Basic ubuntu

Page 1

เอกสารประกอบการอบรม อูบุนตูลีนุกซ์เบื้องต้น

20 ก.ย. 2553 ผู้จด ั ทำาเอกสาร นายอวยชัย ไชยถา ประธานชมรมโอเพนซอร์สล้านนา

www.lannaoss.org หนั งสือเล่มนี้จัดทำาเพื่อการเผยแพร่โอเพนซอร์ส โดยไม่คิดมูลค่า สามารถนำ าไปประกอบการเรียนการสอนได้

ห้ามนำ าไปพิมพ์เพื่อจัดจำาหน่ ายเชิงพาณิ ชย์โดยไม่ได้รับอนุญาต


หน้าที่ 2/42

คำำนำ ำ เอกสารประกอบการอบรมอูบุนตูลีนุกซ์เบื้องต้นนี้ มีจุดมุ่งหมายให้ผู้รับการอบรม

ได้เข้าถึงเนื้ อหาความเป็ นมาของลีนุกซ์และโอเพนซอร์ส เพื่อให้ผู้รับการอบรมเข้าใจถึง

ความเป็ นมาของลีนุกซ์ และแนวทางของโอเพนซอร์ส ความรู้ท่ไี ด้จากการอบรม จะเน้ น ภาคปฏิบัติ ทำาให้ผู้ท่ไี ด้รับการอบรม สามารถนำ าไปทำางาน นำ าไปปฏิบัติในชีวิตประจำาวัน

การทำางานในสำานั กงาน และการเรียนการศึกษาได้ ตลอดจนสามารถนำ าไปสู่สังคมของโอ เพนซอร์ส ซึ่งเป็ นสังคมที่สอนให้รู้จักการให้และการรับ แบ่งปั นความรู้ความเข้าใจแก่ซ่ งึ

กันและกัน จุดประสงค์ของการอบรมเพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีความรู้ เกี่ยวกับโอเพนซอร์ส รู้จักโลกกว้างของโอเพนซอร์ส มีซอฟต์แวร์แจกฟรีโดยไม่คิดมูลค่า และไม่มีกำาหนด

เงื่อนไขในการใช้งาน ซึ่งมีปริมาณมากมายมหาศาลในอินเทอร์เน็ต ในการจัดทำาหนั งสือ เล่มนี้ ผมได้น้องรณชัย ดำารงศิลป์ (Teedev@Ubuntuclub.com) เข้ามาช่วยเหลือผมใน การจัดทำาเอกสาร และมีอีกหลายๆ ท่าน ได้เข้ามาช่วยตรวจทานเอกสาร ซึ่งช่วยลดขัน ้ ตอนการทำางานของผมไปได้มาก ก็ขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้

ผมเองในฐานะประธานชมรมโอเพนซอร์สล้านนา มีความตัง้ ใจที่จะพัฒนา

และเสริมสร้างโอเพนซอร์ส จึงหวังว่าคู่มือการอบรมฉบับนี้ จะสามารถเสริมสร้างความ เข้าใจอันดีของผู้เข้าอบรมต่อโอเพนซอร์สได้เป็ นอย่างดี ขอแสดงความนั บถือ

อวยชัย ไชยถา ประธานชมรมโอเพนซอร์สล้านนา ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 3/42

สารบัญ

หน้ าที่

คำานำ า

2

เนื้ อหาความรู้เกี่ยวอูบุนตูเบื้องต้น

4

โครงสร้างของลีนุกซ์แบบพื้นฐาน

7

การติดตัง้ อูบุนตู(ubuntu)

8

การปรับแต่ง

20

โครงสร้างไฟล์ของลีนุกซ์เปรียบเทียบกับวินโดวส์

35

การใช้ command line

38

บรรณานุกรม

42

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 4/42

เนื้ อหำควำมรู้เกี่ยวอ้บุนต้เบื้องตูน

ลีนุกซ์เป็ นระบบปฏิบัติการชนิ ดหนึ่ ง เหมือนกับวินโดวส์หรือว่า Mac ที่ระบบมี ความแตกต่างกันในเรื่องของโครงสร้างและการใช้งาน แต่ส่ิงที่เหมือนกันทัง้ สามระบบ ก็คือเป็ น

GUI หรือเรียกว่า Graphics User Interface คือมีการใช้งานในลักษณะของกราฟฟิ ค คือมีภาพ ตอบสนอง ต่อการใช้งาน พูดง่ายๆ คือว่าสามารถใช้ mouse ได้นั่นเอง ลีนุกซ์เป็ นระบบหนึ่ งที่ ไม่คอ ่ ยจะมีใครรู้จัก เพราะปั จจุบันนี้ยังมีผู้ใช้งานที่ถอ ื ว่าเป็ นส่วนน้ อย แต่มีข้อดีก็คือฟรี และ

ความปลอดภัยสูงเป็ นอันดับหนึ่ ง จึงคาดว่าในอนาคต คนที่สนใจลีนุกซ์จะเพิ่มมากขึ้นทุกๆ วัน ลีนุกซ์เป็ นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาในแนวคิดของ Unix ซึ่งผู้ พัฒนาก็คือนายไลนั ส เบนดิก เทอร์วัล (Linus Benedict

Torvalds) ตอนนั ้นพัฒนา Unix สำาหรับเครื่องพีซีแล้วแจกจ่าย ออกไป จึงเกิดความนิ ยมกันทัว่ จนเรียกติดปากว่าลีนุกซ์ ซึ่งเป็ น ชื่อย่อของไลนั สนั่ นเอง ต่อมาจึงถูกชักชวนให้เข้าร่วมขบวนการ

ซอฟต์แวร์เสรี (http://en.wikipedia.org/wiki/Linus_Torvalds)

ซึ่งอยู่ในมูลนิ ธิโครงการซอฟต์แวร์เสรี ของ ดร. ริชาร์ด แมทธิว สตอลแมน (Richard Matthew Stallman)ผู้ก่อตัง้ แนวคิดของ

GNU เป็ นผู้ให้กำาเนิ ดแนวคิดของ copy left ซึ่งจะตรงข้ามกับ copy right คือปกป้ องสิทธ์ของตนเอง สร้างข้อจำากัดในการใช้

งาน สาเหตุท่ี สตอลแมนคิดแนวคิดนี้ขึ้นมา เนื่ องจากตนเองไม่

สามารถหา Driver Printer ได้ ทัง้ ๆ ที่ตัวเขาเองเป็ นคนที่มีความ สามารถในด้านคอมพิวเตอร์ จึงต้องการหลีกจากการจำากัดสิทธ์ใน การใช้งาน ไปสู่แนวคิดของซอฟต์แวร์เสรี ที่ไม่มีข้อจำากัดการใช้ งาน (http://en.wikipedia.org/wiki/Richard_Stallman) ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 5/42

มาร์ค ชัธเธิลเวิร์ธ (Mark Shuttleworth) มหา เศรษฐีชาวอัฟริกัน ผู้ก่อตัง้ บริษัทคาร์นอนิ

คัล(Canonical) ซึ่งเป็ นบริษัทที่ผลิตอูบุนตู ได้มี แนวคิดในการสร้างลีนุกซ์ท่ใี ช้งานง่าย จนเกิดเป็ น อูบุนตูลีนุกซ์ อูบุนตูถึงแม้จะแจกฟรี แต่ก็

สามารถหารายได้จากผู้สนั บสนุน และจากงาน

บริการให้คำาปรึกษาในการใช้งานทางโทรศัพท์ ซึ่ง จะสามารถพัฒนาได้อย่างยัง่ ยืน

อูบุนตูเป็ นภาษาบานตู มีความหมาย ที่สวยงามมาก ใช้ความหมายที่ใกล้เคียงในภาษา อังกฤษว่า “I am what I am because of who we all are.” (http://www.ubuntu.com/project/about-ubuntu)

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 6/42

อูบุนตูลีนุกซ์เปลี่ยนภาพลักษณ์ของลีนุกซ์ ที่แต่เดิมใช้งานยาก ที่คิดว่าจะมี

แต่ผู้ท่เี ชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการติดต่อสื่อสาร กับผู้ใช้ในลักษณะที่คิดว่า ผู้ใช้งานทัว่ ไปจะต้องใช้งานได้ อูบุนตูสามารถตอบสนองใน

หลายๆ งานไม่ว่าจะเป็ นการใช้งานอินเทอร์เน็ต ดูหนั ง ฟั งเพลง เล่นเกมส์ เหตุนี้อูบุนตู ลีนุกซ์จึงเป็ นที่นิยมและได้รับความสนใจจากคนทัว่ ไป ปั จจุบันนี้ผู้ผลิตและผู้ผลิต

คอมพิวเตอร์หลายแห่ง ให้ความสนใจและสนั บสนุนให้ อูบุนตูติดตัง้ ไปกับผลิตภัณฑ์ของ ตน อูบุนตูลีนุกซ์มีเว็บไซด์ทางอินเทอร์เน็ต อยู่ท่ี www.ubuntu.com สำาหรับกลุ่มผู้ใช้

งาน อูบุนตูท่ใี หญ่ท่ส ี ุดในประเทศไทยอยู่ท่ี www.ubuntuclub.com และได้รบ ั การรับรอง อย่างเป็ นทางการจากบริษัทคาร์นอนิ คัล

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 7/42

โครงสร้างของลีนุกซ์แบบพื้นฐาน

จากรูปข้างบน เราจะเห็นโครงสร้างของลีนุกซ์อย่างง่าย สิ่งที่เราเห็นตรงกลางนั ้นคือ Hardware Hardware คืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะมีหลากหลายร่น ุ หลากหลายยี่ห้อ มีความแตกต่างกัน

แต่ส่งิ ที่จะทำาให้ Hardware สามารถทำางานได้ โดยไม่เกิดความแตกต่างกันก็คือ Kernel จะเป็ น ตัวกลางประสานงานให้โปรแกรม(Application)กับระบบอุปกรณ์(Hardware)ให้สามารถสื่อสาร กันได้ ซึ่งผู้พัฒนา Kernel ก็คอ ื ไลนั ส มีเวบไซด์อยู่ท่ี www.kernel.org

ส่วนที่ถัดมาก็คือ shell และ x-windows คือส่วนที่ติดต่อกับผ้ใู ช้ สำาหรับลีนุกซ์

แล้วจะมีอยู่หลายๆ shell และ x-windows ให้เลือก x-windows ที่มีช่ อ ื เสียงที่สุดก็คือ Gnome(www.gnome.org) ที่ใช้กับ Ubuntu

ส่วนโปรแกรมต่างๆ นั ้นเราเรียกมันว่า Application ซึ่งมีหลากหลายให้เลือกเช่นกัน ซึ่ง

ในปั จจุบันเราจะเห็นว่า มีการพัฒนา Application หรือโปรแกรมที่สามารถทำางานบนระบบ ปฏิบัตก ิ ารลีนุกซ์ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 8/42

การติดตัง้ อูบุนตู(ubuntu) ในการติดตัง้ ubuntu นั ้นเราต้องปรับ BIOS ให้ boot จาก CD-ROM ซึ่งแต่ละ

เครื่องจะมีวิธีการปรับที่แ ี ตกต่างกันไป เราจึงไม่ขอยกตัวอย่างในหนั งสือเล่มนี้ เมื่อเราปรับ

BIOS แล้ว เราก็ใส่แผ่นโปรแกรม Ubuntu 10.04 ลงไปที่ซีดีรอมแล้วก็ปล่อยให้เครื่องทำางาน ก็จะปรากฏหน้ าจอดังรูปที่ 1

รูปการติดตัง้ รูปที่ 1 ซึ่งจะปรากฏเมนูให้เราเลือกภาษา ถ้าเราอยากจะให้การติดตัง้ นั ้นให้ดูง่าย ให้เราเลือก Thai ซึ่ง จะทำาให้เมนูการติดตัง้ เป็ นภาษาไทย ดังรูปที่ 1

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 9/42

จากนั ้นเมื่อเราเลือก Thai แล้ว ก็จะปรากฏเมนูตา่ งๆ ให้เราเลือก ดังรูปที่ 2

รูปการติดตัง้ รูปที่ 2 ให้เราเลือก Try Ubuntu without installing เพื่อให้เราลองใช้งาน ubuntu ก่อนที่จะติดตัง้ ลง บนเครื่อง

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 10/42

จากนั ้นเราก็จะเข้าสู่ระบบปฏิบัตก ิ าร ubuntu โดยที่เรายังไม่ได้ติดตัง้ ลงบนเครื่อง ดังรูปที่ 3

รูปการติดตัง้ ubuntu รูปที่ 3 ซึ่งตรงนี้่เราจะสามารถใช้งานได้ ไม่ว่าจะเป็ นการเปิ ดอินเทอร์เน็ต พิมพ์งาน หรือ ใช้โปรแกรมอื่นๆ ถ้าเราแค่ต้องการใช้งาน Ubuntu ไม่ต้องการติดตัง้ เราก็สามารถสัง่ ปิ ดเครื่อง

แล้วเอาแผ่นออก เครื่องก็จะทำาการปิ ด แต่ถ้าหากว่าทดลองใช้งานแล้ว เห็นว่าโปรแกรมนี้ดี เรา ก็สามารถคลิก ๊ ที่ ติดตัง้ Ubuntu 10.04 เพื่อติดตัง้ โปรแกรม

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 11/42

หลังจากที่เรา Double Click แล้วก็จะปรากฏหน้ าต่างขึ้นมาดังรูป

การติดตัง้ ubuntu รูปที่ 4 ในตรงนี้ให้เราเลือกภาษาไทย ซึ่งจะทำาให้คำาอธิบายกลายเป็ นภาษาไทย ซึ่งจะง่าย ต่อการอ่านและทำาความเข้าใจ จุดนี้จะเป็ นขัน ้ ตอนที่ 1 จากทัง้ หมด 7 ขัน ้ ตอน จากนั ้นก็กดป่ ุม ถัดไป

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 12/42

จากตรงนี้ก็จะปรากฏหน้ าต่าง ซึ่งให้เราระบุตำาแหน่ งของประเทศที่เราอยู่ในขณะนี้

การติดตัง้ ubuntu รูปที่ 5 จากตรงนี้ให้เรากดเลือกในแผนที่ไปยังประเทศไทย ตรงภูมิภาคให้เราเลือก เอเซีย และเขตเวลาให้เราเลือก ไทย ซึ่งเป็ นเวลาของประเทศไทย จากนั ้นให้เรากดป่ ุม ถัดไป

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 13/42

เราก็จะเข้าสู้หน้ าต่างโต้ตอบ ซึ่งจะถามเกี่ยวกับผังแป้ นพิมพ์ ให้เราเลือก ตัวเลือกที่ แนะนำ ำ

การติดตัง้ ubuntu รูปที่ 6 จากตรงนี้เราสามารถทดสอบการพิมพ์ได้ ว่าพิมพ์ออกมาได้ถูกต้องหรือไม่ จากนั ้น

ให้เรากด ถัดไป เพื่อไปสู่ขน ั ้ ตอนต่อไป

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 14/42

ขัน ้ ตอนนี้จะเป็ นการเตรียมพื้นที่ดิสก์ สำาหรับการจัดการ Harddisk โดยที่เราจะ สามารถกำาหนด partition ต่างๆได้ ดังรูปที่ 6

การติดตัง้ ubuntu รูปที่ 7 ให้เราเลือก ลบและใชูพ้น ื ที่ดิสก์ทงั้ หมด ซึ่งจะทำาให้เครื่องของเรามีแต่ Ubuntu สิ่ง

ที่เราจะต้องระวังตรงนี้กค ็ ือว่า เราจะต้องทำาการสำารองข้อมูลทัง้ หมดที่อยู่ในเครื่อง ก่อนมาถึงขัน ้ ตอนนี้ เพราะถ้าข้อมูลหายไปแล้ว เราจะไม่สามารถกลับมาแก้ไขอะไรได้อีก จากนั ้นเราก็กด ถัด ไป เพื่อไปสู่ขน ั ้ ตอนที่ 5

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 15/42

ในขัน ้ ตอนที่ 6 จะปรากฏหน้ าต่างในส่วนของการติดตัง้ โดยจะถามว่าคุณชื่ออะไร ให้เราพิมพ์ช่ อ ื และนามสกุลของเราเป็ นภาษาอังกฤษ จากนั ้นก็จะเอาชื่อเราไปตัง้ เป็ น user สำาหรับ login เข้าสู่ระบบปฏิบัติการ ubuntu

การติดตัง้ ubuntu รูปที่ 8 ซึ่งตรงนี้เราจะต้องใส่รหัสผ่านสองครังั ้ เพื่อให้แน่ ใจว่ารหัสผ่านที่เราใส่ไปถูกต้อง ไม่ผิดพลาด พอเสร็จขัน ้ ตอนนี้แล้วให้เรากดป่ ุม ถัดไป เพื่อไปสู่ขน ั ้ ตอนสุดท้าย

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 16/42

ในตรงนี้จะปรากฏขัน ้ ตอน โยกย้ายเอกสารและการปรับแต่ง ดังรูปที่ 8

รูปการติดตัง้ ubuntu รูปที่ 9 ในขัน ้ ตอนนี้เป็ นการเลือกเอกสารและการปรับแต่งจากระบบปฏิบัตก ิ ารวินโดวส์ไป

ยังระบบปฏิบัตก ิ าร Ubuntu Linux ถ้าหากว่าไม่มีอะไรให้เลือก ให้เรากดป่ ุม ถัดไป

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 17/42

ในตรงนี้จะปรากฏหน้ าต่างโต้ตอบ ซึ่งจะเป็ นการสรุปทัง้ หมดว่าเราเลือกติดตัง้ อะไรลงไปแล้ว

รูปการติดตัง้ รูปที่ 10 ในขัน ้ ตอนสุดท้ายนี้ ถ้าหากว่าเราแน่ ใจว่าเราเลือกถูกต้องแล้ว ให้เรากดป่ ุม ติดตัง้ เพื่ิอติดตัง้ โปรแกรมทัง้ หมดลงไปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 18/42

ในขัน ้ ตอนนี้เป็ นขัน ้ ตอนที่โปรแกรมได้ดำาเนิ นการติดตัง้ และปรับแต่ง ubuntu

รูปการติดตัง้ รูปที่ 11 ซึ่งในขัน ้ ตอนสุดท้าย ถ้าหากว่าการติดตัง้ สำาเร็จสมบูรณ์ 100% แล้ว ก็จะปรากฏ หน้ าต่างดังรูปการติดตัง้ รูปที่ 12

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 19/42

หากปรากฏหน้ าต่างตรงนี้ขึ้นมาแล้ว ก็แสดงว่าการติดตัง้ เสร็จสมบูรณ์แล้ว

รูปการติดตัง้ รูปที่ 12 โปรแกรมติดตัง้ ก็จะผลักแผ่นออก ให้เราเอาแผ่นออก จากนั ้นกดป่ ุม เริ่มระบบ ใหม่ตอนนี้ ก็จะเป็ นการ Restart เครื่อง เพื่อเข้าส่โู ปรแกรม ubuntu ที่เราได้ทำาการติดตัง้ ไว้

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 20/42

การปรับแต่ง การปรับแต่ง Network ในการปรับแต่ง Network นั ้น ถ้าหากว่าเราต้องการกำาหนดค่าต่างๆ ของระบบเครือข่าย

ของเราเอง เราจะสามารถกระทำาได้โดย ไปที่เมนู System ===> Preferences ==> Network Connections จะได้ดังรูปที่ 1

ให้เรากด tab Wired เลือก Auto eth0 แล้ว กดป่ ุม Edit

รูปการปรับแต่ง Network รูปที่ 1

ก็จะปรากฏหน้ าต่างที่ช่ อ ื ว่า Editing Auto eth0 ให้เรากด tab IPv4 Settings รูปการปรับแต่ง Network รูปที่ 2

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 21/42

ซึ่งตรงรูปนี่ จะเห็นว่าตรง Method ปรากฏคำา

ว่า Automatic (DHCP) ซึ่งตรงนี้จะเป็ นการ รับค่าโดยอัตโนมัติ ให้เราเปลี่ยนเป็ น Manual รูปการปรับแต่ง Network รูปที่ 3

ในขัน ้ ตอนนี้ในกรณี ท่เี ราเปลี่ยนเป็ น Manual แล้ว เราสามารถใส่ค่า address ก็คอ ื ค่า IP

Address และ Netmask Gateway และระบุ ค่า DNS server ดังรูปตัวอย่างที่ 4 รูปการปรับแต่ง Network รูปที่ 4

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 22/42

ในขัน ้ ตอนนี้เราจะต้องใส่รหัสผ่าน เพื่อให้ สิทธิอนุญาตแก่โปรแกรมในการแก้ไขปรับ

แต่งระบบ ซึ่งรหัสผ่านตรงนี้ คือรหัสผ่านที่ เราใส่ไว้ในหน้ าที่ 15

รูปการปรับแต่ง Network รูปที่ 5

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 23/42

การปรับแต่งแป้ นพิมพ์ ในการปรับแต่งแป้ นพิมพ์นั้น เราสามารถปรับแต่งเพื่อเพิ่มภาษาไทยเข้าไปดังนี้

ในขัน ้ ตอนแรกให้เราไปที่เมนู System ==> Preferences ==> Keyboard ก็จะปรากฏโปรแกรมดังรูปที่ 1

การปรับแต่งแป้ นพิมพ์ รูปที่ 1

จากนั ้นให้เรากด Tab Layouts จะปรากฏดัง รูปที่ 2

การปรับแต่งแป้ นพิมพ์ รูปที่ 2

ถึงตรงนี้เราจะเห็นว่า Keyboard ของเราจะ มีแต่ภาษาอังกฤษ ให้เรากดป่ ุม Add เพื่อ

เพิ่มภาษาเข้าไป ก็จะปรากฏดังรูป การปรับ แต่ง keyboard รูปที่ 3

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 24/42

การปรับแต่งแป้ นพิมพ์ รูปที่ 3

ตรงนี้จะปรากฏภาษาต่างๆ ทัว่ โลกให้เราเลือก ให้เราเลือกภาษาไทย ซึ่งเป็ นภาษาของเรา

การปรับแต่งแป้ นพิมพ์ รูปที่ 4

ซึ่งจะทำาให้แป้ นพิมพ์ของเรามีภาษาเพิ่ม ขึ้นมาอีกหนึ่ งภาษา ก็คือภาษาไทยของเรา จะ ปรากฏดังรูปที่ 4 ให้เราคลิก ๊ ตรงป่ ุม Options ก็จะปรากฏดังรูปที่ 5

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 25/42

การปรับแต่งแป้ นพิมพ์ รูปที่ 5 ในรูปนี้ เราจะเห็น Keyboard Layout

Options เราจะต้องปรับแต่งป่ ุมสลับภาษา ซึ่งให้เราคลิก ๊ ตรงป่ ุม Key(s) to change layout ก็จะปรากฏดังรูปที่ 6

การปรับแต่งแป้ นพิมพ์รป ู ที่ 6 ให้เราคลิก ๊ Key(s) to change layout

ก็จะปรากฏเมนูตา่ งๆ คลี่ออกมาดังรูป ให้ เราเครื่องหมายถูกอื่นๆ ออกทัง้ หมด ให้มี แต่เครื่องหมายถูกแต่เฉพาะตรง

Alt+shift ดังรูป ซึ่งตรงนี้หมายถึงว่าการ

กดป่ ุมสลับภาษาจะต้องกดป่ ุม Alt พร้อม กับป่ ุม shift จึงจะสลับภาษาได้

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 26/42

การปรับแต่ง keyboard รูปที่ 7

ให้เรากดป่ ุม Use keyboard LED to show alternative layout แล้วให้เครื่องหมายถูก ตรง ScrollLock เพื่อเวลาที่แป้ นของเรา เป็ นภาษาไทย ไฟตรง ScrollLock จะ ปรากฏขึ้นให้เราเห็น

การปรับแต่ง keyboard รูปที่ 8 ในขัน ้ ตอนนี้จะเป็ นการทดสอบว่าการปรับ แต่งของเราสามารถใช้งานได้หรือไม่ โดย การพิมพ์ข้อความตรง Type to test

settings แล้วลองใช้ปุ่มสลับภาษา Alt พร้อมกับป่ ุม shift ว่าจะสามารถใช้งานได้ หรือเปล่า ถ้าหากว่าการปรับแต่งสมบูรณ์ ให้กดป่ ุม close เพื่อออกจากโปรแกรม

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 27/42

การปรับแต่งเม้าส์ ในการปรับแต่งเม้าส์ ซึ่งบางคนมีความถนั ดซ้าย หรือว่าถนั ดขวาไม่เหมือนกัน ซึ่ง

การปรับแต่ง จะกระทำาได้โดยการกดป่ ุมที่เมนู System==> Preferences ==> Mouse จะปรากฏโปรแกรม ให้เราปรับแต่งดังรูป

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 28/42

การปรับแต่ง Fonts , theme , visual effect , background การปรับแต่ง Fonts , theme , visual effect และ background สามารถกระทำาได้ง่ายๆ

โดยการคลิก ๊ ขวาที่หน้ าจอ แล้วเลือก Chang Desktop Background ก็จะปรากฏโปรแกรมดังรูป

ตรงนี้เราสามารถที่จะเลือกปรับแต่ง Background หรือว่ารูปแบบใดๆ ที่เราต้องการ

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 29/42

การปรับแต่ง Dock bar ให้เหมือนกับ Mac

Dock bar คล้ายๆ กับ Mac ปั จจุบน ั ได้รับความนิ ยม ซึ่งถ้าหากเราต้องการปรับ แต่ง ให้เราไปที่เมนู Application ===> Ubuntu Software Center ก็จะปรากฏดังรูปที่ 1

การติดตัง้ Dock bar รูปที่ 1 ซึ่งตรงนี้คือโปรแกรม Software Center ซึ่งจะรวมโปรแกรมที่สามารถดาวน์โหลดมาติด

ตัง้ ได้ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราจะต้องสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 30/42

การติดตัง้ Dock bar รูปที่ 2 จากนั ้นให้เราพิมพ์ในช่องค้นหาโปรแกรม ให้เราพิมพ์ avant ซึ่งเป็ นชื่อโปรแกรม dock

bar ประเภทหนึ่ ง ให้เรากดป่ ุม install ตรง Avant Window Navigator

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 31/42

การติดตัง้ Dock bar รูปที่ 3 ก็จะปรากฏหน้ าต่างโต้ตอบให้เราใส่รหัสเพื่อยืนยันว่าเราเป็ นเจ้าของเครื่อง เพื่ออนุญาต

ให้เราติดตัง้ โปรแกรม

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 32/42

การติดตัง้ Dock bar รูปที่ 4 ในขัน ้ ตอนนี้โปรแกรมกำาลังติดตัง้ ดำาเนิ นขัน ้ ตอนในการติดตัง้ โปรแกรม ให้เรา

สังเกตด้านซ้ายมือมีคำาว่า In Progress นั่ นแสดงว่ากำาลังติดตัง้ โปรแกรมอยู่

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 33/42

การติดตัง้ Dock bar รูปที่ 5 ในขัน ้ ตอนนี้แสดงว่าโปรแกรมติดตัง้ เสร็จแล้ว ตัว Dock bar นั ้น เวลาที่เราจะเรียกใช้

งานให้เราเรียกโปรแกรม โดยผ่านเมนู Application ===> Accessories ==> Avant Windows Navigator แล้วลบ Panel ด้านล่าง ก็จะปรากฏดังรูปที่ 6

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 34/42

การติดตัง้ Dock bar รูปที่ 6 ในรูปที่ 6 นี้คือผลลัพธ์ของการติดตัง้ Dock bar อย่างสมบูรณ์แล้ว โปรแกรม ลีนุกซ์ของเรา ก็จะมี Dock bar ด้านล่าง คล้ายๆ กับระบบปฏิบัตก ิ าร Mac

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 35/42

โครงสร้างไฟล์ของลีนุกซ์เปรียบเทียบกับวินโดวส์ ระบบบริหารจัดการแฟ้ มข้อมูลของลีนุกซ์จะมีความแตกต่างจากระบบปฏิบัตก ิ ารของ

วินโดวส์ท่ห ี ลายๆ คนค้น ุ เคย เพราะถ้าหากว่าใครใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ก็จะรู้จัก ระบบ บริหารจัดการแฟ้ มที่เป็ น FAT , FAT32, NTFS แต่ถ้าในลีนุกซ์ เราจะเห็น EXT2 , EXT3, EXT4 ฉะนั ้นในการใช้งาน ตรงนี้จะสร้างความสับสนกับผู้ใช้เดิมๆ ที่เคยใช้วินโดวส์ แล้ว

เปลี่ยนมาใช้ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์อย่างมาก เพราะเมื่อระบบเปลี่ยน วิธก ี ารทำางานก็จะต้อง

เปลี่ยนไปด้วย ระบบปฏิบัตก ิ ารลีนุกซ์จะใช้โครงสร้างแฟ้ มของระบบปฏิบัตก ิ าร Unix ซึ่งจะต่าง จากระบบปฏิบัติการวินโดวส์ท่ม ี ีโครงสร้างมาจาก DOS ในทางเทคนิ คแล้วมีข้อแตกต่างกัน

มากมาย แต่ประธานชมรมฯ จะแนะนำ าข้อแตกต่าง หลักๆ เพียงสองประการ ที่ผู้เข้ารับการ อบรมจะต้องให้ความสนใจ

มีข้อแตกต่างหลักๆ อย่​่ 2 ประการ ที่ผ้่เข้าอบรมจะต้องจำาไว้ให้ดี 1. ชื่อไฟล์บนลีนก ุ ซ์ (File Name) ซื่อแฟ้ มจะมีลักษณะเป็ น Case Sensitive คือถือว่าตัวใหญ่

กับตัวเล็กจะแตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราสร้างไฟล์ท่ช ี ่อ ื ว่า Mydata กับ mydata ลีนุกซ์จะ มองเห็นว่าเป็ นคนละแฟ้ ม สิ่งเหล่านี้จะทำาให้เกิดความสับสน เพราะบางครัง้ การใช้งานบน

ลีนุกซ์ เราสามารถใช้งานแบบ Case Sensitive ได้ แต่ถ้าเมื่อใดก็ตามที่เรา copy ข้อมูลไปยัง ระบบแฟ้ มที่เป็ น FAT32 หรือว่า NTFS แฟ้ มข้อมูลจะเกิดการทับกันทันที ปั ญหาที่พบบ่อยก็ คือว่า หลายๆ คน สำารองข้อมูลไปยังระบบปฏิบต ั ิการวินโดวส์ หรือว่าบน External drive

ปรากฏว่าแฟ้ มข้อมูลหาย ฉะนั ้นการจะ copy หรือสำารองข้อมูล ควรจะทำาการบีบอัดข้อมูล ก่อน จะทำาการ copy ไปยังระบบปฏิบัตก ิ ารวินโดวส์ ที่เป็ นแฟ้ มข้อมูลแบบ FAT32 หรือ NTFS 2. สิทธิอนุญาตในการเข้าถึงแฟ้ ม (Permission) สิทธิในการเข้าถึงแฟ้ มเป็ นสิ่งที่สำาคัญ และควรจะต้องจดจำา ก็เพราะว่าส่วนนี้จะแตกต่าง

จากระบบปฏิบัติ ที่ทำางานอยู่ DOS หรือว่าวินโดวส์ท่ห ี ลายๆ คนคุ้นเคย เพราะแต่เดิมเราจะรู้แค่ ว่า แฟ้ มข้อมูลในระบบของ FAT32 หรือว่าระบบ NTFS จะมีเพียงการกำาหนดการเข้าถึงแบบ อ่านได้อย่างเดียว (Read only) หรือ ว่าเป็ นเพียงแต่แฟ้ มที่ซ่อนอยู่ (Hidden File)

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 36/42

ซึ่งลีนก ุ ซ์เป็ นระบบที่พัฒนามาจาก Unix ซึ่งเป็ นระบบปฏิบัตก ิ ารที่พัฒนามาจากระบบที่มี ผู้ใช้หลายๆคน(Multi User) มีการแบ่งสร้างข้อกำาหนดการเข้าถึงแฟ้ มอย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้ งานหลายๆ คน สามารถใช้งานร่วมกันได้ โดยไม่รบกวนซึ่งกันและกัน แบ่งระดับการเข้าถึงเป็ นสามส่วนก็คือ • เจ้าของแฟ้ ม(Owner)

• กลุ่มของแฟ้ ม (Group) • ผู้อ่ น ื Other

และในแต่ละส่วนยังจะสามารถกำาหนดสิทธ์การเข้าถึงได้อีก 3 สิทธิ ก็คือ

• read สิทธิในการอ่านแฟ้ ม

• write สิทธิในการเขียนแฟ้ ม

• execution สิทธิอนุญาตให้โปรแกรมทำางาน (run program) ดังรูปข้างล่าง

ซึ่งข้อกำาหนดสิทธิได้อย่างรัดกุมนี้เอง ทำาให้เราเห็นว่าลีนก ุ ซ์เป็ นระบบปฎิบัติการที่ให้ ความสำาคัญกับเรื่องของความปลอดภัย ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 37/42

ซึ่งเราจะทราบได้อย่างไรว่า แต่ละแฟ้ มนั ้นมีข้อกำาหนดอย่างไร เราสามารถใช้คำาสัง่ ls -l เพื่อดู สิทธิอนุญาตการเข้าถึงแฟ้ ม ตลอดจนเจ้าของแฟ้ ม และกลุ่มของแฟ้ ม ถ้าเราลองสัง่ ls -l บน ternmal ก็จะได้ผลลัพท์ประมาณนี้

ouychai@ouychai-desktop:~/C$ ls -l total 44 -rw-r--r-- 1 ouychai ouychai 864 2009-12-13 10:29 myfirsttime.c -rw-r--r-- 1 ouychai ouychai 0 2009-12-13 10:29 myfirsttime.c~ -rwxr-xr-x 1 ouychai ouychai 8260 2010-01-15 06:47 test2 -rw-r--r-- 1 ouychai ouychai 88 2010-01-15 06:46 test2.c -rw-r--r-- 1 ouychai ouychai 209 2010-01-15 06:45 test2.c~ -rwxr-xr-x 1 ouychai ouychai 8260 2010-01-15 06:47 test3 -rw-r--r-- 1 ouychai ouychai 84 2010-01-15 06:47 test3.c -rw-r--r-- 1 ouychai ouychai 84 2010-01-15 06:46 test3.c~ ouychai@ouychai-desktop:~/C$

เมื่อเราใช้คำาสัง่ นี้ ตัวแรกที่เราจะเห็น ก็คือ สิทธิการเข้าถึงแฟ้ ม และต่อมา ouychai ouychai หมายถึง เจ้าของแฟ้ มก็คือ ouychai และกลุ่มของแฟ้ มก็คือ ouychai ซึ่งแต่ละแฟ้ มจะ

กำาหนดการเข้าถึงด้วย permission และแต่ละแฟ้ มจะมีการระบุช่ อ ื เจ้าของแฟ้ ม พร้อมกับกลุ่ม ของเจ้าของแฟ้ ม และในแต่ละแฟ้ ม ชื่อเจ้าของแฟ้ ม กับชื่อกลุ่ม ไม่จำาเป็ นจะต้องเป็ นชื่อเดียวกัน รูปแบบการเข้าถึงแฟ้ ม(permission)จะมีรป ู แบบเต็มๆ ดังนี้คือ drwxrwxrwx โดยที่ d หมายถึง Directory เป็ นการระบุว่า แฟ้ มนี้คือ Directory หรือไม่ r หมายถึง Read

w หมายถึง Write x หมายถึง Execution - หมายถึง ไม่มี

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 38/42

การใช้ command line

การใช้ command line สำาหรับ Ubuntu นั ้นมีจุดประสงค์เพื่อแก้ปัญหาบางอย่าง ที่ไม่สามารถกระทำาได้บน GUI (Graphics User Interface) ซึ่งการเรียกใช้งานโปรแกรม

Terminal จะอยู่ท่ี Application ==> Accessories ==> Terminal เทคนิ คการใช้งาน ให้เรา จำาหลักๆ อยู่สองประการคือ

1. ถ้าหากว่าเราลืม และต้องการทราบว่าคำาสัง่ นั ้นใช้ทำางานอย่างไร ให้เรียก Terminal แล้ว พิมพ์ man แล้วตามด้วยชื่อ command ยกตัวอย่างเช่น

ถ้าเราอยากจะรู้ว่า ls คือคำาสัง่ อะไรใช้ทำา อะไร ให้เราพิมพ์ man ls บน terminal ดังรูป ด้านล่าง

เมื่อเรากด Enter ก็จะปรากฏคำาอธิบายดังรูปข้างล่าง ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 39/42

ซึ่ง help ของ ubuntu จะทำางานบนโปรแกรม vi ฉะนั ้น ถ้าจะออกจากโปรแกรมนี้ เราจะต้อง กดป่ ุม q ก็จะเป็ นการออกจากโปรแกรม หรือท่านจะปิ ดหน้ าต่างของ Terminal แล้วเปิ ดใหม่ ก็ได้

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 40/42

2. คำาสัง่ sudo ตรงหน้ าคำาสัง่ ใดๆ หมายถึง คำาสัง่ นั ้นมีสิทธิในการเข้าถึงระบบของลีนุกซ์ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราจะต้อง upgrade ระบบ ถ้าเราสัง่ apt-get upgrade ก็จะปรากฏ ผลลัพธ์ดังข้างล่าง

ซึ่งผลลัพธ์ท่ไี ด้คือโปรแกรมไม่สามารถทำางานได้

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 41/42

หมายถึงว่าเราไม่สามารถเข้าถึงระบบได้ แต่ถ้าเราสัง่ sudo apt-get upgrade แล้วกรอกรหัส ผ่าน ก็จะได้ผลลัพธ์ดังรูปข้างล่าง

ซึ่งผลลัพท์ท่อ ี อกมา นั่ นแสดงให้เห็นถึงว่าโปรแกรมนั ้นได้รบ ั การอนุญาตให้ทำางานในระดับ Super User หรือระดับเจ้าของเครื่อง ให้สามารถเข้าถึงการทำางานของระบบได้ สามารถปรับปรุง ระบบลีนุกซ์ได้

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


หน้าที่ 42/42

บรรณานุกรม พิชัย ยอดพฤติการ. เปิ ดโลกใหม่กับซอฟต์แวร์เสรี Ubuntu. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท ไอทีเบส จำากัด, 2551 นิ รุธ อำานวยศิลป์ . ค่้มือกำรใชูงำน Red Hat Linux. กรุงเทพฯ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำากัด

ภัทรพงศ์ น้ อยเรือง. ค่้มือกำรใชูงำน Linux ฉบับ Admin. กรุงเทพฯ :อินโฟเพรส,2544. อ. บัณฑิต จามรภูติ. คำำภีร์ Ubuntu Linux Server เล่ม 2. Bandhit Press 2553. สานนท์ ฉิ มมณี . เขียนโปรแกรม และเรียนรูเ้ ครือข่ำยคอมพิวเตอร์ดูวย Ubuntu + Perl. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2552

ชมรมโอเพนซอร์สล้านนา http://www.lanna-oss.org ติดต่อประธานชมรมฯ ที่เบอร์ 08-7185-0920


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.