Book_San Somdet

Page 1

Reflection on the Thai Arts through

“ SAN SOMDET “ the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs


พระขวัญเมืองมิ่งมรดกไทย โคลง ๔

๏ ขวัญเมืองทูลกระหมอมแกว

เกริกสมัย

ขวัญมิ่งมงคลไข

ขจางฟา

ขวัญเมืองมฤดกไทย

ทวีชาติ

ขวัญมิ่งมาเยือนหลา

แหลงลํ้านำเขษม ฯ

ฉันท ๑๔

๏ ศรีสิทธิสรวมสิริสวัสดิ์

สุพิพัฒนพิมลเมือง

๏ ปราชญปนสิรินธรพิลาส

ปยชาติคุณากร

๏ เปยมโปรดประโยชนจะอนุรักษ

และตระหนักแนะรักษา

๏ นานาหิตานุหิตปวง

ประลุลวงและกาวไกล

๏ นอมเกลากระหมอมนิจสนอง

มนซองสโมธาน

๏ ขอทรงเกษมหทัยโสต

ถิประโมทยประเมินมี

ขวัญทิพยประทานธุระประเทือง ดวงแกวกนิษฐอดิศร

เปรมปรุงผดุงกิจผดา

จรรโลงสฤษฎิ์พิพิธไพ

ทั่วถวนประมวลพรประสาน ทีฆายุกาชนมปรี

ทะนุศิลปสถาพร นยพรอมพระเมตตา มรดกไผทไทย บุลเลิศจิรังการ ณ ศิโรตมเจริญศรี ดิชเยศชโยเทอญ ฯ

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขาพระพุทธเจา ปวงขาราชการและเจาหนาที่กรมศิลปากร (นายบุญเตือน ศรีวรพจน ผูเชี่ยวชาญดานอักษรศาสตร กรมศิลปากร ประพันธ)


Speech

ค�าปราศรัย

Mr. Itthiphol Kunplome, Minister of Culture

นายอิทธิพล คุณปลื้ม

for Thai Heritage Conservation Day on Thursday, 2nd April 2020

Dear fellow Thai citizens, Thailand is a country with rich cultural history and refined traditions, and is well known for its individuality and uniqueness. Thai culture has been passed down through the centuries. As a result of the greatest kindness of the members of the Royal family, especially, Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn who has graciously paid her kind attention to works concerning the national art and cultural heritage at all times. On the 26th February 1985, the Thai government announced that Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s birthday on the 2nd April would now be known as “Thai Heritage Conservation Day”. This year the Thai government by the Ministry of Culture and the private sector nationwide, have jointly organized an activity on Thai Heritage Conservation Day. The aim of the activity is to encourage all Thais to conserve, safeguard and proud of national heritage. In addition, to study, research, and development of art and cultural heritage of the country widely, for sustainability in accordance with the Royal aspiration on “Preservation of the Thai heritage as the Thai nation preservation”. On the occasion of Thai Heritage Conservation Day on the 2nd April 2020, may I take this opportunity to encourage all Thais to appreciate and help safeguard the valuable cultural heritage of Thailand. I would also like to present my sincerest wishes to Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn for a long and happy life. She will forever be the beloved idol of all Thais. Thank you very much.

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย วันพฤหัสบดีที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๓ พี่นองประชาชนชาวไทยที่เคารพรัก ประเทศของเรามีวัฒนธรรมและประเพณีเปนเอกลักษณโดดเดน ซึ่งบรรพบุรุษไดสรางสรรคจนเจริญรุงเรืองเปน มรดกอันลํ้าคาของชาติไทยมาจวบจนปจจุบัน ดวยพระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริยสืบมาทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงสนับสนุน สงเสริม และ พระราชทานพระราชานุเคราะหแกงานศิลปวัฒนธรรมของชาติ มาอยางตอเนือ่ ง คณะรัฐมนตรีจงึ มีมติเมือ่ วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๒๘ กําหนดใหวนั ที่ ๒ เมษายน ของทุกป ซึง่ เปนวันคลายวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เปน “วันอนุรักษมรดกไทย” รัฐบาล โดยกระทรวงวัฒนธรรม องคกร หนวยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งสวนกลาง และสวนภูมิภาค จึงกําหนดจัด กิจกรรมอนุรักษ ฟนฟู เสริมสรางความรู ความเขาใจ และสรางจิตสํานึกในการทํานุบํารุงรักษามรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อกระตุนเตือนใหพวกเราชาวไทยรวมกันสืบสาน รักษา หวงแหน ตอยอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรม รวมภาคภูมิใจ และ ศึกษา คนควา พัฒนา ศาสตรแหงมรดกศิลปวัฒนธรรมใหแพรหลายกวางขวาง เพื่อความยั่งยืนสืบไปตามพระราชปณิธาน “การรักษามรดกไทย เปนการรักษาชาติ” เนื่องในวันอนุรักษมรดกไทย วันที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๓ นี้ ผมขอเชิญชวนพี่นองชาวไทยทุกคน นอมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ อยางหาที่สุดมิไดของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดวยการตระหนักในความสําคัญและเห็นคุณคาของมรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ รวมมือรวมใจกันฟนฟู พิทักษรักษา และสืบทอดมรดกไทยใหดํารงอยูคูชาติอยางยั่งยืนและพรอมกันนอมถวายพระพรชัยมงคลใหทรงพระเจริญ ยิ่งยืนนานเปนมิ่งขวัญรมเกลาของปวงชนชาวไทยตลอดไป สวัสดี


Preface

ค�าน�า

The 2nd of April is H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn’s Birthday Anniversary, marking the Thai Heritage Conservation Day by the Thai Government. Various activities and celebrations are held annually to commemorate this occasion and the Fine Arts Department has organized a special exhibition at the National Museum, Bangkok to celebrate this particular event since 1985. On the Thai Heritage Conservation Day of the year 2020, the Fine Arts Department deems fit to organize a special exhibition, “Reflection on the Thai Arts through “San Somdet”, the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs” The material contents in the correspondence range from their private matters, miscellaneous knowledge, arts and cultures, history, archaeology, music, performing arts, and fine arts. The Fine Arts Department first published these series of handwritten letters under the title “San Somdet” (the princes’ correspondence), in Silapakorn Journal Vol. 1 No. 2 December 1947. San Somdet has since been collected and reprinted in volumes for many times and is appreciated as a book series that collect various knowledge, as well as its interesting style of storytelling. In this exhibition, the Fine Arts Department had chosen some pieces of articles from San Somdet which have strong relevance to the mission of the Fine Arts Department to be presented in the exhibition through antiques, art objects, photographs, diagrams, and other presentation medias. For the ideas and works initiated by Prince Damrong and Prince Naris, which are carried on until the present time by the Fine Arts Department, shall be promoted. On this auspicious occasion Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sinrindhorn will graciously preside over the opening ceremony at the Sivamokkhaphiman Throne Hall, National Museum, Bangkok. The Fine Arts Department would like to express its gratitude to all government and private sectors which have contributed and given support to the special exhibition on the Thai Heritage Conservation Day 2020 until its completion. The Fine Arts Department hopes that this supplementary book for the special exhibition, “Reflection on the Thai Arts through “San Somdet”, the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs” will be beneficial to the spectators of the exhibition and help enhance knowledge and the realization of the Thai people on the importance of Thai cultural heritage and brings awareness on conserving the cultural heritage of the country.

วันที่ ๒ เมษายน เปนวันคลายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี รัฐบาลไดกาํ หนดใหเปนวันอนุรกั ษมรดกไทย และมีกจิ กรรมเฉลิมฉลองเนือ่ งในโอกาสอันสําคัญนีเ้ ปนประจํา ทุกป ซึ่งกรมศิลปากรไดจัดนิทรรศการพิเศษเนื่องในวันอนุรักษมรดกไทย ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร สืบเนื่องมา ตั้งแตพุทธศักราช ๒๕๒๘ จนถึงปจจุบัน กิจกรรมเนื่องในวันอนุรักษมรดกไทย พุทธศักราช ๒๕๖๓ นี้ กรมศิลปากรไดจัดนิทรรศการเรื่อง ศิลปวิทยาการ จากสาสนสมเด็จ นําเสนอเรื่องราวในลายพระหัตถโตตอบระหวางสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ขอความในลายพระหัตถเปนเรื่องราวที่ทั้งสองพระองค ทรงสงถึงกัน มีทั้งเรื่องสวนพระองค เรื่องปกิณกะ ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร โบราณคดี ดนตรี นาฏศิลป และงานชาง ศิลปกรรม กรมศิลปากรเคยเผยแพรลายพระหัตถเหลานี้ ในชื่อ สาสนสมเด็จ เปนครั้งแรกในวารสารศิลปากร ปที่ ๑ ฉบับที่ ๒ เดือนธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๐ และตอมาไดรวมเลมจัดพิมพหลายครั้ง นับเปนหนังสือที่รวบรวมองคความรูในดานตาง ๆ และถายทอดไดอยางนาสนใจ นิทรรศการในครั้งนี้ ไดคัดเลือกเฉพาะบางสวนจากสาสนสมเด็จ ที่เกี่ยวของกับภารกิจของ กรมศิลปากร มาเลาเรื่องผานโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ภาพถาย แผนผัง สื่อจัดแสดง เพื่อแสดงแนวพระดําริและพระกรณียกิจที่ ทั้งสองพระองคไดริเริ่ม และกรมศิลปากรไดเปนผูดําเนินการรักษาสืบทอดมาโดยตลอดจนถึงปจจุบัน การจั ด นิ ท รรศการในครั้ ง นี้ กรมศิ ล ปากรได รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากสมเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปดนิทรรศการพิเศษ ณ พระที่นั่ง ศิวโมกขพิมาน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร กรมศิลปากรขอขอบคุณหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีสวนรวมและสนับสนุนการจัดนิทรรศการพิเศษ เนื่องในวันอนุรักษมรดกไทย ประจําพุทธศักราช ๒๕๖๓ ใหสําเร็จลุลวงสมดังเจตนารมณ และหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือ ประกอบนิทรรศการพิเศษ เรื่อง “ศิลปวิทยาการจากสาสนสมเด็จ” จะอํานวยประโยชนแกผูเขาชมนิทรรศการและผูสนใจให ไดรับความรูความเขาใจ และตระหนักถึงคุณคาความสําคัญของมรดกศิลปวัฒนธรรม อันจะกอใหเกิดจิตสํานึกที่ดีที่จะชวย อนุรักษสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติใหอยูสืบไป

(Mr. Prateep Phengtako) Director General The Fine Arts Department

(นายประทีป เพ็งตะโก) อธิบดีกรมศิลปากร


สารบัญ บทอาศิรวาท Speech ค�ำปราศรัย Preface ค�ำน�ำ สารบัญ บทน�ำ สองสมเด็จปฐมบทแห่งสาส์นสมเด็จ สองสมเด็จกับงานด้านพิพิธภัณฑสถาน สองสมเด็จกับงานด้านดนตรีนาฏศิลป์

• ศิลปวิทยาการจากสาส์นสมเด็จด้านดนตรี • ศิลปวิทยาการจากสาส์นสมเด็จด้านนาฏศิลป์

สองสมเด็จกับงานด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี

• • • •

งานโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ เมืองนครปฐม โบราณคดีทักษิณ เครื่องปั้นดินเผาภาคเหนือ

สองสมเด็จกับงานด้านภาษาและหนังสือ สองสมเด็จกับงานด้านศิลปกรรม

• • • • •

งานสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ สมุดภาพรามเกียรติ์ ตาลปัตรพัดพระ จากอนุสาวรีย์สู่การวางรากฐานงานประติมากรรมสากล สะพานเจริญศรัทธา ข้ามคลองเจดีย์บูชาจังหวัดนครปฐม เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงอดีต

Reflection on the Thai Arts through "San Somdet" The Correspondence between H.R.M. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.M. Prince Narisara Nuvadtivongs. • The Origins of San Somdet • The two princes and Musem Affairs in Thailand • The two princes and Performing art in Thailand • The two princes and their work in History and Archaeology • The two princes and their work in Inscription and Literature • The two princes and Arts

บรรณานุกรม


บทนำ ในยุคแรกเริ่มของการศึกษาดานประวัติศาสตร โบราณคดีและประวัติศาสตรศิลปะของไทยเมื่อกวารอยปที่ผานมา สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เปนปราชญผบู กุ เบิกและนําแนวทางการรวบรวม ศึกษาและวิเคราะหขอ มูลมาประยุกตใชในการเรียนรูใ นเรือ่ งตาง ๆ ถือไดวา แนวทางดังกลาวเปนรากฐานของกระบวนการศึกษาดานประวัติศาสตร โบราณคดี พิพิธภัณฑสถาน วรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีและนาฏศิลปอยางเปนแบบแผนของไทยในปจจุบัน จดหมายซึง่ เขียนดวยลายพระหัตถของทัง้ สองพระองค ประกอบดวยพระวิจารณและถอยอรรถาธิบายในเรือ่ งตาง ๆ เปนเอกสารอันทรงคุณคา มีคณ ุ ปู การตอการศึกษาศิลปะและวิทยาการในหลายดาน ในเวลาตอมาทายาทของสองพระองค จึงได สงมอบจดหมายดังกลาวใหกบั กรมศิลปากรเปนหนวยงานรับผิดชอบในการเก็บรวบรวมและอนุรกั ษเอกสารนีไ้ วเปนสมบัตขิ อง ชาติ โดยกรมศิลปากรไดนําจดหมายโตตอบบางฉบับของสองสมเด็จตีพิมพเปนครั้งแรกในวารสารศิลปากร เมื่อปพุทธศักราช ๒๔๘๖ ชื่อบทความ “สาสนสมเด็จ” จากนั้นกรมศิลปากรจึงอนุญาตใหเอกชนจัดพิมพเปนหนังสือ “สาสนสมเด็จ” เสมือน เปนคัมภีรถ า ยทอดองคความรูใ นศาสตรและศิลปหลายแขนงของไทยและเปนมรดกทางภูมปิ ญ  ญาทีต่ กทอดมาจวบจนทุกวันนี้ ดวยพระอัจฉริยภาพอันโดดเดนในดานประวัติศาสตร โบราณคดี งานชางและศิลปกรรมของทั้งสองพระองค ในพุทธศักราช ๒๕๐๕ องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) จึงประกาศใหสมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ “พระบิดาแหงประวัติศาสตรไทย” เปนคนไทยคนแรกที่ไดรับยกยองให เปนบุคคลสําคัญของโลกและในปตอมา UNESCO ไดประกาศยกยองใหสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรา นุวัดติวงศ “นายชางใหญแหงกรุงสยาม” เปนคนไทยคนที่สองที่ไดรับการยกยองเปนบุคคลสําคัญของโลก ถือเปนเกียรติภูมิ อันยิ่งใหญของชาติไทย กรมศิลปากรไดรวบรวมองคความรูแขนงตาง ๆ ที่ปรากฏอยูในหนังสือ “สาสนสมเด็จ” นํามารอยเรียงเปน นิทรรศการพิเศษเนื่องในวันอนุรักษมรดกไทย ประจําพุทธศักราช ๒๕๖๓ “ศิลปวิทยาการจากสาสนสมเด็จ” เพื่อ เทิดพระเกียรติสองปราชญแหงศิลปวิทยาการระดับโลก ดวยความระลึกถึงและสํานึกในคุณปู การทีส่ องพระองคไดทรงสรางไว และตองการสือ่ สารใหผชู มนิทรรศการไดเรียนรูแ ละมีความเขาใจในประวัตศิ าสตร การศึกษาดานโบราณคดีและศิลปกรรมของไทย อีกทั้งนิทรรศการครั้งนี้จะเปนแรงกระตุนใหเกิดความสนใจในการศึกษาประวัติศาสตรและศิลปวิทยาการแขนงตาง ๆ อันมี รากฐานมาจากการศึกษาที่สองสมเด็จไดวางแนวทางไวใหเจริญกาวหนาตอไป

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๑


สองสมเด็จปฐมบทแหงสาสนสมเด็จ

ภาพสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ฉายภาพรวมกันที่ ซินนามอนฮอลล เมืองปนัง ประเทศมาเลเซีย พุทธศักราช ๒๔๘๐ ที่มา : หอสมุดดํารงราชานุภาพ สํานักหอสมุดแหงชาติ

"หนังสือสาสนสมเด็จนี้ เปนลายพระหัตถสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศกบั สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ ทรงมีโตตอบกันในบัน้ ปลายแหงพระชนมชพี เมือ่ ทรงวางภาระราชการงานเมืองและทรงพักผอนอยางเงียบ ๆ พระปรีชา สามารถของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอทั้งสองพระองคนี้ ยอมเปนที่รูชัดอยูทั่วไปในหมูนักศึกษาโบราณคดี ศิลปะ วรรณคดี และการปกครอง ฉะนั้นผูที่สนใจในแขนงวิชาเหลานี้จึงนับถือสาสนสมเด็จวาเปนประหนึ่งกุญแจที่จะไขสูความสวางในปญหา ตาง ๆ ไมนอยทีเดียว...”๑ กรมศิลปากร ๒๕๐๑

ปฐมบทแหงสาสนสมเด็จ

๑ คัดจากบางสวนของคํานํา หนังสือสาสนสมเด็จ ลายพระหัตถ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา

นริศรานุวดั ติวงศ (ภาค ๔๓) พิมพเปนอนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ มหาอํามาตยตรี พระยาอุดมพงศเพ็ญสวัสดิ์ ณ เมรุวดั เทพศิรนิ ทราวาส ๒ เมษายน ๒๕๐๑. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๓


สาสนสมเด็จ เปนลายพระหัตถโตตอบหรือ “จดหมายเวร” ระหวางสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา

นริศรานุวัดติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เริ่มตั้งแต พุทธศักราช ๒๔๕๗ ถึงพุทธศักราช ๒๔๘๖ ทั้งในชวงเวลาที่สองพระองคประทับอยูในเมืองไทย และชวงเวลาที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชา นุภาพ ทรงประทับอยู ณ เมืองปนัง ประเทศมาเลเซีย สวนสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศทรง ประทับ ณ ตําหนักปลายเนิน ประเทศไทย ไดทรงมีพระวิจารณและประทานคําอธิบายเกี่ยวกับวิทยาการตาง ๆ ในลักษณะ งานวิเคราะห นับเปนพระนิพนธอันลํ้าคาของชาติ ทั้งงานดานโบราณคดี พิพิธภัณฑ ประวัติศาสตร อักษรศาสตร วรรณกรรม ศิลปกรรมและนาฏศิลป กอปรดวยพระดําริ พระวินิจฉัย และพระวิจารณในศิลปวิทยาการตาง ๆ อยางละเอียดลึกซึ้ง พระองคเจาดิศวรกุมาร (หมายเลข ๒๙) และพระองคเจาจิตรเจริญ (หมายเลข ๓๘) ทรงฉายภาพรวมกับพระราชโอรสพระราชธิดาในรัชกาลที่ ๔ ฉายเมื่อตนรัชกาลที่ ๕ ที่มา : มูลนิธินริศรานุวัดติวงศ. บานปลายเนิน คลองเตย. กรุงเทพฯ : รําไทยเพสส, ๒๕๓๗.

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ

“สาสนสมเด็จ” ลายพระหัตถ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ

วิถีแหงนักปราชญของสองสมเด็จ ศิลปวิทยาการหลากแขนงทีป่ รากฏในหนังสือสาสนสมเด็จ ลวนเปนพระวินจิ ฉัยทีผ่ า นกระบวนศึกษา วิเคราะห วิจยั แสดงถึงพระปรีชาสามารถทีท่ ดั เทียมเสมอกัน แตมคี วามสนพระทัยและเชีย่ วชาญเฉพาะดานทีต่ า งกัน ลวนเกิดจากพระวิรยิ ะ อุตสาหะ และตั้งพระทัยใฝหาความรูตั้งแตทรงพระเยาว ทั้งการศึกษาและทรงงานดานตาง ๆ ดังปรากฏในพระประวัติของ สมเด็จทั้งสองพระองค ซึ่งเปนฐานรากความรูสูพระกรณียกิจและการทรงงานเพื่อพัฒนาบานเมืองสนองพระบรมราโชบาย ของสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ในชวงเวลาทีน่ านาชาติจากดินแดนตะวันตกเริม่ คุมคามสยามประเทศ พระอัจฉริยภาพ ของทัง้ สองพระองคทปี่ รากฏบันทึกความในสาสนสมเด็จ คงเปนเพียงสวนหนึง่ ของ พระภารกิจในการธํารงรักษาประเทศและ ศิลปวัฒนธรรมของชาติที่ทั้งสองพระองคไดทรงปฏิบัติตลอดพระชนมชีพ

พระนามเดิมวา พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาจิตรเจริญ เปนพระราชโอรสลําดับที่ ๖๒ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว และพระสัมพันธวงศเธอ พระองคเจาหญิงพรรณราย (หมอมเจาหญิงพรรณราย หรือ แฉ) ประสูติใน พระบรมมหาราชวัง เมื่อวันอังคารที่ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๐๖ เดือน ๖ ขึ้น ๑๑ คํ่า ปกุน เมื่อมีพระชันษาครบเดือน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมพี ระราชพิธสี มโภชตามพระราชประเพณี พระองคทรง เปนตนตระกูล “จิตรพงศ” เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จสูสวรรคต พุทธศักราช ๒๔๑๑ พระองคเจาจิตรเจริญมี พระ ชันษาได ๕ ป ๖ เดือน ตรัสเลาใหพระธิดาในพระองคฟงวา “...ทรงจําพระราชบิดาไดนอยเต็มที จําไดแตวาทรงพระภูษาแดง ประทับเสวยบนพระเกาอีห้ มุนถอยหนาถอยหลังได และเคยไดเสวยนํา้ ชเอมในเวลาทีข่ นึ้ ไปเฝา สิง่ ของทีป่ ระดับในพระทีน่ งั่ ก็ ทรงจําไดแตวา มีลูกโลกใหญหมุนไดตั้งอยูบนโตะเตี้ย ๆ เคยบรรทมบนพื้นเอาพระบาทถีบเลน กับทรงจําไดวาทรงสังเกตเห็น มีรูปภาพทูตไทยเขาเฝาถวายพระราชสาสนแดพระเจาหลุยสที่ ๑๔ ติดอยูที่พระที่นั่งอนันตสมาคมองคเกา...” การที่ทรงจําได นี้ เขาพระทัยวาเพราะทรงสนพระทัยเรื่องรูปภาพมาแตทรงพระเยาวนั่นเอง๒ เมือ่ ยังทรงพระเยาวไดเรียนหนังสือขัน้ ตนกับ ครอกปาเพชร คือ หมอมเจาสารพัดเพชร ซึง่ เปนพระธิดาอีกพระองค หนึง่ ของกรมหมืน่ มาตยาพิทกั ษ จนเมือ่ ทรงมีความรูอ า นออกเขียนได จึงทรงศึกษาวิชาชัน้ สูงขึน้ ไปกับพระยาสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร) ตอมาพุทธศักราช ๒๔๑๕ ไดเขาทรงศึกษาในโรงเรียนทหารมหาดเล็ก ซึง่ เปนสถานศึกษาสําหรับพระบรมวงศา นุวงศและบุตรหลานขาราชการ มีการสอนภาษาอังกฤษ ซี่งเปนอาจารยชาวอังกฤษคือ มิสเตอร ฟรานซิส ยอรช แพตเตอรสัน (Mr. Francis George Patterson) สวนภาษาไทย พระยาศรีสุนทรโวหาร(นอย อาจารยางกูร) เปนผูสอน ระหวางที่ทรงพระเยาวนั้น พระองคมักเสด็จไปเขาวงปพาทยที่ประโคมขณะพระสงฆฉันเพล และเสด็จไปวัดพระ ศรีรัตนศาสดาราม ทอดพระเนตรรูปเขียนตามพระระเบียง สังเกตจําไวกลับมาตําหนักก็ใชดินสอขาวทรงเขียน ตั้งใจจะเลียน แบบ และมีสมุดเลมหนึ่งสําหรับทรงเขียนภาพดวย เมื่อรัชกาลที่ ๕ ทรงสังเกตเห็นวามีพระนิสัยใฝไปทางการชางเชนนี้ก็พอ พระราชหฤทัยและทรงสงเสริม ดวยพระองคเองก็โปรดการชาง มีพระราชดํารัสสั่งใหเขียนอะไรตอมิอะไรอยูเสมอ ภายหลัง เมื่อตามเสด็จไปที่ไหน ก็ทรงเขียนแผนที่ที่นั่นถวายโดยไมตองตรัสสั่ง ๒ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ. ๓.

๑๔

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๕


การทีท่ รงมีแวววาจะเปนชางเขียนนี้ มีหลักฐานปรากฏออกไป ถึงตางประเทศ คือ เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๑๗ กําหนดจะมีสรุ ยิ ปุ ราคา จับหมดดวงเห็นไดในกรุงเทพฯ ณ วันอังคาร ขึ้น ๑ คํ่า เดือน ๕ เวลาเทีย่ ง โหรฝรัง่ จึงขอเขามาตัง้ กลองดูสรุ ยิ ปุ ราคาเชนเคย รัชกาล ที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมาตั้งหนาพระที่นั่งจักรีมหา ปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ในครัง้ นัน้ โปรดเกลาฯ ใหเขียนรูป สุริยุปราคาประกวดกัน พระองคเจาจิตรเจริญขณะนั้นพระชันษา ๑๐ ป ทรงเขียนประกวดดวยเหมือนกัน แตเขียนดวยดินสอดํา ขี ด หยาบ ๆ พอเป น รู ป ลั ก ษณะรั ศ มี จึ ง ไม ไ ด รั บ รางวั ล อะไร โหรฝรั่งที่มาตั้งกลองสนใจในรูปที่วาดประกวดจึงขอเก็บเอาไป ดวย ตอมาเขาไดเขียนรายงานเรือ่ งสุรยิ ปุ ราคาครัง้ นัน้ ลงในหนังสือ ทางโหราศาสตรเลมหนึ่ง และคัดเลือกภาพที่เห็นวามีลักษณะตรง กับความจริงที่สุด เปนภาพประกอบเรื่อง ๒ ภาพ หนึ่งในสองภาพ คือ ภาพฝพระหัตถพระองคเจาจิตรเจริญ๓ พุทธศักราช ๒๔๑๙ พระองคไดทรงผนวชเปนสามเณร ณ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม สมเด็ จ รพะยาปวเรศวริ ย าลงกรณ เปนพระอุปชฌาย แลวไปทรงจําพรรษาอยู ณ วัดบวรนิเวศ วิ ห าร ระหว า งที่ ท รงผนวชอยู  นั้ น ได ท รงตรั ส เทศน ม หาชาติ ต ามประเพณี การเทศน ม หาชาติ นี้ ท รงสนพระทั ย มา ตั้งแตทรงพระเยาว ผลจากการที่ทรงเทศนมหาชาติครั้งนั้นยังไดประโยชนในภายหลัง เมื่อกรมพระสมมตอมรพันธ ทรงรวบรวมพิ ม พ ห นั ง สื อ เทศน ม หาชาติ ขึ้ น ก็ ไ ด ท รงช ว ยตรวจสอบทานกั ณ ฑ ม หาราชถวาย ทั้ ง ยั ง ทรงจดแหล จั ด พล พระนิ พ นธ ส มเด็ จ กรมพระปรมานุ ชิ ต ฯ ซึ่ ง ทรงจํ า ไว ใ นพระทั ย เพิ่ ม เติ ม ถวายด ว ย เมื่ อ ทรงลาผนวชสามเณร แล ว ก็ ไ ด เริ่ ม ทรงศึ ก ษาวิ ช าสํ า หรั บ ขั ต ติ ย ที่ วั ง สมเด็ จ เจ า ฟ า กรมพระยาปราบปรป ก ษ และได เรี ย นวิ ช าโบราณคดี ราชประเพณี เปนหลักในการทําราชการ เมื่อทรงงานในกรมทหารมหาดเล็กจึงทรงใชชีวิตเชนทหารสามัญทั่วไป การพระนิพนธบทรองและดนตรีบรรเลงเปนพระปรีชาอีกประการหนึง่ ดังเหตุการณในพระประวัติ เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๒๑ รัชกาลที่ ๕ เสด็จพระราชดําเนินไปประพาสจังหวัดกาญจนบุรี ไปตามลํานํ้าแควนอยจนถึงไทรโยค พระองคเจาจิตร เจริญตามเสด็จไปดวยในฐานะทหารมหาดเล็กรักษาพระองค ติดพระทัยในความงามของไทรโยคเปนอันมาก ในพุทธศักราช ๒๔๓๑ สมเด็จเจาฟากรมพระภาณุพนั ธุวงศวรเดช ผูบ ญ ั ชาการกรมยุทธนาธิการ ทรงจัดใหทหารมีงานรืน่ เริงในถวายในวันเฉลิม พระชนมพรรษารัชกาลที่ ๕ มีการแสดงของวงดุริยางคไทยของทหาร เจาฟากรมขุนนริศรานุวัดติวงศทรงอํานวยการจัดเรื่อง เลนดนตรี จึงทรงพระนิพนธบทรองรําพันถึงไทรโยค โดยปรับปรุงทํานองเพลงเขมรกลอมลูกเดิมใหมใหเหมาะกับบทรองและ บรรเลงถวายในงานนั้น ผูไดฟงติดใจจึงเรียกกันวา เขมรไทรโยค กลายเปนเพลงที่รูจักและนิยมกันแพรหลายจนถึงปจจุบัน๔ พุทธศักราช ๒๔๒๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชดําริวา อีก ๒ ป กรุงเทพฯ จะมีอายุ ครบ ๑๐๐ ป จึงเตรียมจัดงานฉลองพระนครและพระแกวมรกตดวย แตวัดวัดพระศรีรัตนศาสดารามในเวลานั้นชํารุดทรุด โทรม จึงโปรดฯ ใหซอมแซมใหมทั้งหมด ทรงเกณฑพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค เปนนายดานอํานวยการซอมกันทุก พระองค พระองคเจาจิตรเจริญไดรับโปรดเกลาฯ ใหทําหนาที่ซอมหอพระคันธารราษฎรทั้งภายนอกและภายใน ซอมและทํา ซุมพระเจดียลังกาประดับกระเบื้องใหม ซอมทํารูปยักษหนาพระอุโบสถคูหนึ่ง การซอมวัดครั้งนั้นนับเปนการรวมชางฝมือดี ๓ เรื่องเดียวกัน. ๔ – ๕. ๔ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติ ๖.

๑๖

ทุกประเภทมาประชุมกันพรอมกัน พระองคไดเห็นวิธีการทํางานและชวยพระอาจารยตาง ๆ เขียนภาพ พระองคทรงเขียน ภาพมัจฉชาดก ที่ผนังในหอพระคันธารราษฎร ซึ่งทรงเปนนายดานฝพระหัตถเอง และประดับมุกเช็ดหนาพระทวารพระพุทธ ปรางค ๑ วง ทั้งทรงรับแตโคลง รามเกียรติ์ ๑ หอง ตอน สุกสารปลอมพล เมื่อเสร็จงานจึงทรงไดความรูความชํานาญเหมือน ไดเขาโรงเรียนการชางที่ดีที่สุด ตรงกับคําโบราณที่กลาวไววา ไขเปนครูของหมอ งานเปนครูของชาง๕ พุทธศักราช ๒๔๒๕ พระองคไดทรงรับราชการเปนนายทหารมหาดเล็ก มียศเสมอนายรอยเอก ไดรับตําแหนงเปน ราชองครักษ เปนผูกํากับการกรมทหารหนา เปนผูแทนผูรับราชโองการ ในระหวางที่พระองคเจาดิศวรทรงผนวช และเปนผู บังคับบัญชารักษาพระองควังหนา พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๒๖ พระชั น ษาได ๒๐ ป ทรงพระราชดํ า ริ เ ห็ น สมควรจะมี วั ง ประทั บ อยู  เ ป น สวนพระองค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางตําหนักและตกแตง วังทาพระขึ้นใหม พระราชทานเปนที่ประทับ ทั้งทรง พระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ ให ส ร า งตํ า หนั ก อี ก หลั ง หนึ่ ง ติดตอกันเพื่อพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหหมอม เจ า พรรณรายเสด็ จ ออกมาประทั บ อยู  น อกพระราชวั ง ณ ตํ า หนั ก หลั ง นั้ น กั บ พระโอรสด ว ย (ป จ จุ บั น อยู  ใ น มหาวิทยาลัยศิลปากร) พระองคเจาจิตรเจริญ

พระสัมพันธวงศเธอ พระองคเจาพรรณราย

พุทธศักราช ๒๔๒๘ พระชันษาได ๒๒ ป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเลื่อนพระอิศริยศขึ้น ทรงกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏวา พระเจานองยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัดติวงษ๖ เสด็จพระราชดําเนินโดยกระบวนแหไปยังวังทาพระ ประทับ ณ ทองพระโรง ใหอาลักษณประกาศตัง้ กรม มีใจความสําคัญหนึง่ ซึง่ แสดงใหเห็นถึงความไววางพระราชหฤทัยและทรงเล็งเห็นพระอัจฉริยภาพของสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ความวา “...สนองพระเดชพระคุณโดยความสุจริต รอบคอบ และทรงประกอบดวยพระปญญาแลความเพียร ในการศิลปศาสตร การชาง เชี่ยวชาญทําไดดวยพระหัตถ...”๗ ตอมาพุทธศักราช ๒๔๓๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ประกาศสถาปนา ตั้งกรมขุนนริศรานุวัดติวงศ ขึ้นเปน พระเจานองยาเธอ เจาฟากรมขุนนริศรานุวัดติวงษ ดวยพระองคทรงเปนพี่นองรวม พระอัยกาขางฝายพระราชนนีกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งเปนพระราชนิยมและแบบแผนปฏิบัติมา แตครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว๘ พุทธศักราช ๒๔๓๑ พระองคมตี าํ แหนงเปนผูบ ญ ั ชาการกระทรวงยุทธภัณฑ และยังทรงงานในกรมโยธาดวย ดังนัน้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหเสด็จไปสิงคโปร ปนัง และพมา พรอมดวยพระองคเจาวัฒนานุวงศ และพระองคเจาสายสนิทวงศ เพือ่ ทอดพระเนตรกิจการฝายทหาร การวางผังเมืองและสิง่ ปลูกสรางตาง ๆ เมือ่ เสด็จกลับมาก็ได รับโปรดเกลาฯ ใหเปนอธิบดีกรมโยธา ซึง่ พระองคทรงจัดวางระเบียบรวบรวมกรมกองมาไวดว ย ตัง้ ขึน้ เปน กระทรวงโยธาธิการ ๕ ๖ ๗ ๘

เรื่องเดียวกัน, ๗. ใช “ษ” ตามเอกสารตนฉบับ คือ พระนามในพระสุพรรณบัฏ. ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ. ๑๑. ใช “ษ” ตามเอกสารตนฉบับ คือ พระนามในพระสุพรรณบัฏ. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๗


และไดรับโปรดเกลาฯ ดํารงตําแหนงเปนเสนาบดีพระองคแรกของกระทรวงโยธาธิการ ขณะนั้นแบงเปน ๕ กรม คือ กรมเบ็ดเสร็จ กรมบาญชี กรมการโยธา กรมชางและกรมไปรษณียโ ทรเลข๙ นอกจากนีก้ ระทรวงโยธาธิการยังมีหนาทีค่ ดิ ออกแบบ แปลนและดําเนินการกอสรางของกระทรวง ทบวง กรมอืน่ ๆ ดวย หรือถาจะออกแบบเองก็ตอ งใหกระทรวงโยธาตรวจควบคุม รายการกอสรางและควบคุมตรวจตัดราคาทีจ่ ะตัง้ งบประมาณเบิกเงินจากระทรวงพระคลังดวย ตอมามี กรมรถไฟเพิม่ อีก ๑ กรม โดยเหตุนี้ เจานายพี่นองจึงทรงลอเรียกกันวา นายชางใหญแหงกรุงสยาม๑๐ ตัง้ แตพทุ ธศักราช ๒๔๓๖ จนถึงป ๒๔๔๒ พระองคทรงไดรบั การโปรดเกลาฯ ใหยา ยไปมาประจําหลายสวนราชการ เชน เปนเสนาบดีกระทรวงพระคลัง เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ผูบ ญ ั ชาการทหารเรือ เสนบดีกระทรวงกลาโหม ผูแ ทนเสนาบดี กระทรวงพระคลัง ผูรั้งตําแหนงผูบัญชาการทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการและทรงยายไปเปนเสนาบดีกระทรวงวัง เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๓ และในปเดียวกัน ไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลาฯ ใหเลื่อนเปน สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศสมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ ทรงรับราชการในตําแหนง เสนาบดีกระทรวงวังมาจนถึง พุทธศักราช ๒๔๕๒ เกิดประชวรดวยโรคพระหทัยโต เพราะตรากตรําทํางานจนมีเวลาพักผอน นอยไป แพทยประจําพระองคแนะนําใหทรงลาพักราชการรักษาพระองค ก็ไมทรงยอมดวยหวงใยในพระราชกิจที่ทรงปฏิบัติ อยู จนภายหลังเกรงวาจะปฏิบัติราชการในหนาที่บกพรอง จึงกราบถวายบังคมลาออกจาราชการ ในชวงเวลานั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว มีพระราชประสงคจะปรับปรุงและสงเสริมศิลปกรรม ไทยทุกแขนงใหเจริญขึ้น ดวยการนําศิลปกรรมของชาติอื่นมาเทียบเคียง ซึ่งสมเด็จฯ เจาฟากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศเปน ชางทีท่ รงงานไดถกู พระราชหฤทัยกวาชางใด ๆ ดังนัน้ ไมวา พระองคจะทรงรับราชการแผนดินในกระทรวงใด ก็ยงั ทรงมีหนาที่ ออกแบบอยางในทางชางอยูเ สมอ งานสถาปตยกรรมทีโ่ ปรดมากก็คอื แบบพระเมรุ ดวยเปนงานทีท่ าํ ขึน้ เพือ่ ใชชวั่ คราวแลวก็ รื้อทิ้งไป เปนโอกาสไดทดลองไดใชปญญาความคิดแผลงไดเต็มที่ จะผิดพลาดไปบางก็ไมสูกระไร ตองระวังอยางเดียว แตเรื่อง ทุนเทานั้น งานทางการชางที่สมเด็จฯ เจาฟากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ ออกแบบถวายในรัชกาลที่ ๕ นั้น เชน แบบธง แบบเครือ่ งแตงกายทหาร แบบพระราชลัญจกรประจําครัง่ ประจําชาด เครือ่ งราชอิสริยาภรณ และเหรียญทีร่ ะลึกตาง ๆ พัดรอง ในงานพระราชพิธีใหญ ๆ ทางดานสถาปตยกรรมซึ่งปลูกสรางอยางแบบสากลก็มีตําหนักและพระที่นั่งหลายแหง งาน สถาปตยกรรมแบบไทยก็มีศาลาตาง ๆ พระเมรุพระราชทานเพลิงพระศพ วัดเบญจมบพิตร ทรงออกแบบตั้งแตพระอุโบสถ พระที่นั่งทรงธรรม พระระเบียง ศาลาตาง ๆ ตลอดจนรั้วราชวัตรและประตู อุโบสถและสะพานหนาวัดราชาธิวาส นอกจาก นั้นยังไดรับหนาที่ซอมแซมโบราณวัตถุที่ชํารุดอีกเปนอันมาก

สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศเสด็จตรวจทางรถไฟสายโคราช ที่มา : สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ

แบบพิมพเขียว “พระปฐมบรมราชานุสรณ” ลายเสนฝพระหัตถ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ที่มา : สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ

๙ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ. ๑๓. ๑๐ เรื่องเดียวกัน, ๑๔.

๑๘

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเลื่อนสมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมหลวงนริศรานุวัดติวงศ เปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระนริศรานุวัดติ วงศ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งในชวงเวลานี้พระองคมีพระพลานามัยไมสมบูรณ เจาพระยาเทเวศวิวัฒน จึงเชิญเสด็จ ใหลองไปประทับที่บานของทานที่คลองเตย ซึ่งทําใหพระพลานามัยแข็งแรงขึ้น จึงทรงซื้อที่นาแถวนั้นแปลงหนึ่ง แลว ซื้อเรือนไทยแบบโบราณไปสรางเปนตําหนัก ชวงแรกก็ไปประทับเฉพาะในฤดูรอน ในที่สุดก็เสด็จไปประทับ ณ ตําหนัก ปลายเนิน คลองเตย เปนการถาวร จะเสด็จเขามาประทับที่วังทาพระเมื่อมีงานพระราชพิธีหรืองานพิธีสวนพระองค เทานั้น ตลอดสมัยรัชกาลที่ ๖ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระนริศรานุวัดติวงศทรงรับราชการสนองพระเดชพระคุณในทาง การชางตาง ๆ เชน ออกแบบเครือ่ งราชูปโภค เครือ่ งราชอิสริยาภรณ พระเมรุทพี่ ระราชทานเพลิง พระศพสําคัญ แบบพัดรอง ภาพปก และภาพแทรกหนังสือที่ทรงพระราชนิพนธ ธงประจํากองลูกเสือ และทรงงานในราชการพิเศษ คือ เปนกรรมการ สภาการคลัง ตรวจงบประมาณแผนดิน กรรมการตรวจแกรางประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย กรรมการหอพระสมุด เปนตน๑๑ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๗ มีพระราชดํารัสชวนใหทรงกลับเขารับราชการแผนดิน จึงทรงรับตําแหนงอภิรฐั มนตรีทปี่ รึกษาราชการแผนดินตามพระบรมราชโองการ เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๖๘ และเมือ่ รัชกาลที่ ๗ จัดตัง้ ราชบัณฑิตยสภาขึน้ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหรบั ตําแหนงเปน อุปนายกราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากร เมือ่ วันที่ ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๙ นอกจากนัน้ ยังโปรดเกลาฯ ใหทรงงานทางการชางดังเชนทีเ่ คยสนองพระเดชพระคุณมาแลว ในรัชกาลกอน ๆ และไดทรงพนจากตําแหนงนั้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในพุทธศักราช ๒๔๗๕ และพุทธศักราช ๒๔๗๖ พระองคทรงไดรับพระราชโองการดํารัสเหนือเกลาฯ ใหทรงดํารงตําแหนงผูสําเร็จราชการแทนพระบาทสมเด็จพระ ปกเกลาเจาอยูหัว ซึ่งพระองคไดทรงปฏิบัติพระราชกิจโดยระมัดระวังอยางดีในอันที่จะรักษาพระเกียรติของพระเจาแผนดิน ผูท รงทศพิธราชธรรม และเพือ่ ชวยใหประชาชนชาวไทยทุกคณะทุกฝายไดรบั ความยุตธิ รรมเสมอกัน เมือ่ พระบาทสมเด็จพระ ปกเกลาเจาอยูหัวสละราชสมบัติ พระองคจึงทรงพนจากตําแหนงผูสําเร็จราชการแผนดิน เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๗ จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั อานันทมหิดล รัชกาลที่ ๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเลือ่ นพระองคเปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ดวยทรงงานแผนดินสนองพระเดชพระคุณพระมหากษัตริย มาถึง ๓ รัชกาลแลว ดังความสวนหนึ่งที่จารึกในพระสุพรรณบัฏวา “...ถึงแมวาทรงพระชราแลว ก็ยังไดทรงชวยราชการ นานัปการ เฉพาะอยางยิง่ โดยประทานความรูใ นศิลปวิทยาการ ตลอดจนภาษาและราชประเพณีซงึ่ ไมมผี ใู ดจะใหความรูไ ด...”๑๒ นับตั้งแตทรงพนจากตําแหนงผูสําเร็จราชการแทนพระองคในรัชกาลที่ ๗ เปนตนมา ก็มิไดทรงเกี่ยวของกับราชการแผนดิน อีก เปนแตทรงชวยในเรื่องแบบอยางทางการชางที่ทรงพอพระทัย กับประทานความเห็น คําแนะนํา คําอธิบายในเรื่องราช ประเพณี ขนบธรรมเนียม ศัพทภาษา แกผูที่มีหนาที่จะตองปฏิบัติและผูที่สนใจใครรู พระอัจฉริยภาพในศิลปวิทยาการของสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ เปนสิง่ ทีพ่ ระองคทรงสนพระทัย มานานแลว ทั้งเรื่องประเพณีและภาษาตาง ๆ ทางตะวันออก ถามีเวลาวางเมื่อใดก็ทรงศึกษาคนควาดวยพระองคเองอยูเปน นิจ เชน ทรงทดลองแปลหนังสือภาษาเขมรเลน แลวสงไปประทานพระพินิจวรรณการขอใหชวยใหเปรียญผูเชี่ยวชาญภาษา เขมรที่หอพระสมุดตรวจผลงานนั้น นอกจากนั้นถาพระองคทรงพบสิ่งแปลกใหม ก็มักมีลายพระหัตถติดตอแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกับผูที่สนใจในวิชาแขนงตาง ๆ รวมกัน ซึ่งตรัสเรียกวา เพื่อนนักเรียน เชน ตรัสเรื่องมคธภาษาพุทธประวัติ พระวินัย กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย วัดเทพศิรินทร ตรัสเรื่องดนตรี และภาษากับสมเด็จเจาฟาพระนครสวรรควรพินิต ตรัสเรื่อง ศัพทภาษาและประเพณีกับพระยาอนุมานราชธน ตรัสเรื่องการพระราชพิธีขนบธรรมเนียมเกาในพระราชสํานักกับพระยาเท วาธิราช และลายพระหัตถติดตอถึงกันกับสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ดวยเรื่องตาง ๆ ทุกสัปดาห๑๓ ๑๑ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัตเิ ฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ. พิมพครัง้ ที่ ๓ (กรุงเทพฯ : มูลนิธนิ ริศรานุวดั ติวงศ. ๒๕๓๗) ๑๘. ๑๒ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัตเิ ฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ. พิมพครัง้ ที่ ๓ (กรุงเทพฯ : มูลนิธนิ ริศรานุวดั ติวงศ. ๒๕๓๗) ๒๒. ๑๓ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัตเิ ฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ. พิมพครัง้ ที่ ๓ (กรุงเทพฯ : มูลนิธนิ ริศรานุวดั ติวงศ. ๒๕๓๗) ๒๔. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๙


ในระหวางสงครามโลกครั้งที่ ๒ ระยะหลัง พระองคเสด็จไปประทับอยูที่เกาะลอย อยุธยา และที่พระราชวัง บางปะอิน เพื่อใหสิ้นความหวงใยของผูอื่นจนเสร็จสงครามจึงเสด็จกลับมาประทับที่คลองเตยเชนเดิม ตอมาพระกําลัง ก็เสื่อมลงทุกที ดวยทรงพระชราและโรคเบียดเบียน คือ นอกจากโรคพระหทัยโต กับหลอดลมอักเสบเรื้อรัง ซึ่งเปน โรคประจํ า พระองค ต ลอดมา ก็ ยั ง มี โรคเส น โลหิ ต แข็ ง อี ก อย า งหนึ่ ง ด ว ยสิ่ ง ที่ เ คยทรงทํ า มาหลายสิ บ ป และยั ง เหลื อ ให ทรงจํ า อยู  อี ก อย า งเดี ย ว คื อ การบั น ทึ ก เหตุ การณ ป ระจํา วั น นั้ น ก็ ต อ งหยุ ด ลงเมื่ อ วั น ที่ ๔ มี น าคม ๒๔๘๙ ด วย บั ง คั บ พระสมองและพระหั ต ถ ใ ห เขี ย นไม ไ ด แ ล ว ต อ จากนั้ น พระกํ า ลั ง ก็ ท รุ ด โทรมอ อ นเพลี ย ลงเป น ลํ า ดั บ จนถึ ง วั น ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๔๙๐ ก็สิ้นพระชนมไปโดยสงบ ดวยพระหทัยหยุดทํางานเพราะพระชราภาพ พระชันษา ๘๓ ป ๑๐ เดือน ๑๒ วัน๑๔ มีการจัดพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุทองสนามหลวง เมื่อวันพุธที่ ๑๙ เมษายน ๒๔๙๓ โดย ใชพระเมรุมาศองคเดียวกับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และพระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอา นันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และนับเปนพระราชโอรสเพียงพระองคเดียวในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ที่มีพระชนมชีพมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ๑๕

พระนามเดิมวา พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาดิศวรกุมาร เปนพระราชโอรสพระองคที่ ๕๗ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ และเจาจอมมารดาชุม พระสนมเอกพระองคประสูติ ณ พระบรมมหาราชวัง เมื่อวัน ที่ ๒๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๐๕ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงนําเอานามของพระยาอัพภันตริกามาตย (ดิศ โรจนดิศ) ซึ่งเปนบิดาของเจาจอมมารดาชุมมาตั้งพระราชทาน เนื่องจากทรงพระราชดําริวาทานมีความซื่อตรง และ พระองคทรงเปนตนราชสกุล “ดิศกุล”

พระองคเจาดิศวรกุมาร ที่มา : สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับเจาจอมมารดาชุม ที่มา : สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ

เมื่อพระชันษาได ๔ ป ทรงเขารับการศึกษาชั้นประถมศึกษาที่สํานักภายในพระบรมมหาราชวัง เริ่มตนเรียนกับคุณ แสง ทรงเรียนหนังสือที่เขียนดวยหรดาลลงในสมุดไทยดํา เพราะสมัยนั้นการพิมพยังไมแพรหลายเขามาในประเทศไทย และ เรียนกับคุณปาน ราชนิกุลบุนนาค พระธิดาของสมเด็จเจาพระยาบรมมหาพิชัยญาติ เปนชวงเวลาที่หมอบรัดเลย หรือแดน บีช แบรดลีย (Mr. Dan Beach Bradley) เขามาตั้งโรงพิมพในประเทศ และพิมพหนังสือไทยขึ้น พระองคจึงใชหนังสือเรียน ที่พิมพแบบฝรั่ง คือ หนังสือ ปฐม ก.กา เปนแบบเรียนแทนหนังสือชนิดเกาจนจบการเรียนชั้นตนสูการเรียนในระดับสูงขึ้น ๑๔ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัตเิ ฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ. พิมพครัง้ ที่ ๓ (กรุงเทพฯ : มูลนิธนิ ริศรานุวดั ติวงศ. ๒๕๓๗) ๒๔. ๑๕ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๑๕๐ ป สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับพัฒนาการโบราณคดีไทย. กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศการพิมพ, ๒๕๕๕, ๖๑.

๒๐

ที่เรียกกันในสมัยนั้นวา ขึ้นสมุด คือการเรียนอานจากหนังสือที่จัดพิมพเปนเรื่อง เชน บทละครเรื่องอิเหนา รามเกียรติ์และ สามกก ตองหัดอานจนสามารถอานไดแตกฉาน ซึ่งพระองคไดกลาวถึงการเรียนของพระองคในสมัยนั้นวา “...ในเวลาที่ฉัน กําลังเรียนหนังสือนั้นประจวบกับที่หมอบรัดเลพิมพหนังสือสามกกสําเร็จ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงซื้อมา พระราชทานพระเจาลูกเธอพระองคละฉบับ ๔ เลมสมุดฝรั่ง ตั้งแตนั้นฉันก็อานหนังสือสามกกเปนหนังสือเรียน เลยชอบอาน หนังสือเปนนิสัยติดตัวมาจนบัดนี้...”๑๖ เมื่อพระชันษาได ๖ ป พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชบิดาเสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๑๑ พระองคจึงตองทรงหยุดเรียนเปนการชั่วคราวในชวงเปลี่ยนรัชกาลใหม เมือ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เปนพระเจาแผนดินองคที่ ๕ แหงราชวงศ จักรี จึงเริ่มศึกษาตามลําดับ คือเรียนภาษามคธ ซึ่งพระราชกุมารทุกพระองคตองศึกษาและมีความรูไว พระองคทรงเรียนกับ ครูเปรียญ คือ พระยาปริยัติธรรมธาดา(เปยม) เริ่มตั้งแตหัดอานตัวหนังสือขอม เรียนไวยกรณ แลวจึงเรียนแปลคัมภีร แตเรียน เพียงจบไวยกรณกเ็ ลิกเรียนเพราะไมเห็นคุณประโยชนของวิชานี้๑๗ ประกอบกับรัชกาลที่ ๕ เสด็จกลับจากประเทศอินเดียและ ไดทรงตั้งโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษขึ้นใหมในกรมทหารมหาดเล็กคูกับโรงเรียนภาษาไทย สําหรับสอนแกบรรดาพระเจานอง ยาเธอ แลวเปดโอกาสใหเจานายเลือกเองวาจะเรียนโรงเรียนไหนแลวแตพอพระทัย ดังนัน้ พุทธศักราช ๒๔๑๕ พระชันษา ๑๐ ป พระองคจงึ ทรงเลือกเขาเรียนภาษาอังกฤษกับครูผสู อนชาวอังกฤษ คือ มิสเตอร ฟรานซิส ยอรช แพตเตอรสนั (Mr. Francis George Patterson) ตลอดเวลาเรียน ๔ ป พระองคทรงสนพระทัยและขยันหมัน่ เพียร จึงเปนศิษยทไี่ ดรบั การถายทอดความรู เพิม่ เติมอยูเ สมอ ทําใหมโี อกาสออกสมาคมกับชาวตางประเทศทัง้ ทีย่ งั ทรงพระเยาวอยู ทําใหคนุ เคยกับธรรมเนียมตาง ๆ ของ ชาวตางประเทศ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๑๘ ถึงเวลาโสกันต ทรงผนวชเปนสามเณรที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แลวไปประทับจํา พรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร พระอุปชฌาย คือ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ และทรงเริ่มศึกษา โบราณคดี รวมถึงสนพระทัยในเรือ่ งเครือ่ งรางของขลัง เมือ่ ลาผนวชทรงติดตามและรับการอบรมสัง่ สอนวิชาการบานการเมือง จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวระยะหนึ่ง จึงทรงเขาเรียนโรงเรียนนายรอยทหารบก เมื่อทรงสําเร็จการศึกษา จึงเขารับราชการทหารเปนนายรอยตรี ทรงปฏิบัติหนาที่อยางมุงมั่นเขมแข็ง ตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๒๐ – ๒๔๒๘ ดวยความไววางพระราชหฤทัยของรัชกาลที่ ๕ พระองคทรงไดรับพระกรุณา โปรดเกลาฯ ใหจดั ระบบการศึกษาในหนวยงานตาง ๆ เชน โรงเรียนมหาดเล็กหลวง โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ และจัดตัง้ กรมแผนที่ทหาร ซึ่งชวงเวลาที่รับราชการทหาร พระองคไดรับความรูและประสบการณในวิชาทหารโดยตรงทั้งความเด็ดขาด ระเบียบวินัยและการเปนผูนํา พุทธศักราช ๒๔๒๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ สถาปนาขึ้นเปนพระองคเจาตางกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏวา พระเจานองยาเธอ กรมหมื่นดํารงราชานุภาพ พุทธศักราช ๒๔๓๐ – ๒๔๕๕ พระองครับหนาที่เปนผูกะการเสด็จประพาสหัวเมืองตาง ๆ พุทธศักราช ๒๔๓๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั โปรดเกลาฯ เปนผูบ งั คับบัญชาทหารมหาดเล็ก และ ผูบัญชาการทหารบก กรมยุทธนาธิการ ตามลําดับ และเมื่อไดรับการแตงตั้งเปนอธิบดีกรมธรรมการ ไดทรงเปลี่ยนแบบเรียน สําหรับนักเรียนใหม ในพุทธศักราช ๒๔๓๑ เปนแบบเรียนเร็ว ๓ เลม พุทธศักราช ๒๔๓๒ เปนสภานายกหอพระสมุดวชิรญาณ พุทธศักราช ๒๔๓๓ เปนอธิบดีกรมศึกษาธิการ พุทธศักราช ๒๔๓๔ ทําหนาที่ขาหลวงตางพระองคไปรับเจาชายซารวิช รัชทายาทรัสเซียที่เมืองสิงคโปร และเปน ราชทูตพิเศษตางพระองคไปเจริญสัมพันธไมตรียังทวีปยุโรป เชื่อมความสัมพันธกับประเทศตาง ๆ ในทวีปยุโรปและเอเชีย คือ ๑๖ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ. ความทรงจํา (พระนคร : โรงพิมพเจริญธรรม, ๒๔๙๔) ๒๗ – ๒๘. ๑๗ หนาเดียวกัน. ๒๘. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๑


รัสเซีย อิตาลี เดนมารก ปรัสเซีย ตุรกี กรีก ฝรั่งเศส อียิปต และอินเดีย ระหวางวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๔๓๔ ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๔๓๕ การเสด็จไปตางประเทศของพระองคครั้งนี้เปนสวนหนึ่งของนโยบายตางประเทศของลนเกลารัชกาลที่ ๕ ใน ขณะนั้น และมีความประสงคใหคณะทูตชุดนี้ดูงานวิชาการแขนงตาง ๆ เพื่อนํามาปรับปรุงประเทศดวย ในโอกาสเดียวกันก็ เพื่อเผยแพรชื่อเสียงของประเทศไทยใหกวางขวางในหมูชาวตางประเทศมากกวาแตกอน เมือ่ รัชกาลที่ ๕ ประกาศแกไขระเบียบการปกครองแผนดิน เมือ่ วันที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๓๕ ทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ ใหพระองคดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย นับเปนเสนาบดีองคแรกของกระทรวงนี้ พระองคทรงวาง แบบแผนของการปกครองระบบใหมจนสําเร็จไดดว ย ถือเปนความชอบครัง้ ใหญ รัชกาลที่ ๕ จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ สถาปนาเปน พระองคเจาตางกรม ดังจารึกพระนามตามพระสุพรรณบัฏเปน สมเด็จพระเจานองยาเธอ กรมหลวงดํารงราชา นุภาพ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๒ พุทธศักราช ๒๔๔๘ เปนกรรมการหอพระสมุดวชิรญาณ เมื่อทรงตั้งเปน หอพระสมุดสําหรับพระนคร พุทธศักราช ๒๔๕๓ (ร.ศ.๑๒๙) วันอาทิตยที่ ๒๖ มิถุนายน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ถอดพระ ธํามรงคจากนิว้ พระหัตถแลวมีรบั สัง่ วา “กรมดํารง เธอกับฉันเหมือนกับไดแตงงานกันมานานแลว ขอใหเธอรับแหวนวงนี้ เปน แหวนทีฉ่ นั ไดใสอยูเ อง ไวเปนของขวัญในวันเกิดกับรูปทีฉ่ นั ถายเมือ่ อายุเทาพระพุทธเลิศหลานภาลัย อันนับวาเปนสวัสดิมงคล ขอใหเธอมีความสุขความเจริญมัน่ คง แลใหอายุยนื จะไดอยูช ว ยรักษาแผนดินตอไป” ขอความดังกลาวเปนขอความทีจ่ ารึกอยู ใตพระบรมฉายาลักษณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ที่พระราชทานแด สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ องคปฐมเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ผูท รงเสมือน “พระหัตถขวา” เปนกระแสพระราช ดํารัสของรัชกาลที่ ๕ ตรัสยืนยันถึงความเปนบุคคลสําคัญกอนที่พระองคจะสวรรคตเพียง ๔ เดือน (วันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๔๕๓) สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ โปรดเกลาฯ ใหเลื่อนพระอิสริยยศเปน สมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระดํารงราชานุภาพ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๔ วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๔๕๘ เนื่องจากสุขภาพเสื่อมโทรมไมสามารถปฏิบัติงานไดอยางที่ผานมา จึงขอลาออกจาก ตําแหนงเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ที่ทรงดํารงตําแหนงมายาวนานกวา ๒๓ ป แตยังทรงรับหนาที่ดูแลหอพระสมุดสําหรับ พระนคร พุทธศักราช ๒๔๕๙ โปรดเกลาฯ ใหดํารงตําแหนงผูอํานวยการกอตั้งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๔๖๖ ดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงมุรธาธาร (รักษาเครื่องราชอิสริยาภรณและสัญญาบัตร) จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ ดํารงตําแหนงองคมนตรี ในรัชกาลที่ ๗ และนายก ราชบัณฑิตยสภา พุทธศักราช ๒๔๖๙ และไดรบั พระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระสุพรรณบัฏเลือ่ นเปน สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๒ ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เสด็จมณฑลนครราชสีมาครั้งสุดทายเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๗๒ วัตถุประสงคในการเสด็จครั้งนี้ก็เพื่อทอดพระเนตรโบราณวัตถุสถานซึ่งกําลังทรุดโทรมและหักพังลงไปเรื่อย ๆ ผิดกับ การเสด็จครั้งกอน ๆ สมัยทรงดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เพื่อทรงตรวจราชการเกี่ยวกับการปกครอง ความ วา “...สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงใฝพระทัยที่จะทรงสรางพิพิธภัณฑสถานขึ้นตามตางจังหวัด แตขณะนั้นงบ ประมาณของราชบัณฑิตยสภายังมีนอย ประจวบกับการรักษาโบราณวัตถุในตางจังหวัดก็ยังไมปลอดภัยเพียงพอ ดวยเหตุนี้ ถาไดทรงพบโบราณวัตถุชิ้นใดที่ดี สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพก็มักจะทรงขอมาเก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ กรุงเทพฯ ซึ่งขณะนั้นเรียกวาพิพิธภัณฑสถานสําหรับพระนครกอน...”๑๘ ๑๘ บริบาลบุรภี ณ ั ฑ, ขุน. จดหมายเหตุการณเสด็จตรวจโบราณวัตถุสถาน มณฑลนครราชสีมาของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ พ.ศ.๒๔๗๒.

๒๒

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ขณะดํารงตําแหนง เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ณ ศาลาลูกขุน ในพระบรมมหาราชวัง ที่มา : หอสมุดดํารงราชานุภาพ สํานักหอสมุดแหงชาติ

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพเสด็จตรวจโบราณสถาน วัดพระศรีสรรเพชญ อยุธยา ที่มา : หอสมุดดํารงราชานุภาพ สํานักหอสมุดแหงชาติ

พระอัจฉริยภาพในการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เห็นไดจาก งานดานหอ พระสมุดวชิรญาณ ตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๓๒ – ๒๔๗๕ โดยทรงเปนสภานายกหอพระสมุดวิชรญาณ บรรณารักษสารณียากร กรรมการหอพระสมุดวชิรญาณ รวมถึงการสงเสริมใหจดั สรางอาคารถาวรเพือ่ ใชเปนทีต่ งั้ ของหอพระสมุดฯ ในขณะทีท่ รงงาน ในหอพระสมุดฯ นั้น ทรงไดรวบรวม คนหาหนังสือโบราณของไทยทั้งวรรณคดี พงศาวดาร พระพุทธศาสนา และตําราวิชา ตาง ๆ ไวในหอพระสมุด อีกทั้งรวบรวมตูลายทอง ศิลาจารึก จากแหลงตาง ๆ มาไว นอกจากการรวบรวมหนังสือ เอกสาร โบราณแลว ยังไดศึกษาคนควาวิชาการที่เกี่ยวกับชาติตะวันตก อินเดีย และชาติตะวันออก จากนั้นจึงเผยแพรเพื่อสงเสริมให ประชาชนมีความรู๑๙  วิธกี ารศึกษาทางวิชาการของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ พบวาหากทรงสนพระทัยในวิชาการสาขาใดโดย เฉพาะอยางยิ่งทางโบราณคดี จะทรงศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ดวยการสนทนากับผูรูที่พระองคเรียกวา นักปราชญเฉพาะดาน เชน ทรงสนทนากับศาสตราจารย คัลแลนเฟล นักโบราณคดีชาวฮอลันดาที่เขาไปทํางานที่ปนัง เกี่ยวกับเรื่องราวโบราณคดี สมัยกอนประวัติศาสตรและโบราณคดีชวา ศาสตราจารยฟูแชร ชาวฝรั่งเศส เกี่ยวกับเรื่องพระพุทธรูปในอินเดีย และสนทนา เรื่องโบราณคดี จารึกและโบราณคดีเขมรกับโปรเฟส เซอรยอรจ เซเดส เปนตน รวมทั้งการศึกษาภาคสนามหรือการลงพื้นที่ จริงทั้งในประเทศและตางประเทศ เห็นไดจากการเสด็จตรวจราชการหัวเมืองตาง ๆ ทําใหไดพบแหลงโบราณคดี โบราณวัตถุ ที่เปนหลักฐานทางประวัติศาสตรอีกมาก เมื่อเสด็จกลับมาก็ทรงศึกษาคนควาจากหนังสือตาง ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาตาง ประเทศแลว จะทรงหาโอกาสเสด็จไปทอดพระเนตรแหลงโบราณคดีหรือโบราณสถานนั้น ๆ เนื่องจากทรงตระหนักดีวา การ รูเห็นดวยสายพระเนตรของพระองคเอง จะทําใหเขาใจสิ่งนั้น ๆ ไดชัดเจนขึ้น และงายตอการวินิจฉัย๒๐ เมือ่ เกิดเหตุการณเปลีย่ นแปลงทางบานเมืองครัง้ สําคัญ พุทธศักราช ๒๔๗๕ พระองคจงึ เสด็จไปประทับทีซ่ นิ นามอน ฮอลล เมืองปนัง ประเทศมาเลเซีย เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๖ พระองคทรงมีกิจกรรมที่สําคัญระหวางประทับอยูที่นั่น คือการมี ลายพระหัตถถงึ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ และปราชญทา นอืน่ เพือ่ แลกเปลีน่ ความรูอ ยูเ สมอตอมาพระองค ประชวรดวยโรคพระหทัยพิการ ซึ่งเริ่มมีพระอาการตั้งแตเดือนธันวาคม ๒๔๘๔ จึงเสด็จกลับมารักษาพระอาการประชวร ในประเทศไทย เมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๕ จนสิ้นพระชนมเมื่อวันพุธที่ ๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๖ ณ วังวรดิศ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สิริพระชันษา ๘๑ ป (กรุงเทพฯ : มูลนิธิ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพฯ, ๒๕๓๑) ๑๐.

๑๙ สถาบันดํารงราชานุภาพ. วารสารดํารงราชานุภาพ ปที่ ๑๒ ฉบับที่ ๔๓ เมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๕. ๗ – ๒๔. ๒๐ คณะโบราณคดี . ๑๕๐ ป สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับพัฒนาการโบราณคดีไทย.(กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศการพิมพ, ๒๕๕๕) ๖๒. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๓


สองสมเด็จ ผูทรงเปนบุคคลสําคัญของโลก

พระอัจฉริยภาพและพระคุณูปการของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ผูทรงนิพนธความรูดานการศึกษา โบราณคดีและประวัติศาสตรของชาติ จึงไดรับการถวายพระสมัญญาวา “พระบิดาแหงประวัติศาสตรไทย” สวนสมเด็จอีก พระองคหนึ่ง คือ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงจัดการงานชางหลากแขนงในกระทรวงโยธาธิการไดเปน อยางดี เมื่อครั้งดํารงตําแหนงเสนาบดีพระองคแรก จนไดรับการถวายพระสมัญญาวา “นายชางใหญแหงกรุงสยาม” นอกจากสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอทั้งสองพระองคจะไดรับการยกยองใหเปนปราชญแหงสยามประเทศแลว ยัง ทรงไดรับการยกยองสดุดีเปนบุคคลสําคัญของโลก โดยองคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (Unesco) ถวายสดุดีแดสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เปนบุคคลสําคัญของโลก ทางดานการศึกษา การปฏิรูปการ ปกครอง การสาธารณสุข และประวัตศิ าสตรโบราณคดี ประจําป ๒๕๐๕ เนือ่ งในวาระฉลองวันประสูตคิ รบ ๑๐๐ พรรษา สมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๐๕ ซึ่งพระองคเปนคนไทยคนแรกที่ไดรางวัลนี้ และ พุทธศักราช ๒๕๐๖ องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (Unesco) ไดถวายสดุดีแดสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เปนบุคคลสําคัญของโลกทางดานวัฒนธรรม ประจําป ๒๕๐๖ นับเปนคนไทยคนที่ ๒ ที่ ไดรับการยกยองเปนบุคคลสําคัญของโลก เนื่องในวาระฉลองวันประสูติครบ ๑๐๐ พรรษา๒๑

สายสัมพันธสองสมเด็จสู...สาสนสมเด็จ พระปรี ช าสามารถและความเป น อั จ ฉริ ย ภาพของทั้ ง สองพระองคเริ่มตั้งแตทั้งสองพระองคทรงพระเยาวดวยทรงเปนพระ ราชโอรสในพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู  หั ว ที่ มี พ ระชั น ษา ใกลเคียงกัน อีกทั้งยังทรงมีความสนพระทัยในดานตาง ๆ ที่ใกลเคียง กัน คือประวัติศาสตรโบราณคดี คีตศิลป นาฏศิลป อักษรศาสตร ศิลปะ และวัฒนธรรม เมื่อรัชกาลที่ ๔ สวรรคต ทั้งสองพระองคยัง ทรงพระเยาว จึงไดรับพระบรมราชูปถัมภจากพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระเชษฐา ใหไดรับการศึกษาศิลปวิทยาการ ทั้งภาษาตางประเทศ วิชาขัตติยะ ราชประเพณี กอเกิดเปนความสน พระทัยเฉพาะสวนพระองค เมื่อสําเร็จการศึกษาทั้งสองพระองคได รับพระมหากรุณาธิคุณและความไววางพระราชหฤทัยจากรัชกาลที่ ๕ จนถึงรัชกาลที่ ๗ ใหทรงงานราชการในกรมการและกระทรวงทีเ่ หมาะสม และมอบหมายพระราชกรณียกิจสําคัญทัง้ ในประเทศและตางประเทศให ดําเนินการ ซึ่งสองสมเด็จทรงรับราชการและปฏิบัติพระกรณียกิจดวย มุงมั่นพระทัย ทั้งปรับปรุง ริเริ่มกอตั้งหนวยงานและสรางสรรคผลงาน วิชาการ และศิลปกรรมตาง ๆ ที่ทั้งอนุรักษและพัฒนา เปดรับแนวคิด และวิธีปฏิบัติอยางตะวันตก โดยผานกระบวนการตรวจสอบและมีพระ วินิจฉัยเปนลายพระหัตถระหวางกันเสมอ จึงนับเปน “สาสนสมเด็จ” อยางเปนทางการ ตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๕๗ เปนตนมา

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จฯ เจาฟากรม พระยานริศรานุวัดติวงศ และพระโอรสและธิดา ณ ชินนามอนฮอลล เมืองปนัง ประเทศมาเลเซีย ที่มา : หอสมุดดํารงราชานุภาพ สํานักหอสมุดแหงชาติ

รางลายพระหัตถและสาสนสมเด็จฉบับสุดทาย

ตําหนักไทย บานปลายเนิน คลองเตย ที่ประทับและทรงงาน ของสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ที่มา : มูลนิธินริศรานุวัดติวงศ. บานปลายเนิน คลองเตย. กรุงเทพฯ : รําไทยเพสส, ๒๕๓๗.

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ประทับ ณ ชินนามอน ฮอลล เมืองปนัง ประเทศมาเลเซีย ที่มา : หอสมุดดํารงราชานุภาพ สํานักหอสมุดแหงชาติ

๒๑ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจา. พระประวัติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ.๒.

๒๔

เมื่อเขาสูปจฉิมวัย เกิดเหตุการณการเปลี่ยนแปลง การปกครองในพุทธศักราช ๒๔๗๕ สมเด็จฯ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ ไดเสด็จไปประทับ ณ ซินนามอนฮอลล เมืองปนัง ตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๗๖ สวนสมเด็จฯ เจาฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ยังคงประทับ ณ ตําหนักปลาย เนิน คลองเตย ในชวงเวลากวา ๑๐ ป ตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๗๖ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๘๕ แมวาสถานที่ประทับจะ หางไกลกัน แตทั้งสองพระองคยังทรงปฏิบัติตอกันเหมือน เชนเคย ยังทรงประมวลความรูจ ากประสบการณการทรงงาน และคนควาศิลปวิทยาการใหมจากโลกตะวันตกมาเปนเครือ่ ง หยอนพระทัย เปรียบไดกบั “สาสนสมเด็จ” ในเชิงสันทนาการ ระหวางปราชญอุดมบัณฑิตแหงกรุงสยาม ถือเปนหนังสือ อางอิงในการศึกษาความรูหลากแขนงและเปนจดหมายเหตุ ทางประวัติศาสตรสําคัญ เปนคลังความรูของชาติจนเปนที่ รูจักกันในนาม "สาสนสมเด็จ"

แมพระอาการประชวรของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ตั้งแตเสด็จกลับประเทศไทย จะทรุดและทรง แต พระองคยงั ทรงงานบนโตะทํางานดวยความมุง มัน่ เขียนลายพระหัตถเพือ่ ประโยชนแหงความรู ในเดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๘๖ ณ วังวรดิศ ลายพระหัตถฉบับสุดทายของพระองคที่ทรงรางไวเพื่อถวายสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เปนเรื่องลักษณะเรียกพระเจาแผนดินแตโบราณ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน แตรับสั่งวา “ยังไมจบ” และทรงเขียนตออีกสวน หนึง่ ประทานลงมาวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน แตกย็ งั ไมสมบูรณ จึงยังไมไดจดั สง ทรงรางลายพระหัตถคา งไวบนโตะทรงพระอักษร จนถึงวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ในขณะที่คืนวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๘๖ สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงมีลายพระหัตถ อีกฉบับหนึง่ ลงพระนามแลวใสซองปดผนึก มอบใหมหาดเล็กเพือ่ ใหนาํ ไปสงในวันรุง ขึน้ แตลายพระหัตถนนั้ ยังไมทนั สงถึงวังว รดิศ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศกท็ รงไดรบั ทราบขาวรายการสิน้ พระชนมของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชา นุภาพ ในวันบายของวันที่ ๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๖๒๒ เมื่อเสด็จกลับจากการเยี่ยมพระศพสมเด็จฯ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพ ที่วังวรดิศ มหาดเล็กนําจดหมายเวรที่คางสงมาถวายคืน ทรงรับดวยพระหัตถสั่นระรัว ตรัสเพียงประโยคเดียววา “เลิกกันที”๒๓

๒๒ ดวงจิตร จิตรพงศ, หมอมเจาหญิง. พระประวัติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ.๒๔. ๒๓ โต จิตรพงศ, ม.ร.ว. พระประวัติและฝพระหัตถของสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ. ฉบับพิมพในงานพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจาฟากรมพระยา

นริศรานุวัดติวงศ ณ เมรุสนามหลวง พ.ศ.๒๔๙๓. ๔๒.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๕


เมื่อสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ สิ้นพระชนม ทายาท ของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอทั้งสองพระองค ไดรวบรวมลายพระหัตถของสมเด็จทั้งสองพระองคประทานใหหอสมุดดํารง ราชานุภาพ กรมศิลปากร เก็บรักษาไวเปนสมบัติของชาติ ซึ่งเปนลายพระหัตถในชวงพุทธศักราช ๒๔๗๐ - ๒๔๘๖ ประกอบ ดวย ฉบับรางดินสอ ฉบับพิมพดว ยเครือ่ งพิมพดดี ทีท่ รงตรวจแกไข และฉบับจริงทีพ่ ระองคทรงเขียนดวยปากกาและฉบับจริงที่ เปนพิมพดดี ลายพระหัตถทมี่ ถี งึ กันระหวางสมเด็จทัง้ สองพระองคนนั้ เปนการแลกเปลีย่ นความรูแ ละประสบการณในศาสตร แขนงตาง ๆ ของทั้งสองพระองคจึงเปนเอกสารที่ทรงคุณคาตอวงการวิชาการเปนอยางยิ่ง ศาสตราจารย พระยาอนุมานราชธน (ยง เสถียรโกเศศ) อธิบดีกรมศิลปากรในสมัยนัน้ ไดนาํ ลายพระหัตถของสมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอทัง้ สองพระองค จัดพิมพเปนครัง้ แรกในหนังสือ “วารสารศิลปากร” อันเปนนิตยสารของกรมศิลปากร และ ตัง้ ชือ่ วา “สาสนสมเด็จ” เริม่ จากวารสารศิลปากร ปที่ ๑ เลมที่ ๒ เดือนธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๙๐ และมีการจัดพิมพตอ เนือ่ ง เรือ่ ยมา ปรากฏวาผูส นใจอานสาสนสมเด็จกันมาก ตอมามีผขู ออนุญาตพิมพแจกในงานศพอีกหลายรายโดยจัดพิมพแบงเปน ภาคตาง ๆ ซึง่ ไดจดั พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพ พระยามโนปกรณ นิตธิ าดา (กอน หุตสิ งิ ห) เปนรายแรก เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๙๒ กับไดเคยอนุญาตใหนายจรูญ คุม วงศ นําไปพิมพจาํ หนาย เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๙๑ แตยงั มีตน ฉบับสาสนสมเด็จทีย่ งั ไมพิมพเหลืออยูอีกมาก กรมศิลปากรเห็นวาสาสนสมเด็จเปนที่สนใจแกผูใฝหาความรูทั่วไป จึงไดรวบรวมจัดพิมพทั้งหมด โดยใหกองจดหมายเหตุแหงชาติจดั พิมพสารบัญรวมเรือ่ งไวทา ยเลม เพือ่ สะดวกแกการคนควา เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๙๙

รางลายพระหัตถฉบับสุดทาย ของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ พุทธศักราช ๒๔๘๖ (ดานหนาและดานหลังรางลายพระหัตถฉบับสุดทาย)

รางลายพระหัตถฉบับสุดทายบนโตะทรงพระอักษร พระธิดาในสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดคัดยก รางขึ้นถวายสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เมื่อทรงเสด็จมาบําเพ็ญพระราชกุศลสตมวารที่ ๒ ที่หนาพระศพ ณ วังวรดิศ เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๖ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงมีลายพระหัตถถึง หมอมเจาหญิงจงจิตรถนอม ดิศกุล พระธิดาองคใหญในสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ถึงรางลายพระหัตถฉบับสุดทาย นั้นวา “...เสียดายเต็มทีที่สิ้นพระชนมเสีย จะกราบทูลอะไรไมไดทั้งนั้น...”๒๔ การสิน้ พระชนมของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ นับเปนการสูญเสียครัง้ ยิง่ ใหญ และเปนการสิน้ สุดลงของ “สาสนสมเด็จ” ลายพระหัตถสมเด็จระหวางสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพและสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ ที่มีถึงกันอยางยาวนานมากกวา ๓๐ ป ตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๕๗ – ๒๔๘๖

๒๔ คณะโบราณคดี . ๑๕๐ ป สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับพัฒนาการโบราณคดีไทย.(กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศการพิมพ, ๒๕๕๕) ๖๒.

๒๖

วารสารศิลปากรที่ ๑ เลม ๒ เดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๙๐

ในโอกาสครบรอบวันประสูตปิ ท ี่ ๑๐๐ ของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพ วันที่ ๒๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๐๕ ทายาทของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดมอบลายพระหัตถสาสนสมเด็จใหองคการคา คุรุภารวบรวมจัดพิมพเปนชุดหนังสือภาษาไทยของคุรุสภา ใชชื่อชุดหนังสือ ตามที่เคยพิมพในวารสารศิลปากรวา “สาสนสมเด็จ” เพื่อนําผลประโยชน จากการพิมพหนังสือไปจัดตั้งมูลนิธิเพื่อชวยเหลือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุน ในการศึกษาเลาเรียนในชั้นอุดมศึกษา อนึง่ ในการรวบรวมลายพระหัตถ “สาสนสมเด็จ” ของทายาทเพือ่ ให องคการคาคุรสุ ภาจัดพิมพไดทรงพบวา ยังมีลายพระหัตถของสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอทั้งสองพระองคกอนพุทธศักราช ๒๔๗๕ จํานวนหนึ่ง เปนลาย พระหัตถตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๕๗ ซึ่งทายาททรงเห็นวาเปนโอกาสที่จะนํา มารวบรวมไวเปนชุดเดียวกัน จึงไดทรงมอบใหองคการคาคุรุสภาจัดพิมพ ลายพระหัตถทั้งหมดเผยแพรเปนหนังสือชุด ในชื่อวา “สาสนสมเด็จ” เปน หนังสือจํานวน ๒๗ เลม ซึ่งเลมที่ ๒๗ จัดพิมพเปนสารบาญคนเรื่อง และจัด พิมพเปนครัง้ แรก เมือ่ พุทธศักราช ๒๕๐๕๒๕ เปนเหตุใหหนังสือสาสนสมเด็จ ที่มีการจัดพิมพตอมาเปนหนังสือ “สาสนสมเด็จ” ที่หมายถึงลายพระหัตถ ตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๕๗ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๘๖ ปจจุบันลายพระหัตถ สาสนสมเด็จเก็บรักษาไวที่หอสมุดดํารงราชานุภาพ สํานักหอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร

๒๕ คุรสุ ภา. สาสนสมเด็จ เลม ๑ ลายพระหัตถสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ.

พิมพครั้งที่ ๑ (พระนคร : คุรุสภา, ๒๕๐๕) ๑ – ๓.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๗


หนังสือสาสนสมเด็จ (๒๗ เลม) องคการคาคุรุสภา จัดพิมพ เมื่อพ.ศ.๒๕๐๕

หนังสือสาสนสมเด็จ พ.ศ.๒๔๕๗ – ๒๔๗๙ (๑๐ เลม) องคการคาคุรุสภา จัดพิมพ เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๔

จากสาสนสมเด็จสูงานอนุรักษมรดกไทย

หนังสือ “สาสนสมเด็จ” แมจะเปนหนังสือรวบรวมองคความรูศิลปวิทยากรไวตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๕๗ - ๒๔๘๖ เปนเวลากวา ๑๐๐ ปแลว แตปจจุบันหนังสือนี้ก็ยังคงเปนคลังความรูที่บรรจุและสะสมยศิลปวิทยาการเกือบทุกแขนงที่เปน คุณูปการตองานของประเทศไทย และที่สําคัญยิ่ง คือเปนจุดเริ่มตน เปนแบบอยางและแนวทางในการอนุรักษและพัฒนางาน ดานมรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยเฉพาะงานอนุรักษและพัฒนาของกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ในปจจุบัน ไดแก งานดานโบราณคดี พิพิธภัณฑ ประวัติศาสตร อักษรศาสตร วรรณกรรม ศิลปกรรมและนาฏศิลป

พระรูปสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ รัตนโกสินทร พุทธศักราช ๒๔๓๔ หินออน กวาง ๔๗ เซนติเมตร สูง ๗๐ เซนติเมตร หนา ๒๕ เซนติเมตร หอสมุดดํารงราชานุภาพ หอสมุดแหงชาติ

พระรูปสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ สลักหินออน นํามาจากประเทศอิตาลี พระรูปคงสรางขึ้นเมื่อคราวที่ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก ใน พ.ศ.๒๔๓๔ ขณะนั้นมีพระชันษา ๒๙–๓๐ ชันษา ดาน หลังฐานพระรูปสลักอักษรอังกฤษ ภาษาอิตาเลี่ยน คําวา “…CLERICI. ROMA 18…” คําวา CLERICI เปนชื่อประติมากร คือ นายลิโอเน เกลลิชิ (Leone Clerici) เปนชาวอิตาลี และ ROMA คือการปนแบบโรมัน สวนตัวเลข 18 เปนป ค.ศ.ที่สราง แต หายไป ๒ ตัว ถาอักษรตัวหนาและเลขหลังที่หายไปครบถวน จะเปนคําวา L. CLERICI. ROMA 1891 (ตรงกับ พ.ศ.๒๔๓๔) ซึ่งเปนชื่อประติมากรใชในการสรางผลงาน พระรูปองคนเี้ ดิมตัง้ อยูท หี่ อสมุดดํารงราชานุภาพ (หลังแรก) ทีต่ งั้ อยูร ะหวางหอพระสมุดวชิราวุธ (อาคารถาวรวัตถุ) กับวัดมหาธาตุยุวราษฎรรังสฤษฏ ใกลกับพระบรมมหาราชวัง โดยนํามาตั้งไวในวันเปดหอสมุดดํารงราชานุภาพ เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๐ ปจจุบันตั้งอยูที่หอสมุดดํารงราชานุภาพแหงใหมในพื้นที่วังวรดิศ ถนนหลานหลวง สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพนับเปนหนึง่ ในพระราชวงศชนั้ สูงของไทยทีเ่ ปดรับแนวคิดและศิลปกรรมแบบตะวันตก เพือ่ แสดง ใหเห็นวาสยามประเทศมีความรวมสมัยกับนานาประเทศในทวีปยุโรปและอเมริกา


พระรูปสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ รัตนโกสินทร ปนหุนตนแบบ พ.ศ. ๒๔๖๖ หลอบรอนซ พ.ศ. ๒๕๔๙ บรอนซ (สําริด) กวาง ๒๓ เซนติเมตร สูง ๔๒ เซนติเมตร พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป

พระรูปสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวตั วิ งศ ปน หุน ตนแบบโดย ศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี ทีด่ า นหลังฐานพระรูปมีจารึกระบุการสรางวา ประติมากรรมตนแบบ สรางขึน้ พ.ศ. ๒๔๖๖ และหลอบรอนซ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๙ จากพระรูปตนแบบที่เก็บรักษาไว ณ วังปลายเนิน คลองเตย การสรางพระรูปสมเด็จสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ คงเปนระยะแรกที่ศาสตราจารยศิลป พีระศรี เขามาทํางานในประเทศไทย และการสรางพระรูปบุคคลชั้นสูงของพระองค นับวาเปนจุดเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อของ คนไทยแตโบราณ จากเดิมที่ไมสรางรูปเหมือนของบุคคลที่ยังมีชีวิต แตสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศเปนพระ ราชวงศพระองคแรกที่ยอมรับแนวคิดแบบตะวันตก และยินดีใหศาสตราจารยศิลป พีระศรี ปนหุนตนแบบและหลอบรอนซ อีกทั้งเปนแบบอยางในการสรางพระบรมราชานุสาวรีย พระบรมรูป พระรูป และรูปปนเหมือนบุคคลจริงในชวงเวลาตอมา และศาสตราศิลป พีระศรี ไดกลายเปนหนึ่งในพระสหายสนิทในการทรงงานดานศิลปกรรมแบบตะวันตกของสมเด็จฯ เจาฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ

รางลายพระหัตถฉบับสุดทายของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ กระดาษ กวาง ๑๕.๕ เซนติเมตร ยาว ๓๐.๕ เซนติเมตร หอสมุดดํารงราชานุภาพ

รางลายพระหัตถของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ บนโตะทรงพระอักษร ณ วังวรดิศ ทีม่ ถี งึ สมเด็จฯ เจาฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงรางดวยดินสอไว ๒ หนากระดาษ เปนเรื่อง ลักษณะเรียกพระเจาแผนดินแตโบราณ ทรงรางคางไวถึงคําวา อยางที่ ๒ พระนามเฉลิมพระเกียรติ...พระรวง วันสุดทายของการทรงพระอักษร คงเปนวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๘๖ ตามหนาปฏิทินที่เปดไวบนโตะทรงพระอักษรหลังจากนั้นทรงประชวรไมสามารถทรงพระอักษร ไดอกี และสิน้ พระชนมในวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๖ รางลายพระหัตถฉบับนีจ้ งึ เปนรางลายพระหัตถฉบับสุดทายของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ นับเปนการสิน้ สุด “สาสนสมเด็จ” ระหวางสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอทัง้ สองพระองคทมี่ ถี งึ กันมา ยาวนานกวา ๓๐ ป


กลองถายรูป แมกกาซีนฟลม และกระเปา กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๕ หนัง โลหะ และกระจก กลองถายรูป กวาง ๕.๖ เซนติเมตร ยาว ๑๔.๒ เซนติเมตร สูง ๘.๕ เซนติเมตร กระเปากลองถายรูป กวาง ๖.๖ เซนติเมตร ยาว ๑๖ เซนติเมตร สูง ๑๒ เซนติเมตร แมกกาซีนฟลม ยาว ๑๔ เซนติเมตร สูง ๘ เซนติเมตร กระเปาแมกกาซีน กวาง ๘ เซนติเมตร ยาว ๑๖ เซนติเมตร สูง ๑๙ เซนติเมตร หอสมุดดํารงราชานุภาพ

กลองถายภาพและแมกกาซีน พรอมกระเปาหนังสีนาํ้ ตาล ยีห่ อ BREVETE S.G.D.G. CORNU ONTOSCOPE PARIS 1924 ขนาดฟลม ๔๗ x ๑๐๕ มิลลิเมตร ผลิตจากกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ซึ่งสมเด็จฯ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ ทรงใชฉายภาพตาง ๆ จํานวนมาก ทัง้ ฉายภาพสวนพระองค อาทิ บุคคลในครอบครัว และทรงใชในการเสด็จ ตรวจราชการมณฑลตาง ๆ มีทั้งภาพโบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาพบุคคล เชน ผูรวมเดินทาง ผูมาเฝารับเสด็จ ผูภาพทิวทัศน สภาพแวดลอมของสถานที่ที่ทรงเสด็จไป ซึ่งกลายเปนมรดกทางวัฒนธรรมและหลักฐานสําคัญทางประวัติศาสตร โบราณคดี การเมืองการปกครองของไทย การถายภาพเขามาในสมัยสมเด็จพระนัง่ เกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๓ ในยุคแรกนิยมในหมูช นชัน้ สูง เนือ่ งจากมีคา ใชจา ยทีส่ งู ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๕ พระราชนิยมในการถายภาพทําให เกิดการแพรหลายในหมูเจานาย ขุนนาง และผูนิยมการถายภาพมากขึ้น ตอมา พ.ศ. ๒๔๗๒ ภายหลังจาการผลิตฟลมชนิด เซลลูลอยด ทําใหการถายภาพดวยฟลมกระจกไดรับความนิยมลดลงและเลิกใชในการบันทึกภาพทั่วไป สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ขณะทรงดํารงตําแหนงสภานายกหอพระสมุดวชิรญาณ ทรงริเริม่ ในการจัดตัง้ แผนกจดหมายเหตุรวมถึงหอรูปขึ้น ไดทรงขอพระราชทานฟลมกระจกสวนพระองครัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๖ รวมถึงภาพ ของพระองคที่ทรงฉายไว และบางสวนจากรานถายรูปฉายานรสิงห มารวบรวมไวในหอรูป มีขนาดตั้งแต ๔ นิ้ว ถึง ๑๒ นิ้ว ฟลมกระจกชุดนี้จึงถูกเรียกตามแหลงที่มาวา “ฟลมกระจกชุดหอพระสมุดวชิรญาณ” และในวันที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่ประชุมคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ ไดประกาศใหฟลมกระจก และภาพตนฉบับจากฟลมกระจกชุดหอพระสมุดวชิรญาณ ขึ้นทะเบียนเปนมรดกความทรงจําแหงโลก นับเปนเอกสารลําดับ ที่ ๕ ของประเทศไทย ที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกความทรงจําแหงโลก

แปลนปฐมบรมราชานุสรณ เฉลิมพระนคร ๑๕๐ ป พ.ศ. ๒๔๗๕ กระดาษ กวาง ๘๔.๑ เซนติเมตร ยาว ๑๑๘.๙ เซนติเมตร หอจดหมายเหตุแหงชาติ

เปนแปลนแบบเกาทีเ่ รียกกันวา พิมพเขียว (Blueprint) มีขอ ความในแปลนวา “ปฐมบรมราชานุสรณ เฉลิมพระนคร ๑๕๐ ป พุทธศักราช ๒๔๗๕” พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ ไดมีพระราชดําริใหจัดสรางพระบรมราชา นุสาวรียพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ พระปฐมกษัตริยแหงราชวงศจักรี ดวยสํานึกในพระ มหากรุณาธิคุณและเปนการแสดงกตัญูกตเวทิตาคุณของชาวสยาม ในโอกาสเฉลิมฉลองที่กรุงเทพมหานคร อายุครบ ๑๕๐ ป พ.ศ.๒๔๗๕ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ขณะที่พระองคเปนอุปนายก ราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากร ดําเนินการออกแบบปฐมราชานุสรณ ซึ่งพระองคเปนผูออกแบบพระบรมรูปพระปฐมบรม ราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ และศาสตราศิลป พีระศรี เปนผูปนหุนตนแบบ


สองสมเด็จกับการพิพิธภัณฑสถาน นายดิษพงศ เนตรลอมวงค ภัณฑารักษชํานาญการพิเศษ

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพ ทรงเปนผูอ ปุ ถัมภกจิ การพิพธิ ภัณฑสถานมาโดยตลอด โดยเฉพาะอยางยิง่ เมือ่ คราวทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัว ทรงฟนฟูกิจการพิพิธภัณฑสถาน ทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหโอนกิจการพิพิธภัณฑสถานอยูในความดูแลของราช บัณฑิตยสภา ซึง่ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงดํารงตําแหนงนายกราชบัณฑิตยสภา และสมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศทรงดํารงตําแหนงอุปนายก แผนกศิลปากร แมภายหลังทัง้ สองพระองค จะกราบบังคมทูลลาออกจากการรับราชการแลว ก็ยังทรงหวงใยและกลาวถึงพิพิธภัณฑสถานอยูเสมอ ดังเชนที่ปรากฏใน จดหมายสวนพระองคทที่ รงมีถงึ กันและตีพมิ พลงในสาสนสมเด็จหลายครัง้ ทีแ่ สดงใหเห็นวา ทรงมีความรูแ ละความเขาใจในการ บริหารจัดการพิพิธภัณฑสถานตามหลักวิชาการสากล เชน การรวบรวมวัตถุ การทําทะเบียนประวัติวัตถุ การศึกษาหาความรู เกี่ยวกับวัตถุ การตรวจสอบวัตถุดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร เปนตน

กับการพิพิธภัณฑสถาน

พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินพรอมดวยสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินี ในพิธีเปดพิพิธภัณฑสถาน สําหรับพระนคร เมื่อ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๙ ทรงฉายภาพรวมกับกรรมการราชบัณฑิตยสภาที่ดานหนาพระที่นั่งพุทไธสวรรย (จากซายไปขวา) ๑. พระยาโบราณราชธานินทร ๒. สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ นายกราชบัณฑิตยสภา ๓. สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ อุปนายกแผนกศิลปากร ๔. พระราชวรวงศเธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ อุปนายกแผนกวรรณคดี ๕. หมอมเจาปยะภักดีนาถ สุประดิษฐ

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๓๕


“...เมือ่ วันที่ ๓๑ เดือนกอน เกลากระหมอมไปพิพธิ ภัณฑสถานเห็นตัง้ รางรานเกะกะภายในขึน้ ยันขือ่ ถามหลวงบริบาล วาอะไรกัน แกบอกกลัววาขื่อจะตกลงมา เกลากระหมอมเห็นวาหากกลัวแตที่พระที่นั่งพุทไธสวรรยก็พอทําเนาเพราะเกา แกมากแลว นี่กลัวในพระที่นั่งอิศราวินิจฉัยตั้งรางรานขึ้นคํ้าไวดวยคิดจะเกินเหตุ หลวงบริบาลวาคลังตกลงจะใหเงินซอม ปละสามหมืน่ ปหนาวาจะลงมือซอมพระทีน่ งั่ พุทไธสวรรยกอ น พระทีน่ งั่ อืน่ ทีก่ ต็ งั้ รางรานแรคอยซอมตอไป เงินปละสามหมืน่ ซึ่งคลังจะใหนั้นก็วามิใชเงินที่ไหน เปนเงินของพิพิธภัณฑสถานที่ฝากคลังไวนั้นเอง...” วันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๖ จดหมายลายพระหัตถที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศทรงมีถึงสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ แสดงใหเห็นถึงความสนพระทัยของทั้งสองพระองค ที่มีตอกิจการพิพิธภัณฑสถาน จากภาพถายเกาของสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ แสดงใหเห็นภาพไมคํ้ายันในอาคารตางๆของพระราชวังบวรสถานมงคล ทีใ่ ชเปนพิพธิ ภัณฑสถานสําหรับพระนคร ตรงกับทีไ่ ดทรงบรรยายไวในสาสนสมเด็จ และดังทีไ่ ดทรงกลาวไววา งบประมาณทีใ่ ช ซอมแซมในครัง้ นัน้ ก็มาจากการดําเนินกิจการพิพธิ ภัณฑภายใตการดูแลของราชบัณฑิตยสภา ทีท่ งั้ สองพระองคทรงเปนนายก และอุปนายก จึงนับไดวาทั้งสองพระองคทรงมีคุณูปการตอการพิพิธภัณฑสถานอยางแทจริง

ภายในพระที่นั่งพุทไธสวรรย เมื่อคราวบูรณะ พ.ศ. ๒๔๗๖

ภายในพระที่นั่งพุทไธสวรรย หลังการบูรณะ พ.ศ. ๒๔๗๖

๓๖

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๓๗


พระที่นั่งพุทไธสวรรย ขณะทําการบูรณะ พ.ศ. ๒๔๗๖

พระที่นั่งพุทไธสวรรย หลังการบูรณะ พ.ศ. ๒๔๗๖

๓๘

พระที่นั่งปฤษฎางคภิมุข

ทองพระโรงหลัง

พระที่นั่งภิมุขมณเฑียร

พระที่นั่งวายุสถานอมเรศ

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๓๙


การนําโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุมาเก็บรักษาในพิพิธภัณฑ “...หมอมฉันไปครั้งนั้นเห็นแตเครื่องศิลาของโบราณที่พวกมหันตรื้อเอาไปประดับไวที่อื่น นึกอยากไดมาบาง ลองทาบทาม มหาพราหมณมหันตก็อนุญาตวา ถาหมอมฉันชอบใจศิลาจําหลักชิ้นไหนก็ใหเลือกเอาตามชอบใจ เปนเหตุ ใหไดเครื่องศิลาขนาดโบราณพอจะยกขนเอามาได เชนรอยพระพุทธบาท (ที่อยูเกาะสีชัง) กับทั้งพระพุทธรูปและพระสถูป ของโบราณ (ที่อยูในพิพิธภัณฑสถานบัดนี้ มาถวายสมเด็จพระพุทธเจาหลวงหลายชิ้น...” วันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๐

พระที่นั่งทักษิณาภิมุข

ขอความขางตนสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงบอกเล า เรื่ อ งราวเมื่ อ ทรงได รั บ การแต ง ตั้ ง ให เ ป น ราชทู ต เพื่ อ เจริ ญ สัมพันธไมตรียังทวีปยุโรป ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๔ ขณะเดินทางกลับไดแวะชมศาสนสถานที่พุทธคยาใน ประเทศอินเดีย ซึ่งขณะนั้นเปนอาณานิคมของอังกฤษ ทรงพบปะและสนทนา กับหัวหนาพราหมณที่เรียกวามหันต (Mahant) ซึ่งเปนผูที่ดูแลที่ดินบริเวณ พุทธคยา ทรงเห็นวาพวกพราหมณนั้นไดรื้อศิลาที่ประดับอยูตามศาสนสถาน ไปประดับบานเรือน และหลุมฝงศพ จึงไดขอมาเพือ่ ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูห วั เมือ่ ทัง้ สองพระองคทรงดํารงตําแหนงนายก และอุปนายก ราชบัณฑิตยสภา มีหนาทีก่ าํ กับดูแลพิพธิ ภัณฑสถาน จึงไดทรงขอพระราชทาน โบราณวัตถุศิลาเหลานี้ มาจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานสําหรับพระนคร หรือ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนครในปจจุบัน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงพระอุตสาหะ ที่ทรงพยายามรวบรวมวัตถุจากสถานที่ตางๆมาจัดแสดงในพิพิธภัณฑ พระพุทธรูปแสดงอัษฏมหาปาฏิหาริย หรือพระพุทธรูปแปดปาง สมเด็จ ฯ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพทรงนํามาจากพุทธคยา ประเทศอินเดีย เพื่อถวายแดพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ตอมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงขอ พระราชทานกลับมาเพื่อจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานสําหรับพระนคร

การศึกษาวิเคราะหโบราณวัตถุ ดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร “...มี น ายพั น เอกทหารอั ง กฤษคนหนึ่ ง ซึ่ ง เคยอยู  ใ นธิ เ บตมากรุ ง เทพ ทู ต อั ง กฤษชั ก นํ า มาหม อ มฉั น พาไปดู พิพิธภัณฑสถาน ถึงตูพระพิมพดินดิบ ถามแกวาพระพิมพอยางนี้ที่ในธิเบตมีหรือไม แกบอกวาเขายังทํากันอยูจนทุกวันนี้ ถาพระผูใ หญมรณภาพเผาศพแลวเขาเอาอัธฺ าตุโขลกผสมดินทําเปนพระพิมพเชนนี้ เมือ่ ไดเคาเชนวา หมอมฉันใครจะทดลอง ใหถึงที่ ไดเอาพระพิมพที่ชํารุดองค ๑ สงไปใหกองแยกธาตุตรวจ ก็ไดความวามีธาตุอัฺอยูในนั้น เปนอันไดความแจมแจง...” พระที่นั่งวสันตพิมาน พระที่นั่งตางๆในหมูพระวิมาน พระราชวังบวรสถานมงคล ขณะเตรียมการบูรณะเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๖

๔๐

วันที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๖ Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๔๑


พระพิมพดินดิบ เปนโบราณวัตถุที่พบตามแหลงโบราณคดีที่มีความ เกีย่ วเนือ่ งกับพุทธศาสนาในประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิง่ ทางภาคใต พบ พระพิมพดนิ ดิบตามถํา้ ศาสนสถานหลายแหง ตัง้ แตจงั หวัดนครศรีธรรมราช ถึงจังหวัดยะลา แตประวัตคิ วามเปนมาทีแ่ ทจริงไมมใี ครทราบแนชดั สมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงพยายามศึกษา คนควาและสืบคน จนทรงทราบวา ธรรมเนียมการทําพระพิมพแบบนี้ พบในประเทศพมาและอินเดียเชนกัน ตอมาเมื่อมีนายทหารอังกฤษจาก ทิเบตมาชมพิพิธภัณฑสถาน และไดชมพระพิมพดินดิบ จึงไดทรงถามวาที่ ทิเบตมีการทําพระพิมพแบบนี้หรือไม ทหารชาวอังกฤษผูนั้นตอบวามีทํา จนถึงในปจจุบัน โดยจะใชเถาอัฐิของพระเถระผสมกับเนื้อดินแลวจึงอัด เปนพระพิมพ เมื่อไดทราบคติดังนั้นแลว จึงทรงคนหาความจริงโดยสง ตัวอยางชิน้ สวนพระพิมพ ใหกรมแยกธาตุตรวจสอบ กรมแยกธาตุกร็ ายงาน กลับมาวามีเถาอัฐิผสมอยูในพระพิมพจริงๆ จึงนับไดวาทรงริเริ่มใชวิธี การทางวิทยาศาสตรเพื่อศึกษาคนควาและวิเคราะหเกี่ยวกับโบราณวัตถุ ในประเทศไทยเพิ่มเติมจากการศึกษาทางประวัติศาสตรศิลปะ พระพิมพรูปพุทธประวัติตอนมหาปาฏิหาริย สมเด็จเจาฟากรมพระนริศรานุวัติวงศ ไดมาจากถํ้าคูหาสวรรค จังหวัดพัทลุง พระราชทานใหกับพิพิธภัณฑสถาน สําหรับ พระนครเมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๗๖

การศึกษาคนควาเรื่องรูปแบบและประวัติที่มาของวัตถุ “...ที่วังบางขุนพรหมในหองที่เราไปนั่งประชุมปรึกษากฎหมายมีตูอยู ๒ ใบ เปนเอาบานประตูมาตัดใส ใบเล็กเปน ลายเต็ม ใบใหญเปนลายชอง (เรียกตามที่ตรัสเรียก) ที่จะเปนบานวัดบรมพุทธารามที่ไฟไหมตัดเอาไวแตที่เหลือยังดี บานตูใบ เล็กถูกเจียนมาก แตใบใหญนั้นถูกเจียนนอยจะมีจารึกหรือไมก็ไมทราบ และเดี๋ยวนี้ไปอยูที่ไหนก็ไมทราบ เห็นแตคิดวาจะอยู ที่พิพิธภัณฑสถานจะสืบดู...” วันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๓ “...ตูมุกของทูลกระหมอมชายนั้น หมอมฉันเขาใจวา เดี๋ยวนี้อยูที่พิพิธภัณฑสถาน บานตู ๒ ใบนั้น หมอมฉันก็ยัง จําลายได หมอมฉันเคยไดยนิ วาพระธรรมราชาฯ วัดศาลาปูนไดบานนัน้ มาจากวัดบรมพุทธาราม เมือ่ ถูกไฟไหมแลว ดูประหลาด อยูที่บานมุกบรรดาเคยอยูในพระนครศรีอยุธยาและยังอยูจนบัดนี้ลวนมาแตวัดบรมพุทธารามทั้งนั้น ที่สรางสําหรับวัดอื่นหา ปรากฏไม นึกวาคงมีเชนที่ในวัดพระศรีสรรเพชญ เปนตน แตเห็นจะถูกไฟไหมเมื่อเสียพระนครสูญไปหมด วัดบรมพุทธาราม อยูหางไมถูกไฟไหมในครั้งนั้นจึงเหลือมา...” วันที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๓

๔๒

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๔๓


บานประตูมุก จากวัดบรมพุทธาราม จัดแสดงอยูที่มุขหนา พระที่นั่งพรหมเมศธาดา ในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

บานประตูมุกในพิพิธภัณฑสถาน วัดบรมพุทธาราม นับเปนงานศิลปกรรมชิ้นเอกในดานงานประดับมุกสมัยอยุธยา โดยปจจุบนั ยังคงเหลือใหศกึ ษาได เพียง ๓ ชิน้ ไดแก บานประตูมกุ วัดบรมพุทธาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีจารึกระบุการสราง พุ ท ธศั ก ราช ๒๒๙๕ รั ช สมั ย สมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว บรมโกศ พุทธศักราช ๒๔๔๓ พระญาณไตรโลกาจารย (อาจ จนฺทโชติ) วัดศาลาปูน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถวายบานประตูประดับมุก แดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื่องในการ สถาปนาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม แตถูกเก็บรักษาไวที่ กระทรวงวังมิไดใชงาน พุทธศักราช ๒๔๖๙ พระบาทสมเด็จ พระปกเกล า เจ า อยู  หั ว รั ช กาลที่ ๗ โปรดเกล า ฯ ให ย  า ย บานประตูประดับมุกจากกระทรวงวังมาจัดแสดง ที่มุขหนา พระที่ นั่ ง พรหมเมศธาดา พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานสํ า หรั บ พระนคร พุทธศักราช ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหนําบานประตูประดับมุกจากพิพิธภัณฑสถาน สํ า หรั บ พระนคร ไปประกอบเข า ที่ ป ระตู ห อพระมณเฑี ย ร ธรรม ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เนื่องในการบูรณะวัดพระ ศรีรตั นศาสดาราม คราวฉลองพระนครครบ ๑๐๐ ป พุทธศักราช ๒๕๕๐ สมเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ า กรมสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชปรารภใหกรม ศิลปากรจําลองบานประตูประดับมุกขึ้นทดแทนบานประตูมุก หอพระมณเฑียรธรรมตามแบบเดิมทุกประการ พุทธศักราช ๒๕๕๖ กรมศิ ล ปากร โดยสํ า นั ก ช า งสิ บ หมู  ดํ า เนิ น การถอด บานประตูมกุ เดิมทีห่ อพระมณเฑียรธรรมและประกอบบานประตู ประดับมุกใหมทดแทน และใหนบานประตูคูเดิมมาเก็บรักษา ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห ง ชาติ ดั ง ในป จ จุ บั น ส ว นอี ก สองชิ้ น ไดแก ตูพ ระธรรมใบใหญ และใบเล็ก ทีเ่ ปนสมบัตเิ ดิมของ สมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพตั รสุขมุ พันธุ กรมพระนครสวรรค วรพิ นิ ต ได ต กทอดมาถึ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานในป จ จุ บั น เช น กั น พระวินจิ ฉัยของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชา นุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรา นุ วั ด ติ ว งศ เรื่ อ งบานประตู แ ละตู  พ ระธรรมที่ ดั ด แปลงจาก บานประตูวัดบรมพุทธารามนี้ แสดงใหเห็นถึงความสนพระทัย ทีจ่ ะศึกษาถึงประวัติ ทีม่ า ของโบราณวัตถุ ซึง่ เปนพืน้ ฐานของการ ดําเนินงานในการจัดการวัตถุพิพิธภัณฑตามหลักสากล

การรวบรวมวัตถุเพื่อความรู “...เคยนึกในใจวาหมอมเจาปยะฯ รวบรวมสิง่ เหลานัน้ ดวย “ความรัก” มิใชรวบรวมดวย “ความรู” สุดแตอะไรเปน ของเกา เห็นแปลกก็หาซื้อเอามาไว แตเธอลงทุนมาก และพยายามสะสมมาชานานจึงมีของมาก หมอมฉันไดไปดูหลายครั้ง โดยเฉพาะเมื่อกําลังจัดพิพิธภัณฑสถานของหลวง เคยอยากไดของเจาปยะมาไวในพิพิธภัณฑของหลวงไมกี่สิ่ง วาตามที่จําได ในเวลานี้คือ เงินพดดวงตราตางๆอยางหนึ่ง หนังสือเรื่องตางๆที่เขียนสมุดไทย อันเปนตัวตนฉบับในหอหลวงครั้งรัชกาลที่ ๑ อยางหนึ่ง (แตหมอมฉันไดขอคัดสําเนาไวแลวทั้งนั้น ลับแลลายกํามะลอ เชียนเรื่องอิเหนา ฝมือครั้งรัชกาลที่ ๓ แผนหนึ่ง กับ ดูเหมือนมีพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์องคหนึ่งที่หมอมฉันชอบ...” วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๗๙ “...ของสะสมของหมอมเจาปยภักดีนารถ เกลากระหมอมก็เคยชําเลืองดู นึกชอบใจแตเงินตรา เธอเก็บไวไดมากจริง...” วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๗๙ พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ ไดรบั โบราณวัตถุทเี่ ปนของสะสมของหมอมเจาปยะภักดีนาถ มาเปนสมบัตชิ าติ โดยรัฐบาล ขณะนัน้ จัดซือ้ จากทายาทดวยงบประมาณ ๔๐,๐๐๐ บาท สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงกลาว ถึงการรวบรวมวัตถุของหมอมเจาปยะภักดีนาถวาเปนการรวบรวมเพราะความรัก มิใชเพือ่ ความรู ซึง่ การรวบรวมวัตถุเพือ่ ความ รูนั้น เปนหัวใจหลักสําคัญของการทํางานพิพิธภัณฑ ซึ่งในปจจุบัน โบราณวัตถุของหมอมเจาปยะภักดีนาถ ที่พิพิธภัณฑสถาน ไดรับมาถูกจัดเก็บไวเพื่อความรูของสาธารณชนจนถึงปจจุบันนี้ ดังเชนวัตถุที่ไดกลาวถึงในสาสนสมเด็จ ไดแก ฉากลับแลเรื่อง อิเหนา พระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ และเงินพดดวง เปนตน เมื่อกรมศิลปากร ไดรับวัตถุเหลานี้มาจัดแสดง จะมีกระบวนการและ ขัน้ ตอนการทํางานอยางเปนระบบตัง้ แตการทําทะเบียน อนุรกั ษ ศึกษาคนควา และเผยแพรจดั แสดง ซึง่ เปนการรวบรวมวัตถุ เพื่อใหความรูอยางแทจริง

ฉากลับแลเรื่องอิเหนา พระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ และเงินพดดวง โบราณวัตถุชิ้นสําคัญจากพิพิธภัณฑของหมอมเจาปยะภักดีนาถ ที่กรมศิลปากรไดจัดซื้อและจัดแสดงอยูในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนครในปจจุบัน

๔๔

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๔๕


แผนศิลาจําหลักรูปอัษฏมหาปาฏิหาริย (พระพุทธรูปแปดปาง) ศิลปะอินเดีย แบบปาละ พุทธศตวรรษที่ ๑๔ หินชิสตสีดํา สูง ๗๐ กวาง ๔๔ ซม. กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดมาจากเมืองพุทธคยา ประเทศอินเดีย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๔ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Stele depict Ashta Maha Pratiharya (Eight Great Events from the Life of the Buddha) India, Pala Style 10th Century Black schist H. 70 W. 44 c.m. Prince Damrong Rajanupharb acquires from Bodh Gaya, India National Museum Bangkok

แผนศิลาสลักนูนสูงเปนภาพเลาเรื่องเรื่องพุทธประวัติตอนสําคัญแปดตอนไวในแผนเดียวกัน โดยมีพระพุทธรูป ปางมารวิชยั บนฐานปทม รองรับดวยสิงหาสนบัลลังกหมายถึงพุทธประวัตติ อนตรัสรู ณ พุทธคยา เปนประธาน แวดลอมดวยภาพ เลาเรื่องพุทธประวัติตอนตางๆ โดยในแตละตอนมีความเกี่ยวกันกับสถานที่แสวงบุญทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ดังนี้ ซายลาง เปนภาพพุทธมารดาเหนีย่ วกิง่ ไมแสดงปางประสูตทิ ลี่ มุ พินี เหนือขึน้ ไปเปนพระพุทธรูปประทับนัง่ หอยพระบาทแสดง ปางปฐมเทศนาที่สารนาถ ดานซายบนเปนพระพุทธรูปประทับยืนแสดงปางเสด็จลงจากดาวดึงสที่เมืองสังกัสสะ ดานบนสุด เหนือฉัตรแสดงปางปรินพิ พานทีเ่ มืองกุสนิ ารา ถัดลงมาทางดานขวาบนแสดงตอนทรมานชางนาฬาคีรี ทีเ่ มืองราชคฤห ตํา่ ลงมา เปนปางแสดงยมกปาฏิหาริยท เี่ มืองสาวัตถี และขวาลางสุดแสดงตอนรับบาตรจากพญาวานรทีป่ า เลไลยก เมืองเวสาลี แผนศิลานี้ พรอมดวยประติมากรรมชิ้นอื่นอีกจํานวน ๖ รายการ สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงขอมาจากหัวหนาพราหมณ ที่ดูแลพุทธคยาเพื่อนํามาถวายแดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จกลับจากทวีปยุโรป เมื่อป พ.ศ. ๒๔๓๔ ตอมาเมือ่ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดรบั แตงตัง้ ใหเปนนายกราชบัณฑิตยสภาและดูและการจัดการพิพธิ ภัณฑสถาน จึงไดกราบบังคมทูลขอพระราชทานจากพระบาทสมเดจพระปกเกลาเจาอยูห วั มาจัดแสดงในพิพธิ ภัณฑสถานสําหรับพระนคร เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๔๖๙


ลับแลพรอมฐาน แสดงภาพจากวรรณคดีเรื่องอิเหนา ศิลปะรัตนโกสินทร พุทธศตวรรษที่ ๒๔ ไม ลงรักปดทอง ลายกํามะล ลับแล สูง ๑๔๕ กวาง ๒๖๘ ซม. ฐาน กวาง ๕๓ ซม. ยาว ๒๖๘ ซม. กรมศิลปากร ซื้อมาจากหมอมเจาปยะภักดีนาถ ๓๑ ธันวาคม ๒๔๗๙ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Screen on stand with a scene from I-nao, a famous literature, composed by King Rama II Rattanakosin, by an anonymous artisan in the reign of King Rama II, Ca. 1809-1824 Lacquer, pigmented natural resin, and gilding on wood Screen: H. 145 cm. L. 268 cm. Stand: W. 53 L. 298 cm. Purchased from MC. Piyaphakdinat, 31 December 1936 National Museum Bangkok

ลับแล หรือฉาก ใชสําหรับบังตา กั้นหอง แบงพื้นที่ใหเปนสัดสวน ลับแลบานนี้ มีความพิเศษคือตกแตงดวยวิธีลงรัก ปดทองเขียนลายกํามะลอ คือนอกจากจะมีการปดทองคําเปลวแลว จะมีการผสมสีฝนุ กับนํา้ รัก ระบายใหมสี สี นั บนพืน้ ผิวดวย สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ทรงสันนิษฐานวาวิธกี ารนี้ ไดมาจากชางจีนทีอ่ ยูใ นประเทศไทย และชางไทยก็นํามาดัดแปลงเขียนลงบนตูพระธรรม หีบพระธรรม ตางๆ นอกจากวิธีการตกแตงที่พิเศษแลว เรื่องราวที่เขียนก็ มีความแตกตางจากงานจิตรกรรมทั่วไปที่มักเขียนภาพในเรื่องรามเกียรติ์ ชาดก หรือพุทธประวัติ แตลับแลบานนี้ เขียนเรื่อง อิเหนา ดานหนึ่งเปนตอนที่อิเหนาเสด็จไปงานพระเมรุของพระอัยยิกา อีกดานหนึ่งเปนตอนอิเหนาพบนางบุษบา อันเปนบท พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๒ เดิมลับแลนี้อยูในพิพิธภัณฑของหมอมเจาปยะภักดีนาถ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศทรงเคยทอดพระเนตร และอยากไดมา ไวในพิพิธภัณฑสถาน ตอมา กรมศิลปากรไดซื้อและนํามาจัดแสดงอยูในพิพิธภัณฑสถานถึงปจจุบัน

พระไภสัชยคุรุ ศิลปะเขมรในประเทศไทย พุทธศตวรรษที่ ๑๘ สัมฤทธิ์ สูง ๖๐.๕ ตักกวาง ๒๗.๕ ซ.ม. กรมศิลปากร ซื้อมาจากหมอมเจาปยะภักดีนาถ ๓๑ ธันวาคม ๒๔๗๙ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Bhaisajyaguru Buddha Khmer art in Thailand 13th Century Bronze H. 60.5 W. 27.5 cm. Purchased from MC. Piyaphakdinat, 31 December 1936 National Museum Bangkok

พระพุ ท ธรู ป มี ลั ก ษณะเหมื อ นพระพุ ท ธรู ป นาคปรกทั่ ว ไปคื อ ประทั บ นั่ ง ขั ด สมาธิ มี ข นดนาครองรั บ สามชั้ น นาคมีเจ็ดเศียรแผพังพานรูปทรงเหมือนใบไมอยูดานหลัง สวมเทริด กุณฑลและกรองศอ อันเปนลักษณะทั่วไปของ ศิลปะแบบบายน สิ่งที่แตกตางจากพระพุทธรูปนาคปรกองคอื่นคือ ที่พระหัตถมีหมอยา หรือหมอนํ้าอํามฤตวางอยู อั น เป น ลั ก ษณะทางประติ ม านวิ ท ยาของรู ป เคารพในพุ ท ธศาสนาฝ า ยมหายานคื อ พระไภยสั ช ยคุ รุ หรื อ พระพุ ท ธเจ า แพทย ผูปดเปาโรคภัย ตามคัมภีรไภสัชยคุรุไวฑูรยประภาคตสูตร ที่แพรหลายในดินแดนของอาณาจักรเขมรโบราณ ในรั ช สมั ย ของพระเจ า ชั ย วรมั น ที่ ๗ ประติ ม ากรรมนี้ เป น วั ต ถุ ชิ้ น เอกในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ข องหม อ มเจ า ป ย ะภั ก ดี น าถที่ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ กลาวไวในสาสนสมเด็จวา อยากไดมาไวในพิพธิ ภัณฑสถาน อีกชิน้ หนึง่


ตูพระธรรม บานตู ศิลปะอยุธยา รัชสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศ พุทธศักราช ๒๒๙๕ ไม ลงรัก ประดับมุก กวาง ๙๒ ซม. สูง ๑๔๘.๘ ซม. จอมพลเรือ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนครสวรรค วรพินิต ประทานเมื่อ วันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๔๗๕ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Manuscript Cabinet Cabinet panels Ayutthaya, Reign of King Borommakot Ca.1752 Lacquered wood with mother-of-pearl inlay W. 92 cm. H. 148.8 cm. Presented by Marshal-Admiral Paribatra Sukhumbandhu, Prince of Nakhon Sawan, 2 November 1932 National Museum Bangkok

ตูพระธรรมประดับมุก เปนลายกระหนกเครือเถา บานซายเปนรูปพระนารายณทรงครุฑ บานขวา เปนรูป พระอินทรทรงชางเอราวัณ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศทรงวินจิ ฉัยวาเปนตูพ ระธรรมทีด่ ดั แปลง มาจากบานประตูวัดบรมพุทธาราม เนื่องจากมีลวดลายเหมือนกับบานประตูที่ยังคงเหลืออีกคูหนึ่ง ซึ่งเจาอาวาสวัดศาลาปูน ทู ล เกล า ถวายพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู  หั ว และได นํ า ไปใช เ ป น บานประตู ห อพระมณเฑี ย รธรรมเมื่ อ คราวบูรณะในสมัยรัชกาลที่ ๗ ตอมาในพ.ศ. ๒๕๕๐ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชปรารภใหทําบานจําลองเพื่อทดแทนและถอดบานจริงมาไวในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนครในปจจุบัน ซึ่งบานประตูดังกลาว มีจารึกการสรางในรัชสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศ พุทธศักราช ๒๒๙๕

พระพิมพ ศิลปะศรีวิชัย พุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ ดิน กวาง ๖.๕ สูง ๗ ซ.ม. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ประทานเมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๔๗๖ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Votive Tablet Srivijaya Art 9th Century Clay W. 6.5 H. 7 cm. Presented by Prince Narisara Nuvadtivongs, 10 October 1933 National Museum Bangkok

พระพิมพรูปพระพุทธเจานั่งหอยพระบาท (ปรลัมพปาทาสนะ) บนบัลลังก ดานซายและขวาเปนรูปพระโพธิสัตว ดานบนเปนพระพุทธรูปปางสมาธิเรียงกันอยู ๓ องค ศาสตราจารย ยอรช เซเดส สันนิษฐานวาทําเปนภาพเลาเรื่องมหา ปาฏิหาริยที่เมืองสาวัตถี ตามที่ปรากฏในคัมภีรทิวยาวทาน ของนิกายสรวาสติวาท พระพิมพเหลานี้ทําดวยดินดิบและเชื่อวา มีสวนผสมของเถาอัฐิ สรางขึ้นเพื่ออุทิศสวนกุศลและสืบทอดพระศาสนา โดยจะนําไปวางไวตามถํ้าศาสนสถาน พบมากแถบ ภาคใตของประเทศไทย ตั้งแตสุราษฎรธานี ไปจนถึงยะลา พระพิมพองคนี้ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศทรงไดมาจากเขาอกทะลุ จังหวัดพัทลุง เมื่อคราวเสด็จประพาสหัวเมืองปกษใตป พุทธศักราช ๒๔๗๖ และ ไดมอบใหกับพิพิธภัณฑสถานสําหรับพระนครในปเดียวกัน


สองสมเด็จกับงานดานดนตรีนาฏศิลป ศิลปะวิทยาการจากสาสนสมเด็จดานดนตรี นางบุญตา เขียนทองกุล นักวิชาการละครและดนตรีชํานาญการพิเศษ

การศึกษาสาสนสมเด็จที่จัดพิมพโดยคุรุสภา ที่จัดพิมพครั้งที่ ๑ (พุทธศักราช ๒๕๐๔ และพุทธศักราช ๒๕๐๕) และ ครั้งที่ ๒ พุทธศักราช ๒๕๑๕ มีจํานวน ๒๗ เลม จากการศึกษาขอมูลเฉพาะดานดุริยางคศิลป พบวา มีปรากฏเกือบทุกเลม ในแตละเลมมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับดานดุริยางคศิลป ดังนี้

สาสนสมเด็จ เลม ๑๑

กาพยเหเรือ (หนา ๒๑ - ๒๖, ๑๘๐ - ๑๘๑, ๑๘๓ - ๑๘๕) บทดอกสรอย (หนา ๕๙,๖๑) รองรําทําเพลง (๑๘๑ - ๑๘๓) บทเพลงพิณพาทย โหมโรงโขน และเพลงตาง ๆ กับคํากลอน บอกชื่อเพลงมโหรี (หนา ๑๙๓ - ๒๐๘) เพลงขับเรื่องซอมโหรี (หนา ๒๐๙ - ๒๒๖) สงตําราดุริยางคสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศตรวจ พระวินิจฉัยเรื่อง ตําราดุริยางค (หนา ๒๒๗ - ๒๓๐) ชื่อเพลงมโหรี เพลงยาว สักรวา (หนา ๒๖๕ - ๒๖๗)

สาสนสมเด็จเลม ๒๒

พิ ธี ไ หว ค รู เ พื่ อ บอกเพลงไหว ค รู การทํ า แผ น เสี ย งกราโมโฟนเพลงไทย หรื อ แผ น เสี ย งราชบั ณ ฑิ ต ยสภา (หนา ๕๒ - ๕๔) กลอนเสภาและไหวครูปรากฏชื่อครูเสภา ครูปพาทย ครูทองอยู (ครูเสภา) ครูแจง (ครูเสภา) ครูมีแขก (ครูปพาทย) ครูทัด (ครูปพาทย) (หนา ๑๑๙ - ๑๒๓) เพลงปพาทยที่ไมไดทํารับ (เพลงชมตลาด ชาครวญ โลมนอก) เพลงที่ยังไมมีขับรอง (สาธุการ ตระ รัว) เพลงเครื่องสาย (เพลงทัด) เพลงที่ปพาทยรับรองเกา ๆ ที่ยังเห็นรองรอย เชน ชาป โอ ราย กระบวนของเพลงมี ๓ อยาง เพลงรอง เพลงมโหรี เพลงปพาทย การขับเสภา - สักรวา ดอกสรอย (หนา ๑๒๔ - ๑๒๙) เพลงทีใ่ ชปเ ปาดน เชน ปช วา กับกลองแขก (เพลงสระหมาและเพลงแปลง) ปไ ฉน กับกลองชนะ ปน อก เชิดนอก ปญจดุรยิ างค ปพาทย พิณพาทย เพลงเสภานอก - เสภากลาง - เสภาใน เปนเพลงปพาทย เพลงเชิดนอก - กราวนอก เชิดใน - กราวใน คํากลอนไหวครู (หนา ๑๓๐ - ๑๓๓) โอดพัน มโหรีหลวง (ตับตนเพลงฉิ่ง ตับทะแย ตับนางนาค) เพลงเขมรใหญ การใชเครื่อง กํากับจังหวะในเพลงชา เพลงเร็ว การยืดเพลง (หนา ๑๔๗ - ๑๕๑) เพลงดอกไมไทรโอด ดอกไมไทร (หนา ๑๕๒ - ๑๕๔) กลองชนะ (หนา ๑๕๖ - ๑๕๘) การเรียกเสียงดนตรี (หนา ๒๕๖ - ๒๕๗)

สาสนสมเด็จ เลม ๔๓ ดังนี้

เครื่องประโคมเหของไทย แตรกําพู แตรฝรั่ง แตรงอน (หนา ๒๖๘ - ๒๖๙)

กับงานดานดนตรีนาฏศิลป

๑ สาสนสมเด็จเลม ๑, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๑ - ๒๖๗. ๒ สาสนสมเด็จ เลม ๒, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๕๒ - ๑๕๘. ๓ สาสนสมเด็จ เลม ๔, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๕), ๒๖๘ - ๒๖๙. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๕๓


สาสนสมเด็จ เลม ๕๔

บทระเบง ทาโหมงครุม บทกุลาตีไม (หนา ๑๗๗ - ๑๘๒) หลักฐานเรื่องการเลนระเบง โหมงครุม กุลาตีไม (หนา ๑๘๔ - ๑๘๖)

สาสนสมเด็จ เลม ๗๕

เพลงดนตรีโยเดีย เพลงแขกมอญ เพลงยองหงิด เพลงมโหรี เพลงตะนาว เพลงฝรั่งเตน (หนา ๗๓ - ๗๔) เพลงทะแย หาทอน (หนา ๘๕ - ๘๖) ประโคมยาม ทุม โมง (หนา ๘๘)

สาสนสมเด็จ เลม ๙๖

ตาสังขารา หุนกระบอก (หนา ๑๒๕ - ๑๒๖) ผูเลนแทงวิสัย (หนา ๓๑๓ - ๓๑๔)

สาสนสมเด็จ เลม ๑๐๗

ลักษณะการรําโหมงครุม - บทรองกุลาตีไม (๑๔๖ - ๑๔๗) พระวินิจฉัย เรื่องบทรองกุลาตีไม (หนา ๑๘๘ - ๑๙๐) พระวินิจฉัย เรื่องปพาทยมอญประโคมพระ (หนา ๑๙๑)

สาสนสมเด็จ เลม ๑๑๘

เพลงฟอนรําและชาวดนตรีของพมา ชื่อเพลงโยเดีย และชื่อทารําโยเดีย (หนา ๗๐ - ๗๒) ปพาทย และกลองชนะ ประโคมในงานศพหมอมเจา(หนา ๙๐ - ๙๓) พระวินิจฉัยเรื่องเครื่องดุริยางคของชวาและเนื้อเพลงของชวาเทียบกับเครื่อง ดนตรีและเนื้อเพลงไทย (หนา ๒๑๐ - ๒๑๑)

สาสนสมเด็จ เลม

๑๒๙

สาเหตุการเลนเทพทอง เลนปรบไกดวยคําหยาบชา (หนา ๒๘) โรงละครศรีอยุธยา แสดงโขน ตอนสูรปนขา และ ละครเรื่องอาบูหะซัน)

สาสนสมเด็จ เลม ๑๔๑๐

การแสดงเรื่องซินเดอเรลลา ที่โขนหลวงมิสกวัน(หนา ๗๗ - ๗๘) พระวินิจฉัยการประโคมโนบัตของมลายู การประโคมกลองมงคลทางเชียงใหม (หนา ๓๑๑ - ๓๑๒ ) พระวินิจฉัยเรื่องปไฉน เรื่องเครื่องประโคม วิธีการตีกลองชนะ (กลอง ฉิ่ง ฉาบ โหมง เหมง โทนรํามะนา) ( หนา ๓๒๓ - ๓๒๖)

สาสนสมเด็จ เลม ๑๕๑๑

กลองวินิจฉัยเภรี พระวินิจฉัยเรื่องกลองชนะ กลองแขก และกลองโนบัต พระวินิจฉัยเรื่องกลองชัยเภรี กลองชนะ (หนา ๑ - ๔) การตีกลอง เปนสัญญาณตาง ๆ (หนา ๑๖ - ๑๗) กลองอินทเภรี แตรฝรั่ง (หนา ๓๒ - ๓๔) สังข แตรฝรั่ง ปไฉน ปชวา (หนา ๕๗ - ๕๘) ๔ สาสนสมเด็จ เลม ๕, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๔), ๑๗๗ - ๑๘๖. ๕ สาสนสมเด็จ เลม ๗, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๔), ๗๓ - ๘๘ ๖ สาสนสมเด็จ เลม ๙, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๔), ๑๒๕ - ๓๑๔ ๗ สาสนสมเด็จ เลม ๑๐, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๔), ๑๔๖ - ๑๙๑ ๘ สาสนสมเด็จ เลม ๑๑, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๔), ๗๐ - ๒๑๑ ๙ สาสนสมเด็จ เลม ๑๒, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๔), ๒๘ - ๒๐๖ ๑๐ สาสนสมเด็จ เลม ๑๔, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๔), ๗๗ - ๓๒๖ ๑๑ สาสนสมเด็จ เลม ๑๕, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๑ - ๕๘

๕๔

สาสนสมเด็จ เลม ๑๖๑๒

วิ ธี ก ารดั บ ไฟในโรงมหรสพ (หน า ๕๑) โรงโขน โรงหุ  น (หน า ๗๙) เครื่ อ งประโคมในงานพระราชพิ ธี (๙๘ - ๑๐๒)

สาสนสมเด็จ เลม ๑๗๑๓

การตีรํามะนาในงานพระศพและงานพระเมรุสมเด็จพระนางเจาสุนันทา พิเคราะหการสวดของแขกมาปรุงกับ การเลนลูกหมด “สิบสองภาษา” ในกระบวนสวดศพของไทย” (หนา ๒๖๒ - ๒๖๖)

สาสนสมเด็จ เลม ๑๘๑๔

การเลนยี่เก ออกภาษา ลูกหมด ลูกขัด ลูกตอ (หนา ๑๙ - ๒๓) เรื่องยี่เก (ตอ) (หนา ๕๓ - ๕๔) การประโคมเมื่อ เจานายประสูติ (หนา ๕๗ - ๕๘) การตีประชันปพาทย (หนา ๖๒) ปพาทยประโคมเมื่อพระเจาลูกเธอประสูติ แตรวงประโคม เวลาประสูติมีแตเจาฟาพระองคชาย การสมโภชเดือน (หนา ๖๓ - ๖๖) วัตถุประสงคของการบรรเลงปพาทย พระวินิจฉัย เครื่องดนตรีที่ใชประโคมประสูติ ขึ้นพระอู กลอมชาลูกหลวง (หนา ๑๑๘ - ๑๒๑) เครื่องประโคมศพ (หนา ๒๒๓ - ๒๒๔) ปพาทยมอญในงานหลวง วงบัวลอย (หนา ๒๓๖ - ๒๓๗, ๒๖๓ - ๒๖๔) เพลงชาเจาหงส (หนา ๒๔๒)

สาสนสมเด็จ เลม ๒๒๑๕

เพลงภาษา เพลงทะแย ๕ ทอน รองเพลงเรื่องนางซินเดอเรลลา (หนา ๒๑๑ - ๒๑๒) เพลงทมิฬ เพลงหรุม (หนา ๒๑๔) พระวินิจฉัยเรื่องเพลงดนตรีของไทย (หนา ๒๒๖ - ๒๒๗)

สาสนสมเด็จ เลม ๒๓๑๖

พระวินิจฉัยที่มาของเพลงสรรเสริญพระบารมี (หนา ๗๔ - ๒๕ ) แตรวง เพลง God Save The Queen พระวินิจฉัย เรื่องที่มาของเพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงชาติของไทย (หนา ๘๑ - ๘๓) พระวินิจฉัยที่มาของเพลงสรรเสริญพระบารมี (ตอ) เจากรมขุนเณร ผูมีฝมือตีระนาด “ไหว” แตรตอดเพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสริญพระนารายณ การยืด - ตัด เพลงสามชั้น สองชั้นและชั้นเดียว แตรฝรั่งเปานํากลองชนะ เปานําปพาทย เปาประโคมเวลาเสด็จออกดวยเพลงจีนลั่นถัน เปาประโคมเวลาสรงดวยเพลงลงสรง เพลงสรรเสริญเสือปา เพลงตับมโหรี ที่มาของเพลงมหาชัย (หนา ๑๓๗ - ๑๔๓) กลาวถึงครูมแี ขก การแสดงละครทรงเลนมโหรี ในเรือ่ งนิทราชาคริต - ทรงหัดซอกับกรมหมืน่ ทิวากร ครูถกึ ตอเพลงแปะ (สองชัน้ ) ถวาย กลาวถึงครูถกึ ผูเ ปนเอกทัคคะทางซอ (ตอ) เพลงสรรเสริญพระบารมี (ตอ) พระวินจิ ฉัยผูแ ตงเพลงสรรเสริญพระนารายณ กลาวถึงมโหรีและละครของเจาพระยานรรัตน ความหมายของเพลงเถา (หนา ๒๐๓ - ๒๐๖) ครูไฟต ครูแตรวังหนา) ประวัติ ครูฟุสโก ครูแตรวงทหารเรือ (หนา ๒๑๖ - ๒๑๗) คําวา “ดอกสรอย” คําวา “เพลงยาว” (หนา ๒๖๑ - ๒๖๒) พระวินิจฉัย ที่มาของดอกสรอย สักรวา เพลงยาว ความหมาย “เลนเพลง” เพลงเกี่ยวขาว เพลงเรือ (หนา ๒๗๑ - ๒๗๓)

๑๒ สาสนสมเด็จ เลม ๑๖, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๕๑, ๗๙, ๙๘ - ๑๐๒. ๑๓ สาสนสมเด็จ เลม ๑๗ , (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๕), ๒๖๒ - ๒๖๖ ๑๔ สาสนสมเด็จ เลม ๑๘, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๑๙ - ๒๔๒ ๑๕ สาสนสมเด็จ เลม ๒๒, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๑๑ - ๒๒๗ ๑๖ สาสนสมเด็จ เลม ๒๓, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๗๔ - ๒๗๓

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๕๕


สาสนสมเด็จ เลม ๒๔๑๗

พระวินิจฉัยคําวา “เพลง” เรื่อง “โทน” กับ “ทับ” (หนา ๒๘ - ๒๙) พระวินิจฉัยตอบคําวา “โทน” กับ “ทับ” (หนา ๓๖ - ๓๗) เพลงชาเจาหงส แขวงโคราช (หนา ๕๑ - ๕๒) พระวินิจฉัย” ตํานานเครื่องมโหรีปพาทย” พระวินิจฉัยตํารา สังคีตรัตนากร เครื่องสังคีตของอินเดีย ทับ - โทน - โทล (หนา ๕๔ - ๕๗) โทน ทับ ตะโพน (ตอ) (หนา ๘๔ - ๘๕ ) เพลงเขามาน เพลงเชิดฉาน เพลงจิ้งจกทอง เพลงฉิ่ง (หนา ๙๒) เครื่องทําเพลง เครื่องทําเสียง พระวินิจฉัยคําวา เบญจดุริยางค ดนตรี มโหรี ชาป โอป ลงสรง รองรถรองมาวา “โทน” (หนา ๙๔ - ๙๖) อธิบาย ชาเจาหงส “ชะ” กับ “ชา” รามเกียรติ์ ฉบับกรุงธน “ผแด” (หนา ๑๐๐ - ๑๐๒) ขับรองกับดนตรีตางกันอยางไร (หนา ๑๖๖ - ๑๖๗ )

สาสนสมเด็จ เลม ๒๖๑๘

เพลงตุกตาแกวงสลาก ทุกตะแกวงสาก (หนา ๑๓๕) เพลงลิงโลด ครูพุม คนฆองของหลวงสําอาง (ฟก) (หนา ๑๕๙ ) เรื่องราวเกี่ยวกับพระประดิษฐ (ตาด) เรื่องราวที่แสดงวาสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรา นุวดั ติวงศ ทรงมีพระทัยโปรดเรือ่ งการดนตรี (หนา ๒๐๗) ทอดเชือก ดามเชือก รําพัดชา (หนา ๒๒๒) อาตตวิตตกลองหนังรอบตัว (หนา ๒๒๘) เพลงรองในบทละคอนดึกดําบรรพ (๒๓๘) หัวขอเรื่องตาง ๆ ที่คัดออกมานี้เปนเนื้อหาเฉพาะดานดุริยางคศิลป ซึ่งมีทั้งที่เปนฐานขอมูล และขอมูลที่เปนบริบท ลวนแลวแตมีความสําคัญและนอกเหนือจากงานวิชาการในแขนงตาง ๆ แลว เฉพาะงานดานดุริยางคศิลป มิใชทรงรอบรูเรื่อง ดนตรีและสามารถบรรเลงไดเทานั้น หากมีความรอบรูซึ้งจนกระทั่งทรงมีพระปรีชาสามารถจดบันทึกทํานองเพลงเปนโนต สากลได นับตั้งแตทรงพระนิพนธเพลงเขมรไทรโยคตั้งแต พุทธศักราช ๒๔๒๐ ทรงคิดวิธกี ารขับรองแบบประสานเสียงเพลงสรรเสริญพระบารมีขนึ้ ครั้งแรกในงานเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว เมื่อวันที่ ๒๔ เดือนกันยายน พุทธศักราช ๒๔๓๑ หนาศาลายุทธ นาธิการ๑๙ ตอมาไดนําวิธีการขับรองแบบประสานเสียงนี้กับการแสดง ละครดึกดําบรรพ เรื่องอิเหนา ตอนไหวพระ ที่เรียกวาเพลง “ชาประสม”๒๐ พรอมทั้งทรงบันทึกเปนโนตสากลดวย นอกจากนี้ในหนังสือสาสนสมเด็จ เลม ๑ ๒๑ สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดมีจดหมาย ถึงสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ชวยตรวจตําราของ พระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) มีขอความดังนี้ โนตเพลงหนาแทรกระหวางหนา ๑๑๔ - ๑๑๕ จากหนังสือชุมนุมบทละครและบทขับรอง ๑๗ สาสนสมเด็จ เลม ๒๔, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๘ - ๑๖๗. ๑๘ สาสนสมเด็จ เลม ๒๖, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๑๕), ๑๓๕ - ๒๓๘ ๑๙ จดหมายเหตุดนตรี ๕ รัชกาล, (กรุงเทพ : โรงพิมพเดือนตุลา, ๒๕๔๙), ๘๐ - ๘๑ ๒๐ ชุมนุมบทละคอนและบทขับรอง, (กรุงเทพ : หางหุนสวนศิวพร, ๒๕๑๔), ๑๑๔ - ๑๑๕ ๒๑ สาสนสมเด็จ เลม ๑, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๒๗,๒๒๘

๕๖

“...ดวยพระเจนดุริยางคเขาแตงตําราดุริยางคขึ้น เอามาวานใหหมอมชั้นตรวจ หมอมฉันตรวจ หมอมฉันอนุโมทนาในความ คิดและความพยายามของเขาแตรูสึกวาความรูของหมอมฉันไมพอจะตรวจใหเขาได จึงสงมาถวายดวยเห็นวาเปนหนังสือไม ยาวหนัก พอจะทรงประทานเวลาไดขอไดโปรดทรงตรวจดวยจะติหรือจะแกไขแหงใดก็แลวแตจะทรงพระดําริเห็นสมควร” วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๔๗๔ “...ไดรับลายพระหัตถโปรดประทานตําราดุริยางคของพระเจนดุริยางคไปตรวจ พอเห็นก็ตกใจและเสียใจเปนอยางยิ่ง ดวยได กราบทูลเมือ่ วานนีเ้ หลวไหล เขาใจผิดอยางยิง่ สําคัญวาพระเจนจีนอักษรนําถวาย จึงนึกวาจะอะไรนอกจากตําราสอนเลนเครือ่ ง สายทีม่ คี นแตงขายกันอยูเ กลือ่ นกลาด จึงไดกราบทูลประมาทผิดไป ขอประทานโทษรอยโปรดพันโปรด ทีจ่ ริงตําราทีป่ ระทาน ไปนั้น เห็นจะดีมีประโยชนสอนใหคนรูโนตอยางฝรั่งจริงจัง แตยังหาไดตรวจดี ๆ ไม จะกราบทูลถวายความเห็นทีหลัง”๒๒ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๔๗๔ หลังจากที่ไดทรงตรวจแกไขแลว ไดมีพระวินิจฉัยตอบ๒๓ ดังนี้ “ตามทีท่ รงพระเมตตาโปรดประทานตําราดุรยิ างค ซึง่ พระเจนดุรยิ างคแตงไปใหตรวจดูนนั้ ไดรบั ประทานตรวจแลว ตําราอันใหชื่อวา “ตําราดุริยางคไทย” นี้ ก็คือตําราเขียนโนตเพลงอยางฝรั่งนั้นเอง แตตัดทอนเอาแตพอใชเขียนเพลงไทยได เพราะเพลงไทยไมวิตถารเทาเพลงฝรั่ง ตรวจเห็นในหนา ๑๕ และ ๑๖ ซึง่ วาดวยคูเ สียงนัน้ ผูเ ขียนเห็นจะเขาใจสัน้ อยูบ า ง ตามทีแ่ ตงไวในตําราเรียกวา คู ๒ คู ๓ คู ๔ เปนตนนั้น ถือเอาคําใชที่ขึ้นสายเครื่องสาย เชน ขึ้นสายทุมเปน ขึ้นสายเอกเปน เรียกกันวา ขึ้นคู ๔ แตที่แทคําวาคูนั้นมาแตตีปพาทย หมายความวา ตีมือซายขวาลงพรอมกัน ถาหางกัน ๔ ลูก ก็เรียกวาคู ๔ ถาเขียนโนตจะตองเปนดังนี้ ไมใช ตั้งแตหนา ๒๒ ไป วาดวยเขบ็ต อธิบายไวจนถึงตัว ๔ ชั้น ที่จริงสําหรับ ดุริยางคไทย จะมีที่ใชแตเพียงตัว ๒ ชั้นเทานั้น แตนักเลงสมัยใหมทําอวดมือแทรกลูกเขาถึงตัว ๓ ชั้น ที่เรียกวาสะดุงหรือ สะบัดอะไรนั้นมีอยูบาง แตก็เปนทําเลน ไมใชทําเปนหลักฐาน สวนตัว ๔ ชั้นนั้น ไมมีที่ใชแน ถาวาตามหลักแลว พนตัว ๒ ชั้นขึ้นไปก็เปนรัวทีเดียว รัวนั้นไมมีกําหนดตัว ถือกันวาใครรัวไดละเอียดมากเปนดี แตก็มีลีลาศเปน ๒ อยาง รัวลูกเสมอกันอยาง ๑ รัวลูกหางกอนแลวคอยถี่เขาไปจนละเอียดอีกอยาง ๑ และบางเพลงรัวมีกําหนดจังหวะ เหลานี้ผูเขียนตํารายังไมไดเขียนไว แตก็เพิกทําไวไดภาคเดียวเทานั้น ในที่สุดขอประทานยกยองพระเจนดุริยางคในการที่พยายามแตงตํารางดุริยางค อันยังไมเคยมีในภาษาไทย และ เปนของตองการนั้นขึ้น จะเปนประโยชนแกคนทั่วไปไมนอยเลย” ๒๓ กรกฎาคม ๒๔๗๔ ๒๒ สาสนสมเด็จ เลม ๑, (พระนคร : องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๒๙-๒๓๐. ๒๓ เรื่องเดียวกัน. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๕๗


ที่มาของการตรวจตําราดุริยางคไทย ของพระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) สืบเนื่องมาจากพระอัจฉริยะภาพที่ทรง มองการณไกลของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงเกรงวาการดนตรีไทยที่ศึกษาดวยการทองจํา และถายทอดดวยมุขปาฐะ ไมมีการจดบันทึก เมื่อกาลเวลาผานไปอาจจะทําใหสูญหาย ประกอบกับการที่สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ไดทรงสํารวจเพลงไทยที่มีมาตั้งแตสมัยอยุธยา พบวามีสูญหายไปมิใชนอย เหลือเพียงแตชอื่ เพลง อีกทัง้ เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๖๙ เปนระยะทีเ่ ศรษฐกิจตกตํา่ ไปทัว่ โลก สืบเนือ่ งมาจากสงครามโลกครัง้ ที่ ๑ มีการยุบกรมมหรสพทีม่ หี นาทีบ่ รรเลง ขับรอง และการแสดงนาฏศิลป กรมศิลปากรทีม่ หี นาทีด่ แู ลงานดานศิลปวัฒนธรรมของชาติ ก็ไดถกู ยุบไปดวย แตทงั้ นีไ้ ดตงั้ “ราชบัณฑิตยสภา” ขึน้ เพือ่ ดําเนินการดานประวัตศิ าสตร โบราณคดี วรรณคดีและศิลปวิทยา ของชาติ การจดบันทึกเพลงไทยเปนโนตสากล เปนงานหนึง่ ทีเ่ กิดในสมัยนัน้ ซึง่ มีทงั้ หมด ๒ ครัง้ ครัง้ ที่ ๑ ระหวางพุทธศักราช ๒๔๗๓ - ๒๔๗๕ และครั้งที่ ๒ ระหวางพุทธศักราช ๒๔๗๙ - ๒๔๘๓

การจดบันทึกเพลงไทยเปนโนตสากล ครั้งที่ ๑ ระหวางพุทธศักราช ๒๔๗๓ - ๒๔๗๕

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ขณะนัน้ ดํารงตําแหนง นายกราชบัณฑิตยสภา ทรงปรารภ เรื่องเพลงไทยที่มีมาตั้งแตสมัยอยุธยาจะสูญหาย จึงไดมีจดหมายถึงเจาพระยาวรพงศพิพัฒน (ม.ร.ว เย็น อิศรเสนา) เสนาบดี กระทรวงวัง เมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๗๓ ความวา๒๔ “ดวยราชบัณฑิตยสภาปรารภวา เพลงปพาทยมโหรีของไทย ฝกหัดและรักษากันมาแตดวยความทรงจํา เปนเหตุ ใหเพลงปพาทยมโหรีของเกาสูญไปมีเหลืออยูแตชื่อเปนอันมากนาเสียดายอยูเห็นวาความบกพรองอันนี้อาจจะแกไขไดใน ปจจุบนั นี้ดว ยวิธีจดเพลงลงโนตรักษาไว และราชบัณฑิตยสภาเต็มใจทีจ่ ะรับอํานวยการถาหากเจาคุณเห็นชอบดวยและรับจะ อุดหนุนดวยผูเชี่ยวชาญการดุริยางคดนตรีทั้งอยางไทยและอยางฝรั่งขึ้นอยูในกระทรวงวังทั้งนั้น ขอใหพระเจนดุริยางคจัดคน ชํานาญการจดโนตมาให และขออนุญาตใหเรียกครูดรุ ยิ างคดนตรีในกรมมหรศพมาบอกเพลงใหจด จดแลวเก็บรักษาไวในหอ พระสมุดสําหรับพระนคร เห็นวาถาทําอยางนี้ จึงจะไดเพลงมโหรีปพาทยของไทยไวสืบไวไมมีเวลาสูญ โดยไมตองเพิ่มเงินจาย อยางหนึง่ อยางใดนอกจากคากระดาษเครือ่ งเขียน เพราะผูช าํ นาญเหลานัน้ รับเงินเดือนในกระทรวงวังอยูแ ลวทัง้ ๒ พวก หวังใจวา เจาคุณจะเห็นชอบ และอนุญาตตามที่เสนอมา...” นับไดวาจดหมายฉบับนี้เปนหลักฐานสําคัญที่แสดงใหเห็นถึงที่มาของการบันทึกเพลงไทยเปนโนตสากล จดหมาย ทีม่ เี นือ้ หาเกีย่ วกับเรือ่ งนีใ้ ชชอื่ วา เรือ่ ง “จดหมายไปมา เรือ่ งทําโนตเพลงไทย” เปนเอกสารเกาทีเ่ จาหนาทีไ่ ดนาํ จดหมายโตตอบ ระหวางสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ กับเจาพระยาวรพงศพิพัฒน (ม.ร.ว เย็น อิศรเสนา) ในการ บันทึกเพลงไทยเปนโนตสากลครั้งที่ ๑ นี้ ไดถูกระงับไปเมื่อเกิดการเปลี่ยนการปกครองเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๗๕ ซึง่ ไดจดบันทึกเพลงตาง ๆ อาทิ เพลงโหมโรงเย็น เพลงชาเรือ่ งเพลงยาว เรือ่ งพวงรอยสรอยสน และเรือ่ งสีนวล เปนตน

การจดบันทึกเพลงไทยครั้งที่ ๒ ระหวางพุทธศักราช ๒๔๗๙-๒๔๘๓

การจดบันทึกเพลงไทยเปนครั้งที่ ๒ นี้เริ่มขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และในปพุทธศักราช ๒๔๗๘ กระทรวงวังถูกยุบเปนสํานักพระราชวัง ขาราชการโขน ละคร ปพาทย เครื่องสายฝรั่ง ตลอดจนเครื่องแตงกายโขน - ละคร และเครื่องดนตรีที่เหลืออยูบางสวนจากกระทรวงวัง โอนใหกรมศิลปากรดูแล สํานักพระราชวังคงเหลือแตงานเครื่องสูง เมื่อ ขาราชการจาก “กรมปพ าทยและโขนหลวง”ไดโอนยายเขามาอยูท กี่ องดุรยิ างคศิลป ในความดูแลของกรมศิลปากร งานบันทึก เพลงไทยเปนโนตสากลที่เคยทําเมื่อครั้งอยูในสังกัดกระทรวงวัง ไดเริ่มตนใหมอีกครั้งในพุทธศักราช ๒๔๗๙ มีคําสั่งกระทรวง ธรรมการที่ ๔๙/๒๔๗๙ เรื่อง ทําบันทึกบทเพลงเปนโนตสากล ดังนี้

- สําเนา คําสั่งกระทรวงธรรมการ ที่ ศ.ก. ๔๙/๒๔๗๙ เรื่อง ทําบันทึกบทเพลงเปนโนตสากล ----------------------------------ดวยกระทรวงธรรมการเห็นเปนการสมควรที่จะบันทึกบทเพลงไทยลงเปนโนตสากลเพื่อรักษาแบบแผนแหง ศิลปกรรมของชาติใหมั่นคงและเพื่อความสะดวกแกผูสนใจศึกษาดุริยางคศิลปของไทยในอนาคต จึงใหปฏิบัติการดั่งตอไปนี้ ๑. ใหอธิบดีกรมศิลปากร เลือกนักดนตรีไทยที่ทรงคุณวุฒิทําการรวมมือกับนักดนตรีสากลเพื่อจดบันทึกเพลงไทย ลงเปนโนตสากล ใหใชไดสําหรับการรองและเขาเครื่องดนตรีประเภทตาง ๆ ที่จะใชบรรเลงเพลงไทยได ๒. เมื่อไดทํางานจดบันทึกไปแลวเทาใด ใหเสนอทีป่ ระชุมกรรมการดังจะระบุไวในขอ ๖ ตรวจพิจารณาแกโดยการ ปรึกษาหารือ คนควาใหไดแบบแผนและมาตรฐานที่เห็นวาดีที่สุด ๓. บทเพลงที่ที่ประชุมกรรมการไดพิจารณาแกไขในชั้นที่สุดเปนยุติแลวใหอธิบดีกรมศิลปากรประกาศเปนแบบ ราชการ ๔. เพลงใดที่อธิบดีกรมศิลปากรไดประกาศเปนแบบราชการแลวใหเจาหนาที่ในกรมศิลปากรถือเปนหลักปฏิบัติ บรรเลงในวงราชการของกรมนั้น หรือในโอกาสใด ๆ ที่บรรเลงในนามของกรมศิลปากร ๕. ใหโรงเรียนหรือองคการตาง ๆ ในวงราชการของกระทรวงธรรมการที่มีการศึกษาดุริยางคศิลปพยายามดําเนิน ตามแบบที่กรมศิลปากรไดประกาศแลว ๖. ใหผูมีนามตอไปนี้เปนกรรมการตรวจพิจารณาเพลงไทยที่บันทึกโนตแลว คือ ๑. อธิบดีกรมศิลปากร เปนประธานกรรมการโดยตําแหนง ๒. พระเจนดุริยางค เปนกรรมการ ๓. จางวางทั่ว พาทยโกศล เปนกรรมการ ๔. หลวงบํารุงจิตรเจริญ เปนกรรมการ ๕. หลวงประดิษฐไพเราะ เปนกรรมการ ๖. นายพุม ปาปุยวาท เปนกรรมการ ๗. พระยาเสนาะดุริยางค เปนกรรมการ ๘. ขุนสมานเสียงประจักษ เปนกรรมการ ๙. พระยาภูมีเสวิน เปนเลขานุการ(ฝายไทย) ๑๐. นายเล็ก จิตรมั่นคง เปนเลขานุการ(ฝายสากล) ในการตรวจพิจารณาใหถือวาแบบแผนเปนสําคัญในเบื้องตน เมื่อไมสามารถจะตกลงกันในเรื่องแบบแผนไดจึงให ถือเอามาตรฐานเปนสําคัญ สั่งแต ณ วันที่ ๑๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๗๙ (ลงนาม) สินธุสงครามชัย รัฐมนตรี

๒๔ “สําเนาจดหมายไปมา เรื่องทําโนตเพลง” เอกสารเกา สํานักการสังคีต กรมศิลปากร.

๕๘

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๕๙


เริ่มการประชุมครั้งแรกเริ่มวันจันทรที่ ๓๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๗๙ ณ โรงโขนหลวงมิสกวัน ซึ่งเปนที่ทําการ ของหมวดดุรยิ างคสากล กําหนดประชุมทุกวันเสาร เวลา ๐๙.๐๐ น. ใชชอื่ วา “การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเพลงไทย บันทึกเปนตัวโนตสากล” นอกจากคณะกรรมการตามคําสั่งของกระทรวงธรรมการแลว วิธีการจดบันทึกโนตเพลงครั้งที่ ๒ นี้ ไดดาํ เนินการเหมือนกับการจดบันทึกโนตเพลงไทยครัง้ ที่ ๑ แตในการจัดทําครัง้ ที่ ๒ นี้ พบวามีการจดบันทึกรายงานการประชุม อยางละเอียด อาทิ รายชื่อผูเขารวมประชุม รายชื่อ ผูไมเขาประชุม มีระเบียบวาระการประชุม พิจารณาความถูกตอง ของเพลงทีจ่ ดบันทึก เริม่ จากการพิจารณาเพลงทีจ่ ะจดบันทึก มีเจาหนาทีบ่ อกจดแลวนํามาเขาทีป่ ระชุม เพือ่ ใหคณะกรรมการ พิ จ ารณาตรวจสอบความถู ก ต อ ง รวมทั้ ง จดชื่ อ ผู  บ อกทางเพลง การเรี ย กชื่ อ เพลง ในการประชุ ม แต ล ะครั้ ง มี ก ารจด บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม อย า งละเอี ย ด โดยมี พ ระยาภู มี เ สวิ น (จิ ต ต จิ ต ตเสวี ) เป น เลขานุ ก ารฝ า ยดนตรี ไ ทย และนายเล็ก จิตมั่นคง เปนเลขานุการฝายดนตรีสากล นายธนิต อยูโพธิ์ อธิบดีกรมศิลปากรสมัยนั้น ไดเขียน เลาเรื่องงานบันทึกเพลงไทยลงเปนโนตสากลครั้งที่ ๒ ลงใน หนังสือ “งานสังคีตศิลป” ของกรมศิลปากร ๒๔๙๒ - ๒๔๙๔ ไวดังนี้ “...ภายหลังทางราชการไดโอนงานดุริยางคไทยและดุริยางคสากลมาขึ้นอยูในกรมศิลปากรแลว งานตรวจสอบ และบันทึกโนตเพลงไทย จึงไดเริ่มดําเนินกันตอมาอีกเปนครั้งที่ ๒ ไดเริ่มประชุมบันทึกและตรวจสอบกัน ณ โรงโขนหลวง สวนมิสกวัน เปนครั้งแรก เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๙ โดยรัฐบาลไดตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะกรรมการตรวจสอบเพลงไทยบันทึกเปนโนตสากล” มีอธิบดีกรมศิลปากรเปนประธานกรรมการโดยตําแหนง ประกอบ ดวยเจาหนาที่บันทึกจัดทํากัน ถาจําแนกตามหนาที่ก็มี ๔ จําพวก คือ จํ า พวกที่ ห นึ่ ง ได แ ก เจ า หน า ที่ ผู  บ อกเพลงให จ ดซึ่ ง ต อ งเป น ผู  ท รงภู มิ รู  แ ละเป น พหู สู ต ทางดนตรี ไ ทยมี พระเพลงไพเราะและหลวงศรีวาทิต เปนตน จําพวกที่สอง ไดแก เจาหนาที่ผูจดบันทึกลงเปนตัวโนตซึ่งตองเปนผูมีความรูทางเขียนโนตสากล ในความควบคุม ของพระเจนดุริยางค จําพวกทีส่ าม ไดแก นักดนตรีวงดุรยิ างคสากลซึง่ เปนผูม คี วามรูอ า นโนตแลวสามารถบรรเลงเพลงไปตามโนตทีบ่ นั ทึก ไวนั้นได จําพวกที่สี่ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบเพลงไทยที่บันทึกลงไวเปนโนตสากลซึ่งเปนผูทรงภูมิรูและเปนพหูสูตใน วิชาการดนตรีไทยอยางกวางขวางมีพระยาเสนาะดุริยางค จางวางทั่ว พาทยโกศล และหลวงประดิษฐไพเราะ เปนตน เมือ่ เจาหนาทีไ่ ดบอกเพลงแลว เจาหนาทีผ่ จู ดบันทึกลงเปนโนตสากลก็บนั ทึกลงไวการบอกเพลงและจดบันทึกเพลง นี้ดําเนินตามแนวทางของวงปพาทย เพราะถือกันวา ทางของวงปพาทยเปนทางหลักและกวางขวาง ครั้งแรกบันทึกตามแนว ฆองวงใหญแลวใหคณะกรรมการตรวจสอบกันดูกอนเพราะฆองวงใหญเปนหลักของวงปพาทย เมื่อคณะกรรมการรับรองวา ถูกตองแลวเจาหนาที่ก็ตองมาแยกแนวบันทึกตามแนวของเครื่องดนตรีแตละเครื่อง เชน ป ระนาดเอก ระนาดทุม ฆองวงเล็ก ตะโพน, กลอง และฉิง่ เปนตน โดยถือเอาแนวฆองวงใหญเปนหลัก เมือ่ บันทึกแลว ก็ทดลองใหนกั ดนตรีสากลผูไ มมคี วามรูท าง เพลงไทยรวมกันบรรเลงไปตามตัวโนตทีจ่ ดไวนนั้ และเพือ่ ใหคณะกรรมการฟงตรวจสอบความผิดถูกไดงา ย จําเปนจะตองเลือก คัดเอาผูบ รรเลงทีร่ แู ตโนตสากล แตไมรเู พลงไทยใหเปนผูบ รรเลง จะไดบรรเลงไปตามตัวโนตจริง ๆ มิใหบรรเลงไปตามอุปาทาน ยึดเหนี่ยวดวยความทรงจําของตนแตเดิมอยางผูที่มีความรูเพลงไทยดวย เครื่องดนตรีที่ใชบรรเลงตามตัวโนตที่จดบันทึกไวให คณะกรรมการฟงและตรวจสอบในครั้งนั้นคงใชเครื่องดนตรีสากลดังตอไปนี้เปนเครื่องบรรเลง :1. แนวปใน 2. แนวระนาดเอก

๖๐

3. แนวระนาดทุมไม ใชบรรเลงดวยเปยโน (ตํ่า คู ๘) 4. แนวระนาดทุมเหล็ก ใชบรรเลงดวยเปยโน (ตํ่า คู ๘) 5. แนวฆองวงใหญ ใชบรรเลงดวยระนาดทองเหลืองฝรั่ง 6. แนวฆองวงเล็ก ใชบรรเลงดวยเชเลสตา สวนเครื่องหนังและเครื่องประกอบจังหวะอื่น ๆ ตองใชเครื่องดนตรีไทยแท ๆ ใหจังหวะประกอบการ...” การจดบันทึกเพลงไทยที่ตรวจสอบบันทึกกันไวมีประมาณ ๔๗๕ เพลง เพลงที่จดบันทึกประกอบดวยเพลงเรื่อง เพลงหนาพาทย เพลงโหมโรง เพลงเสภาและเพลงตับ วิธกี ารจดบันทึกมี ๓ รูปแบบ ไดแก ๑. บันทึกแบบสกอรรวมวง (SCORE) ๒. บันทึกแบบสกอรเล็ก (มีเฉพาะฆองวงใหญกบั เครือ่ งหนัง) และ ๓. บันทึกรายชิน้ ไดแก ทางป ทางระนาดเอก ทางฆองวงใหญ ทางฆองวงเล็ก ทางระนาดเอกเหล็กและทางระนาดทุมเหล็ก ดังตัวอยางตอไปนี้ ๑. บันทึกแบบสกอรรวมวง (Full Score)

๒. บันทึกแบบสกอรเล็ก (Miniature Score)

๓. บันทึกรายชิ้น ไดแก ปใน ระนาดเอก ระนาดทุม ฆองวงใหญ ฆองวงเล็ก และระนาดทุมเหล็ก

ใชบรรเลงดวยไวโอลิน กับวิโอลา ใชบรรเลงดวยเปยโน

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๖๑


ดวยมูลเหตุดังกลาว ทําใหพระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) ที่มีหนาที่หาผูจดบันทึกเพลงไทยเปนโนตสากล ซึ่ง ลักษณะการบันทึกเพลงไทยมีลกั ษณะเฉพาะ จึงตองจัดทําตําราดุรยิ างคขนึ้ เพือ่ อธิบายวิธกี ารจดบันทึก ลักษณะโนตทีจ่ ดบันทึก นัน้ เมือ่ พระเจนดุรยิ างค (ปติ วาทยะกร) เขียนตําราดุรยิ างคเสร็จแลว ไดกราบทูลสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพ ทรงตรวจแกไข และกราบทูลให สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงตรวจและมี พระวินิจฉัยอธิบายเนื้อหาที่พระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) เขาใจผิด ๒ ประเด็น คือ ๑. เรื่องคูเสียง เปนการบันทึกโนตผิดวิธี เดิมที่สงมาใหตรวจบันทึก แตบันทึกที่ถูกตองตามหลักการบรรเลง คือ ๒. การบันทึกทํานอง “รัว” พระเจนดุริยางค (บี ไฟท วาทยกร) กลาววา มีการบันทึกโนตถึงเขบ็ต ๔ ชั้น สมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ไดใหความเห็นวา ที่จริงสําหรับดุริยางคไทย จะมีที่ใชแตเพียง ๒ ชั้น เทานั้น แตนักเลงสมัยใหมทําอวดมือแทรกลูกเขาถึงตัว ๓ ชั้น ที่เรียกวาสะดุงหรือสะบัดนั้นมีอยูบาง”

โนตสบัด

และกลาววาโดยปกติเพลงไทยจะบันทึกแคเขบ็ต ๒ ชั้น หากเกินเขบ็ต ๒ ชั้น ก็จะเปน “ทํานองรัว”

ตัวอยาง โนตทํานองรัวจากลูกหางไปลูกถี่

สุดทายทานไดกลาวยกยองพระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) วา “ในการที่พยายามแตงตําราดุริยางค อันยังไมเคย มีในภาษาไทย และเปนของตองการนั้นขึ้น จะเปนประโยชนแกคนทั่วไปไมนอยเลย”

ศิลปะวิทยาการจากสาสนสมเด็จดานนาฏศิลป นางอัมไพวรรณ เดชะชาติ นักวิชาการละครและดนตรีชํานาญการพิเศษ นาฏศิลปไทยเปนศิลปะการแสดงอันเปนมรดกตกทอดมาแตโบราณ มีหลากหลายรูปแบบ เกิดขึ้นดวยภูมิปญญา ผสมผสานความพากเพียรของบรรพชน ทําใหการสรางสรรค สั่งสม สืบทอดวัฒนธรรม อันเปนอัตลักษณประจําชาติของไทย คงอยูอยางภาคภูมิถึงปจจุบัน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงอรรถาธิบายไวในสาสนสมเด็จ วา “...กระบวนละคร ฟอนรําถึงแมไดแบบมาจากอินเดีย ไทยก็มาแกไขจนผิดรูป งดงามกวาของเดิมเปนอันมาก...” แสดงใหเห็นถึงอัจฉริยภาพ แหงการปรับเปลี่ยนปรุงแตงกระบวนทารําใหเขากับวิถีของคนไทย แมวาจะไดรับอิทธิพลมาจากอินเดีย ดังที่พลตรี หลวงวิจติ รวาทการ กลาวไววา “...ในประเทศอินเดียเกือบจะสําคัญยิง่ กวาทีใ่ ด ๆ เพราะการฟอนรําของอินเดียมีตาํ ราฝกสอน มาแตโบราณกาล เรียกชื่อวานาฏศาสตร...”๑ ตามคติความเชื่อของชาวอินเดีย ถือวาการฟอนรําเกิดจากการสรางหรือคิดประดิษฐโดยเทพเจา เพื่อเปนตนแบบ ใหมนุษยใชการฟอนรําบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทําใหเกิดความเปนสิริมงคลตอชีวิตทั้งในปจจุบันและอนาคต แมวาศิลปะแหงการฟอนรําของไทยจะถูกสันนิษฐานวามีมาแตครั้งกอนกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานทางดาน วรรณกรรมที่กลาวถึงการฟอนรํา หรือมหรสพตาง ๆ อาทิ เรื่องอุณรุทธคําฉันท เรื่องปุณโณวาทคําฉันท เปนตน แตเหตุการณ เสียกรุงศรีอยุธยา ทําใหบานเมืองถูกทําลายเสียหายเปนอันมากรวมทั้งหลักฐานเรื่องศิลปะการฟอนรําที่เรียกวา “ตํารารํา” ตอมาเมื่อสรางกรุงรัตนโกสินทรแลว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ปฐมบรมกษัตริยแหงราชวงศจักรี ทรงทํานุบํารุงบานเมือง ใหเปนปกแผน ทรงบูรณปฏิสังขรณวัดวาอาราม สถานที่สําคัญ รวมไปถึงศิลปวัฒนธรรมการละคร ฟอนรําทีส่ ญ ู หายไป ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจดั ทํา “ตําราภาพรํา” ขึน้ ใหมไวเปนแบบแผนสําหรับพระนคร โดยฝมอื ชางวาด ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช จํานวน ๓๖ ทารํา มีลักษณะเปนภาพทารําในสมุดไทยขาวซึ่งกรม ศิลปากรโดยกองวรรณกรรมและประวัติศาสตร (ปจจุบัน สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร) ไดนํามาจัดพิมพเผยแพรครั้ง แรกในหนังสือตํารารํา พุทธศักราช ๒๕๔๐ โดยคงรักษาตนฉบับภาพพรอมคําบรรยายตามของเดิม (บางภาพไมปรากฏคํา บรรยายหรือลางเลือนไมสามารถมองเห็นได)

จากการตรวจตําราดุริยางคของพระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) แสดงใหเห็นพระอัจฉริยะภาพของสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ที่มีความสามารถอันเปนที่ประจักษในการตรวจโนตสากล ซึ่งเปนการบันทึก โนตแบบตะวันตก เขียนโดยนักดนตรีชาวตะวันตก แตทรงวิเคราะหใหเห็นถึงลักษณะเฉพาะทํานองเพลงไทยทีเ่ มือ่ ตองบันทึก เปนโนตสากลจะมีวิธีการบันทึกอยางไร ซึ่งนับเปนคุณูปการตอวงดนตรีไทยสืบมา

๑ หลวงวิจิตรวาทการ, นาฏศิลป, (พระนคร, ๒๕๐๗), ๑๑.

๖๒

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๖๓


ตัวอยางทารําในสมุดไทยขาว

นอกจากนี้ ยังปรากฏตําราภาพฟอนรําอีกเลมหนึ่ง ตนฉบับเดิมของพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาสุดาสวรรค กลาววา “...เหมือนกับเลมที่กลาวมาแลว แตเขียนฝุน เปนลายเสนเดียว รูปภาพเปนฝมือชางครั้งรัชกาลที่ ๑ หรือ ๒ แตมี ภาพทารําบริบูรณถึง ๖๖ ทา สมุดเลมนี้ไดมาแตในพระราชวังบวรฯ เทียบดูกับตําราเลมพระราชวังบวรฯ เปนของคัดสําเนา มาจากเลมรัชกาลที่ ๑ และเปนหลักใหรูไดอีกอยางหนึ่งวาทารําตาง ๆ ที่ขาดไปจากเลมรัชกาลที่ ๑ นั้นจะเปนทาใดๆบาง อาศัยหลักฐานที่ไดจากสมุดตํารารําทั้ง ๒ เลมนั้น...”๒ ตัวอยางทารําจากตําราภาพฟอนรํา

ทาพรหมสี่หนา

ทา..........?

๖๔

๒ สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตําราฟอนรําฉบับเรียบเรียงในหอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนคร, ๒๕๕๘,๖๑. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๖๕


๖๖

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๖๗


ตําราภาพฟอนรํานี้ เขียนเปนภาพฟอนรําทาตาง ๆ เริ่มตั้งแตทาเทพนมถึงทากินนรรํา ซึ่งมีการเรียกชื่อทาที่แตก ตางกันบางกับบทรองแมบทใหญ ดังนี้ ภาพฟอนรําตนฉบับพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาสุดาสวรรค

๖๘

บทรองแมบทใหญ

เทพนม

เทพประนม

จังหันรอน

กังหันรอน

พระจันทรทรงกลด

จันทรทรงกลด

มาจอเพลิงกาฬ

ไมปรากฏ

พระหริรักษโกงศิลป

พระรามาโกงศิลป

คชรินทรประสานงา

ชางประสานงา

ชางสะบัดหญา

ชางหวานหญา

สารถีชักรถ

ทานายสารถี

กลดพระสุเมรุ

กลดสุเมรุ

กินรินเลนถํ้า

กินนรเลียบถํ้า

กินนรฟอนโอ

กินนรฟอนฝูง

สิงโตเลนหาง

ทาโตเลนหาง

ขอนทิ้งอก

ทิ้งขอน

พระลักษมณแผลงฤทธิ์

พระลักษมณแผลงอิทธิ์ฤทธี

เยื้องพายกฐิน

ไมปรากฏ

มังกรเที่ยวหาวาริน

มังกรเลียบทามุจลินท

วิสัยแทงตรี

แทงวิไสย

มาเลียบคาย

ขี่มาเลียบคาย

มยุเรศฟอนหาง

ยูงฟอนหาง

เมขลาโยนแกว

เมขลาลอแกว

บังพระสุริยา

บังสุริยา

ชักกระบี่สี่ทา

รํากระบี่สี่ทา

แมวาจะใชชื่อทารําที่แตกตางกัน แตก็สามารถวิเคราะหไดถึงความหมายหรือจุดมุงหมายที่เปนไปในทางเดียวกัน อีกทั้งบางชื่อที่ตองเปลี่ยนเพื่อความคลองจองหรือการสัมผัสที่ถูกตองตามฉันทลักษณ อักขรวิธีการประพันธ “ชื่อที่เรียกทารําตาง ๆ ในตําราของไทยเรา พิเคราะหดูปะปนเปนหลายชั้น ที่เปนชั้นเดิมคงตามคําแปลจากตํารา อินเดียก็จะมี ที่คลาดเคลื่อนเลื่อนเสียจากคําเดิมโดยบอกสืบกันมาหลายตอก็มี และที่คิดประดิษฐขึ้นใหมในชั้นหลังก็มี...”๓ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดคนควาบทรองที่เปนกลอนตํารารํา (แมบทใหญ) และบทนางนารายณ (แมบทเล็กหรือแมบทนางนารายณ) มาลงพิมพในหนังสือตําราฟอนรํา ฉบับเรียบเรียงในหอพระสมุด วชิรญาณสําหรับพระนคร ซึง่ ทรงอธิบายเกีย่ วกับตํานานการฟอนรํา ตํารารําของไทยและเพลงฟอนรํา จัดพิมพเผยแพรในงาน พระราชทานเพลิงศพสมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอนิ ทราชัย ณ พระเมรุทอ งสนามหลวง พุทธศักราช ๒๔๖๖ นับเปนขอมูลของตํารารําทีป่ รากฏเปนลายลักษณอกั ษรครัง้ แรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลา เจาอยูหัว

กลอนตํารารํา (แมบทใหญ) เทพประนมปฐมพรหมสี่หนา ผาลาเพียงไหลพิสมัยเรียงหมอน กระตายชมจันทรจันทรทรงกลด เยื้องกรายฉุยฉายเขาวัง กินนรรําซํ้าชางประสานงา ภมรเคลามัจฉาชมวาริน ทาสิงโตเลนหางนางกลอมตัว ลมพัดยอดตองบังสุริยา นาคามวนหางกวางเดินดง ชางหวานหญาหนุมานผลาญยักษ กินนรฟอนฝูงยูงฟอนหาง ตระเวนเวหาขี่มาตีคลี รํากระบี่สี่ทาจีนสาวไส เมขลาลอแกวกลางอัมพร ทาเสือทําลายหางชางทําลายโรง กลดสุเมรุเครือวัลยพันไม กระหวัดเกลาขี่มาเลียบคาย ชักซอสามสายยายลํานํา

สอดสรอยมาลาชานางนอน กังหันรอนแขกเตาเขารัง พระรถโยนสารมารกลับหลัง มังกรเลียบถํ้ามุจลินท ทาพระรามาโกงศิลป หลงใหลไดสิ้นหงสลินลา รํายั่วชักแปงผัดหนา เหราเลนนํ้าบัวชูฝก พระนารายณฤทธิรงคขวางจักร พระลักษมณแผลงอิทธิ์ฤทธี ขัดจางนางทานายสารถี ตีโทนโยนทับงูขวางคอน ทาชะนีรายไมทิ้งขอน กินนรเลียบถํ้าหนังหนาไฟ โจงกระเบนตีเหล็กแทงวิไสย ประไลยวาตยั้งคิดประดิษฐทํา กระตายตองแรวแคลวถํ้า เปนแบบรําแตกอนที่มีมาฯ

๓ สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตําราฟอนรํา ฉบับเรียบเรียงในหอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนคร, ๒๕๕๘, ๖๓. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๖๙


พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั มีพระราชประสงคจะทรงสรางหนังสือสําหรับพระราชทานแจกเนือ่ งในงาน พระราชทานเพลิงศพสมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟาจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอินทราชัย จํานวน ๒ เรื่อง โดยให หอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนคร ซึง่ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ สภานายก เปนผูด าํ เนินการ เรื่องหนึ่งใหเปนประโยชนในทางศาสนา อีกเรื่องหนึ่งใหเปนประโยชนในทางการฟอนรํา จึงไดเรียบเรียงขอมูลหนังสือ “ตํารา ฟอนรํา” โดยจัดแบงเรื่องเปน ๓ ตอน ตอนที่ ๑ อธิบายตํานานการฟอนรํา ตอนที่ ๒ วาดวยตํารารําของไทย ตอนที่ ๓ วาดวยเพลงฟอนรํา

ทั้งนี้ไดมีการเขียนภาพทารําเพิ่มเติมขึ้น คือ ทามารกลับหลัง ทารํายั่ว ทานารายณขวางจักร ทาชักซอสามสาย และทาหลงใหลไดสิ้น

การจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ในสวนของตอนที่ ๒ มีความเกีย่ วของตอเนือ่ งกับภาพทารําในสมุดไทยขาว สมัยรัชกาลที่ ๑ และตําราภาพฟอนรําอีกเลมหนึ่ง ตนฉบับเดิมของพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาสุดาสวรรค ดังกลาวมาแลวขางตน แตเนื่องจากความไมสมบูรณ จึงไดใหพระวิทยประจง (จาง โชติจิตระกะ) ชางในกรมศิลปากร และขุนประสิทธิ์จิตรกรรม (อยู ทรงพันธุ) ชางเขียนในหอพระสมุด วชิรญาณสําหรับพระนคร ชวยกันเขียนภาพใหมตามแบบทารําจากตนแบบใหมีความ สมบูรณยิ่งขึ้น

๗๐

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๗๑


ในส ว นของตอนที่ ๓ มี ก ารถ า ยภาพตั ว ละครแสดงท า รํ า เจ า พระยารามราฆพได ใ ห พ ระยานั ฏ กานุ รั ก ษ (ทองดี สุวรรณภารต) ครูละครหลวง เลือกตัวละครในกรมมหรสพเปนผูแสดงแบบ โดยทานไดมาชวยกํากับดูแลทารํา บันทึกภาพที่วังวรดิศ ผูแสดงแบบตัวพระคือ นายวง กาญจนวัจนตัวนางคือ นางสาวเสงี่ยม นาวีเสถียร ตอมาทานไดรับ พระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัววา อนินทิตา และไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ จุลจอมเกลา จึงมีบรรดาศักดิ์เปนคุณหญิงอนินทิตา อาขุบุตร

ทารําที่บันทึกในครั้งนี้ไดดําเนินการจัดทารําตามภาพลายเสนที่พระวิทยประจง (จาง โชติจิตระกะ) ชางใน กรมศิลปากร และขุนประสิทธิ์จิตรกรรม (อยู ทรงพันธุ) ชางเขียนในหอพระสมุด วชิรญาณสําหรับพระนคร เขียนไวครบทุก กระบวนทา ถึงทาหลงใหลไดสิ้น ทั้งนี้ มีบางทาปฏิบัติไมเหมือนภาพลายเสน บางทาแตกตางเล็กนอย

๗๒

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๗๓


“กลอนตําราทารํานี้ ไดมาจากเมืองนครศรีธรรมราช แตเห็นวาเปนตําราละครในกรุงฯ มิใชตําราโนหราชาตรี เพราะแตงเปนกลอนแปด ทั้งทารําตาง ๆ ในกลอนนี้ ก็ตรงกับตํารารําของเกาที่มีในหอพระสมุดฯ แตฉบับที่ไดมาจดตามที่ ครูโนหราชาตรีเมืองนครศรีธรรมราชจําไวได กลอดความวิปลาสขาดหายอยูหลายแหง ที่พิมพนี้ตองเอาตําราเกาสอบซอม บางทีอาจจะคลาดกับของเดิมบาง”๕ นอกจากกลอนทารําแมบทใหญทบี่ รรจุในหลักสูตรของวิทยาลัยนาฏศิลปสําหรับฝกหัดจนถึงปจจุบนั แลว ยังปรากฏ คํากลอนในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณปราบนนทุก บทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬา โลกมหาราช เปนกลอนแปด มี ๖ คํากลอน เปนที่รูจักกันในชื่อเรียกวา แมบทเล็กหรือแมบทนางนารายณ มีผลทําใหตอง ปรับกระบวนทารําใหลดลงเหลือ ๑๘ ทา มีทารําที่แตกตางจากแมบทใหญ คือ ทาเฉิดฉิน บรมครูจึงไดคิดกระบวนทารําขึ้น ใหมตามคํากลอนพระราชนิพนธ ใชทํานองเพลงชมตลาด และบรรจุเปนหลักสูตรการเรียนของวิทยาลัยนาฏศิลปเชนเดียวกับ แมบทใหญ

บทกลอนแมบทเล็ก (แมบทนางนารายณ) เทพประนมปฐมพรหมสี่หนา ทั้งกวางเดินดงหงสบิน อีกชานางนอนภมรเคลา เมขลาโยนแกวแววไว ลมพัดยอดตองพรหมนิมิต ยายทามัจฉาชมสาคร

ตําราภาพฟอนรําสูรําแมบท

รําแมบทตามกลอนจากตํารารํา ทีเ่ รียกวา แมบทใหญ ถือเปนการแสดงทีใ่ ชฝก หัดนาฏศิลปไทย ทีน่ อกเหนือไปจาก การฝกหัดเบื้องตนดวยเพลงชา – เพลงเร็ว แตงไวเปนกลอนแปด มี ๑๘ คํากลอน ใชเพลงชมตลาด พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๗๗ พระสารสาส น ประพั น ธ รั ฐ มนตรี ว  า การกระทรวงธรรมการ มี คํ า สั่ ง ให ตั้ ง โรงเรี ย น นาฏดุริยางคศาสตร ซึ่งพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ดํารงตําแหนงอธิบดีกรมศิลปากรในขณะนั้นไดรวบรวมผูมีความรูความ สามารถทางดานละครมาชวยสอนในโรงเรียนแหงนี้ ครูละครรุน แรกมีหลายทาน คือ นางศุภลักษณ ภัทรนาวิก (หมอมครูตว น) หมอมของเจาพระยาเทเวศรวงศววิ ฒ ั น นางลมุล ยมะคุปต และนางมัลลี คงประภัศร ไดรว มกันคิดประดิษฐทา รําจากภาพนิง่ ให เกิดการเคลือ่ นไหว มีทา เชือ่ ม ทารับ ตามแบบแผนนาฏศิลปไทย ไดรบั เลือกใหเปนกระบวนทารําทีน่ กั เรียนตองฝกหัด โดยจาก คําบอกเลาของนางลมุล ยมะคุปต ที่กลาวไวในหนังสือ ลมุล ยมะคุปต คุณานุสรณ ครบรอบ ๑๐๐ ป ๒ มิถุนายน ๒๕๔๘ วา “ทารําแมบทใหญนี้ คุณแมและคุณครูหมัน คงประภัศร ไดรวมกันคิดประดิษฐลีลาเชื่อมทารํา โดยยึดบทกลอน ตํารารําจากหนังสือตําราฟอนรําในรัชกาลที่ ๖ เปนหลัก มีบางทาที่ดัดแปลงแตกตางไปจาก ทารําของเดิม ทั้งนี้เนื่องจาก เปนการยากทีจ่ ะปฏิบตั ลิ ลี าทารําทีม่ อี ยูเ ดิมใหสอดคลองตอเนือ่ งกันตามบทกลอนได และไดราํ ทาทีด่ ดั แปลงใหทา นเจาคุณครู (พระยานัฏกานุรกั ษ) ดู ทานเจาคุณครูเห็นชอบดวย อนุญาตใหนาํ ไปฝกหัดนักเรียนได คุณแมทา นจึงไดฝก หัดนักเรียนโรงเรียน ศิลปากร ใหรําประกอบการแสดงละคร เรื่องสุริยคุปต บทประพันธของคุณหลวงวิจิตรวาทการ ตอมาคณะกรรมการจัดทํา หลักสูตรของโรงเรียนศิลปากรไดพจิ ารณานําการรําแมบทเปนบทเรียนฝกหัดรําแมทา ตอจากการเรียนแมทา เพลงชา เพลงเร็ว เพลงเชิด เสมอ สืบมาจนถึงปจจุบันนี้”๔ สําหรับรําแมบทใหญที่ปรากฏในเรื่องสุริยคุปตดังกลาวมาขางตน นางสองชาติ ชื่นศิริ ศิลปนแหงชาติ เปนผูแสดง คนแรก (บทบาทดวงวิญญาณนางจันทรคุปต) รําแมบทใหญอยูใ นการแสดงตอนทีด่ วงวิญญาณนางจันทรคุปตราํ แขงขันกันกับ นางยักษแปลง ซึ่งในที่สุดนางยักษแปลงก็พายแพไป สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดทรงอรรถาธิบายไวในหนังสือ ตํานานละครอิเหนา เรือ่ ง กลอนรําแมบทใหญ ดังนี้ ๔ ประพิศพรรณ ศรีเพ็ญ, ลมุล ยมะคุปต คุณานุสรณ ครบรอบ ๑๐๐ ป ๒ มิถุนายน ๒๕๔๘, ๓๔

๗๔

ดังบทที่วา

สอดสรอยมาลาเฉิดฉิน กินรินเลียบถํ้าอําไพ แขกเตาผาลาเพียงไหล มยุเรศฟอนในอัมพร ทั้งพิสมัยเรียงหมอน พระสี่กรขวางจักรฤทธิรงค

เมือ่ ถึงบททีน่ นทุกรําตามนางนารายณโดยไมรวู า เปนกลลวงใหชที้ ขี่ าตนเอง เพือ่ ใหเกิดอันตรายจากนิว้ ชีท้ เี่ ปนเพชร ฝายวานนทุกก็รําตาม ถึงทานาคปวนมวนหางลง

ดวยความพิสมัยใหลหลง ก็ชี้ตรงเพลาพลันทันใด

“...แมบทนางนารายณ เมือ่ พิจารณาขอความในวรรคตนของกลอนทีว่ า “เทพนม ปฐมพรหมสีห่ นา” ซึง่ อาจตีความ ไดวา เทพนอมไหวคารวะเปนเบื้องตนแดพระพรหม ซึ่งอาจเปนแนวทางการวิเคราะหที่มาของทารําแมทารํา นาฏศิลปไทย ไดรับอิทธิพลศิลปวัฒนธรรมการฟอนรําจากอินเดีย โดยพวกพราหมณที่นับถือพระพรหมเปนใหญ เปนผูสรางโลก และสราง นาฏยเวท และมีบัญชาใหพระภรตมุนีจดจําบันทึกทารําสรางตํารานาฏยศาสตรมาสอนศิษยและมวลมนุษย”๖ รําแมบทเล็กหรือแมบทนางนารายณ มีมาแตครั้งกรุงศรีอยุธยา ปรากฏอยูในระบําเบิกโรงชุดนารายณปราบนนทุก และมีการสืบทอดตอกันมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร ดังปรากฏในกลอนบทละคร ความพิสดารอยูในเรื่องรามเกียรติ์ พระราช นิพนธรัชกาลที่ ๑ จนถึงสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดทรงพระราชนิพนธบทเบิกโรงละครหลวงไวเปน ตํานานวา๗

๕ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตํานานละครอิเหนา,(๒๕๐๖), ๔๖ ๖ ประพิศพรรณ ศรีเพ็ญ, ลมุล ยมะคุปต คุณานุสรณ ครบรอบ ๑๐๐ ป ๒ มิถุนายน ๒๕๔๘, ๓๔ ๗ ธนิต อยูโ พธิ์ , ศิลปะละครรําหรือคูมือนาฏศิลปไทย, (๒๕๑๖ ), ๒๔๕

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๗๕


เรื่องนารายณกําราบปราบนนทุก เปนเรื่องดึกดําบรรพสืบกันมา เบิกโรงงานการเลนเตนรํา สําหรับโรงนางฟอนละครใน มีทีทาตาง ๆ อยางนารายณ มีชื่อเรียกทาไวใหศิษยจํา บัดนี้เราไดรําทําบท เบิกโรงละครกอนเลนงาน

ในตนไตรดายุคโบราณวา ครั้งกรุงศรีอยุธยาเอามาใช ที่เริ่มมีพิธีทําเปนการใหญ แสดงใหเห็นครูผูสอนรํา เยื้องกรายโดยนิยมคมขํา จะไดทําใหตองแกคลองการ ใหปรากฏโดยแสดงแถลงสาร พวกเราทานจงเปนสุขทุกคนเอย

ตอมาเมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๙ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพไดจัดการแสดงชุด นารายณปราบนนทุก ตอนรับผูส าํ เร็จราชการอินโดจีน ทีว่ งั วรดิศ โดยทรงนิพนธปรับปรุง แทรกบทเจรจาไวดว ย ตอนทายเรือ่ ง มีพระนิพนธบทกลอนเปนตํานานนารูกลาวไว ดังนี๘้ เรื่องนารายณสังหารผลาญนนทุก เมื่อครั้งราชธานีศรีอยุธยา สําหรับเลนงานฤกษเบิกโรงหลวง ตอฝกฟอนรําดีปรีชาไว ละครสามัญไมขันเลน ถึงองคที่สี่กษัตริยรัชกาล ซึ่งพวกเราเอามาซักซอมเลน ขอบรรดาผูมาดูละคร

แตในไตรดายุคนานนักหนา เปนตํารารําฟอนละครใน ในกระทรวงราชฐานการใหญ จึงรําไดถูกทํานองของโบราณ ไดเห็นแตในราชฐาน จึงประทานอนุญาตราษฎร จะใหเห็นแบบอยางแตปางกอน จงถาวรเปนสุขทุกคน เทอญฯ

ทั้งนี้ทานผูหญิงแผว สนิทวงศเสนี ไดเคยฝกหัดบทบาทนางนารายณใหกับคุณอุนเรือน ไกรฤกษ ซึ่งมีหมอมครูแยม เปนผูควบคุม คุณหญิงนัฏกานุรักษ (เทศ สุวรรณภารต) แสดงเปนนนทุก๙ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดพระราชนิพนธการแสดงชุด “พระภะรตเบิกโรง” โดยนําชื่อทารําที่ ปรากฏอยูใ นกลอนตํารารํามาเรียบเรียงเปนบทกลอนสลับคําเพือ่ ใชในการแสดงเบิกโรง วัตถุประสงคในการเผยแพรใหคนไทย รูจักทารําของไทยมากยิ่งขึ้น แสดงถึงพระปรีชาสามารถในดานวรรณกรรมเปนอยางยิ่ง ดังนี้ เทพนมปฐมพรหมสี่หนา เพียงไหลผาลาชานางนอน กระตายชมจันทรจันทรทรงกลด ชูชายนาฎกรายเขาวัง กินนรรอนรําเลียบทา มัจฉาลอยลองฟองวารินทร

สอดสรอยมาลาเรียงหมอน ภมรเคลาแขกเตาเขารัง พระภะรตทิ้งสารมารกลับหลัง มังกรหาแกวมุจลินท องคพระรามากงศิลป หลงใหลไดสิ้นงามโสภา

สิงโตเลนหางกวางโยนตัว หงสทองลอยลองในคงคา กรีดกรายยายยางกวางเดินดง ชางสารหวานหญานารัก กินนรฟอนฝูงยูงฟอนหาง ลมพัดยอดตองตวัดวี รํากระบี่สี่ทาจีนสาวไส เมขลาลอแกวลํานํา

รํายั่วชักแปงผัดหนา เหราเลนนํ้าสําราญนัก พระนารายณฤทธิรงคทรงขวางจักร พระลักษมณแผลงศรจรลี ขัดจางนางนางรําสองสี สีซอสามสายยายเพลงรํา รําชะนีรายไมเฉื่อยฉํ่า แบบรําตามเยี่ยงโบราณมา

สํานักการสังคีต กรมศิลปากร ไดอนุรักษ สืบทอดการแสดงรําแมบทใหญ และแมบทเล็กหรือแมบทนางนารายณ ที่บรมครูนาฏศิลปไทยไดสรางสรรคขึ้นดวยอัจฉริยะจากภูมิปญญาอยางงดงาม โดยการถายทอดจากศิลปนรุนสูรุน และไดจัดการแสดงตามโอกาสที่เหมาะสมมาจนถึงปจจุบัน นอกจากนี้ ยังไดสรางสรรคการแสดงที่เลาขานมาเปนตํานานใน เรือ่ งของการฟอนรําจากพระอิศวร พระผูเ ปนเจาทีไ่ ดทรงประดิษฐทา รํา มีเรือ่ งราวกลาววา พระอิศวรไดทรงแสดงการฟอนรํา ไวถึง ๓ ครั้ง มอบใหพระภะรตฤษี เปนผูแตงตําราการฟอนรํา พระนารทฤษี แตงเปนตําราสั่งสอนมนุษย เรื่องราวเกี่ยวกับ ตําราการฟอนรํามีหลักฐานกลาวไวในโกยิลปุราณะ ครั้งที่ ๑ พระอิศวรทรงชวนพระนารายณเสด็จมาที่ปาตารกะเพื่อปราบบรรดาฤษีที่ประพฤติตนไมเหมาะสม ในครั้งนี้พระอิศวรทรงฟอนรําสั่งสอนบรรดาฤษีขณะที่เหยียบยักษคอมตนหนึ่งไวชื่อวา มุยะกะละหรืออสูรมูลาคนี ครั้งที่ ๒ พระยาอนันตนาคราชกราบทูลขอใหพระอิศวรทรงฟอนรําอีกสักครั้ง พระอิศวรเสด็จไปยังโลกมนุษย ณ ตําบลจิทัมพรัม ทรงแสดงในสุวรรณศาลาที่ทรงเนรมิตขึ้น ครั้งที่ ๓ พระอิศวรประทับอยูที่กลางเทวสภาบนเขาไกรลาศ มีพระประสงคจะแสดงการฟอนรําใหเปนตนแบบ สําหรับมนุษยโลก มอบหมายใหพระสุรัสวดีดีดพิณ พระอินทรเปาขลุย พระพรหมตีฉิ่ง พระลักษมีขับรอง พระนารายณตีโทน เรียกวาดนตรีทิพยหรือดนตรีสวรรค กลาวไดวา ตํานานการฟอนรําของพระอิศวรนี้ เปนเรือ่ งราวทีก่ อ ใหเกิดแนวคิดในการสรางสรรคการแสดงชุดตํานาน การฟอนรํา เรื่องนาฏราช ที่บรมครูของสํานักการสังคีต กรมศิลปากร รวมกันประดิษฐขึ้นทั้งบทการแสดง กระบวนทารํา เพลงรอง ทํานองดนตรี โดยจัดแสดงมาอยางตอเนื่องถึงปจจุบันใหเปนชุดการแสดงที่บอกเลาที่มาของการฟอนรํา ที่มีตน กําเนิดมาจากอินเดียแตไทยเรารับมาแลวปรุงแตงใหงดงาม ดังอรรถาธิบายขางตนของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ

๘ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, “บทนาฏศิลป เรื่องนารายณปราบนนทุก,” ใน บทแผนเสียง, (ราชบัณฑิตยสภา, ๒๔๗๕) ๙ พนิดา สิทธิวรรณ, หนังสือรําไทย, ๖๔

๗๖

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๗๗


สองสมเด็จกับงานดานประวัติศาสตรโบราณคดี งานโบราณคดีกอนประวัติศาสตร นายอรรณพ แจงสวาง ภัณฑารักษปฏิบัติการ

ปฐมบทวิชาบุรพประวัติศาสตร

“การหาความรูเรื่องกอนประวัติศาสตรสําหรับทูลบรรเลงดูคลายกับไปเที่ยวถํ้ามหาสนุก ดวยความรูมันแตกสาขา ชวนใหไปวิชชาอื่นอีกหลายอยาง ลองชิมเขาไปดูก็เห็นลึกซึ้ง ยากที่จะไปใหถึงที่สุดได”๑ วิชากอนประวัติศาสตรในสมัยนั้นถือเปนองคความรูที่ยังไมปรากฏแพรหลายมากนักในประเทศไทย เนื่องจากยุค กอนประวัตศิ าสตรเปนชวงเวลาทีย่ งั ไมไดมกี ารประดิษฐลายลักษณอกั ษร หรือจดบันทึกเรือ่ งราวตางๆ จึงเปนเรือ่ งยุง ยากทีจ่ ะ ศึกษา ทําใหนักวิชาการสวนใหญจึงมุงเนนการศึกษาความรูเกี่ยวกับการศึกษายุคประวัติศาสตร โบราณวัตถุสถาน โบราณคดี สมัยประวัติศาสตรและประวัติศาสตรศิลปะ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงไดตรัสไวเกี่ยวกับ การศึกษาวิชากอนประวัติศาสตรวาเปรียบเสมือนการไปเที่ยวเลนในถํ้ามหาสนุก มีปริศนาความลับซับซอนยากที่จะเขาถึง จุดหมาย ดังนั้นจึงตองใชสรรพศาสตรหลากหลายวิชาเพื่อเปนเครื่องมือในการชวยอธิบายเรื่องราวยุคกอนประวัติศาสตรให มีความใกลเคียงกับขอเท็จจริงมากที่สุด

กับงานดานประวัติศาสตร โบราณคดี

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ถายภาพรวมกับศาสตราจารยคัลเลนเฟล ณ ตําหนักซินนามอนฮอล เมืองปนัง (ภาพจาก ปฐมฤกษ เกตุทัต, “พัฒนาการโบราณคดีในประเทศไทย,” เมืองโบราณ, ปที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ – ๙ (๒๕๓๘), ๓๔) ๑ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๖. (กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา, ๒๕๔๖), ๒๗. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๗๙


จุดเริ่มตนของวิชาโบราณคดีกอนประวัติศาสตรในสาสนสมเด็จ เมื่อครั้งสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ ประทับ ณ เมืองปนัง สหพันธรัฐมาเลเซีย ทรงทราบวาศาสตราจารยเปยรเตอร วินเซนต แวน สไตน คัลเลนเฟล (Peter Vincent van stein Callenfels) นักโบราณคดีชาวฮอลันดา ผูซึ่งมีความเชี่ยวชาญทางดานโบราณคดี กอนประวัตศิ าสตร ไดรบั ทุนวิจยั สนับสนุนจากรัฐบาลอังกฤษใหเดินทางเขามาในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต คาบสมุทรมลายู เพื่อมาดําเนินงานขุดคนทางโบราณคดี บริเวณริมนํ้ากวาลามุดา ตําบลคัวปกกา อําเภอปรอวินสเวเลสลี ออกนอกเมืองปนัง ประมาณ ๑๐ ไมล พระองคจึงมีความประสงคในเยี่ยมชมการขุดคนดังกลาว การพบปะครั้งนี้ทรงไดเห็นกระบวนการดําเนิน งานโบราณคดีอยางเปนระบบ ทรงเกิดความสนพระทัยในการแลกเปลี่ยนความรูวิชากอนประวัติศาสตรกับศาสตราจารย คัลเลนเฟล จึงไดมกี ารนัดเชิญมาดืม่ นํา้ ชา ณ บานซินนามอน ฮอลล บานพักของพระองคเปนประจําทุกสัปดาห ซึง่ แสดงใหเห็น วาทรงมีความมุมานะในการศึกษาวิชากอนประวัตศิ าสตรอยางจริงจัง จึงมีการศึกษาคนควาเพิม่ เติม และเรียบเรียงองคความรู ที่ไดทั้งหมดมาบอกเลาผานจดหมายถึงสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศานุวัดติวงศ ทําใหสาสนสมเด็จเปน เอกสารแรกเริ่มของไทยที่วาดวยการศึกษาความรูวิชาโบราณคดีกอนประวัติศาสตร

บุรพประวัติศาสตรสูการพัฒนาวิชาโบราณคดีกอนประวัติศาสตรของไทย

พระนิพนธความรูเ รือ่ งโบราณคดีกอ นประวัตศิ าสตรของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศานุวัดติวงศ ถือเปนรากฐานที่สําคัญของวิชาโบราณคดีกอนประวัติศาสตร ของคนรุนหลังตอการริเริ่มศึกษาองคความรูเพื่อสืบสานและพัฒนาตอยอดจากความรูท่ีบรมครูสองพระองคไดถายทอดเรียบ เรียงไว โดยมีประเด็นเนื้อหาที่นาสนใจหลายประการ ดังนี้

๑. นิยามคําวา “กอนประวัติศาสตร”

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงเปนบุคคลแรกที่บัญญัติคํานิยามภาษาไทยจากภาษา อังกฤษ “Prehistory” วา “กอนประวัติศาสตร” หรือ “บุรพประวัติศาสตร” ใชคําอธิบายตามความหมายแบบตะวันตกตาม ที่ศาสตราจารยคัลเลนเฟลไดกราบทูลไว ซึ่งคําวา “กอนประวัติศาสตร” ถูกใชอยางตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน เปนทั้งชื่อสาขา วิชาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร โบราณคดี สวนคําวา “บุรพประวัติศาสตร” ไมไดนํามาใชอีกเลย๒ ทั้งนี้ ทรงไดอธิบายความหมายของคําวา “กอนประวัติศาสตร” เปนการศึกษาประวัติศาสตรชวงเวลาหนึ่ง ที่ยังไม ไดมีการคิดคนบันทึกหรือหลักฐานลายลักษณอักษร ดวยเหตุนี้จึงตองอาศัยวิชาโบราณคดีในการตรวจสอบหลักฐานที่มีอายุ สมัยชวงกอนประวัติศาสตรไมวาเปนโบราณวัตถุ โครงกระดูกมนุษยและสัตว เปนตน “หมอมฉันวาถามถึงประวัติของวิชชากอนประวัติศาสตร Prehistory…วิชชากอนประวัติศาสตรก็คือวิชชา ประวัติศาสตรนั้นเอง ผิดกันแตเปนตอนกอนมีหนังสือเปนหลักฐาน จึงตองหาความรูดวยอาศัยสังเกตโบราณวัตถุตาง ๆ โบราณวัตถุอันเปนหลักฐานในคดีกอนประวัติศาสตรเชนขวานหินเปนตน ตลอดจนกระดูกสัตวสูญพรรคไปแลว และกระดูก คนโบราณก็ไดพบมาชานานแลว.”๓ “เมื่ อ วานซื น เห็ น เขาลงหนั ง สื อ พิ ม พ บ างกอกไตม ว า ด ว ยเรื่ อ งพบโครงกระดู ก คนยุ ค บุ ร พประวั ติ ศ าสตร สูงเจ็ดฟต...”๔ ๒ รัศมี ชูทรงเดช. สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับงานโบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตร. ใน ๑๕๐ป สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับพัฒนาการ

โบราณคดีไทย. (กรุงเทพฯ: ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๕), ๙๙.

๓ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๖. (กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา, ๒๕๔๖), ๑๙. ๔ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, เรื่องเดิม, ๗๒.

๘๐

๒. บุกเบิกวิชา “โบราณคดีกอนประวัติศาสตร” วิชาโบราณคดีเปนศาสตรแขนงหนึง่ ทีถ่ กู กลาวถึงในสาสนสมเด็จ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ มีความสนพระทัยเปนอยางยิ่ง และไดบันทึกบอกเลาแกสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ซึ่งพระองคเมื่อทรงอานจดหมายแลวรูสึกสนพระทัยดวยเชนกัน เนื่องจากวาการขุดคนทางโบราณคดีกอนประวัติศาสตรเปน องคความรูที่ไมคอยไดรับความสนใจมากนักในประเทศไทย ณ ขณะนั้น “ตรัสเลาถึงการขุดขุมทรัพยกอ นสมัยประวัตศิ าสตร ฟงตรัสเลาทําใหหลงใหลในใจมาก ดวยวิชาในสาขาอันนีย้ งั ไม เคยสนใจมาเลย เปนการเริม่ แรกเรียนทีจ่ ะรูข นึ้ ใหมทงั้ สิน้ ผิดกันไปคนละทางทีเดียวกับการขุดคนดูสงิ่ กอสรางของโบราณ นับ วาสนุกไมแพกันเลย”๕ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดนิยามความหมายของโบราณคดีกอนประวัติศาสตรใน สาสนสมเด็จ คือ การศึกษาวิเคราะหโบราณวัตถุทฝี่ ง อยูใ ตพนื้ ดิน ไมวา จะเปนสิง่ ของเครือ่ งมือใชสอยหรือซากมนุษย เพือ่ สืบหา อายุสมัย วิวัฒนาการของมนุษย และพัฒนาการทางสังคมมาแตอยางใด ซึ่งคลายกับความหมายของโบราณคดีในปจจุบันที่ หมายถึง ศาสตรแขนงหนึ่งที่ศึกษาเรื่องราวของมนุษยในอดีต รวมทั้งเรื่องราวของบรรพบุรุษมนุษย โดยผานกระบวนการการ คนพบและวิเคราะหหลักฐานทางโบราณคดีอยางเปนระบบ๖ “ความรูวิชชากอนประวัติศาสตร Prehistory อาศัยตรวจของที่จมดินอยูเปนสําคัญ คือ โครงกระดูกมนุษยชั้นกอน เกาอยาง ๑ กับเครื่องมือมนุษยชั้นนั้นอยาง ๑ เอาของเหลานั้นมาพิจารณาประกอบกับภูมิธาตุและโครงกระดูกสัตวสูญพันธุ ถามีตรงที่ขุดพบหาหลักฐานเรื่องประวัติของมนุษยชาติวา (๑) มีกําเนิดมาแตเมื่อใด (๒) สืบพันธุมาอยางไร และ (๓) เจริญ ปญญามาอยางไร อันนี้เปนใจความ”๗

๓. การแบงยุคสมัยกอนประวัติศาสตร

ในชวงกอนพุทธศักราช ๒๔๗๕ การแบงยุคสมัยทางโบราณคดีมีเฉพาะสมัยประวัติศาสตร เพราะยังไมมีการศึกษา คนควาเกีย่ วกับงานโบราณคดีกอ นประวัตศิ าสตรอยางจริงจัง สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพไดอธิบาย หลักเกณฑการแบงอายุสมัยกอนประวัติศาสตร ซึ่งยังคงเปนแนวคิดที่ใชอางอิงอยู ณ ปจจุบัน คือ การแบงอายุตามธรณีกาล และยุคสมัยโบราณคดีกอนประวัติศาสตร๘ การแบงอายุตามธรณีกาล สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ใชคําวา “ภูมิกาล” เปนคําศัพทที่แปลมาจากศัพท ภาษาอังกฤษ Geological Time กลาวถึงการแบงยุคสมัยของการกําเนิดโลกแบงออกเปน ๕ กัลป (Division) ณ ปจจุบัน นักบรรพชีวินวิทยาไดมัหลักเกณฑการแบงชวงเวลาที่โลกเกิดขึ้นมา คลายกับที่ไดทรงอธิบายไว แตการกําหนดชื่อเรียกหรือ การแบงแตละชวงเวลานั้นมีความตางออกไป โดยแบงออกเปน ๔ มหายุค ตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก รวมกับรูปแบบของสิ่งมีชีวิตที่มีในแตละชวงสมัย๙ ไดแก ๕ ๖ ๗ ๘

สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๕. (กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา, ๒๕๔๖), ๑๗๓. จาก ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) (https://www.sac.or.th/databases/archaeology/ เขาถึงเมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๓) สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๖. (กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา, ๒๕๔๖), ๒๗. รัศมี ชูทรงเดช. สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับงานโบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตร. ใน ๑๕๐ป สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับพัฒนาการ โบราณคดีไทย. (กรุงเทพฯ: ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๕), ๑๐๐. ๙ ไพฑูรย พงศบุตร และคณะ. ภูมิลักษณะของประเทศไทย. (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๔), ๑๕๐

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๘๑


มหายุคพรีแคมเบรียน (Precambrain Era) ครอบคลุมในชวงเวลาประมาณ ๕๗๐ – ๔,๖๐๐ ลานปมาแลว เปน ชวงเวลาของสิ่งมีชีวิตประเภทสัตวเซลลเดียว เชน แบคทีเรีย มหายุคเพลีโอโซอิก (Paleozoic Era) มีอายุระหวาง ๒๓๐ – ๕๗๐ ลานปมาแลว เปนชวงเวลาของสัตวไมมีกระดูก สันหลัง ปลา และสัตวครึ่งบกครึ่งนํ้า มหายุคเมโสโซอิก (Mesozoic Era) มีอยูในชวงประมาณ ๖๕ – ๒๓๐ ลานปมาแลว เปนยุคของสัตวเลื้อยคลาน ไดโนเสาร สัตวจําพวกนก มหายุคซีโนโซอิก (Zenozoic Era) หรือ ตรงกับยุค “ตติยกัลป” ศัพทที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ ใชเรียกยุคสมัยทางธรณีกาล ถือเปนยุคของสัตวเลีย้ งลูกดวยนมทีม่ วี วิ ฒ ั นาการอยางตอเนือ่ งกอนจะกลายเปน บรรพบุรุษมนุษย และมนุษยเราในปจจุบัน สามารถแบงออกไดเปน ๒ ยุค คือ ยุคเทอรเชียรี Tertiary และยุคควอเตอนารี Quaternary (ตรงกับจตุถกัลปในสาสนสมเด็จ) ซึ่งถือเปนยุคสมัยที่สําคัญเพราะมีการคนพบหลักฐานทางโบราณคดี สามารถ แบงยอยได ๒ สมัย คือ สมัยที่ ๑ ไพสโตซีน Pleistocene (ในสาสนสมเด็จใชคําวา เปลอิสโตซีน) อยูในชวงเวลาประมาณ ๑,๘๐๐,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ ปมาแลว เปนยุคสมัยที่นํ้าแข็งยังไมละลาย เกิดธารนํ้าแข็งปกคลุมพื้นผิวโลก ปรากฏหลักฐานบรรพบุรุษของมนุษย ประเภทโฮโมอีเรคตัส (Homo Erectus) มนุษยผูยืนตัวตรง หรือที่เรียกกันทั่วไปวา มนุษยวานร จากขอมูลทางโบราณคดี พบกะโหลกศีรษะของมนุษยกลุมนี้ ที่เกาะชวา ประเทศอินโดนิเซีย (Java Man) และในถํ้าจูกัวเทียน ประเทศจีน (Peking Man) สวนในประเทศไทยพบชิ้นสวนกะโหลกศีรษะของมนุษยดังกลาวในพื้นที่อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง โดยอาจเปน ซากดึกดําบรรพของบรรพบุรุษมนุษยที่เคยอาศัยเมื่อประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ปมาแลว๑๐

การแบงยุคสมัยโบราณคดีกอนประวัติศาสตร “เครื่องมือของคนโบราณชั้นกอนประวัติศาสตรที่ยังปรากฏอยู มีทําดวยหินหรือดวยทองสัมฤทธิหรือดวยเหล็ก เปนพื้น นักปราชญพิจารณาเห็นวาเครื่องมือเหลานี้เกิดขึ้นตางสมัยกัน”๑๑ สมเด็จพระเจาบรมวงศ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดกลาวถึงหลักเกณฑการกําหนดอายุสมัยโบราณคดี กอนประวัติศาสตร โดยใชประเภทของวัสดุเครื่องมือใชสอย ซึ่งในปจจุบันถือเปนทฤษฎีหนึ่งในการกําหนดอายุสมัยของ โบราณวัตถุสมัยกอนประวัตศาสตรในประเทศไทยอยางสังเขป แบงออกเปน ๒ สมัยหลัก คือ สมัยหินและสมัยโลหะ สามารถ แบงยอยรายละเอียดไดดังนี้ สมัยหิน (Stone Age) สามารถแบงยอยได ๓ ชวง ไดแก สมัยหินเกา (Paleolithic Period) อยูในชวงระยะเวลาประมาณ ๑๐,๐๐๐ – ๕๐๐,๐๐๐ ปมาแลว เปนชวงที่ มนุษยมีสภาพสังคมแบบเรรอน แสวงหาอาหารตามฤดูกาล อาศัยทรัพยากรทางธรรมชาติในการดํารงชีพ การผลิตเครื่องมือ เครื่องใชเนนการใชงานเปนหลัก ไมมีความประณีต ที่ยังหลงเหลือใหเห็นในปจจุบันสวนมากทําดวยหิน โดยนํามากะเทาะให เกิดความคมในการสับตัด

เครื่องมือหินกะเทาะเปนเครื่องมือยุคแรกๆ ของกอนประวัติศาสคร ที่นําหินมากะเทาะทําใหเกิดความคม

เปรียบเทียบกะโหลกมนุษยสายพันธุโฮโมอีเรคตัส (Peking Man) และสายพันธุโฮโมเซเปยนส เซเปยนส หรือมนุษยในปจจุบัน ที่มา: http://humanorigins.si.edu/evidence/human-fossils/fossils/zhoukoudian (เขาถึงเมื่อ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๓)

สมัยที่ ๒ รีเซนต Recent หรือ โฮโลซีน Holocene หรือยุค Recent ในสาสนสมเด็จ มีอายุราว ๑๐,๐๐๐ ปมาแลว จนถึงปจจุบัน ซึ่งเปนชวงสภาพแวดลอมที่มีภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิสูงขึ้น นํ้าแข็งละลายระดับนํ้าทะเลสูง แผนดินบางสวนจมอยูใตนํ้าจึงเกิดเปนแผนดินคาบสมุทรที่ปรากฏในปจจุบัน มนุษยวานรไดวิวัฒนาการเปนมนุษยสายพันธุ ปจจุบัน คือ โฮโม เซเปยนส เซเปยนส ในประเทศไทยพบหลักฐานทางโบราณคดีของมนุษยกลุมนี้เปนสวนมาก ๑๐ สุรพล นาถะพินธุ. รากเหงา บรรพชนคนไทย : พัฒนาการทางวัฒนธรรมกอนประวัติศาสตร. (กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๐) หนา ๑๕.

๘๒

เครื่องมือขวานหินแบบมีบา สําหรับตอดาม เปนรูปแบบที่ปรากฏ เดนชัดในชวงสมัยหินใหม มีการตกแตงอยางประณีตและใชงานไดมี ประสิทธิภาพมากกวาเครื่องมือหินยุคแรก

สมัยหินกลาง (Mesolithic Period) อยูในชวงระยะเวลาประมาณ ๔,๕๐๐ – ๑๐,๐๐๐ ปมาแลว วิถีชีวิตยังเปน แบบเดียวกับยุคหินเกา มีการเคลื่อนยายถิ่นฐานตามฤดูกาลอาหาร เครื่องมือเริ่มมีความประณีตมากขึ้น ชวงปลายเริ่มมีการ ผลิตภาชนะดินเผาเพือ่ ใชงาน และเริม่ การเพาะปลูกบางแลว ปจจุบนั มีแนวคิดควบรวมเครือ่ งมือสมัยยุคหินกลางเปนสมัยเดียว กับสมัยหินเกา สมัยหินใหม (Neolithic Period) อยูในชวงระยะเวลาประมาณ ๓,๕๐๐ – ๔,๕๐๐ ปมาแลว มีสภาพสังคมแบบ กสิกรรม มนุษยเริ่มรวมตัวอาศัยเปนหลักแหลงในระบบเศรษฐกิจแบบผลิตอาหาร ควบคูกับการหาของปา สามารถเพาะปลูก และเลีย้ งสัตวสาํ หรับหลอเลีย้ งภายในชุมชนได เครือ่ งมือมีการออกแบบใหเหมาะสมกับการใชงานในแตละประเภท และตกแตง ขัดอยางสวยงาม ๑๑ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๖. (กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา, ๒๕๔๖), ๔๔. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๘๓


๔. เทคนิคและวิธีการดําเนินงานโบราณคดี

“...การขุดขุมทรัพยกอนสมัยประวัติศาสตรจะใชเครื่องมือที่ทําดวยโลหะ หรือที่เปนของหนักไมได ดวยเกรงจะไป กระทบโบราณวัตถุใหยอยยับเสีย...เครื่องมือใชไดแตเอาไมไผมาเหลารูปเหมือนกับใบพาย คอย ๆ เขี่ยคุยแผนดินลงไปทีละ นอยคลายกับเอาปากเปาใหดินปลิวไป...”๑๒

เครื่องมือขวานสําริดและแมพิมพแบบประกบสองชิ้น

เครื่องมือขวานเหล็ก

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดบรรยายการดําเนินงานโบราณคดีทศี่ าสตราจารยคลั เลนเฟล เปนผูอํานวยการขุดคนนั้นเปนวิธีการแบบสากล มีจุดประสงคเพื่อหาโบราณวัตถุและตรวจสอบสภาพชั้นดินวามีลักษณะ อยางไร ซึ่งจะใชเครื่องมือที่เปนโลหะหรืออุปกรณที่มีนํ้าหนักมากไมได เนื่องจากจะมีผลกระทบใหโบราณวัตถุชํารุดเสียหาย ได ดังนั้นจึงตองใชไมไผนํามาเหลาใหมีลักษณะคลายใบพายแลวคอยๆ เกลี่ยดินออก เมื่อพบโบราณวัตถุโผลขึ้นมาบนดินแลว ไมควรดึงขึ้นมาเพราะอาจทําใหโบราณวัตถุเสียหาย ใหเกลี่ยดินจนกวาวัตถุลอยตัวแลวเก็บขึ้นมาจากดินเพื่อทําทะเบียนและ วิเคราะหโบราณวัตถุตอไป พรอมทําแผนผังหลุมขุดคน โดยใหเห็นดานตัดขวางของชั้นดิน เพื่อตรวจสอบสภาพของชั้นดินวา อยูในชวงสมัยใด

สมัยโลหะ (Metal Age) สามารถแบงยอยได ๒ ชวง ไดแก สมัยสําริด (Bronze Age) อยูในชวงระยะเวลาประมาณ ๒,๕๐๐ – ๓,๕๐๐ ปมาแลว เปนสังคมเกษตรกรรมมี การเพาะปลูกและเลีย้ งสัตวเปนหลัก มนุษยอาศัยแบบชุมชนขนาดใหญ เริม่ มีระบบสถานภาพทางสังคม มีการจําแนกแรงงาน เปนสัดสวนกอใหเกิดอาชีพเฉพาะทาง ในระยะแรกโลหะสําริดเพื่อผลิตเครื่องมือเครื่องใชเปนหลักแสดงใหเห็นวามนุษยรูจัก เทคโนโลยีทางดานโลหกรรมแลว

ทัง้ นีก้ ารบรรยายกระบวนการดําเนินงานโบราณคดีดงั กลาว เปนขอมูลทีม่ ปี ระโยชนมากสําหรับนักโบราณคดีในรุน บุกเบิกและนักโบราณคดีรุนหลัง ตัวอยางที่เห็นไดชัดคือการดําเนินงานโครงการสํารวจกอนประวัติศาสตรไทย – เดนมารก ที่มีคณะทํางานชาวไทยที่สําคัญ คือ ศาสตราจารยชิน อยูดี และศาสตราจารยนายแพทยสุด แสงวิเชียร ที่กลาวถึงการศึกษา ความรูและวิธีการดําเนินงานทางโบราณคดีกอนประวัติศาสตรจากการอานหนังสือสาสนสมเด็จกอนที่จะเดินทางไปรวมกับ คณะสํารวจฯ๑๓ ซึ่งทําใหเปนเตรียมความพรอมในการปฏิบัติงานไดอยางดี

สมัยเหล็ก (Iron Age) อยูในชวงระยะเวลาประมาณ ๑,๕๐๐ – ๒,๕๐๐ ปมาแลว ลักษณะทางสังคมแบบเดียวกัน กับยุคสําริด แตมีพัฒนาการทางสังคมที่กวางมากขึ้น เริ่มมีการแบงแยกสถานภาพทางสังคม เกิดระบบหัวหนา หรือผูนําจิต วิญญาณทางความเชือ่ มีการติดตอกับชุมชนภายนอกมากขึน้ เกิดระบบเศรษฐกิจ มีการแลกเปลีย่ นสินคาและทรัพยากรตางๆ การคนพบเทคโนโลยีการถลุงเหล็กทําใหสามารถผลิตเครื่องมือเครื่องใชที่มีความแข็งแกรงและประสิทธิภาพมากกวาโลหะ สําริดที่นําไปใชผลิตสิ่งของเพื่อความงามเหมาะแกการนําไปใชเปนเครื่องประดับหรือสิ่งของทางพิธีกรรมแทน

ปจจุบนั การขุดคนทางโบราณคดียคุ กอนประวัตศิ าสตรยงั คงมีเทคนิคพืน้ ฐานคลายกับทีท่ รงบรรยาย ไว อาจจะแตกตาง ไปในเรือ่ งของการประยุกตใชเทคโนโลยีและเครือ่ งมือทางวิทยาศาสตรทกี่ า วหนามากขึน้ ลักษณะการขุดคนมักจะขุดลอกตาม ชั้นดินธรรมชาติ และใชเครื่องมือเบา เชน เกรียง ไมไผปลายแหลม เครื่องมือในการทําฟน แปรง เปนตน เมื่อพบโบราณวัตถุ ที่เปนหลักฐานสําคัญ นักโบราณคดีจะดําเนินการขุดดินรอบวัตถุออก ใหเห็นวัตถุชัดขึ้น และทําแผนผังการกระจายตัวของ โบราณวัตถุ ทําทะเบียนโบราณวัตถุ หากพบรองรอยที่ผิดปกติ นักโบราณคดีจะตรวจสอบดวยการขุดแนวดิ่ง เพื่อดูวามีอะไร อยูในชั้นทับถมกอนที่จะทําการขุดคนทั้งหมด๑๔

ทฤษฎีที่เปนการแบงสมัยยอยโบราณคดีกอนประวัติศาสตรอีกแบบหนึ่งคือ การแบงโดยใชหลักฐานทางโบราณคดี ที่เกี่ยวของกับพัฒนาการทางสังคม ในแตละชวงเวลาของการดํารงชีพมาผสมผสานกับเทคโนโลยีการทําเครื่องมือเครื่องใช สามารถแบงไดเปน ๒ สมัย คือ

ดินเทศ : โบราณคดีบุรพประวัติศาสตรวิพากษ

สังคมลาสัตว หาของปาตามธรรมชาติ (Hunting and gathering society) อยูในชวงระยะเวลาประมาณ ๔,๕๐๐ – ๕๐๐,๐๐๐ ปมาแลว มนุษยมลี กั ษณะทางสังคมแบบอาศัยอยูต ามถํา้ และเพิงผาใกลแมนาํ้ ลาสัตวและเก็บของปาเปนอาหาร เคลื่อนยายถิ่นฐานตามฤดูกาล ใชเครื่องมือหินกะเทาะ สังคมกสิกรรม (Village farming society) อยูในชวงระยะเวลาประมาณ ๑,๕๐๐ – ๔,๕๐๐ ปมาแลว เริ่มใช เครือ่ งมือหินขัด มนุษยมกี ารตัง้ ถิน่ ฐานถาวร อาศัยอยูเ ปนชุมชนเกษตรกรรมและปศุสตั วเปนหลัก พบการผลิตสินคาและนําเขา ทรัพยากรบางชนิดกับชุมชนภายนอก เกิดระบบโครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคมที่ซับซอนควบคูกับการพัฒนาเทคโนโลยี ทางดานโลหกรรรม

“ทีม่ นุษยชอบเอาดินแดงทาตัวเมือ่ ดึกดําบรรพนนั้ ดวยเห็นวาโลหิตเปนกําลังของมนุษย ถาโลหิตตกก็ออ นกําลังลง ถาโลหิตตกไมหยุดก็เลยตาย พิจารณาเห็นวาโลหิตผิดกับนํ้าอื่นดวยสีแดง จึงเชื่อวาสีแดงอาจทําใหเกิดกําลัง จึงเอาดินแดงทา ตัวเหมือนอยางทายาบํารุงกําลัง”๑๕ อยางที่ทราบโดยทั่วไปวาการวิพากษวิจารณทางวิชาการถือเปนประเด็นหลักสําคัญของสาสนสมเด็จระหวาง สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ซึ่งทั้งสองพระองคไดมีการแลกเปลี่ยนความเห็นในประเด็นเรื่องโบราณคดีกอนประวัติศาสตรดวยเชนกัน ๑๒ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๕. (กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา, ๒๕๔๖), ๖๒. ๑๓ สุด แสงวิเชียร. “อาจารยชิน อยูดี กับการขุดคนเรื่องราวกอนประวัติศาสตรของประเทศไทย”, ใน ชิน อยูดี: บิดาแหงวิชาโบราณคดีกอนประวัติศาสตร ไทย

(กรุงเทพฯ: โรงพิมพพระพิฆเณศ, ๒๕๒๙), ๑๘

๑๔ รัศมี ชูทรงเดช. สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับงานโบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตร. ใน ๑๕๐ป สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับพัฒนาการ

โบราณคดีไทย. (กรุงเทพฯ: ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๕), ๑๐๐.

๑๕ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๖. (กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา, ๒๕๔๖), ๑๖๓.

๘๔

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๘๕


กอนดินเทศ (Red Ochre)

แรฮีเมไทต (Hemetite)

กอนดินแดงที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดจากการเยี่ยมชมการขุดคนโบราณคดี กอนประวัตศิ าสตรทคี่ วั ปกกา เมืองปนงั ศาสตราจารยคลั เลนเฟลไดอธิบายวา ดินแดงนีม้ นุษยกอ นประวัตศิ าสตรมกั นํามาทา ทั่วรางกาย เพราะมีความเชื่อวาสีแดงคลายกับสีของโลหิต ซึ่งเปรียบเสมือนพละกําลังของมนุษย อีกทั้งยังเปนเครื่องปองกัน ภัยอันตรายตางๆ สวนสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ มีพระวินจิ ฉัยวากอนดินแดงคือ ดินเทศ ชาวอินเดียถือวาเปนวัตถุมงคลที่นําไปใชยอมผา หรือแมกระทั่งนําไปประกอบพิธีกรรม หรือใชในงานเทศกาลมงคลตางๆ ที่มี การนําไปผสมนํ้าแลวสาดใสคนคลายเทศกาลสงกรานตไทย โดย ณ ปจจุบันความรูเรื่องดินเทศไดมีการคนพบหลักฐานใหมๆ มากขึ้น ซึ่งในประเทศไทย ดินเทศถือเปนวัตถุดิบทางธรรมชาติที่มีความสําคัญมากตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร ดินเทศ (Red Ochre) คือ ดินทีม่ สี ว นผสมของแรฮเี มไทต (Hematite) หรือ แรเหล็กแดง มาจากภาษากรีก “Haima” แปลวา เลือด เปนแรเหล็กชนิดหนึง่ ทีม่ สี ารประกอบของเหล็กออกไซด ในประเทศไทยสามารถพบไดในหลายจังหวัด นักวิชาการ เชือ่ วามนุษยยคุ กอนประวัตศิ าสตรใชดนิ เทศเปนสวนประกอบในการสรางสรรคงานศิลปะถํา้ โดยบดใหละเอียดเพือ่ นําเม็ดผง สีแดง ผสมกับของเหลวทีท่ าํ ใหสตี ดิ ทน หรือแมกระทัง่ ในแหลงโบราณคดีประเภทหลุมฝงศพ พบวาเปนวัตถุประกอบในพิธกี รรม มีการนํามาโรยบนรางของผูวายชนม หรือนํามาบรรจุในภาชนะดินเผา หรือใชเขียนสีบนภาชนะดินเผาเปนเครื่องเซนไหว ฝงรวมกับสิง่ ของอืน่ ๆ ซึง่ แสดงใหเห็นวาดินเทศเปนโบราณวัตถุสาํ คัญของมนุษยกอ นประวัตศิ าสตรทใี่ ชสาํ หรับประกอบพิธกี รรม ตางๆ และเปนสื่อกลางในการบอกเลาเรื่องราววิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตรดังจะ เห็นไดจากศิลปะถํ้าที่ยังคงเหลืออยูปจจุบัน

๘๖

(ซาย) โครงกระดูกมนุษยจากแหลงโบราณคดีโคกพนมดี จังหวัดชลบุรี ที่พบรองรอยของการโรยดินเทศบนรางผูวายชนม (ขวาบน) ภาพเขียนสีกอนกอนประวัติศาสตร แหลงโบราณคดีถํ้าปลารา จังหวัดอุทัยธานี ที่มา : http://thebest.uthaithani.go.th/ (ขวาลาง) ภาพตัวอยางการใชดินเทศประกอบพิธีกรรมฝงศพของมนุษยกอนประวัติศาสตร ที่มา : http://www.proistoria.org/upper-paleolithic-by-zdenek-burian.html

บทสรุปบุรพประวัติศาสตรวิทยาฉบับสาสนสมเด็จ

“แตการขุดขุมทรัพยกอนสมัยประวัติศาสตรนี้ เห็นจะตองทําบันทึกจดหมายเหตุติดไปอยางละเอียด จึงจะเปน ประโยชนแกผูรักเรียนไดดี ถาละเลยหละหลวม ความรูที่ไดพบเห็นขึ้นก็สูญไปเปลา เพราะพยานหลักฐานลางอยางจะเก็บไว ดูไมได” วิชาบุรพประวัติศาสตรในสาสนสมเด็จเปนพระนิพนธโดยสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ไดกลายเปนตําราเรียนวิชาโบราณคดีกอนประวัติศาสตร อันทรงคุณคาอยางยิง่ ตอคนรุน หลัง ทีน่ อกเหนือจากการไดรบั ความรูแ ละความเขาใจในวิชาโบราณคดีกอ นประวัตศิ าสตรแลว ทรงเปนแบบอยางในการดําเนินงานของคนรุน หลังถึงความเพียรพยายามตอการหาความรูอ ยางสมํา่ เสมอ ดวยการศึกษาคนควา สวนพระองคทงั้ จากการอาน การสังเกต และการสนทนาแลกเปลีย่ นความรูก บั ผูม ปี ญ  ญา พระองคไดแสดงพระอัจฉริยภาพให เห็นถึงวิธีการคิด วิเคราะห ประเด็นตางๆ อยางปญญาชน โดยนําศิลปวิทยาการจากหลากหลายสาขามาสนับสนุนองคความรู ใหมีความนาเชื่อถือและเปนที่ยอมรับในสากล อีกทั้งพระองคยังมอบโอวาทแกผูปฏิบัติงานทางดานโบราณคดี ประวัติศาสตร ที่นอกเหนือจากการเปนผูเก็บรักษาดูแลโบราณวัตถุอันเปนสมบัติของชาติแลว ใหรูจักบันทึกขอมูลหรือจัดทํารายงานผลการ วิจยั ตาง ๆ ไมวา จะเปนทฤษฎี องคความรู หรือประสบการณการทํางาน เพือ่ เปนประโยชนตอ คนรุน หลังในการนําขอมูลเหลา นี้มาศึกษาและนําไปเปนแนวทางปฏิบัติงานสืบไป Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๘๗


เครื่องมือหินขัด กอนประวัติศาสตร ประมาณ ๓,๐๐๐ – ๓,๕๐๐ ปมาแลว หิน สถานที่เก็บรักษาพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

Chopper Chopping Tool Prehistoric Stone Bangkok National Museum

เครือ่ งมือขวานหินขัดมีบา สําหรับประกอบเขากับดาม เปนรูปแบบทีป่ รากฏเดนชัดในยุคกอนประวัตศิ าสตรสมัยหินใหม มีขนาดกระทัด ตกแตงขัดเรียบและรอยคมอยางประณีต สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาพระยานริศรานุวตั ดิวงศไดกลาวถึงชือ่ เรียกของวัตถุประเภทนีใ้ นสาสนสมเด็จวา “ขวานฟา” ซึง่ มีทมี่ าจากในสมัยนัน้ คนไทยมีความเชือ่ วาขวานฟาเปนสิง่ ของทีต่ กลงมาจากฟายามฝนตกและมีฟา ผา หากใครพบหรือไดจะ นําไปกะเทาะเปนชิน้ เล็กชิน้ นอยแบงกันไปเปนเครือ่ งรางของขลัง เหตุทพี่ บหลังจากฝนตก เพราะขวานหินขัดทีถ่ กู ฝงในดิน จะ ถูกนํ้าฝนชําระลางหนาดินออกไป จนมองเห็นขวานหินวางอยูบนดินอยางชัดเจน

หินฮีมาไทต กอนประวัติศาสตร หินแร ขนาด กวาง ๕ ซม. ยาว ๖ ซม. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม แหลงโบราณคดีศิลปะถํ้า ประตูผา จังหวัดลําปาง

Hematite iron ore Prehistoric Mineral Stone W. 5 CM. L. 6 CM. Chiang Mai National Museum, from an Excavation site in Pratu Pha Archaeological Site, Lampang

ฮีมาไทต หรือ แรเหล็กแดง มาจากภาษากรีก “Haima” แปลวา เลือด เปนแรเหล็กชนิดหนึ่งที่มีสารประกอบ ของเหล็กออกไซด ในประเทศไทยสามารถพบไดในหลายจังหวัดที่มีแหลงโบราณคดีประเภทถํ้าเพิงผาที่มีภาพเขียนสีสมัย กอนประวัตศิ าสตร นักวิชาการเชือ่ วามนุษยยคุ กอนประวัตศิ าสตรใชดนิ ทีม่ สี ว นผสมของแรเหล็กแดงเปนสวนประกอบในการ สรางสรรคงานศิลปะถํ้า โดยบดใหละเอียดเพื่อนําเม็ดผงสีแดง ผสมกับของเหลวที่ทําใหสีติดทน นับไดวาแรฮีมาไทตเปน วัตถุดิบทางธรรมชาติที่สําคัญในการบอกเลาเรื่องราววิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร ผานผลงานศิลปะถํ้าที่ยังคงเหลืออยูปจจุบัน


ภาชนะดินเผาบรรจุดินเทศ กอนประวัติศาสตร ดินเผา มีดินบรรจุอยูภายใน ขนาด สูง ๙.๕ ซม. ปากกวาง ๒๐.๕ ซม. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร มอบใหโดยนายแพทยโชติบูรณ บูรณเวช เมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๑๙

Pottery contained with Soil and Hematite ore Prehistoric Period Terracotta H. 9.5 CM. Bangkok National Museum, Presented to Museum by Mr.Chotboon Buranawej

ภาชนะดินเผาเคลือบนํ้าโคลนสีแดงขัดมันทรงคลายขันบรรจุดินเทศนี้ สันนิษฐานวาเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรม ฝงศพมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร เนื่องจากพบแหลงโบราณคดีบางแหง มีการใชดินเทศวางรวมกับสิ่งของ หรือบรรจุใน ภาชนะสําหรับการอุทศิ แกผวู ายชนม หรือนําดินมาบดเปนผงโรยบนรางศพ เชน แหลงโบราณคดีถาํ้ พระ อําเภอไทรโยค จังหวัด กาญจนบุรี แหลงโบราณคดีโคกพนมดี อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี แหลงโบราณคดีบานปราสาท อําเภอโนนสูง จังหวัด นครราชสีมา แหลงโบราณคดีโนนปาหวาย อําเภอโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี เปนตน การใชดนิ เทศเปนสวนประกอบของพิธกี รรมฝงศพนัน้ อาจเปนไปไดวา มนุษยยคุ กอนประวัตศิ าสตรมคี วามเชือ่ เรือ่ ง ของพลังชีวิต โดยสีแดงเปรียบไดกับสีของเลือดที่เปนกําลังของมนุษย ทําใหเสมือนวาผูวายชนมยังคงชีวิตอยู

กอนดินเทศ กอนประวัติศาสตร ดิน แหลงโบราณคดีโคกพนมดี ตําบลทาขาม อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ปราจีนบุรี

Hematite ore Prehistoric Period Terracotta Prachin Buri National Museum

ดินเทศ (Red Ochre) คือ ดินทีม่ สี ว นผสมของแรฮเี มไทต (Hematite) ในสาสนสมเด็จไดมกี ารวินจิ ฉัยโบราณวัตถุนี้ โดยสมเด็จกรมพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงเรียกวา “ดินแดง” เปนวัตถุทมี่ นุษยยคุ กอนประวัตศิ าสตร หรือมนุษยบางชนเผานิยมนําดินแดงทาทั่วตามรางกายเพื่อปองกันอันตรายตางๆ อีกทั้งเปรียบเสมือนเปนยาบํารุงกําลังกาย เพราะสีของดินแดงมีลักษณะคลายกับสีของโลหิต ซึ่งเปนพละกําลังของมนุษย สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ มีพระวินิจฉัยชื่อเรียกกอนดินแดงวา “ดินเทศ” ซึ่งชาวอินเดียถือวาเปนวัตถุมงคลที่นําไปใชยอมผา หรือ แมกระทั่งนําไปประกอบพิธีกรรม หรือใชในงานเทศกาลมงคลตางๆ


ความรูเรื่องเมืองนครปฐมโบราณ นางกาญจนา โอษฐยิ้มพราย ภัณฑารักษชํานาญการพิเศษ “...ดวยหมอมฉันไดพยายามหามูลเหตุที่สรางเมืองนครปฐมแตโบราณ วาเพราะเหตุใดจึงสรางมหานครที่ตรงนั้น คนหาหลักฐานมาตลอดเวลากวา ๓๐ ป ชั้นเดิมไดความเปนขอตนวาในสมัยเมื่อสรางเมืองที่ตรงนั้นอยูใกลทะเล ดวยขุดพบ เครื่องเรือทะเลที่ตําบลธรรมศาลา มาอีกชั้นหนึ่งสังเกตเห็นมีรอยทางลํานํ้าเกาซึ่งตื้นเขินเปนแนวขึ้นไปทางขางเหนือ หมอม ฉันไดใหพระยานครพระราม (ม.ร.ว. เล็ก)๒ ซึง่ เคยเปนพนักงานแผนที่ ตรวจตามแนวแมนาํ้ เกานัน้ ขึน้ ไป ไดความวาเปนลํานํา้ ขึน้ ไปถึงเขตตเมืองสุพรรณบุรี ทีหลังมาไดขอใหกรมแผนทีไ่ ปชันสูตร ไดความเปนแนนอนวาลํานํา้ เมืองนครปฐมนัน้ เปนลํานํา้ เดียวกันกับที่ตั้งเมืองกําแพงแสน เมืองอูทอง และที่สี่สระ ตลอดขึ้นไปจนตําบลหนองสาหราย...”

วันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เมืองนครปฐมโบราณ เปนเมืองที่มีขนาดใหญที่สุดในบรรดาเมืองในสมัยทวารวดี และเปนเมืองสําคัญที่ตั้งอยูทาง พื้นที่ลุมนํ้าแมกลอง – ทาจีนโดยพบหลักฐานโบราณวัตถุในสมัยทวารวดีเปนจํานวนมาก ทําเลที่ตั้งของเมืองนครปฐมโบราณ เปนปจจัยสําคัญทีส่ ง ผลใหเมืองนครปฐมมีความเจริญรุง เรือง กลายเปนเมืองขนาดใหญนบั ตัง้ แตพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ เปนตนมา

แผนผังเมืองนครปฐมโบราณ

ร อ งรอยและหลั ก ฐานทางโบราณคดี ที่ พบเปนจํานวนมากนั้น ลวนสะทอนใหเห็นถึง ความเจริญของเมืองนครปฐมโบราณ พบไดจาก หลักฐานทางศิลปกรรมที่มีอยูเปนจํานวนมาก สันนิษฐานวาพลเมืองของเมืองนครปฐมโบราณ นาจะประกอบอาชีพหลักคือ การกสิกรรม ในขณะ เดียวกันก็ประกอบอาชีพคาขายดวย เนื่องจาก พื้นที่อยูไมไกลจากอาวไทยโบราณ และมีการขุด คูคลองตางๆ ที่มีขนาดกวางเปนพิเศษ ทําใหเรือ สินคาสามารถเขามาติดตอคาขายภายในเมืองได อยางสะดวก สงผลใหเมืองนครปฐมโบราณกลาย เปนเมืองทาคาขายทีส่ าํ คัญมากแหงหนึง่ ดังไดพบ ตราดินเผารูปเรือสําเภา หรือปูนปนและภาพสลัก ใบหนาของพอคาตางชาติบนแผนอิฐ เปนตน

ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ แมนํ้าบางแกวซึ่งเปนเสนทางหลักของเมืองนครปฐมโบราณเปลี่ยนทางเดินและหมดความ สําคัญลง จึงกระทบโดยตรงกับความเปนอยูของชาวเมือง ทําใหความรุงเรืองที่เคยมีมายาวนานตองเสื่อมถอยลงไป หลักฐาน จากการขุดคนแหลงโบราณคดีท่ีตั้งอยูในเขตเมืองโบราณและติดอยูกับลํานํ้าบางแกวบงชี้วาทั้งสองชุมชนนี้คงถูกทิ้งรางไปใน ชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ และไมมีการกลับมาใชพื้นที่บริเวณนี้อีกเลย๑ “...คาดวาเมืองนครปฐมนาจะรางไปนาน เพราะแมนาํ้ ตืน้ เขิน กลับมาตัง้ อีกครัง้ หนึง่ ในแผนดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ราว พ.ศ. ๒๐๙๑ เรียกวาเมืองนครชัยศรี เนือ่ งจากการปรับปรุงบานเมืองตอตานพมาขาศึก ตองการจะเรียกระดมพลใหสะดวก ขึ้นกวาแตกอน แตเมืองที่ตั้งนี้ก็อยูหางไกลองคพระปฐมเจดีย คือตั้งอยูริมแมนํ้าทาจีน ณ ตําบลทานา อําเภอนครชัยศรีบัดนี้ องคพระปฐมเจดียก ห็ กั พังรกรางอยูใ นปาดงหามีผใู ดดูแลไม มาเปนเวลานาน แตมพี ระสงฆยา ยมาอยู ณ บริเวณนัน้ ในแผนดิน สมเด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย...”๒ พุทธศักราช ๒๓๗๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวขณะที่ยังทรงผนวช ไดธุดงคไปพระปฐมเจดีย และ ทรงเห็นวาพระปฐมเจดียเ ปนปูชนียสถานเกาแกและมีความสําคัญมาแตโบราณ พระองคทรงเลือ่ มในองคพระปฐมเจดียเ ปนอยางยิง่ หลังจากนั้นทรงเสด็จไปนมัสการอีกหลายครั้ง และนําความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเพื่อ ขอพระราชทานใหโปรดเกลาฯบูรณะปฏิสงั ขรณ แตในทีส่ ดุ พระปฐมเจดียไ ดรบั การบูรณะหลังจากทีพ่ ระองคไดขนึ้ ครองราชย แลว “...ทอดพระเนตรดูฝม อื ทําอิฐแลกอเห็นจะเปนของทําแลวแกเกามาหลายครัง้ หลายคราว ทีเ่ นินใหญเปนกองอิฐหักลงมาได ชัณสูตรขุดลงไปดูลกึ สองศอกสามศอกบาง พบอิฐยาวศอกหนึง่ นาใหญสบิ สองนิว้ นานอยหกนิว้ ก็เปนพืน้ อยู พิเคราะหดเู ห็นวา จะเปนองคพระเจดียเดิมหักพังลงมา...”๓ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหกอเจดียแบบลังกาครอบ องคเดิมไว และพระราชทานนามวา “พระปฐมเจดีย” ทรงปฏิสังขรณถาวรวัตถุตางๆ ในบริเวณใหมีสภาพดี นอกจากนี้โปรด เกลาฯ ใหขุดคลองมหาสวัสดิ์ และคลองเจดียบูชาเพื่อยนระยะทางในการไปนมัสการพระปฐมเจดีย ในชวงแรกของการ บูรณะพระเจดียน นั้ ยังคงมีผพู บซากปรักหักพังของเจดียแ ละวัดโบราณจํานวนมาก “ติดเนือ่ งกันไปไมขาดระยะยิง่ กวากรุงเกา” รวมทัง้ ซากพระราชวังเดิมทีอ่ ยูห า งจากพระปฐมเจดียไ ปทางตะวันตกประมาณ ๓๐ เสน (ราว ๑,๒๐๐ เมตร) ซึง่ ตรงกับสถานที่ ในปจจุบันคือ “สนามจันทร”๔

เมื่ อ เริ่ ม ก อ สร า งทางรถไฟสายใต ใ นสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสนทางรถไฟตัดผานเมืองนครปฐม ซึ่งขณะนั้นยังเปนปารก พุทธศักราช ๒๔๕๖ พระองคจึงมี พระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหยายเมืองจากตําบลทานา อําเภอนครชัยศรี มาตัง้ ทีอ่ งคพระปฐมเจดีย บริเวณตําบลสนามจันทร และพระราชทานนามวา “เมืองนครปฐม” ๑ ๒ ๓ ๔

๙๒

สฤษดิ์พงศ ขุนทรง, ทวารวดีศรีนครปฐม พัฒนาการทางประวัติศาสตรและโบราณคดี, มปท, ๒๕๖๒, หนา ๔๒. หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล, พระปฐมเจดีย (ฉบับแกไขใหม), โรงพิมพชวนพิมพ : พระนคร, ๒๕๑๐, หนา ๔๘-๔๙ เจาพระยาทิพากรวงศ (ขํา), เรื่องพระปฐมเจดีย, โรงพิมพชวนพิมพ : พระนคร, ๒๕๑๐, หนา ๑-๒. ศูนยขอ มูลเพือ่ การคนควาวิจยั ฝรัง่ เศส-ไทยศึกษา, นครปฐมศึกษาในเอกสารฝรัง่ เศส รวมบทความแปล, รุง ศิลปการพิมพ (๑๙๗๗) : นครปฐม, ๒๕๕๒, หนา ๑๙๓. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๙๓


ความสนพระทัยในเมืองนครปฐม

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงสนพระทัยในดานโบราณคดีและประวัตศิ าสตรเปนอยาง มาก โดยเฉพาะเมืองโบราณนครปฐม ทรงคนควา รวบรวมขอมูล และมีลายพระหัตถโตตอบกับสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศอยางสมํ่าเสมอ ดังที่ปรากฏในสาสนสมเด็จหลายคราวดวยกัน “…หินปูนอีกอยางหนึ่งที่ใชทําพระพุทธรูป เปนศิลาเนื้อหยาบสีจาง ใชทําเครื่องศิลาที่พระปฐมเจดีย หมอมฉัน เขาใจวาคงเอามาจากภูเขาในแขวงเมืองราชบุรี พอจะกลาวเปนยุติไดวา ในสมัยทวาราวดีใชหินปูนทั้งนั้น หินทราย พึ่ ง มาใช เ มื่ อ สมั ย ขอมมาเปนใหญ คงเอาวิ ธี ก ารก อ สร า งทางเมื อ งเขมรมาทํ า ในประเทศนี้ และทํ า ที่ เ มื อ งลพบุ รี ก  อ น แหงอื่น...” วันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ “...วาถึงโบราณวัตถุทสี่ รางไว ณ เมืองนครปฐม พึง่ สังเกตอีกอยางหนึง่ ทีไ่ มมขี องแบบขอมเหมือนเชนทีเ่ มืองลพบุรี ของที่พบ ณ เมืองนครปฐมเปนแบบอยางทางอินเดียทั้งนั้น แตปลาดอยูที่ของแบบขอมขามไปมีสรางไวทั้งที่เมืองราชบุรีและ เมืองเพ็ชรบุรี ขอนีส้ อ ใหเห็นวาพวกขอมเขามาปกครองประเทศสยามเมือ่ เมืองนครปฐมถูกพระเจาอนุรธุ กวาดตอนเอาผูค นไป หมด เปนเมืองรางมาเสียชานานแลว(เหมือนเชนนครธมเปนเมืองรางมาตั้งแตพระเจาสามพระยากวาดตอนเอาผูคนมาหมด ฉะนั้น) ที่วานี้เห็นไดในจารึกของพระเจารามคําแหงมหาราชอีกแหงหนึ่ง ซึ่งบอกชื่อเมืองขึ้นทางขางใตเปนลําดับมา เมื่อออก ชื่อเมืองสุพรรณภูมิ (อูทอง) แลวขามไปออกชื่อเมืองราชบุรี หามีเมืองอะไรอยูในระวางไม การที่สรางพระปรางคยอด พระปฐมเจดีย หมอมฉันสันนิษฐานวาจะสรางในสมัยขอมปกครอง เมื่อเมืองนครปฐมเดิมรางแลว คือในระวาง พ.ศ. ๑๖๐๐ จนถึง ๑๙๐๐...”

การรวบรวมโบราณวัตถุในมณฑลนครชัยศรี

การรวบรวมโบราณวัตถุที่พบที่เมืองนครปฐมครั้งใหญเกิดขึ้นในราวพุทธศักราช ๒๔๓๘ เนื่องจากสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น ทรงเล็งเห็นถึงความสําคัญของหลักฐาน ทางประวัตศิ าสตร โดยมีการรวบรวมโบราณวัตถุทกี่ ระจัดกระจายอยูภ ายในเมืองโบราณหลายเมืองในแขวงมณฑลนครชัยศรี เชน เมืองนครปฐม เมืองกําแพงแสน เนื่องจาก มีการรื้อทําลายโบราณสถานและโบราณวัตถุโดยรูเทาไมถึงการณ มีกอสราง ทางรถไฟสายใตที่ตัดผานจังหวัดนครปฐม รวมทัง้ มีการรือ้ ทําลายโบราณสถานเพือ่ ปรับหนาดิน นําเอาเศษอิฐจากโบราณสถาน ไปถมสรางรางรถไฟดวย “...มีเรื่องที่ขาพเจายังไมหายเสียดายอยูเรื่องหนึ่ง คือ เมื่อเริ่มสรางรถไฟสายใต ในพ.ศ. ๒๔๔๓ เวลานั้นทองที่รอบ พระปฐมเจดียยังเปนปาเปลี่ยวอยูโดยมาก ในปาเหลานั้นมีซากพระเจดียโบราณขนาดใหญๆ ซึ่งสรางทันสมัยพระปฐมเจดีย อยูหลายองค พวกรับเหมาทําทางรถไฟไปรื้อเอาอิฐพระเจดียเกามาถมเปนอับเฉากลางรางรถไฟ ไดอิฐพอถมตั้งแตสถานี บางกอกนอยไปตลอดระยะทางกวา ๕๐ กิโลเมตร ขอใหคดิ ดูกจ็ ะเห็นได วารือ้ พระเจดียท เี่ ปนของควรสงวนเสียสักกีอ่ งค เมือ่ ยายทีว่ า การมณฑลจากริมแมนาํ้ ขึน้ ไปตัง้ ณ ตําบลพระปฐมเจดียส ริ อื้ กันเสียหมดแลว ก็ไดแตเก็บศิลาเครือ่ งประดับพระเจดีย เกาเหลานัน้ มารวบรวมรักษาไว ยังปรากฏอยูร อบพระระเบียงพระปฐมเจดียจ นบัดนี.้ ..”๕ แมวา โบราณสถานในเมืองนครปฐม โบราณจะถูกรื้อทําลายไปมากแตยังคงมีรองรอยของชุมชนหรือเมืองโบราณ โบราณสถาน จารึกและโบราณวัตถุหลงเหลืออยู เปนจํานวนมาก อันเปนหลักฐานของวัฒนธรรมทวารวดีใหคนรุนตอมาศึกษา

วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ เงินตางๆ นัน้ เห็นไดวา ทัง้ หมดเปนของเกามาก เพราะทําไดเลวเต็มที เวนแตสองอันซึง่ มีรปู ภาพนัน่ แหละเห็นไดวา เปนของชัน้ หลัง เมื่อมีฝมือจําเริญขึ้นแลว หนังสือในนั้นเปนพวกเดียวกับ “เยธมฺมา” ที่พระปฐมเจดียมีประโยชนยิ่งที่เพิ่งไดทราบตามตรัส อธิบาย วาเงินเมืองพะมาเปนเงินอินเดียไมมีเงินในบานเมืองใช เปนเหตุใหนึกภูมิใจวาเราขึ้นหนากวามาก วันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๙ “...ไมทราบวาธรรมเจดียควรจะเปนอยางไร ถามใครก็ไมมีใครบอกได จะวาเปนพระสถูปประจุคัมภีรก็เห็นจะไมใช การทําสังคายนาทีเ่ ขียนพุทธวจนะลงลานนัน้ ก็ทหี ลังมากแลว แตกอ นก็เปนแตชว ยกันจํา ในหนังสือทีอ่ า นเขากลาวถึง “เย ธัมมา” ซึ่งขีดไวที่นครปฐม นึกตามไปก็ปรากฏวาพบที่ขีดไวกับพระสถูปก็มี ขีดไวในที่อันไมเกี่ยวกับพระสถูปเลยก็มี จึงคิดตกลงใจวา ธรรมะของพระพุทธเจาอยูที่ไหน ที่นั่นก็เปนธรรมเจดีย...” วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๔

๙๔

๕ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ปาฐกถาเรื่องสงวนของโบราณ, โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร : พระนคร, ๒๔๗๓, หนา ๑๓. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๙๕


เหรียญเงินตราสังข

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงใหความสนพระทัยเมืองนครปฐมเปนพิเศษ และสืบคน เรือ่ งเมืองนครปฐมอยูอ ยางสมํา่ เสมอ นอกจากทรงคนควาจากเอกสารแลว ทรงวิเคราะหโบราณวัตถุทพี่ บ เสด็จแหลงโบราณคดี ดวยพระองคเอง สัมภาษณชาวบาน สอบถามผูรู หรือแมกระทั่งการสงตัวอยางไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ “...ครั้นเมื่อหมอมฉันอํานวยการสรางเมืองนครปฐม ไดเห็นของโบราณตาง ๆ ซึ่งขุดพบ ณ ที่นั่น จึงเริ่มเอาใจใส สืบสวนเรื่องตํานานเมืองนครปฐม ครั้งหนึ่งใหถายรูปฉายาลักษณเงินเหรียญตราสังข ซึ่งมักขุดพบในแถวพระปฐมเจดีย (กับ ที่เมืองอูทองอีกแหงหนึ่ง) สงไปยังพิพิธภัณฑสถานอังกฤษซึ่งเรียกวา British Museum ณ กรุงลอนดอน ถามผูชํานาญวา เงินตราอยางนั้นเขารูหรือไมวาเปนเงินของประเทศไหน ไดรับตอบมาวาเงินตราอยางนั้นขุดพบแตเมืองพุกามแหงเดียว หามีที่อื่นไม...” วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ เหรียญตราสังขนคี้ าดวาจะพบเมือ่ พุทธศักราช ๒๔๔๒ เนือ่ งจากในเอกสารตรวจราชการเมืองนครไชยศรีของสมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เมือ่ เดือนสิงหาคม ร.ศ. ๑๑๗ ไดบนั ทึกไววา “...ไดพบของสําคัญคราวนีอ้ ยางหนึง่ คือเงินเหรียญโบราณ พวกจีนขุดไดทางคลองพระปโทน จีนพุกผูใ หญบา นนํามาใหดตู ราเปนทํานองปราสาทมีรปู ปลาอยูใ ตนนั้ ดานหนึง่ เปนอุณาโลมกับลายรูปอะไรไมรอู กี ดานหนึง่ ไมเคยเห็นเงินอยางนีม้ าแตกอ น ไดสงั่ ใหจนี พุกผูใ หญบา นผูเ ปนเจาของ พาเขาไปคอยอยูในกรุงเทพฯ เพื่อจะไดนําเขาทูลเกลาถวาย...” โบราณวัตถุที่รวบรวมจากโบราณสถานตาง ๆ ในมณฑลนครชัยศรี ถูกนํามารวบรวมไวบริเวณระเบียงคดรอบองคพระปฐมเจดีย (ภาพดานซาย) ปจจุบันโบราณวัตถุเหลานี้ไดรับการอนุรักษและจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ (ภาพดานขวา)

การรวบรวมโบราณวัตถุของพระองคบางครั้งไดมาขณะเสด็จออกตรวจราชการ “...แลวลงเรือลองมาประพาสที่ พระประโทน มาพบมิวเซียมใหญซึ่งโจษกันวามีอยูนั้น คือทานสมภารวัดพระปะโทนเปนผูเก็บรวบรวมสะสมของโบราณที่ ขุดไดในแถวพระปฐมพระปะโทนไวมาก แตขา ววาเก็บซุกซอนมิไดยอมใหผหู นึง่ ผูใ ดดูเปนอันขาด ครัน้ เสด็จไปถึงไปถามถึงเรือ่ ง ของเกาทานสมภารก็ยินดีเชิญเสด็จเขาไปในกุฏิ แลวยกหีบหอของโบราณที่ไดสะสมไวมาถวายใหทอดพระเนตร๖ และยอม ใหทรงเลือกแลวแตจะพอพระราชประสงค ทรงเลือกไดเครื่องสัมฤทธิ์ของโบราณ คือพระพุทธรูปเปนตน ซึ่งเปนของแปลก ดีหลายอยาง...”๗ โบราณวัตถุที่รวบรวมไดในระยะแรก ไดถูกนํามาเก็บรักษาไวบริเวณระเบียงคดรอบองคพระปฐมเจดีย ตอมาไดมีการเคลื่อนยายโบราณวัตถุดังกลาวเขาไปไวในวิหารดานตรงขามพระอุโบสถ พุทธศักราช ๒๔๕๔ สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ โปรดประทานชื่อวิหารหลังนี้วา “พระปฐมเจดียพิพิธภัณฑสถาน” ปจจุบันโบราณ วัตถุทไี่ ดจากการรวบรวมในครัง้ นัน้ เก็บรักษาไวในพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ เชน ธรรมจักร จารึก พระพุทธรูป พระพิมพ เปนตน

๖ สิงหาคม ร.ศ.๑๒๓ จดหมายนายทรงอานุภาพ เลาเรื่องเสด็จประพาสตนครั้งแรก จดหมายฉบับที่ ๖ บานปากไห ๗ หมอมเจาพูนพิสมัย ดิศกุล, ชีวิตและงานของสมเด็จกรมพระยาดํารงฯ, บุรินทรการพิมพ : กรุงเทพฯ, ๒๕๑๗, หนา ๒๐๕.

๙๖

เหรียญเงินตราสังขพบที่คลองพระประโทน

เหรียญเงินลักษณะนี้พบอีกหลายเหรียญในภายหลัง ทั้งในพื้นที่เมืองนครปฐม พื้นที่ใกลเคียง และรวมถึง แหลงโบราณคดีในประเทศเพื่อนบาน เหรียญที่พบมีลักษณะเปนเหรียญกลม มีหลายรูปแบบและขนาด มีลวดลาย ทัง้ สองดาน ซึง่ ลวนแลวแตเปนสัญลักษณมงคล เชน สังข ศรีวตั สะ๘ รูปแมววั ลูกวัว หมอปูรณกฏะ ธรรมจักร สังข กวาง เปนตน บางเหรียญมีจารึก “ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ” แปลวา พระเจาศรีทวารวดีผูมีบุญอันประเสริฐ และบางเหรียญ มีจารึก”ศรี สุจริตวิกรานต” แปลวา วีรบุรุษผูสุจริต ๘ ใชในเชิงสัญลักษณมักพบในงานศิลปกรรมเนื่องในศาสนา มีลักษณะเปนอาคารจําลอง มียอดแหลมคลายหนาจั่ว

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๙๗


ขอความที่ปรากฏในจารึกสวนใหญเปนหลักธรรมคําสอนในพุทธศาสนา แตคาถา เย ธมฺมาฯ อันเปนเปนหัวใจของ พระพุทธศาสนา นาจะเปนที่นิยมเนื่องจากปรากฏอยูบนโบราณวัตถุสมัยทวารวดีเปนจํานวนมาก

พระวินิจฉัยเรื่องเมืองนครปฐม

เหรียญเงิน มีหลายขนาด และหลายรูปแบบ พบในเมืองโบราณสมัยทวารวดี เชน เมืองนครปฐมโบราณ เมืองโบราณคูบัว เมืองโบราณอูทอง เปนตน

จารึกทวารวดี

ในการเสด็จออกตรวจราชการมณฑลตาง ๆ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพไมเวนทีจ่ ะสืบเสาะ คนหลักฐานทางประวัติศาสตรโดยเฉพาะศิลาจารึก อันเปนคุณูปการอันใหญยิ่งตอการศึกษาภาษาโบราณในประเทศไทย “... ถาเปนเมืองไกลทรงสัง่ เจาเมือง นายอําเภอไว ใหบอกพวกนายพรานเดินปาวาถาผูใ ดพบสถานโบราณวัตถุทใี่ ดใหมารายงานจะ ไดรบั รางวัลตามคาของสถานทีน่ นั้ ๆ บางครัง้ กําลังวิง่ มาไปในปา ถาเจอะแผนหินเปนรอยเกลีย้ งเกลาตองหยุดมาลงแงะงัดขึน้ ดูวามีตัวอักษรหรือไม เราไดพบศิลาจารึกหลายแผน...”๙ นอกจากเหรียญที่มีจารึก ในวัฒนธรรมทวารวดีพบศิลาจารึกเปนจํานวนมากในบริเวณเมืองโบราณหรือพบรวมกับ ศิลปกรรมในสมัยเดียวกัน เปนจารึกบนเสาศิลา ธรรมจักร ฐานพระพุทธรูป แทงหิน เหรียญ ตราดินเผา แผนอิฐ เปนตน จารึก เหลานีส้ ว นใหญเปนภาษามอญโบราณ อีกสวนหนึง่ เปนภาษาบาลี และสันสกฤต ขอความสวนใหญเปนจารึกเกีย่ วกับคาถาใน พระพุทธศาสนา

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานวา พระเจาอนุรุธนาจะมาตีเมืองนครปฐม มากกวา เพราะพระเจดียวิหารสมัยโบราณกอนสมัยพระเจาอนุรุธมีที่เมืองนครปฐมมากกวามาก ยังพอจะตรวจรูปรอยไดอยู จนทุกวันนี้ และยังมีหลักฐานอื่น เชน พระพิมพและเงินเหรียญของโบราณเปนรูปสังขขาง ๑ ปราสาทขาง ๑ ขุดไดที่ เมืองนครปฐม ก็ขุดพบไดที่เมืองพุกามอีกแตแหงเดียว และสิ่งที่สําคัญอันหนึ่งก็คืออานันทเจดียที่เมืองพุกาม ซึ่งสรางขึ้นภาย หลังพระเจาอนุรธุ เล็กนอย แผนผังก็เหมือนกับวัดพระเมรุทนี่ ครปฐมทุกอยาง ตางแตพระพุทธรูปในซุม ทัง้ ๔ เปลีย่ นเปนพระยืน เทานั้น (ที่วัดพระเมรุนั่งหอยพระบาท) ๑๐ ศาสตราจารยปแอร ดูปองตนักวิชาการชาวฝรั่งเศสและกรมศิลปากร ไดขุดคนวัดพระเมรุ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๒๒๔๘๓ ไดกลาวเปรียบเทียบแผนผังของวัดพระเมรุกับอานันทเจดียที่เมืองพุกามและศาสนสถานแบบปยูในพมา รวมทั้ง พุทธสถานปหรรปุระซึ่งสรางขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ถึงแมวาจะกําหนดอายุวัดพระเมรุอยางคราวๆ วาสรางขึ้นกอน อานันทเจดีย (พุทธศักราช ๑๖๓๓) และวิเคราะหไววาวัดพระเมรุคงมีการกอสรางอยางนอย ๓ ครั้ง๑๑

จารึกที่พบในเมืองนครปฐมโบราณมีจํานวนหลายหลัก ซึ่งเปนจารึกสมัยทวารวดีที่ใชตัวอักษรปลลวะ และอักษร หลังปลลวะ และใชภาษาบาลี จารึกขอความเกี่ยวกับหลักธรรมและคําสอนทางพุทธศาสนา เชน ๑. จารึกบนธรรมจักร พบบริเวณพระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม ปจจุบันจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร ขอความจารึกปรากฏอยูบ ริเวณสวนตางๆ ของธรรมจักร ไดแก ดุม กง และ กํา เนือ้ หาเปนคําพรรณนาถึงพระอริยสัจ ๔ กลาวเปรียบเทียบวา จักร คือ พระธรรมของพระพุทธเจา ซึ่งแสดงถึงอริยสัจ ๔ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค โดยหมุนวน ครบ ๓ รอบ เปนสัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ มีอาการ ๑๒ อยาง ๒. จารึกบนสถูปศิลา พบบริเวณพระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม ปจจุบนั จัดแสดงทีพ่ พิ ธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร ขอความจารึกคาถา เย ธมฺมาฯ อยูบริเวณคอระฆัง จํานวน ๑ บรรทัด ๓. จารึกฐานรองธรรมจักรศิลา ซึ่งพบที่ทุงขวาง อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ปจจุบันเก็บรักษาใน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระปฐมเจดีย ขอความเปนคําพรรณนาถึงพระอริยสัจ ๔ ๔. จารึกบนแผนอิฐ พบในจังหวัดนครปฐม ปจจุบันเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร ขอความจารึก คาถา เย ธมฺมาฯ จํานวน ๔ บรรทัด ๙ หมอมเจาพูนพิสมัย ดิศกุล, พระประวัติลูกเลา และพระโอวาทบางโอกาส, มปท, ๒๕๒๕, หนา ๑๗.

๙๘

แผนผังวัดพระเมรุ จังหวัดนครปฐม

แผนผังอานันทเจดีย พุกาม

๑๐ หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล, พระปฐมเจดีย (ฉบับแกไขใหม), โรงพิมพชวนพิมพ : พระนคร, ๒๕๑๐, หนา ๔๗. ๑๑ สฤษดิพ์ งศ ขุนทรง, ทวารวดีศรีนครปฐม พัฒนาการทางประวัติศาสตรและโบราณคดี, มปท, ๒๕๖๒, หนา ๒๙. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๙๙


ขอบเขตของเมืองนครปฐมยังคงเปนที่สนพระทัยของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพอยู แมกระทัง่ เขาสูช ว งปลายพระชนมชพี แลวก็ตาม พระองควเิ คราะหขอ มูลจากการสํารวจภูมปิ ระเทศในแถบภาคตะวันตก เพือ่ เชื่อมโยงเมืองที่ใกลเคียงกับเมืองนครปฐมโบราณ “...สวนลํานํา้ ทีพ่ ระปฐมเจดียอ กี สายหนึง่ ซึง่ ไปทางตะวันตกนัน้ ตรวจเมือ่ ภายหลังก็ไดความรูอ ยางแปลกประหลาด วาไปตอกับแมนํ้าราชบุรีที่ตําบลทาผาและมีวัดพุทธาวาศ พวกชาวอินเดียที่มาตั้งเมือง ณ พระปฐมเจดีย กอสรางดวยศิลา ปรากฏอยูที่พงตึกทางฟากตะวันตกเหนือปากนํ้านั้น เปนอันพบหลักฐานแนนอนวาเมืองโบราณที่พระปฐมเจดียนั้นตั้งอยูที่ แมนํ้า ๒ สายประสบกัน และอยูใกลปากนํ้าที่ออกทะเลดวย เพราะเคยขุดพบสายโซและสมอเรือทะเลที่ตําบลธรรมศาลา อยู หางพระปฐมเจดียมาทางทิศตะวันออกไมไกลนัก เพราะเปนเมืองมีทางคมนาคมคาขายทั้งทางบกทางทะเลและทางแมนํ้า บริบูรณ เมืองเดิมที่พระปฐมเจดียจึงไดเปนราชธานีของประเทศทวาราวดี...”

หลักฐานใหมของทวารวดีบนจารึกวัดพระงาม

การคนพบหลักฐานทางโบราณคดีลาสุดและนับวาเปนโบราณวัตถุชิ้นสําคัญในพุทธศักราช ๒๕๖๒ คือการคนพบ จารึก บริเวณเนินโบราณสถานวัดพระงาม ภายในวัดพระงามพระอารามหลวง มูลเหตุของการคนพบจารึกหลักนี้เกิดจาก การดําเนินงานโครงการอนุรกั ษและพัฒนาโบราณสถานวัดพระงาม ตําบลพระปฐมเจดีย อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ดําเนินการโดยสํานักศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรี เพือ่ ศึกษาและประเมินผลกระทบสถานทีส่ าํ คัญทางประวัตศิ าสตรและโบราณคดี จากโครงการรถไฟความเร็วสูงเสนทางกรุงเทพฯ – หัวหิน เนินโบราณสถานวัดพระงาม จัดอยูในกลุมโบราณสถานที่ตั้งอยูใน ระยะ ๐ – ๔๐ เมตร จากกึ่งกลางแนวเสนทางรถไฟ

วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๕

เนินโบราณสถานวัดพระงามพระอารามหลวง

ศาสตราจารยปแอร ดูปองตนักวิชาการชาวฝรั่งเศสและกรมศิลปากร ดําเนินการขุดคนวัดพระเมรุ ระหวาง พ.ศ. ๒๔๘๒-๒๔๘๓

นอกจากการดําเนินงานทางดานโบราณคดีในเมืองนครปฐมที่ยังคงมีการดําเนินการอยางตอเนื่องถึงปจจุบันโดย กรมศิลปากร ที่พบหลักฐานทางโบราณคดีใหม ๆ จํานวนมาก การคนพบแหลงโบราณคดีแหงใหมใกลเคียงกับพื้นที่ของเมือง นครปฐม เชน การพบซากเรือโบราณพนมสุรินทร ขณะกําลังทําการไถปรับพื้นบอสําหรับเลี้ยงกุงในที่ดินของ นางพนม และ นายสุรินทร ศรีงามดี ตั้งอยูที่หมู ๖ ตําบลพันทายนรสิงห อําเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ซากเรือเปนเรือขนาด ใหญมีความยาวประมาณ ๒๕ เมตร วางตัวในแนวเหนือ-ใต โดยหัวเรือหันเขาไปในแผนดิน เทคนิคการตอเรือแบบใชเชือกผูก ไมเปลือกเรือ เปนลักษณะพิเศษของการตอเรือของชาวอาหรับ โบราณวัตถุที่พบในซากเรือนั้นเปนสิ่งของที่ใชในชีวิตประจํา วันเชน หมอกนกลมมีสันมีรอยไหมและคราบเขมาควัน ไหรูปยาวรีคลายตอรปโดสําหรับบรรจุสิ่งของ ลูกหมาก ลูกมะพราว ยางไม เมล็ดขาว งาชาง และเขากวาง รวมทัง้ เครือ่ งถวยจีนในสมัยราชวงศถงั สันนิษฐานวาเรือลํานีน้ า จะมีอายุราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๔-๑๕ การคนพบเรือโบราณในครัง้ นีแ้ สดงใหเห็นถึงเสนทางการคาทางทะเล ระหวางเมืองนครปฐมโบราณกับโลกตะวันตก เนื่องจากจุดที่พบเรือโบราณอยูหางจากชายฝงทะเลประมาณ ๘ กิโลเมตรและอยูไมไกลจากเมืองนครปฐมโบราณ สอดคลอง กับการพบหลักฐานทางโบราณคดีที่พบในพื้นที่จังหวัดนครปฐม เชน ปูนปนรูปใบหนาชาวตางชาติ อิฐดินเผาที่มีลายเสนรูป ใบหนาชายมีเคราโพกศีรษะคลายกับชาวมุสลิม เปนตน

๑๐๐

วัดพระงามพระอารามหลวง ตัง้ อยูน อกเมืองทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองนครปฐมโบราณ ซึง่ เปนเมือง สําคัญเมืองหนึง่ ในสมัยวัฒนธรรมทวารวดี สันนิษฐานในเบือ้ งตนวานาจะมีอายุอยูใ นชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖ มีชนั้ ดินทับถม หนากลายเปนเนินดินขนาดใหญ ในอดีตเสนทางรถไฟสายใตไดตดั ผานเนินดินทางดานทิศเหนือของวัดพระงาม ทําใหมกี ารคนพบ โบราณวัตถุศิลปะทวารวดีหลายรายการ อาทิ พระพุทธรูปสําริด กวางหมอบ ธรรมจักร พระพิมพดินเผา รวมทั้งโบราณวัตถุ ชิน้ สําคัญ คือ เศียรพระพุทธรูปดินเผาทีม่ พี ทุ ธศิลปงดงาม สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงอธิบายวา จึงเปนเหตุในการเรียกชื่อวัดแหงนี้วาวัดพระงาม

โบราณวัตถุสวนหนึ่งที่ขุดคนพบจากเนินโบราณสถานวัดพระงามพระอารามหลวง Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๐๑


โบราณวัตถุสําคัญที่พบจากการขุดคนพุทธศักราช ๒๕๖๒ มีหลายรายการดวยกัน ไดแก ชิ้นสวนประติมากรรม รูปยักษ (ทวารบาล?) เศียรพระพุทธรูป พระพิมพดินเผา ชิ้นสวนธรรมจักรศิลา อิฐดินเผามีลวดลาย จารึก เปนตน

จารึกวัดพระงามขณะขุดคนพบ

จารึกวัดพระงาม มีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผา มีขนาดกวาง ๕๐.๒ เซนติเมตร ยาว ๙๖.๓ เซนติเมตร หนา ๑๔.๕ เซนติเมตร จารึกดวยอักษรปลลวะ ภาษาสันสกฤต เปนบทโศลก๑๒ จํานวน ๖ บรรทัด บรรทัดละ ๔ วรรค (พระราชา?)ใด ทรงชนะรอบทิศ ทรงชนะรัศมีอันบริสุทธิ์ผุดผองของพระพรหมที่แผไปดวยแสงที่แผออกไปจาก พระวรกายของของพระองค ...........ซึ่งความเจริญรุงเรื่องที่แผนดินรองรับไว....... ในสงคราม ดวยพระพักตรที่งามเหมือนดวงจันทร ...........ที่ไหลออกมาเหมือนนํ้าอมฤต ที่ไหลออกมาจากแสงจันทรคือ พระทนตของพระองค......พอพระทัยในการสงคราม มีพระทัยกวาง ทรงประกอบยัญพิธี(สมํ่าเสมอ?)....บริสุทธิ์.......พระองค ทรงใสพระทัยในพระราชธุระแหงราชวงศที่รุงเรืองของพระองค การอวตารลงมาบนแผนดิน(ของพระองค?) ไดรับการรองขอ โดยพวกเทพ เพื่อปราบ.........มีพระเกียรติยศที่แผไปกวางไกล........... ดวยความกลาหาญที่นาอัศจรรยยิ่ง (พระราชา?) นั้น เมื่อไดขามพนคําปฏิญญาที่ยิ่งใหญดังมหาสมุทรดวยความหนาวเย็น ไดเสวยนํ้าอมฤตที่ชื่อวาสัทวิชยะ (ชัยชนะที่แทจริง) เมื่อไดสราง...........เหมือนของคนทั้งหลายที่กําลังเขาไปในเรือนกระจก (เมือง?) ทิมิริงคะ เปนเหมือนยานของพระลักษมี เปนเมืองที่ไมมีเมืองใดเทียบได เมืองนั้นก็คือเมืองหัสตินาปุระและคือ เมืองทวารวตีซึ่งยิ่งใหญเนื่องจากความเจริญรุงเรือง เหมือนเมืองชองพระวิษณุ........ที่มีชื่อวา.......โดยขาพเจา เครื่องประดับที่ดีสําหรับทองพระคลังของพระปศุปติ (ศิวะ) (ไดแก?) ตนมะมวงทอง ๓๐ ตน ผู.....นาจํานวน ๓๐๐ (คน?) ..........นับได .....จํานวน...รอย.......แมโคจํานวน ๔๐๐ ตัว นกกระจอกจํานวน ๑๕๖ ตัว สิ่งของที่กลาวมาแลวนี้เปนของ พระปรเมศวร...... ของฝง (ขอบ) ทั้งหลาย... แผนศิลา ๑๒ คําประพันธในวรรณคดีสันสกฤต ๔ บาท เปน ๑ บท ตามปรกติมีบาทละ ๘ พยางค เรียกวา โศลกหนึ่ง

๑๐๒

สรุปความไดวา เปนการกลาวสรรเสริญพระราชา ผูมีความสามารถ ทรงไดชัยชนะในสงคราม นําความเจริญมาสู วงศตระกูล และบานเมือง มีเมืองทิมิริงคะ เมืองหัสตินาปุระ และทวารวตี เปนเมืองที่ยิ่งใหญมีชื่อเสียงรูจักกันทั่วไป ทั้งได ถวายสิ่งของไวกับพระศิวะ ไดแก ตนมะมวงทอง ๓๐ ตน แมโค ๔๐๐ ตัว และลูกนกคุม ๑๕๖ ตัว ดังไดบันทึกไวในแผนศิลา นี๑๓ ้ คําวา “ทวารวดี” มีหลักฐานปรากฏเปนตัวอักษรเมื่อมีการคนพบเหรียญเงินบริเวณโบราณสถานในพื้นที่ตําบล หวยจระเข จังหวัดนครปฐม ในพุทธศักราช ๒๔๙๑ เปนจารึกอักษรปลลวะภาษาสันสกฤตความวา “ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ” แปลวา พระเจาศรีทวารวดีผูมีบุญอันประเสริฐ จารึกวัดจันทึก บนฐานบัวรองรับพระพุทธรูปศิลปะทวารวดี จังหวัดนครราชสีมา ปรากฎขอความตัวอักษรปลลวะวา “ทฺวารวตีปเตะ” แปลวา เจาแหงทวารวดี ทําใหคําวา “ทวารวดี” นั้นอยูในความสนใจ ในแวดวงของนักวิชาการเสมอมา การคนพบศิลาจารึกวัดพระงาม ที่ปรากฏคําวา “ทวารวดีวิภูติ” ชวยตอกยํ้าการมีอยูของ “ทวารวดี” แมวาปจจุบันจะยังไมอาจระบุไดอยางแนชัดวาชาวทวารวดีเปนใครหรือเชื้อชาติใด แตวัฒนธรรมนี้คงผูกพันกับ กลุมคนพื้นเมืองที่ใชภาษามอญโบราณ เพราะพบจารึกภาษามอญโบราณหลายหลักในสมัยทวารวดี โดยเชื่อวามีศูนยกลาง ทางวัฒนธรรมอยูในเขตภาคกลางฝงตะวันตกของประเทศไทยในปจจุบัน กอนจะแพรหลายไปอยางกวางขวางสูภูมิภาค ตางๆ ซึง่ มีบา นเมืองโบราณตัง้ ถิน่ ฐานอยูต ามทีร่ าบลุม แมนาํ้ สําคัญๆ หลายแหง สังคมในวัฒนธรรมทวารวดีมหี ลากหลายมิตทิ ี่ ทับซอนกันอยางกลมกลืน ไมมหี ลักฐานวาบานเมืองตามภูมภิ าคตางๆ ทีป่ รากฏรองรอยของวัฒนธรรมทวารวดีนอี้ ยูภ ายใตระบบ การปกครองของอาณาจักรหรือรัฐทีม่ ศี นู ยอาํ นาจเดียวกันหรือไม เนือ่ งจากพบวาแตละภูมภิ าคก็มคี วามหลากหลาย ชาวพืน้ เมือง รูจักเลือกรับและปรับใหเขากับความเชื่อดั้งเดิมจนมีเอกลักษณเฉพาะทางวัฒนธรรมของตนเอง ดังนั้นการแพรหลายของ วัฒนธรรมทวารวดีคงเกิดขึ้นจากการเผยแผพระพุทธศาสนา ตลอดจนการติดตอคาขายแลกเปลี่ยนเปนสําคัญ นับตัง้ แตสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงมีลายพระหัตถถงึ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟา กรมพระยานริศรานุวัติวงศ เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๕ เกี่ยวกับมูลเหตุการสรางเมืองนครปฐม ทรงมี พระวินิจฉัยในหลายเรื่อง ทรงประมวลสิ่งที่ไดพบเห็นจากการเสด็จไปยังสถานที่ตาง ๆ สังเกตและวิเคราะหโบราณวัตถุที่ทรง คนพบ นอกจากนี้ทรงใชหลักฐานและขอมูลจากนักวิชาการหลากหลาย มาเปนองคประกอบทําใหมีความนาเชื่อถือ นับเปน ประโยชนในการศึกษาคนควาเรื่องเมืองโบราณนครปฐมและอาณาจักรหรือรัฐทวารวดีในเวลาตอมาเปนอยางยิ่ง แมวาใน ปจจุบันยังไมมีขอสรุป แตเมืองนครปฐมโบราณก็เปนที่สนใจในแวดวงนักวิชาการ มีการศึกษาหาความรูเพิ่มเติม มีทฤษฎี ใหม ๆ เกิดขึ้น ทั้งนี้ลวนตอยอดมาจากการศึกษา คนควาของทั้งสองพระองคที่เริ่มมากอนแลวนับรอยปนั่นเอง

๑๓ เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ ขอมูลใหมจากโบราณสถานวัดพระงาม จังหวัดนครปฐม หนา ๒๐

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๐๓


เศียรพระพุทธรูป ศิลปะทวารวดี พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ ดินเผา สูง ๑๗ ซม. พบทีว่ ดั พระงามพระอารามหลวง อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Head of Buddha Dvaravati 8th Century H. 17 CM. Found from Wat Phra Nagm Nakhonpathom

เศียรพระพุทธรูปดินเผา พระพักตรรูปไข ขมวดพระเกศาเปนตุมเล็ก พระขนงโกงไมทําเปนสันรูปปกกาตางจาก รูปแบบที่พบในศิลปะทวารวดีโดยทั่วไป พระเนตรปดสนิท พระนาสิกโดง พระโอษฐอิ่มอมยิ้ม สีพระพักตรดูสงบและมี พระเมตตา แสดงถึงความสามารถของศิลปนที่สรางผลงานคลายกับบุคคลที่มีชีวิต เศียรพระพุทธรูปดินเผาองคนี้ไดรับการ ยกยองจากศาสตราจารยหมอมเจาสุภทั รดิศ ดิศกุล ผูท รงมีคณ ุ ปู การตอวิชาโบราณคดีและประวัตศิ าสตรศลิ ปะของประเทศไทย วาเปนงานศิลปกรรมทวารวดีทมี่ คี วามงดงามมากทีส่ ดุ ชิน้ หนึง่ สันนิษฐานวานาจะพบเศียรพระพุทธรูปในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื่องจากชวงเวลาดังกลาวพบโบราณวัตถุในเขตเมืองนครปฐมโบราณเปนจํานวนมาก จากการ สรางรถไฟสายใต

ประติมากรรมรูปยักษ ศิลปะทวารวดี พุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๕ ดินเผา ศีรษะ สูง ๒๖ ซม. ลําตัว สูง ๔๙ ซม. พบที่เนินโบราณสถานวัดพระงามพระอารามหลวง อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เก็บรักษา ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระปฐมเจดีย

Statue of Demon Dvaravati 8th Century Terracotta Head H. 26 CM. Body H. 49 CM. Found from Wat Phra Nagm Nakhonpathom

ประติมากรรมรูปยักษแตกหักออกเปนสองสวนคือศีรษะและลําตัว ใบหนาเอียงไปทางดานซายเล็กนอยโครง หนารูปเหลี่ยมคิ้วหยักโคงตาโปนประกอบดวยขอบตาทั้งดานบนและดานลางดวงตาเหลือบมองไปทางซายจมูกคอนขางโดง ปากแบนใหญมีขอบปากชัดเจน มีเขี้ยวที่มุมปากทั้งสองขาง อยูในอาการยิ้มเล็กนอยเห็นฟนหนารําไร สวมตางหูลายดอกไม หนาผากคาดกระบังหนาประดับดวยตาบ ผมดานหลังถักเปนเกลียวซอนกันลงมาเลยบา สวนลําตัวประดับดวยกรองศอ บาขวา ประดับดวยสายที่รอยเปนเม็ดกลมนูน อาจเปนสรอยไขมุก (ยัชโญปวีต) สวนลางของลําตัวยังเหลือขอบชายผาซอนกัน ดานหลังรวบชายผาเปนริว้ เหนือผานุง สันนิษฐานวาประติมากรรมรูปยักษนา จะทําหนาทีเ่ ปนทวารบาลประดับศาสนสถาน คงจะ ตั้งประดับไวทั้งดานซายและขวาของประตูหรือทางเขา เนื่องจากพบชิ้นสวนประติมากรรมลักษณะเดียวกันสวมยัชโญปวีต ดานตรงขามคือสวมที่บาซาย


จารึก ศิลปะทวารวดี พุทธศตวรรษที่ ๑๒ หิน กวาง ๕๐.๒ ซม. ยาว ๙๖.๓ ซม. หนา ๑๔.๕ ซม. พบทีเ่ นินโบราณสถานวัดพระงามพระอารามหลวง อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เก็บรักษา ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระปฐมเจดีย

Inscription on Stone of Wat Phra Nagm Dvaravati 8th Century Stone W. 50.2 CM. L. 96.3 CM. The 2nd Regional office of Fine Arts Department Suphanburi, Found from Wat Phra Nagm Nakhonpathom

ศิลาจารึกหลักนี้เปนที่รูจักกันทั่วไปวา “จารึกวัดพระงาม” มีลักษณะเปนแผนหินสีเทา รูปสี่เหลี่ยมผืนผา พบจาก การขุดคนเนินดินทางดานทิศเหนือของเนินโบราณสถานวัดพระงาม เมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ศิลาจารึกมีจารึกเพียง หนึง่ ดาน มีตวั อักษรปลลวะจํานวน ๖ แถว บริเวณสวนบนของศิลาจารึกกะเทาะ ทําใหขอ ความบางสวนหายไป นักภาษาโบราณ ไดรว มกันศึกษาศิลาจารึกหลักนี้ ไดใหความเห็นวา จารึกหลักนีจ้ ารึกดวยอักษรปลลวะ ภาษาสันสกฤต ผูจ ารนาจะเปนพราหมณ ชั้นสูง หรืออาลักษณที่มีความรูมาก เนื่องจากตัวอักษรมีความเปนระเบียบ สมํ่าเสมอ งดงาม ขอความโดยสรุปเปนการกลาว สรรเสริญพระราชา ผูมีความสามารถ ทรงไดชัยชนะในสงคราม นําความเจริญมาสูวงศตระกูล และบานเมือง มีเมืองทิมิริงคะ เมืองหัสตินาปุระ และทวารวตี เปนเมืองทีย่ งิ่ ใหญมชี อื่ เสียงรูจ กั กันทัว่ ไป ทัง้ ไดถวายสิง่ ของไวกบั พระศิวะ ไดแก ตนมะมวงทอง ๓๐ ตน แมโค ๔๐๐ ตัว และลูกนกคุม ๑๕๖ ตัว ดังไดบันทึกไวในแผนศิลานี้

ตราประทับดินเผา ศิลปะทวารวดี พุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ ดินเผา สูง ๒.๗ ซม. พบที่อูทอง กรมศิลปากร จัดซื้อมาจาก พล.อ.ท. มนตรี หาญวิชัย เมื่อ วันที่ ๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

Terracotta Seal Dvaravati Period Terracotta Diameter 2 CM. Bangkok National Museum

ดินเผาสีนํ้าตาลดํารูปทรงคอนขางกลมแบน ลักษณะเปนรูปรอยนูนตํ่าขึ้นมาจากพื้นผิว เปนรูปคนขี่มา ๒ คน กําลัง เลนคลี คนทางซายของภาพกําลังยกมือซายขึ้น สวนคนดานขวามือของภาพมือซายถือบังเหียน มือขวาถือไมคลี ตราดินเผา ในลักษณะเดียวกันนี้ยังพบที่เมืองโบราณจันเสน จังหวัดนครสวรรค ลวดลายที่กดประทับลงไปบนดิน สันนิษฐานวาเกิดจาก ตราประทับเดียวกัน ความคมชัดที่ตางกันบางคงเปนสาเหตุจากแรงกดที่ไมเทากัน ตราดินเผาที่พบซํ้ากันนั้นแสดงใหเห็นถึง การติดตอสัมพันธของคนกลุมเดียวกันที่เดินทางไปหลายพื้นที่ซึ่งอาจจะเปนพอคา นักเดินทาง หรือนักบวช และยังมีคนกลุม อืน่ ทีใ่ ชตราประทับทีม่ ลี วดลายแตกตางกันออกไป คาดวาตราประทับแตละรูปแบบเปนตราประทับเฉพาะตัว หรือเฉพาะกลุม ลวดลายที่ปรากฏบนตราลวนแตแสดงถึงสิ่งที่เปนมงคล


โบราณคดีภาคใต โบราณคดีทักษิณ

นายพิสุทธิ์ ลวนศรี ภัณฑารักษปฏิบัติการ

การแลกเปลีย่ นองคความรูโ บราณคดีทางภาคใตของไทยของทัง้ สองพระองคปรากฏในสาสนสมเด็จตัง้ แตพทุ ธศักราช ๒๔๗๖ จากการเสด็จประพาสหัวเมืองภาคใตของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศโดยทั้งสอง พระองคมีการตั้งขอสมมติฐานงานโบราณคดีทางภาคใตไวเปนอันมากดังตัวอยางการประพาสหัวเมืองภาคใตฝายตะวันออก ชวงเดือนพฤษภาคม ๒๔๗๖ ที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศไดกลาวไวในจดหมายเวรถึง สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ

การเขามาของชาวตางชาติในแหลมมลายูและภาคใตของไทย

ขอสันนิษฐานของการเขามาของชาวตางชาติในดินแดนทางภาคใตของประเทศไทยมีมาอยางยาวนาน เนื่องจาก ลักษณะภูมิประเทศของภาคใตตั้งอยูบนแหลมมลายูซึ่งอยูในเสนทางการเดินเรือระหวางดินแดนทิศตะวันออกและทิศตะวัน ตก ซึ่งเปนเปนจุดยุทธศาสตรสําคัญในเสนทางการคา รวมทั้งยังอยูในเขตของลมมรสุม ดวยปจจัยดังกลาวทําใหแหลมมลายู และภาคใตของไทยไดกลายเปนจุดนัดพบของเรือสินคาจากซีกโลกตะวันตกและซีกโลกตะวันออก หนึ่งในขอสันนิษฐานคือ การใชเรื่องภาษาอยางที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดเขียนไวในสาสนสมเด็จวา จารึกบนอิฐ ศิลปะทวารวดี พุทธศตวรรษที่ ๑๒ ดินเผา กวาง ๑๗ ซม. ยาว ๓๕ ซม. หนา ๑๑ ซม. พบที่จังหวัดนครปฐม จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

Brick with Inscription Dvaravati Period Terracotta W. 17 CM. L. 35 CM. Bangkok National Museum

อิฐดินเผา มีจารึกดวยตัวอักษรปลลวะ ภาษาบาลีเปนคาถาเย ธมฺมาฯ ความวา เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา ธรรมทั้งหลายเหลาใดเกิดแตเหตุ เยสํ เหตุํ ตถาคโต อาห พระตถาคตเจาทรงแสดงเหตุแหงธรรมเหลานั้น เตสฺจ โย นิโรโธ จ และความดับแหงธรรมทั้งหลายเหลานั้น เอวํ วาที มหาสมโณติ ฯ พระมหาสมณะเจา ทรงสังสอนอยางนี้ดังนี้ คาถา เย ธมฺมาฯ นี้ นับวาเปนหัวใจของพระพุทธศาสนา เปนคาถาคัดมาจากพระวินัยปฎก พบจารึกคาถาเย ธมมาฯ และ หลักธรรมคําสอนในปฏิจจสมุปบาททั่วไปในบริเวณเมืองโบราณสมัยทวารวดี นาจะเปนความนิยมของชาวทวารวดี สําหรับ จารึกคาถาเย ธมมาฯ นั้น มักจารึกลงบนวัตถุตาง ๆ เชน อิฐดินเผา ฐานพระพุทธรูป ฐานรองธรรมจักร ธรรมจักร แทงหิน เหรียญ ตราดินเผา

“...มนุษยชาติใดภาษาใดไปถึงกอนก็ใชคําภาษาของตนบัญญัติชื่อทองที่ พวกอื่นมาทีหลังก็เรียกตาม เพราะฉะนั้น ชื่อทองที่แมอยูในแถวเดียวกันเชนแหลมมลายูนี้ บางแหงชื่อจึงเปนภาษาหนึ่ง บางแหงชื่อจึงเปนภาษาอื่น ยกเปนอุทาหรณ ดังเชนชื่อที่เรียกวา “สิงหปุระ” ก็ดี “ตรังกนะ” ก็ดี “ปตนะ” ก็ดี พวกชาวอินเดียคงใหชื่อนั้น ๆ ตามชื่อเมืองในอินเดีย ชื่ออัน เปนคําภาษาอืน่ ทีเ่ ราแปลไมออกคงเปนคําพวกมีลกั ขูทอี่ ยูต ามเกาะเกียนในมหาสมุทรใหบาง พวกชะวาและมลายูใหบา งแลว เรียกตามกันมา และบางทีมาแกไขใหเขากับภาษาของตน เชน เมืองตะกั่วปาและตะกั่วทุงเปนตน”

วันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๘ การเขามาของชาวตางชาติโดยเฉพาะชาวอินเดียอยูใ นความสนพระทัยของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพและสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ เปนอยางมากไมวา จะเปนเรือ่ งการคาและ การตั้งถิ่นฐาน อยางขอความที่วา “ชาวอินเดียแตดกึ ดําบรรพจะมาคาขายทางนี้ ก็คงพูดกันแตวา “ไปสุวรรณภูม”ิ ฉันนัน้ ชาวอินเดียมาเรือในชัน้ แรก จําตองตัง้ สํานักการคาริมทะเลเปนธรรมดา ตอมาจึงเทีย่ วคาขายหางสถานีรมิ ทะเลออกไปโดยลําดับ ครัน้ ไปไดหญิงชาวทองถิน่ เปนเมียก็เลยตั้งบานเรือนอยูประจําที่ มีลูกหลานวานเครือเชื้อชาวอินเดียมากขึ้นเปนอันดับมา”

วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๔๗๙ Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๐๙


เมื่อมีการ ศึกษาคนความาจนถึงปจจุบัน สามารถสันนิษฐานถึงการเขามาของชาวตางชาติทางภาคใตของไทย ดังนี้ จากลักษณะทางกายภาพและที่ตั้งภูมิศาสตรภาคใตของไทย ที่มีลักษณะเหมือนกําแพงธรรมชาติยื่นไปในทะเล จึง เปนจุดปะทะของเสนทางเดินเรือระหวางดานทิศตะวันออก และทิศตะวันตกของแหลมมลายู จากเหตุผลดังกลาวทําใหเกิด เมืองทาหรือสถานีการคา (Trading-Station) ยุคแรก ๆ ขึ้นแถบชายฝงอันดามัน ที่เกิดจากการเดินเรือเลียบชายฝงทะเลซึ่ง มีความจําเปนตองแวะพักเปนจุด ๆ เมืองทาในยุคแรกนี้นาจะเกิดจากการเขามาติดตอแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม รวมถึงการ เขามาตัง้ ถิน่ ฐานของนักเดินเรือหรือพอคาจากภายนอกโดยเฉพาะชาวอินเดียภายหลัง พอคาชาวอินเดียเรียกดินแดนแถบนีว้ า “ดินแดนสุวรรณภูมิ หรือ สุวรรณทวีป”๑

ลูกปดแบบมีตา (eye beads) และ ลูกปดหินอาเกต พบที่แหลงโบราณคดีทุงตึก ตําบลเกาะคอเขา อําเภอ ตะกั่วปา จังหวัดพังงา อายุราวชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๓–๑๔ หินคารเนเลียนสีสม ทรงรี แกะสลักรูปบุคคลถือไมเทาและรูปมา (Intaglio) จากแหลงโบราณคดีบานบางกลวย ตําบลกําพวน อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง อายุราวชวงพุทธศตวรรษที่ ๕-๗ หินคารเนเลียนสีสม ทรงรี แกะสลักรูปบุคคลแบบโรมัน(Intaglio) จากแหลงโบราณคดีควนลูกปด อําเภอ คลองทอม จังหวัดกระบี่ อายุราวชวงพุทธศตวรรษที่ ๖-๗ หินแกะสลักรูปชาง แกะสลักนูนตํา่ (cameo) แหลงโบราณคดีนางยอน อําเภอ คุระบุรี จังหวัดพังงา อายุราวชวงพุทธศตวรรษที่ ๖-๘ ลูกปดแกว ลูกปดหิน เครื่องประดับแกะลายนูนตํ่า เรียกวา cameo แกะลึกลงไปในเนื้อหิน เรียกวา intaglio

ภาชนะดินเผาแบบมีปุมแหลมที่กนดานใน Knobbed Ware พบที่แหลงโบราณคดีถํ้าเสือ อําเภอละอุน จังหวัดระนอง พุทธศตวรรษที่ ๕ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง

ภาชนะดินเผาแบบมีปุมแหลมที่กนดานใน Knobbed Ware พบที่แหลงเรือปากคลองกลวยตําบลกําพวน อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง พุทธศตวรรษที่ ๕ จัดแสดงที่กลุมโบราณคดีและอนุรักษโบราณสถาน สาขาภูเก็ต สํานักศิลปากรที่ ๑๒ นครศรีธรรมราช

ในปจจุบนั พบโบราณวัตถุทแี่ สดงถึงขอสันนิษฐานนี้ อาทิ ภาชนะดินเผาแบบมีปมุ แหลมทีก่ น ดานใน Knobbed Ware ลักษณะกนดานในภาชนะมีปุมแหลมพบที่แหลงโบราณคดีถํ้าเสือ อําเภอละอุน จังหวัดระนอง และเศษชิ้นสวน Knobbed Wareพบที่แหลงเรือปากคลองกลวย อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนองซึ่งมีอายุอยูราวชวงพุทธศตวรรษที่ ๕ เปนภาชนะที่มี รูปแบบพิเศษทีผ่ ลิตในตางแดน โดยมีการพบหลักฐานในหลายแหงของอินเดียตัง้ แตลมุ แมนาํ้ คงคา รัฐโอริสา ตักษิลา ในปากีสถาน รวมถึงแถบอาวเบงกอล เชนบังกลาเทศ๒ ซึ่งมีการสันนิษฐานวาอาจเปนภาชนะที่ใชในพิธีกรรม เศษภาชนะดินเผาเขียนจารึกทมิฬและพราหมี เศษภาชนะ ที่มีจารึกชิ้นที่มีอักษร “tu ra o” เปนอักษรทมิฬ-พราหมีพบที่แหลง โบราณคดีภเู ขาทอง อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง มีอายุอยูร าวชวง พุทธศตวรรษที่ ๗-๙ โดยมีบางชิ้นไดจารึกคําวา “tu ra o” ซึ่งอาจมา จากคําวา turavon หมายถึงพระ

หินแกะสลักรูปชาง (cameo) พบที่แหลงโบราณคดีนางยอน อําเภอคุระบุรี จังหวัดพังงาพุทธศตวรรษที่ ๖-๘ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง

หินคารเนเลี่ยน แกะสลักรูปบุคคลโรมัน (Intaglio) พบที่แหลงโบราณคดีควนลูกปด อําเภอคลองทอม จังหวัดกระบี่ พุทธศตวรรษที่ ๖-๘ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง

แหวนโลหะ (สําริด) และชิ้นสวนสําริด พบที่แหลงโบราณคดีทุงตึก ตําบลเกาะคอเขา อําเภอตะกั่วปา จังหวัด พังงา อายุราวชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๓–๑๔ แหวนและชิ้นสวนสําริด แสดงถึงความนิยมเครื่องประดับของคนสมัยนั้นสันนิษฐานวาทั้งหมดอาจถูกนําติดตัว เขามากับพอคาและชาวเดินเรือตางชาติที่ไดเขามาในดินแดนแถบนี้ไมวาจะเปนเพื่อการคาขายหรือเปนเครื่องประดับสวนตัว

เศษภาชนะดินเผามีตัวอักษรโบราณ (ทมิฬ-พราหมี) พบที่แหลงโบราณคดี ภูเขาทอง อ.สุขสําราญ จ.ระนอง พุทธศตวรรษที่ ๗ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง ๑ ผาสุข อินทราวุธ.สุวรรณภูมหิ ลักฐานทางโบราณคดี.ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร,(กรุงเทพฯ:ศักดิโ์ สภาการพิมพ,๒๕๔๘) หนา ๓๗. ๒ สมชาย ณ นครพนม ,พัชรินทร ศุลประมูล (บรรณาธิการ).จากบานสูเมือง:รัฐแรกเริ่มบนแผนดินไทย From Village to Early State : The Transformation of

Culture in Our Land.(กรุงเทพฯ,๒๕๖๑) หนา๑๖๔.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๑๑


ค. ในแขวงจังหวัดสุราษฎรธานีที่อําเภอ (เมือง) ไชยา มีปราการเมืองและมีพระเจดียหลายแหง ดูเหมือนจะเปน เมืองใหญกวาที่อื่นหมด ฆ. ในแขวงจังหวัดนครศรีธรรมราชที่ตําบลเวียงสระ มีปราการเมืองขนาดยอม มีพระเจดียและศิลาจารึก ง. ที่เมืองนครศรีธรรมราช มีเจดียสถานและเดิมนาจะมีเมืองดวย แตสรางเมืองใหญทับเสียจึงศูญไป จ. ที่เมืองพัทลุง มีกรุที่บรรจุพระพิมพดินดิบในถํ้า “เขาคูหาสวรรค” และ “เขาอกทลุ” ฉ. ที่เมืองยะลา มีพระนอนใหญสรางไวในถํ้าและมีกรุที่บรรจุพระพิมพดินดิบที่ในถํ้า “เขาตะเภา

แหวนโลหะ พบที่แหลงโบราณคดีทุงตึก ตําบลเกาะคอเขา อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง

๑๔ พฤศจิกายน ๒๔๗๘

โบราณวัตถุที่กลาวมาแสดงใหเห็นถึงการเขามาของชาวตางชาติในหลายยุคสมัย ตั้งแตชวงชวงพุทธศตวรรษที่ ๕ (ยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร) เรื่อยมา จากหลักฐานสอดคลองกับขอสมมติฐานของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ และ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศที่ไดเสนอไว

การเขามาของศาสนา พุทธ พราหมณ-ฮินดู ในดินแดนภาคใตของไทย

“ชาวอินเดียที่มา ใครถือสาสนาไหนก็พาสาสนานั้นมาดวย เมื่อพระพุทธสาสนารุงเรืองในอินเดีย ชาวอินเดียที่ถือ พระพุทธสาสนาก็พามายัง “สุวรรณภูม”ิ ในสมัยเมือ่ มีชาวอินเดียมาตัง้ ภูมลิ าํ เนาอยูแ ลวหลายแหง เมือ่ มีคนในทองถิน่ เลือ่ มใส กันแพรหลาย…” ๒๓ กรกฎาคม ๒๔๗๙ ทุกชนชาติมคี วามเชือ่ ทีต่ นเองนับถือ อยูก บั ความเหลานีต้ ง้ั แตเกิดจนวันตาย เมือ่ พอคานักเดินเรือชาวอินเดียเหลานี้ ตองเดินทางจากบานเมืองมาไกลดังนั้นสิ่งที่นําติดตัวมาดวยนอกจากสิ่งของมีคาไมวาจะเปนเงินทองหรือเครื่องประดับ ก็ยัง มีวัตถุทางศาสนา ซึ่งเริ่มแรกอาจเปนการนําติดตัวมาเพื่อเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจในการเดินทางแตตอมากลายเปนการ สงตอความเชือ่ ของตนเองไปยังดินแดนทีไ่ ดเขาไป มีปรากฏไวในหนังสือสาสนสมเด็จ ซึง่ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพทรงกลาวเรื่องเมืองตะกั่วปาวา “ในแหลมมลายู ยังมีโบราณสถานที่พวกชาวอินเดียสรางไวแตดึกดําบรรพ เปนสําคัญวาไดมาตั้งภูมิลําเนาเป บานเปนเมืองที่ตรงนั้น ปรากฏอยูหลายแหง และปลาดที่อยูในแดนประเทศสยามบัดนี้แทบทั้งนั้น นับแตเหนือลงไปใต” ก. ในจังหวัดตะกัว่ ปา (ดอกเตอรเวลสไดตรวจเมือ่ เร็ว ๆ นี)้ มีเทวสถานอยูณ  ตําบล “ทุง ตึก” ทีเ่ กาะคอเขาตรงปากนํา้ แหงหนึ่ง ที่บน “เขาพระหนอ” แหงหนึ่ง และที่ “เขาพระนารายน” แหงหนึ่ง ข. ในจังหวัดตรัง มีกรุบรรจุพระพิมพดนิ ดิบอยูท ถี่ าํ้ “วัด (วิ) หาร” กับทีต่ าํ บลอืน่ อีก (แตจาํ ชือ่ ไมได) พระพิมพดนิ ดิบ อ ยางวานี้ทราบวายังทําในประเทศธิเบต เมื่อปลงศพพระมหาเถรที่คนนับถือมากแลวยอมเอาอัษฐิประสมดินทําพระพิมพ เปนประเพณี

๑๑๒

“ทุงตึก” “เขาพระเหนอ” และ “เขาพระนารายณ” จังหวัด พังงา แสดงถึงความเจริญของเมืองทา และความสัมพันธที่เกี่ยวเนื่อง กับชวงศรีวชิ ยั เจริญขึน้ บนแหลมมลายู กรมศิลปากรและนักโบราณคดี ไดดาํ เนินการขุดคนและศึกษาเพือ่ เติมทีท่ งุ ตึก เมือ่ พุทธศักราช ๒๕๔๖ สํานักศิลปากรที่ ๑๕ ภูเก็ตในสมัยนั้น ไดทําการขุดคนทางโบราณคดี ไดมีการคนพบหลักฐานทางโบราณคดี ประเภทลูกปด ภาชนะดินเผา เครื่องประดับสําริด รวมถึงชิ้นสวนประติมากรรมพระหัตถ ทําจาก โลหะสํ า ริ ด ลั ก ษณะพระหั ต ถ ถื อ ลู ก ประคํ า จี บ นิ้ ว อย า งประณี ต ออนชอย สันนิษฐานวาเปนพระหัตถของพระโพธิสัตว รวมถึงการพบ ชิ้นสวนประติมากรรมลักษณะคลายพระบาท เขาพระเหนอจังหวัดพังงา พบพระวิษณุประทับยืน มี ๔ กร เปนประติมากรรมแบบลอยตัว ขนาดสูง ๒๐๒ เซนติเมตรสวนพระ พักตรกะเทาะหายไปบางสวน สวมกิรีฏมกุฎทรงกระบอกเรียบไมมี ลวดลาย พระอุระผึ่งผาย บั้นพระองคบาง ทรงพระภูษาโจงยาว ไมมี ผาคาดพระโสณี พระหัตถทถี่ อื อาวุธชํารุดหักหายไปทัง้ ๔ ขางอายุสมัย ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ศิลปะอินเดียแบบปลลวะ พระหัตถสัมฤทธิ์ พบที่แหลงโบราณคดีทุงตึก ต.เกาะคอเขา อ.ตะกั๋วปา จังหวัดพังงา พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๑๓


เมืองโบราณเวียงสระ จังหวัดสุราษฏรธานี มีการคนพบโบราณวัตถุมากมาย อาทิ พระวิษณุ ศิลปะปลลวะ พระวิษณุ ศิลปะโจฬะ และ พระวฏกะไภรวะ (พระอิศวรปางดุราย) การคนพบพระพุทธรูปหินทรายศิลปะอินเดียแบบคุป ตะ กรมศิลปากรยังมีการศึกษาอยางตอเนื่อง ทําการขุดคนที่เวียงสระพุทธศักราช ๒๕๒๗ และขุดคูเมืองเมื่อพุทธศักราช ๒๕๔๙ รวมถึงการคนพบโบราณวัตถุชิ้นใหม เชน พระหัตถหินถูกคนพบเมื่อพุทธศักราช ๒๕๕๕ ปจจุบันจัดเก็บรักษาไวที่ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไชยา

เขาพระนารายณจงั หวัดพังงา พบพระวิษณุมธั ยมโยคสถานะ มูรติ พระวิษณุองคนี้ (พระหัตถขวาหลังหักหาย พระหัตถขวาหนาแสดง ปางประทานอภัย พระหัตถซายหลังหักหาย พระหัตถซายหนาวางที่ พระโสณี ทรงสวมกิรีมุกุฎทรงสูง) เปนรูปเคารพในกลุมมัธยมโยคสถาน กะมูรติ พบพรอมฤษีมารกัณเฑยะ (ลักษณะ นั่งชันเขา พระพักตรและ พระกรหักหายไป) และนางภูเทวีเปนประติมากรรมสตรีประทับนัง่ ในทา คุกพระชงคซาย ชันพระชงคขวา พระหัตถซายวางที่พระโสณี พระหัตถ ขวายกขึน้ ในทาทําความเคารพ พระพักตรสงบคลายทําสมาธิ สวมเครือ่ ง ประดับพระเศียรทรงกรวยแหลม ใสเครื่องประดับที่พระศอ ตนพระกร (มีลวดลายเหมือนกับเครื่องประดับที่ตนพระกรของพระวิษณุ) และ ขอพระหัตถ ปจจุบนั จัดแสดงอยูท พี่ พิ ธิ ภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง จังหวัด ภู เ ก็ ต อายุ ส มั ย ประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ ๑๔ ศิ ล ปะอิ น เดี ย แบบ ปลลวะ จารึกเขาพระนารายณเมืองตะกั่วปาอักษรปลลวะภาษาทมิฬ พุทธศตวรรษที่ ๑๒ กลาวถึง การขุดสระนํ้าชื่อ ศรีอวนินารณัมโดย กษัตริยอินเดียและดูแลโดยสมาชิกแหงมณิครามที่มีกองกําลังทหาร และชาวไรชาวนา พระวิษณุ พบที่โบราณสถานเขาพระเหนอ อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา พุทธศตวรรษที่ ๑๒ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

พระวิษณุมัธยมโยคสถานะมูรติ พบที่โบราณสถานเขาพระนารายณ อําเภอกระปง จังหวัดพังงา พุทธศตวรรษที่ ๑๔ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง

๑๑๔

พระวฏกะไภรวะ(พระอิศวรปางดุราย พบที่เมืองโบราณเวียงสระ ตําบลเวียงสระ อําเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฏรธานี พุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ จัดแสดงทีพ่ พิ ธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

จารึกเขาพระนารายณ พบที่โบราณสถานเขาพระนารายณ อําเภอกระปง จังหวัดพังงา พุทธศตวรรษที่ ๑๔ จัดแสดงทีพ่ พิ ธิ ภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง

พระพุทธรูปปางประทานพร พบที่เมืองโบราณเวียงสระ ตําบลเวียงสระ อําเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฏรธานี พุทธศตวรรษที่ ๑๐-๑๑ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

พระพิมพดินดิบ พบที่แหลงโบราณณคดีเขานุยหมู ๑๒ ตําบลเขากอบ อําเภอหวยยอด จังหวัดตรัง พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๑๕


ถํ้า “วัด(วิ)หาร” จังหวัดตรัง นอกจากการคนพบพระพิมพดินดิบแลวยังมีการพบสถูปดินเผา มีจารึก เย ธมฺมา สวน ของเขาคูหาสวรรค” และ “เขาอกทลุ”ก็มีการคนพบพระพิมพดินดิบ นอกจากนีย้ งั มีการคนพบแหลงโบราณคดีเพิม่ ขึน้ เชน แหลงโบราณณคดีเขานุย หมู ๑๒ ตําบลเขากอบ อําเภอหวยยอด จังหวัดตรัง มีการคนพบพระพิมพดินดิบจํานวนมาก โบราณสถานนาพละ หมูที่ ๖ บานหัวถนน ตําบลนาพละ อําเภอเมือง จังหวัดตรัง มีการคนพบโบราณสถาน และพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔

“ศรีวิชัย”สันนิษฐานวามีอายุอยูในชวงราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๙ โดยเจริญรุง เรืองบนคาบสมุทมลายู เกาะสุมาตราและเกาะชวา จากการศึกษาคนควาในดินแดนภาคใตของไทยแสดงใหเห็นวาใน ดินแดนภาคใตของไทยนั้นมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวของกับศรีวิชัย อยางแหลงโบราณสถานทุงตึกที่มีอายุอยูในชวงราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๓-๑๔ ซึ่งเปนชวงเดียวกับที่ศรีวิชัยกําลังเจริญขึ้น แหลงโบราณ สถานนาพละ ทีพ่ บพระอวโลกิเตศวร ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ และ แหลงโบราณคดีเขานุย จังหวัดตรัง แหลงโบราณคดีคหู าสวรรคและเขา อกทะลุที่มีการคนพบพระพิมพดินดิบ ซึ่งมีอายุในชวงศรีวิชัยรวมถึง หลักฐานชิน้ สําคัญอยาง จารึกวัดเสมาเมืองตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช พุทธศักราช ๑๓๑๘ จารึกภาษาสันสกฤต ดานที่ ๑ กลาวสรรเสริญความยิ่งใหญของพระเจากรุงศรีวิชัยมี พระบรมราชโองการใหสรางปราสาทอิฐ ๓ หลัง ถวายเปนทีป่ ระทับแด พระมนุษยพุทธ พระโพธิสัตวปทมปาณี และพระโพธิสัตววัชรปาณี ดานที่ ๒ กลาววา พระเจากรุงศรีวิชัยพระองคนี้ นามวา ศรีมหา ราชาเปนมหากษัตริยในไศเลนทรวงศ ยิ่งใหญเหนือกษัตริยทั้งปวง เปรียบไดดงั่ พระวิษณุองคที่ ๒ ซึง่ สามารถนําขอมูลมาศึกษาเรือ่ งราว ทางประวัตศิ าสตรและโบราณคดีทแี่ สดงใหเห็นวาทางภาคใตของไทย มีความเชื่อมโยงกับอาณาจักรศรีวิชัย

การเขามาของศาสนาที่ปรากฏในพื้นที่ทางภาคใตของไทยนั้น มีอยูหลายแหลงตามที่ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดกลาวไว และยังมีการคนพบเพิ่มเติมมาอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน

รูปแบบของเมืองทาภาคใตของไทย “…เมื่อพิจารณาดูแผนที่แหลมมลายูยังไดความตอไป วาเมืองตางๆ ที่พรรณนามานั้น เมืองที่อยูทางฝายทะเล ตะวันตกเปนทาเรือของพวกชาวอินเดีย สําหรับเดินบกขามแหลมมลายูมายังเมืองทีต่ งั้ ทางฝายทะเลตะวันออกทุกแหง คือ…”

๑๔ พฤศจิกายน ๒๔๗๘ จากทั้งแหลงโบราณคดีและแหลงโบราณสถานที่ปรากฏ ฝงตะวันตก (ทะเลอันดามัน) สูฝงตะวันออก (อาวไทย) ของภาคใตสอดคลองกับสมมติฐานที่วาเมืองทาตางๆ ที่ปรากฏนั้นเปนเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อใชเปนสถานที่ ในแลกเปลี่ยนสินคา และ เปนเมืองในเสนทางขามคาบสมุทรจากฝงตะวันตก (ทะเลอันดามัน) สูฝงตะวันออก (อาวไทย) อยางที่สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพไดตั้งสมมติฐานเอาไว ตัวอยางเสนทางการเดินเรือในอดีตสันนิษฐานจากแหลงโบราณสถานและเมืองทา เดินทางเขาทางทุงตึก ผาน เขาพระเหนอเขาพระนารายณ ไปอําเภอพนม อําเภอคีรีรัตน สูควนพุนพิน ผานเขาศรีวิชัย และออกที่แหลมโพธิ์

สรุป

ความเชื่อมโยงภาคใตของไทยกับอาณาจักรศรีวิชัย “...การคนแบบศิลปจึงเปนขอสําคัญในพงศาวดารภาคมลายูอยูอีกอยางหนึ่ง ซึ่งทําใหเมืองไชยาเปนที่สําคัญขึ้น เพราะยังมีโบราณสถาน “สมัยมลายู” เหลืออยูมากกวาแหงอื่นนอกจากที่เมืองปะเลมบัง ในเกาะสมาตรา ที่เขาใจกันวาเปน ราชธานี “ศรีวิชัย” ในสมัยนั้น แตที่เมืองปะเลมบังรัฐบาลฮอลันดาก็ยังไมไดตรวจคนแขงแรงเทาใดนัก เรื่องประวัติของแบบ ศิลปจึงยังเปนปญหาซึ่งจะตองรอฟงตอไป” ๑๔ พฤศจิกายน ๒๔๗๘

๑๑๖

จารึกวัดเสมาเมือง พุทธศักราช ๑๓๑๘ พบที่วัดเสมาเมือง ตําบลในมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เก็บรักษาที่คลังกลาง สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี

องคความรูโ บราณคดีภาคใตของไทยนัน้ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ และสมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทั้งสองพระองคมีการตั้งขอสมมติฐานงานโบราณคดีภาคใตไวหลายดาน ขอสมมติฐานในคราวนัน้ ยังสงตอถึงการคนหาหลักฐานเพือ่ ยืนยันขอเท็จจริงผานการทํางานของกรมศิลปากรมาจนถึงปจจุบนั อาทิการขุดคนและสํารวจเพิม่ เติมจากแหลงโบราณคดีทมี่ มี าแตเดิม เชนโบราณสถานทุง ตึกจังหวัดพังงา ไดมกี ารคนพบหลักฐาน ทางโบราณคดี ประเภทลูกปด เครื่องประดับสําริด โบราณสถานเขาพระเหนอ จังหวัดพังงารวมถึงการคนพบแหลงโบราณคดี ใหม อยางแหลงโบราณคดีนาพละ จังหวัดตรัง และแหลงโบราณคดีเรือโบราณหาดปากคลองกลวย จังหวัดระนอง

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๑๗


ชิ้นสวนภาชนะดินเผาแบบมีปุมแหลมที่กนดานใน พุทธศตวรรษที่ ๕ เสนผาศูนยกลาง ๕.๗ ซ.ม. สูง ๕.๘ ซ.ม. ดินเผา แหลงเรือโบราณปากคลองกลวยหมู ๔ บานภูเขาทอง ตําบลกําพวนอําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง เก็บรักษาที่กลุมโบราณคดีและอนุรักษโบราณสถาน สาขาภูเก็ต สํานักศิลปากรที่ ๑๒ นครศรีธรรมราช Knobbed Ware Sherd 1st Century Diameter 5.7 cm. H. 5.8 cm. Terracotta Found at Ancient shipwreck Site at Had Pak Khlong Kluai, Moo 4, Ban Phu Khao Thong, Kampuan sub-district, Suk Samran district, Ranong province. The 12th Regional Office of Fine Arts, Nakhon Si Thammarat(Phuket).

ภาชนะดินเผาแบบมีปุมแหลมที่กนดานใน (Knobbed Ware) ดานนอกทานํ้าดินสีดํา บริเวณสันทําเปนรอยขูด รอง ๓ รอย เปนภาชนะทีม่ รี ปู แบบพิเศษทีผ่ ลิตในตางแดน โดยมีการพบหลักฐานในหลายแหงของอินเดียตัง้ แตลมุ แมนาํ้ คงคา รัฐโอริสา ตักษิลา ในปากีสถาน รวมถึงแถบอาวเบงกอล เชน บังกลาเทศ ซึง่ มีการสันนิษฐานวาอาจเปนภาชนะทีใ่ ชในพิธกี รรม ภาชนะดินเผาแบบ Knobbed Ware พบใกลกับแหลงเรือโบราณหาดปากคลองกลวย ซึ่งเปนเสนทางนํ้าซึ่งจะเขาไปสู แหลงโบราณคดีภเู ขาทอง จุดเดนของเรือลํานี้ คือ การตอไมโดยใชเทคนิค “Mortise and Tenonjoints” หรือ การเซาะไมใหเกิด รองแลวเชื่อมตอแผนไมแตละแผนดวยเดือยไมสลักและใชลูกประสักในการยึดตัวแผนไมและเดือยเขาดวยกัน เปนเทคนิคที่ พัฒนามาจากแถบทะเลเมดิเตอรเรเนียนโดยพบหลักฐานการใชเทคนิคตอเรือนี้ตั้งแต ๓,๐๐๐ กวาปมาแลว เปนหลักฐานที่ ชวยเติมเต็มภาพของเมืองทาทางชายฝง ทะเลอันดามันทีส่ าํ คัญสมัยแรกเริม่ ประวัตศิ าสตรซงึ่ เปนสวนทีช่ ว ยสนับสนุนวามีอาจ มีการติดตอคาขายกับดินแดนโพนทะเล

พระวิษณุ หิน พุทธศตวรรษที่ ๑๒ สูง ๒๐๒ ซ.ม. พบจากโบราณสถานเขาพระเหนอ จังหวัดพังงา จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Vishnu Stone 7th Century H. 202 cm. Found at Khao Phra Nue Archaeological site, Phang-Nga, Bangkok National Museum

พระวิษณุประทับยืน มี ๔ กร เปนประติมากรรมแบบลอยตัว ขนาดสูง ๒๐๒ เซนติเมตร สวนพระพักตรกะเทาะ หายไปบางสวน สวมกิรีฏมกุฎทรงกระบอกเรียบไมมีลวดลาย พระอุระผึ่งผาย บั้นพระองคบาง ทรงพระภูษาโจงยาว ไมมีผา คาดพระโสณี พระหัตถที่ถืออาวุธชํารุดหักหายไปทั้ง ๔ ขาง อายุสมัยประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ศิลปะอินเดียแบบปลลวะ เทวรูปองคนแี้ สดงถึงการเขามาของศาสนาพราหมณ-ฮินดู ลัทธิไวษณพนิกาย การเขามาของศาสนาอาจสันนิษฐาน ไดวาเขาพรอมกับพอคานักเดินเรือชาวตางชาติ ซึ่งเดินทางจากบานเมืองมาไกลไดนําความเชื่อทางศาสนาเขามา สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพโปรดใหนาํ เทวรูปพระนารายณจากควนพระเหนอมาเก็บรักษาไวทพี่ พิ ธิ ภัณฑสถาน แหงชาติพระนคร ตัง้ แตพทุ ธศักราช ๒๔๗๐ ปจจุบนั กรมศิลปากรไดทาํ การจําลององคพระวิษณุเพือ่ ประดิษฐานบนเขาพระเหนอ โดยไดมกี ารวิเคราะหพระหัตถและอาวุธทีช่ าํ รุดหักหายไปทัง้ ๔ ขาง สามารถสันนิษฐานอาวุธทีพ่ ระหัตถไดโดยการเทียบเคียงกับ เทวรูปพระวิษณุองคอนื่ คือ พระหัตถขวาบนถือจักร พระหัตถขวาลางถือกอนดิน (ภูม)ิ พระหัตถซา ยบนถือสังข และพระหัตถ ซายลางถือคทา จากลักษณะที่สวนพระองคไมมีรองรอยพระหัตถแสดงใหเห็นวาพระหัตถลางทั้งสองขางแยกจากพระโสณี สวนการถือหรือจับอาวุธนั้น สันนิษฐานวาถือจักรโดยหันสันออก ถือกอนดินดวยการหงายและแบมือ ถือสังขดวยการหงาย มือออกโดยกนสังขตั้งขึ้นและหัน ปากสังขออก ถือคทาดวยการควํ่ามือลง คทาเฉียงเล็กนอยยาวลงมาจรดพื้น


พระหัตถสําริด สําริด พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ สูง ๖.๘ ซ.ม. กวาง ๓.๘ ซ.ม. พบจากแหลงโบราณคดีทุงตึก เกาะคอเขา จังหวัดพังงา จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง

จารึกวัดเสมาเมือง พุทธศักราช ๑๓๑๘ สูง ๑๐๔ ซม กวาง ๕๐ ซม ศิลา วัดเสมาเมือง ตําบลในมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เก็บรักษาที่คลังกลางสํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี

Hand Holding Beads Bronze 8th – 9th Century H. 6.8 cm. W. 3.8 cm. Found at Thung Tuek Archaeological site, Phang-Nga, Thalang National Museum, Phuket

Wat Sema Mueang Inscription Stone 8th Century (775 A.D) H. 104 cm. W. 50 cm Found at Wat Sema Mueang, Nakhon Si Thammarat, Collect at Center Storage of National Museum

แหลงโบราณคดีทุงตึก แหลงโบราณคดีที่ถูกกลาวถึงในสาสนสมเด็จ เปนโบราณสถานที่สําคัญแสดงถึงความเจริญ ของเมืองทา และความสัมพันธทเี่ กีย่ วเนือ่ งกับศรีวชิ ยั เจริญขึน้ บนแหลมมลายู หลักฐานทีเ่ ดนชัด ในแลกเปลีย่ นสินคา และเปน เมืองในเสนทางขามคาบสมุทรจากฝงตะวันตก (ทะเลอันดามัน) สูฝงตะวันออก (อาวไทย) เมือ่ พุทธศักราช ๒๕๔๖ สํานักศิลปากรที่ ๑๕ ภูเก็ตในสมัยนัน้ ไดทาํ การขุดคนทางโบราณคดี มีการคนพบหลักฐาน ทางโบราณคดี ประเภทลูกปด ภาชนะดินเผา เครื่องประดับสําริด รวมถึงชิ้นสวนประติมากรรมพระหัตถ ทําจากโลหะสําริด ลักษณะพระหัตถถือลูกประคํา สันนิษฐานวาอาจเปนพระหัตถของพระโพธิสัตว

จารึกภาษาสันสกฤต ดานที่ ๑ กลาวสรรเสริญความยิ่งใหญของพระเจากรุงศรีวิชัย พระบรมราชโองการใหสราง ปราสาทอิฐ ๓ หลัง ถวายเปนที่ประทับแดพระมนุษยพุทธ พระโพธิสัตวปทมปาณี และพระโพธิสัตววัชรปาณี ดานที่ ๒ กลาววา พระเจากรุงศรีวิชัยพระองคนี้ นามวา ศรีมหาราชาเปนมหากษัตริยในไศเลนทรวงศ ยิ่งใหญเหนือกษัตริยทั้งปวง เปรียบไดดั่งพระวิษณุองคที่ ๒ จารึกวัดเสมาเมืองแสดงถึงความสัมพันธเชื่อมโยงในดานศาสนาและการเมือง อยางจารึกวัดเสมาเมือง กลาวถึง พระเจากรุงศรีวิชัย การสรางสิ่งกอสรางในศาสนา และพระเจากรุงศรีวิชัยนามศรีมหาราชาเปนกษัตริยในราชวงศไศเลนทร เปนหลักฐานทีเ่ กีย่ วของในชวงศรีวชิ ยั หนึง่ ในหลักฐานทีใ่ ชในการพิสจู นขอ สมมติฐานของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศเรื่องความเชื่อมโยงภาคใตของไทยกับอาณาจักรศรีวิชัย


เครื่องปนดินเผาภาคเหนือ นางสาวธัชสร ตันติวงศ ภัณฑารักษชํานาญการ สาส น สมเด็ จ เป น เอกสารลายพระหั ต ถ ส  ว นพระองค โ ต ต อบกั น ไปมาระหว า งสมเด็ จ พระเจ า บรมวงศ เ ธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ เนือ้ หาในสาสนสมเด็จทําใหไดรบั องคความรูท าง ศิลปวิทยาการดานตาง ๆ เนือ้ หาบางตอนมีการกลาวถึงเครือ่ งปน ดินเผาภาคเหนือในมุมมองตาง ๆ แบงออกเปน ๒ ประเด็น คือ เครื่องปนดินเผาลานนา และเครื่องสังคโลก (เครื่องปนดินเผาสุโขทัย)

พระวฏกะไภรวะ (พระอิศวรปางดุราย) พุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ สูง ๕๒.๕ ซ.ม. กวาง ๓๐ ซ.ม. หิน เมืองโบราณเวียงสระ อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Batuka Bhairava (Ishvara in cruel gesture) 10th – 11th century C.E. H. 52.5 cm. W. 30 cm. Stone Found from Wiang Sa ancient town, Ban Na San district, Suratthani, Bangkok National Museum

พระวฏกะไภรวะ (พระอิศวรปางดุราย) เปนประติมากรรมนูนสูง ประทับยืนตรง พระวรกายเปลือยเปลา พระหัตถ ซายหนาอยูร ะดับพระอุระ พระหัตถขวาหนายกขึน้ ระดับพระอุระถือกระโหลก พระหัตถซา ยหลังยกขึน้ ถือตรีศรู พระหัตถขวา หลังยกขึ้น ถือบัณเฑาะว ดานหลังมีรูปสุนัข เมืองเวียงสระ แหลงโบราณสถานที่มีความสําคัญที่แสดงการเขามาของชาวอินเดีย รวมถึงปรากฏการรับศาสนา พราหมณ-ฮินดูและพุทธศาสนา มีการคนพบวัตถุทางศาสนาที่หลากหลาย อาทิ พระวิษณุ ศิลปะปลลาวะ พระวิษณุ ศิลปะ โจฬะ เทพีอุมโอรส พระพุทธรูปปางประทานพร เมืองเวียงสระเปนเมืองที่มีความเชื่อมโยงกับศรีวิชัย และเปนจุดเชื่อมตอ การเดินเดินทางของชายฝงทะเลตะวันตกไปตะวันออก

ปฐมบทแหงการคนพบเตาเผาเครือ่ งถวยชามลานนา และความกาวหนา ในงานโบราณคดี เนื้อหาในสาสนสมเด็จไดกลาวถึงการคนพบเตาลานนา (เวียงกาหลง) โดยพระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี)๑ ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาของ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๗ ความวา “...พระยานครพระรามไปพบเตาเผา ถวยชามที่เวียงปาเปา เวียงกาหลง เก็บไดตัวอยางถวยชามมามาก วาทําตูใสตั้งไว ที่บานถึงสามตู...”

พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) ผูคันพบเตาเผาเครื่องปนดินเผาที่เวียงกาหลง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงตอบพระราชหัตถเลขา เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๘ ความวา “การพบเตาเครื่องถวยชามที่เวียงกาหลงนี้ จะตองใหเปนเกียรติยศแกพระยานครพระรามฐาน เปนผูไปพบ...” ๑ พระยานครพระราม เดิมชื่อ สวัสดิ์ เกิดในกรุงเทพฯ ที่บานบางรัก เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๓๐ ตุลาคม ปวอก พ.ศ. ๒๔๒๗ ตอมาไดรับนามสกุลพระราชทาน

“มหากายี” เขาศึกษาที่โรงเรียนมหาดเล็ก แลวรับราชการในกระทรวงมหาดไทย ตําแหนงสุดทายของชีวิตราชการ คือ สมุหเทศาภิบาลมณฑลพิษณุโลก ทานสนใจ ศึกษาและรวบรวมเครื่องสังคโลกไวมาก และเปนบุคคลที่สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานิวัดติวงศ และสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดทรงกลาวถึง และยกยองวาเปนผูคนพบเตาเผาเครื่องปนดินเผาโบราณที่เวียงกาหลง จังหวัดเชียงราย ทานถึงแกอนิจกรรม เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๐ ที่กรุงเทพฯ สิริอายุได ๕๓ ป ๗ เดือน ดูใน พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี), เครื่องถวยไทย, พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพของผูแตง ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๘๑ (พระนคร : กรุงเทพบรรณาคาร, ๒๔๘๐), คํานําหนา ๑ - ๒๕.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๒๓


เครื่องเคลือบผลิตจากเตาเวียงกาหลง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๑ พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) รวบรวมไว ปจจุบันเก็บรักษา ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

เครื่องปนดินเผาที่พระยานครพระรามไดเก็บรักษาไวภายในบานพัก สวนใหญไดมาจากทางภาคเหนือของประเทศไทย ที่มา: หอจดหมายเหตุแหงชาติ

มูลเหตุการคนพบเตาเผาเครือ่ งถวยชามลานนา ไดเริม่ ตนจากความสนใจศึกษาหาความรูเ กีย่ วกับเครือ่ งสังคโลกของ พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) เมื่อครั้งเปนผูวาราชการจังหวัดสวรรคโลก เมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๕ ตอมาพุทธศักราช ๒๔๗๑ ทานดํารงตําแหนงสมุหเทศาภิบาลมณฑลพิษณุโลก ไดออกตรวจราชการภายในมณฑลนั้น ทําใหมีโอกาสรวบรวม เครือ่ งสังคโลก และสํารวจแหลงเตาตามพืน้ ทีต่ า ง ๆ จนกระทัง่ ไปพบแหลงเตาเวียงกาหลง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ซึ่ง ณ ขณะนั้นอยูในทองที่ของมณฑลพายัพ ดังปรากฏเรื่องราวความเปนมาเกี่ยวกับการคนพบเตาเวียงกาหลงในหนังสืองาน พระราชทานเพลิงศพของพระยานครพระราม ทีส่ มเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงพระนิพนธไวใน สวนคํานําของหนังสือ๒ ความวา “...เมื่อเปนสมุหเทศาภิบาลมณฑลพิษณุโลกใน พ.ศ. ๒๔๗๑ คราวนี้เวลาออกตรวจราชการตามทองที่ในมณฑล ก็เสาะหาตัวอยางเครื่องสังคโลก และเที่ยวตรวจดูเตาที่ทําทั้งขุดคนหาเครื่องสังคโลกที่ทําตางสมัยกันเอามาพิจารณา ไดความรูและตัวอยางเครื่องสังคโลกมากขึ้นโดยลําดับ เนื่องกับการที่พระยานครพระรามเที่ยวคนเครื่องสังคโลกใน ตอนนี้ จะรูดวยประการใดขาพเจาหาทราบไม พระยานครพระรามจึงเลยขึ้นไปถึงเมืองโบราณ เรียกวา “เวียงกาหลง” ในมณฑลพายัพ อยูไมหางกับเมืองพะเยาเทาใดนัก ไปพบซากเตาทําเครื่องถวยชามทํานองเดียวกับที่จังหวัดสวรรคโลกมี มากมาย เสาะตัวอยางเครื่องถวยชามที่เวียงกาหลงมาไดหลายอยาง ขอนี้ที่ทําใหพระยานครพระรามมีชื่อเสียงขึ้นในหมูผู ศึกษาโบราณคดี เพราะแตกอนมาไมมีใครเคยรูวามีเตาทําถวยชามที่เวียงกาหลง พระยานครพระรามเปนผูไปพบและ ไดตรวจตรากอนผูอื่น...” เครื่องถวยชามที่พระยานครพระรามไดพบครั้งนั้นมีลักษณะพิเศษ คือ เปนเครื่องปนดินเผาเคลือบ ทําจากดิน สีขาวนวล เนื้อคอนขางบาง เผาไฟแกรง และเขียนลวดลายตาง ๆ ดวยสีดํา ดังนั้น แหลงเตาเวียงกาหลง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย จึงนับเปนแหลงผลิตเครื่องถวยชามที่ไดคนพบเปนแหงแรกในดินแดนลานนา ๒ เรื่องเดียวกัน, คํานําหนา ๑๗ - ๑๘.

๑๒๔

การคนพบแหลงเตาเวียงกาหลงของพระยานครพระรามไดเปนจุดเริ่มตนใหมีการศึกษาเครื่องปนดินเผาและ สํารวจ-ขุดคนแหลงเตาลานนาในพื้นที่ตางๆ สมัยตอมา ไดแก กลุมเตาในอําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม นายไกรศรี นิมมานเหมินท สํารวจพบเมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๕ และเผยแพรขอมูลในงานสัมนาโบราณคดีสมัยสุโขทัย ณ เมืองเกาสุโขทัย เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๐๓๓ จากนั้นพุทธศักราช ๒๕๑๓ - ๒๕๑๔ นายพจน เกื้อกูล ขุดคนเตาเผาที่หมูบาน ปาตึง ตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ผลจากการดําเนินงานครั้งนั้น ไดพบเตาเผาเครื่องถวยชามโบราณ ทัง้ หมด ๗ เตา และเครือ่ งปน ดินเผาเคลือบจํานวนมาก ซึง่ มีทงั้ ประเภทเคลือบสีเขียว เคลือบสีนาํ้ ตาล เขียนลายสีดาํ ใตเคลือบ ลวดลายตกแตงที่เปนเอกลักษณของเครื่องถวยชามกลุมเตาสันกําแพง คือ ลายปลาคู และลายพฤกษชาติหรือพันธุไมนํ้า และ รูปทรงภาชนะที่พบสวนใหญเปนจาน ชาม กระปุก และไห๔ ในชวงระยะเวลาเดียวกัน กรมศิลปากร โดยหนวยศิลปากรที่ ๔ เชียงใหม ดําเนินการขุดคนเตากออิฐบนดินที่เตาโปงแดง ตําบลทรายขาว อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย พบซากเตาเผา ๑๔ เตา และไดเคลื่อนยายเตาหนึ่งมาประกอบใหมจัดแสดงกลางแจง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม ผลิตภัณฑที่ได จากแหลงเตาพาน คือ เครื่องปนดินเผาเนื้อแกรงเคลือบสีเขียวเซลาดอน ไดแก จาน ชาม กระปุกขนาดเล็ก ขวดหรือแจกัน ตะเกียง ตุกตารูปสัตว รูปแบบเตาเผาและคุณภาพของผลิตภัณฑเหลานี้คลายคลึงกับเครื่องสังคโลกเคลือบสีเขียวของแหลง เตาศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย๕

จานเขียนลายสีดําใตเคลือบ ผลิตจากเตาสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม พบที่ตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม พุทธศตวรรษที่ ๑๙ – ๒๐ นายไกรศรี นิมมานเหมินท มอบให ปจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม ๓ ไกรศรี นิมมานเหมินท, “เครื่องถวยสันกําแพง.” ใน คําบรรยายสัมนาโบราณคดีสมัยสุโขทัย พ.ศ. ๒๕๐๓, กรมศิลปากรรวบรวมจัดพิมพเนื่องในงานเสด็จ

พระราชดําเนินทรงเปดพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ รามคําแหง จังหวัดสุโขทัย วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๗ (พระนคร : ศิวพร, ๒๕๐๗), หนา ๑๔๔ – ๑๖๐.

๔ พจน เกื้อกูล, เครื่องถวยและเตาเผาสันกําแพง (กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๒๕), หนา ๓ - ๑๘. ๕ สายันต ไพรชาญจิตร พาสุข ดิษยเดช และประทีป เพ็งตะโก, เซรามิคสในประเทศไทย ชุดที่ ๓ : แหลงเตาลานนา, เอกสารกองโบราณคดีหมายเลข ๖/๒๕๓๒

(กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๓), หนา ๕๗ - ๖๐.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๒๕


ภาชนะดินเผาเคลือบสีเขียว ผลิตจากแหลงเตาในอําเภอพาน (โปงแดง) จังหวัดเชียงราย ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๑ ปจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม เตาเผาเครื่องถวยชาม แหลงเตาวังเหนือ จังหวัดลําปาง กรมศิลปากรสํารวจ-ขุดคนเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๕ และไดเคลื่อนยายเตาหนึ่งมาตั้งแสดงกลางแจง ณ พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ เชียงใหม

ชวงระหวางพุทธศักราช ๒๕๑๕ ถึง ๒๕๒๕ กรมศิลปากร โดยหนวยศิลปากรที่ ๔ เชียงใหม และโครงการโบราณคดี ประเทศไทย (ภาคเหนือ) กองโบราณคดี สํารวจและขุดคนศึกษาแหลงเตาเวียงกาหลง-วังเหนือ จํานวนหลายครัง้ ๖ และไดเคลือ่ น ยายเตาหนึง่ ทีบ่ า นไผเหนือ ตําบลแมพริก อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง ไปตัง้ แสดง ณ สนามดานหนาพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม ตอมาพุทธศักราช ๒๕๒๗ กรมศิลปากรสํารวจพบแหลงเตาเมืองนานที่บานบอสวก หลังจากนั้นไดขุดคน ทางโบราณคดีอกี หลายครัง้ ไดแก เมือ่ พุทธศักราช ๒๕๔๒ โครงการโบราณคดีชมุ ชน คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร โดยอาจารยสายันต ไพรชาญจิตร นําคณะนักศึกษาสํารวจและขุดคนที่เตาบานบอสวก จํานวน ๒ เตา (เตาสุนนั -เตาจามนัส ติคาํ ) เมือ่ ขุดคนแลวเสร็จไดจดั ตัง้ เปนพิพธิ ภัณฑเฮือนบานสวกแสนชืน่ และเตาเผาโบราณ ปพทุ ธศักราช ๒๕๔๖ – ๒๕๔๗ ขุดคนอีกครัง้ ในบริเวณทีเ่ รียกวาดงปูฮ อ ๗ ผลิตภัณฑทไี่ ดจากเตาเมืองนานสวนใหญเปนเครือ่ งปน ดินเผาเคลือบ รูปทรงที่เปนเอกลักษณ ไดแก ชาม ครก และไห เครื่องเคลือบที่พบมีทั้งประเภทเคลือบสีเขียวตั้งแตสีเขียวออนถึงสีเขียวเขม ประเภทเคลือบสองสี และเขียนลายสีดาํ ใตเคลือบ ลักษณะเนือ้ ดินปน คอนขางหยาบ เผาไมแกรงมาก สุกไมทวั่ ถึงกัน ไสตรงกลาง สีเทาอมสีนํ้าตาล สวนขอบเปนสีเหลืองอมแดง อายุประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๒๘

เตาเผาเครือ่ งถวยชาม แหลงเตาวังเหนือ จังหวัดลําปาง กรมศิลปากรสํารวจ-ขุดคน เมือ่ พุทธศักราช ๒๕๑๕ และไดเคลือ่ นยายเตาหนึง่ มาตัง้ แสดงกลางแจง ณ พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม ๖ เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๑ - ๔๒. ๗ สายันต ไพรชาญจิตร, “ขอมูลใหมเรื่องเตาเผาและเครื่องเคลือบลานนาที่เมืองนาน,” ศิลปากร, ๒๙, ๕ (พฤศจิกายน) ๒๕๒๘ : ๕๐-๖๗ และ กมลทิพย

ธารสวางดํารงค, “การศึกษาความสัมพันธระหวางเมืองนาน สุโขทัย ลานนา พุทธศตวรรษที่ ๑๙ – ๒๒,” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา ๒๕๔๘, หนา ๒๙ - ๓๐. ๘ กมลทิพย ธารสวางดํารงค, เรื่องเดียวกัน, หนา ๖๑ – ๖๒.

๑๒๖

ภาชนะดินเผาเคลือบสีเขียว ผลิตจากแหลง เตาบานบอสวก อําเภอเมืองนาน จังหวัดนาน ราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ปจจุบนั จัดแสดง ณ พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ นาน

พุทธศักราช ๒๕๒๙ กรมศิลปากร โดยโครงการโบราณคดีประเทศไทย (ภาคเหนือ) กองโบราณคดีสํารวจพบซาก เตาเผาในทองทีต่ าํ บลแมกา อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา แหลงเตาตัง้ อยูท างใตของตัวจังหวัดพะเยา หางออกไปประมาณ ๒๐ กิโลเมตร ตอมาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๔๘ ศาสตราจารยสายันต ไพรชาญจิตร อาจารยประจําคณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดนํานักศึกษาเขาฝกภาคปฏิบัติดานการสังคมสงเคราะหและพัฒนาชุมชน รวมกับชาวบานบัว ตําบลแมกา อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ดําเนินการขุดคนทางโบราณคดีทเี่ ตาเผาเครือ่ งถวยชามของเมืองพะเยา ๒ แหง คือที่ เตาพออุยแตง และเตาเกามะเฟอง ผลจากการดําเนินทางโบราณคดีทั้งสํารวจและขุดคน ทําใหทราบเกี่ยวกับรูปแบบเตาเผา เทคโนโลยีการผลิต และผลิตภัณฑของแหลงเตาเมืองพะเยา ซึ่งคลายกับที่แหลงเตาสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม กําหนดอายุ จากตัวอยางถานที่ไดจากเตาเกามะเฟอง อยูในชวงครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ ๑๙ (ระหวางพุทธศักราช ๑๘๒๓ – ๑๘๔๓) ภายหลังการขุดคนเสร็จสิ้น ไดเปดหลุมขุดคนใหเปนพิพิธภัณฑประจําแหลงโบราณคดี๙ พุทธศักราช ๒๕๓๗ ชาวบานในพื้นที่และนักวิชาการทองถิ่นไดสํารวจพบแหลงเตาอินทขิล บานสันปาตอง ตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม และระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๙ กรมศิลปากร ดําเนินการขุดคนศึกษาทางโบราณคดี พบเตาเผาเครือ่ งถวยชามโบราณ ผลิตภัณฑทไี่ ดจากเตาแหงนี้ สวนใหญเปนรูปทรงชาม เคลือบสีเขียวคลายคลึงกับผลิตภัณฑที่ไดจากแหลงเตาในอําเภอพาน จังหวัดเชียงราย กําหนดอายุอยูในสมัยลานนา ระหวาง พุทธศตวรรษที่ ๒๑ – ๒๒ หรือประมาณ ๕๐๐ – ๖๐๐ ปมาแลว๑๐ ๙ สายันต ไพรชาญจิตร และคณะ, เซรามิคสในประเทศไทย ชุดที่ ๓ : แหลงเตาลานนา, หนา ๖๓ - ๖๖ และสายันต ไพรชาญจิตร, อารยะพะเยาทีแ่ หลงเตาเวียงบัว

(กรุงเทพฯ : ศูนยศกึ ษาพัฒนาโบราณคดีชมุ ชน ภาควิชาการพัฒนาชุมชน คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๕๕), หนา ๑๐ – ๑๓ และ ๔๑ – ๔๓.

๑๐ สายันต ไพรชาญจิตร และสุภมาศ ดวงสกุล, “การขุดคนศึกษาทางโบราณคดีแหลงเตาอินทขิล บานสันปาตอง (๑) ตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม,”

ใน โบราณคดีลานนา (กรุงเทพฯ : สมาพันธ, ๒๕๔๐), หนา ๙ – ๒๐.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๒๗


การดําเนินงานทางโบราณคดีครั้งลาสุด พุทธศักราช ๒๕๖๒ กรมศิลปากร โดยสํานักศิลปากรที่ ๘ เชียงใหม ได ศึกษาขุดคนแหลงเตาบานปาตึง ตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม เพื่อใหเกิดองคความรูเพิ่มมากขึ้นเกี่ยวกับ แหลงเตาและเครือ่ งปน ดินเผาสันกําแพง ตลอดจนเพือ่ การอนุรกั ษและพัฒนาสําหรับใหเปนแหลงศึกษาเรียนรูด า นประวัตศิ าสตร และโบราณคดีที่สําคัญของทองถิ่นตอไปในอนาคต

เครื่องสังคโลก มรดกวัฒนธรรมของรัฐสุโขทัย

บริเวณทีเ่ คยเปนอาณาเขตของรัฐสุโขทัย ครอบคลุมพืน้ ทีภ่ าคเหนือตอนลางของประเทศไทยปจจุบนั ตัง้ แตจงั หวัด อุตรดิตถ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก กําแพงเพชร และพิจิตร บริเวณนี้ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตรมากมาย มรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมทีเ่ ปนเอกลักษณของศิลปะสุโขทัยมีหลายดาน ทัง้ งานสถาปตยกรรม งานประติมากรรม และยังมีเครือ่ งใชสอย ที่สําคัญ ซึ่งเรียกกันวา “เครื่องสังคโลก” ความสนใจตอการศึกษาเรือ่ งเครือ่ งสังคโลก เทาทีป่ รากฏหลักฐานเปนลายลักษณอกั ษร คงเริม่ ขึน้ ในชวงปลายสมัย รัชกาลที่ ๕ เมื่อครั้งสมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟามหาวชิราวุธ เสด็จประพาสเมืองสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กําแพงเพชร และ เมืองบริวารที่เกี่ยวของในขอบเขตของรัฐสุโขทัยในปพุทธศักราช ๒๔๕๐ ซึ่งไดทรงพระราชนิพนธเรื่องเที่ยวเมืองพระรวงไว เปนประจักษพยาน ปพุทธศักราช ๒๔๖๕ พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) เมื่อครั้งเปนผูวาราชการจังหวัดสวรรคโลก ไดสนใจ ศึกษาหาความรูเ กีย่ วกับเครือ่ งสังคโลก และเริม่ รวบรวมเครือ่ งสังคโลกไว รวมทัง้ ยังมีโอกาสไปสํารวจแหลงเตาตาง ๆ จนกระทัง่ ไปพบแหลงเตาที่เวียงกาหลง จังหวัดเชียงราย ในเวลาตอมา๑๑ จากเอกสาร “สาสนสมเด็จ” สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงกลาวถึงพระยานคร พระรามกับความสนใจศึกษาเครื่องสังคโลก ปรากฏอยูในลายพระหัตถฉบับลงวันที่ ๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๗ ความวา

เตาเผาเครื่องถวยชามลานนาที่บานปตึง อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ลักษณะเปนเตาแบบระบายความรอนผานในแนวนอน หรือเตาประทุน (Cross draft Kiln)

ขณะขุดคนแหลงเตาบานปาตึง อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม เมื่อพุทธศักราช ๒๕๖๒ โดยสํานักศิลปากรที่ ๘ เชียงใหม กรมศิลปากร

ผลจากการดําเนินงานทางโบราณคดีทผี่ า นมาทัง้ การสํารวจและขุดคนศึกษา ทําใหไดองคความรูเ กีย่ วกับวิทยาการ ตาง ๆ ของเครือ่ งถวยชามลานนาทัง้ ในเรือ่ งแหลงผลิตและรูปแบบผลิตภัณฑ อายุสมัย ตลอดจนความสัมพันธทางประวัตศิ าสตร กับบานเมืองอื่น

๑๒๘

“...พระยานครพระรามนั้น เขาเคยเปนศิษยของหมอมฉันมาแตครั้งยังอยูในโรงเรียนมหาดเล็ก และเมื่อแรกเขารับ ราชการในกระทรวงมหาดไทย เมือ่ เขาจะขึน้ ไปเปนเทศามณฑลพิษณุโลก หมอมฉันไดเตือนวาควรจะเอาใจใสศกึ ษาโบราณคดี ดวยมณฑลนัน้ มีเรือ่ งมาก และมักมีชาวตางประเทศไปเทีย่ วดูโบราณสถาน .... เขาเริม่ รวบรวมเครือ่ งสังคโลกมานานแลว เคย สงรูปฉายาลักษณมาใหหมอมฉันดูที่วามีของถึง ๒ ตูนั้น เปนเครื่องสังคโลกทั้งนั้น...”

ซากเตาทุเรียง ทําเครื่องถวย ที่เมืองสุโขทัย ภาพถายในขณะที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เสด็จเมืองสวรรคโลก เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๐ ที่มา: หอสมุดดํารงราชานุภาพ ๑๑ ดูเชิงอรรถที่ ๒ Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๒๙


“สังคโลก” มาจากชื่อเมือง “สวรรคโลก” เปนคําที่ใชเรียกเครื่องปนดินเผาที่ผลิตอยูในพื้นที่ของรัฐสุโขทัย ชวง สมัยสุโขทัยตอนปลายถึงสมัยอยุธยา ตั้งแตปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๒ มีแหลงผลิตสําคัญอยูที่เมือง สวรรคโลกเกา (ปจจุบันอยูในพื้นที่อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย) รวมทั้งที่เมืองสุโขทัยเกา และที่เมืองพิษณุโลก แหลงเตาเมืองศรีสัชนาลัย (เมืองสวรรคโลกเกา) ตั้งอยูริมแมนํ้ายม ในพื้นที่อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย แหลงเตาแหงนี้เปนแหลงผลิตสําคัญของเครื่องสังคโลก ประกอบดวย ๒ กลุมเตายอย ไดแก กลุมเตาบานเกาะนอย และกลุม เตาบานปายาง

กลุมเตาบานเกาะนอย ตั้งอยูหางจากเมือง

เตาเผาเครื่องสังคโลกในระยะแรก เตาบานเกาะนอยหมายเลข ๖๑ เมืองศรีสัชนาลัย ผลิตเครื่องสังคโลกประเภทไมเคลือบ จัดแสดงภายในอาคารศูนยศึกษาและอนุรักษเตาสังคโลก

เครื่องสังคโลกที่พระยานครพระราม ไดรวบรวมไว สวนหนึ่งไดถูกเก็บรักษาไว ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร กรุงเทพฯ และคลังกลางพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี ที่มา: หอจดหมายเหตุแหงชาติ

๑๓๐

ศรีสชั นาลัยไปทางทิศเหนือประมาณ ๕ กิโลเมตร ปรากฏ ซากเตาเผาทั้งที่อยูใตดินบนเนินดินเปนจํานวนมาก เมื่อปพุทธศักราช ๒๕๒๓ – ๒๕๒๘ กรมศิลปากร รวมกับมหาวิทยาลัยแอดเลด (The University of Adelaide) และหอศิลปแหงรัฐออสเตรเลียใต (The Gallery of South Australia) ดําเนินการสํารวจขุดคนแหลงเตาบานเกาะนอย ตามโครงการกําหนด อายุเครื่องถวยไทย (Thai Ceramic Dating Project: TCDP) ภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน โครงการโบราณคดี เครื่องถวยไทย (Thai Ceramic Archaeological Project: TCAP) ผลของการศึกษาทําใหไดองคความรู เกีย่ วกับเครือ่ งสังคโลกเพิม่ มากขึน้ และยังทําใหทราบวา แหล ง เตาแห ง นี้ มี พั ฒ นาการอย า งต อ เนื่ อ ง โดยพบ หลักฐานตั้งแตเตาขุดใตดินซึ่งเปนเตารุนแรกที่ผลิต เครื่องสังคโลก จนกระทั่งถึงเตาอิฐบนดินที่สามารถ ควบคุมความรอนไดดีกวา เมื่อการขุดคนแหลงเตา บานเกาะนอยไดเสร็จสิ้นแลว กรมศิลปากรไดดําเนิน การจัดสรางใหเปนศูนยศึกษาและอนุรักษเตาสังคโลก ผลิตภัณฑที่ไดจากกลุมเตานี้แบงออกเปน ๔ ประเภท ตามวิธกี ารตกแตง ไดแก ประเภทเคลือบสีเขียว ประเภท เคลื อ บสี นํ้ า ตาล ประเภทเขี ย นลายสี ดํ า ใต เ คลื อ บ และประเภทไมเคลือบ รูปทรงที่พบมีหลากหลาย อาทิ จาน ชาม กระปุก ไห ขวด พาน กุณฑี เปนตน กําหนด อายุอยูในชวงประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๙ – ๒๐๑๒

๑๒ รักชนก โตสุพนั ธุ และสถาพร เทีย่ งธรรม, โบราณคดีวเิ คราะห ๒ : เครือ่ งถวยบุรรี มั ยและเครือ่ งถวยสุโขทัย (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๙), หนา ๕๑ – ๖๘ ;

ปริวรรต ธรรมาปรีชากร สวาง เลิศฤทธิ์ และกฤษฎา พิณศรี, ศิลปะเครื่องถวยในประเทศไทย, พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ : โอสถสภา, ๒๕๓๙), หนา ๔๗ – ๔๘ ; Don Hein, Peter Burns and Dick Richards, “An Alternative View on the Origins of Ceramic Production at Si Satchanalai and Sukhothai, Central Northern Thailand,” SPAFA DIGEST, Vol. VII No.๑ (๑๙๘๖) : ๒๒ – ๒๘ ; Don Hein and Mike Barbetti, “Sisatchanalai and the Development of Glazed Stoneware in Southeast Asia,” The Siam Society Newsletter, Vol. ๔ No. ๓ (September ๑๙๘๘) : ๘ – ๑๘. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๓๑


กลุมเตาบานปายาง (เตายักษและเตาตุกตา) ตั้งอยูฝงตะวันตกของแมนํ้ายม หางจากเมืองศรีสัชนาลัยขึ้นไป

ทางทิศเหนือประมาณ ๔๐๐ เมตร เตาที่พบสวนใหญสรางดวยอิฐตั้งอยูบนเนินดิน มีอายุในสมัยหลังกวาที่เตาบานเกาะนอย เมื่อปพุทธศักราช ๒๕๒๖ กรมศิลปากรและนักโบราณคดีชาวออสเตรเลียรวมกันศึกษาขุดคนที่เตาหมายเลข ป.๕ ผลิตภัณฑ ทีไ่ ดจากกลุม เตานีม้ เี นือ้ ดินละเอียดแนนและแกรงสีขาวแกมเทา เผาในอุณหภูมสิ งู แบงเปนหลายประเภทตามวิธกี ารตกแตง ไดแก เคลือบสีเขียว เคลือบสีนํ้าตาล เคลือบสีขาว เคลือบสองสี และเขียนลายสีดําใตเคลือบ รูปแบบผลิตภัณฑมีหลากหลาย ทัง้ กลุม ภาชนะรูปทรงตาง ๆ เครือ่ งประดับสถาปตยกรรม รวมทัง้ ประติมากรรมขนาดเล็กรูปคนและสัตว กําหนดอายุประมาณ พุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๑๑๓ แหลงเตาชีปะขาวหาย (บานเตาไห) ตั้งอยูริมฝงตะวันออกของแมนํ้านาน ในเขตอําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก กรมศิลปากรรวมกับนักโบราณคดีชาวออสเตรเลียขุดคนทางโบราณคดีเมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๗ พบเตาเผาแบบ ระบายความรอนผานในแนวนอน (Crossdraft kiln) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปวา เตาประทุน ผลิตภัณฑสําคัญ ไดแก ภาชนะ ดินเผาเนือ้ แกรง ประเภทไมเคลือบ รูปทรงไห อาง และครก มีลวดลายโดดเดน คือ ลายกดประทับ ลายปน ติด ลายเซาะรอง๑๔ แหลงเตาเมืองเกาสุโขทัย ตัง้ อยูใ กลลาํ นํา้ โจน นอกตัวเมืองเกาดานทิศเหนือ ใกลวดั พระพายหลวง แหลงเตานีไ้ ดมี การขุดคนศึกษาทางโบราณคดีหลายครัง้ นับตัง้ แตปพ ทุ ธศักราช ๒๕๐๘, ๒๕๑๙, ๒๕๒๗, ๒๕๒๙๑๕ และปพทุ ธศักราช ๒๕๓๖๑๖ ครั้งลาสุดดําเนินการขุดคนแหลงเตาทุเรียงเมืองเกาสุโขทัยเมื่อปพุทธศักราช ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ โดยอุทยานประวัติศาสตร สุโขทัย ผลการขุดคนสรุปไดวาแหลงเตานี้ถูกสรางขึ้นครั้งแรกเพื่อเปนแหลงผลิตเครื่องสังคโลก โดยมีเทคโนโลยีการกอสราง เตาที่พัฒนาขึ้นมาระดับหนึ่งแลว โดยไดเปรียบเทียบกับรูปแบบเตาและผลิตภัณฑที่ไดจากเตาศรีสัชนาลัย นอกจากนี้ยังสง ตัวอยางถานไปหาคาอายุทางวิทยาศาสตรทมี่ หาวิทยาลัยไวกาโต (The University of Waikato) ประเทศนิวซีแลนด จึงทําให จัดลําดับอายุสมัยของเตาไดเปน ๒ ระยะ ไดแก ระยะแรกกําหนดอายุตั้งแตรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไท) ประมาณพุทธศักราช ๑๘๙๓ – ๑๙๔๓ และระยะหลังกําหนดอายุในชวงพุทธศักราช ๑๙๕๓ – ๒๑๒๓๑๗ ลักษณะเฉพาะ ของเครื่องปนดินเผาที่ผลิตจากเตาแหงนี้ คือ เนื้อดินหยาบสีเทาหรือสีดํา มีสวนผสมของกรวดทรายปนมาก ทารองพื้นดวย นํ้าดินสีขาวคอนขางหนา และดานในบริเวณกนจาน มักปรากฏรอยขากี๋เปนจุด ๆ ซึ่งเปนผลมาจากการเรียงซอนภาชนะเขา เตาเผาโดยใชกี๋ทรงกลมวางคั่นแตละใบ รูปแบบผลิตภัณฑที่โดดเดนเปนเอกลักษณ ไดแก จานชามเขียนลายสีดําใตเคลือบ เปนรูปปลาเต็มตัว

เครื่องสังคโลกผลิตจากเตาเมืองศรีสัชนาลัย (บานปายาง) พุทธศตวรรษที่ ๒๑ พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) รวบรวมไว ปจจุบันเก็บรักษา ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

๑๓ รักชนก โตสุพันธุ และสถาพร เที่ยงธรรม, โบราณคดีวิเคราะห ๒ : เครื่องถวยบุรีรัมยและเครื่องถวยสุโขทัย, หนา ๕๐. ๑๔ Hein, Don and Prachote Sangkhanukit, Report on the Excavation of the Ban Tao Hai Kilns Phitsanulok, Thailand (Adelaide: Research Centre for

Southeast Asian Ceramics University of Adelaide, ๑๙๘๗).

๑๕ กรมศิลปากร โดยอุทยานประวัตศิ าสตรสโุ ขทัย, การขุดคนทางโบราณคดีในอุทยานประวัตศิ าสตรสโุ ขทัย, เอกสารกองโบราณคดี หมายเลข ๙/๒๕๓๐ (กรุงเทพฯ :

กองโบราณคดี กรมศิลปากร, ๒๕๓๑), หนา ๒๑๗ – ๒๕๘.

๑๖ รักชนก โตสุพันธุ และสถาพร เที่ยงธรรม, โบราณคดีวิเคราะห ๒ : เครื่องถวยบุรีรัมยและเครื่องถวยสุโขทัย, หนา ๖๙. ๑๗ กรมศิลปากร โดยอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย, รายงานการดําเนินงานทางโบราณคดีแหลงเตาทุเรียงเมืองเกาสุโขทัย ตําบลเมืองเกา อําเภอเมืองสุโขทัย

จังหวัดสุโขทัย ปงบประมาณพุทธศักราช ๒๕๕๙-๒๕๖๐, รายงานนีเ้ ปนสวนหนึง่ ของโครงการอนุรกั ษและพัฒนาแหลงเตาทุเรียงเมืองเกาสุโขทัย สํานักศิลปากร ที่ ๖ สุโขทัย กรมศิลปากร, หนา ๔๙๒ – ๔๙๙.

๑๓๒

แผนที่แสดงตําแหนงแหลงผลิตเครื่องปนดินเผาภาคเหนือ (ลานนา-สุโขทัย) ระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๒

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๓๓


สังคโลก สินคาสงออกของสยาม สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงมีลายพระหัตถทูลถึงสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๗ ในขอสงสัยเกี่ยวกับสาเหตุที่มีเตาผลิต เครื่องสังคโลกเปนจํานวนมาก ความวา “...เตาทุเรียงที่เมืองสวรรคโลกมีถึง ๒ ตําบล และมีเตามากพะเนินเทินทึกจนหมอมฉันสงสัยวาจะทําเอา ไปไหนกัน มาไดความตอภายหลังวาจําหนายไปตามเมืองชะวา มลายู ตลอดไปจนถึงเกาะฟลิปปนส จึงทราบเหตุที่มี เตามาก...” เครื่องสังคโลกที่ผลิตจากแหลงเตาศรีสัชนาลัย (เมืองสวรรคโลกเกา) และแหลงเตาสุโขทัย เปนสินคาสงออกไป จําหนายนานาประเทศ พบหลักฐานจากแหลงเรืออับปางหลายแหงในอาวไทย เชน เรือเกาะคราม (เรือสัตหีบ) เรือรางเกวียน ในพื้นที่อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เรือเกาะกระดาด จังหวัดตราด เรือกลางอาว (เรือออสเตรเลียไทด) เปนตน กําหนดอายุ ประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑

ภาพถายพิพิธภัณฑสถานวังหนา เมื่อคราวมองซิเออร ปอลเรโนต เสนาบดีกระทรวงเมืองขึ้นฝรั่งเศส มาเยือนสยาม เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๔ เบื้องหลังปรากฏภาชนะดินเผาขนาดใหญที่สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงเรียกวา ตุมสุโขทัย ที่มา: หอจดหมายเหตุแหงชาติ

เครื่องสังคโลกประเภทเคลือบสีเขียว ไดจากเรือกลางอาว ผลิตจากเตาศรีสัชนาลัย (บานปายาง) พุทธศตวรรษที่ ๒๑ ปจจุบันเก็บรักษา ณ คลังกลางพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี

พระวินิจฉัยเรื่องตุมสุโขทัย

จากหลักฐานภาพถายเกาเมื่อครั้งสมัยรัชกาลที่ ๗ ปรากฏภาพของภาชนะดินเผาขนาดใหญตั้งแสดงกลางแจง ณ พิพธิ ภัณฑสถานสําหรับพระนคร เมือ่ พิจารณาขอความในลายพระหัตถฉบับดังกลาว สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ คงเขาใจวาตุมสุโขทัยกับตุมนางเลิ้งนั้นมีลักษณะบางประการที่คลายกันหรือจัดอยูในกลุมเดียวกัน และทรง เรียกตุม ใหญตามทีป่ รากฏในภาพถายเกาวา ตุม สุโขทัย ผลจากการดําเนินงานทางโบราณคดีในปจจุบนั ทําใหทราบวา ภาชนะ ดินเผาขนาดใหญแบบนั้น มีแหลงผลิต ๒ แหง คือ แหลงเตาบานเกาะนอย หมายเลข ๖๑ อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย แหงหนึ่ง และอีกแหงที่เตาริมฝงแมนํ้านอย ในทองที่อําเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี อยางไรก็ตาม ภาชนะดินเผาขนาดใหญ ที่ไดจากเตาศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เปนภาชนะแบบไมเคลือบ กําหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๐ แตภาชนะที่ได จากเตาแมนํ้านอย อําเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี เปนภาชนะเคลือบสีนํ้าตาล อายุประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๒

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงมีลายพระหัตถถึงสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๘ เกี่ยวกับพระวินิจฉัย เรื่อง ตุมสุโขทัย ความวา “...เตาอีกแหง ๑ ตั้งที่เมืองสุโขทัยทําปนของดวยหินฟนมาเคลือบอยางหยาบ ๆ เชนตุมใหญที่เรียกกันวา “ตุมสุโขทัย” หรือ “นางเลิ้ง” มีอยูในพิพิธภัณฑสถานหลายใบเหมือนกัน”

๑๓๔

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๓๕


ภาชนะดินเผาขนาดใหญ ไมเคลือบ พบภายในเตาบานเกาะนอย หมายเลข ๖๑ อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๐

ภาชนะดินเผาขนาดใหญ เคลือบสีนํ้าตาล สันนิษฐานวาผลิตจากแหลงเตาที่อําเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒ จัดแสดงกลางแจง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

สวนคําวา “นางเลิ้ง” หมายถึงตุมนางเลิ้งหรือตุมอีเลิ้ง ซึ่งคงมีรูปทรงหรือลักษณะบางประการคลายกับตุมสุโขทัย ดังที่ปรากฏอยูในลายพระหัตถ เชื่อกันวาตุมนางเลิ้งเปนภาชนะดินเผาประเภทไมเคลือบ ดินสีสมแดง เปนภาชนะที่มี ปากแคบ กนแคบ กลางลําตัวปองกลม ใชสาํ หรับบรรจุนาํ้ นาจะมีแหลงอยูท อี่ าํ เภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี หรือทีเ่ รียกกันวา ตุม สามโคก๑๘ อยางไรก็ตาม ปจจุบนั ยังไมมหี ลักฐานยืนยันชัดเจนเกีย่ วกับแหลงผลิตหรือทีม่ าของภาชนะดินเผาทีเ่ รียกกันวา นางเลิ้งหรืออีเลิ้ง แตไดมีการสันนิษฐานกันวานาจะผลิตจากแหลงเตาในยานภาคกลางบริเวณลุมแมนํ้าเจาพระยา และมี ความเกี่ยวของกับกลุมชาติพันธุมอญ โดยชาวมอญจะนําตุมนางเลิ้งที่ผลิตไดใสในเรือไปจําหนายตามสถานที่ตาง ๆ จึงเปน ที่มาของชื่อคลองโองอาง ตลาดนางเลิ้ง เปนตน๑๙ ขอพระวินจิ ฉัยตาง ๆ เกีย่ วกับเครือ่ งปน ดินเผาทีป่ รากฏในลายพระหัตถสาสนสมเด็จ ไดเปนจุดเริม่ ตนใหมกี ารศึกษา คนควาและดําเนินงานทางโบราณคดีในสมัยตอมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน และยังเปนคุณูปการตอนักวิชาการรุนหลังที่ทําใหได รับองคความรูเกี่ยวกับเครื่องปนดินเผาที่มีแหลงผลิตจากทางภาคเหนือของประเทศไทยสืบตอมา

แจกัน เขียนลายสีดําใตเคลือบ เตาเวียงกาหลง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย พุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๑ ดินเผาเคลือบ สูง ๓๓ ซม. ปากกวาง ๑๒.๕ ซม. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร Underglazed Black Vase Wiang Kalong kiln, Chiang Rai province 15th – 16th century Glazed stoneware; H. 33 cm. National Museum Bangkok

แจกันทําจากดินสีขาวนวล เนือ้ คอนขางบาง ขึน้ รูปดวยแปนหมุน เผาไฟแกรงทีอ่ ณ ุ หภูมปิ ระมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๒๕๐ องศาเซลเซียส โดยเปนการเผาในเตาที่สามารถควบคุมความรอนได ผลจากการขุดคนทางโบราณคดีที่แหลงเตาเวียงกาหลง โดยกรมศิลปากรทีผ่ า นมา พบวาลักษณะเตาเผาเปนเตาชนิดระบายความรอนผานในแนวนอน (Crossdraft kiln) หรือทีเ่ รียก กันวา เตาประทุน แจกันใบนี้เขียนลวดลายสีดําใตเคลือบใสเปนลายดอกไม สวนเชิงเขียนลายกลีบบัว สีที่ใชเขียนลวดลายได มาจากองคประกอบของแรเหล็ก ลักษณะรูปทรงและการตกแตงลวดลาย คงเปนการทําเลียนแบบเครื่องลายครามของจีน ผลิตภัณฑที่ไดจากเตาเวียงกาหลงถือไดวามีคุณภาพดี นับเปนแหลงเตาเผาเครื่องเคลือบดินเผาแหงแรกที่คนพบในดินแดน ลานนา ๑๘ สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี, ตุมสามโคก, [ออนไลน], สืบคนเมื่อ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓ จาก https://www.m-culture.go.th/phatumthani/ewt_news.

php?nid=๓๖๕&filename=index, วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒.

๑๙ ศันสนีย วีระศิลปชัย, ชื่อบานนามเมืองในกรุงเทพฯ, พิมพครั้งที่ ๗ (กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๑), หนา ๒๘๑ - ๒๘๒.


ไหเคลือบสีเขียว เตาศรีสัชนาลัย พุทธศตวรรษที่ ๑๙ – ๒๐ ดินเผาเคลือบ สูง ๔๑.๕ เซนติเมตร พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) รวบรวม รับมอบจากสภาวัฒนธรรมแหงชาติ คลังกลางพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี Green Glazed Jar Si Satchanalai kiln, the second half of 14thcentury Glazed Stoneware; H. 41.5 cm. Collection by Phaya Nakorn Prah Ram, Donation by National Cultural Council National Museum Storage, Pathum Thani

ไหปากผาย คอคอนขางสูง ไหลกวาง ลําตัวสอบ เนื้อดินปนหยาบสีนํ้าตาลแกมแดง บริเวณไหลภาชนะตกแตงดวย วิธีขูดขีดและปนติดหูหลอกโดยรอบ นํ้าเคลือบตอนบนของภาชนะตั้งแตสวนปากลงมาถึงชวงไหลเปนสีเขียว สวนครึ่งลาง เปนนํ้าเคลือบสีเขียวเขมอมสีนํ้าตาล รูปทรงภาชนะ ลวดลายตกแตง และลักษณะการเคลือบ เปนรูปแบบเฉพาะของภาชนะดินเผาที่ผลิตจาก เตาศรีสชั นาลัย (บานเกาะนอย) จัดอยูใ นกลุม เครือ่ งสังคโลกรุน ตนของศิลปะสุโขทัย กําหนดอายุชว งปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ในชวงรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ ๑ ลิไท

ยอดปานลม (ชอฟา) เตาศรีสัชนาลัย พุทธศตวรรษที่ ๒๑ ดินเผาเคลือบ สูง ๓๕.๕ เซนติเมตร กวาง ๑๖ เซนติเมตร พระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) รวบรวม รับมอบจากสภาวัฒนธรรมแหงชาติ คลังกลางพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

Architectural Fragment (Finial Gable) Si Satchanalai kiln, 16thcentury Glazed Stoneware; H. 35.5 cm. W. 16 cm. Collection by Phaya Nakorn Prah Ram, Donation by National Cultural Council National Museum Storage, Pathum Thani

ยอดปานลมทรงสูง ใชสําหรับประดับบนจั่วของหนาบันในตําแหนงเดียวกับชอฟา เปนลักษณะการประดับตกแตงที่พบอยู เฉพาะสถาปตยกรรมในศิลปะสุโขทัย ทําจากดินเผาเนื้อแกรงเคลือบสองสี (สีนํ้าตาลและสีขาว) ตรงกลางปนติดลายนูน รูปเทพนมทรงเครื่องภายในซุม ดานขางตกแตงลายกระหนก ผลิตจากเตาศรีสัชนาลัย (บานปายาง) จากลักษณะเครื่องทรง ของเทพนม และลวดลายประดับบนยอดปานลมชิ้นนี้ กําหนดอายุในชวงครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ตรงกับชวงรัชสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ถึงรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แหงกรุงศรีอยุธยา โดยอาจเปรียบเทียบไดกับรูปเทวดาทรง เครือ่ งบนบานประตูไมแกะสลักทีไ่ ดจากวัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และลวดลายแกะสลักดาวเพดานทีไ่ ด จากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย


ประติมากรรมขนาดเล็กรูปแมอุมลูก เตาศรีสัชนาลัย พุทธศตวรรษที่ ๒๑ ดินเผาเคลือบ สูง ๑๐.๕ เซนติเมตร พบในเรือกลางอาว กองทั พ เรื อ ยึ ด ได จ ากเรื อ ออสเตรเลี ย ไทด เมื่ อ พุทธศักราช ๒๕๓๕ คลังกลางพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี คณฑีทรงแปดเหลี่ยม เตาศรีสัชนาลัย พุทธศตวรรษที่ ๒๑ ดินเผาเคลือบ สูง ๑๕.๒ เซนติเมตร สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ประทาน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

Octagonal-Shaped Kendi Si Satchanalai kiln, 16th century Glazed Stoneware; H. 15.2 cm. Given by H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab National Museum, Bangkok

คณฑีหรือภาชนะมีพวย ปากแคบ คอสูง ลําตัวทรงแปดเหลีย่ ม ทําจากดินเผาเนือ้ แกรง เผาไฟอุณหภูมสิ งู ตกแตงดวย การเขียนลายสีดําใตเคลือบ ซึ่งลวนเปนลวดลายที่ไดรับแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ อาทิ ลายดอกไมกานขด ลายกลีบบัว ลายนก สีที่ใชเขียนไดมาจากองคประกอบของแรเหล็ก เปนเครื่อง สังคโลกที่มีรูปแบบพิเศษ พบคอนขางนอยในศิลปะสุโขทัย ผลิตจากเตาศรีสชั นาลัย (บานปายาง) จังหวัดสุโขทัย จัดอยูใ นกลุม เครือ่ งสังคโลกในระยะสุดทายทีเ่ ปนสินคาสงออกของสยาม (อาณาจักรอยุธยา)

Figurine in a woman with baby at breast Si Satchanalai kiln, 16th century Glazed Stoneware; H. 10.5 cm. From the shipwreck of Klang Ao, Gulf of Thailand National Museum Storage, Pathum Thani

ประติมากรรมขนาดเล็กรูปผูห ญิงเกลาผมมวย นัง่ พับเพียบ กําลังประคองหรืออุม เด็กอยูใ นออมกอด จัดอยูใ นกลุม เครือ่ งสังคโลก ตกแตงดวยการเคลือบสีเขียว เนือ้ ดินปน คอนขางละเอียด เผาไฟในอุณหภูมสิ งู ผลิตจากเตาศรีสชั นาลัย บริเวณ บานปายาง หรือที่เรียกกันวา เตาตุกตา เดิมเชื่อกันวาเปนตุกตาเสียกบาล เนื่องจากสวนคอที่มีความเปราะบางมักหายไป อยางไรก็ตามนักวิชาการในปจจุบันมีความเห็นวาประติมากรรมลักษณะนี้ นาจะถูกสรางขึ้นเกี่ยวกับการละเลนหรือเปน ของเลนมากกวาทีจ่ ะสรางขึน้ เนือ่ งในคติความเชือ่ ซึง่ สามารถ สะทอนสภาพวิถชี วี ติ ของคนในอดีตไดเปนอยางดี แสดงใหเห็นวา สังคมในวัฒนธรรมสุโขทัยใหความสําคัญกับเพศหญิงในสถานภาพของความเปนแมที่คอยเลี้ยงดูอบรมบุตร พบอยูใน แหลงเรืออับปางกลางอาวไทย หางจากชายฝงของจังหวัดประจวบคีรีขันธไปทางทิศตะวันออก ประมาณ ๗๐ ไมลทะเล


สองสมเด็จกับงานดานภาษาและหนังสือ สาสนสมเด็จกับ “การตอยอดองคความรูดานภาษาและหนังสือ” สูพันธกิจกรมศิลปากร นายศรัญ กลิ่นสุคนธ ภัณฑารักษ นายจิรวัฒน ตั้งจิตเจริญ ภัณฑารักษ

หนังสือชุดสาสนสมเด็จ๑ นอกจากจะเปนแหลงรวบรวมสรรพวิชาแลว ยังมีเนื้อหาเรื่องภาษา - หนังสือ รวมถึงเรื่อง พัฒนาการดานการพิมพ ดังมีวิทยานิพนธเรื่อง “การวิเคราะหเนื้อหา “สาสนสมเด็จ” เพื่อใชอางอิงและประกอบการวิจัย” ทําการศึกษาพบวาหนังสือชุดนี้ มีหนังสือที่ใชประกอบงานตาง ๆ ถึง ๑๑๐ เลม ทวา หากนับเฉพาะเลมที่พิมพแจกในงาน พระราชทานเพลิงพระศพ/ศพ และงานศพ พบวามีหนังสือที่พิมพเปนอนุสรณของผูตายถึง ๕๓ ทาน๒ “หนังสืองานศพ” จึงถือเปนหลักฐานที่แสดงถึงการรวบรวมองคความรู กอปรกับวิทยาการดานการพิมพ จนเกิดการผลิตหนังสือไดทีละมาก ๆ สงผลใหความรูขยายตัวไปไดในวงกวาง

บรรยากาศภายในหอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนคร (ปจจุบันคือตึกถาวรวัตถุ)

กับงานดานภาษาและหนังสือ

๑ “หนังสือชุดสาสนสมเด็จ” ในที่นี้หมายถึง หนังสือ ๑๐ เลม ฉบับพิมพโดยองคการคาของคุรุสภา พ.ศ. ๒๕๔๖ (พ.ศ. ๒๔๕๗ - ๒๔๗๙) ๒ เพ็ญพิมล (วามานนท) เชียวนาวิน. การวิเคราะหเนื้อหา “สาสนสมเด็จ” เพื่อใชอางอิงและประกอบการวิจัย. ๒๕๒๑. วิทยานิพนธอักษรศาสตรบัณฑิต แผนก

วิชาบรรณารักษศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๖๙.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๔๓


ทัง้ นี้ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ไดทรงแบงชนิดหนังสืองานศพไวในจดหมายเวร๓ ฉบับลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๗๙ ความวา “...หนังสือแจกงานศพแมจนทุกวันนี้ ดูไมสูเปลี่ยนแปลงไปกวา แตกอนที่ทํากันอยู ถาจะแบงออกก็เห็นจะจัดไดเปน ๓ ประเภท...” คือ

“ขอบพระเดชพระคุ ณ เปนอั น มาก ที่ ท รงแสดงความลํ า ฦกถึ ง แม ดวยความเศราสลดพระไทย … คราวนี้เปนครั้งที่สุด ที่เกลากระหมอมจะ พึ ง ฉลองพระเดชพระคุ ณ แม ขอประทานพระเมตตาบารมี เ ปนที่ พึ่ ง ขอมอบธุระในการสรางหนังสือแจกงานเมรุถวายเสียแตบดั นี้ เพือ่ จะไดมเี วลา ทรงเลือกหนังสือแลทรงแตงคํานําใหเหมาะเจาะ ทัง้ ทรงอํานวยการตีพมิ พ ใหเปนไปอยางดีดวย ทองเรื่องนั้น ขอประทานใหเปนเรื่องดีมีประโยชน จับใจ คนพอใจอานไมทิ้งเสียเปลา”

๑. ประเภทไดเปลาเปนธรรมกถา มักเปนของพระสงฆชวยเจาภาพ ๒. ประเภทหนังสือสําเร็จ ไดแก ตําราตาง ๆ ซึ่งเจาภาพซื้อหนังสือที่วางขายในตลาดมาแจก ๓. ประเภทสราง คือหนังสือที่จัดพิมพขึ้นเฉพาะงาน มักตีพิมพจากหอสมุดแหงชาติ สวนหนังสือ ประเภทแตงดวยฝปากใหม ที่มักตีพิมพนอกหอสมุดแหงชาติ ทรงวินิจฉัยวา “...มีนอยนัก ถาจะเทียบ ดวยหนังสือที่แจกกันอยูทั้ง ๓ ประเภทนั้น นับเปนสวนรอยก็จะมีไมกวารอยละ ๒ ตองเปนงานพิเศษจริง ๆ จึงจะมีขึ้นได...”๔ ทวา ในสวนของพันธกิจกรมศิลปากร นําโดยสํานักหอสมุดแหงชาติแตครั้งเปน “หอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนคร” ไดเปนกําลังสําคัญในการจัดหาและตีพิมพเอกสารที่รวบรวมไว นํามาเผยแพรสูสาธารณชน โดยสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงบัญญัติหลักการสําคัญไว ๓ ประการ๕ คือ

โดยสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงตอบกลับฉบับลงวันที่ ๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๕๗๑๓ ความวา

๑. เลือกเรื่องที่มีสาระในทางวิชาความรู ๒. ตรวจชําระเนื้อความใหถูกตองหรือผิดนอยที่สุด พรอมทําคําอธิบายบอกไวใหชัดเจน ๓. พนักงานหอพระสมุดฯ ตองตรวจพิสูจนอักษรฉบับราง ๓ ครั้ง ทุกฉบับ สําหรับการเผยแพรความรูด ว ยการจัดพิมพเอกสารตนฉบับของหอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนครสูส าธารณชนนัน้ มีจุดเริ่มตนกอนการสถาปนากรมศิลปากร เมื่อปพุทธศักราช ๒๔๕๔ มีเนื้อหาจํากัดอยูเพียงเรื่องศาสนา จนสมัยรัชกาลที่ ๕ มีการสถาปนาหอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนครเมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๙ แลว จึงมีการสํารวจ รวบรวมบรรดาหนังสือตัว เขียน เพื่อชําระตรวจสอบ และเผยแพรมาโดยลําดับ ครอบคลุมเนื้อหา ๘ หมวด คือ ศาสนาและความเชื่อ ประวัติศาสตร โบราณคดี ภาษาและวรรณกรรม วิทยาศาสตร วัฒนธรรมและจารีตประเพณี การศึกษาและเรื่องทั่วไป เชน หนังสือเกี่ยวกับ ทหาร การเกษตร กฎหมาย ตําราและปาฐกถาตาง ๆ๖ โดยหนังสือที่พิมพขึ้นเปนเลมแรก ถูกตีพิมพในพุทธศักราช ๒๔๕๔ คือ ฉันทกลอมพระเสวตรวชิรพาหะ ร.ศ. ๑๓๐๗ หนังสืออนุสรณงานศพเลมแรก พิมพแจกงานพระเมรุ พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาประสานศรีใส และพระเจา บรมวงศเธอ พระองคเจาประไพศรีสอาด๘ พุทธศักราช ๒๔๕๕ คือ ไตรภูมิพระรวง๙ สวนหนังสือที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงนิพนธคํานํา๑๐ คือ พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ทวาหนังสืออนุสรณงานศพ เลมแรกที่ปรากฏในสาสนสมเด็จ คือ เรื่องประดิษฐานพระสงฆสยามวงศในลังกาทวีป อยูในหมวดโบราณคดี พิมพแจก ในงานพระศพ พระสัมพันธวงศเธอ พระองคเจาพรรณราย เมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๙๑๑ ดังมีระบุในจดหมายฉบับลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๕๗๑๒ ของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ความวา ๓ หมายถึง จดหมายโตตอบระหวางสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ และสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ๔ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๑๐. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๕๐, ๗๗. ๕ สํานักหอสมุดแหงชาติ, เรียงรอยบรรณสารศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘ (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๕๕), ๓. ๖ เรียงรอยบรรณสารศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘, ๔. ๗ เรียงรอยบรรณสารศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘, ๑๓. ๘ ทั้งสองพระองคเปนพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ ประสูติแตเจาจอมมารดาหมอมราชวงศแสง ๙ เรียงรอยบรรณสารศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘, ๑๔. ๑๐ เรียงรอยบรรณสารศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘, ๑๕. ๑๑ เรียงรอยบรรณสารศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘, ๖๐. ๑๒ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๑. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๓.

๑๔๔

พระสัมพันธวงศเธอ พระองคเจาพรรณราย พระมารดาในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ

“เรือ่ งหนังสือทีจ่ ะพิมพแจกในงานพระศพทานแมนนั้ ดูไว ๒ เรือ่ ง คือ เรื่อง ๑ เปนเรื่องพระอุบาฬออกไปประดิษฐานพระสงฆสยามนิกาย ที่สิงหฬทวีป หนังสือเรื่องนี้ไดจดหมายเหตุลังกาแลหนังสืออื่นอื่นมา ประกอบกันหลายเรื่อง อาจจะเปนเรื่องแปลกซึ่งใครยังไมเคยไดทราบ ความ วาความจริงเปนอยางไร แตหมอมฉันจะตองแปลแลแตงเองมาก ... แตนึกเกรงอยางเดียว ที่ผูอานโดยมาก นอกจากผูพอใจในโบราณคดี จะเหนวาเปนเรื่อง “อิน” เกินไป

อีกเรื่อง ๑ ... หนังสือพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ... ถาจะรวบรวมเปนหนังสือแจกใน งานพระศพทานแมพอจะได ขอใหทรงพระดําริหดู จะโปรดเรื่องใด” สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงตอบฉบับลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม พุทธศักราช

๒๔๕๗๑๔ ความวา

“เรือ่ งทีจ่ ะลงพิมพซงึ่ ทรงกะประทานมา... ถาจะใหเปนหลักฐานก็ตอ งเรือ่ งพระอุบาฬไปลังกา คอยเปนเรือ่ งเปนราว แลจะเปนประโยชนมากกวา ทั้งนิสัยใจคอเกลากระหมอมชอบโบราณคดีดวย จึงตกลงใจขอประทานเรื่องพระอุบาฬ มีตีพิมพ อยูบาง ... จําไมไดถนัด” โดยชื่อหนังสือเรื่องนี้ ปรากฏขึ้นเปนครั้งแรกในจดหมายของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุ

ภาพ๑๕ พรอมกันนี้ ทรงไดสง รางเนือ้ หาใหสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ทรงตรวจเปนระยะ

กระทัง่ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงพบเอกสารสําคัญ จึงมีจดหมายฉบับลงวันที่ ๑๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๕๗๑๖ ระบุวา

๑๓ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๑. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๗. ๑๔ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๑. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๑๓. ๑๕ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๑. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๑๗. ๑๖ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๑. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๒๘. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๔๕


“...พบคําแปลสมณสาสนที่พระไทยถือไปลังกาในรัชกาลที่ ๓ และคําแปลสมณสาสนของสังฆนายกลังกามีมา ในครั้งนั้น รวมทั้ง ๒ ฉบับเปนหนังสือสักเลมสมุดไทย ๑ ความยินดีที่เกิดขึ้นโดยเฉภาะนั้น ดวยคําแปลทั้ง ๒ ฉบับนี้ เปนพระราชนิพนธของทูลกระหมอมทรงแตครัง้ ทรงผนวช ไพเราะชัดเจนดีมาก นึกรูส กึ วาเปนลาภอัน ๑ ทีไ่ ดหนังสือพระราชนิพนธ ทูลกระหมอมมีไวในหนังสือแจกในงานพระศพทานแม หมอมฉันจะเอาลงเต็มทั้ง ๒ ฉบับ จึงทูลมาใหทรงอนุโมทนา”

หลักศิลาพระศรีสุริยพงศฯ ที่กลาวถึงนี้ มีระบุในหนังสือประชุมศิลาจารึกภาค ๑ คือ จารึกหลักที่ ๓ สวนหนังสือ ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๑ เรียกวา จารึกแผนศิลาเมืองกําแพงเพชร มีประวัติการคนพบวา “...เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๙ มีเยอรมันคนหนึ่งชื่อรัสตมัน ขึ้นไปลัก ตัดพระเศียรและพระหัตถรูปพระอิศวรทองสัมฤทธิ ซึ่งอยู ณ เมือง กําแพงเพ็ชร จะเอาสงไปประเทศเยอรมนี ... ทรงพระราชดําริหวา ของโบราณซึง่ ทอดทิง้ อยูต ามหัวเมือง ถาไมดแู ลรักษาจะเปนอันตราย หายเสีย แตที่จะรักษาไวตามหัวเมือง จะรักษาไดบาง ไมไดบาง จึงโปรดฯ ใหสั่งไปยังเมืองกําแพงเพชร ใหสงของโบราณ...มารักษาไว ในกรุงเทพฯ ครัง้ นัน้ ...ไดสง ศิลาจารึกนครชุม (หลักที่ ๓) ลงมาดวย”๒๐ โดยคํานําประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๑๒๑ ระบุวา “...หลักที่ ๓ เปนคําจาฤกของพระเจาลิไทยมหาธรรมราชา ... แตเดิมเห็นจะอยูที่ เมืองนครปุ ไดลงมาไวในพิพิธภัณฑสถานเมื่อในรัชกาลที่ ๕ เดี๋ยวนี้ รับเอามาไวในหอพระสมุดวชิรญาณ...” คําวา “นครปุ” ในที่นี้ นาจะเปนคําเดียวกับทีป่ รากฏในสําเนาหนังสือจารึก ซึง่ สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงมีพระวินิจฉัยวา “ผิดปนป” ดวยภายหลังการปริวรรตและตีความใหม สันนิษฐาน วาคําดังกลาว นาจะหมายถึง “นครชุม” เมืองโบราณในเขตจังหวัด กําแพงเพชรปจจุบัน

ลายพระหัตถสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ (ตนฉบับ) ฉบับลงวันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๗ (ที่มาภาพ : หอสมุดดํารงราชานุภาพ)

ตอมาเปนหนังสือที่สมเด็จพระมาตุจฉาเจาสวางวัฒนา พระบรมราชเทวี มีรบั สัง่ ใหกรรมการหอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนคร รวบรวมพิมพ เมือ่ ทรงบําเพ็ญ พระกุศลงานศพหมอมเจาดนัยวรนุช๑๗ เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๕๗๑๘ คือ ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๑ เนื้อหาปรากฏอยูในจดหมายเวรของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรม พระยานริศรานุวัดติวงศ ฉบับลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๖๐๑๙ กลาวถึง สําเนาจารึกที่ไดรับมอบจากสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ความวา “ลายพระหัถสงสําเนาหนังสือจารึกหลักศิลาพระศรีสรุ ยิ พงศ มหาธรรมราชา มาประทานนัน้ ไดรบั แลว ... สําเนาซึง่ พิมพไวในประชุมพงษาวดารภาค ๑ นัน้ ผิดปนป” พระวรวงศเธอ พระองคเจาดนัยวรนุช ๑๗ พระโอรสในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจาตุรนตรัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ ประสูติแตหมอมเอม จักรพันธุ ณ อยุธยา ซึ่งสมเด็จพระศรีสวรินทิรา

บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจา ไดทรงบํารุงเลี้ยงแตเยาววัย และไดทรงพระกรุณาอุปการะมาตลอดจนสิ้นชีพิตักษัย ๑๘ เรียงรอยบรรณสารศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘, ๓๑. ๑๙ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๑. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๑๐๗.

๑๔๖

จารึกนครชุม (ที่มาภาพ : คลังกลางพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ โดย ปกรณเณศว แกวสมเด็จ)

นอกจากนัน้ หนังสือเลมนีย้ งั มีเนือ้ หาเกีย่ วกับหนังสือสมุดไทย เลมสําคัญ อยางพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐ อักษรนิติ์ โดยสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงอ า งถึ ง บ อ ยครั้ ง ในสาส น สมเด็ จ มี ป ระวั ติ ก ารค น พบระบุ ใ น จดหมายเวร ฉบับลงวันที่ ๒๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๕๒๒ ความวา

“...พระปริยตั ธิ รรมธาดา (แพ ตาลลักษณ) เมือ่ ยังเปนทีห่ ลวงประเสริฐอักษรนิติ ชวยเทีย่ วหาหนังสือไทยฉบับเขียน ของเกา ... วันหนึง่ ไปเห็นยายแกกาํ ลังรวบเอาสมุดไทยลงใสกะชุทบี่ า นแหงหนึง่ ถามวาจะเอาไปไหน แกบอกวาจะเอาไปเผาไฟ ทําสมุกสําหรับลงรัก พระยาปริยตั ิ ฯ ขออานดูหนังสือในสมุดเหลานัน้ กอน แกก็สง มาใหดทู งั้ กะชุ พระยาปริยตั ิ ฯ เห็นเปนหนังสือ เรือ่ งพงศาวดารอยูเ ลม ๑ จึงขอยายแกเอามาสงใหหมอมฉันทีห่ อพระสมุด ฯ หมอมฉันเห็นเปนสมุดของเกาเขียนตัวบรรจงดวย เสนรง (มิใชหรดารที่ชอบใชกันในชั้นหลัง) ... แตพอเปดออกอานก็ประหลาดใจดวยขึ้นตนมีบานแผนกวาสมเด็จพระนารายณ มหาราชตรัสสั่งใหรวบรวมจดหมายเหตุตาง ๆ แตงหนังสือพระราชพงศาวดารฉบับนั้น เมื่อวันพุธเดือน ๕ ขึ้น ๑๒ คํ่า ปวอก จุลศักราช ๑๐๔๒ (พ.ศ. ๒๒๒๓) ... หมอมฉันจึงใหเรียกวา “พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ” เพื่อเปนเกียรติยศแก ผูไดมา” ๒๐ สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร, เกร็ดความรูจากประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๑ (กรุงเทพฯ:กรมศิลปากร, ๒๕๖๐), ๑๐๕. ๒๑ โบราณคดีสโมสร, ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๑ (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ไทย ณสพานยศเส, ๒๔๕๗), ๙. ๒๒ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ และ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, สาสนสมเด็จ เลม ๒๔ (พระนคร : คุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๘๒ - ๒๘๓. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๔๗


ในฉบับเดียวกัน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดทรงวินจิ ฉัยเรือ่ งความแมนยําของพระราชพงศาวดารแตละเลมวา “หมอมฉัน อานหนังสือพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐเทียบกับฉบับพิมพ ๒ เลม สังเกตไดวา ฉบับหลวงประเสริฐแตงกอน ผูแ ตงฉบับพิมพ ๒ เลมคัดเอาความไป ลงตรง ๆ ก็มี แตงแทรกลงใหมกม็ ี ถึงกระนัน้ บางแหงเรือ่ งทีก่ ลาวในพงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐแตกตางกันกับฉบับพิมพ ๒ เลมก็มี”

แดน บีช บรัดเล (Dan Beach Bradley) มิชชันนารีชาวอเมริกันที่มีบทบาทสําคัญดาน การแพทยและการพิมพในสมัยรัชกาลที่ ๓ (ที่มาภาพ : หนังสือพระจอมเกลา “KING MONGKUT” พระเจากรุงสยาม)

“...ได จั ด การที่ จ ะให เขาซ อ มพระพุ ท ธรู ป ซึ่ ง เชิ ญ ลงมาแต เชียงแสน ... พิจารณาดูแลวก็ทอใจ ... มานึกสงสัยวาทําไมดูในรูปเหน งาม แตตวั จริงไมงามเลย จึง่ ไดพลิกสมุดเจดียสยามดู มีความเสียใจจับ ไดวาเชิญมาผิดองค...”

ทั้งนี้ พระองคไดทรงมีพระวินิจฉัยเพิ่มเติมถึง “ฉบับพิมพ ๒ เลม” ในคํานําหนังสือพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขาวา “หนังสือพระราช พงศาวดาร ที่ปรากฏแกคนทั้งหลายโดยมากมาแตกอน คือ หนังสือพระราช พงศาวดารฉบับ ๒ เลมสมุดฝรัง่ ทีห่ มอบรัดเลลงพิมพครัง้ แรกเมือ่ ปกนุ จุลศักราช ๑๒๒๕ (พ.ศ. ๒๔๐๖) ... ผูศึกษาพงศาวดารไดอาศัยแตหนังสือฉบับ ๒ เลมนั้น เปนตํารา จนแทบเขาใจกันทั่วไปวา ... มีแตฉบับนั้น”๒๓ จนเมื่อสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงไดชําระเอกสารทั้งสองฉบับแลว จึงทรงวินิจฉัยวา

“... ผูแตงหนังสือพระราชพงศาวดารฉบับพิมพ ๒ เลมไดคัดพระราชพงศาวดารฉบับที่แตงในแผนดินสมเด็จ พระนารายณมหาราชมาลงไว ... ทีป่ ระหลาดอยูห นอยทีศ่ กั ราชซึง่ ลงไวในฉบับพิมพ ๒ เลม ตรงกับฉบับหลวงประเสริฐเพียงใน แผนดินพระเจาอูทอง ตอนั้นมาผิดศักราชกันตั้งแต ๔ ป ถึง ๒๐ ป ก็มี...”๒๔ ทําใหทรงยกยองเอกสารเลมนี้ วาเปนเอกสาร ทางประวัติศาสตรกรุงศรีอยุธยาที่ระบุศักราชถูกตอง แมนยํากวาพระราชพงศาวดารฉบับอื่น ๆ นอกจากหนังสือประเภทสราง ๒๕ อยางเรื่องประดิษฐานพระสงฆสยามวงศในลังกาทวีป กับประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๑ แล ว ยั ง มี ห นั ง สื อ แต ง ด ว ยฝ ป ากใหม ที่ ส มเด็ จ พระเจ า บรมวงศ เ ธอ เจ า ฟ า กรมพระยานริ ศ รานุ วั ด ติ ว งศ ทรงใหคํานิยามวา “...ตองเปนงานพิเศษจริง ๆ จึงจะมีขึ้นได...” ดังมีตัวอยางหนังสืออนุสรณงานศพเจาจอมมารดาชุม ในรัชกาลที่ ๔๒๖ คือ ตํานานพุทธเจดียสยาม พระนิพนธในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ซึ่งไดระบุ ที่มาไวในสวนคํานํา๒๗วา “...ไดยินคํากลาวกันวา “งารศพนี้เห็นจะไดอานหนังสือแปลก” ดวยคาดกันวาขาพเจาคงจะแตงหนังสือเรื่องอัน ใดขึ้นใหม ใหสมศรัทธาที่ทําการสนองคุณมารดา ที่คาดเชนนั้นก็เปนอันหยั่งใจถูก... จึงไดพยายามแตงเรื่องตํานานพุทธเจดีย สยามขึ้น” ๒๓ กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เลม ๑ ตอน ๑ (กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, ๒๔๙๕), ๘ - ๙. ๒๔ กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เลม ๑ ตอน ๑ (กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, ๒๔๙๕), ๑๗ - ๑๘. ๒๕ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๑๐. พิมพครั้งที่ ๒ (พระนคร : องคการคาฯ, ๒๕๕๐), ๗๗. ๒๖ จากการศึกษาพบวา หนังสืออนุสรณงานศพของเจาจอมมารดาชุม ในรัชกาลที่ ๔ มีอีก ๔ เลม คือ กายคฤหะ หรือเรือนคือกาย (๒๔๖๖), เรื่องความรูเบ็ดเตล็ด

๓ เรื่อง (๒๔๖๖), เทศนากตปุญญกา (๒๔๖๙) และ นิบาตชาดกเลมที่ ๑๒ เตรสนิบาต (๒๔๖๙) ดูเพิ่มเติมใน สํานักหอสมุดแหงชาติ, เรียงรอยบรรณสาร ศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘ (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๕๕), ๒๑๘, ๒๔๗, ๓๔๓, ๒๔๗. ๒๗ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตํานานพุทธเจดียสยาม. (พระนคร : โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๙), หนา ก. (คํานํา).

๑๔๘

โดยหนังสือเลมนี้ปรากฏในสาสนสมเด็จวาระตาง ๆ อยาง การเปน “หนังสืออางอิง” ในการคัดเลือกพระพุทธรูปของสมเด็จ พระเจ า บรมวงศ เ ธอ เจ า ฟ า กรมพระยานริ ศ รานุ วั ด ติ ว งศ ระบุ ในจดหมายฉบับลงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐๒๘ ความวา

หนังสือตํานานพุทธเจดียสยาม พระนิพนธในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ

อยางไรก็ดี แมหนังสืออนุสรณงานศพจะเปนหลักฐานเชิงประจักษวาดวยเรื่องการรวบรวมองคความรู ทวา งาน ดานการศึกษาก็ไดพัฒนาอยางตอเนื่อง และมีการตอยอดองคความรูสืบมาจนปจจุบัน ปรากฏเนื้อหาเรื่องภาษา-วรรณยุกต ของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ฉบับลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๗๕๒๙ วา “... เนื่องดวยพระดําริของทานวาบัญญัติวรรณยุตใหใช เอก โท ตามเสียงสูงตํ่า จะเปน ของเกิดขึ้นชั้นหลังไมนาน นัก มาเกิดปรารภขึ้นวาแตกอนมาไทยเราพูดสําเนียงตาง ๆ กันตามถิ่นที่อยู ... ดวยเหตุดังทูลมา ชาวมณฑลและเมืองที่สํา เนียงเปนอยางอื่น ยอมเขียน วรรณยุต ตามเสียงไมได ... ครั้นเชาวันนี้หมอมฉันไปพิพิธภัณฑสถาน เรื่องปรารภที่ทูลมาติดใจไป จึงแวะไปดูหลักศิลาจารึกของพระเจา รามคําแหงมหาราช เห็นใชหมาย กากะบาด ไมมี โท แตมีเอก ก็นึกวาจะมีวิธีอานและออกสําเนียงเปนอยางอื่น ไมเหมือนเชน เราชาวกรุงเทพ ฯ ใชกัน จึ่งทูลมาเพื่อทรงวินิจฉัย” โดยสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ทรงตอบในฉบับลงวันที่ ๒๐ มิถนุ ายน พุทธศักราช

๒๔๗๕๓๐ วา

“ไมเอกโทนั้น ไดพบในหนังสืออันแกที่สุดก็ที่จารึกหลักศิลาของขุนรามคําแหงเมืองสุโขทัย แตไมโทเขียนเปน กากบาทเหมือนไมจัตวาที่เขียนกันในเวลานี้ ตามที่เขียนเชนนั้นเปนสมดวยชื่อ ไมเอกแปลวา ไมอันเดียวขีดเดียว ไมโทแปลวา ไมสองอันขีดกายกันเปนกากบาท ตอมาภายหลังเขียนอยางงาย ๆ ไมยกเหล็กจาร ทุกวันนี้จึ่งกลายรูปเปนไมสองอันตอกัน เปนมุมฉาก ...” ๒๘ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๒. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๗๓. ๒๙ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๓. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๒๓. ๓๐ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๓. พิมพครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖), ๓๖ - ๓๗.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๔๙


ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง (จารึกหลักที่ ๑) แสดงการใชไมเอก ไมโท รวมกับตัวอักษรสมัยสุโขทัย

จนกระทัง่ ในเวลาตอมา สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพ ไดทรงนิพนธ “แบบเรียนเร็ว” ขึ้น มีที่มาปรากฏในหนา แจงความ ตัง้ แตพมิ พครัง้ ที่ ๙๓๔ วา “... เมือ่ ทรงพระกรุณาโปรดใหตงั้ กรมศึกษาธิการ และ โปรดเกลาฯ ใหขาพเจาเปนอธิบดีคนแรกในกรมนั้น จึงไดแตงแบบเรียนนี้ขึ้น ... เพื่อจะสอนเด็กทั้งในกรุงและหัวเมือง ใหรูหนังสือไดเร็วขึ้นกวาแตกอน ... ก็สอนไดเร็วดังมุงหมาย จึงไดทําแบบเรียนเร็วนี้ขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย และไดรับ พระราชทานพระบรมราชานุญาติใหใชในโรงเรียนหลวงทั้งปวงแตนั้นมา ...”

จดหมายฉบับเดียวกันนี้ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ทรงมีพระวินจิ ฉัยเพิม่ เติมวา “ไมตรีจัตวานั้นมั่นใจทีเดียววาคิดเติมขึ้นภายหลัง ... เมื่อรูอยูวาเปนของคิดขึ้นภายหลังแลว ก็จําตองคนหาตอไป วามีขึ้นเมื่อไร จะดูหนังสือใด ๆ ก็เห็นวาจะยึดเอาเปนหลักไมได ... เห็นอยูก็แตหนังสือตําราเรียนวาพอจะยึดเอาเปนหลักได หนังสือจินดามณี มีความปรากฏตามคํากลอนในเนื้อเรื่อง วาขุนโหรชาวโอฆบุรี ขาพระเจาแผนดินแตง แตที่จาหนาเขียนวา พระโหราแตงถวายสมเด็จพระนารายณ จัดวาเปนหนังสือเรียนที่เกากวาฉะบับอื่น ... มีบอกเครื่องหมายเสียงพรอมทั้งไมเอก โทตรีจัตวา ... สวนในตําราเรียนฉะบับอื่น เชน ปฐมมาลา ปฐม ก กา มีไมเครื่องหมายเสียงครบ ๔ อยางแลวทั้งนั้น หนังสือ เหลานั้นใครแตงและแตงเมื่อไร ไมมีบอกไว แตสังเกตไดโดยถอยคําวาไมแกกวาหนังสือจินดามณี ...” จินดามณี เปนแบบเรียนสมัยอยุธยาที่พระโหราธิบดีในสมเด็จพระนารายณแตงขึ้น แตดวยวิทยาการดานการพิมพที่ยังไมแพรหลาย ดังนั้น หากผูใดตองการตําราไวใช ศึกษา ก็จําเปนตองหาตนฉบับคัดลอกไวเอง ซึ่งอาจมีความคลาดเคลื่อนไป เพราะเมื่อ เจาของเรียนรูสิ่งใด ก็จะบันทึกเพิ่มเติมโดยลําดับ๓๑ ทวา “จินดามณี” เลมที่กลาวถึง ในจดหมายฉบับขางตน นาจะหมายถึง “จินดามณี ฉบับจุลศักราช ๑๑๔๔” ตนฉบับ สมุดไทยดําเสนหรดาล ดวยแมปรากฏหลักฐานวา จินดามณีฉบับพระโหราธิบดีแตงใน รัชกาลสมเด็จพระนารายณมหาราช แตไมพบตนฉบับสมุดไทยจินดามณีทมี่ อี ายุเกาถึง สมัยกรุงศรีอยุธยา ดังนั้น จินดามณี ฉบับจุลศักราช ๑๑๔๔ จึงถือเปนฉบับลายมือ เขียนทีม่ อี ายุเกาทีส่ ดุ ๓๒ มีประวัตกิ ารคนพบระบุวา หมอมเจาทัศนาฯ ประทาน เมือ่ วัน ที่ ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๑

จินดามณีฉบับหมอบรัดเล

ตอมาในรัชกาลที่ ๓ เริ่มมีการผลิตหนังสือเย็บเลมเขาปกแบบหนังสือฝรั่ง โดยผูที่มีบทบาทสําคัญคือ หมอบรัดเล ที่นอกจากจะรับพิมพหมายประกาศหามสูบ ฝน, หนังสือครรภรักษาและหนังสือพิมพบางกอกรีคอรดเดอรแลว ทานยังไดตีพิมพ หนังสือจินดามณี ซึ่งสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ก็ทรง เคยไดใช มีระบุในจดหมาย ฉบับลงวันที่ ๙ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๘๖๓๓ วา “.. เมื่อหมอมฉันแรกเรียนหนังสือ ก็..ใชสมุดดําตัวหรดานจนหมอบรัดเลพิมพ แบบเรียนหนังสือไทยขึ้น จึงเปลี่ยนไปเรียนสมุดพิมพ ..”

๓๑ พิมพพรรณ ไพบูลยหวังเจริญ “แบบเรียนเร็ว ๑, ๒, ๓” ศิลปากร ๖๑, ๓ (พ.ค. – มิ.ย ๖๑), ๑๐๙. ๓๒ กรมศิลปากร, จินดามณี ฉบับหมอบรัดเล (กรุงเทพฯ: สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๖๒), ๖. ๓๓ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ และ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ., สาสนสมเด็จ เลม ๒๕ (พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๓๒ - ๒๓๓.

๑๕๐

แบบเรียนเร็ว (ที่มาภาพ : หองสมุดสํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร โดย ชนาธิป นันทชัยบัญชา)

พระวินจิ ฉัยทีป่ รากฏอยูใ นหนังสือชุดสาสนสมเด็จ รวมถึงพระนิพนธในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพนั้น ปจจุบันไดเปนแหลงวิทยาการสําคัญที่ถูกนํามาอางอิงเกี่ยวกับบานเมืองไทยอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ พระนิพนธที่ไดรับการยกยองวาเปนหลักฐานสําคัญหรือตําราแบบแผน เชน หนังสือเรื่องประดิษฐานพระสงฆสยามวงศใน ลังกาทวีป หนังสือประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๑ หนังสือตํานานพุทธเจดียสยาม “ตํานานพงศาวดารสยาม” คํานําในหนังสือ พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา หรือหนังสือแบบเรียนเร็วเลม ๑ ตอนตน เปนตน

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงแจกหนังสือ ณ วังวรดิศ ในวันปใหม (เดือนเมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๕) ๓๔ กระทรวงธรรมการ, “แจงความตั้งแตพิมพครั้งที่ ๙,” ใน แบบเรียนเร็ว พิมพครั้งที่ ๒๓. (พระนคร: กรมตํารา, ๒๔๗๑), ก - ฆ.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๕๑


ดังนั้น “กรมศิลปากร” ในฐานะที่เปนหนวยงานสําคัญ มีพันธกิจในการรวบรวม เผยแพร และตอยอดองค ความรู ไดสานตองานวิชาการมาอยางตอเนื่อง จากผลงานหนวยงานสังกัดอยาง สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร ได นําจินดามณีหนังสือสมุดไทยตนฉบับมาตีพิมพเปนหนังสือ ๔ เลม คือ จินดามณี เลม ๑ และจินดามณี ฉบับใหญ บริบูรณ จินดามณี ฉบับความแปลก ฉบับพระเจาบรมโกศ ฉบับจุลศักราช ๑๑๔๔ จินดามณี เลม ๒ ประถม ก กา มณีจินดา และ ประถมมาลา และจินดามณี ฉบับหมอบรัดเล รวมถึงมีหนวยงานที่บริการเอกสารตนฉบับตาง ๆ ทั้งหนังสือสมุดไทย ตนฉบับ หนังสือหายาก (หอสมุดแหงชาติ) ภาพถายตนฉบับรวมถึงฟลมกระจก (หอจดหมายเหตุแหงชาติ) ในสวนของศูนย เทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม ถือเปนหนวยงานที่ตอยอดองคความรู ดวยเอกสารตนฉบับ มีความเสี่ยงตอการ ชํารุดเสียหาย จึงไดนําเสนอความรูผานเทคโนโลยี (e-book) ซึ่งถือวามีสวนชวยในการอนุรักษมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ทั้ง ในแงของวัสดุและองคความรูใหคงอยูตอไป

การคัดลอกสมุดภาพและจิตรกรรม : คุณคาของการสืบรักษาในอดีตถึงปจจุบัน การคัดลอกเอกสารในอดีต มักกระทํากันเพือ่ วัตถุประสงคในการกระจายและสืบทอดความรูเ ปนหลัก มิไดเกีย่ วของ กับแนวคิดการอนุรกั ษอยางตรงตัว แตสว นมากมักเปนผลทางออมทีไ่ ดจากการคัดลอก ดังนัน้ ในอดีต การคัดลอกเอกสารและ หลักฐานโบราณคดีจึงมักมีการดัดแปลงเอกสารเหลานั้นใหเขากับบริบทรวมสมัยอยูเสมอ ดังเห็นจากการคัดลอกสมุดภาพ ไตรภูมิในอดีตที่มักมีการเลือกใชหรือปรับเปลี่ยนขอความในสมุดภาพไปตามแตละสํานวน๓๕ ทวา การเปลี่ยนแปลงในระยะ แรกๆ มาถึง เมื่อมีการคัดลอกเพื่ออนุรักษขึ้นในสยามประเทศ ดังสะทอนผานเนื้อความในสาสนสมเด็จ ดังความวา “… หมอมฉันไปดูวัดยมเปนครั้งแรก วัดนั้นสมเด็จพระนารายณฯ ทรงปฏิสังขรณ ขางในโบสถเขียนฝาผนังเหนือ ประตูหนาตาง ดานหลังพระประธานเขียนรูปปราสาทราชวังกรุงศรีอยุธยา ดานขางเขียนรูปภาพกระบวนแหพยุหยาตรากฐิน (เขาใจวาทานก็จะไดเสด็จไปทอดพระเนตรแลว) สมัยนัน้ ฝนก็รวั่ หลังคาโบสถชะรูปเลือนไปบางแลว แตหมอมฉันยังจํารูปทีเ่ ขียน พระราชวังได ๓ อยาง อยาง ๑ คือมหาปราสาทองคขางใต คือพระวิหารสมเด็จดูเปนยอดปรางค ยังจําไดวาถึงนึกประหลาด ใจในเวลานั้น วาไฉนจึงเขียนปราสาทเปนยอดปรางค อีกอยาง ๑ กําแพงวังชั้นในขางหนาปราสาทเตี้ย (เหมือนกําแพงเดิมใน กรุงรัตนโกสินทร) มีประตูหูชาง อีกอยาง ๑ มีนกกระเรียนตัว ๑ ปลอยเดินอยูในลานหนาปราสาท แตเมื่อไปดูครั้งแรกไมสู เอาใจใสนกั ตอมาสมัยเมือ่ พระยาโบราณฯ ตัง้ อยุธยาพิพธิ ภัณฑสถาน ใหชา งไปจําลองรูปภาพกระบวนแหลงสมุดไว หมอมฉัน จึงคิดขึ้นถึงรูปพระราชวัง บอกพระยาโบราณฯ วาควรจะจําลองมาไวดวย พระยาโบราณฯ ไปดูกลับมาบอกวารูปพระราชวัง นั้นฝนชะลบเสียหมดแลว หมอมฉันไปดูอีกครั้ง ๑ ก็เห็นลบเสียหมดแลวจริง ความที่ไดสําคัญไวเมื่อเห็นแรกก็กลายเปนความ ฝนไปดวยประการ ฉะนี้”๓๖

ขุนประสิทธิ์จิตรกรรม (อยู ทรงพันธุ) ชางเขียนกรมศิลปากร (ซาย) และพระวิทยประจง (จาง โชติจิตรกะ) ชางเขียนกรมมหาดเล็ก (ขวา) กําลังลอกภาพกระบวนทารําของหลวงจากสมุดไทยสมัยรัชกาลที่ ๑ และรัชกาลที่ ๓

จึงจะเห็นไดวาในระยะเวลาตั้งแตราวรัชกาลที่ ๕ เปนตนมา ในไทยเกิดความคิดที่เกี่ยวของกับการอนุรักษภาพ จิตรกรรมขึ้นมาอยางเปนรูปเปนรางแลวเชนกัน ความในขอนี้สนับสนุนกับหลักฐานอื่นที่ปรากฎ อันสะทอนผานเนื้อความใน สาสนสมเด็จวา “หนังสือของหมอมเจาปยะภักดี ... ทีเ่ ปนหนังสือดีจริง นัน้ คือ หนังสือฉบับหอหลวงเขียนในรัชกาลที่ ๑ เธอไดไวหลายเรือ่ ง เชน สมุดภาพกระบวนแหเพชรพวง เปนตน เรื่องใดที่ดีหมอมฉันไดขออนุญาตเธอสําเนาไวในหอพระสมุดฯ แลวทั้งนั้น ...” ทัง้ นี้ หนึง่ ในเรือ่ งที่ “..หมอมฉันไดขออนุญาตเธอสําเนาไวในหอพระสมุดฯ ..” นัน้ คือ สมุดภาพกระบวนแหเพชรพวง อีกฉบับหนึง่ ซึง่ เปนฉบับคัดลอกจากหนังสือของหมอมเจาปยะภักดี โดยการตรวจสอบความแมนยําและการเก็บรายละเอียดของ กระบวนทีค่ ดั ลอกมาดังกลาว ทําไดโดยการเปรียบเทียบนําเนือ้ ความในลิลติ พยุหยาตราเพชรพวงของเจาพระยาพระคลัง (หน) ซึ่งแตงขึ้นตามขนบธรรมเนียมครั้งกรุงเกา ในราวจุลศักราช ๑๑๕๙ (พุทธศักราช ๒๓๔๐ ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๑)๓๗ กับรูปที่ ปรากฏในสมุดภาพกระบวนแหเพชรพวงนั้นมาตรวจสอบ พบวา มีความสอดรับกันในหลายจุด อันยืนยันไดวาการคัดลอกใน ครั้งนั้นคงเก็บความครบถวนสมบูรณของรายละเอียดมาไดเปนอยางดี๓๘

ความในสาสนสมเด็จขอดังกลาว นาจะสะทอนใหเห็นเจตนารมณระยะแรกในการคัดลอกภาพไวเปนหลักฐาน โดย เปนความพยายามที่จะคัดลอกภาพดังกลาวใหครบสมบูรณ ตามหลักวิธีการคัดลอกเพื่ออนุรักษภาพจิตรกรรมฝาผนังหรือ สมุดภาพจิตรกรรม ดังเห็นไดจากความพยายามที่จะคัดลอกภาพปราสาทราชวังนั้นเอง แตกตางจากแนวคิดในการคัดลอก ยุคโบราณอยางสิ้นเชิง สมุดภาพกระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค กระบวนมา ฉบับคัดลอกจากฉบับหมอมเจาปยะภักดี ๓๕ ดูรายละเอียดการคัดลอกสมุดภาพไตรภูมิที่แตกตางกันแตละฉบับไดใน รุงโรจน ภิรมยอนุกุล. การศึกษาเชิงวิเคราะหที่มาของสมุดภาพไตรภูมิ. ๒๕๕๒.

วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๑๓๑-๑๓๙.

๓๖ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ และ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ., สาสนสมเด็จ เลม ๒๒ (พระนคร : คุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๒๒-๒๒๓.

๑๕๒

๓๗ กรมศิลปากร. คํานํา ใน วรรณคดีเจาพระยาพระคลัง (หน). พิมพครั้งที่ ๓ (กรุงเทพฯ : แพรพิทยา, ๒๕๑๕), (๕) ๓๘ ดูรายละเอียดการเทียบรูปในสมุดภาพ กับ ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวงของเจาพระยาพระคลัง (หน) ใน นิยะดา ทาสุคนธ. “กระบวนพยุหยาตราชาง กระบวน

เพชรพวงสมเด็จพระนารายณมหาราช” ใน กระบวนพยุหยาตรา ประวัติและพระราชพิธี (กรุงเทพฯ : หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๔๓), ๙๓-๙๘.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๕๓


นอกจากนี้ การคัดลอกและเก็บรายละเอียดจากภาพจิตรกรรมและสมุดภาพไทยดังกลาว ยังไดขยายผลมาสูก ารศึกษา เทียบเคียงภาพกระบวนแหพระกฐินทางพยุหยาตรากับประเด็นทางประวัติศาสตรศิลปะและโบราณคดีอยางเปนพัฒนาการ โดยสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพอีกดวย ดังปรากฏในคํานําที่เขียนดวยพระองคของหนังสือ ลิลิต กระบวนแหพระกฐินพยุหยาตรา พระนิพนธของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ฉบับพิมพโดยหอพระ สมุดวชิรญาณ พุทธศักราช ๒๔๕๘ ความวา

ถึงอยางไร ยังปรากฏหลักฐานวามีหนังสือประเภทอืน่ ๆทีเ่ ก็บรักษาไวในวัด เปนตํารับตําราใหไดศกึ ษาหาความรูอ กี ดังเห็นไดจาก วรรณคดีเรื่อง ขุนชางขุนแผน ซึ่งเปนวรรณคดีรัตนโกสินทรที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพ สันนิษฐานวามีเคามูลมาจากสมัยกรุงศรีอยุธยาจริง ความตอน พลายแกวบวชมาอยู ณ วัดปาเลไลย เมืองสุพรรณบุรี วา

“กระบวนแหพระกฐินโดยพยุหยาตราอยางใหญ ตามที่พรรณนาในหนังสือลิลิตเรื่องนี้ (ลิลิตกระบวนแหพระกฐิน พยุหยาตรา พระนิพนธของสมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส) มีแบบอยางมาแตครั้งกรุงเกา ถือวาเปนกระบวนแหใหญอยาง เปนพระเกียรติยศงดงาม ถึงเอารูปริ้วกระบวนแหอยางนี้มาเขียนเปนภาพเครื่องประดับที่กรุงเกามีเขียนไวท่ีฝาผนังโบราณ ราชธานินทรคดั ลอกรูปไวไดบา ง ไดจาํ ลองลงสมุดจะพึงดูไดในอยุธยาพิพธิ ภัณฑทกี่ รุงเกาแหง ๑ ในหอพระสมุดวชิรญาณแหง ๑ มีรูปเครื่องแตงตัวตางๆอยางเกานาดูหลายอยางมาก ภาพกระบวนแหที่เขียนวัดยมกรุงเกา มีผูไดถายไปเขียนไวที่ฝาผนัง โบสถวัดประดูทรงธรรมอีกแหง ๑ ยังจะดูไดในทุกวันนี้เหมือนกัน แตไมสูเหมือนของเดิมที่วัดยม ซึ่งเขียนราวเมื่อแผนดิน สมเด็จพระนารายณมหาราช ในกรุงเทพฯนี้ ก็ไดเอารูปริ้วแหพระกฐินกระบวนพยุหยาตราใหญ ที่มาแหในกรุงรัตนโกสินทร ออกเขียนเปนรูปไวที่พระระเบียงรอบพระเจดียในวัดพระเชตุพน เดี๋ยวนี้เห็นยังพอดูได แตชํารุดลบเลือนไปเสียมากแลว”๓๙

ซึง่ จากเนือ้ ความดังกลาว คงสะทอนไดวา นอกจากคัมภีรท างศาสนาและแบบเรียนทีผ่ บู วชเรียนตองศึกษา ยังมีตาํ รา ดูฤกษยามและตําราพิชยั สงครามเปนหนังสือใหความรูอ กี ประเภททีเ่ ก็บรักษาอยูภ ายในวัดดวย โดยตําราเหลานีค้ งเก็บรวมอยู กับวรรณคดีตางๆดวย ดังปรากฏหลักฐานในฉันทชมกุฎี ของ มหาหวง กวีสงฆสํานักวัดมหาธาตุ สมัยรัชกาลที่ ๔ ความวา

โดยอาจตีความไดวาการศึกษาและการเปรียบเทียบดังกลาว เปนตนแบบของการศึกษาโบราณวัตถุสถาน อันนําไปสูแ นวคิดทีส่ มั พันธกบั งานอนุรกั ษ ซึง่ จําเปนตองมีคณ ุ สมบัตแิ ละความรูเ กีย่ วกับรูปแบบสิง่ นัน้ กอนการลงมืออนุรกั ษ หรือคัดลอกภาพจิตรกรรมหรือสมุดภาพชิ้นนั้น เพื่อความถูกตองของหลักฐานที่จะไมถูกบิดเบือนนั้นเอง ในปจจุบัน งานอนุ รั ก ษ แ ละคั ด ลอกจิ ต รกรรมและสมุ ด ภาพของกรมศิ ล ปากรได ดํ า เนิ น การแยกส ว นกั น จากในอดี ต อย า งชั ด เจน โดยมีหนวยงานที่เขามาเกี่ยวของหลายภาคสวนตามแตละกรณี อันประกอบดวยงานอนุรักษภาพจิตรกรรมฝาผนังของกลุม อนุรักษจิตรกรรมและประติมากรรม กองโบราณคดี และกลุมวิทยาศาสตรเพื่อการอนุรักษ สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ซึง่ มีหนาทีอ่ นุรกั ษสมุดภาพตางๆ โดยหากมีการคัดลอกขึน้ ใหม สํานักชางสิบหมู ซึง่ มีฝม อื ทางเชิงชางในการดําเนินการจะเปน ผูปฏิบัติตอไป อนึ่ง งานคัดลอกและอนุรักษที่ยังคงดําเนินงานกันโดยกรมศิลปากร ถือเปนสิ่งที่สานตอจากสิ่งที่ระบุไวในสาสน สมเด็จ อันนับเปนคุณุปการตองานของกรมศิลปากรในปจจุบันเปนอยางสูงดวยนั้นเอง

จากตูพระธรรมสูตูเก็บเอกสาร : งานอนุรักษบนศรัทธาสูงานอนุรักษเพื่อสืบสรางองคความรู

การอนุรกั ษเอกสารโบราณในอดีต มักเปนการอนุรกั ษเอกสารตําราตาง ๆ เพือ่ เปนสือ่ การสอนตามสถานศึกษาตางๆ ยก ตัวอยางเชน การเก็บรักษาเอกสารโบราณไวในตูพ ระธรรมและหอพระไตรปฎกตามวัด ซึง่ เปนเสมือนสถานทีส่ อนหนังสือในอดีต เอกสารเหลานั้นเก็บรักษาไวเปนแบบเรียนใหเด็กที่มีโอกาสไดเรียนหนังสือซึ่งสวนมากลวนเปนบุตรของขาราชการ ขุนนาง ไดรํ่าเรียน โดยหนังสือสวนมากมักเกี่ยวของกับแบบการเรียนอานและเขียน รวมไปถึงคัมภีรทางศาสนาเปนหลัก เชน ประถม มาลา ประถม ก.กา และ จินดามณี๔๐ เปนตน ดังปรากฏหลักฐานอยางบันทึก แอนนา ลีโอโนเวนส ครูสอนภาษาอังกฤษใน ราชสํานักสยามทีเ่ ขามาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ความวา “… เด็กชายทัว่ ประเทศไดรบั การสอนใหอา น เขียนและคิดคํานวณโดยพระภิกษุ วัดทุกแหงมีหองสมุดไมวาจะสูงหรือตํ่ากวามาตราฐาน ...”๔๑ ๓๙ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส, ลิลติ กระบวนแหพระกฐินพยุหยาตราทางสถลมารคและทางชลมารค (กรุงเทพฯ : สหธรรมิก, ๒๕๖๐), (๖๘). ๔๐ วุฒิชัย มูลศิลป. การปฏิรูปการศึกษาในแผนดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง

ศึกษาธิการ, ๒๕๔๗), ๑๕.

๔๑ ลีโอโนเวนส, แอนนา แฮรเรียต. อานสยามตามแอนนา : การบานและการเมืองในราชสํานักคิงมงกุฎ (กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๖๒), ๙๘.

๑๕๔

“...เจาอุตสาหศึกษาวิชาการ ตําหรับใหญพิชัยสงคราม

“แถลงปางเรื่องราวรุงรัง สะพรั่งดวยเครื่องปริกขาร ตูใหญใบโตโอฬาร เปนเรื่องพระพุทธโฆษา เมื่อเสด็จไปเมืองลังกา กําปนของพวกพานิช”

เขียนอานทองไดแลวไตถาม สูรยจันทรฤกษยามก็รอบรู...”๔๒

กุฎีสองหลัง เขียนลายรดสนาน โดยสานนาวา

จากเนื้อความในฉันทจะเห็นไดวาในกุฏีของมหาหวงมีตูเขียนลายรดนํ้าเรื่องพระพุทธโฆษาจารยเสด็จไปสืบพระ ศาสนาที่เกาะลังกาอยู โดยเนื้อความในฉันทไดพรรณาตอไปถึงตํารับตําราและวรรณคดีตางๆที่เก็บรักษาอยูในตูนั้น ความวา “สมุดทั้งขาวดํา ลิขิจคําเปนโคลงฉันท นาเนกพากยพัน ธพิพิธประดิษฐกลอน ญวณพายและกําศรวญ ศรีปราชญครวญนิราสจร จากมิ่งสุมาลยสมร วรลักษณประจักษมี พระยาตรังคกระสันโศก ที่วิโยคสวาทศรี เสาวภาคยเทพี จรสูทวายเวียง นรินทรนิราสโรย จรโดยฉลางเพียง มรณชีพและสงเสียง สอื้นหาสุดาเดียว ทวาทศมาสสาม อุระโศกกระสันเสียว ฟงเพราะเสนาะเทียว สุรถอยที่พจนา สมุดฉันทก็หลายชุด อนิรุธสมญา บุณโณวาทสูตรา เสนาะใดจะเปรียบปาน”๔๓ แมจาํ นวนวรรณคดีทเี่ ก็บรักษาในตูพ ระธรรมของมหาหวงจะมีมากมายตามวิสยั ปราชญ ซึง่ อาจไมใชจาํ นวนเทียบเทา กับตําราตํารับและวรรณคดีที่เก็บรักษาอยูตามตูพระธรรมของวัดและกุฏิของพระเถระทั่วไป เนื่องดวยความเปนปราชญ ของมหาหวง แตคงเปนตัวอยางที่ดีใหเห็นไดวานอกจากตํารับตําราที่จําเปนตองใชในการเลาเรียน วรรณคดีโบราณเหลานี้ก็ เปนสิ่งหนึ่งที่ถูกเก็บรักษาอยูภายในตูพระธรรมเชนกัน ๔๒ เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน. พิมพครั้งที่ ๑๙ (กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, ๒๕๔๕), ๕๐. ๔๓ สุจิตต วงษเทศ. คํานําเสนอ ใน วรรณอําจําจี้ โคลง ฉันท กาพย กลอน กลอมเด็กเขกผูใหญ ของ เปโมรา (หรือ มหาหวง) กวีหัวหกกนขวิดสมัยรัชกาลที่ ๕

(กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๓๘), ๒๖-๒๗.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๕๕


ทั้งนี้ นาเชื่อไดวาทั้งแบบเรียน คัมภีรทางศาสนา วรรณคดีโบราณ และตําราความรู ที่จําเปนตองเก็บรักษาอยูใน ตูพระธรรมเปนหลัก เพื่อปองกันแมลงมาทําลายเอกสารและเปนการจัดระบบของเอกสารดวย โดยการสรางตูพระธรรมขึ้น ในอดีต แมจะมีหนาทีใ่ นเชิงอนุรกั ษเอกสารแตวตั ถุประสงคหลักก็มกั กลับไปเกีย่ วพันกับความเชือ่ แบบไทยแตโบราณทีม่ กั สราง ของผูอ ทุ ศิ ไวในพระศาสนาเพือ่ เปนพุทธบูชาและสงเสริมผลบุญไปสูพ ระนิพพาน๔๔ โดยของเหลานัน้ ตองเปนของทีม่ คี า ควรและ มีความงดงามสมเปนของบูชาพระศาสนาและบูชาคัมภีรท างศาสนาทีเ่ ก็บอยูภ ายในดวยนัน้ เอง๔๕ นอกจากตูพ ระธรรม ซึง่ เปนวัตถุสาํ หรับเก็บรักษาเอกสารโบราณทีก่ ระจายอยูต ามวัดตาง ๆ แลว ยังปรากฏหลักฐาน วาตามสถานที่ตาง ๆ เชน บานเจาขุนมูลนายในอดีต ลวนเคยมี “ตู” หรือ “ตูพระธรรม” ซึ่งใชสําหรับจัดเก็บเอกสารโบราณ ทั้งนั้น ดังความปรากฏใน “เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน” ตอน พลายงามเรียนวิชากับจมื่นศรีเสาวรักษราชเพื่อรับราชการ ดังความปรากฏวา “...ครานั้นจมื่นศรีเสาวรักษราช จะเปนขาจอมนรินทรปนนคร พระกําหนดกฎหมายมีหลายเลม กรมศักดิ์หลักชัยพระอัยการ แลวใหรูสุภาษิตบัณฑิตพระรวง ราชาศัพทรับสั่งใหบังควร

“ในเวลานั้นหอพระสมุดมีตูทองลายรดนํ้าอยู ๔-๕ ใบ ทานทรงพบมีอยูตามวัดงามๆ ทานจึงอธิบายแกทานพระ เจาของวา “ถาทิง้ ไวอยางนีก้ ไ็ มมใี ครรูว า ทานมีของดี ถาทานใหผมยืมไปตัง้ ไวในหอพระสมุดในชือ่ ของทาน ใครมาเห็น ก็จะรูจ กั ทานและวัดไปพรอมกัน ถาทานคิดถึงก็ไปดูที่หอพระสมุดไดเสมอ” ทานสมภารก็ถวายมาทั้งๆที่จริงทานก็ไมคอยจะเห็นดวย นัก เมื่อมาถึงหอแลว ทานก็ใหตั้งไวกลางหองเขียนปายติดไววาเปนของใครอยูที่ไหน ครั้นไดมา ๒-๓ ใบแลว ทานก็ทรงจัดการ เชิญพระสงฆใหมาชมหอพระสมุดโดยสงคนไป นิมนตพระในเวลาที่มาถวายพุมเขาพรรษาที่วัดพระแกว เสร็จแลวก็เลยมา หอพระสมุด ทานทรงคอยรับและอธิบายเอง ... ทรงแจกหนังสือเล็กๆ เปนที่ระลึก ทรงทํากันอยู ๒ วันติดๆ กันเพียงปเดียว พระที่ไดมาดูแลวเกิดศรัทธาสงตูทองมาใหหอสมุดเรื่อยๆ จนมีใสหนังสือไดเต็มหอวชิรญาณดังที่เราเห็นทุกวันนี้ ”๔๗

เรียกพลายงามทรามสวาทมาสั่งสอน อยานั่งนอนเปลาเปลาไมเขาการ เก็บไวเต็มตูใหญไขออกอาน มนเฑียรบาลพระบัญญติตัดสํานวน ตามกระทรวงผิดชอบคิดสอบสวน รูจงถวนถี่ไวจึงไดการ...”๔๖

จากเนื้อความที่ปรากฏคงพออนุมานไดวานอกจากสถาบันทางศาสนา จะมีตูพระธรรมไวสําหรับเก็บหนังสือตาง ๆ ตามสถานที่ทางราชการหรือบานเจาขุนมูลนาย ก็มี “ตู” ไวเก็บเอกสารโบราณตาง ๆ เชนกัน เพียงแตยากตอการบอกไดวา ตูดังกลาวมีลักษณะเชนใด ดังนั้น หนาที่ของตูในอดีตทั้งตูพระธรรมและตูทั่วไป จึงเกี่ยวของกับหนาที่การอนุรักษรักษา เอกสารมาแตเดิม รวมไปถึงยังสัมพันธกับความศรัทธาและความเชื่อตอพระศาสนาที่ผูกโยงกันขึ้น อันสะทอนผานตัววัตถุ อยางตูพระธรรมดวย

งานอนุรักษเอกสารกับหอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนครและสาสนสมเด็จ

ภายหลังจากตูพระธรรมตามวัดเริ่มหมดคุณคา เพราะการเขามาของตูกระจกแบบใหมและการเขามาของสมุดฝรั่ง อยางเต็มตัว ตัง้ แตสมัยรัชกาลที่ ๕ เปนตนมา สถานะของตูพ ระธรรมเริม่ หมดคุณคาและถูกทิง้ เปนของโบราณไวตามวัดตาง ๆ อยางไรคา เมือ่ มีการตัง้ หอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนครขึน้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ไดเล็งเห็นถึงคุณคา ของตูพ ระธรรม หรือ ทีใ่ นหนังสือเกาเรียกกันวา “ตูไ ทย” โดยไดทรงรวบรวมตูเ หลานีม้ าเปนตูใ สหนังสือสําหรับหอสมุดวชิรญาณ สําหรับพระนครดวย ทางหนึง่ เพือ่ เปนการอนุรกั ษตโู บราณเหลานัน้ ในฐานะโบราณวัตถุทมี่ คี ณ ุ คาทางศิลปกรรมและอีกทางหนึง่ เปนการแปรหนาที่จากตูเก็บเอกสารโบราณตามวัดเปนตูสําหรับเก็บรวบรวมหนังสือสมุดฝรั่งที่มีความทันสมัยไปดวยในตัว ความพยายามและขั้นตอนในการรวบรวมตูดังกลาว สะทอนผานเนื้อความใน “พระประวัติลูกเลา” พระนิพนธ หมอมเจาพูนพิศมัย ดิศกุล พระธิดาในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ความวา ๔๔ กองแกว วีระประจักษ และ นิยะดา ทาสุคนธ. ตูไทยโบราณ (กรุงเทพฯ : หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๒๑), ๘-๙. ๔๕ ส.พลายนอย (นามแฝง). แลไปขางหลัง (กรุงเทพฯ : พิมพคํา, ๒๕๔๕), ๙๘-๙๙. ๔๖ เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน. พิมพครั้งที่ ๑๙ (กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, ๒๕๔๕), ๕๓๘.

๑๕๖

ตูพระธรรมที่รวบรวมอยูเปนจํานวนมากในพระที่นั่งศิวโมกขพิมาน เมื่อครั้งเปนที่ทําการหอพระสมุดวชิรญาณ

นอกจากนี้ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพยังไดอธิบายเพิม่ เติมในพระนิพนธ เรือ่ ง “ตํานาน หอพระสมุด” ถึงการนําตูพระธรรมเหลานั้นมาซอมแปลงและเปลี่ยนฝาหลังของตูเปนบานกระจกเพื่อเปนการรักษาลวดลาย ของบานประตูตดู า นหนาเพือ่ เปนการหลีกเลีย่ งการจับตองบอยครัง้ และสามารถทําใหมองเห็นหนังสือทีอ่ ยูภ ายในได ดังความ วา “อนึ่ง ตูไทยของโบราณมักปดทองแลเขียนลายแต ๓ ดาน ดานหลังเปนแตลงรักฤาทาสี การที่จะใชใสหนังสือ ในหอพระสมุดฯ ไดคดิ แกตดิ บานกระจกเปดขางดานหลังใหแลเห็นสมุดในตูน นั้ ได แลไมตอ งจับทางขางบานตูใ หลายหมอง ดูก็ เหมาะดี ตอไปคงยังจะตองหาตูเพิ่มเติมอีก แตเห็นวายังจะพอหาได ดวยเมื่อคนทั้งหลายแลเห็นการที่รักษา แลเห็นประโยชน ที่จะถวายตูแกหอพระสมุดฯ คงจะพากันมีแกใจถวายตอไป”๔๘ ๔๗ มจ.พูนพิศมัย ดิศกุล. พระประวัติลูกเลา และ พระโอวาทบางโอกาส (ม.ป.ม : มูลนิธีสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพและหมอมเจาจงจิตรถนอม ดิศกุล

และธิดา, ๒๕๒๕), ๑๖.

๔๘ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ. ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอพุทธสาสนสังคหะ แลหอสมุดสําหรับพระนคร

(พระนคร : โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๕๙), ๙๐-๙๑.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๕๗


จากข อ ความที่ ย กมาข า งต น คงพอทํ า ให เ ห็ น ได ว  า การ เปลี่ยนแปลงหนาที่ของตูพระธรรมจากเครื่องมือในการเก็บ อนุรกั ษเอกสารโบราณตามวัดตาง ๆ สูก ารรวบรวมและนํามาใช ใหมภายหลังจากการตั้งหอพระสมุด วชิรญาณสําหรับพระนคร ขึ้นไดเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม สอดรับกับเนื้อความในสาสน สมเด็จทีร่ ะบุถงึ การรวบรวมตูพ ระธรรมดังกลาวดวย ดังความวา “... สมัยนั้นกําลังหมอมฉันเสาะหาตูของโบราณมาใส หนังสือในหอพระสมุด นายรอดยืน่ หนังสือตอมาเนือ่ งๆ บอกวา ไดไปเห็นตูด มี อี ยูว ดั นัน้ ๆ สอบไดดจู ริงดังวา เมือ่ หมอมฉันไปขอ พระไดตูมา ก็ใหบําเหน็จแกนายรอด ...”๔๙

ตัวอยางตูพระธรรม ที่มีการเปลี่ยนบานเปด-ปดฝาไมเดิมเปนฝากระจกใส

อนึ่ง จากขอความที่กลาวทั้งหมดคงพอทําใหเห็นถึง กระแสแหงการเปลี่ยนแปลงและหนาที่ที่เปลี่ยนไปของตูพระ ธรรมในแตละชวงสมัยไดพอสมควร เชนเดียวกับในปจจุบันที่ กระแสของการเปลี่ยนแปลงการจัดการรักษาอนุรักษเอกสาร โบราณเหลานัน้ ไดเปลีย่ นไปอยางสิน้ เชิง ดังเห็นไดจากการสราง หองเก็บเอกสารที่ไดมาตราฐานดานความปลอดภัย มีคุณภาพ และการจัดทําสําเนาเพือ่ ใชในการศึกษาสืบคนดวยเทคนิคทีท่ นั สมัยซึง่ เปนภารกิจหนึง่ ของหอสมุดแหงชาติและหอจดหมายเหตุ กรมศิลปากร ทําใหเอกสารโบราณมีอายุที่ยืนยาวมากขึ้นดวย

เจาอยูห วั พระวชิรญาณภิกขุ (หรือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั เมือ่ ครัง้ ทรงผนวช) ไดเสด็จขึน้ ไปทางมณฑลฝายเหนือ ไปพบเขากับศิลาจารึก ๒ หลัก ไดแก จารึกพอขุนรามคําแหงหลักหนึ่ง และ จารึกของพระธรรมราชาลิไทยหลักหนึ่ง (จารึก ปามะมวง ภาษาเขมร) ที่เมืองเกาสุโขทัย จึงโปรดใหนําลงมายังกรุงเทพฯ ดวย ภายหลังจากนั้น ทรงพยายามอานจารึกและ ถอดความในหลักจารึกเหลานัน้ ตลอดจนทําสําเนาจารึกหลักที่ ๑ สงใหเซอร จอหน เบาริง และทรงแปลความพรอมคําอธิบาย เปนภาษาอังกฤษอีกดวย๕๑ อันสะทอนไดวาในชวงสมัยราวรัชกาลที่ ๓ – ๔ หรือตั้งแตมีการพบศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง หรือ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ นั้น ไดเกิดความพยายามอยางเปนรูปธรรมและมีระบบในการศึกษาและตีความ รวมถึงใชประโยชนจากจารึกเหลา นั้นมากยิ่งขึ้นดวย ความสืบเนื่องดังกลาวไดสงผลไปยังการศึกษาและใชประโยชนจากการพบศิลาจารึกอีกมากมายในภายหลัง ดังปรากฏวา ตัง้ แตรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั เปนตนมา เกิดความพยายามในการรวบรวมศิลาจารึกทีพ่ บ ตามที่ตาง ๆ มาไวที่กรุงเทพฯ ทั้งยังมีการนําเนื้อความในจารึกไปประยุกตใชกับวิชาองคความรูตาง ๆ มากยิ่งขึ้นอีกดวย ดังเชนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๖ ไดทรงใชเนือ้ ความทีถ่ อดไดกบั ศิลาจารึกสุโขทัยตางๆ ตรวจสอบกับหลักฐานทางประวัตศิ าสตรอนื่ ๆ ในการเสด็จตรวจโบราณวัตถุสถานตามทีต่ า งๆ ในเขตเมืองสุโขทัย กําแพงเพชร และ ศรีสัชนาลัย เปนตน๕๒

พัฒนาการการอานและตีความจารึก : คุณูปการและหลักฐานในสาสนสมเด็จ การอานจารึกโบราณ เริ่มตนขึ้นอยางนอยตั้งแตสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร ดังปรากฏหลักฐานในจดหมายเหตุ ความทรงจํ า ของกรมหลวงนริ น ทรเทวี ตั้ ง แต ค รั้ ง รั ช กาลที่ ๑ ให พ ระพิ เรนณเทพขึ้ น ไปอั ญ เชิ ญ พระศรี ศ ากยมุ นี วัดมหาธาตุ มาแตเมืองสุโขทัย ในครัง้ นัน้ ปรากฏวาไดมกี ารพบจารึกทีเ่ รียกกันในเอกสาร วา “แผนศิลาตัง้ ศักราชวาไปขางหนา ลุงจะไดสัตยตอหลาน ผูนอยจะเปนผูใหญ ผูใหญจะเปนผูนอย จารึกไวแตแรกสรางยังอยู”๕๐ ทัง้ นี้ อาจสันนิษฐานไดวา จารึกหลักดังกลาวคงเปนจารึกทีป่ จ จุบนั ใหนามวา “จารึกปูข นุ จิดขุนจอด” เนือ่ งมาจากวา หลักศิลาจารึกนี้ไดพบเขาที่วัดมหาธาตุ สุโขทัย เชนกัน โดยตามประวัติการคนพบ กลาววาไดพบระหวางการบูรณะเมือง สุโขทัย ของกองโบราณคดี กรมศิลปากร เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๙๙ สอดรับกับเนือ้ หาของจารึกทีก่ ลาวถึงเรือ่ งการใหสตั ยสาบาน จึงสอดคลองกันกับความในหลักจารึกที่ไดพบตั้งแตครั้งรัชกาลที่ ๑ ที่วัดมหาธาตุนั้นดังกลาวไปแลวดวย อนึง่ แมการในครัง้ รัชกาลที่ ๑ นัน้ จะไมไดมกี ารนําเอาจารึกหลักนัน้ มาเก็บรักษา ศึกษาอยางจริงจังและเปนระบบนัก แตจะเห็นไดวา ในครัง้ นัน้ ไดเกิดความพยายามในการอานศิลาจารึกขึน้ แลวอยางแนนอน กระทัง่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา ๔๙ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ และ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ. สาสนสมเด็จ เลม ๑๐ (พระนคร : คุรุสภา, ๒๕๐๕), ๒๗๗. ๕๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว. จดหมายเหตุความทรงจําของกรมหลวงนรินทรเทวี (พ.ศ. ๒๓๑๐ – ๒๓๘๑) และพระราชวิจารณในพระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว. พิมพครั้งที่ ๖. เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาวาปบุษบากร (กรุงเทพฯ : กองวรรณคดีและ ประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๒๖), ๒๖.

๑๕๘

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงฉายพระรูปรวมกับพระธิดา ในสวนจัดแสดงตูพระธรรมและจารึกในพระที่นั่งศิวโมกขพิมาน ครั้งยังเปน “หอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนคร” ๕๑ ยอรซ เซเดช. “อธิบายวาดวยศิลาจารึกในประเทศสยาม” ใน ประชุมจารึก ภาคที่ ๑ (กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, ๒๕๒๖), ๓. ๕๒ ราม วชิราวุธ (นามแฝง). คํานําพระราชนิพนธ ใน เที่ยวเมืองพระรวง (กรุงเทพฯ : พระจันทร, ๒๕๒๖), ม.ป.ป

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๕๙


อนึง่ ความสืบเนือ่ งดังกลาว อาจสามารถเห็นไดจากหลักฐานทางประวัตศิ าสตรสงั คมและวัฒนธรรมทีส่ าํ คัญอีกชิน้ หนึง่ ที่นํามากลาวถึงไว ณ ที่นี้ อันไดแก “สาสนสมเด็จ” ซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงใหเห็นวามีการนําเอาขอมูลที่ไดจากจารึกทั้งหลาย มาใชประโยชนดานตาง ๆ อยางมากมาย ยกตัวอยาง เชน การนําเรื่องรูปไมเอกไมโท ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ มาวิเคราะหที่มา และที่ไปของรูปวรรณยุกตในแตละสมัย และการนําขอมูลจากจารึกลานทองพระมหาเถรจุฬามุนีมาวิเคราะหประกอบขอ สันนิษฐานทางประวัติศาสตรและโบราณคดีสุโขทัยเปนตน๕๓ ในปจจุบันการนําขอมูลที่ไดจากการอานศิลาจารึกมาปรับใชไดกระจายไปอยางแพรหลายมากยิ่งขึ้น สอดรับกับ จํานวนจารึกหลักตางๆทีพ่ บมากขึน้ ดวยเชนกัน อันสงผลใหเกิดทฤษฏีและแนวความคิดทีห่ ลากหลายจากการศึกษาจารึกอยาง มากมาย โดยหนึ่งในนั้น คือ ทฤษฏีอันเกี่ยวของกับความแทจริงของศิลาจารึกหลักที่ ๑ ดวยนั้นเอง แมจะมีคาํ ถามตอความแทจริงของศิลาจารึกหลักนี้ แตหลักฐานทีส่ าํ คัญอันเปนหลักฐานยืนยันไดในเบือ้ งตนวาศิลา จารึกหลักนี้ อาจไมใชของเทียมหรือทําขึ้นใหมในสมัยอื่น คือ การพบจารึกวัดบางสนุก อําเภอวังชิ้น จังหวัดแพร ในภายหลัง ราวพุทธศักราช ๒๔๘๙ ซึ่งนักอักษรศาสตรวิเคราะหกันวาเปนจารึกสมัยพระยาเลอไทยที่มีรูปแบบอักษรและลักษณะสระ คลายคลึงแตคลี่คลายมาจากจารึกสมัยพอขุนรามคําแหง๕๔ อันยืนยันไดเชนกันวาจารึกหลักที่ ๑ นั้น คงไมไดทําขึ้นใหมในยุค สมัยอื่นๆ อยางรัตนโกสินทรเปนแนนอน ถึงอยางไร การศึกษาและความกาวหนาในการศึกษาคนควาเรือ่ งจารึกศึกษาทีผ่ า นมานัน้ นับเปนสิง่ ทีล่ ว นมีจดุ เริม่ ตน จากความพยายามในการอานจารึกขึ้นอยางเปนระบบตั้งแตครั้งรัชกาลที่ ๔ อันสงเสริมใหเกิดการนําขอมูลไปประกอบการ สันนิษฐานองคความรูด า นตางๆ มากยิง่ ขึน้ อยางเปนระบบ และในทายทีส่ ดุ ไดนาํ พามาสูก ารวิพากษตวั หลักฐานอยางจารึกเอง การตั้งขอสันนิษฐานและความเปนไปไดจากการศึกษาจารึกที่จะขยายความรูไปสูการตั้งคําถามและความกลาในการวิพากษ หลักฐานที่มากยิ่งขึ้น อันเปนลักษณะที่สังคมไทย ไมวาจะเปนแวดวงวิชาการหรือสังคมทั่วไปควรมีอยางเปนที่สุดนั้นเอง

ศิลาจารึกวัดบางสนุก ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ หินชนวนสีเขียว วัดบางสนุก อําเภอวังชิ้น จังหวัดแพร หองเอกสารโบราณ สํานักหอสมุดแหงชาติ Wat Bang Sanook Inscription 15th Century Stone (Slate) H. 45 CM. W. 30 CM. National Library, Found from Wat Bang Sanook, Phrae

จารึกหลักนีแ้ มไมไดถกู กลาวถึงในสาสนสมเด็จ แตนบั วาเปนหลักฐานชิน้ สําคัญตอการศึกษาศิลาจารึกไทยเปนอยางมาก ดวยสามารถยืนยันไดวา ตัวอักษรไทย “คิดบัญญัตขิ นึ้ ” ในสมัยสุโขทัย เพราะจารึกหลักนีใ้ ชรปู แบบตัวอักษรเดียวกับศิลาจารึก พอขุนรามคําแหง (ศิลาจารึกหลักที่ ๑) รวมถึงมีเนื้อหาระบุในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ โดยจารึกหลักนี้มีประวัติระบุวา พระครูอดุลยรัตนญาณ เจาอาวาสวัดบางสนุก พบเมือ่ พุทธศักราช ๒๔๘๙ แลวนํามามอบใหกองหอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร

๕๓ ดูรายละเอียดเรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ กับการวิเคราะหการใชไมเอกไมโท ใน สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลมที่ ๓ (กรุงเทพฯ :

คุรสุ ภา, ๒๕๔๖), ๓๖-๓๙. และดูรายละเอียดการใชจารึกลานทองพระมหาเถรจุฬามุนี ในการวิเคราะหทางโบราณคดี ใน สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ และ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ., สาสนสมเด็จ เลม ๒๓ (พระนคร : คุรุสภา, ๒๕๐๕), ๑๕๘-๑๕๙. ๕๔ จุไรรัตน ลักษณะศิริ, จากลายสือไทยสูอักษรไทย (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑), ๑๐๖.

๑๖๐


สมุดภาพวาดวยขบวนพยุหยาตรากฐินทางสถลมารค (วัดยม) พุทธศตวรรษที่ ๒๕ กระดาษ หอสมุดแหงชาติ หองเอกสารโบราณ สํานักหอสมุดแหงชาติ

Wat Yom eopied Manuscript depicting of the royal processions from the murals 20th Century Paper National Library

สมุดภาพชุดนี้สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงมีพระวินิจฉัยใหคัดลอก จากสําเนาที่พระยาโบราณราช ธานินทร (พร เดชะคุปต) ใหชางไปคัดลอกจิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถวัดยม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีหนาตนและหนา ปลาย เขียนภาพกระบวนพยุหยาตราพระกฐินหลวงครั้งกรุงเกา ปรากฏเนื้อหาในจดหมายเวรของสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ ลงวันที่ ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔ ความวา “... สมัยเมื่อพระยาโบราณฯ...ใหชางไปจําลองรูปภาพ กระบวนแหลงสมุดไว หมอมฉันจึงคิดขึ้นถึงรูปพระราชวัง บอกพระยาโบราณฯ วาควรจะจําลองมาไวดวย...” แสดงใหเห็น ถึงแนวคิดเรื่องการตออายุความรู ทั้งยังเปนการเก็บรักษาหลักฐานทางประวัติศาสตร ดวยไมปรากฏงานจิตรกรรมดังกลาวที่ โบสถวัดยมแลวในปจจุบัน เพื่อการตอยอดทางประวัติศาสตรและตออายุงานจิตรกรรมวัดยมที่ลบเลือนไปแลว กรมศิลปากรจึงไดทําสําเนา ดวยการจัดพิมพเผยแพรสมุดไทยเลมดังกลาวถึง ๒ ครั้ง เมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๐ ในโอกาสฉลอง ๑๐๐ ปความสัมพันธไทย กับฝรั่งเศส และครั้งที่ ๒ ในพุทธศักราช ๒๕๔๔

จารึกลานทองพระมหาเถรจุฬามณี พุทธศักราช ๑๙๑๙ ทอง ฐานพระประธานพระอุโบสถ วัดมหาธาตุ สุโขทัย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

Gold-Leaves Pali Manuscript 14th Century (1376) Gold Width 2 CM. Length 24 CM. Bangkok National Museum, Found from Buddha Image Basement of Wat Mahathat, Sukhothai

ตามเนื้อความในสาสนสมเด็จไดกลาววามีการพบจารึกหลักนี้ในบริเวณพระอุโบสถ วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย นับ เปนหลักฐานทางประวัติศาสตรสําคัญที่แสดงถึงการบุญที่พระมหาเถรจุฬามณี ผูเปนเชื้อราชวงศพระรวงขางขุนศรีนาวนําถุม ไดกระทําการสรางวิหารและพระอัฏฐารสไว ความสําคัญอีกประการของจารึกลานทองหลักนี้ คือ การเปนจารึกที่ปรากฎรูป อักษรธรรมลานนาเกาทีส่ ดุ โดยปรากฎในสวนทีเ่ ปนภาษาบาลีตอนทายของเนือ้ ความ ทัง้ นี้ เนือ้ ความในสาสนสมเด็จทีไ่ ดกลาว ถึงจารึกหลักนีย้ งั แสดงใหเห็นถึงความพยายามอานและตีความทางประวัตศิ าสตรและโบราณคดีจากจารึกลานทองแผนนีด้ ว ย


หนังสือสมุดไทยจินดามณี ฉบับพระโหราธิบดี พุทธศตวรรษที่ ๒๔ (พ.ศ. ๒๓๒๕) กระดาษ หมอมเจาทัศนาฯ ประทานให เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๑ หองเอกสารโบราณ สํานักหอสมุดแหงชาติ

Chindamanee Book, First Thai language textbook 18th Century, (1782) Paper National Library,

หนังสือสมุดไทยเลมนีเ้ ปนฉบับทีค่ ดั ลอกมาจากจินดามณี ฉบับพระโหราธิบดี สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ทวา ปจจุบนั ยังไมพบวาจินดามณีฉบับใดมีอายุเกาไปถึงสมัยอยุธยา ดังนัน้ หนังสือสมุดไทยฉบับนีจ้ งึ ถือวาเปนจินดามณีฉบับลายมือ เขียนที่มีอายุเกาที่สุด ดังมีระบุวาเขียนขึ้นใน จ.ศ. ๑๑๔๔ (ตรงกับป พ.ศ. ๒๓๒๕) ภายในมีเนื้อหาอธิบายการแตงโคลง ฉันท กาพย กลอน, การจําแนกอักษร ๔๔ ตัว รวมถึงการผันวรรณยุกตและมาตราตัวสะกดตาง ๆ ซึ่งสองสมเด็จไดยกเอกสารชิ้นนี้ เปนตัวอยางสําหรับมีพระวินิจฉัยเรื่องสระ-วรรณยุกต นําไปสูการสรางสรรคแบบเรียนสมัยใหม จึงนับวาเปนเอกสารสําคัญที่ ถูกกลาวถึงในสาสนสมเด็จ วาดวยเรื่องพัฒนาการแบบเรียนไทย

เรื่องประดิษฐานพระสงฆสยามวงศในลังกาทวีป รัตนโกสินทร (พ.ศ. ๒๔๕๙) กระดาษ หองหนังสือหายาก สํานักหอสมุดแหงชาติ

Book ,The First establish Siam Wong Buddhism in Lanka Rattanakosin Period, 20th Century (1916) Paper W. 16.5 CM. L. 23 CM. Thick 3 CM. National Library

หนังสือเลมนี้เปนหนังสือประกอบงานพระศพพระองคเจาพรรณราย พระมารดาในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ทีท่ งั้ สองพระองคทรงอํานวยการสรางรวมกัน โดยสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ทรงเปนเจาภาพ สวนสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงรับเปนบรรณาธิการ คนควา รวบรวม และ เรียบเรียงเอกสาร ผานกระบวนการแกไข ตรวจซํ้า และ “บรุฟ” รวมกัน จนกระทั่งไดตีพิมพเปนหนังสือบันทึกความรู ดังที่ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงอธิบายวา “...จะเปนที่พอใจของผูที่ศึกษาโบราณคดีทั่วไป...” ถือไดวา เปนหนังสืออนุสรณงานศพเลมแรกทีถ่ กู กลาวถึงในหนังสือสาสนสมเด็จ และเปนตัวอยางหนังสือแจกในงาน ศพที่บรรจุเนื้อหาอันเปนความรู เผยแพรไปในวงกวางอีกทางหนึ่ง โดยธรรมเนียมปฏิบัติเชนนี้ยังคงสืบเนื่องมาจนถึงปจจุบัน


สองสมเด็จกับงานดานศิลปกรรม

“...เรื่องฝมือชางโบราณนั้น ตามที่หมอมฉันสังเกตเขาใจวาในสมัยครั้งกรุงธนบุรี ชางไทยเห็นจะเหลือนอยเต็มที ฝมือของที่ทําครั้งกรุงธนบุรีอยูขางหยาบมาก ฝมือชางมากลับดีขึ้นเมื่อรัชกาลที่ ๑ เห็นจะเปนชางที่หัดขึ้นใหมทั้งนั้น และจัด กวดขันการฝกหัดมาก เพราะตองสรางของตางๆ ตั้งแตเครื่องราชูปโภค ราชมนเทียรสถาน ราชยาน ตลอดจนวัดวาอาราม และรัชกาลที่ ๑ ถึง ๒๘ ป จึงเกิดชางฝมือดีมีขึ้นมาก แตพึงสังเกตไดอยางหนึ่งวาของที่สรางในรัชกาลที่ ๑ ทําตามแบบอยาง ครั้งกรุงศรีอยุธยาทั้งนั้น ถึงรัชกาลที่ ๒ จึงคิดแผลงไปตางๆ...”

วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ.๒๔๗๙ จากขอวินิจฉัยขางตนในพระนิพนธ “สาสนสมเด็จ” แสดงใหเห็นวางานศิลปกรรมเปนงานที่ตองไดรับการฟนฟู ฝกฝน ขัดเกลา เปนระยะเวลานานจึงจะไดชา งทีม่ คี วามชํานาญเชีย่ วชาญ และงานมีความปราณีตซึง่ งานศิลปกรรมทัง้ หลายใน ชวงยุคตนกรุงรัตนโกสินทรเปนการสรางงานขึน้ ใหมไมวา จะเปนราชยานราชมณเทียร และเครือ่ งราชูปโภค โดยใชเวลาในชวง รัชกาลที่ ๑ ถึง ๒๘ ป จึงเกิดชางฝมือขึ้นมาก งานศิลปกรรมจึงมีความสําคัญเสมือนเปนสวนหนึ่งในสังคมไทย และไดรับการ สืบทอดรักษาตอมา ดังที่พระองควิเคราะหวาหลังรัชกาลที่ ๑ สืบตอมารัชกาลที่ ๒ ไดมีการคิดสรางงานศิลปกรรมดานอื่นๆ ตอๆมา เห็นไดจากงานศิลปกรรมในชวงพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวมีความงดงามคงไวซึ่งศิลปกรรมไทยและวัฒนธรรมตะวันตกเขามาผสมผสานไดเปนอยางดี สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรา นุวัดติวงศ คือผูมีบทบาทสําคัญในการสืบสานงานศิลปกรรมใหคงอยูคูสังคมไทย ทั้งสองสมเด็จทรงมีพระปรีชาสามารถรอบรู วิชาการ ทรงวิเคราะหงานดานตางๆ ตามหลักเหตุและผลบนพื้นฐานของความเชี่ยวชาญในศิลปวิทยาการ โดยเฉพาะงาน ทางดานศิลปกรรม จึงกลาวไดวาทั้งสองพระองคเปนปราชญ และเปนบรมครูในงานศิลปกรรมไทยรวมถึงงานไทยประเพณี และงานศิลปกรรมไทยทีไ่ ดรบั อิทธิพลจากตะวันตก ทรงเปนผูม บี ทบาทสําคัญในการวางรากฐานงานศิลปกรรมของประเทศไทย ใหมีเอกลักษณและแสดงถึงวัฒนธรรมไทยมาจนปจจุบัน และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงไดรับการยกยองเปน “นายชางใหญแหงกรุงสยาม” ในพระนิพนธ “สาสนสมเด็จ” ทรงมีวินิจฉัยเกี่ยวกับงานศิลปกรรมอยูหลายรายการ งานศิลปกรรมที่ทรงวินิจฉัย ที่ใชประกอบการจัดนิทรรศการพิเศษเปนงานศิลปกรรมแบบไทยประเพณีและงานศิลปกรรมที่ไดรับอิทธิพลตะวันตกที่ยังคง สืบตอมาจนทุกวันนี้

กับงานดานศิลปกรรม Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๖๗


งานสถาปตยกรรมพระเมรุมาศ

ลักษณะทางสถาปตยกรรม ธีรชาติ วีรยุทธธานนท สถาปนิกชํานาญการ

“...อันชื่อวาเมรุนั้นนึกวาจะมาแตลักษณะแหงการปลูกสราง ที่ทําปราสาทใหญไวกลาง และทําระเบียงและกําแพง ลอมเปนชั้นๆ เชนปราสาทพระนครวัดเปนตน สิ่งที่แวดลอมเปรียบเหมือนเขาสัตตบริพันธ ปราสาทกลางจึงเปรียบเหมือนเขา พระเมรุ เมรุทเี่ ผาศพของเราก็เปนลักษณะอยางนัน้ มีคดมีซา งลอมปราสาททีเ่ ผาศพ จึงไดเรียกวาเมรุ ทีหลังไมไดทาํ คดทําซาง ทําแตที่เผาศพก็คงหลงเรียกวาเมรุอยูนั่นเอง...” วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๗๙

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศทรงออกแบบพระเมรุมาศพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ตามแบบแผนเมือ่ ครัง้ พระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั โดยเลือกใช ทรงบุษบก เชิงกลอน ๕ ชั้น แผนผังเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตั้งอยูบนฐานไพที ๒ ชั้น ความสูงจากพื้นดินถึงยอดฉัตรประมาณ ๓๔ เมตร ลักษณะโดยละเอียดปรากฏหลักฐานในราชกิจจานุเบกษา ดังนี้ “ รูปทรงอยางพระมณฑปปดทองสอดสีเสมือนหนึง่ ทองลงยาราชาวดี มีซุมชอฟาใบระกาปราลีหางนาคตามชั้นยอดและเปนพรหมจตุรพักตรอยูใตบัวกลุม ปลายยอดเปนมหา วชิราวุธ เพือ่ สําหรับรองรับนพปฎลเศวตฉัตรในภายหลัง และมีเฟอ งภูล กู ลุย หอยชายเพดานรอบพระเมรุ เพดานในพืน้ ขาวดาว ทอง มีนพปฎลเศวตฉัตรระบายรอยกรองดวยดอกไมเปนระยาภูอุบะแขวนลอย มียกพื้นสามชั้น ชั้นที่ ๑ มีฉัตรทองฉลุลาย ๗ ชั้นแลหอยไฟฟารอบพื้นชั้นลางทั้ง ๔ มุมพระเมรุ มุมละ ๓ ฉัตร รอบพระเมรุเปน ๑๒ มีเทวะรูปนั่งหยองแทรกหวาง ถือจามร กลางเปนชองหอยไฟฟาอีกมุมละ ๒ รอบชั้นลางเปน ๘ ตามแนวราชวัตรชั้นที่ ๒ มีฉัตรทองฉลุลาย ๗ ชั้น หอยไฟฟารอบฉัตร ชั้นลางทั้ง ๔ มุม ๆ ละ ๓ ฉัตร รอบพระเมรุเปน ๑๒ มีเทวะรูปนั่งหยองแทรกหวาง ถือจามร กลางเปนชองหอยไฟฟาอีกมุมละ ๒ รอบ ชั้นลางเปน ๘ เหมือนชั้น ๑ มีเสาไฟฟาทางทิศตวันออก ๔ เสา ปลูกพลับพลามุขเล็กไวหางตอจากพระเมรุมาศออก มาทางทิศตวันออกเปนที่ประดิษฐานพักพระโกษฐพระบรมศพและเปลื้องเครื่อง”๒ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงเลือกที่จะใชพระเมรุมาศ ทรงยอดบุษบก ตามอยางฐานานุศักดิ์ทางสถาปตยกรรมอันสูงที่สุดแสดงถึงพระเกียรติยศของพระมหากษัตริย การสืบทอดแนวความคิดพระ เมรุมาศคือการจําลองคติจกั รวาลอันมีเขาพระสุเมรุเปนศูนยกลาง พระมหากษัตริยป ระทับ การออกแบบพระเมรุมาศรัชกาลที่ ๖ เปน “พระเมรุมาศทรงบุษบก” บนฐานไพทีสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาดใหญทยี่ กสูงเปนการสืบทอดมาจากคติดงั กลาวซึง่ ผูอ อกแบบ พระเมรุมาศในสมัยตอมาลวนแลวแตยึดหลักความคิดและคติตามแนวทางของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ เปนตนแบบ

องคประกอบทางสถาปตยกรรม

แบบพระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูห วั ทรงมีพระบรมราชโองการแสดงพระราชประสงคในการทีจ่ ะจัดงาน ออกพระเมรุพระบรมศพของพระองคเองไวในพินัยกรรม ๑๗ ขอ๑ สรุปไดใจความวาทรงเนนถึงความรวดเร็วของการ กําหนดวันงานพระเมรุเร็ววันที่สุดที่จะทําได รวมถึงการรวบรัดกําหนดการลงใหนอย พระราชประสงคดังกลาวกอให เกิดรูปแบบพระเมรุมาศที่สงางาม เรียบงาย คลี่คลายจากพระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว งานออกแบบและกอสรางพระเมรุมาศทีเ่ ปนงานชัว่ คราวในทองสนามหลวง ถูกขอจํากัดทีเ่ หมาะสมกับระยะเวลาทีน่ บั จาก วันเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ ถึงวันออกพระเมรุในวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๔๖๘ เพียง ๑๒๐ วัน ๑ สมคิด จิระทัศนกุล.งานออกแบบสถาปตยกรรมไทยฝพระหัตถสมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ภาคตน. (กรุงเทพฯ : อมรินทรพริน้ ติง้ แอนดพบั ลิชชิง่ )

๑๖๘

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงใชองคประกอบทางสถาปตยกรรมของพระเมรุมาศสื่อสารออกมาเปน สัญลักษณที่สื่อความหมายตางๆ ของพระเมรุมาศใหสื่อถึงพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวดังที่ปรากฏในลายเสนฝพระหัตถ วชิระ ทรงใสสญ ั ลักษณวชิระไวบนปลายยอดสุดของพระเมรุมาศ เพื่อรองรับพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร วชิระเปนอาวุธของพระอินทรและ ตรงกับพระนามของพระองคตามพระปรมาภิไธย คือ “พระบาทสมเด็จพระ รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ”

๒ ม.ร.ว. แนงนอย ศักดิ์ศรี และคณะ, สถาปตยกรรมพระเมรุในสยาม เลม ๒. (กรุงเทพฯ : โรงพิมพกรุงเทพฯ), หนา ๑๖๘

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๖๙


นาค พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ทรงมีพระราชสมภพในป มะโรง นาคจึงใชสื่อถึงปพระราชสมภพ ลายเสนฝพระหัตถ คันทวยรับยอด บุษบกจึงทรงเนนหัวนาคในงานออกแบบ

สมุดภาพรามเกียรติ์ รัฐพงศ เกตุรวม ภัณฑารักษปฏิบัติการ “...สมุดรูปภาพเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งโปรดประทานไปพิจารณา แลวสงถวายคืนมาเลมนี้ คิดเห็นวาเปนเครื่องมือ อยางหนึ่ง ซึ่งรางเทียบที่สําหรับใชประกอบการเขียนพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดารามในยุคหนึ่ง……” วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๔๗๑

ขอสันนิษฐานของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ในพระนิพนธ เรื่อง “สาสนสมเด็จ” กลาวถึงงานศิลปกรรมชิ้นสําคัญชิ้นหนึ่ง ซึ่งเขียนลงบนสมุดไทย ปจจุบัน เก็บรักษาไวในหอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร คือ “สมุดภาพรามเกียรติ”์ ซึง่ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดตรัสถามสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ในสาสนสมเด็จ ลงวันที่ ๑๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๐ โดยสามารถสรุปขอวินิจฉัยไดเปน ๒ ประการ ประการแรก คือ วัตถุประสงคในการเขียนภาพ ทรงวินิจฉัยวา ภาพเรื่องรามเกียรติ์บนสมุดไทยดังกลาว เปนแบบรางจิตรกรรมฝาผนังพระระเบียงคต วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ความวา “สมุดรูปภาพเรื่องรามเกียรติ์เลมนี้ รูไดวาเปนรางเทียบสําหรับเขียนพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ดวยมีหนังสือ จดหมายไวตรงตอนอาสาแลสั่งเมืองวา ขางประตูฉนวนดานตวันตกถึงมุม ๓ หอง…..”

ตราประจําพระองครชั กาลที๖่ เปนรูปมังกร ถือวชิระ สัญลักษณดงั กลาวถูกนํามาใชอกี ครัง้ ในศาลา ธรรมทานที่สรางขึ้นระหวางทิมคด หนาพระที่นั่งดุสิต มหาปราสาทระหวางตั้งพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

พรหมจตุรพักตร ทรงออกแบบพรหมพักตรไวบนบัลลังกแทนทีอ่ งคประกอบ ชัน้ เหมในเครือ่ งยอด ธรรมเนียมการออกแบบพระเมรุมาศโดยมีรปู แบบพรหม พักตรในเรือนยอดสําหรับพระมหากษัตริยป รากฏหลักฐานการใชประดับในเมรุ เอกมาตัง้ แตกรุงศรีอยุธยา จนถึงในสมัยรัตนโกสินทรกม็ ปี รากฏในโคลงถวาย พระเพลิงพระบรมอัฐพิ ระเจาหลวง ทีว่ า “นวสูร พรหมพักรเพี้ยง มุขระเหิดเทิดธารล

ภักตรพรหม ลิ่วไม”๓

การนําพรหมพักตรมาใชเพือ่ สือ่ ความหมายพระอิสริยยศในพระเมรุมาศ ทรงบุษบก ใหสื่อความหมายเชนเดียวกับงานพระเมรุมาศใหญเต็มตํารา

๓ เกรียงไกร เกิดศิริ, งานพระเมรุ : ศิลปสถาปตยกรรมประวัติศาสตรและวัฒนธรรมเกี่ยวเนือ่ ง. (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน).

๑๗๐

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๗๑


ภาพรางในสมุดภาพรามเกียรติ์ ตอน ศึกทาวจักรวรรดิ ไมทราบนามผูราง

นอกจากนัน้ ยังทรงวินจิ ฉัยวาเปนภาพรางจิตรกรรมรามเกียรติป์ ระดับพระระเบียงคด วัดพระศรีรตั นศาสดาราม โดย ทรงพิจารณาจากขอความที่ผูเขียนภาพรางสมุดไทย ไดเขียนวา “ขางประตูฉนวนดานตะวันตกถึงมุม ๓ หอง…..” ซึ่งเปนการ วางตําแหนงหองภาพกับแนวผนังของพระระเบียงคด ประเด็นสําคัญที่ตามมา นอกจากวัตถุประสงคของการเขียนภาพราง ดังกลาว ประการที่สอง คือ การพยายามหาชวงเวลาที่ภาพรางดังกลาวถูกเขียนขึ้น เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกับการเขียนภาพ ประดับฝาผนังจริง ซึ่งมีการเขียน ตลอดจนลบและเขียนใหมหลายครั้ง ตามเหตุการณสําคัญของบานเมือง ตั้งแตชวงแรก สถาปนากรุงรัตนโกสินทร จนกระทั่งครั้งลาสุด ชวงกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เพียง ๑ – ๒ ป ราว พุทธศักราช ๒๔๗๒ – ๒๔๗๓ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว

ภาพรางในสมุดภาพรามเกียรติ์ ตอน ทศกัณฑสั่งเมือง สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงสันนิษฐานวา พระอาจารยแดง วัดหงสรัตนาราม เปนผูราง

ในสาสนตอบกลับฉบับแรก ลงวันที่ ๑๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๐ สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงวินจิ ฉัยจากรูปแบบลายเสนของงานจิตรกรรม ทรงเห็นวา เปนรูปแบบของงานจิตรกรรมไทย กอนรับอิทธิพลตะวันตก และสะทอนอิทธิพล ของศิลปะจีน ซึ่งเปนที่นิยมในสมัยรัชกาลที่ ๓ ความวา “แตถึงกระนั้นก็ยังรูไดวาเปนฝมือชาง ในรัชกาลที่ ๓ ราง เพราะเขาไม (ภูเขาและตนไม) เปนทวงทีอยางจีน บานเมืองเจือเกงจีน ปราสาท ก็เปนอยางวิมาน ลวนเปนความนิยมในสมัยนั้น แลสมุดก็เปนชนิดที่ทําใชในรัชกาลที่ ๓ นาจะ เปนสําหรับเขียนคราวแรกในรัชกาลที่ ๓” ทวายัง คงกลาวถึงความเปนไปไดทสี่ มุดภาพรางดังกลาว อาจเขียนขึน้ หลังสมัยรัชกาลที่ ๓ ดวยก็เปนไดวา รายละเอียดภาพราง ตอน ทศกัณฑสั่งเมือง ที่มุมซายบน ปรากฏขอความ “ขางประตูฉนวนดานตะวันตกถึงมุม ๓ หอง”

รายละเอียดภาพราง ตอน ศึกทาวจักรวรรดิ ไมทราบนามผูราง ในภาพ นิลพัท ทอดกายเปนสะพานใหพระพรตและพระสัตรุตขามไปประชิดกรุงลงกา ที่เขามรกต

๑๗๒

“…แตไมแนแกใจ อาจจะเปนสําหรับเขียนคราวที่ ๒ ในรัชกาลที่ ๕ ก็ได ดวยเวลานั้นชางเกาๆ ครั้งรัชกาลที่ ๓ ยังมีตัวเหลือ อยูมาก อาจจะมาเปนนายงานรางกะใหเขียนก็ได แตคราวหลังครั้งรัชกาลที่ ๕ นั้นไมใชเปนแน” อยางไรก็ตาม ตอนทายของ สาสนฉบับแรกนี้ เนนยํ้าวา สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ คอนขางจะเชื่อวา ภาพรางในสมุด ไทยดังกลาวนาจะรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ ดังขอความวา “ในการที่จะพยากรณสมุดนี้ ก็เปนอันจะมีผิดไมได เปนรางเทียบ สําหรับเขียนพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดารามครั้งแรก ในรัชกาลที่ ๓ เปนมั่นคง”

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๗๓


ภายหลังจากสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ มีสาสนตอบขอสันนิษฐานวาดวย สมุดภาพรามเกียรติ์ฉบับแรกไปแลว ทรงมีสาสนฉบับที่ ๒ ถึงสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ซึ่งทิ้งชวงเวลาหางจากฉบับแรก นานถึง ๑๑ ป ลงวันที่ ๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๗๑ โดยเนื้อความในสาสนฉบับที่ ๒ นี้ พระองคทรงเสนอขอสมมุตฐิ านใหม ในการกําหนดอายุภาพรางรามเกียรติบ์ นสมุดไทย ซึง่ พอจะสรุปเปนประเด็นสําคัญไดดงั นี้ ประเด็นแรก พระองคทรงจําฝมือและรูปแบบการเขียนภาพของนายชางได จากการที่ทรงคุนเคยกับลายเสนงาน จิตรกรรมไทย เนื่องดวยพระองคเองเปนนายชางใหญแหงยุคและทรงงานดานนี้มาเกือบตลอดพระชนมชีพ จึงทรงวินิจฉัย ภาพรางรามเกียรติ์ ๒ ตอนในสมุดวา รางโดยนายชางมีชื่อ ๒ ทาน คือ ตอนสั่งเมือง ทรงวินิจฉัยวารางโดย พระอาจารยแดง วัดหงสรัตนาราม และตอนทศกัณฑลม ทรงวินิจฉัยวารางโดยพระยาหัตถการบัญชา (กัน) จางวางชางสิบหมู สมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ประเด็นทีส่ อง ทรงเสนอขอสมมุตฐิ านการกําหนดอายุภาพจิตรกรรมใหมวา ไมนา จะรางขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แตเปน ไปไดที่จะรางขึ้นชวงตนสมัยรัชกาลที่ ๕ มากกวา โดยทรงวินิจฉัยวา ในสมัยรัชกาลที่ ๓ นั้นพระอาจารยแดง วัดหงสรัตนาราม มีอายุนอยเกินไป ยังเปนเด็กอยู ไมนาจะรางจิตรกรรมดังกลาวได ความวา “พระอาจารยแดงถึงเกิดในรัชกาลที่ ๓ ก็จริง แตยังเปนเด็กทําการยังไมได” และเสนอตอวา “พระยาหัตถการเปนผูเชี่ยวชาญขึ้นชื่อมาแตรัชกาลที่ ๔ อยูตอมาใน รัชกาลที่ ๕ จําไดวาจนถึงประกา พ.ศ. ๒๔๑๖ นั้นเปนแนนอน สวนพระอาจารยแดงก็มามีชื่อเสียงขึ้นเมื่อตนรัชกาลที่ ๕”

ภาพรางในสมุดภาพรามเกียรติ์ ตอน ทศกัณฑลม สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงสันนิษฐานวา พระยาหัตถการบัญชา (กัน) เปนผูราง

จากประเด็นที่สอง จึงนํามาสูการสรุปวา ภาพรางรามเกียรติ์บนสมุดไทย เปนไปไดวารางขึ้นในชวงตนรัชกาลที่ ๕ และสมุดนาจะเปนสมบัติของพระยาหัตการบัญชา ดังปรากฏเปนขอความในสาสนวา “ชางมีชื่อทั้งสองคนนี้มีโอกาสที่จะ ทําดวยกันไดในคราวตนรัชกาลที่ ๕ ถาจะเดาอยางไมยับยั้งแลว จะตองวาสมุดเลมนี้เปนของพระยาหัตถการ (กัน) รางขึ้น เมื่อเขียนพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดารามคราวตนรัชกาลที่ ๕” ทั้งนื้ ทรงยกเหตุผลประกอบขอสรุป ๔ ขอ คือ

๑๗๔

๑. โอกาสที่พระยาหัตถการบัญชาจะทํารวมกับพระอาจารยแดงไดเชนวามาแลว มีอยูคราวนั้นคราวเดียว (คือชวง ตนรัชกาลที่ ๕) ๒. ผูร า งจะตองเปนชางทีน่ บั ถือทัว่ กัน วาเปนผูใ หญรกู ารงาน พระยาหัตถการบัญชาเปนชางเขียนมาแตรชั กาลที่ ๓ แตวาเปนชั้นเล็ก มาเฟองฟูชื่อเสียงขึ้นในรัชกาลที่ ๔ ตอมาถึงตนรัชกาลที่ ๕ ไมมีชางคนใดที่มีฝมือดีและเปนผูใหญยิ่งไปกวา นั้นอีกแลว ๓. พระเจาบรมวงศเธอ กรมขุนเจริญผลภูลสวัสดิ ไดทรงกํากับการในวัดพระศรีรัตนศาสดารามคงเปนผูทรง อํานวยการซอมแซม ทัง้ ทานไดทรงวาชางมหาดเล็กดวย พระยาหัตถการบัญชาก็เปนจางวางชางมหาดเล็กดวยเปนผูใ หญดว ย ทานคงจะทรงเลือกเอาพระยาหัตถการบัญชาเปนผูราง มากกวาที่จะเลือกเอาคนอื่น ๔. พระยาหัตถการบัญชาเปนชางยุครัชกาลที่ ๓ ซึง่ เปนเวลาทีย่ งั ไมรเู ขียนใหเหมือนของจริง และยังไมเปนเวลานิยม ฝรัง่ (ความนิยมเขียนอยางฝรัง่ นัน้ พระอาจารยอนิ โคง (ขรัวอินโขง จิตรกรไทยคนแรกทีน่ าํ เอาการเขียนภาพแบบตะวันตก โดย เฉพาะการแสดงความลึกของภาพดวยเสนนําสายตา (Linear Perspective) มาประยุกตใชกับงานจิตรกรรมไทยประเพณี) เปนผูนําขึ้นในรัชกาลที่ ๔) ในสมุดรางนั้นเปนแบบเกาอยางที่เคยทําในรัชกาลที่ ๓ ตามที่พระยาหัตถการบัญชาถนัด นอกจากนี้ ตอนทายของสาสนฉบับที่ ๒ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ทรงอธิบาย เพิม่ เติมถึงเหตุทวี่ า ทําไมรูปแบบของงานจิตรกรรมทีด่ คู ลายวาเขียนขึน้ ในรัชกาลที่ ๓ อยางสมุดภาพรามเกียรติฉ์ บับนี้ จึงควร เปนงานในชวงตนรัชกาลที่ ๕ ซึ่งอาจมีผูแยงทานในภายหลังวา ทําไมผลงานในชวงตนรัชกาลที่ ๕ ถึงไมปรากฏรูปแบบที่รับ อิทธิพลตะวันตกอยางเต็มตัว ดังเชนงานจิตรกรรมชิ้นอื่นๆ ที่เขียนในสมัยรัชกาลที่ ๕ แตกลับมีรูปแบบเปนงานจิตรกรรมไทย ประเพณี ที่รับอิทธิพลจีน ซึ่งเปนแนวโนมความนิยมของงานจิตรกรรมในสมัยรัชกาลที่ ๓ ความวา “อาจมี คํ า ค า นได ว  า รู ป เขี ย นพระระเบี ย งวั ด พระศรี รั ต น ศาสดาราม คราวตนรัชกาลที่ ๕ นัน้ เต็มไปดวยปราสาทอยางของจริงและ ตึกฝรัง่ มากแลวในสมุดรางนีไ้ มมเี ลย จะเปนรางสําหรับคราวนัน้ อยางไรได ขอประทานแกวา การทีน่ ายชางใหญรา งใหชา งเขียนนัน้ หาไดรา งใหอยาง เปนรูปชัดเจนไม ถูกเวลาอารมณดีก็รางปรากฏเปนรูปพอดูได ถาถูกเวลา อารมณไมดีก็ไมเปนรูป เชนแมนํ้าก็ขีดลงสองเสนหมายวาเปนฝง แลวจด หนังสือไววา “แมนํ้า” เขียนวงกลม ๆ เปนกลุมเรียงไปเปนแถวหมายวา เปนศีรษ ะ แลวจดหนังสือไววา “พลยัก” เทานัน้ อาการรางเชนนีอ้ าจทอด พระเนตรเห็นไดในสมุดรางเลมนี้ก็มีทําอยูเหมือนกัน ชางผูรับเขียนหอง จําเปนจะตองเขียนตามแตฉะเพาะแผนที่เทานั้น ไมจําเปนตองเขียนรูป ตามที่ผูรางรางให ใครจะเขียนพลิกแพลงไปอยางไรก็ไดไมหาม ตามแตผู เขียนจะชอบทํา แบบรางเทียบกับที่เขียนจริงจะเหมือนกันไมไดนอกจาก ระเบียบที่วางแผนที่” อยางไรก็ตาม สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวดั ติวงศ ก็ทรงนิพนธทงิ้ ทายไววา ขอสมมุตฐิ านของพระองค เปน แตเพียงการคาดคะเน ความวา “แตความเห็นหมดทัง้ สิน้ นี้ มีคาดคะเนเปน ที่ตั้ง ถาผิดพลั้งความจริงไปในขอใดขอประทานอภัยโทษ”

รายละเอียดภาพราง ตอน ทศกัณฑลม

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๗๕


ตาลปตรพัดพระ ดาริกา ธนะศักดิ์ศิริ ภัณฑารักษชํานาญการพิเศษ “...อันตาลปตรที่พระใชนั้นหมอมฉันเห็นวาเดิมมิใชของพระคิดขึ้น หรือคิดขึ้นสําหรับพระ คงเปนของประดิษฐขึ้น สําหรับพัดรําเพยลมและใชกันเปนสามัญในอินเดียมาแตกอนพุทธกาล ขอนี้พึงเห็นไดดวยพัดวาลวิชนี และพัดโบกก็ทําดวย ใบตาลทั้งนั้น...” วันที่ ๖ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๐ ในพระนิพนธ “สาสนสมเด็จ” สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงวินิจฉัยวา “พัดพระ” หรือ ตาลปตรทีพ่ ระใช มีพฒ ั นาการมาจากพัดวาลวิชนีในอินเดีย แตเดิมทําดวยใบตาล และมีพดั โบกทีท่ าํ ดวยใบตาลเชนเดียวกัน จนตอมาตาลปตรพัดไทยเอาแบบพัดอยางตมนํ้ารอนมาใช ทําขนาดใหญขึ้นมีตับคาบใบตาลตลอดยอด พัดพระอยางที่หุมผา ก็ยกั เยือ้ งมาแตแบบพัดอยางตมนํา้ รอนแตปรับรูปแบบใหมโี ครงมีขอบแลวเอาผาหรือแพรหุม ขางนอก รูปทรงโครงของพัดจึง ตองคาบตับรักษารูปพัด๔ ในปฐมสมโพธิกถากลาวถึงพัดวาลวิชนีอยูหลายแหง เชน ในพุทธบูชาเมื่อพระพุทธเจาบําเพ็ญสมาธิ ณ ใตตนโพธิ์ กอนทีจ่ ะตรัสรูเ ปนพระสัมมาสัมพุทธเจา บรรดาเทพยดาตางชืน่ ชมและตางนําเครือ่ งสักการะมาบูชา เครือ่ งบูชาอยางหนึง่ คือ ดอกไมทิพยที่ตกแตงเปนพัดวาลวิชนี๕ พระปรีชาสามารถที่พระองควินิจฉัยนั้นทําใหเห็นวิวัฒนาการของพัดที่พระสงฆใชโดยมักใชในพิธีกรรมนาจะสราง ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ แรกเริ่มทําจากใบตาลจึงเรียกวา “ตาลปตร” ตอมาเอาไมผูกโครงขึ้นผา เรียกวา “พัดรอง” พัดพระ เมื่อใชสําหรับเปนเครื่องยศพระเถระ เรียกวา “พัดยศ” ซึ่งไทยเราไดแบบอยางมาจากลังกา ความสําคัญของตาลปตรพัดพระ พัด หมายถึง เครื่องโบกหรือกระพือลม ภาษาบาลี เรียกวา วิชนี ไทยนาจะแปลงเปนพัชนี แลวตอมาคงเหลือแค

พัดยศ หรือ พัดเกียรติยศ เปนเครื่องราชสักการะอยางหนึ่ง ที่พระมหากษัตริยโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นเพื่อ พระราชทานแกพระภิกษุ ผูม ฐี านันดรในคณะสงฆเปนการประกาศเกียรติคณ ุ เพิม่ ขวัญและกําลังใจแกพระสงฆผปู ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ิ ชอบ ตามอยางโบราณราชประเพณี โดยถวายแกพระสังฆาธิการในโอกาสรับพระราชทานสมณศักดิ์ ซึ่งจะนํามาใชเฉพาะงาน รัฐพิธีและการพระราชพิธีเทานั้น เนื่องจาก การพระราชทานตาลปตรนั้นถือวาเปนของควรแกสมณะสําหรับพระสงฆ พัดยศ พระราชาคณะแตกอนเรียก ตาลปตรพัดแฉก๘ พัดรอง พัดที่พระมหากษัตริยหรือพระบรมวงศานุวงศโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นถวายแกพระสงฆเปนที่ระลึกในการ พระราชพิธสี าํ คัญ หรือ ประชาชนสรางขึน้ เพือ่ ถวายเปนพุทธบูชาตามคตินยิ มทางพระพุทธศาสนา พัดรองจะใชในงานพิธกี รรม งานบุญทัว่ ไป ตางจากพัดยศทีจ่ ะใชเฉพาะในงานพระราชพิธเี ทานัน้ พัดรองหรือพัดตางๆ ทีใ่ ชในพิธกี ารสันนิษฐานวาสรางขึน้ สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว คติการถือตาลปตรของพระสงฆไมปรากฏวาเปนคติดงั้ เดิมมาจากอินเดีย เนือ่ งจากยังไมพบหลักฐานในประติมากรรม รูปเคารพในสมัยตางๆ แตปรากฏในปฐมสมโพธิกถาหนังสือพุทธประวัติที่เขียนขึ้นที่ลังกา พบวาเทพบริวารที่ขนาบสองขาง ของพระพุทธเจา คือ สันดุสิตเทวราชถือสิ่งของรูปรางคลายพัดใบตาล (วิชนี) ที่เบื้องขวา อีกองค คือ สยามะเทวราชทรงถือ จามร (แส) อยูเบื้องซาย สันนิษฐานวาเปนเครื่องสูงที่ใชถวายพระสมณศักดิ์แหงพระพุทธเจา ดังนั้น คติการที่พระสงฆถือ ตาลปตรไปแสดงธรรมตามที่ตางๆ จึงนาจะมาจากลังกา๙ เมื่อไทยรับความเชื่อลัทธิลังกาวงศเขามาจึงรับประเพณีพิธีกรรม ตางๆ ไมวาจะเปนการถือตาลปตรและการตั้งสมณศักดิ์ ประกอบกับพระวินจิ ฉัยของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชนุภาพ กลาววา ในหนังสือ จารึกกัลยานี พระเจาหงสาวดีจะฟนพระศาสนาในรามัญประเทศจึงสงพระเถระมอญ ๒๒ รูป ไปยังสิงหฬทวีปใหไปบวชแปลงเปนนิกาย ลังกาวงศเมื่อบวชแลวพระเจาภูวเนกพาหุเจากรุงเมืองสิงหฬ ณ เมืองโคลัมโบ ทรงตั้งพระเถระมอญเหลานี้ใหมีราชทินนาม ตางๆ และพระราชทานของควรแกสมณะ ซึ่งมีตาลปตรมีดามเปนงาดวยอันหนึ่ง ตาลปตรลังกาดังกลาวเปนของโบราณอยูที่ พิพธิ ภัณฑสถานในกรุงเทพฯ เปนพัดพืน้ แพรคลายพัดรองของไทย ดังนัน้ การทีท่ รงตัง้ พระเถระใหมรี าชทินนาม การถวายพัดยศ ไทยไดแบบอยางมาจากลังกา๑๐ ดังนั้น ตาลปตรพัดพระจึงถือวาเปน “สมณบริขาร” อยางหนึ่งที่ชาวบานนิยมทําถวายพระสงฆ แตแรกนาจะเปน พัดใบตาลจนพัฒนาตอมาเปนวัสดุอยางอืน่ ทีห่ ายากและมีคา มากขึน้ วิจติ รบรรจงมากขึน้ พัดจึงใชเปนเครือ่ งสมณบริขารและ เครื่องแสดงสมณศักดิ์ดวย๑๑

พัด๖ และใชเรียกตอกันมา พัดสมัยแรกเริ่มคือพัดใบตาลมีหลายรูปแบบทั้งแบบมีดามคาดตับตรงกลางและคาดตับดานขาง

พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ.๒๕๕๔ ใหความหมายวา (ตาละปด) น. พัดทําดวยใบตาล มีดามยาว สําหรับพระภิกษุถือบังหนา ใชในพิธีกรรมเชนในเวลาใหศีล ตอมาอนุโลมเรียกพัดที่ทําดวยผาหรือไหม ซึ่งมีลักษณะคลายคลึง เชนนั้นวา ตาลปตรดวย, ตาลิปตร ก็วา๗ พัดพระจึงไดนามเรียกวา “ตาลปตร” สืบมาแมจะดัดแปลงไปเปนอยางอื่น ตาลปตร จึงหมายถึง พัดที่ทําดวยใบตาล กอนจะมี พัดรอง พัดยศ ที่ใชในพิธีกรรมตางๆ นั้น จะใชพัดใบตาลกันโดยทั่วไป ตอมาจึงทํา ตาลปตรเพื่อใชในโอกาสตางๆ เชน ๔ ๕ ๖ ๗

๑๗๖

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, สาสนสมเด็จ, (กรมศิลปากร) ณัฏฐภัทร จันทวิช, ตาลปตร และเครื่องประกอบสมณศักดิ์, (กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ,๒๕๒๙), ๑. ณัฏฐภัทร จันทวิช, เรื่องเดียวกัน, หนา ๑. มินท อดุลยรัฐธาดา, พัดยศ ศาสนศิลป แผนดินไทย, (บริษัทอมรินทรบุคเซ็นเตอร:บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด, ๒๕๓๗), หนา๑๙.

๘ ดวงจิตร จิตรพงศ, ตาลปตร, (โรงพิมพพระจันทร:๒๕๐๒), หนา๑. ๙ ณัฏฐภัทร จันทวิช, เรื่องเดียวกัน, หนา ๕. ๑๐ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, เรื่องเดียวกัน ๑๑ ไพโรจน รัตนพล, เพลินพิศ กําราญ, เบญจมาส แพรทอง, บุญเตือน ศรีวรพจน, พัดรองงานพระราชพิธีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล

อดุลยเดช, (กรุงเทพฯ : รุงศิลปการพิมพ), หนา๓๒.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๗๗


ภาพรางฝพระหัตถตาลปตรของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ นายชางใหญแหงกรุงสยาม เมื่อกลาวถึงตาลปตรแลว สิ่งที่ควรรูอีกประการหนึ่ง คือ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัด ติวงศ ทรงเชี่ยวชาญในการออกแบบภาพ ลวดลายและตัวอักษรที่ปรากฏบนตาลปตร ดวยวิธีการปกลายนั้นเปนพระราชนิยม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวซึ่งทรงใหความสําคัญกับการปรับปรุงสงเสริมศิลปกรรมทุกแขนง

พัดหงสคําเปลว พัดรองที่ทรงเขียนประทานแดหมอมเจาอิทธิเทพสรรค กฤดากร สําหรับงานศพ หมอมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา ผูเปนมารดา เมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๑ หมอมเจาอิทธิเทพสรรคเปนผูระบายสีบนภาพรางตนแบบ มีตรา “น” ปรากฎในลายพัด

การประดิษฐตาลปตรพัดรองจึงเปนงานศิลปกรรมแขนงหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงให ความสําคัญเพราะเมือ่ จะทรงบําเพ็ญพระราชกุศลสิง่ ใดขึน้ เปนพิเศษ จะทรงมีพระราชประสงคใหทาํ พัดรองถวายพระขึน้ โดย เฉพาะตามโอกาสสําคัญเพือ่ เปนของทีร่ ะลึกในงานนัน้ พัดรองจึงไดรบั การปรับปรุงการปกและสงเสริมใหประดิษฐขนึ้ เปนอันมาก สําหรับการออกแบบนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงไววางพระราชหฤทัยใหสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เขียนตามแบบที่ทรงมีพระราชดําริ บางครั้งโปรดฯ ใหคิดแบบถวาย เมื่อ พระราชทานอนุมัติจึงใชได พัดที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศทรงออกแบบและเขียนภาพ รางในรัชกาลที่ ๕ นั้น เปนพัดรองของหลวงเสียเปนสวนมาก๑๒ ครัน้ ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ชวงนี้ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรา นุวัดติวงศทรงรับออกแบบถวายเจานายพี่นองและผูอื่น จึงเริ่มทรงใชตรา “น” ซอนไวในลายพัด การคิดออกแบบผูกลายของ พระองค จะออกแบบใหเหมาะสมกับผูเปนเจาของพัดตามความหมายของชื่อ การใชสัญลักษณที่จะเปนตัวแทนเจาของพัด การเขียนตัวอักษรเปนคาถาลงบนพัด การเขียนระบุปพุทธศักราช เปนตน ตาลปตรที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงออกแบบนั้นมีความงดงามดวยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น ดัง “พัดบรมราชาภิเษก” พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๗) เมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๘ ในภาพ รางปรากฏตรา “น” อยูที่ดานลางขวา

พั ด หงส คํ า เปลว พั ด รองงานศพหม อ มสุ ภ าพ

กฤษดากร ณ อยุธยา ในกรมพระนเรศวรฤทธิ์ บัวสลักคําวา “ส.ก.ว.” ดานหลังบุผา สีกลีบบัวหลวง” บัวดานหลังสลักวา “๒๔๐๑ ๒๔๖๐” ตราหงสและ ตราดอกไมบนฉากหลังสีขาวอมเขียว ปกไหมตางสี ไลสีหงสเปนคําเปรียบของความสุภาพ๑๔

พัดรองงานพระบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูห วั สมเด็จเจาฟากรมพระยา นริศรานุวัติวงศ ทรงเขียนทูลเกลาฯ ถวายใน รัชกาลที่ ๗ พื้นแพรสีเขียวปกเปนรูป “แสงศร” หรือ “สามศร”เครื่องหมายประจําพระองค๑๓ ภายใต พ ระมหาพิ ชั ย มงกุ ฎ สองข า งป ก รู ป จามรและอุณาโลม มีอักษรขอความลอมรอบ ตาลป ต รว า “พระบาทสมเดจพระปรมิ น ทร มหาประชาธิปกพระปกเกลาเจาอยูหัว บรม ราชาภิเษก ๒๔๖๘ ๑๒ ดวงจิตร จิตรพงศ, เรื่องเดียวกัน, หนา๗๐. ๑๓ ดวงจิตร จิตรพงศ, เรื่องเดียวกัน, ไมมีเลขหนา.

๑๗๘

ภาพรางตนแบบพัดหงสคําเปลวฝพระหัตถ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัติวงศ ทรงเขียนประทาน แดหมอมเจาอิทธิเทพสรรค กฤดากร สําหรับงานศพ หมอมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา พ.ศ. ๒๔๖๑ ไดรับ มาจากกองหัตถศิลป กรมศิลปากร

ดวยพระอัจฉริยะของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ที่ไมเพียงแตออกแบบ สถาปตยกรรมขนาดใหญ แตยังทรงออกแบบลวดลายบนตาลปตรพัดยศ สําหรับเปนเครื่องประกอบสมณศักดิ์ของพระเถระ พัดรอง สําหรับใชในงานพิธมี งคลตางๆ พัดสังเค็ด สําหรับในงานพระศพหรืองานศพดวยความสวยงามวิจติ รบรรจงเปนมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมไทยดานศิลปกรรมทีท่ รงคุณคาทีย่ งั คงมีการทําสืบทอดตอมาจนทุกวันนีก้ ลายเปนมรดกภูมปิ ญ  ญาของคนไทย ดวยสายพระเนตรอันยาวไกลของพระมหากษัตริยไทยที่ทรงใหความสําคัญและทรงสนับสนุนตองานศิลปกรรมไทย ประกอบ กับสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศทรงออกแบบลวดลายบนตาลปตร สมดังฉายา “นายชาง ใหญแหงกรุงสยาม” ภาพร า งต น แบบฝ พ ระหั ต ถ ส มเด็ จ เจ า ฟ า กรมพระยานริศรานุวัติวงศ พัดบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ ๗) ไดรับมาจากกองหัตถศิลป กรมศิลปากร

๑๔ ดวงจิตร จิตรพงศ, เรื่องเดียวกัน, ไมมีเลขหนา.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๗๙


นายมิกี้ (เอส. มิกี้) S.Mickey หรือ นายมิกิ ซากาเอะ (Miki Sakae) หรือ นายวัฒนา ตรีพฤกษพนั ธ เปนผูเ ชีย่ วชาญดานการลงรักทีร่ ฐั บาลญีป่ นุ คัดเลือกใหเขามาปฏิบัติงานในประเทศไทยตามคํารองขอของรัฐบาลไทย มาตัง้ ภูมลิ าํ เนาในประเทศไทยตัง้ แตป พุทธศักราช ๒๔๕๓ เคยรับราชการ เปนขาราชการในกระทรวงวัง และกรมศิลปากร จนถึง พุทธศักราช ๒๔๘๒๑๗ สอนเรื่องชางรักไดเพิ่มศักยภาพการทําเครื่องรักของไทยที่มีอยูแลว ซึ่ง ไดแก ดานงานประดับมุก งานลายรดนํ้า งานลายกํามะลอ งานประดับ กระจกและงานติดทอง เพิม่ กระบวนการดานชางรักจากวัฒนธรรมดานชาง ของประเทศญี่ปุนใหแกนักศึกษาของไทยดวย

งานประณีตศิลปไทย ประภาพร ตราชูชาติ นักวิชาการชางศิลปชํานาญการพิเศษ “...เมื่อวานนี้หมอมฉันไดเรียกตัวนายมิกี้ ชางยี่ปุนไปพบกันที่พิพิธภัณฑสถานสําหรับพระนครชวนใหอยูตอ ชวน คราวนี้รับวาจะอยูแตขอความกรุณาใหไดลาไปเยี่ยมบานสักคราวหนึ่ง เปนเวลาสัก ๙ เดือนแลวจะกลับมา หมอมฉันรับ วาจะทูลใหทานทรงทราบ ดวยเห็นวาการขอลา ๙ เดือนนั้น ไมผิดดวยอยางธรรมเนียมชาวตางประเทศที่มารับราชการอยู ในประเทศนี้ นายมิกี้บอกวาตั้งแตไดมารับราชการอยู ๑๑ ป ไดไปเยี่ยมบานครั้งเดียว จึงใครจะไปอีกสักครั้งหนึ่ง...”๑๕

นายมิกี้ ขณะรับราชการกรมศิลปากร กําลังแสดงการลงรักเครื่องมุก ภาพจากหนังสือตําราสําหรับการทําเครื่องภาชนะตางๆ ทารัก ทาสี ทาสีนํ้ามัน ทาวานิช

วันที่ ๘ มีนาคม ๒๔๗๒

อนุรักษ สืบสาน เครื่องมือชางรักของครูมิกิ ซากาเอะ “นายมิกี้” ชางชาวญี่ปุนที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธท กรมพระยาราชานุภาพกลาวถึงนั้น สืบคนไดวา ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๖ ทรงเล็งเห็นความสําคัญงานดานมรดกศิลปวัฒนธรรมทีเ่ ปนรากเหงาของ ปวงชนชาวไทย โดยทรงรวบรวมชางมหาดเล็กจากกระทรวงวัง กรมพิพิธภัณฑ กระทรวงธรรมการ ตั้งกรมศิลปากร ในวันที่ ๒๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๕๔ ไมเพียงแตรวมชางฝมือในประเทศเทานั้น แตทรงรวบรวมชางผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศ มาเสริมงานศิลปกรรมของไทยใหมีความทัดเทียมกับอารยประเทศโดยรัฐบาลไทยเชิญครูชางศิลปกรรมจากตางชาติเขามา ชวยพัฒนางานดานชางทั้งยังทรงจัดตั้งโรงเรียนเตรียมศิลปกรรม (ตอมาไดพัฒนามาเปนมหาวิทยาลัยศิลปากร) และทรงจัด ตั้งโรงเรียนเพาะชาง เพื่อทํานุบํารุงและพัฒนางานดานศิลปกรรมของไทยใหเจริญยิ่งขึ้นไป ชาวตางชาติที่มีบทบาทสําคัญใน งานศิลปกรรมไทย ๒ ทาน คืออาจารยศิลป พีระศรี (เฟโรจี) เปนชาวอิตาเลี่ยน สอนวิชาจิตรกรรม ประติมากรรม อีกคนเปน อาจารยชาวญี่ปุน ชื่อ เอส. มิกี้ เปนชางรัก สอนแผนกศิลปะอุตสาหกรรม คือวิชาชางรัก และชางเคลือบ๑๖

นายมิกี้ ดําเนินการซอมแซมพระพุทธรูปหลอปูนปลาสเตอรของ สมเด็จพระพุทธเจาหลวง ๑ องค ตั้งอยูในพิพิธภัณฑสถานสําหรับพระนคร (ปจจุบนั คือ พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร) ดวยสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพมีพระประสงคจะใหนายมิกี้ ชวยแกไข แตงสีใหม ในราว พุทธศักราช ๒๔๗๑ ครั้งนั้น มีคาใชจายในการแกไขและแตงสีพระพุทธ รูปรวมคาสิ่งของและคาแรงเปนเงิน ๑๑ บาท ๓๖ สตางค สวนมากแลวคาใช จายจะเปนคาสี คากาว และคาแรง สมัยนั้นคาแรงวันละ ๑ บาท นายมิกี้ ใช เวลาซอมแซม ๖ วัน

พระพุทธรูปหลอปูนปลาสเตอร องคที่นายมิกี้ ดําเนินการบูรณะ

พุทธศักราช ๒๔๘๔ นายมิกี้ เขียนตําราดานชางรัก คือ “ตําราสําหรับทาเครื่องภาชนะตางๆ ทารัก ทาสี ทาสีนํ้ามัน ทาวานิช” จัดพิมพโดยสถานศึกษาวัฒนธรรมญี่ปุน - ไทย ผูจัดพิมพ โรงพิมพพระจันทรแตเปนที่นาเสียดายเนื่องจากหลังการ แพสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ นายมิกี้ ถูกสงตัวกลับประเทศ และไมไดกลับมาไทยอีก แตเอกสารตําราทีเ่ ขียนยังคงอยูเ ปนประโยชน แกผเู รียนดานชางรักเปนอยางมาก บุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านเกีย่ วเนือ่ งกับยางรักในสํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร ไดใชศกึ ษาเรียน รู กระบวนการสรางงาน เทคนิควิธีการจากตําราที่นายวัฒนา ตรีพฤษพันธ. (เอส. มิกี้) มาปรับประยุกตใชในการทํางานจาก รุนสูรุน จากพี่ สูนอง สืบทอดสงตอกันมา ๑๕ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ, สาสนสมเด็จ เลม ๒ พ.ศ.๒๔๖๖ - ๒๔๗๕ (กรุงเทพ:องคการคาของครุสภา,๒๕๔๖). ๑๕๖. ๑๖ อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพหมอมเจายาใจ จิตรพงศ (กรุงเทพมหานคร:๒๕๔๐). ๗๗.

๑๘๐

๑๗ นายวัฒนา. ตรีพฤกษพันธ(เอส.มิกี้),สถานศึกษาวัฒนธรรมญี่ปุน - ไทย, ตําราสําหรับทาเครื่องภาชนะตางๆ ทารัก ทาสี ทาสีนํ้ามัน ทาวานิช (กรุงเทพฯ :

โรงพิมพพระจันทร พระนคร,/๒๔๘๔) คํานํา

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๘๑


ทายาทมอบหนังสือ และตูเครื่องมือ เจาหนาที่จากหนวยงาน TNRICP ประเทศญี่ปุนเขาถายภาพเก็บขอมูล

ในวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๖๒ ทายาทนายวัฒนา ตรีพฤกษพันธ (เอส.มิกี้) ประกอบดวย นายวัฒนา ตรีพฤกษพันธ มีทายาท ชื่อนายชัยชนะ ตรีพฤกษพันธ (บุตรชาย) นางสุรีรัตน ตรีพฤกษพันธ (สะใภ) นางสาวปภาวี ตรีพฤกษพันธ (หลานสาว) ไดสงมอบหนังสือ ตูเครื่องมือ อุปกรณงานชาง และชิ้นงานฝมือทานใหกับสํานักชางสิบหมู ใวเปน สมบัติของชาติ วันที่๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เจาหนาที่จากหนวยงาน TNRICP ประเทศญี่ปุน เขาถายภาพเก็บขอมูลเกี่ยวกับ ศิลปนระดับชาติของญี่ปุน นายวัฒนา ตรีพฤกษพันธ (เอส.มิกี้) ที่เขามาสอนวิชาชางรักในประเทศไทยชวงกอนสงครามโลก ครั้งที่สอง เพื่อนําไปศึกษา และสืบประวัติ เพิ่มเติมซึ่งคาดวาจะสงผลดีตอความสัมพันธดานศิลปกรรมไทย - ญี่ปุนในอนาคต ตอไป เครื่องมือชุดนี้ทางสํานักนักชางสิบหมู กรมศิลปากร นํามาจัดทําทะเบียนพรอมทั้งศึกษาศึกษาดูอุปกรณ เครื่องมือชาง ตางๆ โดยบุคลากรสํานักชางสิบหมูรวมกันวิเคราะห เทียบเคียงกับหนังสือที่ทานไดเขียนไวทําใหเกิดประโยชนในการเรียนรู พิจารณานําไปปรับใช ทําเครื่องมืออุปกรณงานชาง เพื่อพัฒนาการทํางานชางของสํานักชางสิบหมูตอไปในอนาคต

ความรูเรื่องยางรักในบริบททางประวัติศาสตรโบราณคดี ยางรักเริ่มใชมาแตครั้งโบราณสมัยยุคหิน คือมีมาแตครั้งมนุษยเราใชหินเปนอาวุธ หลายพันปลวงมาแลว เชนใน ประเทศจีนตั้งแตสมัยยังไมมีหมึกจีนก็ใชรักเขียนบนแผนไม ในประเทศญี่ปุนขาราชการที่เปนชางรัก พระเจาแผนดินโปรดให เขาไปอยูใ นวังทีเดียว สืบทายาทเปนชางรักตอๆกันมาจากบรรพบุรษุ ในประเทศญีป่ นุ มีพระพุทธรูปทีท่ าํ ดวยรักผสมสมุกมีอยู หลายสิบองค อีกทัง้ ยังพบอยูท ฝี่ ก ดาบ อายุประมาณ ๑,๐๐๐ ป มีการเก็บอยูใ นพิพธิ ภัณฑสว นพระองคในประเทศญีป่ นุ ในประเทศ เกาหลี ตําบลระกุโรงิน ใกลๆ กับเฮโจ ขุดพบศพฮันเฉียวซึง่ ลงรักไวมชี อื่ ผูท าํ พรอมวันเดือนปทที่ าํ ถาคิดเวลาถึงบัดนีป้ ระมาณ ๒,๐๐๐ กวาป ในประเทศจีนขุดพบศพลงรัก และงานประดับมุก พบพรอมกันกับศพเปนของเกาประมาณ ๓๐๐๐ ป มาแลว คือสมัยแผนดินชูว๑๘ สําหรับประเทศไทยพบโลงศพไมลงรักที่ถํ้าเขาหินปูนในจังหวัดแมฮองสอน อายุประมาณ ๒,๐๐๐ ป ๑๘ วัฒนา ตรีพฤกษพันธ,ตําราทาเครื่องภาชนะตางๆ ทารัก, ทาสี, ทาสีนํ้ามัน, ทาวานิช (กรุงเทพ:สถานศึกษาวัฒนธรรมญี่ปุน – ไทย, ๒๔๘๔) ๒

๑๘๒

บุคลากรสํานักชางสิบหมู ถายภาพทําทะเบียน รวมกันวิเคราะหเครื่องมือเทียบเคียงหนังสือ

ราว ๗,๐๐๐ ปกอน ชาวจีนรูจักการกรีดรักจากชั้นเปลือกของตนรักเพื่อทํามาทาเครื่องใช ประดับศิลปกรรม ครั้นในสมัยราชวงศเชี่ย รักสดไดถูกใชเปนเครื่องบรรณาการ เมื่อสมัยราชวงศโจว เริ่มมีการเพาะปลูกตนรัก โดยผูปลูกตอง เสียภาษีแกรัฐ ชางฝมือแตละสมัยไดทิ้งผลงานประณีตศิลปของตนไวเปนสัญลักษณแหงวัฒนธรรม ที่มีวิวัฒนากาการพัฒนา เทคนิคการใชรัก สะทอนใหเปนความสัมพันธจนกลายเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรม๑๙ ที่สงตอกันมาอยางไมขาดสาย

ยางรักในงานประณีตศิลปไทย ยางรักใชในงานศิลปะไทยหลายแขนง เชนงานสถาปตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม และงานประณีตศิลป ยางรักเขามาเกีย่ วของ ในการสรางสรรคงานมาแตโบราณ สืบทอดรูปแบบ ขัน้ ตอนกระบวนการสรางงาน บงบอกถึงความเจริญ รุงเรืองที่เปนเอกลักษณทางมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่มีการสงตอจากอดีต สูปจจุบัน สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร ยังคง สืบทอด ภูมิปญญาในกระบวนการสรางงานศิลปกรรมที่ใชยางรักในการสรางสรรคงานอยูหลายแขนง ดังนี้ ๑. งานศิราภรณ หัวโขน ใชยางรักนํามาเคี่ยวผสมวัสดุตางๆเปนรักกระแหนะ ใชในการปนหนาการกระแหนะ ลายประดับมงกุฏชฏา ใชยางรักเพื่อลงรักปดทอง ใชรักสมุกในการประดับกระจก และแววตางๆบนหัวโขน ๒. งานลายรดนํา้ ลายกํามะลอ ใชยางรักและรักสมุกในการทําพืน้ ใชรกั เช็ดในการปดทองลายรดนํา้ ใชยางรักผสมสี ในการเขียนลายกํามะลอ ๓. งานปดทอง งานประดับกระจก ใชยางรัก และรักสมุกในการเตรียมพืน้ ใชยางรักในการปดทอง ใชรกั สมุกในการ ติดประดับกระจก ๔. งานประดับมุก ใชยางรักหรือรักเทือกในการติดประดับลาย ใชรกั สมุกในการถมลาย ใชยางรักในการเช็ดรักชักเงา ๑๙ จางเฟยหลง,จางหวูเฉี่ยว สถาบันวิจัยยางรักแหงซีอาน ประเทศจีน กอศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ แปล,สัมมนาวิชาการศึกษายางรักเพื่อการอนุรักษภูมิปญญาไทย

อันเนื่องจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชชกุมารี(กรุงเทพมหานคร:กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม,๒๕๕๒) ๖๐.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๘๓


จากอนุสาวรียสูการวางรากฐานงานประติมากรรมสากล รัฐพงศ เกตุรวม ภัณฑารักษปฏิบัติการ “.....นายเฟโรจี (ศาสตราจารยศิลป พีระศรี) อยากทําพระบรมรูปทูลกระหมอม (พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูห วั ) ขอใหเกลากระหมอมชวยหาตัวอยางทีด่ ใี ห เกลากระหมอมก็นกึ ถึงพระบรมรูปศิลาองคนนั้ แตถามใครก็ไมมใี ครรูว า อยู ที่ไหน แตไมใชฝนแน มีคนที่เคยเห็นรับรองอยูอีกหลายคน...” วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๔๗๗

ศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี ในสาสนสมเด็จ จากงานสรางอนุสาวรีย สูก ารวางรากฐานงานประติมากรรมสากล ในพระนิพนธ เรื่อง “สาสนสมเด็จ” ไดมีการกลาวถึงประติมากรชาวอิตาลี ผูมีบทบาทสําคัญ ในการออกแบบ และควบคุมการปนหลอพระบรมรูป และพระบรมราชานุสาวรียที่สําคัญหลายแหงของไทย ซึ่งสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพและสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ตรัสเรียกประติมากรคนดังกลาว วา “นายเฟโรจี” ซึ่งแทบจะไมตองสงสัยเลยวานาม “เฟโรจี” ที่ปรากฏในสาสนสมเด็จ นั้นคือชื่อสกุล ของคอรราโด เฟโรจี หรือในชือ่ ไทย “ศิลป พีระศรี” ผูไ ดรบั การยกยองในภายหลังวาเปน “บิดาแหงศิลปะสมัยใหมไทย” ศาสตราจารยศิลป พีระศรี เกิดเมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๓๕ ที่ตําบลซานจิโอวันนี่ นครฟลอเรนซ อิตาลี เปนบุตรของนายอาธูโด และนางซานตินา เฟโรจี มีความสนใจในงานประติมากรรมตัง้ แตเด็กๆ มักใชเวลาวางไปอยูต าม สตูดิโอของชางปน จนทําใหไดรูจักศิลปนประติมากรอาวุโสที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นหลายคน ทานเริ่มที่จะเรียนรูเทคนิคเล็กๆ นอยๆ ในงานประติมากรรมจากการเปนลูกมือใหกบั ศิลปนอาวุโสในสมัยนัน้ ถึงแมบดิ ามารดาทานจะไมพอใจทีเ่ ริม่ เห็นบุตรชาย อยากเปนศิลปน ไมยอมเจริญรอยตามทางการคา๒๑

จากประติมากรรมแบบเหมือนจริงสูการสรางอนุสาวรีย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งเปนชวงเวลาที่ สยามประเทศมีการติดตอกับโลกตะวันตกอยางกวางขวาง ตลอดจนเปด รับวิทยาการใหมๆ ในดานตางๆ รวมถึงงานศิลปกรรม ในปพุทธศักราช ๒๔๐๖ รัฐบาลฝรั่งเศส ภายใตการปกครองของจักรพรรดิโปเลียนที่ ๓ ได สงประติมากรรมพระรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ขนาดสูงราว ๒ ฟุต มาถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห ัว โดยกอนหนานั้น ใน พุทธศักราช ๒๔๐๒ รัฐบาลฝรัง่ เศสไดเคยจัดสงพระบรมรูปครึง่ พระองคของ จักรพรรดิ นโปเลียนที่ ๓ และจักรพรรดินีอูเชนี (พระชายา) มากับเครื่อง บรรณาการเจริญทางพระราชไมตรี มาถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ ดวย๒๐

ภาพถาย ในความครอบครองของตําหนักปลายเนิน (ถายบริเวณสวนของตําหนัก) จากซายไปขวา สมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ หมอมเจาดวงจิตร จิตรพงศ พระธิดา และศาสตราจารยศิลป พีระศรี ภาพจากหนังสือ prince Naris : A Siamese Designer โดย มล.จิตตวดี จิตรพงศ

เอมิล ฟรังซัว ซาตรูส, พระรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว, โลหะสําริด, พ.ศ. ๒๔๐๖, สูง ๕๙ ซม. ภาพจาก อภินันต โปษยานนท, วัตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวันตก ในราชสํานัก๑.พิมพครั้ง ๑ (กรุงเทพฯ อมรินทรพริ้นติ้งกรุฟ, ๒๕๓๖) ๒๐ อภินันท โปษยานนท. จิตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวันตกในราชสํานัก ๑. พิมพครั้งที่ ๑ (กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งกรุป, ๒๕๓๖), หนา ๑๙.

๑๘๔

กอนเรียนจบชัน้ มัธยมศึกษา นายเฟโรจีมคี วามตัง้ ใจแนวแนทจี่ ะศึกษาตอทางดานประติมากรรม และไดรบั การฝกฝน ฝมือจากประติมากรอาวุโสที่ติดตาม ภายหลังจากเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาแลว จึงสอบเขาเรียนศิลปะในระดับอุดมศึกษา ที่ราชวิทยาลัยศิลปะแหงนครฟลอเรนซ (L’Accademia di belle arti di Firenze) ซึ่งสามารถผานการสอบคัดเลือก อยางงายดาย และเรียนจบวิชาชางปน-ชางเขียน หลักสูตร ๗ ปไดสําเร็จ และภายหลังจากจบการศึกษาไดไมกี่ป สามารถสอบ ไดในตําแหนงศาสตราจารย๒๒ ๒๑ ผูชวยศาสตราจารยเขียน ยิ้มศิริ, “ศาสตราจารยศิลป พีระศรี,” บทความ ขอเขียนและงานศิลปกรรมของศาสตราจารยศิลป พีระศรี พิมพครั้งที่ ๑, (กรุงเทพฯ :

อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง, ๒๕๔๕), หนา ๙.

๒๒ ผูชวยศาสตราจารยเขียน ยิ้มศิริ, เรื่องเดียวกัน.

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๘๕


ในชวงเวลาใกลเคียงกัน ทีร่ าชสํานักสยาม พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดเสด็จขึ้นครองราชยใน พุทธศักราช ๒๔๕๓ เมื่อพระองคทรงเสด็จขึ้นครองราชยนั้น ทรงตะหนักไดวา งานศิลปกรรมและงานชางไทยอยูในสภาวะตกตํ่าถึงขีดสุด๒๓ ทรง เล็งเห็นความจําเปนทีจ่ ะตองกอตัง้ หนวยงานของทางราชการขึน้ มา รับผิดชอบดูแลงานศิลปกรรมประจําชาติแขนงตางๆ ขึ้น ภายใตชื่อ “กรมศิลปากร” เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๕๔ โดยมี ห ลั ก ฐานจากรายงานเสนาบดี ส ภาเกี่ ย วกั บ การ ปรึกษาราชการจัดการกระทรวงโยธาธิการใหม โดยมีพระดําริวา “การซอมพระอาราม และการหลอพระ เดิมอยูในความรับผิดชอบ ของกระทรวงโยธาธิการ เปนงานที่ควรแยกออกมาตางหากและ ยกฐานะขึ้นเปนกรม” และใหโอนกรมพิพิธภัณฑซึ่งเดิมสังกัดอยู กระทรวงธรรมาการมารวมไวดวยกัน โดยอํานาจการบังคับบัญชา ขึน้ ตรงตอพระเจาแผนดิน ตอมาใน พุทธศักราช ๒๔๕๕ ทรงใหรวม กรมชางขางใน กรมชางทอง กรมชางสิบหมู เขากับกรมศิลปากรดวย๒๔ ศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี , อนุสาวรียส งคราม To Their Heroes Who Died for The Country , โลหะสําริด, พุทธศักราช ๒๔๖๕, ปอรโตฟาเรโอ เกาะเอลบา แควนทัสคานี อิตาลี. ภาพจากสารานุกรมออนไลน สืบคนเมื่อ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๓ เว็บไซต http:// commons.wikimedia.org/wiki/file:resailles statue

กรมศิลปากร (ภาพถายเกา) ขณะเคลื่อนยายมาทรงพระบรมรูป พระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช เพื่อนําไปประดิษฐาน ณ วงเวียนใหญ พุทธศักราช ๒๔๙๗ ภาพจากหนังสือ ๑๐๕ ป กรมศิลปากร ๒๓ สมคิด โชติกวณิชย, “กรมศิลปากร อดีต-ปจจุบัน-อนาคต,” ๑๐๐ ป แหงการสถาปนากรมศิลปากร (กรุงเทพฯ, กรมศิลปากร, ๒๕๕๕), หนา ๑๒. ๒๔ Apinan Poshyananda,Ibid, p. ๒๑

๑๘๖

นอกจากการฟนฟูงานดานศิลปะประจําชาติแลว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวยังไดเล็งเห็นถึงความ จําเปนในการสรางประเทศใหทันสมัยเฉกเชนเดียวกับพระบิดา การกอสรางอนุสาวรียซึ่งดําเนินงานมาตั้งแตครั้งรัชกาลกอน ก็ไดรับการตอยอดสรางสรรคเพิ่มเติมในรัชกาลของพระองค จากการที่ทรงเคยศึกษาเลาเรียนศิลปวิทยาการจากตางประเทศ เมื่อครั้งยังทรงดํารงพระยศเปนสมเด็จเจาฟา ไดทอดพระเนตรเห็นผลงานประติมากรรมอนุสาวรียหลายแหง คงยังทรงโปรด ที่จะจัดสรางอนุสรณสถาน ในลักษณะเดียวกันกับพระบรมรูปทรงมา แตก็ทรงตระหนักถึงภาระคาใชจายราคาแพงของงาน ประติมากรรมขนาดใหญ ที่ตองใชนายชางจากตางประเทศ หลองาน ณ ตางประเทศ และขนยายผลงานเขามาติดตั้ง จึงทรง ตัดสินพระทัยที่จะวาจางนายชางประติมากรผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศมาดําเนินการปนงานประติมากรรม และควบคุม กระบวนการหลอในไทยแทน ซึ่งจะชวยประหยัดคาใชจายไดเปนอยางมาก อีกทั้งยังจะเปนประโยชนในการฝกสอนนายชาง ไทยใหรูจักเทคนิคการปน-หลอแบบตะวันตกดวย๒๕ ทางการสยามในเวลานั้น จึงไดประสานติดตอไปยังรัฐบาลอิตาลี ใหชวยคัดเลือกประติมากรที่มีชื่อเสียงผูรักจะ รับราชการเปนชางปนใหกับราชสํานักสยาม ทางรัฐบาลอิตาลีจึงไดเสนอตัวศาสตราจารยศิลป พีระศรี มาพรอมกับประวัติ และผลงานของทานใหทางสยามพิจารณา ทางสยามตกลงที่รับทานเขาทํางาน ศาสตราจารยศิลป พีระศรี พรอมดวยภรรยา นางแฟนนี เฟโรจี จึงเดินทางมายังประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๖๖ และเขาปฏิบัติงานในฐานะชาง ปน-หลอ ประจํากรมศิลปากร๒๖ ผลงานแรกที่ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ไดรับ โดยคําสั่งของทางการ คือ การปนพระรูปครึ่ง ทอนบน (bust) ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ศาสตราจารยศลิ ป ตองประสบกับปญหาเปนอยางมากในการปน พระรูป จากภาพพระฉายาลักษณ ซึ่งแลเห็นเพียงมุมมองดานหนา ดานเดียว ทําใหแบบที่อาจารยศิลปปนถวายไม เปนที่พอพระทัย ศาสตราจารยศิลป พีระศรี จึงเดินทางไปเฝาสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ เพือ่ ขอคําชีแ้ นะ สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ประสงคจะชวยศาสตราจารย ศิลป จึงทรงประทับเปนแบบใหศาสตราจารยศิลปปนพระวรกายทอนบน พระองคแทน ประติมากรรมรูปสมสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวดั ติวงศ เปลือยพระวรกายทอนบนชิน้ นี้ เปนประติมากรรมชิน้ แรกของ ศาสตราจารยศิลป และเปนหนึ่งในผลงานชิ้นที่สวยที่สุด ความเที่ยงตรงในการ ถายทอดรายละเอียดพระพักตร ปรากฏใหเห็นเดนชัดในงานชิ้นนี้ เปนความ เที่ยงตรงทางกายวิภาคที่แลดูเปนธรรมชาติอยางยิ่ง สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศไดนาํ ผลงานชิน้ นีท้ ลู เสนอตอพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ซึ่งพระองคทรงพอพระทัย ในฝมือของศาสตราจารย ศิลป พีระศรี จนกระทัง่ รับสัง่ ใหศาสตราจารย ศิลป พีระศรี เขาเฝาเพือ่ ปน พระรูป จากการที่พระองคทรงประทับเปนแบบใหในภายหลัง๒๗

๒๕ Apinan Poshyananda,Ibid, p. ๒๑ ๒๖ ผูชวยศาสตราจารยเขียน ยิ้มศิริ, เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐ – ๑๑. ๒๗ Apinan Poshyananda,Ibid, same page.

ศาสตราจารยศิลป พีระศรี, สมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัติวงศ, โละสําริด, พ.ศ. ๒๔๖๖ สูง ๔๕ ซม. ตําหนักปลายเนิน ภาพจากบทความ “ชื่อเขียนและศิลปกรรม ของศาสตราจารยศิลป พีระ” โดยหอศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๘๗


ภายหลังจากการไดรับความไววางใจจากราชสํานักพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ศาสตราจารยศิลป พีระศรี จึงไดรบั เกียรติสงู สุดในการปน พระรูปเต็มองคถวาย โดยเริม่ จากสวนพระเศียร แตการยังไมทนั แลวเสร็จ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ไดเสด็จสวรรคตเสียกอน อยางไรก็ตามศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี ก็ไดหลอพระรูปเต็มองคแลวเสร็จ ในปถดั มา คือ พุทธศักราช ๒๔๖๙ ซึง่ อาจถือไดวา เปนพระรูปเต็มองคพระมหากษัตริยร ปู แรกทีป่ น หลอในไทย โดยการปน หลอ ผลงานดังกลาวนี้ ไดมสี มเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ เปนผูค วบคุมการหลอดวย ซึง่ ตอมาพระรูป ดังกลาวไดนาํ ไปประดิษฐานยังปราสาทพระเทพบิดร๒๘

สมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัติวงศ กับศาสตราจารยศิลป พีระศรี และผลงานชิ้นสําคัญพระบรมรูปพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ปจจุบัน ประดิษฐาน ณ ปราสาทพระเทพบิดร โลหะสําริด, พ.ศ. ๒๕๐๖, สูง ๕๙ ซม.

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว มีพระราชประสงคจะจัดพระราชพิธีเฉลิมฉลองพระนคร ครบ ๑๕๐ ป ในพุทธศักราช ๒๔๗๕ ทรงเห็นควรใหมีการสรางพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริยแหงพระบรมราชจักรีวงศผูสรางกรุงรัตนโกสินทร เพื่อใหประชาชนไดรําลึกถึงพระเกียรติคุณของพระองค และเห็นควรใหสรางสะพานขามแมนํ้าเจาพระยา (สะพานปฐมบรมราชานุสรณ หรือ สะพานพุทธ ในปจจุบัน) เพื่อเชื่อม การคมนาคมระหวางฝงพระนคร กับธนบุรีอันจะเปนประโยชนแกประชาชนทั้งหลาย๒๙ ในการนี้ ทรงโปรดเกลาใหสมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ อุปนายกราชบัณฑิตยสภา ผูอํานวยการแผนกศิลปากร ณ ขณะนั้น เปนผูออกแบบพระบรมราชานุสาวรีย เพื่อทูลเกลาถวาย เมื่อทอดพระเนตรเปนที่พอพระราชหฤทัยแลว ทรงพระราชทาน ๒๘ อภินันท โปษยานนท, เรื่องเดียวกัน, ๒๙ กิตติ ศิริรัตนไชยยงค, อนุสาวรียสําคัญของไทย, พิมพครั้งที่ ๑, (กรุงเทพฯ, แพรพิทยา, ๒๕๑๔), หนา ๖๒.

๑๘๘

พระบรมราชานุมัติใหจัดสรางพระบรมรูป โดยใหศาสตราจารยศิลป พีระศรี เปนผูปนหุนพระบรมรูป เสร็จแลวจึงสงไปหลอ ที่ประเทศอิตาลี แลวเสร็จจึงอัญเชิญมาประดิษฐานยังพระแทนบัลลังกเชิงสะพานพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ซึ่งพระบาท สมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินมาเปดแถบแพรคลุมพระบรมรูป ในวันจักรีของปนั้น คือวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๕๓๐ ทวาหลังจากนัน้ ไมถงึ ๓ เดือน ไดเกิดเหตุการณเปลีย่ นแปลงสําคัญขึน้ กับบานเมือง คือ การเปลีย่ นแปลง การปกครอง พุทธศักราช ๒๔๗๕

ศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี, ประติมากรรมตนแบบ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, ปลาสเตอรทาสี, สูง ๑๗๐ ซม. หอประติมากรรมตนแบบ กรมศิลปากร

ศาสตราจารยศิลป พีระศรี, ตนแบบพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช, ปลาสเตอร, พ.ศ. ๒๔๗๔ – ๗๕ สูง ๔๗ ซม.

สาสนฉบับสุดทายที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ตรัสเลา ถึงการทํางานของ ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ในยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง คือ ตอนที่ทานทราบขาววาศาสตราจารยศิลป ไดรับมอบ หมายจากรัฐบาลใหเปนผูออกแบบอนุสาวรียสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ในสาสนลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๔๘๐ ความวา “...ไมใชไดเห็น เปนแตไดยินวานายเฟโรจี กําลังเขียนอนุสาวรียขุนหลวงตากโดยคําสั่งใหทําเปนเสาสูงเทา ปรางควัดแจงบนยอดเสาใหเปนโดม ที่โคนเสาใหมีรูปขุนหลวงตากทรงมา มีฐานเปนคั่นกะไดหนุน มีเงินสําหรับทําการนั้นอยู แลว ๕,๐๐๐ บาท” ๓๐ อภินันท โปษยานนท, เรื่องเดียวกัน, Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๘๙


ตัง้ แตชว งหลังเปลีย่ นแปลงการปกครองเปนตนมา พระพลานามัยของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ ก็มิสูดีนัก ดวยทรงพระชราภาพมากแลว ลวงเขาตนเดือนมีนาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ ทรงไมสมารถนิพนธ หนังสือไดอีกตอไป และทรงสิ้นพระชนมในวันที่ ๑๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๐ ขณะพระชันษา ๘๓ ป๓๑ ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ยังคงปฏิบัติงานใหกับกรมศิลปากร หนวยงานราชการ ภายใตการกํากับดูแลของคณะ รัฐบาล ซึ่งไดรับการสถาปนาขึ้นมาใหม ซึ่งภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีแผนงานที่จะวางรากฐานการศึกษาศิลปะ ตามหลักวิชา (Academic Art) เฉกเชนเดียวกันกับสถาบันศิลปะในยุโรป พุทธศักราช ๒๔๗๖ โรงเรียนศิลปากรแผนกชาง (ปราณีตศิลปกรรม) จึงไดรบั การสถาปนาขึน้ โดยมีศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี เปนผูอ าํ นวยการทานแรกและอาจารยผสู อนดวย๓๒

ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ถายกับลูกศิษยรุนแรกๆ ซึ่งตอมาหลายทานกลายมาเปนประติมากรคนสําคัญ ดานหนาผลงานประติมากรรม “คนยิงธนู” ของแชม ขาวมีชื่อ ขางทองพระโรง (วังทาพระ) จากซายไปขวา สนิท ดิษฐพันธุ สิทธิเดช แสงหิรัญ พิมาน มูลประมุข ศาสตราจารยศิลป พีระศรี สนั่น ศิลากร และแสวง สงฆมั่งมี

โรงเรียนศิลปากรแผนกชาง ไดรบั การยกระดับเปนสถาบันอุดมศึกษาทางดานศิลปะ โดยเปลีย่ นชือ่ เปนมหาวิทยาลัย ศิลปากร ในป พุทธศักราช ๒๔๘๖ เปนสถาบันทางดานศิลปะ ซึ่งมีสวนสําคัญในการผลิตบุคลากร โดยเฉพาะอยางยิ่งนายชาง ประติมากรฝมือดี ผูซึ่งตอมาไดกลายเปนกําลังหลักและผูชวยคนสําคัญของศาสตราจารยศิลป พีระศรี ในงานปน-หลอ อนุสาวรียท สี่ าํ คัญๆ ของประเทศหลายแหง และยังไดกลายมาเปนกําลังหลักของกรมศิลปากร ในการบุกเบิกสรางสรรคแผนก ประติมากรรม ใหมีความเจริญรุดหนาในศาสตรของประติมากรรมสากล ซึ่งไดรับการวางรากฐานอยางเปนปกแผน เฉกเชน เดียวกันกับการศึกษาศิลปะตามหลักวิชาการที่ไดรับการวางรากฐานขึ้นอยางมั่นคง ศาสตราจารยศิลป พีระศรี, ตนแบบพระพักตรอนุสาวรียสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช, ปลาสเตอร, พ.ศ. ๒๔๙๓ หอประติมากรรมตนแบบ กรมศิลปากร

๓๑ สุรศักดิ์ เจริญวงศ, สมเด็จเจาฟา กรมพระยานริศรานุวัติวงศ “สมเด็จครู” นายชางใหญแหงกรุงสยาม, (กรุงเทพฯ, มติชน, ๒๕๔๙), หนา ๕๙ – ๖๑. ๓๒ ผูชวยศาสตราจารยเขียน ยิ้มศิริ, เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๒.

๑๙๐

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๙๑


สะพานเจริญศรัทธา กับขอสันนิษฐานเรื่ิฃองการออกแบบ สมลักษณ คําตรง ภัณฑารักษชํานาญการ “...แรกไดเห็นรูปจําลองพระปฐมเจดียองคเดิม ซึ่งตอนลางเปนลอม ตอนบนเปนเรือนนั้น ทําใหตกใจเปนอันมาก ดวยไมเคยเห็นที่ไหนมากอนเลย แตฝาพระบาททรงพระวิจารณวาพระปรางคนั้นเปนของทําตอเติมขึ้นภายหลัง ทีแรกก็ยัง ลังเลใจ ตอไดไปเห็นพระประโทนเขาอีก ซึ่งทําปรางคขึ้นไปหลิมเล็กอยูบนลอมจึงยินยอมพรอมใจวาฝาพระบาททรงพระวิจา รณถูก แตก็ยังเก็บเอามาคิด วาถาตีทรงปรุงใหดีอาจจะงามไดมาก เพราะสิ่งทั้งหลายอาจปรับลงที่กันได คือฐานของปรางค ก็ไดแกบลั ลังกเหนือลอม เสาเรือนปรางคกไ็ ดแกลกู มะหวดทีค่ าํ้ ยอด ยอดปรางคกไ็ ดแกยอดซึง่ สมมตแตฉตั ร แมยอดพระปฐม เจดียซึ่งปรากฏอยูบัดนี้ทูลกระหมอมก็ทรงทําไวมีรูปเปนทียอดปรางคอยูแลว นึกผูกใจไววาถาตองทําพระเจดียที่ไหน จะตอง ลองผูกแบบลอมยอดปรางคขึ้นทําใหดีใหได แตก็เผอิญไมมีงานทําพระเจดียมาถึงตัวเลย... วันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๔๗๘ ”

ในพระนิพนธ “สาสนสมเด็จ” สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระเจาบรมวงศ เธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ทัง้ สองพระองคทรงแลกเปลีย่ นความรู วิเคราะหประวิตกิ ารสรางพระปฐมเจดียซ งึ่ เปน เมืองนครปฐมโบราณอยางตอเนื่อง การสรางพระปรางคที่พระปฐมเจดีย เมืองนครปฐมโบราณถูกตอเติมขึ้นภายหลังแตปรัง ปรุงใหดีลงที่กันได ซึ่งงานศิลปกรรมที่จังหวัดนครปฐมอีกแหงหนึ่งอยาง “สะพานเจริญศรัทธรา” ที่สรางสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เปนงานศิลปกรรมที่ปรับปรุงจากของเกาแตมีความลงตัวเขากับยุคสมัย สะพานเจริญศรัทธา ตําบลพระปฐมเจดีย อําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ประกาศขึ้นทะเบียนเปนโบราณ สถาน ตามประกาศกรมศิลปากร เรื่องขึ้นทะเบียนและกําหนดเขตที่ดินโบราณสถาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลม ๑๑๖ ตอนพิเศษ ๗ ง หนา ๖ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒ อยูบริเวณดานทิศเหนือจากหนาสถานีรถไฟนครปฐม ขามคลองเจดียบูชา ตรงสูองคพระปฐมเจดีย ดานที่ประดิษฐานพระรวงโรจนฤทธิ์ ปพทุ ธศักราช ๒๔๔๑ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั โปรดเกลา ใหยา ยเมืองจากตําบลทานา อําเภอนครชัยศรี มาตั้งที่บริเวณองคพระปฐมเจดียเหมือนเชนครั้งสมัยโบราณ ซึ่งในขณะนั้นที่ทําการราชการในระยะแรก ตองอาศัยอยูในระเบียง และวิหารทิศขององคพระปฐมเจดีย จึงไดทรงโปรดเกลาฯ ใหพัฒนาพื้นที่โดยการวางผังเมืองใหม สรางอาคารที่ทําการ และตัดถนนตางๆ ขึ้น ทําใหบานเมืองพัฒนาขึ้น และมีผูคนยายเขามา ตั้งบานเรือนอยูบริเวณโดยรอบ องคพระปฐมเจดียมากขึ้น อีกทั้งเมื่อปพุทธศักราช ๒๔๔๓ ไดเริ่มกอสรางทางรถไฟสายใตผานเมือง นครปฐม ซึ่งขณะนั้นยังเปนปารก เพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางใหแกราษฎร สงผลใหการเดินทางมานมัสการองคพระปฐมเจดียสะดวกสบายมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อมาถึงสถานีรถไฟนครปฐมขามคลองเจดียบูชาก็สามารถตรงมายังองคพระปฐมเจดีย ถือวาเปนการออกแบบ พัฒนาผังเมืองในสมัยนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาใหสรางพระราชวังสนามจันทร เปนที่เสด็จแปรพระ ราชฐานและฝกซอมรบแบบเสือปา โดยโปรดเกลา ใหตดั ถนนเพิม่ ขึน้ อีกหลายสาย รวมทัง้ สรางสะพานเจริญศรัทธาขามคลอง เจดียบูชาเชื่อมระหวางสถานีรถไฟกับองคพระปฐมเจดีย ตลอดจนบูรณะองคพระปฐมเจดียใหสมบูรณสวยงามดังที่เห็นอยูใน ปจจุบัน จากประกาศราชกิจจานุเบกษา เลม ๓๕ หนา ๒๘๒๕ – ๒๘๒๗ วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๔๖๑ เรื่อง พระราชวัง สนามจันทร ลงวันอังคารที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๑ แจงวาเวลาบายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดเสด็จฯ แปรพระราชสํานักโดยขบวนรถไฟพระที่นั่งพิเศษมา ประทับแรม ณ พระราชวังสนามจันทร จังหวัดนครปฐม และทรงเปด สะพานเจริญศรัทธา ซึง่ ไดสรางขึน้ ดวยพระราชทรัพยสว นพระองค เนือ่ งในการทรงบําเพ็ญพระราชกุศลเฉลิมพระชนมพรรษา ในพุทธศักราช ๒๔๖๑

เสนทางไปพระปฐมเจดียมีการสรางสะพานปูนชื่อ "สะพานเจริญศรัทธา" สรางขึ้นแทนสะพานไมขามคลองเจดียบูชา จากฝงสถานีรถไฟนครปฐมมายังองคพระปฐมเจดีย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหออกแบบสรางใหมเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๖๑ นับเปนสะพานปูนแหงแรกของเมืองนครปฐม (ภาพจากหอจดหมายเหตุแหงชาติ)

๑๙๒

เนือ่ งจากเดิมเปนเพียงสะพานไมขา มคลองเจดียบ ชู าจากสถานีรถไฟนครปฐม มายังองคพระปฐมเจดีย เปนสะพาน ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชทรัพยสวนพระองคสรางสะพานแหงนี้ โดยทรงมีพระ ราชดํารัสใหสรางสะพานเปนการถาวรเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติในวันเฉลิมพระชนมพรรษา และไดพระราชทานนามวา “สะพานเจริญศรัทธา” เพราะสรางดวยพระราชทรัพยสวนพระองคโดยมีพระประสงคเพื่อความสะดวกแกพุทธศาสนิกชนที่ ขามไปมา เปนสะพานคอนกรีตแหงเดียว มีการประดับลวดลายปูนปนเลียนแบบศิลปกรรมสมัยทวารวดี มีขนาดกวาง ๔ วา ๑ ศอก ยาว ๑๗ วา ๑ ศอก มีพนัก ๒ ขาง และที่บริเวณปลายสะพานมีซุมโคมไฟฟา ขางละ ๒ ซุม ในการสรางครั้งนั้นทรง ใชพระราชทรัพยสวนพระองคเปนคากอสรางเปนเงินประมาณ ๔๙,๕๓๗.๕๕ บาท และเสด็จ ฯ ทรงเปดสะพานแหงนี้ดวย พระองคเอง เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๖๑ จากนั้นเสด็จ ฯ ขามสะพานดวยรถมาไปสูองคพระปฐมเจดีย Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๙๓


ซุ  ม ประดั บ ด า นหน า วั ด พระปฐมเจดี ย  เนื่ อ งในโอกาสเสด็ จ เปดสะพานเจริญศรัทธา และเสด็จ ขามมานมัสการองคพระ พระปฐมเจดีย ภาพจากศูนยขอ มูลภาคตะวันตก หอสมุดพระราชวังสนามจันทร มหาวิทยาลัยศิลปากร http://libsis.lib.su.ac.th/westweb/?p=1644 เขาถึงขอมูล เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๓

ตรงกลางสะพานประดับซุมโคงลายหนากาลคายวงโคง สวนปลายเปนลายมกรคายสิงห ตรงกลางจารึกวา สะพานเจริญศรัทธา อีกดานหนึ่งจารึกวา ๓๘

มูลเหตุในการสันนิษฐานเรื่องผังออกแบบสะพานเจริญศรัทธา

สะพานเจริญศรัทธาหรือสะพานพานยักษที่คนนครปฐมเรียกขาน สํานักศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรี กรมศิลปากร ไดดําเนินการบูรณะ ซอมแซมไปแลววาระหนึง่ เมือ่ ป ๒๕๔๘๓๓ การบูรณะคราวนัน้ เปนการซอมเสริมโครงการของตัวสะพานทีช่ าํ รุด ลอกสีทที่ าทับลวดลายปูนปน ออก และซอมแซมลายปูนปนที่ชํารุดบางสวน พุทธศักราช ๒๕๖๑ ถือเปนปที่ครบรอบ๑๐๐ ป ของสะพานเจริญศรัทธษ ครั้งนี้เพื่อความสวยงาม ของสถาปตยกรรมโบราณไวเปฯแหลงทองเที่ยว จุดพักชมทัศนียภาพที่สําคัญคูกับพระปฐมเจดียและคลองเจดียบูชา ๓๓ สํานักงานศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรี, รายงานการอนุรักษสะพานเจริญศรัทธา อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม พุทธศักราช ๒๕๔๘ (เอกสารอัดสําเนา).

๑๙๔

สะพานเจริญศรัทธาถือไดวาเปนประวัติศาสตรของเมืองนครปฐม เปนหนึ่งในสะพานชุดเจริญที่รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นเปนสะพานสุดทาย เพื่อขามคลองเจดียบูชา จังหวัดนครปฐม เพื่ออํานวยความสะดวก แกผูสัญจรไปมาระหวางสถานีรถไฟนครปฐมกับองคพระปฐมเจดีย โดยมีพระบรมราชโองการดํารัสสั่งใหเจาพระยายมราช เสนาบดีกระทรวงนครบาลจัดชางที่ชํานาญจากกรุงเทพพระมหานครมาชวยในการสรางสะพาน เนื่องจากเมื่อปพุทธศักราช ๒๔๖๐ ไดมีพระราชดํารัสเหนือเกลาฯ ใหเจาพระยามหินเดชาสมุหเทศานครไชยศรีจัดสรางสะพาน แตทรงมีพระราชดําริ ดวยพระราชวิจารณอันแนชัดวาในจังหวัดมณฑลนี้ไมมีชางที่ชํานาญการกอสรางถาวรวัตถุเชนนี้ใหงดงามถาวรมั่นคงได ซึง่ เจาพระยายมราชไดสง นายชางในกรมสุขาภิบาลผูช าํ นาญมาชวย ซึง่ ถึงแมวา จะไมปรากฏพระนามสมเด็จเจาฟากรมพระยา นริศรานุวัตติวงศวาเปนผูออกแบบในเอกสารใดอยางแนชัด หากแตเมื่อพิจารณาชวงเวลาที่พระองคทรงเขารับตําแหนงทาง ราชการในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว สมเด็จเจาฟากรมพระยานริศราฯ ทรงรับราชการสนองพระเดช พระคุณในทางการชางการออกแบบจนกระทั่งถึงปพุทธศักราช ๒๔๖๕ จึงทรงเปลี่ยนไปรับตําแหนงกรรมการสภาการคลัง๓๔ จึงอาจเปนไปไดวาทรงมีสวนในการใหคําปรึกษาหรือทรงออกแบบสะพานเจริญศรัทธาดวยก็เปนไปไดเพราะเปนสะพานที่ จัดสรางขึ้นเนื่องในวโรกาสสําคัญของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวดวยสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ ทรงเปนผูม คี วามรูห ลากหลายดาน ทัง้ สถาปตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ดุรยิ างคศิลป การละคร พุทธศาสนา โบราณคดี ภาษาศาสตรและราชประเพณี ดังที่พระยาอนุมานราชธน ไดกลาวถึงพระองคไววา

๓๔ สุพชิ ฌาย แสงสุขเอีย่ ม. รายงานการวิจยั งานศิลปกรรมฝพระหัตถสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศในจังหวัดนครปฐม.นครปฐม : คณะอักษรศาสตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๑. น.๔๐ – ๔๑

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๑๙๕


“...ทรงแสดงใหปรากฏเห็นวาเปนยอดในหมูศิลปนทางวิจิตรศิลปะไทยอยูถึง ๔ สาขา คือ สถาปตยกรรมศิลปะ จิตรศิลปะ ดุริยางคศิลปะ และวรรณคดี เพียงแคพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรอยางเดียวก็พอจะกลาวไดเต็มปากวาพระองคเปนยอด สถาปตยศิลปนในแบบที่เปนศิลปะไทย...”๓๕ โดยจากขอมูลที่กลาวมาขางตนทําใหสันนิษฐานวาสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงเปนผูออกแบบสะพานอยางสวยงามดวยลวดลายศิลปะโบราณแบบทวารวดีอันมีตนกําเนิดอารยธรรมที่ จังหวัดนครปฐม ดวยความสําคัญและความสวยงามของ สะพานดังกลาว รัฐบาลในสมัยรัชกาลที่ ๘ และ ในรัชกาลที่ ๙ ไดตพี มิ พภาพ “สะพาน เจริญศรัทธา” ลงในธนบัตร ฉบับละ ๑ บาท ๑๐ บาท ๒๐ บาท และ ๑๐๐ บาท ถือวาเปน เกียรติประวัติที่เปนมรดกอันลํ้าคา ไดเผยแพรเปนทีป่ ระจักษแกชาวโลก และเปนทีเ่ ชิดหนาชูตาใหแกชาวนครปฐมนับเปนสะพานปูนแหงแรกของจังหวัดนครปฐม ดวยเหตุที่สะพานนี้ประดับดวยภาพปูนปนรูปยักษแบก เลียนแบบศิลปะทวารวดี ทําใหคนทั่วไปเรียกวา“สะพานยักษ” เปนจุดที่สรางมุมมอง เสริมใหองคพระปฐมเจดียสงางามยิ่งขึ้น การออกแบบสะพานเจริญศรัทธานั้นผูออกแบบไดนําเอาประวัติศาสตรและศิลปะโบราณรวมทั้งแนวคิดในพุทธ ศาสนามาเปนแรงบันดาลใจในการออกแบบไดเปนอยางดี ศิลปกรรมของสะพานเจริญศรัทธางดงามดวยรายละเอียดของปูน ปนที่สะทอนถึงการถายทอดรูปแบบทางศิลปกรรมอันเปนเอกลักษณโดดเดนของวัฒนธรรมทวารวดีที่ปรากฏหลากหลายใน ดินแดนนครปฐม อาทิ บริเวณซุมโคมไฟ ยอดซุมเปนซุมโคงลายหนากาลคายวงโคงดานปลายประดับลายมกรคายพวงอุบะ บริเวณกึ่งกลางแตละดานประดับลายกุฑุ สวนยอดบนสุดของซุมประดับลายพระปรมาภิไธยยอประจํารัชกาลที่ ๖ เนื่องจาก พระองคมีพระราชประสงคใหสรางสะพานเพื่อบําเพ็ญพระราชกุศลฉลองและเฉลิมพระชนมพรรษา และที่ฐานซุมโคมไฟ มีการทํายักษแบก อันเปนที่มาของชื่อลําลองของสะพานแหงนี้

๓๕ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ และพระยาอนุมานราชธน. บันทึกเรือ่ งราวความรูต า ง ๆ เลม ๔. (กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย,

๒๕๐๖.) น.๙ - ๑๐

๑๙๖

ภาพรางจิตรกรรมฝาผนัง พระระเบียงคด วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ทศกัณฑสั่งเมือง พระอาจารยแดง วัดหงสรัตนาราม รัตนโกสินทร ราว พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๑๖ ตนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว หมึกและดินสอขาวบนสมุดไทยดํา หอสมุดแหงชาติ

One of sketches for mural on cloister at The Royal Temple of Emerald Buddha. Depicted a scene from Ramayana. Scene; Ravana embraced his family, bided them farewell and then went for his last battle Artisan; Reverend Daeng (Buddhist monk) Hong Rattanaram Temple, Bangkok Rattanakosin period (1868 – 1873 C.E.) Early years in the reign of King Chulalongkorn White ink & charcoal on black manuscript The National Library

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เสด็จปราบดาภิเษกขึ้นเปนปฐมกษัตริยแหงพระบรม ราชจักรีวงศ ในปพทุ ธศักราช ๒๓๒๕ พรอมกับการสถาปนาพระนคร สรางพระอารามประจําพระบรมมหาราชวัง คือ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม ๓ ป ใหหลังทรงโปรดใหมกี ารเขียนภาพรามเกียรติป์ ระดับพระระเบียงคด เพือ่ ถวายเปน พุทธบูชาแด พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแกวมรกต) “สมุดภาพรามเกียรติ์” เปนงานศิลปกรรมชิ้นสําคัญชิ้นหนึ่ง ที่ไดรับการกลาวถึงในพระนิพนธ เรื่อง “สาสนสมเด็จ” สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดสง สมุดภาพจิตรกรรมรามเกียรติ์ ทีเ่ ขียนลงบนสมุดไทยเลมหนึง่ ใหสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงวินิจฉัยสมุดภาพดังกลาว เปนสมุดภาพราง สําหรับเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ประดับพระระเบียงคด วัดพระศรีรัตนศาสคาราม ที่นาจะเขียนขึ้นในชวงตน สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงจํารูปแบบลายเสน ของนายชางจิตรกรรมที่มีชื่อสียงแหงยุค ที่นาจะมีสวนในการเขียนภาพรางลงบนสมุดไทยเลมนี้ ได ๒ ทาน โดยหนึ่งในภาพรางที่มีความวิจิตรงดงาม คือ ตอนสั่งเมือง (ทศกัณฑสั่งเมือง) ทรงสันนิษฐานวา รางโดย พระอาจารยแดงแหงวัดหงสรัตนาราม ทศกัณฑสั่งเมือง เปนตอนหนึ่งในรามเกียรติ์ วาดวยขุนพลยักษนาม ทศกัณฑ ไดเสียรูหนุมาน (ทหาร เอกของพระราม) ในสนามรบ โดนหนุมานไดแกลงสวามิภักดิ์ตอทศกัณฑ ทศกัณฑหลงเชื่อและรับหนุมานเปนบุตร บุญธรรม หนุมานไดลักลอบขโมยกลองดวงใจของทศกัณฑ และหลอกใหทศกัณฑนําทัพออกรบ เมื่อถึงสนามรบก็ ใหทศกัณฑตั้งทัพไว และกลาวกับทศกัณฑวา “หากเห็นตนเหาะไปสูงสามโยชนเมื่อใด ใหยกทัพเขาตีทันที” จาก นัน้ หนุมานไดกาํ บังกายเหาะไปทีท่ พั พระราม แลวถวายกลองดวงใจใหพระรามฆาทศกัณฑเสีย ฝายทศกัณฑรตู วั วา เสียรูใ หแกหนุมาน จึงบอกหนุมานวา จะขอกลับไปสัง่ เสียครอบครัวทีก่ รุงลงกากอน กอนจะออกรบเปนครัง้ สุดทาย ซึ่งเปนที่มาของชื่อตอน “สั่งเมือง”


ภาพรางตนแบบพัด บรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว สมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ พ.ศ. ๒๔๖๘ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว หมึกและสีนํ้าบนกระดาษ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป กรมศิลปากร ขนาด กวาง 43.5 ซม. สูง 68 ซม.

ภาพรางตนแบบพัดหงสคําเปลว สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ พ.ศ. ๒๔๖๑ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว หมึกและสีนํ้าบนกระดาษ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ขนาด กวาง 40 ซม. สูง 59.4 ซม. A Sketch for gilded Hamsa Ceremonial Fan (Talipot Fan) Prince Narissara Nuwadtiwongsa 1918 CE King Prajadhipok (Rama VII) reign Ink & water colors on paper The National Gallery Thailand Size : W. 40 CM. L. 59.4 CM.

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไดมีการสราง “ตาลปตรพัดรอง” ขึ้นเพื่อถวายพระสงฆเถระที่ พระมหากษัตริยหรือพระบรมวงศานุวงศทรงใหการนับถือ เนื่องในวโรกาสสําคัญตางๆ โดยมีจุดมุงหมายในการมอบใหและ การใชสอย แตกตางจาก “ตาลปตรพัดยศ” ซึ่งเปนเสมือนกับเครื่องราชอิสริยาภรณของสงฆ ในการแสดงยศทางปกครอง หรือ สมณศักดิ์ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ นายชางใหญแหงกรุงสยาม เปนผูท มี่ บี ทบาทสําคัญ ในการสรางความเปลี่ยนแปลงใหเกิดกับงานประณีตศิลปกรรมดานการออกแบบตาลปตร ดวยพระปรีชาสามารถในงานดาน จิตรกรรมลายเสนทีม่ ไิ ดจาํ กัดเฉพาะแตงานออกแบบสถาปตยกรรม ทรงออกแบบและทรงผูกลาย “พัดรอง” ทีม่ คี วามสวยงาม เปนอยางยิ่ง ในหลายๆ วโรกาส “พัดหงสคําเปลว” ชิ้นนี้ เปนผลงานออกแบบที่สมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงออกแบบและผูก ลายถวายแดหมอมเจาอิทธิเทพสรรค กฤดากร เพื่อสําหรับใชสรางพัดรอง เนื่องในงานศพ หมอมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา พุทธศักราช ๒๔๖๑

A Sketch of Talipot Fan for the coronation ceremony of King Prajadhipok (Rama VII) Prince Narissara Nuwadtiwongsa 1925 CE. King Prajadhipok (Rama VII) reign Ink & water colors on paper The National Gallery Thailand Size : W. 43.5 CM. L. 68 CM.

ภาพราง “พัดบรมราชาภิเษก” ชิ้นนี้ เปนผลงานที่สมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงออกแบบและ ผูกลายทูลเกลาถวาย พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั เพือ่ ใชสรางเปนพัดประกอบการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ในวัน ที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๔๖๘ สําหรับถวายพระสงฆที่นิมนตมารวมในพระราชพิธี จํานวน ๘๐ เลม ลวดลายบนภาพรางพัดประกอบดวยลาย “แสงศร ๓ องค” บนราวพาด เหนือราวเปนดวงตรามหาจักรีบรมราชวงศ ประกอบดวย จักร กับ ตรี ภายใตพระมหาพิชัยมงกุฏ สองขางปกรูปจามรและอุณาโลมมีอักษรขอความลอมรอบตาลปตรวา “พระบาทสมเดจพระปรมินทรมหาประชาธิปกพระปกเกลาเจาอยูหัว บรมราชาภิเษก ๒๔๖๘” พระราชลัญจกรพระแสงศร เครื่องหมายประจําพระองคพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว มาจากพระบรม นามาภิไธย “ประชาธิปกศักดิเดชน” คําวา เดชน แปลวา “ลูกศร” พระแสงศร ๓ องค สื่อความหมายถึงราชศาสตราวุธของ พระราม ประกอบดวยพระแสงศรพรหมาสตร พระแสงศรประลัยวาต และพระแสงศรอัคนีวาต๑ ๑ พิพิธภัณฑพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว


แบบรางศึกษาประติมากรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช สมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ศาสตราจารยศิลป พีระศรี พ.ศ. ๒๔๗๑ – ๒๔๗๒ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ปลาสเตอร พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป กรมศิลปากร ขนาด กวาง 40 ซม. ยาว 49.5 ซม. สูง 47 ซม. A studied model of His Majesty King Phra Puttha Yodfah (Rama I) Prince Narissara Nuwadtiwongsa Prof. Corrado Feroci (Silpa Bhirasri) 1928 - 1929 CE. King Prajadhipok (Rama VII) reign Plaster The National Gallery Thailand Size : W. 40 CM. L. 49.5 CM. H. 47 CM.

พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงมีดําริที่จะสรางปฐมบรมราชานุสรณพระบาทสมเด็จพุทธยอดฟาจุฬา โลกมหาราช ในวาระเฉลิมฉลอง ๑๕๐ ป กรุงรัตนโกสินทร ในป ๒๔๗๘ โดย โปรดเกลาใหสรางพระบรมรูปพระบาทสมเด็จ พุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ประดิษฐาน ณ เชิงสะพานปฐมบรมราชานุสรณ (สะพานพุทธ) ซึ่งโปรดใหสรางในคราวเดียวกัน ในการนี้ ทรงโปรดเกลาใหสมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เปนผูรางแบบพระบรมรูปเสนอทูลเกลา ถวายเพื่อพิจารณา หลังจากทรงเห็นชอบในแบบที่รางแลว ทรงโปรดเกลาใหศาสตราจารยศิลป พีระศรี ชางปน ประจํากรม ศิลปากร เปนผูปนแบบพระบรมรูป จากนั้นจึงไดวาจางโรงหลอประติมากรรมที่ประเทศอิตาลี เปนผูหลอพระบรมรูปขนาด ใหญชิ้นดังกลาวนี้ สาเหตุที่ตองสงแบบพระบรมรูปนี้ไปหลอยังตางประเทศ เนื่องดวยเพราะอาคารโรงหลอของกรมศิลปากร มีขนาดเล็ก จึงไมสามารถหลอประติมากรรมขนาดใหญได ประติกรรมปูนปลาสเตอร ซึง่ เปนแบบรางศึกษาชิน้ นี้ เปนหนึง่ ในศิลปวัตถุชนิ้ เดนของพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ หอ ศิลป เปนแบบรางชิ้นแรกๆ ที่ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ปนเพื่อศึกษาและกําหนดรายละเอียดพระบรมรูป กอนที่จะมีการ ขยายแบบไปสูตนแบบประติมากรรมขนาดเทาจริง ซึ่งจะใชเปนแบบในการหลอประติมากรรมสําริดในขั้นตอนสุดทาย

แบบรางศึกษาประติมากรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ศาสตราจารยศิลป พีระศรี พ.ศ. ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ปลาสเตอร หอประติมากรรมตนแบบ กรมศิลปากร ขนาด กวาง 33.5 ซม. ยาว 37 ซม. สูง 50 ซม. A studied model of His Majesty King Phra Puttha Yodfah (Rama I) Prof. Corrado Feroci (Silpa Bhirasri) 1950 CE. King Bhumibol (Rama IX) reign Plaster The Hall of sculptures Size : W. 33.5 CM. L. 37 CM. H. 50 CM.

พระบรมราชานุสาวรียส มเด็จพระเจาตากสินมหาราช (วงเวียนใหญ) เปนโครงการกอสรางพระบรมราชานุสาวรียท ี่ กินระยะเวลายาวนานกวา ๒ ทศวรรษ มีจุดเริ่มตนในป พ.ศ. ๒๔๗๗ โดย ความดําริของกลุมประชาชนที่มีความจงรักภักดีใน พระองค ในสมัยนั้นคณะรัฐบาลพยาพหลพลพยุหเสนา ไดแตงตั้งคณะกรรมการสรางอนุสาวรียสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี โดย ใหกรมศิลปากรเปนผูร า งแบบขอความเห็นชอบจากมหาชน แตโครงการกอสรางตองหยุดลงกะทันหัน ดวยเหตุการณความไม สงบ กรณีพิพาทอินโดจีนและสงครามโลก ครั้งที่ ๒ โครงการจัดสรางพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ไดเริ่มดําเนินการอีกครั้ง เมื่อ พ.ศ.๒๔๙๔ โดย รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ไดมอบหมายให ศาสตราจารยศิลป พีระศรี เปนผูออกแบบและควบคุมการปนหลอ พระบรมรูป จนกระบวนการตางๆ แลวเสร็จและมีพิธีเปด เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๔๙๗ สมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ไดตรัสเลาถึงขาวเกี่ยวกับศาสตราจารยศิลป พีระศรี รับผิดชอบเปนผู ปนพระบรมรูปพระเจาตากสิน ในสาสนสมเด็จ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๔๘๐ ความวา “...ไมใชไดเห็น เปนแตไดยินวานายเฟโรจี กําลังเขียนอนุสาวรียขุนหลวงตากโดยคําสั่งใหทําเปนเสาสูงเทาพระ ปรางควัดแจงบนยอดเสาใหเปนโดม ที่โคนเสาใหมีรูปขุนหลวงตากทรงมา มีฐานเปนคั่นกะไดหนุน มีเงินสําหรับทําการนั้นอยู แลว ๕,๐๐๐ บาท ” พระราชานุสาวรียสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช นั้นไดรับการยอมรับในหมูนักวิชาการประวัติศาสตรศิลปะวา เปนงานศิลปกรรมที่ยิ่งใหญชิ้นสุดทายของยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย


The origins of San Somdet

The “San Somdet” was originated from the letters that were exchanged, as a bi-lateral communication, between Prince Narisara Nuvadtivongs and Prince Damrong Rajanubhab, from 1914 till 1943. Some of those letters were written once the two princes were in Thailand. However, some letters were written when Prince Damrong Rajanubhab were in Penang, Malaysia, whereas Prince Narisara Nuvadtivongs kept living in Thailand. Those letters conveyed a personal description, discussion, and critical view by both princes, regarding different areas content, for instance, archaeology, museum, history, liberal arts, literature, arts and performing arts.

A way of wiseman to “San Somdet” An intelligence and a capacity of Prince Narisara Nuvadtivongs and Prince Damrong Rajanubhab had long been prepared, since their childhood, by King Rama 5th. Both princes were well prepared in various disciplines, for example, foreign language, court rite, royal norm, that developed their own specific areas of interest. After completed their studies, the two princes were allocated and promoted, by King Rama 5th, 6th and 77th, to be an official in the right department and ministry. Over a long period under reigns of that three kings, Prince Narisara Nuvadtivongs and Prince Damrong Rajanubhab put their best and much efforts to all assignments and responsibilities. Some new and existed governmental institutions were established and promoted by two princes. Those institutions resulted in academic and artistic progresses, in regard to conservation and development. Westernisation had been considered and accepted under a discussion between two princes, as a content that had been presented by their letters since 1914. Hence, the “San Somdet”, that means the letter by their Royal Highness, had been developed from that year. Later, during a period of their retirement from 1933 till 1943, the two princes were being away from each other. Thus, they connected themselves by the letters over a decade. Those letters also conveyed various contents that become principal source of knowledge, relevant to archaeology, mythology, history, and liberal arts.

From San Somdet to Thailand National Heritage Conservation San Somdet has long been considered as a historical record that produced various areas of knowledge. This record has also contributed uncountable knowledge, regarding national heritage conservation and development under a responsibility of the Thai Fine Arts Department. Major areas of that responsibility are archaeology, museum, history, liberal arts, literature, fine arts, and performing arts.

The two Princes and the Museum Affairs in Thailand

Prince Narisara Nuvadtivongs and Prince Damrong Rajanubhab had well and seriously supported a development of museum affairs in Thailand, particularly, under the reign of King Rama the 7th when the museum was dramatically promoted and was transferred to be under the Royal Society of Thailand. At that time, Prince Damrong Rajanubhab was the president of the society, whereas Prince Narisara Nuvadtivongs was the vice president who was in charge of the Fine Arts Department. After their retirements, the two princes kept focusing on the progress of the museum still. Their conversations by the letters which later known as San Somdet, regarding the museum affairs in Thailand, evidences that the two princes had a strong and clear perception, in respect of museum affairs, according to international standard. “…On the 13th last month, I visited the museum and found that there were some groups of scaffolding construction, reached the ceiling. Luang Boriban then informed me that those scaffolding supported and prevented the upper structure of the building (Buddhaisawan Chapel) from collapse, as it was very ancient. However, I thought there should not be an installation of similar scaffolding in Issarawinitchai Throne Hall. Luang Boriban said that there was some financial supported with the amount of 30,000, annually. Next year, a restoration will be started at Buddhaisawan Chapel. The rest of Throne Halls will then be followed. The amount of 30,000 was actually some money of the museum that has long been saving. Narisara Nuvadtivongs 13th January 1933

๒๐๒

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๐๓


The letter, that was written by Prince Narisara Nuvadtivongs to Prince Damrong Rajanubhab, presented their interest in the museum affairs in Thailand. That interest was also still apparently indicated although the both princes had retired from relevant administrative positions. An old image, collected by Thailand Office of the National Archives, illustrates an existence of the ancient buildings, located in nowadays Bangkok National Museum, with the wooden scaffolder as mentioned by the letter (San Somdet). Moreover, a detail regarding financial source, for a project of buildings restoration, has undoubtedly shown a great contribution, by the two princes, to the museum affairs when both of them were in charge of the museum administration.

Objects collection to the museum “…When I was there, I only found some ancient objects, made of stone, that were collected by a group of Mahanta Brahmin. As I wished to get some of that objects, I tried to ask the Brahmin and some of those lithic items then were offered to me. Hence, some carved stone objects which were easily transported, for example, the Buddha Footprint which is nowadays in Sichang Island, some Buddha images, were selected and brought back to the capital and presented to the King…” Damrong Rajanubhab 3rd October 1937 Part of the letter that was written by Prince Damrong Rajanubhab. The letter mentioned an experience when the prince was a diplomat to the countries in Europe, in 1891 under the reign of King Rama 5th. Prince Damrong Rajanubhab happened to be passing through India en route back to Thailand. He stopped over in India, visited the head of ‘Mahanta’, the Brahmin group who settled around Bodhgaya. The Brahmin decorated their living buildings by some stones that were previously part of some sanctuaries and grave pits. Prince Damrong Rajanubhab, thus, asked the Brahmin to get some of those lithic objects, to present to King Rama 5th. Later, under the reign of King Rama 7th, those stone items were allowed by the king to display in the Bangkok National Museum and has been kept displaying up to the present. This record has long clearly showed that both Prince Narisara Nuvadtivongs and Prince Damrong Rajanubhab had a strong interest in the museum affairs. The both princes were keen to develop an exhibition in the National Museum by kept collecting some more objects to the museum.

An object analysis by scientific method “…A British Colonel who used to live in Tibet took me to visit a museum. While we were enjoying with unbaked-clay votive tablets in a showcase, I asked him that was there any similar object in Tibet? He told me that such religious object has long been kept making. He also described further that some votive tablets were tempered by some relics from cremated body of a senior Buddhist monk who died. Thus, as I wanted to prove this description, a piece of votive tablet was investigated by element composition method…” Damrong Rajanubhab 8th June 1933 Unbaked-clay votive tablet is a Buddhism object that had long been generally and densely found across the south of Thailand. This religious item was discovered from different caves in some provinces of that region. According to a research by Prince Damrong Rajanubhab, it was found that a similar tradition, for making unbaked-clay votive tablet, was also found in India and Myanmar. The prince got further clue from a British Colonel, regarding a fabric of a votive tablet in Tibet that has long traditionally been added by some relics, from cremated body of a senior Buddhist monk. Prince Damrong Rajanubhab then proved that clue by taking a tablet to be investigated its element composition. An investigation proved that a clue from a British Colonel was true, as some relics from cremated human body were clearly presented. As a consequence, it can be asserted that a scientific approach, for investigating ancient object, was primarily originated in Thailand by Prince Damrong Rajanubhab.

Typology and origins of museum object “… There were two cabinets, at Bang Khum Phrom Palace, that formed by additional pieces of doors. A smaller cabinet was fully decoration, whereas a bigger one was not fully decorated. Those pieces of doors were potentially derived from Wat Borom Phuttharam that were partially burned. The doors of smaller cabinet were greater trimmed than the bigger cabinet. It was unclear

๒๐๔

if there was any inscription. It was also unclear where about this object was. However, it was possible to be at the museum. Hence, this possibility should be ensured…” Narisara Nuvadtivongs 14th May 1940 “...The Mother of Pearl decorated Cabinet of Prince Nakhon Sawan I understand that It was in the Museum now. The two cabinet panels I still remember the pattern, I heard that the Abbot of Wat Sala Poon acquired from Wat Borom Phuttharam after it was burnt. Strangely, all of the Ayutthaya mothers of pearl inlay panels are from Wat Borom Phuttharam, not the others. I think it should be somewhere like Wat Phra Si Sanphet but it may be burnt and lost during the war. Wat Borom Phuttharam is far away, so it can survive. Damrong Rajanubhab 21st May 1940 Wat Borom Phuttharam, in Phra Nakhon Si Ayutthaya, has long presented the door which is decorated by mother of pearls. This door is one of three masterpiece objects, dated in Ayutthaya Period, that still present a pearl relevance as decoration craft. According to an inscription, this door was produced in 1752. It was later presented to King Rama 5th, in 1900, by a senior Buddhist monk in Phra Nakhon Si Ayutthaya, to commemorate an establishment of Wat Benchamabophit. However, after it was presented to the king, this door had long been kept without any specific purpose. King Rama 7th, later, gave a permission to move this door to display at the National Museum in 1926. However, in 1932, according to the king decision, this door was taken to be an architectural part of the Supplementary Library (Ho Phra Monthien Tham) in the Grand Palace, as a commemoration of the centenary of Bangkok. In 2013, a replica of this door has been made, according to an origination from Princess Sirindhorn. The authentic door, of the Supplementary Library in the Grand Palace, was then replaced by the replica. After the authentic one was removed, it was then returned to the National Museum, and has been displayed in the museum up to the present. A discussion between Prince Damrong Rajanubhab and Prince Narisara Nuvadtivongs, regarding the origins of the cabinet’s door at Bang Khum Phrom Palace, can be considered as a concept of an investigation for object provenance. Hence, this primary concept can also be stated as one of a major beginning processes of museum affairs in Thailand.

Object collection for learning “… I thought that the main reason, which pushed Prince Piya to collect those objects, was only his own personal interest, without any purpose of learning. He shad long pent large amount of money in order to get whatever that can be considered as ancient and amazed items. When the project of museum establishment started, I spent several times to see his collections. I was interested in some objects, for example, some ancient mints, some old text-books, a Buddha image that made of bronze, since I thought they should be exhibited in the museum ….” Damrong Rajanubhab 11th February 1936 “…For me, amongst those collections of Prince Piyaphakdeenat, the most interesting items were a group of coins that had long been collected and very carefully conserved...” Narisara Nuvadtivongs 20th February 1936 A variety of items, from the collections of Prince Piyaphakdeenat, have been transferred to the National Museum. Those objects were actually derived to the museum by an expense with the amount of 40,000 Baht, according to Prince Damrong Rajanubhab consideration. That purchase was based on an objective, which to bring those collections to display at the National Museum, for public learning. It has long been generally accepted that collection for learning is the principal of museum affairs. Thus, those museum objects, that acquired from Prince Piyaphakdeenat, have long been exhibited at the National Museum in Bangkok up to the present. Those objects, for instance, a bronze Buddha image, some ancient mints, were also mentioned in the letters (San Somdet). All of those items have been carefully processed through the museum procedures, from an inventory, conservation, research, and display to the public respectively. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๐๕


Two Princes and Performing Arts in Thailand

“… ‘Singing and Dancing’ has long been a traditional Thai phrase that expresses a feeling of cheerful of human creature. That behavioural expression has possibly long been developed from a stage of barbarian. In the remote past, the barbarians may get struggled to get some limited food. The winners may express their feeling of winning by singing and dancing as cheerful behaviour. It can also be believed that such behaviour could be inherited from animal instinct. Initially, singing may be developed as non-verbal acting. It could be just a voice of cheering because of happiness from whatever reasons. Some certain vowels in Thai express certain feeling or sense, for example, angry, pleasant, curious, understand, even they do not convey any specific meaning. However, when there is a development by composing those vowels with some alphabets and vocabularies, there consequently is some specific meanings. Moreover, there has been more arrangement by composing those combined vowels and words with certain rhythm, and finally resulted in a pattern of poem. Those poems have become popular amongst Thai folks and has been sung, played publicly in specific occasion, such as traditional and cultural event in each community. Regarding Thai traditional dancing that is called ‘Ram’, it has been initially believed that this performance is a natural acting. Those acting may also have been caused by certain natural reason, for example, a feeling of happiness. However, when the human creature has been more intelligent, according to natural development of human brain, a specific pattern of body movement has been developed by matching for some specific deliberate gestures. Some of them have long been become a Thai classical performance, such as Khon that has long played a significant role for presenting Ramayana. In respect of song and music, initially, it could be a natural way of making sounds. That sound making has been later developed to be a specific pattern of rhythm arrangement. Some specific tones also have been mixed to those specific rhythm. Such development has finally become a music that accompanied by musical instrument as generally performs nowadays. Prince Narisara Nuvadtivongs 13th December 1929 Prince Narisara Nuvadtivongs and Prince Damrong Rajanubhab were interested in Thai traditional performing arts; music and dances. Their exchanged letters conveyed a discussion, regarding those Thai classical music and dances. The content in the letters presented various descriptions, hypothesis, curiosities, their personal ideas, and so on, regarding Thai traditional performing arts. The two princes had also played a significant role as initiators to further research and develop on Thai traditional performing arts. Prince Narisara Nuvadtivongs and Prince Damrong Rajanubhab had originated such development by adopting some ideas and body of knowledge from different Thai sources. They then modified that adoption to be several new patterns of Thai classical dancing. Printing technology was also brought to be a part of the development. Many new patterns of classical dancing were performed by some dancers, then photos were taken. Those photos were later printed out as several manuals of Thai performing arts. Moreover, the both princes, had also introduced western music to Thai music by composing Thai songs, based on western music notes. A modification of Thai classical and traditional songs, by applying western music notes, has consequently resulted in an easy to remake Thai classical music and songs. That modification, thus, has also resulted in long-lasting of Thai classical songs sustainability in the present. Hence, San Somdet, has long been widely applied as a principal reference for several research on Thai classical music and dances.

The two Princes their work in History and Archaeology Ancient history from San Somdet as a pioneer of prehistoric studies in Thailand “It can be said that prehistory is actually history. However, prehistory is different from history as an absence of written record. Hence, prehistory requires an investigation on artefatcs, for example, stone axe/adze, animal and human bones that has long been discovered”. Damrong Rajanubhab 14th October 1934 It has long been widely known that prehistory was mentioned in San Somdet with the reference of some research, which conducted by Prince Damrong Rajanubhab. He conducted that research on the basis of multi-disciplinaries approach. His experience from an observation of a prehistoric excavation and a conversation with Professor Callenfels in Penang were also mentioned. Based on that trip, Prince Damrong Rajanubhab detailed a procedure of archaeological fieldwork that can be accepted as an international

๒๐๖

standard. This record was hence applied to be a primary manual of archaeology in Thailand at the beginning. Several years later, when there was a further prehistoric excavation, under a Thai-Danish collaboration project, Professor Chin Youdi, a co-director also conducted that fieldwork by following a record from San Somdet. Hence, undoubtedly, it can be stated that ancient history, as mentioned in San Somdet, was an origin of a systematic prehistoric research in Thailand. It also later resulted in further research on prehistory across different regions of the country. More importantly, however, the main point is an attitude of Prince Damrong Rajanubhab that took serious on every single study area. He kept behaving as a student who was keen to learn and study by applying a systematic analysis. In addition, he conducted his research on the basis of multi-disciplinaries approach in order to achieve an accurate and reasonable result. Thus, this approach can be a model for doing research in other different subject areas.

Prehistoric tools/equipment “…Prehistoric tools or equipment were mainly made of different raw materials, for example, stone, bronze, and iron. The scholars assumed that those items were made in different periods…” Damrong Rajanubhab 4th November1934 Regarding an archaeological chronology system, Prince Damrong Rajanubhab mentioned that a primary criterion needs to base on technological development for making different equipment. That technology was also associated with various types of raw materials. Hence, for example, major periods in prehistoric archaeology can be divided as the Stone Ages (Old-Stone Age, Middle-Stone Age, and New-Stone Age), Bronze Age, and Iron Age. This chronological system has long been applied for prehistory in Thailand, which based on the primary concept from Prince Damrong Rajanubhab.

Ancient iron production site at Mae Lan: A further evidence indicating an advance of prehistoric research in Thailand From the beginning that initiated by Prince Damrong Rajanubhab and Prince Narisara Nuvadtivongs as mentioned in San Somdet, at the present, a prehistoric research in Thailand has long been further developed. Thailand prehistory research keeps developing in the perspectives of frame of thought, methodologies, and further evidence that leads to better understanding in prehistoric sociocultural aspects. In 2019, the Fine Arts Department (FAD), by an Archaeology Unit, the 7th Regional Office of FAD, Chiang Mai, conducted an excavation at Ban Mae Lan, in Li, Lumphun, northern Thailand. An excavation revealed an ancient production site and relevant evidence. Because of a discovery of a good preservation and completed iron furnace, an excavation resulted in a reconstruction of ancient furnace for iron production in the past. A perspective, regarding technological system which is relevant to that ancient furnace, can also be explainable. Moreover, according to further associated research by massive survey across adjacent areas, at least 50 sources of iron raw material were marked. Based on absolute dating, it indicated that this iron production site can de dated back to approximately 2,300 years before present or around the 2nd to 3rd Buddhist Century. This chronological result also revealed that this site was one of several communities in the period of Thailand Iron Age. It can be concluded that Ban Mae Lan represented the largest and most ancient site of iron production as ever been found in northern Thailand. Finally, this site also presented a continuation of socio-cultural development from prehistoric to historical periods in that region.

Nakhon Pathom

“…. When I directed a construction of Nakhon Pathom, it was an opportunity to see several artefacts that found in the town. I, thus, started to interest in an investigation on the past of Nakhon Pathom. I took a photo of a coin made of silver, generally found around Phra Pathom Chedi and in U-Thong, which engraved with a conch-like design, then sent that photo to the British Museum. A query about that coin, regarding a possible original country, was also made for an expert at the museum. A reply was returned to me that similar coins can be only found in Bagan, Myanmar. This reply then remarked me that once Nakhon Pathom may have associated with Bagan in some extent. Damrong Rajanubhab 21st August 1935 Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๐๗


In 1895 was considered as a major period of an artefact colleting in Nakhon Pathom. This remarkable occasion was caused by Prince Damrong Rajanubhab who was a minister of the Ministry of Interior at that time. Since there were a plenty of artefacts widely found across Nakhon Pathom, Kamphaeng Saen that resulted by a railway construction, hence, the prince originated and idea to collect those artefacts. In a consequent, different types of artefact, for example, part of the Dvaravati Dhammachakra, ancient inscription, the Buddha images, the Buddhism votive tablets, have long been assembled and displayed at the Nakhon Pathom National Museum. The Fine Arts Department (FAD) has furthered more research on archaeology in Nakhon Pathom. Additional new artefacts, hence, have been discovered, particularly, some more silver coins which decorated by a conch-like design. Similar coins have been sparsely across Nakhon Pathom and neighbouring provinces, as well as adjacent country. Apart from such coins, further different styles of silver coin have also been found, especially, some coins with the inscription as ‘Sri Dvaravati Savarapunya’. The same caption was not only stated in an inscription from those silver coins but also was mentioned by other inscriptions on further artefacts. Those artefacts, for example, are the Dhammachakra, the Buddha image, a seal made of clay, a stone stick, a brick. Most of those ancient inscriptions related with the Buddhism affairs. Moreover, some inscriptions stated ‘Dvaravati’, for example, the inscriptions from Wat Chantuek, and Wat Phra Ngam. According to those archaeological records, it can be interpreted that the ancient Nakhon Pathom was associated with other communities, based on some certain factors, for example, an expansion of Buddhism, a long-distance trade network. At the present, even though it cannot state that whether or not Nakhon Pathom was the centre of Dvaravati in the past, those artefacts, as mentioned previously, has indicated that this ancient town was really important. Those archaeological records have also convincingly proved that Nakhon Pathom was under a development during the 12th and 16th Buddhism Century.

The two princes and their interests on archaeology in southern Thailand

There have long been different perspectives of archaeology in southern Thailand that were considered by Prince Damrong Rajanubhab and Prince Narisara Nuvadtivongs. There were also some archaeological assumptions, regarding that region, for example, an arrival of Indians and other foreigners, the emergences of Buddhism and Brahmanism-Hinduism religions, and the association between Srivijaya and the south of Thailand. Those assumptions were based on a variety of archaeological records, for instance, some sanctuaries; Thung Tuek, Khao Phra Nue, and Phra Borommathat Chaiya, that were built by Indians at different locations. According to the two princes, those archaeological sites were related to trading spaces and routes in the past. Some religious buildings and artefacts, discovered from those sites, demonstrated a relevance of different religious believes, including the two main branches, Sivaism-Vaishnavism, of Brahmanism-Hinduism, and Mahayana of Buddhism. Ancient inscriptions and chronicles indicated not only the past trading but also an introduction of different religions to the communities across the south of Thailand. Those assumptions by the two princes has long resulted in further research, conducted by the Fine Arts Department, on archaeology in southern Thailand, so that associated assumptions can be firmly proved. There were different surveys and excavations at various sites, for example, Thung Tuek, Khao Phra Nue and and Khao Phra Narai in Phang Nga. Different artefacts, such as beads, bronze ornaments, were produced from that sanctuaries. Moreover, additional sites, for instance, Na-pa-la in Trang, ancient shipwreck site at Had Pak Khlong Kluai in Ranong, have also been found from further archaeological expeditions. “…There were a number of ancient monuments, located across the Malay Peninsula, that were possibly developed by Indians. Those architectural ruins indicated a settlement of the past people along the peninsular of Thailand, from northern to southern parts. A) According to a recent survey by Dr.Wales (H.G. Quaritch Wales), there were some sanctuaries, for example, Thung Tuek, Khao Phra Nue, Khao Phra Narai, located in Takua Pa Province. B) There was a sacred space for keeping a series of votive tablets, made of unbaked clay, at a temple in Trang. However, similar votive tablets were also found at different localities. It has long been known that a tradition of making such votive tablet has still been practiced in Tibet. Traditionally, after a cremation of any senior Buddhist monk, some relics from that cremation were normally added as a temper for making a votive tablet. C) A fortification structure and several Buddhism pagodas that were found in Chaiya, Surat Thani indicated that this town was larger than other towns. D) Some archaeological records, including Buddhism pagodas, ancient inscription written on stone, and a pretty small fortification structure, were discovered in Wiang Sa, Nakhon Si Thammarat.

๒๐๘

E) There were Buddhism pagodas, located in the present town of Nakhon Si Thammarat. It was also believed that there was an ancient town but it was replaced by the current town. F) Khao Khuha Sawan and Khao Ok Talu in Phatthalung were considered to be the sanctuaries for keeping a series of votive tablets, made of unbaked clay. G) There was a huge reclining Buddha image that was constructed in the Khao Taphao Cave, in Yala. Some votive tablets, made of unbaked clay, were also found in that cave. Based on a map of the Malay Peninsula, it was found that different localities along the western coast can potentially be considered as the Indian port towns. Those ports were also associated with different inland routes, for travelling across the peninsula, from the west to the east. Written by Damrong Rajanubhab to Narisara Nuvadtivongs 14th November 1935 The Fine Arts Department (FAD) has conducted further research on archaeology, based on the initiation by Prince Damrong Rajanubhab and Prince Narisara Nuvadtivongs. According to additional research by FAD, it was clear that Thung Tuek, Khao Phra Nue, and Khao Phra Narai, as the principal sanctuaries in Phang Nga, has evidenced a development the port towns from the remote past. This port towns also related to Srivijaya that has long been considered as an ancient empire, which had powerful control across the Malay Peninsula. Some diagnostic artefacts, for example, ceramics vessels, beads, ornaments, were resulted from an excavation at those sanctuaries in Phang Nga. Moreover, some artefacts that has considered as the typical items of the Tang Dynasty, for instance, some golden and bronze rings, as well as some sculptures were unearthed alongside. The images of Vishnu were discovered at Khao Phra Nue and Khoa Phra Narai. The Vishnu from Khao Phra Nue has long been displayed at the Bangkok National Museum, whereas the Vishnu from Khao Phra Narai has long been exhibited at the Thalang National Museum, in Phuket. Additional excavations were conducted at both sanctuaries. Further research on relevant perspectives, for example, iconography, art history; including stylistic of arts, weaponry items of the statue, have also been conducted. The research aimed to understand religious belief that resulted in the construction of those sanctuaries in the past. An accurate dating of the sanctuary was additional perspective that was expected from the research. A replica of the Vishnu was created and has been placed at Khao Phra Nue. Some more important sculptural artefacts; the Vishnu in Pallava Art, the Vishnu in Chola Art, the BatukaBhairava (Ishvara in cruel gesture), had been found from Wiang Sa ancient town, from the excavations in 1984 and 2006 respectively. The FAD has conducted the research alongside those excavations, regarding every single important artefact. The research also focused on a piece of partial anthropomorphic hand, made of stone that were recently unearthed. This new artefact has been at the Chaiya National Museum, in Surat Thani. Regarding several Buddhism votive tablets from various sites, those artefacts have been primarily researched on the basis of typology approach, which is the fundamental step before further research on different in-depth perspectives. According to the FAD archaeological research as mentioned earlier, it was clear that some assumptions, for example, an existence and a development of some port towns in the Malay Peninsula, can finally be proved. Relevant perspective of that port towns, such as an association of trading system, inland bases for travelling across the Peninsula from the west to the east, were also archaeologically affirmed.

Ceramics production in the north of Thailand

The beginning of a discover of Lanna Kiln Sites and its archaeological research

“… Phraya Nakhon Phraram discovered some ancient ceramics kiln sites in Wiang Pa Pao, Wiang Ka Long. He collected a lot of ceramics vessels from those kiln sites. Hence, a series of ceramics vessels were shown at his own private home…” Narisara Nuvadtivongs 21st November 1934

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๐๙


“… It needed to honour Phraya Nakhon Phraram as a discoverer of the Wiang Ka Long ancient kiln site…” Damrong Rajanubhab 1935 An ancient ceramics kiln sites, in Lanna or the north of Thailand, has been firstly discovered around 1924 by Phraya Nakhon Phraram (Sawat Mahakayi). He conducted a survey of different kiln sites at Wiang Ka Long, in Wiang Pa Pao, Chiang Rai. Ceramics vessels that were discovered at this kiln presented diagnostic attributes, for example, thin stoneware made of white and pale soil, motif painted by black colour under glaze. Hence, this ancient kiln site has long been considered as a first ancient ceramics kiln that was discovered in northern Thailand. The other ancient kiln then had been further discovered in the same region, for instance, the kiln in Sam Kamphaeng, Chiang Mai, that was found by a district prefect; Mr.Kraisri Nimmanhemin, in 1952. Later on, since 1967, a further massive survey and archaeological excavations have been conducted across northern Thailand. The surveys resulted in discovering more ancient ceramics kiln sites, for example, at Bang Pong Daeng in Pha, Chiang Rai, at Ban Boh Suak in Mueang Nan, Nan, at Inthakhin Kiln in Mae Taeng, Chiang Mai, at Mueang Phayao, Phayao. Some of those sites were also excavated. Moreover, recently, in 2019, the ancient kiln at Ban Pa Tueng in San Kamphaeng, Chiang Mai was excavated by the Fine Arts Department (FAD). According to those archaeological projects, they had resulted in better understanding about ancient ceramics, in northern Thailand, in wider and different perspectives, for example, production technology, typology, accurate dating, and an association amongst contemporaneous communities.

Sukhothai Ware, the cultural heritage from Sukhothai ancient state “… Phraya Nakhon Phraram used to be a trainee under my training, when he was trained at the Mahat Lek Luang. When he started working in the Ministry of Interior to be a governor of Pitsanulok Region, I reminded him that he should focus attention on and study himself on archaeology. I was also remarked that Pitsanulok is very rich in archaeology that has resulted in several foreigners to visit many sanctuaries there. He had long started to collect those Sangkalok wares. According to an image that he sent to me, those collections were displayed in two showcases at his home…” Damrong Rajanubhab 9th December 1934 The boundaries across nowadays provinces of lower part of northern Thailand; Uttaradit, Tak, Sukhithai, Pitsanulok, Kamphang Phet, and Phichit, have long been considered as the territory ancient state of Sukhothai in the past. This region has yielded plenty of historical evidence and unique cultural heritages as Sukhothai stylistic of arts. Those has been represented in architecture, sculpture, and Sukhothai ware that has been well known as ‘Sangkalok Ware’. It has long been generally accepted that the term ‘Sangkalok’ was originated from the ancient town, named as ‘Sawankhalok’. It has also been believed that the term ‘Sangkalok’ was applied to refer to the local ceramics products, which were produced by several production sites during the Late Sukhothai and the Ayutthaya Periods, approximately spanned from later of the 19th to early of the 22nd Buddhism Century. The major production site was in the area of Sawankhalok ancient town, located nowadays in Si Satchanalai, Sukhothai. Apart from that major production source, ancient towns of Sukhothai and Pitsanulok have also long been considered as the other major sources of Sangkalok ceramics products. Ancient kiln sites at Si Satchanalai (Sawankalok ancient town) located along the bank of the River Yom. There were two main groups of kilns in the town. Those kilns group were Ban Koh Noi and Ban Pa Yang. Ancient kiln sites at Sukhothai ancient town locate near a stream; locally called as Lam Nam Jone, and close to Wat Phrapai Luang in an outer area, north of ancient town. The diagnostic decoration style, of a product from this source, was a painting as a motif of a whole fish, in black colour under glazed. Ancient kiln site of Chee Pa Khao Hai (Ban Tao Hai) located in Mueang Pitsanulok, Pitsanulok Province, along the eastern bank of the River Nan. A typical product from this source was unglazed stoneware, in various shapes, for example, jar, bowl, and mortar. They were decorated by diagnostic method of designs, such as incised, impressed, and applique. Some of those Sangkalok ceramics, which were collected by Phraya Nakhon Phraram (Sawat Mahakayi), have been kept at the Bangkok National Museum, whereas some of them have been stored at the National Museum Central Storage in Pathum Thani.

๒๑๐

The Sangkalok Ware, an export item from Siam “… There were two localities, in Sawankalok, with an existence of the Turiang kiln. They presented plenty of ancient kilns which caused myself to be curious about the final target groups of large volume products. However, I later knew that the products from those Turiang kilns were exported to different remote markets, for example, the Philippines, Java, Malay. Hence, I finally realised why the Turiang kilns group needed to produce Sangkalok ware in very large amount…” Damrong Rajanubhab 25th November 1934 Different shipwreck sites in Thailand, for example, Koh Khram, Rang Kwian, in Sattahip, Chon Buri, Koh Kradad in Trat, and the Australia Tire had evidenced that the Sangkalok ware were exported to various countries in the past. Those shipwreck sites were dated back to approximately from middle of the 20th to later of the 21st Buddhism Century. “… The other ancient kiln site at Sukhothai produced a course glazed product, for example, the Sukhothai big jar which similar to Nang Loeng. Several of them were in the museum …” Damrong Rajanubhab 20th April 1935 Based on an old image, taken in the reign of King Rama 7th, it showed a large ceramics jar that had been open-air displayed in the Bangkok National Museum. Prince Damrong Rajanubhab called that jar as the Sukhothai jar. Further archaeological research on that jar, currently, convinced that an ancient kiln site at Ban Koh Noi, in Sisatchanalai, Sukhoathai and an ancient kiln site along the Maenam Noi River, in Bang Rachan, Sing Buri, were the two main production sites of that large ceramics jar type.

The two Princes and their work in Inscription and Literature

Ancient inscription as a key for answering historical question

Various ancient inscriptions, that were mentioned by San Somdet, were applied as the key for different historical controversies. The Sukhothai Inscription Number 1, for example, was applicable on the basis of intonation marks consideration. The other example was the inscription of Lan Thong Maha Thera Chulamani that was correlated with other historical and archaeological records, as was mentioned in the San Somdej; “… The inscription engrave on a stone was originated in the reign of King Ramkhamhaeng (also widely known by Thais as Pho Khun Ram Khamhaeng) of the Sukhothai ancient state. According to that inscription, undoubtedly, the specific Thai intonation marks has long been developed since the reign of King Ramkhamhaeng…” Narisara Nuvadtivongs 20th June 1932 The Sukhothai Inscription Number 1 has been considerably criticised, regarding orthographic system, and was correlated with a discussion on an originality of this inscription. However, the other ancient inscription, that was named Bang Sanook Inscription, in Wang Chin, Phrae, has proved and convinced an originality of the Sukhothai Inscription Number 1. Regarding a historical argument, based on evidence of ancient inscription, by applying an archaeological approach, the inscription of Lanthong Maha Thera Chulamani that was found from Wat Mahathat, Sukhothai, was one of considerable example. Luang Boriban Buriphan presented such application as mentioned by the San Somdet; “… It was likely to be an Ubosot (a Buddhism church or an ordination hall) as mentioned in a report by Luang Boriban Buriphan. A transformation to be an Ubosot, possibly, when Lanthong had long been placed there. However, that Lanthong wasalso potentially removed from somewhere which it was earlier placed…” Damrong Rajanubhab 29th September 1941

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๑๑


It has been obvious that different ancient inscriptions have been mentioned in San Somdet, since those inscriptions were applied as considerable evidence for considering various points of archaeological and historical controversy, by the two princes. Such application, hence, has been accepted as the primary stage of a research on history and archaeology by ancient inscription base. Further relevant research has later been focused more on various ancient inscriptions. Such research development has also resulted in a clearer and more important of a correlation between literature and history, regarding ancient state of Sukhothai in particular.

San Somdet and further relevant studies An emergence of printing in Thailand has been developed since later of the 24th Buddhist Century. It has then been fully flourished in the reign of King Ram 5th, as large volume of book has been printed out. Such development was nicely associated with the motto; If any nation does not have a book, that nation can be claimed as a group of barbarians, which was given by King Rama 5th. In a consequent, as the president of the Vajirayana Library, Prince Damrong Rajanubhab, considered to keep collecting more books to the library. Besides more books collecting, the prince also supported a project to re-prove large number of ancient Thai literatures. That project then resulted in a new format of those literatures as the printed versions. Those printed versions have also been widely published to the public. Moreover, according to San Somdet, there was a bilateral discussion on various perspectives, regarding spoken accent, history, legend, chronicle, and education affairs, by Prince Damrong Rajanubhab and Prince Narisara Nuvadtivongs. Although the present is an era of advance printing technology, as an importance of different ancient Thai literatures, the Fine Arts Department (FAD) has originated a project to reproduce the copy of original version of those literatures. Those copies have been completed in electronics format or E-Book, and then launched them online so that they are able to be easily accessed and searchable.

A renaissance of old painting and literature

“… A collection of books of Prince Piya Phakdeenat was a very good one. Some of them was originated in the reign of King Rama 1st. Those good books, for example, the Phet Phuang photos book, have been permitted by Prince Piya Phakdeenat to make the copy of them…” Damrong Rajanubhab 11th March 1936 “… When Phraya Boran Ratcha Thanin was Phra Anurak Phubet, my first visit to Wat Yom was taken by himself. A restoration of Wat Yom was completed under a royal patronage by King Narai. At Wat Yom, there were a series of mural painting along a door and window frames in the Ubosot. The wall behind a big Buddha image was painted as those images of the Ayutthaya Palace buildings, whereas the side walls were presented by a painting of the royal parade scene. Later, the painting of the royal parade scene was copied as an images book when Phraya Boran Ratcha Thanin had founded the Ayutthaya Museum ...” Damrong Rajanubhab 27th July 1941 Based on those quoting above, they represented an example of old and ancient documents reproduction. It was clear that some old mural painting and images from old books were copied and provided as a new images book. The reproduction was mainly aimed to continue those paintings and images as long as possible. Such mission is firmly corresponded with the mission of different units under the Fine Arts Department (FAD). Amongst those FAD units, the Scientific Unit for Conservation, the Office of National Museums, and the Unit of Fine Arts and Sculpture Conservation, Archaeology Division, are the main departments which significantly take part to reproduce and conserve several old and ancient mural painting at various temple nationwide. Most of those replicas have long been stored by the National Library so that they can be studied and learned by the public.

๒๑๒

The two Princes and Arts

“… Regarding an ancient craftsmanship, I thought that there were a very small number of those craftsmen in Thonburi period. Those arts object and craft items, during that period, were not really fine. However, it was found that those arts and craftsmanship became much better in later period under the reign of King Rama 1st. It was believed that those artisans and craftsmen were retrained. Hence, they needed to keep seriously and very often practicing. Their responsibilities were associated with producing all relevant items for the royal houses and several temples. As a result, there were large number of more artisans and craftsmen who were very skilful, over 28 years under the reign of King Rama 1st. However, it can be remarkable that those arts and crafts items, in the reign of King Rama 1st, were crated by following those items from the Ayutthaya period…” Damrong Rajanubhab 11th March 1936 Prince Damrong Rajanubhab and Prince Narisara Nuvadtivongs had a wide range of knowledge in different disciplines. According to San Somdet, their analyses on whatever issue were definitely reasonable, based on various approaches from multidisciplinaries, especially in areas of art. It has long been accepted that the two princes were honoured as the masters in Thai arts and craftsmanship, both of which is original Thai and which is influenced by western arts. The two princes also played a significant role as the persons who started shaping a uniqueness of Thai arts and cultures as current presence.

An architecture of the Golden Royal Funeral Pyre “… Regarding an architectural plan of the Meru or funeral pyre, there was a largest building that was placed centrally. That central largest building was also surrounded by different layers and a complex of walls and corridors. Such plan had been believed that was influenced by Angkor Wat architectural plan. According to the ancient Indian concept of cosmology, the main stupa at central point of Angkor Wat plan was symbolised as the Meru Mount. That mount was surrounded by seven layers of seven mountainous ranges which was called the Satta Boriphan Mountains. Hence, an architectural plane of the Meru for royal funerary in Thai culture can be considered by the same symbolisation. However, the surrounding layers of the Meru for royal funerary was not as complex as it was at Angkor Wat…” Narisara Nuvadtivongs 29th July 1936 The royal funeral pyre or the Meru for cremation the body of King Rama 6th was planned and designed by Prince Narisar Nuvadtivongs. This architectural plan and design were based on a prototype from the Meru for cremating King Rama 5th body. Basically, the building of new Meru was designed as a-five-layer main structure, in a square shape of plan, based on two basements. It was approximately 34 metre as a total height above the ground surface. Traditionally, an architectural design, of the Meru for cremating the king body, has long needed to present the most honourable symbolisation, based on the honourable classification of the Thai monarch. Moreover, according the concept of God-King or Devaraja in Thai, the Meru also needs to symbolically reflect the concept of cosmology which is centralised by the Phra Sumeru Mount. That central mountain has long been believed that it is a living place of the king.

Buddhism talipot fan “… I believed that a Buddhism talipot fan, which has long generally used by Buddhist monk, was potentially not originated by those monks. That item was also not produced specifically for the monks. Actually, it has long originally created and used generally in India since the remote past. This fan was known in Indians as Wala Wichani which was also believed that a talipot fan was firstly crated prior to the Buddhist Era…” Damrong Rajanubhab 6th January 193

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๑๓


Regarding an ambiguity of a talipot fan originality, Prince Damrong Rajanubhab had considered that it was influenced by the traditional fan in India that was widely known as Wala Wichani, as mentioned in San Somdet. Originally, it was made of a big palm leaf and was used as a fan. It has later been more modified by having a specific internal structure, and been externally framed by some fabric. Moreover, there are different fans that are relevant to the Buddhist monk for using in various occasions. Prince Narisara Nuvadtivongs had design a fan as an honourable marker, that is called ‘Pat Yot’, for the Buddhist monk. There is also the other fan that is called ‘Pat Rong’, for using in an event of merit ceremony. Apart from those two main fans, there is also the other fan that is known as ‘Pat Sangkhet’, which is created for using in an event of funerary ceremony. Hence, the fan for Buddhist monk in various types has represented an aesthetic of Thai deliberate arts and its history. This cultural development has also long resulted in a present Thai tradition and norm for designing the talipot fan.

Ramayana images book A consideration, regarding mural painting “… I thought that the Ramayana images book, that was taken by yourself and then returned to me, was an important key source, for using as the prototype in order to arrange a project of painting along a corridor of the Temple of the Emerald Buddha - Wat Phra Si Rattana Satsadaram (or Wat Phra Kaew)…” Narisara Nuvadtivongs 2nd October 1928 The images book as a sketch of Ramayana painting, that was mentioned by the San Somdet, was considered as the most aesthetic one. Prince Damrong Rajanubhab and Prince Narisara Nuvadtivongs named that book as the ‘Ramayana images book’. Prince Narisara Nuvadtivongs has long been considered as an intelligence person who usually applied different approaches and disciplines, for example, arts and craftsmanship, history, as well as a mixture of his personal experience, to consider an appropriation of the Ramayana images book. According to his consideration, that book was approved as the most suitable prototype for arranging a project of the mural painting along the Temple of the Emerald Buddha - Wat Phra Si Rattana Satsadaram (or Wat Phra Kaew). However, since the early period of the Rattanakosin (or Bangkok), it has been found that the mural painting along a corridor of Wat Phra Kaew was painted in different times, by erasing and repainting again and again. The most recent painting was conducted about few years earlier than the Siamese Revolution of 1932, possibly in between 1929 and 1930. Regarding the period of sketching, it was believed that the Ramayana images book was crated in the reign of King Rama 4th. It was drafted as a prototype for painting along a corridor of the Wat Phra Kaew. The painting along a corridor in that temple was renovated around early period under the reign of King Rama 4th, in an occasion of a celebration and a commemoration of the Bangkok Centenary. However, in actual painting, it was found that the draft was not actually applied.

Thai craft as fine arts

In the reign of King Rama 6th, a significance of the cultural heritages was considerably addressed by the king, as they have presented the origins of Thai. In a consequent, the Department of Museum, Ministry of Education was restructured. It was merged with partial of the Mahad Lek Luang Department and then re-established to be a new department as the Fine Arts Department (FAD). The establishment of the FAD has been on 27th March 1911. At that time, there was not only assembling the craftsmen in Thailand from the Mahad Lek Luang Department, but also an invitation of those foreign-craft-masters from different countries. The invitation aimed to develop and advance the craftsmanship in Thailand. King Rama 6th has also founded a School of Fine Arts which was further developed to be Silpakorn University. Contemporaneously, there was not only that institution, but also the Poh-Chang Academy of Arts (previously known as the Poh-Chang School) that has been established. Those institutions were expected to play an important role for conserving, developing, and sustaining Thai fine arts and crafts. There were two important foreign masters who were officially hired for training at the institutions as earlier mentioned. One of those masters was Professor Silpa Bhirasi (Feroci), from Italy, who taught fine arts and sculpture, whereas the other one was a Japanese lacquer craftsman, whose name was S. Miki. Mr. Miki trained in the Department of Industrial Arts with a coverage of lacquer and glaze subjects.

From a monument to a foundation of western sculpture “… Mr.Feroci (Professor Silpa Bhirasi) was keen to produce the statue of Your Majesty (King Rama 5th). He asked me for providing a most appropriate prototype for this sculpturing project. Hence, I thought about the statue of Your Majesty, that was made of stone. However, either myself or any one had no idea where about it was. I believed I did not recognise, about that statue, by dreaming, because there were several other people who used to see it…” Narisara Nuvadtivongs 24th May 1934 In the reign of King Rama 4th, Siam (Thailand) was widely introduced to different western countries. Hence, there were various westernisations; including arts and crafts, that were also accepted to Siam. In 1863, under the reign of King Napoleon III, the French government has shipped the statue of King Rama 4th to Siam. The statue was sculptured by Emile Francois, a French sculptor, with a total of two feet height. In a consequent, it has been considered that a sculpture of the king statue, by westernisation, has emerged since that period. Later, in the reign of King Rama 5th, a production of the king statue kept continuing still. However, apart from sculpturing the statues of the previous kings who passed away, there was a development of a monument creation. After the throne succession in 1910, King Rama 6th considered that an official institution; which associated with a responsibility of Thai arts and cultural affairs, was important and strongly needed to be established. Hence, the Fine Arts Department (FAD) has been officially founded on 27th March 1911. A monument creation; that had been originated since the reign of King Rama 5th, kept developing progressively. King Rama 6th also approved to officially hire a foreign master-sculptor to conduct several monument projects in Siam, instead of hiring a local sculptor. A foreign master was invited to base in Siam for conducting the project, so that large amount of expense did not need to be paid. Moreover, such employment also resulted and benefited in an important opportunity for many local artisans and sculptors to be trained, on the basis of western school.

A consideration, regarding Thai lacquer ware-item “… Yesterday, I met and talked to Mr. Miki, a Japanese craftsman, at the Bangkok National Museum, and asked him for living longer in Thailand. He accepted a persuasion but he needed a short trip back to Japan about nine months, to meet his family. I agreed with his plan and told him that I will let you know about this plan. I thought a-nine-month break was nothing wrong for any foreign officials. Mr. Miki responded to me that he had been working in Thailand since last 13 years, he had just been back to Japan only once…” Damrong Rajanubhab 8th March 1929

๒๑๔

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๑๕


บรรณานุกรม กมลทิพย ธารสวางดํารง. การศึกษาความสัมพันธระหวางเมืองนาน สุโขทัย ลานนา พุทธศตวรรษที่ ๑๙ – ๒๒. วิทยานิพนธปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา ๒๕๔๘. กฤษฎา พิณศรี ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และอุษา งวนเพียรภาค. เครื่องถวยสุโขทัย : พัฒนาการของ เครื่องถวยไทย. กรุงเทพฯ: โอสถสภา, ๒๕๓๕. กิตติ ศิริรัตนไชยยงค. อนุสาวรียสําคัญของไทย. กรุงเทพฯ: แพรพิทยา, ๒๕๑๔. กระทรวงธรรมการ. “แจงความตั้งแตพิมพครั้งที่ ๙,” ใน แบบเรียนเร็ว. พระนคร: กรมตํารา, ๒๔๗๑. กระทรวงวัฒนธรรม. ประมวลองคความรู พระราชพิธีบรมราชาภิเษก. กรุงเทพฯ: กลุมประชาสัมพันธ สํานักงานปลัดกระทรวง วัฒนธรรม, ๒๕๖๒. กรมศิลปากร. คนแรกเริ่มบนแผนดินไทย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๕๙. ------------. จากบานสูเมือง: รัฐแรกเริ่มบนแผนดินไทย From Village to Early State : The Transformation of Culture in Our Land. นครปฐม: รุงศิลปการพิมพ (1977), ๒๕๖๑. ------------. จินดามณี ฉบับหมอบรัดเล. กรุงเทพฯ: สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๖๒. ------------. ตํารารํา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ สุวรรณภูมิ. ๒๕๔๐. ------------. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เลม ๑ ตอน ๑. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, ๒๔๙๕. ------------. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระปฐมเจดีย. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง, ๒๕๔๒. ------------. “ลิลิตกระบวนแหพระกฐินพยุหยาตรา,” ใน วรรณคดีเจาพระยาพระคลัง (หน) กรุงเทพฯ: แพรพิทยา, ๒๕๑๕. ------------. สังคโลกศรีสัชนาลัย. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้นติ้ง กรุพ จํากัด, ๒๕๓๐. ------------. สัมมนาวิชาการศึกษายางรักเพื่อการอนุรักษภูมิปญญาไทย อันเนื่องจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๕๒. ------------. สาสนสมเด็จลายพระหัตถของสมเด็จเจาฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ และสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. พระนคร: คลังวิทยา, ๒๔๙๙. ------------. เอกสารกองโบราณคดีหมายเลข ๑๓/๒๕๓๑ โบราณคดีสีคราม. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้นติ้ง กรุพ จํากัด, ๒๕๓๑. กลุมโบราณคดีและอนุรักษโบราณสถาน สาขาภูเก็ต สํานักศิลปากรที่ ๑๒ นครศรีธรรมราช กรมศิลปากร. รายงานการสํารวจเรือ โบราณหาดปากคลองกลวย หมู ๔ บานภูเขาทอง ตําบลกําพวน อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง. ม.ป.ท.:ม.ป.พ.,๒๕๖๐. ไกรศรี นิมมานเหมินท. เครื่องถวยสันกําแพง. เชียงใหม: บริษัท คนเมืองการพิมพ จํากัด, ๒๕๐๓. ------------. “เครื่องถวยสันกําแพง,” ใน คําบรรยายสัมนาโบราณคดีสมัยสุโขทัย พ.ศ. ๒๕๐๓. กรมศิลปากรรวบรวมจัดพิมพเนื่องใน งานเสด็จพระราชดําเนินทรงเปดพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ รามคําแหง จังหวัดสุโขทัย วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๗. พระนคร: ศิวพร, ๒๕๐๗. กองโบราณคดี. บานปราสาท แหลงโบราณคดีอีสานลาง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๓๔. ------------. มรดกวัฒนธรรมบานเชียง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๓๔. ------------. ศิลปะถํ้าสมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๓๙. กองแกว วีระประจักษ และนิยะดา ทาสุคนธ. ตูไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๒๑.

๒๑๖

เขียน ยิ้มศิริ. “ศาสตราจารยศิลป พีระศรี,” ใน บทความ ขอเขียนและงานศิลปกรรมของศาสตราจารยศิลป พีระศรี. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง, ๒๕๔๕. คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. สมุดภาพศิลปกรรมรามเกียรติ์ ฉบับเยาวชน. กรุงเทพฯ: สํานักพระราชวัง, ๒๕๕๔. เครื่องเขินลานนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ยางรัก. สืบคนเมื่อ ๒๗ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๖๓ เขาถึงไดจาก (http://library.cmu.ac.th/ ntic/lannalacquerware/raw-material/varnish). ชิน อยูดี บิดาแหงวิชากอนประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๙. ชิน อยูดี. สมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๙. ชุมนุมจดหมายเหตุดนตรี ๕ รัชกาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเดือนตุลา, ๒๕๔๙ ชุมนุมบทกลอนและบทขับรอง. กรุงเทพฯ: หงหุนสวนจํากัดศิวพร, ๒๕๑๔ โชติ กัลยาณมิตร. พจนานุกรมสถาปตยกรรมและศิลปะเกี่ยวเนื่อง. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๔๘. ญาติมา ทองคํา และนฤมล กางเกตุ. รายงานเบือ้ งตนการขุดคนแหลงโบราณคดีคลองทอม อําเภอ คลองทอม จังหวัดกระบี่ ระหวาง วันที่ ๒๗ มีนาคม - ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑. ม.ป.ท.: ม.ป.พ. ๒๕๕๑. ณัฏฐภัทร จันทวิช. ตาลปตรและเครื่องประกอบสมณศักดิ์. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๒๙. ------------. ตาลปตร พัดยศ. กรุงเทพฯ: ริเวอร บุคส จํากัด, ๒๕๓๘. ฐานขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. รักใหญ. สืบคนเมื่อ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓. เขาถึงไดจาก (http:// www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=276). ดวงจิตร จิตรพงศ. ตาลปตร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพพระจันทร, ๒๕๐๒. ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. ตําราฟอนรํา ฉบับเรียบเรียงในหอพระสมุด วชิรญาณสําหรับพระนคร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ มติชนปากเกร็ด, ๒๕๕๘. ------------. ตํานานพุทธเจดียสยาม. พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๙. ------------. ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอพุทธสาสนสังคหะ แลหอสมุดสําหรับพระนคร. พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๕๙. ------------. ปาฐกถาเรื่องสงวนของโบราณ. โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร: พระนคร, ๒๔๗๓. ทิพากรวงศ (ขํา บุนนาค), เจาพระยา. เรื่องพระปฐมเจดีย. พระนคร: โรงพิมพชวนพิมพ, ๒๕๑๐. ------------. เรื่องพระปฐมเจดีย. พระนคร : สํานักงานจัดหาประโยชนและรักษาองคพระปฐมเจดีย, ๒๕๑๑. ธนิก เลิศชาญฤทธ. ภาชนะดินเผายุคกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย. นนทบุรี: มิวเซียมเพรส, ๒๕๖๐. ธนิต อยูโพธิ์. ศิลปละครรําหรือคูมือนาฏศิลปไทย. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัดศิวพร. ๒๕๑๖. นครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี), พระยา. เครื่องถวยไทย. พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพของพระยานครพระราม (สวัสดิ์ มหากายี) ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๘๑. พระนคร: กรุงเทพบรรณาคาร, ๒๔๘๐. นิยะดา ทาสุคนธ. “กระบวนพยุหยาตราชาง กระบวนเพชรพวงสมเด็จพระนารายณมหาราช,” ใน กระบวนพยุหยาตรา ประวัติและ พระราชพิธี. กรุงเทพฯ: หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๔๓. นริศรานุวดั ติวงศ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา และดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. สาสนสมเด็จ เลม ๑. กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖. ------------. สาสนสมเด็จ เลม ๒. กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖. ------------. สาสนสมเด็จ เลม ๓. กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๔๖. ------------. สาสนสมเด็จ เลม ๑๐. พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๕. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๑๗


------------. สาสนสมเด็จ เลม ๑๐. กรุงเทพฯ: องคการคาฯ, ๒๕๕๐. ------------. สาสนสมเด็จ เลม ๒๒. พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๕. ------------. สาสนสมเด็จ เลม ๒๓. พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๕. ------------. สาสนสมเด็จ เลม ๒๔. พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๕. ------------. สาสนสมเด็จ เลม ๒๕. พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๕. นริศรานุวัดติวงศ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา และอนุมานราชธน, พระยา. บันทึกเรื่องราวความรูตางๆ เลม ๔. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, ๒๕๐๖. บุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ และเรไร นัยวัฒน. ทุงตึกเมืองทาการคาโบราณ. กรุงเทพฯ: สมาพันธ, ๒๕๕๐. โบราณคดีสโมสร. ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๑. กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทย ณสพานยศเส, ๒๔๕๗. ปน มาลากุล, หมอมหลวง. งานละครของพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลาเจาแผนดินสยาม และประชาธิปไตยแบบตางๆ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช. ๒๕๓๙. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. สองชาติ ชีวิตศิลปนของคุณครูสองชาติ ชื่นศิริ. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. ๒๕๖๑. ประพัตน ตรีณรงค. พระประวัติและงานสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ. กรุงเทพฯ: ดํารงวิทยา, ๒๕๔๗ ประพิศพรรณ ศรีเพ็ญ. ลมุล ยมะคุปต คุณานุสรณ ครบรอบ ๑๐๐ ป ๒ มิถุนายน ๒๕๔๘. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. ๒๕๔๘. ปรมานุชติ ชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระ. ลิลติ กระบวนแหพระกฐินพยุหยาตราทางสถลมารคและทางชลมารค. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก, ๒๕๖๐. ปริวรรต ธรรมาปรีชากร สวาง เลิศฤทธิ์ และกฤษฎา พิณศรี. ศิลปะเครื่องถวยในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โอสถสภา, ๒๕๓๙. ผาสุข อินทราวุธ. ภาชนะดินเผาพืน้ เมืองจากการสํารวจและขุดคนเมืองโบราณในคาบสมุทรสทิงพระ. เอกสารประกอบการสัมมนา ทางวิชาการเรื่อง ประวัติศาสตรและโบราณคาบสมุทรสทิงพระ ณ สถาบันทักษิณศึกษา สงขลา ๕ - ๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๖. ------------. สุวรรณภูมิหลักฐานทางโบราณคดี. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ, ๒๕๔๘. ผุสดี รอดเจริญ. “พิธีกรรมการฝงศพในสมัยกอนประวัติศาสตร : ความเชื่อและสถานภาพทางสังคม,” ใน ดํารงวิชาการ ปที่ ๗ เลมที่ ๑ (ม.ค. - มิ.ย. ๕๑): ๑๔๕ – ๑๖๗. พจน เกื้อกูล. เครื่องถวยและเตาเผาสันกําแพง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๑๕. พัชรินทร ศุขประมูล ธัชสร ตันติวงศ และภานิชา เสรีกิตติภัทร. เครื่องปนดินเผาในคลังพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ. กรุงเทพฯ: สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๕๒. พนิดา สิทธิวรรณ. รําไทยและเบิกโรงมหรสพ. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. ๒๕๕๒. ------------. ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพพนิดา สิทธิวรรณ. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด พิมพอักษร. ๒๕๔๔. พูนพิศ อมาตยกุล. เพลง ดนตรี และนาฏศิลปจากสาสนสมเด็จ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเรือนแกวการพิมพ. ๒๕๕๒. พูนพิสมัย ดิศกุล, หมอมเจา. ชีวิตและผลงานของสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ. พระนคร: หอสมุดกลางมหาวิทยาลัย ศิลปากร, ๒๕๑๔. ------------. ชีวิตและผลงานของสมเด็จกรมพระยาดํารงฯ. กรุงเทพฯ: บุรินทรการพิมพ, ๒๕๑๗. ------------. พระประวัติลูกเลา และพระโอวาทบางโอกาส. ม.ป.ท.: มูลนิธิสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพและหมอมเจา จงจิตรถนอม ดิศกุล และธิดา, ๒๕๒๕. พิมพพรรณ ไพบูลยหวังเจริญ “แบบเรียนเร็ว ๑, ๒, ๓,” ใน ศิลปากร ปที่ ๖๑ เลมที่ ๓ (พ.ค. - มิ.ย ๖๑). ๑๐๙. พระมหามินท ธีริสสโร. พัดยศ สมณศักดิ์พระสงฆไทย. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด วี.เจ.พริ้นติ้ง, ๒๕๕๙. เพลงเมธา ขาวหนูนา. หลักฐานใหมของชุมชนโบราณสมัยยุคตนประวัติศาสตรของภาคใต : แหลงโบราณคดีนาพละ ต.นาพละ อ.เมืองตรัง จ.ตรัง. ม.ป.ท.: น.ป.พ., ม.ป.ป.

๒๑๘

เพ็ญพิมล (วามานนท) เชียวนาวิน. การวิเคราะหเนือ้ หา “สาสนสมเด็จ” เพือ่ ใชอา งอิงและประกอบการวิจยั . วิทยานิพนธอกั ษรศาสตรบณ ั ฑิต แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ๒๕๒๑. ไพฑูรย พงศะบุตร และคณะ. ภูมิลักษณของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๔. ไพโรจน รัตนพล นางสาวเพลินพิศ กําราญ นางเบญจมาส แพรทองและนายบุญเตือน ศรีวรพจน (บรรณาธิการ). พัดรองงานพระราชพิธี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. กรุงเทพฯ: รุงศิลปการพิมพ ๑๙๗๗, ๒๕๕๖. ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. ๑๕๐ ป สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพกับพัฒนาการโบราณคดีไทย. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศการพิมพ, ๒๕๕๕. เมดไทย. รักใหญ สรรพคุณและประโยชนของตนรักใหญ. สืบคนเมื่อ ๒๗ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๖๓. เขาถึงจาก (https://medthai.co m/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88/). มินท อดุลยรัฐธาดา. พัดยศ ศาสนศิลป แผนดินไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), ๒๕๓๗. มยุรี วีระประเสริฐ. คลองทอมแหลงอุตสาหกรรมทําลูกปด และเมืองทาขนถายสินคาสมัยโบราณปจจุบนั ของโบราณคดีไทย. จัดพิมพ ในโอกาศครบรอบ ๕๐ ป (ม.ป.ท.: คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๘. มูลนิธินริศรานุวัดติวงศ. บานปลายเนิน คลองเตย. กรุงเทพฯ: รําไทยเพสส, ๒๕๓๗. ------------. พระประวัติและเอกสารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ. กรุงเทพฯ: รําไทยเพสส, ๒๕๓๗. ยอรซ เซเดช. “อธิบายวาดวยศิลาจารึกในประเทศสยาม,” ใน ประชุมจารึก ภาคที่ ๑. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, ๒๕๒๖. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. ราชบัณฑิตยสภา. บทแผนเสียง ของราชบัณฑิตยสภา ชุดที่ ๑. พระนคร: สยามพณิชย, ๒๔๗๕. ราม วชิราวุธ (นามแฝง). เที่ยวเมืองพระรวง. กรุงเทพฯ: พระจันทร, ๒๕๒๖. รุงโรจน ภิรมยอนุกุล. การศึกษาเชิงวิเคราะหที่มาของสมุดภาพไตรภูมิ. วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี สมัยประวัติศาสตร ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๒. เรไร นัยวัฒน. รายงานเบื้องตนการขุดคนแหลงโบราณคดีภูเขาทอง พ.ศ. ๒๕๔๘. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ๒๕๕๑. รัศมี ชูทรงเดช. เอกสารคําสอนรายวิชา ๓๐๐ ๒๑๑ โบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ๒๕๕๗. ลีโอโนเวนส, แอนนา แฮรเรียต. อานสยามตามแอนนา : การบานและการเมืองในราชสํานักคิงมงกุฎ. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๖๒. วัฒนา ตรีพฤกษพนั ธ. ตําราทาเครือ่ งภาชนะตางๆ ทารัก, ทาสี, ทาสีนาํ้ มัน, ทาวานิช. กรุงเทพฯ: สถานศึกษาวัฒนธรรมญีป่ นุ ข ไทย, ๒๔๘๔ วุฒชิ ยั มูลศิลป. การปฏิรปู การศึกษาในแผนดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั . กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๗. ศูนยขอ มูลเพือ่ การคนควาวิจยั ฝรัง่ เศส - ไทยศึกษา. นครปฐมศึกษาในเอกสารฝรัง่ เศส รวมบทความแปล. นครปฐม: รุง ศิลปการพิมพ (1977), ๒๕๕๒. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). วิชาโบราณคดี. สืบคนเมื่อ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๒. เขาถึงไดจาก (https://www.sac.or.th/ databases/archaeology/วิชาโบราณคดี). สุขกมล วงศสวรรค. พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณคดีเวียงสระ จังหวัดสุราษฎรธานี จากหลักฐานทางโบราณคดี (The cultural กevelopment of Wiang Sa ancient settlement in Suratthani Province based on archaeological evidence). วิทยานิพนธการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัย ประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๕. สุจติ ต วงษเทศ. “คํานํา,” ใน วรรณอําจําจี้ โคลง ฉันท กาพย กลอน กลอมเด็กเขกผูใ หญ ของ เปโมรา (หรือ มหาหวง) กวีหวั หกกนขวิด สมัยรัชกาลที่ ๕. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๓๘. ------------. ศรีวิชัยในสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน,๒๕๔๓. สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร. เอกสารองคความรูดานงานชางประดับมุก. กรุงเทพฯ: สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร, ๒๕๕๓. Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๑๙


สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ. เครื่องปนดินเผาในคลังพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสมาพันธ, ๒๕๕๒. ------------. เครื่องโลหะสมัยกอนประวัติศาสตรในคลังพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ, ๒๕๕๐. สํานักวรรณกรรมและประวัตศิ าสตร. เกร็ดความรูจ ากประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๑. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๖๐. สํานักศิลปากรที่ ๑๕ ภูเก็ต กรมศิลปากร. รายงานเบือ้ งตนการขุดคนแหลงโบราณคดีนางยอน อําเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ระหวาง วันที่ ๕ สิงหาคม - ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๑. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ๒๕๕๑. สํานักศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุร,ี รายงานการอนุรกั ษสะพานเจริญศรัทธา อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม พ.ศ.๒๕๔๘. (เอกสารอัดสําเนา). ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ๒๕๔๘. สํานักหอสมุดแหงชาติ. เรียงรอยบรรณสารศิลปากรในรอบศตวรรษ เลม ๑ พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๘๘. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๕๕. ส.พลายนอย (นามแฝง). แลไปขางหลัง. กรุงเทพฯ: พิมพคํา, ๒๕๔๕. สุพชิ ฌาย แสงสุขเอีย่ ม. รายงานการวิจยั งานศิลปกรรมฝพระหัตถสมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศในจังหวัดนครปฐม. นครปฐม: คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๑. สุภัทรดิศ ดิศกุล, หมอมเจา. จิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ รอบพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ, สํานักงาน สลากกินแบงรัฐบาล, ม.ป.ป. ------------. พระปฐมเจดีย (ฉบับแกไขใหม), พระนครซ โรงพิมพชวนพิมพ, ๒๕๑๐. เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร, ๒๕๔๕. สมคิด โชติกวณิชย. “กรมศิลปากร อดีต – ปจจุบนั – อนาคต,” ใน ๑๐๐ ป แหงการสถาปนากรมศิลปากร. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๕๕. สายันต ไพรชาญจิตร พาสุข ดิษยเดช และประทีป เพ็งตะโก. เอกสารกองโบราณคดีหมายเลข ๖/๒๕๓๒ เซรามิคสในประเทศไทย ชุดที่ ๓ : แหลงเตาลานนา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๓๓ สายันต ไพรชาญจิตร และสุภมาศ ดวงสกุล. “การขุดคนศึกษาทางโบราณคดีแหลงเตาอินทขิล บานสันปาตอง (๑) ตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม,” ใน โบราณคดีลานนา (กรุงเทพฯ: สมาพันธ, ๒๕๔๐. สายันต ไพรชาญจิตร. “ขอมูลใหมเรื่องเตาเผาและเครื่องเคลือบลานนาที่เมืองนาน,” ศิลปากร ปที่ ๒๙ ฉบับที่ ๕ (พฤศจิกายน) ๒๕๒๘ : ๕๐ - ๖๗. ------------. “แหลงเตาอินทขิล : แหลงผลิตเครื่องถวยลานนาคนพบใหมท่ีชายทุงพันแอกพันเฝอเมืองแกน.” ศิลปากร ปที่ ๔๔ ฉบับที่ ๖ (พฤศจิกายน – ธันวาคม) ๒๕๔๔ : ๕๒ – ๗๕. สุรพล นาถะพินธุ. รากเหงาบรรพชนคนไทย : พัฒนาการทางวัฒนธรรมกอนประวัติศาสตร. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๕๐. สุรศักดิ์ เจริญวงศ. สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ : “สมเด็จครู” นายชางใหญแหงกรุงสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๙. สฤษดิ์พงศ ขุนทรง. ทวารวดีศรีนครปฐม พัฒนาการทางประวัติศาสตรและโบราณคดี. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ๒๕๖๒. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ ขอมูลใหมจากโบราณสถานวัดพระงาม จังหวัดนครปฐม วันเสารที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๓. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ๒๕๖๓. อาคม สายาคม. ๒๖ ตุลาคม ๒๕๒๐ อาคม สายาคม ที่ระลึกครบ ๕ รอบ. กรุงเทพฯ: ไทยสังฆภัณฑการพิมพ. ๒๕๒๐. อภินันท โปษยานนท. จิตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวันตกในราชสํานัก ๑, กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้น ติ้งกรุป, ๒๕๓๖. อมรา ศรีสุชาติ. ศรีวิชัยในสุวรรณทวีป. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร,๒๕๕๗. Hein, Don and Sangkhanukit, Prachote. Report on the Excavation of the Ban Tao Hai Kilns Phitsanulok, Thailand. Adelaide: Research Centre for Southeast Asian Ceramics University of Adelaide, 1987.

๒๒๐

คำขอบคุณ

ทายาทราชสกุลดิศกุล ทายาทราชสกุลจิตรพงศ นายบุญเตือน ศรีวรพจน ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานอักษรศาสตร นายธนโชติ เกียรติณภัทร อาจารยประจําคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง นางสาวภัทรพร สะลีมา เจาหนาที่หองเอกสารโบราณ สํานักหอสมุดแหงชาติ เจาหนาที่หองหนังสือหายาก สํานักหอสมุดแหงชาติ เจาหนาที่หอสมุดดํารงราชานุภาพ สํานักหอสมุดแหงชาติ เจาหนาที่หองบุรฉัตร สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ เจาหนาที่หองสมุดสํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร ขาราชการและเจาหนาที่สํานักสถาปตยกรรม ขาราชการและเจาหนาที่สํานักการสังคีต ขาราชการและเจาหนาที่สํานักชางสิบหมู ขาราชการและเจาหนาที่หอประติมากรรมตนแบบ กองโบราณคดี (กลุมทะเบียนโบราณสถานและสารสนเทศ) กองโบราณคดีใตนํ้า (กลุมวิชาการโบราณคดีใตนํ้า) สํานักศิลปากรที่ ๑ – ๑๒ กลุมโบราณคดี สํานักศิลปากรที่ ๑๑ สงขลา กลุมโบราณคดี สํานักศิลปากรที่ ๑๒ นครศรีธรรมราช พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ ไดแก พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ ราชบุรี พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ อูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ สมเด็จพระนารายณ จังหวัดลพบุรี พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ ปราจีนบุรี พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ นาน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พิมาย จังหวัดนครราชสีมา พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ รอยเอ็ด พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ อุบลราชธานี พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ บานเชียง จังหวัดอุดรธานี พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ สงขลา พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ นครศรีธรรมราช พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ชุมพร พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ ถลาง จังหวัดภูเก็ต และคลังกลางพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ จังหวัดปทุมธานี

Reflection on the Thai Arts through “ San Somdet ” the Correspondence between H.R.H. Prince Damrong Rajanubhab and H.R.H. Prince Narisara Nuvadtivongs

๒๒๑


ศิลปะวิทยาการจากสาสนสมเด็จ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม พิมพครั้งแรก เมษายน ๒๕๖๓ จํานวน ๒,๐๐๐ เลม ISBN ที่ปรึกษา นายประทีป เพ็งตะโก นายอรุณศักดิ์ กิ่งมณี นายพนมบุตร จันทรโชติ นางรักชนก โคจรานนท นางสาวนิตยา กนกมงคล

อธิบดีกรมศิลปากร รองอธิบดีกรมศิลปากร รองอธิบดีกรมศิลปากร ผูอํานวยการสํานักบริหารกลาง ผูอํานวยการสํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

บรรณาธิการ นายสมชาย ณ นครพนม

นายดิษพงศ เนตรลอมวงศ

นางสาวดวงกมล กมลานนท

คณะบรรณาธิการ นางพูลศรี จีบแกว นางอัมไพวรรณ เดชะชาติ นางสาวดาริกา ธนะศักดิ์ศิริ นางสาวศรินยา ปาทา นางสาวสุภาพ จันทรฉาย

นายเสนห มหาผล นางประภาพร ตราชูชาติ นางกาญจนา โอษฐยิ้มพราย นางสาวกัญณศมนต ภูธรรม นางสาวสมลักษณ คําตรง

นางบุญตา เขียนทองกุล นายธีรชาติ วีรยุทธานนท นางพวงพร ศรีสมบูรณ นางสาวสิรินทร ยวนใยดี นางสาวธัชสร ตันติวงศ

นางสาวอภิรดี พิชิตวิทยา นายพิสุทธิ์ ลวนศรี นางสาวพรศิริ เลิศเสถียรชัย นางสาวเพ็ญศิริ แนนอุดร

นางสาวจุฑารัตน เจือจิ้น นางสาววัชราภรณ มธุรกันต นางสาวทองสุข แจมจํารูญ นายจิรวัฒน ตั้งจิตรเจริญ

นายยุทธนาวรากร แสงอราม นายรัฐพงศ เกตุรวม นายอรรณพ แจงสวาง นางสุวารี ภคะธนสมบัติ นายศรัญ กลิ่นสุคนธ แปลภาษาอังกฤษ นายกรกฎ บุญลพ

นางศุกลรัตน ธาราศักดิ์

อนุรักษโบราณวัตถุ กลุมวิทยาศาสตรเพื่อการอนุรักษ

ที่ปรึกษาศิลปกรรม นายธนากร กําทรัพย

เทคนิคศิลปกรรม นายธีรศักดิ์ แปนรส นายพจกร ศรีจันทรกาศ นายพยัคฆ บุญแล

นางสาววัสนี เอี่ยมวชิรากุล นายชนาธิป นันทชัยบัญชา นายปญญา สุวรรณนุพงศ นายสุขสันต สงคกุล เจาหนาที่กลุมเทคนิคและศิลปกรรมและการจัดแสดงนิทรรศการ

ออกแบบปก นายชนาธิป นันทชัยบัญชา

ภาพประกอบ สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ

ดูแลการพิมพ นางสาวสิรินทร ยวนใยดี

นางสาวจุฑารัตน เจือจิ้น

พิมพที่

๒๒๒

บริษัท รุงศิลปการพิมพ (๑๙๗๗) จํากัด เลขที่ ๕๕๕ หมู ๑๒ ถนนพุทธมณฑลสาย ๕ ตําบลไรขิง อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โทร ๐ ๒๑๑๘ ๓๕๕๕

ออกแบบนิทรรศการ นางกชพร ธรรมจริยา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.