The reckon epitome 2 demo

Page 1


ปกใน ด้ านหน้ า เต็มหน้ า 30,000.- บาท



ตรียมอุดมศึกษา มักอยู่ในกรอบเป้าหมายในการเรียนต่อในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ของน้องๆ มัธยมศึกษาปีที่ 3 หลายๆคน จากคาแนะนาของ รุ่นพี่บ้างก็ดี จากผลงานของรุ่นพี่เตรียมฯบ้างก็ดี แต่คงปฏิเสธไม่ได้ว่า การที่

น้องจะเข้าเรียน ณ ที่แห่งนี้ การจะได้มาซึ่งพระเกี้ยวที่ประดับบนอกนั้นยากเพียงใด เพราะน้องต้องใช้ความรู้ที่กว้างและหลากหลาย ทั้งยังต้องแข่งขันกับเพื่อนต่างโรงเรียน อีกเป็นจานวนมาก หนังสือ EPITOME – the perfect example เล่มนี้ เป็นหนังสือสรุปเนื้อหา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วิชา คือ วิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ พรอมตัวอยาง โจทย์ในแต่ละวิชา รวมถึงเคล็ดลับการเตรียมความพร้อมในการสอบเข้าของรุ่นพี่ ที่พี่ๆสายการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร หอง 943 โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาจัดทําขึ้นเพื่อเปนแนวทางในการเตรียมความพรอมเพื่อการสอบคัดเลื อกเขาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และโรงเรียนชั้น นาอื่นๆ พี่ๆหวังเป็นอย่างยิ่งว่าน้องๆจะได้ประโยชน์จากหนังสือเล่มนี้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด น้องๆสามารถติดต่อมาได้ที่อีเมลล์ epitome@tu77943.com เพื่อเป็นการแก้ไขและพัฒนาในการพิมพ์ครั้งต่อไป คณะผู้จัดทา EPITOME


Perfect Example

THE RECKON สารบัญ วิชาคณิตศาสตร์

1-49

จานวนจริง

2

พีชคณิต

5

เรขาคณิต

17

สถิติ

26

ความน่าจะเป็น

31

แบบฝึกหัดชุดที่ 1

36

แบบฝึกหัดชุดที่ 2

43

วิชาชีววิทยา

52-112

สารอาหาร

53

กล้องจุลทรรศน์

64

เซลล์

66

โครงสร้างและระบบต่างๆในสัตว์

72


Perfect Example

THE RECKON พันธุศาสตร์

92

พืช

98

ความหลากหลายทางชีวภาพ

105

วิชาเคมี

113-133

สารและสสาร

114

ธาตุและตารางธาตุ

118

การเปลี่ยนแปลงของสาร

121

ธาตุและสารประกอบ

122

กรด-เบส

125

ไฟฟ้าเคมี

128

วิชาฟิสิกส์

134-154

บทนา

136

การเคลือ่ นที่แนวตรง

137

กฎของนิวตัน

138

แรงเสียดทาน

139


Perfect Example

THE RECKON สมดุลกล

140

งานและพลังงาน

141

กลศาสตร์

142

ความร้อน

143

ของเหลว

144

คลื่น

145

ไฟฟ้า

152

วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ

155-184

เมฆ

156

บรรยากาศ

158

โลกและการเปลีย่ นแปลง

156

ดิน หิน แร่

162

ลม

172

ระบบสุริยะ

175

แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1

185


Perfect Example

THE RECKON แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2

202

แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3

218

แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ชุดที่ 1

235

แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ชุดที่ 2

248

เฉลย

258



1


2

จํานวนจริง จํานวนจริง จํานวนตรรกยะ

จํานวนอตรรกยะ

จํานวนตรรกยะที่ไมใช จํานวนเต็ม

จํานวนเต็ม

เต็มบวก

เต็มศูนย

เต็มลบ

จํานวนอตรรกยะ คือจํานวนที่ไมสามารถเขียนใหอยูในรูปเศษสวนของจํานวนเต็ม

;a,b

หรือ

ทศนิยมซ้ําได เชน Ӣ√2 , √3

จํานวนตรรกยะ คือจํานวนที่สามารถเขียนใหอยูในรูปเศษสวนของจํานวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ําได เชน , , 2 , 4 , 0.9

จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนเต็ม คือจํานวนที่สามารถเขียนใหอยูในรูปเศษสวนหรือทศนิยมซ้าํ ได แตไมเปนจํานวนเต็ม เชน , ,

คณิตศาสตร


3

จํานวนเต็ม จํานวนเต็มบวก ( ) (N) (จํานวนนับ) เชน 1, 2, 3, … จํานวนเต็มศูนย มี 0 ตัวเดียว จํานวนเต็มลบ ( ) เชน -1, -2, -3, …

สมบัติของจํานวนจริง กําหนด , , ϵ 1. สมบัติการสะทอน

=

2. สมบัติการสมมาตร ถา = แลว

=

3. สมบัติการถายทอด ถา = และ = แลว = 4. สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ถา = แลว + = 5. สมบัติการคูณดวยจํานวนทีเ่ ทากัน ถา = แลว

คณิตศาสตร

=

+


4

, , ϵ

สมบัติการบวก

สมบัติการคูณ

เมื่อ ,

เมื่อ ,

สมบัติปด

+ ϵ

สมบัติการสลับที่

ϵ

เมื่อ , +

สมบัติการเปลี่ยนกลุม

เมื่อ , , =b + a

เมื่อ , ,

เมื่อ a, b, c ϵ

+( + )= ( + )+

เอกลักษณ

เมื่อ 0+

=

+0

กลาวไดวา 0 คือ เอกลักษณการบวกในระบบจํานวน จริง

อินเวอรส

เมื่อ

⋀−

กลาวไดวา จะมี − เปนอินเวอรสของการบวก ในระบบจํานวนจริง เมื่อ , , ( + )=

)=(

)

⋀1

(1) =

= (1)

กลาวไดวา 1 คือ เอกลักษณการคูณใน ระบบจํานวนจริง เมื่อ

+ (− ) = 0 = (− ) +

การแจกแจง

( เมื่อ

⋀0 =

=

1

⋀− =

1

1 =1

กลาวไดวา จะมี เปนอินเวอรสของ การคูณในระบบจํานวนจริง เมื่อ , ,

+

คณิตศาสตร

( + )=

+


5

พีชคณิต(Algebra) เปนแขนงวิชาหนึ่งในวิชาคณิตศาสตร ศึกษาการแกโจทยปญ  หาทางคณิตศาสตรดวย กระบวนการที่อาจสรางขึ้นในรูปของนิพจนที่ประกอบดวยสัญลักษณในรูปตัวแปรซึ่งแทนดวย สัญลักษณทางพีชคณิตคือในรูปของสมการ Ex.การใชพีชคณิตในการแกปญหา จงหาเลขสามหลักabcซึ่ง a > b >c,a+b+c=16และ a+c=3b

วิธีทําabcคือเลข 3 หลัก ประกอบดวยเลขโดด a b c จาก a+b+c=16

---(1)

a+c=3b

---(2)

แทน(2) ใน(1)จะได 4b=16 b=4 แทนbใน(2)จะได a+c=12 12=9+3 =8+4 =7+5 =6+6 =5+7 แต a>b>c a=9 c=3 เลข3หลักนี้คือ 943

คณิตศาสตร


6

เพิ่มเติม เทคนิค telescope เปนการจัดรูปผลบวกใหมีพจนซ้ําซอนแตตางเครื่องหมายกันซึ่งจะหักลางกันหมดไปจนเหลืออยู เพียงไมกพี่ จนซึ่งทําใหเราสามารถหาคาผลบวกไดงายๆ เชน Ex. จงหาคาของ พิจารณา

×

×

+

= 1−

×

+ +

×

+

×

×

+ ⋯+

+⋯+

×

×

1 1 1 1 1 1 1 + − + − + ⋯+ − 2 2 3 3 4 99 100

= 1− =

Ex.จงหาคาของ 1-1+1-1+1-1+… ให s=1-1+1-1+1-1+… 1-s=1-[1-1+1-1+1-1+…] =1-1-1+1-1+1-1+… =s ∴ 2s=1 S= ∴1-1+1-1+1-1+…=

คณิตศาสตร


7

ระบบสมการ กําหนด ax+by = c และdx+ey = f เมื่อ a,b,c,d,eและ f เปนจํานวนจริง โดยที่ a,b≠0 พรอมกัน และ d,e≠0 พรอมกัน x,yจะเปนคําตอบของสมการทั้งสองนี้ก็ตอเมื่อแทน x,yลงในสมการแลวทําใหสมการทั้งสองนี้ เปนจริง

คําตอบของสมการ 1. มี 1 คําตอบ 2. มีหลายคําตอบ(ตั้งแต 2 คําตอบ) 3. ไมมีคําตอบ(คําตอบไมเปนจํานวนจริง) มีรูปแบบทั่วไปคือ เมื่อ a≠0,b และ c เปนคาคงที่ใดๆ การแกสมการกําลังสอง 1.แยกตัวประกอบ 2.จัดรูปกําลังสองสมบูรณ 3.ใชสูตร X=

±√

คณิตศาสตร


113

เคมี


114

บทที่ 1 สารและสสาร สสาร คือ สิ่งที่ มีมวล และ ตองการทีอ่ ยู เชน อากาศ, น้ํา, โตะ สาร คือ สสารทีท่ ราบสมบัติแนชัด เชน ธาตุ, สารประกอบ การแบงสารตามลักษณะตางๆ

1. แบงตามสถานะ 1.1 ของแข็ง - รูปราง และ ปริมาณคงที,่ ยึดเหนี่ยวกันแข็งแรง 1.2 ของเหลว - รูปรางไมแนนอน, ปริมาณคงที,่ เคลื่อนที่ได 1.3 แก็ส - รูปราง และ ปริมาตร ไมแนนอน 2. แบงตามลักษณะเนื้อสาร 2.1 สารเนื้อผสม - เห็นความแตกตางขององคประกอบ 2.2 สารเนื้อเดียว - ดูเปนเนื้อเดียวกัน 2.2.1 สารละลาย - สารผสมดูเปนเนื้อเดียวกัน 2.2.2 สารบริสทุ ธิ์ 2.2.2.1 ธาตุ - ธาตุชนิดเดียวกันอยูดวยกันอยางนอย 2 โมเลกุล เชนH2, 2.2.2.2 สารประกอบ - ธาตุชนิดตางกันรวมตัวกัน เชน Na2CO3, H2O

เคมี


115

3. แบงตามขนาดอนุภาค 3.1 สารละลาย - ขนาดเล็กวา 10 3.2 คอลลอยด - ขนาด 10

อนุภาคผานเซโลเฟนและกระดษกรอง ถึง10 ไมผานเซโลเฟน แตผานกระดาษ

กรอง 3.3 แขวนลอย - ขนาดใหญกวา 10

ไมซึมผานเยื่อเซโลเฟน และ ไมผาน

กระดาษกรอง

สารละลาย สารละลาย = ตัวถูกละลาย + ตัวทําละลาย ความเขมขน - %โดยมวลตอมวล -%โดยมวลตอปริมาตร -%โดยปริมาตรตอปริมาตร -ppm = หนวยตอลาน(10 ) -ppb = หนวยตอพันลาน(10 ) มวลตัวถูกละลาย มวลสารละลาย มวลตัวถูกละลาย - %โดยมวลตอมวล = ปริมาณสารละลาย ปริมาณตัวถูกละลาย - %โดยปริมาตรตอปริมาตร = ปริมาณสารละลาย Note : มวลตัวถูกละลาย + มวลตัวทําละลาย = มวลสารละลาย (กฎทรงมวล) แต ใชกับ ปริมาตรไมไดเนื่องจากไมมีกฎทรงปริมาตร - %โดยมวลตอมวล =

เคมี


116

เพิ่มเติมกับสารละลาย สารละลายไมอิ่มตัว =สารละลายยังสามารถละลายตัวถูกละลายไดอีกในสภาวะเดิม สารละลายอิ่มตัว = สารละลายไมสามารถละลายตัวถูกละลายไดอีกในสภาวะเดิม สารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด=สารละลายอิ่มตัวที่มีตัวถูกละลายมากกวาปกติในสภาวะ ละลายอิ่มตัว แต เมื่อไดรับการกระทบกระเทือน อาจตกผลึกทันที

ปจจัยที่มีผลตอสภาพการละลาย 1.ธรรมชาติของตัวทําละลาย/ถูกละลาย = สารมีขั้ว ละลายน้ําดี,สารไมมีขั้ว ละลายน้ํา มันดี 2. อุณหภูมิ = สารบางชนิดจะละลายไดดีเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึน้ บางชนิดก็ละลายไดดี เมื่ออุณหภูมิลดลง 3. ความดัน = ของแข็ง, ของเหลวสงผลเล็กนอย แตจะสงผลแตแก็สมาก

ปจจัยที่มีผลตอการละลาย(เร็ว/ชา) 1. การคน = ทําใหละลายเร็วขึ้น 2. อุณหภูมิ = อุณหภูมิสงู จะละลายเร็วขึ้น 3. พื้นที่ผิว = พื้นที่ผิวมากจะละลายเร็วขึ้น

การละลาย พลังงานกับการละลาย - พลังงานที่ดูดเขาไป เพื่อที่จะแยกอนุภาคของแข็งออกจากกัน (Lattice) - พลังงานที่คายออกมา เพื่อที่จะใหอนุภาครวมตัวกับน้ํา (Hydration) การละลายมี 2 ประเภท ดูดความรอน - สังเกตไดวา อุณหภูมิสิ่งแวดลอมจะต่ําลง - พลังงาน Lattice > Hydration - ละลายไดดีเมื่ออุณหภูมิสงิ่ แวดลอมสูงขึ้น

เคมี


117

คายความรอน - สังเกตไดวาอุณหภูมิสงิ่ แวดลอมจะสูงขึ้น - พลังงาน Hydration > Lattice - ละลายไดดีเมื่ออุณหภูมิต่ําลง temperature

A

A :ละลายแบบดูดพลังงาน B :ละลายแบบคายพลังงาน

B สภาพการละลาย

เคมี


118

บทที่ 2 ธาตุ และ ตารางธาตุ

http://www.tempstreet.com/periodic-table-3/

ธาตุ และ ตารางธาตุ การจําแนกโลหะ กึ่งโลหะ และ อโลหะ สามารถพิจารณาไดจากตารางธาตุโดยขั้นบันไดหมู 3A ถึง 4A จะเปนกึ่งโลหะ ธาตุดายซายเปนโลหะ ดานขวาเปนอโลหะ 1.โลหะ (Metal) = หมู 1A ถึง 2A ธาตุทรานซิชัน และ หมู 3A ถึง 4A สมบัตทิ ี่สําคัญ -นําความรอน และ ไฟฟาไดดี -ความหนาแนนสูง -สามารถรีดเปนแผนได -มันวาว สถานะเปนของแข็ง ยกเวน ปรอทเปนของเหลว -สวนใหญเสีย ( ไอออนบวก)

เคมี


119

2. อโลหะ (Nonmetal) = หมู 4A ถึง 8A สมบัตทิ ี่สําคัญ -นําความรอน และ ไฟฟาไดไมดียกเวน C และ P -มีทั้ง 3 สถานะ เชน S (solid), Br2 (liquid),O3 (gas) 3. กึ่งโลหะ (semi - metals) = ขั้นบันได สมบัตทิ ี่สําคัญ -สารกึ่งตัวนํา -สถานะเปน ของแข็ง

ออกซิเดชัน

* H มีเลขออกซิเดชัน 2 คา = +1 และ -1 ขึ้นอยูกับวาอยูกับโลหะ หรือ อโลหะ

สารประกอบ - คือสารบริสุทธิ์ ประกอบดวยธาตุมากกวา 1 ชนิด - ถาอยูในรูปโมเลกุล เรียก โควาเลนต - ถาอยูในรูปติดประจุ เรียก ไอออน

เคมี


120

สารประกอบโควาเลนต คือสารประกอบของโมเลกุลที่แรงระหวางอะตอมเปนพันธะโควาเลนต อิเล็กตรอน ทัง้ 2อะตอมใชรวมกัน สารประกอบไอออนิก - คือสารประกอบที่ประกอบดวย ไอออนบวก(โลหะ) และ ไอออนลบ(อโลหะ) - จุดเดือด และ จุดหลอมเหลว สูง แข็งแตเปราะ และ *นําไฟฟาไดเมื่อหลอมเหลว

สารประกอบไอออนิกทีล่ ะลายน้ําได -ไอออนบวก เปนโลหะหมู 1A -ไอออนลบ เปน CH3COO−และNO3− -ไอออนลบ เปนธาตุหมู 7A ยกเวน transition Ag+, Hg2+, Pb2+

เคมี


121

บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร

ทางกายภาพ

ทางเคมี

-ไมทําใหเกิดสารใหม

-ทําใหเกิดสารใหม

-คงสภาพเดิม เปลี่ยนแตสมบัตทิ าง กายภาพ (ขนาด, ปริมาตร, สถานะ) เชน การฉีกกระดาษ

-มักเกิดจากการทําปฏิกริยากันโดยดูได จาก สีทเี่ ปลี่ยน กลิ่นที่เกิด เกิดฟองแกส

การเปลี่ยนสถานะของสาร

EXTRA:การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร

เคมี


122

บทที่ 4 ธาตุและสารประกอบ ประวัตินกั เคมี 1.ดาลตัน(บิดาแหงอะตอม) 1.1อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลมตัน ภายในวางเปลาเปนกลาง ทางไฟฟา 1.2ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน -หนวยที่เล็กที่สุดของสารเรียกวา อะตอม แบงแยกไมไดแลว -อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีคุณสมบัติเหมือนกัน -อะตอมไมสามารถแบงแยกหรือทําใหสญ ู หายได -สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต2ชนิดขึ้นไปรวม ตัวกันใน อัตราสวนเลขคงตัวอยางต่ํา ★ที่ดอลตันกลาวมาผิดหมดเลย

เนื่องจาก

1. มีหนวยเล็กกวาอะตอม คือ อิเล็กตรอน โปรตรอน นิวตรอน 2. พวกสารไอโซโทปอะตอมของธาตุเหมือนกันแตสมบัติตาง เชน 1 H(protium) 2H(deuterium) มีสมบัติของมวลตางกันแม เลขอะตอมจะ เทากัน 3. อะตอมสามารถสรางขึ้นมาไดโดยวิธีการทางนิวเคลียร 4. สารประกอบไมจําเปนตองรวมกันในอัตราสวนอยางต่ํา เชน C6H12O6สารประกอบไมจําเปนตองรวมกันในอัตราสวนอยางต่ํา Extra: การจะบอกวาเปนอะตอมของธาตุชิดเดีวกันหรือไมใหดูที่ เลขอะตอมเทานั้นถาเลข อะตอมเทากันยังถือวาเปนธาตุชนิดเดียวกัน อะตอมรวมกันเรียกโมเลกุล เชน O = อะตอม แต O2 = โมเลกุล =2อะตอม

เคมี


123

2. เซอรโจเซฟ จอหน ทอมสัน -พบวาอะตอมประกอบดวยอนุภาคลบ (จากการศึกษาของหลอด รังสีแคโทด)และเนื่องจากอะตอมเปนกลางทางไฟฟาจึงตองมีประจุบวก อยูดวยจะไดหักลางกัน จึงเสนอแบบจําลองอะตอมคลายกับ plumpudding โดยเนื้อ พุดดิ้งทั้งหมด คือประจุบวก และประจุลบคือเม็ดบวย ที่ติดอยูในเนื้อพุดดิ้ง

3.รัทเทอรฟอรด -อะตอมมีนิวเคลียสซึง่ ประกอบดวยอนุภาคบวกและมีอิเล็กตรอน ลอมรอบ

4.เซอรเจมสแชดวิก -คนพบวาในนิวเคลียสมีอนุภาคที่ไมมปี ระจุคือ นิวตรอน โดยจะมีมวลใกลเคียงกับ โปรตอน

5.นีลสโบร -อิเล็กตรอนจะเคลือ่ นทีร่ อบนิวเคลียสเปนชั้นๆ (ไดจากการศึกษาเรื่องสเปกตรัมของ อะตอมทีม่ 1ี อิเล็กตรอนเทานั้น)

6.แบบจําลองอะตอมกลุมหมอก -ไดจากการคํานวณคณิตศาสตรขั้นสูงพัฒนามาจากโบรคือโบรทํากับอะตอมทีม่ ี 1 อิเล็กตรอน โดยหลักการของกลุม หมอกมีดงั นี้

เคมี


124

1.อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเปนรูปทรงตางๆดวยความเร็ว 2.เราไมสามารถบอกตําแหนงอิเล็กตรอนไดเพราะมันเคลือ่ นที่ดวยความ เร็วและมี ขนาดเล็ก 3.อะตอมประกอบดวยกลุมหมอกอิเล็กตรอน ถาหมอกทึบแสดงวาบริเวณ นั้นมี อิเล็กตรอนหนาแนน มวล(g)

ประจุ(C)

ประจุอางอิง

โปรตอน

1.66x10-24

+1.76x10-19

+1

อิเล็กตรอน

9.11x10-28

-1.76x10-19

-1

นิวตรอน

1.67x10-24

0

0

สรุปสิ่งทีอ่ ยูในอะตอม Extra:อะตอมที่เปนกลาง จํานวนโปรตอนเทากับอิเล็กตรอน ไอออนลบ มีจํานวนอิเล็กตรอน มากกวาโปรตอน ไอออนบวก มีจํานวนโปรตอนมากกวาอิเล็กตรอน

เคมี


125

บทที่ 5 กรด-เบส 1.นิยามของกรด-เบส 1.1 นิยามของอารเรเนียส กรด=สารที่ละลายน้ําแลวใหโปรตอน H+ /มีH+อยูในสูตร เบส=สารที่ละลายน้ําแลวให OH/มีOHในสูตร 1.2 นิยามของบรอนสเตด-เลารี กรด=สารที่ใหH+ เบส=สารที่รบั H+ Arrhenius อธิบายความเปนกรด-เบสของสารบางชนิดไมได เชน NH มีฤทธิ์เปน เบสแตมOี Hในสูตร กรด=แตกตัวให H แกสารอื่น NH4 + H2O NH4+ +OHOH-+H+

H 2O

และยังไมสามารถอธิบาย AlCl,BF ที่ให H ไมไดแตเปนกรด 1.3 นิยามของ Lewis กรด=สารที่รบั คู e เบส=สารที่ใหคู e เชน BF3รับคูe - = กรด NH3ใหคeู -= เบส

2.สมบัติกรด-เบส

เคมี


126

กรด -มีฤทธิ์กัดกรอน,นําไฟฟาได,pHนอยกวา 7 กรดแก 6 ชนิด = HCl,HBr ,HI,HNO,HSO,HClO กรดออน=กรดอื่นๆ เชน CHCOOH ,HF เปนตน เบส เบสแก=แตกตัวเปนไอออนทั้งหมด OH ของหมู 1 และ หมู 2 เบสออน = แตกตัวเปนไอออนไม 100 เปอรเซ็นต

3.อินดิเคเตอร คาpH=power of Hที่บอกปริมาณความเขมขนของH2Oในสารละลาย H+มาก pH ต่ํา(กรด) H+ต่ํา pH สูง อินดิเคเตอร สามารถประมาณคาpHของสารไดโดยสารจะเปลี่ยนสีในชวงคาpH ตางๆ บางสาร จะเปลี่ยนสีชวงกรด บางก็เปลี่ยนชวงเบส

4. Amphoteric และ Amphiprotic Amphoteric= ทําปฎิกริ ิยาไดทั้งกรดและเบส(มีสมบัติเปนทั้งกรดและเบส) Amphiprotic= Amphoteric ที่รบั และจาย e- เชน HCO3-

เคมี


132

พื้นที่สําหรับจดบันทึก

เคมี



134

ฟสิกส


135

ฟสิกส


136

ฟสิกส


137

ฟสิกส


138

ฟสิกส


139

ฟสิกส


140

ฟสิกส


141

ฟสิกส


142

ฟสิกส


175

ระบบสุริยะ ระบบสุริยะ (The Solar System) ระบบสุริยะหมายถึง กลุมดาวกลุม หนึง่ ที่หมุนรอบๆ ดวงอาทิตย ในแตละกลุม จะ ประกอบดวยดวงอาทิตยเปนแกนกลาง มีดาวเคราะห และดวงจันทรหมุนรอบ ๆ ยกเวน ดาว พุธ และดาวศุกร ที่ไมมีดวงจันทรเปนบริวาร นอกจากนี้อาจจะมีดาวหาง (comets) ดาวตก หรือผีพุงไต (metors) และดาวเคราะหนอย (asteroid) ตลอดจนกลุมฝุนและแกส ซึ่งเคลื่อนที่ อยูในวงโคจรภายใตอิทธิพลแรงดึงดูดจากดวงอาทิตย

การเกิดทิศบนโลก การหมุนรอบตัวเองของโลกทําใหเกิดดวงอาทิตยขึ้นตก หรือเกิดทิศตะวันออกและทิศ ตะวันตก การเกิดทิศบนโลกสามารถอธิบายไดดังนี้ สมมติวาเราออกไปนอกโลกทางขั้วโลกเหนือแลวมองลงมาจะเห็นโลกดังภาพ

วิทยาศาสตรกายภาพ


176

ทิศตะวันออกจะอยูตรงขามกับทิศตะวันตกเสมอ ถายืนหันหนาไปทางทิศตะวันออก แลวกางแขนออกใหตรง แขนซายจะชี้ไปทางทิศเหนือ ในขณะที่แขนขวาชี้ไปทางทิศใต โลก ดวงจันทร ดวงอาทิตย โลกมีลักษณะกลมคลายสมเขียวหวาน คือ มีสวนบนสวนลางคอนขางจะแบนเล็กนอย โลกประกอบไปดวยสวนที่เปนพื้นดิน พื้นน้ํา และบรรยากาศหอหุมโลก ซึ่งเปนสวนประกอบที่ สําคัญในการดํารงชีวิตอยูของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูภายในโลก

การหมุนรอบตัวเองของโลก เปนการหมุนของโลกรอบแกนของมัน ซึ่งจะหมุนจากทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออก (หมุนทวนเข็มนาฬิกา) การหมุนรอบตัวเองของโลกนอกจากจะกอใหเกิด กลางวันและกลางคืนแลว ยังมีเหตุการณอื่น ๆ เกิดขึ้นอีก เชน 1. เนื่องจากโลกหมุนจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ดังนัน้ ดวงอาทิตย หรือดาว อื่น ๆ บนทองฟาจึงปรากฏขึ้นทางทิศตะวันออกกอนเสมอ 2. ทําใหเกิดการไหลของกระแสน้ําในทะเลและเกิดลมพัดขึ้น 3. ทําใหระดับน้ําทะเลเปลี่ยนแปลง 4. ทําใหเกิดทิศ

วิทยาศาสตรกายภาพ


177

ปรากฏการณน้ําขึ้น-น้ําลง ปรากฏการณน้ําขึ้น-น้ําลง (Tides) เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นจากแรงดึงดูดของดวง จันทร ซึง่ กระทําตอบริเวณตาง ๆ ของโลกไมเทากัน ทําใหนา้ํ บนผิวโลกในบริเวณที่อยูในแนว เดียวกับดวงจันทร “โปง” ออกจากผิวโลก

ดิถีของดวงจันทร ดิถีของดวงจันทร คือ ปรากฏการณที่เรามองเห็นลักษณะของดวงจันทรเปลี่ยนแปลง ไปทุกคืน ถาเราสังเกตดวงจันทรในแตละคืนจะพบวาในเวลาเดียวกันของทุกคืน ตําแหนงของ ดวงจันทรบนทองฟาจะไมอยูทเี่ ดิม และสวนสวางหรือรูปรางของดวงจันทรก็ไมเหมือนเดิม ทั้งนี้เกิดจากการที่ดวงจันทรโคจรรอบโลกขณะโคจรไดรบั แสงจากดวงอาทิตยดวย ทําให มองเห็นดวงจันทรมีลกั ษณะเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงนี้นํามานับเปนวันขางขึ้นขางแรม โดยวันขางขึ้น เสี้ยวสวางของดวงจันทรจะอยูทางทิศตะวันตก และขางแรม เสี้ยวสวางของดวง จันทรจะอยูท างทิศตะวันออก

ดาวเคราะหในระบบสุริยะ ดาวเคราะห (Planet) มีทั้งหมด 8 ดวง เรียงตามลําดับจากดวงที่อยูใกลดวงอาทิตยจน ไกลสุด คือ ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาว เนปจูน

วิทยาศาสตรกายภาพ


178

ดาวเคราะหทเี่ ราสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลามีเพียง 5 ดวงเทานั้น ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร อาจแบงดาวเคราะหตามวงโคจรของดวง อาทิตยออกไดเปน 2 กลุมใหญ ๆ ไดแก “ดาวเคราะหชั้นนอก” ไดแก ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน เปนดาวเคราะหยักษ หรือ “ดาวเคราะหแกส” “ดาวเคราะหชั้นใน” ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร โลกและดาวอังคาร เปน “ดาวเคราะห หิน” ถาแบงดาวเคราะหตามวงโคจรของโลก แบงออกไดเปน 2 กลุมเชนกัน คือ “ดาวเคราะหวงนอก” ไดแก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และดาว เนปจูน “ดาวเคราะหวงใน” ไดแก ดาวพุธ และดาวศุกร ดาวเคราะหนอย ( Asteroid)

คือ กอนหินขนาดตาง ๆ ตั้งแตไมกี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายรอยกิโลเมตร ที่โคจรอยูรอบดวง อาทิตย ดาวเคราะหนอยดวงแรกไดรบั การคนพบในป ค.ศ.1801 และตั้งชื่อวา เซเรส (Ceres) ตามชื่อของเทพีแหงการเพาะปลูกในตํานานของชาวโรมัน ดาวหาง (Comets)

วิทยาศาสตรกายภาพ


179

โครงสรางของดาวหาง - นิวเคลียส เปนใจกลางหัวดาวหาง มีน้ําเปนองคประกอบสําคัญ - โคมา สวนหัวดาวหาง - หางฝุน หรือหางพลาสมา เปนแกสและฝุนออกจากหัวดาวหาง แรงดันอยูในแนว

ตรงขาวกับดวงอาทิตย - หางแกส หรือหารอิออน แกสในหางดาวทําปฏิกิริยากับลมสุริยะ (Stellar wind)

จากดวงอาทิตย ทําใหแกสตาง ๆ แตกตัวเปนอนุภาคที่มปี ระจุไฟฟา หรือไอออน ดาวตก (Meteor)

ดาวตก หรือผีพงุ ใต (Meteor) เปนเพียงอุกกาบาต (Meteoroids) เศษวัตถุเล็ก ๆ หรือฝุนที่ เกิดตามทางโคจรดาวหาง เมือ่ เศษวัตถุเหลานี้ตกผานชั้นบรรยากาศโลก ก็จะถูกเสียดสีและเผา ไหมเกิดเปนแสงใหเห็นในยามค่ําคืน ในบางครั้งวัตถุขนาดใหญสามารถลุกไหมผานชั้น บรรยากาศ และตกถึงพื้นโลกได เราเรียกวา “กอนอุกกาบาต” (Meteorite)

วิทยาศาสตรกายภาพ


180

อุกกาบาต (Meteori)

อุกาบาต (Meteori) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผานบรรยากาศโลกระยะสูงราว 120 กิโลเมตร และเสียดสีกับบรรยากาศทําใหเกิดความรอนมากพอที่จะทําใหวัตถุนั้นกลายเปนไอสวางวาบ คืนเดือนมืด ทองฟากระจาง เราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยง คืน ดวงดาวในทองฟา ในการสังเกตดาวในแตละคืนจะพบวา ดาวมีการเคลื่อนที่ไปบนทองฟาจากทิศ ตะวันออกไปทางทิศตะวันตก เนื่องจากโลกหมุนจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก มุมเงย (Altitude) หมายถึงมุมทีเ่ กิดจากเสนตรงที่ลากจากผูสงั เกตไปยังดาวนั้นบน ทองฟา กับเสนตรงที่ลากจากผูสงั เกตไปยังจุดตัวเสนขอบฟากับเสนดิ่งที่ลากผานดาวนั้น จุดสูงสุดของทองฟาที่มมุ เงย 90 องศา เรียกวา จุดเหนือศีรษะ มุมทิศหรือ มุมอาซิมทุ (Azimuth) หมายถึง มุมราบตัง้ แต 0 องศา ถึง 360 องศาโดย วัดจากจุดทิศเหนือไปทางทิศตะวันออกตามแนวขนานกับขอบฟาหรือแนว

วิทยาศาสตรกายภาพ


181

มีดาวอีกประเภทหนึ่งเปนดาวคลาย ๆ ดวงอาทิตย มีแสงสวางในตัวเอง คือ ดาวฤกษ ซึ่งแสงจากดาวฤกษตองเดินทางเปนเวลาหลายปจงึ ถึงโลกของเรา เราจึงเห็นดาวฤกษเปนจุด สวาง มีแสงระยิบระยับเรียงรายเปนรูปรางที่ไมเปลี่ยนแปลง และไดชื่อวาเปน ดาวประจําที่ ดาวฤกษที่เรียงรายเปนรูปคลายสัตว คน หรือเครื่องใชในบริเวณแคบ ๆ บนทองฟา ซึง่ พอจะ มองเห็นไดเรียกวา กลุมดาว บางครั้งเรียกวา หมูดาว บางครั้งก็เรียกวา ดาว โดยเฉพาะกลุม

ดาวที่เปนชื่อไทย เชน ดาวเตา ดาวไถ ดาวธง ดาวจระเข เปนตน กลุมดาวจักรราศี กลุมดาวจักรราศี แตละกลุม มีความสัมพันธกับชื่อเดือน คือเมื่อดวงอาทิตยเคลื่อนที่ ปรากฏเขาไปอยูในกลุม ดาวกลุมใด จะเปนชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยูในราศีนั้น และมี ความสัมพันธกับชื่อเดือน คนบนโลกเห็นดวงอาทิตยเคลื่อนผานกลุม ดาวจักรราศี จากทิศตะวันตกไปทางทิศ ตะวันออก เพราะโลกโคจรรอบดวงอาทิตยไปทางทิศตะวันออก กลุมดาว 12 กลุม ที่ดวงอาทิตยเคลื่อนผานในรอบปนั้น ดวงอาทิตยจะเคลื่อนผานกลุม ดาวแตละกลุมโดยใชเวลาประมาณ 1 เดือน การที่ดวงอาทิตยอยูในเขตกลุม ดาวใด แสดงวา กลุมดาวนั้นจะโผลพนจากขอบฟาพรอมกับดวงอาทิตย (ขึ้นในเวลากลางวัน) เราจึงไมสามารถ สังเกตวัตถุทองฟาในกลุมดาวนั้นได

วิทยาศาสตรกายภาพ


182

กลุมดาวจักรราศีที่อยูบนสุริยะวิถี มี 12 กลุม ไดแก 1. กลุมดาวปลา (ราศีมีน) 2. กลุมดาวแกะ (ราศีเมษ) 3. กลุม ดาววัว (ราศีพฤษภ) 4. กลุมดาวคนคู (ราศีมิถุน) 5. กลุม ดาวปู (ราศีกรกฎ) 6. กลุม ดาวสิงโต (ราศีสิงห) 7. กลุมดาวหญิงพรหมจารีย (ราศีกันย) 8. กลุม ดาวคันชั่ง (ราศีตุล) 9. กลุมดาวแมงปอง (ราศีพฤศจิก) 10. กลุมดาวคนยิงธนู (ราศีธนู) 11. กลุมดาวแพะทะเล (ราศีมงั กร) 12. กลุมดาวคนแบกหมอน้ํา (ราศีกุมภ)

วิทยาศาสตรกายภาพ


183

เนื่องจากโลกเคลื่อนทีร่ อบดวงอาทิตย จากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก รอบละ 1 ป ทําให คนบนโลกเห็นวาดวงอาทิตยเคลือ่ นที่ผานกลุม ดาวจักรราศี จากทิศตะวันตกไปทางทิศ ตะวันออก บริเวณทองฟาทีเ่ รามองเห็นดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาวเคราะหตาง ๆ เคลื่อนที่ปรากฏผาน กลุมดาวจักรราศี เรียกวา แถบจักรราศี เมื่อดวงอาทิตยปรากฏอยูในกลุมดาวใด เราจะมองไม เห็นกลุมดาวนั้นในชวงนั้น เพราะดวงอาทิตยและดาวกลุมนัน้ ขึ้นตกพรอม ๆกัน จึงเหลือกลุม ดาวจักรราศีอยางมาก 11 กลุม ทีจ่ ะมีโอกาสเห็นไดใน 1 คืน

วิทยาศาสตรกายภาพ


260

เฉลยแบบฝกหัดชุดที่ 3 1. 1

2. 4

3. 2

4. 2

5. 1

6. 2

7. 3

8. 2

9. 2

10. 4

11. 2

12. 3

13. 2

14. 2

15. 2

16.1

17. 2

18. 4

19. 4

20. 4

21. 1

22. 4

23. 2

24. 4

25. 3

26. 3

27. 1

28. 3

29. 2

30. 4

31. 3

32. 2

33. 3

34. 2

35. 3

36. 3

37. 4

38. 4

39. 2

40. 4

41. 2 46. 4

42. 1 47. 1

43. 3 48. 4

44. 3 49. 4

45. 2 50. 4

เฉลยแบบฝกหัด










รองปกหลัง

รองปกหลัง

¼

¼

5,000.- บาท

5,000.- บาท

รองปกหลัง

รองปกหลัง

¼

¼

5,000.- บาท

5,000.- บาท


รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท

รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท


รองปกหลัง ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท

ครึ่งหน้ า 10,000.- บาท


รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท


รองปกหลัง เต็มหน้ า 20,000.- บาท


ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท

ปกใน ด้ านหลัง ครึ่งหน้ า 15,000.- บาท



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.