Energy#38_ad Measure_Pro3.ai
1
12/27/11
1:23 AM
Contents
Issue 38 January 2012
26 18
What’s Up 10 Energy News 72 Energy Movement 86 Energy Around The World
Cover Story 18 Cover Story : NEW TREND & PRODUCTS 2012 รับกระแส “Green +Saving” ป 2555 93 Special Scoop : พัฒนาพลังงานทดแทนในรูปแบบ “ปาลอมเมือง” 100 Special Report : จุฬาฯ ขี่มาขาว ซอมเครื่องจักรผูประสบภัย..ใชได เหมือนใหมเกือบ 100 % Interview 38 Energy Keyman : ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอมไทย กาวใหมของสถาบันสิ่งแวดลอมไทย นําสังคมสูความยั่งยืน 38 41 Energy Keyman : นายยะสึอิโร มิซึโมโตะ ประธานบริษัท โยโกฮามา ไทร แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด YOKOHAMA ทําอยางไรถึงได ISO : 50001 80 Energy Concept : ระบบกําจัดขยะชุมชน ไดทั้งไฟฟาไดทั้งปุย
High Light 14 Energy Focus : 2012 The End of the World 32 Energy Best Award : จุฬาฯสรางชื่อใหกับไทย ควารางวัลระดับโลก ALBERTO ROZZI AWARD 46 Residential : Natural Boutique Resort 61 Energy Tezh : ใชจนลืมชารจ เทคโนโลยีแบตฯ มือถือใหม 70 Energy Test Run : รัฐเปดศูนยทดสอบพลังงาน 83 Energy In Trend : The Soccket ลูกเตะ... (แปลงเปน) ไฟฟา!! 84 Energy Exhibit : Bus & Truck’11 รถ(ยิ่ง)ใหญ.. ยอดใหญตาม 91 Insight Energy : NGV เจาปญหา...ทุกวาระ Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 48 Green4U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 88 Energy Loan : ก.พลังงาน เปด “โครงการบัตรเครดิต พลังงาน NGV.” กรุงไทยรับลูกดําเนินการ
46 41
4 l January 2012
Energy#38_p04,06_Pro3.indd 4
12/27/11 2:35 PM
Energy#38_ad Ploy_Pro3.ai
1
12/27/11
1:26 AM
Contents
Issue 38 January 2012
Industrial & Residential 24 Tools & Machine : FRIGAID เทคโนโลยีประหยัดพลังงานสําหรับ ระบบทําความเย็น 26 Green Industrial : Green business มิติหนึ่งของการจัดการ พลังงานแบบครบวงจร 30 Saving Corner : หลักการ 4 ขอ เพื่อลดการใชพลังงานในระบบ ดักฝุน (ตอนจบ) โดย คุณธนกร ณ พัทลุง วิศวกรประสิทธิภาพ โรงไฟฟากระบี่ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) 44 Energy Design : การออกแบบ..โดยคํานึงถึงการใชงาน 54 Greeenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทคและ การรีไซเคิลเพื่อโลก Alternative Energy & Transportation 64 Renergy : ขยะกวาแสนตันในกทม.หายไปไหน? โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุมอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 68 Vehicle Concept : Expo 2011 เจาะรถเดนพลังงาน 78 Logistics Solution : มองทิศทางโลจิสติกสและซัพพลายเชน 2012 โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก Environment Protection 58 Green Space : ASEAN Energy Management Scheme (AEMAS) 60 Green Vision : “ธุรกิจสีเขียว ไมใชแคธุรกิจที่มีหนาตาเปนใบไม” 62 Environment Alert : วิกฤตสิ่งแวดลอม อนาคตที่ ไมอยากใหเกิด โดย คุณรัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญ การพิเศษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
51
68 66
0 Waste Idea : การจั ด การของเสี ย ด ว ยแนวคิ ด “Zero Waste หรือของเสียเหลือศูนย” (ตอนแรก) โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวย ปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย และการนําน้าํ กลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง เพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 51 Take a break : 11 สิ่งประดิษฐสุดล้ํา ที่ ไมควรคิดขึ้น จริงหรือ?? 82 How to : 10 วิธกี ารงายๆ ประหยัดพลังงานไดดว ยตัวคุณเอง 89 Environment & Energy Legal : กม.ดูแลขยะหลัง น้ําทวมเพื่อสิ่งแวดลอม 102 Life Style : พลังงานแสงอาทิตยที่...ผาหลมสัก 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : จุดประกายทางความคิด ชีวิตมีแต สรางสรรค/ ยิ่งโตใหญ..คนไทยไมคอยยิ้ม 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : ศุนยประชุมฯ แหงชาติสริ กิ ติ ประหยัดไฟดวยเครื่องสํารองไฟ
6 l January 2012
Energy#38_p04,06_Pro3.indd 6
12/27/11 12:57 AM
Energy#38_p07_Pro3.ai
1
12/19/11
11:29 PM
Editors’ Talk ขอตอนรับทานเขาสูพุทธศักราชใหม 2555 ขอใหอารมณดีมีความ สุขเหมือนกับเลข 555 จะบอกวาขอใหเปนปมังกรยิ้ม..มังกรหัวเราะ ให กึกกองฟาลั่นกันไปเลยทีเดียวคะ แตเรองนี้ ไมรูจะขําออกกันหรือเปลา เพราะถาไมกลาวถึงก็คงจะไมได จากที่เราทราบกันเรองขาวการออกบัตรเครดิตใหกับผูขับขี่รถสาธารณะ ในการไดสิทธิรับสวนลดในการเติม NGV แตทวาตัวเลขราคาของกาซที่จอ ปรับในตนปนั้น ก็ทําใหกลุมแท็กซี่บอกไดรับผลกระทบไปตาม ๆ กัน โดยฐานที่รัฐบาลวางไวคือ การขยับขึ้นราคากาซเดือนละ 50 สตางค ตอกิโลกรัม จนครบ 6 บาทตอกิโลกรัม และจะทําใหราคาขายปลีกไปอยูที่ 14.50 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งดวยราคาตนทุนราคา NGV ที่เพิ่มขึ้นนั้นไดสง ผลกระทบกับกลุมแท็กซี่จนมีขอตอรองกันวาจะตองปรับเพิ่มจากมิเตอรอีก 20 บาท อีกทั้งปญหาของแท็กซี่จํานวนมากที่ ไมสามารถเขาระบบสมัครบัตร เครดิตพลังงานก็เพราะติดปญหาไมมีใบขับขีส่ าธารณะ ซึง่ การขอใบอนุญาต จากกรมขนสงทางบกตองใชเวลาถึง 6 เดือน เพราะตองตรวจสอบประวัติ อาชญากรรมกอน และที่สําคัญที่วารัฐจะปรับเพิ่มวงเงินสวนลดเอ็นจีวีจาก 6,000 เปน 9,000 บาท กลุมแทกซี่มองวายังไมเปนประโยชนเทาที่ควร ก็ถือเปนเรองฮอตฮิตตอเนองมากที่สุดในชวงปลายป 54 ตอยอดมา ถึงตนป 55 นี้ เพราะไมใชแคแท็กซี่อยางเดียวที่ฮึ่ม ๆ ไมพอใจการตัดสินใจ การประกาศขึ้นราคากาซของ รมว.พลังงาน รถใหญทั้งบัสและบรรทุก ก็ ออกกันมาอีกครั้ง โดยมุงเปาไปชุมนุมหาขอสรุปกันที่ปตท. และกระทรวง พลังงานในวันที่ 9 ม.ค. ที่จะถึงนี้ สวนผลสรุปจะออกมาอยางไร ก็ขอให แฮปปทั้งสองฝายแลวกันคะ และสําหรับเรองเดนฉบับนี้ เราตองบอกวาการเปดพ.ศ.ใหม ของใหมๆ ก็ยังเป็นเรื่องที่ทุกคนทุกสื่อให้การติดตาม ในเรื่องของพลังงานนั้นก็มี เรองนาทึ่ง นายินดีปรีดากันหลายแขนง ไมวาจะเปน เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ ขอกําหนด กฎระเบียบ ที่เดินหนามาเต็มกําลัง พรอมลุยธุรกิจปมังกรยิ้มนี้ แตจะมีอะไรบางก็ตองติดตามอานกันในเลม และเพอเปนโอกาสสวัสดีปใหม คุณผูอ า นทุกทาน เราก็ยงั มีการปรับขอมูลเนือ้ หาบางคอลัมนทีจ่ ะตอบสนอง ความตองการของผูบ ริโภคหรือกระแสความนิยมในปจจุบนั ใหทนั สมัยมากขึน้ ..ถาเปนแฟนพันธุแท ก็ตองรูกันนะคะ วาปรับเปลี่ยนอะไรบาง (มีแอบเช็คเรต ติ้งกันนิดหนึ่ง) แตรับรองเนื้อหายังคงเขมขนเชนเดิม.. สําหรับบทอําลา..สงทาย..สรุปบทกันตอนนี้ ตองขอกลาวคําวา “สวัสดีปใหม” ดัง ดัง (2)555 ...
คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา
ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก
หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา
กองบรรณาธิการ
พิพัฒน จันทรอดิศรชัย รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม
บรรณาธิการสออิเลคทรอนิกส
กมลวรรณ เจียมสกุล
เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ
ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก
แผนกโฆษณา
จันทรอําไพ แตตระกูล เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส
พัฒนาธุรกิจ/สมาชิก
สุทธิพล โกมลสิงห
การเงิน
ศิรินารถ แกวอุไร
ศิลปกรรม
วินัย แพงแกว
เพลท
บริษัท พี พี เพลทแอนดฟลม จํากัด
พิมพ
บริษัท ภัณธรินทร จํากัด
จัดจําหนาย
บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด
ผูจัดทํา
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com
200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466
ภาพและเรองในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง
8 l January 2012
Energy#38_p08_Pro3.indd 8
12/21/11 1:10 AM
Energy#38_PSJ_Pro3.ai
1
12/21/11
2:31 AM
Special Report โดย : ลภศ ทัศประเทือง
จุฬาฯ ขี่มาขาว
ซอมเครื่องจักร ผูป ระสบภัย..ใชไดเหมือนใหมเกือบ 100% โครงการนี้มีชื่อเรียกวา “เปดโลกลานเกียร” ดวยทางคณาจารย ผูเชี่ยวชาญ นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ ไดรวมกันคิดคน เทคโนโลยีน้ํายาเคมี ในการลางทําความสะอาดเครื่องจักรที่ถูกน้ําทวมให กลับมาใชงานไดประสิทธิภาพถึง 90% ซึ่งทางจุฬาฯ ไดเล็งเห็นวา ปญหาของสถานประกอบการสวนใหญ ทีจ่ ะฟน ฟูเครื่องจักรอุปกรณที่ ไดรบั ผลกระทบหลังน้าํ ลดคือ การขาดแคลน อุปกรณ เครื่องมือ สารละลายทําความสะอาด ชิน้ สวน เครื่องจักรอุปกรณ และบุคลากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญการซอมแซมเครื่องจักร รองศาสตราจารย ดร.บุ ญ สม เลิ ศ หิ รั ญ วงศ คณบดี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา ในสวนของผูป ระกอบการขนาดใหญ ทั่วไปจะมีเครือขายของอุตสาหกรรมในตางประเทศที่มีผูเชี่ยวชาญเขามา ชวยดําเนินการ หรือ มีการจางบริษัทเอกชนจากตางประเทศที่มีเทคโนโลยี และประสบการณในการฟนฟูเครื่องจักรอุปกรณที่ถูกน้ําทวมขังเขามา ดําเนินการโดยมีคาใชจายที่คอนขางสูง เพื่อใหสามารถนําเครื่องจักร อุปกรณกลับมาใชงานไดโดยเร็วที่สุด ในขณะที่ผูประกอบการขนาดกลาง และเล็ก (SMEs) จะตองดําเนินการฟนฟูเครื่องจักรอุปกรณเองภายใตขอ จํากัดในหลายๆ ดาน โดยเฉพาะประสบการณของชางที่จะดําเนินการ เนื่องจากเปนเหตุการณท่ีไมเคยเกิดขึน้ ตออุตสาหกรรมในประเทศไทยของเรา ประกอบกับขั้นตอนการดําเนินงาน และสารละลาย (solvent) ที่ ใชลาง ทําความสะอาด ชิ้นสวน เครื่องจักรอุปกรณ ยังคงเปนองคความรูของ บริษัทที่รับดําเนินการไมมีการเผยแพร “ซึ่งในตอนเริ่มตนไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการ สงสริมการลงทุน (BOI) ดวยการประสานงานกับอุตสาหกรรมขนาดใหญ ที่ ไดนาํ เทคโนโลยีจากตางประเทศเขามาดําเนินการฟน ฟูเครื่องจักรอุปกรณ คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดสงคณาจารย และครู ปฏิบัติการเขาดูงานการฟนฟูเครื่องจักรอุปกรณของบริษัท Western Digital ซึ่งไดนําเทคโนโลยีการฟนฟูจากตางประเทศเขามา และบริษัท Western Digital ก็ ไดเห็นชอบและสนับสนุนใหทางคณะฯ สรางองคความ รูขึ้นมาเองเพื่อใหความชวยเหลือผูประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก
(SMEs) ตอไป โดยทดลองใชสารละลายในการลาง(Solvent) มอเตอร ขนาด 1 แรงมา 1 ตัว และ ขนาด 10 แรงมา 2 ตัว ที่ฟนฟูแลวภายหลัง จมน้ํามาเปนเวลากวา 2 เดือน พิสูจนไดวาสามารถสงคืนโรงงานเพื่อนํา ไปประกอบติดตั้งและเดินเครื่องจักรเดิมไดอยางมีประสิทธิภาพ และไดจัด ทํ า ขั้ น ตอนการฟื้ น ฟู เ ครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ห ลั ง อุ ท กภั ย พร้ อ มจั ด เตรี ย ม สารละลายที่ ใ ช้ เพื่ อ เผยแพร่ ต่ อ ผู้ ป ระกอบการที่ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หาย เนื่องจากอุทกภัยครั้งนี้ โดยมุงหวังใหขยายผลในวงกวาง และเปนองค ความรูคูกับประเทศตอไป” ฉะนั้นทานผูประกอบการทั้งหลาย อานเจอแลวอยารอชา ติดตอไปที่ คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยเร็ว ทางคณะฯ ไดจดั ลานสาธิตเพื่อถายองคความรูใหกบั ชางเทคนิคเพื่อสามารถนําไปปรับใช ที่โรงงานได ทั้งยังมอบน้ํายาสุดไฮเทคไปชวยชุบชีวิตเครื่องจักรของทาน ใหกลับมาทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ติดตอที่เบอร 0-2218-6337 เพื่อขอเขารวมโครงการไดเลยครับ...
เคล็ดลับ..ชุบชีวิตเครื่องจัก อยา!! ปลอยใหเครื่องจักรแหง
กอนที่จะใชน้ํายาทําความสะอาด ควรใหเครื่องจักรแชน้ํา ไมควรปลอยใหแหง เพราะจะทําใหสนิมเกาะ และทําความสะอาดยาก หรือไม สามารถเยียวยาเครื่องจักรของคุณตอไปไดอีก.. ฉะนั้น!! ปลอยเครื่องจักรของคุณแชน้ําไปกอน จนกวาจะไดน้ํายาชุบชีวิตเครื่องจักรใหมนี้ ไป ทําความสะอาด..นะจะบอกให 100 l January 2012
Energy#38_p100_Pro3.indd 100
12/27/11 12:34 AM
Special Report
การพัฒนาอยางยั่งยืนในโครงการ
“ไบเทคชีววิถีสูชุมชน”
นับตัง้ แตแรกเริม่ ทีก่ อ ตัง้ ศูนย นิทรรศการและการประชุมไบเทคใน ปพ.ศ. 2540 ดร. ประสาน ภิรัช บุรี ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผูจัดการ ไดมีแนวความ คิดและตระหนักถึงความสําคัญดาน สิ่งแวดลอมภายในศูนยนิทรรศการ และการประชุม โดยมีการกอตั้งโรง บําบัดน้ําเสียและไดริเริ่มจัดโครงการ “ไบเทคชีววิถีสูชุมชน” ซึ่งมีคณะ กรรมการสิ่งแวดลอม หรือ กลุม กรี น คลั บ เพื่ อ เป็ น ตั ว แทนของ องคกร สงเสริมใหพนักงานเขารวม เป น สมาชิ ก และมี กิ จ กรรมที่ ป ฏิ บั ติ รวมกัน โดยไบเทคไดดาํ เนินการผลิต น้ําหมักชีวภาพ หรือ EM จุลินทรีย ขยาย เพอใชภายในศูนยฯ มาอยาง ดร. ประสาน ภิรัช บุรี ตอเนอง กอนแจกจายใหแกผูที่มา ประธานเจาหนาที่บริหารและ เข า ชมงานในศู น ย นิ ท รรศการและ กรรมการผูจัดการ การประชุม โดยไมคิดคาใชจายใดๆ อยางเปนทางการเมอปพ.ศ 2550 ที่ผานมา ซึ่งรวมระยะเวลาเกือบ 5 ป โดยวัตถุประสงคหลักในการจัดทําโครงการนี้ เพอดําเนินการตามแนวทาง
บรรยากาศภายในงานที่ผูเขาชมงานมารับน้ําหมักชีวภาพ หรือ EM จุลินทรียขยาย
เศรษฐกิจพอเพียง และนําไปสูการอนุรักษ พัฒนา และฟนฟูสิ่งแวดลอม อยางยั่งยืนทั้งภายในและภายนอกองคกร ซึ่งสามารถพัฒนาองคกรไปสู การพึง่ พาตนเองได รวมถึงการเผยแพรความรูค วามเขาใจในเรองการลด การใชสารเคมีที่อาจกอใหเกิดอันตรายตอประชาชนและสิ่งแวดลอมภายใน ชุมชน ซึ่งประชาชนสามารถนําความรูที่ ไดรับเกี่ยวกับ EM จุลินทรียขยาย ไปใชในชีวิตประจําวัน อีกทั้งยังเปนการปลูกจิตสํานึกในการนําขยะกลับมา ใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด
ติดตอแผนกสอสารองคกร ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค • พิมพพนิต เพียรวณิช Corporate Communications Manager • ดวงพร บุพพัณชาติ Corporate Communications Executive • ภคมน ภาสวัสดิ์ Corporate Communications Executive 88 บางนา-ตราด (กม.1) บางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทร 02-749-3939 ตอ 3142, 3146, 2189 แฟกซ 02-749-3949 ตอ 3142, 3146, 2189 อีเมล pr@bitec.co.th เว็บไซด www.bitec.co.th Facebook: www.facebook.com/BITEC.Bsquares Twitter: www.twitter.com/BITEC_Bsquare Youtube: www.youtube.com/BITECBTV
ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค
Energy#38_p101_Pro3.indd 101
Januuary 2012 l 101
12/23/11 8:49 PM
LifeStyle
โดย : กมลวรรณ เจียมสกุล
ใบเมเปล ซึ่งจะเปลี่ยนเปนสีแดงและผลัดใบในชวงฤดูหนาวราวเดือน ธันวาคม อีกทั้งยังมีพืชพรรณหายากนานาชนิด และอีกกิจกรรมที่นักทอง เที่ยวนิยมทําบนภูกระดึงก็คือ การเฝาชมแสงแรกและแสงสุดทายของวัน จากบริเวณหนาผาสูงชันหลายๆ จุด ซึ่งจุดที่นิยมกันมากที่สุดที่หลายคน ตั้งใจไปเลยก็คือ “ผาหลมสัก” ชะงอนผาหินทีย่ นื ออกไปในอากาศอยางนาหวาดเสียวคือเอกลักษณ ซึ่งโดดเดนของที่นี่ ใครๆ ไปก็อยากจะไดถายภาพคูกับหินกอนนี้ เพราะ เหมือนเปนใบประกาศเกียรติบัตร ที่เอาไปอวดอางกับใครตอใครไดวา “ขา คือผูพิชิตภูกระดึง” รานรวงที่ขายอาหารและของที่ระลึกบริเวณนี้ยังคงมีอยู และราน คาอาจจะมีเพิ่มมากขึ้นกวาครั้งกอนที่ ดิฉันมาดวยซ้ํา เหลาแมคาพอขายก็ยัง คงอัธยาศัยนารักเปนกันเองเหมือนเดิม แตที่ ไมเหมือนเดิมก็เห็นจะเปน เทคโนโลยี ใหมที่รานแถวนี้ ใชกันอยู นั่นคือ “แผง โซลาร เ ซลล ” แหล ง ผลิ ต พลั ง งาน ไฟฟาใหมของผาหลมสัก เหตุเพราะไม่มีไฟฟ้า ซ้ําเครื่อง ปนไฟก็ ไมอนุญาตใหใช ทางออกที่นา
พลังงานแสงอาทิตยท.ี่ ..ผาหลมสัก
ไมวาเวลาจะผานไปกี่ป “ภูกระดึง” ก็ยังคงมีเสนหอยูไมเสื่อม คลาย วากันวาในชีวิตชวงวัยรุนของเราๆ ควรจะหาโอกาสไปใหได สักครั้งหนึ่ง บางคนต้องการขึ้นไปเพื่อพบกับธรรมชาติที่ยังคง บริสุทธิ์ แตบางคนบอกวาเสนหที่แทจริงของภูกระดึงก็คือความ อุตสาหะในการเดินทางขึ้นไปใหถึงยอดนี่เอง ขึน้ เขาทีน่ ีจ่ ะใหดคี วรขึน้ ตัง้ แตเชาคะ เพราะอากาศยังไมรอ นมาก และ ตองใชเวลาหลายชั่วโมงสําหรับคนไมฟตอยางดิฉัน ภาพลูกหาบหลายสิบ คนที่กําลังกุลีกุจอเขาคิวรับสัมภาระยังคงดูชินตาเหมือนเดิมกับที่ขึ้นเมื่อ ครั้งกอน ดิฉันจัดแจงมอบสัมภาระตางๆ ใหกับลูกหาบไปจนเกือบหมด เพราะมีประสบการณมาแลววา ไมวาอะไรก็ตามที่เราแบกขึ้นไป จะรูสึกวา มันคือภาระทันทีเมื่อถึง “ซําแฮก” ฉะนัน้ แบกเองแตของมีคา ก็พอคะ เพราะ แคขนาดของเล็กๆ นอยๆ อยางกระเปาเงิน โทรศัพท กลองถายรูป ถึง เวลาเหนื่อยยังแทบอยากจะโยนทิ้งเลยทีเดียว ดิฉันผานซุมประตูทางขึ้นเมื่อตอนเวลาแปดโมงครึ่ง มาเจอกับทาง ขึ้นที่ทั้งชันเปนดินและหินตลอดทาง ผานจุดพักตางๆ ตั้งแต ปางกกคา ซําแฮก ซําบอน ซํากกกอก ซํากอซาง พรานพรานแป ซํากกหวา ซํากกไผ ซํากกโดน ซําแคร และมาถึงหลังแปเอาตอนบายสองโมง เดินทางเรียบตอ ไปจนถึง ศูนยฯ วังกวาง อีก รวมระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร สูงจาก ระดับน้ําทะเล ประมาณ 1,200 เมตร ถึงที่ทําการบายสามโมงครึ่งนาจะได ดังนั้นเวลาที่เหลือในวันแรกนี้ จึงขอพักฟนกอน เพื่อเตรียมเที่ยวใหหนําใจ ในวันรุงขึ้น จุดทองเที่ยวบนยอดภูกระดึงนั้นมีหลายจุดใหเที่ยวชม มีทั้งน้ําตก นอยใหญ เชน เพ็ญพบ โผนพบ ถ้ําสอเหนือ ถ้ําสอใต ฯ ปาสนสามใบ
สนใจก็คือ โซลารเซลล รานบนผาหลมสักจะลงทุนซื้อแผงมาใชเอง รานละ 2-4 ชุดแผง แลวแตกําลังและความจําเปนในการนํามาใช โดยไฟฟาที่ ไดจะ ถูกเก็บไวดวยแบตเตอรี่ นํามาใชกับเครื่องใชไฟฟาหลายชนิด เชน หลอด ไฟใหแสงสวาง เตาอบ วิทยุ คอมพิวเตอร และที่สําคัญรานคาตางๆ จะให นักทองเที่ยวชารตแบตเตอรี่มือถือ แบตเตอรี่กลองถายรูปไดแบบฟรีๆ อีก ดวย ชวยอํานวยความสะดวกกับผูคนบนผาหลมสักไดมากเลยทีเดียว ดิฉันเปนคนหนึ่งที่หลงใหลในเสนหแหงภูกระดึง ในครั้งนี้เปนการ เดินทางขึ้นไปเปนครั้งที่ 3 แลวคะ อยากบอกวาขึ้นทุกครั้งเหนื่อยไมเหมือน กันสักครั้งเดียว เพราะวามันมีแตเหนื่อยขึ้นๆ...เพิ่มขึ้นไปตามวัยนั่นเอง แต ทวาความสนุกก็เพิ่มขึ้นตามมาดวยเชนกัน อยากเตือนคนที่ยังไมเคยไป ไม ลองแลวจะเสียใจนะคะ ลองหาโอกาสชวนเพื่อนไปนอนนับดาวบนภูดซู กั ครัง้ จะประทับใจไมรูลืม แตทางที่ดี ถาตัดสินใจแลวละก็ ฟตรางกายใหดี ทีเดียวเชียว
102 l January 2012
Energy#38_p102_Pro3.indd 102
12/26/11 4:41 PM
แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)
ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ
ชาย
หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........
ตําแหนง :
เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................
อาชีพ :
นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค
นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา
ลักษณะงานของหนวยงาน :
วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ
วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................
สถานที่จัดสงนิตยสาร
ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)
วิธีชําระเงิน
เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........
สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่
www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ
เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต
HO
ro P T
m
!! n otio
January 2012 l 103
Energy#38_p103_Pro3.indd 103
12/22/11 8:57 PM
Energy Thinking
จุดประกายทางความคิด ชีวิตมีแตสรางสรรค โดย : ปากกาแดง
หรือหัวเราะใหเขากับปพ.ศ.ไปเลย เราจะมีความสุขกับชีวิต เริ่มจากยิ้มให ตัวเองกอน ทานอาจารยพุทธทาสกลาววา “ เราตองยึดมั่นในความดี จนเราไหวตัวเองได” คุณผูอานเคยรูสึกอยางนั้นบางหรือยัง เราเคยมี ความรูสึกภาคภูมิใจในตัวเองมากถึงขั้นไหวตัวเองไดแลวหรือยัง ถายัง เรามาเริ่มกันใหม ไมมีคําวาสายเกินไป หากคิดจะเริ่มตน ใหคาํ มัน่ สัญญากันใหมวา ตอไปนีเ้ ราจะไมโกรธ หากมีเรื่องมากระทบ จิตใจ เราก็ตองหนักแนน หาสาระที่มาที่ ไปของสาเหตุ วาเพราะอะไร เหตุใดจึงเกิดเรื่องที่ทําใหเราไมสบายใจ เปนกังวล เมื่อหาสาเหตุพบก็ ทําความเขาใจกับมัน วาเพราะเชนนี้ จึงออกมาเปนอยางนี้ เมื่อพบสาเหตุ ก็จะเจอผลลัพธ เมื่อพบผลลัพธกจ็ ะเปนบททดสอบใหเราตอไปวา จะกําหนด ความรูสึกตัวเองใหเปนเชนไร คิดดี ชีวิตมีสุข คิดทุกข ชีวิตหมนหมอง แลว อยางนี้ทานจะเลือกคิดแบบไหน ที่ตามใจทาน.. ลองนึกทบทวนไปเมื่อตอนเด็ก มีแตความใสซื่อบริสุทธิ์ ไมมีเครื่อง ปรุงแตงใด ใหตองยึดมั่นถือมั่น สามารถสรางมิตรภาพไดทุกวัน อยาก กลับไปเปนเด็กอีกจริงๆ ...เพราะเพื่อนมาก ถือเปนกําไรชีวิต ...เอาละ.. สงทายกันดวยรอยยิ้ม ...ไหน ยิ้มซิ???
http://helpfulfilm.download-drama.com/smile-image.html
ยิ่งโตใหญ.. คนไทยไมคอยยิ้ม
สวัสดีปใหม 2555 ถือเปนฤกษดี ในการเปดคอลัมนใหม เวทีนี้ จะเปนเวทีท่ีใหนกั เขียนไดแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรคในชีวติ ประจําวัน ที่ประสบพบเจอ นํามาถายทอดจุดประกายทางความคิดใหเกิดการกระทํา ที่ดีขึ้นในอนาคต ใหคนคิดดี ทําดี ...อยางที่หัวใจของคุณจะหลอ/สวย มวากกกกกกกก... จัว่ หัว ของเรื่องครัง้ นีเ้ ปน เรื่องของการ “ยิม้ ” อยางที่ใครเขาทราบ กันทั่วโลกวาประเทศไทยเปนดินแดนแหงรอยยิ้ม “Thailand : Land of Smile” แตตอนหลังอาจจะตองใส ใหมวา “somewhere to smile in Thailand” โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครเมืองหลวงที่เปนหนาตาของประเทศ เราไมเห็นรอยยิ้มบนทองถนนมานานเทาไหรแลว?? เคยนั่งคิดนั่งสงสัยอยูวา ทําไมทุกวันนี้คนเมืองยิ้มนอยลง กอนที่ เราจะหยุดยิ้มเราคิดอะไรในใจ ตัวผูเขียนเองก็รูสึกวาทําไมเดี๋ยวนี้ยิ้มยาก ในชีวิตประจําวันที่ตองโดยสารระบบขนสงมวลชนไปทํางานทุกวัน ตอง พบปะเจอะเจอผูคนมากมาย ดวยเพราะเรงรีบ หงุดหงิด จากการจราจร และผูคนที่แออัด เปนสาเหตุทําใหเราไมอยากยิ้มหรือไม หรือเพราะเราเขินอายในการจะมีมิตรสัมพันธกับคนแปลกหนา หรือ เพราะอัตตาทีถ่ กู สะสมอยูในใจเรามากเกินไป ทําใหการจะทําความดีแตละครัง้ เปนสิ่งที่นาละอาย นี่แหละหนา เขาวากันวา บารมี ทรัพยสินเงินทอง ของนอกกาย ทํา “คนเสียคน” ตอไปนี้ตั้งใจใหม ปหนา เปนปดี ป 2555 เลขแหงความสุขกําลังมา เยือนเราแลว เราใหสัญญากับตัวเองหนอยวา ตอไปนี้เราจะยิ้มมากขึ้น
http://murderiseverywhere.blogspot.com/2010/11/land-of-smiles.html
104 l January 2012
Energy#38_p104_Pro3.indd 104
12/27/11 9:47 PM
January 2012 l 105
Energy#38_p105_Pro3.indd 105
12/21/11 1:36 AM
Experience Interchange
ศูนยประชุมฯ สิริกิติ์
ประหยัดไฟดวยเครองสํารองไฟ
ตัวเก็บประจุไฟฟาหรือเครองสํารองไฟเปนอุปกรณที่เรามักจะเห็น ไดในออฟฟศสํานักงานทั่วไป โดยเฉพาะออฟฟศที่มีการใชคอมพิวเตอรเปน จํ า นวนมาก ซึ่ ง คุ ณ สมบั ติ ห ลั ก ของเครื่ อ งชนิ ด นี้ คื อ การป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ อุปกรณอิเลคทรอนิกสเสอมสภาพเร็วจากภาวะไฟดับ แตเครองดังกลาว ยั ง ช่ ว ยให้ ก ารใช้ พ ลั ง งานเป็ น ไปอย่ า งราบรื่ น ไม่ มี ก ารสะดุ ด หรื อ กระชากไฟฟา แนนอนวาตามออฟฟศที่ใชกันทั่วไปจะมีขนาดเล็กซึ่งอาจจะไมสงผล ตอการประหยัดพลังงานอยางชัดเจน แตสําหรับพื้นที่ขนาดใหญที่ตองใช พลังงานสูงอยาง ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์ เพราะนอกจากจะทําให ระบบไฟฟาของอาคารสอดคลองกับขอกําหนดของการไฟฟาฯ ยังสามารถ ชวยลดการสูญเสียในระบบสงกําลังของอาคารอีกดวย สําหรับการดําเนินงานทางศูนยประชุมฯ ไดคํานวณขนาดของตัว เก็บประจุไวที่ประมาณ 30%-40% ของขนาดหมอแปลงที่ทางศูนยประชุมฯ ใชอยู โดยนําตัวเก็บประจุไปติดตั้งที่จุดหลักของหมอแปลงไฟฟาในแตละชุด นอกจากนีย้ งั ติดตัง้ อุปกรณเพิม่ เติม ซึง่ เปนอุปกรณที่ใชควบคุมคากิโลวาร อัตโนมัติ (Automatic kVAR Controller) เพอปรับเปลี่ยนคากําลังไฟฟา ใหสอดคลองกับความตองการใชไฟฟาในแตละชวงเวลา เนองจากตัวเก็บประจุไฟฟาดังกลาว เปนอุปกรณทตี่ อ งมีการใชงาน อยูต ลอดเวลา จึงจําเปนตองมีการบํารุงรักษาอยางถูกตอง สําหรับวิธกี าร ดูแลที่ทางศูนยประชุมฯ ใชจะเนนไปที่การจัดตารางตรวจสอบแบบราย
สัปดาหและรายเดือน ที่สําคัญตองดําเนินการ เปลี่ยนอุปกรณที่ชํารุดทันที โดยเฉพาะชุดฟวส ปองกันคาโหลดเกินพิกัด (Overload Fuse) เพราะหากชุดฟวสดังกลาวชํารุดอาจทําใหอายุ การใชงานตัวเก็บประจุสั้นลง จากการใชตวั เก็บประจุดงั กลาวทางศูนย ประชุมฯ พบวา การใชตัวเก็บประจุจําเปนตองมี การคํ านวณใหเหมาะสมกับการใชไฟฟา ซึ่ง นอกจากจะชวยใหสามารถใชไฟฟาไดอยางราบ รนแลว ยังชวยลดคาไฟฟาที่เกิดจากการสูญ เสียในสายสงกําลัง ในสวนของคาใชจา ยทางศูนยประชุมฯ ใช งบประมาณในการดําเนินการติดตัง้ และอุปกรณ ตางๆ รวมแลวทั้งสิ้น 1,350,000 บาท โดยเมอ เทียบกับการไมไดติดตั้งระบบดังกลาวสามารถ คิดเปนพลังงานที่สามารถประหยัดไดถึง 180,000 kWh/ป หรือคิดเปน เงินที่สามารถประหยัดไดกวา 500,000 บาท/ป ซึ่งจากการคํานวณแลว จะสามารถใชระยะเวลาในการคืนทุนเพียง 2.8 ปเทานั้น สําหรับโรงงานก็สามารถนําระบบดังกลาวไปติดตั้งเพอลดการใช พลังงานไดดวยเชนกัน หากแตการติดตั้งตองอาศัยผูที่เชี่ยวชาญในการ ติดตั้งเพราะตัวเก็บประจุขนาดใหญกับเครองสํารองไฟทั่วไป แมหลักการ จะใกลเคียงกัน แตในการติดตั้งนั้นตัวเก็บประจุขนาดใหญมีอันตรายในการ ติดตั้งมากกวาหลายเทา
106 l January 2012
Energy#38_p106_Pro3.indd 106
12/21/11 1:35 AM
Energy Focus โดย : โหรพลังงาน
2012 The End of The World อยางที่กลาวไวในฉบับที่แลววา เหตุการณภัยพิบัติของโลกใบนี้ เริ่ม เกิดขึ้นมาแลวชวง 10 ปที่ผานมา เนองจากการทําลายสิ่งแวดลอมโดย ฝ มื อ ของมนุ ษ ย แม ว า ทั่ ว โลกจะมี ม าตรการในการลดการปล อ ยก า ซ คารบอนฯ ตัวการที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน แตอยาลืมวาเราเริ่มปลดปลอย คารบอนฯ กันตั้งแตยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมในชวงศตวรรษที่ 18 หรือราว ป พ.ศ.2293 ซึง่ ในชวงระยะเวลามากกวา 250 ปนี้โลกถูกทําลายลงไปมาก
แผนดินไหวทะลายโลก ตุรกีและเฮติแทบพินาศ
เมอกวา 2 ปที่แลวคงยังจํากันไดกับเปนเหตุการณธรณีพิบัติหรือ แผนดินไหวที่ประเทศเฮติเมอวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2553 แผนดินไหว ครั้งนั้นความรุนแรง 7.3 ตามมาตรวัดริกเตอร โดยมีศูนยกลางแผนดิน ไหวไมไกลจากเมืองปอรโตแปรงซ เมืองหลวงของประเทศเฮติราว 25 กิโลเมตร โดยรัฐบาลเฮติรายงานความรุนแรงของแผนดินไหวที่เกิดขึ้น โดยมีผูเสียชีวิตราว 217,000-230,000 คน คาดวาจะมีผูบาดเจ็บราว 300,000 คนและอีกราว 1 ลานคนไรที่อยูอาศัย ผลจากเหตุการณในครั้งนั้นทําใหระบบสาธารณูปโภคใชการไมได ทั้งเรองของไฟฟาและประปา รวมไปถึงระบบขนสงและการสอสาร เมือง
หลวงที่เคยเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจเหลือเพียงซากปรักหักพัง ไมเวน แมแตสถานที่ราชการแทบทุกกระทรวงและทําเนียบประธานาธิบดีรวมทั้ง อาคารรัฐสภา หลังจากนัน้ ก็ถงึ คราวของประเทศตุรกีเมอเกิดเหตุการณแผนดินไหว ขนาด 6.0 ตามมาตรวัดริกเตอร โดยมีศูนยกลางแผนดินไหวอยูลกึ ลงไป
14 l January 2012
Energy#38_p14,16_Pro3.indd 14
12/21/11 1:26 AM
Energy#16_p15-Pro1.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
3/4/10
2:01:35 AM
ใตดินเพียง 5 กิโลเมตรที่บริเวณ ใกลเมืองคาราโคกัน ในจังหวัดเอ ลาซิค เหตุการณแผนดินไหวดัง กลาวยังเกิดในชวงเวลากลางคืน สงผลใหมีผูเสียชีวิตจํานวนมาก อยางนอย 57 คน ขณะที่ผูบาด เจ็บมีไมนอยกวา 100 คน
สึนามิถาโถมประเทศไทย ญี่ปุนอวม…มหาสึนามิ
ย อ นกลั บ ไปราว 7-8 ปในชวงปลายปพ.ศ.2547 หรื อ ป ค .ศ.2004 ประเทศไทย ต อ งตกตะลึ ง กั บ เหตุ ก ารณ ภั ย ธรรมชาติที่ ไมเคยเกิดขึ้นมากอน ในช่ ว งหลายร้ อ ยปี เมื่ อ เกิ ด เหตุ ก ารณ แ ผ น ดิ น ไหวใต ท ะเล มหาสมุ ท รอิ น เดี ย ขนาด 9.0 ตามมาตราริ ก เตอร โดยมี ศู น ย ก ลางแผ น ดิ น ไหวอยู ที่ บริ เ วณหั ว เกาะสุ ม าตราใน จังหวัดอาเจะห (Ajeh) ประเทศ อิ น โดนี เ ซี ย เมื่ อ วั น ที่ 26 ธันวาคม แรงสั่นสะเทือนสงผลใหพื้นที่บริเวณริมชายฝงบนเกาะสุมาตรา ไดรับความเสียหายอยางรุนแรงทันที นอกจากนี้ผลพวงจากแผนดินไหวในครั้งนั้น ยังสงผลใหเกิดการ ยุบตัวของเปลือกโลกใตมหาสมุทรอินเดีย สงผลใหเกิดแรงกระเพอมใตพื้น น้ําและกอตัวเปนคลนสึนามิความสูงราว 30 เมตร หายนะที่เกิดขึ้นทําใหมี ผูเสียชีวิตในประเทศอินโดนีเซียทันทีกวา 105,000 คน ขณะที่มีผูเสียชีวิต จากคลนสึนามิใน 14 ประเทศมากกวา 230,000 คน คลนสึนามิดงั กลาวยังเดินทางมาถึงชายฝง ภาคใตของไทย โดยเขา โจมตีชายฝงอันดามัน 6 จังหวัดทั้ง สตูล, ตรัง, กระบี่, พังงา, ภูเก็ตและ ระนอง สงผลใหมีผูเสียชีวิตทั้งชาวไทยและชาวตางชาติรวมกันมากกวา 50,000 คน นอกจากนี้คลนสึนามิยังเดินทางถึงปากแมน้ําอิรวดีในประเทศ พมาและชายฝงของประเทศบังกลาเทศ ความรุนแรงของคลนยังเดินทางไปถึงหมูเกาะอันดามันและหมูเกาะ นิโคบาร รวมไปถึงชายฝงของรัฐทมิฬนาฑูและทางตะวันออกเฉียงใตของ ประเทศอินเดีย, ประเทศศรีลังกาและหมูเกาะมัลดีฟส ที่สําคัญคลนสึนามิ ยังเดินทางไปถึงชายฝงตะวันออกของทวีปแอฟริกาบริเวณชายฝงของ ประเทศโซมาเลียและประเทศเคนยา ผานไปราว 7 ปกเ็ กิดมหาสึนามิขึน้ อีกครัง้ เมอวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554 เกิดแผนดินไหวขนาดรุนแรงถึง 8.9 ตามมาตราริกเตอรทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศญี่ปุน หางจากชายฝงเมืองเซนไดราว
130 กิโลเมตรในระดับความลึก 32 กิโลเมตร สงผลใหเกิดคลนสึนามิ ความสูงราว 7-10 เมตรดวยความเร็วราว 800 กิโลเมตรตอชั่วโมง โดย สึนามิพัดพาลึกเขาไปในแผนดินถึง 14 กิโลเมตร แรงแผนดินไหวยังสามารถรับรูไดถึงอาคารในกรุงโตเกียว ผลจาก แผนดินไหวครั้งนี้ทําใหคลนสึนามิเขาทําลายเมืองเซนได นอกจากนี้คลน สีนามิดังกลาวยังสงผลใหโรงกลั่นน้ํามันของ บริษัท คอสโม ออยล ใน เมืองชิบะเกิดไฟไหมอยางรุนแรงดวย ไมเพียงเทานั้นยังเกิดแผนดินไห วอาฟเตอรช็อคขนาด 6.4 ตามมาตรวัดริกเตอรใกลเมืองฟุกุชิมะ สงผล ใหระบบหลอเย็นในเตาปฏิกรณนิวเคลียรหยุดทํางานและทําใหโรงไฟฟา นิวเคลียรฟุกุชิมะ ไดอิจิเกิดระเบิดขึ้น ความรุนแรงของแผนดินไหวครั้งนี้ ยังทําใหภูเขาไฟชินโมเอะดาเกะที่อยูทางดานตะวันตกเฉียงใตของประเทศ เกิดปะทุโดยพนเถาถานขึ้นสูทองฟาสูงถึง 4 กิโลเมตร เหตุการณครั้งนี้สงผลใหชาวญี่ปุนเสียชีวิตราว 13,000 คน โดย ผูเสียชีวิตราว 92.5% มีสาเหตุมาจากการจมน้ํา และผูเสียชีวิตราว 65.2% มีอายุ 60 ปหรือมากกวาขึ้นไป นอกจากนี้อาคารบานเรือนกวา 45,000 หลังคาถูกทําลาย ขณะที่อีกราว 144,000 หลังคาเรือนไดรับ ความเสียหายแบงเปนเมืองมิยางิราว 29,500 หลังคา, เมืองอิวาเตะราว 12,500 หลังคาและเมืองฟุกุชิมะราว 2,400 หลังคา งานนี้ขอรวบยอดของเลมที่แลวดวยเลย ไมวาจะเปนปรากฏการณ เอลนีโญหรือลานีญา แมแตเหตุการณแปลกประหลาดอยางหิมะตกใน ประเทศแถบเสนศูนยสูตร หรือเหตุแผนดินไหวตลอดจนปรากฏการณคลน ยักษสึนามิลวนเปนหายนะที่นาตระหนกแทบทั้งสิ้น ซึ่งเปนผลมาจากความ เปลี่ยนแปลงของโลกใบนี้ โดยเหตุผลใหญมาจากภาวะโลกรอน ซึ่งก็ตอง มองยอนกลับมาวา มนุษยนี่เองที่กอใหภาวะโลกรอน บางคนกลาววาเหตุภัยธรรมชาติที่ผิดแปลกหรือรุนแรงเกินปกติ เปนผลมาจากที่โลกกําลังปรับสมดุลใหเขากับกิจกรรมของมนุษย จึงเปน ผลใหตอง เคาะโตะ วา เหตุภัยธรรมชาติที่รุนแรงจะยังคงมีตอไป โดย เฉพาะในปนี้ที่นาจะมีภัยธรรมชาติเกิดขึ้นทุกหยอมหญา แตจะมากบางนอย บางหรือความรุนแรงระดับใดก็คงเปนสิ่งที่คาดการณไดยากยิ่ง ตราบเทา ที่มนุษยยังคงหวงเศรษฐกิจ, อํานาจ, ความมั่งคั่ง มากกวาสิ่งแวดลอม ภัยธรรมชาติเหลานีจ้ ะทวีความรุนแรงเพิม่ มากขึน้ จนกวามนุษยจะตระหนัก และอนุรักษสิ่งแวดลอมโดยจิตใตสํานึกอยางแทจริง
16 l January 2012
Energy#38_p14,16_Pro3.indd 16
12/21/11 1:26 AM
Energy#24_p15_Pro3.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
22/10/2010
14:40
Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ
NEW TREND &
PRODUCTS 2012
รับกระแส “Green +Saving” ป 2555 เปนธรรมเนียมตอนรับปใหม สงทายปเกา เหมือนเคย ทาง ทีมงาน ENERGY SAVING ไดรวบรวมสินคาใหม เทคโนโลยี ล้ํา หรือขาวขอบังคับความเคลื่อนไหวในป 2555 ที่พรอมรบใน ปมังกรหัวเราะนี้ ..ไมใหเสียเวลารวมเดินทางไปสัมผัสสิ่งใหมๆ ในปนี้ ได ณ บัดนาว เริ่มตนกันที่อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนที่เปนกระแสแรงตอ เนื่อง เดี๋ยวนี้นักธุรกิจก็อยากจะลงทุนดานพลังงานทดแทนกันมากขึ้น นาจะเปนเพราะเทรนดการประหยัดพลังงานและใสใจสิ่งแวดลอมที่กําลังอิน ต้ อ งบอกว่ า ตื่ น ตัว ทุก แขนง ผู้ ป ระกอบการอุต สาหกรรมลงมาจนถึ ง ประชาชนทั่วไปตางตระหนักถึงความสําคัญขอนี้เปนอยางดี
นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปดเผยถึงแนวทางการสนับสนุนธุรกิจพลังงานทดแทนวา ที่ประชุมคณะ กรรมการนโยบายพลังงานไดกําหนดแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือกใน 10 ป (2555-2564) สงเสริมใหเอกชนหันมาลงทุน ในธุรกิจพลังงานทดแทน เพื่อขายพลังงานดังกลาวใหกับการไฟฟาฝาย ผลิตแหงประเทศไทย และการไฟฟาสวนภูมิภาค นําไปใชประโยชนดาน อุตสาหกรรมตางๆ ตอไป ซึ่งจะทําใหประเทศไทยลดการใชน้ํามันดิบได ทั้งสิ้น 38,200 พันตัน หรือประหยัดคาใชจายพลังงานนําเขาได 707,700 ลานบาท/ป เปนเรื่องดีที่ประเทศเรามีความตื่นตัวในเรื่องพลังงานทดแทน ทั้ง ลม แดด ที่เรียกวาเปนพลังงานหมุนเวียนใชไมหมด หรือแมกระทั่งถานหิน ก็ยังนับเปนทางเลือกแมสังคมไมไวใจเรื่องสารตกคาง แตในสวนโรงไฟฟา นิวเคลียรยังตองชะลอไปกอนอยางต่ําสามป ฉะนั้นพลังงานสวนที่เหลือก็ ยังคงสดใสจุดประกายธุรกิจกันอีกครั้ง
18 l January 2012
Energy#38_p18-23_Pro3.indd 18
12/27/11 9:34 PM
กฟผ.เตรียมเปดพื้นที่ ใหเอกชน wind farm
4 โครงการพลังงานแดดจาก โซลารเอ็นเนอรย่ี
บริษัท บางจาก โซลารเอ็นเนอรยี่ จํากัด ไดรับการสงเสริมการ ลงทุนในกิจการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยรวม 4 โครงการ เงินลงทุนทั้งสิ้น 3,600 ลานบาท (เงินลงทุนแหงละ 900 ลานบาท) โดยจะติดตั้งแผง Solar Cell แบบ Thin Film เพื่อผลิตไฟฟาจําหนายแก การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) มีกําลังการผลิตรวม 4 โครงการ ทั้งสิ้น 32 เมกะวัตต (กําลังผลิตแหงละ 8 เมกะวัตต) โดยโครงการที่ 1 และ 2 ตั้งอยูที่ อ.บําเหน็จณรงค จ.ชัยภูมิ โครงการที่ 3 และ 4 ตั้งอยูที่ อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา
ฟารมลมเปนอีกหนึ่งพลังงานที่หลายประเทศเริ่มหันมาใช สําหรับ ประเทศไทยทดลองใชมาหลายป โดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย หรือ กฟผ.ไดทดลองทําในหลายพื้นที่ รวมทั้งที่เขายายเที่ยงซึ่งมีแรงลม เสมอตนเสมอปลายและดีที่สุดในประเทศ แหลงขาวระดับสูง จาก กฟผ. กลาววาไดขยายการลงทุนในเขา ยายเที่ยง โดยนําเทคโนโลยีจากยุโรปมาทดลองใชเมื่อปที่ผานมา ประสบ ความสําเร็จดวยดี แตติดปญหาตนทุนแพงจึงตองการจะนําเขาเทคโนโลยี จากจีนแทน ซึ่งอยูระหวางการเจรจาราคา และจะเปดใหเอกชนเขามารับ สัมปทานด้วย ซึ่งกําลังดําเนินการศึกษาเพื่อลงทุน แบ่งเป็น 3 เฟส เฟสแรกดําเนินการโดย กฟผ.เอง อีก 2 โครงการจะเปดใหเอกชนเขามา ลงทุน ซึ่งมีบริษัทเอกชนสนใจประมาณ 10 บริษัท แตยังติดปญหาการ ทําความเขาใจกับประชาชนในพื้นที่ซึ่งยังมีบางคนตอตาน โดย กฟผ. พยายามทําความเขาใจวา wind farm หรือกังหันลมเปนพลังงานสะอาด ไม มี ผ ลกระทบกั บ สิ่ ง แวดล อ ม ซึ่ ง หากทํ า สํ า เร็ จ ไฟฟ า จะมี ต น ทุ น ที่ ถู ก ทําใหกลุมผูผลิตสินคาตางๆ มีตนทุนที่ถูกลง
ไทย โซลาร เอ็นเนอรยี กําลังการผลิต 9 เมกะวัตต
บริษัท ไทย โซลาร เอ็นเนอรยี จํากัด ไดรับสงเสริมการลงทุนใน กิจการผลิตไฟฟาจากความรอนแสงอาทิตย กําลังผลิต 9 เมกะวัตตไฟฟา เพื่อจําหนายใหกับการไฟฟาสวนภูมิภาค เงินลงทุนทั้งสิ้น 1,392 ลานบาท ตั้งอยูที่ จ.สุพรรณบุรี
1 มกราคม 2555 เก็บคาปลอยกาซจาก สายการบิน
ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 เปนตนไป ทุกสายการบินรวมทัง้ สายการบินตางๆ ของประเทศไทย ที่บินเขา-ออกทาอากาศยานในเขต เศรษฐกิจยุโรป (EEA) และสายการบินของยุโรปเองทีบ่ นิ ภายในเขตดังกลาว จะตองรายงานปริมาณการปลอยกาซของตนเปนรายป ตามกรอบเวลา ดังนี้คือ การรายงานยอดปริมาณกาซที่สายการบินปลอยภายในป 2555 กับ หนวยทะเบียนกลางของอียู ที่แตละสายการบินมีบัญชีอยู จะตองทํา ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2556 และตอจากนั้น ภายในวันที่ 30 เมษายน 2556 จะตองนําคารบอนเครดิตจํานวนเทากับปริมาณกาซที่ปลอยออกไป ในป 2555 มามอบใหแกหนวยทะเบียนกลางโดยในวันที่ 28 กุมภาพันธ ของทุกๆ ป (ซึ่งในที่นี้คือป 2555) แตละสายการบินจะไดรับ “free allocation” หรือจํานวนโควตาที่สามารถปลอยกาซไดในแตละปโดยไมเสีย คาใชจายจํานวนรอยละ 85 ของ baseline ของตน ซึ่งจํานวนรอยละ 85 นี้ Januuary 2012 l 19
Energy#38_p18-23_Pro3.indd 19
12/27/11 9:34 PM
ในปตอๆ ไป (กลาวคือ ตั้งแตป พ.ศ. 2556 ถึง 2563) จะกลายเปนรอย ละ 82 โดยอีกรอยละ 3 นั้น จะนําไปจัดสรรใหสายการบินที่เพิ่งเขารวม EU ETS หรือสายการบินที่มีการขยายตัวอยางรวดเร็ว โดยไมเสียคาใชจาย สวนรอยละ 15 ที่เหลือ สายการบินจะตองซื้อผานการประมูล นั่นหมายถึงวาหากเราจะไปประเทศที่เราเปนสมาชิก EU อาจตอง เสียคาโดยสารเพิ่มหรือไม??
NGV จะเริ่มใชไดตั้งแต 16 มกราคม 2555 จนถึงสิ้นป 2558 ไปดูกันตอที่ภาคขนสงยานยนต ปนี้มียานยนตพลังงานมายั่ว นํ้าลายใหอยากกันอีกแลวครับทั่น..
16 มกราคม 2555 ขึ้นราคา NGV
รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน ยังคงเดินหนากรณีการปรับ ขึ้นราคา NGV ในกลางเดือนนี้ ตามแผน 16 ม.ค.นี้ แมจะมีการประทวง จากกลุมผูประกอบการขนสงทีไดรับผลกระทบ โดยมีเหตุผลวาเพื่อให ตนทุนสอดคลองกับความจริง ยืนยันในภาวะจําเปน รัฐบาลก็ ใหความ ช ว ยเหลื อ เต็ ม ที่ แต ใ นภาวะที่ จ ะต อ งมี ก ารปรั บ โครงสร า งให ป ระเทศ ก็มีความจําเปน เพราะมีการแจงลวงหนาใหปรับตัวมานานแลว ซึ่งการตั้ง ราคาที่ กก.ละ 14.50 บาท ระบุวายังเปนราคาที่ขาดทุน สําหรับโครงการเดนอยาง โครงการบัตรเครดิตพลังงาน NGV ซึ่งจัดโดย กระทรวงพลังงาน รวมกับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และ ธนาคารกรุงไทย เพื่อบรรเทาภาระคาใชจายดานเชื้อเพลิงใหแก ผูขับขี่รถรับจางสาธารณะ กลุมรถแท็กซี่ รถสามลอ และรถตูรวม ขสมก. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในชวงที่มีการปรับราคาจําหนาย กาซ NGV เพื่อใหสะทอนตนทุนที่แทจริงในป 2555 ซึ่งเปนหนึ่งในนโยบาย ของรัฐบาลเพื่อแกปญหาคาครองชีพของประชาชน และบรรเทาผลกระทบ จากสถานการณอุทกภัยที่เกิดขึ้น โดยเชื่อวาบัตรเครดิตพลังงานจะเปน ประโยชนตอประชาชน และผูขับขี่รถรับจางสาธารณะ บัตรเครดิตในโครงการพลังงาน NGV มี 2 ประเภท คือ บัตรเติม กาซ NGV หรือบัตรสีเงินใชในประเภทรถที่ระบุเขารวมโครงการ และ บัตร เครดิตพลังงาน NGV เปนบัตรที่ใหวงเงินสินเชื่อชําระคากาซ NGV ใหกับ ผูถ อื บัตร ซึง่ จะใชในสถานีบริการ NGV ทีเ่ ขารวมโครงการ ใหวงเงินเครดิต 3,000 บาท/เดือนสําหรับชําระคากาซแทนเงินสด และสิทธิสว นลดราคาขายปลีก กาซจํานวน 0.50-2 บาท/กิโลกรัมแลวแตชวงเวลา แตกําหนดวงเงิน สวนลดไดไมเกินมูลคายอดการซื้อกาซ 9,000 บาท/เดือน ทั้งนี้จะเริ่มใช วงเงินบัตรเครดิตไดตั้งแตธันวาคม 2554 สวนการลดราคาขายปลีกกาซ
รถพลังงาน..แรงตอเนื่อง
Mitsubishi Mirage สําหรับในสวนของยานยนตก็มีสินคาใหมๆ ในสวนที่เกี่ยวของกับ พลังงาน โดยเฉพาะตัวยานยนตเองที่ ในป 2012 เตรียมเขามาจําหนาย โดยเฉพาะในชวงกลางปและปลายปที่เปนฤดูกาลซื้อขายรถยนต ซึ่งในปนี้ อาจจะมีรถรุนใหมออกมานอย เนื่องจากผลพวงวิกฤติน้ําทวมใหญที่ ให กระบวนการผลิตตองชะงักลง แตดานคายรถยนตเองก็ยังยืนยันการเปด ตัวรถยนตรุนใหม สําหรับรถยนตดานพลังงานที่ ในป 2012 รถยนตแบบอีโคคารก็ยัง คงมาแรงและที่ดูโดดเดนเปนพิเศษ คือ การมาของรถยนตสไตลอีโคคาร ของมิตซูบิชิ ภายใตชื่อรุน Mirage หลังจากที่ ในชวงตนปที่แลวมีการนํา รถยนตตนแบบอีโคคารของมิตซูบิชิมาจัดโชวในมหกรรมมอเตอรโชวภาย ใตชื่อ Global Small Car Concept ซึ่งเปนที่ฮือฮามากจากรูปทรงและ รูปแบบที่ล้ําสมัยไมเหมือนรถยนตอีโคคารที่ออกจําหนายในบานเราไปแลว สําหรับ Mirage เริ่มออกโชวตัวใหไดเห็นครั้งแรกในงาน Tokyo Motor Show 2011 ที่แทบจะจัดขึ้นพรอมกับมหกรรมมอเตอร เอ็กซโป ของไทยที่จัดขึ้นเมื่อชวงปลายปที่ผานมา สําหรับ Mirage จะเนนจุดเดนไป ที่อัตราสิ้นเปลืองพลังงานตามแบบฉบับรถยนตอีโคคาร พรอมกลิ่นไอของ ความเปนรถสปอรตที่เปยมไปดวยสมรรถนะแหงการขับขี่
20 l January 2012
Energy#38_p18-23_Pro3.indd 20
12/28/11 1:15 PM
Suzuki Swift Eco Car
ตามมาติดๆ อีกคายกับการเตรียมแผนออกจําหนายรถยนตรุนใหม ในรูปแบบของอีโคคารกับคายเกาแกแตเพิ่งจะบูมไดไมนานมานี้กับซูซูกิ หลังจากที่รถแนวซิตี้คารภายใตชื่อรุน Swift ติดตลาดบานเราแบบดัง ชั่วขามคืน เพราะความละมายคลายคลึงกับรถยนตวัยรุนสุดสวยจากฟาก ยุโรปอยาง Mini ทําใหยอดขายของ Swift พุงขึ้นเรื่อยๆ อยางกับน้ํามัน ดิบที่ขุดเจาะขึ้นมาได Swift ถือเปนความสําเร็จอยางสุดปลื้มของคายซูซูกิ เนื่องจาก ในอดี ต รถยนต จ ากค า ยนี้ มั ก จะถู ก มองข า มจากผู ใ ช ร ถในบ า นเรา ปรากฏการณ Swift จึงทําใหซซู กู เิ ริม่ หันมามองตลาดในประเทศไทยอีกครัง้
ในสวนขอมูลของ Mirage ที่มีการเปดเผยออกมาบางแลวจะเปน รถยนตนั่งขนาดเล็ก ดวยความยาวตัวถัง 3,710 มิลลิเมตร, กวาง 1,665 มิลลิเมตรและสูง 1,490 มิลลิเมตร โดยใหมีเอกลักษณตามแบบฉบับ อีโคคารคือสไตลแฮทชแบ็ค 5 ประตู สามารถรองรับผูโดยสารไดสูงสุดถึง 5 คน นอกจากนี้ Mirage ยังมาพรอมกับขุมพลังจากเครื่องยนตขนาด 1.2 ลิตร ซึ่งชวยใหมีอัตราสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงอยูที่ราว 30 กิโลเมตร ตอลิตร นอกจากนี้ Mirage ยังมีการใชวัสดุน้ําหนักเบา รวมไปถึงการใช เทคนิคลดแรงเสียดทานในสวนประกอบตางๆ ไมวา จะเปนเครื่องยนต, ระบบ สงกําลัง, ระบบเบรค, ยาง เปนตน ตลอดจนการออกแบบตัวถังและ วัสดุที่ ไมกอใหเกิดแรงตานทานลมตามหลักอากาศพลศาสตร เพื่อใหเกิด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ในการใช เ ชื้ อ เพลิ ง และยั ง เป น การช ว ยลดอั ต รา สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงและมลพิษที่เกิดขึ้น ในสวนของราคานั้นดานมิตซูบิชิยังไมเปดเผยออกมา เนื่องจากยัง ไมมีการเปดตัวอยางเปนทางการในประเทศไทย ซึ่งคาดการณวามิตซูบิชิ นาจะนํา Mirage เขามาเปดตัวอยางเปนทางการในงานมอเตอรโชวที่จะจัด ขึ้นในชวงตนปนี้ และจะเริ่มเปดจองรถภายในงาน ซึ่งกวาเราจะไดเห็น Mirage วิ่งบนทองถนนเมืองไทยก็นาจะราวๆ กลางปนี้
แถมพร อ มที่ จ ะรุ ก เข า สู ต ลาดรถยนต ใ นเมื อ งไทยอี ก ระลอก ด ว ยการ สง Swift แบบฉบับอีโคคารเขามาขอแชรในเซ็กเมนตนี้ดวย ซึ่งดูทรงแลว ซูซูกิก็นาจะมีที่ยืนในตลาดนี้เชนกัน ในงานมอเตอรโชวชวงตนปที่ผานมาซูซูกินอกจากนํา Swift มาโชว ยังนํารถยนต์ ไฮบริดแบบที่ ใช้มอเตอร์ ไฟฟ้าในการขับเคลื่อนหลักและ เครื่องยนตขนาดเล็กไวใชสาํ หรับการผลิตไฟฟาเพียงอยางเดียว ซึง่ การนํา รถยนตไฮบริดของซูซูกิมาโชวในครั้งนั้น เปนการบอกใหตลาดรถยนตใน เมืองไทยทราบวา เทคโนโลยีดานยนตรกรรมของซูซูกิเทียบเทากับคาย รถยนตใหญๆ เชนกัน อีกทั้งเปนการสงสัญญาณใหตลาดรถยนตใน เมืองไทยทราบวา ซูซูกิพรอมจะลงเลนในตลาดดานการประหยัดพลังงาน ดวยเชนกัน สําหรับ Swift ฉบับอีโคคาร จะทําการเปดตัวชวงเดียวกับมิตซูบิชิ Mirage ชนิดเทียบกันเครื่องตอเครื่อง ลอตอลอเลยทีเดียว แตทวาขอมูล ของ Swift อีโคคารกลับยังไมเปนที่เปดเผยออกมามากนัก โดยมีการยืนยัน วารูปทรงของ Swift อีโคคารจะมีความละมายคลายคลึงกับ Swift ในรุน ที่จําหนายปจจุบัน แตจะไมเหมือนกันอยางแนนอน
Januuary 2012 l 21
Energy#38_p18-23_Pro3.indd 21
12/27/11 9:34 PM
ในสวนของขุมพลังนั้น มีขาววา Swift นาจะใชเครื่องยนตเบนซิน ขนาด 1.2 ลิตรใหกําลังขนาด 94 แรงมา ขณะที่ก็ยังมีการคาดการณวา ซูซูกิอาจสรางความแตกตางดวยการใชเครื่องยนตดีเซลขนาด 1.3 ลิตร พรอมเทอรโบใหกาํ ลังขนาด 75 แรงมาก็เปนได นอกจากนีย้ งั มีการใชเหล็ก คุณภาพสูงที่ทั้งน้ําหนักเบาและทนตอการบิดตัวสูงมาใชในสวนโครงสราง รวมถึงการออกแบบตัวถังใหมคี วามแข็งแกรงทนตอการชน ชวยเพิม่ ความ ปลอดภัยมากขึ้น
ภาคอุ ต ฯ พร อ มส ง เสริ ม ประหยั ด -เป น มิ ต ร สิ่งแวดลอม
Hybrid – Mini set 1 ระบบผลิตน้ํารอน Hybrid – Mini set 1 เปนระบบการผลิตน้ํารอน ที่มีการนําพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) จากธรรมชาติมาใช ใหเกิดประโยชนสงู สุดและยังเปนระบบที่ใชพลังงานในการผลิตน้าํ รอนนอยกวา ระบบอื่นๆ ถึง 80% อีกทั้งยังชวยลดการปลอยกาซ Co2 และมลพิษอื่นๆ อันเปนสาเหตุของภาวะโลกรอนในปจจุบัน พรอมกันนี้ระบบผลิตน้ํารอน
Hybrid นี้ยังสามารถชวยลดคาใชจายในการผลิตน้ํารอนต่ํากวาเครื่อง ผลิตน้ํารอนแบบอื่น จึงชวยใหมีระยะเวลาคืนทุนเพียง 2 – 4 ป ระบบนี้เหมาะแกการติดตั้งภายนอกอาคารในบริเวณที่มีปริมาณ แสงแดดที่ดีโดยสามารถติดตั้งบนดาดฟาของอาคาร และจายไปตามจุดที่ ต อ งการใช ง านได ใ นแบบแรงดั น ธรรมชาติ (Gravity) หรื อ ใช ปมน้ํา Booster เพื่อดูดน้ํารอนไปจายก็ ไดสําหรับในกรณีที่มีการติดตั้งไว ชั้นลางสุดของอาคาร นอกจากนี้แลว Hybrid – Mini set 1 ยังสามารถ ควบคุมการผลิตดวยระบบคอมพิวเตอรไมวา จะเปน การควบคุมการทํางาน ของระบบ, ตรวจสอบอุณหภูมิของน้ําในถัง, ตรวจสอบอุณหภูมิของ น้ํารอนจาก Solar Collector, ตรวจสอบอุณหภูมิของน้ํารอนจาก Heat Pump, ตรวจสอบพลังงานความรอนที่ผลิตไดจาก Hybrid และสามารถ ตรวจดูบันทึกยอนหลังการทํางานของอุปกรณ ซึ่งสามารถทําใหเกิดการ ประหยัดพลังงาน ประหยัดเวลาในการควบคุมไดเปนอยางดี
เ ค รื่ อ ง ทํ า น้ํ า ร้ อ น ป ร ะ ห ยั ด พ ลั ง ง า น H e a t P u m p Household
ระบบเปลี่ ย นพลั ง งานอากาศให เ ป น น้ํารอน การประหยั ด พลั ง งานในบ า นเรื อ น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ สุ ด คื อ พฤติ ก รรมของผู อ ยู อ าศั ย ในบาน และอีกอยางหนึ่งคืออุปกรณหรือระบบที่ มี ประสิทธิภาพเพื่อการพักอาศัยที่สะดวกสบาย ไมวา จะใชเครื่องปรับอากาศ เครื่องทําน้าํ อุน ระบบ แสงสวาง รวมถึงตูเย็น สํ า หรั บ Heat Pump Household นัน้ เปนเทคโนโลยีใหมทีจ่ ะชวยใหประหยัดพลังงาน ไดเปนอยางดีทีส่ ามารถตอบโจทยการใชชวี ติ ของ ผูอยูอาศัยไดเปนอยางดี โดยสามารถทํากิจวัตร ประจําวันตามปกติไดโดยไมตองเปลี่ยนวิถีชีวิต ที่ สํ า คั ญ คื อ สามารถใช ป ระโยชน จ ากพลั ง งาน ความรอนของอากาศหรือบรรยากาศโดยรอบ เมื่อเทียบกับเครื่องทําน้ําร้อนแบบฮิตเตอร์แล้วสามารถช่วยให้ ประหยัดพลังงานไดถงึ 80% ระบบทํางานอัตโนมัตสิ ามารถตัง้ เวลาเปด-ปดได สวนลมเย็นที่เหลือทิ้งสามารถตอทอลมเย็นไปใชประโยชนไดอีกดวย ซึ่งระบบ Heat Pump Household มีหลักการทํางานดังภาพที่ แสดงในหนาถัดไปนี้
22 l January 2012
Energy#38_p18-23_Pro3.indd 22
12/27/11 9:34 PM
มาถึ ง กลุ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ ด า นไอที โ ดย บริ ษั ท อิ น เทล ไมโคร อิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) ที่มีทิศทางตลาดและเทคโนโลยีในป 2555 โดยตระหนักถึงความสําคัญของการประหยัดพลังงานและมุง มัน่ ทีจ่ ะลดการ ใชพลังงานในผลิตภัณฑตางๆ มากขึ้น โดยอินเทลคาดวาสถาปตยกรรม ไมโครอาคิ เ ทคเจอร์ รุ่ น ต่ อ ไปที่ อิ น เทลเตรี ย มเปิ ด ตั ว โดยใช้ ชื่ อ รหั ส ว่ า “แฮสเวลล” (Haswell) จะชวยลดการใชพลังงานมากกวาเทคโนโลยีปจ จุบนั ได้มากกว่า 20 เท่าในช่วงที่เครื่องคอมพิวเตอร์เปิดไว้แต่ ไม่ ได้ ใช้งาน “แฮสเวล” เปนชิปที่ผลิตดวยเทคโนโลยีขนาด 22 นาโนเมตร โดยใช ทรานซิสเตอรแบบ Tri-Gate 3 มิติ และจะเปนหัวใจสําคัญของอัลตราบุก ™ รวมถึงแพลตฟอรมพีซีรุนอื่นๆ ตอไป โดยจะทําใหอัลตราบุก™ สามารถ สแตนดบายการใชงานแบตเตอรี่ ไดนานกวา 10 วัน
ตลาด “กรีนโปรดักส” บูมตอเนื่อง
สําหรับในสวนของสินคากรีนโปรดักสที่แมในปลายปที่ผานมาจะดู เงียบเหงาไปสักนิดดวยเหตุการณน้ําทวมที่เกิดขึ้นกับประเทศไทย แตก็ ถือวาเปนโอกาสใหกบั อีกในหลายธุรกิจซึง่ โดดเดนขึน้ มาและเปนทีจ่ บั ตามอง ในป 2555 นีอ้ ีกดวย เ ริ่ ม ด ว ย บ ริ ษั ท ปู น ซิ เ ม น ต ไ ท ย จํ า กั ด (มหาชน) หรือ เอสซีจี ที่เชื่อ วาสินคาในหมวดกอสรางจะมี ยอดขายเพิ่มขึ้น เพราะเมื่อหลัง ปญหาน้ําทวมผานพนและเขาสู กระบวนการฟนฟูซอมแซมบาน คาดวาพฤติกรรมการเลือกใช วัสดุกอสรางและตกแตงบานจะ เปลี่ยนไป โดยกลุมวัสดุทดแทนไม จะไดรับความนิยม เชน แผนบอรด, ไมฝา, ไมสังเคราะหที่มีสวนผสมของไฟเบอรซีเมนต, ประตูและหนาตาง ยูพีวีซี (ไวนิล) ฯลฯ รวมถึงสินคากระเบื้องเซรามิก โดยที่นาจับตามองก็คือ บานลอยน้ํา โดยเอสซีจีไดตั้งทีมงานศึกษา พัฒนาบานลอยน้ํา ซึ่งมี 2 แนวทาง คือ บานที่มีฐานรากลอยบนน้ําได กับ บ้านที่มีเสาถาวร แต่ตัวบ้ านจะลอยน้ําขึ้นเมื่อเกิดน้ําท่วม นอกจากนี้ เอสซี จี ยั ง มี ก ารกํ า หนดเป า หมายที่ จ ะไม มี ก ารนํ า วั ส ดุ เ หลื อ ใช จ าก กระบวนการผลิตไปฝงกลบหรือ Zero Waste to Landfill ภายในป 2555 อีกดวย
ปดทายกันดวย สินเชื่อพลังงานคึกคักรับป ใหม
สําหรับในสวนของสินเชื่อพลังงานนั้น ขอมูลจาก กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) เปดเผยวา โครงการสินเชื่อ พลังงานที่ไดรว มกับสถาบันการเงิน 16 แหง ปจจุบนั มียอดการปลอยสินเชื่อ สะสมอยูที่ 2 แสนลานบาท ทั้งนี้ คาดวาเมื่อสิ้นสุดแผนอนุรักษพลังงาน 20 ป ในป 2573 จะมีการปลอยสินเชื่อพลังงาน จากสถาบันการเงินสูงถึง 4 แสนลานบาท เนื่องจากภาคเอกชนและผูประกอบการ มีความตื่นตัว ในเรื่องการประหยัดพลังงานมากขึ้นเรื่อยๆ สวน ธนาคารกสิกรไทย ทีต่ ัง้ เปาเปนผูน าํ ดานในการจัดการ สินเชื่อ คาดการณถึงสินเชื่อในป 2555 ว่ า สิ น เชื่ อ ร่ ว มที่ ยั ง คงมี บทบาทสํ า คั ญ คื อ สิ น เชื่ อ เพื่ อ สนับสนุนโครงการตางๆ ทั้งของ ภาครัฐและภาคเอกชน ซึง่ มุง เนนไป ที่ธุรกิจพลังงานไฟฟา ปโตรเคมี และเคมีภัณฑ และโทรคมนาคมเปน หลัก คาดวาจะมีมูลคาการลงทุนทั้งหมดรวมไมต่ํากวา 250,000 ลานบาท โดยธุ รกิจพลังงานไฟฟ าสวนใหญจะเปนโครงการพลังงานทางเลื อก (Renewable Energy Project) เชน โครงการโรงไฟฟาพลังงานน้ํา โรงไฟฟาพลังงานลม โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย นั่นเอง Januuary 2012 l 23
Energy#38_p18-23_Pro3.indd 23
12/27/11 9:35 PM
Tools & Machine โดย : Mr. T
FRIGAID เทคโนโลยีประหยัด
พลังงานสําหรับระบบทําความเย็น ระบบปรับอากาศหรือเครองทําความเย็น (Chiller ) นั้นเปนหนึ่งใน ระบบพืน้ ฐานสําหรับการดําเนินธุรกิจทัง้ ภาคอุตสาหกรรมและกิจกรรมเชิง พาณิชยทุกประเภทเนองจากระบบปรับอากาศไมไดถูกใชเพอการสราง ความเย็นหรือลดอุณหภูมิในสถานที่เพียงอยางเดียว แตยังถูกใชเปนสวน หนึ่งของขบวนการผลิตดวยเชนกัน โดยในโรงงานอุตสาหกรรมในปจจุบันนั้นมีความตองการใชเครอง ปรับอากาศทีม่ วี วิ ฒ ั นาการดานการประหยัดพลังงานทีด่ กี วาเดิม หรือบาง โรงงานมี ค วามตอ งการใช เครื่ อ งปรั บ อากาศที่ส ามารถใช ได เฉพาะจุ ด พรอมกับตอบสนองความตองการในการใชงานไดอยางเหมาะสม และเพอ ใหสามารถตอบสนองความตองการในการใชงานไดอยางเหมาะสมนั้นใน ปจจุบนั มีหลายบริษทั ไดพฒ ั นาระบบทําความเย็น (Chiller) ใหมปี ระสิทธิภาพ ตอการใชงานมากขึ้น นอกจากนี้องคประกอบอนๆ ที่สําคัญที่ชวยใหระบบ ความเย็นทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน
FRIGAID เปนสารเติมในระบบทําความเย็น (Chiller) ประเภท PROA - Polarized Refrigerant Oil Additive ซึ่งมี ธาตุ คารบอน (C) และ ไฮโดรเจน เป น องค ป ระกอบหลั ก ไม มี ส ว นผสมของสารก อ มะเร็ ง (Carcinogenic) และ สารควบคุมน้ํามันเสีย จึงเปนผลิตภัณฑที่มีความ ปลอดภัยตอมนุษยและสิ่งแวดลอมเมอนํามาใชงาน ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยนักวิทยาศาสตรขององคการนาซา เพอใชเพิ่ม ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนความรอนของ Evaporator และ Condenser ในระบบทําความเย็น (Chiller) ชวยขจัดและปองกันสิ่งสกปรกที่ยึดเกาะบน ผิวของทอ ไดแก คราบน้ํามันจาก Compressor, ผงตะกอนคารบอน ซึ่ง เปนสาเหตุที่ทําใหความสามารถในการแลกเปลี่ยนความรอนลดลงและใช พลังงานไฟฟามากขึ้น FRIGAID ยังชวยเพิ่มความหลอลนสูงกวาน้ํามัน Compressor ถึง 15 เทา ทั้งชวยปองกันการบวมของซีล ยืดอายุการ ใชงานของซีลและปองกันการผุกรอนของทอ สามารถลดการใชไฟฟาใน Chiller ไดถึง 3 – 25% (ขึ้นอยูกับประเภทของอายุการใชงานของ Chiller) ทั้งยังสามารถยึดเกาะกับผิวโลหะที่เปนอุปกรณของ Chiller ดวยหลักการดึงดูดระหวางประจุไฟฟา จึงทําใหมีการยึดเกาะที่ คงทนติ ด แน น อยู ไ ด ต ลอดอายุ ก ารใช ง านของอุ ป กรณ ข า งใน Chiller ในการเติมลงไปใน Chiller แคเพียงครั้งเดียวโดยรับรอง ประสิ ท ธิ ภ าพด ว ยการรั บ ประกั น การประหยั ด พลั ง งานภายใต แคมเปญ No savings No pay ป จ จุ บั น ลู ก ค า ก ลุ ม โ ร ง ง า น อุตสาหกรรมใหความสนใจและตอบรับเปน อยางดีเนองจากเปนผลิตหนึ่งที่สามารถ ชวยยนอายุการใชงานของระบบทําความ เย็น (Chiller) ไดเปนอยางดี โดยไมสงผล กระทบตอสิ่งแวดลอมพรอมยังชวยใหเกิด การประหยัดพลังงานอีกดวยครับ
24 l January 2012
Energy#38_p24_Pro3.indd 24
17/12/2011 15:21
Energy#30_p31_Pro3.ai
1
4/28/11
12:13 AM
Green Industrial โดย : ณ อรัญ
Green business
มิติหนึ่งของการจัดการพลังงานแบบ ครบวงจร
การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มนั้ น เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ต อ ผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมตางก็ ไดดําเนินการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการลดตนทุนดานพลังงาน และเปนการลด ภาวะโลกรอนที่เปนปญหาตอมวลมนุษยและสิ่งแวดลอมในปจจุบัน อยางไร ก็ตามการอนุรกั ษพลังงานนัน้ หากจะใหเกิดประสิทธิภาพและเห็นผลไดอยาง ชัดเจนนัน้ นอกจากการปรับปรุงอุปกรณ เครื่องจักรประหยัดพลังงาน การ สงเสริมใหความรูแกพนักงานแลว การเขารวมโครงการดานการประหยัด พลังงาน และดานอนุรักษสิ่งแวดลอมโดยไมวาจะเปนโครงการของภาครัฐ หรือเอกชนก็ตามนั้นก็เปนแนวทางหนึ่งที่ชวยใหการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอมเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลไดเปนอยางดี โดยปจจุบันไดมีหลายบริษัทที่หันมาดําเนินธุรกิจเปนที่ปรึกษาดาน
พลังงาน และการจัดทําโครงการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมตลอด จนการดําเนินธุรกิจนําเขาและจําหนายอุปกรณอนุรักษพลังงานอยางครบ วงจรเพื่อตอบสนองความตองการของผูประกอบการ บริษัท เค.เอส กรุป จํากัด นั้นเปนอีกบริษัทหนึ่งที่ดําเนินธุรกิจ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มโดยต อ ยอดมาจากธุ ร กิ จ จั ด หาและจํ า หน า ย อุปกรณอุตสาหกรรมแบบควบวงจรผานผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานในลักษณะ One Stop Service ทุกชนิด ไมวาจะเปน ระบบไฟฟาแรงสูง เครื่องจักรกล อุปกรณสํานักงาน อุปกรณไฟฟาโรงงาน จัดหาวัตถุดิบทุกชนิด ฯลฯ และเพื่อเปนทางเลือกของกลุมโรงงานอุตสาหกรรมในการพัฒนา ดานจัดการพลังงานใหมีประสิทธิภาพ ประกอบกับเพื่อเปนการลดภาวะโลก รอน เค.เอส กรุป ไดตอยอดสูการดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการอนุรักษ
26 l January 2012
Energy#38_p26-28_Pro3.indd 26
12/29/11 11:43 AM
พลังงานและสิ่งแวดลอมดานการบริการ (Service) อยางครบวงจรดวย โดยเฉพาะการใหบริการเปนที่ปรึกษาใหความรูดานการอนุรักษพลังงาน และสิง่ แวดลอมแกบริษทั โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ การเปนทีป่ รึกษาดาน อนุรักษพลังงาน สําหรับโครงการ Green business โดยใหความสําคัญในเรื่องของ reuse refuse repair และ recycle เปนแนวทางที่สัมผัสกับโลกในปจจุบัน ทั้งนี้ก็เพื่อเปนแนวทางและเปนศูนยกลางในการดูแลเรื่องพลังงานและสิ่ง แวดลอมที่ใหญทีส่ ดุ ในโลกทีม่ ที กุ อยางในเรื่องของพลังงานและสิง่ แวดลอม ไมวาจะเปนแนวทางการอนุรักษพลังงาน การพัฒนาดานพลังงานใหเกิด การประหยัดพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพและยัง่ ยืน การจัดทําโครงการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเพื่อตอบสนองความตองการของโลกใน ยุคปจจุบัน ตลอดจนเรื่องของการ Thread คารบอนเครดิตสูการพัฒนา เปนธุรกิจสีเขียวหรือ Green business ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการตอยอดใหกับกลุมโรงงานอุตสาหกรรม หรือ องคกร บริษัท ที่สนใจดานการประหยัดพลังงานใหเกิดการพัฒนาตอยอด และสามารถบริหารจัดการพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูการรับรองจากมาตรฐานตางๆ ทางดานการอนุรักษพลังงานและสิ่ง แวดลอม อาทิเชน ISO 9000 18000 21000 240000 เปนตน สวนหลักการในการบริหารจัดการดานอนุรักษพลังงานและสิ่ง แวดลอมภายใต Green business นั้น เค.เอส กรุป มีแนวทางการบริหาร จัดการในรูปแบบ อีคอมเมิรซแลวจัดทําเปนเว็บไซต www.greenbizthai.com เพื่อเป็นส่วนกลางในการประสานงานสําหรับคนที่มีหัวใจสีเขียวในการ รณรงคเรื่องลดโลกรอนเกี่ยวกับเรื่องธุรกิจ ทั้งผูดูแล หรือผูกอใหเกิด แลวมีปญหาไมรูจะแกปญหาอยางไรดี ผูรับจางดูแล หรือหนวยราชการ นักวิชาการตาง ๆ ก็อาจจะเปนสื่อกลาง หรือ Social Media ในการที่จะ ชวยประสานงานระหวาง ชุมชนหรือกลุม คนหัวใจสีเขียวมาอยูร ว มกัน ทัง้ นี้ ก็เพื่อเปนการชวยใหคนทั้งประเทศไทยขยายวงกวางสูระดับทวีปไปจนถึง ระดับโลกไดหันมาใสใจเรื่องธุรกิจสีเขียว
Januuary 2012 l 27
Energy#38_p26-28_Pro3.indd 27
12/29/11 11:43 AM
และภายใตโครงการ Green business นั้นไดดําเนิน “โครงการ กรีนแลมป” (Green Lamp) เปนโครงการ บริการเก็บรวบรวมหลอดไฟที่ หมดอายุ ก ารใช้ ง านแล้ ว เพื่ อ นํ า ไปเข้ า สู่ ข บวนการ แยกชิ้ น ส่ ว นเช่ น ขั้วหลอดไฟและตัวหลอดไฟ ของ บริษัท ไทยโตชิบา ไลทติ้ง จํากัด เพื่อ นําไปรีไซเคิลอยางถูกวิธี สวนปรอทที่อยูขางในหลอดไฟก็จะนําไปฝงกลบ ซึ่งไดจัดใหบริการแกกลุมลูกคาของบริษัทที่สั่งซื้อโดยตรง และโครงการ ตางๆ ที่มีความประสงคจะเปลี่ยนหลอดไฟ “โตชิบา” ภายในสํานักงาน โรงงานอุตสาหกรรม หรืออาคารประกอบการใหม ซึ่งการจัดการรีไซเคิล หลอดไฟนั้นสามารถรีไซเคิลไดถึง 100% นอกจากนี้ ยั ง ได ดํ า เนิ น โครงการร ว มกั บ บริ ษั ท บางจาก ปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) ในการรับเปนศูนยรวบรวมน้ํามันเกาที่ผาน การใชงานแลวจากบางจาก เพื่อจําหนายใหกับบริษัทที่สนใจมารับซื้อไป รีไซเคิล พรอมกันนี้ ไดดําเนินการปลูกพืชพลังงานทดแทนไมวาจะเปน
มันสําปะหลัง ออย ปาลม ขาวโพด เพื่อจําหนายใหกับโรงงานผลิตเอทานอล ในสวนที่เหลือจากผลผลิตอยางเชน เหงามัน กะลาปาลม ซังขาวโพด ซังออย ก็จะนําไปจําหนายใหกบั โรงงานที่ใชเชื้อเพลิงชนิดนี้ ในการกระบวน การผลิต ซึ่งเปนโครงการภายใตเว็ปไซต ตลาดเกษตร.com และมีเครือ ขาย ชื่อเกษตรกรไทยเชิงพาณิชย และก็มีสินคาอื่นๆที่เกี่ยวของก็คือปลูก ไมยูคาลิปตัสโดยนําไปผลิตกระดาษทดแทนการตัดปา นอกจากนี้ แ ล ว ยั ง มี บ ริ ษั ท ที่ ใ ห ค วามสนใจเข า ร ว มโครงการอี ก มากมายไมวาจะเปน บริษัท นิชินโบะ สมบูรณ ออโตโมทีฟ จํากัด บริษัท อุตสาหกรรมถุงพลาสติกไทย จํากัด บริษัท เควายบี สเตียริ่ง (ไทย แลนด) จํากัด บริษัท รอนดา (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท พิณ อิน เตอรวูด จํากัด บริษัท โกลบอล-ไทยซอน พรีซิชั่น อินดัสทรี จํากัด นี้เปนเพียงตัวอยางสวนหนึ่งของบริษัทที่เขารวมโครงการ ส ว นนโยบายด า นทรั พ ยากรบุ ค คลก็ จ ะส ง เสริ ม ให พ นั ก งานมี จิตสํานึกในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมโดยการจัดสัมมนาดาน พลังงาน และสิ่งแวดลอม การสงเสริมใหมีการเปดปดไฟหลังและกอนเลิก งาน 10 นาที การประชาสัมพันธขาวสารเรื่องการประหยัดพลังงานให
พนักงานไดทราบ การรณรงคจดั กิจกรรมอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม แกชุมชนตางๆ เปนตนเพื่อใหทุกคนมีสวนรวมในการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอมไปพรอมๆกัน และถาหากถามวาภาพรวมในการดําเนินธุรกิจของ เค.เอส กรุป นั้น สามารถชวยลดการใชพลังงานมากนอยแคไหนยกตัวอยางใหเห็นภาพกัน งายๆ จากการที่ เค.เอส กรุป ไดดําเนินการดานการอนุรักษพลังงานให กับ เซเวน อีเลฟเวน โดยติดตั้งระบบควบคุมไฟฟาสําหรับตูแชเครื่องอื่ม ใหกับ เซเวนฯ เริ่มตั้งแตป 2544 ซึ่งปจจุบันดําเนินการไปแลวทั้งหมด 3,500 กวาสาขา โดย เค.เอส กรุป สามารถชวยให เซเวนฯ ประหยัดเงิน จากคาไฟจากการใชตูแชเครื่องดื่มชั่วโมงละ 10 บาท หรือ 240 บาทตอ วันหรือเทากับ 87,600 บาทตอสาขาตอปนี้แคบริษัทเดียวยังสามารถชวย ใหประหยัดคาใชจายเรื่องของไฟฟาไดมากเลยทีเดียวครับ
28 l January 2012
Energy#38_p26-28_Pro3.indd 28
12/29/11 11:43 AM
Energy#38_NVT_Pro3.ai
1
12/21/11
2:03 AM
Saving Corner http://www.taradb2b.com/th/all-product.php?page=212 โดย ธนกร ณ พัทลุง วิศวกรประสิทธิภาพ โรงไฟฟากระบี่ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.)
เปนการเพิ่มการสูญเสียความดันเทากับ 1.0” VP ที่ความเร็ว 4,000 ฟุต ตอนาที เทากับ 1.0 นิ้วน้ํา การออกแบบที่ดีที่สุด คือการติดตั้งทอตรงที่ มีความยาวเทากับ 7 ถึง 8 เทาของเสนผาศูนยกลางกอนเขาพัดลม สวนปลองระบายตองอยูห า งจากจุดทีอ่ ากาศบริสทุ ธิจ์ ะถูกดึงเขาไป ในอาคาร เชน อยางนอย 16-20 เมตร และหากอยูบนหลังคาตองสูงจาก หลังคาอยางนอย 3-4 เมตร เพอปองกันมิใหอากาศที่ระบายออกมวนกลับ ลงทางชายคาอาคาร ความเร็วลมที่ออกจากปลองอยางนอยควรเปน 15 เมตรตอวินาทีเปนอยางนอย และหมวกที่ปดปลายปลองก็ ไมควรมีเพราะ จะไปปดกั้นการพุงขึ้นของอากาศเสีย และประสิทธิภาพของหมวกในการกัน น้ําฝนสามารถใชการออกแบบอยางอนไดแทน
หลักการ 4 ขอ เพอลดการใช พลังงานในระบบดักฝุน (ตอน จบ) ฉบับที่แลวเราพูดถึงการออกแบบระบบดักฝุนที่ดีวาควรมีลักษณะ แบบใด มาตอกันฉบับนี้เพอไมใหเปนการเสียเวลา ไปรูจักการใชงานกันได เลยครับ
การใชงานอุปกรณดกั ฝุน (Dust Collector Operation)
ในการใชงานอุปกรณดักฝุนนั้นควรปรับลดคาควบคุมความดันตก ปกติ (Nominally dirty filters) ที่ ใชกันจากเดิม 5 นิ้วน้ําเปน 4 นิ้วน้ําแทน ซึ่งทําใหความดันตกในระบบลดลงและสามารถประหยัดไดอีกโดยการใช โฟโตเฮลิคเกจ (Photohelic gauge) ควบคุมการทํางานของแรงดันลมอัด (pulsejet) เพอทําความสะอาดถุงกรองฝุนและ แมคเนคเฮลิค เกจ (Magnehelic gauge) ควบคุมการใชงานลมอัด (compressed air) ตลอดเวลา ซึ่งการควบคุมการทําความสะอาดโดยการใชโฟโตเฮลิคเกจ (Photohelic gauge) จะไมเปนการประหยัดปริมาณลมอัดที่ ใชแตมันจะสงผลตอการ ประหยัดพลังงานของระบบรวมทั้งชวยยืดอายุการใชงานของถุงกรอง - ทอของพัดลม (Fan Ducting) และปลอง สิง่ ที่ ไมดสี ามารถเกิดขึ้นไดหากการติดตัง้ ทอเขาและออกจากพัดลม ไมไดออกแบบและติดตั้งอยางถูกตอง การออกแบบที่ ไมถูกตอง เชน ติดตัง้ ทอของอซึง่ มีรศั มี 2.0 เทาของเสนผาศูนยกลางทอกอนเขาพัดลมซึง่
ความสามารถในการประหยัดพลังงานไฟฟา (POTENTIAL ELECTRICAL ENERGY SAVINGS)
จากการออกแบบระบบดูดฝุนที่ดีทั้ง 4 ขอขางตนนั้น จะสงผลให ลดการสูญเสียความดันสถิตในระบบโดยมีคารวม เทากับ 4.19 นิ้วน้ํา ดัง แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงคาการสูญเสียของความดันสถิตที่ลดลงจาก การออกแบบที่ดีทั้ง 4 สวน (ปากทอดูด, ระบบทอ, การใชงานอุปกรณ ดักฝุนและทอของพัดลม)
30 l January 2012
Energy#38_p30-31_Pro3.indd 30
12/21/11 1:14 AM
http://www.enmathai.com/eknowledge_detail.php?news_id=10
http://www.google.co.th/imgres?
ตัวอยางคํานวณคาใชจายที่ลดลงจากการออกแบบที่ดี
ถาระบบดูดฝุนขนาดเล็กมีความดันตกของระบบ เทากับ 9.0 นิ้วน้ํา หากมีการออกแบบที่ไมดี จะทําใหความดันตกของระบบเพิม่ ขึน้ อีก 4.19 นิว้ น้าํ รวมเปน 13.19 นิ้วน้ํา สมมติปริมาณลมของระบบ เทากับ 2,000 ลูกบาศกฟุตตอนาที ดังนั้นแรงมาเบรกที่ตองการ เทากับ 5.43 แรงมา (bhp) @ 9.0 นิ้วน้ํา และจะมากขึ้นเปน 7.65 bhp @ 13.19 นิ้วน้ํา สมมติวาใชมอเตอรที่ประสิทธิภาพเดียวกันและเดินระบบ 8,760 ชั่วโมงตอปและคาใชจายไฟฟา 3.0 บาทตอหนวย คิดคาใชจายพลังงาน ไฟฟาทั้งป ไดดังนี้ http://www.mcgreenpower.com/index.php?
สําหรับมอเตอรขนาด 7.65 bhp เทากับ (7.65 x 8760 x 3) เทากับ 201,042 บาทตอป สําหรับมอเตอรขนาด 5.43 bhp เทากับ (5.43 x 8760 x 3) เทากับ 142,700 บาทตอป ประหยัดคาใชจายพลังงานไฟฟา เทากับ 201,042 – 142,700 = 58,342 บาทตอป ดังนั้นจะเห็นไดวาหากออกแบบระบบดูดฝุนที่ดีจะทําใหลดคาใชจาย พลังงานไฟฟาลงได เทากับ (58,342/201,042) = 29% และความสามารถในการประหยั ด ต น ทุ น พลั ง งานเป น สั ด ส ว น โดยตรงกับขนาดและความซับซอนของระบบดักฝุน แนวทางปรับปรุงการออกแบบ 4 ขอทีจ่ ะทําใหลดคาใชจา ยพลังงาน ไฟฟาในระบบดูดฝุนลงไดประมาณ 29 % เปนดังนี้ - รูปรางปากดูดควรปรับมาใชแบบปากระฆัง (Bell mouth) แทน ปากเรียบหรือขอบเรียบ - ความเร็วในการลําเลียงฝุน ไมควรใชคา ทีส่ งู ไปควรใชคา ทีเ่ หมาะสม พอดีและการติดตั้งทอสาขาที่ดีนั้นทํามุมเขากับทอหลักนอย 30 องศา รวมทั้งใชทอของอซึ่งมีรัศมี 2.0 เทาของเสนผาศูนยกลาง - ควรปรับลดคาควบคุมความดันตกปกติ (Nominally dirty filters) ที่ ใชกันจากเดิม 5 นิ้วน้ําเปน 4 นิ้วน้ําแทนโดยการใชโฟโตเฮลิคเกจ (Photohelic gauge) ควบคุมการทําความสะอาดถุงกรอง - การติดตั้งทอเขาพัดลมควรเปนทอตรงที่มีความยาวระหวาง 7 ถึง 8 เทาของเสนผาศูนยกลางทอ อางอิงขอมูล 1. Ed Ravert, Senior Application Engineer “Four Dust Collection System Design Improvements That Can Yield Significant Annual Energy Cost Savings” United Air Specialists, Inc. 2. http://www.uasinc.com January 2012 l 31
Energy#38_p30-31_Pro3.indd 31
12/21/11 1:15 AM
Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร
จุฬาฯ สรางชื่อใหกบั ไทย ควารางวัล ร ะ ดั บ โ ล ก A L B E R T O
ROZZI AWARD
ปจจุบันหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนได ใหความสําคัญเกี่ยวกับเรื่องภาวะโลกรอน รวม ถึงการประหยัดพลังงาน โดยการพัฒนา เทคโนโลยีตางๆ ขึ้นมารองรับ ในเรื่องดังกลาวซึ่งเปน อี ก วิ ธี ห นึ่ ง ในการส ง เสริมใหทุกภาคสวนได ตระหนั ก ถึ ง และลงมื อ ปฏิ บั ติ จริ งเพื่ อช่ วยให้เกิ ด การลดตนทุนคาพลังงานและชวยลดภาวะโลกรอนไดอยางเปนรูปธรรม และการกระตุนใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีดานอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอมนั้นนอกจากการขอทุนเพื่อการวิจัยแลว การเขารวมประกวด หรือเขารวมประชุมชนในเชิงวิชาการอยางตอเนื่องทั้งในระดับประเทศและ ระดับโลกนั้นเปนอีกแนวทางหนึ่งที่ชวยใหเกิดขวัญกําลังใจ เกิดความรูสู การพัฒนาตอทางเทคโนโลยีดานพลังงาน โดยการประกวดนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีดานการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอมในปจจุบันนั้นมีผูจัดประกวดมากมายหลายโครงการดวย กันไมวา จะเปนโครงการภายในประเทศหรือในระดับนานาชาติที่ ไดเปดโอกาส ใหระดับนิสิตนักศึกษา ภาครัฐ ภาคเอกชน ไดสงผลงานเขาประกวด
รองศาสตราจารย ดร. ชวลิต รัตนธรรมสกุล จากภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
สําหรับ ALBERTO ROZZI AWARD นั้นเปน รางวั ล หนึ่ ง ที่ ส ง เสริ ม ให เ กิ ด การพั ฒ นาสิ่ ง ประดิ ษ ฐ เทคโนโลยีทางดานการจัดการขยะของเสียใหเหมาะสมกับ แตละพื้นที่และเพื่อใหสามารถนํามาพัฒนาตอยอดใชได อยางเปนรูปธรรม เรียกไดวาเปนรางวัลใหญระดับ โลกเลยที เ ดี ย ว และล า สุ ด รองศาสตราจารย ดร. ชวลิต รัตนธรรมสกุล จากภาควิชาวิศวกรรม สิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดสรางชื่อเสียงใหกับประเทศไทยเมื่อ ไดรับรางวัล ALBERTO ROZZI AWARD ซึ่งเปน รางวัลสําหรับการนําเสนอบทความวิจัยที่ดีเยี่ยม ที่สุด (Best Paper Award) ดานการจัดการของเสีย สาขาการหมักยอยและผลิตกาซชีวภาพ (Anaerobic digestion) ในงานประชุ ม ใหญ ท าง วิชาการระดับนานาชาติครั้งที่ 13 ดานการจัดการของเสียและการ ฝงกลบมูลฝอย (Thirteenth
32 l January 2012
Energy#38_p32-34_Pro3.indd 32
12/29/11 1:04 PM
Awards) และในการประชุมทางวิชาการครั้งนี้มี 3 สาขา คือ สาขา Anaerobic digestion สาขา Waste management และสาขา Landfill สําหรับรายละเอียดงานวิจยั ของ ดร. ชวลิต นัน้ เปนการวิจยั แนวทาง การพัฒนาเทคโนโลยีการหมักรวม (Co-digestion) ของขยะอินทรียป ระเภท เศษอาหารกับตะกอนระบบบําบัดน้ําเสียจากอาคารสูง โดยใชถังหมักไร อากาศแบบสองขั้นตอนสําหรับผลิตกาซชีวภาพ ทั้งนี้โครงการนี้ ไดรับการ สนับสนุนงบประมาณจากโครงการ JICA-Water Reuse Project ซึ่งเปน โครงการความรวมมือระหวางจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกับองคกร JICA ของประเทศญี่ปุนที่ ไดใหทุนการสนับสนุนในระยะเวลา 2 ป ในสวนเทคโนโลยี Co-digestion ตัวที่ ไดรับรางวัลนั้นมีขนาดบรรจุ ของเสียได 100 กิโลกรัมตอวันซึ่งจะประกอบดวย ถังผสมเตรียมสวนผสม ของเศษอาหารและตะกอนระบบบําบัดน้ําเสียจากอาคารสูง ถังหมักกรด และถังหมักกาซทรงรูปไขแบบมี ใบกวน ถังเก็บกาซชีวภาพที่เกิดขึ้น ดัง แสดงในรูป อยางไรก็ตามผูวิจัยยังสามารถพัฒนาตอยอดระบบ Codigestion ใหรองรับขยะหรือของเสียไดตามจํานวนวัตถุดิบที่มีของแตละ พื้นที่ รวมถึงขยะของเสียที่อยูภายในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีจํานวนมาก สําหรับถังหมักกรดที่ ใช มีปริมาตร 1,000 ลิตร ประกอบดวย ทอ ลําเลียงขยะอินทรียเขาระบบ ทอนําขยะอินทรียที่ผานการยอยสลายเบื้อง ตนออกจากระบบ และทอสําหรับปลอยกาซชีวภาพที่เกิดขึ้นบางสวนภายใน
International Waste Management and Landfill Symposium) โดยจัด ขึ้นที่ S.Margherita di Pula, Cagliari, Italy และมีผูเขารวมประชุมจาก หลายประเทศทั่วโลกไมวาจะเปน อเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน แลวก็หลายประเทศในเอเชียกวา 1,000 คน โดยงานประชุมวิชาการนี้ถือวาเปนการประชุมทางวิชาการที่สําคัญ ทางด า นการจั ด การของเสี ย และขยะมู ล ฝอยขององค ก ร IWWG (International Waste Working Group) ที่มีชื่อเสียงระดับโลก โดยมีการ จัดขึ้นทุกๆ 2 ป สําหรับบทความที่ ไดรับรางวัลในครั้งนี้ ในหัวขอ “การ หมักรวมของเศษอาหารและตะกอนระบบบําบัดน้ําเสียดวยระบบถัง หมักแบบสองขั้นตอนสําหรับการผลิตกาซชีวภาพจากอาคารสูง” (Co-digestion of food waste and sewage sludge by a twostage anaerobic digestion system for biogas production from high-rise building) ทั้งนี้รางวัลผลงานวิจัยยอดเยี่ยม (Best Paper Januuary 2012 l 33
Energy#38_p32-34_Pro3.indd 33
12/29/11 11:44 AM
จากขอมูลการเดินระบบที่ผานมาโดยมีคาระยะเวลากักพักทางชล ศาสตรที่ 24 วัน พบวาอัตราสวนของขยะเศษอาหารตอตะกอนระบบบําบัด น้ําเสียจากอาคารที่เหมาะสมอยูที่ 7:1 และไดประสิทธิภาพการกําจัดซีโอดี มีคาอยูระหวาง 85.42-88.67 เปอรเซ็นต ประสิทธิภาพการกําจัดของแข็ง ระเหยทั้งหมดมีคาอยูระหวาง 71.03-73.68 เปอรเซ็นต ปริมาณกาซ ชีวภาพที่ ไดมีองคประกอบของกาซมีเทน 64.3 เปอรเซ็นต ซึ่งมีความเหมาะ สมในการนํามาใชประโยชนในการหุงตมสําหรับโรงอาหารได นอกจากนี้ สวนที่เหลือจากการหมักยอยสลายจะกลายเปนปุยน้ําชีวภาพที่เหมาะสมใน การนําไปใชประโยชนในการเกษตรตอไป เรียกไดวาเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนา ขึ้นจากแนวความคิดของ ดร. ชวลิต และลูกศิษย นั้นสามารถกําจัดขยะ และของเสียใหเปนศูนย หรือ Zero Waste ไดอยางเปนรูปธรรมและนํามา ใชไดจริงและยังเปนที่มาของการไดรับรางวัลระดับโลกอีกดวย ทั้งนี้หลังจากไดรับรางวัล ALBERTO ROZZI AWARD ดร. ชวลิต รัตนธรรมสกุล ยังมีแนวคิดตอยอดพัฒนาเทคโนโลยีกําจัดขยะและของ เสียในรูปแบบอีกอีกดวยเพื่อมีโอกาสก็จะสงเขารวมประกวดในโครงการ (Thirteenth International Waste Management and Landfill Symposium) หรือโครงการอื่นๆ อีก นอกจากนี้แลวยังมีแผนที่จะจัดฝก อบรมใหกับชุมชน และเอกชนที่สนใจเพื่อเปนการพัฒนาตอยอดกระจายสู ชุมชนไดใชใหเกิดประโยชนไดอยางสูงสุดและยังเปนการชวยลดภาวะโลก รอนไดอีกทางหนึ่ง
ถังหมักกรดไปยังถังหมักกาซมีเทน ถังหมักกาซมีเทน มีปริมาตร 2,500 ลิตร ประกอบดวย ทอลําเลียงขยะสวนที่ยอยสลายเบื้องตนจากถังหมัก กรดเขาสูระบบถังหมักกาซมีเทน ทอนําปุยน้ําชีวภาพออกจากระบบ และทอ สําหรับสงตอกาซชีวภาพที่เกิดขึ้นภายในถังหมักไปยังถังเก็บกาซชีวภาพ ในสวนของใบพัดสําหรับกวนของเสียภายในถังหมักกวนสมบูรณติดตั้งใบ กวนแบบใบพาย (paddle) จํานวน 1 ใบ โดยเชื่อมตอสวนของใบพัดและ กานใบพัดสําหรับกวนกับมอเตอรในแนวดิ่ง
34 l January 2012
Energy#38_p32-34_Pro3.indd 34
12/29/11 11:44 AM
Energy Showcase เครองกรองน้ําใช ‘คามารซิโอ’ เครองกรองน้ําใช แบรนด ‘คามารซิโอ’ รุน CM003 B ขนาดกะทัดรัด อัตราการกรอง 180 ลิตรตอชั่วโมง มากประสิทธิภาพดวย ระบบกรอง 2 ขั้นตอน ขั้นแรก ดวยไส กรอง Micro Filtration ที่มีคุณสมบัติ กรองน้ําไดละเอียดต่ํากวา 0.3 ไมครอน สามารถกรองอนุภาค คอลลอยด รวมถึง จุลชีพและสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ปะปนมากับ น้ํ า ประปา เติ ม เต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด ว ยไส กรองคารบอน CIF คุณภาพสูง ที่รวมเอา ระบบการกรองน้ํา 3 ชั้นไวในตลับเดียว ให ลู ก ค า ได มั่ น ใจว า มี น้ํ า ใช ที่ ส ะอาดและ ปลอดภัย
บริษัท เดอะซิกเนเจอร แบรนด จํากัด หรือ เอสบีโอ (Sbo) CALL CENTER 0-2274-3434 http://www.sbo-brand.com
ทอพีพีอารตราชาง ทอน้ํารอนคุณภาพสูง ผลิตจาก Polypropylene Random Copolymer เม็ดพลาสติก คุณภาพสูงจากยุโรป ทําใหไดน้ําสะอาด มั่นใจ ปลอดภัยจากสารกอมะเร็งที่มาจาก สนิมหรือโลหะ ทนตอแรงดันไดถึง 20 บาร และทนอุ ณ หภู มิ ไ ด ม ากถึ ง 95 องศา เซลเซียส อายุการใชงานยาวนานถึง 50 ป ทอและขอตอ PP-R ผลิตภายใตมาตรฐาน DIN 8077/78 และกระบวนการผลิตได รับรองมาตรฐานระบบ ISO 9001/ISO 14001/ ISO 18001 / NSF / ISO 1702
บริษัท นวพลาสติกอุตสาหกรรม (สระบุรี) จํากัด โทร 0-2555-0888
http://www.elephantpipe.com
เครองดูดฝุน Philips EasyLife Energy Care FC8134
เตารี ด ประหยั ด พลั ง งาน Philips EnergyCare GC3660
เครองดูดฝุน Philips EasyLife Energy Care FC8134 ใหพลังสูงในการทําความสะอาด มอเตอรประสิทธิภาพสูงเยีย่ ม แตประหยัดการ ใช พ ลั ง งานถึ ง 20% ให บ า นคุ ณ สะอาด เรียบรอย พรอมทั้งยังรักษสิ่งแวดลอมไดทุก วัน เหมาะกับทุกการใชงาน ดวยเทคโนโลยี ไส กรอง HEPA 12 ดักจับอนุภาคขนาดเล็กที่ ไม สามารถมองเห็นไดดว ยตาเปลาซึง่ เปนตัวการ ของโรคภูมิแพไดมากถึง 99.5% และสามารถ ถอดลางทําความสะอาดได พรอมดวยถุงเก็บ ฝุนอนามัย s-bag ขนาดจุ 3 ลิตร สามารถ ดักจับฝุนละออง เกสรดอกไม และสารกอ ภูมิแพตางๆ ไดสูงสุดถึง 99.9%
เตารีดไอน้ําฟลิปส Philips EnergyCare GC3660 มาพร อ มกั บ เทคโนโลยี ใ หม Automatic Energy Saving System ให คุณไดพลังการรีดเต็มรอย สามารถขจัด รอยยับอันไมพึงประสงคไดอยางดีเยี่ยม ทั้งยังประหยัดไฟ เพราะจะไมมีการผลิตไอ น้ํ า ส ว นเกิ น หากเตารี ด ไม ไ ด ใ ช ง านขึ้ น พิสูจนโดย IEC Clause 11 Protocol ดัง นั้ น จึ ง ช ว ยลดการใช พ ลั ง งานไฟฟ า และ ประหยัดไฟ แตยังคงประสิทธิภาพการรีด ผาเทียบดวยการใชงานไอน้ําสูงสุดของ เตารีดรุนอน
บริษทั ฟลปิ สอเิ ล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด ศูนยขอมูลผูบริโภคฟลิปส
บริษัท ฟลิปสอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด
LED High Bay รักษพลังงาน
หลอดไฟประหยัดพลังงาน LED 15W TD32
โทร 0-2652-8652 http://www.philips.co.th
บริษัท แอรลิช จํากัด โทร 0-2963 9080-5
นวัตกรรมของหลอดไฟ LED ENERGYTECH จากประเทศอิตาลี LED High Bay ที่ ส ามารถลดการใช พ ลั ง งานไฟฟ า ได สูงสุดถึง 80 % มีอายุการใชงานยาวนาน โดยเฉลี่ย 140,000 ชั่วโมง หรือประมาณ 30 ป ทําใหลดตนทุน ลดคาใชจายในการ บํารุงรักษา นอกจากนี้ยังใหคุณภาพของ แสงสวางที่ดีกวาหลอดนีออนหรือหลอด ไส ทั่ ว ไป สามารถกระจายแสงสว า ง ครอบคลุมพื้นที่ ไดทั่วบริเวณที่ตองการ เหมาะสําหรับใชในโรงงานอุตสาหกรรมที่ ตองมีการติดตั้งหลอดไฟบนเพดานสูง ทดแทนการใชหลอดไฟ High Bay ทั่วไปที่ สิ้นเปลืองพลังงานกวา
http://www.ledenergytech.com
ศูนยขอมูลผูบริโภคฟลิปส โทร 0-2652-8652
LED 15W TD32 เปนหลอดทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ และไดรับความยอมรับจากบริษัท ที่มีชอ เสี ย งทั่ ว โลก ตั ว หลอดมี ก ารพั ฒ นาให ความรอนลดลง ในขณะที่ ในเวลาเดียวกัน ยังคงรูปแบบที่บางและขนาดกะทัดรัดเพอ สามารถนํ า ไปใช ใ นพื้ น ที่ ที่ มี จํ า กั ด ลด ปริมาณการปลอย CO2 ประหยัดพลังงาน เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
บริษัท วี แอนด เค ออโต ซัพพลาย จํากัด โทร 0-2991-3089
http://www.vk-supply.com January 2012 l 35
Energy#38_p35-36_Pro3.indd 35
12/21/11 1:06 AM
ปมน้ําภายในบาน KIKAWA
ชุดผลิตภัณฑกันซึมน้ํา ทา อัด ทา ประกอบดวย 3 สวน ไดแก 1.ผลิตภัณฑ กั น ซึ ม น้ํ า ชนิ ด ทา พี ซี แอดชิ ล ด (PC Addshield) 2. ผลิตภัณฑกันซึมน้ําชนิด แผ น พี ซี ไฮโซล ซี ล (PC Hisolseal) 3. ผลิ ต ภั ณ ฑ กั น ซึ ม น้ํ า ชนิ ด ก อ น พี ซี ฟคซีเ่ คลย (PC Flexiclay) ทัง้ 3 สวน ผลิต จาก พอลิ เ มอร สั ง เคราะห สู ต รพิ เ ศษ มีความยืดหยุนและยืดตัวสูง ทนตอรังสี อัลตราไวโอเลต และมีความสามารถในการ ยึดติดไดดีกับปูน คอนกรีต เหล็ก ไม โลหะ กระจก สังกะสี แผนเมทัลชีท และวัสดุ กอสรางทั่วไป
ปมน้ําภายในบาน KIKAWA สูบและสงน้ํา ระบบหลายใบพัด Multistage Booster System ที่ทํางานเงียบสนิท ภายในมีถุง Diaphragm คอยกักเก็บควบคุมน้ํา และ สวิทชควบคุมที่ชวยใหปมมีแรงดันคงที่ เป ด น้ํ า พร อ มกั น ทุ ก ก อ ก น้ํ า ก็ ไ หลแรง สม่ํ า เสมอแบบไม มี ก ระตุ ก ประหยั ด พลังงานมากกวา เนองจากใชพลังไฟฟา แปรผันตรงกับแรงในการเปดปดกอกน้ํา ทําใหประหยัดไฟ ภายในมีตัว Thermal ควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติ คอบตัดการทํา งานของปมในการณีเกิดการขาดน้ํา หรือ มอเตอรรอนผิดปกติ
บริษัท ทองสยามเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
บริษัท โพลิเมอร โคทติ้ง จํากัด
ไมบังตา วีวา โซลูชั่น
มาตรวัดน้ํา ไอโก
โทร 0-2274-7950-4 http://www.crthailand.com
โทร 0-2417 8240-1 http://www.polymer-coating.com
มาตรวัดน้ํา ไอโก รุน ทนดี ดับเบิ้ลยู ไดรับ การออกแบบและผลิตจากวัสดุชั้นเยี่ยม เพอใหไดมาซึ่งมาตรวัดน้ําที่มีคุณภาพสูง โดยวิ ศ วกรผู เ ชี่ ย วชาญภายใต โ รงงาน ผลิ ต ได รั บ การรั บ รองระบบบริ ห าร คุณภาพ มาตรฐาน ISO 9001 : 2008 ตัวเรือนผลิตดวยเอ็นจิเนียริง่ พลาสติก น้าํ หนักเบาแตแข็งแรง ทนทาน ปราศจากการ รั่วซึมตลอดการใช เหมาะสําหรับงานระบบ ประปาหมูบ า น อพารทเมนท คอนโดมิเนียม และงานประปาทั่วไป
ไมบังตา วีวา โซลูชั่น อีกหนึ่งทางเลือก สําหรับงานตกแตงและกอสรางทดแทน วั ส ดุ ไ ม ที่ มี ค วามสวยงามและทนทาน เสมือนไมจริง ใหสัมผัสจากลวดลายที่คม ชัดมีมิติ ใชงานไดงาย ทนตอความชื้นและ แมลงกินไม วีวา โซลูชั่น ประกอบดวย ผลิตภัณฑไมรั้ว ไมพื้น ระแนง เชิงชาย ไม บังตา และบันไดลามิเนต
บริษัท วิบูลยวัฒนอุตสาหกรรม จํากัด
บริษัท ยูเอชเอ็ม จํากัด
http://www.viva.co.th
http://www.uhm.co.th
โทร 0-2381-6453
Sofa Bed “Chic & Easy” จาก Springmate
โทร 0-2651-9111
กลองบรรจุอาหารตานแบคทีเรีย
Sofa Bed เตียงนอนกึง่ โซฟาภายใตคอนเซ็ปต Chic & Easy ซึ่งเนนการออกแบบใหเหมาะ สําหรับคนรุนใหมที่ตองการเตียงนอนแบบ 2 in 1 สําหรับที่พักอาศัยที่มีพื้นที่ ไมมากนัก หรือใช เป นเตียงสํ ารองภายในหองทํางาน หองพักแขก คอนโดมิเนียม หรือบานพักตาก อากาศ โดย Springmate ไดออกแบบ Sofa Bed ใหสามารถพับเก็บและเคลอนยายงาย แต คงทนและแข็งแรง โครงสรางของ Sofa Bed ทําจากโครงเหล็กและกลไกคุณภาพสูงจาก ประเทศเยอรมนี หุมดวยวัสดุฟองน้ําและผา คุ ณ ภาพเยี่ ย ม สามารถถอดเพี่ อ ทํ า ความ สะอาดได สะดวกสบายทั้งในขณะนั่งและนอน
บริษัท สมพลเบดดิ้ง แอนด แมทเทรส อินดัสตรี จํากัด โทร 0-2322-4320, 0-2322-5577-8 ตอ 801
http://www.springmate.com
เทคโนโลยีปองกันแบคทีเรียไลฟไดผสม ผสานเข า ไปในขบวนการผลิ ต กล อ ง พลาสติ ก เพื่ อ การปกป้ อ งแบคที เ รี ย ที่ ยาวนานตลอดอายุการใชงานของกลอง บรรจุอาหาร แมวาเราจะทําความสะอาด ผลิตภัณฑที่ ใช ในครัวเรือนอยางสะอาด แลว แตระหวางการใชแตละครัง้ อาจมีเชือ้ โรคที่ ก อ ตั ว และเพิ่ ม จํ า นวนอยู ใ นกล อ ง พลาสติกได เทคโนโลยีไลฟลดความเสี่ยง ของเชื้อโรคที่ปนเปอนมากับอาหารซึ่งอาจ ทําใหเกิดอาหารทองรวง อาหารเปนพิษได
Life Material Technologies Limited (company)
โทร 0-2654-0904
36 l January 2012
Energy#38_p35-36_Pro3.indd 36
17/12/2011 15:23
Energy#38_ad IE+ES_Pro3.ai
1
12/22/11
9:28 PM
savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag
EnergySavingMedia.com
Energy Keyman โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
กาวใหมของสถาบัน สิ่งแวดลอมไทย นํา สังคมสูความยั่งยืน เขาสูป 2555 ดวยขาวดีตอนรับปใหม สําหรับการรับ ตําแหนงใหมของ ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูอ าํ นวย การสถาบันสิง่ แวดลอมไทย คนใหม ซึ่งมีบทบาทและมีสวน รวมในการขับเคลื่อนภาระกิจดานสิ่งแวดลอมมากวา 20 ป โดยเขารับตําแหนงตั้งแตวันที่ 13 ธันวาคมที่ผานมา ซึ่งเรา จะพูดถึงบทบาทของสถาบันสิ่งแวดลอมไทยที่ผานมาและกาว ตอไปของสถาบันวาจะไปในทิศทางใด
บทบาทของสถาบันสิ่งแวดลอมไทย
บทบามเดิมจะเปนเรื่องของการทํางานวิจยั และนํางาน วิจัยนั้นไปสูภาคปฏิบตั ิ ในรูปของการฝกอบรม ในรูปของการ ลงงานภาคสนาม ทีผ่ า นมาจะเปนแบบนั้น แตทิศทางขางหนา นั้น เนื่องจากทําเรื่องนี้มา 18 ปแลว เราก็ตองมีเรื่องใหมๆ ซึ่งตอบโจทยของสังคมใหมากขึ้น ตอนนี้ธงของสถาบันฯ จะ มองเรื่องความยัง่ ยืนเปนหลัก คือการชวยเหลือหลายๆ อยาง ทีผ่ า นมาจะเนนไปในลักษณะครัง้ ตอครัง้ มันทําใหชมุ ชนไมแข็ง แรง ซึ่งที่เรามองขางหนาคือการทําใหชุมชนแข็งแรงดวยตัว เอง เชน ทําอยางไรใหมีการใชทรัพยากรในเชิงของการสราง รายได ลดความยากจนลง ใหเขาอยูกับพื้นที่ตรงนั้นใหได และ อยูอยางมีความสุข ซึ่งไมใชวาเปนการอพยพเขาสูเมือง เรา ตองการใหแตละพื้นที่แตละจังหวัดแข็งแรงขึ้นไดดวยตนเอง นี่คือการมองไปขางหนา ที่นี้เรื่องนี้จะทําไดอยางไร มันก็ตองดูที่วา ทํากับคนรุน ใหม นี่คือโจทยที่เราอยากทํา คือใหเด็กรุนใหมโตขึ้นมาพรอม กับความพรอม ความเขาใจ ความรักทองถิน่ แตอกี อันคือทํากับ
ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ
ผู อํ า นวยการสถาบั น สิ่ ง แวดล อ มไทย 38 l January 2012
Energy#38_p38-40_Pro3.indd 38
12/27/11 9:45 PM
คนทีอ่ ยูป จ จุบนั นัน่ คือรุน วัยรุน หรือที่สูงอายุขึ้นมา จริงๆ สิ่งที่เคามีอยูใน พื้นที่ของตัวเอง เปนสิ่งสําคัญอยูแลววัยแรงงานจะเปนที่ตองการมากใน พื้นที่ อยางถาไปบางจังหวัด บางอําเภอ จะเห็นวาวัยแรงงานหายไปเลย มาทํางานขางนอกเพื่อจะเลี้ยงครอบครัว ดังนั้นการพัฒนาในชุมชนเหลา นัน้ จะเกิดขึน้ ยาก ทําอยางไรเพื่อจะดึงแรงงานเหลานัน้ กลับมาไปสูพ ืน้ ที่ และ พัฒนาเมืองนัน้ ใหเปนเมืองทีส่ มบูรณ เหมือนกับทีเ่ วลาโต ก็โตไปทัง้ ประเทศ มากกวาโตสวนใดสวนหนึ่ง เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราจะเนนคือการสราง การ เปลี่ยนพฤติกรรมคน โดยผานการสรางทัศนคติที่ดี ในเรื่องของแตละกลุม คนใหมากขึ้น ซึ่งอันที่สามนั้น ในเรื่องของสิ่งแวดลอมและทรัพยากร ไมได หยุดอยูแคภายในประเทศ เปนเรื่องระหวางประเทศดวย ทําอยางไรที่จะดึง ความกาวหนา ความเคลื่อนไหวของตางประเทศมาใหคนไทยรู เพื่อที่จะได ปรับวิถีชีวิตใหทัน และก็ทราบวาอะไรจะเกิดขึ้นบางในอนาคต นี่เปนสิ่งที่เรา จะเนนมากๆ อีกสวนทีเ่ ราจะเนนคือเรื่องของภัยพิบตั ิ เหตุการณแบบนีม้ นั เกิดขึน้ บอย คนในชุมชนเองก็ ไมรูหรอกวาตัวเองเจออะไรบาง เพราะฉะนั้นการให องคความรูในสิ่งที่เรารูอยูแลววาอะไรจะเกิดขึ้นในพื้นที่ ไหนเปนสิ่งสําคัญ เพื่อใหเคาเตรียมตัวที่จะรับมือกับสิ่งเหลานั้นและอยูกับมันได อยางน้ําทวม บางทีมันก็เกิดขึ้นหลายครั้ง ในอนาคตจะเกิดขึ้นบอยขึ้น ไมใชวาพอเกิด พื้นที่น้ําทวมครั้งเดียวเรายายบาน อันนั้นไมใชค ําตอบที่ดีนะ ทําอยางไรให อยูตรงนั้นไดอยางปลอดภัย และสามารถทํามาหากินได อันนั้นเปนโจทย ที่ทางสถาบันจะมองในเชิงลึกมากขึ้น
บทบาทหนาที่ ใหมเพื่อสิ่งแวดลอม
การเปนผอ.ก็หมายความวา เราตองมองภาพทั้งองคกรไวดวยกัน ทําองคกรตรงนี้ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ใหเปนประโยชนตอสังคมใหได มากที่สุด จากเดิมเปนแครองผอ. ก็มองแคตามสายงานตัวเอง แตตอนนี้
เปนผอ. ตองมองหลายมิติ การเชื่อมตองานทัง้ หมด และตองผลักออกใหได จากเดิมมองแค ในเรื่องศีลธรรม จริยธรรมและการรับใชสังคม แต ใน กาวตอไปก็คือ ทําสิ่งเหลานี้ ใหมันเกิดผลในทางมรรคผล ไม ใชแคตัว หนังสือ อยากใหในอีก 10 ปขางหนา พอเราพูดถึงคนไทยก็จะมีบุคลิคอยู ในตัววา คนไทยจะตองลดการใชขยะ ใชทรัพยากรนอย เขาใจเรื่องนี้ดี นอกจากนี้ทางสถาบันจะเพิ่มบทบาทใหเปนหนวยงานใหทุน โดยจะ ใหทนุ แกองคกรภาคประชาชน ชุมชน และเยาวชน เพื่อสรางชุมชนใหแข็งแรง และสามารถชวยเหลือตนเองไดในระยะยาว อีกทั้ง จะมีการเพิ่มบทบาท ของสถาบันในการชื่นชมองคกรอื่น และจะมุงเนนการทํางานดานวิจัยกับ ตางประเทศใหมากขึ้น โดยจะดึงความรวมมือจากประเทศอื่นๆ เขามา และ ขณะเดียวกันก็ขยายผลออกไปดวย
“โลกรอน” ภาคเอกชนคือกุญแจสําคัญ
ตอนนีถ้ ามวาคนไทยตระหนักในเรื่องโลกรอนไหม และมากแคไหน เปน ความตระหนักแบบผิวเผิน ไมลกึ ซึง้ ไมรทู ม่ี าที่ไป ตระหนักตามกระแสอยางเดียว ทําใหเราแกปญหาไมได รูแควาโลกรอนนะมันติดปาก แตเราไมรูวาจริงๆ วาความหมายของมันคืออะไร เกิดจากอะไร และจะปองกันอยางไร อันนี้เรา ขาดไป เราไมรูวาการเกิดครั้งที่หนึ่ง จะมีหวงโซครั้งที่สองสามอยางไร ปญหามาเราคอยทําซึ่งจะเปนเรื่องที่ยากและมีผลเสียเยอะ ภาครัฐก็ ไมใช คําตอบในการแกปญหา จริงๆ แลวภาครัฐเคาก็ทํางานของเคาในภารกิจที่ เคามีอยูเ ปนกอนมันก็เยอะอยูแ ลว แตคนที่มีความแข็งแรง มีความรู มีความ เทาทันนั้น อยูในภาคเอกชน ซึ่งถาเราดึงภาคเอกชนมาเปนตัวที่จะผลักดัน ในสิง่ เหลานัน้ เกิดขึน้ นัน้ มันจะงาย เพราะจริงๆ แลวเอกชนเอง เรื่องความรู มีเทคนิคมี งบประมาณมี ของกําลังคนในพืน้ ทีม่ ี แตทาํ ยังไงทีจ่ ะดึงคนเหลานัน้ ใหมาทํางานเพื่อสังคมมากขึ้น เพื่อตอบสนองความรับผิดชอบตอสังคม นับวาเปนสิ่งสําคัญ เพราะวาการทําธุรกิจ ยังไงก็ตามไมมีธุรกิจไหนที่ ไมใช
Januuary 2012 l 39
Energy#38_p38-40_Pro3.indd 39
12/27/11 9:45 PM
ทรัพยากรทีเ่ ปนภาคสวนรวม จะใชโดยตรงหรือไมกต็ าม เพราะวาจริงๆ เคาตองแบกรับความรับผิดชอบรวมกัน ถาจะใหเรื่องนี้ ไปไดเร็ว และไป ไดอยางมั่นคง ตองดึงกลุมของภาคเอกชนเขามารับผิดชอบดวย
TBCSD อีกหนึ่งสวนรวมที่ชวยขับเคลื่อนเรื่อง สิ่งแวดลอม
สําคัญตรงที่เราเอาคณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอม ไทย (TBCSD) มาเปนตัวผลักดันใหเกิดกระแสของการเขามารวมทํางาน ใหมากขึน้ อยางแบบเดิม เราจะทราบวาบริษัทนั้นทําอะไรอยู ทางบริษัท บริจาคทุนอยู ชวยเหลือโรงเรียนอยู บางบริษัททําสวนของฝายอยู มั น เป น ลั ก ษณะของการทํ า ตามความสนใจของบริ ษั ท มั น ไม ไ ด integrate ในเชิงของพื้นที่ ในเชิงของยุทธศาสตร ในเชิงของเรื่องใด เรื่องนึง เพราะฉะนั้นการแกปญหามันก็จะแผวเบาไมตอเนื่อง ดังนั้น การดึงเขามารวมกัน ทําใหเกิด impact มันจะดีกวา อยางใครทําฝาย ก็ตาม ก็มาดูวาฝายที่คุณทําทั้งหมดเนี่ย อยูในพื้นที่ ไหน พื้นไหนขาดบาง แลวเรามีกลุมที่สนใจพื้นที่เรื่องฝายเหมือนกันไหม การทําฝายไมไดดูวาทํา แคจังหวัดนี้แลวจบ ตองดูตนน้ํา ทายน้ํา ถาเราตอจิ๊กซอรภาพเหลานี้ ได แลวก็ดึงเอกชนมาเติมเต็มสิ่งที่ขาดหาย มันก็ทําใหปญหานี้จบได
สังคมเมืองไม ใชคําตอบของความสุข
สําหรับคนที่อยูในสังคมตางจังหวัดนับวามีความสุขกวาในเมืองอีก เพราะว า วิ ถี ชี วิ ต ดี ก ว า แต เ ค า อาจจะไม รู คุ ณ ค า ในทรั พ ยากรที่ เ ค า มี อยางเชน เคาปลูกตนไม เคาอาจจะไมรหู รอกวาตนไมมนั คืออะไร ถาเกิดเคารูว า มันเปนสิ่งที่ชวยเคาในเรื่องของทรัพยากร วิถีชีวิต รายได ทําอยางไรให เคาอยูกับปาได ทําอยางไรใหเคาปลูกขาว แลวก็เปนขาวที่ปลอดสารพิษ ตอบสนองตอโจทยสังคม ตอบสนองตอตลาดสงออก ถาเคารูขึ้นมาวาที่ เคาทําอยูจริงๆมันมี Value และมันมีคุณคาในดานการสงออกดวย ทําให เคาอยากอยูในพื้นที่มากขึ้น และเราจะเห็นวาการทําไรนาแบบนี้เปนเรื่อง ปกติ ในตางประเทศ คนทํานาก็มชี วี ติ เหมือนกับคนในเมือง บานชองเคาก็ใหญ
มีความสะดวกสบายเหมือนกับคนในเมือง ทําไมเราไมสรางวิถีชีวิตแบบนั้น ใหเกิดขึ้นในชุมชนชนบทบาง
ดูแลธรรมชาติ สรางภูมิตานทานใหโลก
จริงๆ ทุกอยางมันเริ่มมาจากคําวาทรัพยากรธรรมชาติเปนหลัก ถาเรารูจักวาเรามีอะไร ใชใหเปน และเพิ่มอะไรที่เราขาดไป มันจะเพิ่มความ สมบูรณในมิติของทรัพยากร พอสมบูรณในสวนนั้น สวนที่ตามมาไมวาจะ เปนเรื่องของการอุปโภคบริโภคมันก็จะสมดุล ภัยพิบัติก็จะเกิดนอยลง เรพาะมีความแข็งแรงมีภูมิตานทานพื้นฐาน อันนี้เปนสิ่งสําคัญที่ตองทําให เกิดขึ้น ดวยการสรางภูมิตานฐานกับสิ่งมีชีวิตซึ่งเปนตําสําคัญ นั้นก็คือ เยาวชน
40 l January 2012
Energy#38_p38-40_Pro3.indd 40
12/27/11 9:46 PM
Energy Keyman โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย
YOKOHAMA ทําอยางไรถึงได ISO : 50001
นายยะสึอิโร มิซึโมโตะ
ประธานบริษัท โยโกฮามา ไทร แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด Januuary 2012 l 41
Energy#38_p41-43_Pro3.indd 41
12/26/11 4:57 PM
เรามีปรัชญาในการลดการใชพลังงานอยางไร
อยางที่เราทราบกันดีวามาตรฐาน ISO:50001 เปนมาตรฐานใหม ที่เพิ่งจะเริ่มใชเมื่อชวงไตรมาสที่ 2 ของปที่แลว ฉะนั้นจึงยังเห็นบริษัทที่ ได รับมาตรฐานดังกลาวอยูในจํานวนจํากัด ซึ่งมาตรฐานดังกลาวนอกจาก จะชวยลดตนทุนในดานของพลังงานแลว ยังเปนการสงเสริมภาพลักษณ ทั้งของบริษัทและผลิตภัณฑที่ ใสใจในเรื่องพลังงาน นอกจากนี้ยังรวมไป ถึงการใสใจในเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอม สําหรับ บริษัท โยโกฮามา ไทร แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด ผูผลิตยางเรเดียลที่ ใชสําหรับรถบรรทุก, รถบัส, รถบรรทุกเล็ก และรถกระบะ ดวยจุดประสงคเพื่อการสงออกตางประเทศเปนหลัก โดย กําลังการผลิตยางรถบรรทุกและรถบัสอยูที่ 375,000 เสนตอป และยาง รถบรรทุกเล็กและรถกระบะอยูที่ 1,280,000 เสนตอป อีกทั้งไดมีการสราง สนามทดสอบยาง (Proving Ground) สําหรับทดสอบยางที่ผลิต สําหรับ โยโกฮามาถือกําเนิดขึ้นในป 1917 ที่ประเทศญี่ปุน ในครัง้ นีท้ มี งานไดรบั เกียรติจากประธานบริษทั ชาวญีป่ นุ นายยะสึอโิ ร มิ ซึ โ มโตะ ประธานบริ ษั ท โยโกฮามา ไทร แมนู แ ฟคเจอริ่ ง (ประเทศไทย) จํากัด ในการพูดคุยถึงการดําเนินการดานการประหยัด พลังงาน ที่ทําใหบริษัทสามารถไดรับมาตรฐาน ISO:50001
ทําไมเราจึงใหความสําคัญกับ ISO:50001
กอนอื่นจะขอกลาววาสิง่ แวดลอมของโลกมีความสําคัญมาก หากสิง่ แวดลอมของโลกมีความเสียหายยอมสงผลตออุตสาหกรรมที่ใชวตั ถุดบิ จาก ธรรมชาติ ซึ่งทางโรงงานของเรามีการใชพลังงานและทรัพยากรมากเมื่อ เปรียบเทียบกับการผลิต เชน ในการผลิตยางรถยนตตอครั้งมีการใชไฟฟา และเชื้อเพลิงมากมาย ซึ่งเปนสวนที่เราทําใหโลกสูญเสียพลังงานไปมาก จากการเติบโตของบริษัทที่ผานมาทําใหปริมาณการผลิตเพิ่มมาก ขึ้น ซึ่งหมายความวาตองใชพลังงานเพิ่มมากขึ้น ดวยเหตุนี้เราจึงเล็งเห็น วา ถึงจุดที่ทําใหเราตองการอนุรักษพลังงานเพื่อเปนสวนหนึ่งในการชวย เหลือโลก อีกประการหนึ่งบริษัทเรามีการใชทรัพยากรธรรมชาติมาก โดย เฉพาะยางพาราซึ่ ง เป น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก และวั ต ถุ ดิ บ เหล า นี้ ล ว นมาจาก ธรรมชาติทั้งสิ้น เราจึงตองการเปนสวนหนึ่งในการอนุรักษธรรมชาติเพื่อ ใหยังคงมีวัตถุดิบธรรมชาติตอไป
แนนอนวาวัตถุดิบจากธรรมชาตินับวันจะยิ่งลดนอยลง เราจึงเนน ไปที่ ก ารใช อ ย า งรู คุ ณ ค า และเต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ยกตั ว อย า งเช น ใน กระบวนการผลิตยางรถยนต เราพยายามคิดหาวิธีการผลิตเพื่อให ใช พลังงานอยางคุมคา หรือพยายามใชวัตถุดิบจากธรรมชาติใหเต็ม 100% คือเราจะวางแผนวาจะผลิตอยางไรไมใหสูญเสียไปเปลาๆ แมแตเปอรเซ็นต เดียว เพื่อใหใชไดอยางคุมคาทุกชิ้นสวนของวัตถุดิบ อย า งที่ ก ล า วไว แ ล ว ว า บริ ษั ท ของเรามี ก ารใช พ ลั ง งานและ ทรัพยากรธรรมชาติที่มากมาย ซึ่งหากมีแตการนํามาใชเพียงอยางเดียว ทรัพยากรเหลานั้นอาจจะหมดได เราจึงตองการเปนสวนหนึ่งในการชวย อนุรักษพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ ดวยเหตุนี้เราจึงใหความสําคัญ กับมาตรฐาน ISO:50001 อยางมาก ที่สําคัญผลิตภัณฑที่ผลิตจากมาตรการประหยัดพลังงานตองเปน ที่พึงพอใจตอลูกคา โดยเฉพาะในดานประสิทธิภาพการใชงานและการ ประหยัดพลังงานตามที่ผูบริโภคคาดหวังไว เราจึงเนนไปที่การใชพลังงาน อยางคุมคา, การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและเปนที่พึงพอใจของลูกคา ซึ่งในป 2554 ที่ผานมา คาไฟฟาของเราตอปประมาณการอยูที่หลายลาน บาท ในสวนคาแก็สมีคา ใชจา ยประมาณ 8 แสนบาทตอป ตอนนีต้ อ งยอมรับ วาเรากําลังเริ่มพัฒนาไปเรื่อยๆ เปรียบ เสมือนเด็กที่กําลังเติบโต
ในสวนของพนักงานมีสวนรวมอยางไรบาง
พนักงานก็เปนสวนสําคัญที่ชวยใหเราสามารถประหยัดพลังงานได อยางมาก เพราะพลังงานสวนใหญ ในบริษัทเราพนักงานยังเปนฝาย ควบคุมอยู เชน ระบบไฟฟาภายในบริษัท เปนตน ซึ่งทางเราจะมีการอบรม เรื่องที่เกี่ยวกับการใชพลังงานและการใชวัตถุดิบธรรมชาติตั้งแตรับเขา ทํางาน นอกจากนี้ ในบัตรพนักงานทุกคนจะมีการใสนโยบายเรื่องของการ อนุรักษพลังงานลงไปไวดวย ซึ่ ง วิ ธี ที่ เ ราทํ า จะช่ ว ยให้ พ นั ก งานซึ ม ซั บ เรื่ อ งของการประหยั ด พลังงานและการอนุรักษทรัพยาการธรรมชาติเขาไปอยูในชีวิตประจําวัน ของพนักงาน นอกจากนีเ้ รายังมีการใหพนักงานคิดหาวิธปี ระหยัดพลังงาน
42 l January 2012
Energy#38_p41-43_Pro3.indd 42
12/26/11 4:57 PM
ใหความสําคัญ โดยเราจะใชซัพลายเออรภายในประเทศไทยราว 80% และ ซัพพลายเออรจากจีนกับญี่ปุนรวมกวา 20% สํ า หรั บ ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ในประเทศญี่ ปุ น และ ประเทศไทย ไมสง ผลกระทบตอการผลิตและการอนุรกั ษพลังงาน เนื่องจาก เรามีปริมาณวัตถุดิบในสตอคที่เพียงพอตอการผลิต สําหรับวัตถุดิบบาง ชิ้นสวนที่ซัพพลายเออรไมสามารถจัดสงใหได ก็จะใชวิธีสั่งวัตถุดิบจาก ประเทศจีนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งประเทศจีนไมไดมีผลกระทบโดยตรงจากภัยพิบัติ ทําใหเรายังคงสามารถดําเนินการการผลิตและการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอมไดตามแผน
ตองการใหภาครัฐเขามาชวยเหลืออยางไรบาง
ปจจุบันตองยอมรับวาภาครัฐมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมดาน การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ซึ่งเราไดรับขอมูลตางๆ จากภาครัฐ อย่างต่อเนื่อง ทั้งแนวทางการประหยัดพลังงาน, เทคโนโลยีเพื่อการ ประหยัดพลังงาน เปนตน ซึ่งขอมูลเหลานี้เราสามารถทราบจากภาครัฐได อยางรวดเร็ว ในตอนนี้ภาครัฐก็มีการกระตุนในดานการอนุรักษพลังงาน ตอภาคธุรกิจเอกชนในกลุม ตางๆ เราคิดวาหากภาครัฐสนับสนุนภาคธุรกิจ เอกชนมากขึน้ ดวยการเขามาชวยในสวนของงบประมาณ, บุคลากรในดาน เทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน รวมไปถึงความรูดานการอนุรักษ พลังงานตางๆ ก็นาจะเปนสิ่งที่ดีสําหรับภาคธุรกิจเอกชน
คาดหวังอยางไรบางหลังไดรบั มาตรฐาน ISO:50001
รอบตัว เชน ระบบแสงสวางในทีท่ าํ งาน ซึง่ การปดไฟเมื่อไมใชของพนักงาน แตละคนอาจจะชวยประหยัดเงินคาไฟไมมากมายเทาไหร แตหากมองในอีก แงหนึ่งอยางนอยก็ ไดชวยโลกในการประหยัดพลังงาน ที่ สํ า คั ญ ทางบริ ษั ท เรายั ง มี แ ผนกที่ ตั้ ง ขึ้ น มาเพื่ อ ดู แ ลด้ า น สิ่ ง แวดล อ มโดยเฉพาะ สํ า หรั บ แผนกนี้ จ ะมี ก ารปลู ก ฝ ง การประหยั ด พลังงานและการอนุรักษสิ่งแวดลอมผานเสียงตามสายภายในองคกรตาม ชวงระยะเวลาที่กําหนด นอกจากนี้เรายังมีการจัดกิจกรรมในลักษณะเดือน แหงการอนุรักษพลังงาน ซึ่งเปนกิจกรรมที่บริษัทของโยโกฮามาทั่วโลก ตองดําเนินการ โดยกิจกรรมดังกลาวจะเปนการพาพนักงานชมการ ประหยัดพลังงานภายในโรงงานแตละจุด
ประการแรกตองบอกวามาตรฐาน ISO:50001 เปนมาตรฐานทีช่ ว ย กระตุนใหเกิดการอนุรักษพลังงานมากยิ่งขึ้น โดยเราตั้งใจไววาจะสามารถ ลดการใชพลังงานไดอยางนอยปละ 2% สําหรับในปที่ผานมานี้เรามีแผนที่ จะลดใหได 5% ทั้งนี้ก็ตองขึ้นอยูกับหลายปจจัย นอกจากนี้เรายังเตรียม ผลิตภัณฑยางรถยนตทีเ่ นนประหยัดพลังงานภายใตชื่อรุน BlueEarth ซึง่ ชวยลดการใชน้ํามันจากปกติลงอยางมาก ขณะที่คุณสมบัติของยาง รถยนตยังอยูครบถวน
มีวิธีเลือกซัพพลายเออรเพื่ออนุรักษพลังงานและสิ่ง แวดลอมอยางไร
แน น อนว า เรามี น โยบายการประหยั ด พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม ซัพพลายเออรที่สนับสนุนเรื่องวัตถุดิบใหเราก็จะตองประหยัดพลังงานและ อนุรักษสิ่งแวดลอมในแนวทางเดียวกับเราเชนกัน โดยเราจะเลือกซัพพลาย เออรที่สามารถผลิตไดตามมาตรฐานที่เราตองการ เนื่องจากการใชสินคา ของซัพพลายเออรที่ ไมไดมาตรฐานตามที่เราตองการ จะสงผลใหเกิดการ ใชพลังงานที่สูงมากขึ้นและไมสอดคลองกับมาตรฐาน ISO:50001 ที่เรา
Januuary 2012 l 43
Energy#38_p41-43_Pro3.indd 43
12/26/11 4:57 PM
Energy Design โดย : สุทัศนา กําเนิดทอง
การออกแบบ..
โดยคํานึงถึงการ ใชงาน
กอนอนตองกลาวถึงจุดมุง หมายของศูนยการเรียนรูเ พอโลกสีเขียว แหงนี้กอนคะวามีจุดมุงหมายอยางไรเนองจากการออกแบบไดดีไซนตาม จุดมุงหมายหรือคอนเซ็ปตที่วางไว โดยเปนศูนยการเรียนรูและฝกอบรมที่ มุง เนนการสรางสรรคแนวคิดและสังคมที่นําไปสูความยั่งยืนของตัวบุคคล และสังคมในดานพลังงาน และสิ่งแวดลอม คือการมารวมแลกเปลี่ยน เรี ย นรู ป ระสบการณ ร ว มกั น เน น การปฏิ บั ติ ด ว ยทฤษฎี ที่ ถู ก ต อ ง สอดแทรกความสนุกสนานที่มีสาระ และตองการใหสิ่งที่เรียนรูสามารถนํา ไปใชงานพรอมกับประยุกตไดจริง คือ สามารถการันตีไดวา ถาคนตัง้ ใจจริง ก็จะทําได ภายในศูนยการเรียนรูแหงนี้จะไมใชการสาธิตแตเปนชีวิตจริงที่ ใช งานจริงจากสิ่งทั้งหลายที่ ไดทําและสรางขึ้น ดังนั้น กิจกรรมและสิ่ง กอสรางที่เกิดขึ้นจะเนนความคิดสรางสรรคที่สอดคลองกับความยั่งยืน ดานสิ่งแวดลอม ซึ่งการออกแบบที่นี่จะพยายามมองใหเปนองครวม ลอง ผิดลองถูก โดยพิจารณาวามันมีผลตอสิ่งแวดลอมอยางไรแลวใชพลังงาน
มากนอยแคไหน ปลอดภัยตอผูใชอยางไร และการออกแบบกอสรางนั้นได คํานึงดวยวาสามารถทําเองไดหรือไมเพอใหสามารถประหยัดพลังงาน ตั้งแตตนน้ําถึงปลายน้ํา ซึ่งศูนยการเรียนรูแหงนี้ ไดเลือกใชวัสดุที่เหลือ ใชไดหรือไม เชน เกาอี้ ตู โคมไฟ ผนัง และ พื้นไม พอผูคนมาเยี่ยมเยือน จะไดซึมซับบรรยากาศของความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมใหมากที่สุด ซึ่ง ตัวอยางเล็กนอยจากศูนยการเรียนรูอาจจุดประกายแนวคิดไดมากสําหรับ ใครบางคนคะ
44 l January 2012
Energy#38_p44-45_Pro3.indd 44
17/12/2011 15:30
ทัง้ หมดในการออกแบบนัน้ เนนการเตรียมความพรอมในการปรับตัว เขาสูสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งคืบคลานมาอยางเปนรูป ธรรม พรอมกับการเสริมสรางทัศนคติ ในการใชชีวิตเพอสรางสมดุลบน โลกใบนี้ โดยหลักการออกแบบที่จะชวยใหประหยัดพลังงาน เริ่มจาก การ เอาใจใสกับธรรมชาติในพื้นที่กอนคะ เริม่ ตัง้ แตการเคารพธรรมชาติหรือการคํานึงถึงธรรมชาติรอบขาง ไมวาจะเปน ตนไม ใหญ ในพื้นที่เพอชวยใหเกิดความรมรนแกตัวอาคาร เนินดิน ทางน้ํา ความสูงต่ําของพื้นที่ รวมถึงการดูทิศทางลมทิศทางแดด โดยการออกแบบจะใชพลังจากธรรมชาติมาชวยใหมากที่สุดเพราะ ธรรมชาติเปนสิ่งมหัศจรรยมากคะ เชน ตัวอาคารสํานักงานแหงนี้จะ ออกแบบใหแสงเขาทางกระจกสามารถชวยลดในการใชพลังงานไฟฟา การออกแบบใหมีชองระบายลมรอนออกดานบนชวยใหอาคารมีความเย็น ไมใหตัวอาคารสัมผัสกับความรอนโดยตรงซึ่งชวยใหความรอนเขามาถึง ภายในอาคาร
ในสวนของหลังคานั้นไดติดตั้งระบบโซลารเซลล ขนาดประมาณ 13 กิโลวัตต ผลิตไฟไดในตัว หลังคาแบบนี้ ไมใชแบบที่เอาแผนไปวางแปะบน หลังคาอีกทีนะคะ คือสามารถใชแทนหลังคาไดเลย เรียกวา Real Building Integrated Photovoltaic (BIPV) เรียกไดวาเปนหลังคาแรกในเมืองไทย ที่ติดตั้งหลังคาแบบนี้ ซึ่งสามารถประหยัดคาไฟไดมากพอสมควรหรือแทบ จะเปนศูนยหากไมมีงานกอสรางและการอบรมระยะยาวๆ สวนสระวายน้ําที่ นีย่ งั ไดออกแบบใหเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมโดยใชธรรมชาติตน ไมหลากหลาย ชนิดมาชวยบําบัดรวมกับการใชเครองโอโซน และยูวี ไมใชสารเคมีใดๆ เพอการออกแบบใหสามารถลดการใชพลังงานไดอยางสูงสุดและมี ประสิทธิภาพศูนยการเรียนรูแหงนี้ยังไดเลือกใชวัสดุที่พลังงานต่ําตั้งแต ตนทาง (Low embedded energy) โดยเลือกของที่อยูใกลทองถิ่นกอน เชน หินทราย หินแกรนิต มาใชในการทําอาคาร ตกแตง เลือกใชอฐิ บล็อก ประสานที่ทําในพื้นที่และมีความแข็งแรง บล็อกประสานนั้นเปนอิฐที่มีสวน ผสมของดินเยอะไมตองเผาไฟแบบอิฐมอญจึงเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มากกวาอิฐมอญและยังชวยใหผนังเกิดความเย็นสบาย นอกจากนี้ผนังยัง ไดใชเทคนิคดินอัด (Rammed Earth) ซึ่งเปนเทคนิคที่ ใชกันมาเปนรอยๆ ป ในแถบธิเบต ภูฏาน เพิ่มความแข็งแรงใหกับตัวอาคารอีกดวยคะ
January 2012 l 45
Energy#38_p44-45_Pro3.indd 45
12/21/11 1:03 AM
Residential โดย : สรรชณิฏฐ
Natural Boutique Resort ระยะเวลา 365 วันดูจากตัวเลขแลวก็เปนระยะเวลาที่ยาวนานพอ สมควรแตกลับมีความรูส กึ ทุกครัง้ เมอสิน้ ปวา เวลาผานพนไปอยางรวดเร็ว “นี่ แ หละที่ เ ขาบอกว า เวลาไม ค อยใคร” ดั ง นั้ น ถ า ใครมี แ ผนงานหรื อ มี โครงการจะทําอะไรก็ ใหรีบทํานะคะเพราะเวลาไมคอยใคร และนี่ก็ถึงเวลา บอกลาปกระตาย (2554) ตอนรับปงูใหญ (2555) อาจจะเปนปแหงความ สุขเหมือตัวเลข พ.ศ. ใครจะไปรู และในชวงเทศกาลปใหมนี้หลายคนคงเดิน
ทางไปตางจังหวัด หรือไมก็เดินทางไปเที่ยวรับลมหนาวทางภาคเหนือ และ ภาคอีสานกัน เพอไปรับพลังงานธรรมชาติแลวสรางความผอนคลายให กับตนเอง หลังจากที่ตองเหน็ดเหนอยจากการทํางานและเหน็ดเหนอยจาก วิกฤตน้ําทวมครั้งใหญ เพอเปนการตอนรับปใหมสง ทายปเกาคอลัมน Residential เลมเดือน มกราคมนี้แวะเวียนไปสัมผัสธรรมชาติอันรมรนและรับไอหนาวกันที่รีสอรท แนว Natural Boutique Resort ซึ่งเปนรีสอรทที่ ใสใจเรองการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอม ณ สุกันทรา แคสเคด รีสอรทแอนดสปา ที่อยูภายใตบรรยากาศปาไมริมธารน้ําตกตาดหมอกของอําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม โดยตั้งอยูหางจากตัวเมืองเชียงใหม ประมาณ 30 นาที และ จาก สนามบินเชียงใหม 45 นาที เมอขับรถมาตามถนนสาย แมริม-สะเมิง เลี้ยว
46 l January 2012
Energy#38_p46-47_Pro3.indd 46
17/12/2011 15:58
เลาะตามป้ า ยบอกทางไปเรื่ อ ยๆ ประมาณ 8 กม. จากปากทางเขา น้ําตกตาดหมอก ก็จะถึงจุดหมาย ซึ่ ง ที่ สุ กั น ทรา แคสเคด รีสอรทนั้นมีหองพักไวบริการนัก ทองเที่ยวกวา 16 หอง สวนบาน พั ก ของรี ส อร ท นั้ น ถู ก จั ด วางไว อยางกลมกลืนบนฝงของลําธาร และน้ําตกธรรมชาติ ชวยใหผูที่มา พั ก ผ อ นได เ คลิ บ เคลิ้ ม กั บ เสี ย ง น้ําตกกลอมความรูสึกใหเกิดความ ผอนคลาย เรียกไดวาเปนจุดรวม ของความประทับใจของผูมาเยือน ซึ่ ง สวยงามติ ด อั น ดั บ หนึ่ ง ใน 5 ของโลก ในระดั บ Luxury Eco Hotel และยัง ไดรับการคัดเลือกใหเปนหนึ่งใน “Best Paradise Resort inThailand” ของ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ภายใตความสุนทรียที่โอบลอมดวยธรรมชาติแหงนี้ยังโดดเดนดวย ความเปนเอกลักษณวัฒนธรรมลานนาทําใหหองดูโปรงโลงหลังคาสูง อากาศถายเทไดสะดวกเหมาะสมกับอากาศบนเขาซึ่งชวยใหลดการใช พลังงานจากเครองปรับอากาศไดเปนอยางดี ที่สําคัญ สุกันทรา แคสเคด รีสอรทฯ ยังไดตระหนักถึงการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอีกดวยอันเปนปจจัยสําคัญของการทํา รีสอรทในปจจุบัน โดยที่นี่มีนโยบายดานการอนุรักษพลังงานมากมายไมวา จะติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตยสําหรับผลิตน้ํารอนใชในรีสอรท และ เพอเปนการรักษาสิ่งแวดลอมที่นี่เขามีนโยบายใหพนักงานทําความสะอาด ใชสารจุลินทรียในการทําความสะอาด สวนสระวายน้ําเปนระบบเกลือโดย ไมใชคลอรีนซึ่งจะไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม นอกจากนี้แลวที่นี่เขายัง มีนโยบายสนับสนุนพนักงานใหมีสวนรวมกับกิจกรรมอนุรักษสิ่งแวดลอม ของชุมชน เชน การเขารับการอบรมและเปนสมาชิกอาสาปองกันไฟปา ดิน ถลมของกรมปาไม สนับสนุนกําลังทรัพยและบุคคลากรเพอพัฒนาระบบ ขยะของชุมชน รวมถึงใหพนักงานตอนรับหรือพนักงานบริการภายใน รีสอรทใชการเดินเทาทั้งหมดในการใหบริการแขกผูมาพักเพอเปนการ ประหยัดพลังงานในการใชไฟฟา
และจากนโยบายดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมของ สุกัน ทรา แคสเคดฯ นั้นชวยใหสามารถลดการใชพลังงานลงไดเปนอยางดีคะ สําหรับผูมาเยือนนอกจากไดสัมผัสกับธรรมชาติที่โอบลอมรอบ รีสอรทแลวที่นี่เขายังมีบริการพาลูกคาเดินปาชมน้ําตกอุทยานแหงชาติ ตาดหมอก และเยี่ยมชมหมูบานกะเหรี่ยงที่อยูไมไกลจากรีสอรทมากนัก พรอมดวยกิจกรรมอนุรักษโลกรอนเปนทางเลือกสําหรับผูเขาพัก โดยมี บริการนําผูเขาพักเดินปาเขาไปปลูกพันธุไมพื้นเมืองในปา หรือไมหากชน ชอบการปน จักรยานทีน่ ีเ่ ขามีจกั รยานเสือ้ ภูเขาใหไดปน ในเสนทางธรรมชาติ อีกดวย ความสงบรมรนของ สุกนั ทรา แคสเคด รีสอรท ทีท่ อดตัวอยูร มิ สาย ธารน้าํ ตกไหลเย็นและธรรมชาติของปาไม เสียงน้าํ ตก เสียงนกรอง นัน้ ชวย ใหปลดปลอยความเหนอยลา แลวรูสึกผอนคลายไดอยางนาอัศจรรย สําหรับผูสนใจสามารถมาสัมผัสบรรยากาศอันรมรนและไอหนาว ณ สุกันทรา แคสเคด รีสอรทแอนดสปา ไดทุกชวงเวลา ทุกชวงเดือนคะ สวนเลมหนาหวยจะไปออกที่ภาคไหนคอยติดตามกันนะคะ....
January 2012 l 47
Energy#38_p46-47_Pro3.indd 47
12/21/11 1:01 AM
Green4U
โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
เขาสูป 2555 กันดวยสินคาเพื่อสิ่งแวดลอมกันอีกเหมือนเคย ที่แมเมื่อสิ้นปจะโดนอุทกภัยครั้ง ใหญจนทําใหตลาดกรีนโปรดักสเงียบเหงาไปบาง แตก็เชื่อเหลือเกินวาในปนี้คงไดฤกษปลอยสินคา ใหมๆ ออกสูตลาดกันอีกหลายแบรนด โดยเฉพาะกลุมบริษัทชั้นนําที่คงไมยอมนอยหนาพากันเปดตัว เทคโนโลยีสีเขียวออกมาใหพวกเราไดเลือกซื้อกันแนๆ
ตูเ ย็นประตูเดียวเพื่อสิ่งแวดลอม
“ทวิสต” (TWIST)
บริษัท โตชิบา ไทยแลนด จํากัด เปดตัว ตูเย็นประตูเดียวรุนใหม จากโตชิบารุน “ทวิสต” (TWIST) ไดรับแรงบันดาลใจในการออกแบบจาก การดี ไ ซน ที่ บิ ด หนี ไ ปจากตั ว เอง โดยพั ฒ นาดี ไ ซน ใ ห ห รู ห รา และเพิ่ ม นวัตกรรมใหม ผานตูเย็นที่มีสีสันใหเลือกตามไลฟสไตลถึง 7 สี ไดแก ช็อก โกแลตชิค, ขาวประกาย, ดํา เมทั ล ลิ ค , เงิ น ดํ า , ชมพู , เ ขี ย ว ม ะ น า ว แ ล ะ ฟ า แคริบเบียน มีตั้งแตขนาด 5.5 คิว 6.2 คิว และ 6.6 คิว นับไดวาเปนครัง้ แรก ของตูเ ย็นหนึง่ ประตูที่ ไดเพิม่ นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม และการประหยัด พลังงานเขาไป ดวยดิจิตอล แทป ทีมีถึง 4 ฟงกชั่น
1) นาฬิกาบอกเวลาหนาจอดิจติ อลขนาดกวาง 2) ระบบตัง้ เวลาอัจฉริยะ3) ตั้งเวลาสงสัญญาณเตือนเมื่อปดประตูไมสนิท 4) ระบบตั้งเวลาระยะสั้น เพื่อใหการทําอาหารเปนเรื่องงาย นอกจากไฮไลตขางตน เรายังใสใจในทุก รายละเอียด โดยออกแบบใหสามารถใชประโยชนเต็มทุกพื้นที่ ดวยพื้นที่วาง ของดานบน ปูดวยพื้นผิวปองกันการลื่นหลนรับน้ําหนักไดถึง 30 กิโลกรัม พรอมขาตั้งที่ออกแบบเพื่อ โตชิบา ทวิสต โดยเฉพาะ และนวัตกรรมการ ออกแบบดวยการเพิ่มฉนวนอุณหภูมิใหกับประตูตู และขอบยางแมเหล็กที่ สามารถถอดและประกอบงายโดยไมตองใชเครื่องมือ เพื่อการทําความ สะอาดและบํารุงรักษาสวนฟงชั่นการใชงานอื่นๆ โตชิ บ า ทวิ ส ต ยังคงความสดใหมของ อาหารดวยระบบควบคุม ความเย็นซูปเปอร ไดเรค คูล (Super Direct Cool) ขยายชอง Chiller ใหจุ ของได ม ากขึ้ น พร อ ม เพิ่ ม พื้ น ที่ ค วามเย็ น ใน ชองแชแข็ง ดวยพื้นที่การใชงานที่มากขึ้น เห็นไดวานวัตกรรมการ ออกแบบและนวัตกรรมความเย็น ที่เรานํามาใสไวในโตชิบา ทวิสต จะ ชวยเพิ่มอายุการใชงานของตูเย็น พรอมทั้งรักษาสิ่งแวดลอม และ มั่นใจด วยระบบการผลิตที่ ไร สารพิ ษที่เป นอันตรายตอตัวคุณและ สิ่งแวดลอม (NON-CFC)
Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U
48 l January 2012
Energy#38_p48,50_Pro3.indd 48
12/27/11 1:04 AM
Energy#38_Asia Amro_Pro3.ai
1
12/21/11
2:05 AM
หลอดไฟ SmartEco เพิ่มประสิทธิภาพการ ทํางานของโปรเจคเตอร
เปนครัง้ แรกของแบรนด DLP(R) ทีร่ วมเทคโนโลยี ImageCare ของ Philips กับระบบการทํางานของหลอดไฟโปรเจ็กเตอร, BenQ ไดพัฒนา เทคโนโลยี SmartEco เพื่อใหการทํางานของโปรเจคเตอรมีประสิทธิภาพดี ยิ่ ง ขึ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถประหยั ด พลั ง งานได ม ากขึ้ น ด ว ย เทคโนโลยี SmartEco เปนนวัตกรรมใหมที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการฉายภาพของ โปรเจคเตอรและยังลดตนทุนคาบํารุงรักษาของโปรเจคเตอร เทคโนโลยี SmartEco ชวยประหยัดพลังงานและเพิ่มอายุการใชงาน ของหลอดไฟโปรเจคเตอรโดยการปรับสมดุลการทํางานของหลอดไฟให สอดคลองกับลักษณะเนือ้ หาทีถ่ กู ฉาย ซึง่ การทํางานของเทคโนโลยี SmartEco นี้จะไมสงผลใหคุณภาพของภาพที่ถูกฉายลดลง ความกาวหนาทางเทคโนโลยี SmartEco อยูท ีป่ ระสิทธิภาพของระบบ หลอดไฟที่สามารถที่จะปรับตั้งคาความสวางได โดยเทคโนโลยี SmartEco นี้จะมีโซลูชั่นซอฟตแวรที่ทําใหโปรเจ็กเตอรรักษาสเปกตรัมสีที่เหมาะสมอยู ตลอดและยังใหอัตราความคมชัดที่ดีขึ้น ซึ่งผลลัพธที่ ไดนี้คือโปรเจคเตอร จะไมใหแสงเกินกวาความจําเปน เชน เมื่อโปรเจคเตอรฉายเนื้อหาที่ประกอบ ดวยสีที่มีความมืดสูงหลอดไฟก็จะปรับความสวางใหเหมาะสมกับเนื้อหาที่ ฉายแตจะไมสงผลตอความสวางของภาพที่มองเห็นสําหรับผูชม ซึ่ง
ป ร ะ โ ย ช น ที่ ผู ใ ช ง า น จ ะ ไ ด จ า ก โปรเจคเตอรที่มีเทคโนโลยี SmartEco ก็ คื อ การลดการใช พ ลั ง งานของ โปรเจคเตอร ลงอี กทั้ งยั งช วยยืดอายุ การใชงานของหลอดไฟใหมีชั่วโมงการ ใชงานมากขึ้นอีกดวย “SmartEco เปนการพัฒนากาว สําคัญของเทคโนโลยีโปรเจคเตอร ซึ่ง เทคโนโลยี นี้ จ ะช ว ยให โ ปรเจคเตอร ประหยัดพลังงานไดสูงสุดถึง 70% โดย ไมทาํ ใหคณ ุ ภาพของภาพทีถ่ กู ฉายลดลง แตอยางใด ซึ่งเทคโนโลยีนี้มีประโยชนสําหรับผูใชงานอยางมาก โดยเฉพาะ อยางยิง่ ผูท ี่ใชงานในภาคการศึกษาและองคกรตางๆ นอกจากนี้ SmartEco ยังเปนเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นภายใตแนวคิด Green Development ซึ่งจะ ทําใหการใชงานโปรเจคเตอรเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้นอีกทั้งยังลด ภาระคาใชจายในการบํารุงรักษาลงโดยการยืดอายุการใชงานของหลอด ไฟมากขึ้น
“SANSIRI DESIGN SOLUTION” นวัตกรรมการออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม ใครวา “สุนทรียภาพ ในการออกแบบ” มั ก จะ เดินทางใครทางมันกับเรื่อง ของ “การประหยัด” เชื่อ หรือไม หากเราคิดใหมาก ขึ้น เลือกสรรใหมากขึ้น และ ใส ใจในรายละเอียดใหมาก ขึ้น มันจะเปนตัวนําทางให สุนทรียและความประหยัด มาเจอกัน แนวคิ ด ในการออก แบบบานใหเหมาะสมกับสภาพสังคมในปจจุบัน ไดเริ่มตนแลวที่ แสนสิริ โดย ทีม “แสนสิริ ดี ไซน โซลูชั่น (SANSIRI DESIGN SOLUTION)” หรือแผนกนวัตกรรมผลิตภัณฑใหม ที่ที่รวมเอา “นักคิดนอกกรอบ” มาเพื่อภาระกิจในการออกแบบบานภายใต Sustainable Living เพื่อการ อยูอาศัยอยางยั่งยืน
ปจจุบนั แสนสิริ ไดใหความสําคัญและเริม่ นําวัสดุอปุ กรณทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมเขามาใชในโครงการ อาทิการประหยัดพลังงาน ผานการ เลือกใชหลอดไป BioBlub ที่สามารถขจัดกลิ่น ควัน และแบคทีเรีย ที่สําคัญ ยังชวยประหยัดพลังงานไมมากถึง 80% เมื่อเทียบกับหลอดไฟทัว่ ไป การนํา ระบบ Photo Sensor เขามาใชเพื่อลดการสูญเสียการใชพลังงานโดยไม จําเปน เพราะระบบดังกลาวจะชวยปดและเปดไปแบบอัตโนมัติ แถมยังเก็บ พลังงานจากแสงอาทิตย เพื่อเอาไวใชในตอนกลางคืนดวย ดานการลด การใชวัสดุธรรมชาตินั้น ก็เปนอีกเรื่องที่ถูกใหความสําคัญ อาทิ การเลือก ใชไมลามิเนต ซึง่ ไดมาจากปาปลูกทดแทน ลดการตัดไมในปาธรรมชาติ และ ความรวมมือกับ Cotto ในการสรางสรรคสุขภัณฑ ที่ประหยัดน้ําไดสูงถึง 3 ลิตรตอวัน หรือ 500,000 ลิตรตอป สิ่งเหลานี้ คือความพยายามอยาง เปนรูปธรรมที่เกิดจากสํานึกรับผิดชอบของผูประกอบการ อยูสบายในสไตลเกๆ แถมยังเปนเพื่อนซี้กับธรรมชาติอีกตางหาก นาจะเปนอีกหนึ่งไอเดียใหผูประกอบการรายอื่น เริ่มหันมาผลักดันแนวคือ Sustainable Living เพื่อการอยูอาศัยแบบยั่งยืนอยางเปนรูปธรรม
Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U
50 l January 2012
Energy#38_p48,50_Pro3.indd 50
12/27/11 1:04 AM
Take a Break
11 สิ่งประดิษฐสุดล้ํา
ที่ ไมควรคิดขึ้น จริงหรือ??
Januuary 2012 l 51
Energy#38_p51-53_Pro3.indd 51
12/26/11 5:06 PM
เคยดูหนัง SCI-FI กันใชไหม? ที่หนังมีเทคโนโลยีสิ่งประดิษฐล้ํายุค มากมาย ที่เราคิดวาหากสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นจริงเราคงมีชีวิตสงบสุขและ เรียบงาย ซึ่งขาวดี คือ สิ่งเหลานี้มีโอกาสเกิดขึ้นจริงในอนาคตอันใกลนี้ หากกระนั้ น ก็ มี ห ลายฝ า ยบอกว า สิ่ ง เหล า นี้ ไม ส มควรเกิ ด ขึ้ น บนโลก แห ง ความจริ ง เพราะมั น จะเกิ ด ป ญ หามากกว า ข อ ดี และต อ ไปนี้ คื อ 11 อันดับสิ่งประดิษฐที่มีในหนัง SCI-FI บอยๆ ที่เหมือนจะดูดี แตความจริง แลวมันเต็มไปดวยปญหา
เริม่ จาก อันดับที่ 11 Flying Cars
รถบิ น ยั ง คงเป น พาหนะในฝ น ของมนุ ษ ย ที่อยากจะไดเปนเจาของ บางในอนาคต เพื่อหลีกเลีย่ ง ก า ร จ ร า จ ร ที่ ติ ด ขั ด คุ ณ ลองคิ ด ดู สิ ถ า คุ ณ สามารถนั่งรถที่ดูเหมือนเครื่องบินสามารถพาคุณไปจุดมุงหมายในระยะ อันใกลไดโดยการขึ้นบนฟา ทองอวกาศดวยไมงอนาซา มันจะดีแคไหน? ในโลกแหงความจริง มีผูพยายามทํารถยนตบินหลายเจา ลาสุด บริ ษั ท มอลเลอร อิ น เตอร เ นชั น แนล ตั้ ง อยู ที่ รั ฐ แคลิ ฟ อร เ นี ย สหรัฐอเมริกา พัฒนารถ “เดอะ มอลเลอร เอ็ม 400 สกายคาร” ขึ้นมา บินไดดวยความเร็ว 360 ไมลตอชั่วโมง ถาเดินทางจากกรุงลอนดอนไปยัง ปารีส จะใชเวลาเพียง 35 นาทีเทานัน้ โดยผูผ ลิตบอกวารถคันนีข้ บั งายมาก ผูที่ขับรถอยูแลว ก็สามารถนํามันขึ้นบินได แคตั้งทิศทางของจุดหมายที่จะ ไปพรอมกับควบคุมความเร็วของรถ ซึ่งผูผลิตคาดวารถตนแบบ “เดอะ มอลเลอร เอ็ม 400 สกายคาร” จะพัฒนาเสร็จภายใน 3 ปขางหนา พรอมกับจะขออนุญาตจากสํานักงานการบินสหพันธ หรือ เอฟเอเอ ยอดจองรถที่เขามานั้นมีประมาณ 100 คันแลว คาดวาราคาจะอยูที่ 5 แสนเหรียญ หรือ 17.5 ลานบาท
เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด
ก็ขนาดการจราจรบนพื้นดินยังวาจัดการยากแลว แลวการจราจร บนทองฟามันจะยุงยากขนาดไหน ในเมื่อไมมีสัญญาณไฟเขียวไฟแดง ไมมี เสนทางบังคับ มีหรือที่จะไมเกิดอุบัติเหตุกลางอากาศ หากเราดูสารคดี คมนาคมอากาศเครื่องบินเราจะรูซึ้งถึงความยุงยากอยางไมนาเชื่อ เมื่อบน ทองฟามันอันตรายกวาบนบกอยางที่ ไมเคยคิด ไมวาจะเปนหลุมอากาศ สภาพอากาศแปรปรวน นกบิน ฯลฯ คงยุง ยากพิลกึ ในการจัดการเสนทาง การเดินทางของรถแตละคันไดอยางครบถวน
อันดับ 10. Cryogenic freezing
เขียนไปนานแลวแตก็อยากจะเขียนอีก การแชแข็งยังเปนเทคโนโลยี Cryonics ในฝนสําหรับคนที่เปนโรครายที่รักษาไมหาย แตเขาก็มีโอกาสเปน ผู โชคดี ในการเขาร วมโครงการแช แข็ งในอุณหภูมิที่ต่ํ ากว าศู นย องศา เพื่อรักษาสภาพรางกายเอาไว (และเขาอางวาสามารถรักษาความทรงจํา
และบุ ค ลิ ก ภาพในสมองไว ไ ด ดวย) และเก็บรักษาไปเรื่อยๆ ดวยความหวังที่จะรักษาโรคใน อนาคตทีท่ างการแพทยกา วหนา เทคโนโลยีนี้มีอยูจริงใน หน่ ว ยงานชื่ อ Alcor Life Extension Foundation หนวยงานนี้เปนองคกรที่ ไมได แสวงหากําไร และมีเปาหมาย อยูกับการเก็บอวัยวะบางสวน (ศี ร ษะ) ไว ใ นภาชนะที่ ล ด อุณหภูมิมากๆ บริการนี้มีไว สํ า หรั บ ผู เ ป น สมาชิ ก เท า นั้ น สวนเหตุผลของการเก็บรักษาศีรษะของผูตายไว เพราะปจจุบันเครื่องมือ ที่นี่ ยังไมสามารถเก็บรักษารางกายทั้งรางของมนุษยไวไดดีพอ เนื่องจาก รางกายของเรามีความหนาแนนของอวัยวะแตละสวนไมเหมือนกัน อุณหภูมิ ที่จะเก็บรักษาจึงแตกตางกันมากดวย สมองจึงเปนอวัยวะที่สําคัญที่สุด ของคนๆ หนึ่ง ที่ควรเก็บรักษาไว เพี่อรอคอยเทคโนโลยีในอนาคต ที่จะ สามารถทําใหฟนคืนชีพขึ้นมาใหม
เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด
มันยังมีขอถกเถียงกันอยูหลายๆ เรื่อง เชนเทคโนโลยีนั้นไมสามารถ อธิบายได 100% วามันสามารถทําไดหรือไม สามารถปลุกคนที่แชแข็งมา ไดหรือเปลา แมจะมีหลักฐานทางวิทยาศาสตรที่ใชทดลองกับสิ่งมีชีวิตที่ ไม ใชคน เชน ทดลองในกบ สุนัข นอกจากนี้ยังมีปญหาเรื่องกฎหมายที่ยัง ถกเถียงหลายรอบวา ถาเกิดคนที่ตายแลวทางกฎหมายคืนชีพในอนาคต และสถานะบุคคลจะเปนเชนไร
อันดับ 9. Artificial Intelligence
ป ญ ญาประดิ ษ ฐ ก็ยังเปนความฝนของคน ธรรมดาและชาวโอตากุ (กลุมบุคคลผูซึ่งลุมหลง ในโลกแหงการตูน) อยาง เราๆ ที่อยากเห็นหุนยนตฉลาดเทามนุษยและรับใชเราเหมือนทาสผูซื่อสัตย โดยไมปริปากบนในภาพยนตรและนิยายที่เต็มไปดวยหุนยนตไซไฟ คอนขาง แสดงออกอยางนารื่นรมยเสียจริง ปจจุบนั ปญญาประดิษฐเปนสิง่ ไมไกลเกินเอือ้ ม เพราะมีการพัฒนาอยู ตลอดเวลา ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) หรือ เอไอ (AI) หมายถึง ความฉลาดเทียมที่สรางขึ้นใหกับสิ่งที่ ไมมีชีวิต ปญญาประดิษฐเปนสาขา หนึ่งในดานวิทยาการคอมพิวเตอร และวิศวกรรมเปนหลัก แตยังรวมถึง ศาสตรในดานอื่นๆ อยางจิตวิทยา ปรัชญา หรือชีววิทยา ซึ่งสาขาปญญา
52 l January 2012
Energy#38_p51-53_Pro3.indd 52
12/26/11 5:06 PM
ประดิษฐเปนการเรียนรูเ กีย่ วกับกระบวนการการคิด การกระทํา การใหเหตุผล การปรับตัว หรือการอนุมาน และการทํางานของสมองของเครื่องจักร
เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด
สิง่ ทีถ่ กเถียงคือ เราสมควรพัฒนาปญญาประดิษฐโดยใชอารมณหรือ ความรูสึกของมนุษยหรือไม หากทําแลวจะสงผลใหหุนยนตเกิดความคิดที่ จะเปนศัตรูกับมนุษยหรือเปลา ปจจุบันนักวิทยาศาสตรก็ยังพยายามศึกษา และพัฒนาหุนยนตกันอยางไมหยุดยั้ง เปนผลใหหุนยนตมีการพัฒนาที่ดี ขึน้ เปนลําดับ และในอนาคต หากวันใดวันหนึง่ มนุษยสามารถพัฒนาหุน ยนต ใหมีความสามารถเทียบเทามนุษยไดละก็จะเกิดปญหาเกิดขึ้นแนนอน และที่ น า วิ ต ก คื อ มนุ ษ ย ไ ด พั ฒ นาอาวุ ธ ในการสงครามที่ มี ประสิทธิภาพสูงมาก ซึง่ อาวุธเหลานีเ้ ปนสวนประกอบของหุน ยนตเชนกัน… และถาวันใดวันหนึ่งมันมีความคิดที่จะตอบสนองดวยตนเอง แนนอนอะไร มันจะเกิดขึ้น คงไมตองอธิบายยาวแลวละ
อันดับ 8. Prediction of the future
เป น การดี ห รื อ ไม หากเรารู้ อ นาคตเพื่ อ ป อ งกั น ภั ย พิ บั ติ ต า งๆ เพียงแคคณ ุ ดูอยูในหนาจอ คุ ณ ก็ เ ห็ น อ น า ค ต คําทํานายตางๆ ที่เราสามารถปองกันภัยพิบัติตางๆ นานาไดไมวาจะเปน แผนดินไหว, น้ําทวม, การกอการราย โรคระบาด และนี่จะเปนเทคโนโลยีที่ สมบูรณแบบหรือไม? โอกาสที่มีเทคโนโลยีเหลานี้มีสูง เพราะปจจุบันเรามี เทคโนโลยีนี้อยูแลว ไมวาจะเปนการพยากรณอากาศ, การเกิดสึนามิ และ วงการธุรกิจ ฯลฯ
เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด
สมมุติวาเราดูหนาจอ และสมมุติวาหนาจอบอกวาจีนจะบุกอเมริกา เพื่อปองกันเหตุเกิดขึน้ อเมริกาสัง่ ประชาชนหยุดงานและเริม่ ตนทําสงคราม กับจีน โดยไมใชวิธีการทูต เปดตัวดวยขีปนาวุธตางๆ มันคงสนุกพิลึกละ อีกทั้งเกิดมีการทํานายหวยล็อตเตอรี่, ทํานายดวงซะตา เรื่องวุนวายก็จะ เกิดขึ้นไมรูจบ
อันดับ 7. Teleportation Device
มนุ ษ ย รู จั ก ล อ มา เปนเวลากวา 3,000 ป มี นั ก ประดิ ษ ฐ ม ากมาย สรางเครื่องจักรกลทีต่ ดิ ลอ สามารถเคลื่ อ นย้ า ยคน
จากจุดหนึง่ ไปยังอีกจุดหนึง่ ไดอยางรวดเร็ว เชน รถมา จักรยาน และรถยนต เปนตน ตอมาพัฒนาเปนเครื่องจักรที่ ไมตองใชลอ แตสามารถเคลื่อนที่ ได อยางรวดเร็วกวา เชน เครื่องบินและจรวด อยางไรก็ตามในอนาคตอันใกล การเคลื่อนที่แบบดังที่กลาวไปแลว เปนสิ่งลาสมัย เมื่อมาเทียบกับสิ่งที่จะ เขียนถึงนี้ ยกตัวอยางถาคุณอยูที่บานและตองการไปโลตัส หรือบิ๊กซี บนดวงจันทร เพียงแคเดินเขาไปในหองเล็กๆ ที่สรางหลบมุมไวที่บาน และกดปุม รางกายของคุณจะหายไป และไปปรากฎอยูที่ใหม ดวยความเร็ว ที่เทียบไดกับความเร็วแสง ฝรั่งเรียกวา วิธีเทเลพอเทชั่น (Teleportation) แนวคิด เทเลพอเทชั่นเริ่มตั้งแตป ป ค.ศ. 1966 -69 ปรากฎอยูใน ภาพยนตรวิทยาศาสตรเรื่อง สตารเทรค (Star-Trek) ประพันธ โดย นาย Gene Roddenberr เราจะไดเห็นกัปตัน Kirk ที่เปนพระเอกของเรื่อง เดินเขาไปในหองแกว และ กดปุม เขาจะหายไป และ ปรากฎอยู ณ ดาวแหง หนึ่งที่ ไกลจากเดิมนับพันปแสง จากนั้นเปนตนมาก็มีนักวิทยาศาสตร หลายคนพยายามที่จะคนหา ในป 1993 แนวคิดของเทเลพอเทชั่น เขาใกลความเปนจริงยิ่งขึ้น เมื่อนักฟสิกส คือ นาย Charles Bennett แถลงขาวพรอมกับทีมงานวิจัย ของ ไอบีเอ็ม ยืนยันวา ควอนตัมเทเลพอเทชั่น (Quantum Teleportation) กําลังเปนจริงโดยพวกเขาทดลองเคลื่อนยายโฟตอนสําเร็จ หลักการทํางาน คือ คลายๆ กับเครื่องสงแฟกซ มีหนาทีท่ าํ ใหมวลทีจ่ ดุ เริม่ ตนแตกสลายกลาย เปนอะตอมและพลังงาน โดยเก็บขอมูลทุกๆ ตําแหนงของอะตอม และสงผาน ทางสายไฟ สายไฟเบอรออฟติก หรือไมตอ งใชสาย เปนตน เมื่อถึงตําแหนง ที่ตองการ อะตอมก็จะจัดเรียงและกอตัวขึ้น เหมือนกับตนทางทุกประการ แมจะติดที่กฎพื้นฐานของฟสิกส แตกระนั้น นักวิทยาศาสตรก็ยังเชื่อวา สักวันหนึง่ เราจะสามารถเคลื่อนยายมนุษยโดยวิธเี ทเลพอเทชัน่ ได หากความ ฝนนีเ้ ปนจริงเราก็สามารถเดินทางไปทัว่ โลกภายในหนึง่ วันไดโดยไมงอ เครื่องบิน เราสามารถไปช็อปปง ทีอ่ ยี ปิ ต กินอาหารทีอ่ ติ าลี เขาหองน้าํ ทีจ่ นี และไปรอง คาราโอเกะที่ญี่ปุนไดอยางสบายใจเลยละ
เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด
มันคงเปนสวรรคและสนุกพิลึก และเมื่อผูกอการรายสามารถใช เทคโนโลยีนี้สรางความวุนวายแกทั่วโลกในเวลาแคหนึ่งวัน และเทคโลยีนี้ ใชวาจะดีเสมอไป เมื่อคิดถึงความปลอดภัยที่จะเกิดขึ้น เมื่ออะตอมจัดเรียง ผิดพลาด คุณเคยทําสําเนาเองหรือไม คุณคงรูดีวาบางครั้งสําเนาก็มี ขอผิดพลาด เชน กระดาษติด กระดาษดํา กระดาษยับ ตัวอักษรซอน แล้วเครื่องเทเลฯ มีหรือจะไม่ผิดพลาดเหมือนเครื่องถ่ายเอกสารบ้าง ผมของคุณ เล็บมือ หัวใจ ฯลฯ คุณแนใจหรือวามันจะไมเปลี่ยนแปลงหลัง คุณใชเครื่องนี้ … ความอัจฉริยะ และวิทยาการล้ําลึก มันแฝงมากับความนากลัวที่ เราอาจไมคาดคิดจริง ๆ แหม ! เนื้อที่หมดเสียกอน ในฉบับหนาเราจะมา ลุนกันตอวา อีก 5 อันดับที่เหลือจะเปนอะไร!! ที่มา : จัดอันดับโดย http://listverse.com/2008/01/16/top-10-sci-fiinventions-that-should-not-be-invented/ ขอมูล แปลจากวีกพี ีเดีย : http://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic. php?p=34449 Credit : cammy Januuary 2012 l 53
Energy#38_p51-53_Pro3.indd 53
12/27/11 12:30 AM
Greenovation โดย : SuKiYaKi
Plant Growing Book หนังสือถือวาเปนสิ่งที่อยูในความสนใจของผูคนเสมอ ไมวาจะเปนการถายทอดผานตัวอักษร หรือ รูปภาพ ซึ่งจินตนาการเปนผลิตผลที่ออกมาจากหนังสือนั่นเอง เพอเปนการไมทําลายความประทับใจดั้งเดิมนี้ นักออกแบบที่ชอวา Eric Zhang ไดใสบางอยางไวใน การออกแบบหนังสือที่เปนโคลงกวีรอยแกว โดยหนังสือเลมนี้มีชอวา “book on life” ซึ่งมันสามารถปลูก อะไรก็ ไดตามที่ชอบไวทางดานซายของหนังสือ และแนนอนวาเราควรจะดูแลมันและเฝาดูมันเจริญเติบโต ซึ่งใน ระหวางขั้นตอนนี้ผูอานไมเพียงแตเรียนความหมายของชีวิตแตสามารถสรางสรรคชีวิตไดดวยตัวของผูอาน เองอีกดวย นอกจากนี้ยังมีไฟ LED 8 หลอดเล็กๆ ถูกติดอยูดานลางของพืช ซึ่งในตอนกลางคืนหนังสือก็จะ กลายมาเปนไฟโคมดวยเอกลักษณเฉพาะที่สะทอนออกมาจากใบ
SunFlower - Solar Power Station Sunflower ที่ถูกออกแบบโดย Ricardo Baiao เปน อุปกรณที่ทําการแปลงพลังงานแสงอาทิตยใหเปนพลังงาน ไฟฟ้ า เพื่ อ เป็ น อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ กของบ้ า นและที่ ทํ า งานที่ ใ ช้ พลังงานแสงอาทิตยในการผลิตกระแสไฟฟาผาน 3 โครงสราง ของเตารับมาตรฐาน และนอกจากนี้ยังเปนการเชอมโยงกับ ระบบเครองเลน MP3 หรือเครองเลนซีดีเพอเปนลําโพงไดอีก ดวย เรียกไดวาเปนดนตรีพลังแสงอาทิตยที่เปลี่ยนพื้นที่ใชสอย ทั่วไปใหกลายเปนความสนุกสนานและยังชวยในเรอ’ของสภาพ แวดลอมที่ยั่งยืนอีกดวย โดยแผงเซลลแสงอาทิตยนี้ ไดรับพลังงานในตอนกลาง วันและเปนการชารจแบตเตอรี่ ไปดวยในตัวเพอใหนําไปใชงาน ตอนกลางคืนได
Silent Energy
Silent Energy เปนแนวคิดการจัดนิทรรศการที่มีแนวคิดใน เรานั้นกลายเปนคนที่ตระหนักถึงการใชพลังงาน ซึ่งปริมาณพลังงาน ที่พวกเราใชในแตละวันนั้นมีผลกระทบโดยตรงตอการบริโภคทั้งหมดอีก ดวย โดยพวกเรามักคิดวาเปนพลังงานที่มองไมเห็นเสมอ ดังนั้นถาเรา ไดเห็นพลังงานที่ถูกซอนอยูอยางชัดเจนจนมองเห็นได นั่นอาจจะทําให เราเริ่มตระหนักเกี่ยวกับการเปด-ปดไฟ และเครองใชไฟฟาอนๆ ซึ่ง ความตระหนักวาพลังงานเปนเครองมือที่สําคัญสําหรับพวกเรามากแคไหน ก็จะทําใหพวกเราเรียนรูที่จะ เริ่มประหยัดพลังงานและใชมันอยางมีคุณคานั่นเอง แนวคิดนี้ถูกออกแบบโดย Jannis Huelsen
54 l January 2012
Energy#38_p54,56_Pro3.indd 54
12/23/11 8:48 PM
Energy#38_p23_Pro3.ai
1
12/21/11
1:44 AM
Create Energy Stepping อุปกรณเล็กๆ ทีเ่ ต็มไปดวยจินตนาการนีม้ ชี อวา “Slide” เราสามารถผลิตพลังงานไดดว ยการเดิน ขึน้ และลง โดยการสวมเครองนี้ ไวงา ยๆ ทีม่ อื ในตําแหนงเขียวๆ และกดมันลงไปกับราวบันไดทีเ่ ราเดิน เพียง เทานี้เราก็จะผลิตพลังงานไดแลว! โดยไฟ LED ที่เปน ลักษณะหัวลูกศรตางๆ ในอุปกรณชนิ้ นีก้ เ็ พอทีว่ า เราอาจ จะไดใชมนั ยามไฟดับหรือในสถานการณฉกุ เฉินอนๆ! โดย สิ่งประดิษฐชิ้นนี้ออกแบบโดย ShuoYang, Bolong Huang และ Qiao Yang ซึ่งมันยังไดรับรางวัลชนะเลิศ 2010 LiteOn design award อีกดวย
Ecotypic Bed Lets You Generate Energy In Your Bedroom Ecotypic Bed นี้อธิบายงายๆ วามันเปนเตียงสีเขียวที่ทําไดทุกสิ่งทุกอยาง ไฟ โดยจะมีดานบนจะมีไฟ LED เอาไวใชอานหนังสือ มีลําโพงที่ ใชเปดเสียงเพลงเพอใชปลุกเรายามตนนอน, flower box ที่เอาไวใหเถาวัลยไมเลื้อยนารักๆ ดูเจริญเติบโต และอีกมากมาย! และที่สําคัญมันยังเปน เตียงที่เปนประโยชนตอระบบนิเวศนอีกดวย โดยดานลางเตียงมีแบตเตอรี่สําหรับเก็บพลังงานที่แปลงมาจากพลังงานจลน โดยการออกกําลังกายดวยหวงสําหรับดึงออกกําลังกายดวย แขนนั่นเอง ซึ่งพลังงานที่ ไดก็จะถูกนําไปใชทํากิจกรรมตางๆ ของเราบนเตียงนี้นั่นเอง
Eco Printer concept offers ink that can be erased Eco Printer เครองนี้จะถูกออกแบบมาโดยใชหมึกที่พิเศษโดยเฉพาะซึ่งประกอบไป ดวยวัสดุที่เปน photographic ซึ่งจะหายไปเมอสัมผัสกับรังสี UV นั่นเอง สําหรับ Eco Printer เปนการปฏิวัติแนวคิดหลักการของเครองปริ้นทขึ้นมาใหมซึ่ง จะใชกับหมึกพิเศษโดยเฉพาะ ซึ่งจะชวยใหกระดาษที่ปริ้นทออกมานั้นสามารถลบและนํากลับ มาใชใหมได ซึ่งขอไดเปรียบที่โดดเดนที่สุดของเครองปริ้นทชนิดนี้คือเพิ่มอายุการใชงาน ของกระดาษ การเสียกระดาษจากงานที่พิมพผิด เอกสารที่ ไมสําคัญนัก คําประกอบการ บรรยายชั่วคราวและสําเราที่ ไมไดใชจะมีปริมาณลดลงมาก ซึ่งเครองปริ้นทนี้สามารถปริ้นท ซ้ําไดหลายๆ ครั้ง มันเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากเมอเทียบกับเครองปริ้นทปกติทั่วไป
56 l January 2012
Energy#38_p54,56_Pro3.indd 56
12/23/11 8:48 PM
Green Space
โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
ASEAN Energy Management Scheme (AEMAS)
โครงการฝกอบรมเพื่อเปนผูจัดการพลังงาน มาตรฐานอาเซียน ASEAN Energy Management Scheme (AEMAS) นั้นเปนโครงการริเริ่มสรางสรรค ดานมาตรฐานการจัดการพลังงานของประชาคมอาเซียน โดยไดรับการสนับสนุนอยางเปนทางการจากผูบริหารสูงสุด หนวยงาน ดานพลังงาน รวมถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานของประเทศใน อาเซียน (AMEM) ทั้ง 10 ประเทศดวยกัน โดยมีเปาหมายเพื่อทําใหบริษัท และพนักงานในกลุมประเทศอาเซียน มีการพัฒนาประสิทธิภาพการใช พลังงานอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น และไดรับการยอมรับในความพยายาม ที่ปรากฏเดนชัดไดอยางกวางขวางในระดับสากล และเพื่อเพิ่มมูลคาทาง ธุรกิจตอความพยายามในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพลังงานของ องคกร โครงการมาตรฐานการจัดการพลังงานของอาเซียนนี้ ไดถูกแบง ออกเปน 2 โครงสรางหลักสําคัญดังตอไปนี้ - เสาหลักที่ 1 การฝกอบรมและการใหการรับรองและไดรับ ประกาศนียบัตรสําหรับผูจัดการพลังงาน - เสาหลักที่ 2 การใหการรับรองและไดรับประกาศนียบัตรสําหรับ องคกรผูใชพลังงานที่มีการบริหารจัดการพลังงานในระดับดีเลิศ Energy Management Gold Standard การพลังงานในระดับดีเลิศ Energy Management Gold Standard เขารวมโครงการการจัดการพลังงานอยางยั่งยืนภายใตมาตรฐานแหง อาเซียนกับเราวันนี้ เพื่อที่จะไดเรียนรูและไดรับประโยชนจากโครงการและ
โอกาสพิเศษตางๆ มากมายตอไป เชน เสริมสรางทักษะดานการจัดการ พลังงาน, ทําใหสามารถวางระบบบริหารการจัดการพลังงาน และไดรับ การรับรองภายใตมาตรฐาน ISO50001 และสามารถนําองคกร ไปสู การ บริ ห ารจั ด การพลั ง งานอย า งดี เ ลิ ศ ได ง า ยขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง ได รั บ ประกาศนียบัตรอันเปนที่ยอมรับใน 10 ประเทศของกลุมอาเซียน (บรูไน, กัมพูชา, อินโดนีเซีย, ลาว, มาเลเซีย, พมา, ฟลิปปนส, สิงคโปร, ไทย และ เวียดนาม) เพื่อเพิ่มโอกาสในการทํางานในระดับนานาชาติตอไป โครงการ AEMAS นี้เปดใหมีการอบรมและ รับประกาศนียบัตรสําหรับผูจัดการพลังงาน โดย มีคุณสมบัติดังตอไปนี้ - จบการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือ สูงกวาในสาขาใดก็ ได (มีประสบการณในการ ทํางานอยางนอย 5 ปในโรงงาน หรืออาคารตางๆ หรือ มีประสบการณอยางนอย 2 ปในตําแหนง หัวหนางานหรือผูบริหาร) - จบการศึกษาระดับ ปวส. หรือสูงกวา (มีประสบการณทํางานดานโรงงาน หรืออาคารอยางนอย 7 ป หรือ มี ประสบการณทํางานอยางนอย 4 ปในระดับหัวหนางานหรือผูบริหาร) ผูที่ ไดรับการคัดเลือกในการเขาฝกอบรม จะตองเขารวมฝกอบรม เปนระยะเวลา 3 วัน และจะตองสอบผานการประเมินผล จึงจะไดรับ ประกาศนียบัตรหลักสูตรการอบรมภายใตโครงการ AEMAS จะอบรมใน เรื่องตางๆ ดังตอไปนี้ บทบาทของผูจัดการพลังงาน, การกําหนดนโยบาย ดานพลังงาน, การประเมินประสิทธิภาพการจัดการพลังงาน, การสราง เครื่องมือ และการจัดการพลังงานตางๆ, การกําหนดเปาหมายและแผน เกี่ยวกับ, การเชื่อมโยงระบบการจัดการพลังงานเขากับระบบอื่นๆ, การ บริหารโครงการและการลงทุน และการประเมินประสิทธิภาพในการจัดการ พลังงาน โดยการอบรมในชวงแรกนัน้ จะไมมกี ารเสียคาใชจา ยใดๆ ทัง้ สิน้ สวน การอบรมครั้งตอๆ ไป ผูเขารับการอบรมจะไดรับสิทธิ์ ในการเสียคาฝก อบรมในราคาพิเศษ และรูปแบบการฝกอบรมจะเปนภาษาไทย ผูที่สนใจเขารวมโครงการ สามารถเขาไปดูรายละเอียดเพิ่ม เติมไดที่ www.aemas.org หรือ โทร. 02-662-3465
Januuary 2012 l 57
Energy#38_p57-58_Pro3.indd 57
12/27/11 1:06 AM
สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร Life Cycle Assessment : LCA และ Carbon Footprint of Products : CFP สําหรับผูที่สนใจในสัมมนา เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร หลั ก สู ต รใน โปรแกรมฝ ก อบรม Green Practices ก็ ไดเปดรับลงทะเบียน เขารวมอบรมแลว 2 หลักสูตร เพื่อเตรียมความพรอมสูการเปน “ที่ปรึกษา” และ “ผูทวนสอบ” ใน การจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทของ ผลิตภัณฑ ซึ่งรับรองหลักสูตร โดย องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) รวมกับ สถาบันวิทยาการ สวทช. และ ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ดังนี้ 1. หลักสูตร “หลักการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment: LCA)” รุนที่ 4 เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจ ใน หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับหลักการประเมินวัฏจักรชีวิตของ ผลิตภัณฑและ บริการ สําหรับใชเปนเครื่องมือหรือกลไกในการประเมินวิเคราะหผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ และบริการ เพื่อนําไปสูการ พัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตสินคาและบริการที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม และ นํ า มาซึ่ ง การจั ด การที่ เ หมาะสมในการลดผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม โดยมี กําหนดการอบรมระหวางวันที่ 25 - 27 มกราคม 2555 2. หลั ก สู ต ร “การประเมิ น คาร บ อนฟุ ต พริ้ น ท ข องผลิ ต ภั ณ ฑ (Carbon Footprint of Products: CFP)” รุนที่ 4 เพื่อสรางความรูความเขาใจ ในหลักการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของ ผลิตภัณฑและบริการตามแนวทางการ ประเมินคารบอนฟุตพริน้ ทของผลิตภัณฑในประเทศไทย เพื่อใชเปนเครื่องมือในการ ประเมินการปลอยแกสเรือนกระจกของผลิตภัณฑและบริการ และนําไปสูก ารพัฒนา ปรับปรุงผลิตสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งเพื่อเตรียมความ พรอมสําหรับบุคลากรที่ตองการเปนที่ปรึกษาคารบอนฟุตพริ้นทของ ผลิตภัณฑ และบริการสําหรับประเทศไทย โดยมีกําหนดการอบรมระหวางวันที่ 1 - 3 กุมภาพันธ 2555 ทานใดที่สนใจ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติม หรือลงทะเบียนเขา รวมอบรมทั้ง 2 หลักสูตรไดที่ http://www.NSTDAAcademy.com
“Fast Power Service By LeKise” เช็ ค อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ฟรี ช ว ยผู ป ระสบภั ย
โครงการดีๆ จาก บริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด ที่ ไดเปดตัวโครงการ Fast Power Service By LeKise เพื่อใหบริการตรวจเช็คสภาพระบบไฟฟา ระบบสองสวางและอุปกรณไฟฟาสําหรับผูประสบภัยน้ําทวม โครงการ Fast Power Service By LeKise มีขึ้นเพื่อใหบริการตรวจ เช็คสภาพระบบไฟฟา ระบบสองสวางและอุปกรณไฟฟาสําหรับผูประสบภัยน้ํา
ทวม ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความปลอดภัยสูงสุดสําหรับผูประสบภัยภายหลังน้ําลดทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งเปนบริการฟรีแบบไมมีคาใชจาย นอกจากนี้ยังจัดโปร โมชั่นพิเศษมอบโชคปลอบขวัญผูประสบภัย โดยนําอุปกรณไฟฟาสองสวางที่ ชํารุดหรือเสียหายสามารถนํามาใชเปนสวนลดสําหรับแลกซื้อสินคาเลคิเซไดใน ราคาพิ เ ศษและเมื่ อ ซื้ อ ครบตาม เงื่อนไขยังมีการแจกของพรีเมี่ยม และสิ น ค า จากเลคิ เ ซ อี ก ด ว ย ที่ สําคัญเมื่อลูกค้าซื้อสินค้ากับทาง เลคิเซทางทีมงานมีบริการติดตั้ง โดยไมคิดคาใชจายใหฟรี สํ า ห รั บ ผู ป ร ะ ส บ ภั ย สามารถสอบถามรายละเอี ย ด หรือขอรับบริการตรวจเช็คฟรี ไดที่ศูนยบริการลูกคา โทร.034419-299 ต อ ฝ า ยการตลาด หรือ 081-753-4348 ทุกวันใน เวลาทําการ
58 l January 2012
Energy#38_p57-58_Pro3.indd 58
12/27/11 1:06 AM
Energy#33_p94_Pro3.ai
1
7/21/11
11:58 PM
Green Vision โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
“ธุรกิจสีเขียว ไมใชแคธรุ กิจทีม่ หี นาตาเปนใบไม”
ดร.สรณรัชฎ กาญจนะวณิชย มีโอกาสไดรับฟงขอคิดเห็นและวิธีการดําเนินธุรกิจสีเขียวดีๆ จาก ดร.ออย หรือ ดร.สรณรัชฎ กาญจนะวณิชย เลขาธิการมูลนิธิโลกสีเขียว ที่ ไดเขารวมเสวนาหัวขอ “จับตามองธุรกิจสีเขียว Eco-Business: Trend and Future” ภายในงานมอบรางวัล E-idea Competition Thailand 2011 ที่ผานมา ตองบอกวาเปนประโยชนแคคนที่สนใจ ในเรื่องการทําธุรกิจสีเขียวอยางมาก เมื่อถามวาคําวา “ธุรกิจสีเขียว” หมายถึงอะไร ดร.ออยกลาววา คําวาธุรกิจสีเขียว ก็มีนัยยะหมายถึงสิ่งแวดลอม วาตองเปนสิ่งที่ ไมทําลายสิ่งแวดลอม แตทีนี้หากจะพูดถึงคํา วาเขียวอยางเดียว เราอาจจะมีความเขาใจไมตรงกัน ขออนุญาตถอนหลังกลับไปดูภาพใหญๆ กอนวาทําไมถึงเกิดกระแสขึ้นมา ณ วันนี้พวกเราทุกคนก็คงยอมรับกันวาเราอยูภายใตวิกฤต สิ่งแวดลอม ซึ่งไมใชแคเรื่องโลกรอนเทานั้น แตมันยังโยงไปถึงเรื่องการทําลายธรรมชาติ ดวย ทําใหระบบเกิดความแปรปรวน เราก็คงตองยอมรับวาสิ่งที่ทําใหเกิดวิกฤติสิ่งแวดลอม มันก็เกิดจากการใชทรัพยากรธรรมชาติที่เราใชมากเกินกวาที่ธรรมชาติจะหมุนเวียนและฟน ตัวได พูดงายๆ วาเปนการใชแบบทิ้งๆ ขวางๆ และอยูภายใตระบบการผลิตที่สกัดจาก ธรรมชาติไปแลวก็เอาไปทิ้ง มันจึงเปนการทําลายในอัตราที่สูงมาก ซึ่งสิ่งที่ขับเคลื่อนใหเกิด สภาพแบบนี้ ซึ่งก็แนนอนวามีหลายอยาง แตสิ่งที่สําคัญนั่นก็เพราะวาระบบเศรษฐกิจของ เรากับระบบทางนิเวศนั้นมันไมสอดคลองกัน ซึ่งทางออกก็คือ เราตองปรับระบบเศรษฐกิจ ซึ่งมนุษยสรางขึ้นใหสอดคลองกับระบบทางธรรมชาติ เพราะเราปรับธรรมชาติไมไดอยูแลว ซึ่งหมายความวา ระบบราคา ระบบการใหคุณคาตางๆ ก็ตองเปลี่ยนไป วิธีการผลิตจะตอง เปลี่ยนไป จะตองเปนการผลิตที่ ไมมีการสรางขยะ “เพราะฉะนั้นธุรกิจสีเขียว ถาพูดอยางกวางที่สุด มันไมไดหมายความวาคือธุรกิจที่ มีหนาตาเปนใบไม หรือมีหนาตาเปนธรรมชาติโดยตรง แตเปนธุรกิจอะไรก็ตามที่ตั้งอยูบน ฐานการผลิตที่ ไมกอใหเกิดการทําลาย อยางนอยคือการกาวไปสูการผลิตที่เปนวงจรปด และไมทําลายธรรมชาติ” “ทุกวันนี้ทุกคนพูดถึงคําวา ‘การพัฒนาอยางยั่งยืน’ จนคํานี้เฝอมากๆ แตอยางนอย ก็ถือวาเรากาวไปสูอีกขั้นแลวละ เพราะคนเริ่มมองแลววาการอนุรักษกับการพัฒนามันจะตองไปดวยกัน มันไมจําเปนที่จะตองไปตามขั้นตอนวาจะตองรวย แลวคอยอนุรักษ คุณสามารถจะเลือกทางเดินที่ ไดกําไรดวยอนุรักษดวยไปพรอมๆ กันได แลวความคิดแบบนี้ก็เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ดวยกลไกหลายอยางใน ระดับโลก ที่บีบบังคับใหเรามาในทิศทางของกาพัฒนาอยางยั่งยืน เพราะฉะนั้นใครก็ตามที่พยายามจะฝนอยู ในที่สุดมันก็จะไปไมได” ดร.ออยกลาว “ธุรกิจสีเขียวจะเกิดขึ้นไดงายขึ้น แนนอนวาตองการหลายอยาง ตองการการสรางสรรค แตสิ่งที่สําคัญที่สุดคือการเปลี่ยนแปลความคิด ขอใหเรา พยายามสื่อสารเรื่องราวเหลานี้ ไปใหมากที่สุด เพื่อจะนําไปสูการผลักดันใหเกิดนโยบายในระดับชาติ ที่จะเปนนโยบายที่จะมาเกื้อหนุนการการประกอบการสี เขียว และเลิกอุดหนุนการประกอบการสีดํา สีน้ําตาล ที่ผานมาของที่กอใหเกิดมลพิษตางๆ ที่ยังขายดี ยังขายไดในราคาถูกๆ แบบนี้ เพราะระบบไปอุดหนุน มัน ซึ่งขณะนี้นโยบายของเรากําลังทวนกระแสโลก” ดร.ออยกลาวทิ้งทาย
60 l January 2012
Energy#38_p60_Pro3.indd 60
12/27/11 1:05 AM
Energy Tezh โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย
ใชจนลืมชารจ เทคโนโลยีแบตฯ มือถือใหม
แบตเตอรี่ โ ทรศั พ ท ถื อ เป น อุ ป กรณ ไฟฟาที่ ใชสิ้นเปลืองมากที่สุดอุปกรณหนึ่ง เนองจากโทรศัพทในปจจุบันไมไดมีไวใชเพียง โทรศัพทอยางเดียว ไมวาจะถายรูป, เลน เกมส, ดูหนังฟงเพลงหรือแมแตการเชอมตอ โลกอินเตอรเน็ต ซึ่งการใชงานเหลานี้ลวน แลวแตตองใชพลังงานทั้งสิ้น แบตเตอรี่ ใน ปจจุบันจึงอาจไมสามารถรองรับการใชงาน ไดอยางครอบคลุม สงผลใหตองมีการชารจ แบตเตอรี่อยูบอยๆ บางคนตองชารจทุกวันซึ่งเปนการสิ้นเปลืองพลังงาน โดยใชเหตุ ด ว ยเหตุ นี้ นั ก วิ ท ยาศาสตร จ ากมหาวิ ท ยาลั ย นอร ธ เวสเทิ ร น ยูนิเวอรซิตี้ (Northwestern University) ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงทําการ พัฒนาแบตเตอรี่มือถือที่สามารถชารจไฟไดเร็วกวาเดิมถึง 10 เทา โดย ใชเวลาชารจแบบเต็มประจุเพียง 15 นาทีเทานั้น ที่สําคัญการชารจแบบ เต็มประจุเพียงครั้งเดียวสามารถใชไดนานเปนสัปดาห ดร.ฮาโรลด คัง (Dr. Harold Kung) หัวหนาทีมนักวิทยาศาสตรได ทํ า การเปลี่ ย นวั ส ดุ ภ ายใน แ บ ต เ ต อ รี่ ลิ เ ธี ย ม ไออนที่ ใช ใน ปจจุบัน ดวยการอัดรูเล็กๆ นับลานลงไปภายใน แบตเตอรี่ การอัดรูเล็กๆ เหลานั้นจะชวยใหเกิด ความหนาแน่ น และช่ ว ยให้ ก ารเคลื่ อ นย้ า ยของ ไอออนลิเธียมเปนไปไดสะดวกมากยิ่งขึ้น โดยดร.ฮาโรลดยังกลาวอีกวา “พบวิธีที่จะอัด ประจุเขาไปและเรงใหเคลอนที่เร็วขึ้นไดดวยการเลือก วัสดุที่ ใชในการผลิตแบตเตอรี โดยประจุที่เพิ่มขึ้นนี้ ไดจาก
การใชซลิ กิ อนทีร่ วมเปนกลุม เล็กๆ แทนแบบแผน เพอ เพิ่มจํานวนไอออนลิเธียมที่แบตเตอรีหนึ่งจะเก็บไวได ในดานความเร็วการชารจไฟนั้นสามารถเรงขึ้นได ดวยกระบวนการที่เรียกวา การออกซิเดชันทางเคมี ดวยการเจาะรูเล็กๆ ที่มีความกวางเพียง 20-40 นาโนเมตรลงบนแผนกราฟน (Graphene) ภายใน แบตเตอรี่ แผนดังกลาวจะมีความหนาเพียงอะตอม ชั้นเดียว กระบวนการนี้จะชวยใหประจุของลิเธียม เคลอนยายและหาตําแหนงแทนที่ ไดเร็วมากขึ้น” ซึ่งอายุการใชงานของแบตเตอรี่ชนิดใหมนี้จะเริ่มเสอมประสิทธิภาพ หลังการชารจแบตฯ ผานไปแลว 150 ครั้ง ทวา ดร.ฮาโรลดก็ยังยืนยัน วา แมจะเสอมประสิทธิภาพลงแตแบตเตอรี่ดังกลาวจะยังคงประสิทธิภาพ มากกวาแบตเตอรี่ที่ ใชกันอยูในปจจุบัน ปจจุบันทีมนักวิจัยยังพยายามหาวิธีเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บไฟฟา ของแบตเตอรี่ดวยการปรับปรุงขั้วบวกหรือแอโนด (Anode) ซึ่งเปนจุดที่ ไฟฟาจะไหลเขา สู แ บตเตอรี่ ขณะที่ ขั้ ว ลบหรื อ แคโธด (Cathode) เปนจุดที่ ไฟฟาไหลออกจาก แบตเตอรี่ โดยที ม งานคาดว า แบตเตอรี่ที่ ไดรับการพัฒนา อย า งสมบู ร ณ จ ะสามารถ ขายในเชิ ง พาณิ ช ย ไ ด ภายใน 5 ปนี้
ที่มา : http://www.northwestern.edu/newscenter/stories/2011/11/batteries-energy-kung.html
January 2012 l 61
Energy#38_p61_Pro3.indd 61
12/21/11 1:38 AM
Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
วิกฤติสิ่งแวดลอม อนาคตที่ ไมอยากใหเกิด
จากภาวการณเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอมทีเ่ กิดขึน้ เราพบวามีการ เปลี่ยนแปลงอยางมาก หลายทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงไมวาทางดาน วิทยาศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมศาสตรที่กลาวถึงการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นจากภาวะความไมสมดุล เมอเกิดการกระทําอยางสุดโตง จากเกิด ภาวการณ ที่ ไม คื น กลั บ หลั ก การสํ า คั ญ ขึ้ น กั บ การใส ท รั พ ยากร ความตองการของคนที่มากเกินพอดี การใชประโยชนเกินจุดที่จะรองรับได ในเวลาที่เหมาะสมก็จะเกิดการแตกหัก หรือสูญสลายไป นั้นหมายถึง จุดวิกฤติทางสิ่งแวดลอมไดเริ่มขึ้นแลว คงดูเหมือนจะเปนคําอธิบายจุดวิกฤติที่ยากแกการเขาใจ แตอยาก ใหมองธรรมชาติที่เดิมมีความสมดุล มนุษยเขามาอยูรวมกันในธรรมชาติ แลวใชประโยชนจากทรัพยากรที่มีอยู ตั้งแตการใชประโยชนจากปา ดิน น้ํา เพื่ อ การดํ า รงชี พ ของมนุ ษ ย์ เมื่ อ มี ก ารพั ฒ นาเกิ ด ขึ้ น ความต้ อ งการ ทรัพยากรสูงขึ้น การคาขาย ความตองการใชทุนทางทรัพยากรมากขึ้น เพอผลกําไร และระบบทุนนิยมที่เนนการลงทุนเพอกําไร มีปญหาของการ พั ฒ นาไม ห ยุ ด ยั้ ง ที่ ต ามมาคื อ การปลดปล อ ยของเสี ย ไม คํ า นึ ง ถึ ง
ทรัพยากรธรรมชาติหมดไป หรือไมอาจสรางทดแทน ซึ่ง เดิมฐานจํานวนประชากรมีไม มาก ตอมาประชากรโลกเพิ่ม ขึ้ น มากมายมหาศาล กว า 7,000 ล า นคน ความ ต อ งการป จ จั ย ดํ า รงชี พ รองรับประชากรจํานวนมาก ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู มี ค วามสมดุ ล เคยเพี ย งพอ คล า ยกั บ การการดึ ง หนังยางยืดแลวก็หดกลับ เปนเชนนี้จนถึงจุดหนึ่งที่ ไมหดคืนและขาดออก จากกัน การเสียสมดุลอยางรุนแรงเกิดขึ้น จุดสําคัญของคําวา วิกฤติคอื การเกิดภาวะขาดสมดุลแลวไมคนื กลับ มีผลที่รุนแรงมหาศาลเพราะเกิดการแยกขาดจากกันในการฟนคืนสภาพใน เวลาทีเ่ กิดอันรวดเร็ว คลายระเบิดเวลาทีท่ าํ งานจนถึงเวลาทีก่ าํ หนดไวแลว ระเบิดอยางรุนแรง นั้นหมายถึงมนุษยกําลังเจอกับระเบิดเวลาลูกใหญจาก
62 l January 2012
Energy#38_p62-63_Pro3.indd 62
12/21/11 1:19 AM
ภัยธรรมชาติที่เกิดจากน้ํามือของมนษยเอง จากการพัฒนาอยางไมหยุดยั้งมีเทคโนโลยีมากมายที่ชวยใหมนุษย ใชประโยชนจากทรัพยากรไดมากขึน้ มีความหลากหลาย ขณะเดียวกันเวลา ที่เคยใชในการฟนฟูสภาพนอยลง และในที่สุดเวลาของการระเบิดเนองจาก การไมสมดุลก็จะเกิดขึ้น ในรอบปทีผ่ า นมา เสียงเตือนจากธรรมชาติ ไดคบื คลานและสงเสียง เตือนมนุษยหลายครั้ง เชน การเกิดแผนดินไหวที่ประเทศญี่ปุน ในประเทศ ตุรกี นิวซีแลนด การเกิดน้ําทวมใหญที่เรียกมหาอุทกภัยในประเทศไทย การเกิดภูเขาไฟระเบิดในฟิลิปปินส์ การเกิดคลื่นความร้อนสูงในยุโรป ภาวะเหลานี้เปนเสียงเตือนจากธรรมชาติ ที่มนุษยกําลังจะเผชิญในอนาคต เปนวิกฤติการณที่ตองเตรียมการรองรับ ปจจัยหนึ่งคือเรองของเวลา เราไมรวู า จะมีเวลามากนอยแคไหนทีจ่ ะเกิดภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ทีเ่ รียกวา การลางโลก เราไมรูความรุนแรงภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นกินพื้นที่มากนอย แคไหน แตสิ่งหนึ่งบอกไดวา เราไดใชทรัพยากร เราไดทําลายธรรมชาติ จนถึ ง จุ ด ที่ เ รากํ า ลั ง จะก า วข า มจุ ด ของการคื น กลั บ การยื ด หยุ น ของธรรมชาติที่เคยมีใหกับมนุษย กลั บ มามองถึ ง ประเทศต า งๆ ทั่ ว โลกให ค วามสํ า คั ญ ของการ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม ที่สําคัญคือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เปนตัวชี้วัดหนึ่งของการเกิดโลกรอน อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นจาก การใชพลังงานและการเกิดกาซเรือนกระจกมหาศาลจากอดีตสูปจจุบันที่ อุณหภูมโิ ลกเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว มีการจัดประชุมหลายครัง้ ในระดับโลก นานาชาติ หรอในระดับชาติที่แสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เชน การประชุม Earth summit ในป 2012 ที่เมืองริโอ เดอจาเนโร ประเทศ บราซิล ที่เปนการประชุมระดับโลกวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา ครบรอบ 20 ป แ ล ว แต ค วามตระหนั ก ต อ ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ ม การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้นยังไมเพียงพอ โดยเฉพาะการกําหนดวิถี ทางการพั ฒ นา ยั ง ไม ต อบโจทย ใ นการฟ น ฟู ห รื อ คื น สภาพสู ส มดุ ล การลงทุนทางดานเทคโนโลยีในปจจุบันหรืออนาคตที่มีอยูไมนาจะเพียงพอ ตอการรับมือภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะภัยพิบัติจากการเสียสมดุลทาง ธรรมชาติอยางรุนแรง ที่เห็นไดชัดจากภัยพิบัติตางๆ ไมมีสัญญานของ
การลงมือกระทําของมนุษยที่จะรักษาสภาพแวดลอม เพราะหลายตอหลาย สํานักทางวิชาการชี้ ใหเห็นวา ผลของการกระทําในอดีต ในยุคปฏิวัติ อุตสาหกรรม ไดสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมในปจจุบัน โดยเฉพาะการ เกิดกาซเรือนกระจกที่มีปริมาณมหาศาลในปจจุบัน ประเทศกําลังพัฒนา เรียกรองใหประเทศที่พัฒนาแลวไดหยุดคิด และหาวิถที างรวมกันในการพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน มากกวาการพัฒนาเพอทําลาย คําจํากัดความของการพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน คือการมองถึงคนในรุน หลัง อนาคต ที่ ใหมนุษยดํารงชีวิตอยูไดอยางปกติสุข ยังหางไกลจากคําจํากัดความ ดังกลาว การพัฒนาทีผ่ า นมา มีความคาดหวังใหทกุ ประเทศรวมกันพัฒนา พรอมกับคํานึงถึงสภาพแวดลอม ความรับผิดชอบตอสังคม (CSR: cooperate social response) เปนประเด็นที่เราตองมองไปขางหนา รวมมือกัน อยางไรก็ตาม เราคงตองใชคําวา การปรับตัว (Adaptation) มากขึ้น เชนการปรับตัวที่จะอยูกับน้ําทวม ปรับตัวที่จะอยูกับภาวะความ ขาดแคลน ความแห ง แล ง และปรั บ ตั ว ที่ จ ะอยู กั บ ภั ย พิ บั ติ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้น รุนแรงขึ้นและบอยขึ้น สุดทายนี้ ในอนาคต เราตองเตรียมตัวรับกับปญหาภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ ภัยพิบัติจากการกระทําของมนุษย การแยงชิงทรัพยากรที่ ขาดแคลน การแยงชิงอาหารและความขัดแยงในเรองของแหลงที่อยู จึงตองใชวิจารณญาณในการวิเคราะห และที่สําคัญคือใชสติ ตอการ เผชิญตอเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว จุดวิกฤตินี้คงไมมีใคร อยากเผชิญ ความรวมมือในการหาทางอยูรอดของมนุษยดูจะเปนเรอง ยากในการลงมือกระทําอยางจริงจัง แตเวลานี้เสียงเรียกรองจากนัก วิชาการ จากประเทศตางๆ ใหความสําคัญตอการลงมือทําอยางจริงจังมี มากขึ้น เราจะอยูรอดบนโลกใบนี้ เวลาและการกระทําจะเปนเครองพิสูจน เปนอยางดี ขอใหเรามองไปขางหนาอยางมีความหวัง ไมทอแทและเห็นวา ทางออกของวิกฤติการณที่กําลังจะเผชิญในอนาคต ตองมีทางออก ขอให โชคเขาขางมนุษยแลวกัน. ความรุนแรงที่เกิดขึ้นและบอย ทําใหตองพิจารณาความเชอมโยง จากการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ การใชประโยชนพื้นที่ตางๆ เกินขีด การรองรับของพื้นที่ การเกิดภัยพิบัติและมลพิษเปนเรองที่เชอมโยงกัน เราคงต อ งทบทวนและมองไปข า งหน า อย า งมี ส ติ ทํ า วั น นี้ ให ดี ที่ สุ ด มองประโยชนสวนรวมและลูกหลานเปนความสําคัญที่ตองทํามากกวา การแยงชิงผลประโยชนในเวทีการเมืองโลก January 2012 l 63
Energy#38_p62-63_Pro3.indd 63
12/21/11 1:20 AM
Renergy
โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิก์ ลุม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร จัดการขยะวันละกวา 10,000 ตัน อยางไร
ยอนหลังไป 10 ป ราวป พ.ศ.2544 กทม. มีขยะโดยเฉลี่ยประมาณ 10,000 ตันตอวัน จากแผนการบริหารจัดการที่ดี ทําใหขยะถูกรีไซเคิลไป บางสวน ปจจุบันจึงมีขยะโดยเฉลี่ยประมาณ 8-9 พันตันตอวัน โดยขยะ เกือบทัง้ หมดยังคงใชวธิ ฝี ง กลบเหมือนในอดีต โดยนําขยะจากสถานีขนถาย มูลฝอยสายไหม จํานวน 2,100 ตันตอวัน และจากสถานีขนถายมูลฝอย หนองแขม จํานวน 3,400 ตันตอวัน ไปฝงกลบที่ อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม สวนขยะจํานวน 2,200 ตันตอวัน ที่สถานีขนถายมูลฝอยออนนุช ใชวิธีหอ ดวยพลาสติก (Wrapping) แลวสงไป ฝงกลบที่ ต.ทาถาน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา โดยมีขยะอีก 1,000 ตัน ใชวิธีหมักปุย ในยานออนนุช สําหรับ ขยะติดเชื้อยังคงใชวิธีการเผา
ขยะกวาแสนตัน ในกทม.หายไปไหน?
ภาพที่เห็นแทบจะไมตองมีคําบรรยายวานี่ คือขยะหลังน้ําทวม ไม วาจะเปนที่กรุงเทพมหานคร ดังภาพที่เห็น หรือนครสวรรค อยุธยา ปทุมธานี ลวนไมแตกตางกัน มีทัง้ ตู โตะ โซฟา และถุงดําขนาดใหญ สําหรับ ใสขยะกอนทิ้ง ขยะหลังน้ําทวมครั้งนี้มีผูประมาณการวาทั่วประเทศอาจมี กวาลานตัน เปนขยะที่ ไมยอยสลาย เปนสวนใหญ และเปนขยะที่มีคาความ รอนสูง เหมาะสําหรับใชเปนเชื้อเพลิงแทนถานหิน หรือกาซธรรมชาติใน การผลิตไฟฟา (Waste to Energy)
…แลวขยะหลังน้าํ ทวม ซึง่ ผานการยอยสลายในน้าํ มาแลวกวา 1 เดือน จะจัดการอยางไรดี นาทีนี้ คงตองนําไปฝงกลบตามที่ตางๆ ที่ ไดกลาวมา แลว แตก็หวังวาในอนาคต กทม. อาจมีวิธีการจัดการที่ดูดี และคุมคา เชน ระบบ Gasification หรือการนําขยะมาผลิตเปนเชื้อเพลิง RDF แตก็ ตองคํานึงถึงการลงทุน วาเกิน 1 พันลานหรือไม จะไดไมตอ งไปผาน พ.ร.บ. รวมทุนป 2535 ซึ่งตองใชเวลากวา 3 ป และยังไมสามารถตอบไดวา จะผ า นหรื อ ไม การจั ด การขยะด ว ยเทคโนโลยี นอกจากจะช ว ยรั ก ษา
64 l January 2012
Energy#38_p64-65_Pro3.indd 64
12/21/11 1:12 AM
สวนถุงดําสวนใหญจะใชเปนถุงเก็บพลาสติก กลองอาหาร กลองโฟม เศษแกว เศษตะปู สวนเศษอาหารแทบจะไมมี เนองจากอาหารไมเพียงพอ อยูแลวในสถานการณจริง อาหารยังตองแบงใหสุนัข แมว และสัตวเลี้ยง อี ก ส ว นหนึ่ ง ดั ง นั้ น ขยะจากน้ํ า ท ว มจึ ง เป น ขยะติ ด ไฟได เ ป น ส ว นใหญ นอกจากนี้ ยังมีขยะรีไซเคิลประเภทโลหะจากอาหารกระปองจํานวนมาก รวมทั้งเศษเฟอรนิเจอรไมและพลาสติก ทั้งหมดนี้ แสดงใหเห็นวาขยะหลัง น้าํ ทวมมีคา กวาทีค่ ดิ เปนเชือ้ เพลิงพลังงานชัน้ ดี และมีขยะรีไซเคิลจํานวนมาก ที่ยังไมถูกคัดแยก จะขาดก็แตการบริหารจัดการ หากมีการใชเครองจักร คัดแยกขยะนับแสนตันเจาปญหาก็คงกลายเปนพลังงานอันมีคาในเวลา ไมกี่นาที สําหรับเชื้อราหลังน้ําทวมควรจะศึกษาใหดีวาจะจัดการอยางไร จึงจะปลอดภัย จากภาพที่ทานเห็นอยูทั้งหมดนี้ ทางกรุงเทพมหานครไดดัดแปลง บางสวนของถนนสิรินธร เปนสถานีขนถายขยะ โดยขยะจากชุมชนยานนี้ ทั้งหมด ทางเขตและชาวบานจะนํามาทิ้งบริเวณที่เห็นนี้ แลวขนถายออกไป ยังสถานีขนถายหนองแขม เปนการจัดการที่ดีที่สุดเทาที่จะทําได ขอกาว ขามความขัดแยงใดๆ และขอชมทุกภาคสวนที่มีสวนรวมในการแกไขปญหา “มหาอุทกภัย” ในครั้งนี้ นาเสียดายที่ขยะทั้งหมดของกรุงเทพมหานคร ยังไมไดมีการ กําจัดดวยการแปลงขยะเปนเชือ้ เพลิงผลิตไฟฟา ซึง่ คาดวาขยะวันละ 10,000 ตัน อาจผลิตไฟฟาไดถึง 200 MW หรือ 20% ของ โรงไฟฟานิวเคลียร 1 โรง การผลิตไฟฟาดวยวิธนี ถ้ี งึ แมจะมีขน้ั ตอนมาก แตก็ปลอดภัยจาก ไดออกซินมากกวาการใชเตาเผา นอกจากนี้ ยังสามารถนําขยะในสวนที่ยังมีประโยชนไปรี ไซเคิล สรางงานใหกับ ชุ ม ชน ลดการต อ ต า นโครงการผลิ ต ไฟฟ า อย า งเช น ในป จ จุ บั น ซึ่งแนวทางจัดการขยะแบบ Green Technology นี้ ทางผูผลิต ปูนซีเมนต ทัง้ ปูนใหญ ปูนกลาง ปูนเล็กไดนาํ มาใชเปนเวลานานแลว สิง่ แวดลอมแลว ยังไดพลังงานทดแทนอีกดวย น้าํ ทวมครัง้ นี้ ตองขอบคุณ ทางกทม. โดยเฉพาะฝ ายข าราชการประจําที่ทํางานกั นแบบจิ ตอาสา หลังน้ําลดมาชวยกันฟนฟูประเทศไทย ฟนใจประชาชนกันดีกวา
ขั้นตอนและกระบวนการผลิตไฟฟาจากขยะ
ขยะชุมชนทั่วไปในภาวะปกติ จะมีสัดสวนของขยะที่ยอยสลายได ประมาณ 50% ขยะที่สามารถ เผาไหมติดไฟไดประมาณ 40% และขยะอนๆ อีกจํานวนหนึ่ง การผลิตไฟฟาจากขยะที่นิยมกันทั่วไป ทั้งในยุโรปและ สหรัฐอเมริกา คือการแปลงขยะใหเปนเชื้อเพลิง ซึ่งเราเรียกกันวา RDF (Refuse Derived Fuel) ซึ่งทางกระทรวงพลังงานและกรมควบคุมมลพิษ ก็สนับสนุนวิธีการนี้อยู จากกระบวนการนี้ถาใชเครองจักรที่มีคุณภาพดี จะสามารถแยกขยะอินทรียอ อกจากขยะทีต่ ดิ ไฟได โดยนําขยะอินทรียไ ปหมัก กาซชีวภาพ (BIOGAS) ขยะสวนที่ติดไฟไดนําไปใชเปนเชื้อเพลิง ซึ่งจะมี ความปลอดภัยกวาการใชถานหิน สําหรับขยะหลังน้าํ ทวม จากการเขาไปสอบถามผูท ค่ี ดั แยกขยะไปขาย ได ท ราบว า เป น ขยะชนิ ด ไม ย อ ยสลายราว 90% อย า งที่ เ ห็ น ในภาพ January 2012 l 65
Energy#38_p64-65_Pro3.indd 65
12/21/11 1:12 AM
Zero Waste โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ
http://www.siamsafety.com/index.php?
http://www.treehugger.com/
การจัดการของเสียดวยแนวคิด
“Zero Waste หรือ ของเสียเหลือศูนย” (ตอนแรก) แนวคิ ด สํ า หรั บ ของเสี ย เหลื อ ศู น ย ห รื อ Zero waste เปนปรัชญา ที่สงเสริมการหมุนเวียน ทรัพยากรกลับมาใชใหม เพอเปนการใชทรัพยากร อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สู ง สุ ด และเป น การลด ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นใหนอยที่สุดโดยใชหลักการของ 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle) รวมทั้งการออกแบบผลิตภัณฑใหสามารถนํากลับมา ใชใหมไดเกือบทั้งหมด เพอเปนการลดปริมาณของเสียที่สงไปกําจัดโดย วิธีการฝงกลบและ/หรือเตาเผาทําลายใหมีปริมาณนอยที่สุดเนองจากใน ปจจุบันมีขอจํากัดดานพื้นที่สาํ หรับกําจัดของเสียและวิธีการควบคุมมลพิษ ด า นกลิ่ น และไอระเหยที่ ต อ งมีคา ใช จา ยการลงทุน ที่ คอ นขา งสูง ทั้ ง นี้ ทรัพยากรควรมีการหมุนเวียนใชเปนแบบระบบปด(Closed-loop system) สามารถนํากลับมาใชใหมไดดังแสดงในรูปของผังไดอะแกรมการบริโภค ทรัพยากรแบบยั่งยืน
ประวัติศาสตรที่มาของ Zero waste
การใชคําวา Zero waste ตามเอกสารของ Wikipedia ระบุวาใน ชวงระยะแรกๆ เกิดขึ้นในชวงกลาง ค.ศ. 1970 โดยมีการประกาศใชเปน ชื่อของบริษัทแห่งหนึ่งที่มีชื่อว่า Zero Waste Systems Inc. ในรัฐ แคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งทําธุรกิจการรีไซเคิลสารเคมีใชแลว จากอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส การกรองน้ํามันใชแลวเพอนํากลับมา ใชใหมจากอุตสาหกรรมผลิตแปนพิมพ โดยจําหนายสินคารีไซเคิลในราคา ที่ถูกลงกวาของเดิมมาก ปรากฏวาบริษัทแหงนี้สามารถทําธุรกิจการ รีไซเคิลของเสียไดอยางประสบความสําเร็จ ทําใหเปนที่รูจักแพรหลายไป ทัว่ โลกและไดรบั คําชนชมเปนอยางมากสําหรับเทคโนโลยีตา งๆ ทีท่ างบริษทั พัฒนาขึ้นมา แมกระทั่งหนวยงานปองกันมลพิษของประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ ไดพิมพเผยแพรผลงานของบริษัทนี้และตั้งฉายาใหกับบริษัทนี้วา “ ผูนํา แลกเปลี่ยนของเสียที่ขยันและกระตือรือรน” ซึ่งในเวลาตอมาทางบริษัท ก็ ไดเรียกรองใหผูผลิตสินคาตางๆ มีการออกแบบผลิตภัณฑแนวใหมที่ลด การเกิดของเสียและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมใหมากยิง่ ขึน้ ตอจากนัน้ กระแส ดานสิ่งแวดลอมในสังคมยิ่งทวีความตองการสิ่งแวดลอมที่ดีมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในชวงป คศ. 1998-2003 เกิดกระแสความตองการชุมชน
66 l January 2012
Energy#38_p66-67_Pro3.indd 66
12/23/11 8:51 PM
http://www.cleanmiddleeast.ae/articles/107/
http://arabrecycling.com/articles-57
รูปแบบ Zero waste ที่เปน มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น รวมไปถึงแนวปฏิบัติของการ สงเสริมแนวทางของ Zero Waste ให ใกล เ คี ย งกั บ ความหมายของ “ของเสี ย เหลือศูนย” ใหเปนไปไดมากทีส่ ดุ
ขอจํากัดของวิธีการกําจัดของเสียแบบฝงกลบที่ ใช ใน ปจจุบัน ?
ปกติแลวสถานที่ฝงกลบของเสียควรอยูหางไกลจากชุมชนและตอง ใชพืน้ ทีข่ นาดใหญในการฝงกลบของเสียในปริมาณมาก รวมทัง้ จําเปนตอง ระมัดระวังปญหาดานสิ่งแวดลอมไมวาจะเปนดานน้ําเสียหรือน้ําชะขยะที่ ตองบําบัด มาตรการปองกันน้ําใตดินปนเปอนจากน้ําชะขยะ การควบคุม กลิ่นและไอระเหยจากสถานฝงกลบของเสีย ดังนั้นในปจจุบันวิธีการกําจัด ของเสียแบบวิธีฝงกลบจึงมีความยากลําบากมากขึ้นทั้งในดานกระแส คัดคานจากชุมชนและการควบคุมดานสิ่งแวดลอมที่เขมงวดมากยิ่งขึ้น หลายประเทศในยุโรปและบางประเทศในเอเชียเชนประเทศญี่ปุนไดมีกฎ ระเบีย บเครง ครัด ใหมีก ารคั ด แยกขยะรีไ ซเคิ ล ขยะอิ นทรีย และขยะพิษ
รูปแสดงการกําจัดของเสียแบบฝงกลบ
ออกไปกอนดําเนินการฝงกลบ เพอเปนการใชประโยชนทรัพยากรทีส่ ามารถ รีไซเคิลนํากลับมาใชไดอีกใหมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งเปนการปองกัน ปญหามลพิษทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการฝงกลบเชนการเกิดน้าํ ชะขยะหรือน้าํ เสีย ที่มีความสกปรกของสารอินทรียและโลหะหนักที่คอนขางสูง ปญหาของ กลิ่นเหม็นจากการยอยสลายสารอินทรียหลงเหลือ และปญหาดานสุขภาพ ตอผูคนในชุมชนอีกดวย ในฉบับหนา เราจะไปทราบถึงแนวคิดในการจัดการขยะมูลฝอย ชุมชนแบบ Zero Waste กัน โปรดติดตามตอนตอไปครับ.. Januuary 2012 l 67
Energy#38_p66-67_Pro3.indd 67
12/23/11 8:51 PM
Vehicle Concept โดย : Save Driver
ไมวาจะเปนคาย Ford หรืออีกคายรถยนตสัญชาติอเมริกันอยาง Chevrolet แมแตคายรถกระบะใหญอยาง Isuzu ก็ถึงเวลาเปลี่ยนสไตล รถกระบะในสังกัดตัวเองแบบเปลี่ยนโฉมเลยทีเดียว หรือแมแตคาย Mazda ที่นําตนแบบรถกระบะมาใหไดยลโฉม ก็เปนการสงสัญญาณวาตลาดรถ กระบะไดเปดฉากการแขงขันขั้นรุนแรงขึ้นมาแลว ทวาไฮไลททีย่ งั คงไดรบั ความสนใจจากผูเ ขาชมงานก็ยงั คงเปนเรอง ของนวัตกรรมยานยนตตนแบบที่เนนเรองการอนุรักษพลังงานและสิ่ง แวดลอม โดยเฉพาะยานยนตไฟฟาและรถยนตไฮบริด ทั้งที่ดูโฉบเฉี่ยวล้ํา อนาคตไปจนถึงรูปทรงแปลกใหม เริ่มกันที่รถยนตสปอรตสุดล้ําอนาคตที่รูปทรงดูคุนตามาก ซึ่งคลับ คลายกับยานพาหนะสําคัญของซูเปอร ฮีโรอยางแบทแมนกับ Chevrolet Miray มาพร อ มกั บ ระบบขั บ
Motor Expo 2011 เจาะรถเดนพลังงาน ผานไปแลวกับมหกรรมดานยานยนตสุดยิ่งใหญอลังการชวง ทายปกับงาน “The 28th Thailand International Motor EXPO 2011” ภายใตแนวคิด ‘ฤดูผลิบาน ดอกไมยานยนต’ แมวางานดัง กลาวจะจัดขึ้นหลังผานวิกฤติน้ําทวมกรุงเทพฯ มาหมาดๆ ซึ่งวิกฤติ ดั งกล าวส งผลตออุตสาหกรรมยานยนต แตก็ ไม สามารถทําให ยานยนตประหยัดพลังงานหยุดคึกคักลงได ในงานมหกรรมยานยนต ไทยแลนด อินเตอรเนชันแนล มอเตอร เอ็กซโป ครั้งที่ 28 ที่ผานมา ตองยอมรับวาจุดเดนและไฮไลทสําคัญของ งานในครัง้ นัน้ คือกลุม รถกระบะ โดยเฉพาะ 3 คายใหญทีส่ ง รถกระบะรุน ใหม แบบที่เรียกกันวา “Model Change” หรือที่ ใหเขาใจงายๆ ก็คือการปรับ เปลี่ยนโฉมแบบไมเหลือเคาโครงเดิมของรถในรุนกอนหนานี้ เคลอนแบบไฮบริด โดยพลังงานหลักจากมอเตอรไฟฟาขนาด 15 กิโลวัตต จํานวน 2 ตัวและใชแหลงพลังงานจากแบตเตอรี่ชนิดลิเธียม-ไอออนขนาด 1.6 กิโลวัตต-ชั่วโมง สามารถชารจไฟกลับในขณะเหยียบเบรก ชวยสง อัตราเรงไดอยางคลองแคลวแถมปราศจากมลพิษ โดยความพิเศษของ มอเตอรไฟฟา 2 ตัว ทําใหสามารถเปลี่ยนจากระบบขับเคลอนลอหนาเปน ระบบขับเคลอนลอหลังไดอีกดวย ขณะทีย่ งั มีเครองยนตขนาด 1,500 ซีซี เปนระบบขับเคลอนอีกชนิด นอกเหนือจากมอเตอรไฟฟา นอกจากนื้เชฟโรเล็ตยังสงยานยนตไฟฟา ขนาดเล็กมารวมงานดวย โดยเราไดเห็นมาบางแลวจากงาน World Expo ที่นครเซี่ยงไฮ ประเทศจีน ซึ่งเชฟโรเล็ตนํา Xiao และ Jiao เขามารวมใน งานนี้ดวย แตละยานยนตไดพลังงานจากมอเตอรไฟฟาขนาด 18 กิโลวัตต 68 l January 2012
Energy#38_p68-69_Pro3.indd 68
12/21/11 1:30 AM
มากันที่ฟากของคายรถยักษใหญจากฮอนดาที่แมวาปนี้จะตอง ประสบพิบัติอยางรุนแรง แตก็ ไมไดทําใหความโดดเดนของฮอนดาลดลง เมอฮอนดานํารถยนตพลังงานไฮบริดอยาง CR-Z เขามาเปนไฮไลต แมวา หลายทานคงจะทราบกันแลววา ในเมืองไทยก็มีผูใชรถยนตรุนนี้แลวแตเปน ลักษณะของการนําเขามาทั้งคัน โดยระบบไฮบริดของ CR-Z จะใชมอเตอร ไฟฟาขนาด 10 กิโลวัตต ควบคูกับเครองยนตขนาด 1,500 ซีซี สวนคายผูนํารถยนตเซ็กเมนตไฮบริดอยางโตโยตา ก็ยังคงนํา พระเอกหลักจากงานเมอครัง้ ทีแ่ ลวมาโชวอยาง Prius ทีย่ งั คงมีมนตเสนห ใหหลายคนตองแวะมาดูและสัมผัส แมวาหลายคนอาจจะผิดหวังกับการรอ คอยการมาปรากฏตัวของ Prius PHEV ที่สามารถชารจไฟไดจากไฟบาน แตการนําเทคโนโลยีของ Prius มาเปดเผยทั้งระบบไฮบริด, มอเตอรไฟฟา และแบตเตอรี่ก็ชวยดึงดูดผูสนใจในเรองพลังงานไดไมนอยทีเดียว
ตอดวยคายที่ดูเหมือนจะนําเทคโนโลยีรถไฟฟามาใหไดยลโฉมอยู เรอยอยางคายนิสสัน หลังจากเปนที่ฮือฮาไปแลวกับการนํารถยนตไฟฟา ที่สามารถใชไดจริงมาโชวอยาง Leaf มาคราวนี้สงรถไฟฟาตนแบบมาให ไดยลโฉมอีกรุนในชอ NUVU สําหรับ NUVU มีการออกมาไวระยะหนึ่งแลว แตถึงกระนั้นก็ยังเปน เพียงการออกแบบตัวโครงสรางตัวถัง ขณะทีเ่ ครองยนตภายในยังไมมกี าร ตัดสินใจวาจะใหมีขนาดเทาไหร แตที่แนๆ NUVU จะเปนรถที่ ใชพลังงาน ไฟฟาขับเคลอนอยางแนนอน โดยมีการตัง้ เปาใหสามารถใชความเร็วสูงสุด 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง และตั้งเปาใหสามารถเดินทางไดไกลสุด 130 กิโลเมตรตอการชารจเพียงครั้งเดียว และเพอเปนการปองกันพลังงาน ไฟฟาในแบตเตอรี่หมด จึงมีการออกแบบติดตั้งแผงโซลารเซลลไวบน
หลังคาเพอเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยไปเปนพลังงานไฟฟาแลวเก็บเขา แบตเตอรี่ นอกจากนี้ ในสวนของรถยนตกลุมอีโคคารก็ยังคงไดรับความสนใจ อยางมาก โดยเฉพาะ Almera รถยนตอีโคคารที่มีขนาดกวางขวาง สวน March ที่เปดตัวไปกอนหนานี้ ก็ยังคงไดรับความสนใจอยางตอเนอง มาถึงคายมิตซูบิชิที่ขอบอกวายังคงสไตลเดิมดวยการเนนโชวรถ ตลาดอยาง Lancer CNG ที่เปนรถยนตแบบสามารถปรับเปลี่ยนการใช พลังงานไดระหวางน้ํามันเบนซินและกาซธรรมชาติ CNG สวนรถไฟฟาที่ กําลังรวมกับรัฐบาลในการทดสอบใชในประเทศไทยอยาง i-MiEV ก็ถูกจับ ไวดานหลังบูธจัดงานประมาณวาถาเดินไมทั่วบูธก็อาจขามผานรถไฟฟา ของมิตซูบิชิคันนี้ ไปไดงายๆ ตอดวยรถยนตจากแดนกิมจิที่นับวันจะเริ่มเขาตากรรมการมากขึ้น อยางฮุนไดที่ ในครั้งนี้สงยานยนตไฮบริดสุดประหยัดอยาง I-Flow ซึ่งเปน ระบบไฮบริดแบบมอเตอรไฟฟาทํางานรวมกับเครองยนตดเี ซลขนาด 1,700 ซีซี ที่สําคัญยังมีระบบดึงความรอนจากทอไอเสียกลับมาผลิตไฟฟาเพอลด การใชน้ํามันไดอีกดวย แมในปนี้ยานยนตพลังงานอาจจะดูเงียบๆ ไปบาง ซึ่งอาจเกิดจาก ภาวะน้ําทวม แตที่แนๆ เรองของการอนุรักษพลังงานก็ยังตองควบคูไปกับ การอนุรักษสิ่งแวดลอม เพราะการใชน้ํามันที่มาก ยอมหมายถึงการปลอย กาซคารบอนฯ ที่มากตามไปดวยเชนกัน อนาคตของยานยนตจึงหนีไมพน พลังงานไฟฟา แตอยางวามันขึ้นอยูกับจิตสํานึกของทุกคนวา นึกถึง อนาคตของโลกนี้มากนอยเพียงใด
January 2012 l 69
Energy#38_p68-69_Pro3.indd 69
12/21/11 1:33 AM
Energy Test Run โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย
รัฐเปดศูนยทดสอบพลังงาน สวั ส ดี ปี ใ หม่ กั บ คอลั ม น์ ใ หม่ ที่ พ ร้ อ มนํ า เสนอเรื่ อ งราวการ ทดสอบผลิตภัณฑตางๆ เพื่อดูวาผลิตภัณฑเหลานั้นสามารถใชงาน ไดจริง โดยที่สามารถประหยัดพลังงานไดตามที่อางไว ไมวาจะเปน ผลิตภัณฑเครื่องชไฟฟาทั่วไป, เครื่องจักรอุตสาหกรรม รวมไปถึง ยานยนต สําหรับฉบับปฐมฤกษขอเริ่มดวยการเสนอขาวสารการ ทดสอบผลิตภัณฑที่หนวยงานรัฐเปนผูดําเนินการ
ปจจุบันผลิตภัณฑตางๆ ที่เกี่ยวของกับพลังงานทั้งกาซ, ไฟฟาและ น้ํามัน ก็มักจะรณรงคเรื่องของการประหยัดพลังงานเปนหลัก ซึ่งเปนผล มาจากกระแสการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ โดยที่พลังงานก็เปนสวน หนึ่งของสิ่งแวดลอมธรรมชาติดวยเชนกัน นอกจากนี้ภาระคาใชจายใน ปจจุบันเริ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะหลังผานวิกฤตการณน้ําทวมใหญเมื่อปที่ผาน มา การประหยัดดานพลังงานก็เปนมาตรการหนึ่งที่ทําใหมีเงินเหลือไปใช
70 l January 2012
Energy#38_p70-71_Pro3.indd 70
12/27/11 12:53 AM
จายในดานอื่น แตจะมีใครทราบ บ า ง ว า ที่ อ า ง ว า ป ร ะ ห ยั ด พลั ง งานแท จ ริ ง แล ว สามารถ ประหยัดพลังงานไดจริงหรือไม และประหยัดมากนอยเพียงใด กรมพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน (พพ.) จึ ง เป ด เครื อ ข า ยศู น ย ทดสอบเครื่องจักร อุปกรณและ วัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (Energy Lab Network) โดย ทางกรมฯ คาดหวังใหศูนยดังกลาวเปนตัวที่ชวยสรางมาตรฐานการ ทดสอบผลิตภัณฑประสิทธิภาพสูงเพื่อการอนุรกั ษพลังงาน โดยเฉพาะกลุม เครื่องใชไฟฟาที่มีฉลากประหยัดพลังงานเบอร 5 นอกจากนี้ยังเปนการ ตอกย้ํ าความมั่นใจใหผูประกอบการและประชาชนถึงคุณภาพดานการ ประหยัดพลังงานอยางแทจริง นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน (พพ.) เปดเผยวา “ทางกรมฯ ไดดําเนินการโครงการ เครือข่ายศูนย์ทดสอบเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุเพื่ อการอนุรักษ์ พลังงาน โดยเราตั้งใจใหเปนเครือขายที่รวบรวมหองปฏิบัติการทดสอบ ซึ่งจะเปนในลักษณะความรวมมือจากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อเปนแนวรวมในการสรางมาตรฐานการทดสอบผลิตภัณฑประสิทธิภาพ สูงเพื่อการอนุรักษพลังงาน สําหรับอุปกรณไฟฟาที่ติดฉลากประหยัด พลังงานประสิทธิภาพสูงและฉลากประหยัดไฟเบอร 5 โดยปจจุบันทาง กรมฯ ไดรับความรวมมือจากหนวยงานที่เขาเปนรวมเปนเครือขาย ฯ แลว กวา 35 แหง” ภายใตโครงการดังกลาว ทางกรมฯ ไดทําการศึกษาหองทดสอบ เพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดทั่วไปวาดวยความสามารถของหองปฏิบัติการ ทดสอบและห อ งปฏิ บั ติ ก ารสอบเที ย บ มอก.17025 ตามมาตรฐาน อุตสาหกรรมหรือหนวยงานที่ ไดรบั การแตงตัง้ เปนผูต รวจสอบผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม โดยไดดําเนินการศึกษาผลิตภัณฑตามกฎกระทรวงจํานวน 8 ผลิตภัณฑ อาทิเชน เครื่องปรับอากาศ, ตูเย็น, พัดลมไฟฟาทั้งแบบตั้ง
โตะ – แบบติดผนัง – แบบตั้งพื้น, หมอหุงขาวไฟฟา, เครื่องทําน้ําเย็น สําหรับระบบปรับอากาศ, กระจก, เครื่องทําน้ําอุนไฟฟาและกระติกน้ํารอน ไฟฟา เพื่อสรางความมั่นใจใหแกผูประกอบการ และผูบริโภคที่จะไดสินคา ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้การจัดตั้งเครือขายฯ ดังกลาวยังมีสวนชวยรองรับ วัตถุประสงคในการปฏิบัติตามกฎกระทรวงดานมาตรฐานประสิทธิภาพ พลังงาน โดยเฉพาะการสงเสริมฉลากประสิทธิภาพพลังงาน จําเปนตอง มีการทดสอบคาประสิทธิภาพพลังงานของผลิตภัณฑของสินคาแตละชนิด ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่ตองทําการศึกษาเพื่อรวบรวมขอมูลของหอง ปฏิ บั ติ ก ารทดสอบภายในประเทศ ว า มี ค วามพร อ มในการทดสอบ ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานตามที่กฎกระทรวงระบุไวหรือไม
หลังการตรวจสอบขอมูลในขณะนีพ้ บวา มีหองทดสอบเครื่องจักร อุปกรณ หรือวัสดุเพื่อการอนุรกั ษพลังงาน ซึง่ สามารถดําเนินการทดสอบ ผลิตภัณฑตางๆ ไดทั้งสิ้น 28 แหง โดยประกอบไปดวยหนวยงานจากภาค รัฐ 15 แหง เชน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, โครงการศู น ย บ ริ ก ารอุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล, ภาควิ ช า วิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เปนตน หองทดสอบจากหนวยงานเอกชนอีก 13 แหง ไดแก บริษทั มิตซูบชิ ิ อิเลคทรค คอนซูมอรโปรดักส (ประเทศไทย) จํากัด, หองทดสอบ บริษัท โตชิบา โปรดักส (ประเทศไทย) เปนตน โดยหองทดสอบจํานวนดังกลาว พร้อมดําเนินการมดสอบได้ทันที ซึ่งโครงการดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อให้ผู้ บริโภคทั่วไปมั่นใจไดวา สินคาที่ออกจําหนายในทองตลาดไดผานการ ทดสอบและตรวจสอบในเรื่องของประสิทธิภาพดานการประหยัดพลังงาน อยางถี่ถวนแลว และสามารถประหยัดพลังงานไดจริงตามที่ผูบริโภค ตองการ
Januuary 2012 l 71
Energy#38_p70-71_Pro3.indd 71
12/27/11 12:54 AM
Energy Movement ผูเขียน : ตนสม..และเพื่อน
เริม่ ตนกันดวยการกลาวคําวา สวัสดี 2555 กอนนะเจาคะ แหม ป พ.ศ.เปน มงคลเสียเหลือเกิน ตอนรับปงูใหญ ถาคนจีนเขาก็เรียกวาเปนปมังกร ขอใหการ เมือง การงาน การเงิน ทุกๆ อยางดีราบรื่นไปเสียหมด โอมเพี้ยง!!! เปดศักราชใหมตน สมและเพื่อน ขอจัดเอาใจ แซวขาวพลังงาน-สิง่ แวดลอม กันเปนหมวด ๆ จะไดเพิม่ สีสนั ใหมากขึน้ ก็จะมีขา วความเคลื่อนไหวภาคอุตสาหกรรม ยานยนต และสิ่งแวดลอม ที่พรอมเสิรฟทานผูอานกันอยางครบถวน หวังวาจะ ไดรบั ความเพลิดเพลินจําเริญใจกันไมมากก็มากทีส่ ดุ นะเจาคะ คริคริ ข า วแรกเราเริ่ ม ต น กั น ด ว ยการลงทุ น ต อ นรั บ ป ใ หม ของปตท. ถึ ง 4 แสนล า น โดย คุณเทวินทร วงศวานิช ประธานเจาหนาที่บริหาร การเงิน ปตท. แถลงวา บริษทั จะเสนอแผนการลงทุน 5 ป (ป 2555-2559) เพราะตองเผื่อสําหรับการลงทุน ใหม ๆ เพิ่มขึ้น ทั้งการควบรวมกิจการ การลงทุน เทวินทร วงศวานิช ธุรกิจถานหินและกาซธรรมชาติเหลว(LNG) ในประเทศ และสถานีบริการน้ํามันในประเทศเพื่อนบาน แตเอ..ทําไมไมมีแผนสําหรับ NGV มั่งหวา หุหุ สวนการลงทุน “ไฮสปดเทรน” MOU ระหวางไทย-จีน เสนทาง กรุงเทพ-เชียงใหม ซึง่ จะเชื่อมไทยกับภูมภิ าคอาเซียน และจะชวยสนับสนุนดานการ ลงทุนการคาระหวางประเทศ และชวยใหไทยเปนศูนยกลางทางการคา การขนสง ในภูมิภาค ทั้งนี้จีนมีความสนใจลงทุนไฮสปดเทรนในไทย ในเฟสแรก เสนทาง กรุงเทพฯ-นครราชสีมา-หนองคาย และเสนทางกรุงเทพฯ เชียงใหมกอน ตาม แผนทีจ่ นี จะเชื่อมโครงขาวเสนทางขนสงในภูมภิ าคอาเซียน ทัง้ นีม้ โี ครงการลงทุน ในเฟส 2 เพื่ อ เชื่ อ มต่ อ ไปยั ง ประเทศมาเลเซี ย หรื อ ในเส้ น ทางกรุ ง เทพฯปาดังเบซาร และโครงการอื่นๆ ยังจําขาว โรงไฟฟาที่ใหญติดอันดับโลกของไทยไดใชไหมเจาคะ ก็ที่ จังหวัดลพบุรีนะแหละเจาคะ กลางปนี้ ใครสนใจจะไปศึกษางานเยี่ยมชมก็สามารถ แลวละคะ โดยโครงการนี้มีสวนรวมในการชวยประเทศไทยลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดออกสูชั้นบรรยากาศไดมากกวา 1.3 ลานตัน ตลอดอายุการ ดําเนินโครงการ 25 ป และชวยลดการนําเชาเชื้อเพลิงไดมากถึงปละ 35,000 ตัน นอกจากนี้ “ลพบุรี โซลาร” ยังไดรบั การคัดเลือกจากสํานักงานปลัดสํานักนายก รัฐมนตรี ใหเปนหนึ่งในโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษาดวย โดยคุณวรมน ขําขนิษฐ กรรมการผูจัดการ บจก. พัฒนา พลังงานธรรมชาติ กลาววา โครงการ ลพบุรี โซลารเริม่ ดําเนินการมาตัง้ แต เดือน ก.ค.2553 ซึง่ ใชระยะเวลาในการกอสรางจนถึงเดินเครื่องเชิงพาณิชยราว 18 เดือน สําหรับสวนขยายเพิม่ 11 เมกะวัตต (DC)/8 เมกะวัตต(AC) รวมเปน 84 เมกะวัตต (DC)/63 เมกะวัตต (AC) อยูร ะหวางการดําเนินงาน ซึง่ บริษทั ฯ คาดวา จะพัฒนาแลวเสร็จในเดือนมิถนุ ายน 2555 และพรอมเปนแหลงเรียนรูเ รื่องแหลง พลังงานธรรมชาติ เพื่อเปดใหเยีย่ มชมโดยไมเสียคาใชจา ยในชวงกลางป 2555 ยายไปที่โคราชบานเอ็งกันบาง เขาก็มโี ซลาฟารมนะจะบอกให โดยเจาของคือ บจก.เอสพีซีจี ที่สรางโซลารฟารมโคราช 1-2 จากจํานวนโครงการทั้งหมด 34 แหง โดยคุณจิราคม ปทุมานนท กรรมการและ วิศวกรไฟฟาผูเ ชีย่ วชาญการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย เลาวา ฟารม
1-2 นี้มีกําลังการผลิตรวมประมาณ 12 เมกะวัตต สามารถจายไฟใหภาคครัว เรือนไดประมาณ 2,000 หลังคาเรือน ในโซลาฟารม 1 โครงการสามารถลดการ ปลอยคารบอนไดถึง 4,800 ตันตอป หรือเทียบไดกับการชวยลดการตัดตนไมได ถึง 1.2 หมื่นตันตอป วาวววว...อยางนี้ตนสมยกใหเปนโรงไฟฟาเพื่อสิ่งแวดลอม และประชาชนอยางแทจริงอีกหนึ่งโครงการเจาคะ แดดแลวมาลมกันบาง โดยการ ดําเนินงานของบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี โฮลดิ้ง (RATCH) ที่เปนบริษัทเอกชนแหง แรกของไทยที่ ผ ลิ ต ไฟฟ า พลั ง งานลมเชิ ง พาณิชย โดยเริ่มตนผลิตพลังงานลมบนเขา คอ จ.เพชรบูรณ 72 เมกะวัตต และลาสุดโครงการหวยบง 2 ซึ่งเปนแหลงผลิต แหลงที่ 3 ซึ่งทางบริษัทเห็นแลววาพลังงานลมนั้นเปนพลังงานที่นาลงทุนเพราะ ไมสรางมลภาวะใดๆ โดยวางแผนจะลงทุนในประเทศแถบยุโรปอื่นๆ อีกนอกจาก ออสเตรเลียที่เขารวมหุนกันไปเรียบโรยเจาคะ กระแสพลังงานทดแทนนัน้ ไมไดหยุดนิง่ อยู แคบนบก แตมนั ลอยขึน้ ฟาไปกับ Travel Green เครื่องบิน ใชเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพในเที่ยวบินพาณิชย ของการบินไทย โดยเครื่องบินทีจี 104 แบบโบอิ้ง 777-200 กรุงเทพ-เชียงใหม ในโครงการ “พานอง ทองฟา” โดยคุณปยสวัสดิ์ อัมระนันท กรรมการผู ปยสวัสดิ์ อัมระนันท อํานวยการใหญ การบินไทย กลาววา เราตระหนัก ถึงความสําคัญดานสิ่งแวดลอม มุงเนนที่จะชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยมีแผนใชเชื้อเพลิงชีวภาพ ในป 54-60 ถือเปนเปาใหญในการเปนผูนําการใช เชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพในอาเซียนเชียวนะเจาคะ และเป น ที่ ส รุ ป ในแผนพั ฒ นา กําลังผลิตไฟฟาฉบับปรับปรุงใหม จะใหเลื่อน แผนกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรออกไปอีก 3 ป นอกจากนี้ ในแผนจะมีการเปดประมูลรับ ซื้อไฟฟาจากเอกชนรายใหญ (ไอพีพี) ที่ ได ทําการปรับปรุงเงื่อนไขคือจะไมระบุเภทเชื้อเพลิง และสัดสวนการผลิตไฟฟาจาก เชือ้ เพลิงชนิดใดเปนหลัก โดยจะเนนการกระจายสัดสวนเชือ้ เพลิงทัง้ กาซธรรมชาติ และถานหิน ฯลฯ เรียกวาฝงกลบนิวเคลียรไปกอนระยะหนึ่งเจาคะ ใหประชาชนมัน่ ใจเรื่องไฟฟามากขึน้ กฟผ.ก็เลยทุม อีกหมื่นลานสราง หนวยผลิตโรงไฟฟาแมเมาะอีก 1 แหง กําลังผลิต 600 เมกะวัตต ทดแทน หนวยผลิตที่ตองปลดระวาง โดยจะสามารถเขาระบบไดในป 2562-2563 ตอนนี้ ก็เรงเดินหนากระบวนการประชาพิจารณเจาคะ
Industrial โดย : เกาะสมุย...ซุยขาว ผานพนไปแลวสําหรับนองน้าํ แต ยังทิ้งรองรอยคราบโคลน ขยะและกลิ่นไวให แกปญหากันตอไปซึ่งบางที่ ได บิ๊กคลีนนิ่ง เดย กันเรียบรอยแตอีกหลายที่ยังคงปลอย ใหเปนปญหาของชุมชนตอไปโดยไมมีใครดูแล คงตองใชเวลาอีกเปนเดือนที่ขยะจากน้ําทวมจะหมดไป
72 l January 2012
Energy#38_p72-74_Pro3.indd 72
12/27/11 9:41 PM
ES Online
โลกก็รอนนอยลงนะคะ ไมแนนะ ถาเราระดมรวมมือกัน ปนี้น้ําอาจจะไมทวม อย า งที่ เ ขาทํ า นายกั น ไว ก็ ไ ด เราจะได หั ว เราะได เ ต็ ม ปาก เหมื อ นกั บ ป พ.ศ.นี้ก็ ไดนะคะ “555”
สินคารักษโลก
ของขวัญปใหม 2555
ปนี้เห็นทาจะมีแตความขบขัน กั น ทั้ ง ป ก็ เ ลข พ.ศ.ดู อ ารมณ ดี ซ ะ ขนาดนี้ “555” หวั ง ให เ ป น เช น นั้ น จริงๆ นะคะ จากที่เมื่อปกอนนี้ชาวไทย เราอวมกันมามากเหลือเกินจากมหา อุทกภัยครั้งที่รายแรงที่สุดในรอบ 40 ป บานใครทวมก็โดนไปเต็มๆ ใครไม ทวมก็โดนหางเลขไปดวยไมมากก็นอย Energy Saving เราอยากจะ ปลอบขวัญพี่นองชาวไทยอีกทางหนึ่ง จึงขอตอนรับปมังกรทอง และที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 3 ป กาวสูปที่ 4 ของ นิตยสารเราดวย โดยการมอบของขวัญปใหมจากใจพวกเราชาว ES ใหกับแฟน EnergySavingMedia.com ตัวจริง เพียงคุณกดไลคเปน FB fanpage เราที่ www.facebook.com/energysavingmedia โดยดูรายละเอียด กฎ กติกา มารยาท ตางๆ ไดที่ แคมเปญ Like me EnergySavingMedia.com ใจดี ให fanpage อานฟรี 3 เดือน ใน Facebook ของเราคะ บางทีนิตยสารของเราอาจ เปนสวนจุดประกายแนวทางในการประหยัดพลังงานใหแกคุณได คุณประหยัดขึ้น แต ณ เวลานั้นหลายคนคงไมมี กระจิตกระใจจะไปเที่ยวไหนเพราะหมดเงินกับ คาใชจายในการทําความสะอาดบาน และซื้อ เฟอร นิ เ จอร เ ข า บ า นหลั ง จากโดนน อ งน้ํ า เล น งาน และอี ก หลายคนคงกลั บ บ า น ตางจังหวัดไปฉลองตอนรับปใหมกันพรอมหนาพรอมตากับครอบครัวที่ ไมไดเจอ กันมานานนับปหรืออีกหลายๆ คนหลบความวุนวายไปรับไอเย็นทางจังหวัดตอน เหนือ และอีสาน ของประเทศไทยทีก่ าํ ลังไดรบั อิทธิพลความกดอากาศสูงทีป่ กคลุม ประเทศไทยตอนบน ผอนคลายสบายใจแลวกลับมาลุยงานกันตอครับ ชวงนีป้ กติกระทรวงพลังงาน หรือหนวยงานทีอ่ ยูในสังกัดกระทรวงฯ จะมีงบพานักขาวไปชมงานทัง้ ในและตางประเทศ (ถาพูดกันเขาใจงายๆ คืองบเทีย่ ว ประจําปนั่นเอง) แตตองโดนตัดงบไปชวยเหลือน้ําทวม 10% ปนี้ก็เลยดูเงียบๆ ถามีก็บอกนะ...อิอิ พอน้าํ เริม่ แหงหลายหนวยงานหลายองคกรก็เริม่ เดินเครื่องปฏิบตั งิ าน กันทันทีหลังจากตระเวรชวยเหลือน้าํ ทวมกันมานานหลายเดือนลาสุด เอ็กโก กรุป ไดเซ็นสัญญาซือ้ ขายไฟฟา SPP 3 โครงการรวม 375 MW กับการไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศ (กฟผ.) ประเภทสัญญา Firm ระบบ Cogeneration เรียบรอยแลว สวนรัฐมนตรีวาการกระทรวง พลังงาน ทานพิชัย นริพทะพันธุ ก็ ไดมี โอกาส ....เขาเยีย่ ม นายโมฮัมหมัด บิน เดียน อั ล ฮั ม ลี่ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง
ในเว็บเรามี Section สินคารักษโลก ไวใหผูอานศึกษาหาเครื่องมือในการ ชวยประหยัดพลังงานไวดวยนะคะ ทั้งเครื่องมือที่เหมาะกับภาคอุตสาหกรรม และ ภาคครัวเรือน Gadget นอยใหญ in-trend / up-trend สามารถนําไปใชไดใน หลายๆ โอกาส
ISO 50001
จบครบ 4 ตอนแลวคะ กับสกูปพิเศษของเว็บไซต ที่เสนอเกี่ยวกับ มาตรฐานดานพลังงานตัวแรกของโลก ISO 50001 ครบถวนทั้งคําอธิบายวา มาตรฐานพลังงานตัวนี้คืออะไร ใครเปนผูไดประโยชน ทําอยางไรจึงจะผาน มาตรฐานตัวนี้ ได ตลอดถึงกรณีศึกษาจากผูที่ ไดรับรองมาตรฐานตัวนี้แลว ไม ตองรออีกตอไป อานรวดเดียวเลยดีกวาคะ
ES Online :
facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag EnergySavingMedia.com savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย พลังงานของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส (U.A.E.) หลังจากมัวแตยุงกับภารกิจ ชวยเหลือน้ําทวมกันหลายเดือน เพื่อกระชับความสัมพันธและเจรจาความรวมมือ ดานพลังงาน พรอมแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับสถานการณราคาน้ํามันและ เศรษฐกิจของโลก ณ กรุงอาบูดาบี ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส นีเ้ ปนสวนหนึง่ ในนโยบายของกระทรวงฯ หรือไปเยี่ยมใครบางคนหรือเปลา...อิอิ ติ ด ตามข า วกั น มากว า 2 ป สําหรับขาวคราวการลงไปทําธุรกิจโรงไฟฟา ของตระกูลมาลีนนท ลาสุดเพิ่งไดเปดตัว แถลงขาวเปด บริษทั ไทย โซลาร เอ็นเนอรย่ี จํากัด (ทีเอสอี) หรือ Thai Solar Energy Co., Ltd (TSE) ที่ผลิตไฟฟาดวยเทคโนโลยีพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย แบบรางพาราโบลาซึ่งเปนแหงแรกในเอเชีย งานนี้ทําเอา ดร. แคทลีน มาลีนนท ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ เปนปลื้มเมื่อไดรับเชิญแขกผูมีเกียรติอยาง ทานยงยุทธ วิชัยดิษฐ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวง มหาดไทย พรอมดวย คุณพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวง พลังงาน รวมแสดงความยินดี
Transport โดย : วัตโตะ ปตท. มั่นใจบัตรเครดิตพลังงาน เวิรคเพียง 8 วัน ยอดสมัครบัตรฯ พุง 1.3 หมื่นใบ เตรียมเพิ่มชองทางรับสมัครตั้งเปา Januuary 2012 l 73
Energy#38_p72-74_Pro3.indd 73
12/27/11 9:42 PM
5 หมื่นใบกอน 16 มกราคมนี้ ดาน นายพีระพงษ อัจฉริยชีวิน รองกรรมการ ผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจกาซธรรมชาติ บมจ.ปตท. กลาววา “ปตท. ยัง ไมมีกําหนดเวลาปดโครงการ แตจะมาตรวจสอบเพื่อสรุปจํานวนผูสมัครอีกครั้ง ในวันที่ 15 มกราคมนี้ กอนทีจ่ ะตัดสินใจควรขยายระยะเวลาการรับสมัครตอหรือไม” สํ า หรั บ บั ต รเครดิ ต พลั ง งานจะมี ว งเงิ น เครดิ ต สํ า หรั บ ชํ า ระค า ก า ซจํ า นวน 3,000 บาทตอคนตอเดือน นอกจากนี้ยังไดรับสวนลดราคาขายปลีก NGV โดย มีวงเงินสวนลดไมเกินมูลคายอดการซื้อกาซ 9,000 บาทตอเดือน คลังยืดภาษีสรรพสามิตดีเซลออกไปอีก 1 เดื อ น โดย นายธี ร ะชั ย ภู ว นาถนรานุ บ าล รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เปดเผยวา “กระทรวงฯ ไดลงนามขยายเวลาการจัดเก็บภาษี สรรพสามิตดีเซลในอัตราลิตรละ 0.005 บาท ออกไป ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อีก 1 เดือน จากเดิมที่จะสิ้นสุดมาตรการในวันที่ 31 ธ.ค. 54 เปนวันที่ 31 ม.ค. 55” สําหรับมาตรการภาษี ที่จะชวยเหลือประชาชนจากเหตุอุทกภัย ไดลงนามในรายละเอียดไปแลว ผู ผ ลิ ต เอทานอลคาดลดเก็ บ เงิ น แก ส โซฮอล 95 หวังกระตุนการใชเอทานอล นายสิริวุทธิ์ เสียมภักดี นายกสมาคมผูผลิตเอทานอล กลาววา “ทางสมาคมผูผลิตเอทานอลไดขอเขาพบรัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน เพื่อหารือถึงสถานการณ เอทานอลในปจจุบนั ทีม่ ปี ริมาณความตองการใชลดลง สิริวุทธิ์ เสียมภักดี มาจากเดิมวันละ 1.3-1.4 ลานลิตร มาอยูที่ ไมเกิน วันละ 1 ลานลิตร โดยรัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงานไดชแี้ จงวา จะมีมาตรการ เขามาชวยเหลือ โดยอาจจะลดการจัดเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันเชือ้ เพลิงของแกส โซฮอล 95 เพื่อทําใหมีสวนตางเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเบนซิน 91” บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. ชนะการประมูลแหลง ปโตรเลียมบนบกในพมา โดย นายพิชยั นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน เปดเผยวา “จาก การหารือกับนายยูทนั เต รัฐมนตรีพลังงานพมา ทําให ได รบั ขาวดีในความรวมมือดานพลังงานของ 2 ประเทศ พิชัย นริพทะพันธุ โดยทางพม า แจ ง ให ท ราบว า ปตท.สผ.ได รับ การ คัดเลือกเขาลงทุนจํานวน 2 แปลง นอกจากนีท้ างการพมายังสนับสนุนในสวนทีจ่ ะ ขอสํารวจแหลงปโตรเลียมน้าํ ลึกในทะเลอันดามัน คือ แหลง MD7 และ MD8”
Environment โดย : สุกี้ จากเหตุการณน้ําทวมที่ผานมา ภาคเอกชนหลายแหงก็ ไมรอชาเขาใหความ ชวยเหลือในพืน้ ทีซ่ งึ่ ประสบภัยโดย ปูนอินทรี ร่ ว มกั บ คณะกรรมการนั ก ธุ ร กิ จ เพื่ อ สิ่งแวดลอมไทย (TBCSD) รวมกันฟนฟู ผูประสบภัยน้ําทวมและสิ่งกอสราง ณ วัดเทพจันทรลอย จ.พระนครศรีอยุธยา นําโดย คุณประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานนักธุรกิจเพื่อสิง่ แวดลอมไทย และ เรืออากาศโทคันธนิธิ์ สุคนธทรัพย รองประธานดานธุรกิจสัมพันธ บริษัท
ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) จัดทีมวิศวกรและชางจาก กรมพัฒนา ฝมือแรงงาน ออกหนวยใหคําแนะนําชาวบานในเรื่องการซอมแซมบานเรือนและ อุปกรณเครื่องใชที่ ไดรับความเสียหายจากน้ําทวม งานนี้ ไดรับความสนใจจาก ชาวบาน พากันขนขาวของเครื่องใชมาเพียบเลยจา นอกจากจะมีทีมซอมแซมแลว งานนี้ทาน ผูบ ริหารทัง้ หลายยังออกโรงนําทีมชวยซอมแซม ทาสี บริเวณโบสถ วัดเทพจันทรลอย โดย คุณประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธาน TBCSD ลงมือฉาบปูนทาสีดว ย ตัวเอง โดยถลมตัวเองวา ตองรีบทําใหนักขาวถายรูป เร็ วๆ เพราะถาทํามากกวานีช้ า งทีม่ าดูตอ จะทํางานหนัก ประเสริฐ บุญสัมพันธ กวาเดิม กอนจะบอกวาตนนัน้ จบวิศวะมานานจนคืนวิชา ไปหมดแลว งานนี้ ใครอยากเห็นฝมือฉาบปูนของทาน คงตองแวะไปเยี่ยมที่ วัดเทพจันทรลอยดูกันคา ยังคงอยูที่ภารกิจของ TBCSD ที่รวมกับ การไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย จัดกิจกรรมปลูกตนไมเพื่อสรางแหลงเรียนรูระบบนิเวศ : เกาะนก ภายในบริเวณอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร ภายใตโครงการ อุทยานฯ สีเขียวดวยพระบารมี ทีบ่ รรดาคณะกรรมการ TBCSD รวมกันปลูกตนไม ในโครงการ ซึ่ ง ต น ไม แ ต ล ะต น ที่ เ ลื อ กมานั้ น ก็ แ สนจะเป น มงคล โดยเฉพาะ คุณประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธาน TBCSD ที่ ไดปลูกตนโพธิ์ เพราะจะไดเปน รมโพธิ์รมไทรแกชาว TBCSD นั่นเองคา สวน พิธีมอบโครงสรางปองกันและพื้นฟูพื้นที่เสี่ยงภัยดินถลม ณ ศูนยภูฟาพัฒนาฯ จ.นาน อีกหนึ่งภารกิจของ TBCSD ที่ ไดตอยอดการ ดําเนินงานของ กรมทรัพยากรธรณี ในการจัดการธรณีพิบัติภัยดินถลม โดยคัดเลือกบานหางทางหลวง เปนพื้นที่นํารอง เพื่อใหชุมชนเกิดการเรียนรู ในการปองกัน และลดผลกระทบธรณีพิบัติภัยในชุมชนอยางยั่งยืน งานนี้นับเปนการรวมตัวของ 3 “อดิ” ไมวาจะเปน คุณอดิศักดิ์ โรหิตะศุน ประธานกลุม Natural Disaster คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อ สิ่งแวดลอมไทย, คุณอดิศักดิ์ ทองไขมุกต อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี และ ดร.อดิ ช าติ สุ ริ น ทร คํ า ผู อํ า นวยการสํ า นั ก งานทรั พ ยากรแร กรมทรัพยากรธรณี ที่แอบแซวความบังเอิญกันขําๆ วา ใหระวังเขียนชื่อกับ ตําแหนงสลับกัน เพราะดันมาชื่อคลายกันตั้ง 3 คนแบบนี้ สวน ดร. ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูอํานวยการสถาบัน สิง่ แวดลอมไทย คนใหมลา สุดทีเ่ พิง่ ประกาศรับตําแหนงอยางเปนทางการไปเมื่อ เดือนธันวาคมที่ผานมา ทาง ENERGY SAVING ก็ตองขออนุญาตแสดงความ ยินดีมา ณ ที่นี้คะ ซึ่งใครที่อยากทราบมุมมอง และวิสัยทัศนของทาน ผอ. คนใหม ก็สามารถตามอานไดท่คี อลัมน ENERGY KEYMAN ฉบับนี้ ไดเลยคะ สุดทายเก็บตกกับ พิธีสงมอบอาคาร อินทรี อาษา ณ โรงเรียน ตํารวจตระเวนชายแดนชมรมพุทธศิลปะไทยอนุสรณ อ.ปางมะผา จ.แมอองสอน ซึ่ง บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) รวมกับ สมาคมสถาปนิก สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ นําโดย คุณฟลิป อารโต กรรมการผูจัดการ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ที่กอนจะเริ่มกลาวสงมอบ คุณฟลิปไดพูดเปนภาษาไทยวา “สวัสดีครับ จากนี้ผมจะพูดเปนภาษาอังกฤษ เพราะผมพูดภาษาไทยไมเกง” แบบสําเนียงใชไดเลยทีเดียว ไมรูวาเร็วๆ นี้จะไดฟง คุณฟลิปพูดภาษาไทยแบบคลองปรื๋อแบบคุณภรรยารึเปลานะคะ ฮิฮิ
74 l January 2012
Energy#38_p72-74_Pro3.indd 74
12/27/11 9:42 PM
Energy Clinic
โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย
“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง
http://www.inthanon2007.com/images/sub_1237037464/ P10109966.jpg
Q : หากจะนําขยะอินทรียจ ากครัวเรือนมาผลิตเปนแกสชีวภาพ จะมีขั้นตอนและวิธีการอยางงายอยางไรบางครับ A : ระบบการผลิตแกสชีวภาพจากเศษอาหารภายในบานในเบื้องตน ก็พอมีวิธีการทําแบบงายๆ ไมยุงยากดังนี้ครับ เริ่มดวยการจัดการกับ เทคโนโลยีถงั หมักกาซชีวภาพขนาดเล็ก ซึง่ จะทําหนาทีย่ อ ยสลายขยะอินทรีย ประเภทตางๆ เชน เศษอาหารจากชุมชน หรือขยะจากครัวเรือน เปนตน โดย อาศัยหลักการยอยสลายของจุลนิ ทรียท ี่ ไมใชออกซิเจนเปลีย่ นขยะอินทรียใ ห เปนกาซชีวภาพสาหรับใชหุงตมในครัวเรือน ถังหมักกาซชีวภาพ จะมีองคประกอบดังนี้ ชุดใบกวน ชุดบดยอย ขยะอินทรีย ถังสูบขยะอินทรียและกากตะกอนปมสูบขยะอินทรียและกาก ตะกอน ถังเก็บกาซชีวภาพ ฯลฯ ขัน้ ตอนในการทําคือ นําขยะอินทรียม าบดยอยดวย เพอใหมขี นาดทีเ่ ล็ก เหมาะสาหรับการยอยสลายโดยจุลินทรีย แลวนําขยะอินทรียใสไปยังถังหมักกาซชีวภาพผานทางทอปอนขยะ ขยะชีวภาพในถังหมักจะถูกยอยสลายโดยจุลินทรียที่ ไมใชออกซิเจนเกิดเปน กาซชีวภาพ โดยกาซชีวภาพทีเ่ กิดขึน้ จะไหลผานทอนํากาซไปยังถังเก็บกาซ ชีวภาพเพอใชงานสําหรับหุงตมตะกอนที่เกิดขึ้นจากการยอยสลายจะถูก ระบายออกทางทอระบายตะกอนในรูปของเหลว เมอนําไประเหยน้ําออก สามารถนําไปเปนปุย ชีวภาพได เปนการกําจัดขยะเนาเหม็นทีส่ ง กลิน่ รบกวน ชุมชน ลดปญหาทางดานสิ่งแวดลอม ระบบทํางานไมยุงยาก เหมาะสาหรับ ชุมชนขนาดเล็ก การผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรียใ นครัวเรือน ประกอบดวย 2 ถัง คือ ถังแรก เปนถังหมักขยะ สวนถังที่สองเปนถังเก็บกาซ โดยกาซที่เกิด ขึ้นจากถังหมักขยะจะสงไปยังถังเก็บกาซ หลังจากนั้นก็ตอสายยางเพอนํา กาซไปใชในครัวเรือนดังภาพที่ 1 โดยการออกแบบและการทํางานถังหมัก ขยะและถังเก็บกาซดังภาพที่ 2 และ 3 ตามลําดับ
เพียงพอ” ภาพที่ 1 การผลิตกาซชีวภาพจากขยะอินทรีย ในครัวเรือน
ภาพที่ 2 ถังหมักขยะอินทรีย ในครัวเรือน
ภาพที่ 3 ถังเก็บกาซชีวภาพ
January 2012 l 75
Energy#38_p75-76_Pro3.indd 75
12/21/11 1:18 AM
มีอากาศรอนซึ่งพรอมจะลอยตัวสูงออกจากอาคารอยูแลว ขอใหคุณหา ชองเปดเพอระบายอากาศไดเทานั้นก็พอ Q : อยากไดเ คล็ด ลั บ ในการ เลือกซื้อเครื่องทําน้ําอุ่นในช่วงหน้า หนาวนี้ A : การเลือกซื้อ ไดแก 1. เลื อ กซื้ อ เครื่ อ งทํ า น้ํ า อุ่ น ที่ มี กําลังวัตตเหมาะสมกับความจําเปนในการ
http://sswsupply.com/images_Project/Air.jpg
Q : อยากทราบวาลูกหมุนที่เราเห็นบนหลังคาบานหรือตาม โรงงานนั้นชวยระบายความรอนไดจริงหรือไมครับ A : กอนอนคงตองศึกษาเรองความรอนที่เขามาในตัวบานเสียกอน โดยปกติความรอนจะเขามาทางหลังคาประมาณ 70% และทางผนังอีก 30% เพราะฉะนั้นถาคุณหยุดและสกัดกั้นไมใหความรอนมาทางหลังคาได บานของคุณก็จะอยูเย็นขึ้น วิธีที่จะชวยสกัดกั้นความรอนทางหลังคานั้นทําไดหลายวิธีดวยกัน ไมวาจะเปนการติดตั้งฉนวนกันความรอนหรือแผนสะทอนไว ใตหลังคา บนฝาเพดานหรือแมกระทัง่ วิธมี งุ หลังคาดวยจากหรือหญาคาตามวิทยาการ ของคนโบราณ วิธีเหลานี้เรียกวา “การลดความรอน” แตถาใชชองระบาย อากาศ ปลองระบายอากาศหรือติดตั้งลูกหมุนระบายอากาศ วิธีเหลานี้ เรียกวา “การไลความรอน” เพอไมใหความรอนสะสมใตหลังคาแลวแผลง มาสรางความรอนใหกับบาน เคล็ดลับสําคัญของวิธีนี้คือเมอมีชองให อากาศไหลออกก็ตองมีชองใหไหลเขาดวย เพราะถ า ไม พิ จ ารณาถึ ง การไหลของลมต อ ให ติ ด ตั้ ง พั ด ลมดู ด อากาศเพิ่มอีก 2 ตัว มันจะกลับกลายเปนดูดเงินของคุณแทนเพราะไมมี ประโยชนอะไรเลย ก็เหมือนการเปดหนาตางนั่นแหละ ถาเปดดานเดียวตอ ใหลมมากแคไหน หองของคุณก็ ไมเย็นขึ้นเทาไหร แตถาเปดอีกขางดวย ลมก็พัดเขามาเยือนใหคุณเย็น แตการเจาะชองระบายอากาศทั้ง 2 ชองก็ ตองดูดว ยวาจะวางตัวอยางไร ซึง่ คุณตองเขาใจธรรมชาติของลมรอนซะกอน นั่นก็คืออากาศร้อนจะลอยตัวขึ้นสูงเพื่อให้อากาศเย็นพัดเข้ามาแทนที่ อากาศที่รอนจะลอยตัวขึ้นสูงนั่นก็คือใตสันจั่วหลังคา แตที่นั่นเปนหลังคา อากาศจึงระบายออกไมได ถาคุณเปดชองนี้ออก ทั้งฝนทั้งแดดก็กระหน่ํา ใสบานของคุณ นั่นคือโจทยที่คุณตองแกปญหา ทําอยางไรก็ไดใหชอ งไลลมรอนอยูจ ดุ บนสุดของหลังคาและใหมชี อ ง เปดรับอากาศอยูในตําแหนงต่ํากวา จะเห็นไดวามีทั้งการทําแบบปลองไฟ ปลองควัน ลูกหมุนหรือหลังคา 2 ชั้นก็ ได สวนชองเปดใหอากาศไหลเขา ตองกวางพอ อยาใหมอี ะไรอุดตัน เพราะฉะนัน้ การทีค่ ณ ุ จะติดตัง้ อุปกรณนี้ ไวบนหลังคาบานก็วิเคราะหกันหนอยวามันจะคุมคาการลงทุนไหม? เพราะ คุณมีวธิ กี ารคลายรอนใหบา นตัง้ หลายแบบในราคาทีถ่ กู กวาดวย เมืองไทย
ใชงานและขนาดของครอบครัว 2. เลือก ซื้อรุนที่มีคุณภาพและมาตรฐานการผลิต เพราะจะทนทาน ตอการใชงาน ปลอดภัย และประหยัดไฟไดดีกวา อยาลืมตรวจสอบเรอง บริการหลังการขายและการรับประกัน 3. เลือกซือ้ เครองทําน้าํ อุน ทีม่ ถี งั เก็บน้าํ ภายในตัวเครอง และมีฉนวน หุม จะประหยัดไฟไดรอยละ 10-20 เครองทําน้ําอุนชนิดที่ ไมมีถังน้ําภายใน จะสิ้นเปลืองพลังงานในการทําใหน้ํารอนอยูตลอดเวลา 4. เครองทําน้ําอุนที่ปลอดภัยจะตองมีเครองปองกันไฟดูดหรือ ตัวตัดไฟติดตั้งอยู ในตัวเครอง ถาซื้อเครองทําน้ําอุนมาแลวแตไมมีตัว ตัดไฟ สามารถซื้อเบรกเกอรที่ตัดไฟเกิน ไฟรั่ว ไฟดูด มาติดตั้งเพิ่มเติมได 5. สวิตช และสวนประกอบตางๆ ของเครองทําน้ําอุนตองเปนชนิด ที่กันน้ําได ตัวเครองดานหนาอาจเปนพลาสติก แตฝาหลังที่ยึดติดกับ ฝาผนังตองเปนโลหะ เพราะหากเกิดไฟรั่ว จะไดรั่วลงดินผานทางฝาหลัง ออกไปยังน็อตสกรูที่ยึดติดกับปูนฝาผนัง ชวยลดอันตรายจากไฟรั่วได ท า ยนี้ การอาบน้ํ า อุ น นั้ น ช ว ยกระตุ น การไหลเวี ย นโลหิ ต และ ผอนคลายความตึงเครียด ของกลามเนื้อได อยางไรก็ตาม การอาบน้ําอุน เปนประจําอาจทําใหผิวแหงได โดยเฉพาะเวลาที่อากาศหนาวเย็น ผิวของ เราจะแหงกวาปกติอยูแลว แนะนําใหปรับอุณหภูมิน้ําอยาใหอุนจนเกินไป และหลั ง อาบน้ํ า ควรดู แ ลบํ า รุ ง รั ก ษาผิ ว ด ว ยการทามอยส เ จอไรเซอร ดวยนะครับ อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงายๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพอเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรองพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535
ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่
website : www.escctcc.com
76 l January 2012
Energy#38_p75-76_Pro3.indd 76
12/21/11 1:16 AM
โครงการสัมมนาเผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัดพลังงานสัญจรสําหรับ SME ครั้งที่ 4/2554 ปจจุบันการอนุรักษพลังงานเปนปจจัยที่ 5 ในการใชชีวิตของ ผูคนเนองจากเชื้อเพลิงพลังงานนั้นมีราคาที่สูงขึ้น ประกอบกับภาวะ อากาศเปลีย่ นแปลงซึง่ สงผลกระทบโดยตรงกับการดํารงชีวติ ของคน เรา และหลายหนวยงาน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน รวมถึงภาคประชาชนทัว่ ไป ได้ตระหนักถึงเรื่องนี้เป็นอย่างดีและได้ดําเนินการหาแนวทางการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง สํ า หรั บ แนวทางการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของแต ล ะองค ก รนั้ น สวนใหญมีวิธีจัดการดานพลังงานที่ ไมแตกตางกัน และเพอเปนการ สงเสริมใหทุกภาคสวนไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงานไดอยาง ทั่วถึง ในการนี้หอการคาไทยจึงไดจัดงานโครงการสัมมนาขึ้นเพอ เผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัด พลั ง งานสั ญ จรสํ า หรั บ SME ขึ้ น โดยได สั ญ จรไปทั่ ว ทุ ก ภาค ซึ่งครั้งลาสุดไดจัดขึ้นที่ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ในงานนี้ น อกจากจะได รั บ เกี ย รติ จ ากกู รู ด า นการจั ด การ พลังงานจากทั้งหนวยงานภาคเอกชน และจากหนวยงานของภาครัฐ มาให ค วามรู ด า นการบริ ห ารจั ด การพลั ง งานภายในองค ก รแล ว ในงานยั ง มี ก ารจั ด บู ท แสดงสิ น ค า อุ ป กรณ เทคโนโลยี ป ระหยั ด พลังงานใหผูเขารวมฟงสัมมนาในแตละครั้งไดชมกันอีกดวย
ESCC Energy Call Center 0-2622-1860-76 ต อ 3 1 2 , 5 2 1 แ ล ะ 5 3 5 “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ใช พ ลั ง งานอย า งเพี ย งพอ” Energy#35_p97_Pro3.indd 97
9/21/11 10:38 PM
Logistics Solution
โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
2012
เติ ม ถึ ง ปริ ม าณก า ซคาร บ อนไดออกไซด ที่ ป ล อ ยออกมาจาก กระบวนการผลิตและการขนสงสินคา ทัง้ นี้ ผูบ ริโภคยินดีทีจ่ ะจายเพิม่ มากขึ้ น อี ก ในระดั บ หนึ่ ง เพื่ อ ให้ ได้ สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิง่ แวดลอม รวมถึงลูกคาก็พรอมสําหรับการรอรับสินคาซึง่ อาจตอง รอนานกว่าเดิม เพื่อแลกกับระบบการขนส่งที่เป็นมิตรต่อสภาพ แวดลอมมากขึ้นดวย โดยพฤติกรรมของผูบริโภคนี้จะทําใหธุรกิจเกิด การพัฒนาอยางแนวแนในดานการปรับปรุงมาตรฐานสิ่งแวดลอม และผูใหบริการโลจิสติกส (Third-Party Logistics : 3 PL) ที่ปจจุบัน ไมคอ ยใสใจในเรองของสภาพแวดลอมนัก ถึงเวลาทีจ่ ะตองกําจัดจุดออน ของตนใหเร็วที่สุดกอนจะถูกสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงธุรกิจ
มองทิ ศ ทางโลจิ ส ติ ก ส แ ละ ซัพพลายเชน 2012 ภายหลังจากเหตุการณน้ําทวมใหญ ในประเทศไทยและแถบเอเชีย
http://www.leanreflections.com/2010/05/lsi-visits-toyota-forklift-and.html รวมถึ งภัยพิบัติที่เกิดขึ้นกับธุรกิจทั่วโลก ทําใหธุรกิจ/บริษัททั้งหลายให
ความสําคัญและแสดงความรับผิดชอบทางสังคมและรักษาสิง่ แวดลอมเพิม่ มากขึ้น นอกจากนี้ เริ่มมีความกังวลตอระบบการจัดการน้ําของภาครัฐที่ จะตองเตรียมรับมือในป 2555 นี้ ซึ่งดูวาจะเหลือเวลาอีก 4-5 เดือน ก็จะ เขาสูฤดูฝนขณะที่มาตรการหรือวิธีการที่เปนรูปธรรมยังไมสามารถเรียก ความมั่นใจใหกลับมาได ประกอบกับคําทํานายที่กลาววา เปนปมะโรง หรือ มังกรคะนองน้ํา ซึ่งจะสรางความเสียหายจํานวนมาก โดยน้ําจะมาจากฝน ไมไดไหลหลากมาจากทางเหนือเหมือนป 2554 ดังนั้น ทิศทางของธุรกิจ ตอการจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเพอรองรับอนาคต สามารถประมวลได ดังนี้ 1. ในภาวะโลกรอนและการลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด จะกลายเปนความทาทายอันยิง่ ใหญทีธ่ รุ กิจตองเผชิญกับภัยพิบตั ดิ งั กลาว โดยธุรกิจจะคํานึงถึงสิง่ แวดลอมทุกกระบวนการโลจิสติกสและซัพพลายเชน ซึ่งคาดการณวา ในอนาคตการตัดสินใจซื้อสินคาของลูกคาจะไมยึดติด แบรนด คุณภาพและราคา แตจะคํานึงถึงผลกระทบของสินคาและบริการ ที่มีตอสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ เชน ฉลากบนขวดแยม จะพบวามีปริมาณ แคลอรี่ระบุอยูบนขวด แตในอนาคต ฉลากบนขวดแยมจะมีการชี้แจงเพิ่ม
2. แนวโนมในการจางบริษัทอนผลิตสินคา (Outsourcing) แทนการ ผลิตเอง ซึ่งบริษัทจํานวนมากจะพิจารณาถึงหวงโซมูลคาระดับโลกมากขึ้น เพอศักยภาพดานการแขงขัน โดยบริษัทตางๆ จะรวมมือกันมากขึ้นและ ใกลชดิ กันยิง่ กวาเดิม เพอใหสามารถแขงขันกับตนทุนดานพลังงานทีส่ งู ขึน้ นอกจากนี้ ผูประกอบการทั้งไทยและตางชาติตางหันมาใหความสนใจเรอง โลจิสติกสและหันมาใหความสําคัญกับการวาจางผูเ ชีย่ วชาญจากภายนอก (Outsourcing) มาเปนผูดําเนินการให ซึ่งโลจิสติกสไมไดหมายถึงเฉพาะ การกระจายสินคาหรือคลังสินคาเทานั้น แตหมายถึงเรองระบบไอทีดวย การทําธุรกิจในปจจุบันตองมองทั้งเชนตั้งแตวัตถุดิบจนถึงผูบริโภค เพราะ ฉะนัน้ การ Outsourcingโลจิสติกสไมไดหมายถึงเฉพาะการขนสง แตหมายถึง การวางรากฐานของซัพพลายเชนทั้งหมด ใหการทํางานเปนกระบวนการ เดียวกัน สงผลใหการบริหารตนทุนสามารถควบคุมไดดีขึ้น โลกการแขงขันทางการคายุคนี้ ไมไดใหความสําคัญเพียงคุณภาพ ของสินคาเทานั้น แตมุงใหความสําคัญเรองความรวดเร็วในการสงสินคา ถึงมือลูกคา เพอสนองความตองการของลูกคาใหไดมากที่สุด ดังนั้น ผู้ประกอบการที่เป็นผู้ผลิตจึงหันมาให้ความสําคัญเรื่องโลจิสติกส์และ การขนสง การเลือกรูปแบบการขนสง ซึง่ จะสงผลใหธรุ กิจโลจิสติกสเติบโตขึน้ อยางรวดเร็วตามความตองการของผู ใชบริการ ประเด็นที่สําคัญที่จะ
78 l January 2012
Energy#38_p78-79_Pro3.indd 78
12/22/11 9:23 PM
ชวยใหผูใหบริการโลจิสติกสแข็งแกรงและสามารถตอสูตางชาติได คือ ตองมีการรวมตัวกันทั้งซัพพลายเชนของผูใหบริการโลจิสติกส โดยการ จับมือเปนพันธมิตรของผูใหบริการดานตางๆ เพอใหการบริการมีความ สมบูรณและมีการบริการที่ครบวงจรมากขึ้น ทําใหระบบการขนสงตอง พัฒนา cycle time การขนสงหรือการลําเลียง การเคลอนยาย ทั้งกรณี จากแหลงผลิตและกระจายสงไปยังลูกคา โดยที่ cycle time ของการขนสง มีวงจรที่เร็วขึ้นเรอยๆ ดังนั้น ธุรกิจโลจิสติกสไทยจะตองมีความเขาใจและ ศึกษาเรองนีอ้ ยางจริงจัง เพราะแนวโนมการแขงขัน และทิศทางทีเ่ ห็นไดชดั คือการรวมมือเปนพันธมิตรทางธุรกิจ หากธุรกิจมีการแขงขันกันมากขึ้น ผูใหบริการที่ ไมแข็งแกรงพอก็จะลมหายตายจากไปในทีส่ ดุ สวนผูใหบริการ รายใหญที่ ไมมีศักยภาพก็อาจถูกคูแขงซื้อกิจการไป ทั้งนี้มองวาผูประกอบ การต่ า งชาติ น่ า จะมี บ ทบาทมากกว่ า โดยเฉพาะในแง่ ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ ไมวาจะเปนเรอง Know how และซอฟทแวรตางๆ 3. การทํ า ธุ ร กรรมผ า นทางอิ น เทอร เ น็ ต ทุ ก ที่ ทุ ก เวลาเพิ่ ม ขึ้ น ไมวาจะเปน Facebook Twiter Blog Website เปนตน ซึ่งทั้งลูกคาหรือ ซัพพลายเออร ก็จะยังคงมีความตองการสินคาและบริการที่ขนสงไดอยาง รวดเร็วที่สุด ดังนั้น ผูบริโภคและซัพพลายเออรจึงตองการขอมูลแบบ เรียลไทมที่ มีความละเอียดและชัดเจนยิ่งขึ้น สิ่งเหล านี้จะทํ าให การทํา ธุรกรรมออนไลนผานระบบอินเทอรเน็ตเขามามีบทบาทสําคัญมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้จะไมจํากัดอยูแตเฉพาะในวงการธุรกิจเทานั้น แตจะ ขยายตัวไปยังทุกๆ สาขาอาชีพ นอกจากนี้ ความตองการบริการที่มีความ คล อ งตั ว และสามารถเรี ย กใช ไ ด ต ลอดเวลาจะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น ด ว ยเช น กั น ปรากฏการณเชนนี้ ธุรกิจโลจิสติกสและซัพพลายเชนจะตองมีการวางแผน ในการตอบสนองความพึงพอใจกับลูกคาและการจัดการซัพพลายเออรใน การสงมอบวัตถุดบิ หรือสินคาสําเร็จ หรือสวนประกอบของผลิตภัณฑดว ย ระบบทันเวลาพอดี (Just In Time : JIT) ซึ่งการนําระบบ JIT เขามาใช จะชวยลดปญหาดังกลาวใหกับผูประกอบการได ทั้งนี้ ระบบ JIT คือ การผลิ ต หรื อ การส ง มอบ “สิ่ ง ของที่ ต อ งการ ในเวลาที่ ต อ งการ ดวยจํานวนที่ตองการ” ใชความตองการของลูกคาเปนเครองกําหนด ปริมาณการผลิตและการใชวัตถุดิบ โดยที่ JIT ชวยใหทุกคน ในซัพพลาย
เชนมีการวางแผนการทํางาน วางกระบวนการผลิต วางกระบวนการทา งดานโลจิสติกสตางๆ ใหมันสอดคลองกัน ซึ่งจะสงผลใหตนทุนการผลิต ลดลง และสามารถสนองความตองการของลูกคาไดรวดเร็วขึ้น ภายใต ประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ทําใหคนที่อยู ในซัพพลายเชนทั้งหมดสามารถคาด การณแผนการลวงหนาวาลูกคารายนี้จะใชสินคาของเขาเมอไร เวลา อยางไร จํานวนเทาไร และไมจําเปนตองผลิตเผอ สงผลใหมีสตอกอยู ในจํานวนที่เหมาะสม พรอมทั้งทําใหสามารถคาดการณปญหา และแกไข ปญหาลวงหนาไดอีกดวย การวางแผนโลจิสติกสแบบองครวมมีสวน สําคัญที่ชวยใหแผนยอยของแตละสวนในซัพพลายเชนมีความสอดคลอง กันไดประโยชนรวมกัน และเสริมสรางศักยภาพใหแกกันและกัน หรือการ ฉีกคําสั่งซื้อแลวสงตอใหซัพพลายเออรหลายๆ ราย ผานระบบออนไลน คงไมเพียงในประเทศเทานั้น แตจะมีกระจายความเสี่ยงสงตอ Order ไปยัง ประเทศเพอนบาน/ประเทศอนดวย 4. เกิดปจจัยเสีย่ งอนๆมากมายทีอ่ าจสงผลกระทบตอการดําเนินการ พัฒนาธุรกิจโลจิสติกสและซัพพลายเชนอยางตอเนองเพิ่มขึ้น ไมวาจะเปน ราคาน้ํามันในตางประเทศที่ยังผันผวน แนวโนมการปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้น ตนทุนการผลิตของภาคอุตสาหกรรมที่สูงขึ้นจากราคาน้ํามัน การปรับ อัตราคาแรง 300 บาท (ตามนโยบายของรัฐบาล) การขาดแรงงานใน ภาคการผลิต ปญหาการเมืองภายในประเทศ หรือการยายฐานการผลิต ไปลงทุนในประเทศเพอนบาน เปนตน นอกจากนี้ จะเห็นไดวา การพัฒนาโลจิสติกสของไทยยังอยูในระดับ ที่ ไมกาวหนาเทาที่ควร โดยมุงเนนพัฒนาทางถนนและพัฒนาระบบขนสงมวลชนเฉพาะในเขตเมือง แตไมไดมุง เนนพัฒนาระบบการขนสงเพอรองรับ ภาคเอกชนไปยังตางจังหวัด ซึ่งทําใหตนทุนทางโลจิสติกสสูง สวนการ ขนสงทางชายฝงยังประสบสภาวะขาดทุน ในขณะที่การขนสงทางรางยัง มีการใชงานในระดับต่ํา และปญหาของการรถไฟแหงประเทศไทยยังไมได พัฒนาระบบนี้ ใหกาวหนาทัดเทียมประเทศเพอนบาน รวมถึงรองรับธุรกิจ ของภาคเอกชนเทาที่ควร ดังนั้น หากภาครัฐยังไมใหความสําคัญ หรือมี การตั้งสํานักงานแผนและนโยบายพัฒนาระบบโลจิสติกสแหงชาติที่เปน หนวยงานหลักอยูภายใตสํานักนายกรัฐมนตรี โดยมีหนาที่กํากับดูแลแก ปญหาตางๆ ที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสิ์อยางเปนระบบและครบวงจรแลว ภาคเอกชนก็จะตองกมหนารับตนทุนที่จะตองเพิ่มขึ้นในระบบโลจิสติกส เชนเดิม.
Januuary 2012 l 79
Energy#38_p78-79_Pro3.indd 79
12/22/11 9:24 PM
Energy Concept โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย
ระบบกํา จั ด ขยะชุม ชนได ทั้ ง ไฟฟาไดทั้งปุย คัดแยกประเภทขยะ
ขยะมูลฝอยยังคงเปนปญหาใหญสําหรับเมืองตางๆ โดยเฉพาะการ จัดเก็บและการทําลาย เนื่องจากขยะแบงออกเปน 2 กลุมคือ กลุมที่สงกลิ่น และกลุมที่เปนอันตราย กลุมขยะที่สงกลิ่นสวนใหญจะเปนขยะชีวภาพหรือ ที่เราเรียกกันติดปากวา “ขยะเปยก” สวนกลุมขยะอันตรายมีตั้งแตขยะที่ ไม สามารถยอยสลายได เชนพวกพลาสติก ซึ่งหากนําไปเผาก็จะเกิดกาซ คารบอนฯ ดวยเหตุนี้ เทศบาลนครราชสีมาจึงรวมกับมูลนิธิเพื่อการพัฒนาสิง่ แวดลอมและพลังงาน จัดทําระบบกําจัดขยะชุมชน โดยขอใชพื้นที่ของกอง ทัพภาคที่ 2 เพื่อการจัดการขยะชุมชนดวยการแปรรูปเปนปุยอินทรียและ พลังงาน พรอมตอบแทนดวยกระแสไฟฟา 500,000 หนวยตอปและปุย อินทรีย 2,000 ตันตอป โดยมีกําหนดระยะเวลาการใชพื้นที่ 20 ป และ
สถานที่ตั้งโครงการ
เทศบาลนครราชสีมาตองดําเนินการศึกษาความเปนไปไดเบื้องตน รวมถึง ศึกษาผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสํารวจความคิดเห็นของประชาชน
80 l January 2012
Energy#38_p80-81_Pro3.indd 80
12/26/11 5:03 PM
แผนผังกระบวนการกําจัดขยะ สรางพลังงาน
ทําไมตองจัดสรางระบบดังกลาว
แตเดิมทางเทศบาลนครราชสีมาไดดําเนินการกําจัดขยะมูลฝอยใน เขตเทศบาลฯ และพื้นที่ ใกลเคียงดวยวิธีการฝงกลบตามหลักสุขาภิบาล โดยมีพื้นที่สําหรับขยะราว 289 ไร แตในปพ.ศ.2530 มีการขยายตัวของ เขตเมืองเพิม่ ขึน้ ทําใหปริมาณขยะมูลฝอยทีต่ อ งกําจัดเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็ว จนในปพ.ศ.2542 ประชาชนโดยรอบพื้นที่และองคการบริหารสวนตําบล โคกกรวดขอใหเทศบาลฯ ยุติการใชพื้นที่ดังกลาวเปนสถานที่กําจัดขยะ มูลฝอย อีกทั้งพื้นที่ที่เทศบาลฯ จัดซื้อมาก็ ไมสามารถเขาไปดําเนินการใช พื้นที่ ได สงผลใหประสบปญหาในการจัดหาพื้นที่สําหรับการกําจัดขยะ มูลฝอย เพื่อแกไขปญหาการจัดการมูลฝอยและเพื่อเปนการสงเสริมการ ผลิตพลังงานทดแทน (Renewable Energy) และสงเสริมการนํากลับมา ใชใหม (Recycle) ในรูปของปุยอินทรียจากมูลฝอยและการแปรรูปมูลฝอย ใหเปนพลังาน จึงมีการสรางระบบดังกลาว
แตขยะที่เปนเศษอาหารก็จะใชน้ําเขามาผสมเพื่อใหเศษอาหารแตกตัว จาก นั้นก็นําขยะผสมน้ําเขาสูเครื่องยอยขยะใหมีความละเอียดมากขึ้น แลวนํา เขาสูถังหมักใบที่ 1 ซึ่งจะทําหนาที่เรงการตกตะกอนของวัสดุหนัก เชน เปลือกหอยหรือทรายขนาดเล็กใหตกลงสูกนถัง จากนั้นก็จะถูกสูบไปตอยังถังหมักใบที่ 2 เพื่อเรงการตกตะกอนของ วัสดุหนักที่ยังหลงเหลืออยูออกใหหมด จากนั้นจะถูกสูบไปยังบอหมักแบบ ไรอากาศ ซึ่งภายในบอจะมีอุณหภูมิการหมักราว 30-40 องศาเซลเซียส ภายในถังยังมีระบบกวนผสมใหมีการไหลเวียน ภายในในบอหมักนี้จะเกิด กาซชีวภาพซึง่ สามารถนํามาใชกบั เครื่องปน ไฟเพื่อใชผลิตกระแสไฟฟาสวน ที่เหลือของขยะจะถูกนําไปแยกน้ําและตะกอน โดนน้ําจะถูกนําไปบําบัดน้ําเสีย กอนจะนํากลับไปใชใหมอีกครั้ง ขณะที่ตะกอนจากขยะจะถูกนําไปตากแหง เพื่อนําไปผลิตเปนปุยอินทรีย
เปาหมายที่วางไว ในการดําเนินโครงการ
สําหรับโครงการดังกลาว นอกจากจะตัง้ เปาเพื่อการลดปริมาณขยะ ในเขตเทศบาลนครราชสีมาแลว ยังเปนการสงเสริมใหเกิดการอนุรักษ พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ โดยใชเทคโนโลยีที่มีอยูเขามาผสมผสาน กันอยางเหมาะสมตามแนวทางการฟน ฟูทรัพยากร (Resource Recovery) นอกจากนี้ยังสามารถเปนตัวอยางในการจัดการขยะมูลฝอยแบบมี สวนรวมของประชาชน รวมกับการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ทั้งในดานการ คัดแยกขยะมูลฝอย, การจัดเก็บแยกประเภท, การคัดแยกวัสดุเพื่อนํากลับ มาใชประโยชนใหม, การแปรรูปมูลฝอยอินทรียเพื่อใหไดกาซชีวภาพ ซึ่ง เปนเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานและปุยอินทรีย รวมไปถึงหลักการ กําจัดขยะโดยการฝงกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล และยังกอใหเกิดความเชื่อ มัน่ ในการจัดการมูลฝอยที่ ไมสง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและคุณภาพชีวติ ของประชาชน
ขั้นตอนการดําเนินการทําอยางไรบาง
ขั้นตอนดังกลาวจะเริ่มจากการคัดแยกขยะจากตนทาง โดยสามารถ รองรับปริมาณขยะมูลฝอยได 230 ตันตอวัน ในระยะเวลา 15 ป โดยพบ วาปริมาณขยะที่ ไดรับมีปริมาณราว 50 ตันตอวัน แบงเปนขยะมูลฝอยจาก ตลาดสดประมาณ 30 ตันตอวัน, ขยะจําพวกเศษอาหารประมาณ 15 ตัน ตอวันและขยะจากสวนประมาณ 5 ตันตอวัน โดยรอยละ 60 ของขยะเปน ประเภทเศษอาหารทําใหขยะมีความชื้นสูงมากถึงรอยละ 70 - 80 จึงไม เหมาะที่จะนําไปเผาในเตา และจะทําใหมีตนทุนการกําจัดที่สูงมาก จากนัน้ ก็นาํ มาคัดแยกขยะ โดยกลุม ขยะทีเ่ ปนเศษแกว, กระดาษ, โลหะ และพลาสติกจะถูกนําออกมาเพื่อทําการนํากลับมาใชหรือรีไซเคิล เมื่อเหลือ กองขยะหลังคัดแยกเตรียมเขาสูกระบวนการหมัก
Januuary 2012 l 81
Energy#38_p80-81_Pro3.indd 81
12/26/11 5:04 PM
HOW TO
ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม
10 วิธีการงายๆ ประหยัด
พลังงานไดดวยตัวคุณเอง เข า สู ป 2555 กั น แล ว และในฉบั บ นี้ ENERGY SAVING ก็ขอนําเสนอ ‘10 วิธกี ารงายๆ ประหยัดพลังงานไดดวยตัวคุณเอง’ เพอเปน แนวทางใหผูชมงานไดนํากลับไปเริ่มตนปฏิบัติ ได อยางงายๆ รับปใหมกันนั่นเอง โดยการชวยกัน ประหยัดพลังงานคนละไม คนละมือ คนละดวง ดวย 10 วิธีงายๆ 1. ปดไฟที่ ไม ใช 1 ดวง/1คน ถาทําไดเพียง 0.1% ของการใช พลังงานในประเทศ จะประหยัดเงินได 1,698 ลานบาท อาจนําไปสราง โรงเรียน 2 ชั้น 8 หองได 283 หลัง และถาทําได 10% จะประหยัด 169.799 ลานบาท นําไปสรางโรงเรียนขนาดเดียวกันได 28,300 หลัง 2. ปดไฟสแตนดบาย (จุดสีแดงตามโทรทัศน และเครองใชไฟฟา ตางๆ) ถาคนไทย 5 แสนครัวเรือน คิดเปน 2.50% ของประเทศ ชวยกัน ปดไฟสแตนดบายจะประหยัดไดปละ 2.4 ลานบาท หาก 5 ลานครัวเรือน หรือ 25% ของประเทศ จะประหยัดไดถึง 23 ลานบาท 3. ตูเ ย็น ควรซื้อตูเย็นที่ขนาดเหมาะสม เชนขนาดกลาง กินไฟ 108 บาท/เดือน คาไฟจะสูงขึ้นตามจํานวนการเปด-ปด การตั้งอุณหภูมิสูงเกิน คากําหนด จะเพิ่มคาไฟ 27 บาท/เดือน 4. หมอหุงขาว ควรใชขนาดที่พอดีกับความตองการ ขนาด 1.5 ลิตร 530 วัตต ใชวันละ 1 ชม.กินไฟ 15.9 หนวย คิดเปน 47.7 บาท/ เดือน หากเราใชกัน 1 ลานหมอ จะเปนคาพลังงาน 47.7 ลานบาท ดังนั้น จึงไมควรเสียบปลั๊กกอนหุง และหุงเสร็จแลวตองถอดปลั๊กทันที หากซื้อ แบบประหยัดไฟเบอร 5 จะลดคาใชจายไดถึง 10%
5. กระติกน้ํารอน ควรตมน้ําใหพอดี อยาเสียบปลั๊กทิ้งไวเมอไมใช ซื้อขนาดที่เหมาะสม ใชแบบประหยัดไฟเบอร 5 หากเราตมน้ํา 1 ชม.ทุกวัน จะเสียคาไฟ 58.5/เดือน แตหากตมน้ําแคครึ่งกระติก จะประหยัดไป 46% ลดคาพลังงานรวมทั้งประเทศไดถึงเดือนละ 26.91% 6. เครองซักผา ควรใชใหเหมาะสมกับงาน เครองฝาบน สําหรับ ผาจํานวนนอย เครองฝาหนาสําหรับผาจํานวนมาก ผาหม เครองแบบมี อบแหงเปลืองไฟกวา หากเราซักผาวันละ 1 ชม.ทุกวัน จะเสียคาไฟเดือน ละ 27.90 บาท 9.3 หนวย ควรซักเทาที่จําเปนเชนสลับวันซัก หากลดได เพียง 10% จะประหยัดได 2.8 ลานบาท/ป 7. พัดลม ควรเปดเมอมีคนอยู ไมควรเปดระดับแรงลมสูงสุด ไม ใชพดั ลมทีม่ รี โี มท คอนโทรล เพราะหากเปดพัดลม 5 ชม./วัน แรงลมสูงสุด จะเสียคาไฟ 4.50 บาท/เดือน หากเปด 1 ลานเครองทั่วประเทศ กิน พลังงานไป 4.50 ลานบาท/เดือน ปละ 54 ลานบาท 8. เตารีด การใชเตารีดไฟฟา ขนาด 1,000 วัตต วันละ 1 ชม.กิน ไฟ 90 บาท/เดือน ถา 1 ลานเครองจะเสียไปมูลคา 90 ลานบาท/เดือน หรือ 1,080 ลานบาท/ป แตถาถอดปลั๊กกอนรีดเสร็จ 3 นาที 1 ลานเครอง จะประหยัดไดถึง 4.5 ลานบาท/เดือน ควรรีดผาครั้งละมากๆ อยารีดผา เปยกชื้น เลือกใหขนาดเหมาะสม และแบบประหยัดไฟเบอร 5 9. เครองปรับอากาศ อยาเปด-ปดดวยรีโมท อยาเปดแอรทิ้งไว เลือกขนาดใหเหมาะสมกับพื้นที่ หมั่นทําความสะอาดแผนกรอง จะประหยัด ไดถึง 5 – 7% หากเราหยุดใชแอรแควันละ 1 ชม.จะประหยัดเดือนละ 126.90 บาท 1 ลานเครองประหยัดได 126.9 ลานบาท 10. โทรทัศน อยาเปดปดดวยรีโมท และควรถอดปลัก๊ ทุกครัง้ หาก ดูโทรทัศนวันละ 4 ชม. จะเสียคาไฟ 40.50 บาท/เดือน หากไมเปดปดดวย รีโมท และถอดปลั๊ก จะประหยัดได 4 บาท/เดือน 1 ลานเครองก็ประหยัดได ถึง 4 ลานบาท/เดือน
ที่มา : http://mblog.manager.co.th
82 l January 2012
Energy#38_p82_Pro3.indd 82
17/12/2011 16:12
Energy in Trend
The Soccket
ลูกเตะ... (แปลงเปน) ไฟฟา!! ใครเลยจะคิดวา พลังงานที่ เราใชเตะฟุตบอลนั้ นจะแปลงเป น ไฟฟาได เปนสิง่ ทีน่ า ตะลึงยิง่ เพราะ นักศึกษาและนักวิจยั ทีม่ หาวิทยาลัย Harvard ไดชวยกันคิดคนพัฒนา “ลู ก บอลแห ง พลั ง ” ของจริ ง ได
สําเร็จภายใตชื่อ The Soccket Julia Silverman หนึ่งในคณะนักวิจัยที่มหาวิทยาลัย Harvard ผูคิดคน The Soccket กลาววา The Soccket นั้นคือเครื่องกําเนิดไฟฟา แบบพกพาไรสายในรูปของลูกฟุตบอล โดยผลงานชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งของ โครงการออกแบบผลิตภัณฑของภาควิชาวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัย Harvard “เมื่อเราเลนฟุตบอล พลังงานทั้งหมดจากรางกายจะถูกสงไปยัง ลู ก บอล และพลั ง งานบางส ว นอาจแตกกระจายหรื อ สู ญ หายไป แต The Soccket คือลูกฟุตบอลที่ชวยเก็บพลังงานจากการเลนฟุตบอลหรือ การเคลื่อนไหวนั้นไวในแบตเตอรี่ที่ซอนไวภายในลูกฟุตบอล กลาวคือไมวา
http://www.soccket.com/blog/damevidabehindthescenes/
โดย : ลภศ ทัศประเทือง
http://www.soccket.com/how-it-works/
คุณจะเตะบอล เลี้ยงบอลหรือทุมบอล พลังงานจะถูกเก็บไวในลูกฟุตบอล The soccket เพื่อนําไปใชประโยชนตอไป เชนอาจนําไปใชชารจโทรศัพทมือ ถือหรืออุปกรณอื่นๆ เชนเครื่องกรองน้ํา หรืออาจใหแสงสวางในพื้นที่ ชนบทหางไกล และทุกๆ 15 นาทีที่เลนบอล The Soccket สามารถเก็บไฟ ไวใชกับตะเกียง LED ไดราว 3 ชั่วโมง และสามารถกักเก็บไฟฟาไวใชได นานที่สุดถึง 24 ชั่วโมง” สมาคมพลังงานระหวางประเทศรายงานวา เมื่อปที่แลวมีประชากร โลกราว 1,500 ลานคนหรือเกือบ 1 ใน 5 ที่ ไมมีไฟฟาใช สวนใหญอยูใน
http://www.soccket.com/how-it-works/
อาฟริกา อินเดีย และบางประเทศในเอเชีย ถือไดวาปญหาขาดแคลน ไฟฟายังเปนปญหาใหญของโลก นอกจากนี้ Julia Silverman ระบุวา มีอนั ตรายทีม่ าจากแหลงพลังงานอื่นทีท่ ดแทนไฟฟา เชน ตะเกียงน้าํ มัน ที่กอใหเกิดควันพิษเปนอันตรายตอสุขภาพ นั่นคือเหตุผลที่เธอและ เพื่อนๆ ชวยกันคิดคน The Soccket นอกจากนี้ เธอและเพื่อนไดรวม กอตั้งองคกรการกุศล Uncharted Play ขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางระดมทุน สําหรับนํา The Soccket ไปแจกจายใหกับเด็กยากจนในพื้นที่ที่ ไฟฟา ยังเขาไมถงึ เพื่อใหเด็กเหลานัน้ มีโอกาสถายทอดพลังงานของพวกเขา ในเกมสฟุตบอล และไดพลังงานไฟฟากลับคืนจากกีฬายอดนิยมที่สุด ในโลกนี้เชนกัน เรื่อง/ภาพ : http://www.soccket.com/how-it-works/
Januuary 2012 l 83
Energy#38_p83_Pro3.indd 83
12/26/11 5:08 PM
Energy Exhibit โดย : ลภศ ทัศประเทือง
Bus & Truck ’11
รถ(ยิ่ง)ใหญ ..ยอดใหญตาม ผ า นพ น ไปแล ว สํ า หรั บ งานแสดง รถเพื่อการพาณิชยและกิจการพิเศษ ครัง้ ที่ 8 หนึ่ ง เดี ย วในอาเซี ย น เมื่ อ วั น ที่ 15-17 ธันวาคม 2554 ณ ไบเทค บางนา ที่แมจะ ถูกพิษน้ําทวมเลนงานจนตองมีการเลื่อน วันจัดงาน แตก็ ไมไดทําใหผูเขาชมงานที่ ใจจดใจจอรอเขาชมหวั่นไหว ในวันเปดงาน ยังไดรับเสียงตอบรับจากผูรวมงานและ สื่อมวลชนเขามาทําขาวเปนจํานวนมาก แวววา นับยอดขายรถหลังจบงาน สิริรวมไดกวา 1,000 ลานบาท จํานวนรถ 300 คัน โดยคายรถใหญที่ ตบเทาเขางานก็เกลอสนิทกันรวมงานกันทุกปไมมีขาด เจาตลาดอยางคาย ฮีโน ฟูโซ ทรัค และเอส.เอส.เค ไซโนทรัค สวนคายรถอยางทาทา และ ASHOK LEYLAND ก็ประสบความสําเร็จอยางดีในการนํารถมาแนะนําตัว
ซึ่งยังไมมีการจําหนาย ซึ่งก็มีรถรวมขสมก. และรถทัวร 30 ใหความ สนใจ เล็งๆ ไวหลายคัน สวนธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ ไมวาจะเปน อุปกรณ NGV, เครื่องยนตดัดแปลง NGV, ยางรถใหญทั้งเรเดียลและยางหลอ, อะไหลชวงลาง, อุปกรณ GPS ก็ทํายอดขายไดตามที่คาดไว
84 l January 2012
Energy#38_p84_Pro3.indd 84
12/27/11 2:38 PM
ภายในงานนอกจากจะมีแสดงรถใหญแลวยังมีการจัดสัมมนาใน หั ว ข อ ที่ ค นในวงการให ค วามสนใจ คื อ การยกระดั บ การต อ ตั ว ถั ง สู มาตรฐานสากล และที่ขาดเสียไมไดในการจะกลาว ก็คือหัวใจหรือไฮไลท ของการจั ด งาน ที่ ทุ ก คนต า งตั้ ง ตารอ เย็ น วั น แรกของการจั ด งาน กับกิจกรรมที่เรียกยอๆ วา “ทัวรเธค” ก็คือการประชัน แสง สี เสียง รถโดยสาร นองพริตตี้รถใหญแตละคาย ทําหัวใจสั่น จนแทบจะเรียกวาดูด คนในฮอลออกมาซะแอรหนาวกันเลยทีเดียว สําหรับใครที่พลาดโอกาสก็ อยาเพิง่ เสียใจ กระผมไดเก็บภาพบรรยากาศมาฝากกันดวยครับ เชิญรับชม ตามความสะดวกสบายใจ ...
มหกรรมพลังงาน ดับโลกรอน ดวยคําสอนพอ
มูลนิธคิ าํ แสดธรรมธารเพื่อพัฒนาพลังงานและอนุรกั ษสิง่ แวดลอม จ.กาญจนบุรี มูลนิธินโยบายสุขภาวะ และสํานักงานสนับสนุนการสราง เสริมสุขภาพ (สสส.) รวม กั น จั ด งาน “มหกรรม พลั ง งาน ดั บ โลกร อ น ด้ ว ยคํ า สอนพ่ อ ” เพื่ อ เป น การเฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2554 ที่ผานมา โดยไดนอมนําเอาหลักทฤษฎี ดานพลังงานทดแทนของพระเจาอยูหัวฯ มาใชในการจัดงานในครั้งนี้เพื่อ เปนการเผยแพรใหประชาชนที่เขามารวมงานไดเรียนรู
พรอมกันนี้ภายในงานมหกรรม พลังงาน ดับโลกรอนดวยคําสอนพอ ยังไดจัดแสดงเทคโนโลยีและตนแบบ พลังงานจากชุมชนตางๆ ทั่วประเทศ ซึ่ง สสส.ไดใหการสนับสนุนมาตั้งแต ป พ.ศ.2551 ให มี ก ารทํ า วิ จั ย ด า น พลังงานแบบมีสวนรวมกับชุมชน โดย พึ่งพาทรัพยากรและภูมิปญญาทอง ถิ่นที่มีอยู และนอกจากการจัดแสดง เทคโนโลยีพลังงานทดแทนจากแตละ ชุมชนแลวภายในงานยังไดจัด เวิรกช็อป เรื่องภาวะโลกรอนและภาวะ น้าํ ทวมเพื่อหาแนวทางการแกไขปญหาหรือลดผลกระทบจากภาวะดังกลาว อีกดวย
Januuary 2012 l 85
Energy#38_p84-85_Pro3.indd 85
12/27/11 12:41 AM
Energy Around The World USA
Africa
http://m.timeslive.co.za/?i=3692/0/0&name=thetimesbeta&artId=4170185 &showonly=1
http://www.upi.com/Business_News/Energy-Resources/2011/11/28/Gaspipeline-from-Egypt-bombed/UPI-96601322489343/
สหรัฐฯ ประกาศปฏิเสธการลงนามรับรองกองทุนเพอบรรเทาภาวะโลก รอน กอนการประชุมสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ เมืองเดอรบนั โดยการประชุมดังกลาวจัดขึน้ เพอบรรลุขอ ตกลงสากลในการแกไข ปญหาโลกรอน เจาหนาที่สหรัฐฯ เผยวา “สหรัฐฯ ไดรับการสนับสนุนจาก ซาอุดีอาระเบีย ที่จะยังไมเห็นดวยกับแนวปฏิบัติของกองทุนสภาพอากาศสีเขียว (Green Climate Fund)” กองทุนดังกลาวจัดตั้งขึ้นโดยความเห็นชอบจากนานาประเทศ ซึ่งมีเปา หมายในการระดมเงินทุนใหไดถึง 100,000 ลานดอลลารสหรัฐตอปภายในป 2020 เพอนําทุนที่ ไดมาไปชวยเหลือประเทศที่กําลังพัฒนาในการตอสูกับการ เปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ โดยคณะกรรมาธิการสหประชาชาติไดจัดทําราง กองทุนเปนที่เรียบรอยแลว และมีการเสนอใหมีการรับรองกองทุนดังกลาวใน การประชุมที่แอฟริกาใตที่ผานมา นายบัน คี มูน เลขาธิการสหประชาชาติ ไดเรียกรองใหประเทศร่ํารวย เพิ่มเงินสนับสนุนกองทุนฯ ขณะที่ผานมาสหรัฐฯ ไมไดลงนามในพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) พิธีสารดังกลาวมีผลบังคับใชในป 2005 โดยกําหนดให ประเทศร่ํารวย 37 ประเทศมีพันธะทางกฎหมายที่จะตองลดการปลดปลอยกาซ คารบอนฯ ใหไดตามที่กําหนดระหวางป 2008-2012
เหตุการณประทวงแถบแอฟริกาทางตอนเหนือยังไมยตุ อิ ยางแทจริง โดย การประทวงยังมีขึ้นอยางตอเนอง ลาสุดเกิดเหตุการณการลอบวางระเบิดทอ สงกาซของอียิปต ที่ลําเลียงกาซสงไปยังประเทศอิสราเอลเพียงไมกี่ชั่วโมงกอน ถึงการเลือกตั้งครั้งแรกของอียิปต นับตั้งแตอดีตประธานาธิบดีฮอสนี มูบารัค ถูกโคนลงจากอํานาจ โดยทอสงกาซที่ถูกลอบวางระเบิดอยูทางตะวันตกของ เมืองเอลอาริช ในคาบสมุทรไซนาย เจาหนาที่ความมั่นคงของอียิปต เปดเผยวา เหตุลอบวางระเบิดทอสง กาซในครั้งนี้เกิดขึ้น 2 ครั้งซอน โดยเหตุการระเบิดทั้ง 2 ครั้งเกิดหางกันเพียง ไมกี่วินาทีและมีระยะทางหางกันประมาณ 100 เมตร โดยผูเห็นเหตุการณกลาว วาเห็นกลุมชายสวมหนากากขับรถออกจากบริเวณดังกลาวเพียงไมกี่นาทีกอน ที่จะเกิดการระเบิด และมีเปลวไฟพวยพุงสูงขึ้นไปบนทองฟาจนสามารถเห็นได จากที่ ไกลออกไป เหตุ ล อบวางระเบิ ด ท อ ส ง ก า ซดั ง กล า ว ส ง ผลกระทบโดยตรงด า น พลังงานตอประเทศอิสราเอลและประเทศจอรแดนที่พึ่งพากาซธรรมชาติจาก อียิปต โดยประเทศอิสราเอลใชกาซธรรมชาติในการผลิตกระแสไฟฟาถึง 40% และตองนําเขากาซธรรมชาติจากอียิปตถึง 43% ขณะที่ประเทศจอรแดนตองนํา เขาพลังงานถึง 95% โดยนําเขากาซธรรมชาติจากอียิปตถึง 240 ลานลูกบาศก ฟุตตอวันหรือราว 80% ของความตองการใชไฟฟา
สหรัฐฯ เมินกองทุนโลกรอน
Asia
http://www.chinadaily.com.cn/ world/2011climate/2011-11/26/ content_14168591.htm
ระเบิดทอสงกาซอียิปตปวนพลังงาน
จีนเอาจริงลดคารบอนฯ สูงสุดของโลก
สํานักขาวซินหัวของจีนอางรายงานการพัฒนาเพอลดปริมาณคารบอน ที่จัดทําโดยสถาบันเศรษฐกิจการลด ใชพลังงานคารบอนแหงโลก มหาวิทยาลัยเศรษฐกิจและธุรกิจสากลและสํานักพิมพสํานักสังคมศาสตรจีนโดยระบุไว วา ปที่ผานมาการบริโภคพลังงานตอหนวยผลิตภัณฑมวลรวมของจีนลดลง 19.1% เมอเทียบกับป 2548 ตัวเลข ดังกลาวสะทอนใหเห็นวา จีนประหยัดการใชพลังงานถานหินไปถึง 630 ลานตัน ปริมาณดังกลาวสงผลใหจีนสามารถ ลดการปลอยกาซเรือนกระจกถึง 1,500 ลานตัน แมวาจีนจะกลายเปนประเทศที่ปลอยกาซคารบอนฯ มากที่สุดในโลก แตจีนก็ ไดเปนประเทศที่ลดการปลอยกาซ คารบอนฯ มากที่สุดดวย นอกจากนี้จีนยังมีความพยายามที่จะปดแหลงพลังงานปลอยความรอนที่ ไรประสิทธิภาพ ซึ่งมีการปลอยมลพิษเกินมาตรฐาน รวมแลวกวา 54 ลานกิโลวัตต ทําใหชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกลงไปได 50 ลานตัน นอกจากนี้จีนยังปดโรงงานอุตสาหกรรมที่ดอยมาตรฐานในชวง 5 ปที่ผานมาอยางตอเนอง ที่สําคัญจีนยังระดมโครงการประหยัดพลังงานกวา 10 โครงการ ทั้งการพัฒนาไฟฟาพลังไอน้ําทดแทน ถานหิน, การสนับสนุนติดตั้งระบบหลอดไฟคารบอนต่ําตามอาคารบานเรือนตางๆ เปนตน ชวยใหจีนลดการใชถานหิน ถึง 240 ลานตันและลดคารบอนฯ ไดถึง 550 ลานตัน จีนยังตั้งเปาลดการใชพลังงานลง 16% และเพิ่มการใช พลังงานทางเลือกเพิ่มขึ้น 11.4%
86 l January 2012
Energy#38_p86-87_Pro3.indd 86
12/21/11 1:40 AM
Asia
Middle East
http://www.bloomberg.com/news/2011-11-21/tnk-bp-vietnam-unit-to-start-drilling-twosub-sea-wells-offshore.html
http://www.zawya.com/story.cfm/sidZAWYA20111129044918/Saudi_Arabia_ plans_first_tender_for_nuke_plant_by_2012end
นอกจากเรองพลังงานนิวเคลียรทเี่ วียดนามกําลังอยูในความสนใจของนัก ลงทุนดานพลังงาน กาซธรรมชาติก็เปนอีกพลังงานที่นักลงทุนสนใจ โดย เวียดนามมีแหลงกาซ Lan Tay และ Lan Do ซึ่งอยูในพื้นที่ของแปลง 06.1 บน แองนามกอนเซิน (Nam Con Son) หางจากชายฝงทางใตของเวียดนามราว 320 กม. เปนพื้นที่ที่ ไดรับความสนใจอยางมากจากบริษัทน้ํามันตางชาติ บริษัท TNK-BP บริษัทน้ํามันรายใหญอันดับ 3 ของรัสเซีย เตรียม วางแผนลงทุนดวยงบประมาณกวา 400 ลานดอลลารในการขุดบอกาซธรรมชาติ ใตทะเล 2 แหงในแหลงกาซ Lan Do คาดวาจะสามารถผลิตกาซธรรมชาติไดราว 2,000 ลานลูกบาศกเมตรตอป โดยตั้งเปาใหสามารถผลิตกาซธรรมชาติเขาสู ระบบในชวงไตรมาสที่ 4 ของป 2555 ซึ่งเปนชวงเวลาเดียวกับที่บริษัทปรับลด กําลังการผลิตกาซในแหลง Lan Tay บริษัท TNK-BP เปนหนึ่งใน 10 บริษัทเอกชนผูผลิตน้ํามันชั้นนําระดับโลก และบริษัทกําลังหาทางขยายฐานการผลิตเขาไปในพื้นที่แถบไซบีเรียตะวันตก โดย บริษัท TNK-BP และบริษัท BP ของอังกฤษไดประกาศลงนามในขอตกลงที่บริษัท ของรัสเซียจะเขามาถือหุนของ BP ในทรัพยสินของบริษัทที่อยูในเวียดนามและ เวเนซูเอลาและใหบริษทั TNK-BP เขาดําเนินการในแปลง 06.1 ตัง้ แตเดือนตุลาคม ที่ผานมา
ซาอุดีอาระเบียเตรียมแผนสรางเครองปฏิกรณนิวเคลียร 16 เครองในป 2030 โดยจะเริ่มการประมูลในการสรางชวงแรกซึ่งมีกําหนดการชวงปลายป 2012 โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน เพื่อรับมือกับความต้องการ พลังงานในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นถึง 8% ตอป โดยนาย Saleh Al Shubaili โฆษก ศูนยพลังงานปรมาณูและพลังงานทดแทน กลาววา “การประมูลราคาจะเปนการ กาวอยางคอยเปนคอยไป” สําหรับการผลิตไฟฟากอนหนานี้ มีการลงนามในขอตกลงกับเกาหลีใตใน การพัฒนาพลังงานนิวเคลียรเพอใชในการผลิตพลังงานไฟฟา เปนการตอบสนอง ความตองการในประเทศ โดยมีการลงนามในขอตกลงแบบทวิภาคีวาดวยเรองการ เสริมสรางความรวมมือระหวางทั้งสองประเทศในการพัฒนาและการใชพลังงาน ปรมาณูเพอสันติ ซึ่งขอตกลงดังกลาวมีวัตถุประสงคที่จะสรางกรอบทางกฎหมายเพอสราง ความเขมแข็งทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวาง ประเทศทั้งสอง ในขณะที่การหาสถานที่ปลอดภัยสูงสุดในการสรางโรงไฟฟา นิวเคลียรเปนเรองที่สําคัญ พอๆ กับการอนุรักษสิ่งแวดลอม ภายใตขอตกลงดัง กลาวทั้ง 2 ประเทศจะตองใหความรวมมือในดานการออกแบบ, การกอสราง, การ บํารุงรักษาและการพัฒนาโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร
รัสเซียทุมทุนขุดกาซในเวียดนาม
อาคารใหญ ในอังกฤษเตรียมลดคารบอน
ซาอุฯ เล็งสรางนิวเคลียร 2030
Europe
จากการที่สหภาพยุโรปออกกฎใหกลุมประเทศในสหภาพฯ ตองลดปริมาณการปลอยคารบอน สงผลใหหลาย ประเทศในแถบยุโรปตางหาวิธีในการประหยัดพลังงานเพอลดการปลอยคารบอนฯ อังกฤษเองก็เชนกันโดยมีผลการ วิจัยพบวา นับตั้งแตวันนี้จนถึงป 2050 จะตองมีอยางนอยหนึ่งอาคารใหญที่ตองปรับปรุงในดานสิ่งแวดลอม หาก อังกฤษตองการบรรลุเปาหมายการปลอยคารบอนฯ ตามที่สหภาพฯ กําหนด โดยมีรายงานผลการวิจัยทางธุรกิจพบวา มีอาคารขนาดใหญอยางนอย 45% ที่มีการปลอยกาซคารบอนฯ และจะมีอาคารราว 70% ของอาคารที่มีอยูในปจจุบันจะมีการดําเนินการจนถึงป 2050 รายงานการวิจัยยังระบุดวย วาจะตองมีการปรับปรุงอาคารใหมีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพอยางรวดเร็ว ซึ่งจะตองลดการปลอยกาซ คารบอนอยางนอย 80% ในป 2050 นาย Jon Price ผูอํานวยการศูนยปลอยคารบอนระดับต่ําในอนาคต กลาววา “แมจะมีความพยายามที่ http://www.the-esa.org/news/-/need-for-abuilding-a-minute-energy-efficiency-retrofit ดีที่สุดในการสนับสนุนใหกลุมอุตสาหกรรมนํามาใชแกปญหาคารบอนต่ํา ผานการควบคุมและรูปแบบแรงจูงใจ ปญหา ที่อังกฤษตองประสบคือเรองของความหลากหลายของประเภทอาคาร รวมไปถึงการขาดความรูเกี่ยวกับประสิทธิภาพ การใชพลังงาน ซึ่งทําใหไมใชเรองงายในการใหอาคารของอังกฤษมีประสิทธิภาพการใชพลังงาน January 2012 l 87
Energy#38_p86-87_Pro3.indd 87
12/21/11 1:42 AM
Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
ก.พลั ง งาน เป ด “โครงการ บัตรเครดิตพลังงาน NGV” กรุงไทยรับลูกดําเนินการ
กระทรวงพลังงาน รวมกับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จัด “โครงการบัตรเครดิต พลังงาน NGV” ชวยลดภาระคาเชื้อเพลิงใหกับกลุมผูขับขี่รถแท็กซี่ รถสามลอ และรถตูรวม ขสมก. NGV ในพื้นที่เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ ไดรับผลกระทบจากสถานการณอุทกภัย และการปรับราคาจําหนายกาซ NGV เพอสะทอนตนทุนที่แทจริง ตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งโครงการนี้ กระทรวงพลังงาน ไดมอบหมายให ปตท. ดําเนิน โครงการบัตรเครดิตพลังงาน NGV ดวยการจัดทําบัตรเครดิตพลังงาน NGV ใหกับกลุมผูขับขี่รถแท็กซี่ รถสามลอ และ รถตูรวม ขสมก. ที่ ใชกาซ NGV เปนเชื้อเพลิงในพื้นที่เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ซึ่งมีจํานวนรวม กันประมาณ 65,500 คัน และมีจํานวนผูขับขี่รถสาธารณะประมาณ 130,000 คน ดวยการใหวงเงินเครดิตสําหรับชําระคากาซแทนเงินสด จํานวน 3,000 บาทตอคนตอเดือน และสิทธิสวนลดราคาขายปลีกกาซ NGV ในอัตรา 50 สตางคถึง 2 บาท แลวแตชวงเวลา แตสามารถใช วงเงินสวนลดไดไมเกินมูลคายอดการซื้อกาซ 6,000 บาทตอเดือน เพอ บรรเทาภาระคาใชจายในชวงที่มีการปรับราคาจําหนายกาซ NGV และ บรรเทาผลกระทบจากสถานการณอุทกภัยที่เกิดขึ้น โดยจะเริ่มทดสอบ ระบบฯ กั บ กลุ ม ผู ขั บ ขี่ ร ถ สาธารณะนํารองจํานวน 150 คั น ประกอบดว ย รถแท็ก ซี่ 100 คัน รถตูรวม ขสมก. 35 คัน และรถสามลอ 15 คัน เมอ ในวันที่ 1 ธันวาคมที่ผานมา โดย ปตท. จะเปนผูจัด
ทําบัตรเครดิตพลังงาน NGV ซึ่งประกอบดวย บัตรจํานวน 2 ใบ ซึ่งตอง ใชควบคูกันทุกครั้ง ไดแก 1. บัตรเติมกาซ NGV ซึ่งเปนบัตรประจํารถ ใชเพอแสดงสิทธิของรถที่เขารวมโครงการ และ 2. บัตรเครดิตพลังงาน ซึง่ เปนบัตรประจําตัวบุคคล แสดงเพอใชชาํ ระคากาซแบบเครดิตแทนเงินสด ซึ่งจะเริ่มใชวงเงินเครดิตไดตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2554 สําหรับสวนลด ราคาขายปลีกกาซ NGV จะเริม่ ใชไดตง้ั แตวนั ที่ 16 มกราคม 2555 เปนตนไป จนถึงสิ้นป 2558 ทั้งนี้ ผูขับขี่รถแท็กซี่ รถสามล อ และ รถตู ร ว ม ขสมก. NGV ในพื้ น ที่ เ ขต กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่มี ใ บ อ นุ ญ า ต ขั บ ขี่ ร ถ ย น ต สาธารณะ ของกรมการขนสง ทางบก สามารถสมัครรวม โครงการไดที่บริษัทติดตั้งมาตรฐานที่ ปตท. ใหการรับรอง จํานวน 15 แหง ซึ่งกระจายอยูทั่วพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล ผูสนใจสามารถ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ PTT Call Center โทร. 1365 ในสวนของ ธนาคารกรุงไทย นั้นจะเปนผูออกบัตรเครดิต และ อํ า นวยความสะดวกในการชํ า ระเงิ น เครดิตคากาซ NGV ใหกับผูขับขี่รถ รั บ จ า งสาธารณะที่ เ ข า ร ว มโครงการ โดยธนาคารจะสรุปยอดการใชบัตรทุก วันที่ 25 ของเดือน และแจง SMS ให ผูถ อื บัตรชําระเงินภายในวันสิน้ เดือน
88 l January 2012
Energy#38_p88_Pro3.indd 88
17/12/2011 16:14
Energy Legal
โดย : ทนายเหนง
กม.ดูแลขยะหลังน้ําทวม
หลังวิกฤติมหาอุทกภัย ทีเ่ กิดขึน้ นอกจากเราจะไดเห็น ซากปรักหักพังของบานบาง หลัง, ภาพการรวมแรงรวมใจ ทําความสะอาดครั้งใหญแลว เรายังไดเห็นกองขยะมหึมาสูง ทวมหัวจนแทบจะเรียกไดวา เปนภูเขาขยะยอมๆ เลยก็มี ก็ตอ งยอมรับวาขยะเหลานัน้ เกิดขึน้ มาจากภาวะ น้ําทวมที่หลีกเลี่ยงไมได ซึ่งทาง กทม.และเทศบาลทองถิ่นหลายจังหวัดก็ แนะนําใหนําขยะออกมากองไวใกลถนนเพอความสะดวกในการจัดเก็บ แตคําแนะนําดังกลาวใชไดแคเพียงชวงระยะเวลาสั้นๆ เทานั้น เพราะ ตามที่ทนายเหนงไปตรวจสอบขอกฎหมายในเรองของขยะมูลฝอยมานั้น การกระทําในปจจุบันถือเปนความผิดทางกฎหมาย ซึ่งมีผลตอสิ่งแวดลอม และระบบสาธารณสุข โดยมี พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ กําหนดในเรองของการทิ้งขยะมูลฝอยไวอยางชัดเจน โดยระบุไวในหมวด ๓ ในเรองการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ซึ่ง ตามมาตรา ๒๐ (๑) ระบุไววา “หามการถาย เท ทิ้ง หรือทําใหมีขึ้นใน ทีห่ รือทางสาธารณะซึง่ สิง่ ปฏิกลู หรือมูลฝอย นอกจากในทีท่ ีร่ าชการ สวนทองถิ่นจัดไวให” หรือหมายถึงใหทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูลในภาชนะหรือ สถานที่ที่ราชการทองถิ่นกําหนอดเอาไวแลว ซึ่งหากทิ้งในที่ที่ ไมไดจัด เตรียมไวให จะมีความผิดตามที่มาตรา ๗๓/๑ ระบุไวโดยเฉพาะในกรณีที่ เกี่ยวกับขยะติดเชื้อหรือขยะเปนพิษหรือขยะอันตรายจากชุมชนตองระวาง โทษปรับไมเกินหนึ่งหมนบาท
เพอสิ่งแวดลอม
นอกจากนี้เราสังเกตไดวาชวงที่ผานมา หลายชุมชนมักจะอยู ใน ตรอกซอกซอยเล็กที่การจัดเก็บขยะอาจเขาไปไมถึง ทําใหชุมชนบางแหงไม สามารถจัดเก็บขยะมูลฝอยได ซึง่ อาจจะมีคนเขามารับจางขนขยะไปทิง้ ดาน นอกและอาจมีคาจัดเก็บขยะ ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวก็มีการระบุ ถึงบุคลที่จะเขามาจัดการกับขยะดวย โดยมาตรา ๑๙ ระบุไวชัดเจนวา “หามมิใหผูใดดําเนินกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย โดยทําเปนธุรกิจหรือโดยไดรับประโยชนตอบแทนดวย การคิดคาบริการ เวนแตจะไดรบั ใบอนุญาตจากเจาพนักงานทองถิน่ ” ตามที่กฎหมายไดระบุไวหมายความวา การจัดเก็บขยะและสิ่งปฏิกูล สงวนไวเฉพาะราชการทองถิ่น ซึ่งจะมาหาประโยชนจากการจัดเก็บขยะและ สิ่งปฏิกูลไมได ยกเวนจะไดรับอนุญาตใหดําเนินการ หากใครฝาฝนจะตอง ไดรับโทษตามที่กฎหมายมาตรา ๗๑ ระบุไว โดยตองระวางโทษจําคุกไม เกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ แตกฎหมายฉบับดังกลาวก็ ไดระบุถึงอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ ใหราชการสวนทองถิ่น ซึ่งหมายความวาหากราชการสวนทองถิ่น ณ.พื้น ทีน่ ัน้ ๆ ระบุใหสามารถนําขยะมากองไวทีส่ าธารณะไดและไมสรางความเดือด รอนแกสาธารณะชนก็ยอมสามารถทําได ยิ่งมีเหตุมาจากภัยธรรมชาติ ราชการทองถิ่นสามารถดําเนินการในการจัดหาที่ทิ้งขยะไดอยางเต็มที่ ทนายเหนงก็หวังวาภัยพิบัติครั้งนี้จะชวยสรางบทเรียนที่มีคาในเรองของ น้ําใหกับประเทศไทย เพออนาคตจะไดไมตองประสบภัยพิบัติเชนนี้อีก
January 2012 l 89
Energy#38_p89_Pro3.indd 89
12/21/11 1:34 AM
Energy Stat โดย : Grapher
หลังจากผานพนปเกาเขาสูปใหม พลังงานก็ยังคงเปนเรองที่หลายคนใสใจอยูอยางตอเนอง ในป 2554 ที่ผานมาเรองของพลังงานถูกหยิบยก มาพูดคุยกันอยางมาก หากไมเปรียบเทียบกับเรองของภัยพิบัติทางธรรมชาติทั้งในและนอกประเทศ ซึ่งสัญญาณการอนุรักษพลังงานเริ่มมีใหเห็นใน ชวงป 2553 โดยเฉพาะตัวเลขการใชน้ํามันทั้งเบนซินและแกสโซฮอล รวมไปถึงปริมาณการใชกาซ NGV-LPG ที่เพิ่มขึ้น จากกราฟของสํานักงานสถิตแิ หงชาติทีบ่ นั ทึกขอมูลรายปชี้ ใหเห็นวา คาใชจา ยเฉลีย่ ดานพลังงานตอครัวเรือนตัง้ แตป 2549-2553 แบงเปนการ ใชพลังงานไฟฟาและพลังงานจากปโตรเลียม ซึ่งสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาจะเห็นไดวามีอัตราที่เพิ่มขึ้นตามการคาดการณของหลายสํานัก เนองจาก หลายอุปกรณหันมาใชพลังงานไฟฟามากขึ้น จากกราฟจะแบงออกเปนกลุมคนที่จายคาไฟฟาเองและกลุมที่ภาครัฐจายให โดยในป 2552 สวนที่รัฐจายใหมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งมาจากมาตรการชวยเหลือคาไฟฟา ขณะที่ ในป 2553 สวนที่รัฐจายใหมีแนว โนมลดลง ซึ่งอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงมาตรการจาก 80 หนวย เปนรัฐจะจายคาไฟใหเฉพาะผูใชไฟฟาไมเกิน 90 หนวยตอเดือนเทานั้น นอกจาก นี้ยังมีนโยบายที่เกี่ยวกับการปรับคา Ft ทุกๆ 4 เดือนดวย นอกจากนี้ยังมีคาใชจายดานพลังงานจากปโตรเลียม เชน น้ํามันตางๆ โดยเห็นไดชัดเจนวารายจายดานน้ํามันเบนซินมีอันตราลดลง ขณะที่ การใชจายพลังงานดานแกสโซฮอลสูงขึ้น ที่สําคัญตัวเลขการใชกาซ NGV-LPG มีอัตราเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเปนตัวชี้ ใหเห็นวาหลายคนเริ่มใสใจกับการใช พลังงานทางเลือกเพิ่มมากขึ้น ก็ ไดแตหวังวาในป 2555 จะยังคงเปนปแหงการอนุรักษพลังงาน เพราะการอนุรักษพลังงานยอมมีผลตอเนองไปถึงการอนุรักษธรรมชาติอีก ดวย การใชจายดานพลังงานตอครัวเรือน จึงเปนจุดชี้วัดไดวาประเทศไทยเริ่มใสใจกับการอนุรักษพลังงานแลวหรือยัง!!!
ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ 90 l January 2012
Energy#38_p90_Pro3.indd 90
12/23/11 8:52 PM
Insight Energy ผูเขียน : ลภศ ทัศประเทือง
http://www.market2easy.com/-1/posts/23/124/329922-
และกอใหเกิดผลกระทบตอประชาชน ซึ่งหากมีการปรับขึ้นราคากาซอยาง ไมเปนธรรมตอผูประกอบการ นายพิชัย นริพทะพันธุ รมว.พลังงานจะตอง มีการรับผิดชอบโดยการลาออกจากตําแหนง โดยเมื่อวันที่ 21-22 ธันวาคม ตนและสมาคมขนสงฯ ที่เกี่ยวของประมาณ 15-16 สมาคม ไดยื่นหนังสือ ตอ น.ส.ยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อคัดคานการปรับขึ้นราคา NGV และขอใหคงราคาขายสงกาซ NGV หนาปมไวที่กิโลกรัมละ 8.50 บาท ตามเดิม “ขอสรุปทีก่ ระทรวงพลังงานระบุวา จะตองมีการปรับขึน้ คากาซ NGV 6.50 บาทตอกิโลกรัม ผูประกอบการก็มีความจําเปนตองการปรับขึ้น คาขนสงอีก 20 % ซึ่งหากยังไมไดรับคําตอบที่ชัดเจนจากรัฐบาล และ กระทรวงพลังงานในเรื่องทีผ่ ปู ระกอบการคัดคาน ภายในวันที่ 9 ม.ค. 2555 ทางผูประกอบการจะเดินทางไปที่กระทรวงพลังงานเพื่อทวงถามคําตอบ
NGV เจาปญหา ...ทุกวาระ
4 รัฐบาลกับการปวดหัวเรื่อง NGV ใชแตเพียงภาครัฐเทานั้น ที่ยัง ไมสามารถขึน้ ราคากาซไดตามโครงสรางทีแ่ ทจริง (หรือไม) ผูป ระกอบการ ขนส ง และรถรั บ จ า งสาธารณะที่ บ อกว า เขาเหล า นั้ น เป น ต น ทุ น ใหญ ใ น การบริโภคกาซ หรือประชาชนคนใชกาซ ก็ยังมีขอสงสัยเคลือบแคลงที่ อยากจะใหปตท.มาเคลียคัทใหผูท ี่ ไดรบั ผลกระทบไดเขาใจแจมแจง วาตนทุน ที่จะปรับขึ้นมีรายละเอียดปลีกยอยอยางไร นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน กลาวถึงกรณี ผูประกอบการขนสงคานปรับขึ้นราคากาซ ธรรมชาติสาํ หรับรถยนต (NGV) โดยยืนยันวา รัฐบาลจําเปนตองปรับขึ้นราคากาซ NGV ในวันที่ 16 มกราคม 2555 ตามแผนปรับ โครงสรางราคาพลังงานของประเทศที่ผาน ความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ(กพช.) มาแลว แมจะถูก กลุมผูประกอบการขนสงและรถรับจางสาธารณะออกมาชุมนุมประทวง “ยืนยันวาในภาวะจําเปน รัฐบาลก็ใหความชวยเหลือเต็มที่ แตในภาวะ ที่จะตองมีการปรับโครงสรางใหประเทศ ก็มีความจําเปน เพราะมีการ ประชาสัมพันธบอกกับประชาชนมากอนหนานีแ้ ลว ตนทุนทีแ่ ทจริง ของ NGV อยูที่กิโลกรัมละกวา 16 บาท โดยราคา กาซที่โรงงานอยูที่กิโลกรัมละกวา 8 บาท บวกกับคา ขนส ง ทางท อ อี ก การตั้ ง ราคาต น ทุ น ในป จ จุ บั น ไว ที่ กิโลกรัมละ 14.50 บาท ยังถือวามีการขาดทุน” ดานนายยู เจียรยืนยงพงศ ประธาน สหพั น ธ ก ารขนส ง ทางบก เป ด เผยว า ผูประกอบการตองคัดคานการปรับขึ้นคากาซ NGV เนื่องจากสงผลกระทบตอผูประกอบการ
หรื อ หากการให บ ริ ก ารก า ซ NGV ขาดตลาดก็ อ าจจะส ง ผลกระทบให ผู ป ระกอบการต อ งหยุ ด ให บ ริ ก าร “นายยูกลาว แหล ง ข า วระดั บ สู ง จากกลุ ม สหพันธ ยืนยันวาจะคัดคานการปรับ ขึ้นราคา NGV สุดตัว ตราบใดที่ปตท. ยังไมสามารถที่จะระบุแนชัดถึงตนทุน ราคาที่บวกเพิ่มไปถึง 6 บาท วาแทจริงแลวนั้น ราคาเปนไปตามกลไกนี้ จริงหรือไม ปตท.จะตองแจงรายละเอียดทั้งหมดใหกับผูบริโภคไดเขาใจถึง ตนทุนที่จะปรับราคาเพิ่ม และใหมีการพิสูจนไดดวยวาเปนความจริง ทาง กลุมยินดีที่จะใหปรับ เพราะมีความเห็นวาขณะนี้กาซ NGV ยังขาด ตองไป รอเติมเปนหลายชม. พอถึงคิวกาซหมด แลวจะมาขอขึ้นราคานี่เหมาะสม แลวหรือไม และลาสุด ราคาที่หนาสถานีจายกาซนอกแนวทอ เพิ่มขึ้น 10 สต. โดยปรับขึน้ อัตโนมัติ ..ปรับเมื่อไหร ที่ใดบาง ไมมีใครทราบหรือสามารถ ที่จะตรวจสอบได ทั้งที่ทางกฎหมายกําหนดแลววา สถานีนอกแนวทอตอง อยูที่ราคาไมเกิน 10.34 บาท/กิโลกรัม ทําใหทางกลุมสหพันธไมไววางใจ และตองออกมาเรียกรองดังกลาว
ผลกระทบการปรับขึน้ ราคา NGV ทีท่ างผูป ระกอบการฯ แถลง
แท็กซี่ จะปรับขึ้นคาโดยสารจากมิเตอรอีก 20 บาท รถรวมขสมก. จะปรับขึ้นคาโดยสารอีก 2 บาท รถปรับอากาศ จะเพิ่มขึ้นระยะทางละ 2 บาท ผูประกอบการขนสง ปรับเพิ่มคาขนสงอีก 20% มาตรการรุนแรง หยุดวิ่ง
Januuary 2012 l 91
Energy#38_p91_Pro3.indd 91
12/27/11 12:37 AM
Energy#38_p92_Pro3.ai
1
12/19/11
11:41 PM
Special Report โดย : รังสรรค อรัญมิตร
พัฒนาพลังงานทดแทนในรูปแบบ
“ปาลอมเมือง”
เทคโนโลยีพลังงานทดแทนในบางชนิดอาจจะมีราคาตนทุนที่แพง เพราะเทคโนโลยีบางอยางตองนําเขาจากตางประเทศ เนองจากผูประกอบ การดานพลังงานมองวาเทคโนโลยีที่คนไทยผลิตเองยังไมมีประสิทธิภาพ มากพอ แตถาหากหนวยงานภาครัฐมีการสงเสริมใหเกิดการพัฒนา เทคโนโลยีพลังงานทดแทนอยางจริงจังเพอรองรับศักยภาพของพลังงาน ทดแทนในประเทศไทยที่มีจํานวนมากและไมมีวันหมด ไมวาจะเปน พลังงาน แสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานจากพืชทางการเกษตร อยาง ไบโอแมส จํ า พวก แกลบ อ อ ย มั น สํ า ปะหลั ง ข า วโพด ปาล ม พลังงานไบโอแกส ก็จะไดจากของเหลือทิ้ง เศษอาหาร มูลสัตว น้ําเสีย เป น ต น ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ ห ากนํ า มาพั ฒ นาต อ ยอดให เ ป น วงจรพลั ง งาน หมุนเวียนหรือคิดคนเทคโนโลยีขึ้นมาเองก็จะชวยใหไมตองนําเขาเทคโนโลยี จากตางประเทศและมีพลังงานใชไดอยางยั่งยืนโดยไมตองพึ่งพานิวเคลียร Januuary 2012 l 93
Energy#38_p93-94_Pro3.indd 93
12/23/11 8:56 PM
นี่เปนแนวความคิดที่กวางไกลของคนตัวเล็กๆ ที่พรอมจะพัฒนา เทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหเติบโตและขยายผลสูชุมชน สูตําบล สูเมือง ภายใตแนวความคิดที่วา “พัฒนาพลังงานทดแทนแบบปาลอมเมือง” รายงานพิเศษฉบับนี้ อดไมไดทีจ่ ะนําเสนอแนวคิดทีเ่ ปนประโยชนตอ มวลรวม อันใหญยง่ิ ของ คุณยุทธการ มากพันธุ ประธานมูลนิธคิ าํ แสดธรรมธาร ที่พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนขึ้นมาเองแลวตอยอดสูชุมชน สูสังคม เมือง โดยไมตองพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ และพึ่งพาพลังงาน นิวเคลียร ซึ่งมีเวลาประมาณ 10 ปตอจากนี้ ให คุณยุทธการ ไดพิสูจน ฝมอื วาจะประสบความสําเร็จตามทีห่ วังไวหรือไม ถาสําเร็จนัน้ หมายถึงการ หยุดพลังงานนิวเคลียรโดยไมตองออกแรงประทวง ทั้งนี้กอนที่จะไปฟงแนวความคิดของ คุณยุทธการ แบบเต็มๆ ใน เรองของการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนนั้นลองไปดูประวัติคราวๆ กอนวาเขาเริ่มตนมาสนใจดานพลังงานทดแทนไดอยางไร (ทั้งๆ ที่ ไมไดจบ วิศวกรดานเทคโนโลยีพลังงาน) “ตอนแรกเปนผูจัดการฝายบุคคลที่ รีสอรท คําแสดริเวอรแครว ณ ตอนนั้นเปนชวงที่เศรษฐกิจไมดี (ป 2540) ฟองสบูแตก รีสอรทก็เริ่ม ปลดพนักงานออกผมเลยมีความคิดวาจะรักษาคนไวโดยไมปลดพนักงาน แลวไดไปคิดวาจะทําอยางไรที่ ไมตองปลดพนักงาน จึงมีแนวความคิดวา ตองพึ่งพาพลังธรรมชาติ โดยเริ่มจากการทํา สบู แชมพู จากพืชสมุนไพร ที่ปลูกไวภายในรีสอรทเพอจําหนายใหผูมาพัก และใชในรีอสรท พรอมกับ คั ด แยกขยะแล ว นํ า ขยะไปขาย แล ว ขยายไปสู ก ารผลิ ต แก ส ชี ว ภาพ แกสชีวมวล ไบโอดีเซล นี้เปนจุดเริ่มตนแลวก็ ไดพัฒนามาเรอยๆ หลังจากไดพัฒนาตอยอดในชวงระยะเวลา 3 – 4 ปที่นี่ ไดเริ่มมีคน รูจักมากขึ้นเรอยๆ เริ่มมีคนเขามาดูงาน มาอบรมสัมมนาซึ่งสวนใหญเปน ชาวบาน บริษัทเอกชนตางๆ หนวยงานภาครัฐที่เขามาดูงาน เรียนรูเกี่ยว กับพลังงานทดแทน ซึ่งสรางรายไดอยางตอเนองใหกับรีสอรท” การพัฒนาเทคโนโลยีนั้น คุณยุทธการ นําเอาขอจํากัดในการใช งานมาพัฒนาตอยอดใหสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพโดยขอทุน พัฒนาจากองคกรอิสระ อยาง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสราง เสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) เพื่ อ พั ฒ นา เทคโนโลยีขึ้นมาใหชุมชนไดเรียนรูไดมาก ขึ้น และใหขยายวงกวางมากจึงเปนที่มา ของการตัง้ มูลนิธคิ าํ แสดธรรมธาร ที่ อ ยู ภ ายใต ข อง รี ส อร ท คํ า แสดริ เ วอร แ ครว แต
เนองจากจะตองดูแลทั้งรีสอรทและมูลนิธิ ซึ่งทําให คุณยุทธการ ไมมีเวลา ไปดูรีสอรทประกอบกับประชาชนโดยทั่วไปมีกําลังทรัพยนอยซึ่งไมเพียงพอ ตอการเขามาเรียนรูเทคโนโลยีพลังงานทดแทน และจากการที่ประชาชนในชุมชนตางๆ ใหความสนใจเขามาเรียนรู ดานพลังงานทดแทน จึงไดมีแนวความคิดที่จะลงไปทํางานเพอชุมชนอยาง เต็มตัวและเต็มกําลัง เพราะมองวาคนใน ชุมชนไมมีปจจัยที่จะเขามาดูงานหรืออบรม จึ ง มี แ นวคิ ด ที่ จ ะพั ฒ นาโครงการด า น พลังงานที่ชาวบานสามารถทําไดจริง เพอ เปนการตอบโจทยชุมชน แลวคนในชุมชน สามารถนําไปพัฒนาตอยอดแลวใชไดจริง จึงกอตั้งมูลนิธิพัฒนาพลังงานขึ้นมาโดย ทําในรูปแบบของการชวยเหลือ ไมแสวงหา ผลกําไร “หลังจากที่ทํางานดานพลังงานให กับ รีสอรท มากวา 10 ป ผมจึงไดมีแนวคิด อยากทํ า อะไรให ชุ ม ชนอย า งจริ ง จั ง และ สามารถเข า ถึ ง ชุ ม ชนมากขึ้ น จึ ง ได ก อ ตั้ ง มู ล นิ ธิ พั ฒ นาพลั ง งานขึ้ น มาโดยไม แสวงหาผลกําไร และผมตั้งเปาไว อี ก 10 ข า งหน า จะทํ า งานให กั บ ชุมชน เนนสอนใหชาวบานพัฒนา เทคโนโลยีไดเอง นอกจากนี้ ยั ง ได มี แ ผน พัฒนาตอยอดให
94 l January 2012
Energy#38_p93-94_Pro3.indd 94
12/23/11 8:56 PM
เกิดพลังงานชุมชนโดยใหชุมชนสามารถผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนใช เอง โดยรวบรวมพลังงานทดแทนที่มีอยูในชุมชน หรือที่มีอยูภายในบาน แตละหลังมาพัฒนาเปนพลังงานหมุนเวียน แลวขยายวงกวางจากชุมชน หนึ่งไปสูอีกชุมชนหนึ่ง สมมุติวาบานหลังหนึ่งสามารถผลิตไฟฟาได 3 – 5 กิโลวัตต รวมกันแตละหลังก็จะผลิตไฟฟาไดมากซึ่งตอไปชาวบานจะเปนผู จายไฟฟาไมใชผูใชไฟฟา และถาหากเปนไปตามเปาหมายนั้นก็หมายความ วาสามารถชวยประเทศไดโดยการพัฒนาตอยอดจากชุมชน สูสังคมขนาด ใหญ ตลอดจนสูสังคมเมือง ซึ่งเรียกวาเปนการพัฒนาพลังงานในรูปแบบ ของปาลอมเมือง โดยผมจะไมจดลิขสิทธิ์ เพราะจะมีประโยชนตอ การพัฒนา ตอยอดไดเปนอยางดี คือผมทําดวยใจบริสุทธิ์เพราะคิดวาสมบัตินี้เปนของ ทุกคนผมก็เลยมีความรูสึกวาไมตองหวงหรือกลัววาใครจะมาเลียนแบบ” สวนเทคโนโลยีที่ คุณยุทธการ จะพัฒนาตอยอดใหสามารถใชไดใน สังคมเมืองยกตัวอยาง เชน การพัฒนาเตาแกสชีวมวล โดยใชเชื้อเพลิง ชีวมวลอัดแทง รวมถึงมีแนวคิดจะสรางน้ํามันดิบซากพืชที่ยังไมถึงเวลา เปนฟอสซิล ซึ่งอยูระหวางการวิจัยถึงความเปนไปได และปจจุบันเขาได พัฒนาเครองผลิตน้ํามันเบนซินจากพลาสติกและอยูระหวางการพัฒนา ตอยอดใหไดน้ํามันที่มีคุณภาพสามารถใชไดจริงในรถยนต
ดานมุมมองของ คุณยุทธการ ตอพลังงานในประเทศไทยนั้น คุณ ยุทธการ บอกวา “ถาเราไมทําอะไรสักอยางวันหนึ่งพลังงานนิวเคลียรจะ มาหาเราแตผมก็ ไมไดอยากไปประทวงเพราะถาเขาเกิดตั้งคําถามวาแลวจะ เอาไฟฟาที่ ไหนใช ผมไมอยากเปนคนที่อยูตรงนั้นแลวตอบไมไดผมมีเวลา 10 ปในการที่จะคิดคนดานพลังงานขึ้นมาทดแทนเพอที่จะตอบหนวยงาน ภาครัฐใหได โดยจะตองหาแหลงพลังงานทดแทนมาแทนนิวเคลียรใหได ซึง่ ผมเชอในพลังงานของธรรมชาติ ของแผนดินซึง่ ทุกวินาทีประเทศไทยมีพชื เกิดขึ้นมาทุกวินาทีมี ขาว มีใบไม มีชีวมวล มีลม มีแดดมหาศาลนั้นคือ พลังงานทั้งหมดที่เราจะรวบรวมยังไงใหกลายเปนหนึ่งผมคิดวามันมาก พอถาเรารูจักพัฒนาและใชมันอยางพอดี คือใชอยางฉลาดไมใชวาเราฝน เผลอนะ แลวอีกอยางหนึ่งที่หนวยงานที่เกี่ยวของกับพลังงานมองวาหากไม สรางโรงไฟฟานิวเคลียรในอนาคตจะไมมีไฟฟาใชเนองจากแหลงเชื้อเพลิง ลดนอยลง และตองซื้อไฟฟาจากประเทศเพอนบาน แตดวยความเปนจริง แลว ณ ปจจุบันนี้หากพูดการตามความเปนจริงในแงของไฟฟาครัวเรือน เราพอใชแตเราไปอิงคาไฟกับภาคอุตสาหกรรมที่ ใชไฟฟาจํานวนมหาศาล ฉะนั้น หนาจะแยกออกจากกันเพอใหเกิดการบริหารจัดการไฟฟาเปนอยาง ยุ ติ ธ รรม คื อ ค า ไฟฟ า ของภาคประชาชนจะได ไ ม ผู ก ขาดกั บ ภาค อุตสาหกรรมที่ ใชพลังงานอยางมหาศาล นอกจากนี้รัฐบาลควรจะมีมาตรการสงเสริมผลิตภัณฑที่ทําจาก พลังงานทดแทน โดยการหาสถานทีจ่ าํ หนายสินคากระตุน ใหประชาชนทัว่ ไป ใชสินคาที่ผลิตจากพลังงานทดแทนเหมือนกับที่ ไดสงเสริมใหใชเครองใช ไฟฟาฉลากเบอร 5 ซึ่งจะชวยใหสามารถลดมวลพลังงานไดมากกวาการ รณรงคใหประชาชนปดไฟ เพราะไมมีประโยชนอะไร แคประชาชนจายคาไฟ นอยลงแตหนวยงานภาครัฐยังปลอยกระแสไฟฟาเทาเดิมแลวก็ตองจาย เงินเทาเดิมนั้นหมายถึงเงินจากภาษีของประชาชน” อย่ า งไรก็ ต ามเชื่ อ ว่ า ศั ก ยภาพของคนไทยสามารถคิ ด ค้ น เทคโนโลยีพลังงานทดแทนเองไดโดยไมตอ งนําเขาเทคโนโลยีจากตาง ประเทศ เชน โซลารเซลล กังหันลม หรือเทคโนโลยีหลังงานทดแทน อนๆ แลวพลังงานทดแทนก็จะเปนพลังงานที่พอเพียงและเพียงพอ สําหรับคนไทย Januuary 2012 l 95
Energy#38_p95_Pro3.indd 95
12/23/11 8:57 PM
Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร เจาหนาที่ชุมชนสัมพันธ เพศชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึน้ ไป จบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ถึง ปริญญาตรี มีประสบการณดานชุมชนสัมพันธ สิ่ง แวดลอม ความปลอดภัย การพัฒนาชุมชน เปนตน ติดตอ บริษทั เอเชียกรีน เอนเนอจี จํากัด (มหาชน) 0-2415-0054 รั บ สมั ค ร ผู จั ด การโครงการ ด า นงานที่ ป รึ ก ษาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม เพศชาย วุฒิปริญญาตรี-โท สาขาบริ ห ารธุ ร กิ จ วิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม สั ง คมศาสตร / วิ ท ยาศาสตร หรื อ สาขาที่ เ กี่ ย วข อ ง ประสบการณ 3 - 5 ป มีความรูดานการจัดการ / การ บริหารธุรกิจ ติดตอ สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย 0-2718-5601 #257 รับสมัคร พนักงานธุรกรรม เพศชาย/หญิง อายุ 20 ปขึ้นไป วุฒิปวส. สาขาบัญชี, บริหารธุรกิจ หรืออน ๆ ประสบการณ 0 – 2 ป สามารถใช MS Office ไดเปน อยางดี ติดตอ สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 0-2280-7272 รับสมัคร เจาหนาที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ (R&D) วุฒิปริญญาตรี สาขาเคมี มีความคิดสรางสรรค มี ความรับผิดชอบ อดทน มีความตั้งใจในการทํางานสูง สนใจดานการวิจัยพัฒนาและคิดคนผลิตภัณฑใหม ๆ ติดตอ บริษัท แอนเทียร กรุป จํากัด 0-2814-0291-4
วิศวกรรม-วิทยาศาสตร รับสมัคร เจาหนาที่อนุรักษพลังงาน เพศชาย อายุ 24 -35 ป วุฒิปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา มีประสบการณการทํางาน 1 ป ขึ้นไป ดานการอนุรักษ พลักงาน สามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรไดเปนอยาง ดี มีมนุษยสัมพันธและทัศนคติที่ดี มีทักษะดานงานชาง ติดตอ บริษัท ไดอิชิ แพคเกจจิ้ง จํากัด 038-54588-8 รับสมัคร วิศวกรพลังงาน (ประจําจังหวัดสระแกว) เพศชาย/หญิง อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกลหรื อ สาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ ง มี ประสบการณตามตําแหนงงานอยางนอย 1 ปขึ้นไป สามารถไปปฏิบัติงานที่สระแกวไดสะดวก ติดตอ บริษัท เอสแอนดดี อินดัสทรี้ จํากัด 0-2452-5950 ถึง 53
รับสมัคร หัวหนางานซอมบํารุง (อนุรักษพลังงาน อาคาร) วุฒิปริญญาตรี สาขา ไฟฟา หรือสาขาอนที่ เกี่ยวของ มีประสบการณ หรือเปนผูรับผิดชอบดาน อนุรักษพลังงานจะพิจารณาเปนพิเศษ มีทักษะการใช คอมพิวเตอร MS Word, Excel, Power point, Autocad ติดตอ บริษทั คิง เพาเวอร อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด 0-2677-8888 ตอ 1621
รับสมัคร เจาหนาสิ่งแวดลอม เพศชายเทานั้น และพน ภาระทางทหาร วุฒิปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรสิ่ง แวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ ขึ้นทะเบียนผูควบคุม มลพิษดานอากาศ หรือ น้ํา หรือ กากของเสีย จะ พิ จารณาเปนพิเศษ มี ความข าใจทางด านกฏหมาย ความปลอดภัย และ สิ่งแวดลอมเปนอยางดี ติดตอ หองปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จํากัด 0-2940-6881-3 ตอ 141
รับสมัคร วิศกรกรขาย (สมุทรปราการ) เพศ ชาย/ หญิ ง อายุ 24-35 ป วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี ขึ้ น ไป มี ประสบการณ 1-2 ป รายละเอียดงาน ติดตอลูกคาที่ สนใจรถที่ขับเคลอนดวยพลังงานไฟฟา ติดตอ บริษทั รถไฟฟา(ประเทศไทย) จํากัด มหาชน 0-2236-2020
รั บ สมั ค ร นั ก วิ ช าการสิ่ ง แวดล อ ม / ธุ ร การสิ่ ง แวดลอม เพศชาย อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้น ไป สาขาสิ่งแวดลอม มีประสบการณทํารายงานดาน สิ่งแวดลอม และการใชเครองมือวัดตางๆ ติดตอ บริษัท ปนทองกรุป แมนเนจเมนท แอนด คอนซัลแตนท จํากัด 0-2683-1920 ตอ 53
รับสมัคร วิศวกรพลังงาน อายุไมเกิน 30 ป วุฒิ ปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมเครองกล / ไฟฟา จาก มหาวิทยาลัยที่ทบวงมหาวิทยาลัย หรือ กพ. และสภา วิศวกรรมรับรองหลักสูตร มีใบประกอบวิชาวิศวกรรม ควบคุม อยางนอยระดับภาคีวิศวกร (หรือมีโอกาสที่จะ ไดรับใบอนุญาตภาคีวิศวกร) จากสภาวิศวกร ติดตอ บริษัท มิตรเทคนิคัลคอนซัลแทนท จํากัด 0-2679-9079-84
รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม/วิศวกรสิ่งแวดลอม เพศชาย อายุ 22 ปขึ้นไป วุ ฒิ ปริ ญญาตรี สาขา วิศวกรรมสิ่งแวดลอม สามารถแกไขปญหาเฉพาะหนา ได และมีความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงาน ถามี ประสบการณระบบบําบัดน้ําเสียในโรงงานจะพิจารณา เปนพิเศษ ติดตอ บริษัท เดลี่ฟูดส จํากัด 0-2906-3481-4 ตอ 100
รับสมัคร เจาหนาที่สนับสนุนงานเทคนิคเครองกลและ ไฟฟา เพศชาย อายุไมเกิน 28 ป วุฒิปริญญาตรี ดาน วิศวกรรมเครองกลและไฟฟา เกรดเฉลี่ยไมนอยกวา 2.30 มีประสบการณทํางาน 2 ป ติดตอ บริษัท โพรเกรส เอช อาร จํากัด 0-2270-1070-6 ตอ 102-104
รั บ สมั ค ร เจ า หน า ที่ สิ่ ง แวดล อ ม วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี วิศวกรรมศาสตรหรือวิทยาศาสตรฺดานสิ่งแวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีใบประกาศเปนผูควบคุมมลพิษ ด า นน้ํ า หรื อ อากาศหรื อ กากของเสี ย หากสามารถ บริหารโครงการไดจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ Tong - Siang Co.,Ltd. 0-2810-1334-9 ตอ 500,502
รับสมัคร หัวหนากะสิ่งแวดลอม (สระแกว) เพศชาย/ หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป สาขา วิ ศ วกรรมสิ่ ง แวดล อ มหรื อ สาขาที่ เ กี่ ย วข อ ง มี ประสบการณตามตําแหนงงานอยางนอย 3 ปขึ้นไป เพศชาย ตองผานการเกณฑทหารแลวและไมสูบบุหรี่ ติดตอ บริษัท เอสแอนดดี อินดัสทรี้ จํากัด 0-24521291
รั บ สมั ค ร ENVIRONMENTAL MANAGEMENT REPRESENTATIVE(EMR) (ปราจีนบุรี) วุฒิปริญญา ตรี ขึ้ น ไป สาขาวิ ศ วกรรม/วิ ท ยาศาสตร ผ า นการ รับรองเปนผูตรวจสอบภายในของระบบ ISO14001 และถ า เคยปฏิ บั ติ ห น า ที่ EMR มาแล ว จะได รั บ การ พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท อินทรอนิคส จํากัด 0-2939-1222 ตอ 111
รับสมัคร จป.อาชีพอนามัยและสิ่งแวดลอม เพศชาย/ หญิง อายุไมเกิน 30 ป วุฒิปริญาตรี รับสมัครทั้งผูมี ประสบการณ แ ละไม มี ป ระสบการณ สามารถใช คอมพิวเตอรไดคลอง ติดตอ RMS Thailand Co.,Ltd. 0-2954-2345
รับสมัคร วิศวกรสิง่ แวดลอม วุฒกิ ารศึกษาระดับป.ตรี - ป.โท สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม มีทักษะดานภาษา อังกฤษ (TOEIC 550) มีประสบการณดา นการออกแบบ หรื อ งานก อ สร า ง สามารถปฏิ บั ติ ง านที่ ป ระเทศ ตะวันออกกลางไดจะไดรับการพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท อีอีซี เอ็นจิเนียริ่ง เน็ทเวิรค จํากัด 0-2642-1200 ตอ 108, 110
รับสมัคร ผูควบคุมระบบสิ่งแวดลอม (นครราชสีมา) เพศชาย ผานการเกณฑทหารแลว วุฒิปริญญาตรี สาขาเคมี หรือสิ่งแวดลอม มีประสบการณดานไบโอ แกสจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ กลุมบริษัท บุญวรรณ กรุป 044-212-351-62
รั บ สมั ค ร วิ ศ วกรสิ่ ง แวดล อ ม วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี ปริญญาโท วิชาเอก วิศวกรรมสิง่ แวดลอม ประสบการ ในการทํางานสําหรับปริญญาตรี 3 - 5 ป หรือสําหรับ ปริญญาโท 1 - 2 ป ทางดานการเดินระบบบําบัดน้ํา เสีย/ระบบบําบัดตะกอนขนาดใหญ ติดตอ บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ จํากัด 0-2789-3232
96 l January 2012
Energy#38_p96_Pro3.indd 96
17/12/2011 16:16
Energy Price
January 2012 l 97
Energy#38_p97_Pro3.indd 97
12/21/11 1:21 AM
Directory ระบบความเย็น บริ ษั ท ไดกิ้ น อิ น ดั ส ทรี ส (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2712-7839 : 0-2712-7840 : info@dit.daikin.co.jp : http://www.daikinthai.com : ระบบความเย็น
บริษัท วิเศษแอร เซ็นเตอร (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2935-5993,0-2932-6163 : 0-2883-4919 : wisetair1@yahoo.com : http://www.wisetair.com/ : ระบบความเย็น
บริ ษั ท สหกิ จ อนั น ต อิ น เตอร เ นชั่ น แนล จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2717-9244-6 : 0-2717-9248 : info@sahakijanan.com : http://www.sahakijanan.com : ระบบความเย็น
บริษัท อาณาจักรสยามเครื่องปรับอากาศ จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2759-7033-7 : 0-2759-7032 : http://www.siamempire.com : ระบบความเย็น
บริษัท อารวีเอส อินเตอรกรุป จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2883-4722-3 : 0-2883-4919 : sales@rvsintergroup.com : http://www.rvsintergroup.com/ : ระบบความเย็น
บริษัท อีซี่แอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2809-4898-9 : 0-2809-4894 : sale@easyair.co.th : http://www.easyair.co.th/ : ระบบความเย็น
บริษัท ฮาลฟ พาวเวอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2552-7873 : 0-2552-7870 : info@halfpowerair.com : www.halfpowerair.com : ระบบความเย็น
หางหุนสวนจํากัด ว.วัชร วิศวกรรม
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2641-6125-8 08-1488-2079 : 0-2248-4941 : contact@coolingairflow.com : http://www.coolingairflow.com : ระบบความเย็น
บริษัท ทีจีแอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 075-701-234 ,075-810-199 : 075-631-253 : tgair@hotmail.com : http://www.tgair.com/ : ระบบความเย็น
หางหุนสวนจํากัด ทอปคูลแอรเซ็นเตอร โทรศัพท แฟกซ อีเมล
: 0-2806-3800, 083-8401000 : 0-2487-3088;0-2806-2692 : sale@topcoolair.com; topcoolair@hotmail.com เว็บไซด : http://www.topcoolair.com/ สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท สํารวยเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2810-1260-7 : 0-2810-1268,0-2810-1418 : sr@samruay.co.th : http://www.samruay.co.th/ : ระบบความเย็น
บริษัท เอส เอส พี แอรเซอรวิส จํากัด
โทรศัพท
: 0-2393-6035, 0-2393-6133, 0-2393-9166 แฟกซ : 0-2393-1509 อีเมล : sales@sspairservice.com เว็บไซด : http://www.sspairservice.com/ สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท เอเชี่ยน อิเลคทริก อินดัสตรี จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2-581-3234-6 : 0-2581-1758 : exim@aeiindustry.com : http://www.aeiindustry.com : ระบบความเย็น
บริษัท ไซท เพรพพาเรชั่น แมเนจเมนท จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2591-1500 : 0-2591-1300 : info@modernkool.com : http://www.modernkool.com : ระบบความเย็น
บริษัท ไทย ทาซากิ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2385-5840-2755-4488 : 0-2757-5475 : info@tasakiair.com : www.tasakiair.com : ระบบความเย็น
ศูนยบริการบานแอรดอทคอม
โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2944-7146, 08-4085-7729 : 0-2716-8885 : www.banairs.com : ระบบความเย็น
หางหุนสวนจํากัด พรหมดวง ซัพพลาย
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-25038158 ,0-2524-3208 : 0-2524-3208 : pong9891@hotmail.com : http://www.promduang.com : ระบบความเย็น
บริษัท สงเสริมเซลสแอนดเซอรวิส จํากัด
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2437-0023, 0-2860-6431 : 0-2439-1714 : info@songsermair.com : www.songsermair.com : ระบบความเย็น
บริษัท ดีโฟร เซอรวิส จํากัด
โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-29207411 , 086-7509064 : 0-2920-7311 : www.d4service.com : ระบบความเย็น
AIR POLLUTION บริษัท ฟลเทค จํากัด
โทรศัพท : 0-2321-9393,0-2322-6881-2 แฟกซ : 0-2321-5863 สินคาและบริการ : ออกแบบ สราง และติดตั้งระบบกําจัด มลภาวะทางอากาศ
บริษัท แม็กนาเท็กซ จํากัด
โทรศัพท : 0-2322-9822-3,0-2322-9740-1 แฟกซ : 0-2322-9800 อีเมล : sales@magnatex.co.th เว็บไซด : www.magnatex.co.th สินคาและบริการ : จําหนายแผนกรองอากาศ เครื่องฟอก อากาศ และอุปกรณกําจัดฝุน
บริษัท อาร.ซี.เทรดดิ้ง แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ ที่สะอาด
: 0-2752-4227 : 0-2752-4960 : sales@rc-trading.com : www.rc-trading.com : ธุรกิจของเราคืออากาศบริสุทธิ์ และน้ํา
บริษัท เอเซียแล็ป แอนด คอนซัลแตนท จํากัด
โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ อากาศเสีย
: 0-2805-6660-3 : 0-2805-6660 : asialab@box1.a-net.net.th : รับปรึกษา ปรับปรุง แกไขระบบบําบัด
บริษัท เอ็นโค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท : 02772-9481 แฟกซ : 0-2722-9481 ตอ 109 สินคาและบริการ : ปรึกษาและรับเหมาติดตั้งระบบบําบัด มลพิษทางอากาศ
บริษัท กม. 18 วิศวกรรม จํากัด
บริษัท แกรนด เอ็นโปร เทรด จํากัด
โทรศัพท : 0-2731-0229-31 แฟกซ : 0-2375-1184 สินคาและบริการ : WaterPump
โทรศัพท : 0-2319-3010, 0-2314 272 1662 แฟกซ : 0-2319-3011 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท วอเตอรเทค (ประเทศไทย) จํากัด
บริษัท แกรมมา เอ็นจิเนียริ่ง แอนด คอน สตรัคชั่น จํากัด
โทรศัพท : 0-2611- 4778-86 แฟกซ : 0-2611-4809 สินคาและบริการ : WaterPump
โทรศัพท : 0-2435-4034-6 แฟกซ : 0-2435-4036 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
บริษัท คราวน-เทค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท : 0-2476-9112-3 แฟกซ : 0-2476-9114 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
บริษัท คลีนเทคโนโลยี่ จํากัด
โทรศัพท : 0-2374-4185,0-2374-7131 แฟกซ : 0-2375-1321 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
บริษัท จีเค โปรเทคโน จํากัด
โทรศัพท แฟกซ
: 0-2361-8132-4 : 0-2361-8135
สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน โทรศัพท : 0-2399-5205-6,0-2749-8135-8 แฟกซ : 0-2749-8140 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
บริษัท วิวัฒนสัน จํากัด
บริษัท ซงเรยนันวูเวน จํากัด
โทรศัพท : 0-29147-511-2,0-2914-7582 แฟกซ : 0-2914-7510 อีเมล : act_bkk@hotmail.com สินคาและบริการ : รับออกแบบและติดตัง้ ระบบกําจัดฝุน และ จําหนายผาและถุงกรองฝุน
โทรศัพท : 0-2-749-2278-9 แฟกซ : 0-2-749-2280 สินคาและบริการ : WaterPump
โทรศัพท : 0-2970-0460-1 แฟกซ : 0-2551-0465 สินคาและบริการ : WaterPump
โทรศัพท : 0-2392-4692, แฟกซ : 0-2381-1832 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
หางหุนสวนจํากัด อรุณเจริญเทรดดิ้ง
บริษัท วี.เอ็ม.เอส.ดีเวลลอปเมนท แอนด เทคโนโลยี่ จํากัด
โทรศัพท : 0-2476-5269,0-2468-9164 แฟกซ : 0-2476-2524 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
โทรศัพท : 0-2757-8785 แฟกซ : 0-2384-2426 สินค้าและบริการ : จํ า หน่า ยเครื่ อ งกรองและเครื่ อ งฟอก อากาศ
: 0-2939-4474-5,0-2930-3849 : 0-2939-4476 : www.wamthai.co.th : จําหนายเครื่องกรองอากาศและเครื่อง
โทรศัพท : 0-2678-4291-4 , 0-2720-4420 แฟกซ : 0-2678-4290 ,0-2-720-4422-23 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท วอลทเซ็นเอ็นเตอไพรซ จํากัด
โทรศัพท : 0-2361-3044,0-2748-0843-4 แฟกซ : 0-2361-0344 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
บริษัท ชวนันท คอรปอเรชั่น จํากัด
โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ ฟอกอากาศ
บริษทั ยูนเิ วอรแซลเอ็นจิเนียริง่ เทคโนโลยี จํากัด
บริษัท เกง พัฒนกิจ จํากัด
บริษัท รักษเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
บริษัท แวม (ไทยแลนด) จํากัด
บริ ษั ท ยู นิ เ วนเจอร คอมเมอร เ ชี ย ล จํากัด
โทรศัพท : 0-2714-4299, 0-2714-4121-2 แฟกซ : 0-2714-4134 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท เวนเทค จํากัด
บริษัท เจเอสวี เทคนิคัล จํากัด
โทรศัพท : 0-2584-3414,0-2962-0249 แฟกซ : 0-2583-5587 สินคาและบริการ : จําหนายเครื่องฟอกอากาศ เครื่องกําจัด ฝุน
โทรศัพท : 0-2234-5686, 0-2235-6009 แฟกซ : 0-2233-6902 สินคาและบริการ : WaterPump
โทรศัพท : 0-2337-1532-43 แฟกซ : 0-2337-1290 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
บริษัท แมคคอล เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท : 0-2536-5580,0-2536-5510 แฟกซ : 0-2536-5580 สินคาและบริการ : รับติดตั้งระบบบําบัดน้ําเสีย
บริษัท ยู.เอ็น.อีเล็คทริค จํากัด
โทรศัพท : 0-2260-8711,0-2260-8714 แฟกซ : 0-2259-2684 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
บริษัท ซายนเทค จํากัด
โทรศัพท : 0-2285-4101-3,0-2285-4871-2 แฟกซ : 0-2285-4856 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน
Water Pump บริษัท ทองไทย (1956) จํากัด
โทรศัพท : 0-2233-2995-9, 0-2233-8931-5 แฟกซ : 0-2236-5674 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท วิค แอนด ฮุคลันด จํากัด (มหาชน) บริษัท วินดิก เทคโนโลยี จํากัด
โทรศัพท : 0-2274-7100, 0-2274-4592-3 แฟกซ : 0-2274-4102 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท วอลเตอร-ซีบี ไอ (ประเทศไทย) โทรศัพท : 0-2258-7364, 0-2261-4843 แฟกซ : 0-2259-8120, 0-2662-7457 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท วรจักรอินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
โทรศัพท : 0-2312-0707, 0-2312-0808 แฟกซ : 0-2312-0800 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท ยามาบิชิ อิเลคทริค จํากัด
โทรศัพท : 0-2447-0671-4, 0-2447-1267-8 แฟกซ : 0-2447-0676 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท ยนตรการเมทัลเวิรค จํากัด
โทรศัพท : 034-411-557,0-2483-6909-10 แฟกซ : 034-42-1413 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท การเจริญ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทรศัพท : 0-2399-2572, 0-2743-4420-1 แฟกซ : 0-2399-2565 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท กิตติชัยแมชชีนเนอร จํากัด
โทรศัพท : 0-2258-1199, 0-2259-5579-8 แฟกซ : 0-2259-5579 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท เกรียงไทยวัฒนา จํากัด
โทรศัพท : 0-2867-0353-60, 0-2840-1712-4 แฟกซ : 0-2867-0361-2 สินคาและบริการ : WaterPump
บริ ษั ท คราวน แ ท ก ซ เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง (ประเทศไทย) จํากัด
โทรศัพท : 0-2476-9112-3 แฟกซ : 0-2476-9114 สินคาและบริการ : WaterPump
บริษัท ควีน บี อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทรศัพท : 034-854-891-8 แฟกซ : 034-854-901 สินคาและบริการ : WaterPump
98 l January 2012
Energy#38_p98_Pro3.indd 98
12/26/11 4:39 PM
Energy#36_p94_Pro3.ai
1
10/18/11
11:21 PM