ubuntu desktop guide

Page 1

Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Ubuntu desktop guide

ubuntuclub.com By Doing Co., Ltd. 1


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

คำำนำำ ทุกวันนีค ้ งปฏิเสธไม่ได้แล้วว่าระบบปฏิบัตก ิ ารลินก ุ ซ์นัน ้ เข้ามามีบทบาทในชีวต ิ ของเรา มากข้ ึนทุกที ทัง้เว็บไซต์ต่างๆที่เราเข้าไปใช้งานที่นย ิ มใช้ Apache เป็ นเว็บเซิรฟ ์ เวอร์กน ั เป็ นส่วน ใหญ่ หรือแม้แต่เว็บไซต์เสริชเอ็นจิน ้ อันดับหน่ งึ ของโลกอย่าง Google ก็ยังใช้ Python ในการ

เขียนโปรแกรม ซ่ งึ เราคงต้องยกความดีให้แก่ Open Source, โครงการ GNU และนักพัฒนาทัง้ หลายทีร่ ว ่ มสร้างสรรค์ซอฟต์แวร์ Open Source ให้พัฒนาข้ ึนมาได้อย่างรวดเร็ว ถ้าเราจะลอง

มองย้อนกลับไปถึงช่วงที่ IBM เปิ ดมาตรฐานของเคร่ ืองคอมพิวเตอร์สว ่ นบุคคล ทำาให้เกิดบริษท ั

มากมายเข้ามาผลิตเคร่ อ ื งคอมพิวเตอร์ในแบบที่เราเรียกว่า IBM Compatible จนกระทัง่เกิดการ แข่งขันสูงข้ น ึ ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สว ่ นบุคคลมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว มองกลับมาทีโ่ มเดล ของ Open Source ที่มก ี ารเปิ ดเผยรหัสพัฒนาให้ทก ุ คนเข้าถึง และต่อยอดการพัฒนาต่อไปได้ อย่างไม่มข ี ้อจำากัด ซ่ งึ ก็มค ี วามคล้ายคลึงกันกับกรณีของ IBM เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้ ผมเขียนข้ น ึ มาอย่างไม่ละเอียดเหมือนกับหนังสือเล่มอ่ ืนทีค ่ ุณ ได้เคยอ่าน ซ่ งึ ผมเลือกเขียนและอธิบายเฉพาะส่วนที่สำาคัญๆ และในส่วนทีเ่ ป็ นรายละเอียดปลีก

ย่อม ผมเลือกทีจ ่ ะละไว้ โดยผมเข้าใจว่ากลุม ่ ผู้ทอ ี่ า่ นหนังสือเล่มนี้ จะเป็ นผูท ้ ใี่ ช้ระบบปฏิบัตก ิ าร Windows มาในระดับหน่ ึงแล้ว หมายความว่าไม่ได้เริม ่ ศึกษาคอมพิวเตอร์จากศูนย์ ฉะนัน ้ บาง อย่างทีค ่ ุณผูอ ้ า่ นจะมีทก ั ษะมาจากการใช้ Windows บ้างแล้ว ผมจึงขออนุญาตไม่อธิบาย

ศิระ นกยูงทอง

By Doing Co., Ltd. 2


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

สำรบัญ Unit 1: เกร่ินนำำ.............................................................................................................8 พูดคุย..........................................................................................................................................................8 แนะนำำ Ubuntu........................................................................................................................................8 จุดเด่น........................................................................................................................................................9

Unit 2: ติดตัง้..............................................................................................................11 ดำวน์โหลด............................................................................................................................................11 ตรวจสอบควำมสมบูรณ์ของไฟล์..................................................................................................13 สร้ำงแผ่นซีด.ี ........................................................................................................................................15 ติดตัง้.......................................................................................................................................................18

Unit3: กำรใช้งำนเบ้ืองต้น.....................................................................................22

รูจ ้ ักกับระบบไฟล์และโฟลเดอร์.....................................................................................................22 เปิ ดเคร่ ือง..............................................................................................................................................24 หน้ำจอกำรทำำงำน...............................................................................................................................25 เมนูหลักของ Ubuntu............................................................................................26 เมนู Applications...........................................................................................26 เมนู Places....................................................................................................28 เมนู System..................................................................................................28

ปรับแต่งกำรแสดงผล........................................................................................................................29

ความละเอียดหน้าจอ..............................................................................................29 เปลี่ยนภาพพ้ น ื หลัง................................................................................................30 เปลี่ยนและตัง้ชุดตกแต่ง........................................................................................31 องค์ประกอบของชุดตกแต่ง..............................................................................32

เพิ่มและปรับแต่ง Panel.........................................................................................33 เพิ่ม/ลบ/ย้าย Panel.........................................................................................33 Object Panel.................................................................................................33 เปลี่ยนฟอนต์ทใี่ ช้แสดงผล......................................................................................34

แนะนำำโปรแกรมพ้น ื ฐำน..................................................................................................................35

File Manager.......................................................................................................35 ส่วนต่างๆใน Nautilus.....................................................................................35

By Doing Co., Ltd. 3


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop เทคนิคในการใช้งาน........................................................................................36 Web Browser......................................................................................................36 ตัง้ค่าภาษาไทย...............................................................................................37

Movie Player.......................................................................................................38 Music Player.......................................................................................................38 Image Editor.......................................................................................................39 Image Viewer......................................................................................................39 Office Suite.........................................................................................................40 การตัง้ค่าเพ่ ือใช้งานภาษาไทย..........................................................................41

Chat MSN...........................................................................................................42 ตัง้ค่าแชท MSN..............................................................................................42

Email Client.........................................................................................................43 ตัง้ค่าเพ่ ือใช้งานภาษาไทย................................................................................44

Dictionary............................................................................................................44 ตัง้ค่าเพ่ ือแปลภาษาไทย...................................................................................45

กำรติดตัง้โปรแกรมเพ่ิมเติม...........................................................................................................45 เพิ่ม Repository....................................................................................................45 ทดลองติดตัง้โปรแกรม..........................................................................................47

Unit 4: Tips.................................................................................................................49

กูค ้ ืนไฟล์ที่ถก ู ลบ.............................................................................................49 พิมพ์ภาษาไทย................................................................................................49 ปรับแต่งให้แสดงผลภาษาไทย..........................................................................50 จับภาพหน้าจอ................................................................................................51 ดูหนังฟั งเพลง.................................................................................................52 เขียนซีด.ี ........................................................................................................52 ล๊อกอินเข้าระบบแบบอัตโนมัติ.........................................................................54 Startup Programs (เปิ ดโปรแกรมอัตโนมัต)ิ ....................................................55 เพิ่ม User.......................................................................................................55 การบีบอัดไฟล์ และคลายไฟล์ทถ ี่ ูกบีบอัด...........................................................56 เพิ่มแบบอักษร................................................................................................57 ตัง้ค่าส่วนตัวและเปลีย ่ นรหัสผ่าน......................................................................58 กูร้ หัสผ่าน.......................................................................................................58 /etc/book.............................................................................................................................................59

By Doing Co., Ltd. 4


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Unit 1: เกร่น ิ นำำ ก่อนทีเ่ ราจะไปลงเน้ ือหาในส่วนต่างๆนัน ้ ในบทแรกผมจะเกริน ่ นำา ในส่วนของเร่ ืองราว ต่างๆทีเ่ กีย ่ วกับลินุกซ์และ Ubuntu กันก่อนนะครับ เพ่ ือให้ทา่ นผูอ ้ า่ นที่ยงั ไม่คุ้นเคยกับลินุกซ์หรือ Ubuntu ได้ทำาความเข้าใจกันก่อน สำาหรับท่านที่มค ี วามรูพ ้ ้น ื ฐานดีอยู่แล้วจะข้ามไปบทต่อไปเลยก็ ได้ครับ ไม่ว่ากัน

พูดคุย ผมเช่ อ ื ว่าทุกท่านทีก ่ ำาลังอ่านหนังสือเล่มนีอ ้ ยู่ น่าจะพอรูจ ้ ก ั ลินุกซ์ดอ ี ยู่แล้วในระดับ หน่ งึ ใช่ครับ อย่างทีค ่ ุณรูด ้ อ ี ยู่แล้ว ว่าลินุกซ์เป็ นระบบปฏิบต ั ิการชัน ้ ยอดตัวหน่ ึงของโลก ไม่วา่ จะ

เป็ นการใช้งานในด้านใดก็ตาม เพราะฉะนัน ้ ไม่มเี หตุผลใดๆที่เราจะไม่ควรใช้ลน ิ ก ุ ซ์ แม้วา่ ในขณะ นีเ้ราจะเห็นว่าลินก ุ ซ์นน ั ้ ยังไม่เป็ นทีแ ่ พร่หลายในการใช้งานด้านเดสก์ทอปก็ตาม แต่ไม่นานความ นิยมในการใช้งานลินก ุ ซ์ในฝั ่ งเดสก์ทอปจะเพิม ่ มากข้ น ึ อย่างแน่นอน เพราะผูค ้ นส่วนใหญ่เริม ่ ให้ ความสนใจกับระบบปฏิบต ั ิการตัวนีก ้ น ั อย่างต่อเน่ ือง แม้แต่คุณผูอ ้ า่ นเองก็ตาม

แนะนำำ Ubuntu Ubuntu นัน ้ เป็ นลินก ุ ซ์ดส ิ โทรทีก ่ ำาลังเป็ นทีน ่ ิยมทีส ่ ด ุ ในขณะนี้ คำาว่าลินุกซ์ดส ิ โทร (Linux Distribution) หมายถึงลินุกซ์สำาเร็จรูปทีม ่ ีการปรับแต่งเพ่ ือให้เหมาะแก่การใช้งานแล้วใน ระดับหน่ ึง ลินุกซ์ดส ิ โทรทีเ่ ป็ นที่รจ ู้ ก ั กันดีกค ็ งจะหนีไม่พน ้ ลินุกซ์ตว ั ดังๆ เช่น Redhat, SUSE,

Mandriva เป็ นต้น เหล่านีจ ้ ัดว่าเป็ นลินก ุ ซ์ดส ิ โทรตัวหน่ งึ ส่วน Ubuntu นัน ้ จัดเป็ นดิสโทรทีพ ่ ัฒนา โดยอิงจาก Debian GNU/Linux เป็ นฐานในการพัฒนา หรือจะเรียกว่าเป็ นการต่อยอดก็ดูจะไม่ ผิดนัก สาเหตุที่ทำาให้ Ubuntu เป็ นทีน ่ ย ิ มอย่างรวดเร็วนัน ้ คงเป็ นเพราะ Ubuntu คัด โปรแกรมทีใ่ ช้สำาหรับงานต่างๆมาให้เป็ นอย่างดีแล้ว แทนทีจ ่ ะเป็ นเหมือนดิสโทรอ่ น ื ทีย ่ ัดโปรแกรม ประเภทเดียวกันมาหลายตัวเกินความจำาเป็ น ทำาให้ผใู้ ช้อาจเกิดความสับสนว่าควรจะใช้โปรแกรม ไหนเพ่ อ ื ทำางานนัน ้ ๆดี ทำาให้ Ubuntu นัน ้ มีแผ่นติดตัง้เพียงหน่ งึ แผ่นเท่านัน ้ และยังแยกแผ่น สำาหรับใช้งานในรูปแบบเดสก์ทอป กับแบบเซิรฟ ์ เวอร์ออกจากกันอีกด้วย เพ่ อ ื ให้ง่ายแก่การ ดาวน์โหลดและป้ องกันความสับสน นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนัน ้ อีกเหตุผลหน่ ึงซ่ งึ ทำาให้ Ubuntu เป็ นที่นย ิ มคือ บริษท ั Canonical ผูพ ้ ัฒนา Ubuntu ได้ให้สัญญากับผูใ้ ช้ไว้ว่า Ubuntu จะเป็ นลินุกซ์ที่เสรีตลอดไป ทำาให้

By Doing Co., Ltd. 5


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ผูใ้ ช้มน ั ่ ใจได้ว่าจะสามารถใช้งาน Ubuntu โดยปราศจากค่าใช้จา่ ยได้ตลอดไป ซ่ งึ จะแตกต่างจาก Redhat หรือ Mandriva ในบางเวอร์ชัน ่ ทีต ่ ้องเสียเงินซ้ ือมาใช้เสียแล้ว ความนิยมของ Ubuntu ไม่ได้หยุดอยูแ ่ ค่กบ ั กลุม ่ ผูใ้ ช้ชาวต่างชาติเท่านัน ้ ปั จจุบน ั ความ นิยมและข้อดีต่างๆของ Ubuntu ได้ถก ู บรรจุลงใน LinuxTLE 8 ของไทยเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว

และด้วยความที่ NECTEC ยังไว้ใจในการนำา Ubuntu มาต่อยอดในการพัฒนาลินก ุ ซ์ของไทย แล้วเหตุไฉนคุณจะไม่ไว้ใจใน Ubuntu

จุดเด่น ระบบอัพเดท เน่ อ ื งจาก Ubuntu เป็ นลินุกซ์สายพันธุ์ Debian จึงใช้ระบบ APT (Advanced

Package Tool) ในการจัดการแพคเกจ ซ่ งึ ระบบนีม ้ ข ี ้อดีทส ี่ ามารถอัพเดทหรือติดตัง้แพ

คเกจเพิ่มเติมผ่านอินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา แถมยังจัดการปรับแต่งค่าพ้ ืนฐานให้โดยอัตโนมัตอ ิ ีก ด้วย

การติดตัง้แบบกราฟิ ก Ubuntu มีระบบการติดตัง้แบบ GUI (Graphic User Interface) ทำาให้ง่ายมากๆใน การที่จะติดตัง้ Ubuntu ซ่ งึ บอกได้เลยว่าง่ายกว่าการติดตัง้ Windows XP เสียอีก ทดลองก่อนติดตัง้จริง คุณสามารถทดลองใช้งาน Ubuntu ก่อนได้ โดยทีไ่ ม่ต้องติดตัง้ลงในเคร่ ือง

คอมพิวเตอร์ของคุณ ซ่ งึ คุณสามารถแน่ใจได้เลยว่าข้อมูลในเคร่ ืองคอมพิวเตอร์ของคุณจะ ปลอดภัย และเม่ ือคุณทดลองจนพอใจและตัดสินใจทีจ ่ ะใช้ เม่ ือนัน ้ คุณค่อยติดตัง้ลงในฮาร์ดดิสก์ก็ ไม่เป็ นปั ญหาแต่อย่างใด

หน่ งึ แผ่นเท่านัน ้ Ubuntu คัดสรรโปรแกรมทีด ่ ีทส ี่ ด ุ มาให้คุณแล้ว ทำาให้ไฟล์และโปรแกรมทัง้หมด สำาหรับติดตัง้น้อยจนสามารถบรรจุลงได้ในหน่ งึ แผ่นซีดเี ท่านัน ้ และเพ่ ือป้ องกันความสับสนแก่ผู้ใช้ ที่จะเลือกใช้โปรแกรมดีๆสักตัวเพ่ อ ื ทำางานอย่างใดอย่างหน่ งึ Ubuntu จึงไม่ใส่โปรแกรมทีใ่ ช้ สำาหรับทำางานประเภทเดียวกันมาให้ซ้ำาซ้อนกัน

By Doing Co., Ltd. 6


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ทันสมัย ด้วยการที่ Ubuntu ออกเวอร์ชน ั ่ ใหม่ทก ุ ๆ 6 เดือน ทำาให้คุณมัน ่ ใจได้วา่ คุณจะได้ใช้

โปรแกรมในเวอร์ชน ั ่ ทีใ่ หม่ล่าสุดตลอดเวลา รวมทัง้สามารถมัน ่ ใจได้ในเร่ อ ื งของระบบรักษาความ ปลอดภัยทีอ ่ พ ั เดทกันแบบรายวัน

By Doing Co., Ltd. 7


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Unit 2: ติดตัง้ ในบทนีก ้ ถ ็ ึงเวลาทีเ่ ราจะมาลงภาคปฏิบต ั ิกน ั แล้วครับ (พร้อมยังเอ่ย) โดยทีเ่ ราจะเริม ่ กันตัง้แต่ยงั ไม่มแ ี ผ่น Ubuntu ไปจนถึงการนำา Ubuntu ร้อนๆเสริฟลงเคร่ ืองคอมพิวเตอร์ของคุณ กันเลยครับ พร้อมแล้วก็ไปกันเลย

ดำวน์โหลด เป็ นเร่ ืองดีอย่างยิ่งที่ Ubuntu เป็ นระบบปฏิบต ั ิการเสรี ฉะนัน ้ เราจึงสามารถหามาใช้ได้

อย่างไม่ต้องลำาบากยากเข็นสักเท่าใดนักแถมยังไม่ต้องจ่ายเงินสักแดงเดียวอีกต่างหาก เพียงแค่ คุณมีคอมพิวเตอร์ทพ ี่ ร้อมจะเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้กเ็ พียงพอแล้ว

สถานที่ดาวน์โหลดทีห ่ ลักนัน ้ ต้องเป็ น ubuntulinux.org อย่างแน่นอนอยู่แล้ว สิง่ ทีค ่ ุณ ต้องทำาก็คือ เปิ ดโปรแกรมเว็บเบราเซอร์อย่าง IE หรือ Firefox ข้ ึนมา แล้วเข้าไปที่

http://releases.ubuntulinux.org (หรือคุณอาจใช้บริการที่ ftp://mirror.in.th/ubuntu เพ่ อ ื ความ เร็วทีม ่ ากกว่า) ที่หน้านีค ้ ุณจะเห็นเวอร์ชน ั ่ ต่างๆของ Ubuntu เรียงอยู่อย่างมากมาย (ตามภาพที่ 2.1) ให้คุณมองหาโฟลเดอร์ทม ี่ เี ลขเวอร์ชน ั ่ สูงทีส ่ ด ุ เม่ อ ื เจอแล้วให้คลิกเข้าไปเลยครับ

Picture 2.1

By Doing Co., Ltd. 8


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop เม่ ือคุณเข้ามาถึงข้างในของโฟลเดอร์ทเี่ ก็บ Ubuntu เวอร์ชัน ่ ล่าสุดแล้ว ในนีจ ้ ะมีไฟล์ ดาวน์โหลดของ Ubuntu สำาหรับ CPU หลากหลายประเภท แต่ถา้ เคร่ ืองของคุณเป็ นเคร่ ือง

คอมพิวเตอร์หรือ Laptop ที่ใช้ CPU จำาพวก Intel หรือ AMD ที่นย ิ มใช้กน ั ทัว ่ ไปในปั จจุบน ั คุณ จะต้องดาวน์โหลดไฟล์สำาหรับ CPU รุน ่ i386 ครับ หรือทีเ่ ขียนว่า PC Intel x86 นัน ่ เอง ซ่ งึ ไฟล์ ที่มใี ห้ดาวน์โหลดสำาหรับ CPU แต่ละประเภทนัน ้ จะมีดว ้ ยกัน 3 รูปแบบด้วยกันคือ

DesktopCD: ไฟล์ในรูปแบบนี้ จะสร้างออกมาเป็ นแผ่นทีส ่ ามารถใช้งานได้โดยไม่ต้อง ติดตัง้ หรือใช้สำาหรับติดตัง้ด้วยก็ได้ ซ่ ึงจะเป็ นการติดตัง้ผ่านอินเทอร์เฟสแบบ GUI ที่ สามารถใช้เมาส์คลิกเพ่ ือติดตัง้ และกำาหนดค่าต่างๆระหว่างติดตัง้ได้

AlternateCD: ไฟล์นจ ี้ ะสร้างออกมาเป็ นแผ่นที่ทำามาสำาหรับติดตัง้โดยเฉพาะ และเป็ น การติดตัง้ผ่าน Text base UI (คล้ายการติดตัง้ Windows XP) แต่เม่ อ ื ติดตัง้เสร็จ เรียบร้อยแล้ว จะได้เหมือนกับทีต ่ ด ิ ตัง้ผ่านแผ่น DesktopCD ทุกประการ

Server: เป็ นไฟล์ที่ทางผูพ ้ ัฒนาได้คัดเลือกเฉพาะแพคเกจที่ทำางานด้านเซิรฟ ์ เวอร์ไว้ จึงไม่เหมาะสำาหรับผูใ้ ช้ตามบ้านอย่างเราๆสักเท่าไรนัก

แผ่นทีเ่ ราจะใช้ในการติดตัง้ตามคู่มอ ื นีผ ้ มแนะนำาให้ใช้เป็ นแผ่น DesktopCD ครับ ให้

คลิกทีล ่ งิ ก์ของไฟล์ (ตามภาพที่ 2.2) เพ่ อ ื ทำาการดาวน์โหลดได้เลย ซ่ งึ คุณควรจะใช้โปรแกรมช่วย ดาวน์โหลดเพ่ อ ื ป้ องกันความผิดพลาดของไฟล์ คุณอาจใช้โปรแกรมที่เป็ นฟรีแวร์ อย่างเช่น FlashGet หรือโปรแกรมช่วยดาวน์โหลดทีเ่ ป็ น Open Source สำาหรับ Windows อย่าง TrueDownloader ที่สามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้ฟรีจาก http://sourceforge.net/projects/downloadplus

Picture 2.2

By Doing Co., Ltd. 9


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ในส่วนของการดาวน์โหลดไฟล์นี้ นอกจากที่คุณจะดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ ubuntulinux.org แล้วนัน ้ คุณยังสามารถทีจ ่ ะดาวน์โหลดที่ ftp://mirror.in.th/ubuntu ได้ดว ้ ยเพ่ อ ื

ความรวดเร็วในการดาวน์โหลด เพราะเคร่ ืองเซิรฟ ์ เวอร์นีจ ้ ะตัง้อยู่ในประเทศเรา ซ่ งึ จะส่งข้อมูลได้ เร็วกว่า

ตรวจสอบควำมสมบูรณ์ของไฟล์ เน่ อ ื งจากไฟล์ทด ี่ าวน์โหลดมามีขนาดใหญ่มาก (เกือบ 700 MB) และใช้เวลาในการ เดินทางอย่างยาวนานกว่าจะมาถึงเคร่ อ ื งของเราจนครบ ข้อมูลอาจเกิดความเสียหายในระหว่าง

เดินทางได้ ฉะนัน ้ เราจึงควรทีจ ่ ะตรวจสอบความสมบูรณ์ของไฟล์ทเี่ ราได้ดาวน์โหลดมาเสียก่อน ก่อนทีจ ่ ะสร้างเป็ นแผ่น CD เพ่ ือจะได้ไม่ตอ ้ งเสียแผ่นไปเปล่าๆ หากว่าไฟล์ทค ี่ ุณดาวน์โหลดมานัน ้ เกิดความผิดพลาด

ในโลกของ Open Source นัน ้ จะมีระบบการตรวจสอบความถูกต้องของไฟล์ทเี่ รียก

ว่า MD5SUM เป็ นการคำานวนค่าของตัวเลขชุดหน่ ึงออกมาจากไฟล์ วิธีทใี่ ช้กน ั โดยทัว ่ ไปนีเ้ป็ น

เร่ ืองทีท ่ ำาความเข้าใจได้ไม่ยาก คือ ฝั ่ งเซิรฟ ์ เวอร์ที่ปล่อยไฟล์ออกมาให้ดาวน์โหลด จะสร้างชุดตัว เลข MD5SUM ของไฟล์นัน ้ ๆข้ ึนมา ซ่ งึ จะมีค่าตัวเลขจำานวนหน่ ึงเป็ นค่าเฉพาะ และเม่ ือเรา

ดาวน์โหลดมาแล้ว เราก็ทำาการเช็คค่า MD5SUM ของไฟล์ที่เราดาวน์โหลดมาด้วยเช่นเดียวกัน ถ้าค่าตัวเลขออกมาตรงกัน ก็แสดงว่าไฟล์นน ั ้ สมบูรณ์ นำาไปใช้งานได้เลย MD5SUM ฝ่ังเซิร์ฟเวอร์ ในขัน ้ แรกให้เราตรวจสอบชุดตัวเลขนีใ้นฝั ่ งเซิรฟ ์ เวอร์กอ ่ น ที่เว็บเบราเซอร์ให้คุณไป

หน้าเดียวกับทีด ่ าวน์โหลดไฟล์ DesktopCD ให้เล่ ือนลงมาล่างๆหน้าเว็บสักหน่อย คุณจะเห็นลิงก์ ของไฟล์ที่เขียนว่า MD5SUM (ตามภาพที่ 2.3) ให้คุณคลิกเข้าไปเพ่ ือดูชด ุ ตัวเลขที่วา่ นัน ้

Picture 2.3

By Doing Co., Ltd. 10


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ภายในไฟล์ MD5SUM นีจ ้ ะมีชด ุ ตัวเลขอยู่หลายบรรทัด บรรทัดทีค ่ ุณต้องดูคือ บรรทัดทีเ่ ขียนว่า desktop-i386.iso ให้คุณจดค่าตัวเลขนัน ้ ไว้ เพ่ ือใช้ตรวจสอบกับ MD5SUM ของไฟล์ในเคร่ อ ื งเรา ที่จะทำาการตรวจสอบในขัน ้ ต่อไป

Picture 2.4

MD5SUM ไฟล์ในเคร่ อ ื งของเรำ การตรวจสอบค่า MD5SUM ให้กบ ั ไฟล์ในเคร่ ืองเรานัน ้ จะต้องใช้โปรแกรมเพ่ ือช่วยใน การคำานวนค่าของชุดตัวเลขออกมา ซ่ งึ ผมแนะนำาโปรแกรมช่ ือ MD5summer ซ่ งึ เป็ นซอฟต์แวร์ Open Source เช่นเดียวกับ Ubuntu ครับ

เปิ ดเข้าไปที่ http://www.md5summer.org/download.html แล้วทำาการดาวน์โหลด

โปรแกรม MD5summer มา ไฟล์ทไี่ ด้จะอยู่ในรูปแบบของไฟล์ zip ให้คุณทำาการคลายไฟล์ออก มา เม่ อ ื คุณคลายไฟล์ zip ออกมาแล้วคุณจะเห็นไฟล์ทช ี่ ่ ือว่า md5summer.exe ให้คุณ ดับเบิลคลิกที่ไฟล์นน ั ้ โปรแกรมจะถูกเรียกข้ ึนมาทำางานโดยไม่ต้องติดตัง้

เม่ ือคุณเรียกโปรแกรมข้ ึนมาแล้ว จะพบหน้าต่างของโปรแกรม MD5summer ที่แสดง

พาธต่างๆบนเคร่ ืองของคุณ ให้คุณคลิกเลือกทีโ่ ฟลเดอร์ทไี่ ด้เก็บไฟล์ของ Ubuntu ที่ได้ทำาการ ดาวน์โหลดมา จากนัน ้ คลิกทีป ่ ่ม ุ Create sums

Picture 2.5

By Doing Co., Ltd. 11


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ถัดมาโปรแกรมจะทำางานต่อไปในขัน ้ ตอนทีส ่ อง ในขัน ้ ตอนนีห ้ น้าต่างจะถูกแบ่งออก เป็ นสองส่วน หน้าจอทางด้านซ้านนัน ้ จะแสดงไฟล์ต่างๆทีเ่ ก็บอยู่ในโฟลเดอร์ทค ี่ ุณคลิกเลือกใน

ขัน ้ ตอนทีผ ่ า่ นมา ให้คุณคลิกเลือกไฟล์ Ubuntu ที่ได้ทำาการดาวน์โหลดมา จากนัน ้ กดที่ Add ช่ ือ ไฟล์ Ubuntu จะแสดงข้ ึนมาทีห ่ น้าจอทางด้านขวา เรียบร้อยแล้วให้คลิกที่ OK ในขัน ้ ตอนนีจ ้ ะเป็ นขัน ้ ตอนสุดท้ายคือการแสดงค่าทีค ่ ำานวนออกมา เม่ อ ื โปรแกรมคำา นวนจนเสร็จจะแสดงหน้าต่างข้ ึนมาหน้าต่างหน่ ึง เพ่ ือให้คุณเซฟค่าทีไ่ ด้ทำาการคำานวนลงในไฟล์

ให้คุณคลิก Cancel เม่ ือ Cancel แล้ว คุณจะเห็นหน้าต่างโปรแกรมทีแ ่ สดงค่าตัวเลขยาวๆทีไ่ ด้คำา นวนเสร็จเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ให้คุณเปรียบเทียบค่านีก ้ บ ั ชุดตัวเลขทีไ่ ด้จดมา ถ้าหากตรงกันก็ไป อ่านตอนต่อไปได้เลย แต่ถา้ ไม่ผา่ นคุณก็จำาเป็ นทีจ ่ ะต้องดาวน์โหลดใหม่อก ี ครัง้

สร้ำงแผ่นซีดี เม่ ือได้ไฟล์และได้ทำาการตรวจสอบความสมบูรณ์ของไฟล์เป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ก็ถงึ

เวลาที่จะสร้างแผ่น Ubuntu ข้ ึนมาจากไฟล์ .iso ที่เราได้ทำาการดาวน์โหลดมาเสียที สำาหรับวิธีใน การสร้างแผ่นซีดน ี น ั ้ ผมจะเขียนโดยอิงวิธข ี องโปรแกรม Nero Burning ROM เป็ นหลักนะครับ เพราะคิดว่าน่าจะเป็ นโปรแกรมทีม ่ ค ี นใช้มากที่สด ุ

ให้เปิ ดโปรแกรม Nero ข้ ึนมาเลยครับ ทีเ่ มนูหลักของโปรแกรม เลือกที่ Recorder

แล้วคลิกเลือกที่ Burn Image... ครับ จากนัน ้ ให้ทำาการเลือกไฟล์ .iso ที่เราได้ดาวน์โหลดมา

เลือกความเร็วในการเขียนแผ่นทีเ่ หมาะสม ไม่ต้องเร็วจนเกินไปนัก อาจเป็ น 16x ก็ได้ จากนัน ้ ให้ สัง่ Burn ก็เป็ นอันเสร็จในขัน ้ ตอนนี้

Picture 2.6

By Doing Co., Ltd. 12


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

ติดตัง้ เม่ ือได้แผ่นซีดม ี าเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้วเราก็พร้อมทีจ ่ ะไปทดลองใช้งาน และติดตัง้กัน แล้วครับ สิง่ แรกทีค ่ ุณต้องทำาคือ ต้องตัง้ค่าไบออสให้บูตจากซีดเี สียก่อน ซ่ งึ วิธีการตัง้ค่าของแต่ละ เคร่ ืองนัน ้ ขอให้คุณดูคู่มอ ื ของ Mainboard จะดีกว่า เม่ อ ื ตัง้ค่าแล้วให้ใส่แผ่นซีดี พร้อมเปิ ดเคร่ ือง ข้ ึนมาใหม่ เคร่ ืองจะบูตซีดข ี ้ ึนมา คุณจะเห็นหน้าจอทีเ่ ป็ นเมนูของ Ubuntu ให้คุณเลือกทีเ่ มนู

Start or install Ubuntu ได้ทน ั ที จากนัน ้ รอสักครู่ คุณจะเข้ามาสู่หน้าจอการทำางานของ Ubuntu ทันที

Picture 2.7

ที่หน้าจอการทำางานนีค ้ ุณจะเห็นไอคอน Install อยูท ่ างด้านซ้ายมือ ให้คุณดับเบิลคลิก

เพ่ ือติดตัง้ได้เลย (หากคุณต้องการทดลองใช้งานก่อน ให้ข้ามไปอ่านในบทถัดไปก่อนได้ครับ) หน้า จอช่วยเหลือการติดตัง้จะเปิ ดข้ ึนมา ซ่ งึ คุณสามารถติดตัง้ไปตามขัน ้ ตอนทีโ่ ปรแกรมแนะนำาได้เลย ผมจะคอยแนะนำาคุณเป็ นขัน ้ ตอนๆไปอย่างหยาบๆ แต่จะเน้นในส่วนที่สำาคัญเท่านัน ้

Picture 2.8

By Doing Co., Ltd. 13


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ขัน ้ ตอนที่ 1-3 จะเป็ นการเลือกภาษาปริยายสำาหรับระบบและการเลือกโซนเวลา ซ่ งึ ค่า นีจ ้ ะส่งผลกับทัง้ระบบ คือถ้าเลือกเป็ นภาษาไทย หน้าจอการแสดงผลก็จะแสดงข้อความภาษาไทย ไปด้วย ซ่ งึ ในการติดตัง้นีผ ้ มจะเลือกเป็ น English ไว้กอ ่ น เพราะอย่างไรแล้ว ผมจะแนะนำาการ

ติดตัง้เพ่ ือใช้งานภาษาไทยในตอนท้ายอยู่ดค ี รับ ส่วนเขตเวลาก็ให้เลือกตามแผนทีไ่ ด้เลย ซ่ งึ ของ ประเทศไทยนัน ้ จะมีให้เลือกแค่ Bangkok เท่านัน ้ ครับ

Picture 2.9

ในส่วนขัน ้ ตอนที่ 4 จะเป็ นการเลือกผังแป้ นพิมพ์ เม่ อ ื คุณเลือกที่ Thailand แล้ว จะมี ช่ ือผังแป้ นพิมพ์ปรากฏข้ ึนมาให้คุณเลือก ซ่ งึ จะมี Thailand, Thailand-Pattachote และ

Thailand-TIS-820.2538 ให้คุณเลือกที่ Thailand ตัวเลือกแรกครับ เม่ ือคุณคลิกเลือกแล้ว ทีด ่ า้ น ล่างของหน้าต่างนีจ ้ ะมีให้คุณทดสอบพิมพ์ครับ โดยคุณสามารถสลับผังแป้ นพิมพ์ระหว่างภาษา ไทยกับภาษาอังกฤษได้ โดยกด Alt+Shift ครับ

Picture 2.10

By Doing Co., Ltd. 14


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ขัน ้ ตอนที่ 5 นี้จะเป็ นการตัง้ช่ ือผูใ้ ช้และช่ ือของเคร่ ือง ในช่องแรกจะเป็ นช่ ือของคุณ กรอกได้ตามสะดวก ส่วนช่องถัดมาจะเป็ นช่ ือทีใ่ ช้ในการเข้าระบบ ให้คุณจำาให้ดค ี รับ เพราะถ้าลืม จะไม่สามารถเข้าระบบได้ ถัดมาจะเห็นเป็ นช่องคู่กน ั สองช่อง สองช่องนีค ้ ือรหัสผ่านครับ ทัง้สอง ช่องกรอกให้ตรงกันนะครับ ไม่งัน ้ จะติดตัง้ไม่ผา่ น ส่วนช่องสุดท้ายคือช่ ือเคร่ ืองครับ

Picture 2.11

ช่ ือผูใ้ ช้ทค ี่ ุณสร้างนีใ้ห้จำารหัสไว้ให้ดีครับ เพราะนอกจากจำาเป็ นทีจ ่ ะต้องใช้ในการเข้า

ระบบแล้ว ผูใ้ ช้คนนีย ้ ังมีสท ิ ธิใ์นฐานะผูด ้ แ ู ลของเคร่ อ ื งนีด ้ ้วยครับ ที่จะติดตัง้โปรแกรมเพิ่มเติม เพิ่มผู้ใช้คนอ่ ืนหรือทำาอย่างอ่ น ื ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการเปลีย ่ นแปลงระบบครับ

ขัน ้ ตอนที่ 6 ในขัน ้ ตอนนีส ้ ำาคัญและต้องใช้ความระมัดระวังเป็ นอย่างมากครับ ถ้าคุณ ต้องการติดตัง้ใช้งาน Ubuntu เพียงอย่างเดียว หรือเคร่ อ ื งคุณเป็ นเคร่ ืองเปล่าทีเ่ พิ่งซ้ ือมาใหม่ ให้

คุณเลือกที่ "Erase entire disk" ได้เลย ซ่ งึ ระบบจะลบข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ทัง้หมด และทำาการติด ตัง้ Ubuntu ลงไป

Picture 2.12

By Doing Co., Ltd. 15


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop แต่ถา้ หากเคร่ ืองของคุณติดตัง้ระบบปฏิบัตก ิ ารอ่ น ื อยู่ เช่น Windows และคุณยังต้อง การที่จะใช้มน ั อยู่ คุณสามารถติดตัง้ Ubuntu คู่ไปกับวินโดวส์ได้ โดยเลือกที่ "Resize ..." ตาม

ภาพได้เลยครับ ซ่ งึ ระบบจะปรับขนาดพาร์ทช ิ น ั ่ ทีใ่ ช้อยูเ่ ดิมให้เล็กลง และติดตัง้ Ubuntu ลงไปใน พ้ ืนทีว ่ า่ งหลังจากที่พาร์ทช ิ น ั ่ เดิมถูกปรับขนาดลงไปแล้ว เม่ ือเสร็จสิน ้ ขัน ้ ตอนทัง้หมดแล้วโปรแกรมติดตัง้ จะจัดการติดตัง้ Ubuntu ลงใน ฮาร์ดดิสก์ของคุณ ซ่ งึ จะต้องใช้เวลาสักครู่ ข้ น ึ อยูก ่ ับความเร็วของเคร่ ืองคุณ จนเม่ ือระบบได้ทำา การติดตัง้เรียบร้อยแล้ว จะมีกล่องข้อความข้ ึนมาถามว่า "Continue using the live

CD"หรือ"Restart now" ซ่ ึงผมแนะนำาใหคุณรีสตาร์ทเคร่ อ ื งก่อน แล้วค่อยกลับมาใช้งานต่อจะดี กว่าครับ

Picture 2.13

By Doing Co., Ltd. 16


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Unit3: กำรใช้งำนเบ้อ ื งต้น ในบทนีจ ้ ะแนะนำาเร่ ืองของการใช้งานในเบ้ อ ื งต้น ตัง้แต่แนะนำาให้คุณรูจ ้ ก ั กับส่วนต่างๆ บนหน้าจอ การปรับแต่งค่าพ้ น ื ฐานเล็กๆน้อยๆ ไปจนถึงแนะนำาโปรแกรมสำาหรับใช้งานทัว ่ ไป ทีไ่ ด้ รวบรวมมาแล้วพร้อมกันในแผ่น Ubuntu

รูจ ้ ักกับระบบไฟล์และโฟลเดอร์ หลังจากทีเ่ ราติดตัง้กันเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ก่อนทีเ่ ราจะเปิ ดเคร่ อ ื งเพ่ อ ื ทำาความรูจ ้ ก ั กับ

ส่วนต่างๆของ Ubuntu นัน ้ สิ่งแรกที่คุณควรรูแ ้ ละทำาความเข้าใจไว้กอ ่ นคือเร่ ืองของระบบไฟล์ และโฟลเดอร์ของ Ubuntu ครับ

ระบบไฟล์ของ Ubuntu หรือแม้แต่ลน ิ ก ุ ซ์ตัวอ่ น ื ๆก็ตาม จะไม่เหมือนกับ Windows ที่ เราจะเห็นว่ามี Drive C, Drive D นะครับ ซ่ ึงเป็ นเร่ ืองที่ตอ ้ งทำาความเข้าใจไว้กอ ่ น เด๋ียวจะงง เม่ ือถึงตอนทีค ่ ุณเริม ่ ใช้งานแล้ว คุณจะเห็นพาธต่างๆของ Ubuntu ซ่ งึ ผมจะอธิบาย คร่าวๆไว้ เฉพาะพาธทีส ่ ำาคัญๆ ว่าพาธไหนคืออะไรครับ

/ : root path พาธที่เป็ นต้นราก

bin : เก็บไบนารีค ่ ำาสัง่ต่างๆของระบบไว้

boot : เก็บไฟล์ทจ ี่ ำาเป็ นสำาหรับการบูตระบบ

etc : เก็บการตัง้ค่าที่จำาเป็ นสำาหรับโปรแกรมต่างๆ

home : คล้าย My Document

user1 : My Document ของผูใ้ ช้ช่ือ user1

Desktop : Desktop ของ user1

.Trash : ถังขยะของ user1

gumara : My Document ของ gumara

Desktop : Desktop ของ gumara

.Trash : ถังขยะของ gumara

media : อุปกรณ์ตา่ งๆเรียกใช้ได้ที่นี่ เช่น CD, Floppy

By Doing Co., Ltd. 17


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

cdrom : Drive CD

fda0 : Floppy

sbin : เก็บคำาสัง่สำาคัญของระบบ เช่น ปิ ดเคร่ อ ื ง, รีสตาร์ท

tmp : ที่เก็บไฟล์ชัว ่ คราว จะถูกลบเม่ ือรีสตาร์ท

usr : ที่เก็บไฟล์ตา่ งๆที่ผใู้ ช้จะใช้

bin : เก็บคำาสัง่ต่างๆ

firefox : คำาสัง่เรียก Firefox

openoffice : คำาสัง่เรียก OpenOffice.org

ทัง้หมดนีเ้ป็ นพาธสำาคัญๆที่นา่ จะรูจ ้ ก ั ไว้ แต่ในความเป็ นจริงแล้ว เม่ ือใช้งานคุณคงไม่ ได้ยุ่งกับพาธเหล่านีโ้ดยตรงสักเท่าไหร่ ซ่ ึงจริงๆแล้วผมแค่อยากให้คุณรูจ ้ ก ั ไว้เท่านัน ้ เผ่ ือว่าเปิ ด เข้ามาเจอว่ามันไม่เหมือนที่เคยใช้บน Windows จะได้ไม่ต้องตกใจ

เปิ ดเคร่ อ ื ง หลังจากทีไ่ ด้ทำาการติดตัง้ Ubuntu เป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว เม่ ือคุณทำาการเปิ ดเคร่ อ ื ง

คอมพิวเตอร์ คุณจะได้พบกับเมนูสำาหรับเลือกระบบปฏิบต ั ิการ (กรณีติดตัง้คู่กบ ั Windows) เพ่ อ ื ที่ คุณจะสามารถเลือกได้ว่าจะเข้าใช้งาน Ubuntu หรือ Windows ตามภาพจะเห็นว่าในเมนูจะมีให้ เลือกอยูห ่ ลายตัว ซ่ งึ จะมีอยู่ 3 ตัวเลือกที่สำาคัญคือ

Ubuntu : สำาหรับเข้าใช้งาน Ubuntu

Recovery mode : เพ่ ือแก้ไขปั ญหาสำาหรับ Ubuntu

Windows : สำาหรับเข้าใช้งาน Windows

Picture 3.1

By Doing Co., Ltd. 18


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop เม่ ือผ่านจากเมนูสำาหรับเลือกระบบปฏิบต ั ิการมาแล้ว คุณจะพบกับหน้าต่างล๊อกอิน เพ่ ือเข้าระบบ ทีห ่ น้าจอนีค ้ ุณจะเห็นช่องสำาหรับกรอกช่ อ ื ผูใ้ ช้ ทีด ่ า้ นบนเขียนกำากับไว้วา่

Username: ให้คุณกรอกช่ ือทีต ่ ัง้ไว้ในตอนทีต ่ ด ิ ตัง้ จากนัน ้ Enter หน่ งึ ครัง้ คำาว่า Username: ที่ เขียนกำากับไว้จะเปลีย ่ นเป็ น Password: ให้คุณกรอกรหัสผ่านลงไป เสร็จแล้วระบบจะพาคุณเข้าสู่ หน้าจอการใช้งาน Ubuntu

Picture 3.2

หน้ำจอกำรทำำงำน หน้าจอของ Ubuntu แม้จะมีความเรียบง่ายมากแล้ว แต่สำาหรับผูท ้ เี่ พิง่ เริม ่ ใช้ ก็ไม่นา่ แปลกใจอะไรหากจะหยิบจับอะไรไม่ค่อยถูกเพราะความไม่เคยชิน เพราะฉะนัน ้ ผมจะพาไปทำา ความรูจ ้ ก ั กับส่วนต่างๆของหน้าจอกันสักเล็กน้อยครับ

Picture 3.3

By Doing Co., Ltd. 19


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop อธิบายตามภาพนะครับ 1.

เมนูต่างๆสำาหรับเรียกโปรแกรม ซ่ งึ เด๋ียวจะอธิบายอีกทีครับ

2.

Application Launcher สำาหรับเรียกโปรแกรม

3.

ตัวแจ้งเตือนการอัพเดทระบบ

4.

System tray สำาหรับแสดงสถานะของระบบ และโปรแกรมที่ทำาการซ่อนตัวอยู่

5.

ป่ ุมปิ ดเคร่ ืองและออกจากระบบ

6.

ป่ ุมแสดงหน้าจอ สำาหรับซ่อนและแสดงหน้าต่างทัง้หมด

7.

Window List จะแสดงโปรแกรมต่างๆทีก ่ ำาลังทำางานอยู่

8.

Workspaces Switcher สำาหรับสลับหน้าจอการทำางานเสมือน

9.

Trash ถังขยะเก็บไฟล์ทถ ี่ ก ู ลบแล้ว

เมนูหลักของ Ubuntu จากภาพ ในลำาดับทีห ่ น่ งึ จะเห็นเมนูอยู่ทงั ้ หมด 3 เมนูคือ Applications, Places และ

System ซ่ งึ เมนูแต่ละอย่างจะมีหน้าทีต ่ ่างกันดังนีค ้ รับ เมนู Applications

โปรแกรมต่างๆจะถูกจัดหมวดหมู่เก็บไว้เป็ นอย่างดีในเมนูนี้ ซ่ งึ คุณสามารถเรียกใช้

โปรแกรมต่างๆทีม ่ ไี ด้ ผ่านทางเมนู Applications นี้เลยครับ

Picture 3.4

By Doing Co., Ltd. 20


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop เมนู Places ที่เมนูนีจ ้ ะเก็บ Shortcut สำาหรับเข้าถึงโฟลเดอร์สำาคัญต่างๆไว้ เช่น Home (คล้าย My Document), Computer (คล้าย My Computer) หรืออ่ ืนๆ ทีเ่ ห็นตามในเมนูครับ

Picture 3.5

เมนู System ในเมนู System จะมีอยูส ่ องส่วนสำาคัญคือการตัง้ค่า Preferences หมายถึงการตัง้ค่า

ส่วนตัว และ Administration หมายถึงการปรับแต่งค่าของระบบ

Picture 3.6

ทัง้หมดนีค ้ ือส่วนประกอบหลักๆบนหน้าจอของ Ubuntu เม่ ือเราติดตัง้เสร็จ และด้วย

ความยืดหยุ่นของ Linux ทำาให้เราสามารถปรับแต่งได้ตามใจชอบครับ

By Doing Co., Ltd. 21


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

ปรับแต่งกำรแสดงผล ในตอนนีเ้ราจะมาปรับแต่ง Ubuntu ของเราในส่วนของการแสดงผลกันครับ เช่นเดียว กับระบบปฏิบัตก ิ ารอ่ น ื ๆ Ubuntu สามารถปรับแต่งการแสดงผลได้ในระดับหน่ ึง ซ่ ึงก็เพียงพอต่อ ความต้องการแล้วครับ

ควำมละเอียดหน้ำจอ เม่ ือคุณติดตัง้ Ubuntu เสร็จ Ubuntu จะเลือกความละเอียดมากทีส ่ ด ุ ทีจ ่ อภาพและ การ์ดแสดงผลรองรับ ซ่ งึ บางครัง้มันก็ละเอียดมากซะจนทำาให้ไอคอนและตัวหนังสือต่างๆนัน ้ ดูเล็ก ไปซะหมด ซ่ ึงเราสามารถปรับความละเอียดของหน้าจอให้ตรงตามความต้องการได้ครับ การปรับ ค่าความละเอียดหน้าจอนัน ้ สามารถทำาได้ โดยไปที่ เมนู System > Preferences > Screen

Resolution หน้าต่างการตัง้ค่าความละเอียดหน้าจอจะถูกเรียกข้ น ึ มา ซ่ งึ คุณสามารถเลือกความ ละเอียดได้ตามต้องการครับ เสร็จแล้วกดที่ Apply เพ่ ือใช้งานค่าทีเ่ ลือกได้ทน ั ทีครับ

Picture 3.7

By Doing Co., Ltd. 22


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

เปล่ียนภำพพ้ืนหลัง ก่อนทีจ ่ ะเริ่มเปลีย ่ นภาพพ้ ืนหลังกันได้นัน ้ (หรือที่เราเรียกกันอย่างติดปากว่า

wallpaper) แน่นอนว่าก่อนอ่ ืนคุณต้องมีภาพพ้ น ื หลังที่จะใช้กอ ่ น คุณสามารถใช้ภาพใน

ฟอร์แมทใดมาทำาเป็ นภาพพ้ น ื หลังก็ได้ แค่พยายามหาให้ภาพนัน ้ มีความละเอียดไม่น้อยไปกว่า Resolution ของหน้าจอเป็ นดี

เม่ ือได้ภาพทีต ่ ้องการมาแล้วให้คุณไปที่เมนู System > Preferences > Desktop

Background หรือคลิกขวาบนทีว ่ า่ งบนหน้าจอแล้วเลือก Change Desktop Background ก็ได้ ครับ ระบบจะทำาการเรียกโปรแกรม Desktop Background Preferences ข้ ึนมา ภายในหน้าจอของนี้ คุณจะเห็นภาพหน้าจอทีม ่ ใี ห้อยู่แล้วจำานวนหน่ ึง ซ่ งึ คุณสามารถ เลือกที่ภาพและใช้งานได้ทน ั ที แต่ถา้ คุณไม่อยากใช้ภาพพ้ ืนหลัง คุณสามารถเซตให้เป็ นสีเดียวก็

ได้ โดยที่ชอ ่ ง Wallpaper ให้เลือก No Wallpaper และเลือกสีทต ี่ ้องการทีช ่ อ ่ ง Desktop Colors

Picture 3.8

ส่วนการนำาภาพทีต ่ ้องการมาทำา Wallpaper นัน ้ ให้คลิกทีป ่ ่ม ุ Add Wallpaper แล้ว

เลือกไฟล์ภาพที่คุณต้องการ เพียงเท่านีภ ้ าพทีค ่ ุณต้องการก็จะปรากฏข้ ึนมาเป็ น Wallpaper แล้ว ครับ

เปล่ียนและตัง้ชุดตกแต่ง หน้าตาของ Ubuntu ที่คุณเห็นอยู่นี้ เป็ นการจัดวางองค์ประกอบลักษณะหน่ งึ คือการ

จัดวาง Panel ในรูปแบบทีเ่ ห็น และในส่วนของหน้าต่าง ไอคอน หรือป่ ม ุ กดต่างๆทีเ่ ราเห็นว่ามี หน้าตาเช่นนีน ้ น ั ้ เกิดข้ น ึ จากการจัดการของชุดตกแต่ง หรือที่เรียกว่า Theme ซ่ งึ Theme

มาตรฐานที่ Ubuntu ใช้อยู่น้ี จะมีช่ือว่า Human ที่มส ี อ ี อกไปในโทนน้ำาตาล Theme นี้ Ubuntu By Doing Co., Ltd. 23


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ใช้มาตัง้แต่ Ubuntu เวอร์ชน ั ่ แรก (4.10) แต่นอกจากชุดตกแต่งในแบบที่เราเห็นอยู่ในตอนนี้ Ubuntu สามารถเปลีย ่ น Theme

ได้ตามต้องการครับ วิธีเปลีย ่ น Theme นัน ้ ให้ไปที่ เมนู System > Preference > Theme หน้า ต่าง Theme Preference จะถูกเรียกข้ ึนมา ซ่ ึงจะมี Theme แบบต่างๆให้คุณเลือกใช้ได้อยู่

จำานวนหน่ ึง คุณสามารถเลือกใช้ได้ตามสะดวกเลยครับ หรือถ้ายังไม่ตรงกับความต้องการจะหามา ติดตัง้เพิ่มเติมก็ไม่เป็ นปั ญหาแต่อย่างใดครับ เพียงแต่วา่ Theme ที่เราจะนำามาติดตัง้นัน ้ จะ ประกอบไปด้วยองค์ประกอบต่างๆ จึงจะเห็นออกมาเป็ นหน้าตาในรูปแบบนีค ้ รับ

องค์ประกอบของชุดตกแต่ง

Picture 3.9

ก่อนทีค ่ ุณจะติดตัง้ Theme ได้ คุณต้องเข้าใจองค์ประกอบของมันก่อนครับ ว่าใน Theme หน่ งึ ชุดทีเ่ ราเลือกข้ ึนมาใช้นน ั ้ ประกอบด้วยอะไรบ้าง ให้คุณลองคลิกที่ Theme สักชุดนึง แล้วคลิกทีป ่ ่ม ุ Customize... ครับ คุณจะเห็นว่าในหน่ งึ Theme จะประกอบด้วย

Controls: ส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าต่างโปรแกรม เช่น Scroll bar, ป่ ม ุ กดต่างๆ

Colors: เป็ นการปรับสีส่วนต่างๆของ Theme จะปรับได้ต่อเม่ ือ Theme นัน ้ ๆ รองรับ

Window Border: ส่วนขอบของหน้าต่าง

Icons: ไอคอนทีเ่ ราเห็นทัว ่ ไปบนหน้าจอ ในเมนู องค์ประกอบต่างๆนี้ คุณสามารถหยิบเอาส่วนที่ตอ ้ งการ เช่น Window Border ของอีก

Theme มาประกอบกับ Icons ของอีก Theme เพ่ ือใช้เป็ น Theme ใหม่ได้ครับ

By Doing Co., Ltd. 24


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ตามภาพผมปรับแต่งให้คล้ายกับหน้าจอการทำางานของ Windows เพ่ ือให้คนทีเ่ พิง่ หัน มาลองใช้ ทีแ ่ ต่เดิมใช้ Windows อยูจ ่ ะคุ้นเคยได้งา่ ยกว่า ซ่ งึ คุณผูอ ้ า่ นคงจะพอเห็นเป็ นแนวทาง

แล้วว่าหน้าตาของ Ubuntu นัน ้ สามารถปรับแต่งได้และยืดหยุ่นพอสมควร อย่างไรแล้วก็ทดลอง ปรับแต่งกันให้ตรงตามทีช ่ อบใจนะครับ

Picture 3.10

เพ่ิมและปรับแต่ง Panel จากที่ได้แนะนำาให้รู้จก ั Panel ไปแล้วในส่วนของ “หน้าจอการทำางาน” Panel นีเ้รา สามารถปรับได้ครับ ไม่ว่าจะเป็ น ตำาแหน่งของ Panel หรือส่วนต่างๆทีอ ่ ยูใ่ น Panel เพ่ิม/ลบ/ย้ำย Panel ตัว Panel เองเราสามารถย้ายตำาแหน่งได้ดว ้ ยการคลิกค้างทีพ ่ ้น ื ทีว ่ ่างบน Panel จาก นัน ้ ลากไปไว้ทม ี่ ม ุ ใดของหน้าจอก็ได้ เม่ อ ื อยูใ่ นตำาแหน่งทีต ่ อ ้ งการแล้วให้ทำาการปล่อยเมาส์ Panel จะถูกวางลงในตำาแหน่งทีเ่ ลือก

ส่วนการเพิ่มและลบนัน ้ ให้คุณคลิกขวาที่พ้น ื ทีว ่ ่างของ Panel คุณจะพบเมนูสำาหรับ

By Doing Co., Ltd. 25


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop จัดการ Panel โดยป่ ุม New Panel จะเป็ นการสร้าง Panel ใหม่ ส่วน Delete This Panel หมาย ถึงลบ Panel ที่เลือกทิง้ไป นอกจากนีค ้ ุณยังตัง้ค่ารายละเอียดของ Panel ได้โดยการเลือกที่

Properties จะปรากฏหน้าต่าง Panel Properties ข้ ึนมา ให้คุณทดลองตัง้ค่าได้ตามชอบใจครับ

Picture 3.11

Object Panel พวกไอคอนเรียกโปรแกรม, ป่ ม ุ ปิ ดเคร่ ือง, ถังขยะและอ่ น ื ๆที่อยู่บน Panel จะเรียก รวมๆว่า Object Panel ครับ พวกนีเ้ราสามารถเพิ่ม, ลบ หรือย้ายได้ตามต้องการ หากโปรแกรมทีค ่ ุณต้องการเพิ่มลงในไอคอนมีอยู่ใน เมนู Applications แล้ว คุณ สามารถคลิกค้างที่ป่ม ุ เรียกโปรแกรมในเมนูนัน ้ ๆแล้วนำามาวางใน Panel ได้ทันที ส่วนการย้าย,

ลบ หรือล๊อกติดกับ Panel สามารถทำาได้โดยการคลิกขวาที่ไอคอนนัน ้ ๆ แล้วเลือกทำาตามทีต ่ ้อง การครับ

By Doing Co., Ltd. 26


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

เปล่ียนฟอนต์ทีใ่ ช้แสดงผล แบบอักษร หรือทีเ่ รียกว่าฟอนต์ทใี่ ช้ในการแสดงผล ในส่วนต่างๆของ Ubuntu เรา

สามารถเปลี่ยนเป็ นรูปแบบอักษรแบบอ่ ืนได้ตามใจชอบ วิธีการเปลีย ่ นแบบอักษรนีใ้ห้ไปที่ เมนู System > Preferences > Font หน้าต่างการตัง้ค่า Font Preferences จะเปิ ดข้ น ึ มา ซ่ ึงคุณ

สามารถเลือกแบบอักษรให้กบ ั ส่วนประกอบต่างๆของหน้าจอได้ ในขัน ้ ตอนนีใ้ห้คุณเลือกและทด สอบการตัง้ค่าต่างๆด้วยตนเองเลยครับ

Picture 3.12

ในส่วนของ Font Rendering นัน ้ เป็ นรูปแบบวิธีในการแสดงผลของแบบอักษรบน

หน้าจอ วิธีการเลือกทีง่ ่ายและดีทส ี่ ุดนัน ้ คือ ให้เลือกแบบทีค ่ ุณมองแล้วสบายตาเป็ นใช้ได้ครับ

ถ้าหากคุณใช้หน้าจอเป็ นภาษาไทย (จะแนะนำาการตัง้ค่าหน้าจอภาษาไทยใน Unit 4)

คุณต้องเลือกแบบอักษรทีเ่ ป็ นภาษาไทยด้วยเช่นเดียวกัน ซ่ ึงแบบอักษรภาษาไทยที่มใี ห้ใช้ใน Ubuntu จะมีแบบอักษรต่างๆดังนีค ้ รับ

Norasi

Garuda

Loma

Purisa

Freeserif

TLWG mono

By Doing Co., Ltd. 27


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

แนะนำำโปรแกรมพ้ืนฐำน เม่ ือคุณทำาการติดตัง้ Ubuntu เป็ นที่เรียบร้อยแล้ว จะมีโปรแกรมพ้ น ื ฐานมาให้พร้อมใช้ ในทันที ซ่ งึ ไม่จำาเป็ นต้องติดตัง้เพิม ่ แต่อย่างใด สำาหรับในตอนนี้ ผมจะแนะนำาโปรแกรมพ้ น ื ฐาน แต่ละตัวให้รจ ู้ ักกันครับ เพ่ อ ื จะได้เลือกใช้งานได้อย่างถูกต้อง

File Manager โปรแกรมจัดการไฟล์ใน Ubuntu จะมีช่ือเรียกว่า Nautilus ครับ ทุกครัง้ทีค ่ ุณเปิ ด โฟลเดอร์บ้าน หรือดับเบิลคลิกทีโ่ ฟลเดอร์ใดๆก็ตาม Nautilus จะถูกเรียกข้ ึนมาทำางาน โปรแกรม

Nautilus นีม ้ ห ี น้าตาไม่แตกต่างจาก File Manager ของ Windows มากนัก การเรียนรูจ ้ งึ ไม่ยาก

Picture 3.13

ส่วนต่ำงๆใน Nautilus 1.

เมนูหลัก

2.

แถบเคร่ ืองมือ

3.

ตำาแหน่ง

4.

ย่อ/ขยาย และมุมมอง

5.

เมนูข้าง

6.

ไฟล์และโฟลเดอร์

7.

แถบสถานะ

By Doing Co., Ltd. 28


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop เทคนิคในกำรใช้งำน การแสดงแฟ้ มซ่อนให้คุณกด Ctrl+H โปรแกรมจะแสดงไฟล์และแฟ้ มทีถ ่ ูกซ่อนข้ ึนมา ซ่ ึงส่วนใหญ่จะเป็ นไฟล์ที่ใช้ในการบันทึกการตัง้ค่าส่วนตัว การสร้างแฟ้ มซ่อนนัน ้ เพียงแค่เปลีย ่ น ช่ ือไฟล์หรือแฟ้ มนัน ้ ๆ แล้วใส่ “จุด” นำาหน้า เช่น โฟลเดอร์ช่อ ื hidden เปลีย ่ นช่ ือเป็ น .hidden ไฟล์หรือแฟ้ มนัน ้ ๆ จะถูกซ่อนในทันที ในส่วนของตำาแหน่งในหมายเลข 3 ถ้าคุณรูต ้ ำาแหน่งทีแ ่ น่นอนทีต ่ อ ้ งการไป เช่น /media/cdrom คุณสามารถพิมพ์ตำาแหน่งลงไปได้เลย โดยการกด Ctrl+L แถบที่ใช้บอกตำาแหน่ง ด้วยป่ ม ุ จะเปลีย ่ นเป็ นแถบยาวๆคล้ายของ Web Browser เพ่ ือให้คุณพิมพ์ตำาแหน่งทีต ่ ้องการได้ เลย เมนูดา้ นข้างคุณสามารถเปลี่ยนจากสถานทีส ่ ำาคัญ เป็ นข้อมูลของแฟ้ มหรือมุมมองแบบ รากไม้กไ็ ด้ ด้วยการคลิกทีข ่ ้อความทีเ่ ขียนว่า Places แล้วเลือกตัวเลือกที่ตอ ้ งการ

Web Browser โปรแกรม Web Browser หรือที่เรียกกันติดปากว่าโปรแกรมท่องอินเทอร์เน็ตนัน ้ จะ

เป็ นโปรแกรม Firefox ซ่ งึ วิธีการใช้งานนัน ้ เหมือนกับ Firefox ที่เป็ นเวอร์ชน ั ่ ของ Windows อยู่ แล้ว วิธีเรียกใช้โปรแกรม Firefox นี้ สามารถเรียกได้จาก เมนู Applications > Internet > Firefox Web Browser

Picture 3.14

By Doing Co., Ltd. 29


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ตัง้ค่ำภำษำไทย การตัง้ค่าภาษาไทยสำาหรับ Firefox เพ่ ือใช้เว็บไซต์ภาษาไทยนัน ้ เราจะต้องทำาการตัง้ ค่าเพ่ ือใช้งานสำาหรับการเข้ารหัสสองแบบคือ UTF-8 และ TIS-620 วิธีการตัง้ค่าให้คุณคลิกที่ Edit > Preferences หน้าต่างการตัง้ค่าจะถูกเปิ ดข้ ึนมา ให้ คุณเลือกที่ Content (ที่มไี อคอน ลูกโลก) โปรแกรมจะแสดงส่วนปรับตัง้ค่าสำาหรับการแสดงผล ของเว็บไซต์ข้ึนมา ดูที่กรอบ Fonts & Colors ที่ชอ ่ ง Default Font ผมแนะนำาให้เลือก Loma ซ่ ึงเป็ นฟอนต์ที่สวยมากๆตัวหน่ งึ จากนัน ้ ท้ายช่อง Default Font ให้คลิกที่ Advanced... หน้าต่างสำาหรับตัง้ค่าฟอนต์จะเปิ ดข้ ึนมา ทีช ่ อ ่ งบนสุดให้คลิกเลือกเป็ น Thai ก่อน เพ่ อ ื ปรับแต่งค่าสำาหรับเว็บไซต์ที่เข้ารหัสแบบ TIS-620 ที่ชอ ่ ง Serif และ Sans-serif ให้เลือกฟอนต์ เป็ น Loma เสร็จแล้ว ทีช ่ ่อง Fonts for ที่เราได้เลือกเป็ น Thai เม่ ือสักครู่ ให้เปลีย ่ นเป็ น

Western เพ่ ือตัง้ค่าการแสดงผลสำาหรับเว็บทีเ่ ข้ารหัสแบบ UTF-8 ที่ชอ ่ ง Serif และ Sans-serif

ให้เลือกเป็ น Loma เช่นเดิม เสร็จแล้วทีก ่ รอบ Character Encoding ด้านล่าง ให้เลือกเป็ น Thai (TIS-620) เพ่ อ ื ให้หน้าเว็บทีไ่ ม่ได้กำาหนดรหัสภาษาใช้การเข้ารหัสแบบ TIS-620 โดยอัตโนมัติ เพียงเท่านีก ้ เ็ ป็ นอันเสร็จสิน ้ การตัง้ค่าภาษาของ FireFox ครับ

Picture 3.15

By Doing Co., Ltd. 30


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Movie Player โปรแกรมดูหนังใน Ubuntu จะมีช่ือว่า Totem ครับ ใช้สำาหรับเล่นไฟล์ภาพยนต์ต่างๆ

รวมถึง CD และ DVD ด้วย ตัวโปรแกรมสามารถเรียกได้ทาง เมนู Applications > Sound & Video > Movie Player โดยในเบ้ อ ื งต้นหลังจากทีต ่ ิดตัง้ Ubuntu เสร็จแล้ว โปรแกรมจะไม่

สามารถเล่นไฟล์บางประเภทได้ เน่ ืองจากการเข้ารหัสของไฟล์บางประเภทนัน ้ ติดสิทธิบัตร ฉะนัน ้ Ubuntu จึงไม่ได้รวมตัวถอดรหัสมาให้จงึ ไม่สามารถชมภาพยนตร์ได้ทน ั ที จำาเป็ นต้องติดตัง้แพ คเกจบางอย่างเพิม ่ ซ่ งึ ผมจะแนะนำาไว้ใน Unit 4 ครับ

Picture 3.16

Music Player โปรแกรมสำาหรับฟั งเพลงใน Ubuntu นัน ้ มีช่ือว่า Rhythmbox ครับ สามารถเรียกใช้ งานได้ผา่ น เมนู Applications > Sound & Video > Rhythmbox Music Player และเช่นเดียว กับโปรแกรม Movie Player ที่โปรแกรมจะยังไม่สามารถเล่นไฟล์ได้ในบางประเภท เน่ อ ื งจาก ปั ญหาเดียวกันคือเร่ ืองของ สิทธิบต ั ร ส่วนวิธีแก้ไขนัน ้ ผมจะแนะนำาไว้ใน Unit 4 ครับ

Picture 3.17

By Doing Co., Ltd. 31


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Image Editor โปรแกรมสำาหรับตัดต่อและตกแต่งภาพนัน ้ Ubuntu เลือกเอาโปรแกรม GIMP เข้ามา

รวมไว้เป็ นโปรแกรมหลักทีใ่ ช้สำาหรับตกแต่งภาพครับ ซ่ งึ มีความสามารถไม่แพ้โปรแกรมตกแต่ง ภาพชัน ้ นำาในท้องตลาดเลย ทัง้การทำางานแบบเลเยอร์ ฟิ ลเตอร์ต่างๆทีม ่ ใี ห้เลือกใช้ แถมยังรอง

รับไฟล์หลากหลายรูปแบบทีเ่ ป็ นที่นย ิ ม ไม่เว้นแม้แต่ไฟล์ .psd ของโปรแกรม Photoshop ก็ตาม การเรียกโปรแกรมนัน ้ ให้ไปที่ เมนู Applications > Graphics > GIMP Image Editor ครับ

Picture 3.18

Image Viewer โปรแกรมดูภาพใน Ubuntu จะแบ่งออกเป็ นสองโปรแกรมด้วยกันคือ eog (Eye Of

Gnome ตามภาพที่ 3.19) โปรแกรมขนาดเล็กสำาหรับดูภาพ และการปรับแต่งระดับพ้ น ื ฐาน เช่น หมุนภาพ ปรับขนาด และอีกโปรแกรมคือโปรแกรมดูรป ู ภาพที่มค ี วามสามาถข้ ึนมาอีกระดับคือ gThumb (ภาพที่ 3.20) โปรแกรม gThumb มีความสามารถมากกว่า eog คือ สามารถจัด

Catalogs ให้รป ู ภาพได้ ปรับความมืด สว่าง และค่าต่างๆเกีย ่ วกับสีได้ ตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วน ที่ตอ ้ งการได้ แปลงภาพไปเป็ นไฟล์ภาพสกุลอ่ น ื ได้

Picture 3.19

By Doing Co., Ltd. 32


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop การเรียกใช้งาน eog สามารถเรียกได้โดยการดับเบิล ้ คลิกทีภ ่ าพที่ตอ ้ งการดูได้เลย โปรแกรม eog จะถูกเรียกข้ ึนมาทำางานพร้อมกับแสดงภาพทีต ่ ้องการข้ ึนมา ส่วนการเรียก

โปรแกรม gThumb นัน ้ เรียกได้จาก เมนู Applications > Graphics > gThumb Image Viewer

Office Suite

Picture 3.20

โปรแกรมด้านสำานักงาน (การพิมพ์เอกสาร, ตารางคำานวน ฯลฯ) ใน Ubuntu จะมี

โปรแกรมทีช ่ ่ ือ OpenOffice.org ให้ใช้ ซ่ งึ ในชุดของ OpenOffice.org จะรวมโปรแกรมสำาหรับทำา งานต่างๆไว้ภายใน ดังต่อไปนี้

Writer : พิมพ์เอกสาร

Calc : ตารางคำานวน

Impress : การนำาเสนอ

Base : ฐานข้อมูล

Draw : วาดกราฟ, ไดอะแกรมอย่างง่าย

Picture 3.21

By Doing Co., Ltd. 33


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop การเรียกใช้โปรแกรม OpenOffice.org ให้คุณไปที่ เมนู Applications > Office คุณ จะเห็นโปรแกรมคำาสัง่เพ่ ือเรียกโปรแกรม OpenOffice.org ด้วยกันสีค ่ ำาสัง่ดังนี้

OpenOffice.org Database

OpenOffice.org Presentation

OpenOffice.org Spreadsheet

OpenOffice.org Word Processor จากคำาสัง่เรียกโปรแกรมทัง้สี่ คุณสามารถเรียก OpenOffice.org ข้ ึนมาทำางานนัน ้ ๆได้

ทันที ส่วนการเรียกใช้ OpenOffice.org Draw ซ่ ึงไม่มใี ห้เรียกผ่านเมนูนัน ้ คุณต้องเปิ ด OpenOffice.org ตัวใดตัวหน่ งึ ข้ ึนมาก่อน แล้วคลิกที่ File > New > Drawing กำรตัง้ค่ำเพ่ อ ื ใช้งำนภำษำไทย เพ่ ือการใช้งานภาษาไทยทีส ่ มบูรณ์แบบ คุณต้องไปเปิ ดใช้งานในส่วนของ ภาษา

ประเภท CTL เสียก่อน ทีโ่ ปรแกรม OpenOffice.org คลิกที่ Tools > Options... หน้าต่าง Options จะเปิ ดข้ น ึ มาเพ่ ือให้คุณตัง้ค่าต่างๆ ในการตัง้ค่าภาษานัน ้ ให้คุณคลิกเลือกที่ Language Settings > Languages ให้คุณตัง้ค่าตามนี้

Locale setting : Thai

Default currency : THB ฿ Thai

CTL : Thai เพียงเท่านีก ้ ารใช้งานภาษาไทยในงานเอกสารของคุณก็จะสมบูรณ์ยิ่งข้ ึนแล้วครับ

Picture 3.22

By Doing Co., Ltd. 34


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Chat MSN หลายครัง้ที่ผมชวนให้คนหันมาใช้ Ubuntu สิ่งหน่ งึ ที่คนส่วนใหญ่กงั วลคือจะไม่ได้

แชทกับเพ่ ือนผ่านทาง MSN Messenger แต่ทจ ี่ ริงแล้วใน Ubuntu มีโปรแกรมสำาหรับแชททีช ่ ่ ือ Gaim ซ่ ึงรองรับการแชทในแทบจะทุกเคร่ ือข่ายที่เป็ นทีน ่ ิยม ตัง้แต่ MSN, Yahoo, Gmail, ICQ, IRC, AOL etc. และยังสามารถทีจ ่ ะออนไล์หลายเครือข่ายพร้อมกันได้อก ี ด้วย

Picture 3.23

ตัง้ค่ำแชท MSN แม้จะมีขอ ้ จำากัดอยู่บา้ ง เช่น ตัง้ช่ ือได้ดว ้ ยความยาวที่จำากัด ใช้เอฟเฟกต์ต่างๆไม่ได้

(เช่น สัน ่ หน้าต่าง) เป็ นต้น แต่ในการใช้งานพ้ ืนฐาน เช่น พูดคุย หรือส่งไฟล์ให้กน ั นัน ้ สามารถทำา ได้เป็ นอย่างดี

Picture 3.24

By Doing Co., Ltd. 35


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

เปิ ดโปรแกรม Gaim ข้ ึนมา โดยคลิกที่ เมนู Applications > Internet > Gaim Internet Messenger

จะมีหน้าต่างของโปรแกรม Gaim ปรากฏข้ ึนมาสองหน้าต่างคือ Buddy List และ Accounts

ที่หน้าต่าง Accounts ให้คลิกที่ Add จะเป็ นการสร้างบัญชีผใู้ ช้สำาหรับออนไลน์

โปรแกรมเพิ่มบัญชีผใู้ ช้จะถูกเรียกข้ ึนมา ให้ป้อนค่าตามนี้

Protocal : MSN

Screen Name : ใส่อเี มล์ของคุณ

Password : รหัสผ่านของคุณ (รอกรอกตอน Login ก็ได้)

ในส่วนของ User Options จะสามารถใส่ภาพได้ ซ่ งึ จะใส่หรือไม่กไ็ ด้

เสร็จแล้วคลิกที่ Save เพ่ ือทำาการบันทึก

คุณจะกลับมาทีห ่ น้า Account อีกครัง้ให้คลิกเลือกทีช ่ อ ่ ง Enabled เพ่ อ ื ออนไลน์

รอระบบทำาการเช่ ือมต่อ แล้วก็แชทได้เลย

Email Client โปรแกรม Email Client ใน Ubuntu จะมี Evolution มาให้ใช้ครับ สามารถได้ใช้ได้

ผ่านทาง เมนู Applications > Internet > Evolution Mail ครับ Evolution เป็ นโปรแกรมทีม ่ ี

ความสามารถมากกว่าทีจ ่ ะใช้สำาหรับรับส่งอีเมล์เพียงอย่างเดียว มันสามารถเป็ นทัง้สมุดจดช่ ือที่ อยู่ ตารางปฏิทน ิ จดบันทึกต่างๆ ฯลฯ

วิธีการตัง้ค่าเพ่ ือใช้งานอีเมล์นน ั ้ จะคล้ายกับโปรแกรม Email Client ตัวอ่ น ื ๆ ซ่ ึงค่าที่

จะตัง้นัน ้ คุณต้องสอบถามกับผู้ดแ ู ลระบบของหน่วยงานของคุณเอง

Picture 3.25

By Doing Co., Ltd. 36


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ตัง้ค่ำเพ่ ือใช้งำนภำษำไทย เช่นเดียวกับโปรแกรม Firefox ที่เราต้องตัง้ค่าภาษาไทยเสียก่อนจึงจะอ่านภาษาไทย ออก แต่สำาหรับ Evolution จะตัง้ค่าการเข้ารหัสภาษาแบบ UTF-8 มาอย่างดีแล้ว ที่เราต้องทำาคือ ปรับค่าเพิ่มเติมสำาหรับอีเมล์ทถ ี่ ก ู ส่งมาโดยเข้ารหัสแบบ TIS-620 ครับ

ไปที่ Edit > Preferences

เลือก Mail Preferences

ช่อง Default character encoding เลือก Thai (TIS-620)

ช่อง Message Fonts เลือกฟอนต์ตามต้องการ

Dictionary

Picture 3.26

Ubuntu มีโปรแกรมแปลภาษา (หรือทีเ่ รียกกันว่าดิกชัน ่ นารี)่ มาให้แล้ว เพียงแต่เรา

ต้องทำาการปรับแต่งเพิ่มเติมอีกเล็กน้อย เพ่ อ ื ให้โปรแกรมสามารถแปลคำาศัพท์ภาษาไทยได้ การ เรียกใช้โปรแกรมนัน ้ ให้ไปที่ เมนู Applications > Accessories > Dictionary

Picture 3.27

By Doing Co., Ltd. 37


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ตัง้ค่ำเพ่ ือแปลภำษำไทย

คลิกที่ Edit > Preferences

คลิกเลือกที่ Longdo Thai-English Dictionaries เม่ ือทำาการตัง้ค่าตามขัน ้ ตอนข้างตนแล้ว โปรแกรมจะทำาการแปลข้อความทีป ่ ้ อนจาก

ไทย > อังกฤษ และ อังกฤษ > ไทย โดยอัตโนมัติ

กำรติดตัง้โปรแกรมเพ่ม ิ เติม นอกเหนือจากโปรแกรมทีไ่ ด้แนะนำามาแล้วนัน ้ เรายังสามารถติดตัง้โปรแกรมเพิม ่ เติม ลงไปได้อีกด้วย ซ่ ึงการติดตัง้โปรแกรมเพิ่มเติมบน Ubuntu นัน ้ ง่ายมากๆ เพราะคุณไม่ตอ ้ งไปหา ดาวน์โหลดโปรแกรมมาจากเว็บไซต์ไหนเลย เพียงแค่คุณเปิ ดโปรแกรม Add/Remove

Applications เลือกโปรแกรมทีต ่ อ ้ งการ แล้วกดติดตัง้ เพียงเท่านีโ้ปรแกรมทีค ่ ุณต้องการก็จะถูก นำามาเสริฟไว้ตรงหน้าของคุณทันที

เพ่ิม Repository การติดตัง้โปรแกรมเพิ่มเติมผ่านระบบจัดการแพคเกจของ Ubuntu นัน ้ จะข้ ึนอยู่กบ ั แหล่งจัดเก็บซอฟต์แวร์หรือ Repository ที่จะเป็ นตัวบอกว่ามีโปรแกรมอะไรบ้างที่เราจะติดตัง้ได้ ผ่านระบบจัดการแพคเกจ ซ่ ึง Repository ในค่าตัง้ต้นที่ Ubuntu ตัง้ไว้จะตัง้ไปที่ Repository ที่ มีเฉพาะซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สและส่วนของไดร์เวอร์ฮาร์ดแวร์ตา่ งๆเท่านัน ้ แต่เราก็สามารถเพิม ่

Repository ให้ชีไ้ปที่ทม ี่ ซ ี อฟต์แวร์ที่ไม่ใช่โอเพนซอร์สได้ดว ้ ย ซ่ งึ Repository ที่เราจะเพิ่มเข้ามา นี้ แม้จะมีซอฟต์แวร์ที่ไม่ใช่โอเพนซอร์สรวมอยู่ แต่กเ็ ป็ นโปรแกรมทีถ ่ ก ู ต้องตามลิขสิทธิท ้ ์ งั ้ สิน ครับ ซ่ งึ การทำาแบบนีจ ้ ะทำาให้มีซอฟต์แวร์ให้เราเลือกได้หลายหลายมากยิ่งข้ ึนครับ

วิธีการทำางานของระบบจัดการแพคเกจคือ ระบบจะดูวา่ Repository ที่เราตัง้ไว้ชไ้ี ปที่

ไหน ซ่ งึ ระบบก็จะวิ่งไปอัพเดทรายช่ อ ื ซอฟต์แวร์ที่นน ั ่ (บนเซิรฟ ์ เวอร์ตามทีร่ ะบุไว้ใน Repository) และเราจะสามารถติดตัง้ซอฟต์แวร์ได้ตามรายช่ ือซอฟต์แวร์ทไี่ ด้ทำาการอัพเดท การเพิม ่ เติม Repository นัน ้ ให้ไปที่ เมนู System > Administration > Software Sources จะปรากฏหน้าต่าง Software Sources ข้ ึนมา ให้มองทีส ่ ว ่ นของ Internet จะถูกเลือก อยูท ่ ี่บางช่องเท่านัน ้ ซ่ ึงแต่ละช่องนัน ้ มีความหมายดังนี้

By Doing Co., Ltd. 38


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Picture 3.28

Community Maintained .... หมายถึง Repository ที่เก็บซอฟต์แวร์ทเี่ ป็ น โอเพนซอร์สไว้ ดูแลโดยนักพัฒนาอิสระ

Canonical supported .... หมายถึง Repository ที่เก็บซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สไว้ ซ่ งึ ดูแลโดยทีมพัฒนา Ubuntu เอง

Software restricted .... หมายถึง Repository ที่เก็บซอฟต์แวร์ที่อาจติดเร่ ืองของ สิทธิบต ั รหรือลิขสิทธิไ์ว้ด้วย

Proprietary .... หมายถึง Repository ที่เก็บไดรว์เวอร์ต่างๆจากผูผ ้ ลิตฮาร์ดแวร์เอาไว้

Source code หมายถึง ระบบจะทำาการรวมซอร์สโค้ดจาก Repository ต่างๆ ไว้ใน รายช่ ือซอฟต์แวร์ดว ้ ยเม่ ือคุณทำาการอัพเดท

Download from หมายถึง เซิรฟ ์ เวอร์ที่จะทำาการอัพเดทซอฟต์แวร์ลส ิ ต์ ซ่ ึงถ้าเป็ น Thailand ก็แน่นอนว่าจะเร็วกว่าต่างประเทศครับ

เม่ ือคุณเข้าใจแล้วว่ารายการไหนคืออะไรคุณก็สามารถเลือกได้ตามสะดวกเลยครับ แต่

ถ้าคุณไม่เข้าใจเลยสักนิดและยังงงๆอยู่กไ็ ม่เป็ นไรครับ ลบไปจากหัวได้เลย และคลิกเลือกให้หมด ไปเลยยกเว้ย Source code ครับ เพราะเราคงไม่ได้ใช้ Source code ของโปรแกรมในการใช้ งานทัว ่ ๆไปอยูแ ่ ล้ว

ทดลองติดตัง้โปรแกรม หลังจากปรับแต่ง Repository แล้ว เรามาลองติดตัง้โปรแกรมกันครับ ให้คุณคลิกที่ เมนู Applications > Add/Remove... โปรแกรม Add/Remove Applications จะถูกเรียกข้ ึน มาทันที ทีห ่ น้าต่างของโปรแกรมนีจ ้ ะถูกแบ่งออกเป็ นสามส่วนด้วยกัน

By Doing Co., Ltd. 39


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Picture 3.29

ช่องซ้ายจะเป็ นการแบ่งกลุม ่ ของโปรแกรมซ่ ึงจะช่วยให้คุณเลือกโปรแกรมที่ตอ ้ งการได้ ง่ายข้ ึน

ช่องขวาบน เป็ นรายช่ ือของโปรแกรม ซ่ งึ จะแสดงข้ ึนมาตามกลุม ่ ที่คุณได้เลือกไว้จาก ช่องทางซ้าย

ช่องขวาล่าง รายละเอียดของโปรแกรมทีค ่ ุณคลิกเลือกจากช่องทางขวาบน โปรแกรมทีผ ่ มแนะนำาเพ่ อ ื ทดสอบการติดตัง้จะมีช่อ ื ว่า Frozen-Bubble ให้คุณคลิก

เลือกที่กลุม ่ โปรแกรม Games ครับ จากนัน ้ ให้เล่ ือนหาโปรแกรม Frozen-Bubble เม่ ือเจอแล้ว

คลิกทีเ่ ช็คบ๊อกด้านหน้า จากนัน ้ ให้กดที่ OK โปรแกรมจะให้ข้อมูลเกีย ่ วกับการติดตัง้โปรแกรมใน ครัง้นีว ้ ่า มีโปรแกรมใดถูกติดตัง้บ้าง เม่ ือมัน ่ ใจแล้วให้กด Apply โปรแกรมจะถามพาสเวิรด ์ ของผู้ ดูแล ซ่ งึ ถ้าคุณมีสิทธิใ์นฐานะของผู้ดแ ู ลเคร่ ืองนัน ้ (Administrator) ให้ใส่พาสเวิรด ์ ของคุณลงไป ครับ เสร็จแล้วให้รอสักครู่ ระบบจะทำาการดาวน์โหลดโปรแกรมจาก Repositories ผ่านทาง อินเทอร์เน็ต ให้คุณรอจนเสร็จ

เม่ ือเสร็จแล้วคุณสามารถใช้งานโปรแกรมที่ตด ิ ตัง้ได้ทน ั ที ในกรณีนค ี้ ือเกม Frozen-

Bubble คุณสามารถเรียกเกมนีข ้ ้ ึนมาเล่นได้โดยไปที่ เมนู Games > Frozen-Bubble

สำาหรับการติดตัง้โปรแกรมอ่ น ื ๆนัน ้ จะใช้วธ ิ ีเดียวกันกับในขัน ้ ตอนทีผ ่ า่ นมานีค ้ รับ ซ่ งึ

โปรแกรมดีๆและเกมสนุกๆนัน ้ มีอยู่เยอะ ลองเลือกดูและติดตัง้ใช้งานกันนะครับ

By Doing Co., Ltd. 40


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

Unit 4: Tips ในบทนีจ ้ ะแนะนำาเทคนิคในการใช้งานเล็กๆน้อยๆ ทีจ ่ ะเป็ นประโยชน์ในการใช้งานจริง เพ่ ือให้คุณใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพยิ่งข้ ึนครับ กู้คน ื ไฟล์ทีถ ่ ูกลบ เช่นเดียวกับ Windows ที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ ทีถ ่ ก ู ลบจะถูกนำาไปไว้ในถังขยะก่อน ซ่ งึ ถังขยะนีจ ้ ะอยู่ในโฟลเดอร์บ้านของคุณนัน ่ เอง เพียงแต่วา่ อยูใ่ นรูปแบบของแฟ้ มซ่อน ซ่ งึ ในหน้า ต่างโปรแกรม File Manager (Nautilus) ให้คุณกด Ctrl+h คุณจะพบโฟลเดอร์ที่ช่อ ื ว่า .Trash เม่ ือคุณเปิ ดข้ ึนมาดู คุณจะพบไฟล์ต่างๆที่ลบไปแล้ว ซ่ ึงสามารถย้ายออกไปไว้ในตำาแหน่งทีค ่ ุณ ต้องการ และใช้งานไฟล์นน ั ้ ได้ทน ั ที

อีกทางหน่ ึงทีน ่ า่ จะสะดวกกว่าทีจ ่ ะเข้าถึงถังขยะได้คือไอคอนที่ Panel ด้านขวาล่าง

เม่ ือคุณคลิก จะเปิ ดโปรแกรม File Manager พร้อมแสดงไฟล์ที่ถก ู ลบไปแล้วเช่นเดียวกัน

พิมพ์ภำษำไทย

Picture 4.1

ในขัน ้ ตอนการติดตัง้ที่ผมแนะนำาให้เลือกคียบ ์ อร์ดภาษาไทย คุณจะสามารถพิมพ์ภาษา ไทยได้ในทันที แต่ผมจะแนะนำาเร่ ืองของการติดตัง้การพิมพ์ภาษาอ่ น ื ๆเพิม ่ เติมอีกครัง้ เผ่ ือว่าคุณ อาจต้องการใช้ภาษาอ่ ืนนอกจากภาษาไทยในการทำางานด้วย

Picture 4.2

By Doing Co., Ltd. 41


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop วิธีเพิ่มภาษาสำาหรับการพิมพ์นน ั ้ ให้ไปที่ เมนู System > Preferences > Keyboard หน้าต่าง Keyboard Preferences จะถูกเรียกข้ น ึ มา ให้คุณคลิกเลือกทีแ ่ ถบ Layouts คุณจะเห็น Layouts ของภาษาไทยและอังกฤษอยู่ ให้คลิกที่ Add จะมีหน้าต่าง Choose a Layouts ข้ ึนมา คุณสามารถเลือกผังคีย์บอร์ดทีต ่ ้องการใช้ได้ทน ั ที ส่วนของป่ ุมสลับภาษานัน ้ สามารถเปลีย ่ นได้ที่หน้าต่าง Keyboard Preferences เช่น เดียวกัน โดยให้คลิกเลือกทีแ ่ ถบ Layout Options ส่วนของคีย์ลัดสำาหรับสลับภาษาจะอยู่ที่ Group Shift/Lock behavior ซ่ งึ สามารถเปลี่ยนได้ตามทีร่ ะบบมีให้เลือกเท่านัน ้ ป่ ุมสลับภาษา บน Windows เราจะเห็นป่ ม ุ สลับภาษาอยู่ที่ Panel ด้านล่างติดกับ System tray ซ่ งึ Ubuntu นัน ้ สามารถเพิ่มป่ ุมในลักษณะเดียวกันนีล ้ งใน Panel ได้เช่นเดียวกัน ป่ ุมสลับภาษานี้ นอกจากจะใช้ในการคลิกสลับภาษาแล้ว ยังสามารถใช้บอกภาษาปั จจุบน ั ที่เรากำาลังใช้อยูไ่ ด้อีก

ด้วย การเพิ่มป่ ุมสลับภาษานีใ้ห้คุณคลิกขวาบน Panel ในตำาแหน่งทีต ่ ้องการวางป่ ุมสลับภาษา

จากนัน ้ เลือก Add to Panel หน้าต่าง Add to Panel จะปรากฏข้ ึนมา ให้คุณมองหาไอคอนรูปธง ที่มข ี ้อความกำากับว่า Keyboard Indicator จากนัน ้ กด Add หน่ ึงครัง้ และคลิกที่ Close เพ่ อ ื ปิ ด หน้าต่างได้เลย เพียงเท่านีป ้ ่ม ุ สลับภาษาก็จะอยูบ ่ น Panel ตามทีเ่ ราต้องการแล้วครับ

ปรับแต่งให้แสดงผลภำษำไทย

Picture 4.3

ในขณะทีเ่ ราใช้งาน Ubuntu อยูน ่ ี้ เราสามารถพิมพ์ภาษาไทยได้แล้วก็จริง แต่ว่าใน ส่วนภาษาของระบบ เช่น เมนู หรือทีโ่ ปรแกรมต่างๆนัน ้ สามารถแสดงข้อความเป็ นภาษาไทยได้ ด้วย ซ่ งึ จะมีประโยชน์มากสำาหรับผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ทไี่ ม่มีความรูด ้ ้านภาษาอังกฤษ หรืออาจจะไม่ ถนัดในการใช้ภาษาอังกฤษ

Picture 4.4

By Doing Co., Ltd. 42


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop การปรับแต่งระบบให้แสดงผลภาษาไทยนัน ้ ให้ไปที่ เมนู System > Administration > Language Support ระบบจะถามรหัสผ่านของผูด ้ แ ู ลก่อน เพราะการเปลี่ยนแปลงนีจ ้ ะมีผลต่อ ระบบทัง้หมด เม่ อ ื ป้ อนรหัสผ่านแล้ว หน้าต่าง Language Support จะเปิ ดข้ ึนมา ให้คุณเลือก

ภาษาไทยแล้วคลิก OK ได้เลย แต่หากคุณต้องการใช้ภาษาไทยเป็ น ภาษาปริยายของระบบ ให้ คุณคลิก Apply ก่อนหน่ งึ ครัง้ เพ่ ือให้ระบบดาวน์โหลดแพคเกจภาษาไทยลงมาก่อน เสร็จแล้วที่ ช่อง Default Language จึงจะมีภาษาไทยให้เลือกครับ เม่ ือคุณได้ติดตัง้ให้ใช้งานภาษาไทยแล้ว คุณจะยังไม่เห็นผลในทันที คุณจะต้องออก จากระบบโดยการล๊อกเอาท์เสียก่อน หรือจะรีสตาร์ทก็ตามแต่ จนคุณมาถึงหน้าล๊อกอินเพ่ ือเข้า

ระบบอีกครัง้ ก่อนทีค ่ ุณจะล๊อกอินให้สังเกตุที่มม ุ ซ้ายล่าง จะเห็นข้อความทีเ่ ขียนว่า Options ให้ คลิกลงไปแล้วเลือกที่ Select Language จากนัน ้ ให้เลือกเป็ น Thai หรือจะเลือกเป็ น System Default ก็ได้ หากคุณตัง้ให้ภาษาไทยเป็ น Default Language ไว้ในขัน ้ ตอนทีผ ่ า่ นมา

Picture 4.5

จับภำพหน้ำจอ ใน Ubuntu จะมีโปรแกรมจับภาพหน้าจออยู่ โดยสามารถเรียกโปรแกรมได้จาก เมนู

Applications > Accessories > Take Screenshot โปรแ กรมจับภาพหน้าจอจะถูกเรียกข้ ึนมา จะมี 2 ตัวเลือกให้คุณเลือกคือ Grab the whole desktop หมายถึงการจับภาพหน้าจอทัง้หน้าจอ และอีกตัวเลือกหน่ งึ คือ Grab the current window หมายถึง จับภาพเฉพาะหน้าต่างที่กำาลังทำา

งานอยูเ่ ท่านัน ้ ส่วนของ Grab after a delay of ... หมายถึงจะให้จบ ั ภาพหลังจากที่คลิก Take

Screenshot แล้วกีว ่ น ิ าที ซ่ ึงคุณสามารถจัดสภาพแวดล้อมก่อนทีจ ่ ะจับภาพได้ดว ้ ยตัวเลือกการ หน่วงเวลานี้

Picture 4.6

By Doing Co., Ltd. 43


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop นอกจากการเรียกตามวิธีดา้ นบนแล้ว คุณยังสามารถจับภาพหน้าจอด้วยคียล ์ ัดได้ดว ้ ย ด้วยการกดป่ ม ุ Print Screen บนคีย์บอร์ด โปรแกรมจะจับภาพพร้อมแสดงหน้าต่างโปรแกรมข้ น ึ มาเช่นเดียวกับวิธีในข้างต้น หรือคุณอาจจับภาพเฉพาะหน้าต่างทีท ่ ำางานอยูไ่ ด้ดว ้ ย โดยการคลิก

เลือกหน้าต่างทีต ่ ้องการก่อน จากนัน ้ กดป่ ุม Alt+ Print Screen โปรแกรมจะจับภาพเฉพาะหน้า ต่างทีค ่ ุณเลือก

ดูหนังฟั งเพลง ดังทีผ ่ มได้กล่าวไว้ใน Unit 3 เร่ ืองของโปรแกรม Movie Player และ Music Player

ว่าไฟล์บางประเภทนัน ้ จะไม่สามารถเล่นได้ในทันทีจะต้องติดตัง้แพคเกจเพิ่มเติมเสียก่อน วิธีนน ั้ อาจยุง่ ยากนิดหน่อย แต่แลกกับผลลัพภ์ทไี่ ด้แล้วคุ้มค่าแน่นอนครับ

ทำาการ "เพิ่ม Repository" (ตาม Unit 3) เสียก่อน

เปิ ดโปรแกรม Add/Remove Applications ข้ ึนมา

ที่หน้าจอทางซ้ายให้เลือกหมวดหมูเ่ ป็ น Sound & Video

ให้ติดตัง้ Plugin 3 ชุด คือ

Gstreamer extra plugins

Gstreamer ffmpeg video plugin

Xine extra plugins

ด้วยปลัก ๊ อินสามชุดทีค ่ ุณได้ทำาการติดตัง้ เพียงเท่านีค ้ ุณก็พร้อมทีจ ่ ะเล่นไฟล์ภาพยนต์

และเพลงในรูปแบบต่างๆได้แล้วครับ เขียนซีดี

การเขียนซีดีใน Ubuntu นัน ้ เราสามารถเขียนได้ผา่ นโปรแกรม File Manager ได้

ทันที โดยถ้าหากคุณใส่แผ่นซีดเี ปล่าเข้ามาในเคร่ ือง จะมีหน้าต่างข้ น ึ มาถามคุณเองว่าคุณต้องการ ที่จะ สร้างซีดเี พลงจากไฟล์เพลงดิจต ิ อล (Make Audio CD) เช่น จากไฟล์ WAV หรือสร้างซีดี ข้อมูล (Make Data CD) หรือไม่ทำาอะไรเลย (Ignore)

Picture 4.7

By Doing Co., Ltd. 44


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop หากคุณเลือกทีเ่ ขียนซีดเี พลง จะมีโปรแกรม Serpentine เข้ามาทำาหน้าทีใ่ นส่วนนี้ ซ่ งึ วิธีใช้งานนัน ้ ผมขอข้ามไป เพราะไม่ยากอยู่แล้วสำาหรับคุณที่คิดจะใช้ Ubuntu ส่วนโปรแกรม Serpentine นัน ้ คุณสามารถเรียกโปรแกรมนีข ้ ้ ึนมาทำางานเองก็ได้ โดยเรียกที่ เมนู

Applications > Sound & Video > Serpentine Audio CD Creator ซ่ ึงก็ได้ผลลัพภ์เดียวกัน ย้อนกลับมาทีอ ่ ก ี ทางเลือกหน่ งึ เม่ อ ื คุณใส่แผ่นซีดเี ปล่าเข้าไปคือ สร้างแผ่นซีดข ี ้อมูล (Make Data CD) หากคุณเลือกตัวเลือกนี้ โปรแกรม File Manager จะถูกเรียกข้ น ึ มา พร้อมกับ

ไปทีส ่ ่วนของการสร้างซีดข ี ้อมูล ในหน้าต่างนีค ้ ุณสามารถลากไฟล์ใส่ลงไปได้เลย จนเม่ อ ื คุณพร้อม แล้วให้กดทีป ่ ่ม ุ Write to Disc เพ่ ือเขียนข้อมูลลงแผ่นซีดี ส่วนการเรียกโปรแกรม File

Manager ข้ ึนมาเขียนซีดโี ดยไม่ผา่ นหน้าต่างตัวเลือกนัน ้ คุณสามารถเรียกได้ที่ เมนู Places > CD/DVD Creator

Picture 4.8

ส่วนการเขียนซีดจ ี ากไฟล์ .iso เช่นเดียวกับตอนทีเ่ ราสร้างแผ่น Ubuntu จาก โปรแกรม nero บนวินโดวส์กส ็ ามารถทำาได้เช่นเดียวกันครับ โดยหลังจากทีค ่ ุณใส่แผ่นซีดเี ปล่าลง ในเคร่ อ ื งแล้ว ให้คุณคลิกขวาทีไ่ ฟล์ .iso ที่คุณต้องการ จากนัน ้ เลือก Write to Disc... เพียงเท่านี้ ครับ

Picture 4.9

By Doing Co., Ltd. 45


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop กรณีทแ ี่ ผ่นของคุณเป็ นแผ่น RW (ลบและเขียนใหม่ได้) ไม่ตอ ้ งมองหาโปรแกรมลบ ข้อมูลใน CD แต่อย่างใดครับ ให้คุณลบไฟล์ในซีดเี หมือนกับว่าเป็ นไฟล์ทอ ี่ ยูใ่ นฮาร์ดดิสก์ได้เลย และเม่ อ ื ถึงตอนที่จะเขียนข้อมูลลงแผ่น โปรแกรมจะลบข้อมูลเดิมทีอ ่ ยู่ในซีดก ี อ ่ นทีจ ่ ะเขียน ข้อมูลลงไปใหม่ให้เองโดยอัตโนมัติ ล๊อกอินเข้ำระบบแบบอัตโนมัติ ทุกครัง้ที่คุณเปิ ดเคร่ ือง คุณจำาเป็ นทีจ ่ ะต้องป้ อนช่ ือผูใ้ ช้และรหัสผ่านก่อนทุกครัง้จึงจะมี สิทธิเ์ข้าใช้งานเคร่ ือง เพ่ ือยืนยันว่าคุณเป็ นใครและมีสท ิ ธิท ์ ำาอะไรได้บา้ ง ซ่ งึ มันจะมีประโยชน์มาก ถ้าคุณใช้เคร่ ืองคอมพิวเตอร์ด้วยกันหลายคน แต่ถา้ คุณเป็ นเจ้าของเคร่ ือง และใช้อยู่คนเดียว คง

น่ารำาคาญไม่นอ ้ ยทีต ่ ้องมาคอยกรอกช่ อ ื และรหัสผ่านเพ่ ือบอกว่าคุณเป็ นใครในเม่ อ ื คุณใช้เคร่ ืองอยู่ แค่คนเดียว

คุณสามารถตัง้ค่าให้เข้าระบบอัตโนมัติได้ โดยเลือกช่ อ ื ผูใ้ ช้ของคุณเป็ นช่ ือผูใ้ ช้หลักเพ่ ือ

ทำาการเข้าระบบอัตโนมัติได้ ให้คุณไปที่ เมนู System > Administration > Login Window หน้า ต่างนีจ ้ ะเป็ นส่วนของการตัง้ค่าการเข้าระบบ เช่น เปลีย ่ นหน้าตาต้อนรับตอนเข้าระบบ ทีค ่ ุณต้อง

ทำาคือ ไปที่ Tab Security ให้คุณเช็คบ็อกซ์ทช ี่ อ ่ ง Enable Automatic Login จากนัน ้ ให้เลือกช่ ือผู้ ใช้ของคุณเสร็จแล้วทำาการ Close เพ่ ือปิ ดหน้าต่างการตัง้ค่าได้ทน ั ที

Picture 4.10

By Doing Co., Ltd. 46


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop Startup Programs (เปิ ดโปรแกรมอัตโนมัติ) เช่นเดียวกับบน Windows ที่เราสามารถสัง่ให้โปรแกรมใดสักโปรแกรม ทำางานเอง โดยอัตโนมัตเิ ม่ ือระบบพร้อมทำางานหลังจากทีเ่ ราเข้าสู่ระบบ วิธีนน ั ้ ทำาได้ไม่ยากเพียงแต่คุณต้องรู้ ช่ ือคำาสัง่ทีใ่ ช้เรียกโปรแกรมนัน ้ ด้วยเท่านัน ้ วิธีตงั ้ ค่านัน ้ ให้คุณไปที่ เมนู System > Preferences > Sessions หน้าต่างการตัง้ค่า Session จะถูกเปิ ดข้ ึนมา ในหน้านีค ้ ุณจะเห็นรายช่ ือโปรแกรมที่ถก ู สัง่ให้ทำางานทันทีเม่ ือเปิ ดเคร่ ืองและระบบ พร้อมทีจ ่ ะทำางาน เช่น update-notifier ซ่ งึ เป็ นตัวเตือนให้คุณอัพเดทระบบ ถ้าหากว่าคุณรูส ้ ก ึ

รำาคาญคุณสามารถ Delete ออกไป หรือจะ Disable ไว้กอ ่ นก็ได้เช่นกัน ส่วนการเพิ่มโปรแกรม แกรมทีต ่ อ ้ งการให้ทำางานเม่ ือเปิ ดเคร่ ืองนัน ้ ให้คุณกด Add ระบบจะถามถึงคำาสัง่ที่ใช้ในการเรียก โปรแกรมนัน ้ ซ่ งึ คุณอาจต้องศึกษาดูเองว่าโปรแกรมทีค ่ ุณต้องการเรียกมีคำาสัง่ทีจ ่ ะเรียกข้ ึนมาทำา งานอย่างไร ซ่ ึงโปรแกรมส่วนใหญ่นัน ้ จะมีคำาสัง่เรียกใช้งานตรงกับช่ ือโปรแกรมเอง เช่น firefox, gimp เป็ นต้น

Picture 4.11

เพ่ิม User หลังจากติดตัง้ Ubuntu เสร็จแล้ว จะมีช่อ ื ผูใ้ ช้เพียงช่ ือเดียวเท่านัน ้ ซ่ ึงหากคุณใช้

คอมพิวเตอร์ดว ้ ยกันหลายคนในเคร่ ืองเดียว การสร้างช่ อ ื ผูใ้ ช้เพิม ่ ตามจำานวนคนย่อมสมเหตุสม ผลกว่า เพ่ ือทีก ่ ารตัง้ค่าตามความต้องการของแต่ละคนจะได้เป็ นไปอย่างอิสระ การเพิม ่ ผูใ้ ช้ใหม่ ให้คุณไปที่ เมนู System > Administration > Users and Groups ระบบจะถามรหัสผ่านของผูด ้ แ ู ลระบบก่อน ให้คุณใส่รหัสผ่านของคุณลงไป โปรแกรมจัดการ

By Doing Co., Ltd. 47


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop Users and Groups จะแสดงข้ ึนมา วิธีเพิ่ม User ให้คุณคลิกเลือกที่ Add User จากนัน ้ หน้าต่าง New user account จะเปิ ดข้ น ึ มาให้คุณใส่รายละเอียดของผูใ้ ช้คนใหม่ให้เรียบร้อย หรืออาจใส่แค่

Username กับ Password ก็ได้ ส่วนค่าอ่ น ื ๆนัน ้ ผูใ้ ช้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ดว ้ ยตนเอง เม่ ือเพิม ่ User เสร็จแล้วอย่าเพิ่งปิ ดหน้าต่าง ให้เลือกทีแ ่ ถบ User privileges เพ่ ือมอบสิทธิใ์ห้แก่ผใู้ ช้ที่เพิ่ม เข้ามาใหม่วา่ จะให้ทำาอะไรได้บา้ ง ซ่ งึ คุณอาจกำาหนดให้มส ี ท ิ ธิใ์นระดับ Administrator เช่นเดียว กับคุณเลยก็ได้

Picture 4.12

กำรบีบอัดไฟล์ และคลำยไฟล์ทีถ ่ ูกบีบอัด โปรแกรมบีบอัดไฟล์นน ั ้ Ubuntu ได้จด ั เตรียมมาให้เป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว เพียงแต่ไม่มี เมนูหรือไอคอนสำาหรับเรียกโปรแกรมข้ น ึ มาทำางานโดยตรงเท่านัน ้ วิธีเรียกใช้โปรแกรมบีบอัด ไฟล์ เพียงแค่คุณดับเบิลคลิกที่ไฟล์บบ ี อัดโปรแกรมบีบอัดไฟล์จะถูกเรียกข้ ึนมาเอง

Picture 4.13

By Doing Co., Ltd. 48


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop การบีบอัดไฟล์ คุณสามารถทำาได้งา่ ยๆโดยการคลิกขวาทีไ่ ฟล์หรือโฟลเดอร์ทต ี่ ้องการ บีบอัด จากนัน ้ เลือก Create Archive... จะมีหน้าต่างให้ตงั ้ ช่ ือไฟล์บบ ี อัดและสกุลของไฟล์เพียง เท่านีก ้ ารบีบอัดไฟล์กเ็ ป็ นที่เรียบร้อยแล้ว ในทางกลับกัน คุณสามารถคลายไฟล์บบ ี อัดด้วยการ คลิกขวาแล้วเลือก Extract Here ได้เช่นกัน

เพ่ิมแบบอักษร

Picture 4.14

แม้ว่า Ubuntu จะได้จด ั เตรียมแบบอักษรไทย มาให้ใช้อย่างดีแล้วก็ตาม แต่หากคุณมี แบบอักษรทีค ่ ุณต้องการใช้ คุณก็สามารถติดตัง้ลงไปได้เช่นกัน ติดตัง้แบบใช้คนเดียว การติดตัง้แบบใช้คนเดียวหมายถึงผูใ้ ช้คนอ่ ืนจะไม่สามารถใช้แบบอักษรที่คุณเพิ่มลง

ไปได้ แต่จะสะดวกตรงทีผ ่ ไู้ ม่มีสท ิ ธิใ์นฐานะ Administrator ก็สามารถเพิ่มแบบอักษรเพ่ อ ื ใช้เองได้

วิธีเพิ่มแบบอักษรนัน ้ ให้คุณเปิ ดโฟลเดอร์บา้ น โดยไปที่ เมนู Places > Home Folders โปรแกรม File Manager จะเปิ ดข้ ึนมา ให้คุณกด Ctrl+h เพ่ ือแสดงแฟ้ มซ่อน จากนัน ้ ให้สร้างโฟลเดอร์ช่อ ื

.fonts แล้วให้คุณนำาไฟล์ฟอนต์ทเี่ ตรียมมา ใส่ลงในโฟลเดอร์ทส ี่ ร้างข้ ึนมาใหม่ ก็เป็ นอันเรียบร้อย ติดตัง้แบบใช้ทงั ้ ระบบ การติดตัง้แบบใช้ทัง้ระบบ คุณจำาเป็ นจะต้องมีสท ิ ธิใ์นฐานะ Administrator ด้วยจึงจะ

ใส่ฟอนต์ลงในระบบได้ การติดตัง้ฟอนต์ด้วยวิธีนี้ ผูใ้ ช้ทก ุ คนในเคร่ ืองจะสามารถใช้งานฟอนต์นไี้ ด้ วิธีตด ิ ตัง้ฟอนต์ ให้คุณกดป่ ม ุ Alt+F2 หน้าต่าง Run Application จะถูกเปิ ดข้ ึนมา ให้คุณพิมพ์คำา

สัง่ลงไปว่า sudo nautilus /usr/share/fonts พร้อมทัง้ทำาเคร่ ืองหมายถูกที่ชอ ่ ง Run in terminal จากนัน ้ คลิกที่ Run จะมีหน้าต่าง Terminal (คล้ายหน้าต่างดอส) ข้ ึนมาให้คุณป้ อนรหัสผ่านแล้ว Enter โปรแกรม File Manager จะถูกเรียกข้ น ึ มา ให้คุณนำาฟอนต์ใส่ลงไปเลยครับ

Picture 4.15

By Doing Co., Ltd. 49


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop ตัง้ค่ำส่วนตัวและเปล่ียนรหัสผ่ำน เราสามารถตัง้ค่าส่วนตัวของเรารวมถึงเปลีย ่ นรหัสผ่านทีใ่ ช้สำาหรับล๊อกอินเข้าระบบได้ ครับ วิธก ี ารตัง้ค่านัน ้ ให้ไปที่ เมนู System > Preferences > About Me จะปรากฏหน้าต่าง

About you ข้ ึนมา คุณสามารถตัง้ค่าได้ตามต้องการครับ ส่วนการเปลี่ยนรหัสผ่านนัน ้ คุณต้อง กรอกรหัสผ่านเดิมก่อนด้วย เพ่ อ ื เป็ นการยืนยันตน

กู้รหัสผ่ำน

Picture 4.16

เป็ นเร่ ืองปกติทค ี่ นเราจะลืมรหัสผ่านเข้าระบบได้ ซ่ งึ Ubuntu ก็ได้เตรียมส่วนของ Recovery mode ไว้แล้ว สิ่งทีค ่ ุณต้องทำาคือ เม่ ือเปิ ดเคร่ อ ื งข้ น ึ มาแล้ว ที่เมนูสำาหรับเลือกระบบ

ปฏิบัตก ิ ารให้เลือกที่เมนูที่มว ี งเล็บว่า recovery mode ต่อท้าย ระบบจะทำางานไปเร่ อ ื ยๆจนไปจบ ที่หน้า Command line ซ่ งึ มีข้อความว่า root@computer-name:~# เม่ ือข้ ึนมาแล้ว คุณสามารถ เปลี่ยนรหัสผ่านได้ทน ั ที ด้วยการพิมพ์คำาสัง่ว่า passwd user-name จากนัน ้ Enter แล้วพิมพ์

รหัสผ่านใหม่ทต ี่ อ ้ งการลงไป (ขณะพิมพ์จะไม่เห็นอักษรใดทัง้สิน ้ คล้ายว่ากดไม่ตด ิ ให้พิมพ์ไป

เลย) เสร็จแล้ว Enter แล้วพิมพ์รหัสผ่านซ้ำาอีกครัง้ ระบบจะแจ้งว่า passwd: password update successfully หมายความว่าเรียบร้อยแล้ว (ถ้าไม่ได้ ให้เริม ่ พิมพ์คำาสัง่ใหม่ตงั ้ แต่ตน ้ ) จากนัน ้ พิมพ์ คำาสัง่ว่า reboot เพ่ ือรีสตาร์ทเคร่ ืองแล้วเข้าระบบด้วยรหัสผ่านใหม่ได้เลย

Picture 4.17

By Doing Co., Ltd. 50


Ubuntu desktop guide : Basic Desktop

/etc/book เกี่ยวกับผูเ้ ขียน ผูเ้ ขียน: ศิระ นกยูงทอง การศึกษา: ปริญญาตรีคณะสถาปั ตยกรรม สถาบันราชภัฏพระนคร ปั จจุบัน:

พนักงานฝ่ ายโอเพนซอร์ส SIPA

ผูก ้ อ ่ ตัง้ ubuntuclub.com

CEO By Doing Co., Ltd.

เกี่ยวกับหนังสือ License: GFDL

By Doing Co., Ltd. 51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.