Best Practice 55 final

Page 1

ปกหน้า


บทนํา

บทนํ า

สํานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ (พก.) ได้ดําเนินโครงการส่งเสริมและคุ้มครอง สิ ท ธิ ค นพิ ก าร โดยมี กิ จ กรรมการผลั ก ดั น การจั ด ทํ า สิ่ ง อํ า นวยความสะดวกสํ า หรั บ คนพิ ก ารเป็ น กิ จ กรรมหนึ่ ง ที่ ดําเนินการ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและกระตุ้นให้หน่วยงาน/องค์การทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและสถานประกอบการ จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกให้คนพิการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ตามสิทธิที่กฎหมายกําหนด ตามมาตรา 20 แห่ง พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 ที่กําหนดให้คนพิการมีสิทธิเข้าถึงและใช้ ประโยชน์ได้ และจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2552 ที่เห็นชอบในหลักการให้โรงพยาบาลจัดทําสิ่ง อํานวยความสะดวกให้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามกฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 และหน่วยงานราชการ ได้แก่ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอําเภอ/สํานักงานเขต/ที่ ทําการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนจังหวัด/ส่วนตําบล สํานักงานเทศบาลนคร/เมือง/ตําบล และเมืองพัทยา) สถาบันการศึกษาและสถานีตํารวจ จัดสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานสําหรับคนพิการ ๕ ประเภท ได้แก่ทางลาด ห้องน้ํา้ ที่จอดรถ ป้ายและสัญลักษณ์ และบริการข้อมูล ดังนั้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตําบล เทศบาล และเจ้าของอาคาร สถานที่ต่างๆ ได้เห็นถึงตัวอย่างที่เป็นกรณีศึกษาที่ดีในการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกขั้น พื้นฐานเพื่อให้สอดคล้องกับการใช้สอยของคนพิการ เป็นสถานที่ที่เป็นมิตรกับคนพิการ (Disability Friendly Environment) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการสร้างสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เหมาะสมสําหรับคนพิการ ให้คน พิการเหล่านี้เข้าถึงอาคารสถานที่ที่จําเป็น โดยเฉพาะอาคารราชการ เพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึงได้ด้วยตัวเอง ลด การพึ่งพาและมีอิสระในการใช้ชีวิต ดํารงตนได้อย่างมีความสุข สํานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์​์ และหน่วยปฏิบัติการวิจัยสภาพแวดล้​้อมที​ี่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและคนพิการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์​์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เล็งเห็นถึงความสําคัญดังกล่าว จึงได้จัดทําคู่มือ “ตัวอย่างที่ดีในการจัดสิ่งอํานวยความ สะดวกขั้นพื้นฐานสําหรับคนพิการและคนทุกวัย” ขึ้น เพื่อเผยแพร่ข้อมูลตัวอย่างที่ดีในการจัดสิ่งอํานวยความ สะดวกขั้นพื้นฐานสําหรับคนพิการให้หน่วยงานราชการต่างๆ และประชาชนทั่วไปสามารถอ่านและทําความเข้าใจ อย่างง่ายๆ โดยอาศัยการรวบรวมข้อมูลตัวอย่างที่ดีดังกล่าวจากอาคารที่ประกวดสถานที่ดีเด่นที่เอื้อต่อคนพิการและ ไ ้รับรางวั​ัลพอใช้ ได้ ใ ้ ดี​ี ดี​ีมากและดี​ีเยี่ียม จากปีปี พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ เป็ป็นหลั​ัก รวมถึ​ึงรูปอาคาร สถานที่ีอื่นๆ ที​ี่ทาง คณะผู้จัดทําพิจารณาแล้วว่าอาคาร สถานที่นั้นเอื้อต่อการใช้งานของคนพิการ ทางคณะผู้ จั ด ทํ า หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ผู้ ที่ ไ ด้ อ่ า นข้ อ มู ล ตั ว อย่ า งที่ ดี ฯ นี้ สามารถนํ า ความรู้ ที่ ไ ด้ ไ ปปรั บ ปรุ ง สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับคนพิการและผู้สูงอายุ อันจะนําไปสู่การสร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรกับคนทุกวัย ทุก กลุ่ม ซงอาจจะมบางประเดนทไมเหมาะสมกบคนไทย ึ่ ี ป ็ ี่ไ ่ ั ไ ทางคณะผู้จัดทายนดรบคาแนะนาจากผู ํ ิ ีั ํ ํ ้ที่ไดอานขอมู ไ ้ ่ ้ ลตวอยาง ั ่ ที่ดีฯ นี้ทุกท่าน เพื่อทําการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ต่อไป สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 1


สารบัญ สารบัญ บทนํา

1

สารบัญ

2

ที่จอดรถ

3

ทางลาด

6

บริการข้อมูล

12

ห้องส้วม

15

ป้าย - สัญลักษณ์

25

มติคณะรัฐมนตรี

28

กฎกระทรวงกําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 รายการอ้างอิง

2

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ

42 57


ทีจ ี่ อดรถ

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ

3


ทีจ ่ อดรถ

ที่จอดรถ 1. จัดให้มีที่จอดรถสําหรับคนพิการ ดังนี้ จํานวนที่จอดรถทั้งหมด ที่จอดรถไม่เกิน 50 คัน ที่จอดรถ 51 - 100 คัน ทีจี่ อดรถ 101 - 150 คันั ที่จอดรถ 151 - 250 คัน ที่จอดรถ 251 - 350 คัน ที่จอดรถ 351 - 450 คัน

จํานวนที่จอดรถคนพิการ อย่างน้อย 1 คัน อย่างน้อย 2 คัน อย่า่ งน้​้อย 2 คันั อย่างน้อย 2+1 คัน อย่างน้อย 2+2 คัน อย่างน้อย 2+3 คัน

ถ้าจํานวนที่จอดรถตั้งแต่ 101 คัน ขึ้นไป ให้มีที่จอดรถสําหรับผู​ู้พิการ หรือทุ​ุพพลภาพ และคนชราอย่างน้อย 2 คัน และเพิ่มขึ้นอีก 1 คัน สําหรับทุกๆจํานวนรถ 100 คันที่ เพิ่มขึ้น เศษของ 100 คัน ถ้าเกินกว่า 50 คันให้คิดเป็น 100 คัน

2. จั ด ที่ จ อดรถไว้ ใ กล้ ท างเข้ า - ออกอาคารให้ ม ากที่ สุ ด และมี ลักษณะไม่ขนานกับทางสัญจรของรถ 3. มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการที่พื้นของที่จอดรถด้านที่ติดกับทางเดินรถ ขนาดไม่น้อยกว่า 90 x 90 เซนติเมตร 4. มีป้ายสัญลักษณ์รูปผู้พู ิการขนาดไม่น้อยกว่า 30 x 30 เซนติเมตร ติดสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร ในตําแหน่งทีเ่ ห็นได้ชัดเจน

2.00 ม. 90 x 90 ซม.

ป้ายที่จอดรถ สํานักงานทีด่ นิ จังหวัดบุรรี ัมย์ 4

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


ทีจ ่ อดรถ

ที่จอดรถ 5. มีพื้นผิวเรียบ ระดับเสมอกัน

6. ช่องจอดรถเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขนาดไม่น้อยกว่า 2.40 x 6.00 เมตร 7. มีที่ว่างข้างที่จอดรถกว้าง 1.00 - 1.40 เมตร ตลอดความยาวของ ที่จอดรถ สํานักงานที่ดนิ จังหวัดบุ​ุรีรมั ย์

ขนาดที่จอดรถ

โรงเรียนกระบุรี

ขนาดที่จอดรถ

6 ม.

6 ม. 1-1.4 ม.

2.4 ม.

1-1.4 ม.

2.4 ม.

8. ถ้ามีทางเท้าบริเวณที่จอดรถ ต้องมีทางลาดขึ้น และทางลาดควร มีความกว้างอย่างน้อย 90 เซนติเมตร โดยไม่รวมทางลาด ด้านข้าง ความชันของทางลาดต้องไม่น้อยกว่า 1 : 12 9 มีมเจาหนาทดู 9. เจ้าหน้าที่ดแแลที ลทจอดรถคนพการ ่จอดรถคนพิการ บริ บรการคนพการไมใหผู การคนพิการไม่ให้ผ้อื่นเขา นเข้า มาจอด 10. มีแสงสว่างเป็นพิเศษ มองเห็นชัดเจน จุจฬาลงกรณ์ ฬาลงกรณมหาวทยาลย มหาวิทยาลัย

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ

5


ทางลาด 6

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


ทางลาด

ทางลาด

1. หากระดับพื้นมีความต่างระดับกันไม่ ไ เกิน 2 เซนติเมตร ต้องมีการ ปาดมุม พื้นที่ส่วนต่างระดับกันไม่เกิน 45 องศา 2. หากระดับพื้นมีความต่างระดับกันเกิน 2 เซนติเมตร ให้มีทางลาด ระหว่างพื้นที่ต่างระดับกัน ระหวางพนทตางระดบกน 3. ทางลาด ต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ 3.1 พื้นผิวทางลาดต้องเป็นวัสดุที่ไม่ลื่น เช่น ทรายล้าง คอนกรีต เสริมเหล็ก (คสล.) แผ่นปูทางเท้า 3.2 พื​ื้นผิว ของจุดต่​่อเนื่ืองระหว่​่างพื​ื้น กับทางลาดต้​้องเรี​ียบไม่ ไ ่ สะดุ ด ปลายทางลาด ต้ อ งทํ า ด้ ว ยคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ตรง จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดทางลาดต้องมีสภาพดี เชื่อมต่อกับพื้นเดิม มีพื้นที่หน้าทางลาดเป็นที่ว่างยาวไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร พืน้ ผิววัสดุบริเวณทางลาด และพืน้ ผิวจุดต่อเนื่อง

อบต. บ้านใหม่

ที่ว่าการอําเภอบ้านนาเดิม

ร ้านขนมเปี๊ ยะตัง้ เซง่ จัว้

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ

7


ทางลาด

ทางลาด 3.3 ความกว้างสุทธิของทางลาด 3.3.1 ทางลาดมีความยาวโดยรวมไม่เกิน 6.00 เมตร (ระดับ พื้นมีความต่างระดับกันไม่เกิน 50 เซนติเมตร) ต้องมี ความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร 3 3 2 ทางลาดมความยาวโดยรวมเกน 3.3.2 ทางลาดมีความยาวโดยรวมเกิน 6.00 6 00 เมตร (ระดบ (ระดับ พื้นมีความต่างระดับกันเกิน 50 เซนติเมตร) ต้องมี ความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร โดยที่ทางลาด แต่ละช่วงต้องยาวไม่เกิน 6.00 เมตร และต้องจัดให้มี ชานพักยาวไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร คั่นระหว่างแต่ละ ช่วงของทางลาด

<6.00 ม.

>1.50 ม.

อบต. บ้านใหม่ 8

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


ทางลาด

ทางลาด

3.4 ทางลาดด้านทีไ่ ม่มีผนังกัน้ ให้ ใ ยกขอบสูงจากพืน้ ผิวของทางลาด ไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร และมีราวกันตก (กฎกระทรวงฯ กําหนด ว่ายกขอบสูงไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร)

ยกขอบสูงจาก พื้นผิวของทางลาด ไม่น้อยกว่า 15 ซม.

15 ซม.

>15 15 ซม.

อบต. บ้านใหม่

4. ขอบทางลาดและปลายทางลาด ไม่มีร่องและตะแกรงระบายน้ํา 5. ทางลาดชั่วคราวที่ทําจากเหล็ก ต้องไม่ลื่น ความยาวไม่ควรเกิน 1.80 เมตร กว้า งไม่ น้อ ยกว่า 90 เซนติเ มตร และต้อ งมี ค วาม มั่นคงปลอดภัย มนคงปลอดภย 6. ควรหลีกเลี่ยงการใช้พรม 7. พื้นผิวของทางลาดควรมีสีแตกต่างจากพื้นของจุดเชื่อมต่อ และ ควรมีการแยกสีให้แตกต่างกันระหว่างกําแพงและพื้นทางลาด 8. ทางลาดควรมีการก่อสร้างให้มีความคงทน แข็งแรง สามารถรับ น้ําหนักได้อย่างน้อย 300 กิโลกรัม

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 9


ทางลาด

ทางลาด

5 ซม.

30 ซม.

9. ทางลาดที่มีความยาวตั้งแต่ 2.50 เมตรขึ้นไป ต้องมีราวจับทั้งสอง ข้าง โดย 9.1 ทําด้วยวัสดุเรียบ มีความมั่นคงแข็งแรง ไม่เป็นอันตรายใน การจับและไม่ลื่น 9 2 มลกษณะกลม 9.2 มี ลั ก ษณะกลม โดยมเสนผานศู โดยมี เ ส้ น ผ่ า นศนย์ น ยกลางไมนอยกวา ก ลางไม่ น้ อ ยกว่ า 3-4 34 เซนติเมตร 9.3 สูงจากพื้น 80 – 90 เซนติเมตร 9.4 ราวจับด้านที่อยู่ติดผนังให้มีระยะห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร มีความสูงจากจุดยึดไม่น้อยกว่า 12 เซนติเมตร และผนังบริเวณราวจับต้องเป็นผนังเรียบ 9.5 ราวจับต้องยาวต่อเนื่อง และส่วนที่ยึดติดกับผนัง จะต้องไม่ กีด ขวางหรื อ เป็ น อุ ป สรรคต่ อ การใช้ ข องคนพิ ก ารทางการ มองเห็น 9 6 ปลายของราวจบใหยนเลยจากจุ 9.6 ปลายของราวจับให้ยื่นเลยจากจดเริ ดเรมตนและจุ ่มต้นและจดสิ ดสนสุ ้นสดของ ดของ ทางลาดไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร 1.50 ม.

1.50 ม.

80-900 ซม.

30 ซม.

15 ซม.

ที่ว่าการอําเภอบ้านนาเดิม 10 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


ทางลาด

ทางลาด 10.

ต้องจัดให้ ใ มีพ้ืนผิวต่างสัมผัสเตือนสําหรับคนพิการทางการ มองเห็นที่พื้นบริเวณต่างระดับกันเกิน 2 เซนติเมตร ที่ทางขึ้นและ ทางลงของทางลาด โดยมีขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร และมีความ ยาวเท่ากับและขนานไปกับความกว้างของช่องทางเดินของพื้น ต่างระดั บ ทางลาด และขอบของพนผวตางสมผสอยู ตางระดบ และขอบของพื้ นผิว ต่างสั ม ผัสอย่ ห่างจาก างจาก จุดเริ่มต้นของทางขึ้นหรือทางลงของพื้นต่างระดับทางลาด 30 35 เซนติเมตร

ที่ว่าการอําเภอป่าซาง

อบต. บ้านใหม่ 11. ให้มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการติดไว้ในบริเวณทางลาดที่จัดไว้ให้แก่คน พิการ

สํานักทะเบียนท้องถิ่น เทศบาลเมืองศรีสะเกษ

สํานักงานที่ดิน จังหวัดบุรีรัมย์

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 11


บริก ิ ารข ้อมู ้ ล สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 12


บริการข้อมูลที่จดั สําหรับคนพิการ

บริการข ้อมูล

1 มเคานเตอรตดตอทคนพการสามารถเขาถงได 1. มีเคาน์เตอร์ติดต่อที่คนพิการสามารถเข้าถึงได้ 2. เคาน์เตอร์ติดต่ออยู่ในตําแหน่งที่สามารถสังเกตได้ง่าย ความสูง เมื่อรวมส่วนบนเคาน์เตอร์แล้ว ควรสูง 75 เซนติเมตร 3.

มีพ้ืนที่ว่างใต้เคาน์เตอร์ให้ผู้ใช้เก้าอี้เข็นคนพิการสามารถเข้า ประชิดได้โดยไม่มี สิ่งกีดขวาง โดยส่วนล่างใต้เคาน์เตอร์ควรมี ความสูงมากกว่า 60สยามนิ เซนติเรมตร มิต

4 สวนบนเคานเตอรทยนออกมาควรมความยาวอยางนอย 4. ส่ ว นบนเคาน์ เ ตอร์ ที่ ยื่ น ออกมาควรมี ค วามยาวอย่ า งน้ อ ย 40 เซนติเมตร

เคาน์เตอร์ เคานเตอร

สํานักทะเบียนท้องถิ่น เทศบาลเมืองศรีสะเกษ

เทศบาลตําบลเหมืองง่า

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 13


บริการข ้อมูล บริการข้อมูลที่จดั สําหรับคนพิการ 5. มี คู่มื อ เอกสาร ข้ อมู ลข่ า วสาร ที่เ ป็ น อั กษรเบรลล์ หรื อสื่ อเสี ย ง เผยแพร่แก่คนพิการ 6. มีล่ามภาษามืออยู​ู่ประจําเคาน์เตอร์ 7. มีป้ายอักษรอิเล็กทรอนิกส์ (อักษรวิ่ง) ป้ายอักษรวิง่ ปายอกษรวง

สํานักงานที่ดิน จังหวัดบุรรี ัมย์

14 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ

สื่อเสียงเผยแพร่

สํานักงานที่ดิน จังหวัดบุรรี ัมย์


้ ห ้องส ้ วม สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 15


้ ห ้องสวม

ลักษณะห้องน้าํ -ห้องส้วม

1 ต้ตองจดใหมหองสวมสาหรบคนพการเขาใชไดอยางนอย 1. องจัดให้มีห้องส้วมสําหรับคนพิการเข้าใช้ได้อย่างน้อย 1 หอง ห้อง ในห้องส้วมนั้นหรือจะจัดแยกออกมาอยู่ในบริเวณเดียวกันกับ ห้องส้วมสําหรับบุคคลทั่วไปก็ได้ 2 มีพื้นที่ว่างภายในห้องส้วมเพื่อให้เก้าอี้เข็นคนพิการสามารถหมุน ตัวกลับได้ ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร ศาลากลาง จังหวัดสกลนคร

เทศบาลตําบลเหมืองง่า

 1.50 ม.

 1.50 ม.

3. พื้ น ห้ อ งส้ ว มต้ อ งมี ร ะดั บ เสมอกั บ พื้ น ภายนอก ถ้ า เป็ น พื้ น ต่ า ง ระดับต้องมีลักษณะเป็นทางลาด และวัสดุปูพื้นห้องส้วมต้องไม่ ลื่น 4. พื้นห้องส้วมต้องมีความลาดเอียงเพียงพอไปยังช่องระบายน้ําทิ้ง เพื่อที่จะไม่ให้มีน้ําขังบนพื้น

16 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


้ ห ้องสวม

ประตูห้องส้วม

5. ประตูของห้องส้วม - ประตูเป็​็นแบบบานเปิดออกสู่ภายนอก โโดยต้​้องเปิดค้​้างได้ ไ ้ไม่​่ น้อยกว่า 90 องศา หรือเป็นแบบบานเลื่อน - ความกว้ างของประตู ควรมี ระยะเปิดได้สุท ธิอย่ างน้อย 90 เซนติเมตร - ปร ประตบานเปิ ตูบานเปดตองไมตดตงอุ ดต้องไม่ติดตั้งอปกรณ์ ปกรณชนดทบงคบใหบานปร ชนิดที่บังคับให้บานประตตู ปิดได้เอง ที่อาจทําให้ประตูหนีบหรือกระแทกผู้ใช้งานได ้ - ในกรณีที่มีธรณีประตู ความสูงของธรณีประตูต้องสูงไม่เกิน 2 เซนติเมตร และให้ขอบทั้งสองด้านมีความลาดเอียง 1: 2 เพื่อให้ เก้าอี้เข็นคนพิการ หรือคนพิการที่ใช้อุปกรณ์ช่วยเดินสามารถ ข้า้ มได้ ไ ส้ ะดวก - ในกรณีที่ประตูเป็นแบบบานเปิด เมื่อเปิดออกสู่ทางเดินหรือ ระเบียงต้องมีพื้นที่ว่างขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 x 1.50 เมตร - ไม่ควรใช้พรมปูบริเวณประตู ถ้ าหากใช้ พรมควรอยู่ในระดับ เดียวกับพื้น เดยวกบพน อุปกรณ์เปิด-ปิดประตูหอ้ งส้วม 6. อุปกรณ์เปิด-ปิดประตูห้องส้วม ควรมีลักษณะ - มีมือจับประตูทั้งภายในและภายนอกห้อง เพื่อให้การเปิดปิด ประตู​ูสะดวก - อุปกรณ์ในการใช้งานประตู เช่น กลอนประตู ราวจับ ควรจะ ง่ายต่อการจั สยามนิ รมิต บและสามารถใช้งานได้โดยมือข้างเดียว

อาคารรัฐสภา

เทศบาลตําบลหนองขาว สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 17


้ ห ้องสวม

30-40 ซม.

80 ซม.

1.00-1.20 ม. 1.00 ม.

อุปกรณ์เปิด-ปิดประตูหอ้ งส้วม - ให้มีมือจับที่มีขนาดเท่ากับราวจับ ในแนวดิ่งทั้งด้านในและด้าน นอกของประตู ซึ่งมี ปลายด้ านบนสู งจากพื้นไม่ น้อยกว่า 1.00 เมตร และปลายด้านล่างไม่เกิน 80 เซนติเมตร - ในกรณีที่เป็นประตูบานเปิดออกให้มีราวจับตามแนวนอนด้าน ในประตู ราวจับดังกล่าวให้สูงจากพื้น 80 – 90 เซนติเมตร ยาว ไปตามความกว้างของประตู - อุปกรณ์เปิดปิดประตูต้องเป็นชนิดก้านบิดหรือแกนผลัก อยู่สูง จากพื้น 1.00 - 1.20 เมตร - ควรตดตงแผนกนกระแทกทขนาดความสู ควรติดตั้งแผ่นกันกระแทกที่ขนาดความสงง 30 - 40 เซนตเมตร เซนติเมตร

30-40 ซม.

อุปกรณ์ล็อกประตูห้องส้วม 7. อุปกรณ์ล็อกประตูห้องส้วม ควรมีลักษณะ ดังนี้ - ประตู ประตควรล็ ควรลอกหรอใสกลอนไดจากภายใน อกหรือใส่กลอนได้จากภายใน แตกสามารถปลดได แต่ก็สามารถปลดได้ จากภายนอกในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน - กลอนล็ อ กของประตู เ ข้ า ออก ควรติ ด ตั้ ง ให้ อ ยู่ ใ นความสู ง ระหว่าง 0.90 - 1.00 เมตร จากระดับพื้น

สยามนิรมิต

ศาลากลาง จังหวัดสกลนคร

1.00 ม..

18 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ

1.20 ม.

ศาลากลาง จังหวัดสกลนคร


ป้ายสัญลักษณ์

้ ห ้องสวม

8 ป้ปายสญลกษณ 8. ายสัญลักษณ์ ควรมี ควรมลกษณะ ลักษณะ - มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการติดไว้ที่ประตูด้านหน้าห้องส้วม ขนาด 90 x 90 เซนติเมตร 30 ซม.

ป้ายสัญลักษณ์คนพิการ

30 ซม.

สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดบุรีรัมย์

สยามนิรมิต

พืน้ ห้องส้วม 9. พื้นห้องส้วม ควรมีลักษณะ - วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ทํ า พื้ น ห้ อ งส้ ว ม ควรเป็ น วั ส ดุ ที่ ไ ม่ ลื่ น และทํ า ความ สะอาดง่าย - วัสดุที่ใช้ทําพื้นควรจะสังเกตเห็นความแตกต่างระหว่างสีของ กําแพงกับพื้นห้องส้วมได้ชัดเจน

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 19

 15 ซม.

- ห้องน้ําสําหรับบุคคลทั่วไป ที่มีการแยกเป็นห้องน้ําชายและ หญิงควรจัดให้มีอักษรเบรลล์ แสดงให้รู้ว่าเป็นห้องน้ําชายหรือ หญิงติดไว้ที่ผนังข้างทางเข้าในตําแหน่งที่สามารถสัมผัสได้ด้วย หญงตดไวทผนงขางทางเขาในตาแหนงทสามารถสมผสไดดวย

 11.5 ซม.

 15 ซม.

 11.5 ซม.


้ ห ้องสวม 75 ซม.

45-50 ซม.

เครื่องสุขภัณฑ์และองค์ประกอบ

โถส้วม 10. ลักษณะของโถส้วม ควรมีดังนี้ - มีโถส้วมชนิดนัง่ ราบ สูงจากพื้น 45 – 50 เซนติเมตร - มีพนักพิงหลังที่ให้คนพิการที่ไม่สามารถนั่งทรงตัวได้เองใช้พิงได้ - ทปลอยนาเปนชนดคนโยก ี่ ป ่ ้ํ ป็ ช ิ ั โ ปุป่ ม กดขนาดใหญหรอชนดอนท ใ ่ ื ช ิ ื่ ี่ สามารถใช้ ไ ด้ อ ย่ า งสะดวก (ควรอยู่ ด้ า นข้ า งหรื อ ติ ด กั บ ผนั ง ด้านข้างของโถส้วม) - มีด้านข้างด้านหนึ่งของโถส้วมอยู่ชิดผนังโดยมีระยะห่างวัดจาก กึ่งกลางโถส้วมถึงผนัง 45 – 50 เซนติเมตร - มีระยะห่างจากผนังด้านหลังถึงตัวโถนั่ง 75 เซนติเมตร - ด้านที่ไม่ชิดผนังให้มีที่ว่างมากพอที่คนพิการที่นั่งเก้าอี้เข็นคน พิการสามารถเข้าไปใช้โถส้วมได ้โดยสะดวก

พนักพิงหลัง

ศาลากลางจังหวัดนครสวรรค์

20 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ

พนักพิงหลัง

สนามบินสุวรรณภูมิ


้ ห ้องสวม

ราวจับสําหรับใช้ในห้องส้วม

11 มราวจบเพอนาไปสู 11. มีราวจับเพื่อนําไปส่สุขภั ขภณฑอนๆ ณฑ์อื่นๆ ภายในห้ ภายในหองสวม องส้วม มความสู มีความสงง จากพื้น 80 – 90 เซนติเมตร 12. ในกรณีที่ด้านข้างของโถส้วมทั้งสองด้านอยู่ห่างจากผนังเกิน 50 เซนติเมตร ต้องมีราวจับติดผนังแบบพับเก็บได้ในแนวราบ เมื่อกางออกให้มีระบบล็อกที่คนพิการสามารถปลดล็อกได้ง่าย มีระยะห่างจากขอบของโถส้วม 15 – 20 เซนติเมตร และมี ความยาวไม่น้อยกว่า 45 เซนติเมตร 13 ราวจบบรเวณดานทชดผนง 13. ราวจั บ บริ เ วณด้ า นที่ ชิ ด ผนั ง เป็ เปนราวจบในแนวนอนและ น ราวจั บ ในแนวนอนและ แนวดิ่งโดยมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ - ราวจับในแนวนอนมีความสูงจากพื้น 65 – 70 เซนติเมตร และให้ ยื่ น ล้ํ า ออกมาจากด้ า นหน้ า โถส้ ว มอี ก 25 - 30 เซนติเมตร - ราวจั บ ในแนวดิ่ ง ต่ อ จากปลายของราวจั บ ในแนวนอน ด้ า นหน้ า โถส้ ว มมี ค วามยาววั ด จากปลายของราวจั บ ใน แนวนอนขึ้นไปอย่างน้อย 60 เซนติเมตร

15-20 15 20 ซม. ซม

ศูนย์พระมหาไถ่

60 ซม.

25-30 ซม 65-70 ซม

 60 ซม.

45-50 ซม.

65-70 ซม

65- 70 ซม 45-50 ซม.

สนามบินสุวรรณภูมิ สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 21


้ ห ้องสวม

อุปกรณ์อื่นๆ

14. มีสายชําระหรือระบบฉีดนํ้าชําระอัตโนมัติ ใช้งานได้และสะดวก 15. ที่แขวนกระดาษชําระหรือสายฉีดชําระ ควรติดตั้งอยู่ในระดับ ความสูงระหว่าง 55 – 120 เซนติเมตร

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ศาลากลางจังหวัดสกลนคร

ระบบสัญญาณเตือนภัย ปุ่มกดสัญญาณเตือนภัย

 80 ซม. โรงพยาบาลนครพนม

16. ติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัย ดังนี้ ญญาณแสงและสัญ ญญ ญาณเสียงให้ผู้ที่อยู​ู่ภายนอก - ติดตั้งระบบสัญญ แจ้งภัยแก่คนพิการ - ติดตั้งระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียงให้คนพิการสามารถ แจ้งเหตุหรือเรียกหาผู้ช่วยในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินไว้ในห้องส้วม โดยมี ปุ่ ม กดหรื อ ปุ่ ม สั ม ผั ส ให้ สั ญ ญาณทํ า งานซึ่ ง ติ ด ตั้ ง อยู่ ใ น ตําํ แหนงสู ่ งจากพืนื้ 2 ตําํ แหนง่ คือื ไม่เกิน 30 เซนติเมตร และ ไม่เกิน 80 เซนติเมตร

22 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


้ ห ้องสวม 60 ซม.

17. มีอ่างล้างมือโดยมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ - ใต้อ่างล้างมือด้านที่ติดผนังไปจนถึงขอบอ่างเป็นที่ว่าง เพื่อให้ เก้ า อี้ เ ข็ น คนพิ ก ารสามารถสอดเข้ า ไปได้ สู ง อย่ า งน้ อ ย 60 เซนติเมตร - ขอบอางอยู ขอบอ่างอย่ห่าางจากผนงไมนอยกวา งจากผนังไม่น้อยกว่า 45 เซนตเมตร เซนติเมตร และตองอยู และต้องอย่ ในตําแหน่งที่คนพิการเข้าประชิดได้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง - มีความสูงจากพื้นถึงขอบบนของอ่าง 75 – 80 เซนติเมตร - มีราวจับในแนวนอนแบบพับเก็บได้ในแนวดิ่งทั้งสองข้างของ อ่าง

45 ซม. ซม

1.00 ม. 75-80 ซม.

อ่างล้างมือ

สนามบินสุวรรณภูมิ

>45 ซม.

>60 ซม.

60 ซม. 

700

75-80 ซม.

60 ซม.

บ ้านเขาหลัก

18. ควรมีพื้นที่หน้าอ่างล้างมืออย่างน้อย 90 x 120 เซนติเมตร เพื่อ การเข้าถึง

 1.00 เมตร

19. เนื้อที่ใต้อ่างสําหรับผู้ใช้เก้าอี้เข็นคนพิการ และอุปกรณ์ส่วนเกิน ใดๆ เช่น ท่อน้ํา ควรมีการห่อหุ้มเพื่อป้องกันการจับแตะ 20. ไม่ควรมีชั้นวางของอยู่เหนืออ่างล้างมือ 21. ขอบล่างของกระจกบริเวณอ่างล้างมือ สูงไม่เกิน 1.00 เมตร สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 23


้ ห ้องสวม

ก๊อกน้าํ 22. ก๊อกนํ้าสามารถใช้มือเดียวบังคับโดยไม่ควรออกแรงเกิน 22 นิว ตัน 23. ก๊อกน้ําเป็นชนิดก้านโยก หรือก้านกด หรือก้านหมุน หรือระบบ อัตโนมัติ ชองวางระหวางกอกนากบผนง อตโนมต ช่องว่างระหว่างก๊อกน้ํากับผนัง หรื หรอกาแพงไมควรจะ อกําแพงไม่ควรจะ น้อยกว่า 3.5 เซนติเมตร 24. ช่องว่างระหว่างก๊อกน้ําสองก๊อกไม่ควรจะน้อยกว่า เซนติเมตร ก๊อกน้ําด้านซ้ายควรจะเป็นก๊อกน้ําร้อน

90 ซม. บ ้านใหม่ อบต. 50-60 ซม. ซม

1.2-1.3 ม.

00.8-1.0 ม.

ศาลากลางจังหวัดสกลนคร

20

สํานักงานพัฒนาสังคมและ ความมัน่ คงของมนุษย์จังหวัด บุรีรัมย์

โถปัสสาวะชาย 25. ในกรณีที่เ ป็นห้องส้ วมสําหรับผู​ู้ชายที่มิใ ช่ห้องส้วมสําหรับคน พิการให้มีที่ถ่ายปัสสาวะที่มีระดับเสมอพื้นอย่างน้อย 1 ที่ 26. มีราวจับในแนวนอนอยู่ด้านบนของที่ถ่ายปัสสาวะยาว 50 – 60 เซนติเมตร มีความสูงจากพื้น 1.20 – 1.30 เมตร

0.8-1.0 ม.

55-60 ซม.

27. มีราวจับด้านข้างของที่ถ่ายปัสสาวะทั้งสองข้าง มีความสูงจากพื้น 0.80 – 1.00 เมตร ซึ่งยื่นออกมาผนัง 55 - 60 เซนติเมตร

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

24 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


ปาย-สญลั ป้ สั ก ั ษณ์ สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 25


ั ลักษณ์ ป้ าย-สญ ลักษณะของป้าย - สัญลักษณ์ 1. อาคารต้องจัดให้มีป้ายแสดงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคน พิการตามสมควร โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ - สัญลักษณ์รปู ผู้พิการ - เครื่องหมายแสดงทางไปสู่สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคน พิการ พการ - สั ญ ลั ก ษณ์ หรื อตั ว อั ก ษรแสดงประเภทของสิ่ง อํ า นวยความ สะดวกสําหรับคนพิการ 2. สัญลักษณ์รูปผู้พิการ เครื่องหมายแสดงทางไปสู่สิ่งอํานวยความ สะดวกสํ า หรั บ คนพิ ก าร และสั ญ ลั ก ษณ์ ห รื อ ตั ว อั ก ษรแสดง ประเภทของสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ ให้เป็นสีขาว โดยพื้นป้ายเป็นสีน้ําเงิน หรือสัญลักษณ์หรือตัวอักษรเป็นสีน้ําเงิน โดยพื้นป้ายเป็นสีขาว 3. สัญลักษณ์ผู้พิการสากลให้ประกอบด้วย - คนบนเก้าอี้เข็นคนพิการ โดยรูปคนบนเก้าอี้เข็นคนพิการให้หัน ไปด้านขวาของผู้มองเสมอ - พืน้ หลังหรือกรอบเป็นสี่เหลี่ยม 4. สัญลักษณ์ พื้นที่หรือสิ่งอํานวยความสะดวกของผู้ใช้เก้าอี้เข็นคน พิการ ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ คนพิการทางกาย คนพิการทางการ เห็น และคนพิการทางการได้ยิน ให้ใช้สัญลักษณ์ผู้ใช้เก้าอี้เข็นคน พิการ พการ 5. ป้ายแสดงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการต้อง - มีความชัดเจน มองเห็นได้ง่าย - ติดอยู่ในตําแหน่งที่ไม่ทําให้สับสน และ - ต้องจัดให้มีแสงส่องสว่างเป็นพิเศษทั้งกลางวันและกลางคืน 26 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


ั ลักษณ์ ป้ าย-สญ การติดตัง้ ป้าย - สัญลักษณ์ 6. ตําแหน่งทีต่ ดิ ตั้งไม่ควรอยู่ในตําแหน่งกีดขวางทั้งในแนวนอนและ แนวตั้ง รวมถึงไม่กีดขวางทางสัญจร ในกรณีที่มีคนหยุดอ่าน 7. ป้ายสามารถติดตั้งในลักษณะต่างๆ ได้ดังนี้ - ยดตดอยู ยึดติดอย่กับบกาแพง กําแพง - ยึดติดอยู่กับเสา - แขวน โดยควรจะสูงอย่างน้อย 2.00 เมตร จากระดับพืน้ เครื่องหมายแสดงทางไปสู่สิ่งอํานวยความสะดวก

สํานักทะเบียนท้องถิ่น เทศบาลเมืองศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

สัญลักษณ์ แสดงประเภทของสิ่งอํานวยความสะดวก

สยามนิ ต ตรวิทยา โรงเรีรยมินเลาหจิ

ั ดิย หจก.เกรียงศก ์ โสธร

สํานักงานที่ดิน จังหวัสยามนิ ดบุรีรัมย์รมิต

สยามนิรมิต

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 27


มติคณะรัฐมนตรี มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 พฤษภาคม 2552 เรื่อง ให้หน่วยงานราชการสํารวจและจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกให้คนพิการเข้าถึงได้ มติคณะรัฐมนตรีให้หน่วยงานราชการสํารวจและจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกให้คนพิการเข้าถึงได้ คณะรัฐมนตรีพิจารณาการขอให้หน่วยงานราชการสํารวจและจัดทําสิ่งอํานวยความสะดวก ให้คนพิการ เข้าถึงได้ ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เสนอ แล้วมีมติเห็นชอบ ดังนี้ 1. กําหนดให้หน่วยงานราชการดังต่อไปนี้ดําเนินการสํารวจและจัดทําสิ่งอํานวยความ สะดวกเนื่องจากมี คนพิกิ ารใช้ ใ บ้ ริกิ ารมากตามลําํ ดับั คือื 1.1 โรงพยาบาล จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกให้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2548 ซึ่ง กํ า หนดให้ มี ก ารจั ด สิ่ ง อํ า นวยความสะดวกภายในอาคารสํ า หรั บ คนพิ ก ารหรื อ ทุ พ พลภาพและคนชรา 1.2 หน่วยงานราชการ ได้แก่ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอําเภอ/สํานักงานเขต ที่ทําการขององค์กร ป ปกครองส่ ่วนท้​้องถิ​ิ่น (องค์ ( ์การบริ​ิหารส่​่วนจั​ังหวั​ัด/ส่​่วนตํ​ําบล/สํ​ํานั​ักงานเทศบาลนคร/เมื​ือง/ตํ​ําบลและเมื​ือง พั​ัทยา)) สถาบันการศึกษา และสถานีตํารวจ จัดทําสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ทางลาด ห้องน้ํา ที่จอดรถ ป้าย และสัญลักษณ์ และบริการข้อมูล ภายในปี 2554 2 ให้หน่วยงานราชการดังกล่าวสามารถขอตั้งงบประมาณหรือเจียดจ่ายหรือเปลี่ยน แปลงงบประมาณใน การจดทาสงอานวยความสะดวกสาหรบคนพการ ร ั ํ สิ่ ํ ส สํ รั ิ ร โดยใหเปนอานาจของหวหนาสวนราชการหรอผู โ ใ ้ ป็ ํ ั ้ ส่ ร ช ร รื ้ว่าราชการจงหวด รช รั ั อนุมัติ

28

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


มติคณะรัฐมนตรี

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 29


มติคณะรัฐมนตรี

30

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


มติคณะรัฐมนตรี

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 31


มติคณะรัฐมนตรี

32

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


มติคณะรัฐมนตรี

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 33


มติคณะรัฐมนตรี

34

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


มติคณะรัฐมนตรี

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 35


มติคณะรัฐมนตรี

36

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


มติคณะรัฐมนตรี

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 37


มติคณะรัฐมนตรี

38

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


มติคณะรัฐมนตรี

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 39


มติคณะรัฐมนตรี

40

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


มติคณะรัฐมนตรี

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 41


กฎกระทรวงฯ

42

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


กฎกระทรวงฯ

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 43


กฎกระทรวงฯ

44

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


กฎกระทรวงฯ

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 45


กฎกระทรวงฯ

46

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


กฎกระทรวงฯ

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 47


กฎกระทรวงฯ

48

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


กฎกระทรวงฯ

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 49


กฎกระทรวงฯ

50

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


กฎกระทรวงฯ

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 51


กฎกระทรวงฯ

52

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


กฎกระทรวงฯ

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 53


กฎกระทรวงฯ

54

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


กฎกระทรวงฯ

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 55


กฎกระทรวงฯ

56

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ


รายการอ ้างอิง สถานทีด่ ีเด่นที่เอื้อต่อคนพิการ สถานทดเดนทเออตอคนพการ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง จังหวัดเชียงราย ศูนย์พระมหาไถ่ จังหวัดชลบุรี สนามบินสุวรรณภูมิ จังหวัดสมุทรปราการ อาคารรัฐั สภา กรุงเทพมหานคร องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านใหม่ จังหวัดกาญจนบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร สํานักงานที่ดินจังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ที่ว่าการอําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน ี่ ่ ํ ้ ิ จงหวดสุ ทวาการอาเภอบานนาเดม ั ั สราษฎรธาน ์ ี สํานักทะเบียนท้องถิ่น เทศบาลเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ เทศบาลตําบลเหมืองง่า จังหวัดลําพูน ศาลากลางจังหวัดสกลนคร จังหวัดสกลนคร เทศบาลตําบลหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษย์ สานกงานพฒนาสงคมและความมนคงของมนุ ษยจงหวดบุ จังหวัดบรีรรรมย ัมย์ จัจงหวดบุ งหวัดบรีรรรมย ัมย์ ศาลากลางจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โรงพยาบาลนครพนม จังหวัดนครพนม โรงเรียนเลาหจิตรวิทยา จังหวัดลําพูน โรงเรียนกระบุรี จังหวัดระนอง

สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ 57


รายการอ ้างอิง ข้อมลโดย ขอมู ลโดย

หน่วยปฏิบัติการวิจัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและคนพิการ (ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น จากกองทุ น รั ช ดาภิ เ ษกสมโภช จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย)

ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย รศ. ไตรรัตน์ จารุทศั น์ trirat13@gmail.com @g

รายการอ้างอิง * กฎกระทรวงกํ ฎ าหนดสิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูู้ พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 ** คู่มือปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม การออกแบบสภาพแวดล้อม และสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับทุกคน สมาคมสถาปนิกสยามใน พระบรมราชู​ูปถัมภ์ พ.ศ. 2552

58 สถานทีด ่ เี ด่นทีเ่ อือ ้ ต่อคนพิการ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.