E MAGAZINE travel in Bangkok
GEN441 | KMUTT | MMDA
สารบัญ 1 9 15 19 23 27 31 37 41 46 52 56
What about เจริญกรุง Architecture We’re building on weeken People insight Religions and culture Insight สถานีดัเพลิงบางรัก Explore buddhist temple Importance relgious Find inspiration from travel Culture of Cheroan Krung อร่อยเด็ดเจริญกรุง บรรณาธิการ
เจริญกร
เจริญ
What
about
รง
ญกรุง
What ถนน เจริญกรุง เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิค การสร้างแบบตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ สร้างขึ้นเมื่อวันที่ ๕ กุม พา ๒๔o๔ สาเหตุของการ สร้างมาจากการที่พระองค์ ได้ทรงรับคำ�กราบบังคมทูล อธิบายจากชาวต่างประเทศ ว่า ในประเทศทางยุโรปนั้น จะสร้างถนนที่สามารถใช้ได้ ทุกฤดูกาล โดยใช้อิฐและหิน ก้อนใหญ่ก้อนเล็กปูเป็นชั้นๆ ทำ�ให้พระองค์สนพระทัยมาก
จะเห็นได้ว่าการเดินทางในถนน เจริญกรุงเป็นอะไรที่สะดวกมากไม่ว่า จะเป็น รถเมล์ รถไฟฟ้า รวมไปถึงเรือ ด่วนเจ้าพระยาด้วย
about
สถาปัต’ เจริญกรุง
สถาปัตยกรรมเจริญกรุง
มีกลิ่นอายแบบฝรั่ง นึกถึงถนนสายนี้แล้ว กลาย เป็นเห็นภาพแหม่มฝรั่งสวมชุดโป่งๆสีขาวแบบ ศตวรรษที่ 19 เดินกางร่ม นั่งรถม้าผ่านไปบนถนน สายนี้ ภาพบ้านฝรั่งๆ การเดินทางสำ�รวจถนน เจริญกรุงครั้งนี้ทำ�ให้เห็นเสน่ห์ลึกลับของถนนเส้น นี้ที่ต้องมาเดินชิวๆถึงจะเห็น ถ้านั่งรถผ่าน มันก็ เป็นแค่ถนนที่รถติดน่ารำ�คาญ แต่ถ้ามาเดินเที่ยว ชมอาคารเก่าต่างๆ ชมเรื่องราวประวัติศาสตร์แล้ว จะพบว่ามันเป็นถนนที่บันทึกร่องรอยชีวิตคน กรุงเทพในอดีต หลากเชื้อชาติ หลากวัฒนธรรม หลากกาลเวลา เหมือนพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่มี ชีวิต ภาพบาทหลวงถือไบเบิลเดินไปเดินมา
Architecture
We’re Building!
อาคารบ้านเรือนในย่านเจริญกรุง มีความเก่า แก่สวยงามโอบล้อมไปด้วยอาคารสูงทันสมัย มองดูให้ความแปลกตาดึงดูดความสนใจได้ไม่ น้อย ตลอดเส้นทางถนนเจริญกรุง ยังคงมี กลิ่นไอของสถาปัตยกรรมโบราณให้หลงใหล อยู่ไม่น้อย
On Weekend
บริ ษั ท อี ส ต์ เ อเชี ย ติ ก ตึ ก ฝรั่ ง สไตล์ นี โ อเรอเนสซอง ส์ อ ายุ ก ว่ า 100ปี ที่ ส วยเตะตา เคยเป็ น อาคารที่ ทำ � การบริ ษั ท อี ส ต์ เ อเชี ย ติ ก บริ ษั ท ของชาว เดนมาร์ ก ที่ ทำ � ธุ ร กิ จ ค้ า ไม้ สั ก ท่ า เรื อ ของบริ ษั ท นี้ อ ยู่ ห่ า งออก ไปไม่ ม ากคื อ ตำ � แหน่ ง ที่ เ ป็ น ห้ า ง “เอเชียธีค” ในปัจจุบันนี่เอง
สายไฟ !
สายไฟ !
สายไฟ !
! ฟ ไ ย า .ส
. . ย ว ้ ด ตึก
บ ั ด ะ ปร
อ า ค า ร ศุ ล ก ส ถ า น
สายไฟ !! สายไฟ
หากมองย้ อ นอดี ต กลั บ ไป เ มื่ อ 1 1 3 ปี ก่ อ น ซึ่ ง ต ร ง กั บ สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอาคาร ศุ ล กสถานซึ่ ง ใช้ เ ป็ น ที่ ทำ � การ ของกรมศุ ล กากรหลั ง นี้ เ คย สวยงามและทรงคุ ณ ค่ า ทาง ด้ า นสถาปั ต ยกรรมจนเป็ น ที่ ร่ำ�ลือตั้งแต่สร้างเสร็จในปีพ.ศ. 2431ก่อนที่กรมฯนี้จะย้ายไป อยู่ที่คลองเตยในปีพ.ศ.2492
ข้าวของเครื่องใช้ พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก
หรือ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น กรุงเทพมหานคร เขตบางรัก เป็นหนึ่งใน แหล่งท่องเที่ยว มุม มองใหม่ใน บางกอกได้จัดตั้งขึ้นตามวัตถุประสงค์ และ ความตั้งใจของอาจาร์ยวราพร สุรวดี ผู้เป็นเจ้าของ ซึ่งอยากจะจัดบ้าน และทรัพย์สิน มรดกที่ได้จาก มารดา คือ นางสอาง สุรวดี (ตันบุญเล็ก) ให้ เป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อ ให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษา
เมื่ อ อาจารย์ ว ราพรจั ด สิ่ ง ของได้ ทำ � เรื อ งยกบ้ า นหลั ง นี้ ใ ห้ เ ป็ น สมบั ติ ข องกรุ ง เทพมหานครหลั ง จากนั้ น กรุ ง เทพมหานคร ก็ ไ ด้ จั ด ทำ � บ้ า น ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ เ ป็ น โ ค ร ง ก า ร นำ � ร่ อ ง ส น อ ง น โ ย บ า ย ก า ร มี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง แ ต่ ล ะ เ ข ต โ ด ย
รู ป แ บ บ ก า ร จั ด แ ส ด ง เป็ น อาคารและวั ต ถุ ซึ่ ง บอกเล่ า เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ สภาพชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ข องชาวบางกอกที่ มี ฐ านะปานกลางในช่ ว ง ก่ อ นและหลั ง สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ซึ่ ง ข้ า วของเครื่ อ งใช้ ที่ นำ � มาแสดงส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น ของใช้ ที่ เ จ้ า ของบ้ า นได้ ใ ช้ ง านจริ ง
ห้ อ ง อ า ห า ร ภายในมี โ ต๊ ะ รั บ ประทานอาหาร 6 - 8 ที่ นั่ ง บ น โ ต๊ ะ จั ด แ ส ด ง ชุด Dinnerset แบบฝรั่ง และภาชนะลาย ครามแบบบจี น เ ค รื่ อ ง เ ค ลื อ บ สี เ ขี ย ว ไ ข่ ก า รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ
อาคารไม้ 2 ชั้น สร้างจำ�ลองขึ้นมาให้ใกล้เคียงกับหลังเดิม จุดประสงค์ที่ สร้างบ้านหลังนี้ในตอนแรกคือเพื่อใช้ชั้นล่างเป็นคลีนิคคุณหมอฟรานซิส คริสเตียน บ้านหลังนี้ สร้างยังไม่ทันเสร็จคุณหมอก็ป่วยเสียชีวิต
ชั้ น ล่ า งเป็ น การจั ด แสดงข้ า วของเครื่ อ ง ใช้ ใ นบ้ า นมี ทั้ ง เครื่ อ งครั ว เครื่ อ งเขี ย น เครื่ อ งมื อ ช่ า งเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ใ น งานหั ต ถกรรมฯลฯอ.วราพรชั้ น บน แสดงภาพรวมของกรุ ง เทพมหานคร
ที่อยู่ : 273 ซอยเจริญกรุง 43 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพฯ GPS : 13.728387,100.518127 เบอร์ติดต่อ : 02 233 7027, 02 231 6930 E-mail : bkkfolk_museum@hotmail.co.th Website : http://www.bkkfolkmuseum.com/ Facebook : http://th-th.facebook.com/BkkMuseum เวลาทำ�การ : วันพุธ-วันอาทิตย์ เวลา 10.00-17.00 น. ค่าธรรมเนียม : ฟรี ช่วงเวลาแนะนำ� : ตลอดทั้งปี ไฮไลท์ : ข้าวของเครื่องใช้ กิจกรรม : เดินเที่ยวชม เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของชุมชน และวิถีชีวิตของชาวกรุงเทพในช่วงตั้งแต่รอยต่อของรัชกาลที่ 5-6 ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีชาวตะวันตกเข้ามาติดต่อค้าขายกับไทย มาก
People inside
คนในชุมชน มีการเป็นอยู่กันอย่าง เรียบง่ายส่วนใหญ่ทำ�อาชีพค้าขาย เพราะละแวกนี้เป็นย่างท่องเที่ยวใจกลาง เมือง เรียกได้ว่าเกือบร้อยละ 80 ของ ชาวเจริญกรุงนิยมค้าขาย ส่วนเรื่อง เชื้อชาติที่พบมีหลายเชื้อชาติที่พบและ แบ่งได้ 3 กลุ่มใหญ่ คือ ชาวไทยเชื้อ สายจีน ชาวไทยมุสลิม และ ชาวต่าง ชาติๆ ก็สามารถแยกออกได้อีกหลาย
Religions and Culture
อาสนวิหารอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ หรือโบสถ์ อัสสัมชัญ เป็นอาสนวิหารประจำ�มิสซัง โรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ มีอายุเก่าแก่อายุ กว่า 200 ปี สร้างโดยบาทหลวงปาสกัลซึ่ง เป็นชาวไทย-โปรตุเกส โบสถ์หลังปัจจุบันนี้ ถูกสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2452 เพื่อรองรับ การขยายตัวของคริสต์ศาสนิกชนที่มีเพิ่ม มากขึ้น โดยมีสถาปนิกชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง วัสดุที่ใช้ สร้างเช่นหินอ่อนและกระจกสีนั้นก็สั่งมาจาก ประเทศฝรั่งเศสและอิตาลี
INSIGHT สถานีดับเพลิงบางรัก
สถานีดับเพลิงบางรักตั้งอยู่เลข ที่ 37 ซอยเจริญกรุง 36 ถนนเจริญกรุง เป็น อีกสถานที่ ที่ถือได้ว่ามีเสน่ห์ซ่อน อยู่มากมาย โดยอาคารนั้นเป็นอาคารรูป แบบสถาปัตยกรรมนีโอ-บัลลาเดียน (Neo-Palladion) ซึ่งเป็นศิลปะโรมันคลาสสิค โดย มีอายุกว่า120ปี ซึ่งถือได้ว่าเก่าแก่ มาก เป็นรุ่นทวดของเราได้เลย ซึ่งถือว่า บรรยากาศดีมากๆ เพราะตั้งติดอยู่ริม แม่น้ำ�เจ้าพระยาเลย มาเล่าถึงการเดินสำ�รวจรอบๆอาคารเก่าแก่แห่ง นี้ สิ่งที่จะพบได้ทันทีเมื่อถึงที่แห่งนี้คือ ความเก่าและความเก๋า ในตัวของมัน ตัวคารคารจะบอกถึงบรรยากาศเก่าๆได้อย่าง ดี แน่นอนว่ามันคงไม่ได้เป็นสถานีดับเพลิงตั้งแต่แรก ซึ่งตอน แรกมองแล้วอาจดูเหมือนเป็นโรงแรมเก่า หรืออาคารอะไรสัก อย่าง แต่จริงๆแล้วสถานที่แห่งนี้เคยเป็น “ศุลกสถาน” (Customs House) ถ้าสังเกตดีๆแล้ว จากทางที่เข้ามาจะมีป้าย แสดงประวัติบอกอยู่ มองขึ้นไปบนยอด ยังหลงเหลือสภาพ โครงสร้างที่ผ่านแดดฝนมาถึง 118 ปี ... มาทราบถึงประวัติกันสักหน่อย “ศุลกสถาน” หรือ กรมศุลกากรในปัจจุบัน สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๓๓ เพื่อเป็นที่ทำ�การเก็บภาษีสินค้า ขาเข้าที่เรียกว่า “ภาษีร้อยชักสาม” ดังนั้นจึงมีชื่อเรียกอีก
บริเวณนี้ในอดีตถือเป็นปากประตูสุดแดนพระนครใต้ เมื่อเรือสินค้าเข้ามาจากปากแม่น้ำ�ก็ต้องผ่านจุดตั้งด่าน เก็บภาษีที่ตั้งอยู่ทั้งฝั่งบางรักและคลองสาน ซึ่งมีหน้าที่ ตรวจตราเรือ สินค้าจากประเทศต่างๆ
นี่คือภาพของสถานีดับเพลงบางรัก เมื่อเดินผ่านตัว อาคาร
Bangruk
ยากให้คนไทย ลองเที่ยวเมืองไทย แล้วจะรัก
explore t s i h d d u B
! e l p m Te วัดอุภัยราชบำ�รุง วัดญวนตลาดน้อย ตามตำ�นานมิได้ ระบุไว้ชัดว่าสร้างเมื่อใด ในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 แต่พอจะ สันนิษฐานได้ว่าคงจะสร้างขึ้นเมื่อราว ปี พ.ศ.2330 ในเวลาต่อมาพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ พระราชทาน นามว่า วัดอุภัยราชบำ�รุง นับแต่มา ตราบทุกวันนี้
ที่อยู่ : เลขที่ 864 ถนน เจริญกรุง แขวงตลาดน้อย เขต สัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เบอร์โทร : 02-2333012
ส ถ า น ที่ สั ก ก า ร ะ ย่ า น ต ล า ด น้ อ ย
แนะนำ� ! วั ด อุ ภั ย ร า ช บำ � รุ ง “วัดอุภัยราชบำ�รุง” หรือวัดญวน ตลาดน้อย ริมถนนเจริญกรุง วัด แห่งนี้เป็นวัดฝ่ายอนัมนิกาย มี ความเป็ น มาตั้ ง แต่ ส มั ย ต้ น กรุ ง รัตนโกสินทร์ โดยในสมัยรัชกาล ที่ 1 องเชียงสือและพวกพ้องซึ่ง เป็นชาวญวนได้เข้ามาพึ่งพระบรม โพธิสมภาร พระองค์จึงโปรด เกล้าฯ ให้ตั้งถิ่นฐานบริเวณย่านนี้
“วัดญวนย่านตลาดน้อย” วั ด อุ ภั ย ร า ช บำ � รุ ง
ค ว า ม เ ป็ น ม า
วัดที่ได้รับพระบรมราชูปถัมภ์ จากพระมหากษัตริย์สองพระ องค์ คือรัชกาลที่ 4 และรัชกาล ที่ 5 โดยเมื่อครั้งที่รัชกาลที่ 4 ยังทรงผนวชอยู่นั้น พระองค์ ทรงสนพระทั ย ศึ ก ษาเรื่ อ ง พุทธศาสนามหายาน จึงทรง รู้จักกับองฮึง เจ้าอาวาสวัด ญวนตลาดน้ อ ยในขณะนั้ น องฮึ ง ได้ เ ข้ า เฝ้ า อย่ า งใกล้ ชิ ด พร้ อ มทั้ ง ถวายวิ สั ช ชนาเรื่ อ ง ศาสนาพุทธฝ่ายมหายานและ ภิ ก ษุ ส ามเณรในคณะญวน
Important religious site วัดกาลาวาห์
เป็นวัดเก่าแก่มีความ เป็ น มาเรี ย กได้ ว่ า พร้ อ มกั บ กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ เ ลยที เ ดี ย ว จากประวัติศาสตร์ ทำ�ให้สามารถพูดได้อย่างเต็ม ปากว่า เป็นวัดคาทอลิกคู่กรุงรัตนโกสินทร์ก็ว่าได้
เพื่อความเข้าใจอย่างถูกต้อง ต้องรู้จักที่มาของ “คาทอลิก” ใน ประเทศไทยเสียก่อน ชาวโปรตุเกสเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่อยุธยา ก่อนที่พระสงฆ์คณะมิสซังต่างประเทศจะมาถึงนานพอดู และพวก นักบวชคณะต่าง ๆ เช่น คณะดมีนีกัน และคณะอื่น ๆ จึงเข้ามา ภายหลัง และแต่ละคณะก็จะมีการสร้างวัด และบ้านของตนเอง
เทคนิคการก่อสร้าง ตัวอาคารผนังก่ออิฐฉาบปูนโครงสร้างอาคารเป็นแบบผนัง รับน้ำ�หนัก (BEARING WALL) โดยมีเสาเก็จ หรือผนังยัน ที่ เกิดขึ้นจากการเพิ่มความหนาของผนังช่วงที่ต้องรับโครงสร้าง หลังคาทำ�ให้สามารถช่วยรับแรงถีบจากโครงสร้างหลังคาได้ สามารถเจาะช่องหน้าต่างได้กว้าง โครงสร้างหลังคาเป็นโครงสร้าง ไม้ลักษณะเป็นโครงถัก มีการใช้ลวดสลิงขนาดใหญ่ดึงระหว่าง โครงสร้างแทนการใช้ไม้ ส่วนของโครงบริเวณหัวโบสถ์มีลักษณะ เป็นโวลท์ครึ่งซีก
ความเป็นมาของโบสถ์ คริสตังชาวโปรตุเกสที่หลบหนีทหารพม่าที่บุกเข้ามาที่อยุธยา ซึ่งไม่ ยอมรับมิสชชันนารีฝรั่งเศส แต่ยอมรับบาทหลวงชาวโปรตุเกส ได้แยกไป อยู่บริเวณที่ว่างเปล่าซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดในปัจจุบัน โดยตั้งชื่อว่า “ค่ายแม่ พระลูกประคำ�”ตามชื่อรูปแม่พระที่นำ�มาจากอยุธยา ในช่วงแรกคริสตังใน ค่ายนี้ยังไม่มีวัดเป็นของตนเอง อีกทั้งไม่มีบาทหลวงโปรตุเกสมาปกครอง ดูแล จึงจำ�เป็นต้องเดินทางไปร่วมพิธีทางศาสนาที่วัดซางตาครู้ส
โบสถ์คริสต์เก่าแก่แห่งหนึ่งที่มีความ สวยงามตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา ใกล้กับสำ�นักงานเขตสัมพันธวงศ์ มี ลักษณะสถาปัตยกรรมการก่อสร้าง แบบนี โ อโกธิ ค เป็ น สถานที่ สำ � หรั บ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
ที่ตั้ง : 1318 ซ.วานิช 2 ถ.โยธา แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ จ. กรุงเทพฯ 10100 เบอร์โทรศัพท์ : 02-266-4849, 02-236-2727
FIND INSPIRATIO เราจะพบว่าการ เดินทางในเมืองที่ ธรรมดานั้น ซ่อนสิ่ง ต่างๆที่น่าสนใจเสมอ เพียวงเเค่เรามองข้าม มันไป ลองดูรายละ เอียดเล็กๆน้อยๆแล้ว จะพบว่า มันเป็นสิ่ง
ไม่ว่าจะเป็นภาพที่ดู แล้วจะสื่อเป็นภาพสถานที่ ออกมาตรงงๆ แต่ในภาพ แสดงถึงความรู้สึกตอนเรา ไปสถานที่นั้น
ON FROM TRAVEL
อยากให้ลอง สังเกตุสิ่งต่างๆ รอบตัวหลสก หลายมุมมองก็จะ พบว่า ที่ธรรมดา มีรายละเอียดของ มันมีมุมมอง แต่ เรามามองให้แตก ต่าง อย่างบาง สถานที่ก็เหมาะ จะเป็นที่ถ่ายรูป แต่งงาน หรือรูป จบปนิญญา เป็น ที่สวยและแปลก ใหม่ แต่นี้ก็ไม่ เหมือนใครแล้ว
Culture of
Charoen Krung
วั ฒ น ธ ร ร ม ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง วัฒนธรรมความเชื่อ การ ประพฤติ ปฏิบัติตนของคนที่ เข้านับถือศาสนาต่างกับชนชาว อิสลาม ซึ่งอยู่ในย่านเดียวกัน นั่นเอง แม้จะมีการนับถือที่ แตกต่างกัน แต่ทั้งสองศาสนาก็ สามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยมีวิถี ชีวิตเรียบง่าย และน่าสนใจอยู่ใน ย่านเจริญกรุง
วัฒนธรรมการการกิน ซึ่งแต่ละคนที่อยู่ร่วมกันในย่านนี้ ก็จะมีวิถี ชีวิต ความเป็นอยู่การกินอาหารที่แตกต่าง กันไป ยกตัวอย่างเช่น โรตีมะตะบะ เป็นอาหาร ของชนชาวมุสิม ซึ่งจะนิยมทานกันในหมู่ คนมุสลิม ซึ่งให้ย่านเจริญกรุงนี้ทำ�ให้เรา ได้เห็นถึงวัฒนธรรมที่ผสานกลมกลื่นกัน อย่างลงตัวเป็นอย่างดีของคนทุกศาสนา นับว่าเป็นชุมชนที่มีความน่าสนใจมาก
า น ส า ศ ง า ต่างท
ก ต แ ม ควา
อาสนวิหารอัสสัมชัญ เ ป็ น อ าส น วิ หาร ป ร ะ จำ � มิ ส ซั ง โรมั น คาทอลิ ก กรุ ง เทพฯ มีอายุเก่าแก่อายุกว่า 200 ปี สร้ า งโดยบาทหลวงปาสกั ล ซึ่ ง เป็ น ชาวไทย-โปรตุ เ กส โบสถ์ ห ลั ง ปั จ จุ บั น นี้ ถู ก สร้ า ง ขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2452 เ พื่ อ ร อ ง รั บ ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง ค ริ ส ต์ ศ า ส นิ ก ช น ที่ มี เพิ่มมากขึ้น โดยมีสถาปนิก ชาวฝรั่ ง เศสเป็ น ผู้ อ อกแบบ แ ล ะ ค ว บ คุ ม ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง เป็ น ลั ก ษณะศิ ล ปะสมั ย ฟื้ น ฟู ศิลปวิทยาในอิตาลี ในผนังและ เพดานก็งดงามด้วยจิตรกรรม แบบเฟรสโกและประติมากรรม ปูนปั้นที่แสดงถึงเรื่องราวความ เ ชื่ อ ข อ ง ท า ง ศ า ส น า ค ริ ส ต์
อร่อยเด็ด! เจริญกรุง ร้
า
น
ข
น
ม
ปั
ง
ปั้
น
ลี
“ปั้นลี่เบเกอรี่” เป็นร้านขายเบเกอรี่เจ้าเก่าแก่เจ้าดังแห่งย่านบางรัก สีลม ตั้อยู่ตรง ถ.เจริญกรุง “ปั้นลี่เบเกอรี่” เป็นร้านเบเกอรี่ที่มีชื่อเสียงมานานกว่า 70 ปี เปิดขาย กันมาตั้งแต่รุ่นคุณย่า จนตอนนี้ตกทอดมาถึงรุ่นที่ 4 ก็ยังคงความเป็นเอก ลักษณ์ของเบเกอรี่สไตล์โฮมเมด ที่จะทำ�เบเกอรี่แบบสดใหม่ทุกวัน และเบเก อรี่ของที่ร้านนี้จะไม่มีการใส่วัตถุกันเสีย ยังคงไว้ซึ่งคุณภาพและรสชาติ ของเบเกอรี่ที่มีความอร่อยชวนชิม
มีขนมปีังหลากหลายไสส้ให้เลือก ทำ�สดใหม่ทุกวัน
จะหาร้ า นนี้ เ จอได้ ที่ ไ หน? เมนูเด็ดที่ต้องลอง
คือ เค้กเนยสด เป็นเค้กที่ทำ�จากเนยสด โรยหน้าด้วยเกล็ดน้ำ�ตาลเม็ด ละเอียด กินแล้วเนื้อเค้กนุ่มนิ่มเบาปาก หอมกลิ่นวนิลาหวานอร่อยโดนใจ การเดินทางถ้ามาจากถ.สีลม ให้วิ่งตรงมาที่แยกบางรัก และเลี้ยวซ้ายเข้าถ.เจริญกรุง จะเห็นร้านปั้นลี่ตั้งอยู่ริมถนนทางซ้ายมือ เป็นตึกแถว เปิดจันทร์-ศุกร์ เวลา 06.0020.00 น. เสาร์-อาทิตย์ 07.00-19.00 น. ทางร้านมีเดลิเวอร์รี่ และรับสั่งทำ�เบเกอรี่ ด้วยต้องสั่งล่วงหน้า 1 วัน โทร.0-2233-5428, 0-2234-6873 และยังมีอีก 1 สาขา ตั้งอยู่ที่เซ็นหลุยส์ ซ.3 โทร. 0-2212-9261
Snake Box
ภ ายในร้าน ร้านนี้ตั้งขายมานานถึง 40-50ปี มาแล้ว เป็นเก่าแก่ที่ได้รับความ นิยมตลอดมาของย่าน เจริญกรุง ซึ่งยังคงความ อร่อยมาจนปัจจุบัน อย่างรุ่น 40 กว่า บาง คนเคยมาทานที่ร้านนี้ ตั้งแต่เด็กกันเลยที่เดียว ที่มาของชื่อร้าน คือร้าน นี้ตั้งอยู่ตรงทางเข้าโรง หนังปริ๊นซ์ เรียกขาน กันต่อมมาว่าโจ๊กปริ๊นซ์ โดยปริยาย
กว่าจะเป็นโจ้กแสนอร่อย โจ้กร้านนี้มีวิธีการทำ�แบบโบราณ คือทำ�กันแบบหม้อต่อหม้อ จึงทำ�ให้เนื้อโจ๊กร้านนี้เออก เนียน นุ่มๆ หอมกลิ่นไหม้นิด หมูสับอร่อยเด้ง เป็นร้าน โจ๊กอร่อยของกรุงเทพติดอันดับ 1ใน10 ของโจ๊กที่ต้องลอง !
โโ จ้จ้ กก ปป ริริ้้ นน อร่อยเด็ด ย่านเจริญกรุง
ชื่อร้าน : โจ๊กปริ๊นซ์ บางรัก สถานที่ตั้ง : เลขที่ 1391 บริเวณ/อาคาร ฝั่งตรงข้ามกับห้าง โรบินสัน บางรัก ถนน เจิรญกรุง แขวง บางรักเขต บางรัก จังหวัด กรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10500 การเดินทาง : ตั้งอยู่ที่ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก อยู่ตรงข้าม กับโรบันสันบางรัก ตรงมาประมาณ 200 เมตร ร้านจะอยู่ในซอยหน้าโรงหนังปริ๊นซ์ จุดสังเกตจะมีป้ายชื่อร้านให้ เห็นชัดเจน เวลาเปิดปิด : เวลา 06.00-13.00 น., 17.00-22.30 น. และ 23.00-04.00น. วันหยุด : ไม่มี หรือตามเทศกาล โทรศัพท์ : 0-2234-9407 และ 0-9795-2629
บรรณาธิการ จักรธร ธนลัทธพงศ์ จามิญช์ญา ไชยสีหเสนี
Layout Layout
วิสสุตา เกียรติเฉลิมคุณ กรรณิการ์ สิงหะ อมรวรรณ สุพรศิลป์ชัย
Photographer Photographer Photographer
ณัฐฑิตา ประสาทเขตวิทย์
Editor