20+ Art Thesis Portfolio

Page 1

ตัวอย่างผลงาน

นิทรรศการศิ ลปนิพนธ์ 20+


ทัศนีย์ รติภูมิ ศิ ลปิ นต้องการถ่ายทอดรูปทรงของความทรงจ�ำที่เกิดขึ้นในวัยเด็ก ที่มีแต่ความสุข สนุกสนาน ด้วยวัสดุพาราฟิ นที่มีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมในการ ใช้ ถ่ายทอดความรู้สึก ทัง้ ทางด้านรูปทรง ความเปราะบาง และทิศทางการไหล รวมถึงการหลอมละลายที่เกี่ยวเนื่องกันกับช่ วงเวลา เป็นการ จ�ำลองช่ วงเวลาของความสุขที่ศิลปิ นอยากจดจ�ำและสะท้อนความโหยหาต่อความทรงจ�ำในอดีตที่เลือนราง


ณัฐนิชา ปั ญญาแฝง ศิ ลปิ นได้รับแรงบันดาลในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะมาจากความทรงจ�ำในวัยเด็ก เนื่องจากวัยเด็กเป็นวัยที่มีความอิสระทัง้ ในเรื่องของความคิด และการกระท�ำ มีความสุขจากการเล่นสนุกกับเพื่อนซึ่ งท�ำให้เกิดเป็นมิตรภาพที่มีความผู กพันและจริงใจต่อกัน โดยมีการละเล่นต่าง ๆ ที่จะใช้ ของ เล่นที่ไม่สามารถเล่นคนเดียวได้ หรือของเล่นที่จะท�ำให้สนุกขึ้นได้หากได้เล่นหลาย ๆ คน เป็นตัวเชื่ อมให้เกิดสายสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนขึ้นมา ศิ ลปิ น แสดงออกผ่านรูปทรงของคนที่บิดเบือนจากความเป็นจริง โดยจะมีส่วนเว้าส่วนโค้งให้เห็นเส้นรอบรูปที่ดูเหมือนก�ำลังเคลื่อนไหวอยู ่ เพื่อให้รู้สึกถึง ความสนุกสนาน


ศิ ริกุล คอนสาร ศิ ลปิ นต้องการน�ำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางด้านสิทธิและโอกาสในสังคม โดยศิ ลปิ นได้สร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะโดยได้รับแรง บันดาลใจมาจากบทบาทสมมุ ติของเด็กเหล่านัน้ ผ่านจินตนาการในการเล่น เพื่อเติมแต่งสิ่งที่ขาดหายไปของเด็ก ๆ


สุรเชษฐ์ ยงยุ ทธิ์ ศิ ลปิ นต้องการน�ำเสนอถึงเรื่องราวของเด็กและเยาวชนที่อยู ่ในวัยคึกคะนอง อยากรู้อยากลอง โดยไม่ได้ตระหนักถึงผลกระทบของการกระท�ำที่ สร้างปั ญหาให้กับสังคม


สุภัฐณี พิทักษ์ ศิ ลปิ นได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะมาจากรูปทรงทางธรรมชาติของดอกกล้วยไม้ ที่ให้ความรู้สึกถึงความบริสุทธิ์ตาม จินตนาการของศิ ลปิ น โดยศิ ลปิ นได้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมที่น�ำเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับสายใยแห่งความผู กพันของพ่อและแม่ผ่านรูป ทรงของดอกกล้วยไม้ เพื่อเป็นเสมือนเครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงพระคุณของบุ พการี


สรณ วัชรวรธรรม ศิ ลปิ นน�ำเสนออารมณ์และความรู้สึกที่เกิดจากเรื่องราวความประทับใจที่มีต่อบุ คคลในครอบครัวผ่านการมองภาพถ่ายและถ่ายทอดลงบนผลงาน ศิ ลปะ ซึ่ งการมองภาพถ่ายเพื่อปรับสมดุลภายในจิตใจในขณะสร้างสรรค์ผลงานเป็นสิ่งที่ศิลปิ นให้ความส�ำคัญ เพื่อให้จังหวะของการลงสีประสาน กลมกลืนกัน เกิดเป็นความงามจากการสร้างสรรค์ความประทับใจผ่านภาษาจิตรกรรม


นิพพิชฌน์ มงคลทอง ศิ ลปิ นน�ำเสนอเรื่องราวของชีวิตในครอบครัวในลักษณะเหนือจริง (Surrealistic) ตามอุ ดมคติของศิ ลปิ น โดยการอ้างอิงมาจากการด�ำเนินชีวิต ภาระหน้าที่ และความสัมพันธ์ของแต่ละบุ คคลในครอบครัว ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมเชื่ อมโลหะ


ธนวัฒน์ ภุมรินทร์ ศิ ลปิ นน�ำเสนอทัศนคติท่ีมีต่อเรื่องราวความสัมพันธ์ของตนเองกับมารดา ที่มีระยะห่างเกิดขึ้น โดยมีเงินเป็นสื่อกลางของความสัมพันธ์ การน�ำเอา สิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมที่มีอยู ่แล้วจนชิ นตา เกี่ยวกับวิธีการเลีย้ งดู ด้วยการดูแลเอาใจใส่จากความรัก ซึ่ งแท้จริงแล้วก�ำลังถูกคุกคาม ด้วยระบอบของทุนนิยม เงินถูกมองเป็นสิ่งไม่ดี ใช้ ทดแทน ท�ำให้เด็กขาดความรัก ความอบอุ ่น ซึ่ งข้าพเจ้ามีทัศนคติต่อประเด็นเหล่านี้ ที่แตกต่าง ออกไป โดยส่วนหนึ่งมาจากประสบการณ์ส่วนตัวที่ได้รับ ที่ท�ำให้เห็นถึงความดีงามในรูปแบบความสัมพันธ์นี้ เงินกลายเป็นตัวกลางเชื่ อมข้าพเจ้า กับมารดาให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น ลดระยะห่าง เป็นตัวแทนของการดูแล โดยเงินไม่ได้ถูกมองถึงผลตอบแทนในแง่ของมู ลค่าหรือก�ำไร หากแต่เป็นสิ่งที่ บ่งบอกถึงคุณค่าทางด้านจิตใจ ของคนเป็นแม่ท่ีท�ำเพื่อลูก


อนุกูล เชื้อมอญ ศิ ลปิ นน�ำเสนอความเว้าแหว่งของวัตถุท่ีผูกพันกับบุ คคลภายในครอบครัว ด้วยอารมณ์ท่ีอยู ่ในสภาวะของความรู้สึกถวิลหาอดีต โดยการย้ายที่ วัตถุดังกล่าวมาอยู ่ในบริบทของบุ คคลภายในครอบครัว แสดงออกในลักษณะเหนือจริงคล้ายกับโลกในจินตนาการ เพื่อเติมเต็มความรู้สึกของ ศิ ลปิ นที่มีต่อวัตถุท่ีช�ำรุ ดผุ ผัง สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการของมนุษย์ในการยึดเหนี่ยวเพื่อความมั่นคงและเป็นอมตะ


กลวัชร อินทร์ก้อนวงค์ มนุษย์ด�ำรงชีวิตอยู ่ด้วยความรัก ความรักอยู ่ในชีวิตประจ�ำวันของมนุษย์ตัง้ แต่เกิดจนตาย ซึ่ งความรักจะเปลี่ยนแปลงไปตามวัย ความรักมีหลาย แบบ เช่ น รักที่มีต่อพ่อแม่ในรูปแบบของการให้และความผู กพันธ์ รักที่มีต่อเพื่อนในรูปแบบของการช่ วยเหลือและให้อภัยกัน รักที่มีต่อสัตว์ในรูป แบบของความเมตตา รักที่มีต่อสิ่งของในรูปแบบของความทรงจ�ำ และรักที่มีต่อธรรมชาติในรูปแบบของความงาม แต่ในความรักจะมีรักที่ทุกคน ย่อมมี และเป็นรักที่ซบั ซ้ อนคือรักที่มีต่อเพศตรงข้าม เป็นรักในแง่มุมที่นอกเหนือจากรักที่มีในชีวิตประจ�ำวัน เนื่องจากความรักที่มีต่อเพศตรงข้าม จะเริ่มเกิดขึ้นในวัยเจริญพันธ์ ซึ่ งเป็นวัยที่มีอารมณ์แปรปรวน จึงท�ำให้เป็นรักที่มีความซับซ้ อนที่ปะปนไปด้วยปั จจัยหลายอย่าง เช่ น อารมณ์ ความ ไม่มีเหตุผล ความเพ้อฝั น และจินตนาการที่มีต่อเพศตรงข้าม เกิดเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะของศิ ลปิ น


วัชระ บวรพัฒนไพศาล เมื่อตกอยู ่ในห้วงอารมณ์ของความรักแล้วความปรารถนาของคนสองคน ทุกอย่างล้วนเปี่ ยมไปด้วยความสุข นุ่มนวลและอ่อนโยน ซึ่ งศิ ลปิ น ต้องการแสดงออกถึงภาษากายที่สื่อถึงสายสัมพันธ์ท่ีมีต่อกันของคนสองคน


สกุลรัตน์ แม่นปื น ศิ ลปิ นต้องการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ให้กับบุ คคลโดยการเก็บข้อมู ลจากการสัมภาษณ์บุคคลรอบข้างเพื่อให้ผู้ชมรับรู้ถึงการน�ำเสนอแนวคิดของ ศิ ลปิ นเกี่ยวกับการให้คุณค่าของความเป็นมนุษย์


อมรรัตน์ กลิ่นทอง ศิ ลปิ นต้องการสื่อสารถึงเรื่องราวของยุ คสมัยและสังคมในปั จจุ บัน เกี่ยวกับผู ้หญิงที่มีความต้องการในด้านความสวยงามของรูปร่าง ศิ ลปิ นน�ำ เสนอแนวคิดผ่านการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมสื่อผสมในรูปร่างของสาวเจ้าเนือ้ ที่มีความสวยงามตามอุ ดมคติของศิ ลปิ น ซึ่ งแสดงให้เห็น ความสวยงามในรูปแบบที่แตกต่างจากค่านิยมในปั จจุ บัน


ชีระวิทย์ จันทร์สมคอย ศิ ลปิ นได้จัดองค์ประกอบของภาพลามกอนาจารขึ้นใหม่ โดยสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะด้วยวิธีการใช้ ฝีแปรงและชุ ดสีท่ีมีความสดใส นุ่มนวล ในรูป แบบจิตรกรรมลักษณะกึ่งนามธรรม (Semi-Abstract) ในการน�ำเสนอ เพื่อเปลี่ยนความลามกอนาจารเป็นความงามด้วยภาษาจิตรกรรม


วีระพงษ์ เถระวัน ศิ ลปิ นมุ ่งหวังที่จะแสดงอารมณ์ ความรู้สึก และจินตนาการของตัวเอง ผ่านกระบวนการสร้างสรรค์รูปทรงที่สื่อถึงเพศหญิง ในลักษณะของรูป ทรงกึ่งนามธรรม (Semi-Abstract) ด้วยการใช้ ทัศนธาตุสร้างสรรค์ให้เกิดสุนทรียภาพที่แสดงออกผ่านผลงานประติมากรรมแกะสลักหิน


สหชาติ ญาติเจริญ ศิ ลปิ นสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะจากการจินตนาการเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ จริงในชีวิตประจ�ำวันให้เปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของศิ ลปิ น ในรูปแบบของผลงานจิตรกรรม ศิ ลปิ นใช้ วิธีการร่างภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อจัดองค์ประกอบ โดยเลือกตัวละครภายในภาพให้มีความสอดคล้อง กับเรื่องราวในจินตนาการเกี่ยวกับสังคมของคนชอบรถ วงเหล้า หรือผู ้มีอ�ำนาจ โดยสิ่งของต่าง ๆ ที่ปรากฏในภาพจะมีรูปร่างที่ผิดแปลกจาก ความเป็นจริงเพื่อเพิ่มรสชาติให้กับผลงานและสร้างการสื่อสารเพื่อสะท้อนภาพเหตุการณ์ท่ีมีผลต่อความรู้สึกของศิ ลปิ น


สุพัตรา สะมะจิตร์ ศิ ลปิ นน�ำเสนอผลงานจิตรกรรมในลักษณะของการประกอบสร้างภาพตามความรู้สึกที่มีต่อผู ้หญิงในเรื่องของแฟชัน่ และความงาม โดยใช้ ภาพ จากนิตยสารและสื่อที่พบเห็นได้ทั่วไปในชีวิตประจ�ำวัน ศิ ลปิ นน�ำรูปแบบและสีสันต่าง ๆ ที่ได้รับอิทธิพลในการสร้างสรรค์จากศิ ลปะป๊ อป อาร์ต (Pop Art) มาสร้างองค์ประกอบใหม่ด้วยวิธีการที่มีรูปแบบเฉพาะตัว เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับแนวความคิดและทัศนคติของศิ ลปิ นที่มีต่อแฟชัน่ และ ความงาม


ธันยพร เบ็ญจสมิตโยธิน ศิ ลปิ นใช้ เรื่องราวเหตุการณ์ในชีวิตประจ�ำวันและความรู้สึกต่าง ๆ เช่ น เรื่องความรัก การเดินทาง ความชอบในรสนิยมการแต่งตัวและความ อยากแสดงออกถึงตัวตน มาบันทึกเป็นภาพที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปแบบของลายสักที่ศิลปิ นมีความหลงใหลในลวดลายที่เน้นลายเส้นและ การใช้ เฉดสีท่ีมีลักษณะเฉพาะ มาน�ำเสนอเรื่องราวและสร้างสรรค์ออกมาเป็นผลงานจิตรกรรม


ฤทธิรงค์ พันธุ เพ็ง ศิ ลปิ นถ่ายทอดเรื่องราวของวิถีชีวิตและความชอบส่วนตัวเกี่ยวกับการเล่นกีฬาผาดโผนอย่างกีฬาสเก๊ตบอร์ด ที่ได้รับอิทธิพลจากแนวทางการ ใช้ ชีวิตของวัยรุ ่นในยุ ค 1980-1990 ในรูปแบบของงานศิ ลปะ ซึ่ งถูกน�ำเสนอด้วยแสงของการเคลื่อนไหวจากการเล่นสเก๊ตบอร์ดในท่าทางต่าง ๆ


บุ ญญารัตน์ เพราะทอง ศิ ลปิ นได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะจากอัตลักษณ์ของวงดนตรีลูกทุ่ง ท่วงท�ำนอง และสีสันของชุ ดการแสดงต่าง ๆ ท�ำให้ ศิ ลปิ นเกิดความประทับใจ หลงใหล และรู้สึกสนุกสนานร่วมไปกับการแสดงของวงดนตรีลูกทุ่ง ศิ ลปิ นจึงเก็บเกี่ยวความสวยงามมาถ่ายทอดผ่าน ผลงานประติมากรรม ในรูปแบบของวงดนตรีตามอุ ดมคติของศิ ลปิ น


ณภัทร เจริญเมตตา ผลงานของศิ ลปิ นได้แรงบันดาลใจมาจากการเคลื่อนไหวของมนุษย์ โดยศิ ลปิ นน�ำเสนอผลงานศิ ลปะในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหวในลักษณะกึ่ง นามธรรม (Semi-Abstract) เพื่อขับเน้นการเคลื่อนไหวที่งดงามของมนุษย์ท่ีถูกถ่ายทอดออกทางศิ ลปะการแสดง


ธารินี สุขแก้ว ในปั จจุ บัน มนุษย์ได้สร้างชีวิตของสัตว์เลีย้ งให้เกินกว่าธรรมชาติของสัตว์ด้วยการบังคับสัตว์เลีย้ งให้มีพฤติกรรมเป็นไปอย่างที่เจ้าของต้องการ โดยศิ ลปิ นถ่ายทอดความรู้สึกที่มีต่อสัตว์เลีย้ งผ่านผลงานภาพถ่าย ในลักษณะของภาพสุนัขในพฤติกรรมที่เลียนแบบมนุษย์


ภราดร สังข์แก้ว ศิ ลปิ นต้องการสะท้อนให้เห็นชีวิตของคนในสังคมเมืองที่มีเส้นแบ่งของฐานะและอ�ำนาจหน้าที่อย่างชัดเจน โดยใช้ รูปร่างของสัตว์หลากหลายชนิด เป็นสัญลักษณ์ ผสมผสานกับรูปแบบอากัปกิริยาของคนที่ดูดุดัน โหดเหีย้ ม และแข็งแกร่ง ในการเปรียบเปรยการต่อสู้และแก่งแย่งกับอ�ำนาจที่เหนือ กว่า


ทะเล ธนากรจักร์ ศิ ลปิ นต้องการน�ำเสนอลักษณะท่าทาง รูปทรง เส้น ปริมาตร อารมณ์ความรู้สึก และลักษณะที่โดดเด่นของผู ้ล่าแต่ละชนิด ซึ่ งถ่ายทอดออกมา ด้วยสัญชาตญาณของนักล่า โดยศิ ลปิ นต้องการแสดงออกถึงความน่ากลัวและโหดร้ายของสัตว์ป่า ที่แม้จะมีความโหดร้ายแต่ก็เป็นแค่เพียงความ โหดร้ายตามธรรมชาติ ซึ่ งผิดกับความโหดร้ายของมนุษย์ท่ีเกิดขึ้นจากอารมณ์และจิตส�ำนึกซึ่ งมีความน่ากลัวมากกว่าในทุก ๆ ด้าน โดย สร้างสรรค์ออกมาเป็นผลงานประติมากรรมแกะสลักหินซึ่ งมีความแข็งแกร่งในตัววัสดุเอง สื่อถึงพลังที่มีอยู ่ในตัวของนักล่าทุกชนิด


เศรษฐวุ ฒ สถาพงศ์ภักดี ศิ ลปิ นต้องการถ่ายทอดแนวความคิดเกี่ยวกับกลุ่มผู ้มีอ�ำนาจ ขัว้ อ�ำนาจที่แตกต่างและขัดแย้งกันทางอุ ดมการณ์การเมือง ซึ่ งส่งผลกระทบในวง กว้างต่อผู ้คนในด้านความสูญเสียและความวุ ่นวายที่เกิดจากคนไม่ก่ีกลุ่ม โดยศิ ลปิ นน�ำเสนอผ่านภาพเหตุการณ์ท่ีสมมุ ติบทบาทขึ้นในลักษณะ ภาพล้อเลียนเสียดสีด้วยอารมณ์ขบขัน


สุรวร เจริญสินทวีกุล ศิ ลปิ นถ่ายทอดเรื่องราวของสิ่งที่ถูกมองข้ามหรือถูกมองว่าเป็นเรื่องเล็กน้อยของสังคมเมืองในประเทศไทย โดยน�ำเสนอผ่านภาพการ์ตูนที่มีความ ไร้เดียงสาหรือตลกโปกฮาเพื่อแสดงถึงสิ่งที่ถูกปกปิ ดอยู ่ภายใต้ความดีงามในสังคม


ภาณุเดช ดอนเจดีย์ ศิ ลปิ นต้องการน�ำเสนอผลงานประติมากรรมที่สะท้อนค่านิยมทางวัตถุท่ีเพิ่มขึ้นมากเกินกว่าความจ�ำเป็นในสังคมเมืองไทย โดยใช้ วัสดุเหลือทิง้ สิ่งของที่ถูกผลัดเปลี่ยนจากเจ้าของหนึ่งสู่อีกเจ้าของหนึ่ง หรือวัสดุท่ีน�ำกลับมาใช้ ใหม่ (Recycle) ซึ่ งศิ ลปิ นท�ำงานโดยไม่ค�ำนึงถึงความสวยงาม ของตัววัสดุแต่ต้องการแสดงออกถึงหน้าที่และคุณสมบัติของตัววัสดุเป็นหลัก


ศิ ริเดช แม้นอิ่ม ศิ ลปิ นน�ำภาพความอุ จาดของสังคมที่ถูกปกปิ ดมาประกอบขึ้นใหม่ โดยใช้ หลักองค์ประกอบศิ ลป์ จัดวางภาพในแต่ละส่วนเพื่อสร้างระยะในภาพให้มี ลักษณะคล้ายกับภาพทิวทัศน์ท่ีมีความสวยงาม โดยปิ ดบังบางส่วนด้วยการเซน็ เซอร์และใช้ กระบวนการทางจิตรกรรมสีน�ำ้ มันสร้างพืน้ ผิวจ�ำลอง เพื่อบิดเบือนเนือ้ หาของภาพเหล่านัน้ ในบริเวณที่มีความอุ จาดและมีความส�ำคัญของเนือ้ หา เพื่อแสดงถึงทัศนคติท่ีมีต่อการปิ ดบัง


ไชยันต์ นิลบล ศิ ลปิ นน�ำเสนอผลงานศิ ลปะในรูปแบบประติมากรรมสื่อผสม ที่มีรูปทรงท่าทางของมนุษย์ ห่อหุ้มด้วยวัตถุสังกะสีเพื่อถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับ มนุษย์ท่ีอยู ่ในชนชัน้ แรงงาน ที่ต้องใช้ พลังร่างกายอย่างหนัก ดิน้ รนตรากตร�ำท�ำงาน เพื่อให้มีชีวิตที่ดีขึ้น


คณพศ สารักษ์ ศิ ลปิ นมีความประทับใจและความหลงใหลในเครื่องยนต์กลไกของจักรยานโบราณ ซึ่ งเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะที่ผสมผสาน กับจินตนาการส่วนตัวของศิ ลปิ น ผ่านกระบวนการทับซ้ อนกันของกลไกที่เคลื่อนไหว ซึ่ งส่งผลต่อการรับรู้และเกิดเป็นความงามเฉพาะตัว


วรวรรษ ทองเชื้อ ศิ ลปิ นหยิบยกรูปแบบของเลโก้ (Lego) ซึ่ งเป็นของเล่นประเภทตัวต่อ ที่สามารถอดประกอบและเปลี่ยนแปลงพลิกแพลงรูปแบบการต่อตามความคิด สร้างสรรค์ของผู ้ต่อได้ ซึ่ งศิ ลปิ นมองการเล่นเลโก้เสมือนการใช้ ชีวิตของผู ้คนในสังคมที่มีรูปแบบการใช้ ชีวิตที่ไม่แน่นอน โดยน�ำเสนอผ่านมุ มมอง ทางความคิดของศิ ลปิ นด้วยการสร้างสรรค์เป็นผลงานประติมากรรมที่สามารถประกอบสร้างได้หลายรูปแบบ ด้วยวิธีการฉลุลายและตัดเป็นชิ้น ส่วนเพื่อใช้ ในการต่อประกอบสร้างให้เกิดเป็นรูปทรงสามมิติ


ศรชัย งามยิ่ง ศิ ลปิ นต้องการสร้างความรู้สึกใหม่ให้กับภาพ ด้วยการจินตนาการต่อรูปทรงของภาพที่ศิลปิ นหยิบยืมมาใช้ เพื่อให้เกิดความรู้สึกใหม่ ในสถานที่ ใหม่ และสร้างความหมายใหม่ ๆ จากสิ่งเดิมที่คุ้นตา ด้วยการปรับเปลี่ยนมุ มมองการรับรู้ภาพใหม่จนคล้ายว่าเป็นสิ่งอื่น


จิตตภูมิ อาญาพิทักษ์ การสลายภาพความหมายต่าง ๆ ที่ถูกรับรู้ให้หมดไป เพื่อน�ำไปสู่การรับรู้ท่ีเกิดขึน้ โดยไม่มีประสบการณ์และความเชื่ อเดิมมาคอยก�ำกับสิ่งที่ตนเอง ก�ำลังเผชิ ญหน้า การสลายความเชื่ อที่ใช้ มองประติมากรรมทางการเมืองที่ถูกให้ความหมายต่าง ๆ ทัง้ ความหมายเดิมที่ถูกก่อสร้างขึ้น รวมไปถึง ความหมายที่เกิดขึ้นตามบริบทและกาลเวลา ท�ำให้การรับรู้ต้องใช้ สายตาหลายชัน้ ในการมอง ทัง้ นัน้ ไม่ว่าจะมองด้วยความหมายใด ประติมากรรม นีก้ ็พ่วงเอาความศักดิ์สิทธิ์ของคุณงามความดีของตัวบุ คคลมาด้วย ท�ำให้เราไม่สามารถแตะต้องหรือวิพากษ์ วิจารณ์ได้ เมื่อความหมายที่มีไม่ ตายตัวและความหมายเดิมก็คอยก�ำกับให้สิ่งนีอ้ ยู ่สูงเสมอ ศิ ลปิ นจึงสลายโครงสร้างเดิมที่เป็นอยู ่ เพื่อให้เกิดการตัง้ ค�ำถามและพยายามหาค�ำตอบ ว่าสิ่งนีค้ ืออะไรในความหมายที่ผู้ชมสร้างขึ้น


จักรพันธ์ สุขไสว ศิ ลปิ นสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมโดยใช้ เหตุการณ์จราจลที่มีความรุ นแรงผสมผสานกับจินตนาการท่าทางของนักกีฬา โดยเลือกใช้ ภาพที่มี สีหน้าและท่าทางแตกต่างกันออกไป สอดแทรกความขบขันเพื่อให้เกิดความย้อนแย้งกับอารมณ์ของพืน้ ที่และเหตุการณ์ในสถานการณ์นัน้ ๆ เพื่อ สะท้อนเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสังคมทัง้ อดีตและปั จจุ บัน


อรวรรณ พลขันธ์ ศิ ลปิ นสร้างภาพต้นแบบของผลงานจิตรกรรมจากการตัดต่อภาพ (Montage) ที่ได้จากเทคนิคพิเศษทางภาพ (Visual Effect) ในเกมออนไลน์ และน�ำเสนอความงามจากความเคลื่อนไหวของรูปทรงและโทนสีผ่านผลงานจิตรกรรม ด้วยวิธีการเขียนภาพแบบทับซ้ อนกันของฉากหลักและ เทคนิคพิเศษทางภาพต่าง ๆ ท�ำให้เกิดการรับรู้ใหม่ของภาพที่ปรากฏบนผืนผ้าใบ เพื่อให้ผู้ชมรับรู้ถึงภาพบรรยากาศและประสบการณ์ร่วมที่มีต่อ เกม


เจษฎา ปิ่ นแก้ว ศิ ลปิ นได้รับอิทธิพลในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะมาจากค่านิยมของคนในสังคมที่มีต่อเกมออนไลน์ ท�ำให้เกมตกเป็นผู ้รับผิดชอบในพฤติกรรม ด้านลบต่าง ๆ ของเด็กและเยาวชน ศิ ลปิ นจึงเกิดความคิดที่จะเชื่ อมโยงผู ้คนเข้าหากันด้วยผลงานศิ ลปะ เพื่อให้ผู้คนหันมาให้ความสนใจ สร้าง ความเข้าใจ และเรียนรู้เพื่อปรับปรุ งทัศนคติท่ีมีต่อเกมออนไลน์


รวิกานต์ รุ ่งนิรันดร์ทอง ศิ ลปิ นสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะในลักษณะของสื่อเกมคอมพิวเตอร์ โดยมีเนือ้ หาหลักของเกมเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ประเพณี และสังคมไทย โดย ผู ้ชมสามารถเข้ามามีส่วนร่วมแก้ไขปั ญหาในแต่ละด่านของเกมที่สร้างสรรค์ขึ้นมาจากจินตนาการของศิ ลปิ น


ปิ ยวัฒน์ จุ ฑามาชาติ การหวนระลึกถึงเรื่องราวในอดีตของศิ ลปิ น ในรูปแบบของเทพนิยายสมัยใหม่


วศิ น ติรวัฒนวานิช ศิ ลปิ นต้องการน�ำเสนอวิถีชีวิตของคนชายขอบ ซึ่ งเกิดจากปฏิสัมพันธ์ท่ีบุคคลมีต่อพืน้ ที่และเวลา ด้วยสภาวะอารมณ์ความรู้สึกผู กพัน โดยการ ถ่ายทอดผ่านความแตกต่างทางด้านสถานะ ที่เริ่มแปรเปลี่ยนเป็นความสัมพันธ์รัก เพื่อแสดงถึงทัศนคติท่ีมีต่อความเป็นอื่นในสังคม และสะท้อนให้ เห็นการอยู ่ร่วมกันภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม


ธันย์ชนก อึ้งทอง ศิ ลปิ นสนใจในการสร้างความหมายจากพืน้ ที่ทางกายภาพที่รับรู้จากประสบการณ์ ความสัมพันธ์เชิ งอ�ำนาจที่มีผลต่อจิตใจ และการใช้ ชีวิตประจ�ำ วัน โดยน�ำมาสร้างเป็นพืน้ ที่ใหม่ท่ีเกิดจากความคิดและความรู้สึกภายใน จากพืน้ ที่ทางกายภาพมาสู่พืน้ ที่ท่ีเกิดจากการรับรู้ในเรื่องของความ สัมพันธ์ น�ำไปสู่แนวความคิดที่เกิดจากการตัง้ ค�ำถามต่อเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในครอบครัวเรื่องข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ภายในบ้านรวมถึงเรื่องของอ�ำนาจ เชิ งความสัมพันธ์ เกิดเป็นความหมายใหม่ของวัตถุท่ีเกิดจากพืน้ ที่ภายในความคิดของศิ ลปิ น


คณิช ขจรศรี ความคลุมเครือของนิยามความเป็นพืน้ ที่ส่วนตัวและพืน้ ที่สาธารณะตัง้ อยู ่บนความต้องการพืน้ ที่ของมนุษย์ โดยที่บุคคลเหล่านัน้ เลือกใช้ วัสดุหรือ วัตถุบางเป็นสิ่งแทนความต้องการครอบครองและแสดงความเป็นจ้าวอาณาบริเวณ บนความไม่ชดั เจนในการจัดการพืน้ ที่ของกรุ งเทพมหานคร รวมไปถึ ง ปรากฏการณ์ ท่ี ทุ ก คนยอมรั บ การถู ก แย่ ง ชิ ง พื้น ที่ จ ากวั ฒ นธรรมความอะลุ่ ม อล่ ว ยต่ อ กฎระเบี ย บโดยแฝงวั ต ถุ ห รื อ วั ส ดุ เ หล่ า นั้น ให้ กลมกลืนอยู ่บนความเป็นพืน้ ที่สาธารณะ การสร้างอาณาบริเวณนีเ้ องได้สร้างความเป็นอาณาบริเวณส่วนตัวในความเป็นพืน้ ที่สาธารณะ ศิ ลปิ น จึงน�ำความคลุมเครือนีม้ าน�ำเสนอผ่านผลงานศิ ลปะในรูปแบบของภาพถ่าย เพื่อให้ผู้ชมเกิดความรู้สึกตระหนักถึงการรักษาความสมดุลกัน ระหว่างความเป็นพืน้ ที่ส่วนตัวและความเป็นพืน้ ที่สาธารณะของสังคมเมืองในประเทศไทย


กวิน รัตนจันทร์ ศิ ลปิ นได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะมาจากทัศนียภาพที่ไร้ทิศทางของกรุ งเทพมหานคร จากการสังเกตทัศนียภาพของ กรุ งเทพมหานครที่เติบโตและพัฒนาอยู ่ตลอดเวลา โครงสร้างของวัตถุต่าง ๆ รูปลักษณ์ของสถาปั ตยกรรม หรือแม้แต่ถนนหนทางที่ทุกอย่างถูก สร้างให้มีความทันสมัย ซึ่ งในบางพืน้ ที่ก็ถูกจัดการใหม่ด้วยโครงสร้างเดิม ยกตัวอย่างจากแหล่งท่องเที่ยวภายในเมือง เช่ น อาคารมาบุ ญครอง อาคารสยามเซน็ เตอร์ และอาคารเซน็ ทรัลเวิลด์ อาคารเหล่านีล้ ้วนถูกปรับแต่งขึ้นใหม่ด้วยมุ มมองแบบโลกอนาคต ซึ่ งแท้จริงแล้วอาคารเหล่านีเ้ ป็น เพียงแค่เปลือกที่ถูกสร้างขึ้นมาสวมทับลงบนโครงสร้างเดิม


นนทภัทร์ บุ รานนท์ ศิ ลปิ นต้องการน�ำเสนอโครงสร้างของรูปทรงและมิติท่ีทับซ้ อนในสถาปั ตยกรรมต่าง ๆ โดยน�ำเส้น รูปทรง และพืน้ ที่ว่าง มาจัดวางเพื่อสร้างรูปทรง ใหม่ เพื่อสื่อถึงความรู้สึกของผู ้คนที่รายล้อมอยู ่ในสังคมเมืองที่ท�ำอะไรซ�้ำไปซ�้ำมา


อิสรีย์ สุขเพ็ง ศิ ลปิ นสร้างสรรค์รูปแบบการมองใหม่ ๆ จากการทับซ้ อนกันของความเป็นสองมิติสู่ความเป็นสามมิติ ผ่านวิธีการวาดเส้นลงบนแผ่นอะคริลิก โดย มีเนือ้ หาเกี่ยวกับความงดงามของสถาปั ตยกรรม ความซับซ้ อนทางโครงสร้างของเมืองใหญ่ และวิถีชีวิตพฤติกรรมของคนในเมือง


ยุ วดี จันทร์อยู ่ ศิ ลปิ นมีความพยายามในการท�ำความเข้าใจในมิติของภาพ โดยการท�ำลายโครงสร้างของภาพ เพื่อให้เห็นมิติการลวงตาของภาพเขียน ซึ่ ง ประกอบด้วย ขนาดของรูปทรง ความลึกของรูปทรง สี แสง และเงา ทัง้ หมดนีก้ ่อให้เกิดมิติท่ีซบั ซ้ อนและขัดแย้งกันบนวัตถุท่ีมีความเป็นระนาบ ศิ ลปิ นสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมในรูปแบบนามธรรม (Abstract) เพื่อแสดงออกถึงความรู้สึกและทัศนคติท่ีมีต่อเนือ้ หาในภาพ ด้วยการ แสดงออกผ่านทัศนธาตุท่ีไร้รูปทรง


ดวงกมล สมิงทัศน์ ศิ ลปิ นน�ำเสนอภาพของความเป็นสังคมเมืองและค่านิยมที่ได้รับจากวัฒนธรรมต่างประเทศ ด้วยการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะโดยการน�ำเอาภาพ ของนางแบบนายแบบในป้ า ยโฆษณาแฟชั่น ขนาดใหญ่ ม าจั ด องค์ ป ระกอบเพื่ อ ให้ เ กิ ด การทั บ ซ้ อ นกั น กั บ ภาพภู มิ ทั ศ น์ แ ละสภาพแวดล้ อ มของ สถาปั ตยกรรมต่าง ๆ ในกรุ งเทพมหานคร แสดงออกผ่านผลงานจิตรกรรม ท�ำให้ภาพเกิดความกลมกลืนจนกลายเป็นส่วนเดียวกัน เพื่อเป็นภาพ แทนวิถีชีวิตความเป็นอยู ่ของผู ้คนในสังคมเมือง


อาทิตยา เฟื่ องศิ ลา ศิ ลปิ นใช้ วัสดุท่ีเป็นบรรจุ ภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์เสริมความงามมาสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะด้วยวิธีการประกอบสร้าง ตัดทอน เพิ่มเติม และ เปลี่ยนแปลงรูปแบบ ให้เกิดเป็นเมืองในอุ ดมคติ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมความงามที่มีความสัมพันธ์กับบทบาทใน ชีวิตประจ�ำวันของผู ้บริโภค เช่ นเดียวกับสถาปั ตยกรรมรมต่าง ๆ ที่เป็นปั จจัยส�ำคัญที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตของคนในสังคม


ภัทร บุ ญล้อม ศิ ลปิ นต้องการน�ำเสนอความเงียบเหงาและอ้างว้างของสถานที่ท่ีมีผู้คนพลุกพล่าน เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความรู้สึกของศิ ลปิ นที่มีต่อพืน้ ที่นัน้ ๆ โดยมีความต่างกันของเวลาเป็นตัวก�ำหนด ซึ่ งการน�ำเสนอพืน้ ที่ของห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้ าใต้ดิน และพืน้ ที่อื่น ๆ ที่อยู ่ในตัวอาคารในช่ วงเวลา เปิ ดและปิ ดท�ำการ เผยให้ศิลปิ นมองเห็นความกว้างของโครงสร้างสถาปั ตยกรรม และรู้สึกถึงความเงียบเหงาและความอ้างว้างมากขึ้น


นิจสุภา นาคอุ ไร เทคโนโลยี อินเตอร์เน็ต หนังสือ ภาพยนตร์ ดนตรี สื่อต่าง ๆ เหล่านีม้ ีอิทธิพลต่อวิธีคิดและการเติบโตของศิ ลปิ น หากแต่สร้างให้ศิลปิ นมีความคิด และความรู้สึกที่แปลกแยกจากการปฏิสัมพันธ์แลกเปลี่ยนเรื่องราวกันในครอบครัว ศิ ลปิ นจึงน�ำความรู้สึกโดดเดี่ยวและแปลกแยกนีม้ าถ่ายทอด ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบของผลงานจิตรกรรม ฉากต่าง ๆ จากภาพยนตร์กลายเป็นแรงบันดาลใจ ในการถ่ายทอดความรู้สึกของ ศิ ลปิ นเกี่ยวกับบรรยากาศ พืน้ ที่ และระยะห่างของความสัมพันธ์ เพื่อส�ำรวจและตอบสนองอารมณ์ ความรู้สึก และทัศนคติส่วนตัวของศิ ลปิ นที่มี ต่อตนเองและสังคม


สิริวรรณ ทิพวัลย์ ศิ ลปิ นต้องการถ่ายทอดสภาวะอารมณ์ ความรู้สึกที่เกิดจากประสบการณ์ของตนเอง ซึ่ งเป็นช่ วงเวลาของความทุกข์ท่ีเกิดจากการรอคอย และ การสูญเสียบุ คคลส�ำคัญในชีวิตที่ศิลปิ นให้ความนับถือ บ่งบอกถึงความรู้สึกที่หวาดกลัวต่อความสูญเสียและการพลัดพราก


กฤตภาส ทองบ�ำเพ็ญ ความกลัว เป็นความรู้สึกที่มีอิทธิพลต่อจินตนาการของมนุษย์ อันเนื่องมาจากความเชื่ อของมนุษย์ในเรื่องลีล้ ับเกี่ยวกับภูตผีและวิญญาณ สถานที่เปลี่ยวร้างอันตรายก็เป็นอีกปั จจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดการจินตนาการต่อสภาพแวดล้อมนัน้ ในรูปแบบของความกลัว โดยศิ ลปิ นได้หยิบพืน้ ที่ท่ี สร้างจินตนาการของความกลัวมาถ่ายทอดเป็นผลงานศิ ลปะในรูปแบบจิตรกรรม


ณัฐวุ ฒิ ดวงภมร ภาพของพืน้ ที่โล่งกว้างที่เต็มไปด้วยซากปรักหักพังของสิ่งศักดิ์สิทธิ์และวัตถุทางความเชื่ อต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่ อความศรัทธาของ คนในสังคมที่เคยได้เชื่ อได้ศรัทธาในสิ่งสิ่งหนึ่ง เมื่อเวลาผ่านไปล้วนมีสิ่งใหม่มาทดแทน สิ่งที่เคยเชื่ อเคยศรัทธากลับถูกทิง้ ร้างราวกับเป็นสิ่งไร้ค่า ศิ ลปิ นแสดงออกถึงมุ มมองตามจินตนาการ ด้วยการสร้างสรรค์บรรยากาศของภาพในโทนสีเทา เพื่อสร้างความรู้สึกลึกลับในการถ่ายทอดเรื่อง ราวของความศรัทธาที่ไม่ยั่งยืน


นัทธพงศ์ ธุ ระชาติ ศิ ลปิ นต้องการแสดงออกถึงเรื่องราวของอิทธิพลทางธรรมชาติท่ีมีต่อตนเอง โดยเปรียบเปรยอารมณ์ความรู้สึกของศิ ลปิ นกับพืน้ ผิวของ ธรรมชาติ ศิ ลปิ นเห็นว่า ผิวน�ำ้ เปรียบเสมือนความรู้สึกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะของสิ่งที่ผ่านเข้ามาในชีวิต จึงเป็นแรงผลักดันให้ศิลปิ น สร้างสรรค์ผลงานที่แสดงถึงอารมณ์ความรู้สึกผ่านการแกะสลักหินให้เกิดรูปทรงอ่อนช้ อย สื่อถึงสภาวะจิตใจที่ได้รับอิทธิพลมาจากธรรมชาติ รอบ ๆ ตัวของศิ ลปิ น


พิมพ์ชนก นิลศิ ริ ในสภาวะสังคมปั จจุ บัน การพัฒนาเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดการแข่งขัน เร่งรีบ ตลอดจนท�ำให้เกิดพืน้ ที่ท่ีจ�ำกัดในสังคมเมือง การจ�ำยอมต่อสถานการณ์ท่ีบีบบังคับ ความสับสนวุ ่นวาย เหล่านีเ้ องท�ำให้เกิดการปรับสภาพที่เร่งรัดต่อความรู้สึก ท�ำให้ศิลปิ นมองหาทางออก ให้กับตัวเองเพื่อหลีกหนีจากความจริง ด้วยการคิดถึงสิ่งที่ประทับใจ ซึ่ งการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะในรูปทรงของดอกไม้จากจินตนาการและ ความปรารถนาของศิ ลปิ น ก็เป็นส่วนหนึ่งของการหลีกหนี ท�ำให้ศิลปิ นรู้สึกผ่อนคลาย


เรืองวิทย์ ฉัฐมะ ศิ ลปิ นมีความประทับใจในความงามทางธรรมชาติของป่ าไม้จากการเดินทางไปในที่ต่าง ๆ แต่ในปั จจุ บันป่ าไม้เหล่านีเ้ ริ่มลดน้อยลง ศิ ลปิ นจึงสนใจที่ จะเอาธรรมชาติท่ีมีอยู ่ในชีวิตประจ�ำวันจากในหลาย ๆ สถานที่มาสร้างสรรค์ให้เกิดองค์ประกอบทางความงาม ด้วยลักษณะการเขียนภาพ จิตรกรรมแบบอิมเพรสชัน่ นิสม์ (Impressionism) เพื่อสร้างระยะของพืน้ ผิวในจิตรกรรมและแสดงความรู้สึกต่อพืน้ ที่ธรรมชาติป่าไม้รวมไปถึง ความงามทางธรรมชาติท่ีมีอยู ่รอบตัวของศิ ลปิ น


อธิชา พงษ์ พานิช “ไม่มีสิ่งใดตายไปจากยุ คสมัยโดยสมบู รณ์แบบ” ค�ำกล่าวข้างต้นยืนยันความเชื่ อตามทัศนคติส่วนตัวของศิ ลปิ นที่มีมุมมองต่อเวลาว่าสามารถ กระโดดกลับไปกลับมาและยืดหยุ ่นหมุ นวนตามส�ำนึกทางเวลาแบบวงกลม (Cycle Time) เชื่ อมโยงกับกระแสของเพลงที่ได้รับความนิยมในยุ ดสมัย ต่าง ๆ ประกอบกับโครงสร้างของดนตรีท่ีมีองค์ประกอบส�ำคัญอย่างการซ�้ำของจังหวะและเวลา เครื่องเล่นแผ่นเสียงจึงถูกหยิบยกขึ้นมาในฐานะ ตัวแทนของยุ คสมัยที่เป็นสะพานเชื่ อมปั จจุ บันสู่อดีตซึ่ งกลับมามีชีวิตอีกครัง้ ได้ด้วยความคิดถึงโหยหาวันเก่า ๆ อย่างไรก็ตามในความหมุ นวน ซ�้ำซากนัน้ ต่างน�ำมาซึ่ งความเปลี่ยนแปลงไปเสมอ


อลิษา สาสกุล ศิ ลปิ นน�ำเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับผู ้คนในสังคมเมือง โดยการถ่ายทอดสภาพสังคมในปั จจุ บันผ่านภาพกราฟิ ก (Graphic) ผสมผสานกับ จินตนาการที่ศิลปิ นได้รับอิทธิพลมาจากสื่อต่าง ๆ ด้วยการจัดวางองค์ประกอบแบบเรียบง่ายไม่ซบั ซ้ อน แฝงมิติท่ีหลอกตาผู ้ชม เกิดเป็นพืน้ ที่ใหม่ จากจินตนาการ บอกเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริงในสังคมเมืองปั จจุ บันซึ่ งเต็มไปด้วยพืน้ ที่ของความเจริญทางวัตถุและการเปลี่ยนแปลงที่เข้ามามีผล กับชีวิตของมนุษย์ โดยใช้ วิธีการสร้างพืน้ ผิวด้วยองค์ประกอบต่างๆ ทางศิ ลปะ ทัง้ การใช้ สี รูปร่าง รูปทรง การจัดวาง และภาพกราฟิ กต่าง ๆ ซึ่ งพืน้ ที่ใหม่ท่ีเกิดขึ้นแสดงให้เห็นลักษณะของความเหนือจริง (Surrealistic) จากการพบกันโดยบังเอิญที่ก่อให้เกิดความหมายเชื่ อมโยงภาพบุ คคล กับทิวทัศน์และสิ่งของต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ชมเกิดจินตนาการและความรู้สึกถึงความเป็นเอกภาพ


พชรพรรณ มาลัย ศิ ลปิ นต้องการท�ำลายขอบเขตพืน้ ที่ของคอนโดมิเนียม ที่มีข้อจ�ำกัดด้านพืน้ ที่ในการอยู ่อาศัย ผ่านรูปแบบของผลงานจิตรกรรม ด้วยการใช้ สีท่ี แสดงออกถึงความเป็นตัวตนของศิ ลปิ น รวมถึงการใช้ เส้นและลวดลายต่าง ๆ ในการสร้างมิติของพืน้ ที่ภายในห้อง ให้เกิดความซับซ้ อน ตื่นเต้น สนุกสนาน เพื่อท�ำลายความรู้สึกอึดอัดและคับแคบ


เฉลิมพล เเกล้ววาที ศิ ลปิ นมีความสนใจในรูปทรงและสีสันที่หลากหลายของสินค้าในตลาดนัด โดยศิ ลปิ นน�ำองค์ประกอบที่น่าสนใจเหล่านัน้ มาจัดการใหม่และถ่ายทอด ออกมาผ่านผลงานจิตรกรรมด้วยวิธีการที่เป็นลักษณะเฉพาะตัวของศิ ลปิ น


เจตฆ์นิพิชญ์ ศักดิ์สิริกุล ศิ ลปิ นน�ำเสนอบรรยากาศ พืน้ ที่ และสีท่ีเกิดจากความไม่ชดั เจนของการถ่ายภาพ ผ่านภาพของผู ้คนและแสงไฟในสถานที่ต่าง ๆ ยามค�่ำคืน ด้วย วิธีการทางจิตรกรรม


อนวัช เอี่ยมข�ำ ศิ ลปิ นน�ำเสนอภาพภูมิทัศน์ของวิถีชีวิตผู ้คนในช่ วงเวลากลางคืนในลักษณะที่แตกต่างไปจากเดิม ด้วยกระบวนการจัดการภาพของศิ ลปิ นที่ท�ำให้ การรับรู้ทางการมองของผู ้ชมสามารถสร้างประสบการณ์และความรู้สึกใหม่ต่อความเป็นพืน้ ที่ในภาพ


ณัฐชัย รักษาศิ ริ การสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะโดยการดัดแปลง เปลี่ยนข้อมู ลเป็นความเสียหายโดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ในการสร้างความงามให้เกิดมุ มมองใหม่ ๆ เป็น ลักษณะหนึ่งของศิ ลปะยุ คหลังสมัยใหม่ การบิดเบือนของภาพที่สามารถสร้างความสวยงามจากเทคโนโลยีท่ีมีความเปราะบาง ศิ ลปิ นสร้างภาพ ต้นแบบงานจิตรกรรมจากการท�ำลายไฟล์ภาพถ่ายของสถานที่รกร้าง เพื่อให้ภาพเกิดรูปทรงและสีท่ีผิดเพีย้ นไปจากเดิม แล้วจึงน�ำมาประกอบ สร้างใหม่เป็นภาพทิวทัศน์ธรรมชาติท่ีสวยงามตามอุ ดมคติของศิ ลปิ น โดยอ้างอิงองค์ประกอบต่าง ๆ จากธรรมชาติ เช่ น ภูเขา ทะเล ท้องฟ้ า ทุ่ง หญ้า หรือป่ าเขาล�ำเนาไพร เพื่อให้เกิดสุนทรียภาพทางการมองด้วยภาษาและวิธีการแสดงออกทางจิตรกรรม ผ่านการน�ำเสนอผลงานศิ ลปะใน รูปแบบจิตรกรรมในลักษณะกึ่งนามธรรม (Semi-Abstract)


อาทิมา ธนาวัฒน์ ศิ ลปิ นต้องการน�ำเสนอการแสดงผลของสีท่ีเกิดขึ้นในชัว่ ขณะที่วัตถุถูกกระท�ำ โดยศิ ลปิ นบอกเล่าถึงสาระส�ำคัญในเรื่องของการผสานจุ ดสี ผ่าน เทคนิควิธีการประกอบสร้างจากหน่วยสีเล็ก ๆ จนเกิดเป็นภาพรวมของสีสันในงานประติมากรรมสามมิติ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับการแสดงผล แบบพิกเซล (Pixel) ในระบบดิจิตอล โดยจ�ำลองรูปทรงจากวัตถุจริง เพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่ในการรับรุ ้ผ่านมุ มมองของวัตถุท่ีถูกแปลงค่าสีให้ แตกต่างไปจากเดิม


ธนวัน สุขจิตต์ ศิ ลปิ นน�ำเอามิติของความจริงจากพืน้ ที่ท่ีมีอยู ่จริงกับมิติของความแบนจากการ์ตูน ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน มาผสมผสานให้อยู ่ในพืน้ ที่เดียวกัน ด้วยการแทรกตัวการ์ตูนเข้าไปในความจริงของพืน้ ที่ ท�ำให้เกิดภาพของสภาพแวดล้อมและเรื่องราวใหม่ ๆ กระตุ้นให้ผู้ชมเกิดจินตนาการและ ความรู้สึกถึงสภาพแวดล้อมที่ศิลปิ นได้สร้างขึ้น โดยไม่ค�ำนึงถึงเรื่องราวหรือเนือ้ หาแบบชัดเจนตายตัว เพื่อเป็นการปล่อยจินตนาการให้ผ่านออก มาอย่างเป็นอิสระจากพืน้ ที่ท่ีไม่สามารถพบได้ในชีวิตจริง โดยศิ ลปิ นได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะมาจากการใช้ สื่อออนไลน์ใน ชีวิตประจ�ำวัน ถ่ายทอดออกมาในผลงานจิตรกรรมผ่านมุ มมองของศิ ลปิ น


กิตติวัฒน์ ศรีพัทธี ศิ ลปิ นมีความสนใจในหลักของความงาม สุนทรียภาพ มุ มมอง และการสร้างทัศนียภาพที่แตกต่างออกไป โดยศิ ลปิ นได้รับแรงบันดาลใจในการ สร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะมาจากโมเดลของเล่น ภาพจากนิตยสาร สื่อสิ่งพิมพ์ อินเตอร์เน็ท สภาพแวดล้อม และบริบทรอบ ๆ ตัวที่ศิลปิ นมีความ คุ้นเคยและมีประสบการณ์ร่วมมาก่อน น�ำไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมในลักษณะเหมือนจริง (Realistic) เพื่อสร้างระยะและมิติให้เกิดขึ้นใน ภาพด้วยความหลากหลายของพืน้ ผิววัตถุ และความกลมกลืนของสีบรรยากาศ เป็นการแสดงออกด้วยภาษาจิตรกรรมที่ภาพถ่ายไม่สามารถ ถ่ายทอดได้ โดยศิ ลปิ นได้พยายามสื่อสารเรื่องราวของวัตถุท่ีเป็นสามมิติกับสองมิติท่ีมีการหยอกล้อกันในแง่ของความจริงและไม่จริง ท�ำให้เกิด เรื่องราวและบทสนทนาซึ่ งกันและกันระหว่างวัตถุต่าง ๆ ที่ปรากฏในภาพ ซึ่ งมีความย้อนแย้งกันไปมาภายในภูมิทัศน์โดยรวมของภาพ


สุชาดา ยังทน ศิ ลปิ นได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิ ลปะจากขนมหวานหลากหลายรูปแบบ ซึ่ งน�ำมาสู่การสร้างสรรค์ภาพจิตรกรรมทิวทัศน์ท่ีเป็น แบบจ�ำลองของขนมหวานต่าง ๆ ตามจินตนาการของศิ ลปิ น ในรูปแบบของภาพจิตรกรรมสองมิติ เพื่อให้ผู้ชมรับรู้ได้ถึงความงามและความนุ่ม นวลของขนมหวานผ่านภาษาจิตรกรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.