นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 45 เดือนสิงหาคม 2555

Page 1



Energy#44_p3_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/22/12

12:47 AM


Contents Issue 45 August 2012

26 High Light 14 Energy Focus : โรงกลั่นนํ้ามัน ใจกลางเมือง อยูรวมกับ ชุมชนได หรือ ไมได? 32 Energy Best Award : รางวัล “พลังงานสรางชีวติ พลัง ความคิดสรางชาติ” 46 Residential : ภูผาและลําธาร รีสอรท ดึงธรรมชาติมาลด พลังงาน 67 Energy Tezh : Solar “WING” บางเบา แผงแสงอาทิตย สําหรับบานเรือน 70 Energy Test Run : ลองขับ “Atiker” LPG ทางออกยุค นํา้ มันแพง 83 Energy In Trend : พืชพลังงาน ขุมทรัพยพลังงานจาก ธรรมชาติ 86 Energy Exhibit : Industry Tomorrow Expo 2012 91 Insight Energy : ADDER หรือ FIT อะไรคือทางออก ตนทุนคาไฟฟา

18

What’s Up 10 Energy News 64 Energy Around The World 72 Energy Movement

Cover Story 18 Cover Story : กฎหมายภาษี ขอสนับสนุนดานพลังงาน บททดสอบสําคัญของ... ประเทศไทย 93 Special Scoop : ประชาคมอาเซียน 2558 ความทาทาย และโอกาสพลังงานไทย 100 Special Report : ปลดดินพอกหางหมู...สูความเปนจริง ของราคาพลังงาน Interview 38 Energy Keyman : ดร. ไชยยศ บุญญากิจ รองผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอมไทย : ทําความรูจ กั “KCP Green Power” 41 Energy Keyman : มร. อเล็กซานเดอร เลนซ ประธานประจําภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต 38 และตะวันออกกลาง บริษัท คอนเนอรยี่ เอเชีย แอนด มิลเดิลอีสต จํากัด : Conergy เปดเกมรุก คุมตลาดเอเชียฯ 80 Energy Concept : ประเมินปลาทูนาดวยเทคนิค NIR ผลงานจาก ม.เกษตร ลดภาระโรงงาน แกปญหาสิ่งแวดลอม

Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 51 Greee4 U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 55 Greenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทคและ การรีไซเคิลเพื่อโลก 88 Energy Loan : “กสิกร” จับมือ “ชไนเดอร” เปดตัว สินเชื่ออนุรักษพลังงานครบวงจร

41

46

4 l August 2012

Energy#45_p4,6_Pro3.indd 4

7/25/12 1:25 AM


Energy#45_Ad Econ_Pro3.ai

1

7/25/12

1:17 AM

C

M

Y

CM

MY

ใบพัดเพอประหยัดพลังงานใชสำหรับ: Cooling Tower, Air Washer Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condensers

CY

CMY

K

บริษัท เพรสซิเดนท เคมีภัณฑ จำกัด 54/15-17 ซอยสันติภาพ ถนนสุรวงศ กรุงเทพฯ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th


Contents Issue 45 August 2012

68

Industrial & Residential 24 Tools & Machine : โปรเจคเตอรเทคโนโลยี... HYBRID LASER & LED ประหยัดทนนาน 26 Green Industrial : เปดหลังบาน โกลเดนทิวลิป ซอฟเฟอรินฯ ชมระบบประหยัดพลังงาน 30 Saving Corner : การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต..เพอการประหยัด พลังงานในอุตสาหกรรม(1) 44 Energy Design : ไอสตูดิโอ เนสท ออฟฟศภายในโครงสรางโรงงาน 48 Energy management : FlowChart สําหรับการจัดการพลังงาน Transportation & Alternative Energy 68 Vehicle Concept : Rimac Concept One รถไฟฟากลามโตขุมพลัง 1,074 แรงมา 78 Green Logistics : การจัดการทรัพยากรมนุษยเพอสิ่งแวดลอม โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก 84 Renergy : Bio- Dry เทคโนโลยีที่ ไทยยังตองนําเขา โดย.คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข : ประธานกลุมบริษัท ราชาอิควิปเมนท จํากัด และประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย Environment Protection 54 Green Vision : กรีนไอทีเทคโนโลยี “โนตบุค” รักษโลก 58 Green Space : สนพ. ดึงครู-นักเรียนทั่วประเทศ ประกวดแผน ประหยัดพลังงาน

48

62

0 Waste Idea : ขยะเศษอาหาร...แหลงขุมพลังงานและแรธาตุ โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอ าํ นวยการหนวย ปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย และการนําน้าํ กลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

FAQ 76 Energy Clinic : ถาม-ตอบปญหาพลังงาน โดย. คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : 10 บัญญัติ ประหยัดน้าํ มัน 89 Environment & Energy Legal : EIA สําคัญไฉน? 102 Life Style : เรียนรูทักษะ เพิ่มสกิลการขับรถ กับ ศูนยฝก ขับขี่ปลอดภัยฮอนดา 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : เด็ก กับ การอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอม 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ศูนยประชุมรักษโลกแนวใหม ประหยัด เพอสิ่งแวดลอม มุงหนาสู Green Building

6 l August 2012

Energy#45_p4,6_Pro3.indd 6

7/25/12 1:25 AM


Energy#41_Ad Oil&Gas_Pro3.ai

1

3/21/12

10:17 PM

Thailand’s Largest Petroleum and Petrochemical Technology Event!

ASIA 2012 An International Exhibition of Oil & Gas Technologies & Supporting Industries

An International Exhibition of Process, Petrochemical And Refinery Equipment, Technologies & Supporting Industries

Singapore Companies Are Entitled Up To

50% Subsidy!

BITEC, Bangkok, Thailand

Call now : (+66) 2 513 1418

www.oilgasthai.com

Organized By:

Endorsed & Supported By:

The Federation of Thai Industries, Petrochemical Industry Club

Petroleum Institute Of Thailand

Technology Promotion Association (Thailand-Japan)

Singapore Industrial Automation Association

Indonesia Industrial Automation Club (IIAC)


Editors’ Talk เคาะแลวราคา LPG สําหรับทานที่ติดตามขาวมาโดยตลอด จากที่ สับสนวาจะขึ้นไมขึ้น ขึ้นทุกภาคสวนหรือไม ก็ ไดคําตอบจาก รมว.พลังงาน แลววา จะไมปรับราคากาซปโตรเลียมเหลว(กาซหุงตม:LPG) ภาคครัวเรือน จนถึงสิ้นป 2555 นี้ ตามมติคณะรัฐมนตรี(ครม.) “เรื่องนี้ทําใหเกิดความเขาใจผิด เพราะตองการจะปรับราคา LPG ทุกภาคสวนใหเปนราคาเดียวกัน เพือ่ แกไขปญหาการลักลอบการใชกา ซฯผิด ประเภท แตเมื่อมีความไมพรอมและไมชัดเจน ก็จะยังไมดําเนินการ” ซึ่งกอนหนานั้น 1 สัปดาห รมว.พลังงานระบุวาจะปรับราคา LPG ให สะทอนตนทุนแทจริง ตัง้ แตวนั ที่ 16 ส.ค.โดยจะเปนการใช LPG ในราคาเดียว จากปจจุบันที่แยกเปน 3 ราคาใน 3 กลุม ไดแก ภาคอุตสาหกรรม,ขนสง และ ครัวเรือน ขณะที่การปรับราคาจะเปนการลอยตัว แตไมไดเทียบเทาตลาดโลก พรอมทั้งจะมีมาตรการอุดหนุนใหเฉพาะกลุมที่มีรายไดนอยดวย เปนเหตุใหรองนายกรัฐมนตรี และรมว.คลัง นายกิตติรัตน ณ ระนอง ออกมาแถลงวา การปรับราคา LPG ภาคครัวเรือน ควรเปนไปอยางชาๆ เพื่อไมใหกระทบตอประชาชน ขณะที่ตองพิจารณาวา จะทําใหอัตราเงินเฟอ สูงขึ้น จนกระทบตอเสถียรภาพของเศรษฐกิจหรือไม จนไดบทสรุปทีแ่ ทจริงในการยืนยันจะไมปรับราคา LPG ภาคครัวเรือน จนถึงสิน้ ปนี้ ซึง่ ระหวางนีก้ จ็ ะหารือกับทุกฝายทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ เตรียมความพรอม สําหรับการใชราคา LPG เปนราคาเดียวในอนาคต ปจจุบันราคา LPG ภาคอุตสาหกรรมอิงราคาหนาโรงกลั่น อยูที่ 24.86 บาท/กิโลกรัม, ภาคขนสงอยูท ี่ 21.13 บาท/กิโลกรัม และภาคครัวเรือน อยูที่ 18.13 บาท/กิโลกรัม ขณะที่กอนหนานี้รัฐบาลไดตรึงราคา LPG ภาค ขนสงและ NGV เปนเวลา 3 เดือนถึงวันที่ 16 ส.ค.55 โดยราคา NGV อยูท ี่ 10.50 บาท/กิโลกรัม สวน LPG ภาคขนสง ทีจ่ ะครบกําหนดการตรึงราคาในวันที่ 16 ส.ค.นี้ ยังไมมคี าํ ตอบวาจะปรับราคาหรือไม (ณ วันทีเ่ ขียนตนฉบับ 18 ก.ค.55) หวังวา หนังสือฉบับนี้คลอดเราคงไดขอสรุป ทั้งนี้ทั้งนั้น กระแสของภาคขนสงแววๆ วาจะสามารถยืนหยัดตอสูราคาที่ปรับขึ้นได เหตุเพราะไดปรับเปลี่ยนไป ใช NGV กันมากขึ้นแลว หวังวา NGV จะเปนที่พึ่งใหหมูเฮาไดตอไปในยุค ขาวของแพงเยี่ยงนี้....

คณะผูจัดทํา

กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา

กองบรรณาธิการ

นัษรุต เถอนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม

เลขากองบรรณาธิการ

กัลยา เนตยารักษ 

ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก

แผนกโฆษณา

เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส

การเงิน

แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม

วีรเมธ เหลาเราวิโรจน

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรองในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8 l August 2012

Energy#45_p8_Pro3.indd 8

7/21/12 12:24 AM


Energy#42_p17_Pro3.ai

1

4/23/12

9:09 PM


Energy News

รมว.พน.ตอนรับ DEP of Energy and Climate Change, UK

นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ใหการ ตอนรับ Lord Jonathan Marland, Parliamentary UnderSecretary of State for the Department of Energy and Climate Change, and Chairman of UK Trade & Investment’s Business Ambassador’s Group เพื่อหารือขอ ราชการดานความรวมมือดานพลังงานระหวางสองประเทศ โดยเฉพาะดานพลังงาน ทดแทน จัดขึน้ ณ กระทรวงพลังงาน

รวมพลังปลดดินพอกหางหมู

นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน แถลงเปดตัว โครงการ “รวมพลังปลดดินพอกหางหมู” เนนสรางความรู ปูทางรับ AEC เพื่อ สนับสนุนเปาหมายยุทธศาสตรดานการกํากับดูแลกิจการพลังงาน รวมทั้งราคา พลังงานของประเทศและเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการเขาสูป ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนและสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลดีและความจําเป็นของการปรับ โครงสรางราคาพลังงานและสงเสริมใหประชาชนมีสว นรวมในการหาทางออกทีด่ ที ส่ี ดุ ใหกับประเทศ จัดขึ้น ณ หองพาเพลิน โรงแรมหรรษา กรุงเทพฯ

ประกวดอาคารเพือ่ โลกสีเขียวครัง้ ที่ 5

อิเมอรสนั ไคลเมท เทคโนโลยี จัดแถลงขาวการประกวดการออกแบบอาคาร เพือ่ โลกสีเขียว หรือ ดิ อิเมอรสนั คัพ 2012 อินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่ โรงแรม เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพฯ ซึง่ งานนีเ้ ปนการประกวดนวัตกรรมและ การออกแบบอาคารโดยเนนดานระบบปรับอากาศทําความเย็น โดยผูส นใจในประเทศ อินเดียและภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตสามารถสงผลงานเขารวมประกวดไดตงั้ แต วันนี้ ไปจนถึงวันที่ 10 กันยายน 2555 ศกนี้ 10 l August 2012

Energy#45_p10-13_Pro3.indd 10

7/24/12 12:49 AM


เปดตัวเครือขายผูนํารักษพลังงาน

นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน เปนประธานในการเปดตัวเครือขาย โครงการรณรงคการอนุรักษ พลังงาน รูปแบบสมัครใจ (Voluntary Agreement : VA) เพื่อเปนการยกยอง ผูป ระกอบการทีม่ อี าคาร โรงงานควบคุม ทัง้ จากภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจทัว่ ประเทศ ที่ ไดเขารวมเปนเครือขายการอนุรกั ษพลังงานในรูปแบบตางๆ ภายในองคกร เพื่อให เกิดการลดใชพลังงานอยางจริงจัง ณ รร.เซ็นทารา แกรนด ลาดพราว

กกพ.จัดสัมมนาใหความรูผูผลิตไฟฟา

สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จัดสัมมนา เรื่อง “การรายงานขอมูลการผลิตไฟฟาและการนําสงเงินเขากองทุนพัฒนา ไฟฟาสําหรับผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟาประเภทใบอนุญาตผลิต ไฟฟา” เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับกองทุนพัฒนาไฟฟาใหแกผูรับ ใบอนุญาตผลิตไฟฟาและผูเ กีย่ วของใหมคี วามเขาใจขัน้ ตอน วิธกี ารรายงานขอมูล การผลิตไฟฟา และการนําสงเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟาไดอยางถูกตองเพื่อให เม็ดเงินเพียงพอสําหรับนําไปสรางประโยชนตอชุมชนรอบโรงไฟฟา ณ โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพฯ

ดูปองทหนุนพลังงานแสงอาทิตย

มร. ซิง โฮ กรรมการผูจัดการ ดูปองท อาเซียน, มร. ชัค ซู ประธาน เจาหนาที่บริหาร ดูปองท อพอลโล, มร. สกอตต อิคโค ผูจัดการฝายขายอาเซียน และอินเดีย DuPont Microcircuit และนายสัตวแพทย สมชาย เลาหวีระพานิช กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ดูปองท(ประเทศไทย) จํากัด สนับสนุนการพัฒนาพลังงาน ทดแทนในประเทศไทย ดวยสัญญา 2 โครงการใหม 22.75 เมกะวัตต ในการติดตัง้ แผงโซลาร โฟโตโวลทาอิคฟลม บางซิลคิ อน หรือ พีวี ใหกบั โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ของ บ.สมารท กรีน เอ็นเนอรจี ที่ จ.ชัยภูมิ และ บ.อินฟนิท กรีน ที่ จ.สระบุรี หลังจากประสบความสําเร็จ จากโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ขนาด 8.7 เมกะวัตต ของบ.แอล โซลาร 1 ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนของล็อกซเลย ที่ จ.ปราจีนบุรี August 2012 l 11

Energy#45_p10-13_Pro3.indd 11

7/24/12 12:49 AM


พพ. จัดสัมมนาเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน

นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน จัดสัมมนาโครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช พลังงานสําหรับโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็กประเภทโลหะ รวมกับสถาบันวิจยั และพัฒนาพลังงานนครพิงค มหาวิทยาลัยเชียงใหม จัดทําโครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ การใชพลังงานในกระบวนการผลิตของโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็ก SME ในชวงเดือนกรกฎาคม 2554 – มิถนุ ายน 2555 ทีผ่ า นมา โดยพรอมเดินหนาเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงานกลุม SME หลังพบตัวเลขการใชพลังงานเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ 7% จัดขึน้ ณ โรงแรมเดอะ ทวินทาวเวอร กรุงเทพฯ

จีน ลงนามสรางบอชีวภาพภาคครัวเรือน 300 ชุด

พล.ต.ท.ลัทธสัญญา เพียรสมภาร ที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวง พลังงาน เปนประธานพิธลี งนามรับหนังสือแลกเปลีย่ นขอตกลงสงมอบระบบผลิต กาซชีวภาพสําหรับครัวเรือน จํานวน 300 ชุด จากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมี ฯพณฯ กวน มู เอกอัครราชทูตจากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนประจํา ประเทศไทย พรอมดวย นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน เปนผูแทนการสงและรับมอบผูลงนามในหนังสือ แลกเปลีย่ น และผูบ ริหารระดับสูงจากการะทรวงพลังงาน รวมเปนสักขีพยาน

ไทยอินดัสเตรียล แกส เปลีย่ นชือ่ เปน ลินเด ประเทศไทย

มร.แซนจิฟ แลมบา กรรมการบริหาร บริษทั ลินเด เอจี พรอมดวย นายคีรนิ ทร ชูธรรมสถิตย กรรมการผูจัดการของลินเด ประเทศไทย รวมแถลงขาวเปลี่ยนชื่อ อยางเปนทางการ บริษัท ไทยอินดัสเตรียล แกส จํากัด (มหาชน) หรือ ทีไอจี เปนบริษัท ลินเด (ประเทศไทย)จํากัด (มหาชน) การเปลีย่ นชือ่ ดังกลาวเปนสวนหนึง่ ของการดําเนินการ ใหบริษัทในเครือลินเดทั่วโลกนําเสนอภาพลักษณและสื่อสารภายใตแบรนดเดียวกัน โดย ลินเด ประเทศไทย เปนผูผ ลิตกาซชัน้ นําของไทย มีผลิตภัณฑกา ซทีห่ ลากหลายเพือ่ การใชงาน ดานอุตสาหกรรมการแพทย และกาซพิเศษดานตางๆ รวมถึงมีเครือขายจัดจําหนาย ครอบคลุมทั่วประเทศตลอดระยะเวลากวา 40 ปที่ผานมา 12 l August 2012

Energy#45_p10-13_Pro3.indd 12

7/24/12 12:50 AM


สวทน. จัดงานประชุม นวัตกรรมเขียว

สํ า นั ก งานคณะกรรมการนโยบายวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี แ ละ นวั ต กรรมแห ง ชาติ (สวทน.) กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี จัดงานสมัชชาวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ครั้งที่ 10 “นวัตกรรมเขียว เพื่อสังคมดีมีคุณภาพและเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ” โดยมี ดร.ปลอดประสพ สุรัสวดี รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เปนประธานเปดงานพรอมพิธีมอบโลรางวัลและใบประกาศเกียรติคุณ STI Thailand Award 2012 Green Innovation ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลเวิลด

สัมมนาอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม

นายประมวล จันทรพงษ รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน เปนประธานเปดงานสัมมนา “โครงการอนุรักษพลังงาน แบบมีสวนรวมโดยโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก เขตภาคกลาง” โดยผูเ ขารวมสัมมนาสามารถนําองคความรูไ ปปฏิบตั ไิ ดจริงและถายทอดสูพ นักงาน ในสถานที่ทํางานนั้นๆ ไดตอ ไป จัดขึ้น ณ โรงแรม เอส.ซี.ปารค

ประกาศผล “อีโคเลเล เดย”

นายพิพัฒน อภิรักษธนากร เจาของราน ‘ECOSHOP’ รวมกับกองทุน “a day foundation” โดย นายวงศทนง ชัยณรงคสงิ ห จัดงาน “อีโคเลเล เดย” ชวนคนรั ก อู คู เ ลเล รวมพลั ง ห ว งใยใส ใ จสิ่ ง แวดล อ ม เพื่ อ เฟ น หาแชมป ‘อีโคเลเล’ ประเภทดนตรีและศิลปะ ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยแชมปอีโคเลเล ตกเปนของทีม ‘Rkelulu’(อารคีลูลู) สวนผลงานการออกแบบบอดี้อีโคเลเล ตกเปนของ นางสาวสุธิดา เรืองประยูร นศ.ม.ธนบุรี ซึ่งไดวัสดุเหลือใชจาก การเหลาดินสอ ณ ดิจิทัล เกทเวย (สยาม สแควร) August 2012 l 13

Energy#45_p10-13_Pro3.indd 13

7/24/12 12:50 AM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

โรงกลัน่ นํ้ามัน ใจกลางเมือง

อยูรวมกับชุมชนได หรือ ไมได?

เปนเรื่องคึกโครมและเปนที่ถกเถียงกันคอนขางมาก จากกรณี โรงกลั่นนํ้ามันของบางจากเกิดเหตุเพลิงไหม ณ โรงกลั่นนํ้ามันบางจาก สุ ขุ ม วิ ท ซึ่ ง ถื อ เป น โรงกลั่ น ที่ ตั้ ง อยู  ใ จกลางเมื อ ง หลั ง เหตุ ก ารณ ดั ง กลาว จึงเกิดเปนกระแสตอตานจากภาคประชาชน ถึงแมวาจะมีการ ควบคุมสถานการณไม ใหบานปลายไปมากกวานี้ แตก็ถือเปนอีกหนึ่งกรณี ตัวอยางใหกับประเทศไทย วาสมควรหรือไมหากมีโรงกลั่นนํ้ามันขนาด ใหญตั้งอยู ใจกลางเมืองเชนนี้ ประเด็นของเรื่องเกิดขึ้นเมื่อตนเดือนกรกฎาคม 2555 ที่ผานมา เมื่อ โรงกลั่นนํ้ามันของบริษัทบางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) เกิดเหตุการณ เพลิงไหมจนเปนขาวใหญ ในทุกหนาหนังสือพิมพ แนนอนวาสรางความตื่น ตระหนกใหกับคนกรุงเทพไมนอย เพราะเปนโรงกลั่นนํ้ามันที่ตั้งอยูใจกลางเมือง รวมถึงยังเปนยานธุรกิจ และที่อยูอาศัยอีกดวย ซึ่งโรงกลั่นของบางจากแหง นี้ ถือเปนแหงเดียวที่ตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร จากทั้งหมด 7 แหงโรงกลั่น นํ้ามันในประเทศไทย คําถามคือ และอีก 6 แหงตั้งอยูที่ ไหน คําตอบคือ ตั้งอยูพื้นที่นิคม อุตสาหกรรม จ.ระยอง และ จ.ชลบุรี ซึ่งเปนเขตอุตสาหกรรม มีอัตราเสี่ยง สําหรับประชาชนที่พักอาศัยนอยกวาอยางแนนอน แตก็ใชวาปลอดภัยซะทีเดียว จากเหตุการณดังกลาวสรางความแตกตื่นใหกับชาวกรุงคอนขางมาก เพราะ ขาวที่ทีแพรออกไป ขึ้นหัวเรื่องวา โรงกลั่นนํ้ามันระเบิด ทั้งที่อาจเปนแคไฟไหม ธรรมดาเพียงเล็กนอยก็เปนได ทางเจาหนาที่ดับเพลิงรายงานวาเปนการระเบิด ของหอแยกนํ้ามันกาซในหนวยกลั่นนํ้ามันดิบที่ 3 ซึ่งหลังจากไดยินเสียงระเบิด

เจาหนาที่ของโรงงานไดปดวาลวทอสงนํ้ามันกาซที่สงไปยังหนวยแยกพรอมทั้ง หยุดเดินเครื่องทุกระบบไดทันกอนที่เพลิงไหมจะลุกลามไปหนวยอื่นๆ ซึ่งเพลิง ไหมที่เกิดขึ้นเกิดจากการเผาไหมของเชื้อเพลิงที่คางอยูเพียงในทอเทานั้น และ เจาหนาที่ดับเพลิงก็สามารถควบคุมเพลิงไหมไดในเวลาอันรวดเร็วแตสิ่งที่นา เปนหวงมากกวาคือ การและฟนฟูโรงกลั่นใหกลับมาดําเนินการผลิตไดเหมือน เดิม โดยมีมูลคาความเสียหายสูงถึง 600 ลานบาท ถึงแมวาเหตุการณเพลิง ไหมครั้งนี้จะไมมีรายงานสารอันตรายรั่วไหลเกินมาตรฐานหรือมีผูเสียชีวิตจาก เหตุการณดังกลาว แตก็ถือเปนบทเรียนในการทํางานใหกับผูที่เกี่ยวของไมนอย โดยเฉพาะเรื่องของความปลอดภัย และการเตรียมการณรับมือตอสิ่งที่เกิดขึ้น

14 l August 2012

Energy#45_p14,16_Pro3.indd 14

7/19/12 9:52 PM


Energy#42_p15_Pro3.ai

1

4/24/12

11:35 PM

ทุกวันอาทิตย


ส ว นผลที่ เ กิ ด เป น รู ป ธรรมคื อ หน ว ยกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ ที่ 3 ต อ งหยุ ด ซ อ มแซมเป น เวลา 1 เดื อ น ทํ า ให ป ริ ม าณการกลั่ น นํ้ า มั น หายไปจากระบบ ประมาณ 8 หมื่นบารเรลตอวัน และฟงดูเปนขาวรายรองลงมาจากกระแส ประชาชนตอตานโรงกลั่นนํ้ามันใจกลางเมืองไมนอย และกระทรวงพลังงานได ออกมายืดอกและยืนยันวาปริมาณการผลิตที่หายไปไมสงผลกระทบตอระบบ การผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิงของประเทศ และยืนยันวาประชาชนจะมีนํ้ามันใชเพียง พอตอความตองการอยางแนนอน ซึ่งปจจุบันไทยมีปริมาณการผลิตนํ้ามัน สําเร็จรูปอยูที่ 1 ลานบารเรลตอวัน จาก 6 โรงกลั่น ซึ่งปริมาณการกลั่นของ บางจาก อยูที่ 9 หมื่น 9 พันบารเรลตอวัน หรือคิดเปน 9.9 % ของปริมาณ การผลิตนํ้ามันของประเทศ ซึ่งถือวาเปนสัดสวนที่ ไมสงผลกระทบรุนแรงตอ ปริมาณการผลิตนํ้ามันโดยรวมของประเทศ เนื่องจากประเทศไทยมีกําลังการ ผลิตจริงอยูที่ 1.1 ลานบารเรลตอวัน อีกทั้งยังมีนํ้ามันสํารองอยางเพียงพอ รวมถึงนํ้ามันสํารองตามกฎหมายและนํ้ามันสํารองเพื่อการคาของผูคานํ้ามัน ซึ่งจะสามารถรองรับผลกระทบเฉพาะหนาได แนวทางการรับมือของกระทรวงพลังงาน คือ สั่งการใหบางจากนํา นํ้ามันสํารองที่มีอยูมาใช โดยแบงเปน นํ้ามันเบนซิน สามารถใชไดอีก 16 วัน, นํ้ามันดีเซล สามารถใชไดอีก 9 วัน และ นํ้ามันเตา สามารถใชไดอีก 24 วัน จากนั้นจะขอความรวมมือใหโรงกลั่นนํ้ามันอื่น ไมวาจะเปน บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) ใหเพิ่มกําลังการผลิต โดยเบื้องตนจะสามารถเพิ่มกําลังการผลิตไดอีก 3 หมื่น 5 พัน บารเรลตอวัน รวมถึงอนุญาตใหผูคานํ้ามันอื่นที่รับนํ้ามันจากโรงกลั่นบางจาก ไดแก บริษัท ปตท, บริษัท เซฟรอน และ บริษัท สยามเฆมี สามารถขอผอนผันนํานํ้ามัน สํารองที่มีอยูมาใชได ทั้ ง นี้ กระทรวงพลั ง งานยื น ยั น ว า มาตรการดั ง กล า ว จะไม ส  ง ผล กระทบตอปริมาณการผลิตนํ้ามันสําเร็จรูปของประเทศ และสามารถรองรับ ความตองการใชนาํ้ มันในชวงทีห่ นวยกลัน่ นํา้ มันดิบที่ 3 ของบางจากหยุดผลิตลง ได โดยไมกระทบตอการจัดหาและความตองการใชนาํ้ มันของประเทศอยางแนนอน ประเด็นที่นาสนใจคือ ขึ้นชื่อมาโรงกลั่นนํ้ามัน ไมวาจะเกิดเหตุการณใดๆ ในความคิดของคนทั่วไปจะมองวาเปนเหมือนระเบิดลูกโตที่วางเอาไวใจกลาง เมือง แตเราลืมมองไปวา รถยนตที่เราๆ ทานๆ ขับขี่ทุกวันก็เปรียบเสมือนแบก ระเบิดลูกเล็กๆ ไวเชนกัน รวมถึงสถานีบริการนํ้ามัน สถานีบริการกาซ ก็เปรียบ เสมือน ระเบิดลูกกลางๆ ที่กระจายอยูตามตรอกซอกซอยเชนกัน นั้นก็ตอเมื่อ เกิดเหตุการณที่ ไมนาจะเกิดขึ้น คนถึงจะหันมามองถึงเรื่องของความปลอดภัย ทั้งๆ ที่เราก็เคยใชชีวิตอยูกับสิ่งดังกลาวมาชานาน ถึงแมวาโรงกลั่นดังกลาว จะมีวัตถุดิบนํ้ามันดิบเปนแหลงเชื้อเพลิงในการกลั่นใหไดนํ้ามันเบนซิน และดีเซล และนํ้ามันอื่นๆ ซึ่งเปนวัตถุไวไฟในปริมาณกวา 120,000 บารเรลตอวัน ยังมี วัตถุไวไฟพลอยไดอื่นอีกมากมาย เชน นํ้ามันเครื่องบิน กาซหุงตม นํ้ามันเตา และยางมะตอย ที่พรอมจะเปนแหลงเชื้อเพลิงชั้นดี หากไมเกิดเรื่อง คนไทยคน ไทยจะมองเรื่องดังกลาวหรือไม

ที่สําคัญเหตุการณดังกลาวไมไดเกิดขึ้นเปนครั้งแรก แตวาเปนเหตุ ที่มักเกิดขึ้นบอยครั้งและเกิดขึ้นได และคนไทยก็อาจลืมไปแลววาเคยเกิดขึ้น เพราะการทํางานทีเ่ กีย่ วกับวัตถุอนั ตรายใชวา จะไมเกิดของผิดพลาดได ทีผ่ า นมา ประเทศไทยเคยมีเหตุการณลักษณะดังกลาวเกิดขึ้นเมื่อป 2542 กับโรงกลั่น นํ้ามันที่ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี จากเหตุการณดังกลาวทั้งผูเสียชีวิต และบาดเจ็บจํานวนมาก รวมถึงตางประเทศก็มีเรื่องผิดพลาดเกิดขึ้นได ไมวา จะเปนโรงกลั่น British Petroleum Refinery (BP) รัฐเทกทัส ประเทศอเมริกา ซึ่งเคยเกิดเหตุเพลิงไหมมีผูสูญเสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมาก มูลคาความ เสียหายคิดเปน 1.5 พันลานบาทดอลลารสหรัฐ หากมองในแงดีแลวละก็ เรื่องของการทํางาน ยอมเปนเรื่องที่อาจเกิด การผิดพลาดขึ้นได แตก็อยางวา หากเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับชีวิตของคน จํานวมมากแลวละก็ ไมเกิดขอผิดพลาดซะเลยนาจะเปนการดีเสียกวา เพราะ เหตุการณเพลิงไหมโรงกลั่นนํ้ามันถือเปนอุบัติภัยชนิดรายแรงที่นํามาซึ่งการ สูญเสียมหาศาล ผูท ี่ ไดรบั ผลกระทบไมไดมเี พียงวงแคบแคบริเวณตนเหตุเพลิงไหม เทานั้น แตยังสงผลกระทบในวงกวางตอประชาชนที่อยูในระแวดโรงงาน ทําให ประชาชนตองอพยพยายที่อยูเปนจํานวนมาก ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานไดหยิบยกกรณีดังกลาวมาพิจารณา ทบทวน และหาทางออกในการยายฐานการกลั่นออกไปอยู ในพื้นที่นอกเมืองหรือพื้นที่ เหมาะสมที่อยูหางไกลจากชุมชน และเชื่อวาจะไมกระทบตอความตองการนํ้ามัน และราคานํ้ามัน เนื่องจากประเทศไทยมีโรงกลั่นนํ้ามันที่มีกําลังการผลิตเพียง พออยูแลว อยูที่มากกวา 1,100,000 บารเรลตอวัน ทั้งๆ ที่ความตองการ ใชในประเทศมีเพียง 787,000 บารเรลเทียบเทานั้น และแตละปยังสามารถสง ออกนํ้ามันไปขายตางประเทศปละกวา 221,000 บารเรลเทียบเทานํามันดิบตอ วันอีกดวย โหรพลังงาน เคาะโตะเลยวา จากกรณีดังกลาว หากกระทรวงพลังงาน หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ไมทําอะไรสักอยางที่เปนรูปธรรมมากกวานี้ นิ่งเฉย ไมมีแผนหรือมาตรการอยางที่กลาวออกมา เชื่อวาชาวกรุงเทพมหานครที่ ไดรับความเดือดรอนและเสียหายหรือหวาดผวากับเหตุการณไฟไหมโรงกลั่น นํ้ามันครั้งนี้ อาจนํากรณีดังกลาวไปพึ่งอํานาจศาลเพื่อใหเพิกถอนใบอนุญาต และใหยายโรงกลั่นดังกลาวออกไปจากพื้นที่กรุงเทพฯ ก็เปนได ทั้งหลายทั้งปวง ก็ เ พื่ อ ความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย สิ น ของคนกรุ ง เทพฯ โดยรวม ที่ ไ ม ควรจะทนอยูในสภาพความเสี่ยง และความหวาดผวากับคลังแสงทางนํ้ามันที่ อยูใจกลางเมือง แตสิ่งหนึ่งที่ ไมควรลืมก็คือ คนไทยนั้นลืมงาย หากเรื่องดัง กลาวดําเนินการนานมาก คนไทยก็อาจลืมไปแลวก็ ไดวาเคยเกิดเหตุการณดัง กลาวขึ้น จริงไหมครับ?

16 l August 2012

Energy#45_p14,16_Pro3.indd 16

7/19/12 10:07 PM


Energy#45_ad ESM_Pro3.ai

1

7/24/12

1:31 AM


Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ

กฎหมายภาษี

ขอสนับสนุนดานพลังงาน บททดสอบสําคัญของ...ประเทศไทย

กฎหมายภาษีพลังงานในประเทศไทยกับการกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน หรือ AEC ที่ ไทยเองจะรวมเปนหนึ่งเดียวกับประเทศสมาชิกอีก 10 ประเทศ ในการพัฒนาศักยภาพดานตางๆ รวมกัน เพื่อเพิ่มสิทธิในการตอรอง ดานเศรษฐกิจกับกลุม ประเทศในภูมภิ าคอืน่ รวมถึงการเตรียมการรับมือประชากร รวมของกลุมสมาชิกทั้งหมดมากกวา 600 ลานคน ขณะที่ปจจัยดานพลังงานมี ปริมาณจํากัด เรื่องของกฎหมายและขอสนับสนุนดานพลังงานจึงเปนสิ่งสําคัญ ตอการขับเคลื่อนของประเทศ แนนอนวา การกาวเขาสูป ระชาคมอาเซียนเปนเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของกับทุกภาค สวน ทั้งการคาการลงทุนในตางประเทศ การปฏิรูปกฎหมายเศรษฐกิจ จําเปน ตองมีกฎหมายที่เกี่ยวของกับการผูกพันของ AEC และพัฒนากฎหมายภายใน ประเทศใหทันสมัยมากขึ้น รวมถึงขอพิพาทระหวางประเทศ ซึ่งเชื่อวาจะสามารถ ลดอุปสรรคทางดานการคาและการลงทุน หลังเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2558 โดยภาครัฐบาลก็ ไดเตรียมแกไขกฎหมายในบางสวนเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงดังกลาว ไทยตองปรับโครงสรางราคาพลังงานเพื่อใหสะทอนตนทุนที่แทจริง หากยังคงไดรับการอุดหนุนราคาพลังงานจากภาครัฐบาลตอไป จะทําใหราคา พลังงานของไทยโดยเฉพาะกาซ LPG ราคาตํ่ากวาประเทศเพื่อนบาน และจะสง

ผลใหเกิดการลักลอบขนถายกาซ LPG ไปจําหนายใหประเทศเพื่อนบาน ขณะที่ ผู เชี่ยวชาญดานพลังงานสวนใหญเห็นวา การเขาสู AEC จะสงผลดีดานพลังงาน ของไทย โดยเฉพาะการซื้อพลังงานจากประเทศเพื่อนบานไดในราคาถูก

18 l August 2012

Energy#45_p18-23_Pro3.indd 18

7/25/12 2:08 AM


ขับเคลื่อนกฎหมายดานพลังงาน

สิ่งที่ ไมควรขามคือเรื่องของการเตรียมกฎหมายดานสิทธิประโยชน เพื่อ คุม ครองสิทธิของประเทศ รวมถึงกลุม นักลงทุนดานพลังงานทดแทน ในการกระตุน การลงทุนแบบกาวกระโดดที่อาจจะเกิดในอีก 5-10 ปขางหนา เพื่อผลักดันแผน พัฒนาพลังงานทดแทน 10 ปใหเปนจริงตามเปาที่ 25% โดยใหสิทธิพิเศษดาน ภาษีการนําเขาอุปกรณและสรางความชัดเจนดานราคาในการซื้อขาย ซึ่งในรอบ ปทผี่ า นมามีนกั ลงทุนทัง้ ชาวไทยและตางประเทศหันมาใหความสนใจกับการลงทุน ธุรกิจพลังงานทดแทนในประเทศไทยมากขึ้น ทําใหธุรกิจพลังงานทดแทนสราง มูลคารวมไดกวา 1 แสนลานบาทตอป หากประเทศไทยสามารถพัฒนาจนเปนศูนยกลางดานพลังงานทดแทน ไดตามแผนที่วางไวภายใน 5-10 ป จะทําใหธุรกิจพลังงานทดแทนไทยมีมูลคา เพิ่มขึ้นถึง 3-5 แสนลานบาทตอป แตปจจุบันไทยยังไมมีมาตรการสงเสริมการ ลงทุนดานพลังงานทดแทนอยางชัดเจน ทั้งดานโครงสรางราคาและระเบียบกฎ กติกาในการลงทุน ซึ่งกลายเปนอุปสรรคสําคัญตอการขยายการลงทุนดาน พลังงานทดแทนของไทย กระทรวงพลังงานจึงไดจัดทํารางกฎหมายพลังงานทดแทนขึ้น เพื่อสง เสริมการลงทุนธุรกิจพลังงานทดแทนเปนการเฉพาะ เพื่อผลักดันแผนพัฒนา พลังงานทดแทน 10 ป(2555-2564) ที่กําหนดเปาหมายใหเกิดการใชพลังงาน ทดแทนเพิม่ ขึน้ จาก 20% เปน 25% ของการใชพลังงานทัง้ ประเทศภายในป 2564 บรรลุเปาหมายไดงายขึ้น ปจจุบันดําเนินการไดเพียงประมาณ 10% โดย กรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน(พพ.) ไดรบั งบประมาณจากกองทุน เพื่อการอนุรักษพลังงาน 2.5 ลานบาท ในการจางที่ปรึกษาจัดทํารางกฎหมาย พลังงานทดแทนขึ้น มีกรอบระยะเวลาดําเนินการศึกษาใหแลวเสร็จภายใน 12 เดือน หรือนับจากเดือนเมษายน 2555 ถึงเดือนมีนาคม 2556

ที่แทจริง(Feed-in-tariffs: FIT) ที่รวมอยูในกฎหมายดังกลาวดวย โดยกําหนด ใหทบทวนทุก 3 ป ดานมาตรการสงเสริมทางดานภาษี จะกําหนดอัตราภาษีพิเศษใหสําหรับ การนําเขาอุปกรณทเี่ กีย่ วของกับพลังงานทดแทน แตตอ งเปนอุปกรณที่ ไมมหี รือ ไมสามารถผลิตไดในประเทศไทยจึงจะไดสทิ ธิพเิ ศษดานภาษี และอนุญาตใหนาํ เขา ผูเชี่ยวชาญพิเศษดานพลังงานทดแทนที่ ไทยไมมีไดเทานั้น นอกจากกฎหมายจะมุงเนนการสงเสริมการลงทุนแลว ยังกําหนดขอ บังคับและบทลงโทษตามกฎหมายดานความปลอดภัยไวดวย หากไมไดมาตรฐาน ความปลอดภัยจะมีผลตอใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานทดแทนได รวมทั้ง จะกําหนดใหแตละบริษัทตองสงเสริมการวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทน และใหนํา สงเงิน 3% ของยอดการวิจัยไปพัฒนาชุมชนที่อยูในพื้นที่อีกดวย ซึ่งกฎหมาย พลังงานทดแทนจะทําใหเกิดหนวยบริการเบ็ดเสร็จจากภาครัฐ เพื่อความสะดวก รวดเร็วโดยเฉพาะการขอใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานทดแทน ซึง่ ทีผ่ า นมา ตองผานการพิจารณาจากหลายหนวยงาน สาระสําคัญของแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป คือ ทําใหประเทศไทยสามารถพัฒนาพลังงานทดแทนใหเปนหนึ่ง ในพลังงานหลักของประเทศ ทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลและและการนําเขานํ้ามันได อยางยั่งยืนในอนาคต โดยในแผนนี้จะไมรวมเปาหมายการพัฒนากาซธรรมชาติ ในภาคขนสง(NGV) เสริมสรางความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ เสริม สรางการใชพลังงานทดแทนในระดับชุมชนในรูปแบบชุมชนสีเขียวแบบครบวงจร สนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยีพลังงานทดแทนในประเทศ เพื่อวิจัย พัฒนาสงเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนของไทยใหสามารถแขงขันในตลาด สากล ซึ่งทางภาครัฐบาลจะใหการผลักดันดานเงินลงทุน รวมถึงการลดหยอน ภาษี เพื่อเพิ่มแรงจูงใหใหกับการลงทุนของภาคเอกชน

เตรียมพรอมระบบขนสงรับ AEC

ทําไมตองมีกฎหมายดานพลังงาน

ประเทศไทยมีการเติบโตดานพลังงานทดแทนคอนขางมาก ทั้งในสวน ของภัครัฐบาลที่ ใหการสนับสนุน รวมถึงภาคเอกชนที่ ใหความสนใจในการลงทุน กฎหมายดังกลาวจะมุงเนนการสงเสริมการลงทุนดวยการใหสิทธิประโยชน และ สิทธิพิเศษในการนําเขาอุปกรณการผลิตพลังงานทดแทน รวมถึงการกําหนด โครงสรางราคาซื้อขายพลังงานทดแทนที่เหมาะสมกับการลงทุน เริ่มที่กําหนด โครงสรางราคาซื้อขายกาซชีวภาพที่ ใชในยานยนต กาซชีวภาพอัดทดแทนกาซ หุงตม(LPG) สําหรับใชในโรงงานอุตสาหกรรม หรือสงออก รวมทั้งการกําหนด ราคาเอทานอลและไบโอดีเซลที่ใชเปนวัตถุดิบการผลิตไบโอพลาสติก สวนที่หลาย ฝายใหความสนใจคือ เรื่องอัตราสวนเพิ่มการรับซื้อไฟฟา(Adder) กับคาการ ผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนหมุนเวียนดวยระบบอัตราคาไฟฟาตามตนทุน

เพื่อเปนการเตรียมความพรอมรองรับการเปดประชาคมอาเซียน หรือ AEC ป 2558 ในภาคการขนสง ถือวามีความสําคัญและจะมีการเปดเสรี ใน ป 2556 กรมการขนสงทางบกจึงตองเรงสรางความเขาใจกับผูประกอบการ ภาคการขนสงของไทย เพราะอาจสงผลตอการขนสงพลังงานตอไปในอนาคต โดยกรมการขนสงทางบกจะตองพัฒนาระบบมาตรฐานคุณภาพบริการ หากผู ประกอบการไทยไมมีความพรอมจะเสียเปรียบ รวมถึงการแกกฎหมายรองรับ ผูประกอบการดานการขนสงจากตางประเทศใหเขามาดําเนินการในประเทศไทย จากเดิมรอยละ 49 เปนรอยละ 70 ทั้งนี้ ปจจุบันกรอบความรวมมืออาเซียนไดเปดใหมีการเดินรถไป-กลับ ระหวางประเทศในกลุมอาเซียน 500 คัน ที่ผูประกอบการไทยวิ่งใหบริการในเสน ทางอีสต-เวสตคอริดอรส หรือโครงการเสนทางแนวตะวันออก-ตะวันตก R9 จากจังหวัดตาก-พิษณุโลก, มุกดาหาร-สหวันเขต, ลาวบาว-ทาเรือดานัง แต เสนทางดังกลาวไมไดรับความนิยม จึงมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนเสนทางเดินรถ ใหมมาเปนเสนทางฮานอย-แหลมฉบังแทน หากมีการเปดการเสรี อนาคตจะมีผูประกอบการขนสงจากตางชาติ เขามาใหบริการเปนจํานวนมาก จึงตองมีการแกไขพระราชบัญญัติเกี่ยวกับ การเดิ น รถ ไม ว  า จะเป น ร า ง พระราชบั ญ ญั ติ ก ารอํ า นวยความสะดวก ในการขนสงขามแดน หรือพระราชบัญญัติการรับขนของทางถนนระหวาง ประเทศ โดยในขัน้ ตอนการพิจารณา คาดวาจะประกาศใช และรางพระราชบัญญัติ การรับขนคนโดยสารและสัมภาระระหวางประเทศในอีก 1 ปขางหนา ซึ่งยอมรับ วาหากเปดเสรีภาคการขนสงผูประกอบการขนสงขามแดนจะไดรับผลกระทบ มากที่สุด แตถือเปนเรื่องดีตอธุรกิจขนสงสินคา เพราะการขนสงพลังงาน ยังคงเปนทางเลือกที่มีการลงทุนนอยกวาการวางระบบทอในการขนสงพลังงาน โดยเฉพาะชวงแรกๆ ของการเปดการคาเสรี August 2012 l 19

Energy#45_p18-23_Pro3.indd 19

7/25/12 2:09 AM


ขอไดเปรียบของประเทศไทย คือ มีความเหมาะสมดานภูมิศาสตรที่จะเปน ศูนยกลางของกลุม อาเซียน ดานการคมนาคมขนสงทางบก มีถนนสายเศรษฐกิจ ระหวางประเทศหลายสายตัดผาน ไมวาจะเปน R1 จากตะวันตกสูตะวันออก ผาน กรุงเทพมหานคร สูเขมร และไปสิ้นสุดที่ประเทศเวียดนาม, R3 จากเหนือสุดจรด ใตสุด รวมถึงเสนทางสาย R8, R9 และ R10 ซึ่งลวนเปนถนนระหวางประเทศที่ เชื่อมโยงการคาการลงทุนระหวางอาเซียนกับประเทศจีน สวนโครงการสําคัญที่เคยริเริ่มกันเอาไว แตยังไมไดเดินหนาอยางเปน รูปธรรม ไมวาจะเปนโครงการโครงขายระบบสายสงไฟฟาอาเซียน (ASEAN Power Grid) โครงการเชื่อมโยงทอสงกาซธรรมชาติอาเซียน (Trans-ASEAN Gas Pipeline) ก็ควรไดรับการเรงรัดนําขึ้นมาดําเนินการโดยรีบดวน โดยอาศัย ความรวมมือภายใตขอ ตกลง AEC ก็นา จะทําใหโครงการตางๆเดินหนาไดรวดเร็ว ยิ่งขึ้นและเรงหนุนกฎหมายภาษีที่เกี่ยวของ

เล็งเปลี่ยนระบบ Adder เปน Fit

ถึงแมวาประเทศไทยจะเปนประเทศเกษตรกรรมและมีความไดเปรียบ ดานพืชผลทางการเกษตร ซึ่งสามารถนํามาเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา หรือโรงไฟฟาชีวมวลไดจํานวนมาก แตการผลิตพลังงานรูปแบบนี้มีตนทุน การผลิตสูงมากเมื่อเทียบกับโรงไฟฟาที่ ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งภาครัฐไดเรง สงเสริมพลังงานทดแทนดังกลาวอยางตอเนื่อง แมวาตนทุนจะสูงแตก็ดีกวา พึ่งพาพลังงานฟอสซิลเพียงอยางเดียว สงผลใหภาพรวมของการใชพลังงาน ทดแทนดีอยางตอเนือ่ งอยูท ปี่ ระมาณ 10% และมีแผนจะเพิม่ ขึน้ อีก อยางไรก็ตาม การใหสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟา(แอดเดอร) จะตองมีการปรับปรุง เนื่องจาก แอดเดอรของโรงไฟฟาโซลารเซลลสูงเกินไป และควรมีการปรับปรุงเครื่องจักร

ใหสามารถผลิตพลังงานไดมากขึ้น กระทรวงพลั ง งานจึ ง ทบทวนการส ง เสริ ม ผลิ ต ไฟฟ า จากพลั ง งาน หมุนเวียนอีกครั้ง หลังพบวาตนทุนการผลิตพลังงานทดแทนเริ่มลดลงสิ่งที่ตาม มาคือ ภาระตนทุนกับคาไฟที่เรียกเก็บจากประชาชน ซึ่งอยูระหวางการพิจารณา การปรับเปลี่ยนจากแอดเดอร หรือ เงินสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟา มาเปนระบบ อัตราคาไฟฟาตามตนทุนจริง หรือ Feed in tariffs(FIT) ตองมีความเหมาะสม ซึ่งหากนําระบบ FIT มาใชจริง ตองศึกษารายละเอียดอีกครั้งวา ระบบ FIT เหมาะ สมหรือไม และตองหารือกับผูผลิตไฟฟาเสียกอน และหากผลออกมาไมเหมาะสม อาจปรับเปนระบบอื่นได หรือ อาจใชเปนสูตรคํานวณ หรือ กลับมาเปนระบบแอด เดอรเหมือนเดิมก็ ได กอนหนานี้ ประเทศไทยมีแผนการสนับสนุนดานพลังงานหลายดานโดย เฉพาะแผนกอสรางโรงไฟฟา แตยังมีตัวแปรที่ถือเปนขอจํากัดในการกอสราง โครงการตางๆ ไมวาจะเปนโรงไฟฟาถานหินหรือโรงไฟฟานิวเคลียร สงผลให ประเทศไทยมีทางเลือกที่จํากัดมาก ซึ่งการที่จะพึ่งพลังงานทดแทนเพียงอยาง เดียวคงเปนไปไดยากสําหรับประเทศที่กําลังพัฒนาอยางประเทศไทย จริงอยู วาการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรเปนเรื่องที่ตองผานการพิจารณาหลายขัน ตอน แตหากมองไปถึงอนาคตที่กาซธรรมชาติในอาวไทยกําลังจะหมดไป การ ผลิตไฟฟาของประเทศไทย จะใชกาซธรรมชาติตลอดคงไมได เพราะมีความเสี่ยง เกินไป ตองมีเชื้อเพลิงอื่นเขามาทดแทน ในขณะที่โรงไฟฟาถานหินประชาชนก็ตอ ตาน รวมถึงนิวเคลียรดว ย จึงเปนเหมือนการบีบใหทางเลือกในการสนับสนุนดาน พลังงานของภาครัฐลดลง อีกทั้งพลังงานทดแทนจากโรงไฟฟาจะมีขนาดเล็ก และกระจายอยูในหลายพื้นที่ ทําใหตองสรางสายสงใหมทําใหเกิดตนทุนเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับโรงผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ และถานหิน

20 l August 2012

Energy#45_p18-23_Pro3.indd 20

7/25/12 2:09 AM


ผลักดันพลังงานทดแทนตอเนื่อง

ขณะที่การศึกษาความเปนไปของโรงไฟฟาขนาดใหญยังไมคืบหนา และ ความตองการพลังงานยังคงเพิ่มขึ้น การขับเคลื่อนเทคโนโลยีพลังงานทดแทน เพื่อการผลิตไฟฟาก็คงตองดําเนินตอไป และภาครัฐยังเปนผูใหการสนับสนุน ทั้งในสวนของเงินทุน และดานภาษี เพื่อบรรลุเปาหมายในการสรางความมั่นคง ใหประเทศ ดังนี้ พลังงานแสงอาทิตย เปาหมายในป 2564 คือ 2,000 MW ปจจุบันมี กําลังการผลิตรวม 75.48 MW โดยมุงเนนการพัฒนาตามกรอบการสงเสริม การพัฒนาแผน AEDP ที่สําคัญ คือ การสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการ ผลิตและการใชพลังงานทดแทนอยางกวางขวาง สงเสริมโครงการระบบขนาด เล็กที่สามารถติดตั้งในระดับชุมชนและครัวเรือนรวมทั้งระบบผลิตไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยบนหลังคา (Solar PV Rooftop)ใหได 1,000 MW ภายใน 10 ป โดยอาจพิจารณาใหรวมถึงระบบที่ติดตั้ง การปรับมาตรการจูงใจสําหรับการ ลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสมกับสถานการณ โดยการปรับ Adder เปนระบบ Feed In Tariff(FiT) เปนตน การแกไขกฎหมาย และกฎระเบียบที่ยังไมเอื้อตอการ พัฒนาพลังงานทดแทน โดยผลักดันปรับปรุง แกไขกฎหมาย พ.ร.บ.โรงงาน (พ.ศ.2535) การปรับปรุงระบบโครงสรางพื้นฐานให 3 การไฟฟาเตรียมความ พรอมในการการขยาย และเพิ่มระบบสายสงเพื่อรองรับพลังงานทดแทนที่เพิ่ม ขึ้นรวมทั้งเตรียมการพัฒนาสูระบบ Smart Grid เรงประชาสัมพันธ และสราง ความรูความเขาใจตอประชาชน ในการสงเสริมใหภาคประชาชน หรือภาคสวนที่ เกี่ยวของใหมีความรูความเขาใจในเรื่องการใชงานระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสง อาทิตยในรูปแบบตางๆ และการสงเสริมใหงานวิจัยเปนเครื่องมือในการพัฒนา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนแบบครบวงจร สงเสริมอุตสาหกรรมผลิตแผง แสงอาทิตยตนนํ้าครบวงจร เชน โรงงานผลิตซิลิกอนเวเฟอร พลังงานลม เปาหมายในป 2564 คือ 1,200 MW ปจจุบันมีกําลังการ ผลิตรวม 7.28 MW โดยมุงเนนการพัฒนาตามกรอบการสงเสริมการพัฒนา แผน AEDP ที่สําคัญ คือ การสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการผลิตและการใช พลังงานทดแทนอยางกวางขวาง เพื่อการผลิตไฟฟารวมกับระบบผลิตไฟฟา อื่นในชุมชนหางไกล และเกาะที่ยังไมมีไฟฟาใชเพื่อการเกษตรโดยเฉพาะกังหัน ลมสูบนํ้าและระหัดวิดนํ้าเพื่อการอุปโภค บริโภค ปรับมาตรการจูงใจสําหรับการ ลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสมกับสถานการณ โดยอํานวยความสะดวกให เอกชนสามารถที่จะขอใชพื้นที่และดําเนินติดตั้งกังหันลมในพื้นที่หางไกลได การ แกไขกฎหมาย และกฎระเบียบที่ยังไมเอื้อตอการพัฒนาพลังงานทดแทน โดย ผลักดันแกไข ปรับปรุง ขอกฎหมายและระเบียบปฏิบัติบางอยางที่ยังไมเอื้อตอ การพัฒนาพลังงานลม ปรับปรุงระบบโครงสรางพื้นฐาน การจัดทําแผนขยาย ระบบสายสง และระบบเก็บสะสมพลังงาน เชน ระบบสูบกลับในพื้นที่ที่มีศักยภาพ พลังงานลมสูง ประชาสัมพันธ และสรางความรูความเขาใจตอประชาชน สง

เสริมใหมีการสรางเครือขายผูใชและผลิตพลังงานลม และสงเสริมใหงานวิจัย เปนเครื่องมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนแบบครบวงจร โดย ผลักดันใหมีอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณสวนควบเพื่อการกักเก็บไฟฟาและ ระบบผลิตไฟฟาลมแบบผสมผสาน

ไฟฟาพลังนํ้า เปาหมายในป 2564 คือ 1,608 MW ปจจุบันมีกําลังการ ผลิตรวม 86.39 MW (ไมรวมระบบสูบกลับที่มีอยูปจจุบันของ กฟผ. คือ ลําตะ คอง 1-2 500 MW) โดยเริ่มที่การสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการผลิตและ การใชพลังงานทดแทนอยางกวางขวาง ผลิตไฟฟาพลังนํ้าระดับหมูบานใหแก ราษฎรที่ ไมมีไฟฟาใช โดยไมเชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (Off Grid) ปรับ มาตรการจูงใจสําหรับการลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสมกับสถานการณ แกไขกฎหมาย และกฎระเบียบทีย่ งั ไมเอือ้ ตอการพัฒนาพลังงานทดแทน ปรับปรุง ระบบโครงสรางพืน้ ฐาน โดยมอบหมายให พพ. และ กฟผ. พัฒนาระบบผลิตไฟฟา พลังนํา้ ขนาดเล็กทายเขือ่ นชลประทานและระบบผลิตไฟฟาพลังนํา้ ขนาดเล็กกําลัง ผลิตตั้งแต 200-6,000 kw สรางความรูความเขาใจตอประชาชน และสงเสริม ใหงานวิจัยเปนเครื่องมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนแบบครบ วงจร วิจัยและพัฒนา Micro Hydro Turbine แบบนํ้าไหล ศึกษาพัฒนาเครื่อง กังหันนํ้าแบบความสูงหัวนํ้าตํ่า พลังงานจากขยะ เปาหมายในป 2564 คือ 160 MW ปจจุบันมีกําลัง ผลิตรวม 13.45 MW โดยมีเปาในการพัฒนาชุมชนมีสวนรวมในการผลิตและ การใชพลังงานทดแทนอยางกวางขวาง ดวยการสงเสริมสนับสนุนการผลิต พลังงานจากขยะใน อปท.ขนาดกลางและขนาดเล็ก ปรับมาตรการจูงใจสําหรับ การลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสมกับสถานการณ แกไขกฎหมายและกฎ ระเบียบที่ ไมเอื้อตอการพัฒนาพลังงานทดแทน โดยเรงรัด ปรับปรุงแกไข พรบ. รวมทุน พ.ศ.2535 เพื่อเอื้อใหเอกชนสามารถเขารวมทุนกับ อปท. ในการผลิต พลังงานจากขยะทุกรูปแบบ โดยเฉพาะสงเสริมการจัดการขยะแบบ RDF แลว นํามาผลิตหรือความรอนรวมในโรงงานอุตสาหกรรมรวมทั้งสงเสริมการผลิต นํ้ามันจากขยะพลาสติก พลังงานชีวมวล เปาหมายในป 2564 คือ 3,630 MW ปจจุบันมีกําลัง การผลิตรวม 1,751.86 MW โดยสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการผลิตและ การใชพลังงานทดแทนอยางกลางขวาง โดยสงเสริมใหมีการจัดตั้งสถานีผลิต พลังงานชุมชน Distrubuted-Green-Generation-DDG (DGG) โดยกลุม วิสาหกิจ ชุมชนเปนเจาของและบริหารจัดการไดอยางครบวงจร ปรับมาตรฐานการจูงใจ สําหรับการลงทุนจากภาดเอกชนใหเหมาะสมกับสถานการณ โดยการกําหนด มาตรฐานสนับสนุนเชิง Adder หรือ FIT และ Renewable Heat Incentive(RHI) พิ เ ศษสํ า หรั บ โครงการ DGG ในระดั บ ชุ ม ชนเป น การเฉพาะ จั ด เตรี ย ม มาตรการดานการเงินสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพโรงไฟฟาเดิมชีวมวลที่ ใช Low Pressure Boiler ที่ผลิตไฟฟาจากชีวมวลใหเปน High pressure boiler ปรับปรุงระบบโครงสรางพื้นฐาน โดยมอบหมายให กฟผ. และ กฟภ. พิจารณา August 2012 l 21

Energy#45_p18-23_Pro3.indd 21

7/25/12 2:09 AM


ขยายระบบสายสง สายจําหนายพือ่ รองรับการพัฒนาโครงการ ไฟฟาชีวมวล โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพพลังงานจากชีวภาพ สูง เชน พืน้ ทีภ่ าคใต และสงเสริมใหงานวิจยั เปนเครือ่ งมือในการ พัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนครบวงจร โดยพัฒนาการ ผลิต การใช และมาตรฐานของ Biomass Pallet เพื่อพัฒนา ใหเปนเชื้อเพลิงชีวมวลสําหรับอนาคต รวมถึงการพัฒนา เทคโนโลยี Gasifier และ Gas Engine และพัฒนาอุตสาหกรรม ตอเนือ่ งเพือ่ การผลิตภายในประเทศ รวมถึงการพัฒาเทคโนโลยี การผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลเหลว(Biomass-to-Liquid) กาซชีวภาพ เปาหมายที่ 600 MW ปจจุบันมีกําลังการ ผลิตรวม 138 MW โดยมุงเนนการพัฒนาชุมชนมีสวนรวมใน การผลิตอยางกวางขวาง การผลิตกาซชีวภาพในระดับครัว เรือน โดยเฉพาะชุมชนในชนบท เพื่อประโยชนในการนํามาใช เองในครัวเรือน สงเสริมการพัฒนาเครือขายทอกาซชีวภาพ ในชุมชน เพื่อเชื่อมตอระบบที่อาจมีกําลังการผลิตเหลือให สามารถแบงปนกันใชในชุมชนโดยใหบริหารจัดการกันเอง ปรับ มาตรฐานจูงใจสําหรับการลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสมกับสถานการณ โดย สงเสริมการผลิต การใชกาซชีวภาพเพื่อการคมนาคมขนสง(CBG) โดยมีกลไล ราคาที่สะทอนตนทุนเพื่อชวยสนับสนุนการนํากาซชีวภาพมาใชในการผลิต สง เสริมงานวิจัยเปนเครื่องมือในการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยวิจัยและพัฒนาการ ผลิตกาซชีวภาพของเสียผสม(Co Digestion) โดยเฉพาะชีวมวลบางประเภท เชน ผักตกชวา ซังขาวโพด มาหมักกับมูลสัตว เปนตน หากพิ จ ารณาอั ต ราการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรมของ ประเทศไทยชวงที่ผานมา กระทรวงพลังงานตองเตรียมความพรอมในเรื่อง ของการกอสรางโรงไฟฟาเพิ่มเติม นอกจากโรงไฟฟาที่มีการดําเนินการอยู ยังคงศึกษาความเหมาะสมและความเปนไปไดของการกอสรางโรงไฟฟาประเภท ตางๆ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึ่งการพึ่งพากาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟา มากถึง 70% นับวาเปนสัดสวนที่มากเกินไป โดยทางเลือกของประเทศไทยก็ มีไมมาก ซึ่งการเพิ่มโรงไฟฟาถานหินจะสามารถชวยแบงเบาดานตนทุนได และปจจุบันเทคโนโลยีโรงไฟฟาถานหินไมกอมลพิษเชนที่ผานมา สวนโรงไฟฟา นิวเคลียรก็ถือเปนพลังงานสะอาด แตยังมีความกังวลเรื่องความปลอดภัย โดยกระทรวงพลังงานยังไมเรงรีบโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรมากนัก และมี การเลื่อนจากแผนพีดีพีออกไปอีก 3 ป ไปเปนป 2569 แตก็ตองมีการศึกษา ตอไป เพื่อเปนทางเลือกในอนาคต ถาไทยยังพึ่งพากาซในการผลิตไฟฟาเพียง อยางเดียว อํานาจตอรองของประเทศก็จะลดลง หากจําเปนตองพึ่งพาการนํา เขาสวนใหญของทั้งหมด

เลิกอุดหนุนราคาพลังงาน

อีกหนึ่งประเด็นที่นาสนใจคือ การเลิกอุดหนุนราคาพลังงาน ถือเปน สะทอนใหประชาชนไดเขาใจความเปนดานราคาพลังงานของตลาดโลก แนวโนม การนําเขาพลังงานของไทยเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะการนําเขา LNG ซึ่งประชาชน บางสวนยังไมเขาใจวามีตนทุนสูงมาก เมื่อบวกรวมกับการนําเขาพลังงานรูป แบบอื่นๆ สงผลใหประเทศไทยกําลังเปนประเทศที่มีการนําเขาพลังงานมูลคา มหาศาลในแตละป และที่สําคัญประเทศไทยยังขึ้นชื่อวาใชพลังงานจากการนําเขา ดังกลาวอยางไมมปี ระสิทธิภาพ เมือ่ เทียบกับทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ยางจํากัด เมื่อเปนเชนนั้น การที่ภาครัฐบาลจะอุดหนุนราคานํ้ามันตอไป จะไม สามารถปลูกจิตสํานึกดานการใชพลังงานใหกับประชาชนได แนนอนวาการ ตัดสินใจในนโยบายดังกลาวเปรียบเสมือนดาบสองคม เพราะวาจะมีทั้งเสียงที่ ใหการสนับสนุนและเสียงที่ออกมาตอตานอยางที่ตกเปนขาวในชวงปที่ผานมา แตสิ่งที่รัฐบาลกําลังดําเนินอยูคือ ไมควรที่จะเขามาอุดหนุนราคาพลังงานมาก เกินไป โดยหันใหความชวยเหลือดานการอุดหนุนเฉพาะกลุมผูที่เดือดรอนหรือ

มีรายไดนอยจริงเทานั้น ไมเชนนั้นจะกลายเปนการอุดหนุนประชาชนทุกกลุม ไม วาจะเปนกลุมของผูมีรายไดสูงหรือกลุมผูมีรายไดตํ่า ที่ผานมา รัฐบาลมีการอุดหนุนราคาพลังงานไมวาจะเปนอุดหนุน LPG ผานกองทุนนํา้ มันเชือ้ เพลิง อุดหนุนราคานํา้ มันดีเซลดวยการลดการจัดเก็บภาษี นํ้ามันในอัตราประมาณ 5 บาทตอลิตร รวมมูลคาการอุดหนุนราคาพลังงาน ปละ 1.5-1.6 แสนลานบาท หากอุดหนุนยาว 5 ปจะเปนวงเงินรวมเกือบ 1 ลานลาน บาท ซึ่งถือเปนเงินที่สูง และหากมองในแงของการพัฒนาประเทศ เงินจํานวน ดังกลาวสามารถนํามาใชประโยชนและสรางมูลคาเพิ่มใหประเทศไดไมนอย ไม วาจะเปนการลงทุนดานโครงสรางพลังงานดานอื่น ๆ การลงทุนสรางรถไฟฟา รถไฟความเร็วสูง เปนตน จึงถือวาการทยอยปรับราคาเชื้อเพลิงตามจริง นา จะเกิดประโยชนโดยรวมมากกวา นอกจากนี้ ลาสุดยังมีการลดอัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิง สําหรับนํ้ามันดีเซล 0.40 บาท/ลิตร จาก 1.00 บาท/ลิตร เปน 0.60 บาท/ลิตร และนํา้ มันแกสโซฮอล 91 และ 95 ปรับลดอัตราเงินสงเขากองทุนนํา้ มันฯ ลง 0.30 บาท/ลิตร จากเดิมนํ้ามันแกสโซฮอล 91 เก็บ 1.30 บาท/ลิตร ลดเหลือ 1.00 บาท/ลิตร นํ้ามันแกสโซฮอล 95 เดิมเก็บ 2.90 บาท/ลิตร เหลือ 2.60 บาท/ลิตร เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาขายปลีกไมใหกระทบภาคขนสง คาโดยสารและภาวะ เงินเฟอ รวมทั้งยังเปนการสนับสนุนการใชพลังงานทดแทนในกลุมแกสโซฮอล อีกดวย การปรับลดอัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามันฯ สําหรับนํ้ามันดีเซลนี้ จะสง ผลใหกองทุนนํา้ มันฯ มีรายรับลดลงจาก 115 ลานบาท/วัน เปน 90 ลานบาท/วัน โดยประชุมคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน ในฐานะที่ ไดรับมอบ หมายจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2555 จะพิจารณากําหนด อัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามันฯ ตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงราคานํ้ามันใน ตลาดโลก ภาวะเงินเฟอภายในประเทศ การสงเสริมพลังงานทดแทน และฐานะ กองทุนนํ้ามันฯ เปนสําคัญ

นโยบายพลังงานทดแทนในรถยนต

พระราชบัญญัติรถยนต(ฉบับที่ ๑๔) วาดวยเรื่องสถานการณราคา นํ้ามันไดปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องรวมทั้งปญหาทางดานมลภาวะทางอากาศที่ เพิ่มมากขึ้น และเพื่อเปนการสงเสริมใหมีการใชพลังงานอื่นทดแทนการใชนํ้ามัน เชื้อเพลิง สนับสนุนการใชพลังงานอยางประหยัดและการใชพลังงานสะอาดเพื่อ อนุรกั ษสงิ่ แวดลอม ปจจุบนั มีผนู าํ รถทีข่ บั เคลือ่ นดวยพลังงานไฟฟาและพลังงาน อื่นโดยมิไดใชเครื่องยนต เปนการชวยใหมีการใชพลังงานอยางเหมาะสมและคุม คา สงผลดีตอระบบเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมของประเทศ สมควรสงเสริมการ ใชรถที่ ใชพลังงานดังกลาวและกําหนดใหมีอัตราภาษีประจําปสําหรับรถเหลานี้

22 l August 2012

Energy#45_p18-23_Pro3.indd 22

7/25/12 2:09 AM


เปนการเฉพาะ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติ กรมการขนสงทางบกไดออกกฎระเบียบเรือ่ งของการตรวจสภาพรถยนต ที่ ใชกาซ NGV ทุกปกอนการเสียภาษี สวนรถยนตที่ ใชกาซ LPG ตองตรวจทุก 5 ป เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการใชงานโดยตองผานการตรวจและทดสอบการ ติดตั้งสวนควบและเครื่องอุปกรณจากผูตรวจและทดสอบที่ ไดรับความเห็นชอบ จากกรมการขนสงทางบก ซึ่งการตรวจกอนเสียภาษีทุกปใหยกเวนรถยนตที่ติด ตั้งระบบกาซ NGV จากโรงงานผูผลิตรถยนตโดยตรง นอกจากนี้ ยังออกกฎกระทรวงกําหนดเครือ่ งอุปกรณและสวนควบคุมของ รถยนตที่ ใชกาซธรรมชาติอัด(NGV) ซึ่งมีอุปกรณและสวนควบคุมตามที่กําหนด อยางนอย 8 รายการ, การกําหนดวิธีการติดตั้ง-การตรวจและการทดสอบตาม หลักเกณฑ และเงื่อนไขที่กรมการขนสงกําหนด, ตองไดรับการตรวจและทดสอบ จากสวนราชการหรือบุคคลอื่นตามที่กรมฯ กําหนด, เจาของหรือผูครอบครอง รถตองติดเครื่องหมายแสดงการใชกาซ NGV ที่ดานหนาและดานทายของตัวรถ หากเจาของหรือผูค รอบครองรถที่ ไดตดิ ตัง้ อุปกรณและสวนควบตามทีก่ าํ หนดให แจงตอกรมการขนสงทางบกภายใน 180 วัน

ภาษีรถคันแรก

เปนอีกหนึ่งเรื่องที่สืบเนื่องมาจากปที่ผานมา นอกจากจะเปนแรงจูงใจให กับคนทีก่ าํ ลังมองหารถใหม ยังเปนการสงเสริมประชาชนใหมาใชรถยนตประหยัด พลังงานจําพวกอีโคคารมากขึ้น เพราะเปนรถที่เขาขายโครงการดังกลาว ทําใหราคารถที่ถูกอยูแลวใหถูกลงไปอีก หลักเกณฑการคํานวนเงินภาษีคืนให ประชาชน จะไดมาจากการตรวจสอบจากราคารถยนต และอัตราภาษีของรถยนต ประเภทตาง ๆ เพื่อคิดเปนสัดสวนเงินภาษีที่จะไดรับคืน โดยรถ อีโคคาร ที่มีราคา ประมาณ 375,000-540,000 บาท เก็บภาษี 17% ผูซื้อจะไดรับเงินคืนเฉลี่ย 45,000 บาท สวนรถประเภทอื่นก็ ไดรับสิทธิ์เชนกัน ไดแก รถยนตนั่งขนาดเล็ก ที่มีความจุกระบอกสูบไมเกิน 1,500 ซี.ซี.ราคาประมาณ 500,000-700,000

บาท จะเก็บภาษี 25% ผูซื้อตามนโยบายจะไดรับเงินคืนสูงสุดไมเกิน 100,000 บาท สวนรถกระบะแบบ 2 ประตู ราคาประมาณ 300,000-500,000 บาท เรียก เก็บภาษี 3% จะไดรับเงินคืนภาษีเฉลี่ย 10,000 บาท และรถแบบกระบะ 4 ประตู ราคาประมาณ 700,000-800,000 บาท เรียกเก็บภาษี 12% ผูซื้อจะไดรับเงิน คืนเฉลี่ย 60,000 บาท กับการที่ประเทศไทยกําลังเขาสูประชาคมอาเซียน หรือ AEC เปนการ รวมตัวขอประเทศในอาเซียน เพื่อที่จะใหมีผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกัน จะ มีรูปแบบคลายๆ กลุมประเทศในแถวยุโรปจะทําใหมีผลประโยชนและอํานาจตอ รองตางๆ กับการทําธุรกิจมากขึ้น รวมถึงยังเปนการเปดโอกาสในการนําเขา สงออกของชาติในอาเซียนอยางเสรี หากประเทศไทยไมเตรียมการในขณะนี้ จะกระทบตอการแขงขันดานพลังงาน โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบานอยางประเทศ พมาและประเทศเวียดนามทีข่ ณะนี้ กําลังเรงพัฒนาเศรษฐกิจอยางเต็มที่ และมีขอ ไดเปรียบดานทรัพยากรที่สามารถผลิตพลังงานมากกวาไทย แตหากมองในแงดี การกาวเขาสู AEC จะชวยใหการจัดหาแหลง พลังงานของกลุมสมาชิกทําไดสะดวก ซึ่งการแขงขันเปนปจจัยขับเคลื่อนใหเกิด ประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยเองจะถูกกระตุนใหมีความตื่นตัว และเพิ่มโอกาส ในการขยายและสงออกเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรักษพลังงานเพิ่ม มากขึ้น รวมถึงการจัดทํามาตรฐานและโครงการพัฒนาบุคลากรดานพลังงาน แตความเชื่อมโยงดานพลังงานกับอาเซียนจะมีความสามารถในการซื้อพลังงาน ไมมากนัก ซึ่งภาพรวมของอาเซียนเปนตัวชี้วัดประสิทธิภาพดานพลังงานเปน อยางดี ที่ผานมามีการเติบโตเพียง 0.5% ตอป ซึ่งถือวานอยมาก หากมองไป ในอนาคตแสดงวายังปรับปรุงไดไมเต็มที่ ยังมีโอกาสปรับปรุงใหดีขึ้นตอไป

August 2012 l 23

Energy#45_p18-23_Pro3.indd 23

7/25/12 2:09 AM


Tools & Machine โดย : ณ อรัญ

โปรเจคเตอรเทคโนโลยี...HYBRID

L ASER & LED ประหยัดทนนาน

การเปด / ปด เครื่องไดทันที โดยไมตองรอเหมือน โปรเจคเตอรอื่น ๆ ทั่วไป และดวยเทคโนโลยี HYBRID LASER & LED นัน้ ชวยใหโปรเจคเตอรของคาสิโอไดรบั มาตรฐานทางดาน สิ่งแวดลอมระดับสากลอยาง Green Star Products ซึ่งเปนการรับรองมาตรฐานดานประสิทธิภาพการใช พลังงานของอุปกรณคอมพิวเตอรผานการรับรอง มาตรฐานวาเปนสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เทรนดดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมนั้นเปนปจจัยหนึ่งที่ ทําใหหนวยงานหรือองคกรตางๆ เลือกใชอุปกรณประหยัดพลังงานที่เปน มิตรตอสิง่ แวดลอม ไมวา จะเปนการเปลีย่ นหลอดไฟ ระบบปรับอากาศ มาเปน ระบบประหยัดพลังงาน อุปกรณโปรเจคเตอร เปนอุปกรณชนิดหนึ่งที่ หนวยงาน องคกร รวมถึง บริษัท หรือกลุมอุตสาหกรรมตางๆ มีความ จําเปนตองใช เพื่อใชในการประชุม หรือทํา Workshop ภายในองคกร และในป จ จุ บั น เพื่ อ ตอบสนองความต อ งการขององค ก รหรื อ หนวยงานที่ตองการประหยัดพลังงาน หรือตอบโจทยดานการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอม บริษัทผูผลิตอุปกรณโปรเจคเตอร จึงไดคิดคน และผลิ ต อุ ป กรณ ป ระหยั ด พลั ง งานและเป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มขึ้ น มา เพื่อรองรับความตองการดังกลาว ลาสุด บริษัท คาสิโอ คอมพิวเตอร จํากัด ประเทศญี่ปุน ได เปดตัวสินคานวัตกรรมใหมลาสุดของวงการโปรเจคเตอรดวยเทคโนโลยี HYBRID LASER & LED ที่ทําใหบริษัทคาสิโอฯ สามารถผลิตเครื่อง โปรเจคเตอร ที่ ไ ม ต  อ งใช ห ลอดภาพในการให ค วามสว า งเหมื อ นเช น โปรเจคเตอรทั่วๆ ไปในปจจุบัน เทคโนโลยีดังกลาวของคาสิโอชวยใหการทํางานสามารถลดการใช สารปรอทจากหลอดภาพโปรเจคเตอรในปจจุบัน อีกทั้งเครื่องโปรเจคเตอร ของคาสิโอไมตองเปลี่ยนหลอดไฟ โดยมีอายุการใชงานไดถึง 20,000 ชัว่ โมง หรืออายุการใชงานมากกวา 10 ป ชวยลดคาใชจา ยขององคกรหรือ หนวยงานตาง ๆ ที่ตองใชเครื่องโปรเจคเตอรไดเปนอยางดี รวมทั้งยัง ชวยลดคาไฟฟา และลดคาใชจายบํารุงรักษาในระยะยาวอีกดวย แถมดวย

คาสิโอ โปรเจคเตอรของคาสิโอประกอบไปดวยผลิตภัณฑ 3 กลุม ไดแก Green Slim Models ที่มีขนาดบางเพียงแค 43 มิลลิเมตร พรอม ระบบ Wireless เหมาะสําหรับการใชงานแบบพกพา หรือเคลื่อนยายเพื่อใช งานนอกสถานที่ Standard Models เหมาะสําหรับหองประชุม หรือหองเรียน ให ความสวางถึง 3000ANSI lumens พรอมเทคโนโลยี Intelligent Brightness control ปรับความสวางของเครื่องใหเหมาะกับสภาพหองประชุม Pro Models (High Brightness) เหมาะสําหรับหองประชุมขนาด ใหญ หรือสถานทีท่ ตี่ อ งการความสวางระดับ 4000ANSI lumens ใชงานได ตอเนื่องเหมาะสําหรับงานหอง Control room หรือระบบ Digital Signage Short-throw Models เหมาะสําหรับสถานที่ที่ตองการระยะฉาย ใกล โดยสามารถฉายภาพขนาด 100 นิว้ ในระยะตัง้ ฉายภาพเพียงแค 1.50 ซม.พรอมความสวางสูงถึง 3000ANSI lumens โดยสรุปเทคโนโลยีลาสุดของคาสิโอ โปรเจคเตอร สามารถตอบ โจทยความตองการของธุรกิจในปจจุบันที่คํานึงและใหความสําคัญกับการ ลดตนทุนองคกร ลดการใชพลังงาน และการเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม

สนใจติดตอชมการสาธิตประสิทธิภาพและการใชงานไดที่ บริษัท ไซเบอรคอล จํากัด โทร 0-2374-3411 www.cybercall.co.th, E-mail : sales@cybercall.co.th 24 l August 2012

Energy#45_p24_Pro3.indd 24

7/24/12 1:04 AM


Energy#40_p25_Pro3.ai

1

2/21/12

3:29 PM


Green Industrial โดย : รังสรรค อรัญมิตร

โกลเด น ทิ ว ลิ ป ซอฟเฟอรินฯ ชมระบบประหยัดพลังงาน เป ด หลั ง บ า น

โดยโรงแรมโกลเดนทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุ ง เทพได มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นอุ ป กรณ เทคโนโลยีประหยัดพลังงานอยางเชน ระบบ ผลิ ต นํ้ า ร อ นเปลี่ ย นจากการใช นํ้ า มั น เตา ในระบบ Boiler ผลิตความรอนมาเปนระบบ Heat Pump ซึ่งใชไฟฟาในการผลิตแทนการ ใชนํ้ามันเตาสามารถคืนทุนภายใน 2 ป และ ชวยลดการใชพลังงานเชือ้ เพลิงไดเปนอยางดี และยังสามารถนําความเย็นทีเ่ หลือทิง้ จากระบบ Heat Pump มาใชประโยชนในสวนตางๆของ โรงแรมไดอกี ซึง่ เปนการลดตนทุนดานพลังงานได

การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมปจจุบันชวยอานิสงสตอการ ดําเนินธุรกิจโรงแรมในปจจุบันไดเปนอยางดีเพราะการอนุรักษพลังงาน นั้นชวยลดตนทุนดานพลังงานและเปนสวนหนึ่งของการดึงความสนใจให นักทองเที่ยว นักธุรกิจ เขามาพัก เนื่องจากวาการอนุรักษพลังงานนั้น เปนเทรนดที่กําลังมาแรงและเปนจุดขายหนึ่งของธุรกิจโรงแรมในยุคนี้ ทั้งนี้การอนุรักษพลังงานนั้นยังชวยลดกาซเรือนกระจกแลวยัง สามารถเขารวมในการขายคารบอนเครดิตแปลเปนรายไดอีกทางหนึ่ง และเพื่อตอบสนองปจจัยดังกลาวผูประกอบการธุรกิจตางๆ ไดปรับตัว และพัฒนาพรอมกับลงทุนปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีระบบประหยัดพลังงานให มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และนีก้ เ็ ปนอีกโรงแรมหนึง่ ที่ใหความสําคัญดานการอนุรกั ษพลังงาน และสิง่ แวดลอม “โรงแรมโกลเดนทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพ” ซึง่ การ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมนั้นโกลเดนทิวลิปฯ ถือเปนหัวใจสําคัญใน การทําธุรกิจโรงแรมเพราะการอนุรักษพลังงานสามารถชวยลดตนทุน ดานพลังงานไดเปนอยางดี นอกจากนี้ยังชวยใหเกิดภาพลักษณที่ดีสําหรับ โรงแรมและยังเปนที่ยอมรับกับลูกคาในปจจุบัน 26 l August 2012

Energy#45_p26-28_Pro3.indd 26

7/25/12 12:54 AM


ตามภาระการทําความเย็น พรอมดวยการติดตั้งระบบ Cooling Tower เปนแบบ Cross Flow ซึ่งชวยลดการสูญเสียของนํ้าตํ่าลงทําใหมีคาใชจาย ตํ่าถาเปรียบเทียบกับ Cooling ที่ ใชอยูทั่วไป และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดานการประหยัดพลังงานที่นี่เขาไดติดตั้ง ระบบควบคุมการทํางานของเครื่องจักรใหญเรียกวา Demand Controller ซึ่งสามารถครบคุมการทํางานของระบบไฟฟาในเครื่องจักรใหญตางๆได โดยอัตโนมัติ ทั้งนี้การประหยัดพลังงานในระบบแสงสวางของ โกลเดนทิวลิป ยังไดมีการปรับเปลี่ยนจากหลอดไสมาใชหลอดตะเกียบจํานวน 4,000 ดวง การเปลี่ยนโคมไฟ FL แบบโคมไฟโรงงานเปลี่ยนมาเปนโคมประสิทธิภาพสูง ชนิดมี Reflector พรอมกันนี้อนาคตที่นี่เขามีแผนเปลี่ยนมาใชหลอด LED หรือ Light emitting diodes แทนหลอดดาวนไลท และเปลี่ยนมาใชหลอด ประสิทธิภาพสูง T5 แทนการใชหลอด T8 ซึ่งจะชวยใหโรงแรมโกลเดน ทิวลิปฯ ลดการใชพลังงานไดเปนอยางดีครับ นอกจากนี้แลวที่นี่ยังไดติดตั้งระบบ Lighting Control & Day Light Application by Dimmer โดยระบบนี้จะสามารถปรับระดับความสวางของ โคมไฟในสวนที่ติดตั้งภายในบริเวณ Lobby ของโรงแรมใหสัมพันธกับแสง ธรรมชาติที่เขามาในอาคารกรณีที่มีแสงแดดเขามาแสงสวางก็จะหรี่ตัวลง หรือกรณีที่มีแสงแดดนอยแสงสวางของหลอไฟก็จะสวางขึ้นโดยอัตโนมัติ ในดานระบบบําบัดนํ้าเสีย (wash treatment) ไดติดตั้งบอดัก ไขมันและนําจุลินทรียเม็ด มาใสในบอบําบัดอาทิตยละ150 เม็ดเพื่อชวยยอย อีกทางหนึง่ พรอมกันนี้ โรงแรมยังไดปรับปรุงระบบการสงจายแกสหุงตมจาก ระบบจายตรงมาเปนระบบตม Electric Vaporizer ซึ่งจะมีผลดีตอการ ประหยัดพลังงานไดมากเนื่องจากสามารถนําแกสมาใชไดหมดถัง การปรับเปลี่ยนระบบทําความเย็นที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง เชน High Efficiency Chiller ที่ ใชพลังงานนอยลงกวาเดิมแลวยังไดใชวิธี แยงระบบ Chiller เพื่อทําความสะอาดตะกันทุก 2 เดือน ชวยใหระบบของ Chiller ทํางานไดดีขึ้นและประหยัดพลังงาน นอกจากนัน้ ทีน่ ยี่ งั ไดมกี ารติดตัง้ อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอร Inverter ในระบบทํ า ความเย็ น โดยความเร็ ว รอบจะถู ก ปรั บ อั ต โนมั ติ

Heat Pump

สลายสิ่งปฏิกูลตางๆ กําจัดไขมันและเปนผลดีตอสิ่งแวดลอม โดยนํ้าที่ผาน กระบวนการบําบัดที่นี่เขาไดนําไปใชในการลดนํ้าตนไมในบริเวณโรงแรม บางสวนนําไปผาน Hot bar สําหรับตากชุดชั้นใน สวนของบริเวณสระวาย นํ้าไดติดตั้งระบบ Ozone เพื่อลดการใชสารเคมีในสระนํ้า พรอมดวยติดตั้ง ระบบ Ozone นํา O3 มาซักผา ซึ่งเปนการประหยัดพลังงานมากจากเดิม จะนํานํ้ารอนหรือ steam มาซักผาก็เปลี่ยนมาเปน O3 ซึ่งสามารถลดคา ใชจายในระบบซักผาไดเปนอยางดีครับ และเพื่ อ ความสํ า เร็ จ ด า นกาอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม ที่นี่ยังไดทําการคัดแยกขยะเพื่อนําไปรีไซเคิลและกําจัดทิ้งอยางถูกวิธี เชน แกว พลาสติก กระดาษ โลหะ ก็ ไดนําไปรีไซเคิลและจําหนายใหกับราน August 2012 l 27

Energy#45_p26-28_Pro3.indd 27

7/24/12 12:09 AM


รับซื้อของเกา ขยะพิษ เศษอาหาร นําไปกําจัดทิ้ง

ระบบ Demand Controller

แอร และที่นี่เขามีการจัดฝกอบรมดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ทุกๆ 3 เดือนเพื่อสรางจิตสํานึกใหกับพนักงานสูการพัฒนาดานการ ประหยัดพลังงานที่ยั่งยืน นอกจากพนักงานแลวที่นี่ยังไดรณรงคใหแขกผูมาพักไดประหยัด ไฟ ประหยัดนํ้าดวยเชนกัน ไมวาจะเปนปายมาตรฐานแขวนบนประตู หองนํ้าสําหรับในกรณีที่ตองการใหซักผาเช็ดตัวโดยจะใหแขกผูมาพัก วางผาเช็ดตัวไวในขอบอางนํ้าหรือถาไมใหซักก็พับไวบนเตียง และติดปาย รณรงคใหประหยัดไฟ เปนตน จากผลการดําเนินงานดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ที่ผานมาจนถึงปจจุบันนั้นชวยให โรงแรมโกลเดนทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพ สามารถลดการใชพลังงานไดถึง 12% และมีเปาหมายการลด ใชพลังงานอยางตอเนื่องเพื่อนําไปสูการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และนอกจากสามารถลดใชพลังงานลงไดแลวโรงแรมแหงนี้ยังไดการันตี ใบไมเขียวหรือ Green Leaf ถึง 4 ใบดวยกัน นี้เปนอีกหนึ่งตัวอยางของการอนุรักษพลังงานภายในโรงแรมที่ ประสบความสําเร็จ และเชื่อวาหากผูประกอบธุรกิจโรงแรมดําเนินการ ปรับปรุงเทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงานนั้นจะชวยใหประเทศชาติลด การใชพลังงานลงไดอยางมากครับ

ระบบ Ozone เพื่อลดการใชสารเคมี ในสระน้ํา

รณรงคสรางจิตสํานึกการประหยัดพลังงาน

Hot bar สําหรับตากชุดชั้นใน

ปจจัยสําคัญอีกอยางหนึ่งของการอนุรักษพลังงานภายในโรงแรม ที่ขาดไมไดนั้น คือ การรณรงคใหพนักงานเกิดจิตสํานึกในการประหยัด พลังงานและอนุรักษสิ่งแวดลอม ซึ่งสามารถทําไดหลากหลายวิธีดวยกัน ขึน้ อยูก บั แตละโรงแรมจะกําหนด สําหรับโรงแรมโกลเดนทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพ นั้น ไดรณรงคใหพนักงานทุกระดับชั้นประหยัดไฟโดยการลดการ ใชลิฟท หรือใชบันไดแทนการใชลิฟทเฉพาะการขึ้นลง 1 – 3 ชั้นหรือรวม โดยสารลิฟทพรอมกันหลายคนเพื่อชวยลดการใชพลังงาน นอกจากนี้ยัง ไดรณรงคใหพนักงานปดไฟ และแอรในเวลาที่ ไมจําเปนในการใชงาน เชน ชวงเวลาทําความสะอาดหองที่นี่เขาก็จะใหพนักงานทําความสะอาดเปด ประตู เปดผามานไวเพื่อเวลาทําความสะอาดจะไดไมตองเปดไฟและเปด 28 l August 2012

Energy#45_p26-28_Pro3.indd 28

7/24/12 12:09 AM


Energy#29_p49_Pro3.ai

1

3/24/11

3:17 AM


Saving Corner

http://naapclub.blogspot.com/2011/08/system-10-40.html

การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต.. เพอื่ การประหยัดพลังงานในอุตสาหกรรม(1) การอนุรกั ษพลังงาน หรือการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตนัน้ คือ การประหยัด พลังงานโดยการลดความสูญเปลาในกระบวนการผลิตออกไปใหไดมากทีส่ ดุ ความ สูญเปลาในภาคอุตสาหกรรมนัน้ มีอยูในทุกสวนงาน ขึน้ กับวาจะมีสดั สวนอยูม าก นอยเทาไร โดยความสูญเปลาในอุตสาหกรรมนีห้ มายถึงความตองการในการใช พลังงานทัง้ ทางตรงและทางออมนัน่ เอง โดยความสูญเปลาทีพ่ บ จะมีอยู 3 สวน หลัก ๆ ดวยกันคือ 1. ความสูญเปลาจากการจัดการทีข่ าดประสิทธิภาพ ความสูญเปลานี้เกิดจากขาดการจัดการที่ดี เนื่องจากการทํางานที่ ไมมี ประสิทธิภาพของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือแมแตการวางแผนดานการ จัดการ เชน เครื่องจักรขัดของเนื่องจากขาดการบํารุงรักษา ของเสียที่เกิดใน กระบวนการผลิต ไมมผี รู บั ผิดชอบดานพลังงานในแตละแผนกโดยตรง และพนักงาน ขาดจิตสํานึกในเรือ่ งการอนุรกั ษพลังงานไมมแี ผนบํารุงรักษาทีส่ มบูรณ ฯลฯ 2. ความสูญเปลาจากกรรมวิธกี ารผลิตทีข่ าดประสิทธิภาพ เปนกระบวนการผลิตทีม่ ขี นั้ ตอนมากเกินความจําเปน กรรมวิธผี ลิตทีม่ กี าร สูญเสียพลังงานสูง การเลือกใชอปุ กรณทมี่ ปี ระสิทธิภาพตํา่ กระบวนการผลิตดาน ไฟฟาไมดี มีปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิต 3. ความสูญเปลาทีเ่ กิดจากการออกแบบผลิตภัณฑทขี่ าดประสิทธิภาพ การออกแบบผลิตภัณฑทตี่ อ งใชวสั ดุมากเกินความจําเปน การออกแบบที่

ผลิตไดยาก การเลือกใชวสั ดุทมี่ รี าคาแพงเกินไปโดยอาจมีวสั ดุอนื่ สามารถทดแทน ไดโดยมีราคาถูกกวา เปนตน ทัง้ 3 หลักใหญ ๆ นีถ้ อื วาเปนความสูญเสียในสวน ของตนทุนการดําเนินกิจการของอุตสาหกรรม และตอไปนีจ้ ะเปนกรณีศกึ ษาทีย่ ก ตัวอยางเกีย่ วกับการสูญเปลา ในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ

http://naapclub.blogspot.com/2011/08/system-10-40.html

30 l August 2012

Energy#45_p30-31_Pro3.indd 30

7/18/12 11:34 PM


กรณีศกึ ษาที่ 1 อุตสาหกรรมการหลอและชุบโลหะ 1. สภาพปญหาทีท่ าํ ใหเกิดความสูญเปลา 1.1 ดานไฟฟา 1.1.1 กระบวนการผลิตดานไฟฟาไมดี 1.1.2 ประสิทธิภาพของอุปกรณไฟฟาตํา่ 1.2 ดานความรอน/ความเย็น 1.2.1 นํา้ มันเชือ้ เพลิงที่ใชอยูม รี าคาสูง 1.2.2 ประสิทธิภาพของเตาหลอมตํา่

http://www.copters.com/trips/rhc2006.html

1.3 ดานการบริหารจัดการพลังงาน 1.3.1 ไมมกี ารกําหนดนโยบาย/วัตถุประสงค ดานพลังงานอยางชัดเจน 1.3.2 ไมมกี ารอบรมและสรางแรงจูงใจดานการจัดการพลังงานแก พนักงาน 1.3.3 การเลือกซือ้ ชนิดเชือ้ เพลิง ปจจัยวัตถุดบิ และคาขนสงยังไมเหมาะสม 1.3.4 ขาดทีมงานดานอนุรกั ษพลังงาน 1.3.5 ไมมตี ารางการบํารุงรักษาอุปกรณการใชพลังงาน 1.3.6 ไมมกี ารจัดเตรียมสํารองผลิตภัณฑใหเปนไปตามความตองการ ของลูกคา 1.4 ดานการลงทุน 1.4.1 ระบบแสงสวาง ใชบลั ลาสตจากชนิดแกนเหล็กธรรมดาที่ใชกบั หลอดฟลูออเรสเซนต ทําใหใชพลังงานไฟฟาคอนขางสิน้ เปลือง 1.4.2 เครือ่ งใชไฟฟา พัดลมเดิมที่ใชอยูใ นปจจุบนั มีสภาพเกาเพราะใชงาน มานานและใชพลังงานไฟฟาคอนขางสิน้ เปลือง 1.4.3 เตาหลอม ไมหมุ ฉนวนผนังเตาหลอม ทําใหเกิดการสูญเสียที่ ผนังเตา ไมมฝี าปดเตาขณะหลอม ทําใหเกิดการสูญเสียจากการแผรงั สีความรอน จากปากเตา 2. แนวทางและวิธกี ารเพิม่ ประสิทธิภาพเพือ่ ลดความสูญเปลา 2.1 แนวทางการเพิม่ ประสิทธิภาพ 2.1.1 ปรับปรุงกระบวนการผลิตของแตละสายการผลิต 2.1.2 ลดการสูญเสียความรอนทีป่ ากเตาหลอม 2.1.3 ศึกษาความเปนไดของการใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงทีม่ รี าคาถูกกวาที่ใช อยูในปจจุบนั 2.1.4 ลดของเสียจากกระบวนการผลิต 2.1.5 บริหารและจัดการใหเครือ่ งจักรทํางานตอเนือ่ ง 2.1.6 เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงาน โดยการจัดการดาน สิง่ แวดลอมใหเหมาะสม

2.1.7 คัดเลือกผูร ว มทีมงานอนุรกั ษพลังงานโดยความเห็นชอบจากฝาย บริหารพรอมกําหนดขอบเขตงาน 2.1.8 จัดทําตารางการบํารุงรักษาเครือ่ งจักร 2.2 วิธกี ารเพิม่ ประสิทธิภาพ 2.2.1 ตรวจวัดภาระงานของอุปกรณไฟฟา 2.2.2 ศึกษาขอมูลของนํา้ มันเชือ้ เพลิงประเภทอืน่ ทีม่ รี าคาถูกกวา โดย สามารถใชงานไดกบั หัวฉีดที่ใชอยูในปจจุบนั 2.2.3 ศึกษา วิเคราะหและหาสาเหตุของตําแหนงในกระบวนการผลิตที่ ทําใหเกิดของเสีย 2.2.4 ลดพืน้ ทีป่ ากเตาหลอม เพือ่ ลดการสูญเสียความรอน 2.2.5 หลีกเลีย่ งภาวะไมมโี หลดของมอเตอร 2.2.6 ปรับปรุงกระบวนการผลิตใหมปี ระสิทธิภาพและเหมาะสม 2.2.7 ศึกษาขอมูลยอนหลังของการสัง่ ซือ้ ผลิตภัณฑ เพือ่ เตรียมสํารอง ผลิตภัณฑไวลว งหนา 2.2.8 จัดการสภาพแวดลอมของโรงงานใหเกิดความสบายและปลอดภัย 2.2.9 คัดเลือกมาตรการทีเ่ หมาะสมเพิม่ เติมจากทีมงานอนุรกั ษพลังงาน ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ 2.2.10 จัดทําคูม อื การบํารุงรักษาเครือ่ งจักรและอุปกรณ 3.ผลลัพธของการดําเนินการ-ตัวชีว้ ดั 3.1 ลดการใชพลังงานไฟฟาและความรอนเฉลีย่ กอนเริม่ ดําเนินโครงการ (ธ.ค.2544-ก.ค.2545) 36,262 MJ/ตัน หลังจากดําเนินโครงการ (ส.ค.-พ.ย.2545) 31,666 MJ/ตัน ดัชนีทลี่ ดลง 12.7 % 3.2 มีทมี งานดานอนุรกั ษพลังงานในโรงงาน 3.3 มีคมู อื ปฏิบตั งิ านในการบํารุงรักษาเครือ่ งจักรและอุปกรณ 4. สรุปและขอเสนอแนะ - ลดการใชพลังงานไฟฟาเฉลีย่ เทียบจากกอนและหลังดําเนินโครงการ ดัชนีลดลง 12.7 % - มีทมี งานดานอนุรกั ษพลังงานในโรงงาน - มีคมู อื ปฏิบตั งิ านในการบํารุงรักษาเครือ่ งจักรและอุปกรณ - ควรมีโครงการพัฒนาอบรมพนักงานในดานการผลิตในแตละหนวยผลิต - ควรมีการแบงขอบเขตการทํางานที่ชัดเจนมากขึ้นและจัดกําลังคนให เหมาะสมกับงาน - ควรมีโครงการอบรมพัฒนาเรือ่ งการปรับปรุงและการควบคุมคุณภาพ - ควรมีโครงการอบรมพัฒนาเรือ่ งการซอมบํารุงรักษาเครือ่ งจักร

พืน้ ทีห่ มดเสียกอน ในฉบับหนาเราจะมาติดตามแนวคิดการเพิม่ ประสิทธิภาพ การผลิตเพือ่ การประหยัดพลังงานในอุตสาหกรรม อยาพลาดเชียว ทีม่ า: http://www.kmitnbxmie8.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=424032&Ntype=3

August 2012 l 31

Energy#45_p30-31_Pro3.indd 31

7/18/12 11:34 PM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

รางวัล “พลังงานสรางชีวิต พลั ง ความคิ ด สร า งชาติ ” สรางไอเดียเมล็ดพันธุร ุน ใหมฉายพลังงานเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม หลายหนวยงานของภาครัฐไดใหการสนับสนุน สงเสริมการอนุรกั ษ และสิ่งแวดลอมผานหลายแนวทางดวยกัน ซึ่งการประกวดรางวัลดาน การอนุรักษพลังงานก็เปนแนวทางหนึ่งของการสงเสริม โดยการประกวด นั้ น มี ห ลากหลายรู ป แบบด ว ยกั น ไม ว  า จะเป น เรื่ อ งของศิ ล ปะวาดรู ป การออกแบบเอเนมิชั่น การถายภาพ การเขียนบทความ การออกแบบ ภาพยนตรโฆษณา การจัดประกวดในรูปแบบของการปรับปรุงออกแบบ อาคาร ที่ พั ก ที่ อ ยู  อ าศั ย ตลอดจนอุ ต สาหกรรมต า งๆ ที่ ใ ส ใ จด า น การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ก็เพื่อกระตุนใหกับประชาชนทั่วไปมีจิตสํานึกในการประหยัด พลั ง งานและรั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มและสามารถกระจายแนวคิ ด พั ฒ นา ต อ ยอดออกไปได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและยั่ ง ยื น กระตุ  น ให เ กิ ด การพัฒนาเทคโนโลยีดานอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม เรียกไดวา เปนอีกแนวทางหนึ่งที่ชวยใหเกิดขวัญกําลังใจ เกิดความรูสูการพัฒนา

ตอยอดดานการอนุรักษ-พลังงาน และสิ่งแวดลอมตอไป สํ า ห รั บ ก า ร ป ร ะ ก ว ด โครงการ “พลังงานสรางชีวิต พลังความคิดสรางชาติ” ของ ก ร ม เ ชื้ อ เ พ ลิ ง ธ ร ร ม ช า ติ ก ร ะ ท ร ว ง พ ลั ง ง า น นั้ น เ ป  น โครงการหนึ่งจัดขึ้นเปนครั้งแรก เพื่ อ ค น หาสุ ด ยอดที่ ห นึ่ ง ไอเดี ย สุ ด เจ ง สร า งเมล็ ด พั น ธุ  รุ  น ใหม ฉายภาพการจั ด หาพลั ง งาน ทีเ่ ปนมิตรกับชุมชนและสิง่ แวดลอม เพื่ อ เตรี ย มต อ ยอดสู  ก ารผลิ ต

32 l August 2012

Energy#45_p32-34_Pro3.indd 32

7/17/12 11:20 PM


เปนหนังโฆษณาทางโทรทัศนเผยแพรสูสาธารณชน เพื่อสรางพลังสื่อสาร ใหคนไทยเขาถึงภารกิจหลักของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติในการจัดหา พลังงานพรอมตระหนักถึงการใชพลังงานอยางรูคุณคา รวมถึงการรณรงคใหเกิดการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และสรางการมีสวนรวมในการเสนอแนวคิดการจัดทําสื่อประชาสัมพันธ ที่ เ กิ ด จากเยาวชนคนรุ  น ใหม กั บ มุ ม มองเกี่ ย วกั บ การสื่ อ สารให เ กิ ด ความรูความเขาใจเรื่องการจัดหาพลังงาน เพื่อนําไปสูการสรางจิตสํานึก ในการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ซึง่ โครงการนี้ ไดรบั เกียรติจาก คุณอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน เปนประธานมอบรางวัล โดยคุณอารักษ ได ก ล า วถึ ง โครงการนี้ เ ป น อย า งดี “นั บ เป น ความภาคภู มิ ใ จยิ่ ง ที่ ก าร จั ด ประกวดผลงานสร า งสรรค สื่ อ โฆษณาโทรทั ศ น (Story Board) ภายใตโครงการ “พลังงานสรางชีวติ พลังความคิดสรางชาติ” ไดรบั ความ สนใจจากเยาวชนคนรุนใหม ผูมีหัวใจรักในศิลปะโฆษณาเขารวมกิจกรรม สงเสริมภาพลักษณดา นภารกิจ และบทบาทในการจัดหาพลังงานเพือ่ สราง ความมั่นคงดานพลังงาน รวมถึงการสงเสริมการคนหาแหลงพลังงาน ใหมๆ เพื่ออนาคตของชาติ ตลอดจนรณรงคใหประชาชนรูถึงคุณคา ของการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ตามที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กําหนดไว” ทั้ ง นี้ ภ ายใต ก ารประกวดในครั้ ง นี้ ท างกรมเชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ ยังไดรับความรวมมืออยางดีจากผูทรงคุณวุฒิ และนักโฆษณามืออาชีพ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งรั บ บทเป น เทรนเนอร ผู  ติ ว เข ม ด า นเทคนิ ค ในการ

ทํ า งานโฆษณาให กั บ น อ งๆ เยาวชน และยั ง ทํ า หน า ที่ เ ป น กรรมการ ตั ด สิ น เพื่ อ ค น หาคนเก ง ส ง เสริ ม คนกล า แสดงออกในด า น ความคิ ด สร า งสรรค ที่ ส ามารถผ า นโจทย ก ารประกวดครั้ ง นี้ อยางมีพัฒนาการผานรูปแบบการสื่อสารออกมาเปนผลงานสตอรี่บอรด เพื่อสรางใหผูเขารวมประกวดไดพัฒนาฝมือสูไอเดียสุดเจง ที่จะมีสวนชวย พัฒนาอนาคตของประเทศใหกาวไกลอยางยั่งยืน สําหรับโครงการนี้ ไดเปดรับสมัครนองๆ ที่มีอายุตั้งแต 18 - 25 ป เขารวมกิจกรรมเมื่อเดือนเมษายนที่ผานมา แตละทีมผานการแขงขัน และคัดเลือกจนเหลือเพียง 15 ทีมสุดทาย จํานวน 45 คน ที่ ไดรับสิทธิ์เขา รับการอบรมเทคนิคการทําภาพยนตรโฆษณารวมถึงการลงพื้นที่ศึกษา ดูงานในแหลงขุดเจาะจริง เพือ่ นําไอเดียตางๆ มาผลิตเปนชิน้ งาน พรอมกับ ทําเวิรคช็อป เพื่อผลิตสตอรี่บอรดโฆษณาภายใตคําแนะนําของวิทยากร มากฝมือจากวงการโฆษณาตลอด 4 สัปดาหที่ผานมาอยางเขมขน จนมาถึ ง โค ง สุ ด ท า ยในการประกาศผลเพื่ อ ตั ด สิ น ค น หาสุ ด ยอด เดอะวินเนอรทสี่ ดุ ของผลงานทีเ่ ยาวชนคนเกงไดแสดงออกถึงศักยภาพทาง ดานจินตนาการสรางสรรคสะทอนภาพภารกิจกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ เกี่ยวกับบทบาทของการจัดหาพลังงาน ตลอดจนการสื่อสาระสําคัญ ในการมี ส  ว นร ว มระหว า งภาครั ฐ และประชาชนในรู ป แบบงานโฆษณา เพื่อความเขาใจงาย กระชับและตรงประเด็นสูผูชมอยางแทจริง

August 2012 l 33

Energy#45_p32-34_Pro3.indd 33

7/17/12 11:20 PM


ผลการตัดสินในแตละรางวัล

1.รางวัลชนะเลิศ โครงเรื่องภาพยนตรยอดเยี่ยม จํานวน 1 รางวัล มูลคา 100,000 บาท คือ ทีม หมู หมึก กุง 2.รางวัลรองชนะเลิศ จํานวน 3 รางวัล ประกอบดวย • รางวัลรองชนะเลิศ สาขา โครงเรื่อง มูลคา 30,000 บาท คือ ทีม บานยายนิด • รางวัลรองชนะเลิศ สาขา ความคิดสรางสรรค มูลคา 30,000 บาท คือ ทีมเย • รางวัลรองชนะเลิศ สาขา Art Direction มูลคา 30,000 บาท คืม ทีมเรา 3.รางวัลพิเศษ ทุนการศึกษาใหกับทุกทีมที่เขารวมโครงการ มูลคา 6,000 บาท พร อ มกั น นี้ ก รมเชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ กระทรวงพลั ง งาน ยังไดมอบประกาศนียบัตรใหกับผูเขารับการอบรมในโครงการฯ ทุกคน และจะนําสุดยอดผลงานของผูชนะเลิศไปตอยอดเปนผลงานโฆษณาทาง โทรทัศนออกเผยแพรสูสาธารณะผานทางสถานีโทรทัศนฯ ตอไป

สํ า หรั บ น อ งๆ นั ก ศึ ก ษาที่ ส นใจเข า ร ว มประกวดกั บ โครงการ ดีๆ อยางนี้อีกก็ตองรอลุนวา “กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ” จะมีโครงการ ประกวดแบบนี้ ในปตอๆไป อีกหรือไมซึ่งสามารถติดตามรายละเอียดไดใน http://www.dmf.go.th

34 l August 2012

Energy#45_p32-34_Pro3.indd 34

7/17/12 11:20 PM


Energy Showcase P’PET เครองรับซื้อขวดพลาสติกรี ไซเคิล

กลองซีซีทีวี พานาโซนิค

P’PET เครองรับซื้อขวดพลาสติกรีไซเคิล เปนนวัตกรรมระดับประเทศ ดานผลิตภัณฑ และการบริ ก ารรั บ ซื้ อ ขวดพลาสติ ก เพื่ อ การนําไปรีไซเคิล มีการออกแบบฟงกชั่น การใชงานใหเหมาะสมกับพฤติกรรมของ คนไทย รวมถึ ง ระบบออนไลน์ เ ชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งศู น ย์ ค วบคุ ม และตั ว เครื่ อ งฯ เพอจัดการอยางครบวงจร

กลองซีซีทีวี ระบบ I-PRO Smart HD ซีรี่ส ใหมลาสุดจาก พานาโซนิค ถูกออกแบบมา สําหรับใชงานภายในรถยนต รถไฟฟา รถ โดยสารประจําทาง หรือในลิฟต มาพรอม คุณสมบัติพิเศษ ระบบตรวจจับใบหนาและฟง กชั่นปองกันภาพสั่น บันทึกภาพดวยความ ละเอียดขนาด 1.3 ลานเมกะพิกเซล ใหภาพ มุมกวางไดอยางเหนือชั้น ดวยเลนส Wide สามารถมองภาพไดกวางถึง 104 องศา ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ไ ด ม ากกว า มี ฟ ง ก ชั่ น ลด ปญหาความโคงของภาพไดอยางดีเยี่ยม อีก ทั้งยังสามารถบันทึกภาพดวย SD Card ขนาดสูงสุด 64 GB ไดภายในตัวกลอง

บริษัท พานาโซนิค ซิว เซลส (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท แอสซีส ครีเอชั่น จํากัด

โทร 0-2564-7000 ตอ 5921 โทรสาร 0-2399-1334

โทร 0-2731-8888 ตอ 1857 http://www.panasonic.co.th

เครองกรองน้ํารุน “Rain”

เครองกรองน้ําสเตนเลส M3F-3

เครื่องกรองนํ้ารุน “Rain” ที่มาพรอมกับ 3 คุณสมบัติหลัก สวย สะอาด สะดวก สวย ดีไซนที่กลมกลืนกับหองครัวทุกรูป แบบ มี 2 สี 2 อารมณใหเลือกสรร ทั้ง สีแพล็ททินัม และสีขาว สะอาด ดวยวัสดุ กรองคุณภาพสูง 5 ชนิด และเทคโนโลยี Ultrafiltration Plus Silver Ions เสนใย คุณสมบัติพิเศษที่มีรูพรุนขนาดเล็กเพียง 0.01 ไมครอน มีประสิทธิภาพในการขจัด แบคทีเรียและจุลนิ ทรียใ นนํา้ ดืม่ และปองกัน การปนเปอนจากภายนอกไดสูงถึง 100%

สตีเบล เอลทรอน

“เครื่ อ งกรองสเตนเลส M2F-3” ผลิตภัณฑจาก Mazuma (มาซูมา) สินคา มาตรฐานสากล ผลิตภายใตโรงงานไดรับ มาตรฐาน เปนเครื่องกรองนํ้าระบบกรอง นํ้า 3 ขั้นตอน คุณภาพเดน 6 ประการ ไดแก ทําจากสแตนเลสแท 100% ไมเกิด สนิม เกรด A หนา 1.5 มม. ตะแกรงไส กรองภายในเปนสแตนเลส MESH 120 สามารถกรองตะกอนไดถึง 125 ไมครอน กรองเชื้อโรคไดถึง 0.3 ไมครอน และ สามารถทําการลางสารภายในเครือ่ งดวย วิธีการนํ้ายอนกลับ

ศูนยบริการลูกคา โทร. 08-8022-3030 http://www.stiebeleltronasia.com/

บริษัท มาซูมา (ประเทศไทย) จํากัด

“อิ่มอุน” ถังแกสคอมโพสิต

คียบอรดพลังงานแสงอาทิตย สําหรับ Mac / iOS

http://mazuma.co.th

“อิ่มอุน” ถังแกสคอมโพสิตรายแรกใน ประเทศไทยแทนถังแกสเหล็กแบบเกา โดยใช เทคโนโลยีการเชือ่ มประสานวัสดุคอมโพสิต ดวยกระบวนการผลิตแบบพัน (Filament Winding) ทําใหทนและแข็งแกรงมากกวา ถังแบบเดิม ซึง่ ความโดดเดนของ “อิม่ อุน ” อยูที่การออกแบบตัวถังดีไซนใหม หุมดวย โพลียูริเทน รูปทรงทันสมัย โดยใชสีชมพู สดใสสวยงาม เนนตอบสนองไลฟสไตล คนรุน ใหมทมี่ หี วั คิดทันสมัย ดวยคุณสมบัติ “เบา สะอาด ฉลาด อดทน” ภายใตสโลแกน “อิ่มอุน อิ่มทอง อุนใจ”

บริษัท พี เอ พี แก็สแอนดออยส จํากัด โทร 0-2692-8404-12

Logitech Wireless Solar Keyboard K760 มาพรอมรูปลักษณบางเฉียบเพียง 8 มม. ถอดแบบรูปทรงจากคียบอรดของ แม็คบุคแอร จึงทําใหลงตัวกับ iDevice ทั้ง หลาย พรอมแปนพิมพ Command key สวนของพลังงานแสงอาทิตยที่ถือเปนจุด ขาย Logitech เผยวาสามารถใชไดนานตอ เนื่อง 3 เดือน และยังสามารถ pair กับ อุปกรณแอปเปลไดหลายตัวเมื่อเชื่อมตอ บลูทูธแลว สามารถใชงานไดกับ OS X 10.5 (Leopard) ขึ้นไป และ iOS 4.0 หรือสูงกวา

Logitech

http://www.logitech.com/

August 2012 l 35

Energy#45_p35-36_Pro3.indd 35

7/19/12 10:39 PM


Genicom ตระกูล 6600 ประหยัดพลังงาน

AirStation HighPower

เครื่องพิมพ TallyGenicom ในตระกูล 6600 มีความเร็วในการพิมพงานสูงถึง 2000 บรรทัดตอนาที รองรับงานพิมพ ปริมาณมาก มีความทนทาน และยังมี ซอฟตแวร Print Net Suit ในการชวย บริหารจัดการงานพิมพระยะไกลจากทั่ว โลกไดอยางมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกัน ตลับหมึกพิมพมีการฝงไมโครชิพไวที่ตลับ เพื่อชวยควบคุมคุณภาพอายุการใชงาน ของหมึกพิมพไดเปนอยางดี และยังเปน เครื่องพิมพที่ประหยัดพลังงาน เปนมิตร กับสิ่งแวดลอมอีกดวย

บริษัท กนกสิน เอกซปอรต อิมปอรต จํากัด

AirStation HighPower เราทเตอรแบบ Wireless-N โดยเปนเราทเตอรไรสายและ ตัวแอ็คเซสพอยทสําหรับบานและออฟฟศ ขนาดเล็ก ทีม่ าพรอมกับตัวนําทีม่ คี วามเร็ว ในการดาวนโหลดอยางเหนือชั้น และมี ความสามารถในการเพิ่ ม กํ า ลั ง ส ง สัญญาณไวไฟเพิ่มขึ้นถึง 3 เทา อีกทั้งยัง มีคุณสมบัติเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ชวย ลดการใชพลังงานถึงรอยละ 28 และยัง คงใช ง านง า ยเหมาะกั บ ทุ ก ไลฟ ส ไตล สามารถครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญไดดวย ไวไฟที่มีความเร็วและมีความเสถียรดวย เสาอากาศในตัวขนาด 8dbi ถึงสองตัว

โทร 0-2971-8000 http://www.kanoksin.com/

บริษัท บัฟฟาโล เทคโนโลยี

Samsung Galaxy Exhilarate

PANASONIC NR-BY602X-S

Samsung

www.buffalotech.com

AT&T ประกาศเปดตัวอยางเปนทางการ สํ า หรั บ สมาร ท โฟนแอนดรอยด LTE ครั้ ง แรกรุ  น ‘Samsung Galaxy Exhilarate’ หนึง่ ในสมารทโฟนทีเ่ ปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม โดยฝาหลังของโทรศัพท ทําจากวัสดุรไี ซเคิลถึง 80% นอกจากนีย้ งั ถูกออกแบบใหใชวสั ดุทสี่ ามารถยอยสลาย ไดอีกดวย พรอมหนาจอแสดงผล Super AMOLED ขนาด 4 นิว้ ใชหนวยประมวลผล Dual-core ความเร็ว 1.2GHz มาพรอม กลองถายรูปหลังความละเอียด 5 ลาน พิกเซล กลองหนา 1.3 ลานพิกเซล และ รันบนระบบปฎิบัติการแอนดรอยด 2.3

ตูเย็นระบบ Inverter ที่ชวยประหยัดไฟสูง ถึง 40% มาพรอม ECONAVI เซ็นเซอร อัจฉริยะ ชวยลดการใชพลังงานที่ ไมจาํ เปน อัตโนมัติ ซึ่งสามาถลดการใชพลังงาน ได อี ก ถึ ง 10% โดยเซ็ น เซอร อั จ ฉริ ย ะ ของ ECONAVI ประกอบดวย 4 ระบบ คือ เซ็นเซอรจดจําชวงเวลาเปด-ปดตู เย็น เซ็นเซอรตรวจจับความเขมของแสง เซ็นเซอรตรวจจับอุณหภูมิภายในหอง และ เซ็นเซอรตรวจวัดอุณหภูมิหรือปริมาณ อาหารภายในตูเ ย็น อีกทัง้ ยังมี LED Lights แสงไฟสีขาวดานหนาและดานขาง ใหแสง ไฟทีส่ วางกวาและประหยัดพลังงานมากขึน้

บริษัท พานาโซนิค ซิว เซลส (ประเทศไทย) จํากัด

http://www.samsung.com/

ศูนยลูกคาสัมพันธพานาโซนิค โทร 0-2729-9000 http://www.panasonic.co.th

HIRAKAWA Cool Gelmat

SEIKO Solar Spirit Smart Collection

บริษัท เจ.เอส ยูไนเต็ด จํากัด

นวัตกรรมแผนเจลความเย็นเพื่อการนอน หลับแหงอนาคต สําหรับผูรักสุขภาพยุค ใหม “HIRAKAWA Cool Gelmat” ที่ ได รับการออกแบบและตัดเย็บอยางพิเศษ ผสานรวมกับนวัตกรรมเจลความเย็นที่มี โพลิเมอรเปนสวนประกอบหลัก ชวยปรับ อุณหภูมิของผูใชใหรูสึกเย็นขึ้น และผอน คลายเวลานอนหลับ มี 2 แบบคือ แผน รองสํ า หรั บ หมอนและแผ น รองสํ า หรั บ ที่นอน แผน Cool Gelmat ยังมาพรอม ความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เพราะจะ ชวยใหลดการเปดแอร สงผลโดยตรงตอ การประหยัดพลังงานไฟฟาไดเปนอยางดี

โทร 0-2716-5305-7 http://www.hirakawathailand.com/

SEIKO Solar Spirit Smart Collection ถือวาเปนครั้งแรกกับนวัตกรรมโซลาร พรอมดีไซนหนาปดสีแบบ Vivid ผสาน เทคโนโลยี ก ารใช พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย ในระบบโซลารมาขับเคลื่อนเรือนเวลา ที่ สามารถเก็บสํารองไดทุกพลังแสง ทั้ง จากแสงอาทิตยและแสงไฟจากหลอดฟลู ออเรสเซนส ไดยาวนานถึง 10 เดือน โดย ใชเวลาชารจเพียง 1 นาที ทํางานไดนาน 1 ชัว่ โมง ทําใหไมตอ งเปลีย่ นแบตเตอรี่ ตลอด อายุการใชงาน มาพรอมกับเทคนิคสุดลํ้า Sunray Color ตัวเรือนและสายสเตนเลส สตีลสุดทนทาน กันรอยขีดขวนดวยกระจก

บริษัท ไซโก (ประเทศไทย) จํากัด http://www.seiko.co.th/

36 l August 2012

Energy#45_p35-36_Pro3.indd 36

7/19/12 10:39 PM


Energy#42_p55_Pro3.ai

1

4/25/12

2:03 PM


Energy Keyman โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

ทํ า ค ว า ม รู จั ก “ ฉ ล า ก เ ขี ย ว ”

ดร.ไชยยศ บุ ญ ญากิ จ รองผู้อํานวยการ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 38 l August 2012

Energy#45_p38-40_Pro3.indd 38

7/21/12 1:05 AM


สําหรับในปจจุบนั การดําเนินธุรกิจทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมนัน้ ไดถกู ผสมผสานเปนนโยบายของหนวยงานภาครัฐและเอกชนหลายแหง อีกทั้ง ยังถูกนํามาเปนอีกหนึง่ เครือ่ งมือทางการตลาดทีต่ อบสนองความตองการ ของโลก ที่ ไปในทิศทางเดียวกัน นั่นคือการลดการสรางกาซเรือนกระจก เพื่อชวยลดโลกรอน อีกทั้งยังเปนแนวทางในการบริหารธุรกิจอยางยั่งยืน ที่หลายองคกรใหญเปนตนแบบแหงความสําเร็จ “ฉลากเขียว” เปนอีกหนึ่งเครื่องหมายยืนยันความเปน “สีเขียว” ขององคกร ในสวนของผูผลิตนั้นนอกจากจะไดรับประโยชนในแงของ กําไรเนื่องจากมีการบริโภคสินคาสีเขียวมากขึ้นแลว ยังทําใหผูผลิต รายอื่นๆ ตองแขงขันกันปรับปรุงคุณภาพของสินคาหรือบริการของตน ในดานเทคโนโลยีโดยคํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดการยอมรับของประชาชน และสงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจแก ผูผลิตในระยะยาว วันนี้เราจะมาทําความรูจักกับฉลากเขียวมากขึ้น โดย ดร.ไชยยศ บุญญากิจ รองผูอํานวยการ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ไดใหเกียรติ มาพูดคุยในเรื่องนี้กัน

เปนองคกรกลางออกขอกําหนดเขาก็จะมีหลักเกณฑใน การทบทวนทั้งหมดแลววาเรื่องไหนเปนเรื่องสําคัญ เพราะฉะนั้นอันนี้เองก็คือเขียวตามขอกําหนดกฎเกณฑ ที่วางไว มันไมมีอะไรที่เขียวที่สุดหรือไมเขียวที่สุด แต ทีนี้กวาจะไดขอกําหนดนั้นวิธีการก็คือ อยางที่เราทํา ฉลากเขียวนั้น สมมติคุณทําเรื่องกระดาษแลวจะไปขอ การรับรองที่สถาบันสิ่งแวดลอมไทยนั้น เราก็ตองมาดู วาการไดมาของกระดาษ วัตถุดบิ ไดมายังไง ผลิตยังไง ใช ทิ้ง กําจัด มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไหม ตลอดทั้ง วงจร และเราก็ตองมาดูวากระดาษมาจากที่ ไหน ซึ่งก็ มาจากเยื่อกระดาษที่มาจากการปลูกตนไม ก็ตองมาดู วาตนไมที่ปลูกนั้นมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไหม ใชนํ้า ใชสารเคมี ใชไฟฟามากนอยเพียงใด ในภาคขนสง ใน ภาคการใชงานมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไหม การทิ้ง ดูทั้งหมดแลวมาพิจารณาวาอันไหนสําคัญที่สุด เราจะ ออกมาเปนขอกําหนดวาใหมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยลง เชน การ ไดมาซึ่งวัตถุดิบการปลุกตนไมนั้นใชสารเคมีไหม ใชยาฆาแมลงไหม แลวมี ผลกระทบตอตนนํ้าไหม ในขั้นตอนการผลิตละใชนํ้าเยอะไหม ใชสารเคมีเยอะ ไหม ใชพลังงานเยอะไหม การใชงานกระดาษไมคอยมีปญหาอะไร ซึ่งถา เทียบทั้งหมดแลวกระดาษนั้นหากจะใหเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมก็คือ 1.เยื่อ ตองมาจากเยื่อรีไซเคิล 100% เพราะไมตองไปตัดไมทําลายปา 2.การผลิต นํ้าตองไมเกินเทาไหร สารเคมีไมเกินเทาไหร เราจะมีการกําหนดไวหมด สวนเรื่องการใชและการทิ้งไมมีปญหาอะไร นี่คือการพิจารณาในเรื่องของ กระดาษ แตถาพูดถึงเครื่องซักผา คุณคิดวาการเกิดผลกระทบตอสิ่ง แวดลอมอยูในขั้นตอนไหน ก็คือในขั้นตอนการใชงาน ดังนั้นเครื่องซักผา ฉลากเขียวก็คือ ใชไฟนอย-ใชนํ้านอยตอการซักในแตละครั้ง และชิ้นสวน พลาสติกตอนทิ้งใหแบงประเภทเพื่อใหสามารถนําไปรีไซเคิลไดงาย ดั ง นั้ น การแบ ง แยกสิ น ค า ในแต ล ะผลิ ต ภั ณ ฑ ว  า เป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมหรือไม เราตองมีการตั้งคณะกรรมการขึ้นมาออกขอกําหนด โดยมีตัวแทนนักวิชาการ นักอุตสาหกรรม นักสิ่งแวดลอม นักมาตรฐาน มานัง่ คุยกัน วาการทีจ่ ะใหเมืองไทยเราดีขนึ้ นัน้ สินคาเหลานีค้ วรมีคณ ุ สมบัติ

ES : ผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมคืออะไร ดร.ไชยยศ : สินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมันมีอยูหลากหลาย

ประเภท ก็เลยตองมีการออกระบบมาตรฐาน การที่มีสถาบันสิ่งแวดลอม ไทยก็เพื่อที่จะไดบอกวาสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมันมีเกณฑอะไรบาง มีวธิ คี ดิ อยางไรบาง ประเภทที่ 1 ก็คอื การทีม่ อี งคกรกลางมาพิจารณาออก ขอกําหนดและรับรอง ตอนนี้ก็มี 27 ฉลาก ใน 50 ประเทศทั่วโลก ประเภทที่ 2 เปนการบอกวาสินคานั้นเขียวโดยที่เราเคลมหรือเราบอกวาเขียว เขียว จริงไมจริงไมรู แตเราบอกวาเขียว ดังนั้น ISO ก็เลยออกมาเปนไกดมาเปน ISO 14021 ซึ่งก็คือการกําหนดหลักเกณฑและสัญลักษณใหผูผลิตสินคา และบริการสามารถประกาศรับรองตนเองไดวาไดผลิตสินคาและบริการที่ ชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ประเภทที่ 3 คือตองเปนตัวเลขเลยวา สินคาตัวนี้ถาเขียวหมายความวามันมีการใชวัตถุดิบอะไรบาง ปลอยมลพิษ อะไรบาง ตลอดชีวิตของสินคา ตั้งแตเราไดมาซึ่งวัตถุดิบ การผลิต ขนสง ตลอดจนการใชแลวทิ้ง เขาจะมีการบอกเปนตัวเลข ทีนี้ถาถามวาเขียวไมเขียว ก็ตองดูวามันอยูในประเภทไหน คือถามัน August 2012 l 39

Energy#45_p38-40_Pro3.indd 39

7/21/12 1:05 AM


อยางไร ก็ตองมาดู Life-Cycle Review ซึ่งตองดูทุกขั้นตอน อันไหนมี ผลกระทบสูงสุดก็นํามาเปนขอกําหนดเพื่อที่จะใหมันลดลง และภายใน 3 ปก็ จะมาพิจารณากันใหมหมด ดังนั้นมันจะมีเขียวกวาแตไมมีเขียวที่สุด นี่ก็คือ วิธีการและหลักการทํางานซึ่งทั่วโลกเปนมาตรฐานนี้หมด

ไดสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม อีกทั้งยังมีตราที่รับรอง

ES : ความหมายจริงๆ ของฉลากเขียว (green label หรือ eco-label) ดร.ไชยยศ : “ฉลากเขียว” คือ ฉลากที่ใหกับผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ

คุณก็อาจจะซื้อสินคาที่มีฉลากรับรองจากหนวยงาน หรือซื้อจากฉลาก ที่เจาของสินคาติดเอง ซึ่งบางฉลากนั้นมีติดมาตั้งนานแลว แตคนรูบาง ไมรูบางวาแปลวาอะไรเพราะไมมีหนวยงานที่รับผิดชอบ ผมติด คุณติด ใครติดก็ ได แตวามันแปลวาอะไรไมมีใครรู แตตอนนี้สถาบันสิ่งแวดลอมไทย

และมีผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอยกวา เมือ่ นํามาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ ที่ทําหนาที่อยางเดียวกัน ขอดีของการมีฉลากเขียวติดอยูบนผลิตภัณฑ ก็คือใชเปนเครื่องหมายใหกับผูบริโภคทราบวาผลิตภัณฑนั้นเนนคุณคา ทางสิ่งแวดลอม ผูบริโภคจะไดเลือกซื้อถูกตองตามวัตถุประสงค ในสวน ผูผลิตหรือผูจัดจําหนายจะไดรับผลประโยชนในแงกําไรเนื่องจากมีการ บริโภคผลิตภัณฑเหลานั้นมากขึ้น ผลักดันใหผูผลิตรายอื่นๆ ตองแขงขัน กันปรับปรุงคุณภาพของสินคาหรือบริการของตนในดานเทคโนโลยี โดย คํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ ทั้งนี้เพื่อใหเกิดการยอมรับ ของประชาชน และสงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจแกผูผลิตเองในระยะยาว ฉลากเขียวจึงเปนเครื่องมืออยาง หนึ่งที่ชวยปองกันรักษาธรรมชาติผาน ทางการผลิตและการบริโภคของประชาชน

ES : โครงการฉลากเขียวของประเทศไทยมีความ เปนมาอยางไร? ดร.ไชยยศ : ฉลากเขียวเริ่มใชเปนครั้งแรกในประเทศเยอรมันตั้งแต

ป พ.ศ. 2520 และไดรับการตอบสนองจากผูบริโภคชาวเยอรมันเปน อยางดี ปจจุบันประเทศตาง ๆ มากกวา 20 ประเทศไดมีการจัดทําโครงการ ฉลากเขียว สําหรับประเทศไทย องคกรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (Thailand Business Council for Sustainable Development, TBCSD) ได ริเริ่มโครงการฉลากเขียว เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2536 และไดรับความเห็น ชอบและความรวมมือจากกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม และองคกรเอกชนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ใหปฏิบัติ ออกมาเปนรูปธรรม จึงนับวาเปนโครงการที่เกิดจากการรวมมือระหวาง ภาครัฐบาล เอกชน และองคกรกลางตางๆ โดยมี สํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม และสถาบัน สิ่งแวดลอมไทย (สสท.) ทําหนาที่เปนเลขานุการ

ES : กฎหมายบังคับใชยังไม ใชคําตอบหรือเปลา? ดร.ไชยยศ : ทุกประเทศเวลาจะจัดการกับปญหาสิง่ แวดลอมเขาจะออก

กฎหมายแลวมุงเนนไปที่ผูผลิตแตมันก็แกปญหาสงแวดลอมไมได เพราะวา ในสินคาแตละชนิดนั้นสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในขั้นตอนที่ตางกัน เชน กระดาษนั้นปญหาสิ่งแวดลอมอยูที่การไดมาซึ่งวัตถุดิบ เครื่องซักผาอยูที่ ขั้นตอนการใชงาน ซึ่งกฎหมายจะควบคุมในสวนของการผลิต แตการที่ จะแกปญหาสิ่งแวดลอมไดนั้นตองไปดูวามันอยูในขั้นตอนไหน ดังนั้นมันก็ จะอยูในขั้นตอนของการตลาด ขั้นตอนของผูบริโภคที่เราตองมาชวยกัน ดู ทุกประเทศไมไดมีการออกขอกฎหมายเพราะกฎหมายนั้นมันเลี่ยงได แต มันจะอยูในสวนของเครื่องมือทางการตลาดที่เราชวยสงเสริมได เพราะ ตลาดมันยังใหม คนยังไมรูจัก องคกรตองไปซื้อ เพราะถาองคกรนั้นรักษ โลกจริงๆ ก็ควรจะสงเสริมการซื้อ มันก็จะไปสงเสริมกระบวนการผลิตและ

ES : ฉลากเขียวกับผูบริโภคมีความเกี่ยวของกัน อยางไร? ดร.ไชยยศ : มันเปนทางเลือกใหกับผูบริโภค ซึ่งถาคุณรักสิ่งแวดลอม

รับผิดชอบ ทั้งกอนติดฉลากและหลังติดฉลากเราก็จะมีการไปติดตามที่ โรงงาน เรามีกติกา มีขั้นตอนที่ชัดเจน ตอนนี้ผูบริโภคยังมีความรูเกี่ยวกับ ฉลากเขียวนอยอยู เพราะจริงๆ มีสื่อหลายประเภท มีขอมูลหลายประเภท ที่ยังคงสับสนอยู เราก็เลยตองอาศัยเวทีสัมมนาเปนสื่อชวยทําความเขาใจ ใหกับผูบริโภค

ES : ทําไมผูผลิตตองติดฉลากเขียว? ดร.ไชยยศ : ธุรกิจหากตองการเติบโตอยางยั่งยืน ตองมองไกล

และมองอยางรับผิดชอบถึงจะอยูรอด เพราะถาธุรกิจอยากยั่งยืนแตไม ดูแลสิ่งแวดลอมก็ ไปไมรอด ผมคิดวาถาธุรกิจอยากยั่งยืนก็ตองดูแลสอง ประเด็นนี้ ใหชัดเจน

ES : สิ่งแวดลอมตองลงมือทําอะไรบาง? ดร.ไชยยศ : อยางที่ผมบอกวาเรื่องสิ่งแวดลอมเปนเรื่องใกลตัว เรา

มีความเขาใจแตยังไมลงมือทํา ถาไมลงมือทําสิ่งแวดลอมก็ ไมดีแคคิดแค เขาใจมันไมพอเราตองลงมือทําดวย ทุกวันนี้เราจะทําอะไร ซื้ออะไร ทํา กิจกรรมใดก็ตามเราตองรับผิดชอบ คุณตองมีเรื่องสิ่งแวดลอมอยูในการ ตัดสินใจของคุณ เราไมลงมือทําแลวจะไปคาดหวังใหมันดีไดยังไง บานเรา เราตองลงมือทําเอง พูดไมพอตองทําดวย ผมคิดวาการตระหนักมีมากกวา สิบปทแี่ ลวเยอะ แตวา จะหาคนทีล่ งมือทําเพือ่ สิง่ แวดลอมจริงๆ อยางรับผิด ชอบยังมีจํานวนนอยอยู

40 l August 2012

Energy#45_p38-40_Pro3.indd 40

7/21/12 1:05 AM


Energy Keyman โดย : รังสรรค อรัญมิตร

Conergy เปดเกมรุก คุ ม ตลาดเอเชี ย ฯ

มร. อเล็กซานเดอร เลนซ

ประธานประจําภาคพืน้ เอเชียตะวันออกเฉียงใตและตะวันออกกลาง บริษทั คอนเนอรย่ี เอเชีย แอนด มิดเดิลอีสต จํากัด August 2012 l 41

Energy#45_p41-43_Pro3.indd 41

7/19/12 10:47 PM


เราทั้งในสวนยุโรปและเอเชีย ซึ่งโรงงานที่เปน Partners จะผลิตแผงตาม มาตรฐานของคอนเนอรยี่ สวน Mounting Systems หรือโครงสรางที่ ใชในการยึดจับ สําหรับการติดตัง้ ในแบบตางๆ นัน้ จะผลิตจากบริษทั ในเครือของคอนเนอรยี่ เอง โดยเราจะผลิตทุกแบบไมวาจะเปน แบบติดตั้งบนหลังคา บนดาดฟา หรือการติดตั้งตามพื้นที่ทั่วไป ซึ่งเรามีทุกแบบของลักษณะการติดตั้งใน การใชงาน และมีกําลังการผลิตอยูที่ 750 เมกะวัตตตอป จาก 2 โรงงาน ที่เยอรมนี และอเมริกา สวนอินเวอรเตอรเราผลิตทั้งขนาดเล็กและขนาด ใหญที่ ใชในการติดตั้งในบานจนถึงงานการใชงานระดับโซลาฟารมซึ่งเปน อินเวอรเตอรขนาดใหญผลิตไดมากกวา 500 เมกะวัตต ธุรกิจ Solar Cell กําลังเติบโตอยางตอเนื่องในประเทศไทย เนื่ อ งจากรั ฐ บาลได ใ ห ก ารส ง เสริ ม การใช พ ลั ง งานทดแทนโดยเฉพาะ พลังงานทดแทนจากแสงอาทิตยทมี่ ศี กั ยภาพมากกวาพลังงานทดแทนดาน อื่น และจากปจจัยดังกลาวทําใหบริษัทผูผลิตแผงโซลาเซลล และอุปกรณ สําหรับการติดตั้งโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยจากตางประเทศทั้ง เอเชีย และยุโรปไดเขามาขยายตลาดลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น บริษัท Conergy นั้นเปนบริษัทหนึ่งที่ ไดเขามาขยายตลาด โซลาเซลลในประเทศไทยซึ่งเขามีลูกคาในประเทศไทยมากนอยแคไหน และให บริการดานโซลาเซลล อยางไรบางนัน้ ไปคุยกับ มร. อเล็กซานเดอร เลนซ ประธาน ประจําภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใตและตะวันออกกลาง บริษัท คอนเนอรยี่ เอเชีย แอนด มิดเดิลอีสต จํากัด กันครับ

ES : สิง่ ทีแ่ ตกตางจากบริษทั อืน่ ? มร. อเล็กซานเดอร เลนซ : สิ่งที่คอนเนอรยี่แตกตางจาก

บริษัทอื่นคือเราใกลชิดกับลูกคามากกวาบริษัทอื่น นั้นหมายถึงวาเรื่อง บริการของเราครอบคลุมกวาบริษัทที่ทําธุรกิจเดียวกัน ซึ่งนอกจากจะ เปนผูจําหนายหรือติดตั้งอยางเดี่ยวก็มีบริการอื่นๆ เพิ่มเขามาไมวาจะ เปนเรื่องของบริการทางดานการเงินขึ้นอยูกับวาลูกคาตองการใหเรา ไปชวยเหลือแบบไหน เชน การหาผูรวมทุน หลังการกอสรางก็มีการ ดําเนินงานบํารุงรักษา หรือบริการหลังการขาย เปนตน นอกจากนี้ ในส ว นของ Engineering Procurement Construction (EPC) ซึ่งที่เปนโซลาเซลลชวงหลังๆ หลายบริษัทก็จะ

ES: ผูผ ลิตโซลาเซลลสญ ั ชาติเยอรมนี ใหบริการโซลาเซลล ครบวงจรหรือไม?

มร. อเล็กซานเดอร เลนซ : คอนเนอรยี่ เปนบริษัทผูเชี่ยวชาญ ดานพลังงานแสงอาทิตยจากประเทศเยอรมนี ทีน่ าํ เสนอระบบพลังงานแสง อาทิตยแบบ Synchronised Solar System โดยเปนผูผลิตชิ้นสวนแผงรับ พลังงานแสงอาทิตย สําหรับการติดตั้งโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบ ครบวงจร ใหบริการที่จําเปนทุกอยางที่เกี่ยวของกับโรงไฟฟาโซลาเซลล โดยคอนเนอรยี่นั้นใหบริการครอบคลุมทุกขั้นตอนในการตั้งโรง ไฟฟาโซลาเซลลเรียกไดวาไมไดเปนผูผลิตแผงโซลาเซลลอยางเดียว แต เปน One System Supply โดยดูในสวนของระบบ Solar Supply ทั้งหมด นับตัง้ แตการวางแผนและการจัดหาเงินทุน ไปจนถึงดานวิศวกรรม การติด ตั้ง การตรวจสอบ การบํารุงรักษา การจัดการดานการดําเนินงาน การ พาณิชย และการประกันภัย ซึ่งในสวนที่เปนเทคโนโลยีที่ผลิตจะประกอบไป ดวย 3 ตัวหลักๆ คือ แผง Solar Cell Inverter และโครงสรางที่ ใชในการ ยึดจับ หรือ Mounting Systems ES: กําลังการผลิตอยูท เี่ ทาไหร? มร. อเล็กซานเดอร เลนซ : แผงโซลาเซลลเรามีกําลังการผลิตที่

280 เมกะวัตต ตอป ถึงแมกาํ ลังการผลิตมีเทานีแ้ ตจาํ หนายจริงๆ มากกวา 280 เมกะวัตต ซึ่งจําหนายทั้งปทั่วโลกประมาณ 500 กวาเมกะวัตต โดยใน สวนหนึ่งคอนเนอรยี่ ไมไดผลิตเองแตมีโรงงานผลิตที่เปน Partners ของ

เริ่มทํา EPC ก็คือทําการจัดซื้อ จัดหา จัดจาง ออกแบบ และก็กอสราง ควบคูกันไปดวยแตวาไมคอยมีประสบการณ ซึ่งการกอสรางอาจจะ ทํ า ได ไ ม ย ากแต ก ารออกแบบซึ่ ง เป น ส ว นสํ า คั ญ และหลายบริ ษั ท ไม มี ประสบการณดานการออกแบบเพราะยังไมสมบูรณในเรื่องของระบบ การออกแบบ แตวาคอนเนอรยี่มีประสบการณกวา 14 ปถือวาเปน ประสบการณ ที่ ย าวนานในระดั บ หนึ่ ง ของวงการธุ ร กิ จ ผลิ ต แผงและ อุปกรณโซลาเซลล

42 l August 2012

Energy#45_p41-43_Pro3.indd 42

7/19/12 10:47 PM


ES: หวังเติบโตในตลาดเอเชียอยางไรบาง? มร. อเล็กซานเดอร เลนซ : ถาหากมองตลาดโซลาเซลลตลาด

สวนใหญก็จะเปนยุโรปคอนเนอรยี่มีออฟฟศกระจายอยูทั่วโลก อยางไรก็ ดีในชวงหลังยุโรปมีการเปลี่ยนแปลงเรื่องของนโยบายทําใหตลาดในสวน ของยุโรเริ่มลดนอยลงจึงไดขยายตลาดไปในภาคพื้น อเมริกา แคนาดา และก็ เอเชีย ซึ่งในสวนของเอเชียแปซิฟกและตะวันออกกลางเรามีสํานักงาน ตั้งอยูที่ประเทศสิงคโปร ซึ่งพื้นที่ที่เรารับผิดชอบดูแลก็หลายประเทศ เชน สิงคโปร ไทย ฟลปิ ปนส ญีป่ นุ อบูดาบี้ ในสวนของ ประเทศออสเตรเลีย อินเดีย เรามีบริษัทที่ดูแลของประเทศนี้ โดยตรง และในประเทศไทยนั้น มองวาไทยมีสภาพแวดลอมทางการตลาดที่เอื้อตอการพัฒนาโครงการ โรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตยและยังมีการเติบโตไดอยางตอเนื่องเพราะ ประเทศไทยมีศักยภาพเปนอยางดีรัฐบาลก็ใหการสนับสนุน

ES: การเติบโตในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก และตะวันออกกลาง มร. อเล็กซานเดอร เลนซ : นอกจากนี้คอนเนอรยี่ยังไดนํา

เสนอโซลูชั่นดานพลังงานแสงอาทิตยที่หลากหลายโดยใหบริการลูกคา จากสํานักงานใหญประจําภูมิภาคในสิงคโปร การดําเนินงานผานดาวเทียม ในออสเตรเลียและอินเดีย สวนสํานักงานตัวแทนในประเทศไทยและสหรัฐ อาหรับเอมิเรตส นับตั้งแตเขามาดําเนินธุรกิจในภูมิภาคนี้ ในป พ.ศ. 2549 คอนเนอรยี่ เอเชีย แปซิฟก มีการพัฒนาที่กาวหนาอยางตอเนื่องภายใน ชวงระยะเวลาอันสัน้ ซึง่ ในจํานวนนีร้ วมถึงการตัง้ โรงไฟฟาพลังแสงอาทิตย Sin-An กําลังผลิต 24 เมกะวัตตในประเทศเกาหลี ระบบไฟฟาแบบติดตั้ง บนหลังคา KAUST กําลังผลิต 2 เมกะวัตตในประเทศซาอุดีอาระเบียโซลาร ฟารมกําลังผลิต 3 เมกะวัตตในเมืองกรรณาฎัก หรือ กันนาดา ประเทศ ดินเดีย และโซลารพารคอีก 4 แหงในประเทศไทย

August 2012 l 43

Energy#45_p41-43_Pro3.indd 43

7/19/12 10:48 PM


Energy Design โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ไอสตูดิโอ เนสท

ออฟฟศภายในโครงสรางโรงงาน

การออกแบบดีไซนในปจจุบันนั้นนอกจากเนนเรื่องความสวยงาม ความแปลกใหมแลว ยังตองคํานึงถึงเรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมควบคูกันไป ประกอบกับการคํานึงถึง การใชประโยชนจากโครงสรางเดิมที่มีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุดหากมีการตอเติมออฟฟศ ภายในอาคารเดิม สําหรับ “ไอสตูดิโอ เนสท” นั้นเปนการออกแบบออฟฟศที่ ใชประโยชนจากโครงสราง โรงงานไมวาจะเปน เสา และ คานของโรงงาน และคํานึงถึงสิ่งแวดลอมซึ่งนอกจากชวยให ใชวัสดุในการกอสรางนอยลงแลว สถาปนิกยังเลือกวัสดุที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หรือเลือก ใชอุปกรณประหยัดพลังงาน โดยงานออกแบบออฟฟศแหงนี้เปนผลงานการออกแบบของ คุณจิตติน มนธาตุผลิน สถาปนิกไทยจากเอวรีเดย ไลฟ เอเลเมนท หรือ ELE และมร. แดเนียล บลอยส ผูอํานวย การดานการออกแบบประจําภูมิภาคเอเชีย ของอินเตอรเฟซ ซึ่งเปนการออกแบบโดยการ แบงสัดสวนพื้นที่ตามการใชงานอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากสวนหลักของสตูดิโอแลว ยังมีพื้นที่สํานักงาน มุมหารือ ไปจนถึงสวนจัดแสดงในบริเวณเดียวกัน โดยมีความเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม และเปนแนวคิดในการออกแบบใหประหยัดพลังงาน จึงมีการใชวัสดุรีไซเคิล เชน ไม กระจก โลหะ อยูในโครงสราง ประกอบกับการออกแบบโดยใชประโยชนจากแสงจากธรรมชาติ และเฟอรนิเจอรมีดีไซนเขามาตกแตงจึงทําใหพื้นที่นี้ โปรงเบาและสวางไสว เหมาะแกการทํางาน

มร. แดเนียล บลอยส

44 l August 2012

Energy#45_p44-45_Pro3.indd 44

7/17/12 1:10 AM


ในเชิงสรางสรรค ทั้งนี้และทั้งนั้นการออกแบบออฟฟศแหงนี้ยังเปนการตอบสนอง เปาหมายของอินเตอรเฟซที่จะกาวไปสูมิชชั่นซีโรที่จะลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมใหหมดไปภายในป 2020 (พ.ศ. 2563) โดยไดดําเนินการ อยางตอเนื่องในทุกสวน ทั้งในรูปแบบธุรกิจ การบริหาร ปฏิบัติงาน ไปจนถึงการสรางสรรคโซลูชั่นตางๆ

เรียกไดวา การออกแบบนัน้ สวนหนึง่ ทีส่ ะทอนถึงวิถสี มู ชิ ชัน่ ซีโรในทุก รายละเอียดโดยการพยายามยึดเกาะกับโครงสรางเดิมใหมากที่สุด ลดการ ใชวัสดุในก ารกอสราง และภายในอาคารก็ ไดใชอุปกรณประหยัดพลังงาน เชน หลอดไฟฟาประหยัดพลังงาน และแอรประสิทธิภาพสูง พรอมกันนี้ยัง ไดออกแบบใหลดการรั่วไหลของพลังงาน ซึ่งผลที่ ไดรับไมเพียงแตจะเปน สตูดิโอที่สวยงาม มีพื้นที่รองรับการใชงานอยางมีประสิทธิภาพ ตั้งแต การทํางาน อบรม หารือ สรางสรรคแลว ยังเปนอาคารที่สงผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุดดวย ทั้งนี้ ไอสตูดิโอ เนสท นี้ยังเปนสวนหนึ่งของการตอบสนองความ ตองการที่เฉพาะเจาะจงของลูกคาแตละรายควบคูไปกับการเพิ่มจุดขาย ใหกับอินเตอรเฟซในภูมิภาคเอเชียแปซิฟคดวย สําหรับประเทศไทย และ เปนการตอกยํ้าพันธสัญญาของอินเตอรเฟซในการที่จะมอบผลิตภัณฑที่ หลากหลายและมีเอกลักษณ ยืดหยุนไดตามความตองการของลูกคา ทั้ง ดานดีไซน สี และการผลิต นับเปนนวัตกรรมกาวสําคัญที่ยกระดับการ ออกแบบพรมแผนในภูมิภาคนี้อีกดวยครับ

ซึ่งออฟฟศ ไอสตูดิโอ เนสท แหงโรงงานอินเตอรเฟซนั้นการออก แบบยังชวยเพิ่มความคลองตัวในการมอบผลิตภัณฑที่หลากหลายและมี เอกลักษณใหแกลกู คาตามความตองการทีเ่ ฉพาะเจาะจงได ซึง่ นอกจากจะใช เวลาตั้งแตการออกแบบไปจนถึงการผลิตตัวอยางเพื่อสงมอบใหแกลูกคา ไดภายในเวลาประมาณ 5 วัน สตูดิโอแหงนี้ยังสามารถรองรับงานออเดอร ขนาดเล็กไดตั้งแต 250 ตารางเมตรขึ้นไปอีกดวย

August 2012 l 45

Energy#45_p44-45_Pro3.indd 45

7/17/12 1:10 AM


Residential โดย : สรรชณิฏฐ

ภูผาและลําธาร รีสอรท

ดึ ง ธรรมชาติ ม าลดพลั ง งาน การไดไปพักผอนในรีสอรททีถ่ กู สรางขึน้ จากหลักการและขอคิดแหง การอยูรวมกับธรรมชาติ สิ่งแวดลอม นั้นคงเปนรีสอรทในฝนของใคร หลายคนที่ตองการความเงียบสงบจากธรรมชาติสรางความผอนคลาย ในการพักผอน โดยรีสอรทในปจจุบันหลายแหงไดออกแบบใหกลมกลืน กั บ ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น หรื อ ไม ก็ เ ลื อ กสถานที่ ตั้ ง ให อ ยู 

ใกลชิดกับธรรมชาติเพื่อรองรับนักทองเที่ยวที่แสวงหาความเงียบสงบ ที่รอบลอมดวยภูเขาและลําธาร และนอกจากการออกแบบใหอิงกับธรรมชาติแลวการเอาใจใสเรื่อง พลังงานและสิ่งแวดลอมก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่รีสอรททั่วไปไดคํานึงถึง ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการดึงเอาธรรมชาติมาใชใหเกิดประโยชนกับการประหยัด พลังงานที่นอกเหนือจากการพึ่งพาเทคโนโลยีอุปกรณประหยัดพลังงาน เพียงอยางเดียว สําหรับการแสวงหาสถานทีพ่ กั ผอนแนวอนุรกั ษพลังงานในเลมนีเ้ รา ไดมโี อกาสแวะไปเยือน ภูผาและลําธาร รีสอรท ซึง่ ตัง้ อยู ตําบลคลองศก อําเภอพนม จังหวัดสุราษฎรธานี ใกลกับ อุทยานแหงชาติเขาสก และเขื่อนรัชประภา โดยรีสอรทแหงนี้ถูกออกแบบในสไตลกระทอมนอย ปลายนาผสมสานกลิ่นอายทองถิ่นที่ซอนเรนอยูทามกลางหุบเขารอบลอม ดวยธรรมชาติและลําธารกลมกลืนกับสวนผลไม และสวนหยอมเรียกไดวา เปนรีสอรทในฝนของใครหลายคนที่ตองการความเปนธรรมอยางแทจริง โดยหองพักที่นี่ถูกออกแบบใหโปรงโลง สบาย รับสายลมใกลชิด กับธรรมชาติที่สามารถมองเห็นวิวภูเขาและสัมผัสสายหมอกไดทุกหอง

46 l August 2012

Energy#45_p46-47_Pro3.indd 46

7/17/12 1:37 AM


เรี ย กได ว  า เป น สวรรค แ ห ง การพั ก ผ อ นของผู  ม าเยื อ นทุ ก ท า นเลยที เดียว นอกจากไดใกลชิดกับธรรมชาติแลวรีสอรทแหงนี้เขายังใสใจเรื่อง การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมควบคูกันไปดวยครับ การประหยัดพลังงานของ ภูผาและลําธาร รีสอรท นั้นเขาเนน ใชประโยชนจากธรรมชาติมาชวยลดการใชพลังงานโดยใหผูมาพักผอน ไดเรียนรูอยูกับธรรมชาติ และมีความสนุกที่ ไดอยูทามกลางธรรมชาติ มากกวานอนพักผอนในหองซึง่ จะตองเปดไฟ เปดแอรอนั เปนการสิน้ เปลือง พลังงาน นอกจากนี้แลวดวยสถานที่ตั้งนั้นถูกรอบลอมดวยหุบเขาทําให ที่นี้อากาศเย็นตลอดทั้งปชวยใหการพักผอนยามคํ่าคืนไมตองพึ่งความ เย็นจากแอร จากความใสใจดานอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมของรีสอรทแหงนี้ ไดมีการปรับเปลี่ยนมาใชหลอดประหยัดพลังงาน เชน การติดตั้งหลอด ฟลูออเรสเซนต หรือหลอด T5 การติดตั้งแอรประสิทธิภาพสูง หรือการ ใชพัดลมแทนการใชแอรภายในหองสปา นอกจากนี้แลวยังไดมีการบําบัดนํ้าที่ผานการใชงานแลวมาใชใน การรดนํ้าตนไมภายในรีสอรท มีการคัดแยกขยะเพื่อนําไปรีไซเคิลและ จําหนายไมวาจะเปน ขวดพลาสติก ขวดแกว กระดาษ สวนกิ่งไมใบไมแหง นํามาทําปุยหมักชีวภาพ เศษอาหารนําไปใชเปนอาหารปลา หรืออาหารหมู

ก็ตาม ภูผาและลําธาร ก็ ไมไดหยุดนิ่งเพียงแคนี้แตยังไดมีการพัฒนา ดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่องเพื่อไปสูการเปน รีสอรทที่ ใสใจสิ่งแวดลอมอยางแทจริง อยางไรก็ตามหากผูที่สนใจมาพักผอน ณ ภูผาและลําธาร นั้น เขามีหองรองรับลูกคากวา 57 หอง สนนราคา ตั้งแต 1,800 – 5,500 บาท และนอกจากเปนสถานที่พักผอนที่ ใสใจพลังงานและสิ่งแวดลอมแลว ที่นี่เขายังมีกิจกรรมตางไวรองรับแขกผูมาเยือนอีกดวยคะไมวาจะเปน กิจกรรมขี่ชางเที่ยวเขื่อน พายเรื่อแคนูลองคลองชมธรรมชาติ เดินปา แลวผอนคลายดวยการนวดสปา เปนตน แลวเจอกันทริปหนาครับ

และดูจะเปนเทรนดของรีอสอรทในปจจุบนั ทีต่ อ งปลูกผักสวนครัวไวใช เปนวัตถุดิบในการประกอบอาหารเอง ปลูกไมดอกไมประดับใชในรีสอรท ซึ่งรีสอรทแหงนี้ก็ทําเชนกันและชวยลดคาใชจายไดเปนอยางดีครับ ซึ่งการดําเนินการดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมนั้น ชวยใหสามารถลดการใชพลังงานไดกวา 10% เลยทีเดียว แตอยางไร August 2012 l 47

Energy#45_p46-47_Pro3.indd 47

7/18/12 11:10 PM


Energy Management

FlowChart สําหรับการจัดการพลังงาน

การจัดการพลังงาน คืออะไร ? การจัดการพลังงาน คือ การทําใหมั่นใจวาไดมีการจัดการทรัพยากรพลังงานอยาง มีประสิทธิภาพเพื่อบรรลุเปาหมายขององคกร นิยมใชคําวา “การอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม” การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน คื อ การใช พ ลั ง งานอย า งมี ประสิทธิภาพ คําวาสวนรวม หมายถึงอะไร คือการบูรณาการ ความคิด การมีสวนรวมในการตัดสินใจการแสดงออกและความ ภูมิใจในผลของงานของผูเกี่ยวของในสถานประกอบการ เพื่อให บังเกิดผลบรรลุเปาหมายขององคกร การได รั บ การสนั บ สนุ น มาตรการประหยั ด พลั ง งาน ผูใชพลังงานโดยทั่วไปจะใหการสนับสนุนกับมาตรการประหยัด พลั ง งานเมื่ อ ได รั บ การสนั บ สนุ น ส ง เสริ ม อย า งเหมาะสม รูสึกวาตัวเองมีความสําคัญตอมาตรการนั้น ๆ มีโอกาสแสดงและ ใชศักยภาพของตนเองอยางเต็มที่ ไดรบั การชมเชยยกยอง รูส กึ ภูมใิ จในผลงาน ความสามารถ ความสําเร็จ มีความรูสึกสนุกสนานไมนาเบื่อ ไดรับขอมูลที่ควรรู และผลจากการนํามาตรการที่เสนอไปใช หัวใจหลักของกลยุทธดานพลังงาน คือ “ผูเกี่ยวของ ตกลงร ว มมื อ ในการใช พ ลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ” ดังตารางดานลาง

ผูมีสวนรวม ผูบริหารกิจการ

พนักงาน

ผูเชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษา

http://familymakeovermaven.com/green-living-tips/earth-daytips-to-help-save-the-environment/

บทบาทและหนาที่ ใหการสนับสนุน ประกาศนโยบายและเปาหมาย จัดตั้งทีมงาน กลุมทํางาน ติดตามผล ใหแรงจูงใจ ใหเห็นความสําคัญของการอนุรักษพลังงาน ใหความรวมมือทํากิจกรรมโดยเต็มใจ ประชุมรับฟงความคิดเห็นและมีสวนรวมในทีม ใฝหาความรูและเทคนิคการประหยัดพลังงาน คนหามาตรการและลงมือปฏิบัติ ใหคําปรึกษา การบริหารจัดการ ทีมงาน และการประชาสัมพันธ แนะนํา/อบรมใหความรูเทคนิคดานอนุรักษพลังงาน รวมคนหามาตรการแนะนําวิเคราะห การประเมินผล

ผลสําเร็จ ลดคาใชจายพลังงาน ภาคภูมิใจในผลงาน เปนตัวอยางที่ดีสําหรับหนวยงานอื่นๆ

สามารถดําเนินงานไดอยางตอเนื่องและยั่งยืน

48 l August 2012

Energy#45_p48-50_Pro3.indd 48

7/18/12 11:22 PM


ปจจัยสําคัญในการบริหารงานดานการอนุรกั ษพลังงานทัศนคติ ของผูบริหาร

- องคกรจะตองมีปรัชญาหรือนโยบายทีเ่ นนเรือ่ งอนุรกั ษพลังงาน - องค ก รจะต อ งมี ป รั ช ญาหรื อ อุ ด มการณ ที่ เ น น เรื่ อ งความ ตองการของคน - ผูบริหารระดับสูงตองใหการสนับสนุนและแสดงออกอยางเปน รูปธรรม - ตองเนนการฝกอบรม - ผูบริหารระดับสูงจะตองเปนผูนําในการปฏิวัติแนวความคิดเกา - สถานการณพลังงาน การขาดแคลน การลดคาใชจาย - มาตรการทางกฎหมาย

เหตุผลของการทํากิจกรรมอนุรักษพลังงาน

1. นโยบายบริษัท 2. ตองการลดการใชพลังงาน ลดคาใชจายในการผลิต 3. ตองการอุปกรณและระบบมีความทันสมัยและอัตโนมัติ 4. ตองการสิ่งแวดลอมในการทํางานที่ดีขึ้น 5. ตองการลดการสูญเสียพลังงาน 6. เพิม่ ความปลอดภัยในการทํางาน (อันตรายจากสัมผัสผิววัสดุทรี่ อ น) 7. ลดมลพิษสูบรรยากาศ 8. ควบคุมปริมาณมลพิษตามกฎหมายกําหนด

โครงสรางการจัดการพลังงาน

- คณะทํางานอยูระหวาง 3 – 10 คน - ประกอบดวยบุคลากรที่มีความรูดานตาง ๆ จากทุกหนวยงาน ในองคกร - หัวหนาคณะทํางาน ฯ อยางนอยตองเปนผูบริหารระดับสูงหรือ กลาง ที่สามารถนําการประชุมและมีความรู ดานพลังงาน - คณะทํ า งานมี ค วามรู  เ กี่ ย วกั บ กิ จ กรรมและเครื่ อ งจั ก รที่ ใ ช พลังงานในองคกร เชน หัวหนาฝาย หัวหนาแผนก วิศวกร ชางเทคนิค - เจาหนาที่ฝายบริหาร/ธุรการ เพื่อชวยคณะทํางานดานเอกสาร และประชาสัมพันธ

ขั้นตอนที่ 2 การรณรงคประชาสัมพันธและเผยแพร ใหความรู

เปาหมายหลักของการรณรงคประชาสัมพันธ เผยแพรใหความรู เพื่อกระตุนจิตสํานึกอนุรักษพลังงาน

เรื่องประชาสัมพันธและเผยแพรความรู

ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดนโยบายจัดการพลังงานและโครงสราง การกําหนดนโยบาย - เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน - ใหพนักงาน ทราบถึงความมุงมั่นของบริษัท - ผูบริหารระดับสูงเปนผูกําหนดนโยบาย - ผูบริหารระดับกลางและลาง สามารถนํานโยบายไปปฏิบัติใหเกิด ผลสําเร็จ

- การลดความสูญเสียทั้งดานพลังงานและผลผลิต - การเลือกใชเทคโนโลยีที่ดี - วิธีการใชอุปกรณที่ดีมีประสิทธิภาพสูง - การบํารุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณที่ดี - การลดใชพลังงานที่ ไมจําเปน - การประกาศชมเชยหรือใหรางวัลพนักงานที่มีผลงานเพื่อเปน ตัวอยางแกพนักงานทั่วไป - สื่อที่ ใชคือ โปสเตอร สติ๊กเกอร ปายประกาศ

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินสถานะและศักยภาพดานเทคนิค

กอนนําระบบการจัดการพลังงานมาประยุกตใช ควรประเมินสถานะ ดานการจัดการพลังงานและศักยภาพดานเทคนิค ใหทราบวามีจุดออน – จุดแข็งในเรื่องใด การปรับปรุงพลังงานในประเด็นใดที่ตองใหความสําคัญ เปนลําดับตนๆ โดยการประเมินในรูปแบบ”Energy Management Matrix” August 2012 l 49

Energy#45_p48-50_Pro3.indd 49

7/18/12 11:22 PM


การประเมินศักยภาพดานเทคนิค

เพื่อหาประสิทธิภาพการทํางานของอุปกรณใชพลังงาน มีการใช พลังงานสูงหรือตํา่ กวาเกณฑมาตรฐานและเปน Base line กอนการปรับปรุง - รวบรวมเอกสารขอมูลทางเทคนิคของอุปกรณใชพลังงาน - ตรวจวัดสภาพการใชงานและประสิทธิภาพของอุปกรณใชพลังงาน - จัดทําขอเสนอแนะการปรับปรุง - จัดทํารายงานผลการตรวจวัดและเทียบเคียงกับเกณฑมาตรฐาน - จัดทําขอเสนอแนะการปรับปรุง - กําหนดเปาหมายและมาตรการประหยัดพลังงาน โดยพิจารณา จากผลตอบแทนทางการเงินที่ยอมรับได

2. แผนระยะกลาง -โครงการนี้ ไมชาเกินไป -ไดผลไมชาเกินไป -อาจมีผลกระทบตอการทํางานบาง -ใชบุคลากรจํานวนพอควร -ตองศึกษาความรูทางเทคนิคเพิ่มเติม 3. แผนระยะยาว -โครงการใชเงินลงทุนสูง -ไดผลระยะนาน -มีผลตอการทํางานมาก -ตองการบุคลากรภายนอก -ตองศึกษาความรูดานเทคนิคมากขึ้น

ขั้นตอนที่ 5 การดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ -

ผานการอนุมัติจากผูบริหารระดับสูงขององคกร ผูรับผิดชอบนําแผนไปดําเนินการ มีการติดตามความกาวหนาของแผนเปรียบเทียบผลดําเนินการกับแผน จัดทําแผนภูมิควบคุมการดําเนินงาน

ขั้นตอนที่ 4 การจัดทําแผนปฏิบัติการ

วัตถุประสงคเพื่อใหมาตรฐานระบบการจัดการพลังงาน กอใหเกิด การอนุรักษพลังงานอยางยั่งยืน แผนจะตองสนับสนุนการอนุรักษพลังงานดังนี้ - แผนรองรับมาตรการประหยัดพลังงานที่คัดเลือกแลว - แผนประชาสัมพันธเพื่อสรางจิตสํานักของพนักงานในองคกร - แผนฝกอบรมเพื่อสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตอง

โครงสรางแผนปฏิบัติการอนุรักษพลังงาน แผนปฏิบัติการที่ จัดทําขึ้น จะตองประกอบไปดวย -

ชื่อแผน (ชื่อมาตรการประหยัดพลังงาน) วัตถุประสงคของมาตรการ ตัวชี้วัดความสําเร็จของมาตรการ ผูรับผิดชอบ งบประมาณที่คาดวาจะใช ระยะเวลาดําเนินการ

ขั้นตอนที่ 6 การทบทวนผลการดําเนินงาน

เพื่อติดตามตรวจสอบการดําเนินงานตามแผน เปรียบเทียบผล ที่เกิดขึ้นจริงกับที่ประเมินไวและใหรูถึงปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น นําเสนอ คณะทํางานดานการจัดการพลังงาน เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขในครั้งตอไป - การประเมินความเปนไปไดทางเทคนิค ดานประสิทธิภาพและ สมรรถนะ ความเชื่อถือได ความปลอดภัยและการบํารุงรักษางาย - การประเมินความคุมคาทางเศรษฐศาสตร

ประเภทหรือระดับของแผนปฏิบัติการ แบงออกเปน 3 ระดับ 1. แผนระยะสั้น -โครงการที่ ไมตองลงทุนหรือลงทุนนอย -ไดผลเร็ว -ไมมีผลกระทบตอการทํางาน -ใชบุคลากรภายในและจํานวนนอย -มีความรูดานเทคนิคอยูแลว

ขอขอบคุณขอมูลจาก คุณ บุญรินทร วงษศิริ คุณ อานุภาพ คุปตะบุตร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย http://www.edco.co.th/index.php?

50 l August 2012

Energy#45_p48-50_Pro3.indd 50

7/18/12 11:22 PM


Green4U

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

แมวา สินคาทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมโดยฝมอื คนไทยนัน้ จะมีสดั สวนในการสงออกทีม่ ากกวาการ วางจําหนายในประเทศ สวนหนึ่งก็เพอตอบสนองความตองการของตลาดโลกที่ ใหความสําคัญกับ เรองการลดการปลอยของเสียลงสูส งิ่ แวดลอม อีกสวนหนึง่ ก็เพราะการตอบสนองของผูบ ริโภคทีย่ งั มองถึงคุณสมบัตอิ นๆ มากกวาเรองความเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ซึง่ หากเรากลับมาพิจารณากันดีๆ แลวสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมโดยฝมือคนไทยนั้นมีดีไมแพชาติใดในโลกเลยทีเดียว

“BFX” กระเปาพลังแสงอาทิตย

สวนดีไซน C เปนกระเปาลอลาก ติดตั้งแผงโซลาเซลลขนาด ใหญ 12 x 15 นิ้ว ความจุไฟฟา 7 แอมป ทั้งนี้ระยะเวลาในการชารจ ไฟเต็มประมาณ 2-5 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับความแรงของแสงแดด นอกจาก นีย้ งั ไดออกแบบกระเปาพลังงานแสงอาทิตยเพือ่ การยังชีพ ลักษณะเปน กระเปาลอลาก ภายในบรรจุอุปกรณแกปญหาเฉพาะหนายามฉุกเฉิน หลายอยาง เชน แบตเตอรี่สํารองมีชองไวเสียบอุปกรณไฟฟาตางๆ ครบถวนและอุปกรณรับสัญญาณ GPS เปนตน สําหรับวัสดุในการใช ทํากระเปา เลือกใชหนังเทียมเกรด เอ มีคุณสมบัติเดนนํ้าหนักเบา และ ปองกันนํ้าได 100%

นวัตกรรมกระเปาพลังงานแสงอาทิตย ‘BFX’ ถูกออกแบบมา เพื่อเชื่อมโยงกับการใชอุปกรณไอทีเพื่อการสื่อสารตางๆ ซึ่งปจจุบัน กลายเปนอีกหนึ่งปจจัยสําคัญของคนยุคนี้ ดวยการติดตออุปกรณแผง โซลาเซลลขนาดพกพาไวกบั กระเปา สําหรับบรรจุไฟฟาจากพลังแสงอาทิตย ชวยเพิ่มความสะดวกสบาย รวมถึง แกปญหาเฉพาะหนาในภาวะฉุกเฉิน ซึ่งแมทุกวันนี้มีการใชแผงโซลาเซลลเพื่อผลิตกระแสไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตย แตแทบทั้งหมดจะเปนแผงขนาดใหญใชกับที่อยูอาศัย ซึง่ เปนการลงทุนสูง คือทุนระยะยาว ทําใหมกี ารคิดพัฒนานําแผงโซลาเซลล มาประยุกตใชงานในชีวติ ประจําวันไดมากขึน้ ประกอบกับพืน้ ฐานของ บริษทั โจเฮาส จํากัด ผูผลิตกระเปาแฟชั่นแบรนด ‘Big Foot’ ที่ผลิตกระเปาอยู แลว จึงพัฒนาเปนกระเปาที่ติดตั้งแผงโซลาเซลล กระเปา BFX มีดวยกัน 3 ดีไซน คือ ดีไซน A และ B เปนกระเปาเป ติดตั้งแผงโซลาเซลลขนาดเล็ก ประมาณ 1.5x3.5 นิ้ว ไวที่ดานหนากระเปา มีความจุไฟฟา 1 แอมป วัตถุประสงคหลักสําหรับไวชารจไฟอุปกรณสอื่ สาร ตาง ๆ ไมวาจะเปนโทรศัพทมือถือ และแท็บเล็ต Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

August 2012 l 51

Energy#45_p51,53_Pro3.indd 51

7/19/12 10:58 PM


Energy#45_ad Asia Lamp_Pro3.ai

1

7/24/12

1:41 AM


“Riceware”

ของใช บ นโต ะ อาหารจากแกลบ

GREENVOLUTIONS เปนผลิตภัณฑที่สามารถตอบโจทยกลุมคนที่ ใส ใจสิ่งแวดลอม และ รักษสขุ ภาพ ไปพรอมๆ กัน โดยเลือกใชวตั ถุดบิ หลัก คือ “แกลบ” โดยสินคาทีผ่ ลิตออกมาจําหนาย ประกอบ ไปดวยผลิตภัณฑบนโตะอาหาร และสินคาในหมวดของอุตสาหกรรมหนักที่ใชในโรงงาน รวมถึง ผลิตภัณฑ ในโรงแรม และสปา ที่กําลังจะแตกไลนเพิ่มขึ้นมา โดยผลิตภัณฑที่กําลังไดรับความนิยมอยูในขณะนี้อยูที่ กลุมของใชบนโตะอาหาร ในชุด Riceware สําหรับ Riceware เปนแบรนดทสี่ รางขึน้ มารองรับการทําตลาดในชุดของใช บนโตะอาหาร จุดเดนอยูท เี่ ปนผลิตภัณฑทสี่ ามารถยอยสลายไดในระยะเวลาอันสัน้ เพราะเปนสิ่งที่มาจากธรรมชาติ และไมเปนอันตรายและปลอดภัยจากสารพิษ เพราะใชวัตถุดิบ คือ แกลบถึง 85% ที่เหลือเปนลิกนิน 15 และที่สําคัญ Riceware มีคุณสมบัติเดียวกับผลิตภัณฑเมลามีน คือทนความรอนไดถึง 120 องศาเซลเซียล จึงเปนทางเลือกหนึ่ง สําหรับผูท่กี ลัวอันตราย จากผลิตภัณฑเมลามีน เปลี่ยนมาใชผลิตภัณฑของ Riceware แทน อีกทั้งยังสามารถลางและนํามากลับมาใชใหมได ที่สําคัญไมเปน เชื้อรา ใชไดเหมือนกับจานชามทั่วๆไป

ที่ ช าร จ ไฟแบบมื อ หมุ น

CP-A2LAKS USB Charger

เนื่องจากทุกวันนี้เทคโนโลยีของมือถือพัฒนาไปไกลมาก แตยงั มีอกี แงหนึง่ ทีน่ บั วามีการพัฒนาไปคอนขางนอย นัน่ คือสวนของ แบตเตอรี แบต ่ ทําใหหลายๆ บริษทั ตองหันมาพัฒนาเทคโนโลยีอนื่ ทดแทน อยางในรายของ Sony นัน้ ไดทาํ การเปดตัวอุปกรณสาํ หรับชารจไฟ ใหกบั มือถือผานทางพอรต USB ทีม่ ชี อื่ รหัสวา CP-A2LAKS USB Charger โดยจะใชหลักการแปลงพลังงานกลใหเปนพลังงานไฟฟา Ch แลวสงไปเก็บทีต่ วั ชารจไฟ หรือการหมุนมือจับเพือ่ ทําการปน ไฟให กับมือถือนัน่ เอง ทําใหสะดวกตอการชารจแบตมือถือ แมวา สถานที่ นัน้ ๆจะไมมไี ฟฟาใชกต็ าม โดยอัตราการสรางพลังงานนัน้ ผูใ ชจะตองหมุนมือหมุนเปน เวลา 3 นาทีจงึ จะสามารถชารจไฟใหมอื ถือสามารถใชโทรไดนาน 1 นาที หรือถาใชงานเปดเว็บบราวเซอร ก็จะสามารถใชงานไดราวๆ เวล 5 นนาทีดว ย ทําใหมนั เหมาะสําหรับการใชงานในชวงเวลาฉุกเฉินซะมากกวา หรือวาใครอยากออกกําลังแขน กําลังขอมือก็เชิญไดตามสบาย นอกจากนี้ ในตัวของ charger ยังมีแบตเตอรีส่ าํ รองอยูในตัวความจุ 4,000mAh ดวยกัน ซึง่ ก็เพียงพอตอการชารจไฟใหกบั สมาร สม ทโฟน 2 เครือ่ ง โดยมีการทดสอบชารจไฟใหกบั Sony Ericsson Xperia Acro HD พบวาตองใชเวลาในการชารจราว 130 นาที จึงจจะชารจแบตไดเต็ม

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

August 2012 l 53

Energy#45_p51,53_Pro3.indd 53

7/19/12 10:58 PM


Green Vision โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

กรีนไอทีเทคโนโลยี“โนตบุค”รักษโลก

คอมพิวเตอรโนตบุคเปนสิ่งที่ผูคนในปจจุบันใชกันแทนที่คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ เพราะประสิทธิภาพที่ถูกพัฒนาจนลํ้าสมัย ตอบ สนองไดทุกรูปแบบการใชงานและไลฟสไตลตามโลกสวนตัวของแตละคน ยิ่งไปกวานั้น “โนตบุค” ยังมีสวนชวยรักษาสิ่งแวดลอมของ โลกบนนี้ ไดดวย วชั่นของฟูจิตสึ ENERGY SAVING ฉบับนี้ ไดมีโอกาสมาเปดประสบการณกรีนอินโนเวชั ผูผลิตโนตบุคชั้นนําของโลกสัญชาติญี่ปุน ทําใหรับทราบวาบริษัทแดนปลาดิดิบแหงนี้มี เปาหมายระดับโลกที่จะสรางความยั่งยืนใหกับโลกใบนี้ดวยการเปนสวนหนึ่งในการ รักษาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะเรื่องการลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดดใหได 15 ลานตันภายในสิ้นป 2012 นี้ คุณเชาวนะ สุนทรพฤกษ ผูจัดการประจําประเทศไทย บริษัท ฟูจจิ​ิตสึ พีซี ของบริษัทมา เอเชีย แปซิฟก จํากัด ไดเลาวา ฟูจิตสึใหความสําคัญและตั้งเปนปณิธานของบริ ของการรักษา ตั้งแตป 1993 วาจะเปนบริษัทกรีนไอทีอินโนเวชั่น ที่มุงใหความสําคัญเรื่องของการรั กไซด สิ่งแวดลอมของโลก ไมวาจะเปน เรื่องการลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด และ การมุงพัฒนาเทคโนโลยีที่จะลดการใชพลังงานใหไดมากที่สุด ทั้งในองคกรและ ในผลิตภัณฑที่ออกสูตลาดทั่วโลก การใชวัสดุเพื่อผลิตคอมพิวเตอรโนตบุคจาก วัสดุรีไซเคิล และการใชกระดาษภายในองคกรใหนอยที่สุด “ฟูจิตสึใหความสําคัญตั้งแตภายในบริษัทไปจนถึงภายนอกองคกร ที่สามารถแสดงใหเห็นไดตั้งแตกระบวนการผลิตในโรงงานจนผลิตภัณฑ โนตบุคสูมือผูบริโภค และถือเปนมาตรฐานของฟูจิตสึที่ยึดมั่นปฏิบัติเสมอมา”” ตัวอยางการเปนบริษัทกรีนไอทีอินโนเวชั่น สะทอนใหเห็นผาน ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรโนตบุคที่วางจําหนายสูมือผูใชทั่วโลก โดยเทคโนโลยียี สีเขียวที่ผูใชสามารถสัมผัสได อยาง 0-watt AC adaptor อแด็ปเตอรที่ลด การใชพลังงานถึง 99% เมื่อเทียบกับอแด็ปเตอรปกติทั่วไป เนื่องจาก ตัวอแด็ปเตอรนี้จะไมดึงกระแสไฟฟามาที่ตัวโนตบุคที่ ไมไดทํางานอยูแมวา เครื่องจะเสียบปลั๊กอยูก็ตาม รวมถึงการประหยัดพลังงานอีกขั้นดวย Light Sensor ที่สามารถตรวจจับสภาวะแสงเพื่อปรับความสวางของ หนาจอใหเหมาะกับสภาวะที่ ใชงานขณะนั้นๆดวย ความสามารถนี้จะชวยยืด อายุการใชงานของแบตเตอรี่ ใหยาวนานยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในคอมพิวเตอรโนตบุคของฟูจิตสึยังมีจุดเดนเรื่องอีโคโหมดด ที่จะชวยประหยัดพลังงานในการใชงานแบตเตอรี่ โดยอีโคโหมดนี้จะมีการตัดดไฟ ไฟ ที่ ไมเลี้ยงในสวนที่ ไมไดใชงานในจุดตางๆ ตัวอยางกรีนเทคโนโลยีทั้ง 3 เรื่อง ถือเปนสิทธิบัตรของฟูจิตสึที่ทําใหโนตบุคฟูจิตสึแตกตางจากผูผลิตรายอื่น “เราเชื่อวากระแสเรื่องสิ่งแวดลอมในเมืองไทย เปนกระแสที่กําลังตื่นตัว ขึ้นเรื่อยๆ สงผลใหผลิตภัณฑที่ ใสใจเรื่องกรีนเทคโนโลยีเปนทางเลือกในการร ใชงานมากขึ้นตามไปดวย ยิ่งองคกรขนาดใหญในเมืองไทยมีนโยบายใหความม สําคัญเรื่องของสิ่งแวดลอม ก็ตองเลือกผลิตภัณฑที่ ไมสงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมเขามาใชองคกรเชนกัน” คุณเชาวนะกลาวทิ้งทายใหเห็นถึงสิ่งที่กกํ​ําลัง เกิดขึ้นในสังคมไทยวันนี้และในอนาคต 54 l August 2012

Energy#45_p54_Pro3.indd 54

7/20/12 10:06 PM


Greenovation โดย : SuKiYaKi

Piezoelectricity Generation X!

Piezoelectricity คือไฟฟาที่เกิดจากการกดดันทางกลไกที่มีตอผลึก ที่ ไมนําไฟฟา และนั่นคือระบบที่เรานํามาใชกับ Eco-Enegry Flooring System ที่เปนพื้นซึ่งใชแรงดันจากการที่เราเดิน วิ่ง กลิ้ง หรือกระแทก ลงบนแผน piezoelectricity นี้ และเมื่อเกิดแรงดันพลังงานที่ถูกสรางขึ้นจะถูกนําไปเก็บไว ในแบตเตอรี่กระดาษ จากนั้นพลังงานนั้นจะถูกนําไปใชกับหลอดไฟ LED นั่นเอง ซึ่งแผนรองพื้นนี้จะทําขึ้นมา 6 เลเยอรดวยกัน โดยชั้นบนสุดจะสามารถ กันนํ้าไดและกันความชื้นใหกับชั้นลาง ชั้นตอมาจะเปนแผน OLED ที่ติดตั้ง โปรแกรมใหแสดงตัวอักษร ชั้นตอไปเปนฟองนํ้ากะนกระแทกที่ชวยกระจาย แรงดันจากดานบน ชั้นตอมาเปน Piezoelectricity board ที่เปนแผนคริสตัลทําหนาที่แปลงกระแสไฟฟา ตอมาเปน PCB board ชั้นลางลงมาเปนแบตเตอรี่ กระดาษ และชั้นสุดทายเปนสวนที่สัมผัสกับพื้น ผลงานชิ้นนี้ถูกออกแบบโดย Stephen Chan Wing Tak

Cultivate a Green Habit

หลายคนพูดวาเครื่องใชไฟฟาของเรานั้นกินไฟแตเราจะรูตัวเลขที่แท จริงของเครื่องใชไฟฟาเหลานั้นวาใชพลังงานไปแคไหนไดอยางไร มันคงจะดี หากเรามี อุ ป กรณ ที่ ทํ า ให เ รารู  ข  อ มู ล การใช พ ลั ง งานของเราโดยแยกตาม เครื่องใชไฟฟาแตละชนิด ซึ่งมันจะทําใหเราสามารถบริหารจัดการการใชพลังงาน ในบานของเราไดดีมากขึ้นซึ่ง Eco-pulse ซึ่งถูกออกแบบโดย Lim Wan Xuan และ Tang Xueling Jane นาจะเปนอุปกรณที่สามารถตอบโจทยนี้ ไดเปนอยางดี Eco-pulse ทํางานโดยการแสดงสนามแมเหล็กไฟฟาในรูปแบบคลื่น ชี พ จรบนหน า จอแสดงผล ซึ่ ง จะทํ า ให เ ราสามารถค น พบการใช พ ลั ง งาน ที่ เ กิ ด ขึ้ น คล า ยกั บ การตรวจวั ด ชี พ จรของเครื่ อ งใช อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ หมื อ น หู ฟ  ง ของแพทย โดยการแสดงผลจะปรากฏในสี ต  า งๆ เพื่ อ บ ง บอกระดั บ ของการใชพลังงาน ผู ใชยังสามารถบันทึกขอมูลไดโดยการกดปุมจับภาพ ที่ อ ยู  ด  า นขวาของตั ว เครื่ อ งและโอนถ า ยข อ มู ล ลงในคอมพิ ว เตอร ไ ด

FlowerPod Energy Monitor

ถาใครอยากรูวาบานเราใชพลังงานไปมากนอยแคไหน ก็ลองดูจาก ความเริงราของดอกไมอิเล็กทรอนิกสนี้ ไดเลย เพราะเมื่อเรานํา FlowerPod ไป เชื่อมตอกับกระแสไฟฟาภายในบาน ตนออนสีเขียวก็จะแตกหนอออกมา หากวา ในบานเราใชพลังงานในบานตํ่า ดอกไมก็จะบานสวยงาม แตในทางตรงขามหาก บานเราใชพลังงานเกินขีดจํากัด ดอกไมนี้ก็จะคอยๆ เฉาลง ซึ่งนี่เปนเครื่องมือวัด อยางงายๆ ที่จะชวยใหเราตระหนักถึงการใชพลังงานภายในบานมากขึ้น ผลงาน ชิ้นนี้ถูกออกแบบโดย Katrine Rafn Knudsen

August 2012 l 55

Energy#45_p55,57_Pro3.indd 55

7/17/12 11:36 PM


Energy#42_p9_Pro3.ai

1

4/23/12

10:39 PM


Human Hampster Wheel for Energy

Green Wheel เปนเครือ่ งออกกําลังกาย ที่ แ ปลงพลั ง งานจลน ที่ ผ ลิ ต จากมนุ ษ ย เ ป น ไฟฟ า ซึ่ ง ก็ คื อ การออกกํ า ลั ง กายนั่ น เอง โดยพลังงานจลนจะถูกแปลงเปนกระแสไฟฟา นํ า ไปเก็ บ ไว ที่ แ บตเตอรี่ เ พื่ อ นํ า ไปใช ป ระโยชน ตอไป โดยอาจจะนําไปใชกบั ไฟถนนหรือไฟจราจร ซึ่งนักออกแบบ Nadim Inaty ไดจินตนาการวา เราอาจจะติดตั้งมันไวยังสวนสาธารณะที่มีผูมา ออกกําลังกาย เพือ่ ใหเราสามารถออกกําลังกาย ไปพรอมกับการผลิตกระแสไฟฟาไดดวยนั่นเอง นับวาเปนไอเดียที่นาสนใจ แตดูแลวมันก็คลาย ลอสําหรับวิ่งออกกําลังกายของหนูแฮมสเตอร จริงๆนั่นละ

Waste Barrel Trade

สมมุติวา คุณอยูในสถานการณที่คุณมีนํ้าสะอาดที่ ใชการไดเพียงเล็กนอยหรือแทบ ไมมเี ลย คุณไมมสี ถานทีอ่ ยางหองนํา้ ใหใช และยังอยูในยานชุมชนที่ ไมฐานะยากจนก็ถงั แตก กันไปเลย คุณจะทํายังไงดีนะ คุณตองหาทางกําจัดสิ่งปฏิกูลพวกนี้ ไมใชแคนั้นดวย ทางที่ จะทําใหสงิ่ ปฏิกลู เหลานีก้ ลายเปนพลังงาน สิง่ ทีน่ กั ออกแบบทีช่ อื่ Noa Lerner ไดสรางขึน้ ก็เปนหนึ่งในวิธีทําเรื่องพวกนั้นใหเกิดขึ้น เพียงแคคุณหมุนถังภาชนะบรรจุของเหลว ที่เต็มไปดวยอุจจาระไปตามถนน แลวนําไปแลกกอนจะไปสนุกกันตอ นี่แหละ X-Runner ถ า จะให พู ด ถึ ง รายละเอี ย ดอี ก หน อ ยก็ คื อ ถั ง บรรจุ ข องเหลวปฏิ กู ล แต ล ะอั น พวกนี้ จะถู ก ป ด ผนึ ก และเคลื อ บชั้ น นาโนเพื่ อ ที่ จ ะให พ วกมั น สามารถใช ไ ด เ ป น เวลา หนึ่ ง สั ป ดาห ต  อ ครั้ ง โดยไม ต  อ งทํ า ความสะอาดหรื อ ปล อ ยของเสี ย ออกมาก อ น เมื่ อ ถึ ง เวลาที่ จ ะปล อ ยของเสี ย ออกมา ถั ง บรรจุ ข องเหลวพวกนี้ จ ะถู ก นํ า ไปยั ง ฐานผลิ ต แก ส ชี ว ภาพในท อ งถิ่ น โดย ตัวบุคคลเองหรือโดยบรรดาผูบริการ ขยะจะถูกนําไปเปลี่ยนเปนพลังงานในรูปของแกสหุงตม นํ้ารอนสําหรับอาบ หรือแมแต พลังงานไฟฟา ทั้งหมดนี้พลังงานตางๆ จะถูกผลิตขึ้น จากกระบวนการยอยสลายขยะชีวภาพจากมนุษย ในฐานผลิตแกสชีวภาพ โปรเจคนี้ ไดถกู พัฒนาเปนพิเศษสําหรับเพือ่ ทวีปอินเดีย ทีซ่ งึ่ สิง่ อํานวยความสะดวกพืน้ ฐานอยางหองนํา้ ในบานขาดแคลน แมแตใน พื้นที่ตัวเมืองที่พัฒนาแลวก็ตาม

August 2012 l 57

Energy#45_p55,57_Pro3.indd 57

7/17/12 11:36 PM


Green Space โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

สนพ. ดึง ครู -นักเรียน ทัว่ ประเทศ ประกวดแผนประหยั ด พลั ง งาน

เป น ที่ ท ราบกั น ดี ว  า สถานการณ ด  า นพลั ง งานในป จ จุ บั น ทั้ ง เรื่องวิกฤตราคานํ้ามันในตลาดโลกและแหลงนํ้ามันสํารองทั่วโลกลดลง แตมูลคาการใชพลังงานยังคงเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง และเพื่อใหการ ประหยัดพลังงานเปนไปอยางยั่งยืน การจัดกิจกรรมรณรงคไปยังกลุม เยาวชนซึ่งเปนกําลังสําคัญของประเทศในการลดใชพลังงานจึงมีความ สําคัญ เพราะสามารถขยายผลไปยังบุคคลใกลชิดอยางไดผล ดวยเหตุนี้เอง สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน จึงไดจัดโครงการ “Energy Planning Gang” ภายใตแนวคิด สงเสริมและสนับสนุนการรณรงคประหยัดพลังงานสู สาธารณชน โดยมีเปาหมายใหความรูเรื่องการวางแผนเพื่อการอนุรักษ พลังงานใหเกิดการใชพลังงานในโรงเรียนหรือชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อปลุกจิตสํานึกใหเกิดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการประหยัดพลังงาน แกเยาวชน ซึ่งเปนวัยที่เหมาะสมในการปลูกฝงใหรูจักวิธีประหยัดพลังงาน โดยเริ่มตนจากสิ่งใกลๆ ตัว และสามารถนํามาใชในชีวิตประจําวันได เพราะ ถือวาเปนสิ่งสําคัญที่จะนําไปสูการสรางวินัยที่ดี ในการประหยัดพลังงาน ตั้ ง แต เ ยาว วั ย อี ก ทั้ ง สามารถเรี ย นรู  เ ข า ใจ รวมถึ ง ช ว ยปรั บ เปลี่ ย น พฤติกรรมการใชพลังงานในชีวิตประจําวัน ซึ่งเปนผลนําไปสูการประหยัด พลังงานอยางเปนรูปธรรมยิ่งขึ้น ดั ง นั้ น สนพ.จึ ง เป ด โอกาสให นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 -5 ทั่วประเทศ ที่มีความคิดสรางสรรค ใสใจเรื่องพลังงาน รวมเปน ส ว นหนึ่ ง ในการส ง แผนงานประกวดการวางแผนงานการจั ด การ ดานอนุรักษพลังงานในโรงเรียนและชุมชน โดยผูสงผลงานจะตองสงเปน

ทีมจากโรงเรียนเดียวกันประกอบดวยนักเรียน 3 คน อาจารยที่ปรึกษา 1 คน ทั้ ง นี้ ก ารประกวดแบ ง เป น 2 รอบ รอบแรก ประกวด “แผนอนุรักษพลังงานในโรงเรียนของฉัน” โดยผูที่ผานการคัดเลือก 50 ทีม จะไดเขารวมกิจกรรมคายพลังงานและทัศนศึกษาเยี่ยมชมโครงการ ดานพลังงาน เปนเวลา 3 วัน 2 คืน และมีสิทธิประกวดตอในรอบสุดทาย นั่นคือการประกวด “แผนอนุรักษพลังงานในชุมชนของเรา” ซึ่งทีมที่ ผานเขารอบ 5 ทีมสุดทาย จะไดรับรางวัลเปนทุนการศึกษา มูลคารวมทั้ง สิ้น 140,000 บาท พรอมโลเกียรติยศจาก สนพ. หมดเขตสงแผนงาน วันที่ 20 สิงหาคม 2555 นั ก เรี ย น-ครู อาจารย ที่ ส นใจสามารถดู ร ายละเอี ย ดและ ดาวนโหลดใบสมัครไดที่ www.eppo.go.th หรือ www.facebook. com/EPGang

58 l August 2012

Energy#45_p58_Pro3.indd 58

7/24/12 12:56 AM


“เดอะพลั ส ”

โปรเจ็ ก ต ดี . .ที่ ต  อ งบอกต อ

โปรเจ็กต เดอะพลัส โดยฟลิปส นัน้ เกิดขึน้ เพือ่ รวมฉลองครบรอบ 60 ป ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ในประเทศไทย ในป 2555 นี้ โอกาสดี นี้ เ องทํ า ให ฟลปิ สคดิ โครงการ “เดอะ พลัส” ขึน้ มา หานั ก คิ ด นั ก พั ฒ นาสุ ข ภาพและ คุณภาพชีวิตของคนไทยใหดีขึ้น โดย เซ็ตหัวขอในการประกวดขึน้ มา 3 หัวขอ ดังนี้ 1.การยกระดับเมืองใหเปนเมือง วิโรจน วิทยาเวโรจน นาอยู (Livable Cities) 2.การสงเสริม ผูบ ริโภคอยูอ ยางมีคณ ุ ภาพ (Healthy Living) และ 3.การสงเสริมให คนไทยเขาถึงการบริการทางสุขภาพใหดขี นึ้ (Access to Healthcare) โดยไอเดียชนะเลิศจากทั้ง 3 หัวขอนี้จะผานการคัดเลือกโดยคณะกรรมการ ผู  ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละผู  เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด า นที่ ฟ  ลิ ป ส เ ชิ ญ มาร ว มตั ด สิ น รวมถึงคะแนนโหวตจากสาธารณชน โดยฟลิปสจะนํา 3 ไอเดียชนะเลิศนี้ มาสานตอสรางไอเดียเหลานั้นใหเกิดเปนโปรเจ็กตจริง นําสูการปฏิบัติ อยางเปนรูปธรรม โดยจะทํางานรวมกับองคกรทั้งภาครัฐและเอกชน ที่เกี่ยวของเพื่อทําใหโครงการเปนประโยชนสูงสุดแกคนไทยทั้งประเทศ คุณวิโรจน วิทยาเวโรจน ประธานและกรรมการผูจ ดั การ บริษัท ฟลิปสอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา โปรเจ็ ก ต เ ดอะพลั ส จั ด ทํ า ขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ สร า ง สุขภาพและชวยพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของคนไทยใหดีขึ้น โดยสนับสนุนใหคนไทยเขามามีสวนรวมกับฟลิปส เพื่อสรางใหเมืองนาอยูมากยิ่งขึ้น (Livable Cities) สงเสริมใหคนไทยใช ชีวิตอยางมีคุณภาพ (Healthy Living) และชวยใหคนไทยเขาถึงการบริการ ดานสุขภาพมากยิ่งขึ้น (Access to Healthcare) ซึ่งตลอดระยะเวลา 15 สัปดาหที่ผานมา มีผูสงไอเดียทั้งสิ้นถึง 438 ไอเดีย ภายใต 3 หัวขอนี้ ผานทางเว็บไซตของฟลิปส “ประเทศไทยในปจจุบนั มีการพัฒนาไปอยางรวดเร็ว การเติบโตของ สั ง คมเมื อ งก อ ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงด า นไลฟ ส ไตล ข องคน ซึ่ ง ส ง ผลตอสุขภาพและคุณภาพชีวิต ฟลิปสมีความมุงมั่นที่จะนํานวัตกรรม

ทีม่ คี ณ ุ คามาชวยพัฒนาสุขภาพ และคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนไทย ให ดี ยิ่ ง ขึ้ น เห็ น ได จ ากการ ทํ า โปรเจ็ ก ต “เดอะพลั ส ” ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค ที่ จ ะช ว ย พัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวติ ของคนไทยดียิ่งขึ้น และในปนี้ จะครบรอบ 60 ป การดําเนินธุรกิจในประเทศไทย บริษัทรูสึกภูมิใจเปน อยางยิ่งที่ ไดมีโอกาสยืนอยูเคียงคนไทยเพื่อชวยดูแลสุขภาพและชีวิตความ เปนอยูที่ดีของคนไทย” สําหรับผูชนะเลิศ 3 ไอเดียจากโปรเจ็กตเดอะพลัสนี้จะถูกนํามา สรางใหเปนจริง ไดแก • ผูชนะเลิศประจําหัวขอ เสนทางสุขภาพดี ไดแก คุณกันย กังวาน สายชล ชื่อไอเดีย “ศูนยบริการตรวจวัดคาพารามิเตอร พื้นฐานทาง สุขภาพเคลื่อนที่ พรอมใหคําแนะนําเบื้องตน” • ผูช นะเลิศประจําหัวขอ เมืองนาอยู ไดแก คุณอภิชาติ แผประเสริฐ “แสงสวางเพื่อสุขภาพและชีวิตที่ดีขึ้น” • ผูชนะเลิศประจําหัวขอ อยูอยางมีคุณภาพ ไดแก คุณศศกรณ เลียวสงวน ชื่อไอเดีย “Healthy Living Application” ไอเดียทั้ง 3 จะถูก นํามาสรางใหเปนรูปธรรม โดยฟลิปสจะเริ่มวางแผน แ ล ะ ดํ า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ตั้ ง แต เ ดื อ นกรกฎาคม นี้ เ ป น ต น ไป เดอะพลั ส โปรเจ็ ก ต เ ป ด ตั ว แล ว ในประเทศอินโดนีเซียและมี แผนที่จะจัดทําตอเนื่องไปในประเทศตางๆ ทั่วทั้งเอเชียแปซิฟก เดอะพลัส โปรเจ็กตเปนอีกหนึ่งโครงการจากฟลิปสที่แสดงถึง ความมุ  ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นาสุ ข ภาพและคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชากรทั่ ว ทั้ ง เอเชียแปซิฟก และแนนอนวาโครงการดี ๆ แบบนี้มีแผนขยายตออีก คลิ ก เข า ไปดู ข  อ มู ล เตรี ย มรอส ง ประกวดครั้ ง ต อ ไปได ที่ นี่ เ ลยครั บ ผม www.philips.com/plus August 2012 l 59

Energy#45_p59_Pro3.indd 59

7/25/12 1:44 AM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

การกําหนดพื้นที่อพยพ และตองแสดงความรับผิดชอบตออุบัติภัยในทันที โดยการสื่อสารที่เขาใจงายและมีมาตรการรองรับ ที่จะตองดําเนินการในทันที เชน การอพยพ และการจัดการเหตุการณอยางมีประสิทธิภาพ เปนบทพิสูจน ความเปนผูน าํ ในการแกไขปญหา ในลําดับตอไป คือการฟน ฟูสภาพ การเยียวยา ประชาชนที่ ไดรบั กระทบอยางมีประสิทธิภาพและมีระบบ ดวยเหตุและผล กําหนด พื้นที่ที่ ไดรับผลกระทบตามความเปนจริง ทั้งนี้ตองแสดงใหเห็นวาการฟนฟู และมาตรการที่ตามมามีผลตอการเยียวยาประชาชนไดอยางแทจริง จากมุมมองการแกไขตามลําดับเหตุการณกลาวคือ ในภาวะการณที่ เกิ ด ขึ้ น และหลั ง การเกิ ด เหตุ การจั ด การที่ เ ป น ระบบและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จึงมีความจําเปน บทความนี้จึงเปนการอยากใหหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ หามาตรการปองกัน และเปนกรณีศึกษาที่ควรถอดบทเรียนการจัดการตอ สภาพแวดลอม ประชาชน ที่อยูโดยรอบ

มุมมองการจัดการอุบัติภัย จากโรงงานอุ ต สาหกรรม จากกระแสการพัฒนาโครงการอุตสาหกรรมขนาดใหญ โรงกลั่นนํ้ามัน อุตสาหกรรมปโตรเคมี ที่มีความเสี่ยงจากการรั่วไหลสารเคมี และจากขาวการ ระเบิดของโรงกลัน่ นํา้ มัน ทีเ่ กิดขึน้ ในเขตเมืองใหญในเขตกรุงเทพมหานคร ชุมชน ไดรับผลกระทบอยางรุนแรงและสรางความตระหนกตอการระเบิดหรือการ รั่ ว ไหล ที่ ป ระชาชนรั บ รู  แ ละสั ม ผั ส ได จากการที่ รั ฐ บาลให ค วามสํ า คั ญ ต อ การจั ด การป อ งกั น การรั่ ว ไหลสารเคมี การควบคุ ม กํ า กั บ ดู แ ล ความปลอดภั ย ของโรงงานอุ ต สาหกรรม การปล อ ยนํ้ า เสี ย เคมี รั่ ว ไหล ลงแหลงเก็บนํ้า เชน ปลาตายจํานวนมหาศาลที่ลําตะคอง จังหวัดนครราชสีมา จําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการประเมินความเสี่ยงภัย การจัดการสิ่งแวดลอม จากอุบตั ภิ ยั จากโรงงานอุตสาหกรรม ไมวา จะเกิดจากตัวโรงงาน กระบวนการผลิต การขนส ง ขนถ า ย ขนาดโรงงานขนาดเล็ ก หรื อ ใหญ ก็ ต  อ งมี ม าตรฐาน การจัดการสิ่งแวดลอมในภาวะฉุกเฉินและฟนฟูสภาพ อยางมีประสิทธิภาพ และหากจะคิ ด ถึ ง การพั ฒ นา โดยเฉพาะมุ  ง หวั ง ให ดํ า เนิ น การตามนโยบาย และแผนงานการลงทุ น ในขณะนี้ กรณี เ หตุ ก ารณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ของการระเบิ ด ของโรงกลัน่ นํา้ มันในเขต กรุงเทพมหานคร จะตองใชงบประมาณจํานวนมหาศาล หลายพันลานในการแกไขปญหาที่จะตามมา จึงเปนบทเรียนที่จะตองทบทวน

ขอเสนอในการดําเนินการในภาวะอุบตั ภิ ยั ทีเ่ กิดขึน้ ในหวงวิกฤติการณการรั่วไหลสารเคมีหรือการเกิดระเบิดจากโรงงาน อุตสาหกรรม ในอุบัติเหตุจากการขนสงสารเคมี ตองมีแผนรองรับกับปญหา ตางๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยเฉพาะการสือ่ สารเพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ จากภาคประชาชน ในชุมชนที่อยู ใกลเคียง เชน กรณีเมื่อแรกเกิดระเบิดตองมีการชี้แจงสาเหตุ 60 l August 2012

Energy#45_p60-61_Pro3.indd 60

7/17/12 11:25 PM


3.การจัดทํามาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ตองเปนมาตรการ ที่ ต อบสนองต อ การเปลี่ ย นแปลงในระบบพื้ น ที่ ทั้ ง ผลกระทบที่ เ ฉี ย บพลั น การรั่วไหลสารเคมี ที่มีความชัดเจนตอขอมูลสารเคมีการรักษา ชวยเหลือ ที่ถูกตามหลักวิชาการ เชน การมีพื้นที่กันชน (Buffer zone) การกําหนดการใช ประโยชนที่ดิน คุณภาพชีวิต และระบบนิเวศน ทรัพยากรธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลง ตองมีมาตรการรองรับไดจริงทั้งเหตุการณฉุกเฉินและการชวยเหลือในระยะยาว โดยเฉพาะการฟนฟูระบบนิเวศนและแหลงธรรมชาติที่สูญเสียไปใหกลับสภาพ ความอุดมสมบูรณเชนเดิม

ในวิกฤติการณเหลานี้ เปนโอกาสที่รัฐบาลจะพิจารณาหามาตรการ ปองกันในอนาคตและแกไขปญหาอยางมีประสิทธิภาพ ชุมชนและโรงงานควร อยู  ร  ว มกั น อย า งมี ค วามสุ ข และชี้ ให เ ห็ น ถึ ง มาตรการต า งๆ ที่ ค วรจะมี สรางความเชื่อมั่นตอการรับสถานการณที่อาจจะเกิดขึ้นได ในอนาคต และ ต อ งยอมรั บ ว า ประเทศไทยเรายั ง ต อ งพั ฒ นาระบบการวิ เ คราะห ผ ลกระทบ สิ่งแวดลอม การใชเครื่องมือประเมินผลกระทบที่มีการพัฒนามากกวาที่เปนอยู และที่สําคัญคือการสรางมาตรฐานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมใหเปนที่ ยอมรับมากกวานี้ แมจะเปนเครื่องมือหนึ่งในการจัดการสิ่งแวดลอมที่ปจจุบัน ใช กั น สํ า หรั บ โครงการขนาดใหญ แต ยั ง เชื่ อ มั่ น ว า หากมี ก ารสื่ อ สารที่ ดี การปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบ มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ก็จะเกิดผลดีในปจจุบันและอนาคต โดยเฉพาะความศรัทธาและความเชื่อมั่นจาก ภาคประชาชน องคกรพัฒนาเอกชนตางๆ

1.ควรทบทวนระบบการใหขอมูลประชาชนในระดับพื้นที่ ที่ ไดรับ ผลกระทบ อย า งแท จ ริ ง และมี ค วามชั ด เจนในส ว นของผลกระทบต า งๆ ที่จะเกิดขึ้น ไมวาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต สุขภาพ ความเปนอยู ตลอดจน การเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศน แหลงธรรมชาติตางๆ ที่มีความสัมพันธกันกับ อุตสาหกรรม และตอบรับขอมูลจากภาคประชาชนที่ตองการสื่อสารใหรับทราบ ความเดือดรอน ผลตอสุขภาพ ภาวะการเปลี่ยนแปลงในระดับพื้นที่ 2.ระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ควรทบทวนมีองคกร รับผิดชอบที่เปนกลาง คงไมใชตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 67 วรรคสองที่กําหนด องคกรอิสระดานสิ่งแวดลอมขึ้นเทานั้น ในการพิจารณาระบบการประเมิน ผลกระทบสิ่ ง แวดล อ มต อ งใช ห ลั ก วิ ช าการ มี ก ติ ก าที่ ชั ด เจนในการตั ด สิ น การประเมินผลกระทบทีเ่ ปนระบบ ของทางวิชาการมากกวาใชความรูส กึ โดยเฉพาะ ความเสีย่ งภัยตอสุขภาพทีจ่ ะเกิดขึน้ และการเยียวยาตอประชาชนที่ ไดรบั ผลกระทบ

4.มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดลอม เปนประเด็นตามมา หลังจากการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมแลว ตองจับประเด็นที่กําหนดเปน มาตรการและกําหนดเปนมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ที่ตรงตามผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งตองเปนการติดตามเพื่อชี้ปญหาที่ เกิดขึน้ ในอนาคตทัง้ การกอสราง การดําเนินการและการฟน ฟูสภาพ เชน พืน้ ทีท่ มี่ ี การรั่วไหลจากสารเคมี ตองพิสูจนและติดตามคุณภาพสิ่งแวดลอมอยางใกลชิด ใหประชาชนมีสวนรวมในการติดตามตรวจสอบและรับทราบผลการติดตาม ตลอดจนทําระบบเตือนภัยอยางสมบูรณ ที่แสดงใหเห็นถึงสภาพผลกระทบ สถานภาพของมลพิษที่มีผลตอสุขภาพ ดังนั้นเพื่อตอบสนองความตองการลงทุนและการพัฒนาตามนโยบาย ของรัฐบาลตองใหความสําคัญตอผลกระทบที่เกิดขึ้น และกําหนดมาตรการ ที่เหมาะสมในการจัดการสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรมที่อยูในชุมชนมีผลกระทบตอ สุขภาพประชาชน คงตองโจทยความตองการใชงบประมาณมหาศาลในการ พัฒนาพรอมกับการลงทุนในการปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง จึ ง อยากจะให พิ จ ารณาและมี ค วามสํ า นึ ก ต อ การพั ฒ นาในอนาคตที่ ยั่ ง ยื น ใหประชาชนอยูอยางมีความสุข อยูรวมกับโรงงานอุตสาหกรรมอยางเชื่อมั่น ในความปลอดภัยมากกวานี้

เอกสารอางอิง สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คู มื อ การจั ด ทํ า รายงานการวิ เ คราะห ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล อ ม กรุงเทพฯ 2554 กรมควบคุมมลพิษ เอกสารเผยแพร การจัดการสารอันตราย รั่วไหล โรงงานอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ 2554 August 2012 l 61

Energy#45_p60-61_Pro3.indd 61

7/17/12 11:25 PM


0 Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

ขยะเศษอาหาร…

http://jcwinnie.biz/wordpress/?p=7545

แหลงขุมพลังงานและแรธาตุ

สืบเนื่องจากการที่หลายประเทศทั้งในยุโรปและในเอเซียไดมีการผลักดัน นโยบายลดปริมาณขยะมูลฝอยจากการทิง้ ทีจ่ ะไปสูก ารฝงกลบใน landfill หรือหลุม ฝงกลบขยะใหนอยที่สุดที่เรียกกันวานโยบาย “Zero landfill” จะเห็นไดวาทิศทาง ของแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยของชุมขนจําเปนตองสงเสริมการคัดแยกและ ใชประโยชนขยะมูลฝอยใหมากทีส่ ดุ กอนทีน่ าํ ขยะมูลฝอยที่ไมสามารถใชประโยชนไดแลว ในปริมาณทีน่ อ ยทีส่ ดุ ไปสูก ารฝงกลบขยะ และจากรายงานของสํานักรักษาความ สะอาดกรุงเทพมหานคร 2541 พบวาขยะของเสียทีก่ รุงเทพมหานครเก็บรวบรวม ไดประกอบดวยเศษอาหารมากทีส่ ดุ ถึงรอยละ 44.28 ทีเ่ หลือเปนพลาสติก กระดาษ ใบไม แกว โลหะ หนัง ยางและอื่นๆ ซึ่งจากองคประกอบดังกลาวชี้ ใหเห็นวาขยะ เศษอาหารที่เหลือจากการประกอบอาหารและรับประทานสวนใหญถูกทิ้งรวมกับ ขยะชุมชนทําใหเกิดการเนาเหม็นและเปนแหลงเพาะพันธุเชื้อโรค ขยะเศษอาหารเปนขยะที่เกิดจากการประกอบอาหารและสวนที่เหลือจาก การรับประทานตามอาคารบานเรือนทั่วๆไป โรงอาหาร โรงแรม รานอาหารและ สถานประกอบการตางๆ ประกอบไปดวยเศษขาว เนื้อสัตว นํ้ามัน พืชผัก ผลไม เปนตน ของเสียเศษอาหารเหลานี้เกิดการยอยสลายไดงาย มีการบูดเนา และ กอใหเกิดกลิ่นเหม็น เนื่องจากมีของแข็งระเหย ที่มีปริมาณสูงประมาณ 85-95 เปอรเซ็นต และมีปริมาณความชื้นประมาณ 75-85 เปอรเซ็นต การกําจัดขยะเศษ อาหารในปจจุบันสวนใหญมีการทิ้งรวมไปกับขยะชุมชนและนําไปฝงกลบรวมกับ ขยะของเสียอื่น เชน เศษกระดาษ เศษแกว พลาสติก ไม โลหะ เปนตน ไมไดมีการ คัดแยกออกมากอ น ซึง่ กอใหเกิดปญหาตา งๆ ตามมามากมาย เชน เกิดกลิน่ เหม็น รบกวนมนุษย เปนแหลงเพาะพันธุแมลงและเชื้อโรค มีการปลดปลอยกาซตางๆ สูสิ่งแวดลอมทําใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก ปนเปอนลงสูแหลงนํ้าใตดิน

และตองใชพื้นที่ในการฝงกลบมาก นอกจากนี้การนําขยะเศษอาหารไปเลี้ยงสัตว อาจทําใหเกิดอันตรายแกสัตวเลี้ยงและผูบริโภคสัตวเลี้ยงนั้นได ถาในเศษอาหาร มีเชื้อโรคปะปนอยู หากแตละแหลงที่เกิดขยะเศษอาหารสามารถแยกแยะและนําไป ใชประโยชนอยางอื่นไดจะทําใหขยะชุมชนลดนอยลง สงผลใหปญหาการจัดการ และปญหาอื่นๆ ที่เกิดจากขยะลดนอยลงตามไปดวย ขยะเศษอาหารในประเทศไทยสวนใหญประกอบดวยสารอินทรียท สี่ ามารถ ถูกยอยสลายได จึงมีความเปนไปไดที่แตละแหลงจะทําการคัดแยกเศษอาหาร ไปดําเนินการจัดการตอไปดวยวิธีการหมักปุยหรือวิธีการหมักแบบไรออกซิเจน เพื่อผลิตกาซชีวภาพใชเปนพลังงานทดแทน สําหรับการหมักแบบไรอากาศ

http://www.cleanbiz.asia http://beztdmfarming.blogspot.com/2011/02/beztdm.html

62 l August 2012

Energy#45_p62-63_Pro3.indd 62

7/19/12 11:04 PM


(anaerobic digestion) เปนเทคโนโลยีหนึ่งที่ ใชในการบําบัดขยะอินทรียและได กาซชีวภาพซึ่งนํามาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานความรอน ไอนํ้า และ ไฟฟา การหมักขยะอินทรียในระบบไรอากาศโดยใชแบคทีเรียจะไดกาซชีวภาพซึ่ง ประกอบดวยกาซมีเทน คารบอนไดออกไซด และกาซอื่นๆ อีกเล็กนอย เปอรเซ็นต ของมีเทนในกาซชีวภาพโดยทั่วไปจะอยูในชวง 60-70% กระบวนการหมักชวย ลดปริมาณสารอินทรียและไดกาซชีวภาพ นอกจากนี้นํ้าหมักที่ ไดจากการหมัก กาซชีวภาพมีแรธาตุที่เปนประโยชน สามารถนําไปใชประโยชนเปนปุยนํ้านําไปใช ในทางเกษตรตอไปได

กรณีศกึ ษาการคัดแยกและใชประโยชนขยะเศษอาหารจาก โรงอาหารมาผลิตกาซชีวภาพของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

โครงการนี้ ไดมีการออกแบบติดตั้งระบบที่โรงอาหารของหอพักนิสิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งมีปริมาณเศษอาหารเกิดขึ้นเฉลี่ยวันละ 200-250 กิโลกรัม เปนขยะอินทรียที่มีประโยชนและมีศักยภาพในการนํามาใชเปนวัตถุดิบ ในการผลิตกาซชีวภาพ ถาหากขยะอินทรียเหลานี้ถูกนําไปทิ้งรวมกับขยะชุมชน ก็จะกอใหเกิดปญหาดานขยะมูลฝอยชุมชน การเกิดสภาวะโลกรอนจากการยอย สลายขยะและการปลดปลอยกาซเรือนกระจกออกสูสิ่งแวดลอมโดยตรง ดังนั้น ทางสํานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน จึงไดสนับสนุนโครงการ ผลิตกาซชีวภาพจากเศษอาหารของโรงอาหารนี้เพื่อใชประโยชนวัสดุเหลือใชและ การนํากาซชีวภาพทีผ่ ลิตไดมาใชประโยชน ทดแทนพลังงานความรอนที่ใชสาํ หรับ หุงตมตอไป โดยขนาดของถังหมักขยะเศษอาหารนี้สามารถรองรับปริมาณเศษ อาหารไดมากสุดถึง 250 กิโลกรัมตอวัน มีระยะเวลากักเก็บถึง 30 วันในการ ยอยสลายขยะอินทรีย รูปแบบเทคโนโลยีที่ใชเปนแบบเทคโนโลยีถงั หมักไรอากาศแบบแหงทีม่ กี าร เวียนตะกอน (Dry anaerobic digester with sludge recirculation) เปนระบบ ที่สามารถรับปริมาณของแข็งในของเหลวไดมากกวา 25% TS (Total Solid) มีความเหมาะสมสําหรับการบําบัดขยะอินทรียท มี่ สี ดั สวนของแข็งคอนขางสูงจาก โรงอาหารไดโดยตรงโดยอาศัยการทํางานของเชือ้ จุลนิ ทรียแ บบไมใชออกซิเจนใน การยอยสลายสารอินทรียในเศษอาหารใหมีขนาดเล็กลงกลายเปนปุยนํ้าชีวภาพ และผลผลิตหลักที่ ไดเปนกาซชีวภาพ (Biogas) ซึ่งมีสัดสวนเปอรเซ็นตของกาซ มีเทนมากกวา 60% สามารถ นํ า ก า ซชี ว ภาพที่ ผ ลิ ต ได ไ ป ใช ป ระโยชน เ ป น พลั ง งาน ทดแทนในการหุงตมตอไป 1) ระบบการเตรียม ขยะอิ น ทรี ย  ก  อ นเข า สู  ถั ง หมั ก สํ า หรั บ การเตรี ย ม ขยะอิ น ทรี ย  ข นาดใหญ ใ ห มี ขนาดเล็กลงโดยผานเครื่อง บดอั ด และลํ า เลี ย งเข า สู  ถั ง หมักกาซชีวภาพตอไป 2) ระบบถั ง หมั ก สํ า หรั บ ผลิ ต ก า ซชี ว ภาพ สําหรับทําหนาที่ยอยสลาย ใหเกิดกาซมีเทน โดยมีการก วนผสมใหเกิดการสัมผัสกัน

ระหว า งจุ ลิ น ทรี ย  กั บ สาร อินทรีย นอกจากนีจ้ ะมีการ หมุนเวียนตะกอน เพื่อชวย เพิม่ ประสิทธิภาพการสัมผัส กัน ของจุลินทรียกับสาร อินทรียทําใหสามารถผลิต กาซชีวภาพได รูปการนํากาซชีวภาพไปใชประโยชน เปนเชื้อเพลิงในการหุงตม 3) ระบบถังเก็บกาซชีวภาพ ทําหนาที่เก็บกาซชีวภาพแบบ Floating drum ซึ่งมีความปลอดภัยในดานแรงดันกาซ 4) ระบบการนํากาซชีวภาพไปใชประโยชน มีการตอทอนําสงกาซ ชีวภาพไปใชประโยชน ทดแทนการใช กาซหุงตม จากการเดินระบบมาตั้งแตชวงปลายป พศ.2553 มาถึงปจจุบัน พบวา ระบบถังหมักไรอากาศแบบแหงที่มีการเวียนตะกอนที่พัฒนาขึ้นมานั้น สามารถ ลดคาปริมาณของแข็งในเศษอาหาร (Total solid) ที่เขาระบบอยู ในชวง 27,000-35,000 มิลลิกรัมตอลิตร ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงถึง 75-80% แสดงใหเห็นวาระบบสามารถทํางานไดผลเปนอยางดี และยังมีประสิทธิภาพการ บําบัดสารอินทรียในรูปของคาซีโอดีไดสูงถึง 80 % สําหรับปริมาณกาซชีวภาพ ที่ ไดอยูที่ 8.5-14.5 ลูกบาศกเมตรตอวัน และกาซชีวภาพที่เกิดขึ้นมีปริมาณ กาซมีเทนคอนขางคงที่ประมาณรอยละ 60-65 ทางโรงอาหารไดมีการนํากาซ ชีวภาพที่ ไดไปใชประโยชนในการหุงตม ปรุงอาหารและสามารถทดแทนการใช กาซหุงตม (LPG) บางสวนไดดังแสดงในรูป นอกจากนี้ปุยนํ้าที่ ไดจากการหมัก ขยะเศษอาหารมีคุณคาแรธาตุหลงเหลืออยูสามารถนําไปใชประโยชนในการปลูก ตนไมและใชในการเกษตรตอไป ดั ง นั้ น จ ะ เ ห็ น ไ ด  จ า ก ตัวอยางกรณีศึกษาที่แสดงให เห็นวา ขยะอินทรียเศษอาหาร สามารถคัดแยกและใชประโยชน ไดเปนอยางดี ยังสามารถเปน แหล ง ขุ ม พลั ง งานทดแทนของ ชุ ม ชนและมี แ หล ง แร ธ าตุ ที่ มี ประโยชน ต  อ ภาคเกษตรกรรม ถึงเวลาแลวที่ทางภาครัฐและทุก ภาคสวนตองชวยกันจัดการขยะ อินทรียต น ทางเพือ่ ลดการทิง้ ขยะ ไปสูหลุมฝงกลบขยะ ซึ่งเปนการ จั ด การสิ่ ง แวดล อ มแบบยั่ ง ยื น เพื่อกาวสูแนวทาง Zero landfill ตอไป

ผังไดอะแกรมการทํางานของระบบผลิhttp://blog.eduzones.com/bluesky/24966 ตกาซชีวภาพจากเศษอาหาร August 2012 l 63

Energy#45_p62-63_Pro3.indd 63

7/19/12 11:04 PM


Energy Around The World USA

USA

รถเล็กชวยเดินทางคลอง

สหรัฐฯ มีแผนสงออก LNG

สภาพการจราจรติดขัดเปนกําแพงขวางกัน้ การเติบโตทางเศรษฐกิจของโลก มีการประเมินวาความเสียหายจากรถติดมีมูลคา 1 ลานลานดอลลาร อยางไร ก็ตามประเทศผูนําดานเศรษฐกิจอยางกลุมยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุนและจีนได เตรียมการเพื่อการเดินทางที่เปนมิตร ผูผลิตรถยนตรายใหญราว 16 รายกําลัง คิดผลิตรถยนตขนาดเล็กเพือ่ การเดินทางระยะทางสัน้ ๆ โดยมีแบบแลวกวา 110 รุน และผลิตออกมาแลวราว 50 รุน อีก 60 กวาแบบ ยังอยูในขั้นแนวความคิดและ วางหลักเกณฑ แตคาดวาจะออกสูต ลาดกอนป 2563 รถเหลานีถ้ กู ผลิตออกมา เพือ่ สูก บั สภาพจราจรติดขัด ชวยใหรถวิง่ คลองขึน้ ในเขตเมือง และหาทีจ่ อดรถได งายขึน้ ดวย โดยจะใชเพือ่ การเดินทางระยะทาง 1.5-25 กม. แตอาจพัฒนาใหวงิ่ ได มากขึ้นถึง 72 กม. โดย 70% ของรถพวกนี้จะขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟา ทาง Frost & Sulilvan ไดจัดการประชุมสัมมนาทางเวบไซต เรื่อง “กําเนิดของ การเดินทางอยางเหมาะสมในยุคหนา” มีผสู นใจในวงการนีเ้ ขารวมแสดงความเห็น เสนอรูปแบบและลักษณะรถที่วาดฝนไว เชน ความเร็ว ระยะเดินทาง รูปรางรถ และการจัดที่นั่ง และอาจไดรูความจริงวาทําไมผูผลิตเหลานี้ถึงกลาลงทุนกวา 300 ลานดอลลารเพือ่ พัฒนารถแบบนีท้ งั้ ทีค่ นใชรถและตลาดยังไมมคี วามแนนอน วาจะยอมรับรถแบบนี้ แตผผู ลิตเขามองจีนเปนตลาดสําคัญเพราะการเติบโตทาง เศรษฐกิจอยางรวดเร็วและเมืองตางๆ เริม่ มีการจราจรติดขัด ประกอบกับถนนเกา ที่แคบและการหาที่จอดรถยากขึ้น

สหรัฐอเมริกาตั้งเปาเปนผูสงออกพลังงานรายใหญ และเปนประเทศที่ ไม ตองพึ่งพาการนําเขาพลังงานในอีก 15 ปขางหนา โดยไดรับแรงหนุนจากการ ขยายตวของการขุดน้ํามันและกาซธรรมชาติจากชั้นหิน (Shale oil and gas) ในพื้นที่ของรัฐเพนซิลเวเนีย เท็กซัส โอกลาโฮมา นอรธดาโคตา หลุยเซียนา และ อีกหลายรัฐ ทัง้ นี้ จากการสัมภาษณระหวางนาย Clifford Krauss จากนิวยอรกไทม กับนาย Charif Souki ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและประธานของ Cheniere Energy จากเมืองฮุสตัน ซึง่ เปนบริษทั ทีเ่ พิง่ ไดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการกํากับ พลังงานกลาง (FERC) บนขอใหสรางสถานีสงออกกาซธรรมชาติเหลว (LNG) ใน Sabine Pass รัฐหลุยเซียนาสหรัฐฯ อาจจะเริ่มสงออกกาซธรรมชาติเหลว ภายในอีก 5 ปขางหนา โดยสามารถสงออกกาซธรรมชาติไดถึง 4 พันลาน ลูกบาศกฟุต/วัน ในป 2565 และอาจจะมากถึง 1.5 หมนลานลูกบาศกฟุต/วัน ใน ป 2570 เนองจากมีปริมาณสํารองกาซธรรมชาติในชั้นหินเปนจํานวนมาก นาย Souki หวังวา บริษัท Cheniere จะเริ่มสงออก LNG ไดในปลายป 2558 หรือตน ป 2559 โดยถือเปนสถานีสง ออกกาซธรรมชาติเหลวแหงแรกใน 48 รัฐตอนลาง ของสหรัฐฯ ไมเพียงแตกาซธรรมชาติที่จะมีการสงออกจากสหรัฐฯ แตยังรวมถึง ถานหินโพรเพน บิวเทน และผลิตภัณฑอน ๆ ที่ ไดจากโรงกลั่นน้ํามันดวย

ทีม่ า : RATh. News สมาคมทางหลวงแหงประเทศไทย ปท่ี 11 ฉบับที5่ เดือนพฤษภาคม 2555

ทีม่ า : หนังสือ PTT FOCUS Vol.26 No.25 พฤษภาคม 2555

Middle East

อิหรานตัดสัญญาณอินเตอรเน็ตที่คลังนํ้ามันหลังโดนไวรัส

ประเทศอิหรานไดตัดการเชื่อมตอระบบอินเตอรเน็ตของคลังนํ้ามันหลักหลายแหงในอาวเปอรเชียหลัง จากพบไวรัสที่มีชื่อวา ไวเปอร (wiper) ไดเริ่มโจมตีระบบ โดยไวรัสไดเขาไปลบขอมูลบนฮารดดิสกที่สํานักงาน ใหญของกระทรวงนํา้ มัน อยางไรก็ตาม เจาหนาทีจ่ ากกระทรวงนํา้ มันเปดเผยวา ไมมผี ลกระทบกับฝายขายนํา้ มัน ระหวางประเทศ นอกจากนี้การผลิตและการสงออกนํ้ามันก็ ไมไดรับผลกระทบเชนกัน เนื่องจากอุตสาหกรรมนี้ ไมไดพึ่งพาระบบอินเตอรเน็ต สาเหตุของไวรัสดังกลาวทําใหตองปดการใชอินเตอรเน็ตเปนวงกวาง รวมถึงระบบอินเตอรเน็ตของ กระทรวงนํ้ามันที่เชื่อมตอกับหนวยหรือเครื่องจักรที่เกี่ยวกับนํ้ามันทั้งหมด การดําเนินการ และแมแตแทน เจาะนํ้ามัน เพื่อปองกันการแพรกระจายของไวรัส นอกจากนี้เว็บไซตของหนวยงานนํ้ามันหลายแหงก็ ไดปด ลงเชนกัน แตไมเปนที่แนชัดวามีสาเหตุมาจากไวรัสหรือเปนการปดโดยกระทรวงนํ้ามันเอง จากขอมูลของ สํานักขาว Mehr รายงานวาหนวยงานที่ ไดรับผลกระทบจากไวรัสคอมพิวเตอรครั้งนี้ประกอบดวย บริษัท National Iranian Oil Refining and Distribution Company บริษัท National Iranain Gas Company บริษัท Iranain Offshore Oil Company บริษัท Pars Oil and Gas และอีกหลาย ๆ บริษัทที่ดําเนินการภายใต บริษัท National Iranian Oil Company ซึ่งเปนผูคานํ้ามันเกือบทั้งหมดในประเทศ ที่มา : หนังสือ PTT FOCUS Vol.26 No.25 พฤษภาคม 2555

64 l August 2012

Energy#45_p64-65_Pro3.indd 64

7/19/12 10:18 PM


Europe

โรมาเนียเตรียมสํารวจ Shale Gas

Europe

นักวิทยาศาสตรชาวสก็อตแลนดคนพบวิสกี้ ขับเคลื่อนรถยนต ได

ประเทศโรมาเนียเตรียมการสํารวจ Shale Gas เนื่องจากเชื่อวามีแหลง สํารองทีม่ ศี กั ยภาพตามผลการประเมินของหนวยงานบริหารงานสารสนเทศดาน พลังงานของสหรัฐฯ (US Energy Information Administration) ซึ่งประเมินวา ประเทศโรมาเนีย บัลแกเรียและฮังการีอาจจะมีปริมาณสํารองรวมกันถึง 19 ลาน ลานลูกบาศกฟุต มีบริษัทน้ํามันหลายแหงที่แสดงความสนใจที่จะเขามาดําเนินการสํารวจ Shale Gas โดยบริษัท เชฟรอน ของสหรัฐฯ ซึ่งไดรับสัมปทานพื้นที่รวมประมาณ 870,000 เฮคตาร หรือ 2.2 ลานเอเคอร ในพื้นที่ราบลุมทางฝงตะวันออกและ พื้นที่ชายฝงทะเลดําของประเทศโรมาเนีย ก็มีแผนที่จะเริ่มการขุดสํารวจในปนี้ อยางไรก็ตาม การขุดสํารวจก็กอใหเกิดกระแสคัดคานในวงกวางโดย เฉพาะหนวยงานที่ดูแลเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและนักการเมืองทองถิ่นในยุโรป ซึ่งมี ความวิตกกังวลถึงความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นไดและเทคโนโลยีที่ ใชในการผลิต Unconventional Gas ซึง่ ในประเทศโรมาเนียเองก็มคี วามกังวลเกีย่ วกับผลกระทบ ตอสภาพแวดลอมในทองถิน่ ขณะทีป่ ระเทศบัลแกเรียก็มกี ลุม ผูป ระทวงทีพ่ ยายาม กดดันรัฐบาลใหสั่งหามการใช Hydraulic Fracturing หรือที่เรียกวา Fracking ซึง่ เปนเทคโนโลยีที่ใชในการแยกกาซธรรมชาติออกจากชัน้ หิน และขอหามดังกลาว ก็นํามาซึ่งการยกเลิกใบอนุญาตสํารวจของบริษัท เชฟรอนในบัลแกเรีย

นักวิทยาศาสตรระบุวามหาวิทยาลัยเอดินเบอระ นาเปยร ในสกอตแลนด ไดจดสิทธิบัตรเชื้อเพลิงที่สามารถใชไดกับรถยนตทุกประเภท โดยไมจําเปนตอง ปรับแตงหรือดัดแปลงเครื่องยนตใหม โดยศูนยวจิ ยั เชือ้ เพลิงชีวภาพ มหาวิทยาลัย เอดินเบอระ นาเปยร ไดพัฒนาเชื้อเพลิงดังกลาวเปนเวลากวา 2 ป โดยเชื้อเพลิง ชีวภาพดังกลาวใชวัสดุที่ ไดจากกระบวนการการกลั่นวิสกี้ นั่นก็คือ เอล (เบียร ประเภทหนึ่ง) ที่เหลือในหมอกลั่น และกากธัญพืช ผลิตบูทานอล (Butanol) ซึ่ง สามารถใชเปนเชื้อเพลิงได ศาสตราจารย มารติน แทงคเนย ผูอํานวยการศูนยวิจัยเชื้อเพลิง ชีวภาพ กลาววา เนื่องจากสหภาพยุโรปไดประกาศวาเชื้อเพลิงชีวภาพควรกิน สัดสวนประมาณ 10 เปอรเซ็นตของการจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงในป พ.ศ. 2563 ดังนั้นศูนยวิจัยเชื้อเพลิงจึงเรงหาแหลงพลังงานทดแทนใหมๆ และเชื้อเพลิง ชีวภาพชนิดใหมนี้ก็สามารถตอบโจทยพลังงานทดแทน เนื่องจากเชื้อเพลิงดัง กลาวผลิตมาจากวัสดุชีวภาพ จิม มาเธอร รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน กลาววา งานวิจัย ชิน้ นีน้ บั เปนการพัฒนาทีแ่ ปลกใหม ทัง้ นี้ การใชเชือ้ เพลิงทีผ่ ลิตไดจากกระบวนการ กลัน่ วิสกีน้ บั เปนตัวเลือกใหมสาํ หรับอุตสาหกรรมพลังงานเชือ้ เพลิงชีวภาพ ซึง่ มี สวนชวยสรางเสริมเศรษฐกิจ และชวยนําพาใหสกอตแลนดไปสูเ ปาหมายดานการ อนุรักษสิ่งแวดลอม หรือ ซีโร เวสท แพลน (Zero Waste Plan)

ที่มา : หนังสือ PTT FOCUS Vol.26 No.25 พฤษภาคม 2555

ทีม่ า: http://www.energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=119&cno=3524

ฟลิปปนสพบกาซธรรมชาติในทะเลจีนใต

บริษัท ฟอรัม เอเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) ไดคนพบกาซธรรมชาติในทะเลจีนใต โดยการคนพบนี้อยูใน แหลงกาซ Sampaquita ในรีด แบงค (Reed Bank) หรือที่ทางการเรียกวาเร็กโต แบงค (Recto Bank) โดยมี ศักยภาพของกาซธรรมชาติมากถึง 20 ลานลานลูกบาศกฟุต หรือมากกวา 5 เทาของที่เคยประมาณการไวใน การศึกษาเมื่อป 2549 ที่ 3.4 ลานลานลูกบาศกฟุต สําหรับแหลงกาซธรรมชาติ Sampaquita ตั้งอยูใกลกับ แหลงกาซธรรมชาติ Malampaya ซึ่งมีขนาดใหญที่สุดในประเทศฟลิปปนสในปจจุบันและดําเนินการโดยบริษัท รอยัล ดัทช เชลล ทั้งยังอยูหางจากเกาะ Palawan ของฟลิปปนสประมาณ 148 กิโลเมตร (92 ไมล) ปจจุบัน แหลงกาซธรรมชาติ Sampaquita ผลิตกาซธรรมชาติสงใหกับโรงไฟฟา 3 แหง บนเกาะลูชอน (Luzon) ทั้งนี้ บริษัท ฟอรัม เอเนอรยี่ ถือหุนรอยละ 70 ในแหลงกาซธรรมชาติ Sampaquita ในรีด แบงค โดย ไดรับสิทธิในการสํารวจจากกรมพลังงานของฟลิปปนสเมื่อป 2553 สวนฟเล็กซ ปโตรเลียมนั้น เปนบริษัทใน เครือของบริษัทเหมืองแรชั้นนําของฟลิปปนสอยางฟเล็กซไมนิ่ง คอรป ถือหุนของฟอรัมอยูรอยละ 65

Asia

ที่มา : หนังสือ PTT FOCUS Vol.26 No.25 พฤษภาคม 2555

August 2012 l 65

Energy#45_p64-65_Pro3.indd 65

7/18/12 11:28 PM


R1_Energy#45_p66_Pro3.indd 66

7/25/12 10:12 PM


Energy Tezh

Solar “WING”

โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

บาง เบา แผงแสงอาทิตยสาํ หรับบานเรือน เทคโนโลยีดานพลังงานทดแทนกําลังกาวไปสูการพัฒนา อยางตอเนือ่ ง เพือ่ รองรับความตองการดานพลังงานของมนุษย ซึง่ นับวันจะเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะเทคโนโลยีโซลาเซลล นอกจากผลโดยตรงคือเรือ่ งของพลังงานที่ไดรบั แลว การพัฒนา ใหมคี วามสะดวกตอการใชงาน ก็ถอื เปนเรือ่ งทีต่ อ งใหความสําคัญ

ทีผ่ า นมา เทคโนโลยีเซลลแสงอาทิตย หรือ Solar cell แมวา จะไดรบั ความนิยมมากขึน้ แตกต็ ดิ ในเรือ่ งขอจํากัดหลายๆ อยาง ไมวา จะเปนขนาด และนํา้ หนักของแผงลาสุด JinkoSolar Holding หนึง่ ในผูผ ลิตผลิตภัณฑ พลังงานแสงอาทิตยชนั้ นําระดับโลก ประกาศเปดตัวแผงเซลลแสงอาทิตย ตระกูล “WING” ผลิตภัณฑแผงโซลาเซลลตระกูลใหมมรี ปู ลักษณเพรียว บางและนํา้ หนักเบา ซึง่ ถือเปนแผงโซลาเซลลทมี่ กี ารพัฒนาขึน้ อยางมาก เมือ่ เทียบกับแผงเซลลแสงอาทิตยระดับพรีเมียมรุน กอนๆ เหมาะสําหรับ ติดตัง้ ทีต่ ามบานเรือนพักอาศัยและใชในเชิงพาณิชย การออกแบบแผงเซลลแสงอาทิตยตระกูล WING คํานึงถึง องคประกอบเมื่อนําไปติดตั้งแลว เนนความโดดเดนของรูปลักษณ และความสวยงามใหมากขึ้น โดยมีนํ้าหนักเพียง 0.5 กิโลกรัมและ ความหนาเพียง 30-40 มิลลิเมตรเทานัน้ ซึง่ บางกวาผลิตภัณฑอนื่ ๆ ในประเภทเดียวกัน ทําใหเหมาะสมกับการติดตัง้ ทัง้ บนพืน้ และบนหลังคา รวมถึงการพัฒนามุมของแผงเซลลแสงอาทิตยมคี วามโคงมน ชวยให ติดตัง้ ไดอยางปลอดภัยและสะดวกสบายมากขึน้

สําหรับกลองรวมสายไฟ หรือ junction box ของแผงเซลลแสงอาทิตยในตระกูล WING ก็เปน กลองรวมสายไฟแบบ pot ที่ ไดมาตรฐานการปองกัน ระดับ IP 67 นอกจากนัน้ ยังมีพนื้ ผิวขนาดใหญทเี่ ปน ทองแดงทีช่ ว ยสลายความรอน ทําใหสามารถปกปอง สวนประกอบสําคัญๆจากนํา้ และสภาพอากาศทีเ่ ลวราย ไดเปนอยางดี นอกจากการปรับปรุงรูปลักษณภายนอกแลว แผงเซลลแสงอาทิตย WING ยังเพิ่มประสิทธิภาพ ดวยแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดผลึกรวม 60 แผง สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดสูงสุด 260 วัตต ดวยประสิทธิภาพ การแปลงพลังงาน 16.05% แผงเซลลแสงอาทิตยทุกรุนในตระกูล WING ไดรับการรับรอง IEC 2400Pa Mechanical Load Test Certificate และ ผานการทดสอบ 5400Pa Mechanical Load Test ในหองปฏิบตั กิ าร UL WTDP ของ Jinko และผลการวิเคราะหความเคน พบว า แผงเซลล แ สงอาทิ ต ย ต ระกู ล WING มีประสิทธิภาพเหนือกวาผลิตภัณฑ รุน กอนๆ และดวยขนาดและนํา้ หนักทีล่ ดลง ทําใหสามารถบรรจุแผงเซลลแสงอาทิตย ลงกลองได 6 แผน จากปกติทบี่ รรจุได เพียง 3 แผนตอกลอง ชวยใหตน ทุนดาน การขนสงลดลงอยางมาก August 2012 l 67

Energy#45_p67_Pro3.indd 67

7/17/12 1:33 AM


Vehicle Concept โดย : Bar Bier

Rimac Concept One รถไฟฟ้ากล้ามโตขุมพลัง 1,074 แรงม้า

ป จ จุ บั น ...ฝ น ของผู  ที่ ชื่ น ชอบรถยนต ร ะดั บ ซู เ ปอร ค าร แต ยั ง แอบๆ มี หั ว ใจรั ก ด า นสิ่ ง แวดล อ มอยู  ใ นจิ ต ใต สํ า นึ ก จะไมใชเรือ่ งยากอีกตอไป หากกําลังมองหารถสักคันทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ทัง้ 2 อยางไวในรถคันเดียวกัน เมือ่ ผูผ ลิตรถยนตจากโครเอเชีย “Rimac” เผยโฉม “Concept One” รถยนตพลังงานไฟฟา สายพันธุสปอรตเต็มตัว ที่พกพาแรงมาระดับพันตัวมาเขยา วงการยานยนต Rimac Concept One ถื อ เป น ยานยนต พ ลั ง งานไฟฟ า ที่ ถูกจับตามองอยางมาก โดยเฉพาะจากกลุมเศรษฐีกระเปาหนักที่ ชื่นชอบและใหความสําคัญกับเรื่องของสมรรถนะของรถเปนหลัก ซึ่ง Rimac Automobili ตนสังกัดไดชจู ดุ เดนของระบบขับเคลือ่ นทีเ่ รียกวา

ระบบ AWTV หรือ All Wheel Torque Vectoring ซึ่งเปนมอเตอร ไฟฟาซิงโครนัสประสิทธิภาพสูงจํานวน 4 ตัว แยกการทํางานอิสระ ออกเปน 2 สวน คือ มอเตอรมอเตอรไฟฟาซิงโครนัส 2 ตัว จะทําการ ขับเคลื่อนชุดลอหนา และอีก 2 ตัว จะทําการขับเคลื่อนในชุดลอหลัง ทั้งนี้มอเตอรไฟฟาซิงโครนัสแตละชุดแยกการทํางานออกจากกัน มาพรอมระบายความรอนดวยของเหลว 2 ตัว, Inverter สําหรับแปลง กระแสไฟฟา DC จากแบตเตอรี่เปน AC 2 ตัว สงผานกําลังสูชุดเกียร ขนาดกะทัดรัด 2 ตัว หรืออธิบายงายๆ ก็คือ ทุกลอจะมีมอเตอรไฟฟา เปนของตัวเอง รวมถึง Inverter และชุดเกียรดวย ด า นการออกแบบรู ป ทรงภายนอกการั น ตี ด  ว ยฝ มื อ ของ Adriano Mudri เจ า ของผลงานการออกแบบคอนเซปท ค าร

68 l August 2012

Energy#45_p68-69_Pro3.indd 68

7/17/12 1:15 AM


พลังไฟฟา Steyr Mila EV concept ให Magna International Inc. ที่สราง สีสรรมาแลวในงาน เจนีวา มอเตอรโชว ป 2009 สวนภายในเนนการออกแบบที่ เรียบงายเนนความลํ้าสมัย เปนอีกหนึ่ง ฝมือการการันตีจาก Goran Popovic อดีตทีมงาน Pininfarina หรือถายังนึก ไมออกนอกนึกถึงการออกแบบภายใน ของ McLaren MP4-12C, Ferrari Modena 360 และ Ferrari FF เพราะ เป น ผลงานการรั บ ผิ ด ชอบด า นการ ออกแบบของเขาทั้งสิ้น

จุดเดนของ Rimac Concept One ไมไดสวยเพียงแตภายนอก และภายในเทานั้น แตตรงตามคําโบราณที่วา สวยทั้งรูป จูบก็หอม โดยเฉพาะเรือ่ งของสมรรถนะอยางทีก่ ลาวเอาไวขา งตน รถคันนีบ้ รรจุ แรงมาไวอยางมหาศาลสูงสุดที่ 1,074 แรงมา แนนอนวาเปนแรงมา ที่เกิดจากพลังงานไฟฟาลวนๆ พรอมแรงบิดสูงสุด 387.2 กก.-ม. ดวยแรงมาและแรงบิด เมื่อนํามา บวก ลบ คูณ หาร กับนํ้าหนักตัว รถรวมที่ 1,650 กิโลกรัม ผลที่ ไดคืออัตราเรงจาก 0-100 กิโลเมตร/ ชั่วโมง อยูที่ 2.8 วินาทีเทานั้น แถมดวยความเร็วแบบลอยลําสูงสุด แตถูกจํากัดดวยระบบอิเลคทรอนิคไวที่ 305 กิโลเมตร/ ชั่วโมง เปน อยางไรบาง ตองขอยํ้าอีกที รถคันนี้ ใชพลังงานไฟฟาลวนๆ เทานั้น ดานแบตเตอรี่ มีขนาดความจุ 92 กิโลวัตต-ชั่วโมง โดยจะมี ระบบชารจไฟกลับขณะเบรคอีกดวย โดยระยะทางที่ทําไดตอการชารจ 1 ครั้งประมาณ 600 กิโลเมตร หรือประมาณ 373 ไมล แตก็เชน เดียวกับรถยนตที่ ใชเชื้อเพลิงประเภทอื่นๆ คือ แบตเตอรี่จะหมดชา หรือเร็วนั้น ยอมขึ้นอยูกับลักษณะการขับขี่เปนหลัก หากใชความเร็ว

สูงตลอดการเดินทาง ยอมสงผลอยางมากถาจะขับใหไดตัวเลขนี้ แตก็ใชวาจะเปนไปไมได สําหรับผูที่กําลังแอบสนใจ Rimac Concept One อยู ในใจ แลวละก็ ตองแอบกระซิบวาทางตนสังกัด Rimac Automobili จะ ผลิตออกมาในจํานวนจํากัดที่ 88 คันเทานั้น และตั้งเปาสายการผลิต รุนที่จะจําหนายจริงของอยูที่ประมาณ 10 - 15 คันตอป สวนเรื่อง ของราคาคาตัวนั้น ดวยคุณสมบัติเพียบพรอมขนาดนี้ คงตองบอก วาหายหวงเรื่องราคาเลยวาคงไมถูกเงินเหมือนถูกใจอยางแนนอน กับราคาที่เคาะไวที่ 980,000 เหรียญสหรัฐ หรือตีเปนบาทไทย โดย ไมรวมภาษีการนําเขา จะอยูท ปี่ ระมาณ 30,000,000 บาท เทานัน้

August 2012 l 69

Energy#45_p68-69_Pro3.indd 69

7/17/12 1:16 AM


Energy Test Run โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

ลองขับ “Atiker” LPG ทางออกยุคนํ้ามันแพง

กลับมาพบกันอีกครัง้ กับ Energy Test Run ฉบับนีข้ อเอาใจผูท ี่ กําลังมองหาพลังงานทางเลือกสําหรับรถยนตอกี สักฉบับ แมวา ราคา เชือ้ เพลิงครัวเรือนจะลดลงมาระดับหนึง่ แลว แตก็ไมอาจไววางใจได นัน้ ก็เพราะบานเรายังคงติดอันดับตนๆ ของการนําเขานํา้ มัน แมวา ภาค รัฐจะมีการชวยเหลือดานราคาอยูบ า ง แตคนใชนาํ้ มันเองก็ตอ งเตรียม ใจเพือ่ รับการปรับราคาขึน้ ๆ ลงๆ ของเชือ้ เพลิงเชนกัน ทางออกก็คอื พลังงานทดแทนจําพวก LPG หรือ NGV แตปญ  หาทีต่ ามมาคือ การหา อูต ดิ ตัง้ ที่ ไววางใจได เพราะปจจุบนั มีการแขงขันดานมาตรฐานกันคอน ขางมาก แตพอไปติดตัง้ มาแลวอาจไมเปนอยางโฆษณาก็ได ฉบับนีจ้ งึ ขอนําเสนอการทดสอบรถยนตทตี่ ดิ ตัง้ พลังงานทางเลือกภายใต แบรนด “Atiker” ของ บริษทั อะติกทา (ประเทศไทย) จํากัด แนนอนวาเรือ่ ง ของมาตรฐานคงไมตอ งกลาวถึง เพราะเปนแบรนดทกี่ าํ ลังติดตลาดไมนอ ย

ในดานมาตรฐานการติดตั้งระบบ LPG-NGV และการทดสอบครั้งนี้เลือก รถยนตทตี่ ดิ ตัง้ ระบบ LPG เพราะยังถือวามีปม ใหเติมคอนขางมากกวาระบบ NGV ซึง่ ทางบริษทั ฯ ไดมรี ถสําหรับทดสอบคือ โตโยตา วีออส เครือ่ งยนต ขนาด 1,500 ซี.ซี. เปนรถทีต่ ดิ ตลาดและมีผใู ชคอ นขางมาก จึงถือเปนทาง เลือกทีด่ สี าํ หรับการทดสอบครัง้ นี้ เริม่ ทีก่ ารสํารวจรูปลักษณภายนอกของรถ ปจจุบนั ตองบอกวารถทีต่ ดิ ตัง้ ระบบกาซกับที่ ไมไดตดิ ตัง้ ความแตกตางภายนกแทนเปนศูนย นอกเสียจาก สติกเกอรทรี่ ะบุวา “LPG” หรือ “NGV” เทานัน้ ซึง่ หลายคนมักมองวารถทีต่ ดิ ตัง้ แกสมาจะมีอาการทายหอย แตสาํ หรับรถทีท่ าํ การทดสอบครัง้ นี้ ไมมอี าการ ดังกลาวใหเห็นแตอยางไร เมือ่ เปดทายรถมาดูจงึ ถึงบางออ เพราะไดตดิ ตัง้ ถัง กาซแบบโดนัท ซึง่ มีขอ ดีในเรือ่ งของนํา้ หนักของถังจะเบากวาแบบแคปซูล และ ไมเปลืองพืน้ ทีเ่ ก็บของดานหลัง โดยติดตัง้ ถังกาซในตําแหนงของยางอะไหลแทน

70 l August 2012

Energy#45_p70-71_Pro3.indd 70

7/17/12 1:31 AM


เริม่ ตนการทดสอบกันเลยดีกวา โดยเสนทางนัน้ เบนเข็มไปทีแ่ หลงทอง เทีย่ ว ณ จังหวัดระยอง โดยแวะเติมกาซแบบเต็มถัง เพือ่ ปองกันเหตุฉกุ เฉิน เนื่องจากเสนทางที่จะไปเปนเสนทางมอเตอรเวย หาปมแกสเติมไดยากพอ สมควร สําหรับผูท ี่ ไมเคยใชงานรถทีต่ ดิ ตัง้ พลังงานทางเลือกนัน้ มีบา งทีจ่ ะ กลัวเรือ่ งของการทํางานระหวางนํา้ มันปกติกบั กาซ ซึง่ การใชงานก็เหมือน ปกติทวั่ ไป โดยพืน้ ฐานแลวรถยนตจะทําการสตารทเครือ่ งดวยระบบนํา้ มันเสีย กอน และเมือ่ เครือ่ งยนตทาํ งานผานที่ 2,000 รอบ ระบบก็จะตัดเปนเชือ้ เพลิง แบบ LPG โดยอัตโนมัติ จากการทดสอบใชงานในเมืองตองบอกวา ไมนา เปน หวงแตอยางไร ไมแตกตางจากรถที่ใชเชือ้ เพลิงปกติเลย พยายามจับผิดอยู ตลอดเวลาวาเครือ่ งยนตจะสะดุดไหม แตกต็ อ งผิดหวัง รวมถึงขณะเรงแซง ก็ไมมปี ญ  หาแตอยางใด ซึง่ การทดสอบครัง้ นีต้ วั รถตองแบกรับนํา้ หนักของ อุปกรณ LPG บวกกับสัมภาระของผูโ ดยสารทีน่ งั่ ในรถอีก 3 คน อีกสวนหนึง่ เบ็ดเสร็จเต็มทายรถพอดี เขาเสนทางทีส่ ามารบนมอเตอรเวย แนนอนวาเปนเสนทางทีร่ วมเอาการ ขับขีข่ องคนหลากหลายรูปแบบไวบนถนนเสนเดียวกัน ไมวา จะเปนรถทีข่ บั เร็วจน นาใจหาย ขับชาแตอยูเ ลนขวาสุด ตองบอกวาครบเครือ่ งและไมสามารถหาอาน จากตําราสอนขับรถได ตองอาศัยประสบการณตรงลวนๆ โดยเฉพาะการมุด เพือ่ หาเสนทางในการหลบหลีก หลายคนมักมีความรูส กึ ลึกๆ ในใจวา รถทีต่ ดิ ตัง้ กาซมานัน้ อัตราเรงจะหดหายไปประมาณ 20% อยางทีเ่ คยดูในทีวี หรืออาน เจอมา จนไมกลาเรงแซง ซึง่ ความคิดดังกลาวก็มสี ว นถูกและแอบเปนกังวลอยู เหมือนกัน แต ณ วันนีเ้ ทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาอยางตอเนือ่ งสามารถลบขอดอยดัง กลาวไปไดแลว และดูเหมือนวารถคันนีจ้ ะทําไดคอ นขางดี ในเรือ่ งของอัตราเรง

กดคันเรงไดดงั่ ใจ เรงแซงไดแบบสบายมาก ซึง่ ในทางโลงทําความเร็วเฉลีย่ ที่ 140-150 กิโลเมตร/ ชัว่ โมง ตลอดเสนทาง และก็ตอ งผิดหวังอีกครัง้ ในการ จับผิดเรือ่ งอัตราเรงและอาการสะดุด ที่ ไมมีใหเห็นอีกเชนเคย จุดหมายปลายทางการทดสอบสิน้ สุด ณ อาวแมพมิ พ จังหวัดระยอง พรอมทัง้ ขับรถเทีย่ วในบริเวณนัน้ อีกครึง่ วัน เชือ้ เพลิงลดลงไปไมนกั ฝากไว สักเล็กนอยสําหรับผูท หี่ นั มาใชพลังงานทดแทนจําพวกกาซ แมวา ตัวหัวเมือง ใหญๆ จะมีปริมาณสถานีบริการเพิม่ มากขึน้ แตรถทีเ่ ติมกาซไมเหมือนเติมนํา้ มัน ถานํ้ามันใกลหมดระยะทางที่รถสามารถวิ่งได จะไมไกลเหมือนนํ้ามันนะครับ ก็ฝากไวสกั เล็กนอยสําหรับขอนี้ การทดสอบยังไมจบเพียงเทานี้ ยังตองเดินทางกลับกันอีก โดยใชเสน ทางเดิมเชนเดียวกับขาไปและเมือ่ เดินทางกลับมาทีจ่ ดุ เริม่ อีกครัง้ เลขไมลการ

เดินทางในทริปนีแ้ บบไป-กลับ อยูท ี่ 687 กิโลเมตร เสียคากาซ LPG จากการ เติม 2 ครัง้ อยูท ี่ 620 บาท เมือ่ นําตัวเลขดังกลาวมาคิดคาเฉลีย่ ของเชือ้ เพลิง ในการเดินทางครัง้ นีจ้ ะอยูท ี่ 1.10 บาท/ กิโลเมตร ถือวาเปนตัวเลขทีน่ า สนใจ เพราะเมือ่ ดูเรือ่ งการใชงาน และระยะทางแลว คอนขางคุม คา ทีผ่ า นมา การเดินทางแตละครัง้ อยางนอยตองเสียคานํา้ มันไมนอ ย กวา 1,000-2,000 บาท เปนอยางตํา่ ถึงจะอุน ใจได งานนีช้ ดุ ติดตัง้ กาซ LPG ของ Atiker ทําไดคอ นขางนาสนใจ เพราะถาราคานํา้ มันไตระดับสูงขึน้ อีกครัง้ สงสัยคงตองไปติดตัง้ สักชุดบางแลว

August 2012 l 71

Energy#45_p70-71_Pro3.indd 71

7/17/12 1:20 AM


Energy Movement ผูเขียน : ตนสมและผองเพื่อน

สวัสดี สวีดสั พีน่ อ งผองเพือ่ นของตนสมทุกทานนะเจาคะเผลอแปบ เดียวปาเขาไปเดือน 8 อีกแลว เวลาผานไปไวเหมือนโกหก แตที่ไมเคยโกหก คุณผูอ า นก็ตน สมนีล่ ะ เจาคะ จริงใจเสมอ หุหุ ประเดิ ม ข า วแรกอั น เป น มงคล พระเจาหลานเธอ พระองคเจาสิริวัณ ณวรีนารีรัตน์ ประทานพระวโรกาสให นายฐีระวิตติ์ ลี้ถาวร รองกรรมการ ผูจ ดั การใหญ บริษทั ดับ๊ เบิล้ เอ(1991) จํ า กั ด (มหาชน) เฝ า ถวายกระดาษ โดยเสด็จพระกุศลตามพระอัธยาศัย ในงานนิทรรศการภาพถายกลางแจง “ปอรแทตส เดอ โมด : เดอะ รีโวลูชนั เนอรี แฟชัน่ ทรูส เดอะ เลนส “ (Portraits de Mode : The Revolutionary Fashion Through The Lens) ในงานเทศกาล วัฒนธรรมฝรั่งเศส หรือ “ลา-แฟต” (La Fete) ณ หางสรรพสินคาเซน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งนับวาเปนการแสดงนิทรรศการภาพถาย แฟชั่นชั้นสูงครั้งแรกในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชีย แว บ ไปที่ ง าน สั ม มนาระดม ความเห็น แผน PDP (2010) โดยมี คุณสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวย การสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลั ง งาน เป น ประธานเปดงานสัมมนาระดมความเห็น “การปรับปรุงแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2553 – 2573 ( PDP 2010)” ชีแ้ จงรายละเอียดตอหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน นักวิชาการ องคกรภาคประชาสังคม สือ่ มวลชน และประชาชนผูส นใจประมาณ 250 คน เขามาสัมมนาในครั้งนี้ สําหรับงานสัมมนาดังกลาวจัดขึ้นเพื่อชี้แจง สมมติฐานและภาพรวมการปรับปรุง (ราง) แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของ ประเทศไทย พ.ศ. 2553 -2573 ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3 ( PDP 2010 ฉบับ ปรับปรุง ครั้งที่ 3) รวมทั้งรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอสมมติฐาน และภาพรวมรางแผน PDP เจาคะ ไปตอกันที่งาน GIZ บาง เปน งานประชุ ม การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ระบบพลังงานแสงอาทิตย เรื่อง “20 ป ของการพัฒนาระบบ PV เชื่ อ มโยงสายส ง ถอดบทเรี ย น ดานคุณภาพจากประเทศเยอรมนี” ภายใต ก ารสนั บ สนุ น ของกระทรวงเศรษฐกิ จ และเทคโนโลยี แ ห ง สหพั น ธ สาธารณรัฐเยอรมนี (BMWi) โดยมีหอการคาเยอรมัน – ทวิภาคี ( AHKs) และ GIZ เปนหนวยงานหลักในการดําเนินงานและจัดกิจกรรมตาง ๆ ในการ สงเสริมการใชพลังงานทดแทนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต งานประชุม ครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความเขาใจและตระหนักรูในเรื่อง คุณภาพของ ระบบพลังงานแสงอาทิตยเพื่อการผลิตไฟฟาและจายไฟเขาสูสายสง (Grid connected PV systems) ทีส่ ง ผลตอตนทุน – กําไรของกิจการ โดยถอดบทเรียน และประสบการณจากประเทศเยอรมนี เพื่อนํามาปรับใชกับตลาดพลังงานแสง อาทิตยในประเทศไทย โดยมีผูเชี่ยวชาญจากหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชนทั้ง

ประเทศไทยและเยอรมนี ใหเกียรติมาเปนวิทยากร ..เรียกวาคุมสุดคุมกับความ รูที่เก็บใสกระเปากลับบานเจาคะ ข า ว CSR ร อ นๆมาอี ก แล ว จ า .. คุณสุขเกษม และ คุณสุทศั ษา เหลาหงสเกียรติ ผูบริหารโครงการ เดอะ เวเนเซีย หัวหิน – ชะอํา มอบทุนการศึกษาแกเด็กนักเรียนทองถิ่น จํานวน 50 ทุน จาก 5 โรงเรียน ในอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ในงานพิธวี างศิลาฤกษ โครงการ เดอ เวเนเซีย สถานทีท่ อ งเทีย่ ว และชอปปง มอลลสไตลเวนิสแหงแรกในเมืองไทย บนพืน้ ที่ 46 ไร ทีจ่ ะแลวเสร็จ อยางเปนทางการปลายปนี้ ขอใหรํ่าใหรวยยิ่งๆ ขึ้นไปเจาคะ ปดทายกันดวยขาวดี ๆ จากโครงการ รวมพลั ง เยาวชนรู  รั ก เพื่ อ เมื อ งไทย แข็งแรงป 2 โดย ดร. กรรณชฎา พิริยะรังสรรค ผูอํานวยการมูลนิธิ สงเคราะหเด็กยากจน ซี.ซี เอฟ.ฯ ในพระราชู ป ถั ม ป ส มเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุรี จัดโครงการนีข้ นึ้ เพือ่ ปลูกฝงใหเยาวชนจาก ทัว่ ประเทศเพิม่ พูน จริยธรรม ความสามัคคี เรียนรูว ถิ ชี วี ติ แบบประชาธิปไตย และการ ไมใชความรุนแรง โครงการนีช้ ว ยพัฒนาทักษะการทํางานเปนทีมและภาวะผูน าํ ตลอดจน เปดโอกาสใหเยาวชนรวมพลังจิตอาสา โดยเปนผูด าํ เนินการขับเคลือ่ นกิจกรรม เพือ่ แกปญ  หาตางๆในชุมชนของตนเอง เยาวชนกวา 200 คน ไดมาแลกเปลีย่ น ประสบการณและสรุปบทเรียนรวมกัน และเพิ่มเติมสําหรับผูมีจิตเมตตารวม สรางโอกาสและอนาคตทีด่ ีใหกบั เด็กๆของมูลนิธิ ซี.ซี.เอฟ. ติดตอไดทโี่ ทรศัพท 0-2747-2600 หรือดูขอ มูลไดที่ www. ccftthai.or.th เจาคะ

Industrial / เกาะสมุย..ซุยขาว เมื่ อ หลายวั น ก อ นกระทรวงพลั ง งานได จั ด งาน “สั ง สรรค สรางสรรค เพื่ออนาคตพลังงานไทย” เพื่อเปดตัวโครงการ “รวมพลัง ปลดดินพอกหางหมู” และหารือกับนักขาวเพื่อหาแนวทางวิธีการปลอย ลอยตัวราคา และมาตรการการอุดหนุนผูมีรายไดนอยในกรณีที่มีการปลอย ลอยตัวแกส LPG อันจะสงผลกระทบตอผูมีรายไดนอย โดยงานนี้ทางทีมงาน พีอารไดสั่งทางโรงแรมจัดเตรียมโตะกลม (คลายๆโตะจีน) ไวตอนรับกองทัพ นักขาวไวหลายโตะงานนี้ ไดยินชื่อแลวคงไมใชงานแถลงขาวธรรมดาแนนอน คงตองมีกินเลี้ยงสังสรรคกันอะไรประมาณนี้ แตเอาเขาจริงก็เปนงานแถลง ขาวธรรมดานี่เอง อยางนี้ตั้งโตะแถลงขาวที่กระทรวงดีมั้ยครับจะไดไมเปลือง งบประมาณ....อิอิ ในวันดังกลาวทานรัฐมนตรีพลังงาน อารักษ ชลธารนนท เปนผูนําแถลงขาวซึ่งหัวใจ สําคัญอยูที่การปลอยลอยตัวราคาแกส LPG โดย ทานรัฐมนตรีแจงตอนักขาววา จะปรับราคาแกส LPG ทุ ก ภาคส ว นให เ ป น ราคาเดี ย วกั น หมดเพื่ อ สะทอนราคาความเปนจริง พรอมกับหามาตรการชวยเหลือผูที่มีรายไดนอย งานนี้เลนเอานักขาวหลายคนตองคอยถามทานรัฐมนตรียํ้าแลวยํ้าอีกหลาย รอบวาจะปรับราคาแกส LPG ใหเปนราคาเดียวกันทุกภาคสวนจริงหรือ? แตรัฐมนตรีก็ยืนยันคําตอบเดิม

72 l August 2012

Energy#45_p72-74_Pro3.indd 72

7/25/12 1:36 AM


ES Online หางหายกันไป 1 ฉบับ ทานผูอ า นทนคิดถึงไมไหวละสิครับ เขาไปทักทายกันทีเ่ ฟสบุค ไม่ ได้หยุดหย่อน ต้องบอกว่าช่วงนี้คร่ําเคร่งหาเรื่องหาราวมาให้คุณผู้อ่าน ไดอานกันแบบไมมีเบื่อ ไมวาจะเปนเรื่องราวในตางแดนหรือในประเทศที่ฮิตติดลม บน กลับมาครั้งนี้มีขาวแจงกันลวงหนาใหน้ําลายหยด เตรียมพบกับ Blog เทหๆ ออนไลน สําหรับทานที่เปนแฟนเพจของ บ ล็ อ ก ต า ง ๆ แ ว ะ เ ข า ม า ที่ www.energysavingmedia.com ทานจะไมพบคําวาผิดหวัง ตอนนีท้ มี งาน กําลังเรงระดมสมองกันจัดหัวขอวาสิง่ ที่คนอานอยากรูมีอะไรบาง และเชิญผู รูกูรูในสาขาตาง ๆ มาเขียนเนื้อหาสาระใหทานผูอานไดอานกันแบบจุใจ ติดตาม กันอยางตอเนื่องครับ รับประกันความคุม! ออ และสําหรับทานกูรูที่อยากสรางบล็อกของตัวเองในหนาเว็บเพจเรา สงเรื่องและคุณสมบัติของทานเขามาไดที่ info@ttfintl.com (วงเล็บ สงเรื่องลง บล็อก ENERGY SAVING) ทีมงานพรอมคัดสรรและประชาสัมพันธใหทานแบบ

งานนี้ยังไมจบเมื่อวันรุงขึ้น ทานนายก รั ฐ มนตรี ยิ ง ลั ก ษณ ชิ น วั ต ร ตองรีบเรียก รัฐมนตรีพลังงานเขาพบดวนเพื่อหารือกับ นาย กิตติรัตน ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.คลัง ถึงเรื่องปรับราคาแกส LPG และหลัง จากเขาพบนายกฯ ทานรัฐมนตรีพลังงานจึงตอง รีบตั้งโตะแถลงขาวดวนในตอนเย็นอีกทีเมื่อนายกฯ ยืนยันวาจะไมปรับราคา LPG ไปจนถึงสิน้ ปนตี้ ามมติ คณะรัฐมนตรี (ครม.) เปนอันจบขาวเรือ่ งการปรับราคา LPG แลวคอยไปติดตาม ขาวกันอีกทีหลังจากถึงวันกําหนด...หวังวาเมื่อถึงเวลาแลวทานรัฐมนตรีจะ เตรียมการบานมาและตอบคําถามไดเคลียรกวาครัง้ นี.้ ..อิอ.ิ ..หวังวาถึงเวลานัน้ จะยังเปนคนเดิมนะครับ...อิอิ ไปดู ข  า วอื่ น กั น บ า งครั บ โรงไฟฟาขนอม ในกลุมเอ็กโก ควา รางวัล “สถานประกอบกิจการดีเดนระดับ ประเทศ ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดลอม ประจําป 2555” ตอเนือ่ ง เปนปที่ 13 จากกรมสวัสดิการและคุม ครอง แรงงาน กระทรวงแรงงาน เรียกไดวา เปนการยํา้ จุดยืนในการรักษามาตรฐาน ดานการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ของโรงไฟฟาขนอม เพือ่ ความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานเลยทีเดียว ....เสียดายครับหากไมเคยเขียนลงในคอลัมนไปกอนหนานีแ้ ลวคงไดมโี อกาสไป เยี่ยมชมโรงไฟฟาขนอมกันอีกครั้ง และขอเอาใจชวยใหโรงไฟฟาแหงอื่นของ กลุม เอ็กโกไดรบั รางวัลดานนีก้ นั บางนะครับเผือ่ จะไดมโี อกาสเยีย่ มชมบาง....อิอิ

ออนไลน รวดเร็ว ทันใจ ...ยินดีตอนรับ กูรูทุกทานครับ สินเชื่อพลังงาน...กูที่ ไหนดี? กลับมาแลวกับตอนตอของเรื่อง นาสนใจ สําหรับผูที่อยากลงทุนดาน พลั ง งานแต ไ ม รู จ ะเริ่ ม อย า งไร ครั้ ง นี้ เ รานํ า เสนอกลเม็ ด เด็ ด พราย ถึงวิธีกูเงินอยางไรใหผานฉลุย ผานบทสัมภาษณของสถาบันการเงินที่นาเชื่อ ถือมากที่สุดอีก 1 แหง ไมอานแลวจะเสียใจ! ตอบถูก(ใจ) ..ไดรางวัล เ ต รี ย ม ส นุ ก กั บ กิ จ ก ร ร ม ช ว น หั ว ที่ http://www.facebook.com/energysavingmedia โดยทีมงานเวียนกันมาตัง้ คําถามโดนๆใหทา น ผูอ า นไดขบคิด เผลอ ๆ จะมีขบเขีย้ วกันบาง พรอมมี ของรางวัลเล็กๆนอยๆ ทีอ่ ตุ สาหสละเวลามารวมสนุกกัน อยาพลาดครับ ติดตามกันใหดี

ES Online :

facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย ขอแสดงความยินดีกับ บริษัท JinkoSolar Holding จํากัด (“Jinkosolar” หรือ “บริษัท”) (NYSE: JKS) หนึ่งในผูผลิตแผงเซลล แสงอาทิตยชั้นนําระดับโลกที่ผานการทดสอบความทนทานตอการกัดกรอน ของละอองเกลือตามมาตรฐาน International Electrotechnical Commission (IEC) 61701 ซึง่ ทดสอบโดยบริษทั วิจยั ระดับนานาชาติอยาง TUV Rheinland และแสดงใหเห็นวาแผงเซลลแสงอาทิตยของ JinkoSolar ทนตอสภาพอากาศ เลวรายไดดี ผานมาตรฐานระดับสากล อยางนี้ตองมียอดจองแผงโซลาเซลล จํานวนไมนอย...หากจะเจียดงบมาให ENERGY SAVING บางเล็กนอยก็จะเปน พระคุณหลายเดอ...อิอิ

Transport / นัษโตะ สวัสดีครับ กลับมาพบกับ “นัษโตะ” อีกแลวครับผม บนพืน้ ทีก่ รอบเล็ก ของ energy movement กับการรายงานความเคลื่อนไหวดานวงการยาน ยนตพอไมใหตกขาวกันนะครับ เริ่มกันที่ความเคลื่อนไหวคายยักษใหญบานเรานามโตโยตา นําโดย ทานประธาน “มร.เคียวอิจิ ทานาดะ” กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ตอสัญญา ลงนามร ว มกั บ นั ก ฟุ ต บอลระดั บ โลก “คริ ส เตี ย โน โรนั ล โด” กั ป ตั น ที ม ชาติ โ ปรตุ เ กส และแชมป ก ารแข ง ขั น ฟุตบอลลาลีกาสเปนในทีมรีล มาดริด เพื่อเปนพรีเซ็นเตอรโฆษณาชุดใหม ให กับรถกระบะยอดนิยมคุณภาพระดับโลก August 2012 l 73

Energy#45_p72-74_Pro3.indd 73

7/25/12 1:36 AM


“ไฮลักซ วีโก แชมป” ที่เปนรถกระบะที่ ไดรับการยอมรับเปนอยางสูงในระดับ สากล และประสบความสําเร็จครองตําแหนงแชมปยอดขาย 6 ปซอน โดย การตออายุสัญญาการเปนพรีเซ็นเตอรครั้งนี้มีระยะเวลา 1 ป ตั้งแตเดือน กรกฎาคม 2555 –กรกฎาคม 2556 แตก็ตองแสดงความเสียใจกับ “พี่โด” ดวยนะครับ กับศึกยูโรที่ผานมา ที่ทีมโปรตุเกสไปไมถึงฝงฝน ทั้งๆ ที่กระผม ก็แอบเชียรดังๆ อยูในใจมาตลอดครับผม มาตออีกคายทีด่ เู หมือนวาจะทําอะไรก็มอื ขึน้ ไปหมดอยาง บริษทั มาสดา เซลส (ประเทศไทย) จํากัด โดย “มร.โชอิชิ ยูกิ” กรรมการผูจัดการ เปดเผย ตั ว เลขยอดขายเดื อ นมิ ถุ น ายนที่ ทํ า สถิ ติ ใ หม ส ร า ง ประวัติศาสตรการขายรถของมาสดาในรอบ 61 ป ดวยยอดขายรวมทั้งสิ้นสูงถึง 6,301 คัน เพิ่มขึ้นสูง ถึง 61% สงผลใหยอดขายรวมของครึ่งปแรก 2555 ประสบความสําเร็จเกินเปาหมายที่วางไว ทะลุเกิน 30,000 คัน พรอมงัดกลยุทธเด็ดออกโชวศักยภาพใน ครึง่ ปหลังเตรียมเข็นรุน พิเศษทัง้ มาสดา 2 มาสดา 3 และบีท-ี 50 โปร เอาใจคอ สปอรต แถมยังแอบกระซิบถึงเทคโนโลยีแหงอนาคตวาคนไทยไดชนื่ ชมแนนอน แตอดใจรอหนอยนะครับ รับรองมาเร็วกวาทีค่ าดการณ “ชัวร” รวมทัง้ เดินหนา แผนเด็ดเจาะตลาดในแตละเซ็กเมนตอยางชัดเจน มั่นใจจะสรางความเชื่อมั่น ใหกับลูกคาเพิ่มขึ้น พรอมประกาศเพิ่มเปายอดขายจากเดิมเปน 70,000 คัน หรือเพิ่มขึ้นจากเดิมเปน 67 เปอรเซ็นต แนนอนครับผม ดานคาย 2 ลอ ก็มีการแขงขัน คอนขางสูงเชนกัน ลาสุดคายปกพญาอินทรีย ฮอนดา นําโดย “มร.จิอากิ คาโต” ประธาน กรรมการบริหาร บริษทั เอ.พี.ฮอนดา จํากัด ที่ จูงมือ “ดร.อรรณพ พรประภา” รองประธาน กรรมการบริหาร และ “สุชาติ อรุณแสงโรจน” กรรมการบริ ห ารและผู  จั ด การทั่ ว ไปส ว นงานขาย ร ว มแต ง กายสไตล ย อ นยุ ค เป ด ตั ว สกู  ป ป  ไ อS12 แม็ ก 12 นิ้ ว กราฟฟ ก ทวิ ส ต 2 ด า น ไมเหมือนกันครัง้ แรกในไทย พรอมดึง “ปาลมมี”่ อีฟ ปานเจริญ นักรองดังมา เปนพรีเซ็นเตอร ถายทอดคาแรกเตอรอินดี้เรโทร จับกลุมคนรักความเทแบบ คลาสสิค ดวยคอนเซปต เดอะ นิว ออริจินอล โดยตั้งเปาจําหนายที่ 60,000 คันตอป ไมรูวาจะขายดิบขายดีอะไรขนาดนั้น จนผลิตแทบไมทันกันเลยทีเดียว อีกคาย 2 ลออยาง ซูซูกิ ชวงนี้ดูเหมือนจะเริ่มตีตลาดขึ้นมาหวัง แชรเคกตลาดรวม โดย “มร.โคอิชิ โร ฮิราโอะ” กรรมการผูอํานวยการ บริษทั ไทยซูซกู มิ อเตอร จํากัด และคณะ ผูบริหารอีกคับคั่ง เขารวมทดสอบและ พิสูจนทุกสมรรถนะรถจักรยานยนต ซูซูกิ เน็กซ ใหม พรอมสื่อมวลชนที่รวมเปนสักขีพยานการเปดตัวมอเตอรไซค ECO ครั้งแรกของเมืองไทย ที่จะชวนคุณเปลี่ยนโลก เปลี่ยนทุกการขับขี่ เพื่อ รวมรักษโลก ใหคุณสามารถรวมเปนสวนหนึ่งของความ ECO ไดแบบสบายๆ นอกจากนี้ ซูซูกิ ยังไดคํานึงถึงความคุมคา การขับขี่งาย และที่สําคัญรวม ประหยัดพลังงานเพื่อโลกใบนี้มากยิ่งขึ้น ณ เขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา ปดทายดวยอีกหนึ่งงานดีๆ กับ ปทุมธานี มอเตอรโชว 2012 ที่มี

“จรวย ขันมณี” เปนหัวเรือใหญการจัดงาน ผูด าํ เนินการจัดงาน จั ด ขึ้ น ระหว า งวั น ที่ 19-25 กรกฎาคม 2555 ที่ ผ  า นมา ณ ศูนยการคาฟวเจอรพารค รังสิต โดยเปนอีกหนึง่ งานทีร่ วมพล รถยนตมาใหผูชมไดสัมผัสกันอยางเต็มที่กันเลยทีเดียว

Environment / Suki เพิ่งเปดตัวไปสดๆ รอนๆ สําหรับ บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ที่ ไดเปดโชวรมู และศูนยบริการ Eco Dealership Outlet แหงแรกในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ทีส่ รางขึน้ ภายในขอกําหนดการตรวจ ประเมินมาตรฐานสิง่ แวดลอมจากสถาบันอาคารเขียวไทย เพือ่ เปนการยกระดับ การดําเนินงานและการบริการใหมคี วามเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมและชุมชนมาก ยิง่ ขึน้ ที่ บริษทั โตโยตา เภตรา จํากัด สาขาลาดหลุมแกว จังหวัดปทุมธานี ซึ่งนับเปนการตอยอดการดําเนินงานภายใตแนวทางการดําเนินธุรกิจของ องคกรทีว่ า ดวยการบูรณาการความรวมมือในการรับผิดชอบตอสังคมตลอด หวงโซธุรกิจ ผานการดําเนินงานของผูแทนจําหนายฯ นั่นเอง เดินสายจาเดินสาย เตรียมเดินสาย ให ค วามรู  สู  ชุ ม ชนกั น แล ว สํ า หรั บ อุ ท ยาน สิ่ ง แวดล อ มนานาชาติ สิ ริ น ธร ที่ เ ตรี ย มนํ า เอนเนอรยี โมบาย ยูนิต (Energy Mobile Unit) เดินสายใหความรูดานพลังงาน-สิ่งแวดลอม สูแหลงชุมชน ซึ่งไดรับทุนสนุบสนุนในการจัดสรางจาก กองทุนเพื่อสงเสริม การอนุรักษพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) โดยภายในมีสื่อเรียนรูดานพลังงาน สิ่งแวดลอมครบครันพรอมแบบจําลอง ระบบพลังงานทดแทนประเภทตางๆ คาดวาพรอมเดินสายตนสิงหาคมนี้ เริ่ม แหงแรกในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีกอนขยายไปในจังหวัดใกลเคียง รั ก ษ โ ลกรั ก สิ่ ง แวดล อ มเสมอต น เสมอปลาย สํ า หรั บ ดร.อภิ ชิ ต ลํ้ า เลิ ศ พงศ พ นา ผู  บ ริ ห าร กลุ  ม บ.ไอ.ที.ซี. ทีแ่ มชว งนีจ้ ะตองเดินสายดูงานตางประเทศบอยบอยแต ยังมิวายจัดสัมมนาใหความรูน วัตกรรมสายพันธุใ หมในอุตสาหกรรม ทําความเย็นเพือ่ ชวยประหยัดพลังงานลดโลกรอน แบบนีข้ อปรบมือให เลยคา งานยุง แบบนีอ้ ยาลืมดูแลสุขภาพดวยนะจะ เนื่ อ งจากเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ในเรื่ อ งของสิ่ ง แวดล อ ม คุณอโณทัย เวทยากร กรรมการผูจัดการ บริษัท เดลล คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จึงไมลังเลที่จะเปนสวนหนึ่งในการสนับสนุนการผลิตภาพยนต แอนิเมชัน่ 3D เรือ่ งแรกของไทย “เอคโค จิว๋ กองโลก” เพราะการสรางสรรค เทคโนโลยีและใชความเชีย่ วชาญเฉพาะทางเพือ่ เพือ่ นมนุษยและโลกก็เปนอีกหนึง่ ความมุงมั่นของเดลลเหมือนกันจา สงทายกันดวย ซีพี ออลล์ รวมกับ กรมสงเสริมคุณภาพ สิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และ สมาคม ผูด แู ลเว็บไทย จัดกิจกรรม “คิดถุง คิดถุง แคมป” ถายทอดองคความรูท งั้ ดานการผลิตคลิปวีดโิ อและปลูกฝงรักษสงิ่ แวดลอมแกผผู า นเขารอบคัดเลือก การประกวดคลิปวีดิโอรณรงคใชถุงพลาสติกอยางมีความรับผิดชอบ กอน ผลิตเปนผลงานเขาประชันในรอบชิงชนะเลิศ ลุนรับทุนการศึกษา และรางวัล อื่นๆ มูลคารวมกวา 200,000 บาท และเชิญชวนคนรุนใหมหัวใจรักษโลกทุก คนมารวมโหวตใหกบั ผลงานทีช่ นื่ ชอบ ผานทางเว็บไซต www.kidtoong.com ตั้งแตวันที่ 6 สิงหาคมนี้เปนตนไป อยาลืมไปโหวตกันนะจะ

74 l August 2012

Energy#45_p72-74_Pro3.indd 74

7/25/12 5:00 PM


Energy#41_Ad Southest_Pro3.ai

1

3/21/12

10:15 PM


Energy Clinic Q : วัตถุประสงคของการออกกฎหมายวาดวยการประกอบ กิจการพลังงาน A : กฎหมายดังกลาว สามารถออกระเบียบขอบังคับประกาศหรือ หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขตางๆ ในการกํากับกิจการพลังงานตาม ที่กฎหมายกําหนด เชนกํากับดูแลอัตราคาบริการ กํากับมาตรฐานการ ใหบริการพลังงานและมาตรฐานความปลอดภัยในการประกอบกิจการ พลังงานเปนตน ในขณะเดียวกันก็ใหความคุม ครองแกผปู ระกอบกิจการใหมี การแขงขันอยางเปนธรรม และยังใหความสําคัญกับการเปดโอกาสใหผูใช พลังงานประชาชนและผูท ี่ ไดรบั ผลกระทบจากการประกอบกิจการพลังงาน ไดเขามามีสวนรวมในการใหความเห็นตอการบริหารจัดการดานพลังงาน และไดรับการคุมครองสิทธิเสรีภาพและผลประโยชนทางดานการบริการ ทายสุด จะนํามาซึ่งการประกอบกิจการพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ มีความมั่นคงมีปริมาณเพียงพอ สามารถตอบสนองความตองการภายใน ประเทศ และตอการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนในดานสังคม เศรษฐกิจและ สิ่งแวดลอม ในราคาที่เปนธรรม Q : จะเชื่อไดอยางไรวาคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน จะกํากับกิจการพลังงานดวยความโปรงใสและเปนธรรม A : ตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ พลังงานกําหนดใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานเพื่อ ทําหนาทีเ่ ปนองคกรกลางในการกํากับดูแลกิจการพลังงานซึง่ ประกอบดวย กิจการไฟฟาและกิจการกาซธรรมชาติใหเปนไปอยางโปรงใสและเปนธรรม โดยกําหนดคุณสมบัตแิ ละหลักการทีด่ ีในการกํากับกิจการพลังงาน รวมถึง การตรวจสอบการทํางานของคณะกรรมการฯไวดังนี้ 1) การกําหนดคุณสมบัติของผูที่จะมาเปนคณะกรรมการ กํากับกิจการพลังงาน (คณะกรรมการฯ) ที่สําคัญประการหนึ่งคือจะ ตองไมเปนผูที่มีผลประโยชนขัดแยงทางธุรกิจ(Conflict of Interest) ใน ขณะดํารงตําแหนง เชน การประกอบอาชีพที่มีสวนไดเสียทั้งทางตรงและ ทางออมกับการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการฯ และการถือหุนในกิจการ พลังงาน เปนตน นอกจากนี้ เมื่อหมดวาระดํารงตําแหนงแลวภายในระยะ เวลา 2 ป นับจากพนตําแหนง จะไมสามารถไปประกอบอาชีพที่เกี่ยวของ กับกิจการพลังงานได 2) คณะกรรมการฯ ตองเปดใหมีการรับฟงความคิดเห็นจาก ผูที่ ไดรับผลกระทบจากการออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือ ขอกําหนดที่จะใชกํากับกิจการพลังงานตามที่กฎหมายกําหนด เชน มาตรฐานคุณภาพบริการ มาตรฐานความปลอดภัยในการประกอบกิจการ พลังงาน การใหความคุมครองผูใชพลังงานและผูที่ ไดรับผลกระทบจาก การประกอบกิจการพลังงาน เปนตน กอนที่คณะกรรมการฯ จะประกาศ บังคับใชตอไป นอกจากนี้ยังกําหนดใหมีการเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับมติที่ ประชุม และเหตุผลในการออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือ ขอกําหนด รวมทั้งคําสั่งตางๆ ในรายงานประจําปของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน หรือลงในระบบเครือขายคอมพิวเตอรของสํานักงาน เพื่อใหสาธารณชนตรวจสอบได 3) สํานักงานตรวจเงินแผนดินจะเปนผูสอบบัญชีและประเมิน ผลการใชจายเงิน และทรัพยสินของสํานักงาน เพื่อใหการดําเนินงาน ของสํานักงานเปนไปดวยความโปรงใส คุมคา และมีประสิทธิภาพตาม วัตถุประสงคของกฎหมาย

4) คณะกรรมการฯ จะต อ งจั ด ทํ า รายงานประจํ า ป เ สนอ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ตามลําดับไปจนถึงรัฐสภาทุกสิ้นป งบประมาณ และตองเปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งรายงานประจําปจะตองให เหตุผลของการตัดสินใจในเรือ่ งตางๆ และแผนงานทีจ่ ะดําเนินการในภายหนา ของคณะกรรมการฯดวย Q : คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานจะกํากับกิจการ พลังงานตามกฎหมายวาดวยการประกอบกิจการพลังงานอยางไร A : การกํากับกิจการพลังงานตามกฎหมายนี้ ไดกําหนดใหคณะ กรรมการกํากับกิจการพลังงานกํากับดูแลกิจการไฟฟาและกิจการกาซ ธรรมชาติภายใตกรอบนโยบายของภาครัฐผานการพิจารณาใหใบอนุญาต การประกอบกิจการพลังงาน โดยจะกํากับดูแลเรื่องตางๆ ใหเปนไปตาม ระเบียบหรือหลักเกณฑที่คณะกรรมการฯ กําหนดให ดังนี้ 1) กํากับดูแลอัตราคาบริการใหมีความเปนธรรมและโปรงใส 2) กํากับการแขงขันใหเกิดความเปนธรรม และปองกันการใชอาํ นาจ ผูกขาดในทางมิชอบ 3) กํากับคุณภาพการใหบริการในการประกอบกิจการพลังงาน 4) กํากับมาตรฐานทางวิศวกรรมและความปลอดภัยในการประกอบ กิจการพลังงาน ตลอดจนกํากับดูแลการขอใชหรือการเชื่อมตอระบบ โครงขายพลังงาน และกํากับดูแลการดําเนินงานของศูนยควบคุมระบบ โครงขายพลังงาน 5) กํากับดูแลกองทุนพัฒนาไฟฟาใหเปนไปตามวัตถุประสงคของ กองทุน 6) กํากับดูแลการใชอํานาจเวนคืนที่ดินของผูรับใบอนุญาตประกอบ กิจการพลังงานที่เปนหนวยงานของรัฐ รวมทั้งกํากับดูแลการเขาสํารวจ การกําหนดแนวเขตและการรอนสิทธิ์ที่ดินเพื่อวางระบบโครงขายพลังงาน ตลอดจนการเขาซอมบํารุงรักษาระบบโครงขายพลังงานของผูรับใบ อนุญาตประกอบกิจการพลังงานตามพระราชบัญญัตินี้ 7) พิจารณาขอพิพาทและการอุทธรณของผู ใชพลังงานและผู ประกอบกิจการพลังงาน ในกรณีที่ผูประกอบกิจการมีการฝาฝนไมปฏิบัติตามคําสั่งของ คณะกรรมการฯ ใหถูกตองตามกฎหมายภายในระยะเวลาที่กําหนด และ ไดมีหนังสือเตือนแลว คณะกรรมการฯสามารถพิจารณากําหนดคาปรับ

76 l August 2012

Energy#45_p76-77_Pro3.indd 76

7/25/12 2:14 AM


ทางปกครองได โดยจะพิจารณาความรายแรงในการฝาฝนหรือไมปฏิบัติ ตามคําสัง่ ทัง้ นี้ หากผูร บั ใบอนุญาตยังเพิกเฉยไมปฏิบตั ใิ หถกู ตอง และอาจเกิด ความเสียหายรายแรงตอประโยชนสาธารณะ คณะกรรมการฯ มีอาํ นาจสัง่ พัก ใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตไดแลวแตกรณีนอกจากบทลงโทษทางปกครอง แลัว พระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดกําหนดโทษทางอาญาไวดวย ซึ่งมีทั้งโทษจํา และโทษปรับ ขึ้นอยูกับความหนักเบาของการกระทําความผิด รวมทั้งไดให อํานาจแกคณะกรรมการฯ ในการเปรียบเทียบปรับได Q : กิจการพลังงานทีอ่ ยูภ ายใตการบังคับของกฎหมายวาดวย การประกอบกิจการพลังงานประกอบดวยกิจการใดบาง A : กฎหมายวาดวยการประกอบกิจการพลังงานไดกําหนดใหคณะ กรรมการกํากับกิจการพลังงาน ทําหนาที่กํากับกิจการไฟฟาและกิจการ กาซธรรมชาติ โดยคณะกรรมการฯ ไดมกี ารกําหนดประเภทของใบอนุญาต การประกอบกิจการไฟฟาและกิจการกาซธรรมชาติไวดังนี้ 1) มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นหรือใหขอมูลแกคณะกรรม การฯ กอนที่จะมีการออกกฎระเบียบ หรือคําสั่งใดๆ ที่จะมีผลกระทบตอ ประชาชน 2) ตรวจสอบเหตุผลการตัดสินใจของคณะกรรมการฯ เกี่ยวกับกฎ ระเบียบหรือคําสั่งของคณะกรรมการฯ หรือผลการปฎิบัติงานของคณะ กรรมการฯ จากรายงานประจําป สิ่งตีพิมพเผยแพร หรือระบบเครือขาย คอมพิวเตอรของสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน 3) มีสทิ ธิรอ งเรียนตอคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานโดยตรง หรือคณะกรรมการผูใชพลังงานประจําเขต หากไดรับบริการที่ ไมเปนธรรม หรือถูกรบกวนสิทธิในอสังหาริมทรัพยจากผูป ระกอบกิจการพลังงาน หรือ ไดรับผลกระทบจากการประกอบกิจการพลังงาน

1) กิจการไฟฟา แบงออกเปน 5 ประเภทดังนี้ -กิจการผลิตไฟฟา -กิจการระบบสงไฟฟา -กิจการระบบจําหนายไฟฟา -กิจการจําหนายไฟฟา -กิจการควบคุมระบบไฟฟา 2) กิจการกาซธรรมชาติ แบงเปน 4 ประเภท ดังนี้ -กิจการขนสงกาซธรรมชาติทางทอผานระบบสงกาซธรรมชาติ -กิจการจัดหาและคาสงกาซธรรมชาติ -กิจการคาปลีกกาซธรรมชาติผานระบบจําหนายกาซธรมชาติ -กิจการเก็บรักษาและแปรสภาพกาซธรรมชาติจากของเหลวเปนกาซ Q : ประชาชนจะเขามามีบทบาทในการกํากับกิจการพลังงานอยางไร A : หัวใจของกฎหมายฉบับนี้ ใหความสําคัญกับการกํากับดูแล กิจการพลังงานใหเปนไปอยางโปรงใสและเปนธรรม จึงเปดโอกาสให ประชาชน ผูใชพลังงาน มีสวนรวมในการจัดการดานพลังงาน ดังนี้

Q : กองทุนพัฒนาไฟฟาตามกฎหมายวาดวยการประกอบ กิจการพลังงานมีวัตถุประสงคอยางไร A : วัตถุประสงคในการใชจายเงินของกองทุนพัฒนาไฟฟาตาม กฎหมายวาดวยการประกอบกิจการพลังงาน กําหนดไว ดังนี้ 1) ชดเชยและอุดหนุนผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟาซึ่งตอง ลงทุนวางระบบสายสงและสายจําหนายไฟฟาไปยังพื้นที่หางไกล เพื่อจัดให มีบริการแกผูใชไฟฟาที่ดอยโอกาสทั่วภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ 2) ชดเชยผูใชไฟฟาทีต่ อ งจายอัตราคาใชไฟฟาแพงขึน้ จากการทีผ่ รู บั ใบอนุญาตที่มีศูนยควบคุมระบบไฟฟามีการเลือกปฎิบัติอยางไมเปนธรรม ทําใหตนทุนการผลิตไฟฟาแพงขึ้น 3) พัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ ไดรับผลกระทบจากการดําเนินงาน ของโรงไฟฟา 4) สงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียน และเทคโนโลยีที่ ใชในการ ประกอบกิจการไฟฟาทีม่ ผี ลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอย เพือ่ ใหมกี ารกระจาย ชนิดของเชื้อเพลิงที่ ใชในการผลิตไฟฟาและในขณะเดียวกัน เพื่อสงเสริม สังคมและประชาชนใหมีความรู และมีสวนรวมในการใชและการจัดการ พลังงานไฟฟาใหเกิดประโยชนสูงสุด ขอขอบคุณขอมูล : คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) August 2012 l 77

Energy#45_p76-77_Pro3.indd 77

7/25/12 2:14 AM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

การจัดการทรัพยากรมนุษย เพื่อสิ่งแวดลอม

ปจจุบันกระแสระดับโลก ประเทศ องคการ สังคม-ชุมชน และระดับ องคการ ใสใจสิง่ แวดลอม หรือ “กระแสสีเขียว” ไมวา จะเปนธุรกิจโลจิสติกส หรือธุรกิจประเภทอื่น ๆ จะไดรับผลกระทบจากกระแสดังกลาว ทําให ผู  ป ระกอบธุ ร กิ จ จึ ง หั น มาพั ฒ นาระบบโลจิ ส ติ ก ส โดยเฉพาะกํ า ลั ง คน หรื อ ทรั พ ยากรมนุ ษ ย ที่ อ ยู  ใ นทุ ก ๆ กิ จ กรรมของธุ ร กิ จ เกิ ด จิ ต สํ า นึ ก ในเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอม อันเปนกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร ใหสอดคลองกับแนวคิด Green Logistics ในกิจกรรมโลจิสติกส ไดรวมถึง ทําใหเกิดความยั่งยืนในการดําเนินธุรกิจยุคนี้ ในเรือ่ งนี้ ฝายทีจ่ ะตองรับผิดชอบแบบเต็ม ๆ ก็คอื ฝายทรัพยากรมนุษย ซึ่ ง ในการจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย ยุ ค ใหม จะต อ งมี ก ระบวนการ ในการปลู ก สร า งจิ ต สํ า นึ ก แห ง สี เ ขี ย วกั บ บุ ค ลากรตั้ ง แต แ รกเริ่ ม ไป จนถึ ง เกษี ย ณอายุ ห รื อ ออกจากองค ก รไป โดยปลุ ก จิ ต สํ า นึ ก ให เ กิ ด ความรวมแรงรวมใจกันเกี่ยวกับเศรษฐกิจสีเขียว การลดอัตราการปลอย กาซคารบอนไดออกไชด การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ลดความเสีย่ ง ดานสิ่งแวดลอม เปนตน นับวาเปนบทบาทใหมของฝายทรัพยากรมนุษย ซึ่งจะตองสอดคลองกับปรัชญาในการดําเนินธุรกิจและตองเปนคูคิดเชิง กลยุทธขององคกรดวย จะไม ใชแคจัดอบรมการปรับปรุงกระบวนการ ทํางานใหประหยัด ลด เลิก และการนํากลับมาใชใหม ของทรัพยากรตางๆ ในองคกรเทานั้น นอกจากนี้ จะต อ งประสานงานกั บ ฝ า ยต า ง ๆ ในการสร า ง ภาพลั ก ษณ โ ดยรวมขององค ก ร และเป น การนํ า เสนอภาพลั ก ษณ

ขององค ก รสู  ส าธารณะให สั ง คมได รั บ ทราบว า เป น องค ก รไม ไ ด หวั ง ผลเพี ย งแค กํ า ไรเพี ย งอย า งเดี ย ว แต มี ก ารคํ า นึ ง ถึ ง ผู  มี ส  ว นได สวนเสียทุกภาคสวน ไมวาจะเปนสิ่งแวดลอม สังคม ชุมชน ลูกคา คูคา เปนตน ซึ่งในระยะยาวจะเปนประโยชนตอฝายทรัพยากรมนุษยที่จะชวยให สามารถหาคนไดงายขึ้น รักษาคนเกง และชวยใหพนักงานเกิดความผูกพัน กับองคกรอีกดวย สําหรับการจัดการทรัพยากรมนุษยเพื่อสิ่งแวดลอม (สีเขียว) หรือ Green Human Resource Management มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขัน้ ที่ 1 การสรรหาและคัดเลือก (Recruitment and Selection) จะตองมานัง่ ทบทวนการทํางานสรรหาและคัดเลือกทีจ่ ะนําไปสูก ารเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ดานการสรรหา คือ การลงโฆษณาประกาศรับสมัครงาน จะตองพิจารณาเลือกสื่อผาน Internet Website ของบริษัท Social Media อื่นๆ ที่เกิดขึ้นมากมายในรูปของ file Clip VDO เปนตน สวนการคัดเลือก ในการสัมภาษณควรมีการสอบถามความคิดเห็นของผูสมัครในเรื่อง สิ่งแวดลอมทั่วไปและการนํามาใชในการทํางาน เมื่อผานการบรรจุจะมีการ ทําเปน e- document ประวัตพิ นักงาน และจัดทําเปน Database ในสวนกลาง ขั้นที่ 2 การปฐมนิเทศ เมื่อรับพนักงานเขามาแลว จะตองมี การชี้แจงอธิบายใหพนักงานไดรับทราบถึงนโยบายขององคกรในเรื่อง สิ่งแวดลอม วิธีการทํางานแบบสีเขียวที่ถูกตอง การอนุรักษพลังานและ สิ่ ง แวดล อ ม รวมถึ ง ให เ ห็ น ถึ ง สภาพกระบวนการการปฏิ บั ติ ง านจริ ง โดยการใชผูเชี่ยวชาญมาใหความรู

78 l August 2012

Energy#45_p78-79_Pro3.indd 78

7/17/12 1:45 AM


ขัน้ 3 การฝกอบรมและพัฒนา (Training and Development) จะตองพัฒนาใหพนักงานมีความเขาใจเรื่องภาวะโลกรอนเพื่อเปลี่ยน แนวคิด การตระหนักรู ในเรื่องของสิ่งแวดลอม โดยใหพนักงานทุกคน รูสึกเขาใจไปในทิศทางเดียวกับนโยบายขององคกรที่กําลังปฏิบัติ และ ทบทวนกรอบสมรรถนะของพนักงาน ซึ่งควรมีการเพิ่มสมรรถนะทางดาน การทํางานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ขั้ น 4 การบริ ห ารผลการปฏิ บั ติ ง าน (Performance Management) จะเปนการเชื่อมโยงนโยบายและเปาหมายในเรื่องของ สิ่งแวดลอม ชีวอนามัย และความปลอดภัย ที่องคกรกําหนดไวเขาสูการ ปฏิบัติงานของพนักงาน เชน การนํากระดาษใชแลวมาใชใหม ตัวชี้วัด ลดคาใชจายในการสั่งซื้อกระดาษลง รอยละ 12 ปรับปรุงกระบวนการ ทํางานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ประหยัดการใชทรัพยากร ตาง ๆ ลง รอยละ 6 การเดินทางไปติดตองานหรือพบปะลูกคา จะตองเปนการ เดินทางดวยวิธีการประหยัดการใชพลังงาน ตัวชี้วัดลดการเดินทางโดย รถ Taxi ลง รอยละ 10 หรือ ใชนาํ้ มันแกสโซฮอล เพิม่ ขึน้ รอยละ 20 หรือ การเดินทางโดยระบบขนสงมวลชนเพิม่ ขึน้ รอยละ 20 การเปน Paperless office ตัวชีว้ ดั ลดคาใชจา ยในการซือ้ กระดาษลง รอยละ 30 เปนตน ขั้น 5 การใหรางวัลจูงใจพนักงาน (Reward Management) จะอิงกับผลลัพธของกิจกรรมในการทํางานที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม ซึ่งการใหรางวัลนี้ ไมควรจะเนนที่เปนตัวเงินมากนัก แตควรเปนรางวัล ทางดานจิตใจ เชน การยกยองชมเชยจากองคกรวา เปนหนวยงาน หรือ พนักงานดีเดนดานสิ่งแวดลอม สงเสริมใหไปทัศนศึกษาดานการจัดการ สิ่งแวดลอมที่องคกรอื่น ๆ ทั้งในและตางประเทศ เพื่อตอยอดความคิดใน

การจัดการสิ่งแวดลอมกับองคกรในอนาคตได หรือหากมีการสิ่งของที่ เหลือใชไปขาย แลวนําเงินที่ ไดนนั้ องคกรจะสมทบใหอกี หนึง่ เทาตัว เพือ่ เปน กองทุนในการสรางสถานที่ออกกําลังกายใหกับพนักงาน เปนตน ขัน้ 6 การรักษาพนักงานไวกบั องคกร (Retention) จากผลการ วิจัยดานการผูกใจพนักงาน (Employee Engagement) พบวา พนักงาน ซึ่งเปนคนรุนใหมอยากทํางานกับองคกรที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในฐานะ พลเมืองดีของโลกที่มีสวนรวมรับผิดชอบตอสังคม ดังนั้น หากองคกร ตองการรักษาพนักงานเหลานี้ ไว ใหทํางานกับองคกรนานๆ องคกร ควรดําเนินการนโยบายและแนวทางในเรื่องการจัดการประหยัดพลังงาน และรักษาสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง ไมทําตามกระแสหรือเปนแฟชั่น ซึ่งจะ เปนกลยุทธหนึ่งที่จะผูกใจพนักงานไวกับองคกรได การจัดการทรัพยากรมนุษยสเี ขียวจะตองเปนกระบวนการทีท่ าํ อยาง จริงจัง ไมใชแคการปรับปรุงการทํางานใหประหยัด ลด เลิก การใชพลังงาน อยางฟุมเฟอยเทานั้น และไม ใชทําตามกระแสหรือการประชาสัมพันธ แตฝา ย HR จะตองเปลีย่ นแนวคิด (Mind-set) ของคนในองคกรใหตระหนัก รูถึงภัยพิบัติตาง ๆ จากสภาวะโลกรอนที่จะเกิดขึ้นและสงผลมาถึงมวล มนุษยทุกคน และตองเปนการดึงดูดใจและสรางความศรัทธาใหกับผูที่จะ สมัครเขาทํางานกับบริษัท รวมถึงเปนการบอกใหบุคคลภายนอกไดรับรูเขาใจวาหากตองการทํางานรวมกับองคกร/บริษัทนั้นๆ เขาตองเปนคนที่ สนใจเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอมดวย ถึงจะทํางานดวยกันได อยางไรก็ ดี การจัดการทรัพยากรมนุษยสีเขียวนั้น นับเปนจุดเริ่มตนเล็ก ๆ อันหนึ่ง ที่จะชวยใหองคกร ประเทศ สังคม ในการรักษาโลก ยืดอายุใหโลก และเปน โลกที่นาอยูอาศัย (Green planet) อยางยั่งยืนตลอดไป

August 2012 l 79

Energy#45_p78-79_Pro3.indd 79

7/17/12 1:43 AM


Energy Concept โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

ประเมิ น ปลาทู น า ด ว ยเทคนิ ค NIR

ผลงานจาก ม.เกษตร ลดภาระโรงงาน แกปญ  หาสิง่ แวดลอม

อุตสาหกรรมการผลิตและแปรรูปปลาทูนา เปนอุตสาหกรรมที่มีความ สําคัญตอประเทศไทย ประเทศไทยสงออกปลาทูนาเปนอันดับหนึ่งของโลก ในป 2554 มีปริมาณการสงออก 645,702 ตัน คิดเปนมูลคา 74,907 ลานบาท และมี แนวโนมสูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง ตลาดทัง้ ภายในและตางประเทศลวนแตเนนเรือ่ งการ ตรวจสอบคุณภาพสินคาใหตรงตามมาตรฐานที่กําหนดไวทั้งสิ้น โดยมีการวาง กรอบเพื่อกําหนดคุณภาพกอนการรับซื้อ คือปริมาณเกลือและปริมาณฮีสตามีน โดยปริมาณเกลือมีมาตรฐานอยูที่ 1.8% salt หากมีปริมาณสูงจะทําใหราคาการ รับซือ้ ตํา่ สวนปริมาณฮีสตามีนเปนกรอบชีว้ ดั ความปลอดภัยใหกบั ผูบ ริโภค เพราะ เปนสารกอภูมิแพ โดยตองไมเกิน 5 mg% หรือ 50 ppm ปจจุบันการวิเคราะหปริมาณเกลือจะใชวิธีการไทเทรต สวนการวิเคราะห ปริมาณฮีสตามีนจะใชวิธีฟลูออโรเมตริก ซึ่งการวิเคราะหทั้งสองวิธีนี้ตางตองใช สารเคมี และยุงยาก ตองใชทักษะในการวิเคราะหสูง อีกทั้งใชระยะเวลาในการ วิเคราะหพอสมควร หากมีวิธีการตรวจสอบคุณภาพที่ถูกตอง รวดเร็ว และใช สารเคมีนอยลง จะเปนการลดภาระใหกับโรงงานอุตสาหกรรมและลดของเสีย จากการวิเคราะหดวยสารเคมี ถือเปนการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอีกดวย

น.ส.ศุ ท ธหทั ย โภชนากรณ นิ สิ ต จากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร วิ ท ยาเขตกํ า แพงแสน ได โ ชว ผ ลงงาน โครงการ การศึกษาเบื้องตนการประเมินคุณภาพการรับซื้อปลาทูนาดวยเทนิค

80 l August 2012

Energy#45_p80-81_Pro3.indd 80

7/25/12 4:58 PM


Near Infrared (NIR) Spectroscopy ภายใตการดูแลของ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ เปนอาจารยที่ปรึกษา ดีกรีรางวัลความคิดริเริ่มทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ครั้งที่ 5 โดย บริษัท ดาว เคมีคอล ประเทศไทย จํากัด รวมกับ บริษทั เอสซีจี เคมิคอลส และสมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต แหงประเทศไทย (สวคท.)

ES : เทคโนโลยี NIR คืออะไรครับ? น.ส.ศุ ท ธหทั ย : เทคโนโลยี อิ น ฟราเรดย า นใกล [Near-Infrared (NIR) Spectroscopy] เปนเทคนิคการตรวจสอบคุณภาพสินคาโดยไมทําลาย วัดคาได ทั้งแบบออนไลน และวัดคาเฉพาะตัวอยางที่สุม อีกทั้งยังไดผลที่รวดเร็ว ถูกตอง แมนยํา เชื่อถือได สามารถทวนขอมูลการตรวจสอบคุณภาพยอนหลัง สามารถ วิเคราะหไดหลายองคประกอบในเวลาเดียวกัน มีการเตรียมตัวอยางนอยหรืออาจ ไมตอ งมีการเตรียมตัวอยางเลย ลดของเสียจากการวิเคราะหทางเคมีและลดคาใช จายดานสารเคมี ทัง้ หมดนีถ้ อื เปนขอไดเปรียบของการตรวจสอบดวยเทคนิค NIR ฉะนั้น โครงการวิจัยนี้จึงตองการสรางระบบการวิเคราะหพารามิเตอรที่ สําคัญในการประเมินคุณภาพปลาทูนากอนการรับซื้ออยางรวดเร็ว คือ ปริมาณ เกลือและปริมาณฮีสตามีน ดวยเทคนิค NIR หากนําเทคนิค NIR ไปใชวิเคราะห แทนวิธีทางเคมี จะสามารถลดคาใชจายที่เปนตนทุนในสวนของการตรวจสอบ คุณภาพ ซึ่งตัวอยางที่ตองตรวจสอบมีทั้งตัวอยางในระบบ คือ ตัวอยางที่ตอง ตรวจสอบคุณภาพปกติ และตัวอยางนอกระบบ คือ ตัวอยางที่มีการตรวจสอบ ซํ้าในกรณีที่มีการปฏิเสธการรับซื้อ ES : มีการวิเคราะหเชิงพาณิชยแลวหรือยัง? น.ส.ศุทธหทัย : ปจจุบัน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จํากัด ผูรวม โครงการและใหความอนุเคราะหตัวอยางในโครงการนี้ ซึ่งเปนโรงงานแปรรูป ปลาทูนารายใหญที่สุดในประเทศไทยไดเริ่มนําเทคนิค NIR นี้ ไปใชในการวิเคราะห คุณภาพเพือ่ ลดการวิเคราะหทางเคมีแลวบางสวน คือ ระบบการวิเคราะหปริมาณ เกลือในปลาทูนาสายพันธุ Skipjack โดยระบบที่ใชจะวัดสเปกตรัมชิ้นเนื้อปลาแช แข็งดวยเครือ่ ง Portable NIR spectrometer ซึง่ ระบบนีส้ ามารถลดการสูญเสีย ตัวอยางปลาทูนา สําหรับการวิเคราะห ปริมาณเกลือ 8,100 กิโลกรัมตอป คิด เปนมูลคาความเสียหาย 445,500 บาทตอ ป ลดคาใชจา ยดานสารเคมีในการวิเคราะห ปริมาณเกลือ 135,000 บาทตอป ลด ตนทุนในสวนของการวิเคราะหปริมาณ เกลือได 580,500 บาทตอป ES : ผลการดําเนินงานเปนอยางไรบางครับ? น.ส.ศุทธหทัย : ทางบริษัทไดมีการจัดซื้อเครื่อง Portable NIR spectrometer ซึ่งจําหนายในทองตลาดทั่วไปในราคา 900,000 บาท จะสามารถคืนทุนไดใน

ระยะเวลา 1.5 ป โดยทางโรงงานสามารถนํา ระบบที่พัฒนาไปใชกับปลาทูนาแชแข็งทั้งตัวได เนื่องจากลักษณะตัวอยางที่เปนชิ้นปลาแชแข็ง กับปลาแชแข็งทั้งตัวมีความคลายคลึงกันมาก จึงเปนการลดงานและเวลาในสวนของการตัด ชิ้นเนื้อปลาเพื่อนํามาวิเคราะหคุณภาพ สงผล ใหสามารถสุมตัวอยางที่จะนํามาวิเคราะหได มากขึ้น ทําใหตรวจสอบคุณภาพไดครอบคลุมและลดการปฏิเสธสินคาไดอีกดวย สวนระบบวิเคราะหปริมาณฮีสตามีน อยูในขั้นตอนของการเตรียมการ แมวาระบบที่สรางขึ้นตองมีการเตรียมตัวอยางรวมกับการใชเทคนิค DESIR แต มีขั้นตอนการเตรียมตัวอยาง รวมไปถึงการใชสารเคมีลดลง ดังนั้นจึงสามารถ ลดคาใชจายดานสารเคมีไดอยางนอย 234,026 บาทตอป ลดระยะเวลาในการ วิเคราะหเหลือเพียง 20-25 นาทีตอหนึ่งรอบการเตรียม 10 ตัวอยาง นอกจาก นี้ยังลดจํานวนคนงานและคาใชจายดานแรงงานไดอีกดวย ES : ระบบนี้มีประโยชนอยางไร? น.ส.ศุทธหทัย : ระบบดังกลาวที่พัฒนาขางตนสามารถนําไปขอรับรองความ สามารถเทคนิควิธีการวิเคราะหนี้เปนวิธีมาตรฐานได โดยขอการรับรองจาก กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยการตรวจ สอบความใชไดของระบบ (Method Validation) เทียบกับวิธีวิเคราะหปริมาณ เกลือและฮีสตามีนแบบดั้งเดิม โดยมีเอกสารและรายละเอียดที่เกี่ยวของตาม ISO 12099:2010 (Animal feeding stuffs, cereals and milled cereal products – Guidelines for the application of near infrared spectrometry) ซึ่งเมื่อผานการรับรองแลว คาที่วิเคราะหไดดวยเทคนิค NIR นี้ ก็จะเปนที่ยอมรับ ในระดับสากล สามารถใชอางอิงเพื่อการซื้อขายหรือแสดงคุณภาพของสินคาได ES : เรียกไดวาคุมคามาก แลวตนทุนตอเครื่องสูงไหมครับ? น.ส.ศุทธหทัย : แมวา ตนทุนของเครือ่ งมือ NIR spectrometer ทีจ่ าํ หนายในทอง ตลาดจะมีราคาคอนขางสูง ประมาณตั้งแต 1,000,000 บาท ขึ้นไป แตเนื่องจาก อาจารยทปี่ รึกษาโครงงานวิจยั นี้ คือ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ ประสบความสําเร็จ ในการประดิษฐเครื่องมือ NIR spectrometer แบบ Diode Array ที่มีราคาถูกลง เหลือเพียง 100,000 บาท ทําใหคาใชจายที่เปนตนทุนของเครื่องมือตัวเดียวกัน นี้ลดลง สามารถนําเครื่องมือไปวิเคราะหผลิตภัณฑอื่นๆ และพารามิเตอรคุณ ภาพอื่นๆที่ตองการวิเคราะหภายในโรงงานไดอยางรวดเร็ว ทําใหเครื่องมือนี้ถูก นําไปใชไดอยางคุมคาและแพรหลายมากยิ่งขึ้นในอนาคต เพราะ นอกจากเทคนิค NIR จะสามารถประเมินคุณภาพปลาทูนาสด คือปริมาณเกลือและฮีสตามีนได แลว ยังสามารถตรวจสอบคุณภาพ ของผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากปลาทู น  า ที่ ผ  า น การแปรรูปไดอีกดวย ยกตัวอยาง เชน ผลิตภัณฑอาหารสุนัขและแมว แบบเปยก จากการศึกษาเบื้องตนพบ วา หากใชระบบการวัดดวยเครื่อง Portable NIR spectrometer ซึ่งมี อํานาจทะลุทะลวงมากพอที่จะสามารถ ตรวจสอบปริมาณองคประกอบภายใน เชน โปรตีน ไขมัน และความชื้น ไดโดย ไมตองเปดบรรจุภัณฑ หรือสามารถ ตรวจสอบคุ ณ ภาพสิ น ค า ได โ ดยไม ทําลายตัวอยางอีกดวย

August 2012 l 81

Energy#45_p80-81_Pro3.indd 81

7/25/12 4:58 PM


HOW TO

ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม

10 บัญญัติ ประหยัดนํ้ามัน

1. ขับรถไมเกิน 90 ก.ม./ชม. ความเร็วสูงสุดทีก่ ฎหมายกําหนดไว ไดแก ทางธรรมดา 90 กม./ชม. ทางดวน 110 กม./ชม. และมอเตอรเวย 120 กม./ชม. 2. จอดรถไวบา นโดยสารสาธารณะ ถาผูใชรถยนตรอ ยละ 1 จาก จํานวน 5 ลานคัน หันมาใชบริการรถสาธารณะดวยระยะทาง 48 กม./วัน ใน 1 ป (260 วันทํางาน) จะประหยัดนํ้ามัน 52 ลานลิตร คิดเปนคานํ้ามัน 780 ลานบาท 3. ไมขับก็ดับเครื่อง การติดเครื่องยนตจอดอยูเฉยๆ เปนเวลา 5 นาที สิ้นเปลืองนํ้ามันโดยเปลาประโยชน 500 ซีซี 4. ทางเดียวกันไปดวยกัน ถาขับรถยนต 5 คัน ไปทางเดียวกัน ที่หมายใกลกัน ระยะทาง 48 กม./คัน (ไป-กลับ) ใน 1 ป (260 วันทํางาน) จะสิ้นเปลืองนํ้ามัน 5,200 ลิตร คิดเปนคานํ้ามัน 78,000 บาท และถารอย ละ 1 ของรถยนต 5 ลานคัน ใช Car Pool สลับขับ 5 คน ตอรถ 1 คัน ใน 1 ป จะประหยัดนํ้ามันได 41.6 ลานลิตร คิดเปนเงิน 624 ลานบาท 5. หลีกเลีย่ งชัว่ โมงเรงดวน ถารถติดเพียงรอยละ 1 ของ จํานวน รถยนต 5 ลานคัน ในวันทํางานทุกวันและในบางเสาร-อาทิตย ใน 1 ป (330 วัน/ป) จะสิน้ เปลืองนํา้ มัน 12.4 ลานลิตร คิดเปนคานํา้ มัน 186 ลานบาท 6. ใชโทรศัพท-โทรสารเลี่ยงรถติด ใชอุปกรณสื่อสารแทน การเดินทาง เชน สงหนังสือระหวางหนวยงาน หากเรงดวนก็ใชวิธีสงทาง โทรสาร หากเปนเอกสารสําคัญก็ใชวิธีรวบรวมเอกสารแลวสงพรอมกัน หนังสือเวียนที่ ไมสําคัญก็ใชวิธีสง E-Mail หรือสงไปรษณีย

7. วางแผนกอนเดินทาง ถาไมศึกษา เสนทางกอนเดินทาง และขับรถหลงทาง 10 นาที จะสิ้นเปลืองนํ้ามัน 500 ซีซี คิดเปนคานํ้ามัน 7.50 บาท ถารถยนต 5 ลานคัน ขับหลงทาง เฉลี่ยเดือนละ 1 ครั้ง ใน 1 ป จะสิ้นเปลืองนํ้ามัน 30 ลานลิตร คิดเปนคานํ้ามัน 450 ลานบาท 8. ลมยางตองพอดีไสกรองตองสะอาด ความดันลมยางออนกวามาตรฐาน 1 ปอนด ตอตารางนิ้ว ถาขับทุกวันเฉลี่ยวันละ 48 กม. ใน 1 เดือน รถยนตจะสิ้นเปลืองนํ้ามันเพิ่มขึ้น 2.4 ลิตร รถจักรยานยนตจะสิน้ เปลืองนํา้ มันเพิม่ ขึน้ 1.2 ลิตร รถบรรทุกจะสิ้นเปลืองนํ้ามันเพิ่มขึ้น 4.2 ลิตร ถารอยละ 30 ของรถแตละประเภท ละเลย เชนนีบ้ อ ยๆ รวมเปน 30 วัน/ป จะสิน้ เปลืองนํา้ มัน เพิม่ ขึน้ 5.8 ลานลิตร คิดเปนเงิน 87 ลานบาท และถาไสกรองสะอาด จะชวยลดการสิ้นเปลือง นํา้ มันวันละ 65 ซีซี ควรทําความสะอาดทุก 2,500 กม. และควรเปลีย่ นทุก 20,000 กม. 9. ไมบรรทุกของเกินจําเปน หากขับรถโดยบรรทุกของที่ ไม จําเปน ประมาณ 10 ก.ก. เปนระยะทาง 25 ก.ม. จะสิ้นเปลืองนํ้ามัน 40 ซีซี ถารอยละ 10 ของรถยนตทั่วประเทศ 5 ลานคัน ขับรถโดยบรรทุก สิ่งของที่ ไมจําเปน ใน 1 ป จะสิ้นเปลืองนํ้ามัน 7.3 ลานลิตร คิดเปนเงิน 10.95 ลานบาท 10. ตรวจเช็คเครื่องยนตเปนประจํา ควรเปลี่ยนไสกรองตาม กําหนด เปลี่ยนนํ้ามันหลอลื่นทุก 5,000 กม. ตรวจสอบระดับนํ้ามันเครื่อง และนํ้าในแบตเตอรี่ ตรวจสอบระดับนํ้าปอนหมอนํ้า การปรับปรุงสมรรถนะ รถยนตใหดีตลอดเวลา ชวยประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงได รอยละ 3- 9

ขอบคุณขอมูลจาก : http://www.eppo.go.th

82 l August 2012

Energy#45_p82_Pro3.indd 82

7/17/12 11:39 PM


Energy in Trend

โดย : กองบรรณาธิการ

พืชพลังงาน

ขุมทรัพยพลังงานจากธรรมชาติ

http://www.businessweek.com/magazine/fracking/slideshow.html

ฉบั บ นี้ ข อเล า ความคื บ หน า ของ พื ช พลั ง งานที่ นํ า มาผลิ ต กาซอัดใชกับรถยนต จากการประเมินภาพรวมการใชพลังงานของโลกโดย Energy Information Administration : EIA พบวาตั้งแตป 2544 – 2568 การใชพลังงานจะเพิ่มขึ้นรอยละ 54 โดยแหลงพลังงานที่ถูกใชมากที่สุด 3 อันดับ แรกคือ นํ้ามัน กาซธรรมชาติ และถานหิน ซึ่งหากโลกมีการใชพลังงานเหลานี้ ใน ระดับที่เปนอยูและไมมีการคนพบเพิ่มเติม โลกจะเหลือแหลงพลังงานสํารองจาก พลังงานฟอสซิลเหลานีอ้ กี ไมนาน ทําใหหลายๆประเทศตองเรงแสวงหาพลังงาน จากแหลงธรรมชาติมาทดแทน อาทิ แสงอาทิตย นํ้า ลม เปนตน และลาสุดไดมีการนําพืชมาผลิตเปนพลังงานทดแทนแลวในหลายๆ ประเทศ โดยการนําพืชที่มีศักยภาพมาผลิตกาซชีวภาพใหทดแทนพลังงาน โดยปจจุบนั ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวอยางเยอรมนี สามารถพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต กาซชีวภาพจากพืชพลังงานเพือ่ ใหไดกา ซมีเทนมาใชเปนเชือ้ เพลิงแลวกวา 6,800 แหงทัว่ ประเทศ ผลิตไฟฟาได 1,600 เมกะวัตต (ทีม่ า : Scholwin, Germany, 2010) และจีนมีการพัฒนาโรงผลิตไฟฟาที่ใชหญาเลีย้ งสัตวเปนเชือ้ เพลิงขนาด 30 เมกะวัตต (ที่มา : viaspace inc., China 2010) สําหรับประเทศไทยไดตระหนักถึงความสําคัญของการผลิตและจัดหา พลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานทดแทนที่ ไดมาจากพืชเชนกัน เนื่องจาก ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม และมีพืชที่ปลูกในประเทศหลายชนิดที่ สามารถนําไปพัฒนาและผลิตเปนพลังงานทดแทนได โดยที่ผานมาระหวาง ป 2551 – 2554 สนพ. ไดมีการสงเสริมวิจัยพัฒนานํากากของเสีย โดย เฉพาะการนํ า พื ช พลั ง งานที่ มี ศั ก ยภาพมาหมั ก เพื่ อ ผลิ ต เป น ก า ซชี ว ภาพใช ทดแทนพลังงาน ซึ่งผลที่ ไดนอกจากจะนํามาผลิตไฟฟาและความรอนแลว จะมี การพัฒนาเพื่อมุงสูการผลิตเปนกาซชีวภาพอัด ( CBG : Compressed Biomethane Gas) ใชเปนเชื้อเพลิงทดแทน NGV ในภาคขนสง กระทรวงพลังงานโดย สนพ. ไดมีการลงทุนสนับสนุนหนวยงานวิจัยใน การศึกษาพัฒนาเทคโนโลยีผลิตกาซชีวภาพจากพืชชนิดตางๆ ในประเทศเพื่อ สรางความเชื่อมั่นและเพื่อใหเกิดการผลักดันในการใชของเสีย นํ้าเสีย และพืชที่มี

อยูในประเทศมาผลิตกาซชีวภาพใชเปนพลังงานทดแทนใหไดถงึ 2,896 Ktoe ในป 2564 ตามเปาหมายแผน AEDP โดยปจจุบัน สนพ. ไดมอบหมายใหมหาวิทยาลัย เชียงใหม (มช.) ทําการศึกษาวิจยั นําพืชชนิดตางๆ ทีม่ อี ยูในประเทศไทย และคาดวา จะมีศักยภาพมาผลิตเปนกาซชีวภาพภายใตโครงการ “ศึกษาสภาวะที่เหมาะสม ในการผลิตกาซชีวภาพจากหญาตางๆ ในประเทศไทย” โดยการสนับสนุน งบประมาณจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน โดย มช. ไดมีการสํารวจขอมูลและวิจัยหญาจํานวน 17 ชนิดที่มีอยูใน ประเทศ อาทิ หญาเนเปยรปากชอง 1 หญาบานา หญาขน หญาแขมออ (ออนอย) หญาแขมใบเล็ก หญาแขมใบใหญ หญาขจรจบ หญาแฝก เปนตน เพื่อศึกษา ศักยภาพและสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตกาซชีวภาพ ผลการวิจัยพบวา หญาเนเปยรปากชอง 1 ซึง่ ปจจุบนั นําไปใชเลีย้ งวัวนัน้ มีผลผลิตตอไรมากทีส่ ดุ โดยมีผลผลิตประมาณ 70 – 80 ตันนํา้ หนักสดตอไรตอ ปมากกวาหญาชนิดอืน่ เกือบ 7 เทา และมีศกั ยภาพในการผลิตกาซมีเทนสูงทีส่ ดุ โดยมีคา อัตราการผลิต กาซมีเทนเทียบเทาปริมาณกาซชีวภาพ 129 ลบ.ม.ตอ 1 ตันหญาสด ซึ่งขั้นตอนตอไป มช. จะทําการพัฒนาระบบตนแบบสําหรับการผลิตกาซ ชีวภาพจากหญา รวมถึงวิเคราะหความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรการ ลงทุนและการนํากาซชีวภาพไปใชประโยชนในการผลิตกาซไบโอมีเทนอัดสําหรับ ยานยนตเพื่อไปพัฒนาและขยายผลในเชิงพาณิชยตอไป การสงเสริมการปลูกหญาเลี้ยงสัตวเพื่อนํามาผลิตเปนพลังงานนั้น นอกจากจะเปนผลดีตอเกษตรกร คือ ชวยใหเกษตรกรมีทางเลือกในการปลูก พืชมากขึน้ และยังสามารถสรางรายไดเพิม่ ใหแกเกษตรกร ลดปญหาการอพยพ แรงงานในพืน้ ทีส่ เู มือง และยังจะเปนอีกทางเลือกหนึง่ ของพืชพลังงานในอนาคต ทีส่ ามารถนําไปผลิตเปนพลังงานทดแทนการนําเขานํา้ มันดิบ กาซปโตรเลียมเหลว จากต า งประเทศ และที่ สํ า คั ญ ยั ง เป น การสร า งความมั่ น คงด า นพลั ง งาน ของประเทศในอนาคตอีกดวย

August 2012 l 83

Energy#45_p83_Pro3.indd 83

7/25/12 1:04 AM


Renergy

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

Biological Drying Technology หรือเรียกสั้นๆวา Bio-Dry อาจ ไม ใชเทคโนโลยี ใหมของโลก แตจะดูเปนเทคโนโลยี ใหมสําหรับคนไทย อยู  ไ ม น  อ ย นอกจากความพิ เ ศษของแผ น membrane ที่ ย อมให ความชื้ น ผ า นออกได อ ย า งสะดวก แต ก ลั บ ป อ งกั น ไม ใ ห ก ลิ่ น ออก อี ก ทั้ ง นํ้ า จากภายนอกยั ง ไม ส ามารถผ า นแผ น membrane เข า มา ภายในไดอีกดวย Bio-Dry เปนเทคโนโลยีที่ ใชกระบวนการทางชีววิทยา ในการลดความชื้ น จากขยะอิ น ทรี ย  ขยะชุ ม ชน ทลายปาล ม เปล า (EFB: Empty Fruit Brunch) เชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวลต า งๆ และใน อุ ต สาหกรรมอาหาร โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ประเภทปลากระป อ งที่ มั ก มีกลิ่นรบกวนไปไกลๆ ใหลดลงอยางรวดเร็วประมาณอาทิตยละ 10% โดยไมตองพึ่งพาพลังงานความรอน เพียงอาศัยการควบคุมปริมาณ อากาศ และอุณหภูมิภายในดวยระบบคอมพิวเตอร นับวาเปนกระบวนการ ที่ ต  น ทุ น ตํ่ า กว า ระบบอื่ น ๆ ที่ มี อ ยู  ใ นป จ จุ บั น สามารถใช ล ดความชื้ น และปองกันการเกิดกลิ่นของขยะหรือของเหลือใช ในกระบวนการผลิต เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟา

การติดตั้ง Bio-Dry

เปนระบบที่มีการติดตั้งไมยากนัก คลายกับการหมักปุยแบบเติม อากาศ แตจะแตกตางกันตรงที่แผน membrane หากเปนแบบทั่วไป ที่ สํ า หรั บ ใช ทํ า ปุ  ย หมั ก แผ น membrane จะไม ย อมให ค วามชื้ น ออกไปสู  ภ ายนอก ทั้ ง นี้ เ พื่ อ รั ก ษาความชื้ น ของกองปุ  ย หมั ก เอาไว สวนเทคโนโลยี Bio-Dry แผน membrane จะไมยอมใหกลิน่ และความรอนออก ส ว นความชื้ น สามารถระเหยจากภายในสู  ภ ายนอกได ต ลอดเวลา จากการทดสอบวัสดุที่มีความชื้น 60% เมื่อใชเทคโนโลยีนี้ ความชื้น จะลดลงถึง 30% ในเวลา 21 วันหรือประมาณ 3 อาทิตย

การทํางานของ Bio-Dry

• ยอยและคัดแยกวัสดุที่ตองการลดความชื้น เชน ขยะชุมชน ขยะ อินทรียตางๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการยอยสลาย และลดพื้นที่การใชงาน • นําวัสดุที่ตองการลดความชื้นไปไวในสถานที่ที่จัดเตรียมไวใน อาคาร จากนั้นทําการคลุมดวยแผน membrane • นําวัสดุดังกลาวเทกองไวบนพื้นที่จัดเตรียมไวแลวคลุมดวยแผน membrane ใหเรียบรอย • เ มื่ อ เ ริ่ ม ก า ร ทํ า ง า น เ ค รื่ อ ง เ ติ ม อ า ก า ศ ซึ่ ง ค ว บ คุ ม ดวยคอมพิวเตอรจะเริ่มปรับปริมาณอากาศใหเหมาะสม • ชุ ด วั ด อุ ณ หภู มิ ภ ายในจะเริ่ ม ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ใ ห อ ยู  ที่ 70-80ºC • ในอุณหภูมิที่เหมาะสม แบคทีเรียชนิดใชอากาศจะเริ่มทํางานโดย ไมจําเปนตองเติมแบคทีเรียสายพันธุใด สายพันธุหนึ่งโดยเฉพาะ • กลิ่ น และความร อ นไม ส ามารถผ า นแผ น membrane สูภายนอกได

84 l August 2012

Energy#45_p84-85_Pro3.indd 84

7/17/12 1:49 AM


ประโยชนของการใช Bio-Dry

• ความชื้นและคารบอนไดออกไซดแพรผานแผน membrane สูภายนอก • ระยะเวลาของกระบวนการ Bio-Dry อาจมากหรือนอยขึ้นอยูกับ วัตถุประสงคของการนําไปใชงาน และขึ้นอยูกับชนิดและขนาดของวัตถุดิบ นั้นๆ

1. ลดความชืน้ จากขยะชุมชนและขยะอินทรียไ ด เมือ่ ผานกระบวนการ คัดแยกและปรับปรุงคุณภาพแลว สามารถใชเปนเชื้อเพลิงจากขยะได เชนเดียวกับพลาสติก กระดาษ ผาทีม่ คี า ความรอนเหมาะสม สําหรับใชผลิต ไฟฟาหรือผลิตพลังงานความรอนในโรงงานอุตสาหกรรม 2. ลดการฝงกลบของขยะชุมชนและขยะอินทรีย ทําใหสามารถยืด อายุของบอฝงกลบได 3. ลดความชื้นทะลายปาลมเปลา (EFB : Empty Fruit Bunch) ที่ผานการยอยลดขนาดมาแลว เพื่อใชเปน Feedstock ของโรงไฟฟา ชีวมวล โดยไมตองผานกระบวนการอบแหงที่ตองใชพลังงานสูง 4. ลดความชืน้ จากไมสบั (Wood chip) โดยเฉพาะอยางยิง่ ทีม่ าจาก ไมสด ซึ่งมีคาความชื้นสูงกวา 40% 5. ใชปองกันกลิ่นและลดความชื้นในอุตสาหกรรมอาหาร รวมทั้ง กากตะกอนจากระบบบําบัดนํ้าเสีย

Bio-Dry

อี ก หนึ่ ง เทคโนโลยี ชี ว ภาพ ที่ กํ า ลั ง เข า มาท า ทายความสามารถ ของนั ก ไบโอเทคโนโลยี ข องไทย ในอดีตเราตองซื้อเทคโนโลยีไบโอแกส จากประเทศพั ฒ นาแล ว อย า งเช น ยุโรป เพื่อมาใชกับระบบบําบัดนํ้าเสีย ในอุ ต สาหกรรมแป ง มั น หรื อ ฟาร ม สุกร แตวันนี้ ไทยเรากําลังเปนผูนํา ดานเทคโนโลยีไบโอ-แกส ในภูมิภาคนี้ และกําลังกาวหนาไปสูก ารนําเทคโนโลยี ไบโอแกส ไปใชกับพืชพลังงานเพื่อผลิต ไฟฟา แตสําหรับ Bio-Dry คนไทย คงต อ งเริ่ ม ต น ด ว ยการนํ า เข า เทคโนโลยีไปกอน และคงตองใชเวลา ในการวิจัยพัฒนาอีกนานพอสมควร โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่ภาครัฐฯ รัดเข็มขัดงบประมาณดานการวิจัยเชน ในปจจุบัน

August 2012 l 85

Energy#45_p84-85_Pro3.indd 85

7/17/12 1:49 AM


Energy Exhibit โดย : กองบรรณาธิการ

Industry Tomorrow Expo 2012 กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เปดงาน Industry Tomorrow Expo 2012 ภายใตโครงการคลินิคอุตสาหกรรมเพื่อชวยเหลือ สถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม SMEs และผูประกอบการ OTOP ที่ ไดรับผลกระทบจากปญหาภัยนํ้าทวมที่ผานมา โดยงานนี้มี ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ไดใหเกียรติเปนประธานเปดงานอยาง เปนทางการ ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์ พรอมดวยดารานักแสดงมาก ประสบการอยาง คุณเมย เฟองอารมย และผูบริหารระดับสูงของกระทรวง อุตสาหกรรมรวมเปดงานในครั้งดวย และจากปญหาที่เกิด ขึน้ จากผูป ระสบภัยนํา้ ทวมนัน้ ไดมีผูมาลงทะเบียนยื่นความ จํานงขอรับความชวยเหลือ จากกระทรวงอุตสาหกรรม มากกวา 5,000 ราย จาก 30 จังหวัด จึงเปนที่มาของ การจัดงานในครั้งนี้ ภายใต แนวคิด “มองหนา เดินหนา เพือ่ วันหนา” ระหวางวันที่ 20 – 22 กรกฎาคม 2555 ที่ผานมาเพื่อประคับประคองชวยเหลือใหผูประกอบการไทยทุกคน สามารถฟนฝาและกาวขามอุปสรรคที่เกิดขึ้นนี้ ไปดวยกัน ทั้ ง นี้ น อกจากการออกบู ธ ของ ผูประกอบการแลวภายในงานยังมีบริการ ดานขอมูลขาวสารและการใหคําปรึกษา แนะนําแก SMEs / OTOP และประชาชน ทั่วไปที่กําลังมองหาลูทางใหมๆ ในการทํา

ธุรกิจ โดยกรมสงเสริมอุตสาหกรรม และหนวยงานพันธมิตรยังไดจัดสรร พืน้ ที่ในสวนของการเจรจาธุรกิจ และ การตลาดอิเล็กทรอนิกสเพือ่ เพิม่ ชอง ทางการจําหนายสินคาไดมากยิ่งขึ้น สําหรับงานการจัดงานในครัง้ นี้ซึ่งเปนครั้งแรกนั้นถือไดวาประสบ ความสําเร็จเปนอยางดีเนื่องจากได รั บ ความสนใจจากประชาชนทั่ ว ไป เขามาเดินในงานกันอยางหลนหลาม และผูบริหารระดับสูงของกระทรวง อุตสาหกรรมแจมาวาอาจจะมีงาน ลั ก ษณ นี้ เ กิ ด ขึ้ น อี ก ในป ห น า หากผู  ประกอบการสนใจสามารถติดตาม ไดในเว็บไซตกระทรวงฯ ครับ

86 l August 2012

Energy#45_p86-87_Pro3.indd 84

7/25/12 2:03 AM


ปทุมธานี มอเตอรโชว 2012

จัดโปรโมชัน่ หนัก แจกทองกระหนํา่ กวาลานบาท

นอกจากนี้ แ ล ว บริ ษั ท โตโยตา ลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จํากัด ยังไดจัดโปรโมชั่นครั้งนี้ ดวย โดยมีแคมเปญ “โปรแกรม สบายดีพลัส” มาใหลูกคา ซึ่ง ลูกคาที่ซื้อรถโตโยตา วีออส ผอนเริ่มตนเพียง 4,245 บาท รถยาริ ส ผ อ นเริ่ ม ต น เพี ย ง 4,441 บาท อัสติส ผอนเริ่ม ต น เพี ย ง 6,871 บาท และ วี โ ก สมาร ท แค็ บ ผ อ นเริ่ ม ตนเพียง 4,873 บาทเทานั้น และนอกจากแคมเปญนี้ แ ล ว ภายในงานจะมีโปรโมชั่นอื่นๆ มานําเสนอใหลกู คาอีกมากมาย เชนกัน

ถือวาประสบความสําเร็จเปนอยางดีครับสําหรับงาน “ปทุมธานี มอเตอรโชว 2012” ซึ่งจัดเปนครั้งแรก ระหวางวันที่ 19 – 25 กรกฎาคม 2555 ณ ลานแคสคาตา ชั้น G ศูนยการคาฟวเจอรพารค รังสิต โดยงาน ครั้งนี้จะเปนการรวมของผูแทนจําหนายของโตโยตา 5 รายใหญ ในเขตพื้นที่ จังหวัดปทุมธานีมาออกบูธรวมกันทั้งหมด ไดแก บริษัท โตโยตาปทุมธานี ผูจําหนายโตโยตา จํากัด, บริษัท โตโยตาเฟรนสชิป จํากัด, บริษัท โตโยตา พารากอน มอเตอร จํากัด, บริษัท โตโยตา เภตรา จํากัด และบริษัท โตโยตา พี.เอส. เอ็นเตอรไพรซ จํากัด” ภายในงานนี้ โตโยตาไดนําทั้งรถยนตนั่ง และรถกระบะ ของโตโยตามา โชว พรอมกับโปรโมชั่นแคมเปญสุดพิเศษใหกับลูกคาอีกดวย อาทิเชน ผูที่จอง รถโตโยตาภายในงานจะไดสิทธิ์ลุนรับสรอยคอทองคํา มูลคารวมกวาลานบาท นอกจากนี้ยังมีรางวัลอื่นๆ และของสมนาคุณพรอมมอบใหกับลูกคาอีกดวย พร อ มกั น นี้ ผู  เ ข า ชมงานยั ง ได สัมผัส Toyota 86 นวัตกรรมยานยนตสดุ ลํ้าจากโตโยตา และรวมสนุกกับกิจกรรม Smart G-Book, The Style by Toyota, Toyota Motor sport Fan club พบปะ ใกลชิดรวมเลนเกมสกับดารานักแสดง มากมาย รวมถึงสนุกกับมินิคอนเสิรต จากศิ ล ป น ชั้ น นํ า อย า ง โซคู ล , แบล็ ค แฮด, ติ๊กชีโร, หวาย คามิคาเซ, สินเจริญ บราเทอร, บิลลี่ โอแกน, วิค AF1, ไอเฟล และลิเดีย เปนตน August 2012 l 87

Energy#45_p86-87_Pro3.indd 85

7/25/12 2:03 AM


Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“กสิกร” จับมือ “ชไนเดอร”

เปดตัวสินเชื่ออนุรกั ษพลังงานครบวงจร

ประเทศไทยถือเปนประเทศลําดับที่ 21 ในการปลอยคารบอนไดออกไซด สูโ ลก หรือปริมาณ 300 ลานตันตอป ขณะเดียวกัน มีอตั ราการใชพลังงาน สูงถึงรอยละ 17-18 ของจีดีพี ทําใหไทยตองปรับตัวหันมาใชพลังงาน ทดแทน ขณะที่เอกชนตองเรงปรับปรุงกระบวนการผลิต และนําเทคโนโลยี สมัยใหมมาใช เพื่อชวยประหยัดพลังงาน และลดตนทุนการดําเนินงาน แตที่ผานมา ผูประกอบการมีปญหาเขาไมถึงแหลงเงินทุน และขาดความ รูความเขาใจในเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน ทําใหการประหยัดพลังงาน ของภาคธุรกิจไทยยังไมคอยไดรับความสนใจมากนัก ดังนั้น ธนาคารกสิ กรไทย ไดรวมมือกับ บริ ษั ท ชไนเดอร (ไทยแลนด ) จํ า กั ด ในฐานะที่ ป รึ ก ษาด า นพลั ง งาน เป ด โครงการ สินเชื่ออนุรักษพลังงานแบบครบวงจรในโปรแกรม สินเชื่อรับประกันการ ประหยัดพลังงานกสิกร ไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) โดยธนาคารจะให ก าร สนับสนุนดานการเงินแก ลูกคาที่เขารวมโครงการ โ ด ย ใ ห  ว ง เ งิ น สู ง สุ ด ร อ ยละ 100 ของเงิ น ล ง ทุ น ทั้ ง ห ม ด ข อ ง โครงการ ระยะเวลาการ

ผอนชําระ 7 ป ดอกเบี้ยรอยละ 0 ใน 6 เดือนแรก และอัตราดอกเบี้ย MLR ลบรอยละ 1 ในเดือนที่ 7-8 หลังจากนั้น คิดอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑปกติ ใหกับผูที่ ขอสินเชื่อภายในสิ้นปนี้ สํ า หรั บ สิ น เชื่ อ ดั ง กล า วเพื่ อ ให ผู  ป ระกอบการ นําไปลงทุนพัฒนาระบบจัดการดานพลังงาน ใหเกิด การประหยัดพลังงานสูงสุด ชวยลดตนทุนและเปนผลดี ตอการใชพลังงานของประเทศโดยธนาคารคาดวาจะให สินเชื่อประหยัดพลังงานประมาณ 3,000 ลานบาท ซึ่ง ในชวง 3 ปที่ผานมา ธนาคารปลอยสินเชื่อ ที่เกี่ยวของ กับการประหยัดพลังงาน 30 โครงการ คิดเปนพลังงาน ไฟฟาที่ผลิตได 700 เมกะวัตต โดยชไนเดอร จ ะเป น ผู  วิ เ คราะห แ ละรั บ ประกั น ความเสี่ ย งด า นพลั ง งานในการทํ า สิ น เชื่ อ โดยจะรั บ ประกั น ผลการ ประหยั ด พลั ง งานที่ ได จ ากการลงทุ น ในโครงการ ทํ า ให ผู  บ ริ โ ภค เกิ ด ความมั่ น ใจได ว  า ผลการประหยั ด พลั ง งานที่ ไ ด จ ากการลงทุ น

ในโครงการ จะเป น แหล ง ที่ ม าหลั ก ของการชํ า ระคื น เงิ น กู  และถื อ เป น การลดความเสี่ ย งจากการดํ า เนิ น การด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน โดยจะใชเวลาในการประเมินโครงการกอนการใหสินเชื่อ 1-2 สัปดาห สําหรับโครงการขนาดใหญ ขณะที่โครงการขนาดเล็กใชเวลา 2-3 วัน เบื้องตนบริษัทจะไมคิดคาธรรมเนียมการประเมินจนถึงสิ้นปนี้

88 l August 2012

Energy#45_p88_Pro3.indd 88

7/17/12 11:29 PM


Energy Legal

EIA สําคัญไฉน?

การศึกษาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นภายหลังจากการพัฒนาโครงการ หรือกิจการของผูประกอบการดานที่อยูอาศัยตางๆ ถือเปนเรื่องที่สําคัญ สําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อกําหนดมาตรการปองกันและแกไขผล ทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยเฉพาะผลกระทบทีเ่ กิดกับสิง่ แวดลอม ซึง่ เปนผลการศึกษา จัดทําเอกสารรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิง่ แวดลอม หรือทีเ่ รียกวา EIA

EIA หรือ Environmental Impact Assessment เปนการศึกษาเพื่อ คาดการณผลกระทบทัง้ ในทางบวกและทางลบจากการพัฒนาโครงการหรือ กิจการทีส่ าํ คัญ เพือ่ กําหนดมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิง่ แวดลอม และใชในการประกอบการตัดสินใจพัฒนาโครงการหรือกิจการ โดยเจาของ โครงการตองวาจางนิติบุคคลที่ ไดรับอนุญาตจากสํานักนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) ใหเปนผูมีสิทธิทํารายงาน EIA ขั้ น ตอนการทํ า รายงาน EIA เจ า ของโครงการจะต อ งทราบ ก อ นว า โครงการนั้ น จะต อ งจั ด ทํ า รายงานการวิ เ คราะห ผ ลกระทบสิ่ ง แวดลอมหรือไม จึงวาจางที่ปรึกษาที่ขึ้นทะเบียนเปนนิติบุคคลผูมีสิทธิทํา รายงานฯ จากนั้นเจาของโครงการจะสงรายงานใหสํานักนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม(สผ.) โดย สผ. และคณะกรรมการ ผูช าํ นาญการจะใชเวลาการพิจารณารายงานฯ ตามขัน้ ตอนทีก่ าํ หนดไมเกิน 75 วัน แตหากคณะกรรมการฯ มีขอเสนอแนะใหแกไขเพิ่มเติม ที่ปรึกษาจะ ตองใชเวลาในการปรับแก และจัดสงให สผ. และคณะกรรมการฯ พิจารณา ซึ่งจะใชเวลาไมเกิน 30 วัน ทั้งนี้ หากเปนโครงการที่เขาขายตองจัดทํารายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอม แตมีการกอสรางหรือเปลี่ยนแปลงการดําเนินงาน กอนรายงานฯ ไดรับความเห็นชอบถือวา ผิดกฎหมาย และจะทําใหเกิด ปญหาในการพิจารณารายงานและขั้นตอนการพัฒนาโครงการ โดยที่ ปรึกษาจะใชเวลาในการจัดทํารายงาน EIA ประมาณ 3 - 8 เดือนขึ้นอยูกับ ลักษณะโครงการ สภาพพื้นที่ สิ่งแวดลอมโดยรอบโครงการและผลกระทบ สิ่งแวดลอมที่อาจจะเกิดขึ้น

โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

ตามพระราชบั ญ ญั ติ ส  ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม แหงชาติ พ.ศ.2535 มาตรา 46 ไดบัญญัติใหรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ มีอํานาจกําหนดประเภทและขนาด ของโครงการ หรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มี ผลกระทบสิ่งแวดลอม ตองจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม หรือ รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตนตามหลักเกณฑ โดยกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ไดกําหนด ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนทีต่ อ งจัดทํารายงานวิเคราะหผลกระทบสิง่ แวดลอม ทีเ่ กีย่ วของ กับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ไดแก อาคารที่ตั้งอยูริมแมนํ้า, ฝง ทะเล, ทะเลสาบหรือชายหาด หรือที่อยูใกล หรือในอุทยานแหงชาติ หรือ อุทยานประวัติศาสตร ที่มีความสูงตั้งแต 23 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวม กันทุกชั้น หรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน ตั้งแต 10,000 ตารางเมตร ขึ้ น ไป โรงแรมหรื อ สถานที่ พั ก ตากอากาศที่ มี จํ า นวนห อ งพั ก ตั้ ง แต 80 หองขึ้นไป อาคารที่อยูอาศัยรวมตามกฎหมายวาดวยการควบคุม อาคารที่มีจํานวนหองพักตั้งแต 80 หองขึ้นไป ซึ่งหมายถึง อาคารอยู อาศัยรวม หรือสวนใดสวนหนึ่งของอาคารที่ ใชเปนที่อยูอาศัยสําหรับ หลายครอบครั ว โครงการจั ด สรรที่ ดิ น เพื่ อ เป น ที่ อ ยู  อ าศั ย หรื อ เพื่ อ ประกอบการพาณิชย ที่มีจํานวนที่ดินแปลงยอยตั้งแต 500 แปลงขึ้นไป หรือเนื้อที่เกินกวา 100 ไร

July 2012 l 89

Energy#45_p89_Pro3.indd 89

7/19/12 10:26 PM


Energy Stat โดย : Grapher

ประเทศไทยมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง ทั้งทางดานของเศรษฐกิจและสังคม สิ่งหนึ่งที่เปนตัวบงชี้ถึงความเจริญ ดังกลาว คือ เรื่องของความตองการใชพลังงานโดยเฉพาะพลังงานไฟฟา จนบางชวงมีปริมาณการใชไฟฟาไตขึ้นสูระดับสูงสุด หรือที่เรียกวา “จุดพีค” ที่ผานมาประเทศไทยไดมีการทุบสถิติ “จุดพีค” อยางตอเนื่อง สวนหนึ่งเปนเพราะยอดใชไฟฟาภาคครัวเรือนขยายตัวสูง จากไลฟสไตลชีวิตสมัยใหมพึ่งพาเครื่องใชไฟฟามากขึ้น รวมถึงสภาพอากาศก็มีสวนเชนกัน อีกทั้งกิจกรรมเศรษฐกิจที่ฟนตัว หลังนํ้าทวมก็เปนอีกหนึ่งปจจัย สงผลใหทุกภาคสวนตองเรงออกมารณรงคดานการประหยัดและลดใชพลังงานในทุกระดับ

ทที​ี่มา : IEA IEA

90 l August 2012

Energy#45_p90_Pro3.indd 90

7/17/12 1:57 AM


Insight Energy

ผูเขียน : นัษรุต เถอนทองคํา

ADDER หรือ FIT

อะไรคือทางออกตนทุนคาไฟฟา

ตามที่กระทรวงพลังงานจะทบทวนการสงเสริมผลิตไฟฟาจาก พลังงานหมุนเวียนอีกครั้ง หลังพบวาตนทุนการผลิตพลังงานทดแทน เริ่มลดลง แนวนอนสิ่งที่ตามมาคือ ภาระตนทุนกับคาไฟที่เรียกเก็บจาก ประชาชน ซึ่งอยูระหวางการพิจารณาการปรับเปลี่ยนจากแอดเดอร หรือ เงินสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟา มาเปนระบบอัตราคาไฟฟาตามตนทุนจริง หรือ Feed in tariffs(FIT) ตองมีความเหมาะสมโดยเฉพาะหากนําระบบ FIT มาใชจริง วาจะมีผลกระทบตอผูผลิตไฟฟา ราคาคาไฟฟาและการยอมรับ ของสถาบันการเงินในการปลอยกูหรือไม การเรียกคืนสัญญาการขายไฟฟาพลังงานหมุนเวียนของภาค เอกชน ที่ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย(กฟผ.) ตรวจสอบแลวพบ วามีแนวโนมผลิตไฟฟาเขาระบบไมไดตามสัญญาจริง ซึ่งกําลัง ตรวจสอบโดยจะเริ่มที่ผูผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย อันดับแรก และจะสงใหคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) หรือ เรกูเลเตอร ดําเนินการ จากกรณีดังกลาว นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน ชี้แจงวา ตองมาดูในรายละเอียดอีก ครั้งวา ระบบ FIT เหมาะสมหรือไม และตองหารือกับผูผลิต ไฟฟาเสียกอน และหากผลออกมาไมเหมาะสม อาจปรับเปน ระบบอื่นได อาจใชเปนสูตรคํานวณ หรือ กลับมาเปนระบบแอด เดอรเหมือนเดิมก็ ได แตการสนับสนุนโรงไฟฟาแสงอาทิตย อาจลดตํ่ากวา 6.50 บาทตอหนวย เพราะปจจุบันราคาตนทุน อุปกรณการผลิตถูกลงมาก จาก 5 ลานเหรียญสหรัฐตอ เมกะวั ต ต เหลื อ เพี ย ง 2 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ต อ เมกะวั ต ต ซึ่งตองปรับใหเหมาะสมตามตนทุนที่แทจริง

ดานผูประกอบการธุรกิจโซลาฟารม น.ส.วันดี กุญชรยาคง ประธานกรรมการ และกรรมการผูจัดการ ใหญ บริ ษั ท เอสพี ซี จี จํ า กั ด (มหาชน) เป ด เผยว า นโยบายของภาครัฐที่พยายามสนับสนุนการหาพลังงาน ทดแทนเพื่อนํามาใชแทนพลังงานในปจจุบันคอยๆ หมด ไป โดยภาครัฐไดประกาศนโยบายฉบับแรกเมื่อประมาณ ป 2551 ในการใหอัตราสวนเพิ่มกับผูผลิตไฟฟาที่มา จากพลังงานหมุนเวียน โดยใหแอดเดอร 8 บาท เปน เวลา 7 ป ใหแกพลังงานทดแทนทุกเทคโนโลยี ไมวาจะ เปน พลังงานทดแทนจําพวกไบโอแกส, ไบโอแมส, ลม และบริษัทฯ ไดทําการศึกษาและพัฒนาเรื่องพลังงานแสง อาทิตยอยางจริงจัง ซึ่งความตางของการผลิตไฟฟากับ การผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยจะมีความแตก ตางดานตนทุน ที่ ผ  า นมา มี ก ระแสคั ด ค า นจากหลายภาคส ว น โดยเฉพาะภาคเอกชนตอกระทรวงพลังงานที่เตรียมจะ ปรับเปลี่ยนการสนับสนุนจากแอดเดอรมาใชระบบ FIT ซึ่งเปนระบบให เงินสนับสนุนอัตราเดียวในระยะยาว เนื่องจากตนทุนของการผลิตไฟฟา แตละประเภทยอมมีความแตกตางกัน ซึ่งในตนทุนบางประเภทตนทุนการ ผลิตอาจไมคุมคากับเงินที่ภาครัฐพิจารณาใหการสนับสนุนแบบระบบ FIT ประเด็นดังกลาวจึงถือเปนเรื่องที่นาจับตามอง เพราะการลงทุนดานโรง ไฟฟาตางๆ ในปจจุบัน ผูลงทุนสวนใหญจะเปนภาคเอกชน ซึ่งหากถูกมอง วาไมคมุ การลงทุนก็จะไมเกิด นั้นยอมหมายถึงผลกระทบระยะยาวตอความ มั่นคงดานพลังงานก็เปนได

August 2012 l 91

Energy#45_p91_Pro3.indd 91

7/19/12 10:22 PM


R1_Energy#45_p92_Pro3.indd 92

7/25/12 10:09 PM


Special Scoop ASEAN Concord ll หรือ Bali Concord ll) เพือ่ ประกาศจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน หรือ ASEAN Community ภายในป 2563 โดยมีการสนับสนุนการรวมตัวและความรวมมือใน 3 ดานหลัก คือ ดานการเมืองใหจดั ตัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community- APSC) ดานเศรษฐกิจใหจดั ตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ( ASEAN Economic Community – AEC) และดานสังคมและวัฒนธรรมใหจดั ตัง้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio- Cultural Community –ASCC) ตอมาในการประชุมสุดยอดผูน าํ อาเซียน ครัง้ ที่ 12 เมือ่ เดือนมกราคม 2550 ณ เมืองเซบู สาธารณรัฐฟลปิ ปนส ไดมกี ารตกลงเรือ่ งการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียนขึน้ ใหม โดยกําหนดใหการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียนเสร็จเร็วขึน้ ภายในป 2558 รวมทัง้ การจัด โครงสรางองคกรของอาเซียน การรองรับภารกิจและพันธกิจ และการแปลงสภาพ อาเซียนใหมสี ถานะเปนนิตบิ คุ คลทีเ่ รียกวา องคกรระหวางรัฐบาล (Intergovernmental Organization) ดวย

ประชาคมอาเซียน 2558

ความทาทายและโอกาสพลังงานไทย

ในป 2558 ประเทศไทยจะกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนการ รวมตัวกันของกลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต 10 ประเทศ โดย มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความแข็งแกรงและความรวมมือกันอยางรอบดาน ทั้ง ในดานการเมืองและความมั่นคงดานสังคมและวัฒนธรรม และดานเศรษฐกิจที่ จะทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตกลายเปนภูมิภาคเศรษฐกิจขนาดใหญ ที่สามารถสรางอํานาจตอรองกับกลุมเศรษฐกิจอื่นๆ ไดในดานพลังงานก็เปน อีกดานหนึ่งที่กลุมประเทศอาเซียนกําลังใหความสําคัญและรวมมือกันวางแผน ปฏิบัติ รวมทั้งวางนโยบายตางๆ เพื่อสรางความมั่นคงดานพลังงานในภูมิภาค เชน การเชื่อมโยงเครือขายดานพลังงานในอาเซียน การผลักดันประเทศสมาชิก ไปสูเปาหมายในการลดอัตราการใชพลังงานในภูมิภาค และการเพิ่มสัดสวนการ ใชพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟา ฯลฯ การดําเนินการใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้น จะมีผลผูกพันไปกับประเทศในกลุมสมาชิก ซึ่งนับวาเปนโอกาสและความทาทาย อยางหนึ่งของประเทศไทยในฐานะที่เปน 1 ใน 5 ของสมาชิก ผูกอตั้งและเปนจุด กําเนิดของอาเซียนที่จะมีบทบาทสําคัญและใหความรวมมืออยางแข็งขันในการ ดําเนินการดานพลังงานของประชาคมอาเซียน

ประกาศจัดตั้งประชาคมอาเซียน 2558 ในป 2546 ณ เกาะบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ไดเกิดศักราชใหมของความ รวมมือระหวางประเทศในกลุม สมาชิก โดยผูน าํ อาเซียนทัง้ 10 ประเทศ ไดรว มลงนามใน ปฎิญญา วาดวยความรวมมืออาเซียน ฉบับที่ 2 หรือ ปฎิญญาบาหลี (Declaration of

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน การรวมตั ว กั น เพื่ อ เป น ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น มีจดุ ประสงคเพือ่ เสริมสรางและดํารงไวซงึ่ สันติภาพและเสถียรภาพทางการเมือง เพื่อใหประเทศสมาชิกทั้ง 10 อยูรวมกันอยางสันติและสามารถแกไขปญหาหรือ ความขัดแยงใดๆ ที่เกิดขึ้นไดดวยสันติวิธี โดยเนนใน 3 เรื่อง คือ 1. การมีกฎเกณฑ แนวปฎิบตั ิ และคานิยมรวมกันเพือ่ เสริมสรางความ เขาใจในระบบสังคม วัฒนธรรมและประวัตศิ าสตรอนั แตกตางกัน และสงเสริมพัฒนา ทางการเมืองใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน เชน หลักการประชาธิปไตย หลักนิตธิ รรม และธรรมาภิบาล การมีสว นรวมของภาคประชาชน การสงเสริมและคุม ครองสิทธิ มนุษยชนและการตอตานการทุจริต ฯลฯ 2. การสงเสริมความสงบสุขและความรับผิดชอบรวมกันในการ รักษาความมั่นคงของประชาชน รวมทั้งความรวมมือในการเสริมสรางความ มั่นคงในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนการมีมาตรการเสริมสรางความไววางใจหรือ การระงับขอพิพาทโดยสันติ ซึง่ สามารถปองกันการเกิดสงครามและทําใหประเทศ สมาชิกอยูรวมกันอยางสงบสุขและปราศจากความหวาดระแวงได นอกจากนี้ ยังตองขยายความรวมมือเพื่อตอตานภัยคุกคามในรูปแบบการกอการรายและ อาชญากรรมขามชาติ อันไดแก การคามนุษย การคายาเสพติด รวมทั้งการ August 2012 l 93

Energy#45_p93-95_Pro3.indd 93

7/25/12 1:50 AM


เตรียมความพรอมเพื่อปองกันและรับมือกับภัยพิบัติทั้งจากมนุษยและธรรมชาติ 3. การมีพลวัตและปฏิสัมพันธกับโลกภายนอก เพื่อเสริมสราง บทบาทของอาเซียนในดานความรวมมือในระดับภูมิภาค เชน กรอบอาเซียน+3 รวมทั้งความสัมพันธที่เขมแข็งกับมิตรประเทศและองคกรระหวางประเทศ อาทิ สหประชาชาติ

3. สงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยัง่ ยืนและการจัดการ ดูแลสิ่งแวดลอมอยางถูกตอง 4. แกไขผลกระทบตอสังคมอันเนือ่ งมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ทัง้ นีอ้ าเซียนไดจดั ทําแผนปฎิบตั กิ ารจัดตัง้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน ซึ่งครอบคลุมความรวมมือ 6 ดานคือ ดานการพัฒนาการทรัพยากร มนุษย ดานการคุมครอง และสวัสดิการสังคม ดานสิทธิและความยุติธรรมทาง สังคม ดานความยั่งยืน ดานสิ่งแวดลอม ดานการสรางอัตลักษณอาเซียน และ ดานการลดชองวางทางการพัฒนา ความรวมมือดานพลังงานไทยที่สําคัญตออาเซียน การเล็งเห็นถึงความสําคัญของการสรางความมัน่ คงทางพลังงาน เพือ่ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของแตละประเทศในอาเซียนไดทําใหเกิดความ รวมมือกันในการสรางเครือขายดานพลังงานในระดับภูมภิ าค โดยอาศัยจุดแข็งและ ศักยภาพของแตละประเทศในอาเซียนทีม่ แี หลงนํา้ มันและกาซธรรมชาติ ตลอดจน พลังงานทดแทนในรูปแบบตางๆ

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตางๆ ของโลกและการ แขงขันทางการคาที่เพิ่มขึ้น เปนปจจัยสําคัญที่ผลักดันใหอาเซียนตระหนักถึง ความจําเปนที่จะตองรวมมือรวมใจและรวมตัวกันใหแนนแฟนยิ่งขึ้น ดวยการ เปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความ มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่นไดดวยการรวมมือกันให บรรลุวัตถุประสงค 4 ขอ อันไดแก 1. การเปนตลาดและฐานการผลิตรวม (Single Market and Production Base) โดยจะริเริ่มกลไกและมาตรการใหมๆ ที่จะทําใหเกิดการระดม ทุนเพือ่ การพัฒนาทางเศรษฐกิจทําใหการไหลเวียนและการเคลือ่ นยายสินคา การ บริการ การลงทุน และฝมือแรงงานเปนไปอยางเสรีมากขึ้น 2. การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันดานเศรษฐกิจอาเซียน โดยใหความสําคัญกับนโยบายที่จะชวยสงเสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ เชน นโยบายภาษีและการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (การเงิน การขนสง เทคโนโลยี สารสนเทศ และพลังงาน) และนโยบายการแขงขันสิทธิในทรัพยสิน ทางปญญา ฯลฯ 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเทาเทียมกัน โดยการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจของสมาชิกและลดชองวางของระดับการพัฒนาระหวางสมาชิกเกา และสมาชิกใหม เชน การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ฯลฯ 4. การบู ร ณาการเข า กั บ เศรษฐกิ จ โลกด ว ยการรวมกลุ  ม เข า กับประชาคมโลก เนนการประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ ภายนอกภูมิภาค อาทิ การผลิตและจําหนาย และการจัดทําเขตการคาเสรี ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน การจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมีจุดมุงหมายเพื่อให อาเซียนเปนประชาคมที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง โดยมุงเนน 4 ดาน คือ 1. สรางประชาคมแหงสังคมเอื้ออาทร และยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนใหมีความเปนอยูที่ดีและไดรับการพัฒนาในทุกดาน อาทิ การศึกษา จริยธรรม 2. เสริมสรางอัตลักษณทางวัฒนธรรมของอาเซียน ดวยการสง เสริมความเขาใจระหวางประชาชนในระดับรากหญาในการเรียนรูประวัติศาสตร และวัฒนธรรม รวมทั้งการรับรูขาวสารซึ่งเปนรากฐานสําคัญที่จะนําไปสูการ เปนประชาคมอาเซียน

ประเทศไทยในฐานะหนึ่งในสมาชิกอาเซียนไดใหความรวมมือดานพลังงาน ที่สําคัญตออาเซียน ดังนี้ 1.โครงขายระบบสายสงไฟฟาอาเซียน (ASEAN Power Grid) กลุม สมาชิกอาเซียนไดมนี โยบายรวมกันทีจ่ ะพัฒนาและเชือ่ มโยงโครงขายระบบสายสง ไฟฟาอาเซียน โดยมีจุดประสงคเพื่อเสริมสรางความมั่นคงในการจายไฟฟาของ ภูมิภาคและสงเสริมการซื้อ-ขายพลังงานไฟฟาระหวางประเทศเพื่อลดตนทุนการ ผลิตไฟฟา ปจจุบันมีโครงการเชื่อมโยงโครงขายระบบสายสงไฟฟาทั้งสิ้น 15 โครงการ โดยแบงเปนโครงการที่กอสรางเสร็จและดําเนินการแลว 3 โครงการ กําลังกอสราง 3 โครงการ และอยูในขั้นตอนการศึกษาอีก 9 โครงการ ในสวนที่เปนความรวมมือของประเทศไทยมีอยู 4 โครงการ ซึ่งเปน โครงการที่ดําเนินการสงกระแสไฟฟาแลว 2 โครงการ โครงการที่กําลังกอสราง 12 โครงการ และโครงการที่อยูในขั้นตอนการศึกษา 1 โครงการ

2.โครงการเชือ่ มโยงทอสงกาซธรรมชาติอาเซียน (Trans-ASEAN Gas Pipeline) กลุม สมาชิกอาเซียนไดมนี โยบายในการจัดทําแผนแมบทโครงการเชือ่ มโยงทอสง กาซธรรมชาติอาเซียน เพือ่ เปนแนวทางในการกอสรางระบบเครือขายทอสงกาซธรรมชาติ ทีเ่ ชือ่ มโยงกันระหวางประเทศสมาชิก รวมถึงสงเสริมการคากาซธรรมชาติอยางเสรีผา น ระบบเครือขายทอกาซระหวางประเทศสมาชิก ปจจุบนั มีโครงการเชือ่ มโยงโครงขายทอ กาซธรรมชาติ 8 โครงการ คิดเปนระยะทางรวมทัง้ สิน้ 2,300 กิโลเมตร และมีแผนทีจ่ ะ กอสรางเพิม่ อีก 7 โครงการ โดยมีแหลงกาซนาทูนา ตะวันออกของอินโดนีเซียเปนแหลง กาซธรรมชาติหลัก การทีป่ ระเทศไทยมีตาํ แหนงทีต่ งั้ อยูใ จกลางภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและ การเปนประตูไปสูเ อเชียตะวันออก นับวาเปนปจจัยสําคัญทีจ่ ะผลักดันใหประเทศไทยกลาย เปนศูนยกลางระบบเครือขายทอสงกาซธรรมชาติอาเซียน ซึง่ ปจจุบนั ประเทศไทยมีความ รวมมือในโครงการเชือ่ มโยงทอสงกาซธรรมชาติอาเซียนถึง 5 โครงการดวยกัน โดยเปน

94 l August 2012

Energy#45_p93-95_Pro3.indd 94

7/25/12 1:50 AM


โครงการทีส่ รางเสร็จแลว 3 โครงการ และเปนโครงการทีจ่ ะสรางเพิม่ ในอนาคต 2 โครงการ

3.แผนปฏิบตั กิ ารความรวมมือดานพลังงานอาเซียน (ASEAN Plan of Action for Energy Cooperation-APAEC) เปนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค หลักในการสงเสริมความมั่นคงและความยั่งยืนในการจัดหาพลังงานและการใช ทรัพยากรพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาเซียนไดมีแผนปฏิบัติการนี้มาแลว 2 ฉบับ คือ ฉบับป 2542-2547 และฉบับป 2547-2552 ปจจุบันประเทศไทยไดเปนประธานการจัดทําแผนปฏิบัติการความรวมมือ ดานพลังงานฉบับที่ 3 ป 2553-2558 โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อสงเสริมความ มั่นคงดานพลังงาน และการใชพลังงานในภูมิภาคอยางยั่งยืน ซึ่งไดระบุความ รวมมือหลักไว 7 ดาน อันไดแก 1.แผนงานสายสงไฟฟาอาเซียน 2.แผนงานวางทอกาซอาเซียน 3.ความรวมมือดานเทคโนโลยีถานหินสะอาด 4.การประหยัดพลังงานและอนุรักษพลังงาน 5.แผนการใชพลังงานทดแทนในภูมิภาค 6.การวางนโยบายและแผนพลังงานภูมิภาค 7.แผนความรวมมือดานพลังานนิวเคลียร ทั้งนี้แผนปฏิบัติการความรวมมือดานพลังงานอาเซียนทั้ง 7 ดาน จะกระตุนใหเกิดการลงทุนในกิจการพลังงาน ชวยผลักดันใหประเทศในอาเซียน ลดการใชพลังงานในภูมิภาคลง 8% และเพิ่มการใชพลังงานทดแทนในภูมิภาค ไดถึง 15% ของความสามารถในการผลิตไฟฟาทั้งหมด และที่สําคัญจะผลักดัน ใหภูมิภาคอาเซียนไดเปนศูนยกลางพลังงานทดแทนในทวีปอีกดวย

โอกาสไทยเปนศูนยกลางพลังงานทดแทนในอาเซียน ด ว ยความพร อ มของประเทศไทยที่ มี อ ยู  ใ นทุ ก ด า นไม ว  า จะเป น ความ กาวหนาดานเทคโนโลยีเชื้อเพลิงชีวภาพศักยภาพดานกําลังการผลิตและการ กลั่นที่อยูในระดับสูง รวมทั่งที่ตั้งของประเทศซึ่งอยูในตําแหนงที่สะดวกตอการ ขนสงในภูมิภาค ทําใหประเทศไทยมีเปาหมายที่จะเปนศูนยกลางดานพลังงาน ทดแทนในอาเซียน หรือ Biofuel Regional Hub ซึ่งสอดคลองกับเปาหมายของ อาเซียนทีจ่ ะพัฒนาพลังงานทดแทนใหไดถงึ 15% ภายในป 2558 ซึง่ เปนปทเี่ ขาสู การเปนประชาคมอาเซียน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดเริ่มดําเนิน การศึกษาความเปนไปไดทจี่ ะใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการคาเชือ้ เพลิงชีวภาพ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทยเปน ผูดําเนินการศึกษาและจะใชเวลาในการดําเนินการประมาณ 1 ป นับตั้งแตเดือน สิงหาคม 2554 การดํ า เนิ น การศึ ก ษาจะต อ งศึ ก ษาในเรื่ อ งความพร อ มของ ประเทศไทยในดานตาง ๆ เชน ปริมาณวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนสง ปริ ม าณการส ง ออก และป ญ หาอุ ป สรรคที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ฯลฯ นอกจาก นี้ ยั ง ต อ งศึ ก ษาในเรื่ อ งโครงสร า งการกํ า หนดราคาอ า งอิ ง เอทานอลใน เอเชี ย เพื่ อ ใช เ ป น ราคาอ า งอิ ง ในการซื้ อ -ขายเอทานอลในเอเชี ย และใน ภูมิภาคดวย การศึกษาในเบื้องตนพบวาประเทศไทยมีโอกาสสูงในการเปน ศู น ย ก ลางการซื้ อ -ขายไบโอดี เ ซลและเอทานอลในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใต เนื่องจากขณะนี้ประเทศไทยมีความพรอมในดานวัตถุดิบ และมีศักยภาพ ในการผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพอยางเอทานอลและไบโอดีเซลในระดับสูงจนเกินความ ตองการใชภายในประเทศ ปจจุบันประเทศไทยสามารถผลิตไบโอดีเซลไดมากถึง 6 ลานลิตรตอวัน ในขณะที่ความตองการใชในประเทศมีเพียง 1.6 ลานลิตรตอวัน สวนเอทานอล สามารถผลิตได 2.95 ลานลิตรตอวัน แตมีความตองการใชเพียง 1.4 ลานลิตร ตอวัน ปริมาณเอทานอลที่ผลิตไดนี้มาจากโรงงานเอทานอล 19 โรง ซึ่งยังไมได ดําเนินการผลิตอยางเต็มกําลัง เนื่องจากความตองการใชในประเทศมีอยูไมมาก แตหากดําเนินการผลิตอยางเต็มกําลังแลว จะสามารถผลิตเอทานอลไดมากถึง 3 ลานลิตรตอวัน ในปหนาจะมีโรงงานผลิตเอทานอลเพิ่มขึ้นอีก 5 โรง ซึ่งรวม กับที่มีอยูเดิมเปน 24 โรง ทั้งนี้จะสงผลใหปริมาณการผลิตเอทานอลเพิ่มสูง ขึ้นเปน 5.35 ลานลิตรตอวัน นอกจากนี้ ยังมีผูประกอบการที่ขออนุญาตผลิต เอทานอลอีก 47 โรง ซึ่งหากสามารถเปดดําเนินการไดทุกโรงงาน ปริมาณการ ผลิตเอทานอลของประเทศไทยจะยิ่งเพิ่มสูงขึ้นไปอีกถึง 12.5 ลานลิตรตอวัน ดังนั้น จึงมั่นใจไดวาประเทศไทยจะสามารถผลิตเอทานอลเพื่อสงออกและเปน ฮับเอทานอลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดอยางแนนอน ในฐานะที่ประเทศไทยเปน 1 ใน 5 ประเทศสมาชิกผูกอตั้งและมีบทบาท สําคัญในกิจกรรมของอาเซียนมาโดยตลอด รวมทั้งมีสวนผลักดันใหอาเซียน มีโครงการความรวมมือในดานตาง ๆ เชน สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต การจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน ฯลฯ ดังนั้น การกาวเขาสูประชาคมอาเซียน 2558 จึงเปนอีกกาวหนึ่งที่สําคัญ ของประเทศไทยที่จะไดแสดงศักยภาพในการดําเนินนโยบายหรือความรวม มือใดๆ ก็ตาม ที่จะทําใหอาเซียนมีความแข็งแกรงและกาวหนาในทุกดาน โดย เฉพาะอยางยิ่งในดานความมั่นคงของพลังงาน รวมทั้งการเขาถึงและการใช พลังงานอยางยั่งยืนสําหรับประเทศสมาชิกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทั้ง 10 ประเทศ อางอิง 1.The Association of Southeast Asian Nation www.aseansec.org 2.สมาคมอาเซียน ประเทศไทย www.aseanthailand.org 3.กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ www.dtn.go.th 4.กรมสงเสริมอุตสาหกรรม www.dip.go.th August 2012 l 95

Energy#45_p93-95_Pro3.indd 95

7/25/12 1:50 AM


Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร Sales Engineer เพศชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิศวกรรมศาสตร, เครื่ อ งกล, พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม หรื อ สาขาที่ เกี่ ย วข อ ง มี ป ระสบการณ ใ นการทํ า งานในโรงงาน อยางนอย 1 ป ติดตอ บริษทั เอ็นโค เอ็นจิเนียริง่ แอนด เทรดดิง้ จํากัด 0-2722-9481-2 รับสมัคร Sale Engineer เพศชาย-หญิง อายุไมเกิน 35 ป วุฒปิ ริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตรหรือวิศวกรรม ทุกสาขา มีประสบการณในการงานอยางนอย 2 ป บุคลิกภาพดีมที กั ษะในการเจรจา ติดตอ THAMMASORN GROUP 0-2611-0290 ตอ 1216 รับสมัคร ผูจัดการสาขา เพศ ชาย หรือ หญิง อายุ ระหวาง 25 - 40 ป การศึกษาระดับปริญญาตรี มีทกั ษะ การบริหารงานเปนทีม มีความเปนผูนํา และ มีความรับ ผิดชอบสูง สามารถแกไขงานเฉพาะหนาไดดี ติดตอ บริษัท เอนเนอรจี รีฟอรม จํากัด 0-2515-0022 ตอ 501 รั บ สมั ค ร เจ า หน า ที่ ท รั พ ยากรบุ ค คล HRD / แรงงานสัมพันธ เพศชาย / หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒปิ ริญญาตรี สาขาทรัพยากรมนุษย, สาขาจิตวิทยา อุตสาหกรรม มีประสบการณ ดาน KPI /Competency / PMS จะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษทั บรรจุภณ ั ฑเพือ่ สิง่ แวดลอม จํากัด (มหาชน) 0-5645-6353

วิศวกรรม-วิทยาศาสตร รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม (จ.เลย) มิตรภูหลวง เพศชาย/หญิง อายุ 25-35 ป วุฒิป.ตรี/โท วิศวกรรม สาขาสิ่งแวดลอม มีประสบการณ ดานสิ่งแวดลอม ในโรงงานอุตสาหกรรม 2-3 ป มีใบทะเบียนผูควบคุม ระบบบําบัดมลพิษ ดานนํา้ อากาศ และกากอุตสาหกรรม ติดตอ บริษัท รวมเกษตรกรอุตสาหกรรม จํากัด 0-4281-0921-3 ตอ 190 รับสมัคร เจาหนาที่ระบบไบโอชีวภาพหรือสิ่งแวดลอม เพศชาย / หญิง อายุระหวาง 22 -30 ป วุฒิปริญญา ตรี / โท วิทยาศาสตร, วิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาเคมี หรือสาขาที่เกี่ยวของที่มีความรูความสามารถในการใช งานเครื่องมือวิทยาศาสตร ติดตอ บริษทั เอเซียฟรุคโตส จํากัด 0-2238-2544-7

รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศชาย/หญิง วุฒิ ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม มีความรูเ กีย่ ว กับระบบ ISO 14001, KPI, เอกสารดานสิง่ แวดลอมและ ความปลอดภัย, การจัดการ Chem และ กากฯ ติดตอ บริษทั ที.เอ็ม.ซี. อุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) 0-3827-1933-4 ตอ 325 , 322 รับสมัคร Plant Manager เพศชาย อายุ 35 ป ขึ้น ไป มีประสบการณ ดานการบริหารงานไมนอยกวา 5 ป วุฒิไมตํ่ากวาปริญญาตรี สาขาเครื่องกล ไฟฟา อุตสาหกรรม หรือที่เกี่ยวของ มีความรูความเขาใจใน ระบบ ISO 9001, ระบบ มอก.18001 ติดตอ ICP International Co., Ltd. 0-3835-2171-3 รับสมัคร เจาหนาทีส่ งิ่ แวดลอม เพศชาย อายุ 22 - 35 ป เชื้อชาติไทย/ สัญชาติไทย วุฒิปริญญาตรี สาขา วิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม หรือสาขาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ สามารถ ขับขีร่ ถฟอรคลิฟทไดจะไดรบั การพิจาณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษทั ซีออน แอดวานซ โพลีมกิ ซ จํากัด 0-3889-3565-8 ตอ 310 รับสมัคร วิศกรไฟฟาควบคุม วุฒิปริญญาตรี สาขา วิ ศ วกรรมไฟฟ า ควบคุ ม สามารถออกแบบ เขี ย น แบบระบบไฟฟาควบคุมไดเปนอยางดี สามารถเขียน โปรแกรมควบคุมการทํางาน Microcontroller ไดเปน อยางดี มีประสบการณดานการประดิษฐหุนยนต หรือ มีผลงานสิ่งประดิษฐ จะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ หางหุน สวนจํากัด อันดามันพัฒนา 0-2533-6624 รับสมัคร วิศวกรโครงการ เพศชาย อายุ 26-35 ป วุฒ.ิ วศบ. ไฟฟา, เครือ่ งกล. โยธา ประสบการณ 1 - 5 ป ดาน งานควบคุมงานกอสรางคอนโดมิเนียม 1 - 2 โครงการ ติดตอ C.P.LAND PUBLIC CO., LTD 0-2247-3737 ตอ 2906, 1307, 3087 รับสมัคร Engineering Design วุฒิปวส. ขึ้นไป สาขา เครื่องกล หรือสาขาอื่นที่มีประสบการณ ประสบการณ อย า งงน อ ย 1 ป ขึ้ น ไป สามารถเขี ย นแบบโดยใช โปรแกรม AutoCad 2D 3D, โปรแกรม Solid Work ได สามารถเขียนแบบไดถูกตองตามหลักวิศวกรรม ติดตอ บริษทั เอ็นเนอรจี เซฟวิง่ โปรดักส จํากัด 0-2758-2613 รับสมัคร พนักงานควบคุมบอยเลอร เพศชาย อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิขั้นตํ่า ม.6, ปวช-ปวส. สาขาที่เกี่ยวของ มี ประสบการณดานการควบคุมและใชงานเครื่องบอยเลอ รขนาดใหญไมตํ่ากวา 1-2 ป หากมีหลักฐานไดรับการ แตงตั้งเปนผูควบคุม จะไดรับการพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษทั นํา้ มันพืชปทุม จํากัด 0-2581-2348-50

รับสมัคร วิศวกรออกแบบ อายุ 20 ปขึ้นไป วุฒิปวส. - ปริญญาตรี สาขาเครื่องกล สามารถเขียน โปรแกรม Auto Cad สามารถขับรถยนตได และมีใบขับขี่ ติดตอ บริษทั เค.วาย.อินเตอรเทรด จํากัด 0-2183-2729-31 รับสมัคร ผูช ว ยผูจ ดั การฝายบัญชี-การเงิน เพศหญิง อายุระหวาง 25 - 38 ป วุฒิปริญญาตรี สาขาบัญชี เกรดเฉลี่ย 2.70 ขึ้นไป (กรุณาแนบ transcript มา พรอมใบสมัคร) มีประสบการณ 3 ปขึ้นไป ติดตอ บริษทั เพาเวอร โซลูชนั่ เทคโนโลยี จํากัด 0-2993-8982 ตอ 117 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศ ชาย และ หญิง อายุ 25 - 30 ป วุฒิป.ตรี สาขาสิ่งแวดลอม , อาชีว อนามัย มีความรูเกี่ยวกับ ISO 14001 และมีความรู ดานกฎหมายสิ่งแวดลอมพิเศษ ติดตอ บริษทั ไทยซัมมิท พีเคเค กรุป (นิคมฯ บางปะกง, แหลมฉบัง, นิคมฯเหมราชระยอง) จํากัด 0-3895-3400 ตอ 1061 รับสมัคร วิศวกรเตาหลอม เพศชาย อายุ 24 ป ขึ้นไป วุฒปิ ริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเซรามิกส เคมี หรือทีเ่ กีย่ วของ มีความขยันและอดทน ยินดีรบั นักศึกษา จบใหมสําหรับวิศวฯเตาหลอม ติดตอ บริษทั แกวปราการ จํากัด 0-2701-4648-9 ตอ 127, 131, 134 รับสมัคร พนักงานสิ่งแวดลอม มีความรู ISO-9001 , ISO-14001 เคยผานงานเกี่ยวกับระบบบําบัดนํ้าเสีย สามารถจัดอบรมหรือสัมนาได ติดตอ บริษทั เจกา เอ็นจิเนียริง่ จํากัด 0-2945-1285 รับสมัคร เจาหนาที่อนุรักษพลังงาน (ผชร) เพศชาย อายุ 21-30 ป วุฒิ ปวส. ขึ้นไป สาขาชางกลโรงงาน, ไฟฟ า หรื อ สาขาอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง ผ า นการอบรม หลักสูตรผูรับผิดชอบดานพลังงานสามัญ (ผชร.) มี ประสบการณดานไฟฟาโรงานและซอมบํารุง 1 ปขึ้นไป ติดตอ บริษทั มูเนะคะตะ ไทย พลาสติก จํากัด 0-2709-3480 รับสมัคร ผูจัดการแผนกอนุรักษพลังงาน (ประจํา โรงงานปราจีนบุรี) เพศชาย/หญิง อายุ 30 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการหรือสาขา อื่นที่เกี่ยวของ มีประสบการณในโรงงานอุตสาหกรรม 5 ปขึนไป ติดตอ บริษทั ที.ซี.ฟารมาซูตคิ อลอุตสาหกรรม จํากัด (โรงงานปราจีนบุร)ี 0-3729-5130 ตอ 2700

96 l August 2012

Energy#45_p96_Pro3.indd 96

7/17/12 11:41 PM


Energy Price

พื้นที่สื่อกลาง ราคาสินคา อุปกรณประหยัด ที่ประหยัดทั้งพลังงานและกระเปาเงินคุณ รถยนต ECO CAR ประหยัดพลังงาน

HONDA BRIO 11.22 L

MITSUBISHI MIRAGE 1.2 L

NISSAN ALMERA 1.2 L

NISSAN MARCH 1.2 L

รุน

ประหยัดนํ้ามัน

ราคา

S / MT

20 กิโลเมตร/ ลิตร

399,900 บาท

V / MT

20 กิโลเมตร/ ลิตร

469,500 บาท

V / AT CVT

20 กิโลเมตร/ ลิตร

508,500 บาท

GL / MT GLX / MT GLX / AT CVT GLS / AT CVT GLS Ltd. /AT CVT

22 กิโลเมตร/ ลิตร 22 กิโลเมตร/ ลิตร 22 กิโลเมตร/ ลิตร 22 กิโลเมตร/ ลิตร 22 กิโลเมตร/ ลิตร

380,000 บาท 426,000 บาท 460,000 บาท 506,000 บาท 546,000 บาท

S / MT E / MT E / AT CVT ES / AT CVT V / AT CVT VL / AT CVT

20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร

429,000 บาท 455,000 บาท 489,000 บาท 523,000 บาท 563,000 บาท 599,000 บาท

S / MT E / MT E / AT CVT EL / AT CVT V / AT CVT VL / AT CVT EL / AT CVT Sport version VL / AT CVT Sport version

20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร

380,000 บาท 430,000 บาท 464,000 บาท 494,000 บาท 512,000 บาท 542,000 บาท 515,800 บาท 563,800 บาท

GA / AT CVT GL / AT CVT GLX / AT CVT

20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร 20 กิโลเมตร/ ลิตร

469,000 บาท 507,000 บาท 559,000 บาท

SUZUKI SWIFT 1.2 L สนใจ สงราคาสินคา อุปกรณ ประหยัดพลังงาน โดยระบุ ประเภทสินคา ชนิด-รุน และราคามาไดที่ นิตยสาร ENERGY SAVING บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นเนล จํากัด โทร 0-2717-2477 แฟกซ 0-2717-2466 อีเมล : info@ttfintl.com

August 2012 l 97

Energy#45_p97_Pro3.indd 97

7/17/12 1:54 AM


Directory ระบบความเย็น บริษัท แอสทินา (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2934-7080 แฟกซ : 0-2934-5448 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท โปนิวา จํากัด

โทรศัพท : 0-2816-8625 แฟกซ : 02-8409419 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เรคอน อีควีปเมนท จํากัด โทรศัพท : 0-2461-1555 แฟกซ : 0-2461-1213 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท สยามเทอรโมคิง จํากัด โทรศัพท : 0-2720-7961-3 แฟกซ : 0-2322-6504 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

หจก.ธนโชติ เทรดดิ้ง แอนด เซอรวิส โทรศัพท : 0-2691-1302 แฟกซ : 0-2691-0954 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ซีเคโปรดักส พลัส จํากัด

โทรศัพท : 0-2995-5926 แฟกซ : 0-2995-5927 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เกีย กราซโซ (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2525-8500 แฟกซ : 0-2525-8555 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท มารซ คูล อินดัสทรี จํากัด

โทรศัพท : 0-2875-3353 แฟกซ : 0-2875-1515 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท นิวมิค เอ็น-เทค จํากัด

โทรศัพท : 0-2997-3475-7 แฟกซ : 0-2997-3478 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท นิวตรอน อินเตอร โปรดักส จํากัด โทรศัพท : 0-2989-4460-1 แฟกซ : 0-2989-4461 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เอ็นที ไอซโปร จํากัด โทรศัพท : 0-2878-1800 แฟกซ : 0-2878-1800 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ซันนี่โอเชี่ยน (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท เค.พี.เอ็น.เนจิเนียริ่ง จํากัด

บริษัท ตากสิน แอร แอนด พารท จํากัด

บริษทั แคนนิว อินเตอรเนชัน่ แนล เทรดดิง้ จํากัด

โทรศัพท : 0-2314-3777 แฟกซ : 0-2719-6484 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2465-7071-3 แฟกซ : 0-2472-1138 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

ระบบบําบัดอากาศ บริษัท อิคาริ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2295-2151-3 แฟกซ : 0-2295-2154 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท เจนคอน เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2312-0888 แฟกซ : 0-2312-0889 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ออกซิเจน เทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2758-8605 แฟกซ : 0-2758-8605 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท เวิรค คูล วิศวกรรม จํากัด โทรศัพท : 0-2870-5965-9 แฟกซ : 0-2426-3254 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั ไทยแอมโน อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด โทรศัพท : 0-2382-1523-5 แฟกซ : 0-2381-9895 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั โกลเดน ฟลเทค คอรปอเรชัน จํากัด โทรศัพท : 0-2320-0961-3 แฟกซ : 0-2322-5472 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท เอ็ม.อี.ซี เอเซียแปซิฟค จํากัด

โทรศัพท : 0-2752-5712-5 แฟกซ : 0-2752-5716 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

หางหุน สวนจํากัด รุง ทวีสนิ สากลวิศวกรรม แอนด เทรดดิ้ง

โทรศัพท : 038-213-147-8 แฟกซ : 038-213-149 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2750-8404 แฟกซ : 0-2750-7568 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ซัน เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2235-0122 แฟกซ : 0-2236-3614 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ดัสคอนโทรล จํากัด โทรศัพท : 0-22854-4302 แฟกซ : 0-2285-4857 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ดิซา (ไทยแลนด) จํากัด

บริษทั ไทยสตีมเซอรวสิ แอนด ซัพพลาย จํากัด

โทรศัพท : 0-2996-9036-9 แฟกซ : 0-2996-9040 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2332-8246-7 แฟกซ : 0-2311-4840 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท แอรคอม ซัพพลาย จํากัด

บริษัท อะคูเท็คท โกลบอล จํากัด

โทรศัพท : 0-26914293-8 แฟกซ : 0-2276-8769 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

Consultant บริษัท เอ แอนด เอ เอนไวรอนเมนทอล แมนเนจเมนท จํากัด โทรศัพท : 0-2884-6631 แฟกซ : 0-2884-6632 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท วิชั่น อี คอนซัลแทนท จํากัด

บริษัท การันตี เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

บริษัท ไทยวิศวกรที่ปรึกษาทางเลือก จํากัด

บริษัท เอส.เค.บี. เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

บริษัท ฟราแมค (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2969-5033 แฟกซ : 0-2969-5033 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท ซิดเอ็น จํากัด

หางหุนสวนจํากัด แสงเอกซัพพลายล

บริษัท บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม จํากัด (มหาชน)

บริษทั ซันโย เอส.เอ็ม.ไอ. (ไทยแลนด) จํากัด

บริษัท ซิมเท็ค เอเชีย จํากัด

บริษัท ไซน-เทค เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด

โทรศัพท : 0-2974-5630 แฟกซ : 0-2974-5640 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2935-7870-1 แฟกซ : 0-2935-7872 สินคาและบริการ : Consultant

บริษทั คอนโทรลเทค จํากัด

บริษัท สยามเวสท แมเนจเมนท คอนซัลแทนท จํากัด

โทรศัพท : 0-2718-8220-1 แฟกซ : 0-2314-4821 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั เอ็มอี โซลูชนั่ ส จํากัด

บริษัท เอวีรอน อีควิปเมนต จํากัด

โทรศัพท : 0-2965-8230-2 แฟกซ : 0-2965-8232 สินคาและบริการ : Consultant

โทรศัพท : 0-2431-1207 แฟกซ : 0-2431-1207 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2944-5655 แฟกซ : 0-2944-6437 สินคาและบริการ : Consultant

โทรศัพท : 0-2539-1719 แฟกซ : 0-2539-1716 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท ควอลิตี้เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

บริษัท สเตเบิล ซิสเต็ม จํากัด

บริษัท เบสท เอ็นเนอรยี่ เซอรวิส จํากัด

บริษัท พีพีอี คอนซัลแตนทส จํากัด

โทรศัพท : 0-2945-7240-3 แฟกซ : 0-2945-7239 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2918-0550 แฟกซ : 0-2918-0516-7 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2613-0521-2 แฟกซ : 0-2613-0520 สินคาและบริการ : Consultant

โทรศัพท : 0-2379-4805-7 แฟกซ : 0-2374-0785 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2874-8164-5 แฟกซ : 0-2874-8165 สินคาและบริการ : Consultant

โทรศัพท : 0-2281-6412 แฟกซ : 0-2282-2900 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เอ็นโซล จํากัด

บริษทั ที.ที.แอล. เอ็นจิเนียริง่ ซีสเต็มส จํากัด

โทรศัพท : 0-2963-1495 แฟกซ : 0-2963-0470 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2502-0900-99 แฟกซ : 0-2502-0999 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท พี เอส เอ็ม ซี จํากัด

โทรศัพท : 0-2559-2621-2 แฟกซ : 0-2559-2049 สินคาและบริการ : Consultant

โทรศัพท : 0-2275-4080 แฟกซ : 0-2275-4080 สินคาและบริการ : Consultant

บริษทั แคนนอนบอล ออฟฟต ซัพพลาย จํากัด

โทรศัพท : 0-2871-8367-8 แฟกซ : 0-2871-8369 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2722-9185-6 แฟกซ : 0-2722-9816 สินคาและบริการ : Consultant

โทรศัพท : 0-2714-3989 แฟกซ : 0-2714-3983 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2513-7616-8 แฟกซ : 0-2511-1033 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2691-1146-8 แฟกซ : 0-2691-1149 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เอ ซี ที อินเทลลิเจนท จํากัด

โทรศัพท : 0-2196-2330 แฟกซ : 0-2196-2331 สินคาและบริการ : Consultant

โทรศัพท : 0-2611-0290 แฟกซ : 0-2611-0655 สินคาและบริการ : Consultant

โทรศัพท : 0-2391-4520 แฟกซ : 0-2391-4521 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท ทริเนอรยี จํากัด

โทรศัพท : 0-2996-5691 แฟกซ : 0-2996-5760 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท เบอรตั้น เทคนิคอลโซลูชั่น จํากัด โทรศัพท : 0-2965-8001 แฟกซ : 0-2965-8002 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท สงวนพันธ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2870-7545 แฟกซ : 0-2870-7763 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท ซี โอ ยู จํากัด

โทรศัพท : 0-2731-0555 แฟกซ : 0-2375-1132 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท เทคโนโลยีอัลไลแอนซ จํากัด โทรศัพท : 0-2644-4733 แฟกซ : 0-2354-4735 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท ออกแบบพลังงาน จํากัด โทรศัพท : 0-2399-3288 แฟกซ : 0-2399-3287 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท ทอปเอ็มซี (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2894-5900 แฟกซ : 0-2894-5901 สินคาและบริการ : Consultant

บริษัท โคนิค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2945-7188-9 แฟกซ : 0-2945-7190 สินคาและบริการ : Consultant

98 l July 2012

Energy#45_p98_Pro3.indd 98

7/21/12 1:02 AM


Energy#42_p92_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/23/12

10:21 PM


Special Report โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ปลดดิ น พอกหางหมู . ..

สู  ค วามเป น จริ ง ของราคาพลั ง งาน

หลังจากทีร่ าคาพลังงานในประเทศไทยถูกบิดเบือนหรือถูกตรึงราคา มาเปนเวลานานไมสอดคลองกับตนทุนทางเศรษฐกิจทีเ่ ปนจริง โดยกองทุน นํ้ามันเชื้อเพลิงไดใชเงินอุดหนุนราคาพลังงานหลายประเภทรวมถึง LPG ซึ่งกอหนี้กอนโตและนําไปสูปญหาการใชพลังงานที่ ไมเหมาะสม และปญหา การลักลอบแกสไปจําหนายในประเทศเพื่อนบาน กระทรวงพลังงานจึงได มีนโยบายปลอยลอยตัวราคาพลังงานโดยเฉพาะกาซธรรมชาติ LPG และ NGV โดยในวันที่ 16 สิงหาคม 2555 นี้จะครบกําหนดการตรึงราคา LPG และจะปลอยลอยตัวราคาเพื่อใหสะทอนราคาที่แทจริงตามราคาตลาด โลก โดยเฉพาะราคาแกส LPG ใน ภาคอุตสาหกรรม และภาคขนสง แต อาจจะทยอยปรับราคาขึ้นตามความเหมาะสมโดยอิงกับราคาในตลาดโลก ของแตละเดือน สวนในภาคครัวเรือนรัฐมนตรีพลังงานไดประกาศเลื่อน การลอยตัวออกไปจนถึงสิ้นปนี้ โดยตองหาขอสรุปและมาตรการในการ ชวยเหลือหรืออุดหนุนกลุมที่มีรายไดนอยกอนปรับลอยตัว ทั้งนี้ ในปจจุบันราคา LPG ภาคอุตสาหกรรมอยูที่ 24.86 บาท ตอกิโลกรัม, ภาคขนสงอยูที่ 21.13 บาทตอกิโลกรัม และภาคครัวเรือน อยูที่ 18.13 บาทตอกิโลกรัม ขณะที่กอนหนานี้รัฐบาลไดตรึงราคา LPG

ภาคขนสงและ NGV เปนเวลา 3 เดือนถึงวันที่ 15 ส.ค.55 โดยราคา NGV อยูที่ 10.50 บาท/กิโลกรัม และหากปรั บ ให ร าคา LPG สะท อ นความเป น จริ ง ตาม ราคาตลาดโลกในปจจุบันนั้นเฉลี่ยนอยูที่ 30 บาทตอกิโลกรัม หนาโรงแยก กาซเฉลี่ยที่ 24 – 27 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งเทากับวาหากกระทรวงพลังงาน ปรับลอยตัวราคาแกส LPG เปนราคาเดียวทั้งหมดก็จะอยูที่ประมาณ 30 บาทตอกิโลกรัมนั่นเอง

100 l August 2012

Energy#45_p100-101_Pro3.indd 100

7/19/12 10:43 PM


อยางไรก็ตาม นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวา การกระทรวง พลังงาน บอกวา “จากการหารือกับนายกรัฐมนตรี ยิง่ ลักษณ ชินวัตร และ คุณกิตติรตั น ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรมว.คลัง ไดยนื ยันวาจะ ไมปรับราคา LPG ภาคครัวเรือนไปจนถึงสิน้ ปนตี้ ามมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) แตสําหรับภาคอุตสาหกรรม ภาคขนสงและ เอ็นจีวีจะมีการปรับราคาในวัน ที่ 16 ส.ค.ตามที่กําหนดไวอยางแนนอน แตเปนการทยอยปรับขึ้น”

ปจจุบันกระทรวงพลังงาน โดยกองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงใชเงินเดือน ละหลายพันลานบาท เพื่อรักษาราคา LPG ไวใหตํ่ากวาราคาในตลาดโลก โดยตรึงไวที่ 333 เหรียญดอลลารสหรัฐ ตอตัน ซึ่งเปนอัตราที่ถูกที่สุด ในอาเซียน ที่ผานมาจนถึงปจจุบันกองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงไดใชเงินอุดหนุน ราคาเชื้อเพลิงหลายประเภทรวมเปนเงินกวา 2 แสนลานบาท ซึ่งสวนหนึ่ง นําไปสูการเปนหนี้จํานวนมหาศาลจนกลายเปนภาระหนักของประเทศ จากปญหาการตรึงราคานํ้ามันโดยเฉพาะราคากาซธรรมชาติ LPG หรือในการดําเนินตามนโยบายปรับโครงสรางพลังงานนั้นเพื่อสรางความ

เขาใจแกประชาชน และใหประชนไดมีสวนรวมหาแนวทางการอุดหนุนหรือ ชวยเหลือผูที่มีรายไดนอยจึงมีการดําเนินโครงการประชาสัมพันธใหความ รูและสรางความเขาใจเกี่ยวกับการปรับโครงสรางราคาพลังงานแกภาค ประชาชน ภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจขึ้น ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ สนั บ สนุ น เป า หมายยุ ท ธศาสตร ด  า นการกํ า กั บ ดู แ ล กิจการพลังงาน รวมทั้งราคาพลังงานของประเทศและเพื่อเตรียมความ พรอมสําหรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กระทรวงพลังงานได เปดตัวโครงการ “รวมพลังปลดดินพอกหางหมู” โดยผลิตเปนภาพยนตร โฆษณา 4 ชุดดวยกัน คือ ภาพยนตรกราฟฟค ชุดที่ 1 “LPG รวมพลัง ปลดดินพอกหางหมู” ภาพยนตรเพื่อการประชาสัมพันธ ชุดที่ 2 “Money” ชุดที่ 3 “Gas Reality” ชุดที่ 4 “Solution” ทั้งนี้ก็เพื่อสรางความรูความ เขาใจในเรือ่ งผลดีและความจําเปนของการปรับโครงสรางราคาพลังงานและ สงเสริมใหประชาชนมีสว นรวมในการหาทางออกทีด่ ที สี่ ดุ ใหกบั ประเทศ

August 2012 l 101

Energy#45_p100-101_Pro3.indd 101

7/19/12 10:43 PM


LifeStyle โดย : ณ ลาดพราว

เรี ย นรู ทั ก ษะ เพิ่ ม สกิ ล การขั บ รถกั บ

ศูนยฝก ขับขีป่ ลอดภัยฮอนดา ปจจุบัน.. ยานพาหนะถือเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิต ของมนุษย สวนหนึง่ เปนเพราะความกาวหนาทางวิทยาการทัง้ ในสวนของ การขับขี่และความปลอดภัยที่บรรจุอยู ในตัวรถ รวมถึงความงายใน การเปนครอบครองรถสักคัน เห็นไดจากจํานวนรถบนทองถนน ตัวเลข การจดทะเบียนรถใหมที่มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง แตสิ่งที่ หลีกเลีย่ งไมไดแมวา เทคโนโลยีจะลํา้ หนาขนาดไหน คือ จิตสํานึกในการ ขับขีแ่ ละการเขาใจการขับขีอ่ ยางถูกวิธี อยางทีห่ ลายคนมักพูดเสมอวา “ขับรถได กับ ขับรถเปน” นั้นแตกตางกันอยางสิ้นเชิง ด ว ยความห ว งใยและรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม สํ า หรั บ ทุ ก ชี วิ ต บน ทองถนน จึงเกิดโครงการ “Honda Save & Safe” ภายใตความรวมมือ ระหวาง บริษัท เอ.พี.ฮอนดา จํากัด และ บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํ า กั ด โดยเป ด อบรมและให ค วามรู  ด  า นการขั บ ขี่ ร วม ถึงเทคนิคตางๆ ที่ผูขับขี่รถยนตและรถจักรยานยนตอาจมองขามไป ณ ศู น ย ฝ  ก ขั บ ขี่ ป ลอดภั ย ฮอนด า (กรุ ง เทพฯ) ที่ ตั้ ง อยู  บ นถนน รามคํ า แหง-สุ ข าภิ บ าล 3 ที่ ได รั บ มาตรฐานสู ง สุ ด แห ง แรก ในประเทศไทยและภาคพื้ น เอเชี ย อาคเนย ซึ่ ง ศู น ย แ ห ง นี้ ได จั ด พื้ น ที่ ที่ ใช ในการศึกษาการขับขี่ ในรูปแบบตางๆ ตามมาตรฐานสากล พร อ มอุ ป กรณ ที่ ทันสมัย ภายใตการควบคุมจากทีมงาน ผูเชี่ยวชาญที่ผานการฝกอบรมในระดับ มาตรฐานสากลจากประเทศญี่ ปุ  น และ เป น ศู น ย ฝ  ก อบรมที่ ไ ด รั บ การรั บ รอง จากกรมการขนสงทางบกอีกดวย สํ า หรั บ ผู  ที่ เ ข า รั บ การอบรม แบ ง การอบรมออกเป น 2 ประเภท คื อ สํ า หรั บ รถยนต แ ละรถจั ก ยานยนต ด ว ยความแตกต า งทั้ ง ด า นทฤษฎี แ ละ

ปฏิบัติ โดยมีโอกาสเขารวมการฝกอบรมในสวนของรถยนต ทั้งนี้ตอง บอกวาการเขาอบรมนั้นใชเวลาเกือบตลอดทั้งวัน ผูที่สนใจแนะนําวา ควรหาเวลามาอบรมใหไดทั้งวัน เพราะมีเรื่องของเนื้อหาและการปฏิบัติ ที่นาสนใจมาก สวนของรถยนตจะแบงการเปนชวงเชาและบาย 3 ชั่วโมง แรกเปนการอบรมภาคทฤษฎี เนนหนักเรื่องการขับขี่อยางปลอดภัย เพื่ อ เพิ่ ม ความปลอดภั ย เมื่ อ ต อ งเผชิ ญ หน า กั บ เหตุ ก ารณ ต  า งๆ ในการขับขี่ เพือ่ พัฒนาทักษะการขับขี่ในเชิงปองกันอุบตั เิ หตุ มารยาทในการ ขับขี่ การเรียนรูก ฎหมายและเครือ่ งหมายจราจร การบํารุงรักษาเครือ่ งยนต และการขับขี่อยางไรใหประหยัดพลังงาน ซึ่งถือเปนเรื่องสําคัญในปจจุบัน ชวงบายเปนการ อบรมในภาคปฏิ บั ติ ใช เ วลาในการอบรม 3 ชั่วโมงเชนกัน ซึ่ง ถื อ เป น ส ว นที่ สํ า คั ญ โดยจะมี ก ารสาธิ ต และขั บ ขี่ จ ริ ง เพื่ อ เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ แ ล ะ ความรู  เ กี่ ย วกั บ การ ขั บ ขี่ ป ลอดภั ย ภายใต ส ถานการณ ต  า งๆ มี ก ารทดสอบสายตา ก า ร ท ด ส อ บ ป ฏิ กิ ริ ย า ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม คั น เ ร  ง แ ล ะ เ บ ร ก การเรี ย นรู  ก ารทํ า งานของถุ ง ลมนิ ร ภั ย (SRS) ก อ นจะเรี ย นรู  ภ าค สนามจากรถจริ ง โดยทางศู น ย มี ร ถให เ รี ย นรู  แ ละขั บ ทดสอบ ซึ่ ง การทดสอบที่ น  า สนใจคื อ การฝ ก บั ง คั บ รถเมื่ อ อยู  ใ นสภาพถนนที่ ลื่ น พร อ มการทดสอบการทํ า งานของระบบเบรก ABS การขั บ ขี่ แ บบ สลาลม การจอดเขาซองแบบมืออาชีพ และการทดสอบความไวของปฏิกริ ยิ า ตอบสนองตอสถานการณคับขัน ส ว นของการอบรมสํ า หรั บ รถจั ก รยานยนต 3 หลั ก สู ต ร คื อ การอบรมหลักสูตรพื้นฐาน 6 ชั่วโมง, การอบรมหลักสูตรขับขี่รถรุนใหญ 6 ชั่วโมง และการอบรมหลักสูตรเพื่อขอรับใบ อนุญาตขับขีร่ ถจักรยานยนตชวั่ คราว 15 ชัว่ โมง นอกจากนี้ยังมีโครงการหนูนอยปลอดภัยทาง ถนนอีกดวย ผู  ที่ อ ยากเพิ่ ม ทั ก ษะด า นการขั บ ขี่ หรืออยากทราบเทคนิค เกร็ดเล็กเกร็ดนอย ของการใชรถ นาจะลองหาโอกาสไปเรียนรู ดูสักครั้ง รับรองวาจะไดอะไรดีๆ กลับบานอยาง แนนอน

102 l August 2012

Energy#45_p102_Pro3.indd 102

7/17/12 1:56 AM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

August 2012 l 103

Energy#45_p103_Pro3.indd 103

7/19/12 10:32 PM


Energy Thinking โดย : รังสรรค อรัญมิตร

เด็ก กับ การอนุรกั ษพลังงาน และสิ่งแวดลอม หากยอนนึกถึงวันวานตอนเปนเด็กในตอนวัยเด็กนอกเหนือจาก การเรียนในโรงเรียน และชวยงานบานเล็กๆ นอยๆ แลว พวกเราเด็กๆ ก็ มักจะมีเวลาวางมากเพียงพอที่จะสํารวจธรรมชาติที่อยูรอบๆ บาน หรือ บริเวณหมูบาน ไมวาจะเปน ตนไม ทุงหญา ทุงนา ปาหญาคา และ อื่นๆ เราสนุกสนานกับการที่ ไดปนปายตนไมใหญ นั่งเลนอยูบนตนไมนั้นเปนเวลา นานๆ ในชวงปดเทมอก็จะชักชวนกันไปหาวัสดุ อุปกรณ ที่จะนํามาผลิต ของเลนอันเปนภูมิปญญาชาวบานที่ถูกสั่งสอนและถายทอดกันมาตั้งแต รุนบรรพบุรุษ ถาจําไมผิดก็จะมี มากานกลวย ปนกานกลวย ลูกขาง มากะลา หนังสติ๊ก บั้งแตกโปะและอื่นๆ อีกมากมายซึ่งผมก็นึกชื่อไมออก แตนึกหนาตาของเลนเหลานั้นออก นี่เปนขอดีของเด็กสมัยรุนผม สวนเด็ก ในยุคนี้เห็นแตเขารานเกมสกันเปนสวนใหญ แตอยาไปเหมารวมครับเพราะเด็กที่ ใฝเรียนก็มีเยอะเชนกัน และ ที่สําคัญเด็กสมัยนี้ โชคดีที่มีโอกาสไดเรียนรูสิ่งใหมๆ ไดโอกาสเขารวมทํา กิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมกันมากขึ้น ทั้งของหนวยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งนี้คงจะปฏิเสธไมไดวาเรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม

นั้นเปนเรื่องสําคัญ และเปนเทรนดที่ทุกคน ทุกเพศ ทุกวัยตองเรียนรูตลอด เวลา ถึงแมปญหาสิ่งแวดลอมจะไมสามารถแกไดอยางเด็ดขาดแตถาเรา สามารถบรรเทาปญหาที่มีมากใหเบาลงไดอยางนอยก็ชวยใหโลกมีอายุอยู กับเราชาวมนุษยยั่งยืนนานขึ้น การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมหากจะใหดีตองเริ่มสง เสริมปลุกจิตสํานึกกันตั้งแตเด็ก ผานชองทางการทํากิจกรรม ซึ่งปจจุบัน หนวยงานตางๆ ของภาครัฐและบริษทั เอกชนหลายแหงก็ ไดใหการสงเสริม ปลุกฝงจิตสํานึกใหแกเยาวชนเชนกันไมวาจะเปนการจัดกิจกรรมดานการ ประกวดวาดภาพ การออกคายเยาวชนเพื่อเรียนรูการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอมพรอมกับการเรียนเกี่ยวกับการผลิตพลังงานทดแทน การพึ่งพาตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งหากภาครัฐและเอกชนดําเนินการสงเสริมอยางนี้ ไปเรื่อยๆ และตอเนือ่ งก็เชือ่ วาเยาวชนสามารถซึมซับกับแนวทางการอนุรกั ษพลังงาน และการอนุรักษสิ่งแวดลอมสูการพัฒนาตอยอดไดเปนอยางดีครับ.... หากอยากเห็นเด็กรุนลูก รุนหลานมีจิตสํานึกตอการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอมนั้นผูใหญอยางเราก็ตองจําไววา “สิ่งแวดลอมอยูไดถาไมมีคน แตคนอยูไมไดถาไมมีสิ่งแวดลอม” นะครับ

104 l August 2012

Energy#45_p104_Pro3.indd 104

7/25/12 2:05 AM


August 2012 l 105

Energy#45_p105_Pro3.indd 105

7/25/12 4:59 PM


Experience Interchange

ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ศูนยประชุมรักษโลกแนวใหม ประหยัด เพอสิง่ แวดลอม มุง หนาสู Green Building

ปจจุบันการสื่อสารที่รวดเร็ว ถือเปนทางออกที่ดีสําหรับธุรกิจ ที่ ไมอาจรอหรือเสียเวลากับการเดินทางในการหารือหรือประชุมได โดยเฉพาะหากธุรกิจดังกลาวมีสาขาระหวางประเทศ การยอโลก มาประชุมไดในหองเดียวก็ถือเปนการประหยัดทั้งเวลาและพลังงาน ไปในตัว วิคเตอรคลับ @ ปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ถือเปนทางเลือก ใหมสําหรับธุรกิจประชุมและสัมมนาของเมืองไทย “การเปนศูนยประชุม สัมมนาที่ ใส ใจตอสิ่งแวดลอม(Environmentally Friendly Meeting) และครบครั บ ด ว ยระบบเทคโนโลยี ก ารประชุ ม ที่ ลํ้ า สมั ย ที่ สุ ด (New-Modern Technology Oriented) เพื่อเพิ่มศักยภาพให แกโครงการโดยรวม ในการกาวสูการเปนศูนยกลางการประชุม สัมมนา ระดับเวิลดคลาสที่สมบูรณแบบที่สุดใจกลางกรุงเทพฯ วิคเตอรคลับ มีการเลือกใชวัสดุตกแตงที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมไมวาจะเปน พรม และเกาอี้ที่ ไดรับการรับรองจาก สถาบัน LEED พรอมจัดเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกในการ ประชุมตามเปาหมายการดําเนินธุรกิจที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยงดการใชขวดนํ้าพลาสติกในการเสิรฟนํ้าระหวางประชุม, กระดาษโนตที่ผลิตจากกระดาษรีไซเคิล, งดใชผาคลุมโตะลินิน, นําเสนอหองประชุมแบบ VDO Conference และ TelePresence เพื่ อ ประหยั ด ค า ใช จ  า ยในการเดิ น ทาง ระบบกระจกอนุ รั ก ษ

พลั ง งานของอาคาร, ระบบการนํ า นํ้ า ที่ ใ ช แ ล ว ภายใน อาคาร มาบําบัดและหมุนเวียนกลับมาใชใหม, เซนเซอร ตรวจจั บ ค า คาร บ อนไดออกไซด ใ นพื้ น ที่ ต  า งๆ, ระบบ ปรั บ ระดั บ แสงภายในอาคารให เ หมาะสมกั บ แสงสว า ง ธรรมชาติ เพื่อมุงเปนกรีนบิลดิ้ง นอกจากนี้ ด า นสถานที่ แ ละทํ า เลยั ง สามารถ ตอบสนองการจัดสัมมนาแบบใส ใจสิ่งแวดลอมไดอยาง สมบูรณแบบยิ่งขึ้น โดยตั้งอยูใจกลางเมืองบนทําเลยาน เพลินจิต-วิทยุ ที่เปนศูนยกลางเชื่อมสูแหลงธุรกิจสําคัญๆ ของกรุงเทพฯ เชือ่ มตรงสถานีรถไฟฟาเพลินจิต จึงชวยให การเดินทางเปนไปไดอยางสะดวกรวดเร็ว และประหยัด เวลามากขึ้น สําหรับ วิคเตอรคลับ ศูนยกลางการประชุมสัมมนา และจัดเลีย้ งทีท่ นั สมัยแหงหนึง่ ของกรุงเทพฯ ประกอบดวย หองสัมมนา จํานวนรวม 5 หอง พืน้ ทีต่ งั้ แต 70-200 ตร.ม. สามารถรองรับ ผูเ ขารวมสัมมนาไดสงู สุดถึง 300 คน ดวยความทันสมัยดานเทคโนโลยีและ ความโดดเดนดานการออกแบบที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดงาน ไดอยางหลากหลายทําใหตอบสนองความตองการในทุกๆ ดานของผู เขารวมประชุม สัมมนาเพื่อสรรสรางความสําเร็จไดอยางสมบูรณแบบ ในโลกธุรกิจที่ ไรพรมแดนเชนปจจุบัน และใสใจดานสิ่งแวดลอมเปนหัวใจ สําคัญ

106 l August 2012

Energy#45_p106_Pro3.indd 106

7/17/12 2:18 AM




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.