ถอดบทเรียนชุมชนวัดป่าบอนต่ำ อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ปศท.๒

Page 1

19

ถอดบทเรียน

โครงการน่าร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.๒) ชุมชนวัดป่าบอนต่​่า ต่าบลป่าบอน อ่าเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

สนับสนุนโดย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ส่านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)


1

มีนาคม 2555 ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานและบริบทของชุมชนวัดป่าบอนต่​่า ๑ ข้อมูลทั่วไป ประวัติความเป็นมา : เดิมตาบลป่าบอนอยู่ในเขตปกครองของอาเภอปากพะยูน ต่อมาในปี ๒๕๒๕ ได้มีการแยกมาเป็นอาเภอป่าบอน ตาบลป่าบอนจึงได้ขึ้นกับอาเภอป่าบอนตั้งแต่นั้นมา มีหมู่บ้าน ๑๑ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑ บ้านในล้อม หมู่ที่ ๒ บ้านกลาง หมู่ที่ ๓ บ้านห้วยทราย หมู่ที่ ๔ บ้านควนนุ้ย หมู่ท่ี ๕ บ้านโคกนาคบุตร หมู่ที่ ๖ บ้านท่าดินแดงตก หมู่ที่ ๗ บ้านป่าบอนต่า หมู่ที่ ๘ บ้านทุ่งผีปั้นรูป หมู่ที่ ๙ บ้านศาลาน้า หมู่ที่ ๑๐ บ้านป่าบอนเหนือ หมู่ที่ ๑๑ บ้านลอนออก สภาพทั่วไปของตาบล : เป็นที่ราบค่อนข้างสูง เป็นลูกคลื่นทางทิศใต้ และเป็นที่ราบลุ่มทางทิศ เหนือ ดินมีลักษณะเป็นดินเหนียวปนทราย เหมาะสาหรับทาสวนยางพาราและทานา มีเนื้อที่ ๔๘,๖๕๖ ไร่ อาณาเขตตาบล : ทิศเหนือ ติดกับ อบต.โคกสัก อ.บางแก้ว, อบต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง ทิศใต้ ติดกับ อบต.วังใหม่, อบต.หนองธง อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ทิศตะวันออก ติดกับ อบต.วังใหม่ อ.ป่า บอน จ.พัทลุง ทิศตะวันตก ติดกับ ทต.แม่ขรี อ.ตะโหมด, อบต.หนองธง จ.พัทลุง จานวนประชากรของตาบล :จานวนประชากรในเขต อบต. ๘,๐๘๔ คน และจานวนหลังคาเรือน ๒,๔๒๘ หลังคาเรือน ข้อมูลอาชีพของตาบล : อาชีพหลัก ทาสวน ทานา ทาไร่ ปลูกสับปะรด อาชีพเสริม เลี้ยงโค เลี้ยง สุกร เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เพาะเห็ดฟาง ข้อมูลสถานที่สาคัญของตาบล : วัด ๑ แห่ง โรงเรียน ๑ แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ๒ แห่ง ที่พักสายตรวจประจาตาบล ๑ แห่ง องค์การบริหารส่วนตาบล ๑ แห่ง


2

ส่วนที่ ๒ สาระส่าคัญของโครงการที่ด่าเนินการ คณะกรรมการเห็นชอบเสนอโครงการ จานวน ๓ โครงการ ๑๕ กิจกรรม ดังนี้ ๑. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน ประกอบด้วย ๕ กิจกรรม คือ ๑.๑

กิจกรรมรักคลองป่าใส ธารน้าใจสายใย ศรัทธาของคนป่าบอน

๑.๒

กิจกรรมสมุนไพร ยาพื้นบ้าน

๑.๓

กิจกรรมทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ

๑.๔

กิจกรรมเรียนรู้,กลุ่มอาชีพดอกไม้สด

๑.๕

กิจกรรมเรียนรู้กลุ่มอาชีพทาเครื่องแกง

๒. โครงการสร้างจิตอาสา สืบสาน ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทยสายใยชุมชน ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม คือ ๑.๑

การปลูกฝัง อบรมและฝึกทักษะกิจกรรมสืบสานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและ ประเพณีไทย

๑.๒

กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้จิตอาสา

๑.๓

กิจกรรมวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชน

๓. โครงการเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด ประกอบด้วย ๖ กิจกรรม คือ ๑.๑

ฝึกอบรมเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด

๑.๒

ฟุตบอลต้านภัยยาเสพติด

๑.๓

เดิน วิ่ง เทิดพระเกียรติ

๑.๔

กีฬาพื้นบ้าน

๑.๕

หนูน้อยนพมาศ

๑.๖

วันแห่งสันติภาพ


3

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑. นายนพพล กองเอียด

๒. นายวิรัตน์ ราชวังเมือง

๑. หลักการและเหตุผล บ้านป่าบอนต่า เป็นกลุ่มบ้านดั้งเดิมของอาเภอป่าบอน มีประวัติศาสตร์มายาวนาน ประชาชน อาศัยอยู่กันหนาแน่น ประมาณ ๑,๐๐๐ ครัวเรือน ประกอบด้วยหมู่บ้าน ๓ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑ บ้าน ในล้อม ,หมู่ที่ ๒ บ้านกลาง และหมู่ที่ ๗ บ้านป่าบอนต่า ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร ได้แก่ การทาสวนยางพารา การทานา เลี้ยงสัตว์ ปลูกผัก โดยอาศัยสายน้าลาคลองที่ไหลผ่านชุมชน จานวน ๒ สาย ได้แก่ลาคลองป่าบอน ทีต้นน้ามาจากเขื่อนป่าบอน (เขื่อนโหล๊ะหาร) ไหลผ่านชุมชนป่า บอนต่า ทางด้านทิศใต้ของชุมชน และคลองป่าใส มีต้นน้ามาจากเทือกเขาบ้านเหมืองตะกั่ว ไหลผ่านเข้า กลางชุมชนวัดป่าบอนต่า อาชีพรองลงมาของประชากร ได้แก่ อาชีพรับจ้าง ค้าขาย รับราชการ สภาพ เศรษฐกิจของชุมชนป่าบอนค่อนข้างดี ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับดี (จบระดับการศึกษา ระดับ ม.ปลาย) เนื่องจากผู้ปกครองสามารถส่งลูกหลานไปเรียนในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ได้สะดวก ชุมชนวัดป่าบอนต่า มีโรงเรียน ๑ แห่ง มีวัด ๑ แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑ แห่ง ที่ทาการองค์การ บริหารส่วนตาบล ๑ แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ๑ แห่ง ธนาคาร ธกส. ๑ แห่ง จุดตรวจ ตารวจชุมชน ๑ แห่ง นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มองค์กรอื่น ๆ อีกมากมาย จากการเป็นชุมชนใหญ่ มีประชากรค่อนข้างมาก หลากหลายอาชีพ การศึกษา มีความ แตกต่าง ในเรื่องฐานะ ค่านิยม ทาให้ชุมชนวัดป่าบอนต่า ยังมีปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข โดยเฉพาะ ปัญหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม การสานึกรักบ้านเกิด การควบคุมดูแลด้านสิ่งแวดล้อม ที่สาธารณะ การขาย การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานที่ เวลา ที่ไม่เหมาะสม การเล่นการพนัน ปัญหายาเสพติด เด็กติดเกมส์ และยังมีปัญหาด้านพฤติกรรมบริโภคที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งทุกอย่างล้วนแล้วแต่เป็นปัญหา ขัดขวางการเดินทางไปสู่สังคมสุขภาวะ คณะกรรมการชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้ประชุมประชาคมของชุมชนวัดป่าบอนต่า ซึ่งมีตัวแทน จากองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน พร้อมทั้งประชาชน ได้ร่วมกันวิเคราะห์ชุมชน โดยหาจุดเด่น จุดด้อย โอกาส อุปสรรค ของชุมชน ในด้านต่าง ๆ จึงได้จัดทาโครงการ “ส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน” ซึ่ง ประกอบด้วย ๕ กิจกรรม คือ กิจกรรมรักคลองป่าใส ธารน้าใจสายใยรักและศรัทธาของคนป่าบอน , กิจกรรมสมุนไพร ยาพื้นบ้าน, กิจกรรมทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ ,กิจกรรมเรียนรู้,กิจกรรมเรียนรู้กลุ่ม อาชีพดอกไม้สด และกิจกรรมเรียนรู้กลุ่มอาชีพทาเครื่องแกง


4

ทั้งนี้เพื่อนากิจกรรม มาเป็นแนวทางในการสร้างสุข ทาให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ หวงแหนบ้านเกิด สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม เชิดหน้าชูตาชุมชนต้นแบบ บุคคลที่ควรแก่ การศึกษานามาเป็นตัวอย่าง การสร้างคุณค่าให้เกิดขึ้นจากการ่วมกลุ่มทากิจกรรม ส่งผลต่อการเกิดสุข ภาวะในชุมชน และชุมชนเข้มแข็ง ๒.วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อให้ประชาชนเกิดจิตสานึกหวงแหนและอนุรักษ์ลาคลองที่เป็นสายน้า สมุนไพร ผัก พื้นบ้านของชุมชนให้มีสภาพธรรมชาติที่เอื้อต่อการดารงชีวิตของคนในชุมชน ๒.๒ เพื่อให้ชุมชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของค่านิยมที่ขัดต่อศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และ กฎหมาย ๒.๓ เพื่อให้ประชาชนรู้รัก สามัคคี ช่วยเหลือกันในชุมชน สร้างประโยชน์ให้สังคม ๓. เป้าหมาย กิจกรรมที่ ๑ รักคลองป่าใส ธารน้าใจ สายใยชุมชน กิจกรรมที่ ๒ สมุนไพรยาพื้นบ้าน เชิงปริมาณ ๑. พื้นที่ทั้งสองฝั่งตลอดลาคลองป่าใส ระยะทางประมาณ ๑.๕ กม. ได้รับการดูแล ๒. มีการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ลาคลองและผักพื้นบ้าน และกลุ่มสมุนไพร อย่างละ ๑ กลุ่ม เชิงคุณภาพ ๑. พันธ์ไม้ สมุนไพร ผักพื้นบ้านทุกชนิดได้รับการสารวจและขึ้นทะเบียนไว้เป็นแหล่งเรียนรู้ ๒. ประชาชนที่มีพื้นที่ดินติดกับคลอง ร่วมกันอนุรักษ์พันธ์ไม้ที่สาคัญและส่งเสริมการปลูก สมุนไพร และพืชผักพื้นบ้าน ๓. ประชาชน เยาวชนได้เรียนรู้ถึงคุณค่าของธรรมชาติ มีการรวมกลุ่มเพื่ออนุรักษ์คลองป่าใส กิจกรรมที่ ๓ ทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ เชิงปริมาณ ๑. งานศพทุกงานที่มีการจัดงานในวัด (ศาลาคู่เมรุ) ที่วัดป่าบอนต่า เชิงคุณภาพ ๑. ไม่มีการจาหน่ายและดื่มเครื่องดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในงานศพที่จัดในวัด ๒. ไม่มีการเล่นการพนันในบริเวณปฏิบัติศาสนกิจ


5

๓. ไม่มีการใช้ถุงพลาสติกใส่อาหารร้อน มัน ๔. ไม่มีการจุดพลุ ยิงปืนในวัด ๕. ใช้จ่ายอย่างประหยัด บริเวณสะอาด ๖. ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน กิจกรรมที่ ๕ กิจกรรมเรียนรู้กลุ่มอาชีพดอกไม้สด เชิงปริมาณ ๑. ประชาชนในชุมชนเข้ารับการเรียนรู้อาชีพการจัดดอกไม้ จานวน ๓๐ คน เชิงคุณภาพ ๑. ประชาชนได้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เสริมสร้างความ สามัคคี กิจกรรมที่ ๖ กิจกรรมเรียนรู้กลุ่มอาชีพทาเครื่องแกง เชิงปริมาณ ๑. เยาวชน เข้ารับการเรียนรู้การทาเครื่องแกง จานวน ๒ รุ่น ๆละ๑๐ คน รวม ๒๐ คน เชิงคุณภาพ ๑. เยาวชนได้รับการเรียนรู้การทาเครื่องแกง นาไปปฏิบัติได้ในครัวเรือนได้ ใช้เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์ เสริมสร้างความสามัคคีภายในกลุ่ม ๔. ตัวชี้วัดความส่าเร็จ ที่ ตัวชี้วัดความส่าเร็จ ๑. ผู้เรียนมีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการ พัฒนา อนุรักษ์คลองป่าใส ผักพื้นบ้าน พืช สมุนไพรมากขึ้น ๒. ลดปัญหาการจาหน่ายและการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ปัญหาการเล่นการพนัน การยิง ปืนจุดพลุ ลดการใช้ถุงพลาสติก และการ ปฏิบัติที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างน้อย ๘๐ % ของงานศพที่จัดที่วัด ๓. ผู้เรียน ให้ความสนใจ และมีความสุขกับการ ร่วมกิจกรรม

วิธีประเมินผล สังเกต พฤติกรรม

เครื่องมือที่ใช้ แบบบันทึกการสังเกต, พฤติกรรม

สารวจ ความพึงพอใจ

แบบประเมินให้คะแนน แบบสารวจความพึงพอใจ

ความพึงพอใจ

แบบสารวจความพึงพอใจ


6

๕. วิธีการด่าเนินการ กิจกรรม / ขั้นตอน ระยะเวลา ๑.รับนโยบายโครงการนาร่องการจัดการศึกษา ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ แบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคน ไทย (ปศท.๒) ๒.ประชุมคณะทางาน ๒.๑ คัดสรรคณะทางานบริหารโครงการ ๒.๒ สร้างความเข้าใจโครงการ

๑๑ เมษายน ๒๕๕๔ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๔

๒.๓ สร้างความเข้าใจและวิเคราะห์ชุมชน

๑๘ เมษายน ๒๕๕๔

ผู้รับผิดชอบ นายคณิต ศิริวรรณดี นายอานวย พรายอินทร์

คณิต และคณะทางาน คณิตและคณะทางาน ที่ ปรึกษา คณิต คณะทางาน ตัวแทน องค์กรชุมชน

๓.เขียนโครงการ /นาเสนอ

๑๙ เมษายน ๒๕๕๔

นายนพพล กองเอียด นายวิรัตน์ราชวังเมือง นางอนิตสา รงค์ทอง นางนวย ขุนนาม

๔.จัดกิจกรรม ตามขั้นตอนของโครงการชุมชน สร้างสุข เพื่อสุขภาวะคนป่าบอน

๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ถึง ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕

นายนพพล กองเอียด นายวิรัตน์ราชวังเมือง นางอนิตสา รงค์ทอง นางนวย ขุนนาม และคณะทางานแต่ละ กิจกรรม

๕. ประเมินผลการดาเนินงาน ๖. สรุปรายงาน ถอดบทเรียน

พฤษภาคม ๒๕๕๕ พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕

นายนพพล กองเอียด นายวิรัตน์ราชวังเมือง นางอนิตสา รงค์ทอง นางนวย ขุนนาม และคณะทางานแต่ละ กิจกรรม


7

๖. ระยะเวลาด่าเนินการ ตั้งแต่เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึง เดือน มิถุนายน ๒๕๕๕ ๘. ผู้รับผิดชอบ ๘.๑ นายนพพล กองเอียด ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ ๘.๒ นายวิรัตน์ ราชวังเมือง ตาแหน่ง แพทย์ประจาตาบลป่าบอน ๘.๓ นางอนิตสา รงค์ทอง ตาแหน่ง ประธานกลุ่มอาชีพดอกไม้สด ๘.๔ นางนวย ขุนนาม ตาแหน่ง ประธานกลุ่มอาชีพเครื่องแกง ๙. ค่าใช้จ่ายในการด่าเนินโครงการ จ่าแนกเป็นค่าตอบแทน ค่าใช้สอยและค่าวัสดุ จ่านวน ๔๕,๐๐๐ บาท (สี่หมื่นห้าพันบาทถ้วน) ดังนี้ งบประมาณ กิจกรรม รวม ผู้รับผิดชอบ ค่าตอบ ค่าใช้ ค่า แทน สอย วัสดุ ๑.รักคลองป่าใส ธารน้าใจ สายใย ๕,๕๐๐ ๒,๙๕๐ ๘,๔๕๐ นายนพพล กองเอียด ชุมชน ๒.สมุนไพร ยาพื้นบ้าน ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ นายวิรัตน์ ราชวังเมือง ๓.ทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ ๓,๒๕๐ ๓,๗๐๐ ๖,๙๕๐ นายนพพล กองเอียด ๔.ส่งเสริมกลุ่มอาชีพดอกไม้สด ๑,๐๐๐ ๒,๑๐๐ ๗,๔๐๐ ๑๐,๕๐๐ นางอนิตสา รงค์ทอง ๕.ส่งเสริมอาชีพกลุ่มเครื่องแกง ๒,๐๐๐ ๑,๓๐๐ ๔,๖๕๐ ๗,๙๕๐ นางนวย ขุนนาม รวม (สี่หมื่นห้าพันบาทถ้วน) ๑๐. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ๑๐.๑ ผลผลิต ๑๐.๑.๑ สภาพแวดล้อมภายในชุมชนได้รับการดูแล ฟื้นฟู เกิดเป็นแหล่งเรียนรู้ ของชุมชน ๑๐.๑.๒ ผู้เรียน ได้แก่ นักเรียน เยาวชน ประชาชน ได้เข้าร่วมกิจกรรม และมีความพึงพอใจใน กิจกรรม ๑๐.๑.๓ ได้รับข้อเสนอแนะ เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการศึกษาที่เหมาะสม ๑๐.๒ ผลลัพธ์ ๑๐.๒.๑ เกิดความหวงแหน ดูแลรักษาทรัพยากรที่เป็นสาธารณะ สมุนไพร ผักพื้นบ้าน สถานที่ ที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน คือ วัดป่าบอนต่า มีความรักในชื่อเสียงของชุมชน


8

๑๐.๒.๒ เกิดความรู้ความเข้าใจ ความร่วมมือและเกิดความสามัคคี ในการปฏิบัติกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้มีสุขภาวะ ๑๐.๓ ผลกระทบ ๑๐.๓.๑ นโยบายเกี่ยวกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของชุมชนไม่สอดคล้องกับโครงการ อาจ เป็นอุปสรรคต่อการดาเนินงาน ๑๐.๓.๒ วิถีชุมชนที่มีการปฏิบัติจนเป็นอยู่เป็นนิจของคนบางกลุ่มในชุมชน ที่ขัดต่อระเบียบ กฎหมาย ส่งผลกระทบต่อการดาเนินโครงการ ๑๐.๓.๓ ความสาเร็จของโครงการจะช่วยแก้ปัญหาสังคม สุขภาพ เศรษฐกิจ และค่านิยมที่ผิด เพื่อให้สังคมมีสุขภาวะที่ดี ๑๑. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนมีจิตสานึกหวงแหนและอนุรักษ์ลาคลองที่เป็นสายน้า พืชสมุนไพร ผักพื้นบ้านของ ชุมชน การตระหนักถึงคุณค่าที่ดีงามของวัฒนธรรมท้องถิ่น พิษภัยของค่านิยมที่ขัดต่อศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และกฎหมาย ประชาชนรู้รัก สามัคคี มีการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันในชุมชน ส่งเสริมเศรษฐกิจภายในชุมชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ได้ร่วมรียนรู้ชีวิตบุคคลที่เป็นแบบอย่าง และร่วม เชิดชูคนดี อันจะส่งผลสืบเนื่องไปถึงการมีสุขภาวะที่ดีของประชาชน และสังคมต่อไป

โครงการสร้างจิตอาสา สืบสาน ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทยสายใยชุมชน ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑. พระมหาสุรินทร์ กิตฺติสาโร ๒. นาย คณิต ศิริวรรณดี


9

๑. หลักการและเหตุผล ชุมชนวัดป่าบอนต่าเป็นหมู่บ้านที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน ประชาชนส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น ประมาณ ๑,๐๐๐ ครัวเรือน แบ่งการปกครองออกเป็น ๓ หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ และหมู่ที่ ๗ ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร ปลู กยางพาราเป็น อาชีพหลัก ทาให้มีรายได้ดี อาชีพรองลงมาคือ รับจ้าง ค้าขาย รับราชการ ตามลาดับ ประชนชนในอดีต ปฏิบัติตามคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนา สังคมมีความสุข วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชนชน ชีวิต ความเป็นอยู่แบบเครือญาติ มีน้าใจแบ่งปัน รู้จักช่วยเหลือซึ่งกั นและกัน รู้รักสามัคคี ร่วมกิจกรรมและ เสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ส่งผลให้ชุมชนวัดป่าบอนต่าในอดีตมีความเจริญรุ่งเรือง ต่ อ มาชุ ม ชนวั ด ป่ า บอนต่ า ได้ มี ก ระแสวั ฒ นธรรมตะวั น ตกหลั่ ง ไหลเข้ า มาในชุ ม ชน มี ก าร เปลี่ยนแปลงทางด้านวัตถุ เกิดการบริโภคนิยม ประชนชนต้องดิ้น รนทามาหากิน มีการแข่งขันกันสร้าง ฐานะ เพื่อตอบสนองต่อการบริโภค ครอบครัวไม่มีเวลาให้ลูกหลาน ชุมชนห่างไกลจากวัด ขาดการ อบรมคุณธรรม เยาวชนพึ่งพายาเสพติด ทาให้สังคมชุมชนวัดป่าบอนต่า ขาดที่พึ่งทางจิตใจ คณะกรรมการชุ ม ชนชุ ดน าร่องการจั ดการศึกษาแบบมี ส่ วนของชุ ม ชนวัดป่ าบอนต่า ได้ร่ว ม ประชุมปรึกษาหารือ จัดประชาคมวิเคราะห์ปัญหาหรือความต้องการของชุมชนพบว่า วัดไม่ได้เป็นแหล่ง เรียนรู้ให้กับชุมชน ประชาชนขาดที่พึ่งทางจิตใจ เด็กและเยาวชนพึ่งพายาเสพติด สังคมขาดความสงบ สุข คณะกรรมการจึงได้ร่วมจัดทาโครงการสร้างจิตอาสา สืบสานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณี ไทยสายใยชุมชน ซึ่งประกอบด้วย ๓ กิจกรรม คือ การปลูกฝัง อบรมและฝึกทักษะกิจกรรมสืบสาน ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีไทย กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้จิตอาสา กิจกรรมวัดเป็นแหล่ง เรียนรู้ให้กับชุมชน โดยใช้วัดเป็นฐาน เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชนชนตามแนววิถีชีวิตของชาวพุทธ ใช้ ความรูค้ ู่คุณธรรม สร้างสุขภาวะในชุมชน ๒. วัตถุประสงค์ ๑ ) เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ การปลู ก ฝั ง อบรม และฝึ ก ทั ก ษะกิ จ กรรม ด้ า นสื บ สานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีไทย ๒ ) เพื่อปลูกจิตสานึกให้ผู้เรียนได้ร่วมทากิจกรรม จิตอาสา แก่ชุมชน ๓ ) เพื่อให้ผู้เรียนและชุมชนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายในวัด ๓. เป้าหมาย ๑ ) ด้านปริมาณ ๑.๑ ผู้เรียนเข้าร่วมการฝึกอบรม จานวน ๖๐ คน ๑.๒ ครูเข้าร่วมการฝึกอบรม จานวน ๑๐ คน ๒ ) ด้านคุณภาพ ๒.๑ ผู้เรียน มีจิตอาสาและจิตสานึกในการอนุรักษ์ ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีไทย


10

๒.๒ วัดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดีให้กับผู้เรียน ๔. ตัวบ่งชี้วัดความส่าเร็จโครงการ ที่ ตัวชี้วัดความส่าเร็จ ๑ ร้ อ ยละ๘๐ ผู้ เ รี ย นที่ เ ข้ า ฝึ ก อบรม มี จิตสานึก มีความรู้ ทักษะด้านสืบสาน ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีไทย ๒

ร้ อ ยละ๘๐ ผู้ เ รี ย นได้ ท ากิ จ กรรม จิ ต อาสา ด้านสาธารณะประโยชน์

๕. วิธีการด่าเนินงาน กิจกรรม / ขั้นตอน ๑) ประชุมแต่งตั้งคณะทางานโครงการ ๒) วางแผน ประชุม เตรียมการ ๓) การดาเนินงานตามหลักสูตร -จัดทาหลักสูตรกิจกรรม -จัดทาสื่อการเรียนรู้ -จัดกิจกรรมตามหลักสูตร ฝึกอบรม ๔) วัดผลและประเมินผล

วิธีประเมินผล สังเกต พฤติกรรม ทดสอบ

เครื่องมือที่ใช้ แบบบันทึกการสังเกต แบบบันทึกพฤติกรรม แบบทดสอบ

สารวจ สังเกต

แบบสารวจ แบบบันทึกการสังเกต

ระยะเวลา ส.ค.๒๕๕๔ ส.ค. ๒๕๕๔ ส.ค. ๒๕๕๔ ส.ค. ๒๕๕๔ ส.ค. ๒๕๕๔ ส.ค. ๒๕๕๔ ๒๗ ส.ค. ๒๕๕๔ ๒๙ ส.ค.๒๕๕๔

ผู้รับผิดชอบ ผู้บริหาร คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน


11

๒. กิ จ กรรมตามกระบวนการเรี ยนรู้ภู มิ ทัศน์ในวัดป่าบอนต่​่า ๒.๑) ประชุมแต่งตั้งคณะทางานโครงการ ๒.๒)วางแผน ประชุม เตรียมการ ๒.๓) การดาเนินงานตามหลักสูตร -การจัดทาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ ภูมิทัศน์ในวัดป่าบอนต่า -จัดทาสื่อการเรียนรู้ -จัดกิจกรรมตามหลักสูตร

เม.ย.๒๕๕๔ พ.ค.๒๕๕๔ มิ.ย.๒๕๕๔ ถึง พ.ค. ๒๕๕๕

นาย คณิต ศิริวรรณดี นาย อานวย พรายอินทร์ และคณะ

 กิจกรรมสร้างความเข้าใจสภาพและ ภูมิทัศน์ในวัด  กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านเทค โนภูมิทัศน์  กิจกรรมสร้างภูมิทัศน์ในวัด  กิจกรรมแหล่งเรียนรู้ภายในวัด  ตั้งกองทุนพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๒.๔) การวัดผลและประเมินผล

๒.๕) สรุป รายงาน ถอดบทเรียน

กิจกรรม / ขั้นตอน

ก.ค.๒๕๕๔ ถึง มิ.ย. ๒๕๕๕

พ.ค.๒๕๕๕ ถึง มิ.ย. ๒๕๕๕

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ


12

๓. กระบวนการเรียนรู้สร้างจิตอาสาของ เม.ย.๒๕๕๔ถึง มิ.ย. วัดป่าบอนต่​่า ๒๕๕๕ ๓.๑) ประชุมแต่งตั้งคณะทางานตาม เม.ย.๒๕๕๔ โครงการ พ.ค.๒๕๕๔ ๓.๒) วางแผน ประชุม เตรียมการ ๓.๓) การดาเนินงานตามหลักสูตร มิ.ย.๒๕๕๔ ถึง พ.ค. -จัดทาหลักสูตรสร้างจิตอาสา ๒๕๕๕ -จัดทาสื่อการเรียนรู้ -จัดกิจกรรมตามหลักสูตร

นาย คณิต ศิริวรรณดี นาย อานวย พรายอินทร์ และคณะ

 กิจกรรมเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องจิตอาสา  ทาแบบสารวจความต้องการเข้าร่วม กิจกรรมของเด็ก เยาวชนและชุมชน  กิจกรรมธรรมะสร้างจิตอาสา  กิจกรรมฝึกจิตอาสาเพื่อสาธารณะ ประโยชน์  จัดประกวดกิจกรรมจิตอาสา ๓.๔) วัดผลและประเมินผล ๓.๕) สรุป รายงานผล ถอดบทเรียน

ก.ค.๒๕๕๔ ถึง มิ.ย. ๒๕๕๕ พ.ค.๒๕๕๔ ถึง มิ.ย. ๒๕๕๕

๖. ระยะเวลาด่าเนินโครงการ ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ๖. ผู้รับผิดชอบ ๑. นายวันชัย กฤษณะพันธ์ ๒. นางรัชนี ปิยวรศักดิ์ ๓. นางเบญญา สุขบัว ๔. นางวันเพ็ญ ภักดี ๕. นายโชคดี มุสิกะสังข์

ประธาน รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

๗. ค่าใช้จ่ายในการด่าเนินโครงการ จ่าแนกเป็นรายการค่าตอบแทนค่าใช้สอยและค่าวัสดุ


13

กิจกรรม - การฝึกอบรม

งบประมาณ ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย -

ค่าวัสดุ

๕,๖๐๐

(เงินห้าพันหกร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ

-

รวม ๕,๖๐๐ ๕,๖๐๐

ขอเบิกเพียง ๕,๓๕๖ บาท

๘. ผลผลิตและผลลัพธ์โครงการ ๑. ผลผลิต ๑.๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑.๒ ผู้เรียนมีจิตอาสาร่วมทากิจกรรม บาเพ็ญประโยชน์ ๒. ผลลัพธ์ ๒.๑ ผู้เรียนเกิดจิตสานึก และมีการร่วมมือกันของคนในชุมชนให้มีจิตอาสา อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เพื่อสุขภาวะและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน ๒.๒ ผู้เรียนมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้าน กาย จิต และสติปัญญา ๓. ผลกระทบ ๓.๑ มีแนวโน้มการขยายการจัดการศึกษาไปยังชุมชนข้างเคียง / ชุมชนอื่น ๓.๒ หน่วยงานระดับนโยบายที่เกี่ยวข้อง รับไปดาเนินการ / สนับสนุน การขยายผล ๓.๓ สังคมสงบสุข ประชาชนมีสุขภาวะ ทางกาย จิต ที่ดี ๙. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ผู้เรียนและชุมชนมีจิตอาสา สืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้ยั่งยืน ๒. วัดป่าบอนต่าเป็นแหล่งเรียนรู้ ช่วยสร้างสุขภาวะที่ดีในชุมชน ๓. มีสังคมจิตอาสาและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยในชุมชนวัดป่าบอนต่า

โครงการเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด


14

รับผิดชอบโครงการ

นายโชคดี มุสิกะสังข์

๑. หลักการและเหตุผล สภาพการจัดการศึกษาของไทยในปัจจุบัน ได้เปลี่ยนจุดเน้นมาที่ตัวคนเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง เด็กและเยาวชน ซึ่งถือได้ว่าเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ จุดมุ่งหมายของการศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๖ บัญญัติไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อ พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และ วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” แต่ในสภาพปัจจุบันปัญหาเด็กและ เยาวชนได้เกิดขึ้นอย่างมากมาย อาทิเช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาการถูกล่อลวงทางเพศ ปัญหาการใช้ แรงงานเด็ก ปัญหาการพนัน หรือแม้กระทั่งปัญหาการติดสื่อลามกอนาจารจากอินเตอร์เน็ต ในยุคโลกา ภิวัตน์ จากปัญหาต่าง ๆ ที่กล่าวมา ส่อให้เห็นถึงความเสื่อมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรมของเด็กและ เยาวชน อันเนื่องจากสาเหตุหลายประการ ได้แก่ การซึมซับพฤติกรรมหรือค่านิยมของผู้ใหญ่หรือสังคม ที่ ไม่ถูกต้อง การศึกษาและเศรษฐกิจ จากการวิเคราะห์สภาพทั่วไปของชุมชนวัดป่าบอนต่า ซึ่งเป็นชุมชน เก่าแก่ มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น พบว่าลักษณะสังคมเป็นแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท มีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม สภาพเศรษฐกิจใน ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี แต่เนื่องจากว่าชุมชนวัดป่าบอนต่าได้ขยายเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะด้าน วัตถุ ซึ่งกลายเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดปัญหาเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะปัญหายาเสพติด ทางชุมชน วัดป่าบอนต่าได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวที่อาจกลายเป็นปัญหาสังคมที่ยากแก่การแก้ไขในอนาคต จึง จาเป็นต้องให้เด็กและเยาวชนมีความรักในถิ่นเกิดสมัครสมานสามัคคีในหมู่คณะ โดยใช้กิจกรรมกีฬาเป็น สื่อ ฟื้นฟูจิตใจของเด็ก และเยาวชนให้เติบโตเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณภาพ ดังนั้นทางคณะกรรมการชุมชน วัดป่าบอนต่า จึงเห็นควรให้จัดทาโครงการเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติดขึ้น ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมทากิจกรรม และสร้างความสามัคคีในชุมชน ๒.๒ เพื่อให้เด็กและเยาวชน ได้ตระหนัก รู้จัก เห็นคุณค่า และอนุรักษ์กีฬาพื้นบ้าน ๒.๓ เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีสุขภาพกาย จิต ที่สมบูรณ์ และห่างไกลยาเสพติด ๓. เป้าหมาย ๓.๑ ด้านปริมาณ ๓.๑.๑ เด็กและเยาวชน เข้าร่วมกิจกรรมต้านภัยยาเสพติด และรู้รักสามัคคี จานวน ๕๐๐ คน ๓.๑.๒ เด็กและเยาวชนมีสุขภาพกาย จิต ที่สมบูรณ์และห่างไกลยาเสพติด


15

จานวน ๕๐๐ คน ๓.๒ ด้านคุณภาพ ๓.๒.๑ เด็กและเยาวชน เกิดความตระหนักรักษ์ถิ่นเกิด เชิดชูชุมชน ๓.๒.๒ เด็กและเยาวชน เกิดความสานึก และภาคภูมิใจในความเป็นไทย ๔. ตัวชี้วัดตามปัจจัยโครงการ ที่ ตัวชี้วัดตามปัจจัย ๑ เยาวชนมีความพึงพอใจและมีส่วนร่วมใน การเข้าค่ายฝึกอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของกลุ่มเป้าหมาย ๒ เยาวชนให้ความสนใจร่วมกิจกรรมไม่น้อย กว่าร้อยละ ๗๕ ของกลุ่มเป้าหมาย ๓ เยาวชนมีความรู้สึกชื่นชมกับกิจกรรมและ รู้สึกสานึกรักษ์บ้านเกิด ๕. วิธีการด่าเนินงาน กิจกรรม/ขั้นตอน ๑. ประชุมแต่งตั้งคณะทางานโครงการ ๒. เขียนโครงการ นาเสนอ ๓. จัดกิจกรรมตามโครงการเยาวชนรักษ์ถิ่น ๔. ประเมินผลการดาเนินงาน ๕.สรุปรายงานผล ถอดบทเรียน

วิธีการประเมินผล ประเมินความพึง พอใจ

เครื่องมือที่ใช้ แบบสารวจความพึงพอใจ

แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกต แบบสอบถาม สอบถาม

ระยะเวลา ๑๑เมษายน ๒๕๕๔ ๑๙เมษายน๒๕๕๔ มิถุนายน ๒๕๕๔ถึง มกราคม ๒๕๕๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ถึง มิถุนายน๒๕๕๕

๖. ระยะเวลา ตั้งแต่เดือน มิถุนายนพ.ศ. ๒๕๕๔ ถึง เดือน มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๕

ผู้รับผิดชอบ นายคณิต ศิริวรรณดี นายโชคดี มุสิกะสังข์ นายโชคดี มุสิกะสังข์ และ คณะทางาน นายโชคดี มุสิกะสังข์ นายโชคดี มุสิกะสังข์ และ คณะทางาน


16

๗. ตารางการปฏิบัติงาน ที่

กิจกรรม

๑ ฝึกอบรมเยาวชนรักษ์ถิ่น ๑.๑ ประชุมคณะทางาน ๑.๒ ติดต่อวิทยากร จัดทาหลักสูตร ๑.๓ จัดทาสื่อการเรียนรู้ ๑.๔ ฝึกอบรมเยาวชนรักษ์ถิ่น ๑.๕ ประเมินผล ๑.๖ สรุปรายงานผล ถอดบทเรียน ๒ ฟุตบอลต้านภัยยาเสพติด ๒.๑ ประชุมคณะทางาน ๒.๒ ประชาสัมพันธ์ผ่านการประชุม ๒.๓ ติดต่อกรรมการตัดสิน/วิทยากร ๒.๔ อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วม กิจกรรม ๒.๕ จัดการแข่งขัน ๒.๖ ประเมินผล ๒.๗ สรุปรายงานผล ถอดบทเรียน

เม.ย. พ.ค.

มิ.ย.

ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

==== ==== ==== ==== ==== ==== ==== ==== ==== ==== ==== ==== ====


17

ที่

กิจกรรม

๓ เดิน วิ่ง เทิดพระเกียรติ ๓.๑ ประชุมคณะทางาน ๓.๒ ประชาสัมพันธ์ผ่านการประชุม และ หอกระจายข่าว ๓.๓ จัดเดิน วิ่ง เทิดพระเกียรติ ๓.๔ ประเมินผล ๓.๕ สรุปรายงานผล ถอดบทเรียน ๔ กีฬาพื้นบ้าน ๔.๑ ประชุมคณะทางาน ๔.๒ ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจาย ข่าว ๔.๓ ติดต่อกรรมการตัดสิน/วิทยากร ๔.๔ อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วม กิจกรรม ๔.๕ จัดการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน ๔.๖ ประเมินผล ๔.๗ สรุปรายงานผล ถอดบทเรียน ที่ กิจกรรม

เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

ปี ๒๕๕๔ ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ปี ๒๕๕๕ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

==== ==== ==== ==== ====

==== ==== ==== ==== ==== ==== ====

ปี ๒๕๕๔

ปี ๒๕๕๕


18

เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๕ หนูน้อยนพมาศ ๕.๑ ประชุมคณะทางาน ๕.๒ ประชาสัมพันธ์ผ่านการประชุม และ หอกระจายข่าว ๕.๓ ติดต่อกรรมการตัดสิน/วิทยากร ๕.๔ อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้า ประกวด ๕.๕ จัดประกวดหนูน้อยนพมาศ ๕.๖ ประเมินผล ๕.๗ สรุปรายงานผล ถอดบทเรียน ๖ วันแห่งสันติภาพ ๖.๑ ประชุมคณะทางาน ๖.๒ ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจาย ข่าว ๖.๓ จัดทาสื่อการเรียนรู้ ๖.๔ จัดกิจกรรมวันแห่งสันติภาพ ๖.๕ ประเมินผล ๖.๖ สรุปรายงานผล ถอดบทเรียน

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

==== ==== ==== ==== ==== ==== ====

==== ==== ==== ==== ==== ====


19

๘. ผู้รับผิดชอบ ๘.๑ นายโชคดี มุสิกะสังข์ ตาแหน่ง ครูชานาญการโรงเรียนอนุบาลป่าบอน ๘.๒ นายกรีฑา บัวชุม ตาแหน่ง ประธานชมรมคนรักกีฬาบ้านป่าบอนต่า ๘.๓ นายมนัส มณีพรหม ตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๓ ต.ป่าบอน อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ๙. ค่าใช้จ่ายในการด่าเนินโครงการ จ่าแนกเป็นรายการค่าตอบแทนค่าใช้สอยและค่าวัสดุ งบประมาณ ระยะ กิจกรรม รวม ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ ค่าตอบ ค่าใช้ ค่าวัสดุ เวลา แทน สอย ๑.ฝึกอบรมเยาวชน ๓,๐๐๐ ๗,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐ มิ.ย. ๕๔ นายโชคดี การใช้จ่าย รักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยา มุสิกะสังข์ งบประมาณ เสพติด ถัวจ่ายทุก ๒. ฟุตบอลต้านภัย ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ก.ค. ๕๔ นายกรีฑา รายการ ยาเสพติด บัวชุม ๓. เดิน วิ่ง ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ส.ค. ๕๔ นายมนัส เทิดพระเกียรติ มณีพรหม ๔. กีฬาพื้นบ้าน ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ก.ย. ๕๔ นายกรีฑา บัวชุม ๕. หนูน้อยนพมาศ ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ พ.ย. ๕๔ นายโชคดี มุสิกะสังข์ ๖. วันแห่ง ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ม.ค. ๕๕ นายมนัส สันติภาพ มณีพรหม รวมทั้งสิ้น

(เงินสามหมื่นห้าพันบาทถ้วน)

๓๕,๐๐๐

๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑) ผลผลิต ๑.๑ มีการนาร่องการจัดการศึกษาระบบตามอัธยาศัยและเรียนรู้ของชุมชน วัดป่าบอนต่า มีการถอดบทเรียนและจัดทาเอกสารรายงานเสร็จสมบูรณ์ ๑.๒ เด็กและเยาวชน ประชาชนในชุมชนและผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม โครงการเยาวชน รักษ์ถิ่นอย่างน้อยร้อยละ ๗๕ ได้รับการพัฒนา สอดคล้องกับโครงการสูงขึ้นและเข้ามามีกาส่วนร่วมใน กิจกรรมมากขึ้น


20

๑.๓ ได้ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทยเพื่อ การขยายผล ๒) ผลลัพธ์ ๒.๑ เกิดการผนึกกาลังและความร่วมมือกันของเยาวชนในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และสุขภาวะ ที่มีการศึกษาและการเรียนรู้เป็นกลไกเชื่อมโยง ๒.๒ สุขภาวะและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนสูงขึ้นทั้งด้านกาย จิตและสติปัญญา ๓) ผลกระทบ ๓.๑ มีแนวโน้มการขยายการจัดการศึกษาไปยังชุมชนข้างเคียงอื่นๆ ๓.๒ หน่วยงานระดับนโยบายที่เกี่ยวข้องรับไปดาเนินการและสนับสนุน ๓.๓ ความสาเร็จของโครงการ สามารถแก้ปัญหายาเสพติด ได้ในระดับหนึ่ง และเพื่อให้ สังคมมีสุขภาวะที่ดี ๑๑. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑๑.๑ เด็กและเยาวชนในชุมชน มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี ๑๑.๒ เด็กและเยาวชนในชุมชน มีจิตสานึกรักษ์บ้านเกิด ๑๑.๓ เด็กและเยาวชนในชุมชน มีจิตสาธารณะ ๑๑.๔ เด็กและเยาวชนในชุมชน อนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของชุมชน


21

ส่วนที่ ๓ การบริหารจัดการ / ด่าเนินการ การบริหารด้านบุคคล ๑. พระมหาสุรินทร์ ๒. นายอานวย ๓. นายวิรัตน์ ๔. นายบัญชา ๕. นายนพพล ๖. นายประพล ๗. นางอมรทิพย์ ๘. นายคณิต ๙. นายโชคดี

กิตติสาโร พรายอินทร์ ราชวังเมือง สุขธรณ์ กองเอียด ไชยงาม คงรื่น ศิริวรรณดี มูสิกะสังข์

ประธาน รองประธาน รองประธาน เหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยกรรมการและเลขานุการ

การบริหารด้านวิชาการ บทความโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย ณ ชุมชนวัดป่าบอนต่า แบบสารวจความคิดเห็น สรุปแบบสารวจ บทความประชาสัมพันธ์ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.) ทางหอกระจายข่าว ม.๑ บ้านในล้อม ม.๒ บ้านกลาง ม.๗ บ้านป่าบอนต่า รายงานความก้าวหน้าโครงการ หนังสือเชิญประชุม แผ่นซีดี คลิปวีดีโอ เรื่องการทาเรื่องแกง และขนมไทย แผ่นพับศาลาคู่เมรุ เอกสานผักพื้นบ้าน การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ ๑.นายชลา อรรถธรรม ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑


22

๒. นายประจวบ หนูเลี่ยง รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พัทลุง เขต ๑ ๓. นายล่วน คงรื่น แกนนาผู้สูงอายุ ๔. นายเคลื่อม บุญราม แกนนาผู้สูงอายุ ๕. ร.ต.ต.ประมวล เกื้อหนุน ข้าราชการบานาญ คณะทางานตามโครงการ ปศท.๒ ของชุมชนวัดป่าบอนต่าได้ประชุมจัดตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล เพื่อติดตามประเมินผลกิจกรรมแต่ละโครงการให้ดาเนินการลุล่วงและคอยสนับสนุน เป็นที่ปรึกษาในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคการดาเนินงานของโครงการ และได้รายงานผลการดาเนิน กิจกรรมโดยใช้แบบ รง.๕ ผู้ร่วมงานทุกคน ทุกโครงการได้รับการนิเทศติดตามงานจากสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ โดยนายประจวบ หนูเลี่ยง รองผู้อานวยการสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ และคณะมาโดยตลอด และยังได้รับการนิเทศจากนาย ประเสริฐ แก้วเพ็ชร นายบุญจันทร์ บัวหุ่ง ดร.พิณสุดา สิริธรังศรี และ รศ.ดร.กล้า ทองขาว ผู้ดูแล โครงการด้วยดีตลอดมา ทาให้การดาเนินโครงการได้ดาเนินการลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ผลการกากับ ติดตามประเมินผลโครงการ คณะกรรมการของชุมชนได้รับการนิเทศติดตามงานทุกโครงการ ทุกกิจกรรม ได้รับคาแนะนา ข้อเสนอแนะ ตลอดจนการชื่นชมผลงานที่เกิดขึ้นจากโครงการที่สามารถ ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับชุมชน แก้ปัญหาชุมชน ส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้


23

ส่วนที่ ๔ เครือข่ายการด่าเนินงานและความร่วมมือ เครือข่ายชุมชน ๑. ชมรม อสม. ๒. ชมรมผู้สูงอายุ ๓. ชมรมคนรักกีฬา ๔. ชมรมแพทย์แผนไทย ๕. กลุ่มเยาวชน สถาบันศาสนา ๑. วัดลอน เอกชน ๑. ร้านพีทีวัสดุก่อสร้าง ๒. ร้านกาแฟสดบ้านไม้ องค์กรเอกชน ๑. สมาคมครอบครัวเข้มแข็งพัทลุง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๑. อบต.ป่าบอน ๒. ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ๓. สมาชิกสภาจังหวัด สถานศึกษา ๑. โรงเรียนวัดป่าบอนต่า ๒. โรงเรียนวัดท่าดินแดง ๓. โรงเรียนวัดควนเคี่ยม ๔. โรงเรียนป่าบอนพิทยาคม ๕. โรงเรียนอนุบาลป่าบอน ๖. โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ ๗. โรงเรียนตะโหมด อื่นๆ ๑. โรงพยาบาลป่าบอน ๒. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านป่าบอนต่า


24

ส่วนที่ ๕ บทสรุป ๑. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นของโครงการ กิจกรรมการอนุรักษ์สายคลองป่าใส มีมาตรการชุมชนเป็นเขตอนุรักษ์ ปรับเส้นทางเดินริมคลองป่าใส เข้าแผนพัฒนาชุมชน กลุ่มผู้สูงอายุได้ออกกาลังกาย กลุ่มเครื่องแกง จัดทาผงเครื่องแกงสาเร็จรูป การบริหารโครงการที่บูรณาการองค์กรชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน ร่วมกันดาเนินโครงการ ๒. ผลผลิต ผลลัพธ์ และความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้นของโครงการ ประชุมคณะกรรม จานวน ๑๑ ครั้ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีสุขภาพจิตที่ดี จากการได้ร่วมกิจกรรม ได้คลายเครียด โครงการสร้างจิตอาสา สืบสาน ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทย สายใยชุมชน โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน โครงการเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด กลุ่มองค์กรในชุมชน ข้าราชการ กลุ่มแม่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุข ชมรมต่าง ๆ กลุ่มต่าง ร่วมขับเคลื่อนโครงการ เกิดการเรียนรู้ในชุมชน เกิดจิตอาสา เกิดความสามัคคี ไม่มีสายบังคับบัญชา ๓. จุดอ่อนของโครงการ คณะกรรมการมีหลายบทบาทหน้าที่ การร่วมกลุ่มบริหารโครงการ ๔. ข้อจ่ากัดของโครงการ การประชาสัมพันธ์ การทาความเข้าใจหลักการของโครงการ ๕. ปัญหา อุปสรรค แก้ปัญหาและการพัฒนา โรงเรียนยังไม่เกิดเครือข่าย ผู้ปกครองแบบมีชีวิตอย่างจริงจัง ๖. ข้อเสนอแนะ


25

ภาคผนวก บทน่า ความส่าคัญและความเป็นมา ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.๒) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณสานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ซึ่งชุมชนวัดป่าบอนต่า มีความ ยินดีที่ได้เข้าร่วมโครงการ เพื่อจะสร้างเสริมสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาของคน ในชุมชนวัดป่าบอนต่า และชุมชนใกล้เคียง โดยการจัดการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การมีส่วน ร่วมและบูรณาการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้ชุมชนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดาเนินการ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมแก้ปัญหา ร่วมชื่นชม และร่วมใช้ประโยชน์ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ อย่างมีความสุข เต็มศักยภาพ รู้จักพื้นเพ วัฒนธรรมการเป็นอยู่ รู้จักวิถีชุมชน ภูมิปัญญาที่มีอยู่ ระบบ เครือญาติที่มีความสาคัญในชุมชนวัดป่าบอนต่า และการมีวัดป่าบอนต่าเป็นศูนย์รวมด้านจิตใจของคนใน ชุมชน และได้ดารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมที่ดีงามให้คงอยู่ตลอดไป ส่วนที่ ๑ ข้อมูลองค์กรที่ท่าการประเมิน ๑.๑ ประเภทองค์กร โรงเรียน  ชุมชน/วัด/แหล่งเรียนรู้ ๑.๒ ชื่อองค์กร ชุมชนวัดป่าบอนต่า ๑.๓ องค์กรตั้งอยู่ในภาค

เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง  ใต้

๑.๔ สาระกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่จัด (ตอบได้มากกว่า ๑)  การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน กิจกรรมของชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้พัฒนา สถานที่ที่มีอยู่ในชุมชนและชุมชนใกล้เคียงให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ - ศาลาการเปรียญวัดป่าบอนต่า หอฉันท์วัดป่าบอนต่า บริเวณวัด สาหรับ การจัดประชุม /อบรม / ทาประชาคม / ติดตามนิเทศงาน และจัดกิจกรรม ต่าง ๆ - บริเวณศาลาคู่เมรุ เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องพิธีกรรม วิถีชุมชน


26

- บ้านผลพลังธรรม เป็นที่จัดการประชุม ทาประชาคม ติดตามงาน - อาคารของโรงเรียนวัดป่าบอนต่า สนามกีฬา จัดกิจกรรมกีฬา อบรมเยาวชน รักถิ่น ขจัดสิ้นยาเสพติด - ศาลาประจาหมู่บ้าน ม.๑ ,ม.๒ และ ม.๗ /เพื่อการประชุมหมู่บ้าน จัด กิจกรรมกลุ่มดอกไม้สด ,กิจกรรมกลุ่มรักคลองป่าใส - ศาลาริมคลองป่าใส จัดกิจกรรมเยาวชนรักถิ่น ขจัดสิ้นยาเสพติด (ลอย กระทง) ,เรียนรู้เรื่องผักพื้นบ้าน สมุนไพร - สวนสมุนไพร “วังสมุนไพร” ของคุณวิรัตน์ ราชวังเมือง เรียนรู้เรื่อง สมุนไพร การขยายพันธ์พืช - ที่ทาการกลุ่มเครื่องแกง อบรมเชิงปฏิบัติแก่เยาวชนและผู้สนใจ - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านป่าบอนต่า จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้าน สุขภาพ  การเรียนรู้ศิลปะและดนตรี - ในด้านศิลปะ ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดดอกไม้สด การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุเหลือใช้ - ด้านดนตรี ส่งเสริมสนับสนุนให้เยาวชนและประชาชนได้แสดงออกทางการ ร้องเพลง โดยการประกวดร้องเพลง การแสดง การราของเยาวชนในงาน ลอยกระทง  ครอบครัวและความรักถิ่น - โครงการเยาวชนรักถิ่น ส่งเสริมค่านิยมให้เยาวชนรักบ้านเกิด รักครอบครัว ห่างไกลยาเสพติด - ทุกโครงการ มีส่วนทาให้กลุ่มเป้าหมายและประชาชนในชุมชน ได้เห็น ความสาคัญของสถาบันครอบครัว และรักชุมชนมากขึ้น  การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม - โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน ได้จัดกิจกรรมรักษ์คลอง ป่าใส ธารน้าใจ สายใยชุมชุม เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบริเวณลาคลองป่าใส ในชุมชนป่าบอนต่า กิจกรรมกลุ่มดอกไม้สด ส่งเสริมการนาวัสดุเหลือใช้มา ประดิษฐ์เป็นของใช้ต่าง ๆ โครงการสร้างจิตอาสา สืบสาน ศาสนา ศิลปะ


27

วัฒนธรรม ประเพณีไทย สายใยชุมชน จัดกิจกรรมเรียนรู้สู่ภูมิทัศน์วัดป่า บอนต่า ฯ  การพัฒนาความรู้และปัญญา - ทุกโครงการมีกิจกรรมการพัฒนาความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย มีการร่วมแสดง ความคิดเห็นที่หลากหลาย และมีวิทยากรให้คาปรึกษา  การพัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม - ทุกโครงการ/ กิจกรรม ได้มีการสอดแทรกกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม ได้แก่ การรู้จักกฎระเบียบวินัย การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การเสียสละ การรอคิว การรักษาความ สะอาด รักษาสิ่งแวดล้อม การเคารพผู้ใหญ่ การตรงต่อเวลา ฯ  การต่อต้านยาเสพติด ละเลิกอบายมุข - ทุกโครงการ จะมีกิจกรรมที่สอดแทรกการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด การ ลดละเลิกอบายมุข - โครงการเยาวชนรักถิ่น ขจัดสิ้นยาเสพติด มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชนและ คนในชุมชนร่วมกันต่อต้านยาเสพติด - กิจกรรมทาดีกู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ ในโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่สุขภาวะ คนป่าบอน มีวัตถุประสงค์โดยตรงเพื่อลดละเลิกการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ในวัด , การงดการยิงปืน จุดพลุ,การเล่นการพนัน ,การลดการ ใช้ถุงพลาสติก ฯ  การพัฒนาอาชีพในชุมชน - กิจกรรมกลุ่มดอกไม้สด กลุ่มเครื่องแกง กิจกรรมสมุนไพร มีกิจกรรมเรียนรู้ เกี่ยวกับอาชีพ  การกีฬาและสุขภาพชุมชน - โครงการเยาวชนรักถิ่น ขจัดสิ้นยาเสพติด มีกิจกรรมส่งเสริมการเล่นกีฬา พื้นบ้าน สนับสนุนชมรมคนรักกีฬาป่าบอน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพของ คนในชุมชน


28

 การพัฒนาผู้นาและเครือข่ายชุมชน - ทุกโครงการมีการเชิญผู้นาและเครือข่ายชุมชนหรือตัวแทนเข้ามามีส่วนร่วม ในทุกกระบวนของกิจกรรม มีการแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวางและนาไปสู่การปฏิบัติ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน นายก และสมาชิก อบต. สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ชมรมผู้สูงอายุ ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ( อสม.) ชมรมแพทย์แผนไทย ชมรมคนรักกีฬา กลุ่มเยาวชน ฯลฯ ซึ่งกลุ่ม หรือตัวแทนกลุ่ม ได้มีการทางานแบบมีส่วนร่วม ได้พัฒนาความสัมพันธ์ในการทางาน ประสานงานด้วยดียิ่งขึ้น  การพัฒนาการมีส่วนร่วมและอัตลักษณ์ - เครือข่ายมีการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการทางานมากขึ้น ตามวิถีชุมชน  การเรียนรู้การใช้สมุนไพร - โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน มีกิจกรรมเรียนรู้สมุนไพร ยาพื้นบ้าน ซึ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัว สรรพคุณ ประเภทของสมุนไพร ในระดับพื้นฐานโดยศึกษาจากสถานที่จริงในชุมชน ดาเนินการโดยแพทย์ประจาตาบล ที่สนใจสมุนไพรอย่างแท้จริง ร่วมกับ ชมรมแพทย์แผนไทยอาเภอป่าบอน - กิจกรรมรักคลองป่าใส ธารน้าใจ สายใยชุมชน นอกจากให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแล้ว ได้ส่งเสริมความรู้เรื่องสมุนไพร ผักพื้นบ้าน ผักปลอดสารพิษ และต้นไม้อื่น ๆ ที่สาคัญบริเวณลาคลองป่าใส  การสืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญา - ในทุกโครงการ / กิจกรรม มีการสืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญา เนื่องจาก มีวัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา ประเพณีต่าง ๆ เช่น การจัดกิจกรรมวัน อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา การชักพระ ประเพณีเดือนสิบ การลอยกระทง การอบรม คุณธรรมแก่เยาวชน การตอบปัญหาธรรมะ ฯ ตลอดจนภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดมา ได้แก่ การทาเครื่องแกง การใช้สมุนไพรในการรักษาโรค การบริโภคผักพื้นบ้านปลอดสารพิษ การขอขมาต่อพระแม่คงคาในพิธี ลอยกระทง ฯ


29

 อื่นๆ

ได้แก่ …… - การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านโภชนาการ ที่ได้จากการบริโภคผักพื้นบ้าน คุณค่าของผักพื้นบ้าน เครื่องแกงของไทย การให้เยาวชนสามารถฝึกปฏิบัติ และทาได้จริงในการทาเครื่องแกง ขนมไทย ๆ หลีกเลี่ยงการบริโภคขนมขยะ - ส่งเสริมให้ประชาชน ดารงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

ส่วนที่ ๒ ผลการปฏิบัติงานขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย ๒.๑ การร่วมกิจกรรมและความสม่​่าเสมอของการเข้าร่วม ๒.๑.๑ การจัดท่าประชาคม ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้รับนโยบายจากโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.๒) ที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และรับนโยบาย จากนายประเสริฐ แก้วเพชร อดีตรองเลขาธิการการอาชีวศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ แล้วทางชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้ดาเนินการเชิญผู้นาชุมชนระดับหมู่บ้าน ตาบล จังหวัด ผู้นาองค์กรในชุมชน พระสงฆ์ องค์กรเอกชน ส่วนราชการ ชมรมผู้สูงอายุ ชมรม อสม. ชมรมคนรักกีฬา ชมรมผู้พิการอาเภอป่าบอน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ข้าราชการบานาญ โรงเรียนในพื้นที่ ได้แก่โรงเรียนวัดป่าบอนต่า โรงเรียนใกล้เคียง ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลป่าบอน โรงเรียนบ้านท่าดิ นแดง โรงเรียนบ้านห้วยทราย โรงเรียนวัดควนเคี่ยม และประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ในพื้นที่ ได้ร่วมกันวิเคราะห์ บริบทขององค์กร / ชุมชน/วัด/ โรงเรียน/แหล่งเรียนรู้/ อบต. จนได้โครงการที่จะดาเนินการเพื่อให้สอดคลอง กับนโยบายหลักของโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคน ไทย (ปศท.๒) จานวน ๓ โครงการ คือ ๑. โครงการสร้างจิตอาสา สืบสาน ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทย สายใยชุมชน ๒. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน ๓. โครงการเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด


30

การประชุมประชาคม ณ ศาลาปิดทองหลังพระ วันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๔ ผลการประชุม ๑. คณะทางานมีความเข้าใจในการดาเนินโครงการ ๒. โครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ได้ดาเนินไปตามแผนที่วางไว้ ๒.๑.๒ การจัดท่าแผนงาน / โครงการ/งบประมาณ การจัดทาแผนงานโครงการ ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้ประชุมคณะทางานของ โครงการทั้ง ๓ โครงการ ซึ่งประกอบด้วย คณะครู ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานชมรมผู้สูงอายุ ผู้นาชุมชน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบลป่าบอน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบล ชมรมผู้พิการ ชมรมคนรักกีฬา กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ กลุ่มสหกรณ์ พระภิกษุ กลุ่มแม่บ้าน เยาวชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อร่วมวางแผนกาหนดกิจกรรมที่จะดาเนินการ กาหนด ผู้รับผิดชอบ การนิเทศติดตาม การประเมินผลโครงการรวมทั้งวางแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ในแต่ กิจกรรม ให้มีความเหมาะสมและเกิดประโยชน์ต่อชุมชนอย่างแท้จริง ผลการประชุม ๑. คณะทางานมีความเข้าใจในการดาเนินโครงการ ๒. โครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ได้ดาเนินไปตามแผนที่วางไว้ ๒.๑.๓ การประชุมประจ่าเดือน/ตามวาระต่างๆ ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการ คณะกรรมการที่ปรึกษาของโครงการ อย่างต่อเนื่องตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๕๔ จนถึงปัจจุบัน ใน ประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ ๑. การประชุมแต่งตั้งคณะทางานโครงการ ๒. สร้างความเข้าใจโครงการ ๓. สร้างความเข้าใจและวิเคราะห์ชุมชน


31

๔. การจัดทาแผนงาน/โครงการ/งบประมาณ ๕. การดาเนินกิจกรรมของโครงการ ๖. การกากับ ติดตามประเมินผลโครงการ ผลการประชุม ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้จัดประชุมโดยเชิญประชาชนในชุมชน ข้าราชการ กลุ่ม แม่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุข ชมรมต่าง ๆ กลุ่มต่าง ๆ ประชุมเรื่องการกาหนดโครงการที่จะ ดาเนินการในพื้น คือ โครงการสร้างจิตอาสา สืบสาน ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทย สายใย ชุมชน โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน และโครงการเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด ๒.๑.๔ การด่าเนินกิจกรรมของโครงการ ได้ดาเนินโครงการครบทั้ง ๓ โครงการ และ ได้ดาเนินการตามแผนที่วางไว้ โดย ได้รับความร่วมมือด้วยดีจากทุกฝ่าย ทั้งด้านแรงกาย กาลังใจ กาลังความคิด การเสียสละเพื่อส่วนรวม ผลการดาเนินงาน ๑. ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือทากิจกรรมด้วยดี ๒. ทุกโครงการได้ดาเนินการตามแผนที่วางไว้ สรุปกิจกรรมต่าง ๆ พอสังเขปดังนี้ ๒.๑.๔.๑ โครงการสร้างจิตอาสา สืบสานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทย สายใยชุมชน กิจกรรมหลัก๑. เวทีเสวนาสืบสาน ศาสนาวัฒนธรรมและประเพณีไทย ๒. กิจกรรมวันสาคัญทางศาสนา - วันอาสาฬหบูชา - วันเข้าพรรษา - วันสารทไทย - วันออกพรรษา - ประเพณีชักพระ - วันมาฆบูชา - วันวิสาขบูชา


32

- กิจกรรมทาบุญเนื่องในโอกาสต่าง ๆ - กิจกรรมฟังธรรมในโอกาสต่าง ๆ ๑. กิจกรรมตามกระบวนการเรียนรู้ภูมิทัศน์ในวัดป่าบอนต่า ๒. กระบวนการเรียนรู้สร้างจิตอาสาของวัดป่าบอนต่า ผลการด่าเนินงาน ๑. เวทีเสวนาสืบสาน ศาสนาวัฒนธรรมและประเพณีไทย ด้านปริมาณ จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม นักเรียน 140 คนครู 10 คน ประชาชน 150 คน ด้านคุณภาพ ผู้เรียน มีจิตสานึกและอนุรักษ์ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณีไทย และมีความตระหนักในการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์และสืบสานศาสนาและ ศิลปวัฒนธรรมประเพณีไทยและยอมรับการเปลี่ยนแปลงในเชิงพัฒนา ๒.

กิจกรรมวันส่าคัญทางศาสนา ๒.๑ วันอาสาฬหบูชา ด้านปริมาณ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๒๗๐ คน ด้านคุณภาพ ชุมชนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมและยินดีที่ จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ไม่ถูกต้องเพื่อให้เป็นไปในเชิงพัฒนา ๒.๒ วันเข้าพรรษา ด้านปริมาณ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๓๘๐ คน ด้านคุณภาพ ชุมชนมีความพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมและขอให้จัด กิจกรรมเสริมในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาเป็นประจาทุกปี ๒.๓ วันสารทไทย ด้านปริมาณ กิจกรรมวันสารทไทย ๒ ครั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ประมาณ ๑,๖๐๐ คน ด้านคุณภาพ ผู้เรียนและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมวันสารทไทย มีจิตสานึก และอนุรักษ์ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีไทย มีความตระหนักในการเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อ อนุรักษ์และสืบสานศาสนา ยอมรับในการเปลี่ยนแปลงเชิงพัฒนา ๒.๔ วันออกพรรษา/ ประเพณีชักพระ ด้านปริมาณ จัดกิจกรรม ๑ ครั้ง มีผู้ร่วมกิจกรรมตักบาตร ประมาณ ๓๐๐ คน ร่วมกิจกรรมชักพระระดับหมู่บ้านประมาณ ๑๕๐ คน ผู้ร่วมกิจกรรมระดับอาเภอ ประมาณ ๒,๐๐๐ คน


33

ด้านคุณภาพ ชุมชนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมสืบสาน ศาสนา และศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี อนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่สืบไป ๓. กิจกรรมตามกระบวนการเรียนรู้ภูมิทัศน์ในวัดป่าบอนต่​่า ด้านปริมาณ ผู้ร่วมกิจกรรม ๑๖๐ คน ด้านคุณภาพ ผู้เรียนและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม เรียนรู้เรื่องภูมิทัศน์ในวัด ป่าบอนต่า มีจิตสานึกและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตั้งใจจะร่วมมือกันรักษาความสะอาด และดูแลวัดทุกๆด้าน โดยจะพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และศูนย์รวมจิตใจของชุมชนต่อไป ๔.กิจกรรมฟังเทศ ฟังธรรม วันธรรมสวนะในเทศกาล เข้าพรรษา ด้านปริมาณ มีกิจกรรมทุกวันธรรมสวนะในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา มีผู้ ร่วมกิจกรรม ครั้งละประมาณ ๒๐๐ คน ด้านคุณภาพ ผู้เรียนและชุมชน มีความพึงพอใจ ได้รับความรู้สามารถ นาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้ ๕.กิจกรรมตอบปัญหาธรรมะ ด้านปริมาณ จัดกิจกรรม ๑ ครั้ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๑๓๕ คน ด้านคุณภาพ ผู้เรียนและชุมชน มีความพึงพอใจ ต้องการให้จัด กิจกรรมนี้ทุกปี ๖. กิจกรรมมอบทุนการศึกษาเนื่องในวันพ่อแห่งชาติ ประจ่าปี ๒๕๕๔ ด้านปริมาณ จัดกิจกรรม ๑ ครั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ๑๔๓ คน ด้านคุณภาพ ชุมชนมีความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรม โดยช่วยกัน ร่วมบริจาคสมทบทุนเพื่อใช้ในการมอบทุนการศึกษา แก่นักเรียน สามเณร และช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ด้อย โอกาส ผู้พิการ เป็นจานวน เงิน ๕๐๕๐๐ บาท ซึ่งเป็นเงินที่มีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เงินที่เหลือจาก การมอบทุนดังกล่าว จะเก็บไว้เป็นกองทุนต่อไป ๒.๑.๔.๒ โครงการ เยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด กิจกรรมหลัก มีดังนี้ ๑. กิจกรรมอบรมเยาวชนรักษ์ถิ่น ด้านปริมาณ เยาวชนเข้าร่วมรับกิจกรรมต้านภัยยาเสพติด จานวน ๔๐ คน ด้านคุณภาพ เยาวชนมีสุขภาพกาย จิต ที่สมบูรณ์และห่างไกลยาเสพติด การจัดกิจกรรม จัดอบรมเยาชนเกี่ยวกับการต้านภัยยาเสพติด จานวน ๒ วัน ๑ คืน


34

๒. ฟุตบอลต้านภัยยาเสพติด ด้านปริมาณ เยาวชนร่วมแข่งขันฟุตบอน จานวน ๑๐๐คน กลุ่ม ด้านคุณภาพ เยาวชนมีสุขภาพกาย จิต ที่สมบูรณ์และห่างไกลยาเสพติด ๓. กิจกรรมเดินวิ่งเทิดพระเกียรติ ด้านปริมาณ เด็กและเยาวชนจานวน ๑๐๐คน กลุ่มแม่บ้าน อสม. จานวน ๘๐คน ด้านคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจานวน ๑๘๐ คน ร่วมเดินวิ่ง เทิดพระเกียรติเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระบรมราชินีนาทแสดงความ จงรักภักดีเกิดสานึกถึงพระคุณแม่และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ตลอดจนมีพลานามัยที่สมบูรณ์และ ห่างไกลยาเสพติด ๔. กิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน ด้านปริมาณ เด็กและเยาวชน จานวน๑๐๐คน ประชาชนทั่วไปจานวน ๑๐๐คน ด้านคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมแข่งขันกีฬาพื้นบ้านเนื่องในประเพณี วันสารทเดือนสิบเกิดความสามัคคีในหมู่คณะ และสานึกรักษ์ถิ่นเกิด ตลอดจนร่วมอนุรักษ์กีฬาพื้นบ้าน ๕.กิจกรรมประกวดหนูน้อยนพมาศ ด้านปริมาณ เด็กและเยาวชนจานวน๑๕๐คนประชาชนทั่วไปจานวน ๑๕๐คน ด้านคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจานวน๓๐๐คนร่วมประเพณีวันลอย กระทง เกิดจิตสานึกรักษ์ถิ่นเกิด กล้าแสดงออกในทางที่ดี รู้จักบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและร่วมอนุรักษ์ สืบสานประเพณีไทย ๒.๑.๔.๓ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะคนป่าบอน มีกิจกรรมหลักดังนี้ ๑. กิจกรรมรักคลองป่าใส ธารน้่าใจ สายใยชุมชน ด้านปริมาณ จัดกิจกรรม ๕ ครั้ง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๑๓๕ คน ด้านคุณภาพ ผู้เรียนได้ทราบถึงสภาพสิ่งแวดล้อมตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน สาเหตุของการเสื่อมโทรมของคลอง ปัญหาที่พบและได้กาหนดมาตรการของชุมชน กลุ่มเยาวชนได้ เรียนรู้เรื่องคลองป่าใส ผักพื้นบ้าน สมุนไพร หมู่บ้านมีแนวทางในการพัฒนาคลองป่าใสในอนาคต


35

๒. กิจกรรมกลุ่มดอกไม้สด ด้านปริมาณ จัดกิจกรรม ๒ ครั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ๘๐ คน ด้านคุณภาพ ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องการจัดดอกไม้สดในงานต่าง ๆ การ ประดิษฐ์ของใช้เช่น หมวก กระเป๋า ตะกร้า จากวัสดุเหลือใช้ มีอาชีพเสริม มีการตั้งกลุ่ม มีความรัก สามัคคี ๓. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพกลุ่มเครื่องแกง ด้านปริมาณ จัดกิจกรรม ๒ ครั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ๕๘ คน ด้านคุณภาพ ผู้เรียนได้เรียนรู้การทาเครื่องแกง สามารถปรุงแกงได้ เรียนรู้เรื่องขนม ผู้เรียนมีความสนใจอยากเรียนเพิ่มเติมมากกว่าแผนที่กาหนดไว้ ๔. กิจกรรมท่าดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ ด้านปริมาณ จัดกิจกรรม ๓ ครั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ๒๕๐ คน ด้านคุณภาพ ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบปัญหาที่มีอยู่ มีความ ต้องการที่จะร่วมกันแก้ไขเรื่องอบายมุขและความเสี่ยงที่เกิดจากการพฤติกรรมภายในงานศพ แต่มี อุปสรรคบางอย่าง ไม่สามารถดาเนินการต่อได้ ๕. กิจกรรมสมุนไพร ด้านปริมาณ จัดกิจกรรม ๒ ครั้ง มีผู้ร่วมกิจกรรม ๒๙ คน มี เครือข่ายหมอพื้นบ้าน ๖ คน จัดสวนสมุนไพร ๑ แห่ง ด้านคุณภาพ มีสวนสมุนไพรเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ได้รวบรวม พันธ์สมุนไพรไว้มากกว่า ๒๐๐ ชนิด มีเครือข่ายพร้อมสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมและถ่ายทอดความรู้ แก่ผู้เรียน ๒.๑.๕ การก่ากับ ติดตามประเมินผลโครงการ คณะทางานตามโครงการ ปศท.๒ ของชุมชนวัดป่าบอนต่าได้ประชุมจัดตั้ง คณะกรรมการนิเทศติดตาม ประเมินผล เพื่อติดตามประเมินผลกิจกรรมแต่ละโครงการให้ดาเนินการลุล่วง และคอยสนับสนุน เป็นที่ปรึกษาในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคการดาเนินงานของโครงการ และได้รายงาน ผลการดาเนินกิจกรรมโดยใช้แบบ รง.๕ ผู้ร่วมงานทุกคน ทุกโครงการได้รับการนิเทศติดตามงานจาก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ โดยนายประจวบ หนูเลี่ยง รองผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ และคณะมาโดยตลอด และยังได้รับการนิเทศ จากนายประเสริฐ แก้วเพ็ชร นายบุญจันทร์ บัวหุ่ง ดร.พิณสุดา สิริธรังศรี และ รศ.ดร.กล้า ทองขาว ผู้ดูแลโครงการด้วยดีตลอดมา ทาให้การดาเนินโครงการได้ดาเนินการลุล่วงตามวัตถุประสงค์


36

ผลการกากับ ติดตามประเมินผลโครงการ คณะกรรมการของชุมชนได้รับการ นิเทศติดตามงานทุกโครงการ ทุกกิจกรรม ได้รับคาแนะนา ข้อเสนอแนะ ตลอดจนการชื่นชมผลงานที่ เกิดขึ้นจากโครงการที่สามารถช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับชุมชน แก้ปัญหาชุมชน ส่งเสริมกิจกรรมของ ชุมชน ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ๒.๒ การด่าเนินกิจกรรมของโครงการ การดาเนินกิจกรรมของโครงการ ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้ดาเนินการตามแผนงานที่ กาหนดไว้ทุกกิจกรรม ดังนี้ ๒.๒.๑) โครงการสร้างจิตอาสา สืบสานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทย สายใยชุมชน @ เวทีเสวนาสืบสาน ศาสนาวัฒนธรรมและประเพณีไทย กิจกรรมวันส่าคัญทางศาสนา วันอาสาฬหบูชา

นักเรียนในชุมชนมาร่วมกิจกรรม

ประชาชนในพื้นที่

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าบอนต่าร่วมกิจกรรม

พุทธศาสนิกชนถวายเทียนพรรษา


37

วันเข้าพรรษา

ร่วมตักบาตรวันเข้าพรรษา

วันสารทไทย


38

วันออกพรรษา/ ประเพณีชักพระ

@ กิจกรรมตามกระบวนการเรียนรู้ภูมิทัศน์ในวัดป่าบอนต่​่า

นายประจวบ หนูเลี่ยง ประธานเปิดกิจกรรมเรียนรู้ภูมิทัศน์วัดป่าบอน ต่า


39

@ กิจกรรมฟังเทศ ฟังธรรม วันธรรมสวนะในเทศกาล เข้าพรรษา

@.กิจกรรมตอบปัญหาธรรมะ


40

@. กิจกรรมมอบทุนการศึกษาเนื่องในวันพ่อแห่งชาติ ประจ่าปี ๒๕๕๔

นายคณิต ศิริวรรณดี กล่าวรายงาน

นายประจวบ หนูเลี่ยง ประธาน กล่าวเปิดงาน

มอบทุนการศึกษาแก่สามเณร

ประธานมอบทุนแก่ผู้สูงอายุ

@ กิจกรรมแห่ผ้าห่มธรรมเจดีย์


41

@ กิจกรรมก่อกองทราย


42

@ กิจกรรมต้นไม้พูดได้


43

๒.๒.๒ โครงการ เยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด กิจกรรมหลัก มีดังนี้ ๑. กิจกรรมอบรมเยาวชนรักษ์ถิ่น


44

๒.กิจกรรมฟุตบอลต้านภัยยาเสพติด

๓.กิจกรรม ลูกรักแม่/ วิ่งเทิดพระเกียรติ


45

นายล่วน คงรื่น มอบรางวัลแก่ผู้ร่วมวิ่งเทิดพระเกียรติ ๑๒ สิงหา ๔.กิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน


46

๓.กิจกรรมประกวดหนูน้อยนพมาศ


47

วันลอยกระทง ชุมชนวัดป่าบอนต่า


48

๒.๒.๓ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่สุขภาวะคนป่าบอน มีกิจกรรมหลักดังนี้ ๑. กิจกรรมรักคลองป่าใส ธารน้่าใจ สายใยชุมชน

สภาพคลองป่าใส

ทีมสารวจคลองป่าใส

นายนพพล กองเอียด

พระมหาสุรินทร์ กิตติสาโร ให้ความรู้แก่เยาวชน


49

นาเสนอผักพื้นบ้านริมคลอง กิจกรรมวันกินผัก


50

๒. กิจกรรมกลุ่มดอกไม้สด

คุณอนิตสา รงค์ทอง ประธานกลุ่มดอกไม้สด แนะนาการจัดดอกไม้

ผลิตผลที่ได้จากกิจกรรม


51

การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุเหลือใช้

ผลิตผลจากวัสดุเหลือใช้ หมวก กระเป๋า


52

๓. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพกลุ่มเครื่องแกง


53

๔. กิจกรรมท่าดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ

ประชุมกรรมการ

ติดป้ายประกาศ


54

๕. กิจกรรมสมุนไพร

สาธิตการชาสมุนไพร โดยนายวิรัตน์ ราชวังเมือง

ร่วมมือ

นายชิต ราชวังเมือง แนะนาเรื่องมะละกอย่าน

ร่วมใจ


55

เยี่ยมเครือข่ายสมุนไพร บ้านลาสินธุ์ อ.กงหรา ๒.๓ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์บรรลุผล ก. การบรรลุเป้าหมายของโครงการ ชุมชนวัดป่าบอนต่าได้รับความร่วมมือจากทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี จึงทาให้เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ที่วางไว้บรรลุผลทุกกิจกรรม ส่งผลดีต่อการ ส่งเสริมการเรียนรู้แก่ประชาชนในชุมชน ข. การบรรลุวัตถุประสงค์ การดาเนินโครงการทั้ง ๓ โครงการของชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้ บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คือ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมตามโครงการ มีส่วนร่วมในการทา กิจกรรมการเรียนรู้ตลอดการมีกิจกรรม มีความสุขกับการทากิจกรรม ๒.๔ เกิดเครือข่ายการด่าเนินงาน ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้มีเครือข่ายในการจัดกิจกรรม(๑๐ คะแนน) ๑. องค์การบริหารส่วนตาบลป่าบอน ได้ให้การสนับสนุนกาลังคน วัสดุอุปกรณ์ และ งบประมาณบางส่วน ๒. สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ได้เข้าร่วมประชุมให้ข้อคิดเห็น เกี่ยวกับ การดาเนินโครงการ ๓. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านป่าบอนต่า ส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็น วิทยากร ให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร


56

๔. ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (ชมรม อสม.) สนับสนุนเรื่องการจัด กิจกรรม อบรมเยาวชน การสารวจคลองป่าใส การจัดงานลอยกระทง ๕. ชมรมผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรม และสนับสนุนการจัดกิจกรรม เป็นผู้นาในพิธีกรรม ขอขมาพระแม่คงคา ๖. ชมรมคนรักกีฬาป่าบอน ร่วมกิจกรรมวิ่งเทิดพระเกียรติ วันแม่ ร่วมจัดกิจกรรมอบรม เยาวชน ,จัดงานลอยกระทง ๗. ชมรมแพทย์แผนไทยตาบลป่าบอน เป็นวิทยากร เรื่องการใช้สมุนไพร ๘. กลุ่มเครื่องแกง หมู่ที่ ๒ บ้านกลาง ร่วมเป็นวิทยากรอบรมเรื่อง การทาเครื่องแกง การทาขนม ๙. กลุ่มอาชีพดอกไม้สด เป็นวิทยากรอบรมการจัดดอกไม้ การประดิษฐ์ของใช้จากเศษ วัสดุ ๑๐.โรงเรียนวัดป่าบอนต่า หมู่ที่ ๗ ตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๑๑.โรงเรียนอนุบาลป่าบอน หมู่ที่ ๑๐ ตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๑๒. โรงเรียนวัดควนเคี่ยม หมู่ที่ ๒ ตาบลวังใหม่ อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๑๓. โรงเรียนบ้านท่าดินแดง หมู่ที่ ๔ ตาบลวังใหม่ อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๑๔. โรงเรียนป่าบอนพิทยาคม ตาบลวังใหม่ อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๑๕. โรงเรียนตะโหมด ตาบลแม่ขรี อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ๑๖.. ชุมชนวัดลอน ตาบลโคกสัก อาเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

๒.๕ มีองค์กรภายนอกมาดูงาน ในการดาเนินงานของชุมชนวัดป่าบอนต่า มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การศึกษาดูงานของ กลุ่มบุคคล ต่าง ๆ ดังนี้

ครั้งที่ ๑ ๒ ๓ ๔

วดป. ๑๕ ส.ค.๒๕๕๔ ๒๒ ก.ย. ๒๕๕๔ ๑๐ พ.ย. ๒๕๕๔ ๑๘ ต.ค.๒๕๕๔

คณะที่มาเยี่ยม คณะครูและนักเรียนโรงเรียนอนุบาลป่าบอน คณะครูและนักเรียน โรงเรียนป่าบอนพิทยาคม พระสงฆ์ กรรมการวัด และครู โรงเรียนวัดลอน โรงเรียนวัดควนเคี่ยม

จานวนคน ๓๐ ๒๕ ๑๐ ๒๕


57

๒.๖ ผลการเรียนของผู้เรียนหรือผลการจัดการเรียนรู้เป็นที่ยอมรับจากชุมชน ก. ผลการจัดการเรียนรู้เป็นที่ยอมรับจากชุมชน จากการจัดการเรียนรู้ตามโครงการทุกโครงการ ได้รับการยอมรับจากชุมชน เนื่องจาก มีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของผู้เรียนไปในทางที่ดี นักเรียน เยาวชน มีความสนใจใฝ่หาความรู้มากขึ้น ผู้เรียนมีความสุข สนุกกับการเข้ารับการเรียนรู้ สนใจ สอบถาม และร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดหลักสูตร ชุมชนรับทราบ กิจกรรมที่ดาเนินการอยู่และให้ความร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรม ผู้ปกครองยินดีที่เยาวชนเข้ารับการเรียนรู้ เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๒.๗ ความมีวินัยของผู้เรียนและองค์กร ก. ความมีวินัยของสมาชิกที่เรียนรู้ในโครงการ ผู้เรียนและองค์กรที่เข้าร่วมโครงการ มีวินัยดีเยี่ยมในการทากิจกรรมโครงการทุกโครงการ ได้ปฏิบัติตามกฎกติกาของการทากิจกรรม ดีเยี่ยม มีความตั้งใจแสวงหาความรู้ สอบถาม มีจิตอาสา รู้จักการวิเคราะห์ สรุปผล การแบ่งงานรับผิดชอบ การมีภาวะผู้นาของผู้นากลุ่ม มีคุณธรรม มีเหตุผล รอบคอบ เรียนรู้หลักเศรษฐกิจพอเพียงและน้อมนาไปปฏิบัติ เพื่อการอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ข. ความมีวินัยในการท่างานขององค์กร คณะทางานของชุมชนวัดป่าบอนต่า คณะกรรมการที่ปรึกษา ชุมชน มีวินัยดีมาก ในการร่วมทากิจกรรม มีการแสดงความคิดเห็น การยอมรับฟังเหตุผลในที่ประชุม ยอมรับมติที่ประขุม เพื่อไปปฏิบัติ ๒.๘ ประชาชน ชุมชน ผู้เรียนที่เข้าร่วมได้รับประโยชน์ ในการดาเนินกิจกรรมของทุกโครงการ ได้เกิดผลดีกับผู้เกี่ยวข้อง ดังนี้ ๒.๘.๑ ประชาชน ชุมชน ได้เรียนรู้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรมในท้องถิ่น มากขึ้น มีความหวงแหนถึงภูมิปัญญา ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร สายน้า ลาคลองที่หล่อเลี้ยงชีวิต และสิ่งดี ๆ อื่น ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน การปรับเปลี่ยนทัศนคติ ความเชื่อ หรือค่านิยม บางอย่างที่ไม่ถูกต้อง กิจกรรมบางอย่างก่อให้เกิดอาชีพ หารายได้เลี้ยงครอบครัวหรือช่วยเหลือสังคมได้ ๒.๘.๒ ผู้เรียน /นักเรียน เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความเป็นมาของท้องถิ่น รู้สึกหวง แหนท้องถิ่น ภูมิปัญญา ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ มีความสนใจ ใฝ่หาความรู้ พัฒนาตนเองให้ดียิ่งขึ้น ได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมที่มีความจาเป็นในการดารงชีวิ


58

๒.๙ ผู้เรียน ชุมชน ประชาชนใกล้เคียงได้รับประโยชน์ นักเรียนในโรงเรียนใกล้เคียง ได้เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ ซึ่งนับว่าเป็นการเรียนรู้เสริม นอกเหนือจากความรู้ที่มีในหลักสูตร มีประสบการณ์ชีวิตเพิ่มขึ้น สามารถที่จะนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน เป็นภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง สังคมให้อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข สังคมสงบร่มเย็น ผู้เรียน ในชุมชนใกล้เคียง ได้แก่ นักเรียนจากโรงเรียนอนุบาลป่าบอน , โรงเรียนป่าบอนพิทยาคม, โรงเรียนบ้าน ควนเคี่ยม, โรงเรียนบ้านท่าดินแดง ,โรงเรียนบ้านห้วยทราย ,โรงเรียนตะโหมด,โรงเรียนหารเทารังสีประชา สรรค์ ชุมชน ประชาชนใกล้เคียง ได้รับประโยชน์มากที่สุด ได้แก่ บ้านหนองเที๊ยะ บ้านท่าดิน แดงตก บ้านท่าดินแดงออก ,บ้านควนออก, บ้านทุ่งผีปั้นรูป เนื่องจากชุมชนเหล่านี้ได้เรียนรู้ร่วมกัน เรื่อง สิ่งแวดล้อม ผักพื้นบ้าน สมุนไพร ประเพณีวัฒนธรรม กิจกรรมทางศาสนา การฝึกอาชีพ เป็นการสร้าง ความเข้มแข็งให้กับครอบครัว ชุมชนอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีองค์กรอื่น ๆ ที่ได้รับประโยชน์ ด้วยอย่างเช่น ๑) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านป่าบอนต่า ได้มีเครือข่ายทางสุขภาพ เยาวชน หันมาสนใจด้านสุขภาพมากขึ้นและเป็นเครือข่ายของโรงพยาบาล เกี่ยวกับสุขภาพ สมุนไพร การคุ้มครองผู้บริโภค ๒) สหกรณ์การเกษตรป่าบอน เป็นเครือข่ายทางการเกษตร การขยายพันธ์พืชผัก ๓) มูลนิธิเขาพระยอด ม.๘ ตาบลวังใหม่ ซึ่งเป็นสถานฝึกอบรมปฏิบัติธรรม ได้ร่วม เผยแพร่ศาสนา มีกิจกรรมสู่ชุมชน ๔) สานักงานพัฒนาภาค ๔ กองบัญชาการทหารสูงสุด ตั้งอยู่หมู่ที่ ๘ ตาบลป่าบอน ได้ร่วมกิจกรรมและเผยแพร่องค์ความรู้แก่ชุมชน ๕) กลุ่มเยาวชน/กลุ่มกีฬาต้านยาเสพติด ได้มีเครือข่ายร่วมทากิจกรรมแข่งขันกีฬา ต้าน ยาเสพติด หรือกิจกรรมนันทนาการ ๒.๑๐ ประชาชน ชุมชน ผู้เรียนพอใจ จากการสรุปผลการสารวจความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องทุกส่วน โดยใช้แบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจในการดาเนินโครงการของชุมชนวัดป่าบอนต่า ผลการประมวลจากแบบสอบถาม พบว่า ระดับความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรมพอใจมาก ทาให้ชุมชนมีกาลังใจและเห็นถึงความสาคัญของ การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนได้เรียนรู้ แต่ยังมีข้อคิดเห็นที่ทางคณะกรรมการต้องนามา ปรับปรุงแก้ไข ซึ่งจะไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป


59

คณะผู้จัดท่า ที่ปรึกษา ๑. นายชลา อรรถธรรม ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต ๑ ๒. นายประจวบ หนูเลี่ยง รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต ๑ ๓. นายล่วน คงรื่น แกนนาผู้สูงอายุ / อดีตผู้ใหญ่บ้าน ม.๒ บ้านกลาง ๔. นายเคลื่อม บุญราม แกนนาผู้สูงอายุ ๕. ร.ต.ต. ประมวล เกื้อหนุน ข้าราชการบานาญ คณะท่างาน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.

พระมหาสุรินทร์ นายอานวย นายวิรัตน์ นายนพพล นายบัญชา นายประพล นางอมรทิพย์ นายคณิต นายโชคดี

กิตติสาโร พรายอินทร์ ราชวังเมือง กองเอียด ศุขธรณ์ ไชยงาม คงรื่น ศิริวรรณดี มูสิกะสังข์

ประธาน รองประธาน รองประธาน กรรมการ เหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยกรรมการและเลขานุการ


60

แบบประเมินการจัดกิจกรรม ชื่อกิจกรรม.................................................. วันที่..............................................................สถานที่....................................................... คาชี้แจง ขอให้ผู้ตอบแบบประเมิน เลือกตอบในช่องว่างที่เตรียมไว้ให้ตรงกับสภาพความเป็นจริง เพื่อเป็น แนวทางในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ๑. เพศ ชาย ๒. กลุ่มผู้เรียน เยาวชน/นักเรียน

หญิง ผู้นาหมู่บ้าน

ประชาชน

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจและประโยชน์ที่ได้รับจากการ่วมกิจกรรม ความพึงพอใจและประโยชน์ที่ได้รับ ระดับความพึงพอใจ/ประโยชน์ที่ได้รับ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ๑. ความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรม ๒.ความเหมาะสมของเรื่องที่นามาให้ความรู้ ๓.ความเหมาะสมของวิทยากร ๔.ความเหมาะสมของวัน เวลาที่จัดกิจกรรม ๕.ความเหมาะสมของสถานที่ ๖.ความเหมาะสมด้านอาหาร เครื่องดื่ม ๗.การนาความรู้ไปใช้ ๘.มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ๓.ความเหมาะสมของวิทยากร ๓.ความเหมาะสมของวิทยากร


61

ที่ พท ๐๘๒๗.๑/๑.๑/ ว ๘๐

สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า ตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๙๓๑๗๐ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔

เรื่อง ส่งสาเนาคาสั่งอาเภอป่าบอน และประกาศอาเภอป่าบอน เรียน คณะกรรมการกิจกรรมทาดีคู่ศรัทธ สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑. ๒. ๓. ๔. เล่ม

สาเนาคาสั่งอาเภอป่าบอน จานวน ๑ ฉบับ สาเนาประกาศอาเภอป่าบอน จานวน ๑ ฉบับ แบบประเมินผลการจัดกิจกรรม จานวน ๑ ฉบับ คู่มือเฝ้าระวังการบังคับใช้ พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พ.ศ. ๒๕๕๑ จานวน ๑

ตามที่ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้จัดทาโครงการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุข ภาวะคนไทย เป็นโครงการนาร่อง โดยใช้ฐานวัดป่าบอนต่า ในการดาเนินกิจกรรมครั้งนี้ สถานีอนามัยบ้าน ป่าบอนต่า ได้ร่วมจัดทาโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่สุขภาวะคนป่าบอน กิจกรรมทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่ เมรุ (การจัดงานฌาปนกิจศพ) เพื่อแก้ปัญหาการกระทาผิดตาม พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การ เล่นการพนัน การจุดพลุ การยิงปืน การใช้เครื่องขยายเสียงเกินความจาเป็นและ ประเด็นอื่นๆ ที่มีผลต่อ สุขภาพ โดยมีแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ ๑. นาเสนอกิจกรรมที่จะดาเนินการต่อที่ประชุม เพื่อหามาตรการและคณะกรรมการ ๒. นามาตรการของชุมชน เพื่อเสนอต่อนายอาเภอป่าบอน ลงนามและประกาศให้ทราบ


62

๓. เสนอรายชื่อของคณะกรรมการ ต่อนายอาเภอป่าบอน แต่งตั้งคณะกรรมการ ๔. ประกาศมาตรการให้ชุมชนทราบ และถือปฏิบัติ ตั้งแต่วันเข้าพรรษา วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เป็นต้นไป (สิ้นสุดโครงการ เมษายน ๒๕๕๕) ๕. คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ประเมินผลการจัดงานศพแต่ละงาน ให้คะแนนตาม ระดับของการปฏิบัติในแต่ละข้อ (ตามแบบประเมินผลการจัดกิจกรรม) ๖. คณะกรรมการรวบรวมแบบประเมินที่ได้ ให้กับเลขานุการ เพื่อรวบรวมคะแนนนาเสนอ นายอาเภอป่าบอน เป็นคราว ๆ ไป ๗. ประเมินผลในรอบปี คัดเลือกงานศพที่ปฏิบัติเข้าหลักเกณฑ์ ให้ได้รับรางวัล หรือมอบ เกียรติบัตร ในวันสาคัญทางศาสนา หรือ วันงานประเพณีของชุมชน เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปตามขั้นตอน บัดนี้สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า ได้นาข้อเสนอจากที่ประชุม จัดทาเป็นมาตรการชุมชนเสนอนายอาเภอป่าบอนพิจารณาอนุมัติแล้วพร้อมทั้งได้แต่งตั้งคณะกรรมการที่ ปรึกษา คณะกรรมการประเมินกิจกรรม เพื่อปฏิบัติงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง ตามรายละเอียดในคาสั่ง ดังกล่าว สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า จึงส่งประกาศอาเภอป่าบอน และคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ฯ มายังท่านและขอความร่วมมือในการดาเนินกิจกรรม โดยถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ซึ่ง ตรงกับวันเข้าพรรษา เป็นต้นไป และขอเชิญท่านเข้าร่วมประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๖.๐๐ น. ณ วัดป่าบอนต่า จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ

(นายนพพล กองเอียด) นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ รักษาการในตาแหน่ง หัวหน้าสถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า โทร. ๐๘๙-๙๗๔๓๗๒๒


63

ที่ พท ๐๘๒๗.๑/๑.๑/

สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า ตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๙๓๑๗๐ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

เรื่อง ขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการและพิจารณาลงนามประกาศอาเภอป่าบอน เรียน นายอาเภอป่าบอน สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑. สาเนาสัญญารับทุนโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรใน ชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทยชุมชนวัดป่าบอนต่า จานวน ๑ ชุด ๒. สาเนารายงานการประชุม จานวน ๑ ชุด ๓. ร่างคาสั่งอาเภอป่าบอน จานวน ๒ ฉบับ ๔. ร่างประกาศอาเภอป่าบอน จานวน ๒ ฉบับ ๕. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรม จานวน ๑ ฉบับ ด้วยชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้จัดทาโครงการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย เป็นโครงการนาร่อง โดยใช้ฐานวัดป่าบอนต่า เป็นศูนย์การเรียนรู้ และชุมชนวัดป่า บอนต่า เป็นตัวแทนชุมชนวัดแห่งเดียวในภาคใต้ ที่เข้าร่วมกิจกรรมโดยได้รับงบประมาณในการดาเนินการ จาก สสส. โดยมีพระมหาสุรินทร์ กิตติสาโร เป็นประธานโครงการชุมชนวัดป่าบอนต่า และกิจกรรมของ โครงการนี้ มีระยะเวลาดาเนินการตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๕๔ จนถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๕๕ เป็นเวลา ๑๔ เดือน ซึ่งในโครงการใหญ่นี้ ได้มีโครงการย่อยจานวน ๓ โครงการ ได้แก่ โครงการสร้างจิตอาสาสืบ สานศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีไทยสายใยชุมชน , โครงการเยาวชนรักถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด , โครงการ ส่งเสริมการเรียนรู้สู่สุขภาวะคนป่าบอน ทางชุมชนได้เปิดโครงการแล้ว ในวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔ เวลา ๑๒.๓๐ น. ณ ศาลาการเปรียญวัดป่าบอนต่า เนื่องจากโครงการดังกล่าวเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะของคนในชุมชนป่าบอนต่า และ ทางสถานีอนามัยได้มีส่วนเกี่ยวช้องในการจัดโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่สุขภาวะคนป่าบอน ซึ่งมี กิจกรรมย่อย ๕ กิจกรรม ในจานวน ๕ กิจกรรมนี้ มีกิจกรรมทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ มีวัตถุประสงค์ เพื่อละ ลดอบายมุข ได้แก่ การขายและการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การพนัน การจุดพลุและการยิงปืนใน


64

งานศพ เพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก การส่งเสริมให้ใช้จ่ายอย่างประหยัด ตลอดจนการดูแลรักษาความ สะอาด เรียบร้อยของสถานที่จัดงาน สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า โดยนายนพพล กองเอียด นักวิชาการ สาธารณสุขชานาญการ รักษาการในตาแหน่ง หัวหน้าสถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า เป็นผู้รับผิดชอบ กิจกรรม ได้ประชุมเพื่อกาหนดแนวทางการดาเนินงาน , คัดเลือกคณะกรรมการที่ปรึกษาและกรรมการ ประเมินผล และการกาหนดมาตรการชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ พร้อมทั้งหลักเกณฑ์ในการให้ คะแนน ตามรายละเอียดที่แนบมาพร้อมนี้ สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า จึงใคร่ขอความอนุเคราะห์จากท่านได้พิจารณาลงนามแต่งตั้งคณะ กรรมการ ที่ปรึกษาและคณะกรรมการประเมินผล พิจารณาลงนามในประกาศอาเภอป่าบอน เรื่อง ข้อปฏิบัติในการ จัดงานบุญในวัด เพื่อติดประกาศให้เป็นข้อปฏิบัติของชุมชน โดยถือปฏิบัติตั้งแต่วันเข้าพรรษา วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เป็นต้นไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถือ

(นายนพพล กองเอียด) นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ รักษาการในตาแหน่ง หัวหน้าสถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า โทร. ๐๗๔- ๖๒๕๑๙๓


65

ที่ พท ๐๘๒๗.๑/๑.๑/

สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า ตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๙๓๑๗๐ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๔

เรื่อง ขอเชิญร่วมเป็นเกียรติในการเปิดโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรใน ชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย เรียน ด้วยชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้จัดทาโครงการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อ สุขภาวะคนไทย เป็นโครงการนาร่อง โดยใช้ฐานวัดป่าบอนต่า เป็นศูนย์การเรียนรู้ และชุมชนวัดป่าบอนต่า เป็นตัวแทนชุมชนวัดแห่งเดียวในภาคใต้ ที่เข้าร่วมกิจกรรมโดยได้รับงบประมาณในการดาเนินการจาก สสส. โดยมีพระมหาสุรินทร์ กิตติสาโร เป็นประธานโครงการ มีระยะเวลาดาเนินการตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๕๔ ถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๕๕ ซึ่งในโครงการนี้ ได้มีโครงการย่อยจานวน ๓ โครงการ ได้แก่ โครงการ สร้างจิตอาสาสืบสานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทยสายใยชุมชน , โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่ สุขภาวะคนป่าบอน และโครงการเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด ในการดาเนินกิจกรรมครั้งนี้ สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า ได้ร่วมจัดทาโครงการส่งเสริมการ เรียนรู้สู่สุขภาวะคนป่าบอน กิจกรรมทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ เพื่อแก้ปัญหาการกระทาผิดตาม พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเล่นการพนัน การจุดพลุ การยิงปืน การใช้เครื่องขยายเสียงเกินความ จาเป็นและ ประเด็นอื่นๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ เนื่องจากโครงการดังกล่าวเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะของ คนในชุมชนป่าบอนต่า และทางสถานีอนามัยได้มีส่วนเกี่ยวช้องในการจัดโครงการนี้ด้วย สถานีอนามัย บ้านป่าบอนต่า จึงขอเชิญ อสม.ทุกท่านเข้าร่วมเป็นเกียรติในการเปิดโครงการและร่วมรับรู้ถึงกิจกรรมของ โครงการดังกล่าว ในวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔ ณ ศาลาการเปรียญวัดป่าบอนต่า เวลา ๑๒.๓๐ น. เป็นต้นไป


66

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ (นายนพพล กองเอียด) นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ รักษาการในตาแหน่ง หัวหน้าสถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า สถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า โทร. ๐๗๔- ๖๒๕๑


67

โครงการเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด 1. กิจกรรมฝึกอบรมเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด ( มิ.ย.54 ) 1.1 กิจกรรมดาเนินการ - เขียนกิจกรรมหลักสูตร - ประชุมคณะทางาน - ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ให้ชุมชน ส่วนราชการ และองค์กรต่างๆได้เข้าร่วม - ประสานงาน ติดต่อวิทยากร - รับสมัครเยาวชนที่เข้าร่วมฝึกอบรม จานวน 40 คน - จัดฝึกอบรมเยาวชนรักษ์ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด ระยะเวลา 2 วัน 1 คืน 1.2 การวัดและประเมินผล - แบบสอบถามความพึงพอใจ - แบบสังเกต 1.3 สื่อ วัสดุอุปกรณ์ - ป้ายนิเทศ - เครื่องขยายเสียง - วีดีทัศน์ - สีน้าพลาสติก อุปกรณ์การทาสี - กีฬาพื้นบ้าน - กิจกรรมนันทนาการ - การแสดงบทบาทสมมุติ 1.4 สรุปผล รายงานผล ถอดบทเรียน 2. กิจกรรมฟุตบอลต้านภัยยาเสพติด ( ก.ค.54 ) 2.1 กิจกรรมดาเนินการ - เขียนกิจกรรมหลักสูตร - ประชุมคณะทางาน - ประชาสัมพันธ์ ให้ชุมชน ส่วนราชการ องค์กรต่างๆได้เข้าร่วม - ประสานงาน ติดต่อกรรมการผู้ตัดสิน และผู้เกี่ยวข้อง พร้อมถ้วยรางวัล


68

- รับสมัครทีมฟุตบอลเยาวชน ที่เข้าร่วมแข่งขัน ( หมู่บ้านละ 1 ทีม รวม 4 ทีม ) - จัดการแข่งขันฟุตบอลต้านภัยยาเสพติด ระยะเวลา 4 วัน ( ระบบแพ้คัดออก ) **จับฉลากคู่ที่ทาการแข่งขัน วันที่ 1 ทีมA พบ ทีมB ( คู่ที่ 1 ) วันที่ 2 ทีมC พบ ทีมD ( คู่ที่ 2 ) วันที่ 3 ชิงที่ 3 ( ทีมแพ้คู่ที่ 1 พบ ทีมแพ้คู่ที่ 2 ) วันที่ 4 ชิงชนะเลิศ ( ทีมชนะคู่ที่ 1 พบ ทีมชนะคู่ที่ 2 ) 2.2 การวัดและประเมินผล - แบบสอบถามความพึงพอใจ - แบบสังเกตพฤติกรรม 2.3 สื่อ วัสดุอุปกรณ์ - กฎ กติกา กีฬาฟุตบอล / มารยาทของนักกีฬาฟุตบอล - ป้ายนิเทศ - ชุดสาหรับแข่งขัน - ถ้วยรางวัล - ฟุตบอล - เต็นท์ โต๊ะ เก้าอี้ - เครื่องขยายเสียง - อุปกรณ์จัดทาสนามแข่งขัน 2.4 สรุปผล รายงานผล ถอดบทเรียน 3. กิจกรรมเดิน วิ่ง เทิดพระเกียรติ ( 12 ส.ค.54 ) 3.1 กิจกรรมดาเนินการ - เขียนกิจกรรมหลักสูตร - ประชุมคณะทางาน - ประชาสัมพันธ์ ให้ชุมชน ส่วนราชการ องค์กรต่างๆได้เข้าร่วม - ประสานงานตารวจจราจร อป.พร. เจ้าหน้าที่อนามัย เพื่ออานวยความสะดวกด้านต่างๆ - รับสมัครเยาวชน ผู้สนใจ เข้าร่วมกิจกรรม ( ไม่จากัดจานวน )


69

- จัดกิจกรรมเดิน วิ่ง เทิดพระเกียรติ ระยะทาง 3 กิโลเมตร 3.2 การวัดและประเมินผล - แบบสังเกต - แบบสอบถามความพึงพอใจ 3.3 สื่อ วัสดุอุปกรณ์ - นิทรรศการเรื่อง วันแม่แห่งชาติ - เสื้อ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม - ถ้วยรางวัล / เกียรติบัตร - เชือกเส้นชัย - ผ้าขนหนู - น้าดื่ม - เครื่องมือปฐมพยาบาล 3.4 สรุปผล รายงานผล ถอดบทเรียน 4. กิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน ( ก.ย.54 ) 4.1 กิจกรรมดาเนินการ - เขียนกิจกรรมหลักสูตร - ประชุมคณะทางาน - ประชาสัมพันธ์ ให้ชุมชน ส่วนราชการ องค์กรต่างๆ ได้เข้าร่วม - ประสานติดต่อกรรมการผู้ตัดสิน และผู้เกี่ยวข้อง พร้อมของขวัญ และถ้วยรางวัล - รับสมัครเยาวชน ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม ( ไม่จากัดจานวน ) - จัดการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน ได้แก่ ชกมวยทะเล ตะกร้อลอดห่วง ( ทีมละ 6 คน ) 4.2 การวัดและประเมินผล - แบบสอบถามความพึงพอใจ - แบบสังเกต 4.3 สื่อ วัสดุอุปกรณ์ - กฎ กติกา การชกมวยทะเล และตะกร้อลอดห่วง - ป้ายนิเทศ


70

- ของขวัญ ถ้วยรางวัล - สนามมวยทะเล - ตะกร้อ ห่วงสาหรับแข่งขัน - เครืองขยายเสียง - เต็น โต๊ะ เก้าอี้ - แท่นรับรางวัล 4.4 สรุปผล รายงานผล ถอดบทเรียน 5. กิจกรรมหนูน้อยนพมาศ ( 10 พ.ย.54 ) 5.1 กิจกรรมดาเนินการ - เขียนกิจกรรมหลักสูตร - ประชุมคณะทางาน - ประชาสัมพันธ์ ให้ชุมชน ส่วนราชการ องค์กรต่างๆได้เข้าร่วม - ประสานงาน ติดต่อ กรรมการผู้ตัดสิน และผู้เกี่ยวข้อง พร้อมของขวัญและถ้วยรางวัล - รับสมัครเยาวชนที่เข้าร่วมประกวดหนูน้อยนพมาศ ( หมู่บ้านละ 1 คน) และการแสดง ( หมู่บ้านละ 1 ชุด ) - รับสมัครกระทงที่เข้าร่วมประกวด ( ไม่จากัดจานวน ) - รับสมัครเยาวชนที่เข้าร่วมประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง ( ไม่จากัดจานวน ) 5.2 การวัดและประเมินผล - แบบสอบถามความพึงพอใจ - แบบสังเกต 5.3 สื่อ วัสดุอุปกรณ์ - นิทรรศการ เรื่อง ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง และนางนพมาศ - ของขวัญ ถ้วยรางวัล - เวทีการแสดง - เครื่องขยายเสียง - เต็นท์ โต๊ะ เก้าอี้ - สถานที่ลอยกระทง


71

- การออกร้านของกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน 5.4 สรุปผล รายงานผล ถอดบทเรียน 6. กิจกรรมวันแห่งสันติภาพ ( 14 ม.ค.55 ) 6.1 กิจกรรมดาเนินการ - เขียนกิจกรรมหลักสูตร - ประชุมคณะทางาน - ประชาสัมพันธ์ ให้ชุมชน ส่วนราชการ องค์กรต่างๆได้เข้าร่วม - ประสานงานติดต่อของขวัญ ถ้วยรางวัล และการแสดงบนเวที - จัดกิจกรรมวันแห่งสันติภาพ 6.2 การวัด และประเมินผล - แบบสอบถามความพึงพอใจ - แบบสังเกต 6.3 สื่อ วัสดุอุปกรณ์ - นิทรรศการ เรื่อง วันเด็กแห่งชาติ - ของขวัญ ถ้วยรางวัล - เวทีการแสดง - เครื่องขยายเสียง - เต็นท์ โต๊ะ เก้าอี้ - เกมส์ 6.4 สรุปผล รายงายผล ถอดบทเรียน กาหนดการฝึกอบรมโครงการสร้างคุณธรรม สร้างจิตอาสา สืบสานวัฒนธรรมไทย โรงเรียนอนุบาลป่าบอน วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2554 07.30 - 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 น. พิธีเปิด โดย นายอานวย พรายอินทร์ 09.30 น. บรรยายธรรมพิเศษ โดยพระครูธรรมทรนิพล 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง


72

11.00 น. เนื้อหา เรื่อง ศูนย์การเรียนรู้พุทธศาสนา สร้างจิตอาสาชุมชน 12.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง 13.00 น. เนื้อหา เรื่อง กิจกรรมสามประสาน บ้าน วัด โรงเรียน 14.00 น. กิจกรรมกลุ่ม/นาเสนอผลงาน 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง 15.30 น. นาเสนอผลงาน 16.30 น. พิธีปิด


73

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องผักพื้นบ้าน สถานที่ ที่ทาการกลุ่มออมทรัพย์ หมู่ที่ ๒ บ้านกลาง ตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง วันที่

๗ มกราคม ๒๕๕๔

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๒๕ คน ๑. เยาวชน ๑๖ คน ๒. พระภิกษุ ๑ รูป ๓. อสม. ๔. ผู้ใหญ่บ้าน

๑ คน ๑ คน

๕. พนักงานกายภาพบาบัด ๑ คน ๖. นักวิชาการสาธารณสุข ๑ คน ๗. ครู

๒ คน

๘. ผู้สูงอายุ

๑ คน

วัตถุประสงค์ของการดาเนินการ ๑.

เพื่อให้มีการเรียนรู้เรื่องผักพื้นบ้าน สมุนไพร สรรพคุณ แหล่งที่มีผักพื้นบ้าน

๒.

เพื่อให้มีการถ่ายทอดข้อมูลจากผู้มีประสบการณ์สู่เยาวชน

๓.

เพื่อให้เยาวชนรู้สึกหวงแหนผักพื้นบ้าน ในท้องถิ่น และอนุรักษ์คลองป่าใส

วิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการจัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการแบ่งกลุ่มเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้พูดคุยถึงผักพื้นบ้านที่ ได้ร่วมกันสารวจที่อยู่บริเวณริมคลองป่าใส ซึ่งจากการแบ่งกลุ่ม ได้แบ่งผู้สารวจเป็น ๒ กลุ่ม กลุ่มที่ ๑ เป็นกลุ่มผู้หญิง จานวนสมาชิก ๗ คน และกลุ่ม กลุ่มที่ ๒ เป็นกลุ่มเยาวชนชาย จานวนสมาชิกกลุ่ม ๗ คน กิจกรรมแรก ได้ให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในกลุ่ม โดย กลุ่มที่ ๑ น.ส.รัศมิพัชร์ เรืองแก้ว และ น.สงขวัญ นุชเถื่อน เป็นพี่เลี้ยง กลุ่มที่ ๒ มีนายล่วน คงรื่นเป็นพี่เลี้ยง ในการบอกเล่าถึงชื่อ สรรพคุณ ประโยชน์ ของสมุนไพร และได้มอบหมายแต่ละกลุ่มวาดแผนที่โดยสังเขป ถึงบริเวณที่มีผัก พื้นบ้านริมคลอง แล้วนาเสนอ


74

กิจกรรมที่สอง การนาเสนอข้อมูล ได้พูดคุยถึงลักษณะลาคลอง โดยเฉพาะในเขตหมู่ที่ ๒ บ้าน กลางซึ่งปีนี้ ได้รับงบประมาณเพื่อพัฒนาคลอง จากงบ SML มีการขุดต้นไม้ ปูหินขอบคลอง ได้ สอบถามถึงความคิดเห็นของเยาวชนและผู้เข้าร่วมประชุม ต่างเห็นตรงกันว่า หากเป็นแบบนี้ตลอด สัตว์ น้าที่เคยอาศัยในคลอง ก็จะไม่มีที่หลบซ่อน เนื่องจากไม่มีเพิงไม้ ไม่มีร่มไม้ให้อาศัย ซึ่งต่อไปหากมีการ ปรับปรุงพัฒนา ก็ต้องคานึงถึงธรรมชาติ ต้นไม้ให้คงเหลืออยู่ บริเวณที่ควรปรับปรุงก็ต้องปรับปรุงตาม สภาพ และเห็นควรทาทางเท้าตามขอบคลอง ทั้งนี้เพื่อเด็ก ๆ เยาวชนสามารถเดิน หรือปั่นรถจักรยาน เพื่อ ศึกษาพืชผัก สมุนไพร รอบคลอง นอกจากนี้ก็ควรเชื่อมโยงไปถึงหมู่บ้านอื่นด้วย เพื่อการพัฒนาเป็น แนวทางเดียวกัน ผลการจัดความรู้ เวทีเสวนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของโครงการจิตอาสา สืบสาน ศาสนา วัฒนธรรมและ ประเพณีไทยสายใยชุมชน ๑. กิจกรรมที่ ๑ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิทัศน์วัดป่าบอนต่า ๒. สถานที่

ศาลาการเปรียญวัดป่าบอนต่า เวลา ๑๒.๓๐ น. – ๑๕.๓๐ น.

๓. วัตถุประสงค์ของกิจกรรม ๓.๑ เพื่อต้องการให้ผู้เรียน ได้มีส่วนร่วมในการเสนอแนวคิดและนาเสนอข้อมูลด้าน สิ่งแวดล้อมที่มีปัญหาภายในวัด ๓.๒ เพื่อต้องการให้ผู้เรียน ได้ร่วมกันเสนอแนวทาง ในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมภาย ในวัด ๓.๓ เพื่อต้องการให้ผู้เรียนได้ร่วมกันพัฒนาภูมิทัศน์ในวัดป่าบอนต่า ให้มีสุขภาวะที่ดี เป็นแหล่งเรียนรู้และศูนย์รวมจิตใจของชุมชน ๔. กลุ่มเป้าหมาย/ผู้เข้าร่วมโครงการ ๔.๑ นักเรียนในชุมชน โรงเรียนในโครงการและเครือข่าย ๔.๒ ชมรมคนรักกีฬาป่าบอนต่า ๔.๓ พระภิกษุในวัดป่าบอนต่า ๔.๔ คณะกรรมการบริหาร ๔.๕ คณะกรรมการที่ปรึกษา ๔.๖ ผู้สูงอายุ ๔.๗ อ.ส.ม


75

รวมทั้งสิ้น จานวน ๑๖๐ คน ๕.วิธีดาเนินการ ๕.๑ ประชุมคณะทางาน ๕.๒ ออกหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ตามที่กาหนด ๕.๓ ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของหมู่บ้าน เพื่อเชิญชวนให้ชุมชนได้เข้าร่วม กิจกรรมโครงการ ๕.๔ ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๕.๕ พิธีกรดาเนินรายการ ๕.๖ วิทยากรให้ความรู้ เรื่องภูมิเทศน์ในวัดป่าบอนต่า และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ผู้เรียนในชุมชน ๕.๗ ทากิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเสนอแนวคิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ภูมิทัศน์ในวัดป่าบอนต่าด้านต่างๆ ขององค์กรในชุมชน เพื่อเป็นข้อมูลนาไปพัฒนา ปรับภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมในวัดป่าบอนต่า โดยแบ่งกลุ่มตามกลุ่มเป้าหมาย ๕.๘ หยิบฉลากนาเสนอตามกลุ่ม ๕.๙ พิธีกร/ผู้ดาเนินรายการ/สรุป ผลการดาเนินการ ผู้เรียนมีความพึงพอใจ ร้อยละ ๑๐๐ % สนับสนุนให้มีการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและปรับ ภูมิทัศน์ในวัดป่าบอนต่า ๗. ปัญหา อุปสรรค์ ๗.๑ วัดป่าบอนต่าขาดผู้นาในด้านพัฒนา ๗.๒ พระในวัดไม่ให้ความสาคัญของการพัฒนา ๗.๓ พระในวัดแบ่งพรรค แบ่งพวก ๗.๔ ชุมชนเบื่อวัด เพราะพระไม่สร้างศรัทธา ไม่ศึกษาพระธรรมวินัยและพัฒนาตนเอง ๗.๕ เจ้าอาวาสอาพาธ และยึดติดกับของเก่า ๗.๖ ผู้นาขาดวิสัยทัศน์ ไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๘. ข้อเสนอแนะ ๘.๑ ควรจัดกิจกรรมอบรม เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบ้าน วัด และโรงเรียน แก่ผู้นา


76

ชุมชน โรงเรียน และพระคุณเจ้าโดยใช้วัดเป็นฐาน ๘.๒ โรงเรียนควรจัดกิจกรรม สืบสานศาสนา ให้กับนักเรียนมากขึ้น ๘.๓ จัดกิจกรรมอบรมเยาวชน จิตอาสา ด้านศาสนาโดยใช้วัดเป็นฐาน ๙. สรุปผลการแลกเปลี่ยนความรู้ คณะกรรมการทุกฝ่าย ให้ความร่วมมือและรับผิดชอบ การเตรียมความพร้อมในการทากิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย และผู้เรียนในชุมชน มีความพร้อมและพึงพอใจในการทากิจกรรม ตอบรับ ยินดี ให้ความร่วมมือเมื่อทากิจกรรม ๑.

ชื่อกิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมตอบปัญหาธรรมะ

๒.

สถานที่ ศาลาการเปรียญวัดป่าบอนต่า เวลา ๑๒.๓๐ น. – ๑๕.๓๐ น.

๓.

วัตถุประสงค์ของกิจกรรม

๓.๑ เพื่อต้องการให้นักเรียนและชาวบ้านได้ศึกษาหลักธรรมคาสอนของ พระพุทธศาสนา ๓.๒ เพื่อให้นักเรียนได้ใกล้ชิดวัด ๓.๓ เพื่อให้นักเรียนและชาวบ้านได้รู้จักหน้าที่ชาวพุทธ ๔. กลุ่มเป้าหมาย ๔.๑ นักเรียนโรงเรียนในชุมชน โรงเรียนที่เข้าโครงการและโรงเรียนในเครือข่าย จานวน ๖ โรงเรียน โรงเรียนละ ๒ คน ๔.๒ ชาวบ้านหมู่ที่ ๑,๒,๓,๗ ชาวป่าบอนและหมู่ที่ ๕ วังใหม่ หมู่บ้านละ ๒ คน รวมทั้งสิ้น จานวน ๑๓๕ คน ๕.วิธีดาเนินการ ๕.๑ ประชุมคณะทางาน ๕.๒ ออกหนังสือประสานงานไปยังโรงเรียน เพื่อคัดเลือกนักเรียนส่งเข้าแข่งขัน ตอบปัญหาธรรมะ ๕.๓ ออกหนังสือประสานงานไปยังผู้ใหญ่บ้าน เพื่อคัดเลือกตัวแทนกลุ่มชาวบ้าน ส่งเข้าแข่งขันตอบปัญหาธรรมะ ๕.๔ ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๕.๕ พิธีเปิดโดย ผอ.สานักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพัทลุง


77

๕.๖ กิจกรรมแข่งขันตอบปัญหาธรรมะ โดย ๕.๖.๑ กลุ่มนักเรียนใช้ข้อสอบปัญหาธรรมะศึกษาตรี สนามหลวง ปี ๒๕๔๕ แจกให้ตัวแทนของนักเรียน แต่ละโรงเรียนได้ช่วยกันทา ๕.๖.๒ กลุ่มชาวบ้านใช้ข้อสอบภาคปฏิบัติเกี่ยวกับศาสนพิธีโดยให้ตอบ ปากเปล่า โดยกล่าวที่ละกลุ่ม และตอบภาคความรู้ โดยให้แต่ละกลุ่ม ได้ช่วยกันคิด ๕.๗ คณะกรรมการตรวจตัดสินให้คะแนน เพื่อจัดอันดับ ๑ ๒ ๓ ๔ โดยผู้ชนะเลิศ การแข่งขันรางวัลที่ ๑ ทั้งกลุ่มนักเรียนและกลุ่มชาวบ้าน รับรางวัลเงิน จานวน ๕๐๐ บาท พระพุทธบูชาหน้าตัก ๕ นิ้ว ๑ องค์ รางวัลที่ ๒ เงินจานวน ๔๐๐ บาท พระพุทธรูปบูชาขนาดหน้าตัก ๔ นิ้ว ๑ องค์ รางวัลที่ ๓ เงินจานวน ๓๐๐ บาท พระพุทธรูปบูชาขนาดหน้าตัก ๓ นิ้ว ๑ องค์ รางวัลที่ ๔ เป็นรางวัลชมเชย พระพุทธรูปบูชาขนาดหน้าตัก ๓ นิ้ว ๑ องค์ ๖. ผลการดาเนินการ ผู้เรียนมีความพึงพอใจร้อยละ ๑๐๐ % สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมตอบปัญหา ธรรมะประจาปี สานักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพัทลุง รับไปเป็นกิจกรรมขยายผล ในระดับอาเภอและจังหวัด ๗. ปัญหา อุปสรรค ๗.๑ พระในวัดไม่ค่อยให้ความสาคัญ ในการร่วมทากิจกรรม ๘. ข้อเสนอแนะ ๘.๑ ควรส่งเสริมให้โรงเรียน ได้จัดกิจกรรมแข่งขันตอบปัญหาธรรมะในโรงเรียน เทอมละ ๑ ครั้ง ๘.๒ ให้โรงเรียนได้ฝึกทักษะผู้นา ด้านศาสนาแก่นักเรียน ๘.๓ โรงเรียนควรส่งเสริมการเรียนการสอนธรรมศึกษาอย่างจริงจัง ๙.สรุปผลการเรียนรู้ คณะกรรมการทุกฝ่าย ให้ความร่วมมือและรับผิดชอบ การเตรียมความพร้อมในการทา กิจกรรม ผู้เรียนมีความสุขกับการทากิจกรรม ทุกฝ่ายเสนอแนะให้ทากิจกรรมนี้ทุกปี


78

และเห็นควรจัดกิจกรรมให้พระได้เข้าร่วมแข่งขันตอบปัญหาธรรมะด้วย กิจกรรมรักคลองป่าใส ธารน้าใจ สายใยชุมชน ชุมชนวัดป่าบอนต่า ม.1 , ม.2 ,ม.7 ตาบลป่าบอน มาตรการชุมชนวัดป่าบอนต่า ในการอนุรักษ์ คลองป่าใส (ในเขต ม.๑, ม.๒ ,ม.๗ ) ๑.

ช่วยกันรักษาความสะอาด ปลูกต้นไม้ ริมตลิ่งเพื่อยึดหน้าดิน ไม่ทาลายต้นไม้ใหญ่ชายฝั่ง

๒.

บ้านที่มีที่ดินติดลาคลอง ให้รับผิดชอบดูแลความสะอาด ไม่ทิ้งขยะลงในคลอง

๓.

ร่วมมือกันพัฒนาลาคลอง

๔.

ช่วยกันสอดส่องดูแล และห้ามจับปลาที่ผิดวิธี เช่น การช๊อตปลา การวางยาเบื่อ

๕.

ระมัดระวังการใช้สารเคมีให้น้อยที่สุด เพื่อป้องกันการปนเปื้อนลงในลาคลอง

๖.

ใช้พื้นที่คลองเป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องสมุนไพร ผักพื้นบ้าน สิ่งแวดล้อม ของชุมชน

จากมติที่ประชุม ณ ศาลาเทิดพระเกียรติบ้านในล้อม

๓๐ ก.ค. ๕๔


79

-ส่าเนา รายงานการประชุมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะ คนป่าบอน ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๔ วันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๔ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ หอฉันท์ วัดป่าบอนต่​่า รายชื่อผู้เข้าประชุม ๑

นางวรรณา

นางสุภาภรณ์

ทนงาน

๑๗๖ ม. ๑ ต.ป่าบอน

ฉ้วนกลิ่น

๔๕

ม.๗

ต.ป่าบอน

น.ส.สุณี

ศรีนวลขาว

๓๓

ม.๑

ต.ป่าบอน

นางดวง

เดชะ

๒๙๙ ม.๑

ต.ป่าบอน

นางอนิตสา

รงค์ทอง

๘๖

ม.๑

ต.ป่าบอน

นางสุนิสา

เทพมณี

๒๗๗ ม.๗

ต.ป่าบอน

น.ส.นะเรณู

บัวชุม

๓๓๗ ม.๗

ต.ป่าบอน

นางอมรทิพย์

คงรื่น

๑๘๗ ม.๑

ต.ป่าบอน

นางอานวย

ขุนนาม

๑๕๑ ม.๒

ต.ป่าบอน

๑๐

นางกฤษณา

ปาระวาสะ

๒๔

ม. ๒ ต.ป่าบอน

๑๑

ร.ต.ต.การุณ

กรุณกิจ

๒๕

ม.๕

ต.วังใหม่

๑๒

นายเคลื่อม

บุญราม

ม.๗

ต.ป่าบอน

๑๓

นายสมมาถ

ห้องโสภา

รร.วัดป่าบอนต่า

๑๔

นายแปลก

หนูคง

๗๗

ม.๑

ต.ป่าบอน

๑๕

นายวิรัตน์

ราชวังเมือง

๑๑๓ ม.๗

ต.ป่าบอน

๑๖

นางวาสนา

เอียดสุย

๑๓๖ ม.๑

ต.ป่าบอน

๑๗

นายประทิ่น

ชูเหลือ

๑๙

ม.๑

ต.ป่าบอน

๑๘

นางพัชรีเทพมณี

๓๓๒ ม.๗

ต.ป่าบอน

๑๙

นายประพล

ไชยงาม

๒๓

ม.๒

ต.ป่าบอน

๒๐

นางไมตรี

ม่วงจันทร์

๒๒๙ ม.๗

ต.ป่าบอน

๒๑

นางสายพิณ

ณ นุ้ย

๒๙๖ ม.๗

ต.ป่าบอน


80

๒๒

นางอรุณ

กลับคง

๒๖

ม.๗

ต.ป่าบอน

๒๓

นายนพพล

กองเอียด

๑๔๐ ม.๑

ต.ป่าบอน

เริ่มประชุมเวลา ๑๔.๐๐ น. นายนพพล กองเอียด ผู้รับผิดชอบโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะ คนป่าบอน ได้เริ่ม ประชุมและดาเนินการประชุมตามระเบียบวาระดังนี้ ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ ๑. ตามที่ชุมชนวัดป่าบอนต่า ได้จัดทาโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของ องค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย ซึ่งมีพระมหาสุรินทร์ กิตติสาโร เป็นประธาน ซึ่งมีโครงการย่อย ๓ โครงการ ส่วนโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะ คนป่าบอน เป็นโครงการหนึ่งใน ๓ โครงการ มี กิจกรรมย่อย ๕ กิจกรรม ได้แก่ ๑.๑ กิจกรรมรักคลองป่าใส ธารน้าใจ สายใยศรัทธา คนป่าบอน มีนายนพพล กองเอียด เป็น ผู้รับผิดชอบกิจกรรม วัตถุประสงค์ เพื่อให้คนในชุมชน รู้คุณค่าของคลองป่าใส ที่อยู่คู่กับหมู่บ้านป่าบอน ต่ามานาน รู้จักหวงแหนลาคลอง ต้นไม้ สมุนไพร ผักพื้นบ้าน อนุรักษ์พันธ์ปลา ลดการบุกรุกถมคลอง จากการที่ชาวสวนทาสวนยางใหม่ มักจะดันดินถมคลอง โค่นต้นไม้ใหญ่ข้างคลอง บางครั้งได้ขุดต้นไม้ที่ หายากไปตกแต่งเป็นไม้ประดับ โครงการนี้ มีกิจกรรมเชิญผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ผู้นาหมู่บ้าน ผู้ที่มีที่ดินติด ลาคลอง เยาวชน นักเรียน หมอพื้นบ้าน เข้าร่วมด้วย ๑.๒ กิจกรรมสมุนไพร ยาพื้นบ้าน มีนายวิรัตน์ ราชวังเมือง (น้องหมู) เป็นประธานกิจกรรม วัตถุประสงค์เพื่อสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรให้กับประชาชน เยาวชน ในชุมชนได้รู้จักสมุนไพร อนุรักษ์สมุนไพรไว้ใช้ สร้างเครือข่ายสมุนไพร การผลิตสมุนไพรไว้ใช้เอง การตั้งศูนย์การเรียนรู้ ๑.๓ กิจกรรมกลุ่มอาชีพดอกไม้สด มีนางอนิตสา รงค์ทอง เป็นประธานและผู้รับผิดชอบ กิจกรรม วัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพื่อรวมกลุ่มสตรีในหมู่ที่ ๗ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการตั้ง กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้สดในงานประเพณีต่าง ๆ สาหรับในช่วงนี้เป็นช่วงของการแข่งขันกีฬา ทางกลุ่มอาจมี การจัดกิจกรรมประดิษฐ์หมวกจากกล่องนม โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียน

นายนพพล ฯ ได้เสริม

ว่า ทุกกิจกรรมให้จัดทาหลักสูตรการเรียนรู้ ปฏิทินการปฏิบัติงานด้วย ๑.๔ กิจกรรมเรียนรู้กลุ่มอาชีพ เครื่องแกง มีนางนวย ขุนนาม เป็นประธานกิจกรรม และ ผู้รับผิดชอบ วัตถุประสงค์ เนื่องจากกลุ่มเครื่องแกง มีกลุ่มอยู่แล้วซึ่งพร้อมทั้งอุปกรณ์ บุคลากร จึงมี


81

ความประสงค์จะสร้างการเรียนรู้ ให้กับเยาวชนและผู้ที่สนใจ โดยจัดอบรมการทาเครื่องแกง ได้แก่แกงคั่ว แกงส้ม แกงเผ็ด เพื่อให้เยาวชนที่ยังแกงไม่เป็น ได้ทดลองทา และแกงที่บ้าน ๑.๕ กิจกรรมทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ มีนายนพพล กองเอียด เป็นผู้รับผิดชอบกิจกรรม วัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพื่อการลด ละเลิกการดื่มสุรา การเล่นการพนันในบริเวณปฏิบัติศาสนกิจ การ จุดพลุ การยิงปืนในงานศพ ซึ่งจากสถานการณ์ที่เป็นอยู่ เมื่อเวลามีงานศพที่จัดที่ศาลาคู่เมรุของวัดป่า บอนต่า จะมีการจาหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเล่นการพนัน การจุดพลุ ยิงปืน ซึ่งล้วนแต่เป็นการ กระทาที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งสร้างความเดือดร้อนให้กับครอบครัว ชุมชน และสุขภาพตนเองด้วย นอกจากนี้ในบางงานศพ ยังมีการใช้ถุงพลาสติกมาใส่อาหาร โดยเฉพาะการใส่ข้าวที่ร้อน ๆ อาจได้รับ อันตรายจากสารพิษที่อยู่ในถุงพลาสติก ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง ซึ่งในกิจกรรมนี้จะเป็นการให้คะแนนงานศพ ที่ได้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เพราะหากเป็นการบังคับ จะมีแรงต้านจากชุมชน เพราะการเล่นการพนัน การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีการปฏิบัติกันจนเป็นวิถีของงานศพในป่าบอนแล้ว มติที่ประชุม รับทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองการประชุมครั้งที่แล้ว - ไม่มี ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งที่แล้ว - ไม่มี ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเสนอเพื่อทราบและพิจารณา ๔.๑ เรื่องการดาเนินกิจกรรม ตามที่แจ้งแล้วในวาระที่ ๑ ให้ผู้รับผิดชอบแต่ละ กิจกรรมได้จัดทาหลักสูตรของกิจกรรม ซึ่งมีหัวข้อที่กาหนดได้แก่ วันเวลา ที่ปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ทา วิธีการ วัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็น งบประมาณ และผู้รับผิดชอบ มติที่ประชุมรับทราบ และมอบหมายให้ประธานของแต่ละกิจกรรมไปดาเนินการ และส่ง นายนพพล ฯ เพื่อนามาทบทวนอีกครั้ง เพื่อความพร้อมในการจัดกิจกรรมต่อไป ๔.๒ กิจกรรม ทาดี กู้ศรัทธา ที่ศาลาคู่เมรุ เป็นกิจกรรมที่แก้ปัญหาการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ การเล่นการพนัน การจุดพรุ ยิงปืน การใช้ถุงพลาสติก ตลอดจนการดูแลเรื่องความสะอาด การควบคุมเรื่องอาหาร ตามที่เสนอแล้วข้างต้น


82

ร.ต.ต. การุณ กรุณกิจ แสดงความคิดเห็นว่ากิจกรรมดังกล่าว เป็นกิจกรรมที่ดี เพราะจะ ช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ เช่นการดื่มสุรา ที่ดื่มในบริเวณสถานที่ปฏิบัติศาสนาพิธี การเล่นการพนัน ซึ่งผิด กฎหมายอยู่แล้ว การจุดพลุ ทาให้เมรุร้าว เวลาซ่อมต้องใช้งบประมาณมากมาย การยิงปืนยิ่งอันตราย มาก เพราะเมื่อยิงไปแล้ว ไม่รู้ว่าจะไปก่ออันตรายกับใครบ้าง เห็นจากหลังคาของโรงเรียนเป็นรูโหว่ มี คนเคยบาดเจ็บจากลูกปืนตกใส่ นอกจากนี้ ร.ต.ต. การุณ ฯ ได้เพิ่มเติมเรื่องของการใช้เสียงในงานศพ ที่ บางครั้งเปิดเสียงดัง รบกวนสมาธิ การเรียนของเด็กนักเรียน ถ้าเปิดเสียงดัง เด็กก็ไม่ได้เรียนทั้งวัน จึง เสนอแนะให้ใช้เครื่องเสียงเท่าที่จาเป็น และในเวลาที่ไม่ใช่เวลาเรียนของนักเรียน เช่น ตั้งแต่เวลา ๑๗.๐๐ น. จนถึงเที่ยงคืน และในวันที่เผาศพ ก็ใช้ในช่วงทาพิธี ให้เปิดเบา ๆ ที่ประชุม เห็นด้วยกับข้อเสนอแนะ ผ.ญ.ประทิ่น ชูเหลือ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๑ บ้านในล้อม ให้ข้อคิดเห็นว่า กิจกรรมนี้ เป็น กิจกรรมที่ดี ต้องลองทาก่อน อย่าหวังผลมาก ต้องประชาสัมพันธ์ให้เข้าใจ ผ.ญ. ประพล ไชยงาม ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๒ บ้านกลาง ได้ให้ข้อคิดเห็นว่า เป็นกิจกรรม ที่ดี ยินดีให้การสนับสนุน และควรทาต่อเนื่อง เพราะกิจกรรมที่ทา ส่วนใหญ่ไม่ต่อเนื่อง ชาวบ้านจึงไม่ ค่อยเชื่อมั่น ลุงเคลื่อม บุญราม ได้เล่าเหตุการณ์ว่า การงดเหล้าในงานศพเคยมีอยู่ระยะหนึ่ง แต่ พอมีงานศพในบ้าน เป็นคนค่อนข้างฐานะดี กลับมีการกินเหล้า หลังจากนั้น เมื่อมีงานศพอีก ก็มีการกิน ต่อเนื่องมา เพราะมีตัวอย่างให้เห็น นายนพพล กองเอียด ได้กล่าวสรุปในภาพรวมว่า จากการประชุม ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับ กิจกรรมนี้ ประกอบกับจากการสารวจความคิดเห็นของประชาชน จานวน ๑๐๘ คน มีความเห็น เกี่ยวกับการขายและดื่มแอลกอฮอล์ ในงานศพ คือ ไม่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ร้อยละ ๗๗ , เกี่ยวกับการเล่นการพนัน ไม่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ร้อยละ ๘๔ , เกี่ยวกับการใช้ถุงพลาสติก ใส่ข้าวร้อน ไม่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ร้อยละ ๘๘ , เกี่ยวกับการจุดพลุ ไม่เห็นด้วยและไม่ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ร้อยละ ๗๘ , เกี่ยวกับการยิงปืน ไม่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ร้อยละ ๙๒ , นอกจากนี้ยังเห็นด้วยที่จะให้มีการใช้จ่ายอย่างประหยัด การควบคุมอาหารลดหวาน มัน เค็ม , การดูแล สถานที่ปรุงอาหารให้ถูกหลักสุขาภิบาล ,การกาหนดมาตรการในการจัดงานศพ และผู้นาทุกระดับต้องเป็น ผู้นาด้านสุขภาพด้วย ส่วนความคิดเห็นอื่น ๆ มีเช่น ต้องการให้เลื่อนเวลาในการสวดพระอภิธรรมศพให้


83

เร็วขึ้นจาก ๒๐.๓๐ น.มาเป็นเวลา ๑๙.๐๐ น. เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่ต้องมีภาระกิจการทางานคือ การกรีดยาง เมื่อที่ประชุมเห็นชอบตามกิจกรรมที่กล่าวมา จึงได้เสนอเรื่องดาเนินกิจกรรม และการ แต่งตั้งคณะกรรมการ ดังนี้ - การดาเนินกิจกรรม เนื่องจากเป็นงานศพ เป็นงานที่มีประชาชน ญาติพี่น้อง มาร่วมกัน มาก รวมถึงคนต่างถิ่นที่มาสัมผัสกับวิถีชีวิตของคนป่าบอน ทาให้รับทราบถึงจุดดี จุดด้อยของคนป่าบอน จึงได้มุ่งเน้นงานศพ โดยงานศพทุกงานที่จัดที่ศาลาคู่เมรุ จะต้องเข้าร่วมกิจกรรมนี้ เริ่มตั้งแต่วันเข้าพรรษา ที่จะถึงนี้เป็นต้นไป โดยมีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ ๑. ไม่จาหน่ายหรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในงาน ๒. ไม่มีการเล่นการพนัน ๓. ไม่มีการจุดพลุในงาน ๔. ไม่มีการยิงปืนในงาน ๕. ไม่ใช้ถุงพลาสติกใส่ข้าว อาหารร้อน ๖. ไม่เปิดเครื่องขยายเสียงเกินความจาเป็น ๗. มีการใช้จ่ายอย่างประหยัด สมฐานะ ๘. รักษาความสะอาดสถานที่ประกอบอาหาร ปรุงอาหาร ช่วงดาเนินงานและหลังงาน มติที่ประชุม เห็นชอบ -

การแต่งตั้งคณะกรรมการ

นายนพพล ฯ ได้ปรึกษาหารือที่ประชุมถึงการแต่งตั้งคณะกรรมการที่จะมาช่วยดาเนินกิจกรรม โดยมี แนวทางเสนอต่อนายอาเภอป่าบอน เป็นผู้ลงนามแต่งตั้ง โดยเรียนเชิญบุคคลเข้าร่วมเป็นกรรมการ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการที่ปรึกษา ประกอบด้วย ๑. พระครูธรรมคุณาทร

เจ้าอาวาสวัดป่าบอนต่า

ประธานกรรมการ

๒. พระมหาสุรินทร์ กิตตสาโร

กรรมการ

๓. นายสมมาถ ห้องโสภา ผู้อานวยการโรงเรียนวัดป่าบอนต่า

กรรมการ

๔. นายนัฐวุธ วงษ์บุญ

กรรมการ

นายกองค์การบริหารส่วนตาบลป่าบอน

๒. คณะกรรมการประเมินผล ประกอบด้วย ๑.พระครูวิรัตน์ ฉันทธัมโม

เจ้าคณะตาบลป่าบอน

ประธานกรรมการ


84

๒.พระวิสุทธ์ จนฺทสโร

รองประธาน

๓.พระอุทัย อาภัสสโร

กรรมการ

๔.นายเคลื่อม บุญราม

ศาสนพิธีกร/ผู้สูงอายุ

กรรมการ

๕.ร.ต.ต.การุณ กรุณกิจ

ข้าราชการบานาญ

กรรมการ

๖. ร.ต.ต.ประมวล เกื้อหนุน ข้าราชการบานาญ

กรรมการ

๗. นายสมมาตร พรสุริยา

กรรมการ

ข้าราชการบานาญ

๘. หัวหน้าสายตรวจป่าบอน หรือผู้แทน

กรรมการ

๙. ผู้อานวยการ รพ.สต. บ้านป่าบอนต่าหรือ ผู้แทน

กรรมการ

๑๐.นายประทิ่น ชูเหลือ

ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๑ ต.ป่าบอน

กรรมการ

๑๑.นายประพล ไชยงาม

ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๒ ต.ป่าบอน

กรรมการ

๑๒.นายชานาญ คงชู

ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๗ ต.ป่าบอน

กรรมการ

๑๓.นายสมนึก คงอ้น

ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๕ ต.วังใหม่

กรรมการ

๑๔.นายแปลก หนูคง

ประธานชมรมผู้พิการอาเภอป่าบอน กรรมการ

๑๕. นางนิกูล

ประธาน อสม. บ้านในล้อม

กรรมการ

ประธาน อสม. บ้านกลาง

กรรมการ

บุตรกลัด

๑๖. นายสนาน อุทัยรังษี ๑๗. นายบัญชา สุขธรณ์

นักธุรกิจ

เหรัญญิก

๑๘. นายนพพล กองเอียด

นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ

เลขานุการ

๑๙. นางอมรทิพย์ คงรื่น ประธาน อสม. บ้านป่าบอนต่า

ผู้ช่วยเลขานุการ

ขั้นตอนการดาเนินการ ๑.

นาเสนอกิจกรรมที่จะดาเนินการต่อที่ประชุม เพื่อหามาตรการและคณะกรรมการ

๒.

นามาตรการของชุมชน เพื่อเสนอต่อนายอาเภอป่าบอน ลงนามและประกาศให้ทราบ

๓.

เสนอรายชื่อของคณะกรรมการ ต่อนายอาเภอป่าบอน แต่งตั้งคณะกรรมการ

๔.

ประกาศมาตรการให้ชุมชนทราบ และถือปฏิบัติ ตั้งแต่วันเข้าพรรษา วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๔

เป็นต้นไป ๕.

คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ประเมินผลการจัดงานศพแต่ละงาน ให้คะแนนตามระดับของ

การปฏิบัติในแต่ละข้อ


85

๖.

คณะกรรมการรวบรวมแบบประเมินที่ได้ ให้กับเลขานุการ เพื่อรวบรวมคะแนนนาเสนอนายอาเภอ

ป่าบอน เป็นคราว ๆ ไป ๗.

ประเมินผลในรอบปี คัดเลือกงานศพที่ปฏิบัติเข้าหลักเกณฑ์ ให้ได้รับรางวัล หรือมอบเกียรติบัตร

ในวันสาคัญทางศาสนา หรือ วันงานประเพณีของชุมชน ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ และเสนอแนะว่าควรนาเรื่องเสนอต่อพระครูธรรมคุณาทร เจ้าอาวาส วัดป่าบอนต่า และสอบถามความสมัครใจของคณะกรรมการที่เสนอชื่อแต่งตั้ง แต่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมใน วันนี้ นายนพพล กองเอียด ได้นาเรื่องดังกล่าว เพื่อดาเนินการต่อไป ปิดประชุมเวลา ๑๖.๐๐ น.

(นายนพพล กองเอียด) นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ รักษาการในตาแหน่ง หัวหน้าสถานีอนามัยบ้านป่าบอนต่า ผู้บันทึกรายงานการประชุม


86

รายงานการประชุมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ สู่สุขภาวะ คนป่าบอน กิจกรรม รักคลองป่าใส ธารน้่าใจ สายใยชุมชน ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๔ วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ศาลาเทิดพระเกียรติบ้านในล้อม รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม ๑

นายชานาญ คงชู

๒๒๒ ๗

ป่าบอน

นายชิต

ใหมคง

๑๙

ป่าบอน

นายเคียง

ชูแก้ว

๒๖

ป่าบอน

นายสยาม

คงชู

๓๑

ป่าบอน

นายรุ่ง

แจ้งแก้ว

ป่าบอน

นายสุธารัตน์ สุขขี

๑๑๗ ๙

ป่าบอน

นายกมล

แก้วไชยศรี

๒๑๓ ๗

ป่าบอน

นายเขียว

เทพมณี

๓๑

ป่าบอน

นายสมเกียรติ อินขุนจิต

๒๖๖ ๖

ป่าบอน

๑๐

นายนิคม

ศิรินุพงศ์

๑๓๗ ๙

ป่าบอน

๑๑

นางอรุณศรี

พันธรังษี

๒๐๑ ๓

ป่าบอน

๑๒

นางพรภิรมย์

สุขขี

๑๑๗ ๖

ป่าบอน

๑๓

น.ส.ทิพวรรณ

เสนละเอียด

๗๐

ป่าบอน

๑๔

นายลี่

เอียดเหลือ

๑๘๗ ๒

ป่าบอน

๑๕

นายสุนีย์

คงเตี้ย

๕๖

ป่าบอน

๑๖

นางเสงี่ยม

ถวิล

๒๕๕ ๑๑

ป่าบอน

๑๗

นางอุไร

ช่วยชู

๑๓๘ ๑๑

ป่าบอน

๑๘

นายประสพโชค ขาวศรี

๒๘๕ ๑๑

ป่าบอน

๑๙

นางวรรณา

คงพูล

๑๖๗ ๑

ป่าบอน

๒๐

นางจานง

ศิลปะ

๑๒๖ ๑

ป่าบอน


87

๒๑

นายอานวย

แก้วประดิษฐ์ ๙๖

ป่าบอน

๒๒

นายสุวิทย์ สิงห์ดา

๓๖๕ ๘

ป่าบอน

๒๓

นายอุทัย

ป่าบอน

๒๔

นายประเสริฐ

ศิริกัน

๑๑๕ ๒

ป่าบอน

๒๕

นางสิรินุช

ยอดแก้ว

๕๐๔ ๘

ป่าบอน

๒๖

นายสุเทพ

เพชรคง

๒๗๔ ๕

ป่าบอน

๒๗

นายสนาน

อุทัยรังษี

๑๑๖ ๒

ป่าบอน

๒๘

น.ส.ลภัสลดา

อุทัยรังษี

๒๒

ป่าบอน

๒๙

นายปราโมทย์

ฉ้วนกลิ่น

๑๖๔ ๑

ป่าบอน

๓๐

น.ส.วรรณี

โปดา

๒๗

ป่าบอน

๓๑

นางดวง

เดชะ

๒๙๙ ๑

ป่าบอน

๓๒

นายอภินันท์

ชูสุวรรณ์

๑๔๘ ๑

ป่าบอน

๓๓

นางเสริม

คงรื่น

๑๔

ป่าบอน

๓๔

นางแขน

ใจจา

๑๑๔ ๑

ป่าบอน

๓๕

นายพล

แก้วหนูนวล ๒๖๑ ๕

ป่าบอน

๓๖

นางมะลิ

นิลแก้ว

๒๑๓ ๑

ป่าบอน

๓๗

นางพร่อง

ขุนเศษ

๑๐๐ ๗

ป่าบอน

ชูแสง

เริ่มประชุมเวลา 13.00 น. ประเด็นการเรียนรู้ ประเด็นหลัก - การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของชุมชนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ กระทบต่อชุมชน ประเด็นย่อย -

สภาพสิ่งแวดล้อมในอดีต

-

สภาพสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน

-

สาเหตุการเปลี่ยนแปลง


88

-

ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน

-

บทบาทของชุมชนในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

สภาพแวดล้อมในอดีต / ปัจจุบัน ผู้ดาเนินการประชุม ได้รับความร่วมมือจาก น.ส.สุชาดา นวลทอง นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ร่วมการสนทนา โดยตั้งประเด็นสิ่งแวดล้อมในอดีต ของชุมชนป่าบอนต่า ว่ามีความเป็นมาอย่างไร ให้ผู้ร่วมสนทนาเล่าสู่กันฟัง พี่รุณ (อรุณศรี พันธรังษี) เล่าว่า สมัยก่อนน้าในคลองใสมาก มีปลาเยอะ น้าในคลอง ก็ น้ามาดื่มได้ แต่ปัจจุบัน ปลามีอยู่บ้างแต่ไม่มาก นามากินแล้วมีอาการปวดท้อง ลุงรุ่ง (นายรุ่ง แจ้งแก้ว) บอกว่า ในอดีต สามารถอาบน้าในคลองได้ ปลาก็กินได้ เมื่อ ๒- ๓ ปีที่ผ่านมา ไม่สามารถอาบน้าได้ อาบแล้วคันตามตัว ปลาก็กินไม่ได้ เพราะมียาฉีดหญ้าไหลลงไป ในน้า ลุงเคียง (นายเคียง ชูแก้ว) เล่าว่า เดิมคลองป่าใส มีน้าที่สะอาด มีปูปลามากมาย แต่ ปัจจุบันคลองนี้ มีปัญหามากมาย ต้นไม้ที่ขึ้นข้างคลอง ก็ไม่สามารถกินได้ ลุงเขียว (นายเขียว เทพมณี) ในอดีต น้าใสมาก ตอนนี้อายุ ๖๖ ปีแล้ว แต่ก่อนน้าใน คลองสามารถกินได้ เวลาไปเลี้ยงสัตว์ หิวน้าก็สามารถดื่มกินได้เลย แต่ปัจจุบันไม่สามารถทาได้แบบเดิม แล้ว เพราะมีขยะทิ้งลงมาจากต้นลาคลอง ทาให้น้าเสีย น้าดา (นายสยาม คงชู) ม. ๗ ในอดีตน้าในคลองอาบได้ ปลากินได้ แต่ในปัจจุบัน ปลาที่เคยกิน ไม่สามารถกินได้ กินแล้วรสชาติไม่เหมือนเดืม ไม่หรอย คลองเล็กลง ทาให้น้าไหลช้า ลุงชิต (นายชิต ไหมคง) ม.๗ มีการทิ้งขยะ ทิ้งไม้ลงในคลอง ทาให้น้าไหลไม่สะดวก คนเป็นตัวการสาคัญที่ทาให้คลองตื้นเขิน พี่เสริฐ (นายประเสริฐ คงรื่น) ในอดีตที่ทุ่งผีปั้นรูปน้าใสมาก ปัจจุบันปลากินไม่ได้เลย มีการปล่อยน้าเสียจากโรงงาน ปลาตายเยอะมาก วัว สัตว์เลี้ยงไม่สามารถกินได้เลย สจ.พล (นายพล แก้วหนูนวล) อดีต ปลากินได้ พาสัตว์ไปเลี้ยงกลางทุ่งได้ แต่เมื่อมี โรงงานเข้ามาน้าอาบไม่ได้ กินไม่ได้ มีสารเคมีเพิ่มมากขึ้นจากการนาเข้ามาของนายทุน การที่จะสร้าง


89

โรงงานเพิ่มแล้วทาให้คนได้เข้าทางาน ไม่ได้ช่วยอะไรเราได้มาก เพราะส่วนใหญ่เอาชาวต่างชาติ เช่น พม่า เข้ามาทางาน การแก้ปัญหาจึงต้องใช้ความร่วมมือของพี่น้องในชุมชนช่วยกันแก้ให้ตรงจุด พี่สุนีย์ (นายสุนีย์ คงเตี้ย ) : ในอดีตคนในชุมชนมีไม่มาก น้าในลาคลองนามาดื่มได้ อาบได้ ปลูกผักได้ แต่ปัจจุบันไม่ได้เป็นอย่างเดิม คนมีความสะดวกสบายมากขึ้น มีเทคโนโลยีมากขึ้น จึง เกิดปัญหามากขึ้น เช่น เมื่อก่อนเคยถากหญ้า ถอนหญ้าเพื่อปลูกผัก แล้วก็จะเผา แต่ปัจจุบันใช้ยาฉีด หญ้าเพื่อทาลายหญ้า สารเคมีไหลลงน้า ไม่สามารถมาใช้ประโยชน์ได้ การที่จะแก้ปัญหาได้ ผู้นาต้อง ช่วยกัน ช่วยเป็นต้นแบบในการพัฒนา กานันเกียรติ (นายสมเกียรติ อินทร์ขุนจิต ) : เมื่อมีการใช้แผนพัฒนาฉบับที่ ๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๔ เป็นสมัยที่เริ่มมีการพัฒนา มีการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเพื่อขาย ปัจจุบันเป็นแผนฉบับที่ ๑๑ จากบัดนั้นจนถึงบัดนี้มีปัญหามากมาย เกิดขึ้นจากความอ่อนแอของชุมชน รัฐบาลมีการส่งเสริมให้มี การซื้อ การลงทุนมากขึ้น ทาให้เราต้องตามยุคตามสมัย ทาให้มีผลกระทบมากมาย ต้นไม้ถูกทาลาย แม่น้าลาคลองเสียหาย หากทุกคนในชุมไม่ร่วมมือกันอนุรักษ์ ต่อต้านระบบธุรกิจแบบนี้ชาวบ้านชุมชนเรา ก็จะไม่มีที่อยู่ ไม่มีที่ทากิน สรุป น้าเสีย อดีต: น้าในคลองสามารถนามาดื่มกินได้ อาบได้ สามารถนามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ปัจจุบัน : สัตว์น้ากินไม่ได้ ปลาตาย น้าเน่า เสีย สกปรก สาเหตุการเปลี่ยนแปลง: ๑.

โรงงานปล่อยน้าเสีย น้าเน่าลงคลอง มีสารเคมีตกค้างจากการผลิตของโรงงานไหลลงน้า

๒.

คนมีจานวนมากขึ้น ทิ้งขยะลงคลอง

อุปสรรค : การขาดความร่วมมือของชุมชน ระบบการเมือง ทุนนิยม บทบาท มาตรการ : รัฐธรรมนูญ สิทธิชุมชน การจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม บทบาทของชุมชนในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม มาตรการชุมชนวัดป่าบอนต่า ในการอนุรักษ์ คลองป่าใส


90

๑.

ช่วยกันทาความสะอาด ปลูกต้นไม้ ริมตลิ่งเพื่อยึดหน้าดิน เช่น ผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ

ไม่ทาลายต้นไม้ใหญ่ชายฝั่ง ๒.

บ้านทีม่ ีที่ดินติดลาคลอง ให้รับผิดชอบดูแลความสะอาด ไม่ทิ้งขยะลงในคลอง

๓.

ร่วมมือกันพัฒนาลาคลอง โดยนัดประชุมเพื่อขอความร่วมมือ

๔.

ช่วยกันสอดส่องดูแลการจับปลาที่ผิดวิธี เช่น การช๊อตปลา วางยาเบื่อปลา

๕.

ระมัดระวังการใช้สารเคมีให้น้อยที่สุด เพื่อป้องกันการปนเปื้อนลงในลาคลอง


91

แนวคิดที่เกิดจากโครงการ / นวัตกรรม สมุนไพรจากศูนย์เรียนรู้สู่ป่าชุมชน หลักการดาเนินงาน ส่งเสริมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมป่าชุมชนให้กลับคืนสู่สภาพดังเดิม เป็นที่ทราบกันอยู่ว่า สมุนไพรในป่าธรรมชาติกาลังจะหมดไปจากป่า เราคนรุ่นใหม่ต้องนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาปรับใช้และทาจริงจึงจะประสบผลสาเร็จ วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มสมุนไพรให้คงอยู่กับป่าไปนาน ๆ เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนนั้น ๆ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ป่าไม้ สมุนไพรให้ยั่งยืนคู่กับท้องถิ่นและให้ลูกหลานได้มีสมุนไพรใช้ในอนาคต เป้าหมายการดาเนินงาน ให้ความรู้ในการขยายพันธ์สมุนไพร แก่เด็ก ผู้ใหญ่ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ แนวทางในการดาเนินงาน ติดต่อเครือข่ายเพื่อรวบรวมสมุนไพรที่หายากมาขยายพันธ์ เมื่อได้พัฯธ์สมุนไพรมากพอ ก็จะ แจกจ่ายให้สมาชิกเพื่อนาไปปลูกในป่าชุมชนต่อไป


92

การทาน้าพริกนรก ส่วนผสม ๑.กระเทียม

ขีด

๒.หอมแดง

ขีด

๓.พริกแห้ง

ขีด

๔.ปลาทูย่าง

ตัว

๕.กุ้งฝอย

ขีด

๖.น้าตาลแว่น

๑๐

แว่น

๗.กะปิอย่างดี

ขีด

วิธีทา นาหอมแดงซอย กระเทียมซอย พริกแห้ง มาคั่วเปิดไฟอ่อน ๆ ให้หอม นาปลาทูย่างแกะก้างออกจนหมด นามาบดให้ละเอียด นาน้าตาลแว่นบดละเอียด กะปิอย่างดี นาส่วนผสมที่เตรียมไว้ คลุกเคล้าให้เข้ากัน หรือนวดให้เป็นเนื้อเดียวกัน นาลงกระทะ เปิดไฟอ่อน ๆ ผัดให้แห้ง ชิมรสชาติให้ออกเผ็ด


93

การทาน้าพริกเผา ส่วนผสม ๑. กุ้งแห้ง

๐.๕

กก.

๒. น้าตาลปิ๊บ

กก.

๓. น้าตาลแว่น

๒๐

แว่น

๔. กระเทียม

๐.๕

กก.

๕ .หอมแดง

กก.

๖. มะขามเปียก

กก.

๗. พริกแห้ง

ขีด

๘.น้ามันพืช

๐.๕

กก.

๙.กะปิหวาน

กก.

วิธีทา นาหอมแดงซอย กระเทียมซอย บาง ๆ พริกแห้ง นาส่วนผสมทั้ง ๓ มาเคี่ยวด้วยน้ามันพืชให้หอม นามะขามเปียก ผสมน้า ๒ ลิตร ขยาให้เข้ากัน เคี่ยวด้วยไฟอ่อน ๆ ใส่ตามด้วยน้าตาลปี๊บ และ น้าตาลแว่น หอมแดง กระเทียมและพริกแห้งที่เจียวไว้แล้ว ใส่กะปิลงไป เคี่ยวต่อจนเหนีมรสชาติให้ออก หวาน เปรี้ยว เผ็ดเล็กน้อย


94

การทาน้าพริกใบทามัง ส่วนผสม ๑.ปลาทูย่าง

ตัว

๒. เนื้อหมู

ขีด.

๓. น้าตาลแว่น

๒๐

แว่น

๔. หอมแดง

ขีด

๕. กระเทียม

ขีด

๖. กะปิอย่างดี

ขีด

๗. พริกผง

ขีด

๘. ใบทามัง

กา

๙. พริกแห้ง

ขีด

วิธีทา นาหอมแดงซอย กระเทียมซอยบาง ๆ พริกแห้ง มาคั่วเปิดไฟอ่อน ๆ ให้หอม นาหมูสับให้ละเอียด แกะปลาย่าให้ติดก้าง บดให้ละเอียด น้าตาลแว่น สับละเอียด นาทุกอย่างที่เตรียมไว้มาคลุกเคล้าให้เข้ากัน นาลงผัดในกระทะให้แห้ง ใบทามังตากแห้ง บดละเอียด เมื่อส่วนผสมในกระทะที่ผัดแห้งดีแล้ว ให้ใส่ใบทามังที่บดละเอียดลงไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.