อีกทั้งยังพบว่า โรคนี้ทำให้ผู้ป่วยมีอัตราการ พยายามฆ่าตัวตายสูงกว่าประชากรทั่วไปอย่าง ชัดเจน ซึ่งจากประสบการณ์ของผู้ศึกษามีหนึ่ง สมาชิกในครอบครัวได้ป่วยเป็นโรคนี้จึงเข้าใจ ลักษณะอาการของผู้ป่วยและรู้ถึงสถานการณ์ ทีเ่ กิดขึน้ ผูศ้ กึ ษาได้รบั แรงบันดาลใจมาจากอาการ ของกลุ่มผู้ป่วยโรคไบโพลาร์ เพื่อสร้างสรรค์ ภาพยนตร์แอนนิเมชัน ซึง่ ภาพยนตร์แอนนิเมชัน สามารถนำเสนอความคิดทีเ่ ป็นนามธรรมให้เป็น รูปธรรมได้ และยังช่วยในเรือ่ งของจิตนาการได้ อย่างไม่มขี อบเขต สามารถนำเรือ่ งทีซ่ บั ซ้อนของ ส่วนสำคัญเพื่ออธิบายให้เข้าใจได้ง่ายมากขึ้น จากภาพยนตร์แอนนิเมชัน
ปัจจุบนั นีม้ ภี าพยนตร์หลากหลายประเภทหนึง่ ในนัน่ คือ ประเภทภาพยนตร์นามธรรม (abstract storytelling) ได้แสดงความรู้สึกจิตใจของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมโดยเป็น เรื่องราวแบบนามธรรมจิตใจที่ซับซ้อน และสร้างรูปทรง สี ตามความอิสระในความคิดของผู้สร้าง ซึ่งเหมาะกับความคิด ของผู ้ ป ่ ว ยโรคไพโบลาร์ ท ี ่ ม ี ค วามสั บ สนภายในจิ ต ใจของ ตนเอง นอกจากนี้ผู้จัดทำได้เลือกการนำเสนอภาพยนตร์ แอนนิเมชันในรูปแบบลักษณะของศิลปะป๊อป เซอเรียลลิสซึ่ม (Pop surrealism) โดยแนวศิลปะประเภทนีใ้ ห้รปู แบบอารมณ์ขนั ร่าเริงแจ่มใส ซุกซน แต่ขณะเดียวกันก็แสดงความรูส้ กึ สะเทือนใจ ความกลัว ความผิดหวัง ซึง่ ศิลปะแนวนีไ้ ด้ผสมระหว่างศิลปะแบบ ศิลปะประชานิยม (Pop Art) เน้นการแสดงออกทางด้านอารมณ์ ความรู้สึกสดใส ตื่นเต้น ฮือฮา ผสมผสานกับประเภทกลุ่ม ลัทธิเหนือจริง (Surrealism) การเน้นทางด้านความรู้สึกของ มนุษย์ในด้านความผิดหวัง ความรัก ความหยิง่ ผยอง ความกลัว
ได้แสดงออกมาทันทีจากตัวตนภายใน หรือ จิตไร้ สำนึกที่ถูกเก็บกดได้แสดงออกมาอย่างอิสระใน ทุกรูปแบบโดยปราศจากการควบคุม ผสานรวม กับความฝันและความจริงแห่งโลกภายนอก ซึ่ง เปรียบเหมือนอาการของผู้ป่วยโรคไบโพลาร์ที่มี การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมความคิด ความรูส้ กึ ทีม่ สี องด้านจนยากทีจ่ ะควบคุมจากภายในจิตใจ และแสดงอาการออกมาอย่างอิสระโดยผสมกับ จิตนาการความคิดของผูป้ ว่ ยโรคไบโพลาร์
51
52
Don't judge MY CHOICES without understanding MY REASONS.