คู่มือ Microsoft Excel 2010

Page 1

E - Magazine เอกสารประกอบ โปรแกรม Microsoft Excel 2010


คานา โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซล (Microsoft Excel) เป็ นโปรแกรมประเภท กระดาษทาการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Spreadsheet) มีลกั ษณะเป็ นตารางขนาดใหญ่ นิยมใช้บนั ทึกข้อมูลต่างๆ ลงในตารางเพื่อคานวณหาผลลัพธ์ตามต้องการ ทั้งนี้ กระดาษ ทาการที่นกั บัญชีใช้ทาในสมัยหลายร้อยปี ก่อนหน้านั้น จะมีขนาดที่ใหญ่มีการแบ่งตาราง เป็ นช่องทั้งแนวตั้งและแนวนอนเป็ นจานวนมาก โดยใช้ตรวจสอบตัวเลขทางบัญชีเพื่อ วิเคราะห์และวางแผนในการบริ หาร เป็ นต้น ข้าพเจ้าหวังว่า เนื้อหาในรายงานฉบับนี้ที่ได้เรี ยบเรี ยงมาจะเป็ นประโยชน์ต่อ ผูส้ นใจเป็ นอย่างดี หากมีสิ่งใดในรายงานฉบับนี้จะต้องปรับปรุ ง ข้าพเจ้าขอน้อมรับใน ข้อชี้แนะและจะนาไปแก้ไขหรื อพัฒนาให้ถูกต้องสมบูรณ์ต่อไป นายชวลิต โพธิสิงห์ 26 สิ งหาคม 2525


สารบัญ คานา บทที่ 1

ความรู้ ทวั่ ไป หน้ าจอ และการพิมพ์ข้อความ 1.1. ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับโปรแกรม 1.2. การสร้างสมุดงาน 1.3. การเปิ ดสมุดงานเดิม 1.4. ส่ วนประกอบของโปรแกรม 1.5. การบันทึกสมุดงาน 1.6. การพิมพ์งานใน Excel

บทที่ 2

การพิมพ์ข้อมูลในเซลล์ และการจัดการแผ่ นงาน 2.1. ความหมายของเซลล์ 2.2 ตาแหน่งและการอ้างอิงของช่องตารางและคอลัมน์ 2.3. ประเภทของข้อมูลในช่องตาราง 2.4. การพิมพ์ขอ้ ความพร้อมกันหลายบรรทัด 2.5. การแก้ไขข้อความ 2.6. การจัดวางข้อความ 2.7. การจัดตัวหนังสื อเอียง 2.8. การลบแถวและคอลัมน์ 2.9. การแทรกตารางแถวและคอลัมน์ 2.10. การตีเส้นขอบ 2.11. การผสานเซลล์ 2.12. การใส่ สีพ้นื หลัง

บทที่ 3

การย้ าย คัดลอก ลบ เพิม่ ข้ อความ 3.1. การย้ายตาแหน่งแผ่นงาน 3.2. การกาหนดชื่ อและเปลี่ยนชื่อ 3.3. การเปลี่ยนสี แถบชื่อแผ่นงาน

หน้ า ก 1 2 5 6 7 7 8 9 10 10 10 11 11 12 12 14 15 15 17 18 19 20 21 21


3.4. การเพิ่มแผ่นงาน 3.5. การคัดลอก การลบ แผ่นงาน

บทที่ 4

การใช้ สูตร และฟังก์ ชั่น 4.1. ความหมายและความแตกต่างของสู ตรและฟังก์ชนั่ 4.2. ตัวดาเนินการ 4.3. การคานวณทางคณิ ตศาสตร์ 4.4. การใช้ฟังก์ชนั่ 4.5. การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าสู งสุ ด การนับจานวนตัวเลข 4.6. การนับจานวนแบบมีเงื่อนไข

บทที่ 5

แผนภูมิ และ การใช้ ภาพ 5.1. การสร้างแผนภูมิคอลัมน์ 5.2. ส่ วนประกอบของแผนภูมิ 5.3. การตกแต่งแผนภูมิ 5.4. การสร้างแผนภูมิวงกลม 5.5. การใช้รูปภาพและการตกแต่ง

หน้ า 21 22 23 24 24 25 27 28 30 33 34 35 36 36 40


1

บทที่ 1: ความรู้ทวั่ ไป หน้ าจอและการ พิมพ์ข้อความ โปรแกรม Microsoft Excel

2010


2

1. ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับโปรแกรม (Spreadsheet) โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซล (Microsoft Excel) เป็ นโปรแกรมประเภท กระดาษทาการ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Spreadsheet) มีลกั ษณะเป็ นตารางขนาดใหญ่ นิยมใช้บนั ทึกข้อมูลต่างๆ ลงในตารางเพื่อคานวณหาผลลัพธ์ตามต้องการ ทั้งนี้ กระดาษทาการที่นกั บัญชีใช้ทาในสมัยหลาย ร้อยปี ก่อนหน้านั้น จะมีขนาดที่ใหญ่มีการแบ่งตารางเป็ นช่องทั้งแนวตั้งและแนวนอนเป็ นจานวน มาก โดยใช้ตรวจสอบตัวเลขทางบัญชีเพื่อวิเคราะห์และวางแผนในการบริ หาร เป็ นต้น 2. ความเป็ นมาของโปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซล (Microsoft Excel) โปรแกรม Excel เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2528 โดยผลิตเพื่อใช้กบั คอมพิวเตอร์ แอปเปิ ล แมคอินทอช (Apple Macintoch) ซึ่ งพัฒนามาจากเครื่ องรุ่ น Apple II เพราะเครื่ อง แมคอินทอช มี ความโดดเด่นมากทางด้านกราฟฟิ กซึ่ งใช้งานง่ายและคล่องตัว ต่อมาปี พ.ศ. 2530 หลังจากที่บริ ษทั ไมโครซอฟต์ได้พฒั นาโปรแกรมวินโดส์เพื่อใช้งานกับ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในตระกูล IBM ให้สามารถทางานแบบกราฟิ กได้เหมื่อนกับเครื่ อง แมคอินทอช จึงได้พฒั นาโปรแกรม Excel และนามาใช้ร่วมกับวินโดวส์ ส่ งผลให้ชุดโปรแกรม Microsoft Office ได้รับความนิยมสู งสุ ดจนถึงปัจจุบนั 3. คุณสมบัติใหม่ของโปรแกรม โปรแกรม Excel 2003 นับเป็ นโปรแกรมที่มีความนิยมรุ่ นแรกๆ สามารถประยุกต์การใช้ งานได้อย่างกว้างขวาง แต่ท้ งั นี้ก็ยงั มีขอบเขตการทางานกับข้อมูลอยูบ่ า้ ง มีจานวนสดมภ์ไม่เกิน 256 สดมภ์ จานวนแถวไม่เกิน 65536 แถว โดยในแต่ละเซลล์พิมพ์ตอั กั ษรได้ไม่เกิน 255 ตัวอักษร และ การทาสมุดงานหนึ่งจะทาได้ไม่เกิน 255 แผ่นงาน นอกจากนี้ความสมมารถของโปรแกรมยังขึ้นอยูก่ บั หน่วยความจา RAM ของเครื่ อง คอมพิวเตอร์อีกด้วย ซึ่งหากเป็ นของมูลขนาดใหญ่ก็อาจเกิดปั ญหาการประมวลผลช้าได้ ต่อมาได้มี การพัฒนาโปรแกรมมาอย่างต่อเนี่อง มี Microsoft Excel 2007 นาไปใช้กนั และปั จจุบนั ได้มีการนา Microsoft Excel 2010 เวอร์ ชนั่ ล่าสุ ดออกมาใช้ ข้อแตกต่างของแต่ละเวอร์ ชนั่ ในส่ วนติดต่อผูใ้ ช้ที่มุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ Microsoft Office Excel 2007 จะมีเครื่ องมือและ คุณลักษณะที่มีประสิ ทธิ ภาพซึ่ งคุณสามารถใช้เพื่อวิเคราะห์ขอ้ มูล ใช้ขอ้ มูลร่ วมกัน และเพื่อจัดการ ข้อมูลของคุณได้อย่างง่ายดาย เพื่อจะทาให้คุณสามารถสารวจปริ มาณข้อมูลจานวนมากในแผ่นงาน Office Excel 2007 สนับสนุนแถวถึง 1 ล้านแถว และคอลัมน์ถึง 16,000 คอลัมน์ต่อแผ่นงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เส้นตาราง Office Excel 2007 คือ 1,048,576 แถวกับ 16,384 คอลัมน์ ซึ่งให้คุณมี แถวมากกว่าที่มีใน Microsoft Office Excel 2003 ถึง 1,500 เปอร์ เซ็นต์และคอลัมน์มากกว่าถึง 6,300 เปอร์เซ็นต์ และสาหรับคุณที่กาลังนึกสงสัย คอลัมน์จะสิ้ นสุ ดที่ XFD แทนที่จะเป็ น IV


3

ขณะนี้คุณสามารถใช้ได้ไม่จากัดจานวนในสมุดงานเดียวกัน และจานวนการอ้างอิงเซลล์ ต่อเซลล์ก็เพิ่มขึ้นจาก 8,000 เป็ นจานวนจากัดตามหน่วยความจาที่มีอยู่ แทนที่จะเป็ นการจัดรู ปแบบ 4,000 ชนิด มื่อต้องการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพของ Excel การจัดการหน่วยความจาได้เพิม่ ขึ้นจากหน่วยความจา 1 กิกะไบต์ ใน Microsoft Office Excel 2003 เป็ น 2 กิกะไบต์ใน Office Excel 2007 นอกจากนี้ คุณยังจะพบว่าการคานวณแผ่นงานขนาดใหญ่ที่มีสูตรมากมายทาได้อย่าง รวดเร็ วขึ้น เนื่ องจาก Office Excel 2007 สนับสนุนตัวประมวลผลหลายตัวและชิปเซตแบบหลาย เธรด Office Excel 2007 ยังสนับสนุนสี ถึง 16 ล้านสี อีกด้วย * ส่ วนติดต่อผูใ้ ช้ที่มุง่ เน้นที่ผลลัพธ์ * แถวและคอลัมน์เพิ่มเติมและข้อจากัดใหม่อื่นๆ * ชุดรู ปแบบของ Office และลักษณะของ Excel * การจัดรู ปแบบตามเงื่อนไขเพิม่ เติม * การเขียนสู ตรอย่างง่าย * สู ตร OLAP และฟังก์ชนั คิวบ์ใหม่ * การเรี ยงลาดับและการกรองที่ปรับปรุ งขึ้น * การเพิ่มคุณสมบัติให้กบั ตารางของ Excel * ลักษณะหน้าตาใหม่ของแผนภูมิ * การสร้างแผนภูมิที่ใช้ร่วมกัน * PivotTables ที่ใช้งานง่าย * การเชื่อมต่อกับข้อมูลภายนอกอย่างรวดเร็ ว * รู ปแบบแฟ้ มแบบใหม่ * ประสบการณ์การพิมพ์ที่ดีข้ ึน * วิธีการใหม่ในการใช้งานของคุณร่ วมกัน * การเข้าถึงด่วนไปยังแม่แบบเพิม่ เติม


4

Microsoft?Excel 2010 เครื่ องมืออันทรงพลังและเป็ นที่รักของคนบัญชี และกลุ่มคนที่ตอ้ งทางานด้านตัวเลข โดยเฉพาะ พัฒนาการของ Excel ได้มาถึงเวอร์ ชนั่ 2010 แล้ว (เวอร์ ชนั่ จริ งจะใช้ชื่อว่า Excel เวอร์ ชัน่ 14) สาหรับความสามารถใหม่ๆ ของ Excel 2010 ก็มีหลายอย่างที่น่าสนใจมากพอสมควร ความสามารถใหม่ของ Excel? 2010? * ความสามารถหลักๆ? คือการปรับปรุ งการทางานของโปรแกรมให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น รองรับการทางานที่ใหญ่ข้ ึน รวมทั้งคานวณได้เร็ วมากขึ้นด้วย * Backstage View แสดงรายละเอียดของไฟล์ หรื อที่เราเรี ยกดูขอ้ มูลในส่ วนของ Properties * Improved ribbon รองรับการทางานในการสร้างแท็ปสาหรับใช้ส่วนตัวได้เอง * 64-BIT Excel อีกรุ่ นหนึ่งของ Excel 2010 รองรับแล้วครับ สาหรับใครที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็ น รุ่ น 64-BIT ซึ่ งแน่นอน 64-Bit Excel ย่อมสามารถทางานได้สะดวกและรวดเร็ วมากกว่าเดิม และ ช่วยแก้ไขปั ญหาการมองเห็นเมมโมรี่ ซึ่ งแต่เดิมมองเห็นแค่ 2 GB เท่านั้น * Sparklines รองรับการแสดง Mini Chart? หรื อชาร์ตขนาดเล็กๆ บนเซลล์ที่ตอ้ งการ ในลักษณะ ของแนวโน้วที่คาดว่าจะเกิดขึ้น Mini Trendline * Slicers เครื่ องมือในการกรองข้อมูลจากการใช้ PivotTable * Support for equations รองรับสมการที่แปลกๆ ที่เราสร้างขึ้นเองได้ * More Themes เพิ่มเติม รู ปแบบในการตกแต่งตาราง Excel ให้มากขึ้น มีรูปแบบสวยงามมาก ขึ้นและดูเป็ นมืออาชีพมากขึ้น * Paste with live preview การทาสาเนาข้อมูล สามารถมองเห็นก่อนวางได้จริ ง * Improved picture-editing tools รองรับการทางานกับรู ปภาพ ไม่วา่ จะเป็ น Screenshots ง่ายๆ ในการจับหน้าจอภาพ นอกจากนี้ยงั มีเครื่ องมือในการตกแต่งภาพอีกมากมาย * Mobile Support รองรับการใช้งานผ่านโทรศัพท์มือถือ? ถ้าคุณใช้โทรศัพท์ Windows Mobile 6.5 ขึ้นไป * Web App รองรับการใช้งานหน้าเว็บ แต่ตอ้ งมีการติดตั้ง Web Server ความสามารถข้างต้น เป็ นเพียงส่ วนหลักๆ ทีมีการเปลี่ยนแปลง แต่อย่างไรก็ตามยังมีหลายๆ อย่างที่ เปลี่ยนแปลงเช่นกันน่ะครับ


5

การสร้ างสมุดงานใน Excel 2010 เมื่อเปิ ดโปรแกรม Excel 2010 ขึ้นมาใช้งานครั้งแรกนั้น จะเห็นได้วา่ มีสมุดงานขึ้นมาใช้งาน 1 ไฟล์ และในแต่ละสมุดงานนั้น ก็จะมีแผ่นงานให้ใช้งานได้ถึง 3 แผ่น แต่นอกจากสมุดงานที่โปรแกรม กาหนดให้มานั้น หากเราต้องการสร้างสมุดงานใหม่มาใช้ ก็สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 การสร้างสมุดงาน (Workbook) โดยทัว่ ไป 1. คลิกปุ่ ม แฟ้ ม (File) > สร้าง (New) 2. คลิกเลือก สมุดงานเปล่า (Blank Workbook) 3. คลิกเลือก สร้าง (Create)

วิธีที่ 2 การสร้างสมุดงาน (Workbook) จาก Template เป็ นการสร้าง Workbook ขึ้นมาใช้งานจากรู ปแบบ Workbook ที่มีอยูใ่ นโปรแกรม ซึ่ ง Workbook ใหม่ที่สร้างขึ้นมาก็จะมีลกั ษณะเหมือนต้นแบบที่ได้เลือกไว้ทุกประการ ซึ่ งทาได้ตาม ขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกปุ่ ม แฟ้ ม (File) > สร้าง (New)

2. คลิกเลือก ตัวอย่างแม่แบบ (Sample templates) 3. คลิกเลือกสมุดงานที่ตอ้ งการ 4. คลิกปุ่ ม สร้าง (Create) 5. สมุดงานจะถูกสร้างขึ้นมาจากแม่แบบ


6

การเปิ ดสมุดงานเดิม เป็ นการเปิ ดสมุดงานมาใช้งาน หรื อแก้ไข มีวธิ ี ดงั นี้ 1. คลิกปุ่ ม แฟ้ ม (File) > เปิ ด ( Open) 2. จะได้ไดอะล็อกบ็อกซ์ เปิ ด 3. คลิกเลือก ไฟล์ หรื อ โฟลเดอร์ ที่เก็บงานไว้ แล้วคลิกเปิ ด

ส่ วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel 2010 หน้าต่างของโปรแกรม Microsoft Excel 2010 นั้นมีส่วนประกอบที่สาคัญอยูห่ ลายส่ วนด้วยกัน ดังนี้

ส่ วนประกอบของโปรแกรม


7

1. แถบชื่อเรื่ อง (Title Bar) = เป็ นส่ วนที่ใช้แสดงชื่ อโปรแกรม และรายชื่อไฟล์ที่ได้เปิ ดใช้ งาน 2. แถบเครื่ องมือด่วน (Quick Access) = เป็ นส่ วนที่ใช้ในการแสดงคาสั่งที่ใช้งานบ่อย 3. ปุ่ ม แฟ้ ม (File) = เป็ นส่ วนที่ใช้ในการจัดเก็บคาสัง่ การทางานในโปรแกรม เช่น New Open, Save และ คาสั่ง Print เป็ นต้น 4. ปุ่ มควบคุม = เป็ นส่ วนที่ใช้ควบคุมการเปิ ด หรื อปิ ดหน้าต่างโปรแกรม 5. ริ บบอน (Ribbon) = เป็ นส่ วนที่ใช้แสดงรายการคาสั่งต่าง ๆ ที่ใช้ในการทางานกับเอกสาร 6. พื้นที่การทางาน = เป็ นส่ วนที่ใช้ในการแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ขั้นภายในเอกสาร 7. แถบสถานะ (Status Bar) = เป็ นส่ วนที่ใช้แสดงจานวนหน้ากระดาษ และจานวนตัวอักษรที่ ใช้ในเอกสาร 8. Name Box = เป็ นช่องที่ใช้แสดงชื่อเซล์ที่ใช้งานอยูใ่ นขณะนั้น เช่น ถ้ามีการใช้งานข้อมูล ในเซลล์ A1 รายชื่อเซลล์น้ ีก็จะไปแสดงอยูใ่ นช่อง Name Box 9. แถบสู ตร (Formula Bar) = เป็ นช่องที่ใช้แสดงการใช้งานสู ตรการคานวณต่าง ๆ 10. เซลล์ (Cell) = เป็ นช่องตารางที่ใช้สาหรับบรรจุขอ้ มูลต่าง ๆ ซึ่ งช่องเซลล์แต่ละช่องนั้นจะมี ชื่อเรี ยกตามตาแหน่งแถว และคอลัมน์ที่แสดงตาแหน่งของเซลล์ เช่น เซลล์ B1 จะอยูใ่ น คอลัมน์ B ในแถวที่ 1 เป็ นต้น 11. คอลัมน์ (Column) = เป็ นช่องเซลล์ที่เรี ยงกันในแนวตั้งของแผ่นงาน (Worksheet) 12. แถว (Row) = เป็ นช่องเซลล์ที่เรี ยงกันในแนวนอนของแผ่นงาน 13. Sheet Tab = เป็ นแถบที่ใช้แสดงจานวนแผ่นงานที่เปิ ดขึ้นมาใช้งาน

การบันทึกสมุดงาน หากต้องการนาไฟล์สมุดงานไปเปิ ดในคอมพิวเตอร์ ที่ไม่มีโปรแกรม Excel 2010 หรื อ อาจจะมีโปรแกรม Excel ในเวอร์ ชนั ที่ต่ากว่า ก็ตอ้ งบันทึกสมุดงานให้อยูใ่ นรู ปของไฟล์ 97-2003 เสี ยก่อน โดยมีข้ นั ตอนดังต่อไปนี้ วิธีการบันทึกสมุดงานให้อ่านได้ใน Excel 97-2003 1. คลิกปุ่ ม แฟ้ ม (File) > บันทึกเป็ น (Save As) 2. เลือกสถานที่จดั เก็บสมุดงาน 3. กาหนดชื่อไฟล์สมุดงาน 4. กาหนดชนิดของไฟล์ให้เป็ น Excel 97-2003 Workbook 5. คลิกปุ่ ม Save


8

การพิมพ์งานใน Excel 2010 คลิกที่ แฟ้ ม > พิมพ์ >ตัวอย่างก่อนพิมพ์ แล้ว เลือกหน้า กด > พิมพ์


9

บทที่2 การพิมพ์ข้อมูลในเซลล์ และการจัดการแผ่ นงาน


10

1.ความหมายของเซลล์ (Cell) ช่องตารางหรื อเซลล์ (Cell) คือหน่วยที่เล็กที่สุดของแผ่นงานท่สามารถใช้ทางานได้ ช่อง ตารางนับว่าเป็ นส่ วนที่สาคัญอย่างมาก เนื่องจากใช้เป็ นหน่วยรับข้อมูล เก็บข้อมูล ไว้ประมวลผล ใน 1 ช่องตารางสามารถแสดงอักษรได้ถึง 256 ตัว จึงสามารถบรรจุขอ้ มูลเพื่อการใช้งานและ ประมวลผล ตามที่ผใู้ ช้ตอ้ งการได้เพียงพอ และทั้งนี้ก็ข้ ึนอยูก่ บั RAM และพื้นที่เหลือในฮาร์ ดดิสก์ ด้วย

2.ตาแหน่ งและการอ้างอิงของช่ องตารางในแผ่ นงาน ตาแหน่งของช่องตารางจะถูกกาหนดในระบบพิกดั คู่ โดยการใช้ตวั อักษรในแนวตั้งร่ วมกับ ตัวเลขในแนวนอน สังเกตได้จาก (Name Box) ซึ่ งจะบอกพิกดั ของ Active Cell

(Name Box) ซึ่ งจะบอกพิกดั

ตัวอักษรแสดงพิกดั Active Cell

ตัวเลขแสดงพิกดั

ประเภทของข้ อมูลในช่ งตาราง ประเภทของข้อมูลในช่งตาราง แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ 1. ค่าคงที่ เป็ นข้อมูลที่พิมพ์ลงไปโดยตรง ซึ่ งค่าคงที่เหล่านี้ จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง จนกว่า ผูใ้ ช้จะทาการแก้ไขเอง มีรายละเอียดดังนี้  ข้อความ  ตัวเลข  วันที่และเวลา


11

2. สู ตร เป็ นคาสั่งที่กาหนดให้โปรแกรมทาการประมวลผล ได้แก่ คาสั่งทางคณิ ตศาสตร์ คาสั่งทางสถิติ

การพิมข้ อความพร้ อมกันหลายบรรทัด ถ้าหากเราพิมพ์ขอ้ ความเกินจานวนอักษรที่กาหนดโปรแกรมจะแสดงสัญลักษณ์ ######## ขึ้นมาแทน นอกจากจะสามารถพิมพ์ขอ้ มูลลงไปทีละเซลล์ได้แล้ว เรายังสามารถพิมพ์ขอ้ มูล เดียวกันลงไปทีละหลาย ๆ ช่องเซลล์ได้ดว้ ยขั้นตอนดังต่อไปนี้ วิธีการพิมพ์ขอ้ มูลพร้อมกันหลายเซลล์ 1. เลือกเซลล์แรกที่ตอ้ งการพิมพ์ขอ้ มูลลงไป 2. กดแป้ น Ctrl ค้างไว้แล้วเลือกเซลล์อื่น ๆ จนครบ

3. พิมพ์ขอ้ มูลที่ตอ้ งการลงไป แล้วกดแป้ น Ctrl + Enter

การแก้ไขข้ อความ เมื่อต้องการแก้ไขข้อมูลที่พิมพ์ไปแล้วสามารถแก้ไขได้โดย 1. ดับเบิ้ลคลิกข้อความในเซลล์ที่ตอ้ งการจะแก้ไขให้เป็ น Active Cell 2. จากนั้นแก้ไขข้อมูล โดยใช้ปุ่ม <Del> หรื อ <Blackspace> เพื่อลบข้อมูลเดิมออก แล้วพิมพ์ ข้อความใหม่


12

การจัดวางข้ อความภายในเซลล์ของ Excel การจัดวางข้อความภายในเซลล์น้ นั มีอยูด่ ว้ ยกันหลายลักษณะ ไม่วา่ จะเป็ นการจัดวาง ข้อความกึ่งกลางเซลล์ การจัดวางข้อความชิ ดทางด้านขวามือของเซลล์เป็ นต้น ซึ่ งการจัดวาง ข้อความภายในเซลล์น้ นั ทาได้โดย วิธีการจัดวางข้อความภายในเซลล์ 1. คลิกเลือกเซลล์ที่ตอ้ งการ

2. คลิกแท็บ หน้าแรก (Home) 3. เลือกรู ปแบบการจัดวางข้อความที่ตอ้ งการ

การจัดตัวหนังสื อเอียง หลายครั้งที่เราต้องการพิมพ์ตวั หนังสื อเอียง หรื อเรี ยงตามแนวตั้ง สามารถทาได้จากหน้าต่าง การ จัดรู ปแบบเซลล์ ของ Excel ดังนี้ 1. พิมพ์ขอ้ ความที่ตอ้ งการ และคลิกขวาที่ เซลล์ นั้น 2. คลิกขวา เลือก จัดรู ปแบบเซลล์... 3. คลิกเลือกแท็บ การจัดแนว


13

4. คลิกเลื่อนทิศทางของเข็ม ในกลุ่มการวางแนว ตามองศาที่ตอ้ งการ

การลบแถว และ คอลัมน์ ใน Excel 2010 การลบแถว การลบแถวออกไปจากหน้าแผ่นงานทาได้โดย 1. เลือกแถวที่ตอ้ งการลบ 2. เลือก ลบ (Delete) > ลบแถวในแผ่นงาน (Delete Sheet Rows) 3. แถวที่เลือกไว้ก็จะถูกลบออกไป


14

การลบคอลัมน์ การลบคอลัมน์ออกไปจากหน้าแผ่นงานทาได้โดย 1. เลือกคอลัมน์ที่ตอ้ งการลบ 2. เลือก ลบ (Delete) > ลบคอลัมน์ในแผ่นงาน (Delete Sheet Columns) 3. คอลัมน์ที่เลือกไว้ก็จะถูกลบออกไป

การแทรกแถวและคอลัมน์ ใน Excel 2010 วิธีการแทรกแถว 1. เลือกเซลล์ที่ตอ้ งการแทรกแถว 2. คลิกเลือก แทรก (Insert) > แทรกแถวในแผ่นงาน (Insert Sheet Rows) 3. แถวใหม่ก็จะถูกแทรกขึ้นมา


15

วิธีการแทรกคอลัมน์ การแทรกคอลัมน์ใหม่ลงไปในตาราง สามารถทาได้ดงั นี้ 1. เลือกเซลล์ที่ตอ้ งการแทรกคอลัมน์ 2. คลิกเลือก แทรก (Insert) > แทรกคอลัมน์ในแผ่นงาน (Insert Sheet Columns) 3. คอลัมน์ใหม่ก็จะถูกแทรกขึ้นมา

การตีเส้ นขอบ 1. พิมพ์ขอ้ มูลดังภาพ

2. จากตัวอย่างนี้ ต้องการขีดเส้นใต้หมายเลข 30 ตาแหน่ง C3 3. ให้คลิกเลือกตาแหน่ง C3 4. บนแถบริ บบิ้น ให้เลือกแท็บหน้าแรก > กลุ่มตัวอักษร คลิกปุ่ มลูกศรปุ่ มเส้นขอบล่าง ดังภาพ


16

5. เลือกลักษณะเส้นขอบที่ตอ้ งการ

6. จะได้เส้นใต้ 2 เส้น ใต้เลข 30 ดังภาพ

7. หากต้องการตีตารางครอบคลุมทั้งหมด ให้เลือกบริ เวณที่ตอ้ งการก่อน (โดยคลิกแล้วลากคลุม บริ เวณข้อมูล หรื อ คลิกในบริ เวณข้อมูลแล้วกด Ctrl + A) แล้วจึงกาหนดลักษณะของเส้นตามข้อ 5

8. ถ้าต้องการลบเส้นตาราง ให้เลือกบริ เวณที่ตอ้ งการลบ และ ไปที่แท็บหน้าแรก กลุ่มการแก้ไข คลิกเลือก ล้างรู ปแบบ


17

การผสานเซลล์ใน Excel 2010 การผสานเซลล์ เป็ นการรวมเซลล์หลาย ๆ เซลล์เข้าด้วยกัน มักใช้เมื่อต้องการพิมพ์ขอ้ ความ ยาว ๆ ลงไป ซึ่ งการผสานเซลล์น้ นั มีข้ นั ตอนดังต่อไปนี้ วิธีการผสานเซลล์ 1. คลิกเลือกช่วงเซลล์ที่ตอ้ งการ

2. คลิกเลือก ผสานและจัดกึ่งกลาง (Merge & Center)

3. เซลล์ที่เลือกไว้ก็จะถูกนามารวมกันจนเป็ นเซลล์เดียว


18

การใส่ สีพนื้ หลัง ถ้าเราต้องการให้พ้นื สี ของคาว่า "รายงานค่าใช้จ่ายประจาเดือน" มีสีพ้นื ก็สามารถทาได้โดยง่าย ดังนี้ 1. คลิกเลือกช่องที่ขอ้ ความนั้นอยู่ 2. บนแถบริ บบิ้น ไปที่แท็บหน้าแรก กลุ่มลักษณะ คลิกปุ่ มลักษณะเซลล์

3. คลิกเลือกแถบ Patterns และคลิกเลือกสี ตามต้องการ

4. อีกวิธีหนึ่ง คือการเลือกบริ เวณที่ตอ้ งการเติมสี พ้นื หลัง และเลือก จัดรู ปแบบเซลล์… และ เลือกแถบ การเติม จะสามารถเลือกกาหนดสี ได้


19

บทที่3 การย้ าย คัดลอก ลบ เพิม่ ข้ อความ


20

การย้ ายตาแหน่ งแผ่ นงานใน Excel 2010 วิธีการย้ายตาแหน่งแผ่นงาน 1. คลิกเมาส์บนชื่อแผ่นงาน 2. คลิกเมาส์นาแผ่นงานไปจัดวางในตาแหน่งที่ตอ้ งการ 3. แผ่นงานก็จะถูกสลับการจัดวางตาแหน่งตามที่กาหนด


21

การกาหนดชื่อและเปลีย่ ชือแผ่ นงาน มีข้ตั อนดังนี้ 1. คลิกปุ่ มขวาที่ชื่อของแผ่นงานบนชีตแท็บ 2. จะได้ Popup Menu ของแผ่นงาน 3. คลิกเปลี่ยชื่อ <Rename>

วิธีการเปลีย่ นสี แถบชื่อแผ่ นงาน 1. คลิกเมาส์ขวาที่แถบชื่อแผ่นงาน 2. เลือกคาสั่ง สี แท็บ (Tab Color) แล้วเลือกสี ที่ตอ้ งการ 3. แถบสี แผ่นงานจะถูกปรับเปลี่ยนสี ตามที่กาหนด


22

วิธีการเพิม่ แผ่ นงาน 1. คลิกเมาส์ขวาบริ เวณแถบชื่อแผ่นงาน แล้วเลือก แทรก (Insert) 2. คลิกเลือก แผ่นงาน (Worksheet) 3. คลิกปุ่ ม ตกลง (OK)

วิธีการคัดลอกแผ่ นงาน 1. คลิกเมาส์ขวาบนแผ่นงานที่ตอ้ งการคัดลอก แล้วเลือกคาสั่ง ย้ายหรื อคัดลอก (Move or Copy)

2. เลือกแผ่นงานที่จานาแผ่นงานที่คดั ลอกไปจัดวาง 3. คลิกปุ่ ม ตกลง (OK) 4. แผ่นงานที่คดั ลอกจะถูกนาไปจัดวางในตาแหน่งใหม่


23

การลบแผ่ นงาน 1. คลิกปุ่ มขวาที่ชื่อแผ่นงานที่ตอ้ งการลบเพื่อเรี ยก Popup Menu 2. คลิกเลื่อกคาสั่งลบถ้าเป็ นแผ่นงานว่างแผ่นงานจะถูกลบทันที แต่ถา้ มีขอ้ มูลจะปรากฎ ข้อความเตือน ขึ้น

บทที่4 การใช้ สูตร Formulas และการใช้ ฟังชั่น Functions


24

ความหมายของ สู ตร และ ฟังชัน สู ตร (Formulas) ในทางคณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สู ตร หมายถึง แนวทางสั้นๆ ที่ใช้อธิ บายความรู ้ดว้ ย สัญลักษณ์ (เช่นสู ตรคณิ ตศาสตร์ หรื อสู ตรเคมี) หรื อความสัมพันธ์ทวั่ ไปในเรื่ องปริ มาณ การทางานกับตัวเลข ฟังชั่น (Functions) ใน คณิ ตศาสตร์ ฟังก์ชนั คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่ง (โดเมน) ไปยังอีกเซตหนึ่ง (โค โดเมน ไม่ใช่ เรนจ์) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ ากัน

ความแตกต่ างระหว่ าง สู ตร และ ฟังชัน สู ตร (Formulas) คือ สมการที่สร้างขึ้นด้วยการใช้ตวั ปฎิบตั ิการทางคณิ ตศาสตร์ เช่น การ บวก ลบ คูณ หาร หรื อ เปรี ยบเทียบค่า เป็ นต้น ฟังชัน่ (Functions) คือ การนาเอาสู ตรมาสร้างเป็ นค่าเฉพาะ เช่น SUM เป็ นการบวกค่า เป็ น เงื่อนไขในการคานวณ

ตัวดาเนินการ (Operator) ตัวดาเนินการเป็ นตัวที่ระบุชนิ ดของการคานวณในลักษณะใด โดย Excel ได้จดั กลุ่มการ ดาเนินการ เป็ น 4 กลุ่ม ดังนี้ 1.เมื่อพิมพ์ตวั เลขลงในเซลล์ เราสามารถนามาประมวลผล หาผลลัพธ์ โดยการ นาตัวเลขมา บวก ลบ คูณ หาร กันได้ เครื่ องหมายที่ใช้งาน มี ดังนี้


25

+ เครื่ องหมายบวก เครื่ องหมายลบ * เครื่ องหมายคูณ / เครื่ องหมายหาร ^ เครื่ องหมายยกกาลัง % เครื่ องหมายเปอร์ เซ็นต์ ร้อยละ 2. ตัวดาเนินการเปรี ยบเทียบ ใช้เปรี ยบเทียบค่าสองค่า ว่า จริ ง หรื อ เท็จ = เท่ากับ > มากกว่า < น้อยกว่า > = มากกว่าหรื่ อเท่ากับ < = น้อยกว่าหรื อเท่ากับ > < ไม่เท่ากับ 3.ตัวดาเนินการข้อความ ใช้รวมหรื อเชื่อมข้อความเข้าด้วยกัน 4. ตัวดาเนินงานอ้างอิง ใช้รวมช่วงเซลล์ เช่น A1:A10

การคานวณทางคณิตศาสตร์ อย่ างง่ าย การคานวณ ใน Excel ทาได้ โดยการป้ อนตัวเลขเข้าในเซลล์ แต่ละเซลล์จากนั้น จึง กาหนดให้นาตัวเลขในแต่ละเซลล์ มา บวก ลบ คูณ หาร กัน ลองดูตวั อย่าง และทาตามต่อไปนี้

การบวก 1. ลิกที่ตาแหน่ง A1 2. มพ์เลข 20 3. แล้วกด Enter เคอร์เซอร์ จะเลื่อนมาที่ เซลล์ A2 4. ที่ตาแหน่ง A2 พิมพ์เลข 30 แล้วกด Enter 5. เคอร์เซอร์ จะเลื่อนมาที่ A3 ให้พิมพ์ =A1+A2 6. เครื่ องหมายเท่ากับ ข้างหน้า เป็ นการบอก Excel ว่า เป็ นการใช้สูตร ไม่ใช่เป็ นการพิมพ์ขอ้ ความ ธรรมดา และจะสังเกตสี ของ ข้อความ A1 และ A2 แตกต่างไปจากสี ธรรมดา และเมื่อขณะพิมพ์ A1 จะมีกรอบเกิดขึ้นที่ตาแหน่ง A1 ด้วย และขณะพิมพ์ A2 ก็จะมีกรอบเกิดที่ตาแหน่ง A2 แสดง ขอบเขตที่ถูกเลือก ดังนี้


26

เมื่อพิมพ์เสร็ จแล้ว ให้กดปุ่ ม Enter กรอบจะเลื่อนไปยังตาแหน่ง A4 และจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 50 ใน ตาแหน่งเซลล์ A3 ดังภาพ

การลบ 1. คลิกที่ ตาแหน่ง C1 พิมพ์เลข 30 แล้วกด Enter 2. ที่ตาแหน่ง C2 และพิมพ์เลข 20 แล้วกด Enter

3. ที่ตาแหน่ง C3 ให้พิมพ์ =C1-C2 4. กดปุ่ ม Enter จะได้ผลลัพธ์ คือผลต่าง ระหว่าง 30 และ 20 ซึ่ งเท่ากับ 10 ในตาแหน่งเซลล์ C3

การคูณ 1. คลิกที่ ตาแหน่ง E1 พิมพ์เลข 3 แล้วกด Enter 2. ที่ตาแหน่ง E2 พิมพ์เลข 2 แล้วกด Enter


27

3. ที่ตาแหน่ง E3 ให้พิมพ์ =E1*E2 4. กดปุ่ ม Enter จะได้ผลลัพธ์ ซึ่งเป็ นผลคูณ ของ 3 และ 2 ซึ่ งเท่ากับ 6 ในตาแหน่งเซลล์ E3

การหาร 1. คลิกที่ ตาแหน่ง G1 พิมพ์เลข 30 แล้วกด Enter 2. ที่ตาแหน่ง G2 พิมพ์เลข 5 แล้วกด Enter 3. ที่ตาแหน่ง G3 ให้พิมพ์ =G1/G2

4. กดปุ่ ม Enter จะได้ผลลัพธ์ 30 หารด้วย 5 ซึ่ งเท่ากับ 6 ในตาแหน่งเซลล์ G3

กิจกรรมฝึ กปฏิบัติ ให้ท่านหาคาตอบในเซลล์ B3 B4 B5 และ B6 ซึ่งเป็ นผลบวก ลบ คูณ และหาร ของ เลข 50 และ 20 โดยให้ทาใน Excel Web App ข้างล่างภาพ (หรื อ ใช้ Excel 2010 ในเครื่ องของท่าน)

การใช้ งานฟังก์ชัน เราอาจจะพูดได้วา่ ฟังก์ชนั ของ Excel ก็คือสู ตรสาเร็ จรู ปที่โปรแกรม Excelจัดทาไว้ให้แล้ว พร้อมเรี ยกใช้งานได้เลย เพียงแต่เราใส่ ค่าที่ตอ้ งการให้คานวณ โดยการระบุเซลล์ขอ้ มูล หรื อพิมพ์ โดยตรง เพื่อให้ฟังก์ชนั นาไปคานวณเท่านั้น หน้าที่ของฟังก์ชนั ก็คือ เอาข้อมูลที่เราระบุ ไป บวก


28

ลบ คูณ หาร กัน เช่น ฟังก์ชนั SUM ก็จะนาค่าที่เราระบุมารวมกัน ผลที่ได้คือผลรวมของข้อมูลที่เรา ระบุ ฟังก์ชนั ช่วยให้ทางานได้เร็ วขึ้น ถ้าไม่มีฟังก์ชนั เราจะต้องเสี ยเวลาในการคานวณเป็ นอย่างมาก เช่น ถ้าเราต้องการรวมตัวเลขใน B5 ถึง B15 เราต้องเขียนใน Formular bar ดังนี้ =B5+B6+B7+B8+B9+B10+B11+B12+B13+B14+B15 แต่ถา้ เราใช้ฟังก์ชนั SUM ซึ่งเป็ นการรวมตัวเลขใน เซลล์ เราสามารถเรี ยกใช้สูตร และระบุขอ้ มูลได้ สะดวกขึ้น ดังนี้ =SUM(B5:B15) โปรแกรม Excel มีฟังก์ชนั จานวนมาก ทั้งฟังก์ชนั ทางคณิ ตศาสตร์ การเงิน การคิดค่าทาง สถิติ เป็ นต้น ฟังก์ชนั เหล่านี้ ทาให้เราสามารถหาค่าต่าง ๆ ได้โดยไม่ยาก เช่น หาผลรวม หาค่าเฉลี่ย นับจานวนความถี่ หรื อแม้แต่การหาผลรวมย่อย (Subtotal) ก็สามารถทาได้ การใช้ฟังก์ชนั จาเป็ นต้องมีการอ้างอิงถึงข้อมูลที่จะนามาใช้ในฟังก์ชนั จึงควรเรี ยนรู ้การอ้างอิงข้อมูลใน เซลล์ ต่าง ๆ เสี ยก่อน

การหาค่ าเฉลีย่ (AVERAGE) ในตัวอย่างต่อไปนี้ จะใช้วธิ ี การพิมพ์สูตรลงแถบสู ตร และใช้เมาส์ระบุตาแหน่งเพื่ออ้างอิง เซลล์ เพื่อหาค่าเฉลี่ย โดยใช้สูตร average ข้อมูลจากหน้าจอเดิม เราจะหาค่าเฉลี่ยของ ข้อมูลในตาแหน่ง B1, B2 และ B3 ดังนี้ 1. พิมพ์คาว่า ค่าเฉลี่ย ที่ตาแหน่ง A5 2. ใช้เมาส์คลิกที่ตาแหน่ง B5 ซึ่ งเป็ นตาแหน่งที่จะนาค่าเฉลี่ยมาวางที่นี่ 3. พิมพ์เครื่ องหมายเท่ากับ (=) เพื่อบอก Excel ว่า จะเป็ นการใช้สูตร การใช้สูตร ต้องพิมพ์ เครื่ องหมายเท่ากับก่อนเสมอ 4. พิมพ์สูตรหาค่าเฉลี่ย คือคาว่า average


29

5. จะสังเกตว่า ขณะพิมพ์ Excel จะนาสู ตรมาให้เลือก 6. กดปุ่ ม Tab บนแป้ นพิมพ์ เพื่อเลือกสู ตร 7. Excel ทราบว่าจะใช้สูตรนี้ จึงได้แสดงค่าที่สูตรต้องการ (หรื อ เรี ยกว่า อาร์ กิวเม้นต์ ของสู ตรนี้) 8. ค่าที่สูตร Average ต้องการ หรื อ อาร์ กิวเม้นต์ ของสู ตรนี้ คือ ค่าที่เราต้องการให้หาค่าเฉลี่ย ซึ่ง ได้แก่ค่าที่อยูใ่ นเซลล์ ตั้งแต่ B1 ถึง B3 9. ใช้เมาส์ระบุตาแหน่งของ อาร์ กิวเม้นต์ โดย คลิกที่เซลล์ B1 กดค้างไว้ แล้วลากลงมาให้ถึงเซลล์ B3

10.

กดปุ่ ม Enter จะได้ผลลัพธ์ ดังภาพ

การหาค่ าสู งสุ ด (MAX) เราสามารถพิมพ์ทุกสิ่ งทุกอย่าง ลงในแถบสู ตรได้ท้ งั หมด ทั้งสู ตร และ ข้อมูลที่สูตร ต้องการ หรื อที่เรี ยกว่าเป็ น อาร์ กิวเม้นต์ของสู ตร พิมพ์ที่ช่อง สาหรับเขียนสู ตร =MAX(number1:number2)

การหาค่ าต่าสุ ด (MIN) บางครั้งเราต้องการดูค่าต่าที่สุดในชุดข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลมีไม่กี่ตวั คงไม่มีปัญหา แต่ถา้ ข้อมูลมีเป็ นจานวนมาก การใช้สูตรให้ Excel หา จะสะดวกและเชื่อถือได้มาก สู ตรที่ใช้หาค่าต่าสุ ด คือ =Min(number1 number2:)

การนับจานวนตัวเลข (COUNT) สู ตรสาหรับนับจานวนตัวเลข คือ Count() สู ตรนี้จะใช้นบั เฉพาะตัวเลขเท่านั้น จะไม่นบั ชื่อ ที่เป็ นตัวอักษร หรื อ ช่องว่า แต่จะนับเฉพาะในขอบเขตข้อมูล หรื อ อาร์ กิวเม้นต์ ที่ระบุให้นบั เท่านั้น ว่า มีตวั เลขอยูก่ ี่เซลล์ ถ้ามีชื่อ หรื อรายการอะไรที่เป็ นตัวอักษร หรื อ ไม่มีขอ้ มู แต่เป็ น ช่องว่าง สู ตรนี้จะไม่นบั รวมด้วย พิมพ์ที่ช่อง สาหรับเขียนสู ตร =COUNT(number1:number2)


30

กิจกรรมฝึ กปฏิบัติ ให้ท่านใช้ขอ้ มูล ต่อไปนี้ เพื่อหา ผลรวม ค่าเฉลี่ย ค่าสู งสุ ด ค่าต่าสุ ด และนับจานวน โดยใช้วธิ ี พิมพ์ สู ตร และใช้เมาส์ระบุตาแหน้งของข้อมูลที่สูตรต้องการ ให้ทาใน Excel Web App ข้างล่างข้อมูลชุด นี้ (หรื อ ทาใน Excel 2010 ในเครื่ องของท่าน)

การนับจานวนแบบมีเงื่อนไข (COUNTIF) ในการคานวณลักษณะนี้ก็จะเป็ นการรวมคะแนนการสอบ 4 ช่วง จากนั้นก็นามาคิดเกรด โดยมีเกณฑ์การคิดเกรด ดังนี้ -ถ้าทาคะแนน ได้ต้ งั แต่ 80 ขึ้นไป จะให้เกรด A -ถ้าทาคะแนน ได้ต้ งั แต่ 70 ขึ้นไป จะให้เกรด B -ถ้าทาคะแนน ได้ต้ งั แต่ 60 ขึ้นไป จะให้เกรด C -ถ้าทาคะแนน ได้ต้ งั แต่ 50 ขึ้นไป จะให้เกรด D -ถ้าทาคะแนน น้อยกว่า 50 จะให้เกรด F (สอบตก) เริ่มต้ นคานวณ 1. ให้ป้อนข้อมูลตามตัวอย่าง ในเซลล์ F3 - F11 รวมคะแนน และ G3 - G11 ไม่ตอ้ งพิมพ์ เพราะเป็ น ส่ วนที่ตอ้ งพิมพ์สูตรลงไป เพื่อหาคาตอบ 2. การคานวณในเซลล์ F3 เป็ นการรวมคะแนนสอบทั้ง 4 ช่วง สอบครั้งที่ 1, 2 และ 3 และ คะแนน จิตพิสัย ก็คือ =sum(b3:e3) 3. ก็อปปี้ ลงด้านล่างให้เรี ยบร้อย


31

4. ในเซลล์ G3 คานวณโดยใช้สูตร If การคานวณจะมีอยู่ 5 เงื่อนไข -ถ้าทาคะแนน ได้ต้ งั แต่ 80 ขึ้นไป (F3>=80) จะให้เกรด A (“A”) -ถ้าทาคะแนน ได้ต้ งั แต่ 70 ขึ้นไป (F3>=70) จะให้เกรด B (“B”) -ถ้าทาคะแนน ได้ต้ งั แต่ 60 ขึ้นไป (F3>=60) จะให้เกรด C (“C”) -ถ้าทาคะแนน ได้ต้ งั แต่ 50 ขึ้นไป (F3>=50) จะให้เกรด D (“D”) -ถ้าทาคะแนน น้อยกว่า 50 (F3<\<>50) จะให้เกรด F (“F”) (สอบตก) จากประโยคข้อความ เราจะมาตีความให้เป็ นสู ตรคานวณ ก็จะได้ดงั นี้ if(F3>=80,”A” if(F3>=70,”B” if(F3>=60,”C” if(F3>=50,”D” if(F3<50,”F”


32

4. จากนั้นก็นาสู ตรทั้งหมดมารวมเข้าด้วยกัน ในแต่ละเงื่อนไขให้คนั่ ด้วยคอมม่า วงเล็บปิ ดด้านท้าย ต้องสัมพันธ์กบั วงเล็บเปิ ดด้านหน้า เช่น เปิ ด 5 ก็ตอ้ งปิ ด 5 แล้วกด Enter เสร็ จแล้วก็ก็อปปี้ ไปจนถึง เซลล์ G11 =if(F3>=80,”A”,if(F3>=70,”B”,if(F3>=60,”C”,if(F3>=50,”D”,if(F3<50,”F”))))) 5. ในการใช้สูตร IF หากเงื่อนไขใดเป็ นข้อความ เช่น if(F3=80,”A” คะแนน 80 ขึ้นไปให้เกรด A ตัว A ต้องคร่ อมด้วยเครื่ องหมายคาพูด ตัวอย่างเพิม่ เติม - if(F3>=70,”ผ่าน” ได้คะแนน 70 ขึ้นไป ให้ผา่ นวิชานั้น ๆ 6. ส่ วนข้อมูลที่เป็ นตัวเลขไม่ตอ้ งคร่ อมด้วยเครื่ องหมายคาพูด เช่น if(C3=”ตจว”,3000 อยูต่ ่างจังหวัดได้เบี้ยเลี้ยง 3000 บาท จานวน 3000 ไม่ตอ้ งคร่ อมด้วยเครื่ องหมาย คาพูด

เมื่อทาเสร็จจะได้ ดังภาพดัวอย่าง


33

บทที่5 แผนภูมิ และการใช้ ภาพ


34

แผนภูมิ กราฟิ ก และการพิมพ์ 2010 โปรแกรม Microsoft Excel สามารถแปลงข้อมูลตัวเลขต่าง ๆ ในตาราง ให้อยูใ่ นรู ป แผนภูมิแบบต่าง ๆ ได้ โดยง่าย นอกจากนี้ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล แผนภูมิก็จะปรับเปลี่ยนตาม ไปด้วย ซึ่ งนับว่าสะดวกรวดเร็ ว สามารถนาเสนองานได้อย่างดี การสร้ างแผนภูมิคอลัมน์ โปรแกรม Excel มีแผนภูมิสาเร็ จรู ปเตรี ยมไว้พร้อมใช้งาน มีแผนภูมิหลายประเภท เช่น คอลัมน์ เส้น วงกลม แท่ง เป็ นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถปรับแต่งเพิ่มเติมแผนภูมิให้ดูสวยงาม เช่น สามารถใช้ภาพประกอบ หรื อลวดลายพื้นได้


35

การตกแต่งแผนภูมิทุกประเภทใช้เครื่ องมือแผนภูมิเดียวกัน ทาให้สามารถตกแต่งได้ สวยงาม และเป็ นไปตามต้องการ วิธีการสร้างแผนภูมิ มีดงั นี้ 1.เปิ ดไฟล์ Excel ใหม่ และพิมพ์ขอ้ มูลให้เหมือนในภาพข้างล่างนี้

2.คลิกเซลล์ใดเซลล์หนึ่งในบริ เวณ A1:D4 เพื่อระบุขอบเขตของข้อมูลที่จะนามาจัดเป็ น แผนภูมิ ข้อมูลที่จะนามาใช้ตอ้ งอยูใ่ นลักษณะตาราง 3.ไปที่แท็บ แทรก กลุ่มแผนภูมิ คลิก เลือกลักษณะแผนภูมิ ดังภาพ


36

แผนภูมิทไี่ ด้

ส่ วนประกอบของแผนภูมิคอลัมน์


37

การตกแต่ งแผนภูมิ เครื่ องมือแผนภูมิ เป็ นเครื่ องมือช่วยในการตกแต่งแผนภูมิได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เครื่ องมือ นี้จะเกิดขึ้นบนแถบริ บบิ้น เมื่อคลิกภายในบริ เวณแผนภูมิ ที่สร้างขึ้น เครื่ องมือแผนภูมิ ประกอบด้วย 3 แท็บคือ ออกแบบ เค้าโครง และรู ปแบบ เครื่ องมือแผนภูมิข้ ึนอยูก่ บั ประเภทของแผนภูมิ คาสั่งบางคาสั่งใช้ได้กบั แผนภูมิบางประเภท เท่านั้น เช่น แผนภูมิวงกลม จะไม่สามารถกาหนดลักษณะของแกนได้ เนื่องจากแผนภูมิวงกลมไม่มี แกน เป็ นต้น

การสร้ างแผนภูมวิ งกลม การสร้างแผนภูมิวงกลม ก็ทาเช่นเดียวกับการสร้างแผนภูมิคอลัมน์ แต่มีขอ้ ระวังคือ การ แสดงข้อมูลของแผนภูมิวงกลม จะมีขอ้ มูลเพียง 2 มิติ เท่านั้น เช่น ตัวอย่างการขายตุก๊ ตา จะแสดง ทั้งหมด 3 เดือน ภายในแผนภูมิวงกลมเดียวกัน ไม่ได้ ต้องแยกแสดงเป็ นรายเดือน และถ้าจะแสดง ทั้ง 3 เดือน ต้องแสดงถึง 3 แผนภูมิ หรื ออาจจะรวมข้อมูลทั้ง 3 เดือนเข้าด้วยกัน แล้วแสดงเป็ น แผนภูมิเดียว ก็ได้ ในตัวอย่างต่อไปนี้ จะแสดงข้อมูล การขายตุก๊ ตา ทั้ง 3 อย่าง ในเดือน กุมภาพันธ์ ซึ่ งทาได้ ดังนี้ 1.จากข้อมูลเดิม จะแสดงข้อมูลเฉพาะเดือน กุมภาพันธ์ ให้ลากแถบสว่างบริ เวณข้อมูลที่จะ นามาทาเป็ นแผนภูมิวงกลม คือบริ เวณ A2:B4 ดังภาพ

2.บนแถบริ บบิ้น ให้เลือกแท็บแทรก เลือกกลุ่มแผนภูมิ คลิกเลือกแผนภูมิวงกลม และเลือก รู ปแบบที่ตอ้ งการ


38

3.จะได้แผนภูมิวงกลมตามต้องการ

4.สามารถปรับแต่งเพิ่มเติมได้ โดยใช้เครื่ องมือแผนภูมิ หรื อคลิกขวาและเลือกปรับแต่ง ตาม ต้องการ เช่น การหมุน 3 มิติ เป็ นต้น


39

TIP: การคลิกขวาในแต่ละส่ วนของแผนภูมิ จะมีตวั เลือกให้ปรับแต่งไม่เหมือนกัน เช่น พื้นที่แผนภูมิ พื้นที่การลงจุด และชุดข้อมูล ถ้าต้องการปรับส่ วนใด ให้คลิกเลือกส่ วนนั้นก่อน จากนั้นจึงคลิกขวาเพื่อเลือกการปรับแต่งแผนภูมิ ชุดข้อมูลในแผนภูมิวงกลม สามารถเลือกเฉพาะ ชุดใดชุดหนึ่ง และดึงแยกออกจากกันได้


40

กิจกรรมฝึ กปฏิบตั ิ ให้ท่านนาข้อมูลข้างล่างนี้ สร้างเป็ นแผนภูมิคอลัมน์ พร้อมทั้งตกแต่งให้สวยงาม จานวนคนไข้ ตึกอายุรกรรม

กิจกรรมฝึ กปฏิบัติ ให้ท่านให้ท่านนาข้อมูลข้างล่างนี้ สร้างเป็ นแผนภูมิคอลัมน์ และตกแต่งให้สวยงาม จานวนคนไข้ ตึกอายุรกรรม จาแนกรายเดือน

กิจกรรมฝึ กปฏิบัติ ให้ท่านให้ท่านนาข้อมูลข้างล่างนี้ สร้างเป็ นแผนภูมิวงกลม แยกชิ้นส่ วนผูช้ าย ดังภาพใน ตัวอย่าง ข้อ 4 จานวนคนไข้ ตึกอายุรกรรม จาแนกรายเดือน


41

การใช้ รูปภาพ รู ปภาพที่นามาใช้ประกอบในโปรแกรม Excel มีหลายชนิด เช่น BMP, JPG, PNG, WMF และ GIF เป็ นต้น ภาพประเภท Bitmap เช่น BMP, JPG, PNG และ GIF เมื่อนามาขยายใหญ่อาจจะ ทาให้สูญเสี ยความคมชัดของภาพได้ แต่ภาพประเภท Vector เช่น WMF สามารถขยายใหญ่ได้ โดย ไม่เสี ยความคมชัดของภาพ การใช้ภาพในโปรแกรม Excel จะทาให้โปรแกรมมีขนาดใหญ่ข้ ึน ทาให้ตอ้ งใช้ หน่วยความจามากขึ้น และการจัดเก็บไฟล์จะใช้เวลามากขึ้น จึงควรใช้ตามความเหมาะสม และ ความจาเป็ น การนาภาพเข้า มีข้ นั ตอน ดังนี้ 1.เลือกแท็บ แทรก บนริ บบิ้น และเลือก รู ปภาพ


42

การตกแต่ งภาพ 1.เมื่อนาภาพเข้าโปรแกรมแล้ว จะมีเครื่ องมือรู ปภาพสาหรับแต่งภาพ

2.คลิกแท็บ รู ปแบบ ในเครื่ องมือรู ปภาพ จะมีกลุ่มเครื่ องมือต่าง ๆ ให้เลือก เช่น เอาพื้นหลัง ออก ปรับสี ปรับขนาด เลือกกรอบภาพในลักษณะต่าง ๆ กัน ตัวอย่าง


แหล่งอ้างอิง http://www.com5dow.com http://www.iqsiam.com http://www.crnfe.ac.th/excel2010/ch01/ch01.html


ผู้จดั ทา

นายชวลิต โพธิสิงห์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.