บันทึกทีวีรักษ์โลก

Page 1


~2~

คำนำ ปัจจุบนั เรี ยกได้วา่ เราอาศัยอยูใ่ นยุค ที่โลก กาลังแสดงผลลัพธ์ของความเปลี่ยนแปลง ที่เกิดมาจากการกระทาของมนุ ษย์ ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศในหลายมุมโลก เป็ น ตัวอย่างที่แสดงถึงความปั่ นป่ วนรุ นแรงและชัดเจนที่สุดของภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ ที่มีความ เปลี่ยนแปลงของโลกและภาวะโลกร้อนเป็ นตัวการสนับสนุ น และเมื่อมนุ ษย์ตอ้ งเผชิ ญกับ ความเปลี่ ย นแปลงที่ รุ น แรงและหนัก ข้อ มากขึ้ น การเรี ย นรู ้ ที่ จ ะปรั บ ตัว อยู่ร่ ว มกับความ เปลี่ ยนแปลงต่ างๆ ดู จะเป็ นบทสรุ ปที่ จะทาให้ชีวิตมนุ ษย์มีคุณภาพชี วิตที่ มีความยัง่ ยืนได้ มากกว่า บทสรุ ป "บันทึกทีวีรักษ์โลก" จากการจัดงาน "มหกรรมทีวีรักษ์โลก360องศา 2013 Save The World Expo" โดย รายการ "ทีวี 360 องศา" และ "ครอบครัวข่าว3" เมื่อวันที่ 20-22 เมษายน 2556 ที่อิมแพค เมืองทองธานี จึงเป็ นการนาเสนอทางออกสาหรับภาคประชาชนและ ภาครัฐ ในการวางแผนระยะยาว เพื่อการนาพาประเทศสู่ Road map แห่ งการเรี ยนรู ้อยูร่ ่ วมกับ ความเปลี่ยนแปลงของโลก หรื อ "Learn to Live in the World of Change" ขณะเดียวกัน ก็ยงั สามารถดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม ให้อยูค่ ู่คนไทย และคนทั้งโลกได้ ในนามของ "ครอบครั วข่าว3" ผมขอเป็ นตัวแทนในการกล่าวขอบคุ ณพันธมิตรผูม้ ี อุดมการณ์ ที่ร่วมกันผลักดันให้ประเด็น "สิ่ งแวดล้อม เป็ นวาระแห่ งชาติ" ผ่านการจัดงานที่ เป็ นตัวแทนของพลังการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนครั้งนี้ ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ (กปร.) , สานักปลัดสานัก นายกรัฐมนตรี , กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ , กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม , บริ ษทั ทีทีซี น้ าดื่มสยาม จากัด , บริ ษทั ปตท.จากัด (มหาชน) , บริ ษทั บุญรอดเทรดดิ้ง จากัด , บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน) , กระทรวงพลังงาน , บริ ษทั คูโบต้า คอปอร์เรชัน่ จากัด และ ธนาคาร ไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) แม้วนั นี้เราจะรู ้สึกว่าเป็ นเรื่ องยากเหลือเกินที่จะทาให้ผคู ้ น หันมาใส่ ใจรักษ์โลกรักษ์ สิ่ งแวดล้อม จากใจจริ ง แต่ผมก็เชื่ อว่า หากเราเหล่าพันธมิตรยังเดินเคียงข้างกันไปข้างหน้า เพื่อปลุกกระแสรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นอย่างไม่หยุดหย่อน เราก็จะได้พลังจากประชาชนที่ มีใจตระหนักในการแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมมากขึ้นเรื่ อยๆ และเมื่อวันนั้นประสบความสาเร็ จ


~3~

จริ งๆ เราคงไม่จาเป็ นต้องออกมาเชิ ญชวนการทาดีเพื่อสิ่ งแวดล้อมกันอีกแล้ว และโลก ก็จะ กลับมาสวยงาม ให้กบั ลูกหลานเรา เช่นเดิม ขอบคุณที่ทุกท่าน "รักษ์โลก" ขอบคุณที่ร่วมอุดมการณ์กบั "ทีวรี ักษ์โลก"

(นายธนินวัฒน์ พัฒนวีรคุณ) ทีวี 360 องศา สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง 3


~4~

บทสรุปสำหรับผู้บริหำร การสัมมนาทางวิชาการ ในงาน มหกรรม ทีวรี ักษ์โลก 360 องศา 2013 Save the World Expo ภายใต้แนวคิด “Learn to Live in the World of Change” เพื่อปกป้ อง รักษา ฟื้ นฟู ธรรมชาติให้กลับคืนมา และเพื่อให้มนุษย์กบั ธรรมชาติ สามารถดารงอยูร่ ่ วมกันได้อย่างยัง่ ยืน จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 – 22 เมษายน 2556 ณ แชลเลนเจอร์ ฮอลล์ 2 อิมแพค เมืองทองธานี กรุ งเทพฯ โดยการสัมมนามีข้ ึนในวันที่ 21 และ 22 เมษายน 2556

ซึ่ งครอบครัวข่าว 3

รายการทีวี 360 องศา สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่ อง 3 และภาคส่ วนที่เกี่ยวข้อง เป็ นผู ้ ร่ วมกันจัดงานดังกล่าวขึ้น การสั ม มนาทางวิ ช าการดัง กล่ า วได้มี ก ารน าเสนอบทความ การอภิ ป ราย และ แลกเปลี่ยนความรู ้ความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง จากวิทยากรผูท้ รงคุณวุฒิ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เพื่อให้ความรู ้ ความคิดเห็นดังกล่าวดารงอยู่ และสามารถนามาใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อ ส่ ว นรวมได้อ ย่า งกว้า งขวาง สมดัง เจตนารมณ์ ข องการสั ม มนาสื บ ไป จึ ง ได้น าประเด็ น ความเห็น ข้อเสนอแนะทั้งหมดตามลาดับจากการสัมมนา มาประมวลไว้ ดังนี้ 1. เนื่ องจากมูลเหตุของปั ญหาสิ่ งแวดล้อมทั้งสิ้ น เกิดจากมนุ ษย์เป็ นปั จจัยสาคัญ จึง ต้องแก้ไขที่ตน้ เหตุ คือ มนุษย์ ด้วยการปลูกฝังจิตสานึก ให้เกิดความละอาย ความเกรงกลัว ต่อ การกระทาผิด โดยมุ่งเน้นการให้การศึกษา ให้ความรู ้ และสร้างความตระหนักในการรักษา สิ่ งแวดล้อม นับเป็ นความสาคัญสาหรับการป้ องกัน แก้ไขปัญหาเป็ นลาดับแรก 2. สร้างและรักษาสมดุลของธรรมชาติ ตามแนวคิด ดิน น้ า ลม ไฟ อันเนื่ องมาจาก พระราชดาริ ได้แก่ - ดิน: คานึ งถึงการปรับสภาวะดิ น ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ แก้ปัญหาความผิดปกติของดิน ได้แก่ดินเปรี้ ยว ดินเค็ม เพื่อก่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากดิน ได้อย่างด้วยความสมบูรณ์สูงสุ ด - น้ า: คานึงถึงการกักเก็บ และบริ หารจัดการน้ าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยเน้นที่ การสร้างพื้นที่ป่า ซึ่งถือว่าเป็ นแหล่งกักเก็บน้ าที่ดีที่สุด


~5~

- ลม: มุ่งเน้นการใช้ลมเป็ นพลังงานทดแทนเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์สูงสุ ด เช่น กังหันลมเพื่อใช้ในการเกษตรแบบดั้งเดิม รวมถึงการใช้ลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้ า - ไฟ: มุ่งเน้นการใช้เป็ นพลังงานทดแทนเพื่อลดการใช้เชื้ อเพลิงเพื่อการผลิต พลังงานรู ปแบบอื่น เช่น ใช้ประโยชน์จากแสงแดด เพื่อผลิตพลังงานความร้อน ผลิตพลังงาน ไฟฟ้ า หรื อใช้เชื้ อเพลิงชี วภาพจาก ไบโอดีเซล เพื่อเป็ นต้นกาลังเครื่ องจักรเพื่อการผลิตทาง การเกษตร และการขนส่ ง เป็ นต้น 3. กาหนดเป้ าหมายเพิ่มปริ มาณพื้นที่ป่าไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอดังกล่าว เป็ นการด าเนิ น รอยตามการปฏิ บัติ ข องประเทศภู ฏ านซึ่ งก าหนดปริ ม าณพื้ น ที่ ป่ าไว้ใ น รัฐธรรมนูญให้ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ 4. ลด และปรับเปลี่ยนการใช้เชื้ อเพลิงผลิตพลังงานไฟฟ้ า ที่จะส่ งผลกระทบในการ ทาลายสิ่ งแวดล้อม เช่น จากการใช้น้ ามันดิบ น้ ามันดีเซล ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน เป็ นต้น 5. กาหนดพื้นที่ในการขยายความเจริ ญเติบโตของเมืองให้มีขีดจากัดภายในวงใดวง หนึ่ ง หากเกินขอบเขตวงนี้ จะต้องมีการขยายในเมืองใหม่กาหนดผังเมืองโดยคานึ งถึงการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็ นหลัก 6. สร้างระบบการขนส่ งมวลสาธารณะพื้นฐานให้ครอบคลุมพื้นที่อย่างทัว่ ถึงและ รณรงค์ให้ประชาชนใช้ระบบการบริ การการขนส่ งสาธารณะในชี วิตประจาวันเพื่อลดการใช้ รถยนต์ส่วนบุคคลรวมทั้งส่ งเสริ มการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้ าหรื อพลังงานทดแทนด้านอื่น 7. ส่ ง เสริ มการใช้ ดั ช นี ว ัด ความสุ ข ควบคู่ ไ ปกับ ดั ช นี ร ายได้ ม วลรวมผลผลิ ต ประชาชาติเนื่องจากการวัดจากการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงด้านเดียวถือว่าไม่ครบถ้วน และมีส่วนในการสร้างความเสี ยหายด้านสิ่ งแวดล้อมอย่างมาก 8. จัดตั้งสมาคม หรื อ องค์กร ร่ วมกับผูเ้ ชี่ ยวชาญทั้งภายในและต่ างประเทศ เพื่ อ วิ เ คราะห์ ปั ญ หา สาเหตุ รวมทั้ง หาวิ ธี ก ารป้ องกัน ปรั บ ตัว เพื่ อ รองรั บ กับ สภาพการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก 9. ต้องเริ่ มคานึงถึงและให้ความสาคัญต่อปั ญหาแผ่นดินไหว เนื่องจากมีสิ่งบอกเหตุ ว่า มีความใกล้ตวั คนไทยมากขึ้น และหากเกิดขึ้นจะส่ งผลความสู ญเสี ยอย่างมาก เพราะการ ก่อสร้างอาคาร และระบบสาธารณู ปโภคในประเทศ ส่ วนใหญ่ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อรองรับ แผ่นดินไหวระดับรุ นแรง และเพื่อรองรับผลกระทบอย่างเพียงพอรวมทั้งต้องมีการเตรี ยมแผน รองรับผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว ตั้งแต่บดั นี้


~6~

10. รักษา บาบัด เยียวยา ฟื้ นฟูธรรมชาติให้คงอยู่อย่างยัง่ ยืน ด้วยเทคโนโลยีทาง ธรรมชาติเอง หรื ออีกนัยหนึ่ง คือการใช้ระบบธรรมชาติรักษาตนเอง เช่นการใช้ไส้เดือนฟื้ นฟู สภาพดิน การใช้คลองส่ งน้ าตามธรรมชาติ (ที่ไม่ใช่ ใช้การก่อสร้างด้วยคอนกรี ต) ห้ามการใช้ สิ่ งแปลกปลอม เช่นสารเคมี คอนกรี ต เหล็ก เป็ นต้น 11. ผลักดันให้สื่อเข้ามามีบทบาทในการสร้างกระแสในการอนุ รักษ์ สิ่งแวดล้อม ให้ เป็ นกระแสที่อยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืน และอยู่ในรู ปแบบที่สามารถเข้าถึงในแต่ละกลุ่มคนที่มีความ แตกต่ า งกัน เพื่ อ ให้ เ กิ ด การรั บ รู ้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด เช่ น การน าเสนอสาระเรื่ อ ง สิ่ งแวดล้อม ในรู ปของการ์ตูนสาหรับเด็ก และสร้างจิตสานึ กรักษ์สิ่งแวดล้อมตั้งแต่ในวัยเด็ก โดยย้าเตือนบ่อยๆ สม่าเสมอ ต่อเนื่อง และยาวนาน 12. ทาการศึกษา ให้ความรู ้ ความเข้าใจที่มา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางการแก้ไข ปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อม อย่างถ่องแท้และทัว่ ถึงในทุกภาคส่ วน เพื่อให้เกิดกระบวนการคิด ด้านการรักษาสิ่ งแวดล้อมและธรรมชาติ อย่างเป็ นระบบ สร้างพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติวิทยา เทคโนโลยี และสิ่ งแวดล้อม รวมไว้ในที่แห่ งเดียวที่ใหญ่และดีที่สุดในเอเชี ย เพื่อให้เป็ นศูนย์รวมความรู ้และแหล่ งเรี ยนรู ้ เรื่ องราวทางวิทยาศาสตร์ , เทคโนโลยี รวมทั้ง สิ่ งแวดล้อมทั้งจากต่างประเทศ และภูมิปัญญาในประเทศ ให้อยู่ในที่เดียวกัน เพื่อปลุก และ ปลูกความสนใจแก่เยาวชนและประชาชน เช่นเดียวกันพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ลอนดอน ปารี ส มิวนิค และวอชิงตัน ดีซี เป็ นต้น 13. สร้างความตระหนัก และเข้าใจถึงปั ญหาสิ่ งแวดล้อม จากการดารงชี วิตการใช้วิถี กิจกรรมปกติในปั จจุบนั ของประชาชน เช่น การปรับรู ปแบบการก่อสร้างที่อยูอ่ าศัยให้เข้ากับ สภาพตามธรรมชาติของประเทศ ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่โบราณ ซึ่ งพิสูจน์แล้วว่า ถูกต้อง ได้ผล 14. ผลักดันเรื่ องการอนุ รักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมให้เป็ นวาระแห่ งชาติ อันจะ ก่ อ ให้เ กิ ดการมี ส่ ว นร่ ว มในทุ ก ภาคส่ ว น สร้ า งให้ทุก คนมี จิต ส านึ ก รั ก ษ์สิ่ ง แวดล้อ ม และ ตระหนักถึงปัญหาของสภาวะโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 15. ฟื้ นฟู ส่ งเสริ ม และกลับไปใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิมของชาติ ที่สั่งสมมายาวนานจน พิสูจน์ความถูกต้องได้ในปัจจุบนั เช่น การปลูกสร้างบ้านใต้ถุนสู ง เพื่อให้อยูก่ บั สภาพน้ าท่วม ถึงได้อย่างปลอดภัย จัดการฌาปนกิจในเวลาเที่ยงวัน ซึ่งเป็ นช่วงเวลาที่อากาศเบาบาง เป็ นต้น 16. รณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติกให้มาใช้ถุงผ้าแทน อย่างเข้มข้น จริ งจัง ต่อเนื่อง


~7~

17. มอบหมายให้มี การศึ ก ษา วิจ ัย หาวิธี แ ละสร้ า งระบบการก าจัด แบตเตอรี่ ที่ เหมาะสมและยัง่ ยืน รวมทั้งสร้างการรับรู ้ให้เห็นความสาคัญ เช่นในต่างประเทศ จะมีการนา แก้วทรงกระบอกขนาดใหญ่ สู งเท่าตัวคน มาวางไว้ในที่สาธารณะ ให้ประชาชนนาแบตเตอรี่ (แบบถ่านไฟฉาย) ที่ใช้แล้ว มาทิ้ง เป็ นการสร้างความรับรู ้ สร้างจุดสนใจ ในปั ญหาดังกล่าว เป็ นต้น 18. รักษาความสะอาดของแม่น้ า คู คลอง ให้มีความสะอาด สวยงาม สดใส และ ปลอดภัยสู งสุ ด ไม่ให้เห็นเศษขยะ วัชชพืช หรื อสิ่ งแปลกปลอมที่ไม่พึงประสงค์ ลอยอยู่ใน แม่น้ า ลาคลอง แม้แต่ชิ้นเดียว 19. บุ ค คลและองค์ก ร ในทุ ก ภาคส่ ว นของสั ง คมไทย ต้อ งพร้ อ มใจกัน แสดง เจตนารมณ์อย่างเข้มแข็ง ในการ รักษ์โลก..รักษ์ธรรมชาติ ..รักษ์สิ่งแวดล้อม ...เพื่ออยู่ใน โลก…อย่างพอเพียง พอดี โดยยึดสมดุลของสิ่ งแวดล้อม ตามพระราชดาริ เป็ นหลักชัยสู งสุ ด 20. องค์กรโทรทัศน์ ในฐานะสื่ อมวลชนที่มีอิทธิ พลโดยตรง ต่อการสร้างการรับรู ้ ความเชื่ อมัน่ ของสังคม ต้องร่ วมกับสื่ อมวลชนอื่นๆ ทุกสาขา ได้แก่ สื่ อวิทยุกระจายเสี ยง สื่ อ สิ่ งพิ ม พ์ และสื่ อ อิ เล็ก ทรอนิ กส์ ทุ ก ประเภท ในการทาหน้า ที่ สื่อ ข้อ มูล ข่ าวสาร ด้า น สิ่ งแวดล้อมและการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ต่อประชาชนอย่างสม่าเสมอ ด้วยเนื้ อหาที่ ครอบคลุม กว้างขวาง เที่ยงตรง 21. รณรงค์อ ย่า งเข้ม ข้น เพื่ อ ปลู ก ฝั ง ให้เ ยาวชน มี หัว ใจรั ก สิ่ ง แวดล้อ มและ ธรรมชาติ เพื่อสื บทอดเจตนารมณ์ ในการรักษาสิ่ งแวดล้อมและธรรมชาติ ให้ดารงอยู่อย่าง ยัง่ ยืน สื บไป


~8~

1. บทนำ ปัจจุบนั ปัญหาภาวะโลกร้อนอันมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ของโลก ได้ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างกว้างขวาง และทวีความรุ นแรงขึ้นเป็ นลาดับ ซึ่ งถึงแม้ ในประเทศไทย จะเริ่ มมีการรับรู ้ ศึกษาวิจยั ถึงปั ญหาและผลกระทบต่างๆในประเด็นดังกล่าว เพิ่มมากขึ้ นแล้วก็ตาม แต่ ยงั คงเป็ นเพียงการดาเนิ นการอยู่ภายในแวดวงจากัด ยังไม่ เป็ นที่ แพร่ หลายออกไปอย่างกว้างขวาง ถึงมวลชนทุกระดับมากนัก ดังนั้น ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง จึงเกิด แนวความคิ ด ในการสร้ า งความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาคส่ ว นต่ า งๆของสั ง คมขึ้ น ทั้ง ภาครั ฐ ผูป้ ระกอบการ ประชาชน และสื่ อมวลชน เพื่อเชื่อมโยง สร้างการมีส่วนร่ วม และช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ในการผลักดันให้เกิดความตระหนักสานึกรักสิ่ งแวดล้อม อันจะก่อให้เกิดความ ร่ วมมือในการพัฒนาด้านการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและและการรักษาสิ่ งแวดล้อม ได้ อย่างยัง่ ยืนสื บไป การผลักดันให้เกิดการมี “จิตสานึ กร่ วม” นั้น แต่ละภาคส่ วนสามารถเข้ามามีบทบาท ต่างๆกันไป ดังนี้ - ภาครัฐ: เป็ นผูบ้ ญั ญัติกฎหมาย ข้อกาหนด กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ การบังคับใช้ กฎหมายต่างๆ และการบริ หาร การดาเนินการ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ตอ้ งการ - ผู ้ป ระกอบการ: ต้อ งเป็ นผู ้มุ่ ง เน้ น การให้ ค วามใส่ ใ จในเรื่ อ งของการรั ก ษา สิ่ งแวดล้อมควบคู่ไปกับการประกอบกิจการ รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อรองรับประเด็น การรักษาสิ่ งแวดล้อม - สื่ อมวลชน: ต้องเพิ่ม บทบาทให้เป็ นผูม้ ุ่ ง เน้นการเผยแพร่ ข่ าวสาร การสื่ อ สาร เพื่อให้เกิดจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อมในวงกว้าง ซึ่ งถือเป็ นภาคส่ วนที่มีอิทธิ พล และเป็ นปั จจัย สาคัญในการกระตุน้ ให้เกิดการตระหนักและสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อมดังกล่าว - ประชาชน:

เป็ นพลัง ขับเคลื่ อ นหลัก เป็ นผูก้ าหนดชะตากรรมของสภาวะ

สิ่ งแวดล้อมของชาติ ว่าจะให้เป็ นไปในทิศทางใด ดีข้ ึน หรื อเลวร้ายลง


~9~

2. วัตถุประสงค์ ด้วยเหตุและองค์ประกอบดังกล่าวข้างต้น ครอบครัวข่าว 3 รายการทีวี 360 องศา สถานี วิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่ อง 3 และภาคส่ วนที่เกี่ยวข้อง จึงได้ร่วมกันจัดงานมหกรรม “ทีวีรักษ์โลก 360 องศา Save the world EXPO 2013 ภายใต้แนวคิด “Learn to Live in the World of Change” ขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ประชาชน ได้เรี ยนรู ้ถึงวิกฤตปั ญหา ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มได้เข้าใจถึงเหตุปัจจัยอันก่อให้เกิดปั ญหา รู ้ถึง แนวทางการแก้ปัญหา และนาความรู ้ที่ได้ไปใช้ในการแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อมได้อย่างบูรณา การและยัง่ ยืนต่อไป 3. กำรสั มมนำทำงวิชำกำร จัดขึ้นในวันที่ 21-22 เมษายน 2556 ณ อาคารแชลเลนเจอร์ ฮอลล์ 2 อิมแพค เมืองทอง ธานี กรุ งเทพฯ โดยมีผทู ้ รงคุณวุฒิร่วมนาเสนอข้อมูลและอภิปรายให้ความคิดเห็น โดยมีหวั ข้อ การสัมมนาดังนี้ วันที่ 21 เมษายน 2556 1. ปำฐกถำพิเศษ “ดิน นำ้ ลม ไฟ สมดุลสิ่ งแวดล้ อมตำมแนวพระรำชดำริ” บรรยายโดย นายสุ วฒั น์ เทพอารักษ์ เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ 2. Culture & Learning – To Live in the World of Change, Bhutan Model บรรยายโดย Mr. Kinlay Dorjee Mayor of Thimphu , Bhutan 3. “Climate Change Adaptation การปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” บรรยายโดย Mr. Pran Siamwalla President of Association of Natural Disaster Prevention Industry


~ 10 ~

Mr. Paul Escales President of The Irish Thai Chamber of Commerce Mr. Robert Bruce President of GeoSyntec, Environmental Engineering firm ดาเนินรายการโดย รศ. ดร. วีรกร อ่องสกุล คณบดีสานักวิชาสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากร และการพัฒนา (SERD) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย ( AIT) 2. เสวนำ “ทีว… ี …รักษ์ โลก เรื่องจริงหรือ……แรงเงำ” ผูร้ ่ วมอภิปราย

นายจตุพร บุรุษพัฒน์ อธิบดีกรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ศ.ดร.สนิท อักษรแก้ว คณะกรรมการสภาพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ รศ.ดร.พิฑูร ตรี วจิ ิตรเกษม นายกกิตติมศักดิ์ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย นายสาราญ ฉัตรโท รองกรรมการผูจ้ ดั การ สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง 3

ผูด้ าเนินรายการ

นายธนินวัฒน์ พัฒนวีรคุณ พิธีกรรายการ “ทีวี 360 องศา ครอบครัวข่าว 3 สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง 3


~ 11 ~

วันที่ 22 เมษายน 2556 1. สภาวะโลกร้อนกับเศรษฐกิจการเกษตร บรรยายโดย นางรัชนีกร สนกนก เศรษฐกรเชี่ ย วชาญ (ด้า นเศรษฐกิ จ ทรั พ ยากรการเกษตร) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2. ผลกระทบด้านน้ ากับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บรรยายโดย ผศ. ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู ้อ านวยการส านั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ สารสนเทศ (องค์การมหาชน) 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับผลกระทบที่เกิดขึ้นกับระบบนิ เวศและความ หลากหลายทางชีวภาพ บรรยายโดย ดร.ดารงค์ ศรี พระราม รองอธิการบดีฝ่ายบริ การวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4. แนวทางการทาปุ๋ ยหมัก “แบบใหม่” ในนาเพื่อลดการเผาฟาง บรรยายโดย ผศ. ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร ผูอ้ านวยการสถานบริ การวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 5. เสวนา “เตรี ยมตัวรับมือและปรับวิธีการดารงชีวติ อย่างไร” ผูอ้ ภิปราย ศ.ดร.เกษม จันทร์แก้ว ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสิ่ งแวดล้อม มูลนิธิชยั พัฒนา ดร.วีระชัย นาควิบูลย์วงศ์ เลขาธิการสานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


~ 12 ~

นายธีรพล ติรวศิน ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมการจัดการเพื่อสิ่ งแวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รศ.ดร.กันฑรี ย ์ บุญประกอบ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ผูด้ าเนินรายการ

นายธนินวัฒน์ พัฒนวีรคุณ พิธีกรรายการทีวี 360 องศา ครอบครัวข่าว 3 สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง 3

นอกจากนี้ ยังส่ งเสริ มให้เ ยาวชนอนุ รั กษ์ใ นสิ่ ง แวดล้อ ม ด้วยการจัดให้มี การประกวด นวัตกรรมด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมขึ้นด้วย 4. สรุปกำรบรรยำยจำกวิทยำกร ปำฐกถำพิเศษ “ดิน นำ้ ลม ไฟ สมดุลสิ่ งแวดล้อมตำมแนวพระรำชดำริ” บรรยำย โดย นำยสุ วฒ ั น์ เทพอำรักษ์ เลขำธิกำรสำนักงำนคณะกรรมกำรพิเศษ เพือ่ ประสำนงำนโครงกำรอันเนื่องมำจำกพระดำริ …………………………………………………………………………… พระราชด าริ ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว เกี่ ย วกั บ การบริ หารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติที่สร้างคุณประโยชน์ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อม ของ ประเทศไทย มี ม ากมายหลากหลายโครงการ ส่ ว นใหญ่ จ ะอยู่ใ นรู ป ของโครงการตาม พระราชดาริ ซึ่ งอยู่ในความรับผิดชอบของ สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (กปร.)


~ 13 ~

โครงการในลักษณะดังกล่าว มีจานวนมากถึง 4,350 โครงการ โดยกระจายอยูแ่ ทบทุก จังหวัดทัว่ ประเทศ ครอบคลุมกิจกรรมมากมาย อาทิ การเกษตร สิ่ งแวดล้อม ส่ งเสริ มอาชี พ พัฒนาแหล่งน้ า คมนาคม สื่ อสารสวัสดิการสังคม สู่ สมดุลพัฒนำ การบริ หารจัดการดิ น น้ า และป่ าอย่างสมดุล ด้วยกระบวนการพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เอื้อให้เกิดผลดี ต่อ ระบบนิเวศอย่างมาก ผลพวงที่ตามมาก็คือ ระบบนิ เวศ หรื อ ธรรมชาติจะ ให้ผลผลิตที่เอื้อต่อการใช้ชีวติ อย่างพอเพียงในสภาพแวดล้อมที่ยงั่ ยืน ประชาชนสามารถพี่งพา ตนเองได้อย่างสุ ขสบาย มีความสุ ขในลักษณะ “พออยู่ พอกิน” ปัญหำทรัพยำกรดิน 1.ความเสื่ อมโทรมของดิน เกิดจาก - การปลูกพืชชนิดเดียวกันติดต่อกันเป็ นเวลานาน - การปลูกพืชที่มีลกั ษณะในการทาลายดิน - ธาตุอาหารพืชถูกทาลายด้วยการกระทาต่างๆ 2. ดินมีปัญหาพิเศษที่ทาให้ไม่เหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์ เช่น -ดินทรายจัด -ดินตื้น -ดินเค็ม -ดินเปรี้ ยว -ดินพรุ -ดินที่ลาดชันมาก -ดินที่ลุ่มน้ าขัง - ดินเป็ นพิษ 3. สภาพภูมิอากาศไม่อานวย 4. การพังทลายของดิน


~ 14 ~

กำรแก้ปัญหำ การแก้ปั ญหาเรื่ อ งดิ น ตามประสบการณ์ ของการศึ กษาทดลง ตามพระราชด าริ มี แนวทางดังนี้ 1. ด้วยการอนุรักษ์ผวิ ดิน 2. ด้วยการสงวนต้นไม้ที่มีอยูไ่ ม่ให้หมดไป 3. การปรับปรุ งดิน 4. การปลูกหญ้าแฝก เพื่อยึดหน้าดิน และรักษาความชุ่มชื้น กำรบริหำรกำรจัดกำรนำ้ ตำมแนวพระรำชดำริ มีแนวทางดาเนินการดังนี้ 1. ฝนหลวง เพื่อแก้ปัญหาความแห้งแล้ง ในพื้นที่ที่ฝนแล้งอย่างมากและต่อเนื่อง 2. ปลูกป่ า ส่ งเสริ มการปลูกป่ าอย่างยัง่ ยืน เนื่องจากเป็ นที่พิสูจน์แล้วว่า เป็ นวิธีการเก็บ น้ าตามธรรมชาติที่ดีที่สุด 3. สร้างฝายต้นน้ า เพื่อการชะลอน้ า ลดการพังทลายของหน้าดิน 4. ปลูกหญ้าแฝกป้ องกันดินทลาย 5. สร้างอ่างเก็บน้ าบริ เวณเชิงเขา ไล่ระดับรองรับน้ าจากการสร้างฝายที่ตน้ น้ า 6. สร้างเขื่อนกักเก็บ และเพื่อการจัดการน้ า ตามความจาเป็ น 7. สรุ ปองค์ความรู ้ให้เป็ นเกษตรทฤษฏีใหม่ ว่าด้วยการจัดการที่ดินและน้ าสาหรั บ เกษตรกร 8. สร้างอ่างเก็บน้ าแบบแก้มลิงในพื้นที่ระดับถัดลงมาจากอ่างเก็บน้ าเชิงเขา 9. สร้างคันกั้นน้ า เพื่อเก็บกัก จัดการ รักษาน้ า ไม่ให้ลน้ เสี ยออกไปโดยเปล่าประโยชน์ 10.ทาทางน้ าผ่าน เพื่อการระบายน้ า ทาให้น้ าเหลือใช้ ไหลลงสู่ ที่ต่าได้เร็วขึ้น 11.ประดิษฐ์กงั หันน้ าชัยพัฒนา เพื่อเพิ่มอากาศให้น้ า ช่วยในการบาบัดน้ าเสี ย 12.สร้างระบบการเร่ งระบายน้ าลงทะเล เพื่อจัดการปัญหาน้ าท่วม 13.รักษา และปลูกเพิ่มป่ าชายเลน เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เป็ นต้น


~ 15 ~

สรุ ปภาพรวมของแนวพระราชดาริ ด้านการบริ หารจัดการ ทรั พยากรธรรมชาติ และ สิ่ งแวดล้อมได้ว่า ทรงพัฒนำดิน เพื่อสร้ ำงพื้นที่ทำกิน ทรงพัฒนำป่ ำ เพื่อสร้ ำงน้ำ ทรง พัฒนำน้ำ เพือ่ สร้ ำงธัญญำหำร ทรงพัฒนำข้ ำวปลำอำหำร เพือ่ สร้ ำงมั่นคงของชีวิต ทรงสอน ให้ รู้ จักชีวติ พอเพียง เพือ่ ประโยชน์ สุขของแผ่ นดิน โครงกำรอัน เนื่ องมำจำกพระรำชด ำริ เป็ นงำนที่ ส ร้ ำ งควำมสมดุ ล แก่ กำรพัฒ นำคนและ ธรรมชำติ ในทุกมิติ ได้ แก่ในด้ ำนของคน ดิน นำ้ ลม ไฟ และป่ ำไม้ สรุ ปได้ดงั นี้ คน - ต้องจัดให้มีที่ทากิน - จัด ให้มีค วามรู ้ พ้ื นฐานทางการเกษตร และความรู ้ ในการประกอบอาชี พ การเกษตรที่มีหลักวิชาการสู งยิง่ ขึ้น - ให้สามารถพัฒนาชีวติ ความเป็ นอยู่ และการประกอบอาชีพได้อย่างยัง่ ยืน นำ้ - เน้นให้รู้จกั การใช้น้ าอย่างประหยัดไม่สิ้นเปลือง - และการรักษาคุณภาพน้ าให้เหมาะสมกับการอุปโภคหรื อบริ โภค ดิน - รู ้จกั การใช้ดินให้เหมาะสมกับกิจกรรมแต่ละประเภท เช่น การเกษตรกรรม การปศุสัตว์ การประมง การอยูอ่ าศัย - รู ้จกั การรักษาดินให้มีคุณภาพสู งอยูเ่ สมอ สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ รู ้จกั ปัญหาที่จะทาให้ดินเสื่ อมคุณภาพ หรื อดินเสี ย ลม - ให้มีการใช้กงั หันลมอย่างกว้างขวางและเป็ นประโยชน์มากขึ้น ในทุ ก กิจกรรม ทุกพื้นที่ที่สามารถใช้งานได้ - ใช้ประโยชน์จากลมในการผันน้ าจากที่ต่าสู่ ที่สูง - หรื อการชักน้ าขึ้นที่สูงด้วยระหัดวิดน้ าพลังงานลม เป็ นต้น


~ 16 ~

ไฟ - ใช้ ไบโอดีเซล เป็ น พลังงานทดแทน การใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล ป่ ำ - ให้รู้จกั การใช้ป่าให้เป็ นประโยชน์อย่างยัง่ ยืน ไม่ให้เกิดลักษณะใช้ไป ทาลาย ไป เช่นที่เกิดขึ้นในหลายกรณี - ส่ งเสริ มการปลูกป่ าอย่างต่อเนื่อง จริ งจัง เพื่อรักษาสิ่ งแวดล้อม และจากการที่พระองค์ทรงงานอย่างไม่รู้จกั เหน็ดเหนื่อย และจากความสาเร็ จของแนว พระราชดาริ ด้านการเกษตร การบริ หารจัดการทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม ซึ่ ง ก่อให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ ความสมดุ ลของระบบนิ เวศ มากขึ้น จนไปถึงประโยชน์สุขที่ ยัง่ ยืน ต่อประชาชนของพระองค์นานับประการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั จึงทรงได้รับ การขนานพระนามว่า “กษัตริย์นักพัฒนำ” .................................................... …………………………………………… Culture & Learning – To Live in the World of Change, Bhutan Model บรรยำยโดย Mr.Kinlay Dorjee Mayor of Thimphu , Bhutan ราชอาณาจักรภูฏาน ดาเนินการพัฒนาประเทศ โดยเน้นหลักการใหญ่ 4 หลักการ ดังนี้ 1. จัดให้มีระบบสาธารณูปโภค เพื่อเป็ นปัจจัยพื้นฐานในการดาเนินชีวติ 2. ให้ความสาคัญอย่างสู ง กับการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม 3. ด ารง รั ก ษาไว้ซ่ ึ งวัฒ นธรรมประจ าชาติ อ ัน ดี ง าม เช่ น การแต่ ง กาย, ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี เพื่อคงความเป็ นเอกลักษณ์ของตนเอง 4. บริ หารประเทศด้วยหลักธรรมาภิบาลที่ดี โดยราชอาณาจักรภูฏานได้เปลี่ยนระบอบ การปกครอง จากการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราช โดยมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข มาเป็ นการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข ภายใต้ รัฐธรรมนูญ ซึ่ งถึงแม้ว่า ประชาชนส่ วนใหญ่จะยังคงต้องการรักษาไว้ซ่ ึ งระบบการปกครอง แบบเดิ ม อยู่ก็ ต าม แต่ ก ารเปลี่ ย นแปลงดัง กล่ า วเป็ นการแสดงให้เ ห็ น ถึ ง วิ สั ย ทัศ น์ ข อง


~ 17 ~

พระมหากษัตริ ย ์ ที่ตอ้ งการให้ประเทศมีการปรับตัว ให้สอดคล้องไปกับการเปลี่ยนแปลงใน โลกปัจจุบนั ราชอาณาจักรภูฏาน มุ่งเน้นการอนุ รักษ์และรักษาสิ่ งแวดล้อม โดยสรุ ปประเด็นหลัก ได้ดงั นี้ - ในรัฐธรรมนูญมีการกาหนดให้ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ของพื้นที่ประเทศ ต้องปกคลุม ด้วยพื้นที่ป่า ซึ่งปัจจุบนั มีพ้นื ที่ป่าปกคลุมทัว่ ประเทศ 70 % - พลังงานไฟฟ้ าที่ใช้ภายในประเทศทั้งหมดร้อยละ 100 มาจากพลังน้ าจากเขื่อน ไม่มี การใช้พลังงานไฟฟ้ าแหล่งอื่น เช่น ถ่านหิ น หรื อก๊าซ ตามประเทศอื่นๆ ถือว่าเป็ นการมุ่งเน้น ลดปรากฏการณ์สภาวะเรื อนกระจกได้อย่างเป็ นผล มีการวางแผนอนาคตในการสร้างเขื่อน เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ าถึง 10,000 เมกะวัตต์ ในปี ค.ศ. 2020 - กาหนดพื้นที่ในการขยายความเจริ ญเติบโตของเมือง โดยกาหนดผังเมืองควบคู่ไปกับ การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม เช่ น กาหนดว่าพื้นที่ใดควรเป็ นพื้นที่สีเขียว รณรงค์จดั พื้นที่ในการ เดินทางโดยจักรยาน กาหนดขอบเขตสิ้ นสุ ดการขยายตัวเมืองไม่ให้เกินขอบเขตใดขอบเขต หนึ่งของเชิงเขา เพื่อให้ชุมชน และป่ าไม้อยูใ่ นบริ เวณเดียวกันอย่างสมดุล เป็ นต้น - รงณรงค์ให้ประชาชนใช้บริ การรถยนต์โดยสารสาธารณะ และลดการใช้รถยนต์จาก การใช้พลังงานเชื้อเพลิงน้ ามัน ส่ งเสริ มมุ่งเน้นการใช้รถยนต์จากพลังงานไฟฟ้ า อีกประการหนึ่ งคื อ หัวใจสาคัญในการบริ หารประเทศของราชอาณาจักรภูฏานจะ มุ่งเน้นวัดที่ดชั นี ช้ ี วดั ความสุ ข มากกว่าดัชนี รายได้มวลรวมผลผลิตของประเทศเช่ นประเทศ อื่นๆ เนื่องจากดัชนีดงั กล่าวเป็ นดัชนีตวั ชี้วดั ที่ยงั่ ยืนและเป็ นเป้ าหมายสุ ดท้ายในการดารงชีวิต อยู่ ............................................……………


~ 18 ~

“Climate Change Adaptation กำรปรับตัว ต่ อกำรเปลีย่ นแปลงสภำพภูมอิ ำกำศ” บรรยำยโดย Mr.Pran Siamwalla President of Association of Natural Disaster Prevention Industry ปั จ จุ บัน โลกก าลัง เผชิ ญ กับ การปรั บ สภาพตนเอง เนื่ อ งจากผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพอื่นๆ เช่นการเกิดก๊าซคาร์บอน ไดอ๊อกไซด์ ที่เพิ่มสู งขึ้นถึง 390 ส่ วนในล้านส่ วน หรื อเปลือกโลกที่เป็ นชั้นบาง เมื่อน้ าแข็ง ละลาย น้ าหนักที่เปลี่ยนแปลงไปจะทาให้ตวั โลกแกว่ง เกิดการขยับตัวของโลก ส่ งผลให้เกิด แผ่นดินไหวตามมา การเกิดแผ่นดินไหวที่เมือง Maxico City ในปี ค.ศ. 1985 ทาให้ตึก 1 ใน 3 ส่ วนของเมืองพังทลายลงซึ่ งสาเหตุ ส่วนหนึ่ งเกิดจากสภาพดิ นซึ่ งเป็ นที่ ต้ งั ของตัวเมื องที่ มี ลักษณะนุ่มไม่แข็งตัน ดังนั้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหว จะทาให้เกิดการกระเพื่อมต่อเนื่อง เกิดความ รุ นแรงมากกว่าปกติถึง 14 เท่า โดยลักษณะดินที่ต้ งั ของเมืองเม็กซิ โกซิ ต้ ีดงั กล่าว คล้ายคลึงกับ ลักษณะดินในกรุ งเทพมหานคร ซึ่ งสิ่ งที่จะเกิดขึ้นกับ กทม. หากเกิดแผ่นดินไหว ภายใน 3 นาที ก็จะมีลกั ษณะคล้ายกันกับการเกิดแผ่นดินไหวที่ Maxico ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะไม่อยู่ ในแนวการเกิดแผ่นดินไหวโดยตรงก็ตาม แต่รอบๆประเทศ ก็มีแผ่นดิ นไหวเกิดมากในทุก ระดับ จนถึงระดับ 9 ตามมาตราริ ชก์เตอร์ อีกปรากฏการณ์หนึ่งก็คือ เมื่อ 40 ปี ที่แล้ว อุณหภูมิ ของประเทศไทยเฉลี่ยสู งสุ ด 380 c ปั จจุบนั ได้เพิ่มสู งขึ้นเป็ นถึง 440c ขณะนี้ ประเทศไทยเกิด สภาวะภัยแล้ง และอาจเกิดภัยน้ าท่ วมขึ้นได้อีก เมื่ออากาศร้อนเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดพายุที่ รุ นแรงขึ้น ชายฝั่งทะเลมีคลื่นลมแรง กัดเซาะชายฝั่ง สร้างผลกระทบอย่างกว้างขวางในทุก มิติ ดังนั้น จึงกล่าวโดยสรุ ปได้ว่า สาเหตุหลักๆ ที่ทาให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง มีสาเหตุ มาจากสิ่ งต่างๆดังนี้ 1. ก๊ า ซมี เ ทน ที่ ส ะสมอยู่ ใ นเปลื อ กโลก ซึ่ งเป็ นตัว การที่ ท าให้ เ กิ ด ก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งต่อเนื่องไปทาให้เกิดภาวะเรื อนกระจกตามมา


~ 19 ~

2. อั ต รา การเกิ ดของประชากรที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ซึ่ งเมื่ อ รวม กั บ ปริ มาณก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มมากขึ้น และจานวนประชากรที่มากกว่า 2 พันล้านคน ทุกอย่างจึง เปลี่ยนแปลงไป 3. การละลายของหิมะที่ข้ วั โลก ยิง่ เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มากขึ้นเพียงใด ก็จะส่ งผลให้น้ าแข็งละลายมากขึ้น ทาให้เกิดภาวะน้ าท่วมตามมา แนวทางแก้ไข ในมุ ม มองของผูบ้ รรยายเห็ น ว่า ทางหนึ่ ง ที่ จ ะสามารถช่ ว ยในการแก้ปัญ หาได้ นอกเหนือจากวิธีการอื่นๆ ซึ่งนักวิชาการหรื อผูเ้ กี่ยวข้องในสาขาอื่นได้เสนอแล้ว คือการจัดตั้ง สมาคม หรื อ องค์กร เพื่อหาแนวทางร่ วมกับผูเ้ ชี่ ยวชาญจากต่ างประเทศวิเคราะห์ ปั ญหา สาเหตุ รวมทั้งศึกษาหาวิธีการป้ องกัน ปรับตัว เพื่อรับกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลกที่ ดาเนินไปอยูต่ ลอดเวลาในปัจจุบนั ………………………………… “Climate Change Adaptation กำรปรับตัว ต่ อกำรเปลีย่ นแปลงสภำพภูมอิ ำกำศ” บรรยำยโดย Mr. Paul Escales President of The Irish Thai Chamber of Commerce ในระหว่างปี ค.ศ. 1971 – 2012 ได้เกิดแผนดินไหวขึ้นในสถานที่ต่างๆมากกว่า 100 แห่งทัว่ โลก สาหรับในพื้นที่ใกล้ประเทศไทยเห็นได้วา่ พม่ามีโอกาสที่จะเกิดแผ่นดินไหวมาก เช่ นกัน เนื่องจากอยู่บนแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก ซึ่ งเมื่อเทียบกับเมืองเม็กซิ โกซิ ต้ ีที่เกิด ความเสี ยหายจากการเกิดแผ่นดินไหวที่มีจุดศูนย์กลางห่ างออกไปมากกว่า 400 กิโลเมตรแล้ว จะเห็ นได้ว่า กรุ งเทพฯซึ่ งอยู่จากพม่าในระยะดังกล่ าวเช่ นกัน จึ งมี โอกาสที่จะได้รับความ เสี ยหายจากการเกิดแผ่นดินไหวจากประเทศเพื่อนบ้านเช่นเดียวกับเมืองเม็กซิโกซิต้ ีดว้ ย


~ 20 ~

ลัก ษณะของอาคารที่ อ าจเกิ ด ความเสี ย หายได้ม ากคื อ อาคารที่ ก่ อ สร้ า งตามปกติ (หมายถึ ง ไม่ ไ ด้เ ผื่อ การรั บ ผลกระทบจากการเกิ ด แผ่น ดิ น ไหว) อาคารที่ มี โ ครงสร้ า งไม่ แข็งแรง โครงสร้างที่มีพ้นื ที่วา่ ง ช่องกลางของอาคาร เช่น โถงอาคาร โรงแรม อาคารเรี ยนที่มี ห้องกว้าง เป็ นต้น ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชดั ก็คือ ประเทศนิวซีแลนด์ ถึงแม้จะมีการเตรี ยมแผนรองรับการ เกิดแผ่นดินไหวไว้แล้วตั้งแต่เริ่ มการการก่อสร้างอาคารแล้วก็ตาม แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ข้ ึนจริ ง อาคารในเมืองไครเชิอร์ทก็ได้รับความเสี่ ยหายและยังคงต้องซ่ อมแซมถึงกว่าร้อยละ ๕๐ ของ อาคารทั้งหมดในเมือง เพราะเนื่องจากโครงสร้าง หรื อพื้นที่ว่างภายในอาคารบางประเภทดังที่ กล่าวแล้ว ในขณะที่ในประเทศไทย อาคารที่ก่อสร้างทั้งหลาย ยังไม่ได้รับการออกแบบให้ สามารถรองรับผลกระทบจากแผ่นดินไหวระดับสู ง หรื อมีแผนรองรับการเกิดแผ่นดินไหวที่ จะสามารถสร้างความมัน่ ใจให้ได้ ดังนั้น หากเกิดแผ่นดินไหวในประเทศเพื่อนบ้านเช่น พม่า มากกว่า 8 ริ กเตอร์ จะส่ งผลให้กรุ งเทพฯประสบภัยพิบตั ิเหมือน ที่เม็กซิ โกซิ ต้ ีในปี 1985 ได้ เช่นกัน กล่าวโดยสรุ ป ปัจจุบนั แผ่นดินไหวมีการเกิดขึ้นทัว่ โลก และจะทวีความรุ นแรงมากขึ้น เรื่ อยๆ จึงเป็ นสิ่ งที่ทุกคนต้องเริ่ มให้ความสาคัญและตระหนักถึง เพื่อจะได้เตรี ยมการป้ องกัน แก้ไข เพื่อลดทอนความเสี ยให้ลดน้อยลง ผลจากสภาวะโลกร้อนทาให้เกิดผลกระทบต่างๆ ตามมารวมทั้งการเกิ ดแผ่นดิ นไหวถี่ ข้ ึ น และรุ นแรงขึ้ น ซึ่ งถื อเป็ นภัยใกล้ตวั จึงต้องมี การ เตรี ยมการรองรับเพื่อป้ องกันภัยพิบตั ิดงั กล่าวไม่ให้เกิดความเสี ยหายต่ออาคารสถานที่และ ชีวติ มนุษย์ต่อไป ………………………………………………


~ 21 ~

Green and Sustainable Remediation บรรยำยโดย Mr. Robert Bruce President of GeoSyntec, Environmental Engineering firm ปัจจุบนั ในวงการกิจการอุตสาหกรรมหลายประเภท ถึงแม้จะมีส่วนก่อให้เกิดมลภาวะ ทางธรรมชาติข้ ึนมากดังที่เป็ นที่ทราบกันโดยทัวไปแล้วก็ตาม แต่ส่วนใหญ่ยงั คงคานึ่ งถึง ให้ ความสนใจ มุ่งเน้นและให้ความสาคัญในการบาบัด รักษาธรรมชาติให้คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน ควบคู่ ไปกับการดาเนินกิจการทางธุรกิจมากยิง่ ขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1. รักษาสภาวะสิ่ งแวดล้อมให้ยงั่ ยืนและคงอยูย่ าวนาน ซึ่ งจะยังส่ งผลให้สามารถ นาทรัพยากรต่างๆ ไปใช้ประโยชน์เพื่อสร้างผลผลิตได้อย่างยัง่ ยืน 2.

อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ จะก่อให้เกิดผลลัพธ์ และได้รับผลผลิตจาก

ทางธรรมชาติที่เพิ่มพูนมากขึ้น มีการรักษาธรรมชาติให้คงสภาพเดิมมากขึ้น ซึ่ งยิง่ ดาเนินการ เช่นนี้มากขึ้นเพียงใด ธรรมชาติกจ็ ะส่ งผลผลิตจากตนออกมามากขึ้นเป็ นทวีคูณ 3.

อนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม หรื อการฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อม ถือเป็ นการลดค่ าใช้จ่ายด้าน

อื่นๆ ในทางอ้อม เช่น ค่าใช้จ่ายด้านสุ ขภาพ การศึกษา และระบบสาธารณูปโภคด้วย ดังนั้น หัวใจสาคัญในการบัดบัดและเยียวยาธรรมชาติ ใ ห้คงอยู่อ ย่างยัง่ ยืน จึ งต้อ ง ดาเนินการอย่าง “ชาญฉลาด” ก่อให้เกิดความสมดุล และประโยชน์สูงสุ ดระหว่างมนุษย์และ สิ่ งแวดล้อม โดยมีปัจจัยหลักที่สาคัญและต้องคานึงถึง ดังนี้ - วิธีการในการบาบัด และประสิ ทธิผลของวิธีการนั้นๆ - ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ - ระยะเวลาที่จะส่ งผลให้เกิดความประสบความสาเร็จ - การบาบัดด้วยวิธีการทางธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใดๆ ก็ตาม จะต้องไม่ส่งผลกระทบต่อสุ ขภาพชีวติ ของมนุษย์ และนับเป็ นหัวใจที่สาคัญที่สุด


~ 22 ~

การดาเนินการในการเยียวยารักษา และคงไว้ซ่ ึ งธรรมชาติอย่างยัง่ ยืนนั้น ปั จจุบนั มีการ นาเทคโนโลยีเข้ามามี บทบาทในการดาเนิ นการ เช่ น การติดตั้งระบบเครื่ องมื อเพื่อ การใช้ พลังงานแสงอาทิตย์, การใช้หลักการทางชีวภาพ เพื่อปรับปรุ งสิ่ งปนเปื้ อนในดิน โดยการเพิ่ม ปริ มาณออกซิเจน เป็ นต้น กล่าวโดยสรุ ป การบัดบัดและเยียวยาธรรมชาติให้คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน โดยการใช้เทคโนโลยี นั้น ถื อว่ามี บ ทบาทสาคัญอย่างมากในการดาเนิ นการในปั จจุ บนั โดยมุ่ งเน้น และคานึ งถึ ง ประสิ ทธิผล ความคุม้ ค่าและวิธีการที่ปฏิบตั ิได้จริ ง ………………………………………… เสวนำ “ทีว… ี ..รักษ์ โลก เรื่องจริงหรือ…..แรงเงำ” ผูร้ ่ วมอภิปราย

นำยจตุพร บุรุษพัฒน์ อธิบดีกรมส่ งเสริมคุณภำพสิ่ งแวดล้อม ศ.ดร.สนิท อักษรแก้ว คณะกรรมกำรสภำพัฒนำเศรษฐกิจ และสั งคมแห่ งชำติ รศ.ดร.พิฑูร ตรีวจิ ิตรเกษม นำยกกิตติมศักดิ์ สมำคมอุตสำหกรรมพลำสติกชีวภำพไทย

ผูด้ าเนินรายการ

นำยสำรำญ ฉัตรโท รองกรรมกำรผู้จัดกำร สถำนีวทิ ยุโทรทัศน์ ไทยทีวสี ี ช่อง 3 นำยธนินวัฒน์ พัฒนวีรคุณ พิธีกรรำยกำร “ทีวี 360 องศำ ครอบครัวข่ ำว 3 สถำนีวทิ ยุโทรทัศน์ ไทยทีวสี ี ช่อง 3

ประเด็นกำรสั มมนำคือ สื่ อในยุคปั จจุบนั ได้แสดงบทบาทเพื่อสิ่ งแวดล้อมได้เข้าตา ประชาชนหรื อไม่ ขณะเดี ยวกันทุ กภาคส่ วน คาดหวังให้สื่อขับเคลื่ อนอะไร และอย่างไร เพื่อให้สื่อให้เป็ นองค์กร ที่เป็ นความหวัง และที่พ่ ึงของสังคม และสิ่ งแวดล้อมตลอดไป โดย ผูร้ ่ วมเสวนา ได้ให้ขอ้ คิดต่างๆ ดังนี้


~ 23 ~

ควำมเห็นของภำครัฐ การเจริ ญเติบโตที่ควบคู่กบั สิ่ งแวดล้อมเป็ นปั จจัยที่รัฐบาลมุ่งเน้นและให้ความสาคัญ อย่ า งสู ง ในปั จ จุ บ ัน และภาครั ฐ มองเห็ น ว่ า ปั จ จัย หลัก ในการขับ เคลื่ อ นและอนุ รั ก ษ์ สิ่ งแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ส่ วน ดังนี้ - ภาคประชาชน : เป็ นภาคของทั้งผูข้ บั เคลื่อนและผูร้ ับผลกระทบ - ภาครัฐ: เป็ นผูก้ าหนดระเบียบ และการบังคับใช้กฎหมายต่างๆ - ภาคประกอบการ: ควรมุ่งเน้นและให้ความใส่ ใจในเรื่ องของสิ่ งแวดล้อมควบคู่ไป กับการประกอบกิจการอย่างสม่าเสมอ - ภาคสื่ อมวลชน: โดยเฉพาะสื่ อโทรทัศน์ ถือว่าเป็ นสื่ อที่สามารถเข้าถึงประชาชน และได้รับความนิ ยมมากที่สุด เนื่องจากสัมผัสได้ท้ งั เสี ยงและรู ปภาพ สามารถแสดงบทบาท ในเรื่ องนี้ได้อย่างมาก ปัจจุบนั ประเด็นของสิ่ งแวดล้อมมีมากมายหลากหลายด้าน เช่น สภาวะภูมิอากาศ ดิน น้ า เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม การเสพสื่ อของประชาชนในปั จจุบนั เป็ นเพียงการเสพสื่ อชัว่ ขณะ มิได้ตระหนัก ถึ งจนฝั งอยู่ในจิ ตใต้สานึ กได้อย่างตลอดเวลา เมื่ อเวลาผ่านไปช่ วงเวลาหนึ่ ง ประชาชนมักจะขาดความใส่ ใจให้ต่อเนื่ อง มักมีการตระหนักกับสิ่ งหนึ่ งสิ่ งใด ที่เกิดขึ้น ณ เพียงช่วงเวลานั้นเท่านั้น ดังนั้น หัวใจสาคัญและเป็ นกระจกสะท้อนให้เห็นความสาคัญสาหรับ สื่ อ คือ สะท้อนในข้อเท็จจริ ง สามารถอธิ บายได้ และมีความสม่าเสมอและมีความต่อเนื่องใน การนาเสนอ ควำมเห็นของภำคผู้ประกอบกำร กระแสในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ควรจะเป็ นกระแสที่อยูอ่ ย่างยัง่ ยืน ไม่ใช่มุ่งเน้นเพียง ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง แต่ควรจะดาเนินการ และรณรงค์อย่างต่อเนื่อง ปั จจุบนั ประเทศเกิดภัยภิ บัติอย่างรุ นแรงในหลายครั้ง และยังคงเกิดซ้ าๆ ด้วยสาเหตุเดิมๆ เนื่องจาก - ไม่เข้าใจธรรมชาติ - ไม่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง - ไม่สามารถหาความรู ้เองได้


~ 24 ~

หากคนเราขาดความรู ้ จะถื อเป็ นปั จจัยสาคัญที่ เป็ นตัวชี้ วดั ว่าเราจะอยู่รอดหรื อไม่ ดังนั้น สื่ อจึ งเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญในการถ่ายทอดความรู ้ จากสิ่ งหนึ่ งไปยังอีกสิ่ งหนึ่ ง โดย ปั จจุบนั จะเห็นได้ว่า สื่ อที่มุ่งเน้นถึงเรื่ องสิ่ งแวดล้อมยังมีนอ้ ยมาก การสื่ อสารให้เข้าใจและ ให้เข้าถึงสื่ อ จึงเป็ นปัจจัยสาคัญในการขับเคลื่อน และเป็ นกลจักรสาคัญ ในมุมมองของผูอ้ ภิปราย สื่ อที่ดีจึงต้องประกอบด้วยปั จจัย 3 อย่าง ซึ่ งเรี ยกว่า 3 ธรรม คือ - ธรรมชาติ: สื่ อที่ดีตอ้ งเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ ง และมีการเชื่อมโยงกับการดาเนิน ชีวติ ของมนุษย์ - ธรรมดา: สื่ อต้องเข้าใจถึงธรรมชาติ และพฤติ กรรมการเรี ยนรู ้ที่สามารถเข้าใจและ เข้าถึงได้ง่าย ระดับการรับรู ้และการเข้าใจของประชาชนแต่ระดับอาจมีความแตกต่างกัน ไม่ว่า จะในวัยเด็ก ผูใ้ หญ่ ผูส้ ู งวัย ดังนั้น การสื่ อสารจึงต้องอยูใ่ นรู ปแบบที่แต่ละกลุ่มคนคุน้ ชิน เช่น การนาเสนอในรู ปของการ์ตูนสาหรับเด็ก เป็ นต้น - ธรรมาภิ บาล: สื่ อต้องปฏิ บตั ิ ตนอย่างเป็ นกลาง และครบทั้งกระบวนการ เช่ น การ นาเสนอผลที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ ควรจะนาเสนอตั้งแต่สาเหตุการเกิดผลกระทบ และวิธีการ แก้ไข มิใช่นาเสนอเพียงขั้นตอนหรื อกระบวนการใดกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ที่มา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางการแก้ไขอย่างถ่องแท้ ก่อให้เกิ ดกระบวนการดาเนิ น ความคิดอย่างเป็ นระบบ ดังนั้น แรงขับเคลื่อนเพื่อกระตุน้ ในเกิดจิตสานึกรักษ์ในสิ่ งแวดล้อม ในมุมมองของสื่ อ จะต้องมีช่วงเวลาและช่องทางที่เหมาะสม เช่น ช่วงเวลาที่สามารถเข้าถึงได้ทุกคน มิใช่เลือก นาเสนอในช่ วงเวลาดึ กซึ่ งเป็ นเวลานอนของคนทัว่ ไป ปั จจุบนั สื่ อ มักจะนิ ยมสื่ อสารตาม ช่ วงเวลาของเหตุการณ์ที่เกิ ดขึ้น ณ เวลานั้นเท่านั้น เช่ น เมื่อเหตุเกิด ภัยพิบตั ิ จึงจะมีการ นาเสนอข่าวและเมื่อผ่านพ้นช่วงเวลาดังกล่าวไป เหตุการณ์หรื อเรื่ องนั้นๆ ก็มกั จะห่ างหายไป จึงไม่ก่อให้เกิดการกระตุน้ และสร้างจิตสานึ กอย่างสม่าเสมอ ดังนั้น จึงมีความจาเป็ นต้อง ผลักดันให้เกิดการบูรณการในทุกภาคส่ วน ทั้งในภาครัฐ ซึ่ งเป็ นส่ วนหลักในการสนับสนุ น, ผูผ้ ลิต ซึ่ งเป็ นส่ วนหลักในการชดเชย และฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อม จากผลกระทบของกระบวนการ


~ 25 ~

ผลิต, ผูใ้ ช้ เป็ นผูผ้ ลักดันให้เกิดราคาที่เหมาะสม เป็ นผูส้ ร้างสมดุลจากผูผ้ ลิต และส่ งเสริ มการ ใช้วสั ดุรักษาสิ่ งแวดล้อมเพื่อกระตุน้ ผูผ้ ลิต ผลิตได้ตรงตามความต้องการของผูบ้ ริ โภค และ สื่ อ ควรมุ่งเน้นการณรงค์อย่างสม่าเสมอ ไม่มุ่งเน้นเพียงเพื่อผลประโยชน์ทางพาณิ ชย์ เช่ น ผลักดันให้มีการรณรงค์และอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างสม่ าเสมอ ทุ กชั่วโมง กาหนดให้เป็ น กฎเกณฑ์ที่ทุกสื่ อจะต้องดาเนินการ เช่น การแยกขยะต้องดาเนินการอย่างไร การใช้ปุ๋ยเคมีส่ง ผลกระทบอย่างไร เป็ นพลังขับเคลื่อนให้เกิดจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม ควำมเห็นของภำคสื่ อ บทบาทของสื่ อ ณ เวลานี้ กับสภาพสังคมในปัจจุบนั ถือว่าสื่ ออยูใ่ นสภาวะที่ลาบากใน การเป็ นสื่ อกลาง หรื อเปลี่ยนกระบวนความคิดของผูเ้ สพสื่ อ เนื่ องจากพื้นฐานของสังคมไทย ยึดมัน่ กับความคิดที่ตนเชื่ อถือและยากต่ อการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น อันดับแรก สื่ อต้องปรั บ บทบาทของตนเอง เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะสังคมไทยในปัจจุบนั การปรั บบทบาทของสื่ อ ต้องพิจารณาจากโครงสร้ างของสังคมและการศึกษาของ ประชาชน เป็ นหลัก แนวทางและวิธีในการสื่ อสารจึงเป็ นเรื่ องสาคัญ ในความเป็ นจริ ง แนวทางหรื อยุทธศาสตร์ ที่รัฐบาลวางไว้ ยังอาจจะคงเป็ นเรื่ องที่สื่อ สามารถดาเนินการได้ยาก เนื่องจากวิธีปฏิบตั ิยงั ไม่มีความชัดเจนมากนัก เช่น การสร้างพื้นที่สี เขี ย วจะมี ยุทธศาสตร์ อ ย่า งไร การก าจัด ขยะมี แ นวทางอย่างไร ซึ่ ง หากมี วิธี ก ารที่ ชัด เจน สื่ อมวลชนสามารถเป็ นสื่ อที่จะนาเสนอตามกิจกรรมที่เกิดขึ้นได้ แต่หากเป็ นเพียงนโยบาย และขาดวิธีปฏิบตั ิที่ชดั เจน สื่ อก็มิอาจนาเสนอในสิ่ งที่เป็ นรู ปธรรมได้อย่างชัดเจน แต่หาก เมื่ อ มี วิธี ปฏิ บ ัติ ห รื อ กิ จ กรรมอย่า งชัด เจนและเป็ นรู ป ธรรมแล้ว สื่ อ จะเป็ นตัว กลางและมี ส่ วนรวมในการนาเสนอให้มีความชัดเจนและเกิ ดการตระหนัก กระตุ น้ ให้ประชาชนเกิ ด จิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมากยิง่ ขึ้น ดังนั้น จึงควรขับเคลื่อนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ให้เกิดเป็ นวาระแห่งชาติ เพื่อให้เกิดเป็ นรู ปธรรมอย่างชัดเจน และเมื่อถึงเวลานั้น มิใช่เพียงแต่ สื่ อที่จะมีบทบาท แต่ทุกภาคส่ วนจะสามารถเข้ามามีบทบาทได้มากขึ้นเช่นกัน .........................................……………………


~ 26 ~

สภำวะโลกร้ อนกับเศรษฐกิจกำรเกษตร บรรยำยโดย นำงรัชนีกร สนกนก เศรษฐกรเชี่ยวชำญ (ด้ ำนเศรษฐกิจทรัพยำกรกำรเกษตร) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เศรษฐกิจการเกษตรเป็ นเรื่ องที่สาคัญและต้องคานึ งถึงให้มากยิ่งขึ้นในปั จจุบนั เช่ น การคานึ งถึงปั จจัยเสี่ ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อการผลิตพืช ปศุสัตว์ ประมง ปั จจัย เสี่ ยงพืช วันเริ่ มต้นฤดูฝน อุณหภูมิสูงสุ ด ต่าสุ ดรายวัน พายุหลงฤดู เป็ นต้น ดังเช่ น ปั จจัย เสี่ ยงต่อไปนี้ - ข้าวนาปี เสี่ ยงต่อฝนต้นฤดู ข้าวนาปรัง เสี่ ยงต่ออุณหภูมิปลายฤดู - มันสาปะหลังเสี่ ยงต่อหัวมันเน่าเนื่องจากฝนตกมากขึ้น - อ้อยโรงงานเสี่ ยงต่อการขาดน้ าเนื่องจากฤดูแล้งจะยาวนานมากขึ้น ปัจจัยเสี่ ยงของสัตว์ อุณหภูมิ ปริ มาณและคุณภาพน้ าและแหล่งน้ า เช่น - สุ กร อุณหภูมิสูงขึ้นทาให้เกิดความเครี ยด กินน้ ามากขึ้นมีผลต่อจานวนลูกที่คลอด และระยะหย่านม - โค อุณหภูมิสูงมีผลต่อระบบสื บพันธุ์ และลดอัตราการรอดชีวติ ของตัวอ่อน - ไก่ อุณหภูมิสูงขึ้นทาให้เกิดความเครี ยด ร่ างกายอ่อนแอติดเชื้อได้ง่าย นโยบายและมาตรการรองรับ ตามแผนพัฒนาการเกษตรในช่ วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แบ่งเป้ าหมายเกษตรกรเป็ น 2 กลุ่ม คือ 1. เกษตรกรรายย่อย - เน้นการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง - เน้นการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 2. เกษตรกรรายใหญ่ - เน้นการสนับสนุนให้สามารถเข้าถึงข้อมูล - อานวยความสะดวกทั้งด้านการผลิต การตลาด การลงทุน - ผลักดันให้เข้าร่ วมกลุ่มกับเกษตรกรรายย่อยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีซ่ ึ งกัน และกัน


~ 27 ~

ยุทธศาสตร์พฒั นาการเกษตร ยุทธศาสตร์ ที่ 1 พัฒนาคุณภาพชี วิตเกษตรกร เพื่อให้พี่งพาตนเองได้ พร้อมรับความ เสี่ ยง มีความสามารถในการผลิต การตลาด มีความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต การจัดการสิ นค้าการเกษตร และ ความมัน่ คงทางอาหาร เพื่อพัฒนาคุณภาพสิ นค้าเกษตร ให้มีความสามารถในการแข่งขัน การ สร้างมูลค่าเพิ่ม กาหนดมาตรฐานและความปลอดภัย สร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภูมิภาค และระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์ ที่ 3 พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ สมดุ ล และยัง่ ยืน เพื่อใช้ทรัยากรการเกษตรและโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรอย่างมีประสิ ทธิภาพ ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตรปี 2556-2559 ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การปรั บตัว รองรั บการเปลี่ ยนแปลง เตรี ยมความพร้ อมและสร้ า ง ภูมิคุม้ กัน การลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ยุทธศาสตร์ ที่ 2 การเก็บกักและการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกในภาคการเกษตร ด้วยการพัฒนาระบบข้อมูลและองค์ความรู ้ก๊าซเรื อนกระจก ส่ งเสริ ม สนับสนุนการปรับระบบ ผลิตสู่ เกษตรที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ ที่ 3 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร ด้วยการสร้างความรับรู ้ ความเข้าใจและการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วน เพิ่มศักยภาพบุคลากร สร้างกลไกในการติดตาม ขับเคลื่อนการพัฒนาการเกษตรภายใต้การเปลี่ยนแปลงอย่างมีระบบ การปรับตัวต่อความปรวนแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ระดับครัวเรื อนเกษตรกร - เปลี่ยนรู ปแบบการปลูกพืชให้มีความหลากหลาย ปลูกพืชหมุนเวียน - เพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การอนุรักษ์ฟ้ื นฟูทรัพยากรดินและน้ า - ใช้เทคโนโลยีและการจัดการฟาร์ม แปลงเกษตร อย่างเหมาะสม


~ 28 ~

ระดับชุมชน - ปรับปรุ งโครงสร้างพื้นฐาน การจัดการระบบน้ า - พัฒนาศักยภาพการจัดการทรัพยากรน้ าบนพื้นฐานการมีส่วนร่ วมของชุมชน - สร้างระบบเตือนภัยล่วงหน้าของชุมชน ระดับประเทศ - ปรับปรุ งโครงสร้างพื้นฐาน - สนับสนุนการวิจยั และพัฒนา - ปรับปรุ งพันธุ์พืช สัตว์ ที่ทนต่อภัยแล้ง น้ าท่วมและโรคระบาด - ปรับปรุ งรู ปแบบ ระบบการจัดการฟาร์ม ความร่ วมมือระหว่างประเทศ - สร้างความร่ วมมื อระหว่างประเทศในด้าน การวิจยั การพัฒนาเทคโนโลยี สร้าง เครื อข่าย สร้างความร่ วมมือด้านการลดก๊าซเรื อนกระจก …………………………………………… ผลกระทบด้ ำนนำ้ กับกำรเปลีย่ นแปลงสภำพภูมอิ ำกำศ บรรยำยโดย ผศ. ดร. อำนนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยำ ผู้อำนวยกำรสำนักงำนพัฒนำเทคโนโลยีอวกำศ และภูมสิ ำรสนเทศ (องค์ กำรมหำชน) ผูบ้ รรยายเริ่ มต้นด้วยการตั้งประเด็นคาถามว่า การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเกี่ ยวข้อง อย่างไรกับน้ า และอธิบายเพิ่มเติมดังนี้ ฝนในประเทศไทย มีที่มาจาก 3 ส่ วนคือ 1. มรสุ ม จะตกใกล้พ้นื แผ่นดินที่ใกล้ทะเล ซึ่งยิง่ ห่างจากทะเลยิง่ มีฝนน้อย


~ 29 ~

2. ร่ องฝน เคลื่อนที่จากใต้ข้ ึนเหนือผ่านไทย เดือน พ.ค. – มิ.ย. จากนั้นไปจีน ทาให้ เกิดการยกตัวของความร้อน กระทบความเย็นเป็ นฝน ระลอก 2 จะกลับจากเหนือลงใต้ซ่ ึ งจะมี ความรุ นแรงมากกว่าเดิม ร่ องฝนขึ้นอยูก่ บั การแกว่งตัวของโลก 3. การหมุนเขตร้อน ระยะหลังมีฝนหลงฤดูมากขึ้น ซึ่ งอาจทาให้เกิดน้ าท่วม สาหรับ ประเทศไทยพายุแบบนี้ไม่ควรต่าหรื อมากกว่า 2 ลูก สาหรับผลกระทบต่อที่มาของน้ าในแม่น้ าโดยเฉพาะต้นน้ า เช่นแม่น้ าสาละวิน แม่น้ า เจ้าพระยา เมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไป ทาให้น้ าแข็งและธารหิ มะบนภูเขาต้นน้ าเล็กลงใน แต่ ละปี ปริ มาณน้ าจากต้นน้ าจึ งลดลง ฝนตกน้อยลงในพื้นที่ ตน้ น้ า ที่ ลึก เข้าไปในแผ่นดิ น ปริ มาณน้ าที่ลดลงทาให้พ้นื ที่ที่มีความแห้งแล้งเกิดความแห้งแล้งมากขึ้น สภาวะน้ าจากแหล่งน้ าระเหยมากขึ้น ทาให้ปริ มาณน้ าเปลี่ยนแปลงไปมาก จึงทาให้ ต้องหาข้อมูลและทาการวิจยั ปั จจัยและการเตรี ยมการรั บการเปลี่ ยนแปลงกันใหม่ สาหรั บ ประเทศไทย โดยเฉพาะการเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ ในพื้ น ที่ โ ล่ ง มี ก ารสะท้อ นความร้ อ นออกไปมาก ได้แ ก่ พื้ น ที่ ที่ ถู ก ปรั บ ส าหรั บ การเกษตร การเผาไหม้ทาให้เกิดละอองในอากาศ ละอองเกลือ พื้นที่โล่งมักมีละอองมาก ทา ให้ดูดความร้อนได้มากขึ้น แบบจ าลองทั้ง หลายที่ ทาในปั จ จุ บนั แตกต่ า งกัน ตามความเชื่ อ ของผูค้ ิ ด แบบ เช่ น นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่าต่อไปโลกจะเย็นลงจนเป็ นน้ าแข็งด้วยซ้ าไป ข้อมูลล่าสุ ด ในปี ค.ศ.2012 มีการศึกษาดัชนีของใบไม้ดูความสมบูรณ์ของใบว่ามีมาก น้อยเพียงไหน ก็จะสามารถบอกปริ มาณฝนได้ อย่างไรก็ตามการมีป่าไม้มากมีแนวโน้มทาให้ มีปริ มาณฝนเพิม่ ขึ้นอย่างเด่นชัด ……………………………………………


~ 30 ~

กำรเปลีย่ นแปลงสภำพภูมิอำกำศกับผลกระทบที่เกิดขึน้ กับระบบนิเวศและควำมหลำกหลำย ทำงชีวภำพ บรรยำยโดย ดร.ดำรงค์ ศรีพระรำม รองอธิกำรบดีฝ่ำยบริกำรวิชำกำร มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ การสู ญเสี ยและความเสื่ อมโทรมของทรัพยากรและระบบนิ เวศ การเกิดภัยพิบตั ิ ภัย แล้ง ดังที่ปรากฏในปั จจุบนั มี สาเหตุหลักคือ มนุษย์ มนุ ษย์ เป็ นตัวการสาคัญที่ทาลายความ สมดุลทางธรรมชาติ และทาให้เกิดโลกร้อน ด้วยการ ทาลายพื้นที่ป่าไม้ การเผาผลาญเชื้อเพลิง อย่างเกินสมดุล ภัยพิบัติจำกกำรเสี ยสมดุลทำงธรรมชำติ การทาลายป่ าไม้ตามธรรมชาติ มีสาเหตุจากหลายปัจจัย เช่น - การพัฒนาสาธารณูปโภค - การเพิ่มขึ้นของประชากร - ปัญหาด้านความมัน่ คง และเศรษฐกิจ - การใช้ดินที่ไม่เหมาะสม การเปลี่ยนพื้นที่ป่าให้เป็ นพื้นที่ใช้สอย ทาให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ป่าได้จดั เก็บไว้ หลักดำเนินกำรในกำรต่ อสู่ กบั ภำวะโลกร้ อน - ศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น - ปรับตัวเพื่อให้ได้ผลกระทบน้อยที่สุด - ลดสาเหตุของการการเกิดปัญหา


~ 31 ~

ผลกระทบทีเ่ กิดกับระบบนิเวศ - เกิดไฟป่ า การระบาดของแมลง การระบาดของโรคต้นไม้ ความแห้งแล้ง การเกิดพายุ ฯลฯ กำรสู ญเสี ยควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ - เมื่อเกิ ดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างรวดเร็ ว เกินกว่าระบบนิ เวศป่ าไม้จะ สามารถพัฒนาโครงสร้ า งและหน้า ที่ เพื่ อ การคงอยู่ไ ด้ทัน พื ช หรื อ สั ตว์ป่าบางชนิ ด ที่ ไ ม่ สามารถปรับตัวได้ จะค่อยๆสู ญพันธุ์ไปในที่สุด ประเทศไทยมีป่าไม้แบบ ป่ าดิบร้อนชื้ นผสมป่ าไม้ผลัดใบ หากร้อนมากขึ้นอาจกลายเป็ น แบบทุ่งหญ้าหรื อกึ่งทะเลทราย แนวทำงทีใ่ ช้ แก้ปัญหำกำรสู ญเสี ยควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ - การปลูกป่ าเชื่อมต่อ เพื่อเพิ่มความสามารถในการถ่ายเทยีน ทาให้สัตว์มีพ้ืนที่อยูอ่ าศัย เพิ่มขึ้น หรื อสามารถอพยพไปยังแหล่งที่อยูท่ ี่เหมาะสม - ฟื้ นฟูป่าโดยการปลูกไม้ทอ้ งถิ่นบนท้องที่เสื่ อมโทรม - ส่ งเสริ มการใช้ที่ดินแบบผสมผสาน เช่ น การปลูกพืชหลายชนิ ด แซมไม้ป่าบนพื้นที่ เกษตร ……………………………………………


~ 32 ~

แนวทำงกำรทำปุ๋ ยหมัก “แบบใหม่ ” ในนำเพือ่ ลดกำรเผำฟำง บรรยำยโดย ผศ.ธีระพงษ์ สว่ ำงปัญญำงกูร ผู้ อ ำนวยกำรสถำนบริ ก ำรวิ ช ำกำร คณะวิ ศ วกรรมศำสตร์ และอุ ต สำหกรรมเกษตร มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ กำรเผำฟำง ผลกระทบต่ อโลก : ปัญหำโลกร้ อนและปัญหำหมอกควัน - ประเทศไทยปล่อยก๊าซเรื อนกระจกเป็ นอันดับที่ 24 จาก 186 ประเทศทัว่ โลก - ภาคการเกษตรปล่ อ ยก๊ า ซเรื อนกระจกสู่ ชั้ นบรรยากาศอั น ดั บ 2 รองจาก ภาคอุตสาหกรรม คิดเป็ นร้อยละ 24 - ปั ญหาหมอกควันใน 9 จังหวัดภาคเหนื อตอนบน ส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพ เศรษฐกิจ สังคม การท่องเที่ยว และการคมนาคม ผลกระทบต่ อสุ ขภำพ : โรคเรื้อรัง โรคเฉียบพลัน - โรคระบบทางเดินหายใจ โรคมะเร็ ง หลอดลมอักเสบ หอบหื ด ถุงลมโป่ งพอง และ ปอดบวม - ภาคเหนือมีอตั ราผูป้ ่ วยมะเร็งปอดสู งสุ ด - โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลื อดหัวใจ การเต้นหัวใจผิดปกติ และ หัวใจวาย ผลกระทบต่ อดิน : ปัญหำดินเสื่ อม การเผาฟางทาลายโครงสร้างดิน ทาให้ดินแข็งตัว ทาลายธาตุอาหารที่สาคัญ ทาลาย อินทรี ยวัตถุ และระบบนิเวศในดิน ทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ จากการสารวจดิน 44 ชุด ในเขตภาคอีสานพบว่าดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ามาก ดินเสื่ อมคุณภาพ การทาการเกษตรจึง มีตน้ ทุนการผลิตสู ง แต่ได้ผลผลิตต่า การเผาทาลายเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ทาให้สูญเสี ยอินทรี ยวัตถุ ธาตุอาหาร และจุลินทรี ยด์ ินที่เป็ นประโยชน์จานวนมาก และยังเป็ นการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกที่ทาให้เกิด ภาวะโลกร้อน


~ 33 ~

ดังนั้น หากมีการนาเศษพืชมาผลิตเป็ นปุ๋ ยหมักในนาแทนการเผาทาลาย เท่ากับเป็ นการ หมุนเวียนจุลธาตุ ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารหลัก ให้กลับลงสู่ ดิน การกาหนดให้กองปุ๋ ยมี รู ปร่ างเป็ นรู ปสามเหลี่ยม มี ความสู ง 1.50 เมตร ทาให้สามารถสะสมความร้อนที่เกิดจาก กระบวนการย่อยสลายเอาไว้ในกองปุ๋ ยได้ เมื่ออากาศร้อน อากาศในกองปุ๋ ยลอยตัวสู งขึ้น ก็จะ ชักนาให้อากาศภายนอกที่เย็นกว่าไหลเข้าไปในกองปุ๋ ยทางด้านข้าง เท่ากับเป็ นการเติมอากาศ ตามธรรมชาติ (Passive Aeration) ให้กบั กระบวนการย่อยสลาย เป็ นไปตามหลักการทาง วิศวกรรม การพาความร้อน (Chimney Convection)หัวใจของการทาปุ๋ ยหมักวิธีน้ ีคือ การรักษา ความชื้นของกองปุ๋ ย การผลิตปุ๋ ยหมักในนาจะช่ วยลดการเผา ลดการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ลด ปั ญหาหมอกควันพิษ ลดการใช้เชื้ อเพลิงฟอสซิ ลในการขนย้ายวัสดุ การใช้ปุ๋ยหมักช่ วยเพิ่ม คุณสมบัติของดินเพาะปลูก ลดความเป็ นกรดของดิน ลดการเกิดโรคเชื้อราและโรครากเน่ า ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ลดต้นทุน เพิ่มกาไร เพิ่มศักยภาพการเกษตรอินทรี ยข์ องประเทศ ปุ๋ ยหมักที่ได้มีค่าคุณภาพเป็ นไปตามมาตรฐานปุ๋ ยอินทรี ยข์ องกรมวิชาการเกษตร ………………………… กำรเสวนำ “เตรียมตัวรับมือและปรับวิธีกำรดำรงชีวติ อย่ ำงไร” ผูอ้ ภิปราย ศ.ดร.เกษม จันทร์ แก้ว ผู้เชี่ยวชำญด้ ำนสิ่ งแวดล้อม มูลนิธิชัยพัฒนำ ดร.วีระชัย นำควิบูลย์ วงศ์ เลขำธิกำรสำนักงำนกำรปฏิรูปทีด่ ินเพือ่ เกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นำยธีรพล ดิรวศิน ประธำนกลุ่มอุตสำหกรรมกำรจัดกำรเพือ่ สิ่ งแวดล้อม สภำอุตสำหกรรมแห่ งประเทศไทย

ผูด้ าเนินรายการ

รศ.ดร.กันฑรีย์ บุญประกอบ คณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำมคำแหง นำยธนินวัฒน์ พัฒนวีรคุณ พิธีกรรำยกำรทีวี 360 องศำ ครอบครัวข่ ำว 3 สถำนีวทิ ยุโทรทัศน์ ไทยทีวสี ี ช่อง 3


~ 34 ~

กำรปรับตัวต่ อผลกระทบจำกกำรเปลีย่ นแปลงสภำพภูมอิ ำกำศ ปั ญหาภัยพิบตั ิ ทางธรรมชาติ มีความรุ นแรงเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ต้องเตรี ยมตัวรับมื อและ ปรั บวิธีก ารด ารงชี วิต ให้อ ยู่ก ับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ ลดโลกร้ อน แผ่นดิ น ไหว ดิ น ถล่ ม สารพิษ ปนเปื้ อน ลงให้เหลือน้อยที่สุด สาเหตุเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลก ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงการใช้ดิน การเพิ่มขึ้น ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ อันเกิดจากการเผาป่ า กระบวนการผลิตพลังงาน การ คมนาคม การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งรวมถึงทิศทางลม พายุ และน้ าแข็งในขั้วโลก ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภู มิอากาศที่เกิดขึ้น เนื่ องจากความรุ นแรงของสภาพ อากาศและเหตุการณ์ภูมิอากาศ ตามความคาดการณ์ ถึง กลางและปลายศตวรรษที่ 21 โดยไม่ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงใดๆ หรื อการพัฒนาความสามารถในการปรับตัว อาจทาให้ พ้ืนดิ น ส่ วนใหญ่อุ่นขึ้น วัน – คืน ที่เย็นลดลง วัน – คืนที่ร้อนเกิดบ่อยครั้งขึ้น เกิดคลื่นความร้อนใน พื้นดิน บ่อยครั้ง ฝนตกหนักบ่อยครั้ง ส่ งผลให้ผลผลิตพืชในเขตร้อนลดลง การระบาดของ แมลงเพิ่มขึ้น อันตรายจากไฟป่ าเพิ่มขึ้น ดิ นถูกชะล้าง มีปัญหาด้านคุ ณภาพน้ า แหล่งน้ าใช้ ปนเปื้ อนมนุษย์เสี ยชีวติ เนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนและเย็น ผลกระทบต่ อคุณภำพและปริมำณนำ้ เปลีย่ นแปลง - การระเหยของน้ า และน้ าทะเลหนุ น มี ผ ลต่ อ น้ าใช้ ใ นครั ว เรื อน การเกษตร อุตสาหกรรม น้ าท่วมและภัยแล้วจากความปรวนแปรของน้ าฝน แนวทำงกำรปรับตัว - สร้างแนวป้ องกันน้ าท่วม - วางแผนการจัดการทรัพยากรน้ าเพื่อรับมือกับภัยแล้ง น้ าท่วม - เพิ่มประสิ ทธิภาพการกระจายน้ าไปยังผูใ้ ช้ ผลกระทบต่ อทรัพยำกรป่ ำไม้ และควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ - โครงสร้างป่ าไม้เปลี่ยนแปลง มีผลต่อสมดุลของระบบนิเวศ - พืชและสัตว์บางชนิดอาจสู ญพันธุ์ - สุ ญเสี ยความหลากหลายทางชีวภาพ แหล่งพันธุกรรมและผลผลิตป่ าไม้ลดลง


~ 35 ~

แนวทำงกำรปรับตัว - รักษาพื้นที่ธรรมชาติให้คงอยู่ - เชื่อมโยงพื้นที่อยูอ่ าศัย สร้างเส้นทางอพยพของพืชและสัตว์ ผลกระทบต่ อผลผลิตกำรเกษตร - อุณหภูมิเพิ่มขึ้น ภัยแล้ง น้ าท่วม - ปริ มาณและการกระจายน้ าฝนเปลี่ยนแปลง - การระบาดของแมลงเพิ่มขึ้น - ผลผลิตลดลง แนวทำงกำรปรับตัว - ปรับพื้นที่และเวลาเพาะปลูก - ปรับปรุ งคัดสายพันธุ์พืชที่เหมาะสมกับสภาพอากาศ - รวบรวมพันธุกรรมของท้องถิ่น เพื่อใช้ในการปรับปรุ งพันธุ์ - สร้างระบบป้ องกันความเสี ยหายของผลผลิตการเกษตร กำรรับมือและปรับวิธีกำรดำรงชีวติ ในปัจจุบันและอนำคต - อาหาร ต้องระมัดระวังในการบริ โภค ต้องได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่ างกาย - ที่อยูอ่ าศัย หลีกเลี่ยงการตั้งถิ่นฐานที่ก่อให้เกิดความรุ นแรงของมลพิษสิ่ งแวดล้อม - ยารักษาโรค ต้องระมัดระวังในการซื้อและทานยา ต้องพบแพทย์เสมอ - เครื่ องนุ่งห่ม อย่าใช้เครื่ องนุ่งห่มเพราะความสวยงามหรื อไม่ระมัดระวัง - พลัง งาน ยัง ขาดการสนับ สนุ น จากภาครั ฐ ในการเสริ ม สร้ า งความยัง่ ยืน เกี่ ย วกับ พลังงานจากน้ า ลม แสงอาทิตย์ ไบโอดีเซล - ความสะดวกสบาย - ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน


~ 36 ~

แนวทำง ปฏิบัติในกำรดำรงชีวติ ของคนไทยในอนำคต - การเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อดูดซับความร้อน ลดก๊าซเรื อนกระจก การควบคุมระบบนิเวศ ป่ าเมือง อุตสาหกรรม คมนาคม ให้มีพืชสี เขียวเป็ นองค์ประกอบหลักในทุกสถานที่ - ควบคุมการปนเปื้ อนของมลสารในการทา เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และชุมชนเมือง ด้วยการทาให้ น้ าสะอาด อากาศดี เสี ยงเบา การสร้างระบบบาบัดน้ าเสี ย - ควบคุมการหมักหมมของขยะมูลฝอย - สร้างจิตสาธารณะให้กบั สังคม - การดารงชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวพระราชดาริ คือน้อมนาแนวปฏิบตั ิอย่างยัง่ ยืนมา ใช้ ตั้ง แต่ การเก็บสะสม การรั ก ษา การฟื้ นฟู การป้ องกัน การพัฒ นา มาใช้ด้ว ย ลักษณะกิจวัตรประจาวัน แนวทำงกำรแก้ไข ภำครัฐ : ต้องเข้ามาบริ หารจัดการ มีแผนรับมือเพื่อลดผลกระทบ รวมทั้งมีนโยบายน้ า ดิน สาธารณสุ ข พลังงาน พร้อมทั้งสนับสนุนด้านงบประมาณบุคลากรที่มีความชานาญเฉพาะ ด้าน รวมถึง การสนับสนุนเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อบูรณาการร่ วมกัน ภำคประชำชน : ทุกครัวเรื อนต้องเตรี ยมความพร้อมและรับรู ้ขอ้ มูลว่าอะไรจะเกิด ขึ้นกับเรา ดู ขอ้ มูลจากอดี ตถึงปั จจุบนั และสามารถทานายได้ว่า อะไรจะเกิ ดขึ้นในอนาคต พร้อมทั้งช่วยเหลือตนเองในขณะที่ภาครัฐยังไม่ได้ให้การสนับสนุนใช้ทรัพยากรท้องถิ่น อย่าง รู ้คุณค่า และให้เกิดความสมดุล ภำคกำรเกษตร : นาการเกษตรแบบอินทรี ยม์ าใช้ เนื่องจากพิสูจน์แล้วา่ ไม่ทาให้ผลผลิต ลดน้อยลงไม่ทาลายทรัพยากร ไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ ลดการพึ่งพาคนอื่นโดยใช้หลัก ข้าว / ผัก / ปลา (ปลูกข้าว + ผัก + เลี้ยงปลาในพื้นที่จากัดได้)


~ 37 ~

ขยะ นำ้ เสี ย สิ่ งแวดล้อมทีเ่ ป็ นพิษ วันนี้ประชากรของประเทศผลิตขยะ 15 ล้านตัน ต่อปี จากจานวนประชากร 64 ล้านคน ในด้านอุตสาหกรรม 20 ล้านตัน มลพิษจากขยะ ทาให้เราไม่สามารถใช้ดินที่ฝังกลบขยะทิ้งได้ รวมทั้งมลพิษทางกลิ่น ค่อนข้างแรงมากในทุกวันนี้ ปัญหำ - ไม่กาจัดขยะให้ถูกวิธี - การลักลอบทิง้ ขยะ - ไม่มีคดั แยกขยะ แนวทำงแก้ไข ภำคประชำชน : รณณรงค์ให้มี 3 R (Reuse,Recycle,Reduce) ให้ความรู ้ในเรื่ องการคัด แยกขยะ และให้ความรู ้ในเรื่ องผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อม ภำครัฐ : ต้องยอมรับความจริ งปัญหาขยะ และนามาเป็ นวาระแห่งชาติ ควบคุมขยะที่มีมลพิษ ขยะอันตราย, สนับสนุนให้มีโรงงานย่อยขยะที่ได้มาตรฐาน,มีนโยบาย ชัดเจนในการคัดแยกขยะ, สนับสนุนให้ประชาชนคัดแยกขยะจากครัวเรื อน ปั จจุบนั โลกเปลี่ ยนแปลง และมีผลกระทบต่อมนุ ษย์ เพราะมนุ ษย์ทาร้ ายธรรมชาติ แนวคิดทั้งหมดทาให้เราต้องเรี ยนรู ้ ปรับตัว พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเนื่ องจากภัยอยูใ่ กล้ตวั เราแต่เรามองไม่เห็น มนุษย์จึงต้องตระหนักในเรื่ องดังกล่าวให้มากยิง่ ขึ้น ……………………………………………………… 5.สรุปรำยละเอียดกำรประกวดนวัตกรรม การประกวดนวัตกรรม ในงานมหกรรม “ทีวรี ักษ์โลก 360 องศา 2013 Save the World Expo” ภายใต้แนวคิด “Learn to Live in the World of Change” ระหว่างวันที่ 20 - 22 เมษายน พ.ศ. 2556 ณ อิมแพ็ค อารี น่า เมืองทองธานี สรุ ปได้ดงั นี้


~ 38 ~

1.รอบคัดเลือก จากจานวนชิ้ นงานที่ ส่งเข้าประกวด คัดเลื อกผลงานเข้าสู่ รอบตัดสิ นมี ชิ้นงานผ่าน เข้ารอบทั้งหมด 13 ชิ้นงาน จาก 9โรงเรี ยน ดังรายละเอียดในตารางที่ 1 ตำรำงที่ 1 ผลงานที่ผา่ นเข้ารอบการประกวด จำนวน ชื่อผลงำน ชิ้นงำน

ลำดับ โรงเรียน

อำจำรย์ ทปี่ รึกษำ

1

โรงเรี ยนดอนจานวิทยาคม

อ. ชุมพล ชาลีแสน

1

2

โรงเรี ยนสุ ราษฎร์พิทยา

อ. สุ วารี พงศ์ธีระวรรณ

1

3

โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาภาคใต้

อ. อุไรรัตน์ ช้างทรัพย์

2

4

โรงเรี ยนคลองท่อมราษฎร์รังสรร

อ. วิชิต รัตนากาญจน์

2

5 6 7

โรงเรี ยนร่ มเกล้า โรงเรี ยนศรี ประจันต์เมธีปนะมุข โรงเรี ยนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

อ. ศิริ เอียดตรง อ. สุ พตั รา บุญเมือง อ. กิติพงษ์ สุ ขพงษ์ไทย

1 1 2

9

โรงเรี ยนสารวิทยา

อ. เกศกัญญา สี เลา

2

รวม

13

การผลิตก้อนเชื้อเพลิง อุ่นอาหารจาก กากมะพร้าว แผ่ น เยื่ อ คอมโพสิ ตชนิ ด ย า ง พ า ร า แ บ ค ที เ รี ย เซลลูโลส เครื่ องจักรไอน้ า (Steam Engine ) เครื่ องรดน้ าต้ น ไม้ ด้ ว ย พลังงานแสงอาทิตย์ เครื่ องผลิ ตไฟฟ้ าพลัง งาน ร่ วมและบาบัดน้ าเสี ย เ ค รื่ อ ง ร ด น้ า ต้ น ไ ม้ อัตโนมัติ 2 ระบบ เครื่ องชาร์จพกพา เรื อรักษ์น้ า กลจักรน้ าลม เรื อตู จักรเยือ Electronic drive


~ 39 ~

2. รอบตัดสิ น พิจารณาชิ้ นงานที่ผ่านการพิจารณาในรอบคัดเลือกจากรายละเอียดฉบับ สมบูรณ์ การนาเสนอ และการตอบข้อซักถาม โดยชิ้ นงานที่ผ่านการคัดเลือกจะต้องมา นาเสนอผลงาน ณ สถานที่จดั งาน ระหว่างวันที่ 21-22 เมษายน พ.ศ. 2556 2.1 คณะกรรมการตัดสิ น อาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่ งเอเชีย และผูแ้ ทนจาก สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง3 รวมเป็ น 7 ท่าน 2.2 เกณฑ์การตัดสิ น 1) แนวคิดและความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ 2) ความเหมาะสมในการเลือกใช้วสั ดุ 3) เทคนิคการประดิษฐ์ (ขนาด องค์ประกอบ ความสวยงาม ความคงทน ฯล) 4) การนาไปใช้ประโยชน์ 2.3 สื่ อในการนาเสนอผลงาน ผูน้ าเสนอผลงานนาเสนอผลงานด้วยสื่ อประเภท PowerPoint กาหนดระยะเวลา 20 นาที ต่อชิ้นงาน และตอบคาถาม 10 นาที ต่อชิ้นงาน (ลาดับการนาเสนอจะทาการจับฉลากใน วันที่ 20 เมษายน 2556) 3. รางวัล ชนะเลิศ รองชนะเลิศอันดับที่ 1 รองชนะเลิศอันดับที่ 2 รางวัลชมเชย 4 รางวัล

เงินรางวัลมูลค่า 10,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตร เงินรางวัลมูลค่า 7,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตร เงินรางวัลมูลค่า 5,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตร เงินรางวัลมูลค่า 3,000 บาท พร้อมประกาศนียบัตร


~ 40 ~

4. ผลการประกวดรอบชิงชนะเลิศ มีรายละเอียดในตารางที่ 2 ตำรำงที่ 2 ผลการประกวด รำงวัล 1 2 3

โรงเรียน โรงเรี ยนคลองท่อมราษฎร์รังสรร โรงเรี ยนศรี ประจันต์เมธีปนะมุข โรงเรี ยนสารวิทยา โรงเรี ยนคลองท่อมราษฎร์รังสรร โรงเรี ยนสุ ราษฎร์พิทยา

ชมเชย โรงเรี ยนร่ มเกล้า โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาภาคใต้

ชื่อผลงำน เครื่ องผลิตไฟฟ้ าพลังงานร่ วมและบาบัดน้ าเสี ย เรื อรักษ์น้ า Electronic drive เครื่ องรดน้ าต้นไม้อตั โนมัติ 2 ระบบ แผ่ น เยื่ อ คอมโพสิ ตชนิ ด ยางพาราแบคที เ รี ย เซลลูโลส เครื่ องชาร์จพกพา เครื่ องรดน้ าต้นไม้ดว้ ยพลังงานแสงอาทิตย์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.