืนที่ เอ.พี.ฮอนดา ตั้งเปาเอาไว เพื่อใหเปนองคกรแหงความยั่งยืนดวยการสรางสรรคผลิตภัณฑและ กิจกรรมตางๆเพื่อความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม

มร.จิอากิ คาโต ผูคุมบังเฮียนใหญแหงอาณาจักร บริษัท เอ.พี. ฮอนดา จํากัด ในฐานะประธานกรรมการบริหาร เปดถึงแผนของ บริษัทที่มองไปขางหนาไปอีก 3 ป กับแผนระยะกลางระหวางป 20142016 มุ  ง สู  ก ารเปน องคก รแหง ความยั่ ง ยื น ด ว ยการสรา งสรรค ผลิตภัณฑและกิจกรรมตางๆเพือ่ ความปลอดภัย และสิง่ แวดลอม ถึง แมวาปที่ผานมา ตลาดรถจักรยานยนต ไทยไดรับผลกระทบโดยตรง จากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว เริ่มจากภาคการสงออกที่ซบเซาในชวง ตนปสืบเนื่องมาจากภาวะแข็งตัวของคาเงินบาท กอนจะประสบกับ ปญหาความไมสงบทางการเมืองและความไมแนนอนของราคาสินคา เกษตรในชวงปลายป แผนดังกลาวมีมาตรการสําคัญในการขึ้นแทนผูนําดานความรับผิด ชอบตอสังคม ดานสิง่ แวดลอมไดผลักดันใหรา นผูจ าํ หนายฯพัฒนาสู การเปนรานกรีนดีลเลอร หรือศูนยบริการทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมทัว่ ทั้งประเทศ โดยตั้งเปาเพิ่มจํานวนจากเดิมที่มีอยู 540 แหงในปจจุบัน เปน 1,200 แหงภายใน 3 ป ในขณะเดียวกัน ยังไดเตรียมนําเทคโนโลยี เพื่อความปลอดภัย และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในระดับสูงมาใชให มากที่สุด ควบคูกับการมีจิตสํานึกที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับราน ผูจําหนายรถจักรยานยนตทั่วประเทศ ในการดําเนินการจัดการดาน สิง่ แวดลอมอยางเปนระบบและตอเนือ่ ง เพือ่ มุงสูการปนองคกรทีร่ ว ม ปกปองสิ่งแวดลอมโลก ดวยการลดของเสียและมลภาวะที่เกิดจาก

การดําเนินกิจกรรมใหเหลือนอยที่สุด ดําเนินกิจกรรมเพื่ออนุรักษ สภาพสิ่งแวดลอมและลดจํานวนการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด อยางตอเนื่อง สงเสริมการประหยัดพลังงานและการใชทรัพยากร ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ฝกอบรมใหความรู เผยแพรนโยบายและ กิจกรรมสิ่งแวดลอมของบริษัทฯ ใหกับพนักงานทุกคน ไดเขาใจและ ปฎิบัติรวมกัน ป 2014-2016 จะเปนปแหงการสรางแบรนดใหเปนที่รักและเปน ที่ยอมรับของสังคมไทย ผานการทํากิจกรรมและการสรางสรรค ผลิตภัณฑที่ใหความสําคัญในดานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม เปนหลัก เพือ่ นําไปสูเ ปาหมายของการกาวเปนองคกรแหงความยัง่ ยืน อยางแทจริง ทีผ่ า นมาไดมกี ารนําเทคโนโลยีหลากหลายมาใชในวงการ รถจักรยานยนตเมืองไทย มาวาจะเปนการติดตั้งเครื่องยนตระบบหัว ฉีด PGM-FI ชวยเพิ่มความประหยัดนํ้ามัน ระบบหยุดเครื่องยนต อัตโนมัติ Idling Stop System อันเปนเทคโนโลยีชนั้ สูงเพือ่ ประหยัด นํ้ามันและรักษาสิ่งแวดลอม หรือแมกระทั่งระบบสัญญาณกันขโมย กุญแจนิรภัยพรอมรีโมทคอนโทรล Anti-Theft Alarm with Respond Remote Key เพิ่มความปลอดภัยในเวลาจอด ฉะนั้นโจทยที่ทาทายกับตลาดในประเทศป 2014 ดวยยอดจําหนาย 1,400,000 คัน ที่บริษัทตั้งเปาคงไมใชเรื่องยากแตอยางไร

51

Energy#63_p46-51_Pro3.indd 51

1/27/14 9:49 PM


Energy#62_p73_Pro3.ai

1

12/18/13

10:38 PM

11.05-11.30 .


Special Report ณ อรัญ

หญาเนเปยรพืชพลังงานตัวใหม... อนาคตพลังงานไทย

หญาเนเปยรนนั้ มีการปลูกในประเทศไทยมากวา 30 ปสาํ หรับใชเลีย้ งสัตว แตภายหลังจากทีค่ ณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.)ไดมกี ารปรับเปาหมายของแผนพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ในระยะเวลา 10 ป (พศ. 2555 – 2564) โดยประเทศไทย ไดบรรจุการผลิตไฟฟาจากหญาเนเปยรลงในแผน 3,000 เมกะวัตต กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ไดเห็นความสําคัญของการสงเสริมการผลิตกาซชีวภาพจากหญาเนเปยรนํามาผลิตไฟฟา

ซึ่ ง ล า สุ ด การสรุ ป ความคื บ หน า ของการ สงเสริมนัน้ คุณประมวล จันทรพงษ อธิบดี กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน (พพ.) ไดเปดเผยถึงความคืบหนา วา “ภายในเดือนกุมภาพันธ 2557 นี้ จะ ดําเนินการลงนามสัญญาการสนับสนุนเงิน ลงทุนใหกับโครงการผลิตไฟฟาจากหญา เนเปยร 13 ราย ซึ่งมาจากการคัดเลือกตาม เกณฑทกี่ าํ หนด อาทิ ความพรอมดานเงินทุน เทคโนโลยี การถือครองถือทีด่ นิ ผานการคัด เลือก 11 ราย ดังนี้ 1.บริษัท เอ็นพี พาวเวอร จํากัด 2.บริษัท ไทยพีเอสเมกกะพาวเวอร จํากัด 3.บริษัท หวยลานไบโอแกส จํากัด 4.บริษัท พรีไซซ เพาเวอร โปรดิวเซอร จํากัด 5.บริษัท บิเทโก 53

Energy#63_p53-55_Pro3.indd 53

1/23/14 10:29 PM


(ประเทศไทย) จํากัด 6.บริษัท กรีนเอนเนอรจี จํากัด 7.บริษัท เอสเอ็มซี พาวเวอร จํากัด (มหาชน) 8.บริษัท สีคิ้ว ไบโอแกส จํากัด 9.บริษทั ยูเอซี เอ็นเนอรยี่ จํากัด 10.บริษทั นครสวรรค ดี เอส เอ็น จํากัด 11.บริษัท ไทย ไบโอกาซ เทคโนโลยี จํากัด สวนอีก 2 รายมาจากองคการสงเคราะหทหารผานศึก สําหรับการชวยเหลือของ พพ. นั้นจะใชเงินจากกองทุนเพื่อ สงเสริมการอนุรักษพลังงาน ที่ไดรับการจัดสรรประมาณ 700-800 ลานบาท ชวยเหลือผูลงทุนผลิตไฟฟา 13 ราย ผลิตไฟฟาแหงละ1 เมกะวัตต รวม 13 เมกะวัตต รายละไม เกิน 20% หรือวงเงินไมเกิน 20 ลานบาท โดยการลงทุนผลิต ไฟฟาจากหญาเนเปยรขนาด 1 เมกะวัตต จะใชงบประมาณ อยูที่ 100 ลานบาท ทั้งนี้การลงทุนนํารองทั้ง 13 แหงนั้นกระจายอยูในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง คาดวาผูลงทุนจะ สามารถผลิตไฟฟาและเริ่มขายเขาระบบผานการรับซื้อของ การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ไดปลายป 2557 ในอัตรารับ ซื้อไฟฟาระบบสนับสนุนเงินการผลิตไฟฟาตามตนทุนที่แท จริง Feed in Tariff 4.50 บาทตอหนวย อยางไรก็ตามใน การสนับสนุนการนํารองผลิตไฟฟาจากหญาเนเปยร 13 โรง 13 เมกะวัตตถือเปนการสาธิตเพื่อให กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงานสามารถนําผลการดําเนินการมา วิเคราะหถึงความคุมคาดานการลงทุนจากการกําหนดราคา Feed in Tariff 4.50 บาทตอหนวย และหากคุม ทุนก็จะดําเนิน การสงเสริมอยางจริงจังตอไป อยางไรก็ตาม พพ. มีความมั่นใจวาโครงการดังกลาวจะ ประสบความสําเร็จ และจะสามารถสงเสริมใหเกษตรกรและ เอกชนทั่วไปสนใจที่จะปลูกหญาเนเปยร ไดภายในป 2558 เพือ่ ใชเปนเชือ้ เพลิงพลังงานทดแทนในการผลิตไฟฟาไดตาม เปาหมายของกระทรวงพลังงานกําหนดไว สําหรับคุณสมบัตขิ อง หญาเนเปยรนนั้ มีอายุการปลูกตอรอบจะนานถึง 7 ป สามารถ ตัดขายไดปละ 5 ครั้ง ผลผลิตตอปอยูที่ 70 – 100 ตันตอ 1 ไรขึ้นอยูกับแตละสภาพพื้นที่และการดูแลบํารุงรักษา ทางด า น คุ ณ พรอรั ญ สุ ว รรณพลาย รองเลขาธิ ก าร กลุ  ม อุ ต สาหกรรมพลั ง งานทดแทน สภาอุ ต สาหกรรม แหงประเทศไทย ระบุวา “การสรางโรงไฟฟาชีวภาพโดยใช หญ า เนเป ย ร เ ป น เชื้ อ เพลิ ง นั้ น ต อ งคํ า นวณถึ ง ต น ทุ น

Energy#63_p53-55_Pro3.indd 54

1/23/14 10:29 PM


สูปที่ 3 – 4 ที่เคยไดผลผลิต 70 ตันตอไร ก็จะเหลือผลผลิตประมาณ 30 ตันตอไรและ ประสิทธิภาพการให กาซก็จะน อยลงตาม ดวย ฉะนั้นหากปลูกใหมจะชวยใหเกิดความ คุมทุนกวารอใหหญามีอายุครบ 7 ป ซึ่งการทดสอบไดใชหญาเลี้ยงสัตว 2.5 ตัน ตอวัน หมักในเครื่องผลิตกาซ “CowTec” สามารถผลิ ต ก า ซชี ว ภาพได 227.50 ลูกบาศกเมตร โดยมีปริมาณ CH4 55.7% ซึง่ สามารถเปลีย่ นเปนพลังงานไฟฟาได 423 กิโลวัตต หรือผลิต CBG ได 113 กิโลกรัม ตอวัน

หลายป จ จั ย ด ว ยกั น ทั้ ง เรื่ อ งการนํ า เข า เทคโนโลยีผลิตไฟฟาจากหญาเนเปยร ระบบ อุปกรณการหมัก อุปกรณระบบเก็บสต็อก วัตถุดิบ ตนทุนการรับซื้อหญา ตนทุนการ ตัดหญา ตนทุนการบํารุงรักษาเครือ่ ง ตนทุน การกอสรางโรงไฟฟา เปนตน ซึ่ ง หากคํ า นวณดู ต  น ทุ น ทั้ ง หมดเหล า นี้ แลว อัตรารับซื้อไฟฟาระบบสนับสนุนเงิน การผลิตไฟฟาตามตนทุนที่แทจริง Feed in Tariff 4.50 บาทตอหนวยที่การไฟฟา สวนภูมิภาครับซื้อนั้นไมคุมทุน เพราะหาก คํานวณคราวๆ หญาสด 1 ตันตอราคา 500 บาท สามารถผลิตไฟฟาไดประมาณ 200 หนวย หรือ 85% คิดเปนเงินประมาณ 800

Energy#63_p53-55_Pro3.indd 55

บาท เหลือเงินประมาณ 300 บาท หลังจาก หักตนทุนซื้อหญา ซึ่งเปนราคาที่ยังไมคิด ตนทุนคาเครื่อง อุปกรณตางๆ ฉะนั้นราคา ที่คุมทุนสําหรับการผลิตไฟฟาจากหญาเน เปยรนั้นตองอยูที่ประมาณ 6.50 บาทตอ หนวย อยางไรก็ตามหากรัฐบาลชวยเรื่อง งบประมาณ หรือมีการลดหยอนภาษีนําเขา เครื่องจักรอุปกรณโดยไมคิดรวมกับอัตรา รับซื้อไฟฟา มีการลดตนทุนวัตถุดิบ และ 6 เดือนมีการพิจารณาตนทุนใหมทกุ ครัง้ อัตรา รับซื้อไฟฟา 4.50 ตอหนวยถึงจะนาลงทุน ดานคุณสมบัตขิ องหญาเนเปยรจากผลการ วิจัยของกรมปศุสัตวนั้นหญาเนเปยรมีอายุ การปลูกนานถึง 7 ปก็จริง แตหลังจากเขา

สําหรับสายพันธุหญาเนเปยรที่ไดทดลอง ปลูกในประเทศไทย คือ พันธุป ากชอง 1 เปน หญาลูกผสมเนเปยรสายพันธุหนึ่ง ซึ่งเกิด จากการผสมขามพันธุระหวางหญาเนเปยร ยักษและหญาไขมุก เปนพืชอาหารสัตวที่มี ศักยภาพสูงทั้งในแงการใหผลผลิต และมี คุณคาทางอาหารสัตวดีตามที่สัตวตองการ เหมาะสําหรับใชเลี้ยงสัตว โดยเฉพาะสัตว เคี้ยวเอื้อง เชน โคนม โคเนื้อ กระบือ แพะ และแกะ ปจจุบันกรมปศุสัตว ไดสนับสนุน สงเสริมใหเกษตรกรปลูกกันอยางแพรหลาย ทั่ วประเทศไทย หญา เนเปยรสายพันธุนี้ มีอายุหลายปโตเต็มที่สูงประมาณ 4 เมตร มีระบบรากที่แข็งแรง แผกระจายอยูในดิน ดูดซึมนํ้าและปุยไดดี ลักษณะลําตนและทรง ตนตั้งตรง ปลูกขยายพันธุโดยใชทอนพันธุ ทั้งนี้ก็ตองติดตามกันดูวาภายในป 2558 โครงการนํารองผลิตไฟฟาจากหญาเนเปยร ของกระทรวงพลังงานจะประสบความสําเร็จ มากนอยแคไหนและจะสามารถชวยใหการ สงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน มีปริมาณเพิ่มขึ้นหรือไม

1/27/14 9:04 PM


Auto Update นัษรุต เถื่อนทองคํา

เทรนพลังงาน

“ไฮโดรเจน”

การเติมเต็มความฝนดานพลังงานของมนุษย เปนเรือ่ งทีส่ รางความตืน่ เตนใหกบั ผูท ตี่ ดิ ตาม ขาวสารกันอยางตอเนื่อง หลักใหญใจความ ของเรือ่ งนี้ เกิดขึน้ ก็เพราะมนุษยตอ งการทีจ่ ะ ดิน้ รนใหพน จากการหมดไปของพลังงานจาก ใตพิภพอยางปโตรเลียม หรือ นํ้ามัน นั้นเอง เมือ่ ปญหามา... ปญญาจึงเกิด อันทีจ่ ริงมนุษย เราก็ฉลาดที่จะหาทางออกไดอยางไมสิ้นสุด เชนกัน รถยนต … ตั ว การหลั ก และยั ง คงเป น จํ า เลย ตลอดกาลของการเผาผลาญปโตรเลียมบนโลก ให ห มดไป เพราะเป น อุ ป กรณ อํ า นวยความ สะดวกของมนุษยทแี่ ทบจะมีกนั อยูใ นทุก ๆ บาน แมจะใหเปรียบเทียบสัดสวนกับสิง่ อืน่ รูปแบบอืน่ ที่ มี ก ารใช นํ้ า มั น ในการขั บ เคลื่ อ น รถยนต ถือวาเล็กนอยมาก แตดวยหนวยหรือปริมาณ ของรถยนตที่มีอยูทั่วโลกนั้น ทําใหมีปริมาณ มหาศาลเลยทีเดียวในการผลาญนํา้ มันไปเปลา ๆ ในแตละวัน มนุษยจงึ ดิน้ รนไปพึง่ พลังงานรูปแบบอืน่ เพื่อที่จะทําใหลอของรถยนตหมุนไดเชนเดิม โดยพึง่ พานํา้ มันใหนอ ยทีส่ ดุ จนถึงไมใชเสียเลย ซึ่ ง เทรนที่ น  า จั บ ตาคื อ พลั ง งานไฮโดรเจน (Hydrogen, H2) ทีม่ คี า ของการกอมลพิษใหแก โลกเปนศูนย

56

Energy#63_p56-58_Pro3.indd 56

1/16/14 8:47 PM


หลายคําถามทีต่ ามมาคือ จะเปนไปไดหรือไม คํ า ตอบก็ คื อ เป น ไปได แ น น อน เพราะ วิ วั ฒ นาการของโลกทุ ก วั น นี้ เ กิ ด ขึ้ น ได ก็ เพราะมนุ ษ ย เ ป น คนรั ง สรรค ขึ้ น มา ซึ่ ง ผู  พัฒนารถยนตยนตยี่หอตาง ๆ มีความเห็น วาพลังงานไฮโดรเจน เปนแหลงพลังงานทีน่ า จับตา เพราะจะชวยใหการขับขี่ปลอดมลพิษ จากการเผาไหมของเครื่องยนต ที่สําคัญ แมจะใชตนทุนในการวิจัยและพัฒนาที่สูง แตก็คุมคากับการลงทุน และเชื่อวาเซลล พลังงานไฮโดรเจนสามารถแทนที่แบตเตอรี่ แบบเดิมได ในการขับเคลื่อนรถที่ใชไฟฟา ซึง่ นักวิจยั ทัว่ โลกใหความสนใจในการพัฒนา เซลล เ ชื้ อ เพลิ ง เนื่ อ งจากประสิ ท ธิ ภ าพ ของเซลล เ ชื้ อ เพลิ ง มี ค  า สู ง กว า อุ ป กรณ ผลิตไฟฟาแบบอื่นๆมาก ดังนั้นพลังงาน ไฮโดรเจนจึงเปนอีกทาง เลือกหนึง่ ทีส่ ามารถ นํามาใชทดแทนพลังงานดั้งเดิมได

กอนหนานี้ ไฮโดรเจน ไมไดถูกจับตามากนัก แตสําหรับปจจุบันถือ เปนทางเลือกที่ดี จนถูกหยิบยกใหเปนเชื้อเพลิงที่นาจับตาในอนาคต เนื่องจากไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเมื่อเกิดการเผาไหมกับกาซ ออกซิเจน ซึง่ ของเสียทีไ่ ดมเี พียงไอนํา้ เทานัน้ ซึง่ แตกตางจากเชือ้ เพลิง อืน่ ๆ ทีใ่ หกา ซคารบอนไดออกไซดเปนของเสีย ตนเหตุของสภาวะเรือน กระจก สงผลกระทบโดยตรงตอการทําใหโลกรอนขึ้น หากมีการพัฒนาไฮโดรเจนใหเปนที่แพรหลาย จนสามารถลดตน ในการผลิตได ก็จะนําเทคโนโลยีดังกลาวไปประยุกตใชกับงานที่ตองใช พลังงานแบบเดิมได ไมวาจะเปนการนํามาใชแทนเปนเชื้อเพลิงสําหรับ ครัวเรือน เครื่องยนตสันดาปภายใน เครื่องกังหัน และเครื่องไอพน ซึ่งคาพลังงานเชื้ อเพลิ งที่ไดจากไฮโดรเจนจะมากกวาคาพลั งงาน เชื้อเพลิงไฮโดรคารบอน และเชื้อเพลิงจากแอลกอฮอร อาทิ เมทานอล และเอทานอลถึง 2.5 และ 5 เทา

57

Energy#63_p56-58_Pro3.indd 57

1/21/14 9:08 PM


อยางที่กลาวไวขางตนวา ไฮโดรเจน เปน พลั ง งานเชื้ อ เพลิ ง สํ า หรั บ การเผาไหมที่ มี ประสิทธิภาพสูง สะอาด และเปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม จนไดรบั การคาดหมายและยอมรับ ว า จะเป น แหล ง ของพลั ง งานเชื้ อ เพลิ ง ที่ สําคัญอยางมากในอนาคต แตเปนเรื่องของ สัจธรรมวาไมมีอะไรที่ไดมางาย ๆ ปจจุบัน กระบวนการเปลี่ยนรูปสารไฮโดรคารบอน ด ว ยไอนํ้ า เป น กระบวนการที่ ใ หญ ที่ สุ ด สําหรับการผลิตพลังงานไฮโดรเจน

ปญหาหลักที่สําคัญมากของกระบวนการเปลี่ยนรูป คือ การปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ในปริมาณมากซึ่งเปนสาเหตุของสภาวะโลกรอนหรือปรากฏการณเรือนกระจก อีกทั้งยังประสบ ปญหาการแหลงของไฮโดรคารบอนยังไมเพียงพอที่นํามาใชในกระบวนการดังกลาว ทางออกที่ดี กวานี้ก็คือ การวิจัยและพัฒนากระบวนการอื่นซึ่งเปนทางเลือกใหมที่ปลอดภัย และสามารถผลิต พลังงานไฮโดรเจนไดอยางมีประสิทธิภาพกวานี้ เพื่อที่จะรองรับความตองการพลังงานไฮโดรเจน ที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งในภาคสวนของอุตสาหกรรมยานยนต โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ

58

Energy#63_p56-58_Pro3.indd 58

1/16/14 8:47 PM


Energy#62_p101_Pro3.indd 101

12/18/13 10:47 PM


Have To Know นองบูล… ตอบได

โลกของเราใบนี้ มีสิ่งมหัศจรรย ใหเราคนหามากมาย ทัง้ ทีค่ น พบแลวมาเปนเวลานับรอยปหรือวาพึง่ คนพบ ก็ตาม ซึง่ ลวนเปนสิง่ แปลกใหม และยิง่ เปนการคนพบ เพือ่ กอใหเกิดประโยชนตอ มวลมนุษยบนโลกนีแ้ ลวละก็ จะเปนสิ่งที่ถูกจับตาไปพรอมกับการวิจัยและพัฒนา ต อ ยอด เพื่ อ ให ไ ด มาซึ่งสิ่งที่ดีที่สุ ดสําหรับ มนุษ ย ซึ่ง สาหราย เปนอีกหนึ่งสิ่งที่มนุษยพึ่งคนพบเมื่อ ไมนานวาสามารถนํามาผลิตเปนนํ้ามันได

สาหราย กับการนํามาผลิตเปนนํ้ามันไมใช เรื่องใหมแตอยางไร แตก็มีการศึกษาและ พัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อใหเปนอีกทาง เลื อ กสํ า หรั บ การเติ ม เต็ ม ด า นพลั ง งาน ทดแทนของมนุ ษ ย เพื่ อ นํ า ไปเป น ส ว น ประกอบในการผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพสําหรับ อนาคต รองมาจาก ขาวโพดและถั่วเหลือง เพราะคุณสมบัติของสาหรายที่มีอยูทั่วไป สามารถใช ผ ลิ ต พลั ง งานทดแทนได โดย ไม จํ า เป น ต อ งใส ใ จในเรื่ อ งของพื้ น ที่ ห รื อ คุณภาพของนํ้าที่ใชในการปลูก ซึ่งเมื่อนํา มาสกัดเปนนํ้ามัน จะไดคาคารบอนที่เปน กลางและสามารถสกัดเปนเชื้อเพลิงชีวภาพ ไดอีกดวย แตตนเหตุที่ทําใหการพัฒนายัง ไมเปนที่สนใจมากนัก ก็เพราะระยะเวลาใน การเพาะเลี้ยงนานเกินไปนั้นเอง

จับสาหราย…

ใสถัง

มหากาพยเกีย่ วกับพลังงานสาหราย เกิดขึน้ มานานพอสมควรเมื่อกลุมนักวิจัยคนพบ วาสาหรายสามารถใชเปนวัตถุดิบในการ ผลิตเชื้อเพลิงได ป พ.ศ.2521 กระทรวง พลังงานสหรัฐฯ คนพบวา สาหรายสามารถ เปนวัตถุดบิ ในการผลิตกาซไฮโดรเจนได และ ชวงทศวรรษที่ 80 กระทรวงพลังงานสหรัฐฯ ไดมุงเนนที่จะใชนํ้ามันจากสาหรายในการ ผลิตนํ้ามันไบโอดีเซล เปนเชื้อเพลิงหลักใน การคมนาคม แตนโยบายดังกลาวกลับถูก ยกเลิกในป พ.ศ. 2539 เนื่องจากตนทุนที่ สูงเกินไปในกระบวนการผลิต และสายปาน ยังไมแข็งพอทีจ่ ะตอกรกับอุตสาหกรรมดาน ปโตรเลียมได แต ณ ปจจุบนั ดวยราคานํา้ มัน ที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทําใหโครงการที่ถูก พับเก็บกําลังกลับมาเปนที่สนใจอีกครั้ง

60

Energy#63_p60-61_Pro3.indd 60

1/27/14 9:55 PM


คุ ณ สมบั ติ ข องสาหร า ยคื อ การใช ก  า ซ คารบอนไดออกไซดและพลังงานจากดวง อาทิตยในการสังเคราะหแสง เพื่อใหไดสาร ทางชีวภาพ เมือ่ เปรียบเทียบกับพืชชนิดอืน่ สาหรายใหพลังงานมากกวา 6-12 เทา ซึ่ง สวนของสาหรายที่ใหพลังงานมากที่สุดคือ สวนทีส่ าหรายเก็บนํา้ ไวใชในการเจริญเติบโต และไมจําเปนตองสรางเซลลูโลสหรือลิกนิน เหมือนกับพืชชนิดอืน่ ซึง่ ภายในเซลลสาหราย ประกอบดวยสารอินทรียจําพวกไขมัน ที่มี ลักษณะคลายนํา้ มันพืชประมาณ 50% แลว แตสายพันธุ สวนทีเ่ หลือจะเปนแปงและนํา้ ตาล ขอดีของสาหรายกับความสามารถในการ เจริญเติบโตไดในบอเพาะปลูกและในสระที่ เปดใหอากาศผานระบายได แตพืชชนิดอื่น จะเจริญเติบโตในสระที่เปดใหอากาศผาน เพียงอยางเดียว และลักษณะโครงสรางทาง ชีวภาพของสาหราย ที่เปนจุดเดนที่ทําให

สาหราย ไดรับความนิยม เชน สวนประกอบ ทีเ่ ปนนํา้ มันของสาหราย ผลผลิตหรือลักษณะ อื่นๆ ความทนตอสภาวะแวดลอมที่มีปจจัย ของความเปนกรดและดางและความทนตอ นํา้ ทีม่ รี ะดับความเค็มทีต่ าํ่ ถึงระดับความเค็ม ที่มากกวานํ้าทะเล ถึงแมวา จะเปนพืชที่มีการเติบโตในสภาพ ที่ไมยุงยากมากนัก แตกลุมนักวิจัยมีความ จําเปนตองคํานึงถึงคาใชจายเปนอันดับแรก เชน ถาจําเปนตองใชแสงอาทิตยในการผลิต ใหไดปริมาณสาหรายที่มาก ก็จําเปนตอง ลงทุนซื้อพื้นที่สําหรับเพาะปลูกมาก เพื่อ ขยายบริเวณทีจ่ ะรับแสงใหมากขึน้ ตาม รวม ถึงรายจายดานเครือ่ งกล และการปฏิบตั กิ าร ซึ่งมีความเสี่ยงทางดานการลงทุนที่สูงมาก ฉะนั้นจึงไมตองสงสัยเลยวาทําไม โครงการ ผลิตนํา้ มันจากสาหรายจึงไมเปนทีแ่ พรหลาย เทาทีค่ วร 61

Energy#63_p60-61_Pro3.indd 61

1/27/14 9:56 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

HONDA FCEV ตนแบบไฮโดรเจน วิง่ ไกล เติมเร็ว

เทคโนโลยีในปจจุบนั มีการแขงขันทีค่ อ นขางสูงในทุกภาคสวน และ ทุก ๆ รูปแบบของการดําเนินชีวติ ของมนุษย เพือ่ ทีจ่ ะตอบสนองความ ตองการและกาวขามขีดความสามารถจากทีไ่ ดแตฝน ใหกลายเปนสิง่ ทีเ่ ปนไปได ลาสุดคายฮอนดา จากแดนปลาดิบไดทาํ การเปดตัวรถ ตนแบบ ทีไ่ มไดพงึ่ พานํา้ มันเชือ้ เพลิงรูปแบบเดิม ๆ แตหนั มาใหความ สําคัญการการขับเคลือ่ นดวยพลังงานไฮโดรเจน กับดีกรีเติมเชือ้ เพลิง เพียง 5 นาที แตสามารถเดินทางไดระยะทางเกือบ 500 กิโลเมตร

ตองยอมวาในประเทศที่พัฒนาแลว เรื่องของการ แขงขันดานเทคโนโลยีเปนเรือ่ งทีใ่ กลตวั และเปนเรือ่ งที่ ประเทศเหลานัน้ ใหความสําคัญ โดยเฉพาะการแขงขัน ดานยานยนต ซึง่ เจาแหงเทคโนโลยีในแถบทวีปเอเชียนัน้ ตองยกใหกบั คายรถยนตจากประเทศญีป่ นุ ทีไ่ มเปนสอง รองใคร แมกระทัง่ ประเทศในแถบยุโรปเอง ยังแอบ ๆ มาศึกษาเทคโนโลยีจากดินแดนปลาดิบแหงนีด้ ว ยซํา้

62 62

Energy#63_p62-63_Pro3.indd 62

1/28/14 4:27 PM


และก็เปนเชนนั้น เมื่อคายรถยนตฮอนดา เป ด ตั ว รถต น แบบรุ  น ล า สุ ด ภายใต ชื่ อ HONDA FCEV ซึ่งถือเปนยานยนตที่ขับขี่ ดวยพลังงานปลอดมลพิษแหงอนาคต โดย ใชพลังงานไฮโดรเจนในการขับเคลื่อน อันที่ จริงพลังงานไฮโดรเจน เปนพลังงานทีผ่ ผู ลิต รถยนตทั่วโลกตางใหเห็นวา หากทั่วโลกให มาสนใจพลังงานไฮโดรเจนมากกวานี้ นาจะ เปนผลดีตออุตสาหกรรมยานยนตและดาน พลังงาน ถึงแมวาปจจุบันการวิจัยรถยนตที่ ใชระบบดังกลาวจะไมเปนที่รูจักมากนักและ มีตนทุนที่สูงในการวิจัย แตก็เชื่อวาในระยะ ยาว จะเปนการลงทุนที่คุมคาอยางแนนอน

การเติมเชือ้ เพลิงแลว ถือเปนรถตนแบบทีน่ า สนใจไมนอ ย ซึง่ หลักการทํางานของ HONDA FCEV ทีใ่ ชเชือ้ เพลิงไฮโดรเจน จะนําไฮโดรเจน และออกซิเจนมารวมกัน เกิดเปนปฏิกิริยา ภายในกอใหเกิดกระแสไฟฟาสําหรับการขับ เคลื่อนมอเตอร ไฟฟาที่ทําหนาที่แทนเครื่อง ของรถยนตในปจจุบนั เมือ่ เปนเชนนีร้ ถยนต พลังงานไฮโดรเจนจึงสามารถวิง่ ไดระยะทาง มากกวากวารถไฟฟาแบบทั่วไปประมาณ 5 เทา แตขอ เสียทีเ่ หลือทิง้ จาก FCEV และ

สหรั ฐ อเมริ ก ามี ก ารผลิ ต ไฮโดรเจนเป น จํานวนมากและมีแหลงทรัพยากรทีส่ ามารถ สกัดไฮโดรเจน รวมถึง กาซธรรมชาติ นํ้า และชีวมวลจากภาคการเกษตรกรรมตาง ๆ ฉะนั้ น เรื่ อ งของการขาดแคลนไฮโดรเจน ยังเปนเรื่องที่ไกลตัว แตสิ่งที่ใกลตัวที่สุด คงเปนเรื่องของงบประมาณในการวิจัยและ พัฒนา รวมถึงราคาของตัวรถเองทําใหรถยนต ประเทศนี้ ยั ง อยู  แ ต ใ นประเทศที่ มี พื้ น ฐาน ทางเศรษฐกิจที่ดีอยูเทานั้น

รถยนตพลังงานไฮโดรเจนก็คอื หยดนํา้ และ ไอนํา้ เทานัน้

TRU 140S แตเชื่อวา ดวยสถานการณ ที่เชื้อเพลิงพื้น ฐานอยางนํ้ามันดิบกําลังจะหมดไปบวกกับ ราคาทีถ่ บี ตัวสูงขึน้ จะบีบบังคับใหโลกหันมา ใหความสําคัญกับเทคโนโลยีไฮโดรเจนอยาง ไรซงึ่ เสียงคัดคาน และ HONDA FCEV ก็จะไม ใชเพียงรถยนตแนวคิด แตจะมีรถรูปแบบนี้ จากคายรถยนตรายใหญ ๆ ใหเราเห็นมากขึน้ มากขึ้น และมากขึ้นอยางแนนอน

HONDA FCEV รถตนแบบรุนลาสุดคันนี้ ขับเคลือ่ นดวยเซลลพลังงานไฮโดรเจน เปน รถยนตแหงอนาคตสําหรับการขับเคลื่อน แบบปลอดมลพิษ ที่ตองกลาวเชนนี้เพราะ กระบวนการกอใหเกิดมลพิษในรถทีใ่ ชระบบนี้ จะมีอัตราการปลอยมลพิษเทากับ 0% หรือ จะเรียกวาใชพลังงานไฟฟาเปนหลักก็วาได แต จ ะมี ค วามแตกต า งจากรถไฟฟ า ที่ ใ ช แบตเตอรี่ทั่วไปคือ เปนรถที่สามารถผลิต ไฟฟาไดเองแบบเต็มระบบ ขอดีของการผลิตไฟฟาขึน้ มาเองตอการเติม เชื้อเพลิงหนึ่งครั้ง ทําใหรถคันนี้สามารถวิ่ง ไดระยะทางเกือบ 500 กิโลเมตร กอนทีจ่ ะมี การเติมเชื้อเพลิงครั้งใหม ซึ่งใชเวลาเพียง 5 นาที แนนอนวามีความแตกตางจากรถยนตที่ ใชพลังงานไฟฟาเพือ่ ขับเคลือ่ นจากแบตเตอรี่ ทีต่ อ งใชเวลาคอนขางนานหลายชัว่ โมงในการ ชารจแบตเตอรี่หนึ่งครั้ง หากนํามาเปรียบ เทียบในเรื่องระยะทางการวิ่งกับระยะเวลา

ทัง้ นี้ นอกจากการคายรถยนตจากฝง เอเชีย แล ว เทคโนโลยี ไ ฮโดรเจนเป น โครงการ สํ า คั ญ ที่ ทั่ ว โลกจั บ ตาถึ ง ความเป น ไปได ทีม่ เี ปาหมายเพือ่ สงเสริมเทคโนโลยีดงั กลาว ใหเปนที่รูจักอยางแพรหลาย ซึ่งในประเทศ

63 63

Energy#63_p62-63_Pro3.indd 63

1/28/14 4:27 PM


Energy Concept อภัสรา วัลลิภผล

นศ.วิศวกรรมพลังงาน วทส. คิดคนนวัตกรรมพลังงานทดแทน ในยุคพลังงานมีราคาแพงและปญหาสภาวะโลกรอน ทุกประเทศทัว่ โลกตางพยายามแสวงหาแหลงพลังงานทดแทนใหม ๆ และวิธใี นการใชพลังงานทีม่ อี ยูใ หเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในปจจุบนั การใสใจในเรื่องสิง่ แวดลอม การใชพลังงานหมุนเวียนหรือ พลังงานสะอาด ไมใชเปนหนาที่ของภาครัฐหรือหนวยงานราชการเทานั้น แตเปนหนาที่ของประชาชนทุกคนที่มีจิตสํานึกในการ รวมกันลดและบรรเทาผลกระทบจากสภาวะโลกรอนที่กําลังเผชิญอยูในปจจุบัน

จะเห็นไดวา เตาหุงตมเปนอีกหนึ่งอุปกรณ พื้ น ฐานที่ แ ทบทุ ก ครั ว เรื อ นจะต อ งมี ไม วาจะเปนครอบครัวใหญหรือเล็ก ในเมือง หรือชนบท ที่อาจจะแตกตางกันก็คงเปน ในเรื่องพลังงานหรือเชื้อเพลิง ซึ่งอาจเปน กระแสไฟฟ า ก า ซแอลพี จี ถ า นไม ห รื อ ชีวะมวลประเภทตาง ๆ แมวาเตาหุงตมใน ป จ จุ บั น จะถู ก พั ฒ นาให ทํ า งานได อ ย า งมี ประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน แตเมื่อ นํ า ไปใช ง านก็ ยั ง คงมี ค วามร อ นส ว นหนึ่ ง สูญเสียไปกับสภาพแวดลอม และยังไมได ถูกนํามาใชใหเกิดประโยชน

นางสาวอภิญญา วิวฒ ั นเบญจกุล นักศึกษา สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมพลั ง งาน วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ส ยาม กล า วถึ ง การประดิ ษ ฐ นวัตกรรมชิ้นนี้วา การประดิษฐนี้มีจุดมุง หมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเตาหุงตม และ ผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งจะเปนการพัฒนารูป แบบการอนุรกั ษพลังงานจากสิง่ รอบตัว และ การใชพลังงานที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด ที่สําคัญยังสามารถลดภาระคาใชจายดาน พลังงานใหกับครัวเรือน แตยังสามารถใช เปนแหลงพลังงานไฟฟาสําหรับอุปกรณ ไฟฟาขนาดเล็ก เชน โทรศัพทเคลื่อนที่ วิทยุ

ดวยเหตุนที้ าง นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรม พลังงาน วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม จึงได คิดคนนวัตกรรมชวยลดวิกฤตดานพลังงาน สําหรับครัวเรือน เพือ่ รักษาสิง่ แวดลอม และ ประหยัดคาแกสแอลพีจี ในครัวเรือน โดยให ชื่อวา “อัคนี 1” ซึ่งนวัตกรรมนี้จะชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพใหกับเตาหุงตมในครัวเรือน ชวยใหประหยัดเชื้อเพลิงหรือแกสแอลพีจี ได สู ง สุ ด ถึ ง 30 เปอร เ ซ็ น ต และในขณะ เดียวกันสามารถนําเอาพลังงานความรอน เหลื อ ทิ้ ง มาใช ผ ลิ ต กระแสไฟฟ า สํ า หรั บ อุปกรณ ไฟฟาขนาดเล็ก และหลอดไฟแอล อีดี ได โดยในขณะนี้ไดสรางเครื่องตนแบบ สําเร็จแลว และวางแผนที่จะพัฒนาตอไปให เหมาะกับการใชงานในครัวเรือน เพื่อลดคา ใชจายในเรื่องแกสหุงตมและชวยชาติในการ ประหยัดพลังงานอีกทางหนึ่ง 64

Energy#63_p64-65_Pro3.indd 64

1/27/14 9:59 PM


เครือ่ งมือสือ่ สาร หรือชารตแบตเตอรีข่ นาดเล็กสําหรับโคมไฟฉุกเฉิน หรือไฟฉาย โดยเฉพาะในพื้นที่หางไกล ทุรกันดารไฟฟายังเขาไมถึง การประดิษฐนี้ชิ้นนี้จึงเปนการตอยอดเทคโนโลยีดานการใชประโยชน จากพลังงานทดแทนทีส่ าํ คัญยิง่ และเปนอีกทางเลือกในการแกปญ  หา วิกฤติดานพลังงานในอนาคต ซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนไดจริง

ดานของอุปกรณเทอรโมอิเล็กทริก ซึง่ จะทําใหไดไฟฟากระแสตรงและ แรงดันไฟฟาออกมา กอนทีจ่ ะนําพลังงานไฟฟาดังกลาวไปประยุกตใช ใหเกิดประโยชนในรูปแบบตาง ๆ ดังนั้น จึงเทากับวาเปนการประหยัด เชือ้ เพลิงและใชประโยชนจากความรอนเหลือทิง้ มาใชผลิตกระแสไฟฟา ในเวลาเดียวกัน

ดาน นายเฉลิมเดช พินจะโปะ นักศึกษาสาขาวิศวกรรมพลังงาน วิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม กลาวเพิ่มวา อุปกรณเพิ่มประสิทธิภาพเตาหุงตม ครัวเรือนและผลิตกระแสไฟฟา ประกอบไปดวยสวนประกอบสําคัญ คือ อุปกรณบงั ลม ซึง่ จะทําหนาทีก่ กั เก็บพลังงานความรอนและปองกัน การสูญเสียพลังงานความรอนสูสภาพแวดลอม และชุดที่สอง คือ เครื่องกําเนิดไฟฟา โดยจะประกอบไปดวยคลีบโลหะรับความรอน ซึ่งถูกติดตั้งอยูภายในชุดบังลมทําหนาที่รับเอาพลังงานบางสวนจาก ภายในเตา สงผานขอตอนําความรอนออกสูนอกชุดบังลมไปยังผิว สัมผัสของอุปกรณเทอรโมอิเล็กทริก โดยผิวสัมผัสอีกดานหนึ่งของ ของอุปกรณเทอรโมอิเล็กทริก ซึง่ อยูภ ายนอกของชุดบังลมจะถูกเชือ่ ม ตอกับคลีบโลหะอีกชุดหนึ่ง ซึ่งทําหนาที่ระบายความรอน และที่คลีบ โลหะเพื่อระบายความรอนภายนอก ที่ถูกครอบดวยฝาครอบปองกัน ซึ่งติดตั้งพัดลมระบายความรอนขนาดเล็ก ทําหนาที่ชวยระบายความ รอนใหกับคลีบโลหะระบายความรอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ผลิตกระแสไฟฟาของอุปกรณเทอรโมอิเล็กทริก ทั้งนี้ อาศัยปรากฏ การณซีเบ็คซึ่งเกิดขึ้นจากอุณหภูมิผิวสัมผัสที่แตกตางกันในแตละ

ผู  ที่ส นใจสอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ที่ สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรม พลังงาน วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม โทร. 0-2878 -5035 หรือ ฝายแนะแนวและประชาสัมพันธ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เลขที่ 46 ถนนจรัญสนิทวงศ แขวงทาพระ เขตบางกอกใหญ กรุงเทพฯ 10600 โทร.0-2878- 5001-3 www.siamtechu.net

65

Energy#63_p64-65_Pro3.indd 65

1/27/14 9:59 PM


Energy Loan กรีนภัทร

ธนาคารกรุงเทพ เพิ่มทางเลือกใหม

ดวยสินเชื่อบัวหลวงกรีน วงเงินสูงสุด 1 ลบ. ธนาคารกรุงเทพเปนอีกธนาคารหนึ่ง ที่คํานึงถึงการใชพลังงานอยางคุมคา จึงไดเปดสินเชื่อบัวหลวงกรีน เพื่อเพิ่ม ทางเลื อ กใหม สํ า หรั บ ผู  ป ระกอบการ ธุ ร กิ จ ทุ ก ขนาดและทุ ก ประเภทที่ ต อ งการลงทุ น เพื่ อ การประหยั ด และ เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน หรือ การผลิตสินคาทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม

สิ น เชื่ อ บั ว หลวงกรี น ให ด อกเบี้ ย ตํ่ า ใน อัตรา MLR ตอป หรือตํ่ากวา สามารถ ขอกูในวงเงินตั้งแต 1 ลานบาทขึ้นไป โดย ไมจาํ กัดวงเงินกูส งู สุด และไดรบั การยกเวน คาธรรมเนียมการจัดการสินเชื่อ 0.25% ของวงเงิ น ที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ ทั้ ง นี้ ธ นาคาร จะพิ จ ารณาระยะเวลาการกู  ต ามความ เหมาะสมของแตละโครงการดวย

สินเชื่อบัวหลวงประหยัดพลังงาน มีอัตรา ดอกเบี้ยตํ่า เหมาะสําหรับธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย อ มในการลงทุ น สํ า หรั บ การ ปรับปรุงอุปกรณและเครื่องจักรในโรงงาน ตลอดจนการปรับสภาพทางกายภาพของ กิจการเพือ่ ประโยชนในการประหยัดพลังงาน หรื อ นํ า ผลิ ต ผลทางการเกษตรหรื อ วั ส ดุ เหลือใชหรือนํ้าทิ้งมาใชเพื่อมาผลิตพลังงาน ทดแทนนํ้ามัน สามารถขอกูในวงเงินจํานวน ตั้งแต 1 ลานบาทขึ้นไป โดยไมจํากัดวงเงินกู สูงสุด ระยะเวลาผอนชําระ 3-7 ป

นอกจากทางธนาคารกรุงเทพจะมีสินเชื่อ บัวหลวงกรีนแลว ทางธนาคารยังเปดสินเชือ่ บัวหลวงประหยั ดพลังงานเพื่อสนับสนุน ผูประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาด ย อ มลงทุ น ที่ ต  อ งการประหยั ด พลั ง งาน และลดตนทุน และกําลังอยูในภาวะกดดัน เรื่องพลังงานที่ทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น ผูที่สนใจขอบริการทั้งสองสินเชื่อนี้สามารถ ก็สามารถติดตอสอบถามในสวนของสินเชือ่ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ธนาคาร บัวหลวงประหยัดพลังงานไดเชนกัน กรุงเทพทุกสาขา หรือ บัวหลวงโฟน โทร.1333 66

Energy#63_p66_Pro3.indd 66

1/16/14 9:02 PM


Energy#63_p67_Pro3.ai

1

1/28/14

8:42 PM


Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ขอเกาะกระแสการปฏิรูปประเทศไทย ไมใหตกเทรนด ขอยายแผงลอยแบกะดิน ของพลังงานชุมชนมาสูอ อ มอกผูใสใจ พลังงานทดแทนทัง้ ภาครัฐและเอกชน ขาวการออกสือ่ ของหลาย ๆ องคกร ทีใ่ ชคาํ วา “พลังงานชุมชน” ชวยสราง ภาพลักษณ โดยภาครัฐพยายามตอบ สังคมวาไมไดลมื ชุมชน สวนภาคเอกชน ทีใ่ ชทรัพยากรของชาติหรือใชพลังงาน เปนตนทุนหลักในธุรกิจ ก็พยายาม ตอบสังคมวา องคกรมีการตอบแทน สังคมอยางคุมคา ที่กลาวมานี้เปน เรื่องดี “ถาจริงใจจะพัฒนา” ชุมชน จะไดรับการปฏิรูป เปลี่ยนจากฝาย รองรับมาเปนฝายไดรบั บาง โดยไมตอ ง แสดงศักยภาพในรูปแบบอืน่ ๆ

พลังงานชุมชน CSR ของรัฐ หรือพัฒนาชุมชน พลังงานชุมชน คําทีย่ งั อยูใ นหุบเหวลึกสําหรับคนทัว่ ๆ ไป ที่ จ ะเข า ใจอย า งแท จ ริ ง ถึ ง แม พ ระราชกรณี ย กิ จ ของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวตลอดระยะเวลายาวนาน จะมุงเนนในเรื่องนี้ ซึ่งคนทั่ว ๆ ไปจะรูแตที่ไป (OutputOutcome) ของพลังงานชุมชน แตไมคอยรูที่มา (Input) ของพลังงานชุมชนเทาใดนัก บางทานอาจคิดวา การ บริจาคหรือสงงบประมาณไปใหก็จบแลว…แตอยากจะ ขอบอกกลาววา กี่รอยกี่พันลานแลวที่สงออกไปทั้งในรูป เครื่องจักรอุปกรณและงบประมาณ ผลก็ยังปรากฏอยาง ที่เห็น ชุมชนหลายหมูบานหางจากกรุงเทพมหานครแค 300 กวากิโลเมตร ไมมไี ฟฟาใช นอกจากนีช้ มุ ชนตาง ๆ ที่ พยายามสรางพลังงานใชเองทั้งนํ้ามันเชื้อเพลิงและไฟฟา โดยที่ไมเคยมีโอกาสสัมผัสงบประมาณเงินลานเลย แต นักวิชาการสวนหนึ่งไดงบประมาณวิจัยดานพลังงานปละ นับสิบลาน เพียงเพื่อนําผลงานมาปรับวุฒิทางวิชาการ เทานั้น และนี่คือเวลาที่จะตองปฏิรูปพลังงานชุมชน

พลังงานชุมชนหมายถึงอะไร มีนกั วิชาการบัญญัตศิ พ ั ทไวมากมาย แบบอานแลวตอง แปลอีกครัง้ จึงจะเขาใจ ผูเ ขียนจึงขออธิบายจากภาพจริงทีม่ องเห็นเปนรูปธรรม ดังนี้ พลังงานชุมชน ก็คอื พลังงานทีค่ นในชุมชนมีสว นรวมในการสราง จัดหา หรือดําเนินการ เชน พลังงานไฟฟาและพลังงานเชื้อเพลิง เพื่อใชเปนพลังงานภายในชุมชน โดย อาจไดรบั การสนับสนุนจากองคกรภายนอกชุมชน และเพือ่ ความยัง่ ยืนของโครงการ ชุมชนนัน้ ๆ ตองมีสว นรวมอยางจริงจังในการสรางพลังงาน ตลอดจนการสรางเครือขาย ภายในชุมชนรวมกับชุมชนอืน่ ซึง่ เรียกวา เครือขายชุมชน หากชุมชนใดเอาแตแบมือ ใชสิทธิ์ขอการอุดหนุนจากภายนอกแตเพียงอยางเดียว พลังงานชุมชนนั้น ๆ มักไม ยั่งยืน ซึ่งพลังงานชุมชนมีมากมายจนคาดไมถึง อยูที่วาจะพัฒนาตอยอดใหเพียง พอและพอเพียงอยางใด พลังงานชุมชน หากมองในรูปของเทคโนโลยีก็ไมแตกตาง จากภาคธุรกิจพลังงานแตอยางใด หากแตมที มี่ าทีไ่ ปและขนาดของโครงการไมเทากัน เชน การหมักกาซชีวภาพ การผลิตไฟฟาและความรอนจากชีวมวล การใชพลังงาน นํ้า การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากพืชโดยใชวัตถุดิบ (Feedstock) ของชุมชน ซึ่ง มาจากเศษเหลือทิ้งและของเหลือใชจากภาคเกษตรกรรมเปนสวนใหญ นอกจากนี้ ชุมชนยังใหความสนใจดานเตาหุงตมที่มีประสิทธิภาพสูง ประหยัดเชื้อเพลิง และ

68

Energy#63_p68-69_Pro3.indd 68

1/15/14 9:41 PM


กาวหนาไปถึงการผลิต Gasifier เปนการ เผาไหมแบบควบคุมอากาศ ซึ่งจะลดการใช เชื้อเพลิงและสามารถนํากาซเชื้อเพลิงมา ผลิตไฟฟาไดอีกดวย งานมหกรรมพลังงาน 2556 ระหวางวันที่ 14-19 ธันวาคม 2556 ณ ศูนยการคาสยาม พารากอน มีพลังงานชุมชนพันธุแท ฝมือ พลังงานจังหวัดและชุมชนรวมกันมาแสดง มากหนาหลายตา ขอยกตัวอยางมาใหทาน ผูอ า นเขาใจพลังงานชุมชนมากขึน้ อยางนอย รูวาพลังงานชุมชนไมไดมีแคในทีวีเพื่อ CSR องคกรเอกชนหรือภาครัฐเทานั้น 1.วิสาหกิจชุมชน ยะลาไบโอดีเซล เปนการ รวบรวมนํ้ามันพืชใชแลวจากครัวเรือนมา รวมกันและผลิตไบโอดีเซลชุมชน นอกจาก จะได นํ้ า มั น ไบโอดี เ ซล B100 ไว ผ สมกั บ นํ้ามันดีเซลพื้นฐาน เพื่อใชกับเครื่องจักรกล ทางการเกษตรแลว ยังมีผลพลอยไดเปน นํ้ายาเคลือบเงายางรถยนตที่ชวยยืดอายุ และเพิ่มความสวยงามใหกับยางรถยนตอีก ดวย นอกจากนี้ กลิน่ ของนํา้ ยาไบโอแวคก็ยงั ชวยไมใหสนุ ขั เขาไปปสสาวะลอรถยนตสราง ความรําคาญใจอีกดวย ใครอยากจะอุดหนุน หรือสนับสนุนผลิตภัณฑ ติดตอไดที่ คุณ ยศพลพัฒ บุนนาค โทร. 085-782-4393 E-mail : yalabiodiesel@hotmail.com 2.เตาซุปเปอรชีวมวล เปนเทคโนโลยีระดับ ชุมชนที่ถายทอดมาจากหลายแหลงและมี การพัฒนาใหเหมาะสมกับชีวมวลในแตละ ท อ งถิ่ น เตาชี ว มวลนี้ มี แ นวคิ ด จากระบบ Gasifier คือมีการควบคุม อากาศใหไมเกิน 40% เพื่ อ ลดความสิ้ น เปลื อ งเชื้ อ เพลิ ง การเตรียมเชือ้ เพลิงจากเศษวัสดุการเกษตร ไมแตกตางจากเชือ้ เพลิงของ Gasification

คือควรจะมีความชืน้ ไมสงู ชิน้ เล็ก ติดไฟงาย ใช ไ ด ตั้ ง แต เศษไม ซั ง ข า วโพด แกลบ ชานออย ฯลฯ ในแตละชุมชนตาง ๆ ไดมกี าร พัฒนาตอยอด โดยไดรับความรวมมือจาก องคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันการ ศึกษา และพลังงานจังหวัด และไดมีการเก็บ ขอมูลทีน่ า สนใจ เชน ประสิทธิภาพดานความ รอนของชีวมวลจากเชื้อเพลิงหลากหลาย ชนิด เชน แกลบ มีประสิทธิภาพ 10%, เศษไม มีประสิทธิภาพ 20%, ถานไม มีประสิทธิภาพ 22%, ซังขาวโพด มีประสิทธิภาพ 30% เปนตน ทานที่สนใจสามารถติดตอไดหลาย จังหวัด เชน จังหวัดเพชรบูรณ สามารถ ติดตอกับ ผูใหญประสิทธิ ตระการฤทธิ์ โทร. 085-051-2492 หากเปน จังหวัด เพชรบุ รี สามารถติ ด ต อ กั บ คุ ณ โกศล แสงทอง โทร. 085-271-9262 E-mail : go_soccom_4@hotmail.com พลังงานกาซชีวภาพระดับชุมชน การหมัก ของเสียและของเหลือใชจากภาคการเกษตร นับวาเปนเทคโนโลยีพื้นฐานที่จําเปนแทบ ทุกครัวเรือน ยิ่งถาชุมชนนั้น ๆ มีการเลี้ยง สัตว เชน สุกรดวยแลว จะยิ่งไดผลดี ไดทั้ง กาซชีวภาพเพื่อใชหุงตมและยังไดปุยหมัก มาปรับสภาพดิน หากมีการรวมตัวกันสราง บอหมักขนาดใหญขึ้น ก็สามารถนํากาซ ชีวภาพเหลานั้นไปผลิตกระแสไฟฟาไดเปน อยางดี หรือถามีงบประมาณเพียงพอ อาจ นําไปอัดใสถังใชเติมรถยนต (CBG) ตาม แนวทางกระทรวงพลังงานก็ไดผลดีเชนกัน พลังงานนํ้า ชุมชนมีความพรอมในการใช พลังงานจากนํา้ แตยงั ขาดการสนับสนุนจาก ภาครัฐและองคกรเอกชนในดานเทคโนโลยี และอุ ป กรณ ผู  เ ขี ย นจึ ง มี ค วามเห็ น ว า งบประมาณดานงานวิจัยมากมายที่มีการ

ทําวิจัยซํ้าซอน หรือไมก็วิจัยในสิ่งที่นักวิจัย อยากรูหรือถนัด โดยไมสามารถนํามาใช ประโยชนได ผูพิจารณาจัดสรรงบประมาณ จึ ง ควรพิ จ ารณานํ า งบประมาณเหล า นั้ น มาสร า งพลั ง งานชุ ม ชนให เ ป น มรรคเป น ผลมากขึ้น ทานที่สนใจพลังงานนํ้า มีผล การศึกษาที่เปนรูปธรรมของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร โดย ผศ.พยอม รัตนมณี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร วิทยาเขตหาดใหญ จังหวัดสงขลา E-mail : payomr42@gmail.com ถึงเวลาแลวทีเ่ ราจะตองรวมกันปฏิรปู (ทําให ดีขึ้น) พลังงานชุมชนใหเปนของชุมชนโดย ชุมชนและเพือ่ ชุมชนอยางจริงจัง ซึง่ มีขอ เสนอ แบบสุดซอยมาใหพิจารณา ดังนี้ 1.ปนสวนงบประมาณวิจัยพลังงานทดแทน กวาปละพันลานบาท มารวมพัฒนาพลังงาน ชุมชน 2.ปนสวนภาษีบาป ที่ใชออกสื่อตาง ๆ ปละ กวาสี่พันลานบาท มาจัดเปนกองทุนพัฒนา พลังงานชุมชน 3.เปลี่ ย นวิ ธี ก ารสนั บ สนุ น ชุ ม ชนจากการ จั ด ซื้ อ เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ ส  ง ไป ซึ่ ง ไมตรงกับความตองการของชุมชน เปลี่ยน เปนชุมชนนําเสนอโครงการผานพลังงาน จั ง หวั ด มาของบประมาณโดยชุ ม ชนเป น เจาของโครงการ พลั ง งานชุ ม ชนเป น เสมื อ นรากฝอยของ พลั ง งานระดั บ ประเทศ หากรากฝอย แข็งแรง ก็จะชวยสรางตนไมพลังงานของไทย ใหเติบโตยั่งยืนอยางแทจริง พลังงานชุมชน จึงไมใชแคเรื่องของ CSR : Corporate Social Responsibility เทานั้น 69

Energy#63_p68-69_Pro3.indd 69

1/15/14 9:41 PM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ยุทธศาสตรการบริหารงานจัดซือ้ ยุคใหม การทําธุรกิจในปจจุบนั เปนยุคทีเ่ ปนการ แขงขันแบบไมมีความเมตตาปราณีกัน ดั ง นั้ น อย า ถื อ ว า ตนเองเป น บริ ษั ท ขนาดใหญจะมีความไดเปรียบทางการ แขงขัน หรืออาจคิดวาเปนบริษัทขนาด เล็กมีความไดเปรียบทางการแขงขัน แต เปนการแขงขันแบบใครดีใครอยู ซึง่ ไมใช เป น การแข ง ขั น ในเรื่ อ งของเงิ น ทุ น รูปแบบการจัดตัง้ ธุรกิจ เทคโนโลยีทใี่ คร มีมากกวากัน แตเปนการแขงขันกันที่ สติปญ  ญาของทรัพยากรมนุษยทบี่ ริษทั ใด จะมีบคุ ลากรทีเ่ กง ฉลาด และเพียบพรอม ดวย ทั้งวิชาการและประสบการณ ซึ่ง ตามแนวคิดใหมในการทําธุรกิจ ถือวา ปลาใหญไมนา กลัว แตปลาเร็วนากลัวกวา ซึ่งหากบริษัทใดมีนโยบายและบุคลากร ที่มีความคลองตัวในการที่จะกาวไปทํา อะไรไดดว ยความรวดเร็วกวา รวมถึงการ ตอบสนองความตองการของผูบริโภค และตลาดไดดีและเร็วกวาก็คือผูชนะ

ในแงของทฤษฎีทางการแขงขัน การสรางความไดเปรียบทางการแขงขัน (Competitive Advantage) การทําธุรกิจจะอยูในสภาพการแขงขันอยางหลีกเลี่ยงไมได ถึงแมทางบริษัท ไมอยากแขงขัน จะหลีกเลี่ยงหรือหลบเลี่ยงก็ไมสามารถทําได เพราะหากบริษัทไมแขงขันกับ บริษัทใดเลย บริษัทอื่น ๆ ก็จะมาแขงขันกับบริษัทของเราอยูดี ดังนั้น จึงตองทําใหบริษัทเกิด ความแข็งแรงจากภายในสูภายนอก อีกทั้งการแขงขันไมจําเปนเสมอไปวาจะตองชนะ เพียงแต ไมเสียเปรียบหรือสามารถอยูรอดในธุรกิจได ก็ถือวาบริษัทมีการสรางความไดเปรียบทางการ แขงขันแลว ซึ่งจากสภาพการณดังกลาวนี้ ฝายจัดซื้อจึงถูกมองวาเปนหนวยฟนเฟองสําคัญ ที่จะสามารถ ทําใหบริษทั เกิดความสามารถทางการแขงขันในธุรกิจได ไมวา จะเปนเรือ่ งของการลดตนทุน การ สรางความแตกตาง และการตอบสนองความตองการผูบริโภคที่ไมมีความจงรักภักดีตอตรา ยี่หอ โดยจะตองมีการปรับเปลี่ยนวิธีคิดและการทํางาน ดังนี้ 1. เปลี่ยนมุมมองและปรับเปลี่ยนวิธีคิดของคนทํางานในดานจัดซื้อจัดหาใหมใหอยูบนพื้นฐาน ที่จะตองทําไดดีกวา (Better) ตนทุนถูกกวา (Cheaper) ซื้อไดเร็วกวา (Faster) และเชื่อถือ ไววางใจไดมากกวา (More Reliability) รวมถึงพฤติกรรมในการสั่งซื้อใหม ก็คือ การสั่งซื้อ ของดวน หรือการเปลี่ยนแปลงเวลาในการจัดสงของซัพพลายเออร ไมวาจะเปนใหสงเร็วหรือ สงชา ลวนแลวแตมีตนทุนเพิ่มขึ้น 2. ตองปรับทัศนคติการทํางานในการประสานสัมพันธทั้งลูกคาภายใน (แผนกตาง ๆ ในบริษัท) และภายนอกบริษัท (คูคา/ลูกคา) เพื่อสรางภาพลักษณของฝายจัดซื้อจัดหาใหเกิดขึ้น อยางสมดุล ซึ่งปจจุบันมักจะไมคอยเปนที่ชื่นชอบของคนภายในและภายนอกบริษัทมากนัก โดยปรับบทบาทเปนทีป่ รึกษาในการอํานวยความสะดวกมากกวาเปนผูก มุ กฎเหล็กในการทํางาน

70

Energy#63_p70-71_Pro3.indd 70

1/15/14 9:47 PM


3. ปรับวิธคี ดิ ในการลดตนทุน/คาใชจา ย โดยลดตนทุนดานวัตถุดบิ / หาแหลงวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ แตราคาถูก มิใชจะใชวธิ กี ดลดตนทุนจาก ซัพพลายเออร แตตองคํานึงถึงประสิทธิภาพของซัพพลายเออรเปน หลัก ซึง่ ซัพพลายเออรทดี่ อ ยประสิทธิภาพเพียงรายเดียว อาจสราง ปญหากระทบทัง้ ระบบโลจิสติกสและซัพพลายเชนทัว่ ทัง้ องคกรได 4. มี วิ ธี เ ลือกและวิธี คบกั บซัพพลายเออร โดยใช หลัก Supply Positioning Model ซึ่งเปนเครื่องมือในการวิเคราะหแยกแยะ สินคาและบริการที่จะจัดซื้อหรือวาจาง เพื่อจะกําหนดยุทธศาสตร ในการทํางานทั้งภายในบริษัทตนเองและในซัพพลายเชน เพื่อบรรลุ วัตถุประสงคของบริษัท อีกทั้งพิจารณาตนเองวา ทําตัวดีเปนที่ ไววางใจของซัพพลายเออรหรือยัง เปนตนเหตุที่ทําใหซัพพลายเออร มีตน ทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือไม ซึง่ เรียกวา Supplier Preferencing Model ซึ่งเปนโมเดลที่ทําใหฝายจัดซื้อจัดหารูวา ทางฝายซัพพลายเออรคิด หรือมองฝายจัดซื้อจัดหาอยางไร ซึ่งเปนไปตามหลักของซุนวู คือ รูเขา รูเรา รบรอยครั้งชนะรอยครั้ง เชน เราเปนบริษัทที่นาสนใจ หรือ นาคบอยางไร ไมวาจะเปนชื่อเสียง ขนาดของบริษัท การสั่งซื้อติดตอ สมํ่าเสมอเพียงใด มีระบบการชําระเงินเปนอยางไรบาง อัธยาศัยไมตรี ที่ติดตอระหวางกัน เปนตน

มาตรฐาน ISO 26000 เพือ่ แสดงความรับผิดชอบตอสังคม ไมวา จะเปน เรือ่ งการปลอยของเสีย การบําบัดนํา้ เสีย สิทธิมนุษยชน ธรรมาภิบาล ความยัง่ ยืนของการใชทรัพยากร ผลกระทบตอชุมชน หรือกลาวโดย รวม ๆ ก็คอื คํานึงถึงผูม สี ว นไดสว นเสียกับองคกร (Stakeholders) 8. มีการนําเทคโนโลยีตา ง ๆ เขามาประยุกตใชในกระบวนการจัดซือ้ ไมวา จะเปน ERP MRP SAP เปนตน เพือ่ จะทําใหองคกรมีระบบการประมวลผล ความถูกตอง รวดเร็ว ความนาเชือ่ ถือ ในการติดตามทัง้ วัตถุดบิ วัตถุดบิ กึง่ สําเร็จรูป รวมถึงระบบการชําระเงิน ซึง่ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) โดยขอมูลเหลานีจ้ ะมีการเก็บไว เพือ่ นํามาวิเคราะหถงึ กระบวนการทํางานและประเมินผลในการประกอบ การตัดสินใจในการทํางานครัง้ ตอไป รวมถึงการวางกลยุทธการจัดซือ้ ในระดับปฏิบตั กิ าร ระดับบริหาร และระดับองคกรธุรกิจ 9. มีการทําวิจยั วัดประสิทธิภาพการจัดซือ้ ซึง่ เมือ่ มีการทํางานไปสัก ระยะหนึง่ ระบบการทํางานนัน้ อาจไมสามารถสนับสนุนหรือสอดคลอง กับสภาพแวดลอมภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วได ดังนั้น การทําวิจัยในการจัดซื้อก็เพื่อสะทอนภาพการทํางานตอองคกรให

5. การเขาไปสังเกตการณและการใหความชวยเหลือกับซัพพลายเออร ในเรื่องตาง ๆ เชน อธิบายใหเขาใจถึงความจําเปนที่จะตองทํา Cost Down ซึ่ ง หากคู  แ ข ง ขั น สามารถทํ า ได ต  น ทุ น ที่ ถู ก กว า ซัพพลายเออรเดิม ทางบริษัทก็จะตองสั่งซื้อจากแหลงอื่น ๆ ที่มีราคา ถูกกวา เพื่อใหตนทุนของบริษัทตํ่าและสามารถแขงขันไดในตลาด หรือเขาไปสังเกตการณในบริษัทและกระบวนการผลิตถึงวิธีการผลิต การใชเทคโนโลยี วิธกี ารทํางาน ฯลฯ ในฐานะคนนอกจะมองเห็นปญหา ของตนทุนที่เกิดขึ้น เพื่อจะใหเปนขอแนะนําและเสนอแนะปรับปรุง ลดตนทุนไดตอไป 6. นําแนวคิดทางการตลาดที่จะชวยใหฝายจัดซื้อสามารถพิจารณา และบริหารจัดการทางการตลาดไดดกี วาคูแ ขงขัน ซึง่ เครือ่ งมือนีช้ อื่ วา Market Management Matrix ทีท่ าํ ใหรวู า ตองทําอะไร เชน จะตองสราง พันธมิตรธุรกิจกับซัพพลายเออรรายใด จะตองเพิ่มธุรกิจใหรายใด จะตองเพิม่ ความระมัดระวังในสินคาตัวใด จะตองเปลีย่ นซัพพลายเออร รายใด จะตองปรับเปลี่ยนวิธีคบคากับซัพพลายเออรรายใด

เห็นถึงสภาพปญหาของการจัดซือ้ จัดหา เพือ่ สรางแบบจําลองในการ จัดซือ้ ทีเ่ หมาะสมกับการทํางานในอนาคตตอไป ไมวา จะเปนการวิเคราะห เอกสารยอนหลัง 1-3 ป การทําวิจัยเชิงปริมาณดวยแบบสอบถาม หรือการทําวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณบุคลากรที่เกี่ยวของ หรือซัพพลายเออร เปนตน

7. มีนโยบายเกีย่ วกับสังคมและสิง่ แวดลอม โดยจับตาดูซพ ั พลายเออร หรือผูสงมอบวัตถุดิบหรือวัตถุดิบกึ่งสําเร็จรูปที่จะตองรับผิดชอบตอ สังคมและสิง่ แวดลอม (Corporate Social Responsibility : CSR) โดยคํานึงถึงตัง้ แต ตนนํา้ กลางนํา้ และปลายนํา้ ซึง่ ปจจุบนั กลายเปน

ซึ่งหากทุกองคกรมีการปรับนโยบายและบทบาทของฝายจัดซื้อจัดหา ดังแนวทางทีไ่ ดกลาวไวขา งตน การสรางความสามารถทางการแขงขัน และสามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคและของตลาดจะ ไมเปนเรือ่ งยากอีกตอไป 71

Energy#63_p70-71_Pro3.indd 71

1/15/14 9:47 PM


Around The World พิชญาภา อินทโลหิต

ตูทํางานทรงกลม…ในสไตลรักษ โลก ตูท าํ งานทรงกลมนี้ ชือ่ วา “Archipod” ออกแบบ โดย Chris Sneesby นักออกแบบชาวอังกฤษ จากที่เคยเห็นหองทํางานในลักษณะสี่เหลี่ยม หรือ ตูค อนเทนเนอร แตตอนนีม้ กี ารดีไซนหอ ง ทํางานทีเ่ รียกวาเจงทีส่ ดุ และตางจากหองทํางาน ทัว่ ไปโดยสิน้ เชิงโดยทีม่ ลี กั ษณะคลายโดม ทรง กลม ทีใ่ ชเปนออฟฟตเล็กๆ หรือทีอ่ าศัยไดจริง โดยเนนวัสดุทเี่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ซึง่ ใชแผน ไมมุงหลังคาและพื้นไม เรียกไดวาเปนไอเดีย แปลกใหมที่อาจนําไปตอยอดเพื่อสรางสรรค ผลงานทางดานสถาปตยกรรมมากมายอนาคต มีวางจําหนายในราคา $20,000 USD ตอหลัง หรือประมาณ 600,000 บาท

ผันความรอนเปนพลังงาน…เครือ่ งบิน”อีโค” ทําได บริษทั ผลิตเครือ่ งบินยักษใหญในยุโรป ไอเดียแจวจัดประกวดเครือ่ งบินสีเขียว ภายใตคอนเซป “แอรบัส ฟลาย ยัวรไอเดีย” โดยใหสงไอเดียเขามาประกวด วาดัดแปลงเครื่องบินเชนใดใหประหยัดพลังงานมากที่สุด ดานทีมจากมาเลเซียไดเสนอไอเดียสุดลํ้าอยาง “เกาอี้อัจฉริยะ” ซึ่งสามารถ ผันพลังงานความรอนจากตัวผูโ ดยสารใหกลายเปนพลังงานไฟฟาที่ สามารถ นําไปใชกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ บนเครื่องได โดยตองนําเสนอไอเดียประหยัดนี้ตอคุณะกรรมการแอรบัสฝรั่งเศสกอน เตรียมนําไปปรับใชจริง

จีนเดินหนาผลิตพลังงานสะอาด ในขณะที่ ทุ ก หน ว ยงานส ง สั ญ ญาณเตื อ นให ต ระหนั ก ถึ ง ทรั พ ยากรที่ มี รองประธานคณะกรรมการเพื่ อ การพั ฒ นา และปฎิรูปแหงชาติของจีน เผยวา ไมเกิน ป2563 ประเทศจีน จะสามารถใชพลังงานสะอาดจากกังหันลม และ แสงอาทิตยมากขึน้ เทียบเทากับทางยุโรป นอกจากนี้จีนยังจัดสรรงบประมาณสําหรับกระตุนเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมที่ไมกอใหเกิดคารบอน อีกทั้งจะเนนที่โครงการ ดานสิ่งแวดลอมตาง ๆ และ ลดการผลิตกาซเรือนกระจกพรอม ทั้งกระตุนใหมีการใชพลังงานสะอาด เชน การลงทุนในโครงการ ขนสงที่ลดการผลิตกาซคารบอน และ ระบบพลังงานไฟฟา ทัง้ นีจ้ นี ไดดาํ เนินการติดตัง้ วงจรรับพลังงานแสงอาทิตยไปแลวมาก ถึง 130 ลาน ตารางเมตร และยังมีแผนลงทุนเพิม่ ขึน้ ในอนาคต และ จะเพิม่ ขึน้ เป 200 ลานตารางเมตร ภายในป 2563

72

Energy#63_p72_Pro3.indd 72

1/27/14 10:02 PM


Energy#63_p73_Pro3.ai

1

1/23/14

4:39 AM


ASEAN Update กองบรรณาธิการ

จากการพั ฒ นาด า นพลั ง งานที่ ผ  า นมาของสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทําใหเขื่อนผลิตไฟฟาในลาวมี จํานวนใกลเคียงกับประเทศไทยที่พัฒนาการผลิตไฟฟาจาก พลังนํ้ามาอยางตอเนื่อง จนปจจุบันประเทศไทยกลายเปน ลูกคารายใหญที่สุดของลาว โดยเซ็นซื้อกระแสไฟฟาไปแลว 7,000 เมกะวัตต ซึ่งอนาคตอาจจะแซงหนาประเทศตางๆ ในภูมิภาค เมื่อเขื่อนที่กอสรางแลวเสร็จ และยังมีโครงการ สรางเขื่อนอีกราว 20 แหง ที่อยูในขั้นสํารวจศึกษาความเปน ไปไดหรือศึกษาผลกระทบตอสภาพแวดลอมตามแผนการ กอสรางกวา 80 โครงการภายในไมกี่ปขางหนานี้

ลาวขึ้นแทน ผูนําการผลิต พลังงาน

นอกนี้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวยังไดมีการ กอสรางโรงไฟฟาพลังความรอนจากถานหินที่มีกําหนดเริ่ม ปนไฟเขาระบบเพื่อสงออกในป 2558 รวมถึงโครงการผลิต ไฟฟาดวยพลังแสงอาทิตยอีกจํานวนมากและกําลังขยายตัว ตอเนื่อง โดยนครเวียงจันทนก็กําลังมีการกอสรางโรงไฟฟา ใชขยะเปนเชื้อเพลิง โดยบริษัทเอกชนที่ไดรับสัมปทาน รวม ถึงโครงการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากพืชที่ใหนํ้ามันเชนปาลม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เตรียมสรางปรากฏการณดาน นํ้ามัน กับสบูดําอีกจํานวนมาก ซึ่งเมื่อรวมพื้นฐานการผลิต พลังงาน ดวยจํานวนเขื่อนผลิตไฟฟาใหญนอยที่เปดใชดําเนินการแลว พลังงานของลาวที่กําลังจะเกิดขึ้น ถือเปนประเทศที่นาสนใจ 23 แหง และอีก 10 แหง อยูระหวางกอสราง และในนั้นมีจํานวนหนึ่ง ไมนอย

มีกาํ หนดแลวเสร็จในปนี้ โดยทุกเขือ่ นทีก่ ลาวมาทัง้ หมดมีขนาดกําลังผลิต ตั้งแต 1 เมกะวัตตขึ้นไป

ทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (IAEA) เปดเผยถึงความคืบหนาของความ รวมมือในการมอบความชวยเหลือสนับสนุน ใหแกเวียดนามเพื่อการกอสรางโรงไฟฟา พลังนิวเคลียรของประเทศ

IAEA ชวยเหลือเวียดนามพัฒนาโรงไฟฟานิวเคลียร นายยูกยิ ะ อามาโนะ ผูอ าํ นวยการใหญทบวง การพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ(IAEA) เปดเผยระหวางการปฏิบัติหนาที่ ณ กรุง ฮานอย ประเทศเวียดนามวา IAEA จะสง คณะผูเชี่ยวชาญมายังเวียดนามเพื่อหารือ เกี่ ย วกั บ ประเด็ น การก อ สร า งโครงสร า ง พืน้ ฐาน ความปลอดภัย และปญหานิวเคลียร อืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ และหนวยงานยังมีแผนทีจ่ ะ สงคณะผูแทนมาเวียดนามเปนประจําทุกป เพื่อชวยเหลือในการใชพลังงานนิวเคลียร

การสนับสนุนเวียดนามดังกลาว จะทําผาน โครงการทางเทคนิคตางๆ ระหวางป 25552556 IAEA ไดใหทุน จํานวน 1 ลานยูโร แกประเทศเวียดนามในการพัฒนาโครงการ ตางๆ ที่รวมทั้งโครงการสิ่งกอสรางพื้นฐาน พลังงานนิวเคลียร และปรับปรุงหองปฏิบัติ การ ซึ่งเวียดนามกําลังวางแผนที่จะสรางโรง ไฟฟานิวเคลียร 2 แหงแรกของประเทศ คือ พื้นที่ จ.นิงทวน ซึ่งอยูหางจากกรุงฮานอย ไปทางใตราว 1,100 กม. โดยการกอสราง

โรงไฟฟาโรงแรกคาดวาจะเริม่ ในป 2557 และ เขาสูก ระบวนการผลิตไดในป 2563 IAEA ไดอนุมตั ทิ นุ ใหแกเวียดนาม 5 โครงการ ในป 2557-2558 โดยมุง เนนไปทีก่ ารกอสราง โครงสรางพื้นฐาน กฎหมายดานนิวเคลียร และการประยุกตใชเทคโนโลยีนิวเคลียรใน อุตสาหกรรมการเกษตร สาธารณสุข และ การกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร

74

Energy#63_p74-75_Pro3.indd 74

1/23/14 2:59 AM


เตรียมการรับมือ... เปดประตูสูอาเซียน

ความพรอมของการเปดประตูประเทศรับ ความรวมมือของกลุมอาเซียน บนพื้นฐาน ของความรวมมือดานพลังงาน เปนเรื่องที่ นาสนใจ เพราะแตละประเทศลวนมีความ หลากหลายดานทรัพยากรพลังงาน แมจะ มีความหลากหลายแตทุกประเทศลวนมีจุด มุงหมายเดียวกันในการเสริมความมั่นคง ดานพลังงานในภูมิภาคนี้ นอกจากประเด็นดานความมั่นคงแลว ยัง มีเรื่องของสิ่งที่ทุกประเทศเปนหวงคือเรื่อง ของความปลอดภัย สิ่งแวดลอม และเรื่อง สุขภาพ โดยแผนความรวมมือดานพลังงาน ป 2553-2558 หรือ ASEAN Plan of Action on Energy Cooperation(APAEC) ในการ ลดอัตราสวนการใชพลังงานตอผลิตภัณฑ มวลรวมของอาเซียนลงอยางนอย 8% ภาย ในปพ.ศ. 2558 โดยใหความสําคัญในโครง การหลักๆ คือ เชื่อมโยงระบบสายสงไฟฟา ของอาเซียน, เชื่อมโยงทอสงกาซธรรมชาติ ของอาเซียน, สงเสริมเทคโนโลยีถา นหินและ ถานหินสะอาด, สงเสริมพลังงานที่นํามาใช ใหมได, สงวนและรักษาประสิทธิภาพของ พลังงาน, ดําเนินนโยบายและการวางแผน พลั ง งานภู มิ ภ าค และผลั ก ดั น พลั ง งาน นิวเคลียร

โครงการที่ ดู เ หมื อ นจะเป น ที่ ส นใจอย า ง มากคือ การเชื่อมโยงทอสงกาซธรรมชาติ ของอาเซียนรวมระยะทางประมาณ 4,500 กิ โ ลเมตร ซึ่ ง ป จ จุ บั น อยู  ร ะหว า งดํ า เนิ น โครงการเชื่อมโยงทอสงกาซแบบทวิภาคี ความยาวประมาณ 2,300 กิโลเมตร อีก โครงการคือ การเชือ่ มโยงระบบสายสงไฟฟา ของอาเซียน ปจจุบันอยูระหวางดําเนินการ 4 โครงการและอยูระหวางการวางแผนเพิ่ม เติมอีก 11 โครงการ ใหเสร็จภายในป 2558

นอกจากนี้ ยังมีโครงการที่นาสนใจภายใต กรอบอาเซียน+3 และอาเซียน+6 กับความ รวมมือดานพลังงานระหวางประเทศในแถบ อาเซียนกับสหภาพยุโรป ปพ.ศ. 2553 กับ การพัฒนาแผนงานการเก็บสํารองนํ้ามัน สํ า หรั บ ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น+3 รวม ถึ ง การดํ า เนิ น โครงการกลไกการพั ฒ นา พลังงานสะอาด และโครงการเสริมสราง ศักยภาพดานพลังงานนิวเคลียรใหเปนไป ไดในอนาคตอีกดวย

75

Energy#63_p74-75_Pro3.indd 75

1/23/14 2:59 AM


Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา

¤ÇÒÁÁÑ่¹¤§´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ ¡Ñº¡ÒÃ...¡ŒÒÇÊÙ‹»‚ ’57 àμÃÕÂÁÃѺÁ×Í¡ÒâÂÒÂμÑÇ

ตองยอมรับวาประเทศไทย ณ เวลานี้ เปนที่จับตามองจากประเทศเพื่อนบานและจากพันธมิตรทั่วโลกอยางมาก เพราะกําลัง อยูในชวงของการเตรียมที่จะเปลี่ยนถายงานที่ทํากันมาของภาครัฐบาลรักษาการไปสูรัฐบาลชุดใหม กับการชี้ขาดผานการ เลือกตัง้ ของประชาชน แตกเ็ ปนเรือ่ งของอนาคตทีต่ อ งติดตามกันตอไป แตเรือ่ งทีไ่ มอาจรอไดสาํ หรับการเดินหนาของประเทศ คือ เรื่องของความมั่นคงดานพลังงาน การดํ า เนิ น กิ จ การด า นพลั ง งานของ ประเทศไทยในช ว งป 2556 ที่ ผ  า นมานั้ น กระทรวงพลั ง งานในฐานะหน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบด า นพลั ง งานของประเทศ โดยตรง ไดบริหารจัดการใหประชาชนชาว ไทยมีพลังงานใชอยางเพียงพอในราคาที่ สะทอนตนทุนที่แทจริง โดยจะเนนดานการ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานพลังงานใหมี ประสิทธิภาพควบคูก บั การอนุรักษพลังงาน ผานมาตรการสงเสริมตางๆ รวมทั้งการ สนั บ สนุ น การใช พ ลั ง งานหมุ น เวี ย นและ พลังงานทดแทนในระดับชุมชน

ภาพรวมของอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทาง เศรษฐกิจไทยป 2556 ประเทศไทยมีการใช พลั ง งานเชิ ง พาณิ ช ย ขั้ น ต น จํ า นวนทั้ ง สิ้ น 2 ล า นบาร เ รลเที ย บเท า นํ้ า มั น ดิ บ ต อ วั น เพิม่ ขึน้ 1.2% จากป 2555 โดยกาซธรรมชาติ มีสดั สวนการใชมากทีส่ ดุ 917,015 บารเรล เทียบเทานํา้ มันดิบตอวัน หรือสัดสวน 46% ซึง่ มีการใขเพิม่ ขึน้ 3.2% รองลงมาเปนการใช นํา้ มัน 727,559 บารเรลเทียบเทานํา้ มันดิบตอ วัน หรือสัดสวน 36% มีการใชเพิม่ ขึน้ 2.6% สวนการใชถานหินลิกไนต และการใชไฟฟา พลังนํา้ ลดลง 4.4% และ 15.7% ตามลําดับ

มูลคาการใชพลังงานในป 2556 มีการใช รวม 2.13 ลานลานบาท เพิ่มขึน้ 0.9% จาก ป 2555 โดยมีมูลคาการนําเขาพลังงาน 1.42 ลานลานบาทลดลง 2%จากป 55 ขณะ ที่สัดสวนการใช LPG ที่ลดลงในสาขาครัว เรือนสอดคลองกับสัดสวนที่เพิ่มขึ้นในการ ใชเปนเชื้อเพลิงรถยนต คาดวาจะเปนผล มาจากการเพิ่มราคา LPG ภาคครัวเรือน เดือนละ 0.50 บาท ตั้งแตเดือนกันยายน 2556 ที่ผานมา ซึ่งมีมาตรการเขมงวดและ ปราบปรามการลักลอบจําหนาย LPG ผิด ประเภทที่ ชั ด เจนและเข ม งวด ทํ า ให ก าร

76

Energy#63_p76-77_Pro3.indd 76

1/23/14 3:07 AM


ลักลอบนํา LPG ภาคครัวเรือนมาขายใหกับ ภาคขนสง รวมทั้งการลักลอบสงออก LPG ไปขายในประเทศเพื่อนบานมีปริมาณลดลง อยางเห็นไดชัด

แตกม็ ตี ัวแปรทางดานเศรษฐกิจเขามาเปนที่ ตั้ง ถาเศรษฐกิจโตไมไดตามที่คาดไวก็ตอง ปรับลดความตองการใชพลังงานอีกครั้งใน ชวงเดือนเมษายน 2557

การใชพลังงานในปที่ผานมา ทําใหตองมี การเตรี ย มการรองรั บ การใช ที่ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น อีก โดยในป 2557 คาดวาความตองการ พลั ง งานเชิ ง พาณิ ช ย ขั้ น ต น จะอยู  ที่ ร ะดั บ 2.055 ลานบารเรลเทียบเทานํ้ามันดิบตอ วัน เพิ่มขึ้น 2.5% จากป 2556 ตามภาวะ เศรษฐกิ จ ที่ ค าดว า ป นี้ โ ต 4-5% ความ ตองการนํ้ามันจะเพิ่มขึ้น 1.4% การใชกาซ ธรรมชาติเพิ่มขึ้น 4% จากความตองการใช เพื่อผลิตไฟฟา เนื่องจากจะมีโรงไฟฟาที่ใช กาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงเริ่มจายไฟฟา เขาระบบ ไดแก โรงไฟฟาวังนอย(ชุดที่ 4) โรงไฟฟาจะนะ(ชุดที่ 2) บริษทั กัลฟ เจพี เอ็น เอส จํากัด รวมทั้งโรงไฟฟาพลังงานความ ร อ นรว มของผูผ ลิ ต ไฟฟารายเล็ก(SPP) มีกําลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 3,421 เมกะวัตต

สํ า หรั บ ปริ ม าณการใช LPG ในป 2557 ในภาคครัวเรือนคาดวาจะยังคงลดลง 4.7% จากที่มีมาตรการเขมงวดปราบปรามการ ลักลอบจําหนาย LPG ผิดประเภท สวนภาค อุตสาหกรรมก็อาจจะไมเปลีย่ นแปลงมากนัก โดยจะมีการใชเพิม่ ขึน้ 0.4% ขณะทีก่ ารใชใน รถยนตยังคงเพิ่มขึ้น โดยคาดวาจะเพิ่มขึ้น 12.9% และการใชในภาคปโตรเคมีคาดวา จะมีการใชเพิ่มขึ้น 2.9% ดานสวนการผลิตไฟฟาคาดวาจะเพิ่มขึ้น 4.1% ตามภาวะเศรษฐกิจที่คาดวาจะมีการ ขยายตัวอยางตอเนื่องจากการฟนตัวของ เศรษฐกิจโลก สําหรับคาเอฟที ขายปลีก ประจําเดือน มกราคม – เมษายน 2557 อยู ที่ 59 สตางคตอ หนวย ปรับเพิม่ ขึน้ 5 สตางค ตอหนวย

77

Energy#63_p76-77_Pro3.indd 77

1/23/14 3:07 AM


Insight Energy MAN U

Thailand Demand Response ตอยอดสูการรับมือดานพลังงาน

ปญหาของประเทศไทยในชวงหลายปที่ผานมาคือ การเพิ่มของปริมาณการใช พลังงานโดยเฉพาะพลังงานไฟฟา การหาแหลงพลังงานภายในประเทศเปนทาง เลือกที่ดี เพื่อจัดการกับความตองการใหเพียงพอ แตก็ยังไมพอกับความตองการ จึงแตกยอดเป นการนําเขากาซธรรมชาติจากตางประเทศเพื่อนํามาผลิตไฟฟา ซึ่งเปนทางออกที่ดี แตก็จะสงผลชัดเจนถึงผลกระทบทันที เมื่อการนําเขาไมสามารถ ทําได ไมวาจะกรณีใดๆ ก็ตาม

หนวยงานที่เกี่ยวของไดมีการหาทางออกให กับการแกไขปญหาดังกลาวโดย ไดมีการ นํ า ร อ งโครงการ Thailand Demand Response เพื่อขอความรวมมือกับภาค เอกชนในการลดปริ ม าณการใช ไ ฟฟ า ในการรับมือการหยุดซอมบํารุงของแหลงกาซ ธรรมชาติทปี่ ระเทศไทยจําเปนตองนําเขาเพือ่ ผลิตไฟฟา โดยแสดงผลการลดปริมาณการ ใชไฟฟาแบบ Real Time Saving โครงการ Thailand Demand Response หรือ โครงการนํารองสงเสริมการลดการ ใชไฟฟาในชวงความตองการไฟฟาสูงสุด บนความรวมมือของ คณะกรรมการกํากับ กิ จ การพลั ง งาน (กกพ.) กั บ การไฟฟ า ฝายผลิตแหงประเทศไทย และการไฟฟา

ฝ า ยจํ า หน า ย คื อ การไฟฟ า นครหลวง และการไฟฟ าสวนภูมิภาค พร อมบริษัท เอกชนเดิ น หน า เพื่ อ ทดสอบความพร อ ม ของกลไกบริหารการลดใชไฟฟาระหวางวันที่ 8 – 10 มกราคม 2557 จากกรณีแหลงกาซ เยตากุนที่ประเทศไทยจําเปนตองนําเขากาซ ธรรมชาติเพื่อผลิตไฟฟาหยุดซอมบํารุง ซึ่ง ไดรับความสําเร็จเปนอยางดี สามารถลด ปริมาณการใชไฟฟาในชวงเวลาใชไฟสูงสุด (Peak Period) สูงถึง 100 เมกะวัตต ถึงแมวาโครงการดังกลาวจะเปนโครงการ นํ า ร อ งระยะสั้ น เพื่ อ นํ า ผลทดสอบที่ ไ ด ม า เตรียมรับมือวิกฤตพลังงานที่จะเกิดขึ้นอีก ในอนาคต แตไดผลักดันใหมโี ครงการรับมือ วิกฤตไฟฟาแบบถาวร คือโครงการ Critical

Peak Pricing (CPP) ซึ่งจะเริ่มทดสอบใน ชวงที่แหลงกาซบงกช ในอาวไทยจะหยุด ซอมในเดือนเมษายน และเจดีเอในชวงเดือน มิถุนายนนี้ โดยตั้งเปาวา CPP จะสามารถ ลดการใชไฟฟาไดถึง 2,000 เมกะวัตต ซึ่ง โครงการแบบถาวรถือเปนเครื่องมือใหมใน การสรางความมัน่ คงดานพลังงานใหประเทศ ถึงแมวาเปาหมายในการดําเนินโครงการคือ การลดปริมาณการใชไฟฟาใหไดประมาณ 200 เมกะวัตต ดวยเทคโนโลยี Demand Response หากสามารถลดได ต าม เปาหมายที่ตั้งไว จะทําใหประหยัดการใช นํ้ามันเตาไดถึง 25.2 ลานบาท ซึ่งหมาย ถึงคา Ft ในงวดถัดไปจะลดลงไดประมาณ 0.05 สตางคตอหนวยเลยทีเดียว

78

Energy#63_p78_Pro3.indd 78

1/23/14 3:12 AM


Energy#63_p79_Pro3.indd 79

1/23/14 4:30 AM


Special Scoop กองบรรณาธิการ

17 โรงเรียนตามรอยเทาพอ

จัดการสิ่งแวดลอมในโรงเรียน-ชุมชน คําวา “โอกาสและการสนับสนุน” คําสัน้ ๆ ที่ ส ามารถต อ ยอดไปสู  ค วามสํ า เร็ จ ได สํ า หรั บ เด็ ก ไทย เพื่ อ ที่ จ ะสานต อ ความ ฝนเล็ก ๆ ของอนาคตของชาติใหเปนจริง เพราะความคิดของเด็กนั้นถือวาบริสุทธิ์ ปราศจากสิ่ ง แอบแฝง โดยเฉพาะเรื่ อ ง ของการแกปญ  หาดานสิง่ แวดลอมใกลตวั ภายในโรงเรียนของตน ตามแนวคิดของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยู ภายโครงการ โรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอม ที่ผูใหญ ใจดี ไ ด เ ป ด โอกาสให กั บ เด็ ก ไทยในการ แสดงออกอยางจริงจัง โครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอม เฉลิมพระเกียรติ “ตามรอยเท าพอ..กับ ฮอนด า ” ชิ ง ถ ว ยพระราชทานพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวเปนโครงการประกวด ดานการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมภายใน โรงเรียนและชุมชน ภายใตเกณฑมาตรฐาน สิ่งแวดลอมสําหรับโรงเรียน เริ่มดําเนินงาน ครั้งแรกในป 2542 ปจจุบันอยูระหวางการ ดําเนินโครงการครั้งที่ 7 (ป 2555-2556)

ในเครือขายมาแลวกวา 749 โรงเรียนทัว่ ประเทศ โดยมี ก ารใช เ กณฑ ม าตรฐานการจั ด การสิ่ ง แวดล อ มภายในโรงเรี ย น ที่ พั ฒ นาขึ้ น เป น ฉบับแรกในประเทศไทย โดยผูเชี่ยวชาญจาก หนวยงานรวมดําเนินโครงการรวม 8 หนวย งาน อันไดแก สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระ ราชดําริ, กระทรวงศึกษาธิการ, สํานักงานคณะ

โครงการดั ง กล า ว เกิ ด ขึ้ น เพื่ อ ส ง เสริ ม ให โ รงเรี ย นนํ า แนวพระราชดํ า ริ พ ระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ในเรื่องการรักษาสิ่ง แวดล อ มและพลั ง งานไปประยุ ก ต ใ ช แ ละ พัฒนาตนเองไปสูก ารเปนโรงเรียนทีม่ รี ะบบ การจัดการแกไขปญหาดานนํ้า ขยะ และ พลังงาน แบบบูรณาการ ภายใตแนวคิด ตามรอยเทาพอ ซึง่ ตลอดเวลา 14 ปทผี่ า นมา รวม 7 รุนโครงการ ไดมอบทุนใหโรงเรียน

80

Energy#63_p80-81_Pro3.indd 80

1/23/14 3:21 AM


กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม, กระทรวงพลั ง งาน, กระทรวงเกษตรและ สหกรณ, กระทรวงมหาดไทย และสถาบัน สิ่งแวดลอมไทย สํ า หรั บ เกณฑ ตั ด สิ น แบ ง ออกเป น 6 ประเด็นหลัก คือ 1. ดานการดําเนินงาน ตามแนวพระราชดํ า ริ ด  า นการอนุ รั ก ษ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม 2. ดานการบริหารทีส่ ง เสริมและสนับสนุนการ อนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม อยางพอเพียง 3. ดานหลักสูตรสถานศึกษา ทีบ่ รู ณาการสาระการเรียนรู และกิจกรรมการ เรียนรูท เี่ ชือ่ มโยงกับวิถชี วี ติ ของนักเรียน และ ชุมชน โดยเนนผูเ รียนเปนสําคัญ 4. ดานการ เชือ่ มโยงและเนนการมีสว นรวมของชุมชนและ มีการขยายเครือขายการดําเนินงาน เพือ่ การ อนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม อยางตอเนือ่ ง 5. ดานการรักษาและสงเสริม

วัฒนธรรม ประเพณี และภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ที่ เชือ่ มโยงกับการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม และ 6. ดานบุคลากร นักเรียน และชุมชน มีจิตสํานึกและพฤติกรรมในการ ดําเนินชีวิตที่อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด ผูใ หการสนับสนุนอยางเปนทางการได ประกาศผลการตัดสินโรงเรียนผานมาตรฐาน การจัดการสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียน ใน โครงการโรงเรียนสรางสรรคสิ่งแวดลอม เฉลิมพระเกียรติ ครัง้ ที่ 7 (ประจําป 25552556) รวม 17 โรง ประกอบดวย ระดับ ประถมศึกษา 11 โรง และระดับมัธยมศึกษา 6 โรง เตรียมรับรางวัลโลประทานพระเจา วรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรรา ชาทินัดดามาตุ ทั้งนี้คณะกรรมการผูทรง คุณวุฒิจะรวมลงพื้นที่ประเมินโรงเรียนถวย พระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ใน เดือนมกราคม 2557

สวนระดับประถมศึกษาที่ผานมาตรฐานโค รงการฯ จํานวน 11 โรง ไดแก 1. โรงเรียน วัดตโปทาราม จ.ชลบุรี 2. โรงเรียนวัดสระ ศรีเจริญ จ.สุพรรณบุรี 3. โรงเรียนลําไพล ราษฎรอุทิศ จ.สงขลา 4. โรงเรียนอนุบาล แจหม จ.ลําปาง 5. โรงเรียนคลองพิทยาลง กรณ กรุงเทพมหานคร 6. โรงเรียนบาน ธารนํ้าทิพย จ.สุโขทัย 7. โรงเรียนบานนํ้า มิน จ.พะเยา 8. โรงเรียนวัดหนองหลม(วัด ราษฎรรงั สรรค) จ.ลําพูน 9. โรงเรียนบาน หนองผักชี จ.ชัยภูมิ 10. โรงเรียนบานอาราง ระดับมัธยมศึกษาที่ผานโครงการโรงเรียน จ.ศรีสะเกษ 11. โรงเรียนบานคลองเพชร สรางสรรคสงิ่ แวดลอม เฉลิมพระเกียรติ ครัง้ สวาย จ.ศรีสะเกษ ที่ 7 จํานวน 6 โรง ไดแก 1. โรงเรียนวัดหนอง คัน (ไจ พิทยาคาร) จ.จันทบุรี 2. โรงเรียนเมรี่ อิมมาคุเล็ตคอนแวนต จ.ชลบุรี 3. โรงเรียน วัดสระแกว(รุง โรจนธนกุลอุปถัมภ) จ.อางทอง 4. โรงเรียนสัตยาไส จ.ลพบุรี 5. โรงเรียนบาน ประสุข จ.นครราชสีมา 6. โรงเรียนหนองกี่ พิทยาคม จ.บุรรี มั ย

81

Energy#63_p80-81_Pro3.indd 81

1/23/14 3:21 AM


Special Scoop กองบรรณาธิการ

สถานการณ กาซธรรมชาติจากแหลง ในประเทศไทยในปจจุบันนั้นมีปริมาณ สํารองกาซธรรมชาติที่พิสูจน โดยกรม เชือ้ เพลิงธรรมชาติแลวพบวา ในป 2556 ลดลงเหลือ 9.04 ลานลาน ลบ.ฟุต หรือ ลดลง 10% จาก 10.06 ลานลาน ลบ.ฟุต ซึ่งสามารถใชไดอีกประมาณ 7 ป ดังนั้น ประเทศไทยจําเปนตองดําเนินการสํารวจ แหลงกาซธรรมชาติแหลงใหม อยางไร ก็ตามในชวงปลายเดือน มกราคม 2557 ที่ผานมามีการเปดเผยขอมูลการสํารวจ และการผลิ ต ป โ ตรเลี ย มของบริ ษั ท มูลบาดาลา ปโตรเลียมในประเทศไทยวามี กี่แหลงและมีการดําเนินงานอยางไรแลว บาง แตกอนอื่นไปทําความรูจักเกี่ยวกับ บริษัท มูลบาดาลากันกอน

บริษทั Mubadala Petroleum (Thailand) เป น บริ ษั ท ในเครื อ ของบริ ษั ท Mubalala Petroleum ในสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส หรือ UAE โดย Mubadala Petroleum เปน บริษทั ในเครือ 100% ของบริษทั Mubadala Development Company (MDC) ซึง่ เปน บริษัทที่จัดตั้งโดยรัฐบาลแหงรัฐของ Abu Dhabi มีมกุฎราชกุมาร ของ Abu Dhabi เปนประธานบริหาร บริ ษั ท Mubadala Development Company( MDC) ทําธุรกิจหลายอยาง ทัง้ ธุรกิจเกีย่ วกับดานการบิน (Aerospace) ดาน การเทคโนโลยีการสือ่ สาร (Communication

การสํารวจและการผลิตปโตรเลียม ของบริษัท มูลบาดาลา

ปโตรเลียมในประเทศไทย

Technology) ดานสุขภาพ(Health Care) ดานอสังหาริมทรัพย (Real Estate) รวม ถึงธุรกิจเกีย่ วกับนํา้ มันและกาซ (Oil & Gas) ภายใตบริษทั Mubadala Petroleum) ทั้ ง นี้ บ ริ ษั ท Mubadala Petroleum ไม ไ ด มี ธุ ร กิ จ ด า นการสํ า รวจและผลิ ต ปโตรเลียม เฉพาะแตในประเทศไทยเทานัน้ แตยังไดรับสัมปทานแหลงนํ้ามันแหลงกาซ ในอีกหลายประเทศ เชนใน การตา โอมาน บาหเรน อินโดนีเซีย และประเทศไทย นอกจาก นัน้ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตนี้ Mubadala Petroleum เริม่ เขามาซือ้ กิจการทัง้ หมดของ บริษทั Pearl Energy ทีเ่ ปนสัญชาติอเมริกนั ตัง้ อยูใ นประเทศสิงคโปร จึงไดสทิ ธิสมั ปทาน ปโตรเลียมในไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม และ มาเลเซียดวย สําหรับในไทย บริษทั ลูกของบริษทั Mubadala Petroleum ไดรบั สัมปทานปโตรเลียมโดย ถูกตองตามกฎหมายหลายแปลง รวมถึง แปลงทีซ่ อื้ มาจากบริษทั Harrods Energy คือแปลง B5/27 ในอาวไทย ซึง่ Pearl Energy เปนผูส าํ รวจพบจนสามารถพัฒนาแหลงนํา้ มัน ดิบขนาดเล็กชื่อวาแหลงจัสมินและบานเย็น กําลังผลิตเพียงราว 15,000 - 17,000 บารเรล/วัน จากแหลงเล็กๆคือ จัสมินและบานเย็นดัง กลาว ทําใหบริษทั Mubadala มีความเชือ่ มั่นมาขอสัมปทานเพิ่มเติมอีก โดยนําเงิน จากรายไดของสองแหลงนั้นกลับมาลงทุน เพิ่มเติมในไทยอีกเปนหลายพันหลายหมื่น ลานบาท จนกระทัง่ พบแหลงนํา้ มันเล็กๆ อีก 2 แหลงที่กําลังจะผลิตในเร็วๆนี้ คือแหลง มโนราห และแหลงนงเยาว แหลงนงเยาวของบริษทั Mubadala อยูใ น

แปลง G11/48 ซึง่ เปนแปลงทีอ่ อกสัมปทาน เมือ่ 13 กุมภาพันธ 2550 ในรัฐบาลของ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท โดยมี ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน เปน รัฐมนตรีวา การกระทรวง พลังงาน โดยแปลงสัมปทานนีอ้ ยูใ นเขตพืน้ ที่ ของประเทศไทย 100 % ไมไดอยูใ นพืน้ ทีค่ าบ เกีย่ วกับกัมพูชาแตอยางใด อนึง่ กฎหมาย ปโตรเลียมของไทย กําหนดใหผรู บั สัมปทาน มีเวลาถือครองพืน้ ทีส่ าํ รวจไดไมเกิน 6+3 ป โดยจะตองทยอยคืนพืน้ ทีไ่ ปเรือ่ ยๆ หากไม สามารถสํารวจเจออะไรภายใน 9 ป แตถา เจอนํ้ามันหรือกาซก็ตองมาแสดงขอบเขต โครงสรางของแหลงพรอมจะตองมีขอมูล การวิเคราะหความคุมคาเชิงพานิชยเพื่อ กําหนดเปนพื้นที่ผลิต ซึ่งจะสามารถดําเนิน การไดประมาณ 20 ป โดยกอนจะผลิตได ก็ จ ะต อ งมี ก ารรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น จากผู  มีสวนไดสวนเสียในพื้นที่ และทํารายงาน วิเคราะหผลกระทบสิง่ แวดลอม (EIA) ใหเสร็จ เรียบรอยกอนจึงจะสามารถทําการผลิตได ตามกฎหมายโดยเมือ่ ผลิตแลว ก็จะตองจาย คาภาคหลวงบวกภาษีเงินไดปโ ตรเลียมบวก ผลประโยชนตอบแทนพิเศษใหกับรัฐบาล ในการนีก้ ารคาดการณอตั ราการผลิตนํา้ มัน ของแหลงนงเยาว ที่ 6,400 บารเรล/วัน เปนตัวเลขทีค่ าํ นวณจากการวิเคราะหขอ มูล ดานวิศวกรรมแหลงกักเก็บ เพื่อใชในการ ประเมินการลงทุนพัฒนาแหลง แตในการ ดําเนินการจริง หากมีขอมูลจากการสํารวจ เพิ่มเติมที่ชัดเจนมากขึ้น เชน การเจาะหลุม สํารวจ การทดสอบอัตราการไหลของหลุม ผลิตปโตรเลียมก็จะตองปรับตัวเลขแผนการ ลงทุนและแผนการผลิตใหเหมาะสมตอไปซึง่ จะเพิม่ ขึน้ หรือลดลงก็ได โดยการดําเนินการ แบบนีเ้ ปนมาตรฐานการดําเนินงานทัว่ ไปของ ธุรกิจการสํารวจและผลิตปโตรเลียม

82

Energy#63_p82_Pro3.indd 82

1/27/14 10:06 PM


Energy Report โดย : ชนากานต สันตยานนท ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

ี ตภัณฑ์ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ติดปกผลิ ด้วยฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ช่วยลดโลกร้อน

ทานเชื่อหรือไมวา ผูบริโภคมีบทบาทสําคัญ ในการช ว ยรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ มได หาก เป น ผู บ ริ โ ภคที่ ใ ห ค วามสนใจข อ มู ล ด า น สิ่ ง แวดลอ มของผลิต ภั ณฑที่ท านเลือกใช เพื่อสรางอุปสงคทางการตลาดผลิตภัณฑ ที่ ผ ลิ ต ด ว ยการใช วั ส ดุ น อ ย ใช พ ลั ง งาน อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ข องเสี ย น อ ย มีมลพิษสูสิ่งแวดลอมตํ่า ก็จะกลายเปนสิ่ง ที่กําหนดแนวทางของตลาด สงผลใหผูผลิต พยายามปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน การจัดการ ของเสีย หันมาสนใจทําธุรกิจที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมมากขึ้นเพื่อตอบโจทยผูบริโภค ในยุคปจจุบัน จ า ก ก ร ะ แ ส ค ว า ม ส น ใ จ ธุ ร กิ จ แ น ว อี โ ค (ธุ ร กิ จ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม) ทํ า ให เ กิ ด การพั ฒ นาโครงการ “พั ฒ นา ผู ป ระกอบการไทยเพื่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อยางยั่งยืนและลดโลกรอน” โดยหนวยงาน ITAP (โครงการสนั บ สนุ น การพั ฒ นา เทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย) ภายใต

ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เพื่อสงเสริมผูประกอบการที่สนใจ ผลิตสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ แสดงขอมูลสิง่ แวดลอมของผลิตภัณฑไปยัง ผู ซื้ อ ผ า นฉลากสิ่ ง แวดล อ ม โดยข อ มู ล สําคัญที่เปนประเด็นความสนใจของสังคม ณ ขณะนี้ คือ ภาวะโลกรอน ซึ่งสามารถ ขึ้นทะเบียนติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทที่ แสดงค า การปล อ ยก า ซเรื อ นกระจกของ ผลิ ต ภั ณ ฑ “ค า คาร บ อนฟุ ต พริ้ น ท ” ซึ่ ง ผู ป ระกอบการสามารถสมั ค รขอรั บ การ สนับสนุนทางเทคนิคและทุนผานโครงการ ของ สวทช. ดังกลาว โดยมีผูเชี่ยวชาญ แถวหนาของเมืองไทยที่รูจักกันเปนอยางดี ในแวดวงดานคารบ อนฟุตพริ้น ท นั่ น คือ ผศ.ดร.รัตนาวรรณ มั่งคั่ง ผูอํานวยการ ศูนยเชีย่ วชาญเฉพาะทางดานกลยุทธธรุ กิจ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (VGREEN) คณะ สิง่ แวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ใน การสรางองคความรูเ กีย่ วกับขอกําหนดของ มาตรฐานการวิเคราะหคารบอนฟุตพริ้นท

ที่ใหคําแนะนําเรื่องการเก็บขอมูล วิเคราะห ขอมูลเพื่อจัดเตรียมรายงานการวิเคราะห คารบอนฟุตพริ้นท พรอมการใหความชวย เหลือในขั้นตอนการทวนสอบและรับรองคา คารบอนฟุตพริ้นท หนึ่งในตัวอยางความสําเร็จของโครงการ ดังกลาว ไดแก บริษทั แดรีโ่ ฮม จํากัด ซึง่ เปน ผูร เิ ริม่ โครงการตนแบบในการผลิตนมอินทรีย ตั้งแตป พ.ศ.2547 จากแนวคิดในการเลี้ยง โคนมทีไ่ มใชสารเคมี เพือ่ ชวยลดตนทุนในกับ เกษตรกร และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ ยังลดความเสี่ยงจากสารเคมีที่ มีโอกาสตกคางในผลิตภัณฑอันอาจจะสง ผลตอสุขภาพของผูบริโภค แดรี่โฮมนับเปน ผูผลิตรายแรกที่ผานการรับรองมาตรฐาน นมอินทรีย อยางไรก็ตาม คุณพฤติ เกิดชูชนื่ (ผูก อ ตัง้ และกรรมการ บริษทั แดรีโ่ ฮม จํากัด) ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการประเมิน ปริ ม าณการปล อ ยก า ซเรื อ นกระจกหรื อ คาร บ อนุ ต พริ้ น ท ต ลอดห ว งโซ ก ารผลิ ต ตัง้ แต การผลิตนํา้ นมดิบ การผลิตเปนนมสด

83

Energy#63_p83-84_Pro3.indd 83

1/29/14 10:29 AM


พลาสเจอรไซส โยเกิรต พรอมดืม่ และโยเกิรต การกระจายสินคา การแชเย็นกอนบริโภค รวมทัง้ การจัดการของเสียภาชนะบรรจุหลัง บริโภค เพื่อตองการทราบวากิจกรรมใดที่ กอใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกมาก เพือ่ ทีจ่ ะไดหาทางแกไขปรับปรุงตอไป ซึง่ พบวา นมวัวอินทรีย แดรีโ่ ฮม มีคา คารบอน ฟุ ต พริ้ น ตํ่ า กว า นมวั ว ธรรมดาถึ ง 13% โดยปริมาตร เพราะเลี้ยงวัวดวยหญาสด เท า นั้ น นํ้ า นมที่ ไ ด มี ก ารขนส ง ในระยะ ไมไกลจากโรงงาน มีการจัดการพลังงานที่มี ประสิทธิภาพในขั้นตอนของการผลิต และ ที่ สํ า คั ญ “ยั ง ขายในราคาเท า เดิ ม ” เพื่ อ เปนการแสดงความจริงใจในการแสดงความ รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ใหสม กับแนวทางในการทําธุรกิจแบบ “Green, Clean, and Fair” (คุณภาพเปนใหญ ใส ใ จสิ่ ง แวดล อ ม พร อ มความยุ ติ ธ รรม) นอกจากนี้ การติดฉลากคารบอนฟุตพริน้ ท บนผลิ ต ภั ณ ฑ แ ดรี่ โ ฮม ยั ง เป น การสร า ง ความแตกตางกับผลิตภัณฑนมรายอื่น ๆ เพื่ อ ตอบแทนความไว ว างใจของลู ก ค า ตอกยํ้าความมั่นใจใหลูกคาเห็นวา แดรี่โฮม มีความมุงมั่นที่จะผลิตนมดี ๆ ที่ใสใจทุกราย ละเอียด หากทานอยากมีสว นรวมในการลด ปญหาภาวะโลกรอน ก็ควรหันมาสนับสนุน ผูผลิตที่ใสใจโลกรอนดังเชนแดรี่โฮม เพราะ “อํานาจอยูในมือของผูบริโภคทุกทาน” และ

หากสนใจดําเนินการติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นท แตไมทราบวาจะเริ่มตนอยางไรดี “เรา สามารถถอดบทเรียนความสําเร็จและแนวทางในการดําเนินงานสูความสําเร็จโดยงายใหทาน ได” กรุณาติดตอที่ คุณชนากานต สันตยานนท โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@tmc.nstda.or.th ฉบับหนา ผูเขียนจะมาบอกเลาความสําเร็จของอีกหนึ่งบริษัทที่เขารวมโครงการ “พัฒนา ผูประกอบการไทยเพื่อการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืนและลดโลกรอน” และสามารถนําเสนอ ผลิตภัณฑใหมทมี่ ฉี ลากคารบอนฟุตพริน้ ทเจาะสูต ลาดโลก เรือ่ งราวจะนาสนใจมากนอยเพียง ใด กรุณาติดตามอานในฉบับหนาคะ

84

Energy#63_p83-84_Pro3.indd 84

1/29/14 10:20 AM


O Waste Idea รองศาสตราจารย ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ป ญหาภัยพิบัติจากสารเคมีรั่วไหลสู แหล งนํ้าประปา บทเรียนราคาแพง…สู การเตรียมพร อมเพื่อเฝ าระวัง แหลงนํ้าดิบสําหรับนํ้าประปา… ความจําเปนที่ตองไดรับการดูแลรักษา นํ้าเปนสิ่งสําคัญตอชีวิตของมนุษย เราทุกคนตองการนํ้าประปาที่มี คุณภาพดี และสามารถดืม่ ไดอยางปลอดภัย อยางไรก็ตาม ปญหาการ ปนเปอ นสารมลพิษในแหลงนํา้ ทัง้ ดานชนิดและปริมาณของมวลสารที่ มากขึน้ และการควบคุมมลพิษทางนํา้ ในปจจุบนั ยังไมมปี ระสิทธิภาพที่ ดีเพียงพอ สงผลกระทบตอคุณภาพนํ้าของแหลงนํ้าที่นํามาใชผลิต นํ้าประปา ซึ่งนับวันจะยิ่งมีคุณภาพตํ่าลงทุกที เปนที่ทราบกันดีวา ปญหาการปนเปอนแหลงนํ้ามีสาเหตุสวนใหญมาจากการปลอยนํ้า เสีย สิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอยจากชุมชน นํ้าเสียจากเกษตรกรรมและ นํ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ไมไดรับการบําบัดอยางเหมาะสม นอกจากนี้ นํ้าในแหลงนํ้า ไดแก แมนํ้าลําคลองอาจมีการชะลาง ของนํ้ า ฝนนํ า เอาสิ่ ง สกปรกจากพื้ น ดิ น ไม ว  า จะเป น ตะกอนดิ น สารเคมีประเภทยาฆาแมลง ยากําจัดศัตรูพชื ปุย เคมี และสารพิษตาง ๆ ไหลลงไปในนํ้า ถาเราดื่มนํ้าประปาโดยไมไดกรองสิ่งปนเปอนตาง ๆ ที่อยูในนํ้าประปาออกไป ยอมมีความเสี่ยงตอสุขภาพอนามัยอยาง แนนอน จากขอมูลทางการแพทยชใี้ หเห็นวา นํา้ ประปาทีม่ สี ารเคมีและ โลหะหนักปนเปอน แมจะนํานํ้ามาตมจนเดือดแลวก็ไมสามารถกําจัด สารเคมีและโลหะหนักออกไปได แตอาจทําใหความเขมขนและอันตราย ของสารเคมีสูงขึ้นกวาเดิมอีก

กรณีศึกษาของภัยพิบัติสารเคมีรั่วไหลสูแหลงนํ้าประปา 1) ป ญ หาภั ย พิ บั ติ จ ากสารเคมี รั่ ว ไหลสู  แ หล ง นํ้ า ประปาของ เมืองชารลสตัน ซึ่งเปนเมืองเอกของรัฐเวสตเวอรจิเนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา (มกราคม พ.ศ.2557) รัฐเวสตเวอรจิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดมีประกาศภาวะฉุกเฉินใน พื้นที่ 9 เมือง ที่มีพื้นที่ติดกับเมืองชารลสตัน และแมนํ้าเอลค เมื่อวันที่ 9 มกราคม หลั ง เกิ ด เหตุ ท  อ ส ง สารเคมี ชํ า รุ ด ที่ โ รงงานฟรี ด อม อินดัสทรีส ซึ่งเปนอุตสาหกรรมบําบัดนํ้าเสียจากเหมืองถานหิน ในเมืองชารลสตัน ทําใหสารเคมี “4-เมทิลไซโคลเฮกเซน เมทานอล” หรือ สาร MCHM ที่ใชทําความสะอาดถานหินเกิดการรั่วไหลลงไปปน เปอนนํ้าในแมนํ้าเอลค สงผลใหนํ้าประปาที่จายใหประชาชนประมาณ 3 แสนคน รอบเมืองชารลสตัน มีการปนเปอนจนกลายเปนนํ้าสีเขียว อมนํ้าเงิน และมีกลิ่นคลายชะเอม ทางการจึงไดสั่งหามประชาชนดื่ม หรือใชนํ้าประปาทําอาหาร รวมถึงหามใชนํ้าประปาชําระลางรางกาย แตใหใชนํ้าไดเฉพาะในหองสุขา หรือเพื่อการดับเพลิงเทานั้น โดย ศูนยควบคุมและปองกันสารพิษประจํารัฐ เปดเผยวา ไดรับการรอง เรียนจากประชาชนเกือบ 800 คน ที่เกิดอาการปวย ทั้งอาเจียน ทอง เสีย ปวดหัวและเปนผื่นคัน หลังบริโภคนํ้าประปาที่ปนเปอนสารเคมี โดยบางสวนถูกนําตัวสงโรงพยาบาลแลว ทั้งนี้ปญหานํ้าปนเปอน ดังกลาว ทําใหเกิดภาวะขาดแคลนนํ้าประปาตอเนื่อง สงผลใหรานคา และรานอาหารจํานวนมากตองปดดําเนินการ

สารเคมีรั่วไหลสูแมนํ้าเอลค

แนวทางการแกปญหาเฉพาะหนา

ทางการของสหรัฐไดชวยจัดหานํ้าใหกับประชาชนที่ตองการ มี องคกรการกุศลไดขอรับบริจาคนํ้าดื่มบรรจุขวด และสํานักงาน จัดการฉุกเฉินแหงสหพันธ ไดมีแผนจัดสงนํ้า 1 ลานลิตร จาก รัฐแมรี่แลนด ไปใหความชวยเหลือ สวนบริษัท เวสตเวอรจิเนีย อเมริกัน วอเตอร โค ผูใหบริการระบบนํ้าประปาของเอกชนในรัฐ เวสต เวอรจิเนีย ทําการตรวจทดสอบนํ้าในแมนํ้าเอลค ซึ่งทาง บริษทั เสนอแนะวา จะตองรอจนกวาปริมาณการปนเปอ นของสาร MCHM ลดลงเหลือเพียง 1 สวน ตอนํ้า 1 ลานสวน และอาจตอง ใชเวลาอีกหลายวัน นอกจากนี้ เจาหนาที่สํานักงานคุมครอง สิง่ แวดลอม คาดวา สาร MCHM ทีร่ วั่ ไหลลงสูแ มนาํ้ จะมีปริมาณ ราว 7,500 แกลลอน พรอมกับสั่งให ฟรีดอม อินดัสทรีส ยาย สารเคมีทั้งหมดที่เก็บอยูในแทงคเหนือพื้นดิน 14 แทงค ใกลกับ แมนาํ้ เอลค ลาสุดควบคุมปริมาณการรัว่ ไหลไดแลว หลังสามารถ อุดรูรั่วในทอสงสารเคมีได 2) ปญหาภัยพิบัติจากสารเคมีรั่วไหลสูแหลงนํ้าประปาของ แถบชานกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุน (พฤษภาคม พ.ศ.2555) สํานักขาวเอเอฟพี รายงานวา ทางการญี่ปุนประกาศตัดระบบ การจายนํ้าประปาเปนการชั่วคราวในทันทีที่พบปญหานํ้าประปา ปนเปอนสารเคมีพิษ ในพื้นที่ 3 จังหวัด แถบชานกรุงโตเกียว ไดแก จังหวัดชิบะ กุนมะ และไซตามะ ซึ่งอยูหางจากกรุงโตเกียว ราว 30 กิโลเมตร ทําใหตองหยุดจายนํ้าดื่มนํ้าใชใหประชาชน มากกวา 3 แสนครัวเรือน หลังทางการตรวจพบการปนเปอน ของสารพิษในนํ้าประปาและเปนสารที่มีความเสี่ยงกอใหเกิด มะเร็ง ซึง่ มาจากโรงผลิตนํา้ ประปาจํานวน 6 แหง ผลจากคําสัง่ ดัง กลาวทําใหชาวบานไมมีนํ้าดื่มนํ้าใชมากกวา 330,000 ครัวเรือน ทั้ ง นี้ แหล ง ผลิ ต นํ้ า ประปาให บ ริ ก ารแก พื้ น ที่ ดั ง กล า ว คื อ แม นํ้ า โทเนะ สาขาของแม นํ้ า เอโดะ ส ว นสารพิ ษ ที่ พ บ คื อ ฟอรมาลดิไฮด ซึ่งไมมีสี แตจุดไฟติด มักถูกใชในอุตสาหกรรม 85

Energy#63_p85-86_Pro3.indd 85

1/15/14 9:52 PM


การผลิ ต สิ น ค า ใช ใ นครั ว เรื อ น อั น ตรายของสารเคมี ฟอรมาลดิไฮด หากบริโภคมากอาจสงผลใหเกิดมะเร็งและ เกิดความผิดปกติของระบบเลือด สงผลใหประชาชนที่อาศัย อยูในพื้นที่ไดรับความเดือดรอนอยางหนัก ตองเขาแถว รอคิ ว รั บ นํ้ า เพื่ อ การอุ ป โภคบริ โ ภคที่ ท างการส ง มา ทั้ ง นี้ ผูเชี่ยวชาญองคกรวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติ ระบุวา พบสาร ฟอรมลั ดีไฮด ซึง่ จัดกลุม วาเปนสารกอมะเร็งทีม่ คี า สูงเกินกวา ระดับทีป่ ลอดภัยตอสุขภาพมนุษยถงึ 0.200 มิลลิกรัมตอลิตร ในนํ้าที่เก็บมาจากแมนํ้าโทเนะ ซึ่งสูงกวาระดับที่ปลอดภัยถึง 2 เทา ที่กําหนดไวเพียง 0.080 มิลลิกรัมตอลิตร

การปนเปอนของสารตะกั่วในลําหวยคลิตี้ และ การแจงเตือนงดการบริโภคนํ้า อาการตะกั่วเปนพิษ เริ่มจากปวดทอง ทองผูก เบื่ออาหาร ถาเปนมาก ๆ จะ ปวดกระดูก ปวดขอตาง ๆ ซีดเพราะเลือดจาง ความดันเลือดสูง นํ้าหนักลด ชาปลายมือเทา บางครัง้ เจ็บเสนประสาท ความจําเสือ่ ม หมดสมรรถภาพทาง เพศทีละนอย ไตวาย ถาเปนเด็กจะเติบโตชา มีปญ  หาเรือ่ งการเรียน สมองทึบ ติดเชื้อโรคไดงาย แมนํ้าโทเนะปนเปอนสารเคมี

แนวทางการแกปญหาเฉพาะหนา

ทางการญี่ปุนประกาศตัดระบบการจายนํ้าประปาเปนการ ชัว่ คราวในทันทีทพ ี่ บปญหานํา้ ประปาปนเปอ นสารเคมีพษิ และ ดําเนินการตรวจสอบและปรับปรุงโรงผลิตนํา้ ประปา จํานวน 6 แหง และพบวา สาเหตุของการปนเปอนดังกลาวมาจากการ ปลอยนํ้าเสียจากโรงงานในบริเวณใกลเคียง 3) ปญหาภัยพิบตั จิ ากสารตะกัว่ รัว่ ไหลสูล าํ หวยคลิตี้ แหลงนํา้ ของชาวบานหมูบานคลิตี้ลาง ประเทศไทย ( เมษายน พ.ศ. 2541) ชาวบานคลิตี้ลาง ไดรับความเดือดรอนจากการปลอยนํ้า เสียของเหมืองแรคลิตี้ ซึ่งมีสารตะกั่วสะสมในลําหวยคลิตี้ มีการนํานํ้าจากหวยคลิตี้มาใชบริโภคโดยชาวบานในหมูบาน คลิตี้ลาง ดังไดปรากฎเปนขาวในหนาหนังสือพิมพมติชน รายวัน ฉบับวันที่ 21 เมษายน 2541 ซึ่งทางกรมอนามัย กรมการแพทย และสํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข ไดออก หนวยแพทยเคลือ่ นทีเ่ พือ่ สํารวจสภาวะสุขภาพของประชาชน เกี่ยวกับโรคพิษตะกั่ว ในหมูบานคลิตี้ลาง ซึ่งมีลําหวยคลิตี้ ไหลผาน ผลการตรวจพบสารตะกั่วในเลือดของชาวบาน สรุปไดวา 1. ชาวบานหมูบานคลิตี้ลาง มีปริมาณตะกั่วในเลือดสูงกวา คนปกติทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในกลุมเด็ก อายุตั้งแต 6 ปลงมา 2 นํา้ ในหวยคลิตี้ มีสารตะกัว่ ปนเปอ นในปริมาณทีไ่ มเหมาะสม สําหรับการอุปโภคบริโภคของประชาชน 3. สัตวนํ้า ประเภท กุง หอย ปู ปลา ในหวยคลิตี้ ทุกบริเวณมี สารตะกัว่ ปนเปอ นอยูใ นปริมาณทีไ่ มเหมาะสม ตอการบริโภค ของประชาชน

ลาสุดวันที่ 27 สิงหาคม 2556 ที่ผานมา คณะรัฐมนตรีอนุมัติงบประมาณ ประจําป 2556 ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอมา เพื่อใชดําเนินโครงการกําหนดแนวทางฟนฟูลําหวยคลิตี้จากการปนเปอน สารตะกั่ว นอกจากนี้ นํ้าในลําหวยคลิตี้ที่ปนเปอนสารตะกั่วไดไหลลงสู แมนาํ้ แมกลอง ซึง่ นํา้ จากแมนาํ้ แมกลองที่ อ.ทามวง จ.กาญจนบุรี ไดผนั ลงสู คลองมหาสวั ส ดิ์ เพื่ อ เป น นํ้ า ดิ บ ที่ นํ า ไปผลิ ต นํ้ า ประปาให ค นกรุ ง เทพฯ และคนฝงตะวันตกของแมนํ้าเจาพระยาใช ซึ่งคนกรุงเทพฯและปริมณฑล อาจไดรับผลกระทบเชนเดียวกัน หากไมมีการฟนฟูลําหวยคลิตี้ ตะกอน ตะกั่วจากลําหวยคลิตี้ที่ไหลลงในแมนํ้าแมกลองก็จะไหลลงสูอาวไทยซึ่งเปน แหลงผลิตอาหารทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของประเทศ พิษตะกัว่ ทีส่ ะสมยังสงผลกระทบ ทัง้ ตอคนและสิง่ แวดลอม ยิง่ ปลอยนานไปสารตะกัว่ จะไหลไปตามลําหวยและ ลงสูแ หลงนํา้ ทัง้ อางเก็บนํา้ แมนาํ้ สายสําคัญ และหากปลอยใหเกิดการสะสม มากขึ้นอาจสงผลกระทบเปนวงกวาง

แนวทางฟนฟูลําหวยคลิตี้

กรมควบคุมมลพิษไดดําเนินการตรวจสอบและเสนอแนะมาตรการฟนฟู ลําหวยคลิตี้ โดยมีมาตรการควบคุมกิจกรรมของการทําเหมืองแร ดังนี้ - เลิกใชบอเก็บกักตะกอนที่มีหลุมยุบ - หามระบายนํ้าทิ้งจากบอเก็บกักตะกอนลงสูพื้นที่ภายนอกและใหใชนํ้า หมุนเวียน - ติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าและตะกอนดินทองนํ้าอยางตอเนื่อง ดังนั้นจึงเปนการจําเปนที่เราตองหาแนวทางในการคุมครองและปกปอง แหลงนํ้าประปาใหปลอดภัย และสามารถนํามาผลิตนํ้าประปาที่มีคุณภาพ และสามารถดื่มได ตามแผนปฏิบัติการ 21 หรือ Agenda 21 เพื่อมุงสู เปาหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป เอกสารอางอิง 1. http://www.onep.go.th 2. http://www.pcd.go.th 3. http://www.mcot.net 4. http://www.thethailandnews.com

86

Energy#63_p85-86_Pro3.indd 86

1/15/14 9:52 PM


Energy#63_p87_Pro3.indd 87

1/23/14 4:18 AM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

การขาดแคลนน้ําสะอาด ปัญหาที่โลกต้องตระหนัก

ความเชือ่ มโยงของภาวะโลกรอนตอการขาดแคลนนํา้ สะอาดดูจะ หางไกลกัน แตเมือ่ พูดถึงภาวะความแหงแลง การขาดแคลนนํา้ ก็ คงจะดูไมไกลกันมากนัก ในทีน่ ี้อยากใหนึกถึงภาพสภาพอากาศ ที่รอนขึ้นในยุโรป หรือในหลายประเทศที่เคยหนาวจัดเปลี่ยนมา รอนจัด ความตองการนํ้าดื่มเพื่อลดความรอน การรักษาระดับ นํ้าในรางกายจึงเปนสิ่งจําเปน เมื่อหลายปที่ผานมา ประเทศใน แถบแอฟริกามีเด็กจํานวนมากตายเพราะขาดนํ้า และที่สําคัญ เกิดโรคระบาดจากระบบทางเดินอาหาร มีนํ้าสะอาดนอยเกินไป ไมเพียงพอตอความตองการ แหลงนํา้ ธรรมชาติเกิดการปนเปอ น มลพิ ษ จากกิ จ กรรมต า ง ๆ เช น อุ ต สาหกรรมเหมื อ งแร ในประเทศไทย เห็นไดจากผลกระทบนํา้ ทีป่ นเปอ นตะกัว่ จากเหมือง คลิตี้ จ.กาญจนบุรี เด็ก ๆ เปนโรคพิษจากสารตะกั่วจํานวนมาก เปนภาระตอครอบครัวและสังคมที่ตองดูแล คุณภาพนํ้า หรือนํ้าจากฟา ที่บริเวณแมเมาะจากการผลิตไฟฟา จากถานหิน มีการปลอยกาซซัลเฟอรไดออกไชดจากโรงไฟฟาสู ชั้นบรรยากาศจนเกิภาวะฝนกรดกัดกรอนหลังคาและพืชพันธุ แมสัตวใหญยงั ตาย ทําใหความเชื่อทีว่ านํา้ จากฟาเปนนํ้าบริสุทธิ์ จึงเปลี่ยนไป รวมถึงนํ้าฝนจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ ชาวบานดืม่ กินไมได เนือ่ งจากมีสารพิษปนเปอ นจนตองซือ้ นํา้ กิน ความรับผิดชอบตอสังคม การพัฒนาที่มีผลกระทบตอชุมชน ประชาชน โดยเฉพาะชีวิตความเปนอยูของประชาชนที่ตองเสีย เงินซื้อนํ้าดื่ม ราคานํ้าดื่มจึงแพงกวานํ้ามัน ดังตัวอยางที่กลาว มาแลว ดังนั้นจากแหลงนํ้าตาง ๆ ที่เคยใชประโยชนเปนแหลงนํ้า บริโภค จึงมีความสําคัญในการนํานํา้ มาใชดมื่ ตองมีการปรับปรุง คุณภาพ ตองฆาเชื้อโรค ความสามารถในการฟอกตัวคืนตาม ธรรมชาติยากจะเปนเชนในอดีต แหลงนํ้าที่ทําเปนนํ้าดื่มจึงเปน สิ่งจําเปน และตองปกปองรักษาไว

การเปลี่ ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่มี ผลตอการดํ ารง ชีวิตของมนุษย เปนเรื่องที่ปรากฏชัดในหลายดานตั้งแตการ ดํารงชีพที่ตองปรับเปลี่ยนระบบนิเวศ สังคม เศรษฐกิจ ที่เกิด จากภาวะการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ในชวงเวลาที่ผานมา การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติสอนให โลกรับรูถึงหายนะที่ จะเกิดขึ้นอยางรุนแรง และหมายถึงการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ ของมนุ ษ ยชาติ การเรี ย กร อ งให ต ระหนั ก ถึ ง ป ญ หาจาก นานาชาติที่มีการประชุมรวมกันหลายครั้ง และยังไมประสบ ผลสําเร็จ จนธรรมชาติสงเสียงเตือนดวยภัยพิบัติตาง ๆ ที่ เกิดขึ้น โดยเฉพาะเมื่อปที่ผานมา ปญหาสิ่งแวดลอมกับการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศหรือทีเ่ รียกกันวาภาวะโลกรอนนัน้ เห็นไดชัดวาหากยังไมทําอะไร ชีวิตของมนุษยที่จะอยูรอดได คือการรูจักปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป (Adaptation)

88

Energy#63_p88-89_Pro3.indd 88

1/16/14 9:05 PM


การขาดแคลนนํา้ ดืม่ สะอาด ปญหาทีโ่ ลกตองตระหนัก เกิดจากภาวะโลกรอน เมื่อความแหงแลงมาเยือน ทะเลทราย พื้นที่ที่เคยชุมชื้นเปนแหลงนํ้า ไดสญ ู หายไป ประชากรทีเ่ พิม่ มากขึน้ ความตองการนํา้ ดืม่ สะอาดเพิม่ มากขึ้น นํ้าเสียก็เพิ่มมากขึ้นตามที่กลาวไปแลวขางตน เกิดสมการ ความขาดแคลน กลาวคือนํา้ สะอาดลดนอยลงทัง้ พืน้ ทีร่ องรับ ปริมาณ นํา้ สะอาดทีล่ ดนอยลง ความตองการบริโภคนํา้ ทีส่ งู ขึน้ นํา้ สะอาดทีม่ ี อยูถูกทําลายดวยมลพิษตาง ๆ บางคนถกเถียงวา เมื่อโลกรอนขึ้น ภาวะนํา้ แข็งขัว้ โลกทีเ่ ปนนํา้ สะอาดจะเพิม่ ขึน้ แตอยางลืมวาตองอาศัย ระบบขนสงที่มีราคาแพงมหาศาล ซึ่งมีบางประเทศที่รํ่ารวยเทานั้น เชน กลุมอาหรับที่มีบอนํ้ามันจะมีเงินจางขนสงเกาะนํ้าแข็งขั้วโลกมา ทําเปนนํ้าสะอาดดื่มกิน หรือการลงทุนทางเทคโนโลยีขั้นสูงในการ เปลีย่ นนํา้ ทะเลเปนนํา้ จืด นัน่ หมายถึง บางประเทศเทานัน้ ทีท่ าํ ได แตใน ประเทศแอฟริกาทีย่ ากจน ความพยายามรักษาแหลงนํา้ สะอาดดูจะเปน สิง่ จําเปนกวาการลงทุนทีก่ ลาวถึงขางตน

3.การพัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการประปา การปรับปรุงคุณภาพ การทํานํา้ ดืม่ ใหมคี ณ ุ ภาพนํา้ ทีเ่ หมะกับการบริโภค ในบางประเทศ เชน สิงคโปร มีการนํานํ้าเสียกลับมาใชใหม บําบัดนํ้าเสียจนเปนนํ้าดี และ สามารถใชบริโภคได 4. การพั ฒ นาที่ ต  อ งคํ า นึ ง ถึ ง การใช นํ้ า อย า งเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ เชน ภาคอุตสาหกรรม ชุมชน เกษตรกรรม ตองมีการ วางแผนอยางเหมาะสม นั่นหมายถึง การใชอยางมีประสิทธิภาพและ ชวยใหมีนํ้าตนทุนเพียงพอตอการบริโภค 5. ติดตามตรวจสอบคุณภาพนํา้ ในแหลงนํา้ ตาง ๆ ทีใ่ ชเพือ่ การบริโภค ตองติดตามอยางตอเนือ่ ง ปองกันปญหาโรคระบาด หรือมลพิษทางนํา้ ที่จะเปนปญหาในอนาคตซึ่งมีผลตอสุขภาพประชาชน 6.การพัฒนาแหลงนํ้าที่ยั่งยืน โดยเฉพาะการสงวนและรักษาปาไม เปนสิง่ จําเปนและเปนประโยชนอยางยัง่ ยืนในการรักษาแหลงนํา้ สะอาด แหลงตนนํ้าดิบที่จะชวยใหมีนํ้าสะอาดใชไดอยางเพียงพอและยั่งยืน กวาการสรางเขื่อนหรืออางเก็บนํ้าที่ทําลายธรรมชาติ

วั นนี้มีการใหความชวยเหลือในการปรับปรุงคุณภาพนํ้าจากแหลง ตาง ๆ ใหเปนนํา้ ดืม่ สะอาด ใหกบั ประชาชนในภูมภิ าคตาง ๆ จึงมีความ จําเปนและมีขอเสนอตอความตระหนักในเรื่องของนํ้าดื่มสะอาด ดังนี้ 1.การจัดการพื้นที่รองรับนํ้าสะอาด แหลงตนนํ้าสําคัญของประเทศ ตองไดรับการปกปองมิใหสูญสลาย ทางหนึ่งคือ การปลูกตนไม การ สรางระบบ zoning ที่สงวนรักษาแหลงนํ้าไวใหลูกหลาน 2.การกระตุนพฤติกรรมการบริโภคใหรูจักคุณคาของนํ้าดื่มสะอาด ไมใชนํ้าอยางฟุมเฟอย เพื่อสงวนหรือลดการใชนํ้าลง ใหมีนํ้าใชอยาง เพียงพอตลอดทั้งป

จากขอ เสนอทั้ ง 6 ข อ เป น ส ว นหนึ่ ง ของการใหค วามสํ า คั ญ ตอ แหลงนํ้าตนทุนนํ้าสะอาดที่จะชวยใหเพียงพอตอการบริโภคอุปโภค ไมขาดแคลนนํ้าแมในฤดูกาลที่แหงแลง และไมอาจสรางแหลงนํ้า เพิม่ เติมไดอกี เพือ่ คนในรุน หลังจะไดมชี วี ติ ทีด่ ี และปลอดภัย พรอมทีจ่ ะ รองรับกับการเปลี่ยนแปลงของภาวะภูมิอากาศที่จะกอใหเกิดความ แหงแลงอยางรุนแรงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เอกสารอางอิง รศ.จุฑาทิพ คลายทับทิม การเมืองเรื่องสิ่งแวดลอม โรงพิมพชุมนุม สหกรณแหงประเทศไทย กทม. 2553 89

Energy#63_p88-89_Pro3.indd 89

1/16/14 9:05 PM


Energy Exhibit ณ อรัญ

ปดฉากลงอยางสมบูรณแบบสําหรับงานงานสถาปนิกลานนา ประจําป 2557 หรือ LANNA ARCHITECTS 2014 นิทรรศการวิชาชีพสถาปนิก ภายใตชอื่ “โชวเหนือ” ระหวางวันที่ 17 – 19 มกราคม 2557 ทีผ่ า นมา ณ เชียงใหมฮอลล ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม แอรพอรต ภายใตความรวมมือของกรรมาธิการสถาปนิกลานนา และบริษทั ทีทเี อฟ อินเตอร เนชัน่ แนล จํากัด สําหรับงานนีย้ งั ไดรบั เกียรติจาก มจ.ภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธโิ ครงการ หลวง เปนประธานในพิธเี ปดงาน

สถาปนิ ก ล า นนา 57 โชว เ หนื อ ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม แอรพอรต

โ ด ย ภ า ย ไ ด  ร ว บ ร ว ม จั ด แ ส ด ง ด  า น สถาปตยกรรมในภูมิภาคจากหลากหลาย สาขาทั้งจากบริษัท สํานักงาน หนวยงาน เอกชน นักออกแบบอิสระ สถาบันการศึกษา และผู  เ กี่ ย วข องในวิ ชาชีพสถาป ต ยกรรม สูส าธารณะชน และสะทอนใหเห็นคุณคาของ วิชาชีพในดานสาขานีอ้ ยางทัว่ ถึง นอกจากนี้ งานสถาปนิกลานนา ยังเปนศูนยกลางในการ เผยแพรเทคโนโลยีดา นวัสดุ-อุปกรณ ทีใ่ ชใน การออกแบบกอสราง และสินคาตกแตงบาน จากผูผลิตและตัวแทนจําหนายทั่วโลก เพื่อ กระตุน ใหมกี ารนํานวัตกรรมไปใชกนั อยางแพร 90

Energy#63_p90-91_Pro3.indd 90

หลาย รวมถึงแบงปนความรูเ กีย่ วกับแวดวง สถาปตยกรรมใหผูที่สนใจดวย นอกจากนีภ้ ายในงานยังไดมกี ารเสวนาดานการ ออกแบบจาก 3 กูรู ในหัวขอ “โชวเหนือ…3 เวียง” โดย อ.จุลทัศน กิตบิ ตุ ร, อ.วิถี พานิชพันธ และ อ.นคร พงษนอ ย เพือ่ เปนการแลกเปลีย่ นความรู เทคนิคดานการออกแบบแกผเู ขารวมงาน พรอมกันนีภ้ ายในงานยังไดมกี ารมอบรางวัล อนุรกั ษสถาปตยกรรม ดีเดน ประเภทอาคาร ทางพระพุทธศาสนา ประจําป 2557 แก

1.วิหารวัดดอนสัก บานตนมวง ต.บานฝาย อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ 2.หอไตร วัดมณีบรรพต มหาวิหาร อ.เมือง จ.ตาก และรางวัลอนุรักษ สถาปตยกรรม ดีเดน ประเภทอาคารทีพ ่ กั อาศัย ประจําป 2557 แก 1.บานรอยป ถ.เขานํา้ ตก ต.ศรี พ นมมาศ อ.ลั บ แล จ.อุ ต รดิ ต ถ 2. บานปาศรีพรรณ ใจสันติ ต.หนองชางคืน อ.เมือง จ.ลําพูน 3.บานบวกบอน ของนาย ประเสริฐ ไชยวงษา ต.แมแรง อ.ปาซาง จ.ลําพูน สําหรับการจัดงานในครัง้ นีเ้ รียกไดวา เปนการเติม เต็มใหกบั ผูเ ขาชมงานไดอยางสมบูรณแบบ และ ไดรับความสนใจจากผูเขารวมงานเปนอยางดี ครับ

1/29/14 10:24 AM


Energy Exhibit กรีนภัทร

วว. โชวงานวิจัยและบริการ ดานพลาสติกชีวภาพครบวงจร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปดตัวงานวิจัยและบริการดาน พลาสติกชีวภาพอยางครบวงจร เชน การพัฒนาหองปฏิบัติการทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพ การบริการทดสอบบรรจุภัณฑ พลาสติก การพัฒนาสูตรขึ้นรูปผลิตภัณฑจากพลาสติกยอยสลายได และการบริการรับรองผลิตภัณฑที่สลายตัวไดทางชีวภาพ เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับผูประกอบการไทยพรอมหวังพัฒนาประเทศใหกาวสูเวทีแขงขันโลก

นายยงวุฒิ เสาวพฤกษ ผูวาการ วว. กลาววา วว. ใหความสําคัญในการพัฒนา อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ ซึง่ ถือวาเปน ผลิตภัณฑชนิดหนึ่งที่มีความสําคัญยิ่งตอ เศรษฐกิจของไทย ทั้งนี้ วว. ดําเนินการสง เสริมผูประกอบการดานพลาสติกชีวภาพ ไทยอยางครบวงจร ตั้งแตตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า รวมถึงโครงสรางพื้นฐาน เพื่อ เปนสวนหนึ่งที่จะรวมพัฒนาประเทศใหกาว เขาสูเวทีแขงขันโลกตอไป เชน หองปฏิบัติ

การทดสอบการสลายตั ว ทางชี ว ภาพ ภายใตฝา ยวิทยาศาสตรชวี ภาพ วว. เปนหอง ปฏิบัติการแหงแรกของประเทศ ที่ผานการ ตรวจประเมินจาก DIN CERTCO ประเทศ สหพั น ธ ส าธารณรั ฐ เยอรมนี ในหั ว ข อ “การทดสอบหาระดับการแตกเปนสวนของ พลาสติกภายใตสภาวะการหมักทางชีวภาพ

ที่กําหนดในการทดสอบระดับตนแบบ ตาม มาตรฐานสากล ISO 16929” นอกจากนี้ ทางหองปฏิบตั กิ ารยังไดพฒ ั นาวิธกี ารตรวจ สอบการสลายตัวของพลาสติกยอยสลาย ไดทางชีวภาพในเบื้องตน (Preliminary Biodegradation Test) ขึ้นเปนแหงแรก ของประเทศ และดําเนินการยื่นจดสิทธิบัตร เปนที่เรียบรอยแลว ซึ่งการตรวจสอบการ สลายตัวไดทางชีวภาพในเบื้องตนนี้ เปน ประโยชนอยางยิ่งตองานวิจัยและพัฒนา วัสดุและบรรจุภัณฑดานพลาสติกชีวภาพ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เนื่องจากเปนวิธี การทดสอบที่รวดเร็ว แมนยํา และมีคาใช จ า ยน อ ยกว า การทดสอบตามมาตรฐาน สากล และยังมีบริการทดสอบบรรจุภัณฑ พลาสติก ศูนยการบรรจุหีบหอไทย วว. ใหบริการทดสอบบรรจุภัณฑรวมถึงบรรจุ ภัณฑพลาสติก โดยจะใหบริการวิเคราะห

ทดสอบคุณสมบัติทางดานกายภาพ เชน ความต า นแรงดึ ง ความต า นแรงฉี ก ขาด ความตานแรงทิ่มทะลุ อัตราการซึมผานได ชา อัตราการซึมผานของกาซ เปนตน ทั้ ง นี้ วว. ยั ง ได ร  ว มมื อ กั บ สมาคม อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย ในการ รั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ส ลายได ท างชี ว ภาพ โดยสํานักรับรองระบบคุณภาพ วว. จะทํา

หนาทีเ่ ปนผูต รวจสอบ และรับรองผลิตภัณฑ ที่ ส ลายตั ว ได ท างชี ว ภาพตามมาตรฐาน สากล และตามหลักเกณฑการพิจารณา ใหการรับรอง สวนสมาคมฯ จะเปนเจาของ เครื่ อ งหมายการค า เพื่ อ ใช ใ นการรั บ รอง ผลิตภัณฑที่สลายตัวไดทางชีวภาพ เพื่อ สงเสริมการตลาด และสรางมาตรฐานการ ยอยสลายทางชีวภาพใหกับสินคา

91

Energy#63_p90-91_Pro3.indd 91

1/23/14 3:45 AM


Green Community กรีนภัทร

TIPMSE จับมือ มูลนิธิ 3R เป ดแหล งเรียนรู เครือข ายรีไซเคิล

ลดขยะล นโลก ทิปเอ็มเซ รวมกับ มูลนิธิ 3R เทศบาล นครอุ ด รธานี เครื อ ข า ยภาครั ฐ ภาคเอกชน และ ชุมชนในเขตเทศบาล นครอุดรธานี นํารองเปดแหลงเรียน รู  เ ครื อ ข า ยสั ง คมรี ไ ซเคิ ล และร า น ศูนยบาทแหงแรกในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ณ เทศบาลนครอุดรธานี พรอมผลักดันสูศ นู ยกลางการเรียนรู ของภาค นับเปนแหลงเรียนรูแ หงที่ 5 ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย

เนื่องจากเทศบาลนครอุดรธานี เปนเมืองขนาดใหญที่ครอบคลุมพื้นที่ 47.70 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยูใ นจังหวัดจํานวน 134,133 คน ทําใหเกิดปญหาขยะมูลฝอยตามา ซึง่ เทศบาล นครอุดรธานี ไดดําเนินการสงเสริมการจัดการขยะในชุมชนมาอยางตอเนื่องตั้งแตป 2547 โดยปจจุบนั ยังมุง ผลักดันใหเกิดเปน “ชุมชนปลอดขยะ” และตัง้ เปาหมายใหชมุ ชนเขามามีสว นรวม ตั้งแตขั้นตอนการวางแผนการปฎิบัติ และติดตามผล โดยมีวัตถุประสงคที่จะใหเกิดการนํา ขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหมากทีส่ ดุ โดยในป 2556 เทศบาลอุดรธานีไดจดั ทําโครงการ ประกวดชุมชนปลอดขยะในพืน้ ทีเ่ ทศบาล ซึง่ มีชมุ ชนทีส่ ง เขาประกวดจํานวน 60 ชุมชน โดยแบง กลุม ชุมชนทีเ่ ขาประกวดเปนขนาด S, M และ L โดยชุมชนทีช่ นะประกวดจะมีจดุ เดนทีน่ า สนใจ แตกตางกันไป ซึ่งในเทศบาลนครอุดรธานีมีชุมชนกวา 101 ชุมชน แตละชุมชนลวนมีความ หลากหลายและแตกตางกัน แหลงเรียนรูเครือขายสังคมรีไซเคิล เทศบาลนครอุดรธานี เปนเสนทาง Green Routing ซึ่งประกอบดวยฐานการเรียนรูทั้งหมด 7 ชุมชน ดังนี้

92

Energy#63_p92-93_Pro3.indd 92

1/23/14 3:52 AM


1. ชุ ม ชนโนนอุ ทุ ม พร เป น ชุ ม ชนนํ า ร อ ง แหงแรกในการแกปญหาขยะของเทศบาล อุดรธานี มีจุดเดนคือ การใชวัสดุรีไซเคิล ลดคาครองชีพในรูปแบบของรานศูนยบาท จึงทําใหเทศบาลฯยกระดับใหชุมชนแหงนี้ เปนตนแบบและเปนพีเ่ ลีย้ งใหกบั ชุมชนอืน่ ๆ ในการดําเนินการจัดการขยะตอไป 2. ชุมชนพิชยั รักษ มีจดุ เดนคือ การเรียนรู เรือ่ งการคัดแยกขยะในครัวเรือน โดยจัดตัง้ ศูนยรับซื้อและรับบริจาคในรานคาโรงเรียน รวมถึงการสงเสริมการปลูกผักริมรัว้ ในชุมชน 3. ชุมชนดอนอุดม 3 มีจดุ เดนคือ การเรียน รูเรื่องการจัดการขยะอินทรียดวยการทํานํ้า หมักชีวิภาพและปุยหมัก การจัดตลาดนัด 0 บาท (เดือนละ 1 ครัง้ ) รวมถึงการยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียง 4. ชุมชนศรีสขุ มีความโดดเดนในการอยูร ว ม กันของหลายเชื้อชาติ ทั้ง ญวน ลาว แขก และไทย ทําใหมวี ฒ ั นธรรมทีห่ ลากหลาย แต สามารถรวมกลุม ทํากิจกรรมรวมกันได 5. ชุมชนโพธิสมภรณ / คลองเจริญ 2 มีจดุ เดน ในการจั ด การขยะด ว ยหลั ก การ 3R คื อ การลดการใช การใชซํ้า และการนํากลับ มาใชใหม รวมไปถึงการสรางพืน้ ทีส่ เี ขียว และ เป น ชุ ม ชนพี่ เ ลี้ ย งให กั บ ชมรมอนุ รั ก ษ สิง่ แวดลอมใหกบั อีก 4 ชุมชน 6. ชุมชนดอนอุดม 2 มีจดุ เดนคือ การจัดการ วัสดุรไี ซเคิล ดวยการสงเสริมการคัดแยกขยะ ในครัวเรือนและกิจกรรมราน ศูนยบาท และ

กิจกรรมฌาปนกิจศูนยบาท คือ เอาวัสดุ รีไซเคิลมาเปนคาฌาปนกิจ 7. ชุ ม ชนศรี ช มชื่ น 2 มี จุ ด เด น คื อ การ สงเสริมการคัดแยกขยะในครัวเรือน การนํา ขยะอินทรียกลับมาใชประโยชน ในรูปแบบ ของปุย หมัก และตอยอดโดยการนํามาใชกบั การปลูกผักไรดิน ดาน คุณวรรณา บุญเหลา หนึง่ ในประชากร ของชุมชนคลองเจริญ 2 ไดเลาใหฟงวา เมือ่ กอนเราตองนําขวดนํา้ หรือขยะมูลฝอย ของทีบ่ า นไปขายยังรานซึง่ อยูไ กลจากชุมชน ที่ เ ราอยู  แต ต อนนี้ เ ราไม ต  อ งไปไหนไกล แล ว แค เ ดิ น มาที่ ร  า นศู น ย บ าทในชุ ม ชน คลองเจริญ 2 ก็สามารถนําสินคามาขาย ได โดยนํ า ขยะมาชั่ ง นํ้ า หนั ก ตามราคา มาตรฐานของสิ น ค า ที่ ถู ก กํ า หนดไว โ ดย ร า นรั บ ซื้ อ ของเก า จั ง หวั ด อุ ด รธานี และ เรายังสามารถนําคูปองเงินที่ไดมาแลกซื้อ สินคาไดอกี ตอหนึง่ และนอกจากนีใ้ นชุมชน ของเรายั ง มี โ ครงการ “คลองสวยนํ้ า ใส” ซึง่ ไดจดั ทําขึน้ จากแนวคิดของประธานชุมชน คลองเจริญ 2 อีกดวย สําหรับในสวนของ คุณวีระ อัครพุทธิพร รองประธานกรรมการบริหาร สถาบันการ จัดการบรรจุภณ ั ฑและรีไซเคิล เพือ่ สิง่ แวดลอม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (TIPMSE) เป ด เผยว า ศู น ย ก ลางแห ง แรกของภาค

ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ณ เทศบาลนคร อุดรธานี จ.อุดรธานี ไดมกี ารจัดทําในรูปแบบ ของแหลงเรียนรูเสนทางสีเขียว (Green Routing) โดยเริม่ จากชุมชนทีม่ คี วามพรอม ทั้งหมด 7 ชุมชนกอน ทามกลางกระแสการ ตอนรับทีอ่ บอุน อยางมากจากทุกภาคสวนใน พื้นที่ จ.อุดรธานี โดยปจจุบันเทศบาลนคร อุดรธานีมีปริมาณขยะเฉลี่ยที่ 180-200 ตันตอวัน ทั้งนี้ TIPMSE ไดปรับเปลี่ยน แนวทางการขยายผลในเชิงรุกมาสูก ารสราง ตนแบบแหลงเรียนรูสังคมรีไซเคิล โดยการ ยกระดับเครือขายสูการเปนตนแบบดาน การจัดการขยะ และวัสดุรีไซเคิล ในพื้นที่ 4 ภูมภิ าค เพือ่ เปนแหลงศึกษาดูงานและเรียนรู ใหกับเครือขายใหมที่ใหความสนใจ รวมถึง จะชวยสงเสริมการเชือ่ มโยงกิจกรรมรวมกับ ภาคสวนตาง ๆ เชน ชุมชน เทศบาล สถาน ประกอบการ โรงเรียน วัด เปนตน ปจจุบัน การดําเนินการจัดตั้งแหลงเรียนรู สามารถ ดําเนินการในพื้นที่ 3 ภาค ประกอบดวย คือ ภาคกลาง รวม 2 แหง คือ ชุมชนออนนุช 14 ไร เขตประเวศ กทม. และชุมชนเคหะดินแดง กทม. ภาคเหนือ ที่ชุมชนบานวังฆอง จ.นาน และ ภาคใต ที่เทศบาลตําบลควนโดน ชุมชน ควนโดนใน จ.สตูล ซึ่งเหลือในสวนของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเปนแหงสุดทาย ดังนั้น สถาบันฯ จึงเรงทีจ่ ะสรางแหลงเรียนรูใ หครบ ใน 4 ภาค เพือ่ เปาหมายสูงสุด คือ การสราง ตนแบบ สูก ารขยายผล ใหเกิดสังคม รีไซเคิล ไปทั่วประเทศไทย 93

Energy#63_p92-93_Pro3.indd 93

1/23/14 3:52 AM


Saving Corner โดย : คุณทนงศักดิ์ วัฒนา

รูจักเทคโนโลยีผลิตไฟฟา ความรอนและความเย็นรวม (CCHP หรือ Tri-Generation)

เทคโนโลยีระบบผลิตไฟฟา ความรอนและความเย็นรวม (Combined Cooling, Heat and Power ,CCHP) หรือ Tri-Generation เปน เทคโนโลยีการใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงมาก (มากกวา 80%) เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีแบบอื่น ๆ ซึ่งเปนการพัฒนาตอยอดจาก เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาและความรอนรวม (Combined Heat and Power Generation, CHP หรือ Co-generation ) ซึง่ เทคโนโลยี การผลิตไฟฟาและความรอนรวม หรือ เทคโนโลยีโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration) เปนการเปลีย่ นพลังงานเคมีจากเชือ้ เพลิง เปลีย่ น เปนพลังงานความรอน และใชพลังงานความรอน เปลีย่ นเปนพลังงานกล เพือ่ ขับเพลาของเครือ่ งกําเนิดไฟฟา (Generator) สวนพลังงานความรอน จะนําไปใชในกระบวนอีกที ซึ่งอาจเปนการใชกอนหรือใชหลังจากการ เปลี่ยนเปนพลังงานกลก็ได โดยทั่วไป เทคโนโลยีโคเจนเนอเรชั่น ที่มีใชงานอยูในปจจุบัน จะใชอยู 2 รูปแบบ คือ ใชเทคโนโลยีกงั หันแกส (Gas Turbine) เพือ่ ผลิตไฟฟา หรือ ใชเทคโนโลยีกงั หันไอนํ้า (Steam Turbine) เพื่อผลิตไฟฟา แต อยางไรก็ตาม ถึงแมเทคโนโลยีโคเจนเนอเรชั่นจะเปนเทคโนโลยีที่มี ประสิทธิภาพสูง แตเมื่อพิจาณาถึงพลังงานสูญเสีย ยังมีศักยภาพที่ นําพลังงานสูญเสียจากกระบวนการนํามาใชประโยชนไดอกี เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของระบบใหสูงขึ้น โดยเฉพาะนําพลังงานสวนสูญเสีย หรือเหลือทิ้งจากกระบวนการมาผลิตเปนนํ้าเย็น โดยผานอุปกรณ หรือเครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) ซึ่งนิยมเรียก ระบบแบบนีว้ า เทคโนโลยีระบบผลิตไฟฟา ความรอนและความเย็นรวม (Combined Cooling, Heat and Power Technology ,CCHP) เทคโนโลยีซีซีเฮดพี (CCHP) หรือ Tri-Generation ปจจุบัน เทคโนโลยี Tri-Generation มีหลายรูปแบบขึ้นอยูกับการ เลือกแหลงผลิตความรอน เครือ่ งผลิตไฟฟา หรือขึน้ อยูก บั ระบบ CHP แตโดยรวมแลว ระบบจะผลิตพลังงานความรอน พลังงานไฟฟา และ ความเย็น ออกจากระบบพรอม ๆ กัน ดังแสดงในรูปที่ 3 ซึ่งรูปแบบ CCHP ที่มีการใชงานจะแบงออกเปน 3 รูปแบบ คือ (1) เครื่องยนต สันดาปภายในเพื่อผลิตไฟฟา (2) กังหันเพื่อผลิตไฟฟา และ (3) ระบบเซลลเชื้อเพลิงผลิตไฟฟา

รูปที่ 3 แสดงสัดสวนพลังงานที่เขาและออกจากระบบ CCHP การประยุกตเทคโนโลยี Tri-Generation เพือ่ ผลิตความรอน ความเย็น และไฟฟา กับคอนเดนเสทที่ออกจากอุปกรณทางความรอน โดย การติดตั้งถังทําไอนํ้าเกิดใหม (Flash steam Tank) เพื่อทําใหเกิด ไอนํา้ เกิดใหมขนึ้ ความดันประมาณ 3-4 บาร ดังแสดงในแผนภาพที่ 4

แลวนําไอนํ้าสวนนี้ไปขับกังหันไอนํ้าขนาดเล็กชนิดแรงดันตํ่า แลว บังคับใหไอนํ้าที่ออกจากกังหันไอนํ้า ใหมีความดันไอนํ้าประมาณ 1.5 บาร ไปขับเครื่องทํานํ้าเย็นแบบดูดซึม เพื่อทํานํ้าเย็นที่ 5-7 OC ซึ่ง สามารถนําไปใชในระบบปรับอากาศ หรือหลอเย็นในกระบวนการตอไป

รูปที่ 4 ภาพแสดงการติดตั้งถังทําไอนํ้าเกิดใหมจากคอนเดนเสท เพื่อผลิตไอนํ้าแรงดันตํ่า เพื่อความเขาใจการประยุกตใชระบบ CCHP หรือ Tri-Generation จากคอนเดนเสท ในบทความนี้จะขอกลาวถึงอุปกรณหลักของระบบ คือ เครื่องทําความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) และกังหัน ไอนํา้ ขนาดเล็กชนิดแรงดันตํา่ (Micro Steam Turbine Generator , MSTG) พอเขาใจ ดังนี้

เครื่องทําความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller : AbC) ระบบทําความเย็นแบบนี้ เปนระบบทําความเย็นทีใ่ ชพลังงานความรอน จากภายนอกมาทําใหเครื่องทําความเย็นทํางาน ถึงแมประสิทธิภาพ ของเครื่องทําความเย็นแบบนี้จะตํ่ากวาระบบทําความเย็นแบบอัดไอ แตดวยการพัฒนาอยางตอเนื่องประสิทธิภาพการทําความเย็นของ ระบบทําความเย็นแบบนี้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเรื่อย ๆ เชน ระบบ การทําความเย็นระบบดูดซึม ชนิดสามชั้น (Tri Stage Absorption Chiller) มีสมรรถนะการทําความเย็น ( COP) สูงถึง 1.7 เมือ่ พิจารณา ถึงสวนประกอบของระบบทําความเย็นแบบดูดซึม อาจกลาวไดวา ระบบทําความเย็นแบบดูดซึมมีสวนประกอบคลายกับระบบอัดไอ คือ เครือ่ งควบแนน (Condenser), เครือ่ งทําระเหย( Evaporator), วาลว ลดความดัน (Expansion Valve) และเครื่องอัดสารทําความเย็น (Compressor) แตในสวนของเครือ่ งอัด (Compressor) ในระบบดูด ซึมจะเปนเครื่องอัดชนิดความรอน (Thermal Compressor) ซึ่งใช พลังงานความรอนจากภายนอก มาขับเคลื่อนระบบแทน เครื่องอัดไอ (Compressor) แบบแรงกล ซึ่งในสวนเครื่องอัดชนิดความรอน มีองคประกอบ 2 สวน คือ เครื่องดูดซึมความรอน (Absorber) และ อุปกรณใหความรอน (Generator) ดังแสดงในรูปที่ 5

94

Energy#63_p_94-95Pro3.indd 94

1/23/14 3:56 AM


จากที่กลาวมาระบบทําความเย็นแบบดูดซึม เปนระบบที่ใชความรอน มาทําใหระบบทํางาน ซึ่งแหลงพลังงานความรอนดังกลาวสามารถ ใชไดหลากหลาย นับเปนจุดแข็งของเครื่องทําความเย็นแบบนี้ เชน ใชพลังงานความรอนทิ้งจากกระบวนการ อุปกรณทางความรอน ไอนํา้ เหลือทิง้ (Waste Steam) ไอเสียรอน (Hot fuel gas) นํา้ รอนทิง้ (Hot water) หรือแมแตพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย ( Solar Thermal) หรือพลังงานความรอนใตพิภพ (Geothermal) ซึ่งเปน ขอไดเปรียบมากกวา ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ ที่ตองใชพลังงาน ไฟฟาจากมอเตอรในการทําใหเครื่องอัดไอทํางาน นั่นหมายความวา ระบบทําความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) มีคาใชจาย ดานการเดินเครื่องตํ่ามาก รวมถึงคาการบํารุงรักษาตํ่ามากเชนกัน เนื่องจากในระบบไมมีสวนเคลื่อนไหว เมื่อเทียบกับระบบทําความเย็น แบบอัดไอ แตอยางไรก็ตาม ระบบทําความเย็นแบบดูดซึม ไมสามารถทํา อุณหภูมทิ ตี่ าํ่ มาก ๆ ได จึงเหมาะกับงานระบายความรอน งานหลอเย็น หรืองานปรับอากาศเทานั้น

รูปที่ 5 แผนภาพการทํางานและสวนประกอบของระบบทําความเย็น แบบดูดซึม ชนิดชั้นเดียว

รูปที่ 6 ลักษณะของเครื่องทําความเย็นแบบดูดซึมของ บริษัท เวอร เอ็นเนอรยี จํากัด ระบบทํ า ความเย็ น แบบดู ด ซึ ม เป น ระบบที่ ใ ช เ ครื่ อ งให ค วามร อ น (Generator) และเครือ่ งดูดซึม (Absorber) แทนเครือ่ งอัดไอในระบบ ทําความเย็นแบบอัดไอ และใชนาํ้ เปนสารทําความเย็น รวมกับสารดูดซึมนํา้ นิยมใชสารละลายลิเธียมโบรไมด (Lithium Bromide : LiBr) ซึง่ มี คุณสมบัตใิ นการดูดซึมและละลายนํา้ ไดเปนอยางดี โดยทีส่ ารละลายลิเธียม โบรไมดยงิ่ มีความเขมขนสูง ยิง่ ดูดซึมนํา้ ไดดี และการละลายนํา้ จะลดลง เมื่ออุณหภูมิของสารละลายสูงขึ้น เครื่องทําความเย็นแบบดูดซึม จะประกอบดวย อุปกรณหลัก คือ เครือ่ งดูดซึม (Absorber) เครือ่ ง ระเหย (Evaporator) อุปกรณทงั้ 2 ชนิดนีจ้ ะอยูภ ายในชุดเดียวกัน เครื่องใหความรอน (Generator) เครื่องควบแนน (Condenser) อุปกรณทงั้ 2 ชนิดนีจ้ ะอยูภ ายในชุดเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีอปุ กรณ ยอย ๆ คือ ขดทอนํา้ เย็น เครือ่ งสูบสารละลาย เครือ่ งสูบสารทําความเย็น สวนประกอบตาง ๆ ของเครือ่ งทําความเย็นแบบดูดซึม ดังแสดงในรูปที่ 7

รูปที่ 7 แสดงวงจรการทํางานของเครื่องทําความเย็นแบบดูดซึม ระบบทําความเย็นแบบดูดซึม มักใชนํ้าเปนสารทําความเย็น และการ ทํางานของระบบทําความเย็นอาศัยหลักธรรมชาติของนํ้า กลาวคือ จุดเดือดของนํ้าจะเปลี่ยนแปลงไปตามความดัน โดยที่นํ้าจะเดือดที่ 100 oC ที่ความดันบรรยากาศ (760 mmHg) และจะมีจุดเดือดตํ่าลง เมื่อความดันตํ่าลง โดยที่ความดัน 6 mmHg นํ้าจะเดือดที่ 3.7 oC ซึ่ง มีอุณหภูมิตํ่ามากพอ สําหรับแปลกเปลี่ยนความรอนกับระบบทํานํ้า เย็นที่มีใชทั่วไป สําหรับงานหลอเย็นและระบบปรับอากาศทั่วไป ซึ่งจะ ผลิตนํ้าเย็นที่อุณหภูมิที่ 7 oC จากรูปที่ 7 ระบบทําความเย็นแบบดูด ซึมจะเริม่ ทํางาน เมือ่ มีแหลงความรอนจากภายนอก สงไปแลกเปลีย่ น ความรอนที่เครื่องใหความรอน (Generator) ซึ่งภายในบรรจุสาร ละลายลิเธียมโบรไมดเจือจาง มีสารทําความเย็น (นํ้า) ละลายปนอยู เมือ่ สารละลายดังกลาวไดรบั ความรอนจะทําใหสารทําความเย็นระเหย ออกจากสารละลายลิเธียมโบรไมด สารทําความเย็น (นํ้า) จะถูก ควบแนนทีเ่ ครือ่ งควบแนน และสารทําความเย็น (นํา้ เย็น) ทีก่ ลัน่ ตัวแลว จะถูกสงไปยังเครื่องระเหย (Evaporator) เพื่อแลกเปลี่ยนกับนํ้าเย็น ขณะเดียวกันบรรจุสารละลายลิเธียมโบรไมดทถี่ กู แยกสารทําเย็นออก จะเขมขนมากขึ้น และอุณหภูมิสูงขึ้นดวย (Concentrated Lithium Bromide) จะไหลออกจากเครื่องใหความรอน (Generator) และ ถูกฉีดไปยังทอนํ้าหลอเย็นภายในเครื่องดูดซึม (Absorber) เพื่อลด อุณหภูมิของสารละลายลิเธียมโบรไมด เพื่อเพิ่มสามารถการดูดซึม สารทําความเย็น (นํ้า) ในชวงจังหวะนี้ ไอของสารทําความเย็นที่ระเหย มาจากเครื่องระเหย จะถูกสารละลายลิเธียมโบรไมดดูดซึม ทําให กลายเปนสารละลายเจือจางอีกครั้ง และถูกเครื่องสูบสารละลายสง ไปยังเครื่องใหความรอน (Generator) อีกครั้ง และดําเนินตอเนื่อง ตอไปแบบไมหยุด เมือ่ ยังมีพลังงานความรอนจากภายนอกจายไปยังเครือ่ งใหความรอน (Generator) จะเห็นไดวา ระบบทําความเย็นแบบดูดซึมใชความรอน ในการขับเคลือ่ นระบบ และมีเพียงเครือ่ งสูบสารละลายใหหมุนเวียนใน ระบบเทานั้น ปราศจากชิ้นสวนเคลื่อนไหว สงผลใหระบบทําความเย็น แบบดูดซึม มีคาการเดินระบบตํ่ามาก รวมถึงตนทุนการซอมบํารุงตํ่า ไปดวย และยังมีขอ ดี เครือ่ งใชแหลงพลังงานความรอนทีน่ าํ มาขับระบบ สามารถใชแหลงความรอนคุณภาพตํา่ ได นับวาเปนระบบทําความเย็น ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยางแทจริง

95

Energy#63_p_94-95Pro3.indd 95

1/23/14 3:56 AM


Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001/wonlop.r@gmail.com

คูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงาน (ตอนที่ 8) ภาคผนวก ก

ตัวอยางแบบฟอรมที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน

จาก กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการจัดการ พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการดําเนินการ จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ กําหนดใหพนักงานเจาหนาที่ บุคคลหรือนิติบุคคล (ผูตรวจสอบ พลังงาน) ที่อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน อนุญาต มีหนาที่ดําเนินการตรวจสอบและรับรอง (Certification Audit) ตามที่กําหนด สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน จึงจัดทําคูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงานสําหรับผูต รวจสอบพลังงานขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหผทู ี่ มีหนาทีท่ เี่ กีย่ วของใชเปนแนวปฏิบตั ติ อ ไป โดยคูม อื มีสว นประกอบดังนี้ • บทที่ ๑ เกณฑการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน • บทที่ ๒ ขั้ น ตอนการตรวจสอบและรั บ รองการจั ด การ พลังงาน • ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน • ภาคผนวก ข กฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการตรวจสอบและรับรองการ จัดการพลังงาน

ตัวอยางแบบฟอรมที่คูมือฉบับนี้ไดบรรจุไวนั้น มีวัตถุประสงคเพื่อ ใหการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานของผูตรวจสอบ พลังงานมีแนวทางในการดําเนินการทีช่ ดั เจน ฉบับนีจ้ ะขอเริม่ จาก ภาค ผนวก ก-๓ รายการตรวจสอบการจัดการพลังงานในการดําเนินงาน ตามขอกําหนดกอนครับ เพือ่ ใหผอู า นทราบถึงรายการคําถาม เอกสาร หรือ หลักฐาน ที่ผูตรวจสอบพลังงานจะเขามาดําเนินการตรวจที่ โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม แตเนื่องจากรายการตรวจสอบฯ ดังกลาวมีความยาวพอสมควร จึงขออธิบายแยกเปน 8 ขั้นตอน ตามแนวทางการพัฒนาระบบจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 7 การตรวจติดตามและการประเมินการจัดการพลังงาน ขอ 9 เจาของโรงงานควบคุมและเจาของอาคารควบคุมตองจัดใหมี การตรวจติดตาม และประเมินการจัดการพลังงาน รวมถึงการทบทวน วิเคราะห และแกไขขอบกพรองของการจัดการพลังงานตามชวงเวลาที่ กําหนดอยางเหมาะสมเปนประจําอยางนอยปละหนึ่งครั้ง

โดย Energy Saving ฉบับที่ผานมา ไดกลาวถึง คํานํา บทที่ ๑ และ บทที่ ๒ ไปแลว ดังนั้น ในฉบับนี้จะกลาวถึง ภาคผนวก ก ตัวอยาง แบบฟอร ม ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การตรวจสอบและรั บ รองการจั ด การ พลั ง งาน ต อ ไป หวั ง ว า ผู  อ  า นจะได รั บ ประโยชน จ ากคู  มื อ นี้ ค รั บ โดยเฉพาะผู  ที่ เ กี่ ย วข อ งจากอาคารควบคุ ม และโรงงานควบคุ ม ที่ตองปฏิบัติตามกฎหมายฉบับนี้ครับ

96

Energy#63_p96-98_Pro3.indd 96

1/27/14 10:14 PM


รายการการตรวจสอบการจัดการพลังงานในการดําเนินงานตามขอกําหนด

ปี ล ะครั ้ ง

97

Energy#63_p96-98_Pro3.indd 97

1/27/14 10:14 PM


(ถ้ า มี )

เอกสารอางอิง

คูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงาน สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน พฤษภาคม ๒๕๕๖ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๓ 98

Energy#63_p96-98_Pro3.indd 98

1/27/14 10:14 PM


Energy Clinic กองบรรณาธิการ

รูจัก…

ฉลากประหยัดไฟ เบอร 5 คําถาม : ผมเปนคนทามวงครับ เรียนอยูชั้นป 1 คณะสิ่งแวดลอม

มหาวิทยาลัยมหิดล คิดจะเลือกหัวขอ “ฉลากประหยัดไฟเบอร 5” ทํา รายงานสงอาจารย จึงอยากรบกวนถามพี่ ๆ วา ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 มีรายละเอียดความเปนมาอยางไรบางครับ (จาก นายคมสัน เจตนคง)

คําตอบ : คําถามที่นองถามมานาสนใจและเปนอีกหนึ่งคําถามที่ หลาย ๆ คนอาจจะกําลังสงสัยอยู ฉลากเบอรหานับวาเปนอีกหนึ่ง เหตุผลในการเลือกซื้อเครื่องใชไฟฟาสําหรับหลาย ๆ คนทีเดียว สําหรับความเปนมาของฉลากเบอร 5 สืบเนื่องมาจากการขยายตัว ของสังคม และการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย สงผลใหความ ตองการใชไฟฟาของประเทศเพิ่มสูงขึ้น ทําใหการไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย (กฟผ.) จําเปนตองขยายแหลงผลิตเพือ่ รองรับความ ตองการใชไฟฟาที่สูงขึ้น ซึ่งนอกจากจะตองจัดหาแหลงผลิต และ ใชเงินลงทุนในการกอสรางโรงไฟฟาแลว การนําเชือ้ เพลิงเพือ่ การผลิต กระแสไฟฟา ยังตองใชเงินลงทุนสูง และมีความผันผวนอยางตอเนื่อง สงผลตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศอีกดวยครับ งานการจัดการดานการใชไฟฟา (Demand Side Management หรือ DSM) เปนภารกิจที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติให กฟผ. ดําเนินการ รณรงคสง เสริมใหประชาชนใชไฟฟาอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ ตัง้ แตวนั ที่ 3 ธันวาคม 2534 เปนตนมา และไดเปดตัวอยางเปนทางการ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2536 ภายใตชื่อ “โครงการประชารวมใจ ประหยัดไฟฟา” (Together Conservation) และไดดําเนินการ โครงการ “ฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5” มาโดยตลอด ปจจุบนั กฟผ. ยังคงดําเนินการตอเนือ่ งกับ โครงการ “ฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5” โดยการประสานแนวทางปฏิบตั ใิ หสอดคลองกับนโยบายของกระทรวง พลังงาน โดยรวมเปนคณะทํางานดานมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงาน ดูแลงานฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 ซึ่งมีมาตรฐานตรากระทรวง พลังงานกํากับอยูในรูปลักษณโฉมใหม ฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5

วัตถุประสงค ของโครงการฉลากประหยัดไฟฟ าเบอร 5 มุง รณรงคสงเสริมใหเกิดการใชพลังงานไฟฟาอยางรูคุณคา และ มีประสิทธิภาพ ดวยวัตถุประสงคในการดําเนินโครงการ ดังนี้ 1. เพื่อรณรงคใหผูผลิต/ผูนําเขา ผลิตและนําเขาอุปกรณไฟฟาที่ มีประสิทธิภาพสูงและมีราคาที่เหมาะสม 2. จูงใจและเสริมสรางทัศนคติการประหยัดไฟฟาแกประชาชน โดย ใหความรูและสรางความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการใชพลังงาน ไฟฟาที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ 3. เสนอทางเลือกของผูบ ริโภคในการตัดสินใจเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ ที่มีประสิทธิภาพสูง 4. สนับสนุนและแสวงหาเทคโนโลยีการประหยัดไฟฟา รวมทัง้ การ บริหารการใชไฟฟาเพื่อนําพลังงานไฟฟามาใชใหเกิดประโยชน สูงสุดตอผูบริโภคและประเทศชาติโดยรวม

คําถาม : สวัสดีคะ หนูมีคําถามจะถามเปนความรูหนอยนะคะ ที่ บอกวาหลอดนีออนแบบหลอดผอมประหยัดไฟฟาไดมากกวา หลอดนีออนทั่วไป แตใหความสวางเทากัน อยากทราบวาหลอด แบบผอมสามารถประหยัดไฟฟาไดอยางไร เมือ่ เทียบกับหลอดอวน แลวหลอดแบบตะเกียบละคะยิง่ ประหยัดไฟมากกวาหลอดผอมหรือ เปลาคะ วันนีข้ อถามเทานีก้ อ นคะ (จาก ด.ญ.จันทรฉาย รัศมีจนั ทร ชั้น ม.1 โรงเรียนดานมะขามเตี๊ยวิทยาคม อําเภอดานมะขามเตี๊ย กาญจนบุรี) 99

Energy#63_p99-100_Pro3.indd 99

1/23/14 10:34 PM


คําตอบ : สําหรับคําถามทีว่ า หลอดนีออนแบบผอมประหยัดพลังงาน

ไดมากกวาหลอดนีออนธรรมดาอยางไร ขออธิบายวา เดิมทีเดียวเราใช หลอดนีออนที่เรียกวาหลอดอวน หรือ T12 ซึ่งใชไฟฟา 40 วัตต เมื่อ ประมาณสิบปมาแลว สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหง ชาติ และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดกําหนดมาตรการให มีการเลิกผลิตหลอดอวน และมาผลิตและจําหนายหลอดผอม หรือ T8 โดย T8 ใชไฟฟา 36 วัตต จึงลดการใชไฟฟาได 10% ภายในสาม ปประเทศไทยก็เลิกใชหลอดอวน และใชหลอดผอม ลาสุดมีเทคโนโลยี ใหมคือ หลอดชนิดผอมมาก หรือ T5 ใชไฟฟาเพียง 28 วัตต ซึ่งเมื่อ รวมบัลลาสตแลวใชไฟฟา 32.14 วัตต เทียบกับ 45.36 วัตต สําหรับ หลอด T8 รวมบัลลาสต จึงประหยัดไฟฟาไดถึง 30%

แตปญหา คือ ราคาคอนขางแพงและการเปลี่ยนยุงยากเพราะขนาด ตางกัน ในป 2550 โรงงานผลิตหลอดไฟฟาในประเทศไทยบางโรง ผลิตหลอด T5 บาง แตเพื่อการสงออกเปนหลัก เนื่องจากในปจจุบัน ประเทศไทยใชหลอด T8 อยูถึง 220 ลานหลอด การเปลี่ยนหลอด T8 มาเปน T5 จะประหยัดคาพลังงานไดสูงมากภายในสามป เราอาจไมใช หลอด T8 กันเลย จะลดความตองการพลังไฟฟาสูงสุดไดประมาณ 2,000 เมกะวัตต ลดความตองการพลังงานไฟฟาไดประมาณ 9,000 ลานหนวยตอป ซึ่งมีผลในการลดการกอสรางโรงไฟฟาใหมคิดเปน เงิน 35,000 ลานบาท และประหยัดคาไฟฟาไดปละ 30,000 ลานบาท

สวนหลอดตะเกียบนั้น ใชไฟฟา 18 วัตต ตามตัวเลขแลวอาจจะดู ประหยัดกวาเล็กนอย แตในแงการใชงานแลว หลอดตะเกียบมีไว สําหรับใชใหแสงสวางเปนจุดโดยเฉพาะ หมายความวาเราไดความ สวางนอยลง ซึ่งถาหากเราตองการเปลี่ยนจากระบบไฟนีออนที่มีอยู แลวไปเปนหลอดตะเกียบ จําเปนตองมีการเปลี่ยนอุปกรณตาง ๆ ที่ จําเปนตองใช จึงทําใหคาใชจายโดยรวมสูงกวาการใชหลอดนีออน หรืออาจจะตํ่ากวาเมื่อใชในระยะยาว เชนในระยะเวลา 10 ป เปนตน

คําถาม : สวัสดีคะ ดิฉนั เปนครูสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ชั้น ม.3 โรงเรียนศาลาตึกวิทยา อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม อยากปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ แหล งเรี ย นรู  เรื่ องพลั งงานทดแทนในพื้ นที่ จังหวัดกาญจนบุรีที่สามารถพานักเรียนไปทัศนศึกษาไดคะ พอจะ แนะนําไดไหมคะ ขอเปนในเขตอําเภอเมืองกาญจนบุรี อําเภอทามะกา หรืออําเภอทามวง ก็ไดคะ เพราะจะไปทัศนศึกษากันหลายหมวดวิชา ขอบคุณมากคะ (จาก นางอารีย ชินะเศรษฐ โรงเรียนศาลาตึกวิทยา อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม)

คําตอบ : สําหรับแหลงเรียนรูเรื่องพลังงานทดแทนภายในจังหวัด กาญจนบุรีก็มีอยูหลายแหง เพราะจังหวัดกาญจนบุรีเปนจังหวัดที่ สนับสนุนโครงการตาง ๆ ดานพลังงานอยางมากมาย สําหรับในเขต พื้นที่ที่อาจารยสนใจจะมีแหลงเรียนรูตาง ๆ อาทิ 1. โครงการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ กลุม แมบา นคาย สุรสีห 2. บานถนอมโลก 3. วังดุม เมาทเทนแคมป ศูนยเรียนรูพลังงานการทดแทนเพื่อการ ศึกษา 4. ศูนยกสิกรรมธรรมชาติ SKL ริเวอรแคว 5. ศูนยรวมตะวัน การเรียนรูพลังงานและสิ่งแวดลอม (จากกิจกรรม เสริมสรางประสบการณที่ผูเรียนมีสวนรวม) ครับ แหลงขอมูลจาก : http://www.leonics.co.th

100

Energy#63_p99-100_Pro3.indd 100

1/23/14 10:34 PM


Energy#62_p59_Pro3.indd 79

12/18/13 10:30 PM


Energy Movement Rainbow

กลุมมิตรผลสงตอความอบอุนสูสังคมไทย

กกพ.พบปะสื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

กลุม มิตรผล แบงปนความหวงใยสูส งั คมไทยอยางตอเนือ่ ง จัดคาราวานสงมอบผาหมในโครงการ “มิตรผล ปนไออุน สูภ ยั หนาว” จํานวน 10,000 ผืน มูลคากวา 1 ลานบาท เพือ่ นําไปแจกจายใหกบั เกษตรกรชาวไรออ ยและประชาชน ในพืน้ ทีป่ ระสบภัยพิบตั หิ นาว รวมทัง้ ชุมชนโดยรอบโรงงาน มิตรผลในจังหวัดเลย กาฬสินธุ ชัยภูมิ และขอนแกน โดยมี คุณศรายุธ แสงจันทร รองกรรมการผูจ ดั การใหญ กลุมงานการเงิน พรอมดวย คุณบวรนันท ทองกัลยา รองกรรมการผูจ ดั การใหญ กลุม งานทรัพยากรบุคคลและ บริหาร คุณผรินทร อมาตยกุล ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ สายงานการตลาดดานงานขาย และ คุณวรวัฒน ศรียกุ ต ผูอ าํ นวยการดานกลยุทธการตลาด รวมปลอยคาราวาน สงมอบผาหมในโครงการนีด้ ว ย

คุณนฤภัทร อมรโฆษิต รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน (สํานักงาน กกพ.) และเจาหนาที่ สํานักงาน กกพ. ไดพบปะแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับสือ่ มวลชนทองถิน่ ประจําจังหวัด กระบี่ เพื่อสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับนโยบาย และการดําเนิน งานของกองทุนพัฒนาไฟฟา ณ โรงแรมอาวนาง วิลลา รีสอรท จ.กระบี่ เมื่อเร็วๆ นี้

เทพผดุงพรมะพราวมอบทุนแกคณะแพทยศาสตร ม.มหิดล ฟอรด นําทีมทํากิจกรรมขุดโปงเทียมใหสัตวปา เมื่อเร็วๆ นี้ คุณธิดายุทธ นพเกตุ ผูอํานวยการฝาย สื่อสารองคกร และคณะผูบริหาร ฟอรด ประเทศไทย นําครอบครัวฟอรด โฟกัส และสื่อมวลชน กวา 100 คน ทํากิจกรรมขุดโปงเทียมใหแกสัตวปา ณ โปงทุงกวาง อุทยานแหงชาติเขาใหญ พรอมบริจาคเงินจากกิจกรรม ฟอรด โฟกัส ซิงคกิ้ง แรลลี่ 2013 จํานวน 7 หมื่นบาท แกมูลนิธิอนุรักษปารอยตอ 5 จังหวัด

คุณจรีพร เทพผดุงพร ประธานกรรมการ บริษัท เทพผดุงพร มะพราว จํากัด พรอมดวยคณะผูบ ริหาร มอบเงินทุนสนับสนุน กองทุนพัฒนาแพทยศาสตรศึกษา ใหแกคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จํานวน 4 ลานบาท เพื่อสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตร ใหสอดรับ กั บ ความก า วหน า ทางวิ ช าการ ซึ่ ง ถื อ เป น สิ่ ง สํ า คั ญ ในการ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนให กั บ นั ก ศึ ก ษาแพทย ข องไทย โดยมีศาสตราจารยคลินิก นายแพทยอุดม คชินทร คณบดี คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าชพยาบาล ให เ กี ย รติ รั บ มอบ ณ ห อ งประชุ ม คณะแพทยศาสตร ตึ ก อํ า นวยการชั้ น 2 โรงพยาบาลศิริราช

102

Energy#63_p102-103_Pro3.indd 102

1/23/14 10:38 PM


เอชแอลสนับสนุนดานลอจิสติกสมาตรฐานระดับโลก

กฟผ.-กฟน. จับมือดําเนินธุรกิจพลังงานไฟฟา ในตางประเทศ

ดีเอชแอล ผูใ หบริการขนสงดวนและลอจิสติกส ประกาศเปนพันธมิตร ผูสนับสนุนดานลอจิสติกสอยางเปนทางการใหแกเซิรค ดู โซเลย บริษัทจัดการแสดงสดเพื่อความบันเทิงชั้นนําแหงประเทศแคนาดา โดย ดีเอชแอลจะสงทีมงานของ DHL Global Trade Fairs & Events ในเครือของดีเอชแอล โกลบอล ฟอรเวิรดดิ้ง (DHL Global Forwarding) เขารวมดูแลระบบซัพพลายเชนของเซิรค พรอมทั้ง สนับสนุนบริการลอจิสติกสเพือ่ รองรับการจัดทัวรการแสดงสดระดับ Big Top และ Arena ทั่วโลก ตลอดจนสนับสนุนบริการลอจิสติกส ระดับโลกที่สํานักงานใหญของเซิรค ดู โซเลยในเมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา

คุณสุนชัย คํานูณเศรษฐ ผูว า การ การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย (กฟผ.) และคุณอาทร สินสวัสดิ์ ผูว า การ การไฟฟานครหลวง (กฟน.) รวมลงนามขอตกลงความ รวมมือเพื่อดําเนินธุรกิจพลังงานไฟฟาในตางประเทศ เพื่อผสานความรวมมือ และสนับสนุนการดําเนินธุรกิจ พลังงานไฟฟา พรอมทัง้ ธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งในระดับสากล ณ สํานักงานกลาง กฟน. เพลินจิต จังหวัดกรุงเทพฯ

เอสเอสไอ จัดกิจกรรมวันเด็ก

วว. จับมือเครือขายในประเทศ-ตางประเทศ ประชุมวิชาการนานาชาติ

คุณผดุงศักดิ์ ปราณอุดมรัตน ผูจัดการทั่วไป สํานักประชาสัมพันธ และชุมชนสัมพันธ สายกิจการสาธารณะและความรับผิดชอบทาง สังคม บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน) หรือ เอสเอส ไอ รวมกับ คุณวนิดา จีรกุล นายกองคการบริหารสวนตําบลแมราํ พึง จัดกิจกรรมและการแสดงตาง ๆ สําหรับเยาวชนเนือ่ งในโอกาสวันเด็ก แหงชาติประจําป 2557 ภายใตความรวมมือขององคกรสวนทองถิ่น ในอําเภอบางสะพานจังหวัดประจวบคีรีขันธ ไดแก อบต.แมรําพึง อบต.กําเนิดนพคุณ และเทศบาลกําเนิดนพคุณ เมื่อเร็ว ๆ นี้

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับ หนวยงานเครือขายทั้งในประเทศและตางประเทศ ไดแก Takeda Foundation สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ และ สถาบันการจัดการปญญา ภิวัฒน จัดประชุมวิชาการนานาชาติ Biomass Open Innovation Forum นําเสนอความกาวหนาและทิศทาง การพัฒนาดานพลังงานชีวมวลในทวีปเอเชีย พรอมแลก เปลีย่ นขอคิดเห็น จัดตัง้ ศูนยกลางงานวิจยั ดานพลังงาน ชีวมวลในประเทศไทย เมื่อเร็ว ๆ นี้

103

Energy#63_p102-103_Pro3.indd 103

1/23/14 10:38 PM


Energy Thinking เด็กเนิรด

à»ÅÕ่¹ÁØÁÁͧªÕÇÔμãËŒ¤Ô´ºÇ¡ ความสุขของคนเราขึน้ อยูก บั มุมมองการใชชวี ติ หากคนเรามองเห็นความสุขเล็ก ๆ นอย ๆ ในชีวติ แตละวัน และเลือกทีจ่ ะมองขามสวนที่ ผิดพลาดไป ชีวติ ของคนเราจะมีความสุขมากขึน้ อยางไมนา เชือ่ ทีเดียว หวังใจวาขอคิดทีน่ าํ มาฝากกันในวันนีจ้ ะชวยใหเพือ่ น ๆ มีกาํ ลังใจ ในการสูช วี ติ กันตอไปนะคะ

1. ทุก ๆ วันอาจไมใชวันที่ดี แตก็มีสิ่งดี ๆ บางสิ่งเกิดขึ้นในทุก ๆ วัน 2. ชีวติ ไมใชการคนหาตัวตนของเรา แตมนั คือการสรางตัวตนของเรา ขึ้นมาตางหาก 3. จงหัวเราะเทาที่ยังมีลมหายใจ และรักใหไดเทาที่ยังมีชีวิต 4. หากอยากใหความฝนเปนจริง สิ่งที่ตองทําอันดับแรก คือ ตื่นเสียกอน 5. หากคุณปลอยเวลาใหผานไปอยางมีความสุข นั่นแปลวาคุณไมได ปลอยเวลาใหวางเปลาเลย 6. ไมมสี งิ่ ทีย่ งิ่ ใหญสงิ่ ไหนจะสําเร็จได โดยปราศจากความกระตือรือรน 7. จงจดจําคําชมที่ไดรับ และลบลืมคําดูถูกที่ไดยิน 8. ยิ่งคุณรอคอยอนาคตนานเทาไร อนาคตก็จะยิ่งสั้นลงเทานั้น

9. จงจําไวเสมอวา การมีอีโกสูงเกินไป จะทําลายพรสวรรคของคุณ 10. หยุดคิดถึงสิ่งที่ผิดพลาด แลวหันมาคิดถึงสิ่งที่ถูกตองดีกวา 11. คนที่ไมจดจําอดีต มักถูกลงโทษดวยการพบเจอกับเหตุการณ เดิมซํ้า ๆ 12. การตัดสินใจที่ผิดพลาด มักทําใหเกิดเรื่องเลาที่ยิ่งใหญเสมอ 13. มุมมองที่สําคัญของความคิดสรางสรรค คือ อยากลัว ความลมเหลว 14. หากคุณทําความฝนหลนหาย ความคิดของคุณก็จะหายไปดวย 15. จงใกลชิดกับเพื่อน ๆ แตใกลชิดกับศัตรูใหมากกวา 16. เกียรติยศที่ยิ่งใหญที่สุด ไมไดมาจากการที่เราไมเคยลม แตมา จากการลุกขึ้นยืนไดทุกครั้งที่ลมตางหาก

104

Energy#63_p104_Pro3.indd 104

1/23/14 4:00 AM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

105

Energy#58_p103_Pro3.indd 105

8/28/13 6:43 PM


Energy#63_p106_Pro3.ai

1

1/27/14

10:24 PM


Energy#63_Cover In_Pro3.indd 1

1/28/14 3:17 PM


~ ¥ ñ m m }©j ¨ ¨ Ó ¨q pp

jÔ ¢ ËÓ ¢ ­

6

} | ¤|Ò

Thailaand Th nd Ene nergy AAwwarrds ds 201 010, 0, 2012

~ ¥} Busineess Turbbo r Energy Saving Ë ­ 6 r ­ 63 j¡ ×× 2557 Ê ¬ 6 q ¬ 63 i Ö 2557

ecology car 90 www.facebook.com/EnergySavingMedia

Energy#63_Cover Out_Pro3.indd 1

1/28/14 3:21 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.