ถอดบทเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส ปศท.๒

Page 1

รายงาน

การถอดบทเรียน โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชา รักษ์ จังหวัดนราธิวาส

สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 1


คานา รายงานการถอดบทเรียนโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ ปีการศึกษา 2554 เป็นการศึกษาการ ดาเนินงานและวิธีการปฏิบัติของกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ ฯ ซึ่งมีกิจกรรมหลัก อยู่ 5 กิจกรรม คือ กิจกรรมแลหลัง กิจกรรมฝึกฝนอาชีพ กิจกรรมสุขกาย สบายใจ กิจกรรมเยาวชนรักษ์ศาสนา และกิจกรรมชุมชนสีเขียว โดยหวังว่า กิจกรรมต่าง ๆ ดังกล่าวเป็นวิธีการที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรี ย น การพั ฒนากิ จกรรมข้ า งต้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น สิ่ ง จาเป็น เพื่ อ พั ฒ นา กระบวนการจัดการศึกษาให้ชุมชนมีส่วนร่วม หวังว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นระโยชน์ที่มีคุณค่าต่อ ต่อการจัดการศึกษาของ ชาติต่อไป และผู้ทสี่ นใจทุกท่าน

คณะผู้จัดทา

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 2


สารบัญ

บทที่ 1

ข้อมูลพืน้ ฐานและบริบทของสถานศึกษา .................................. 1.1 ประวัติตาบลบางปอ ..................................................... 1.2 ข้อมูลโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ .................................

1 1

7

บทที่ 2 สาระสาคัญของ โครงการ……………………………………………………

11

บทที่ 3 กระบวนการดาเนิน โครงการ………………………………………………

13

บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงการ .............................................................. บทที่ 5 สรุปบทเรียนที่ได้จากการดาเนินโครงการ .................................

15 27 30

บทความของโครงการ ............................................................... ภาคผนวก

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 3


บทที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานและบริบทของสถานศึกษา

ประวัติความเป็นมา : บางปอ ชื่อ ตาบลบางปอ อาเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ที่มาของชื่อสถานที่ ; จากลักษณะแม่น้า ลาคลอง ซึ่งมีต้นปอขึ้นอยู่ตลอดแนวรวมทั้งสองฝั่ง ความหมายของชื่อ; สถานที่ที่มีต้นปอ บางปอ คือ ลาคลองที่มีต้นปอตลอดแนวทั้ง 2 ฝั่ง ปัจจุบันยังมี ต้นปอ ปรากฏ อยู่ มากมาย เมื่อ ประมาณ 120 ปีเศษ มีชาวบ้านกลุ่มหนึ่ง จาก หมู่บ้านเปดัง ประเทศ มาเลเซีย ได้ล่องเรือไป ค้าขายยังเมืองบางนราหรือแม่น้าบางนราในปัจจุบัน ขณะเดินทางกลับจากการค้าขาย ได้ล่องเรือผ่าน มายังหมู่บ้าน ๆ หนึ่ง ซึ่งเป็นหมู่บ้านยารอในปัจจุบัน หมู่บ้านแห่งนี้มีท่าเรือ อยู่ที่ท้ายหมู่ บ้าน รอบ ๆ บริเวณท่าเรือ ชาวบ้านเล่ากันว่ามี เสือ ต้นปอ และนกเขาเป็นจานวนมาก ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็น สินค้าที่ตลาดต้องการ เมื่อคณะพ่อค้าที่มาจากประเทศมาเลเซียทราบเรื่องดังกล่าว จึงได้นาพรรคพวก แวะที่ท่า เรือแห่งนี้เ พื่อทาการล่าเสือ จับนกเขา ตัด ใบปอ นาไปขายยังท้องตลาด ทาให้มีรายได้ เพิ่มขึ้น ผู้นาครั้งนั้นชาวบ้าน เรียกว่า พ่อแก่ไชย และได้ยึดหมู่บ้านแห่งนี้เป็นที่อยู่อาศัยและประกอบ อาชีพเป็นหลักแหล่ง ตลอดมา จนในที่สุดเรียกชื่อตาบลนี้ว่า ตาบลบางปอ มีเนื้อที่ประมาณ 22.9872 ตารางกิโลเมตร หรือ 23,895 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอเมืองนราธิวาส 15 กิโลเมตรมีการปกครอง ออกเป็น 11 หมู่บ้าน ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 4


มีลักษณะภูมิประเทศเป็น ที่ลุ่มลาดเอียงสู่แ ม่น้าบางปอซึ่งเป็นสาขาของแม่น้าบางนราเป็น แหล่งน้าธรรมชาติ ทุกปีในฤดูน้าหลากน้าจะท่วมพื้นเกือบทั้งตาบลก่อนที่จะไหลลงสู่แม่น้าบางปอและ ไหลลงสู่อ่าวไทยที่ปากน้าบางนรา บริเวณริมฝั่งแม่น้าบางปอมีพื้นที่ป่าชายเลนเป็นบริเวณกว้าง มีพืช พันธุ์และสัตว์ป่านานาชนิดประชาชนได้ใช้ประโยชน์จากป่าชายเลนหลายอย่าง เช่นหาของป่า จับสัตว์ น้า เป็นต้นสามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี อาชีพทานา ทาสวน เลี้ยงสัตว์ และรับจ้าง การ คมนาคมมีทางหลวงแผ่นดิน ถนนสายจารุเสถียร 1 สาย ทางหลวงชนบท 3 สาย ภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมเขตร้อน แบ่งฤดูกาลออกเป็น 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูฝน แบ่งเป็น 2 ช่วง เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม และช่วง เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ฤดูร้อน ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน

ข้อมูลด้านสังคม จานวนครัวเรือนและประชากร (ข้อมูล จปฐ.ปี 2551) จานวนครัวเรือน 1,662 ครัวเรือน จานวนประชากร 7,751 คน เพศชาย 3,828 คน เพศหญิง 3,923 คน จานวนประชากรที่อาศัยอยู่จริง ณ วันสารวจ(ข้อมูลจปฐ.ปี 2551)

การตั้งถิ่นฐาน การตั้งถิ่นฐานของประชากรส่วนใหญ่จะอยู่เป็นหมู่บ้านและกลุ่มบ้านซึ่งฐานะความเป็นอยู่ของ ประชาชนค่อนข้างยากจน ประชากรวัยทางานส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีลักษณะ เป็นสังคมชนบท เยาวชนส่วนหนึ่งมีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพ

การประกอบอาชีพของประชากร อาชีพหลัก ทานา ทาสวน เลี้ยงสัตว์ รับจ้าง อาชีพรอง ทาสวน/ ทานา/ทาไร่ / เลี้ยงสัตว์ และรับจ้างทั่วไป ค้าขาย อุตสาหกรรมในครัวเรือน ปักจักร

สภาพทางเศรษฐกิจ การเกษตรกรรม การเกษตรในตาบลเป็นการเพาะปลูก เช่น ทานาข้าว เงาะ ทุเรียน มังคุด ลองกอง สวนยางพารา ด้านธุรกิจการค้า มักจะเป็นการเปิดร้านค้าเล็ก ๆ ขายปลีกตามหมู่บ้าน

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 5


สภาพโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม การติ ดต่อพื้น ที่ภายนอก มีเ ส้นทางคมนาคมทั้งทางรถยนต์ มีเส้นทางหลวง ติดต่อไปยังอาเภอระแงะ อาเภอยี่งอ อาเภอตากใบ อาเภอ เจาะไอร้อง เส้นทางเดินรถในตาบลบาง ปอ มีรถจักรยานยนต์รับจ้างซึ่งมีคิวอยู่ที่สี่แยกบ้านมะนังตายอ วิ่งไปตามเส้นทางในตาบลมะนังตายอ ตาบลบางปอ ตาบลลาภู โดยคิดค่าโดยสารเที่ยวละ 20 – 50 บาท มีถนนจารุเสถียรเป็นถนนสาย หลักซึ่งเชื่อมระหว่างอาเภอเมือง ตาบลลาภู ตาบลมะนังตายอ ตาบลบางปอ อาเภอระแงะ อาเภอ เจาะไอร้อง อาเภอสุไหงปาดี และอาเภอสุไหงโก-ลก นอกจากนี้ยังถนนสายรอง ที่เชื่อมระหว่างตาบล ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 6


ระหว่างหมู่บ้าน ส่วนใหญ่เป็นถนนลาดยาง ในแถบนี้มีแม่น้าบางปอซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของแม่น้าบาง นราเป็นแหล่งอาชีพที่สาคัญของชุมชนเช่นการจับปลาน้าจืด การประมงน้าจืด การหาของป่า เป็นต้น

ระดับการศึกษา ระดับการศึกษาภาคบังคับ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ระดับอนุปริญญา หรือเทียบเท่า ระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า

3,658 463 145 179

คน คน คน คน

ร้อยละ 82.29 ร้อยละ 10.42 ร้อยละ 3.26 ร้อยละ 4.03

สภาพทางสังคม จานวนประชากรในเขต องค์การบริหารส่วนตาบลบางปอ จานวน 9,806 คน และ จานวนหลังคาเรือน 1,885 หลังคาเรือน นับถือศาสนาอิสลาม 84 % นับถือศาสนาพุทธ 16 % มีขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมต่างกันของคน 2 กลุ่ม คือ ประชาชนที่นับถือศาสนา อิสลาม หรือมุสลิม ได้แก่ วันฮารีรายอ วันเมาลิด วันอาซูรอ การถือศีลอด การเข้าสุนัต การแต่งงาน ประเพณีมาแก ปูโล๊ะ ขนบธรรมเนียมการเคารพและการแต่งกาย ประชาชนที่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณีของชาวไทยพุทธ มีลักษณะไม่แตกต่างจากจังหวั ดอื่น ๆ ได้แก่ การขึ้นบ้านใหม่ วันสงการณ์ วันตรุษจีน การบวชนาค ประเพณีเดือนสิบ วันลอยกระทง วันเข้าพรรษา เป็นต้น

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 7


ทรัพยากรธรรมชาติ มีแม่น้าไหลผ่าน ณ หมู่ที่ 1 บ้านยารอ ชื่อแม่น้าบางนรา 1. แหล่งน้าธรรมชาติ ที่สามารถนามาใช้เพื่อการเกษตรได้ รวม 5 แหล่ง - แม่น้าบางนรา เป็นแม่น้าสายสาคัญของจังหวัดนราธิวาส ที่ไหลผ่านในพื้นที่ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 7 และ หมู่ที่ 11 มีค วามยาวเฉพาะส่วนที่ผ่า นตาบลบางปอ ประมาณ 6.50 กิโลเมตร ลึก ประมาณ 2 เมตร กว้างประมาณ 150 –200 เมตร มีน้าขังตลอดปี การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้านี้ได้ไม่ มากนักเนื่องจากพื้นที่ริมแม่น้าเป็นป่าพรุ คงต้องอาศัยระบบชลประทาน - คลองโต๊ะเจ๊ะ เป็นคลองที่ต่อเชื่อมแม่น้าบางนรา ผ่านพื้นที่หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 11 มีความยาว ประมาณ 3.5 กิโลเมตร สามารถนามาใช้ประโยชน์เฉพาะพื้นที่ที่อยู่ริมคลองเท่านั้น - คลองขุด เป็นคลองที่ต่อเชื่อมกับ คลองโต๊ะเจ๊ะ แยกเป็นสายน้าเล็กๆ จานวน 3 สาย ไหล ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 6 มีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร ซึ่งมีการสร้างฝายน้าล้น เพื่อกักเก็บน้าไว้ ใช้ประโยชน์ในเนื้อที่ 2,000 ไร่ - คลองลุโบ๊ะมะนังเกร๊าะ เป็นลาธารสายเล็กๆ ไหลผ่านหมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 4 มีความยาว ประมาณ 2 กิโลเมตร มีน้าตลอดทั้งปี มีฝายน้าล้น เพื่อกักเก็บน้าไว้ใช้การเกษตรในเนื้อที่ 500 ไร่ - คลองช้างใหญ่ เป็นลาน้าสายเล็ก ๆที่เชื่อมต่อกับแม่น้าบางนราตอนล่างในท้องที่หมู่ที่ 2 มีการสร้างฝายน้าล้น เพื่อนาน้าไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ในเนื้อที่ประมาณ 540 ไร่ นอกจากนี้ยังมีแหล่งน้าธรรมชาติที่เป็น ลาน้า/ลาห้วย 9 สาย หนอง/บึงและอื่นๆ 10 แห่ง

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 8


ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 9


ทิศทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาชุมชน ในตาบลบางปอ อาเภอเมืองนราธิวาส ลาดับที่ 1.ด้าน เศรษฐกิจ

ปัญหา 1.ราคาผลผลิตตกต่า 2.ค่าจ้างไถนาราคาแพง 3.ปุ๋ยราคาแพง 4.ยาปราบศัตรูพืชราคา แพง 5.ด้านเงินทุน 6.การตลาด 7.การเพาะปลูกไม่ได้ผล 8.ที่นาร้าง

2.ด้านสังคม

1.มีรายได้ไม่เพียงพอต่อ การใช้จ่ายในครัวเรือน 2.การว่างงาน 3.แรงงานย้ายถิ่น 4..ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน 5.ปัญหาคุณภาพชีวิต

3.ด้าน การศึกษา

1.ส่งเสริมการศึกษา ระดับสูง 2.เด็กเล็กวัยก่อนเกณฑ์ 3.การศึกษาน้อย 4.ขาดทักษะการเรียนรู้ ข่าวสารข้อมูล 1.น้าท่วมขัง 2.ขยะมูลฝอย

4.ด้านการ อนุรักษ์

สาเหตุ 1.ไม่มีสถานที่จาหน่าย 2.พ่อค้าต่างพื้นที่ไม่เข้า มารับซื้อ 3.พ่อค้าคนกลางกดราคา 4.ขาดความรู้ความ เข้าใจในการนา เทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้ 5.ไม่คุ้มต่อการลงทุน 6.แหล่งน้าเพื่อ การเกษตร ครัวเรือนมีอาชีพไม่ มั่นคง ไม่มีเงินออม ตลาดแรงงานมีน้อย -เลือกงาน -ขาดความรู้ความ ชานาญในงาน -การศึกษาต่า -ขาดจิตสานึกและการมี คุณธรรมและจริยธรรม 1.ทุนการศึกษาต่อ 2.สถานที่อบรมเลี้ยงดู 3.ครอบครัวแตกแยก 4.ขาดศูนย์การเรียนรู้ ชุมชน 1.ระบบการระบายน้า 2.ภาชนะรองรับขยะ

วิธีแก้ -จัดตั้งกลุ่มรับซื้อผลผลิต -ให้ภาครัฐหาตลาดรองรับ และประกันราคาผลผลิต -ส่งเสริมความรู้และเทคนิค การผลิตและการใช้ เทคโนโลยีใหม่ๆ -ส่งเสริมระบบการระบายน้า เพื่อการเกษตร

-สร้างอาชีพที่มั่นคงใน หมู่บ้านเสริมอาชีพให้เกิด รายได้ -ส่งเสริมให้มีการออม -ส่งเสริมทักษะความรู้ความ ชานาญในวิชาชีพ -หาตลาดแรงงาน -ส่งเสริมการสร้างวินัยด้าน การจราจร ด้านกฎหมาย ต่างๆและศาสนาจริยธรรมใน ชุมชน 1.สนับสนุนทุนการศึกษา 2.จัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.ส่งเสริมการศึกษาขั้น พื้นฐานระดับตาบล 4.ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ของชุมชน 1.ขุดลอกคูคลองระบายน้า 2.จัดหาและสร้างระบบกาจัด

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 10


ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม

3.ที่นาร้าง

3.ระบบการจัดการขยะ 4.ปลูกพืชไม่คุ้มทุน

ขยะ 3.วางกฎระเบียบให้ชัดเจน 4.ปรับสภาพที่นาให้เป็น สนามกีฬา

ข้อมูล จาก สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

แนะนา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์

ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 3 บ้านโคกสุมุ ตาบลบางปอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96000 โทรศัพท์ 073-643166 โทรสาร 073-643166 ห่างจากตัวเมืองนราธิวาส 13 กิโลเมตรริม ถนนจารุเสถียร ( นราธิวาส – สุไหงโก-ลก ) ช่วงกิโลเมตรที่ 13 จากสี่แยกโคกสุมุ 500 เมตร มี เขตพื้นที่บริการทุกหมู่บ้านของตาบลบางปอ บางหมู่บ้านของตาบลลาภู ตาบลมะนังตายอ อาเภอ เมืองนราธิวาส บางหมู่บ้านของตาบลตันหยงลิมอ ตาบลตันหยงมัส อาเภอระแงะ ตาบลจวบ ตาบลมะ รอโบออก อาเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ประวัติของสถานศึกษาโดยย่อ โรงเรียนเฉลิพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ เดิมชื่อโรงเรียน บางปอประชารักษ์ สังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับอนุมัติให้ จัดตั้ง เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2525 ตามนโยบายของกรมสามัญศึกษา เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 11


ระดับดับมัธยมศึกษาออกสู่ชนบทเป็นปีเดียวกันที่มี การเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ใช้ที่ดิน ของสภาตาบลเป็นที่ตั้ง ปัจจุบันที่ดินดังกล่าวเป็นกรรมสิทธิ์ของโรงเรียนมีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 74 ไร่ 2 งาน ในปีการศึกษาพ.ศ.2525 ได้เปิดเป็นครั้งแรก โดยรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าเรียน จานวน 2 ห้องเรียน กรมสามัญศึกษาได้แต่งตั้งนายเทิดศักดิ์ ถาวรสุทธิ์ มาดารงตาแหน่งเป็นครูใหญ่ คนแรก ในขณะที่ทางโรงเรียนใช้อาคารเรียนของโรงเรียนบ้านโคกสุมุ เป็นสถานที่เรียนชั่วคราว พ.ศ. 2535 ได้เปิดโรงเรียนสาขาที่บ้านทาเนียบ ตาบลลาภู อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เพื่อขยายโอกาส ทางการศึกษาได้เพิ่มมากขึ้น ปี พ.ศ.2540 ได้รับอนุมัติให้ขยายชั้นเรียน จนถึงระดับมัธยมตอนปลาย พ.ศ.2541 ในวโรกาสที่สมเด็จพระเจ้าพี่น างเธอเจ้า ฟ้ากัลยานิวัฒนาทรงได้รั บการดโปรด เกล้า ฯสถาปนาขึ้น เป็น สมเด็ จพระเจ้า พี่นางเธอ เจ้าฟ้า ต่า งกรมฝ่า ยใน ซึ่งมีพระนามจารึกในพระ สุพรรณบัฎว่า “สมพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ” ในโอกาส นี้กรมสามัญได้คัดเลือกโรงเรียนบางปอประชารักษ์ เข้าร่วมโครงการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสดังกล่าว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประทานพระอนุญาต ให้ชื่อว่า “โรงเรียนเฉลิพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ บางปอประชารัก ษ์”ทั้งนี้กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2541 ปี ก ารศึ ก ษา 2545 กรมสามั ญ ศึ ก ษาได้ แ ต่ ง ตั้ ง นายประภาส ขุ น จั น ทร์ ด ารงต าแหน่ ง ผู้อานวยการโรงเรียน ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนริเริ่มโครงการเปิดสอนอิสลามศึกษาในโรงเรียน ปี การศึกษา 2551 โรงเรียนได้เข้าโครงการการสอนอิสลามศึกษาแบบเข้มตลอดช่ว งชั้นที่ 3 ปี การศึกษา 2552 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาสเขต 1 ได้มีคาสั่งแต่งตั้ง นายสมกิจ อาแว ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน ในวันที่ 14 กรกฎาคม 2552 ปีนี้โรงเรียนได้เข้าโครงการการ สอนอิสลามศึกษาแบบเข้มตลอดช่วงชั้นที่ 3 (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3) และชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเข้าโครงการโรงเรียนในฝัน รุ่นที่ 3 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนได้ย้ายต้น สังกั ด ใหม่ จากสังกั ด ส านัก งานเขตพื้น ที่การศึ กษานราธิ ว าสเขต 1 เป็น สั งกั ดสานักงานเขตพื้น ที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 15 ปัจ จุ บั น มี น ายนิ รั ต น์ นราฤทธิ พั น ธ์ ดารงตาแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรี ยนตั้ง แต่ วัน ที่ 27 ธันวาคม 2554 เป็นต้นมา

ข้อมูลบุคลากรและนักเรียน ในปีการศึกษา 2554 มีบุคลากร จานวน 28 คน ชาย จานวน 15 คน หญิง จานวน 13 คน มีนักเรียนทั้งสิ้น 257 คน นักเรียนชาย 110 คน นักเรียนหญิง จานวน 147 คน มี ห้องเรียนทั้งสิ้น 9 ห้องเรียน ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 12


หลักสูตรที่เปิดสอน 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ถึง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 2. หลักสูตรอิสลามศึกษาแบบเข้ม 1.หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนต้น ( อิบตีดาอียะห์ ) 2.หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนกลาง ( มูตาวาซิเฏาะห์ ) 3.หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวียะห์ )

สรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียน ( SWOT Analysis ) ผลการประเมิน สถานภาพของโรงเรี ยนโรงเรี ยนเฉลิ มพระเกียรติกรมหลวงนราธิ วาสราช นครินทร์ บางปอประชารักษ์ ได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกที่ 4 ด้าน และสภาพแวดล้อมภายใน 6 ด้าน ดังนี้คือ ด้านสังคมและวัฒนธรรมพบว่าชุมชนแวดล้อมโรงเรียนมีความผูกพันกับวัฒนธรรม และประเพณีของศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ ปฏิบัติตามหลักศาสนาอย่างเคร่งครัด ส่งเสริมให้ นักเรียนมีพฤติกรรมที่ดี ชุมชนมีความสมัครสมาน สามัคคี สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนได้ ประกอบกับโรงเรียนตั้งอยู่จุดศูนย์กลางของชุมชนทาให้ การเดินทางมีความสะดวกชุมชนบางส่วนเห็น ความสาคัญของการศึกษาสายสามัญและศาสนาจึงส่งบุตรหลานมาเรียนเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามปัญหา การแพร่ระบาดของยาเสพติด ผู้ปกครองหย่าร้างหรือไปทางานต่างถิ่นทาให้เด็กต้องอาศัยอยู่กับผู้อื่น ขาดการดู แ ลที่ดี ทาให้เ ยาวชนส่ วนหนึ่งมี คุณ ภาพชีวิตที่ไ ม่ ดีจนเสี ยโอกาสทางการศึกษาไป ด้า น เทคโนโลยีพบว่าประชาชนรู้ข่าวสารและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน ในชุมชนมีแหล่งบริการอินเทอร์เน็ต ในการศึกษาค้น คว้า ทาให้ เ ป็น สะดวกในการสืบค้น ข้ อมูลของนัก เรี ยนแต่ก็ยัง ไม่เ พีย งพอต่ อความ ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 13


ต้องการทาให้นักเรียนขาดโอกาสในการศึกษาเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง เทคโนโลยีบางประเภทถูก นามาใช้ในทางที่ไม่เหมาะสม ทาให้นักเรียน ได้รับแบบอย่างที่ไม่ดีนอกจากนี้ ในชุมชนมีแหล่งบริการ ร้านอินเทอร์เน็ต ทาให้เป็นแหล่งมั่วสุมและยังพบว่านักเรียนขาดจิตสานึกที่ดีใช้สื่อเทคโนโลยี ด้าน เศรษฐกิจ พบว่าชุมชนที่มีรายได้ดีและเห็นความสาคัญของการศึกษาส่งเสริมสนับสนุนการเรียนของ ลูกหลานเรียนจบชั้นสูงขณะเดียวกันแรงงานบางส่วนไปประกอบอาชีพต่างถิ่นทาให้บุตรหลานขาดการ ดูแลประกอบกับมีรายได้น้อย มีผลต่อการเรียนของนักเรียนด้านการเมืองและกฎหมาย พบว่าการ ดาเนินนโยบายเรียนฟรี 15 ปีของรัฐบาล ทุนภูมิทายาท และทุนการศึกษาขององค์การบริหารส่วน ตาบลทาให้ผู้ปกครอง ส่งบุตรหลานมาเรียนมากขึ้นเนื่องจาก สามารถลดภาระของผู้ปกครองลง และ ชุมชนในพื้นที่ มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน อย่างไรก็ตามนโยบายเรียนฟรี และการด าเนิน การทุน ภูมิทายาทล่า ช้า ทาให้นักเรี ยนสามารถเลือกที่เ รี ยนได้หลายแห่ง ส่งผลให้ นักเรียนที่เรียนดีเลือกเรียนต่อในสถานศึกษาอื่น นอกจากนี้โรงเรียนยังได้รับผลกระทบจากความ ขัดแย้งทางการเมืองทาให้โรงเรียนขาดการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ส่ ว นการวิ เ คราะห์ ส ภาพแวดล้ อ มภายใน ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การจั ด การเรี ย นการสอนของ โรงเรียน คือ ด้านโครงสร้างและนโยบาย โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหาร การมอบหมายงานที่ชัดเจน ส่งผลต่อการดาเนินงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นระบบ จุดอ่อนพบว่าโรงเรียนมีบุคลากร ไม่เพียงพอ บุคลากรบางส่วนขาดความชานาญในการปฏิบัติงานทาให้การดาเนินงานบางอย่างขาด ประสิทธิภาพ ด้านผลผลิตและบริการ พบว่าโรงเรียนจัดบริการด้านต่างๆเช่นอาหารกลางวัน ดูแล สุขภาพอนามัยนักเรียน รถรับ-ส่งนักเรียน บริการ ICT ให้กับหน่วยงานในชุมชนติดตามดูแลนักเรียน ที่มีปัญหา บริการอาคารสถานที่แก่ชุมชนในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทาให้ชุมชนได้รับความพึงพอใจใน บริการของโรงเรียนระดับหนึ่ง ส่วนจุดอ่อนพบว่าโรงเรียนมีห้องเรียนและห้องปฏิบัติการไม่เพียงพอกับ จานวนนักเรียน สภาพของห้องเรียนบางห้องไม่เอื้อต่อการเรียนรู้มีผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน กา ร รับ -ส่งนักเรี ยนไม่ทั่วถึง ทาให้นักเรี ยนบางส่วนต้องเดิน ทางมาโรงเรี ยนด้วยรถมอเตอร์ไ ซค์ ด้า น บุคลากร พบว่าบุคลากรมีความรู้ความสามารถมีความสามัคคี มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษา ให้ความ ร่วมมือในการแก้ปัญหานักเรียนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน ด้านจุดอ่อนพบว่าโรงเรียนอยู่ในพื้นที่ เสี่ยงภัยส่งผลให้การปฏิบัติ งานขาดประสิทธิ ภ าพ ด้า นการเงิน และบัญชี พบว่า ระบบการบริ หาร งบประมาณของโรงเรียนมีความสะดวกและรวดเร็ว เป็นไปด้วยความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ ส่งผลให้การดาเนินงานของโรงเรียนมีความคล่องตัวสูง ส่วนจุดอ่อนพบว่าโรงเรียนได้ รับ การจัดสรร งบประมาณจากต้นสังกัดไม่เพียงพอ ไม่สามารถจัดเก็บเงินค่าธรรมเนียมต่างๆ ได้ เป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาการศึกษา ด้านวัสดุอุปกรณ์อาคารสถานที่ โรงเรียนมีปัจจัยพื้นฐานด้านวัสดุอุปกรณ์ครุภัณฑ์สิ่ง อานวยความสะดวก มีสื่อเทคโนโลยีสาหรับใช้ในการเรียนการสอน แต่ยังไม่เพียงพอต่อจานวนนักเรียน สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษายังไม่หลากหลาย การจัดการข้อมูลสารสนเทศยังไม่เป็นระบบ ทาให้การศึกษาค้นคว้าไม่สะดวก ด้านการบริหารจัดการและการจัดการบริหารการศึกษา พบว่า โรงเรียนมีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานทุกคนมีส่วนร่วม นาแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 14


มาใช้ใ นการจั ด การเรี ยนรู้ มี การนิเ ทศติ ดผลการดาเนิ น งานอย่ า งต่อเนื่อง ส่ งผลให้ก ารทางานมี ประสิทธิภาพ

สรุปผลการวิเคราะห์สถานภาพของโรงเรียน สภาพโดยรวมของสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรี ยนการสอนของ โรงเรียน พบว่ามีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นอุปสรรคมากกว่าโอกาส ส่วนสภาพแวดล้อม ภายในที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน พบว่ามีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในเป็น จุดแข็งมากกว่าจุดอ่อนดังนั้นพอจะสรุปได้ว่าสถานภาพของ โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติกรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ อยู่ในสถานภาพ Cash cow หรือ วัวแม่ลูกอ่อน หมายความว่า สภาพแวดล้อมภายนอกเป็นอุปสรรค ไม่เอื้อ แต่สภาพภายในเป็นจุดเด่น เอื้อต่อการ พัฒนา ซึ่งต้องรักษาความสามารถภายในไว้ พร้อมที่จะก้าวหน้าต่อไป เมื่อโอกาสมาถึง* จากข้อมูลข้างต้น ตาบลบางปอมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท ถึงแม้ว่า จะมีระยะทางจากตัว อาเภอเมืองนราธิวาสเพียงแค่ 15 กิโลเมตร ชุมชนมีรายได้ค่อนข้างต่าเนื่องจากผลผลิตที่ผลิ ตได้มี ตลาดรองรั บน้อย ขาดความรู้ ค วามเข้า ใจในการผลิต จาหน่า ยได้ก็มีร าคาต่า ต้น ทุน การผลิตสู ง นอกจากนี้ยังมีปัญหาการว่างงาน ตลาดแรงงานมีน้อย ปัญหาการย้ายถิ่นของแรงงาน ทาให้ เด็ก ๆ มักจะ ได้รับการเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย จนกลายเป็นปัญหาและภาระของสังคม เยาวชนส่วน หนึ่งที่มีฐานะยากจน ต้องละทิ้งการศึกษาหลังจากจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เนื่องจากต้องช่วยเหลือ ผู้ปกครองประกอบอาชีพเลี้ยงครอบครัว ปัญหาคุณภาพชีวิต และปัญหาความไม่ปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน ด้านการศึกษาพบว่าชุมชนตาบลบางปอมีปัญหาการส่งเสริมการศึกษาระดับสูงยังมีน้อย ทา ให้ขาดทักษะการเรียนรู้ข่าวสารข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม ทุกปีน้าจะท่วมที่อยู่อาศัย และเรือกสวนไร่นา บางแห่ ง มี น้ าท่ ว มขั ง ท าให้ สิ่ ง แวดล้ อ มเสี ย ปั ญ หาขยะมู ล ฝอย ปั ญ หาที่ ดิ น รกร้ า งว่ า งเปล่ า จาเป็นต้องมีระบบการระบายน้า และการกาจัดขยะที่ถูก สุขลักษณะ ปัญหาเหล่านี้ยังคงเป็นอุปสรรค สาคัญในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของชุมชน ส่วนจุดแข็งของชุมชนนั้น เนื่องจากเป็นชุมชนชนบท ประชากรใช้ชีวิตที่เรียบง่าย รักความสงบ ทั้งสองศาสนิกมีความสัมพันธ์แน่นแฟ้น ไปมาหาสู่ตาม วาระและโอกาส ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาอย่างเคร่งครัด จึงพอจะมี “ช่องทาง” ที่เอื้อต่อการพัฒนา ชุมชนแห่งนี้ให้เจริญก้าวหน้าต่อไป จากสภาพของชุมชนและสถานภาพของโรงเรียน กรรมการได้ร่วมกัน วิเคราะห์และสรุปแนว ทางการดาเนิน โครงการว่า ควรจะสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน จึงได้ ร่วมกันกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ โดยมี บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง องค์กร หน่วยงาน ตลอดจนประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วม ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานของโครงการซึ่งเป็น การเตรียม “ต้นกล้าทางสังคม”แก่ชุมชน อีกทางหนึ่ง *ข้อมูลจาก แผนกลยุทธโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์บางปอประชา รักษ์. 2553 ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 15


บทที่ 2 สาระสาคัญของโครงการ 1.หลักการและเหตุผล สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ( สสส. ) เป็นหน่วยงานที่มีวิสัยทัศน์สาคัญ ในการสร้า งเสริ มสุขภาพด้า นร่ า งกาย จิต สังคมและสติปัญญาเพื่อให้ค นไทยเป็น บุค คลที่สมบูร ณ์ เพียบพร้อม และดารงชีวิตได้อย่างมีความสุขทั้งนี้ได้มอบหมายให้อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และคณะด าเนิน การศึกษาทางเลือกที่เ หมาะสมกับสุขภาวะคนไทยโดยมีประเด็น สาคัญของระบบ การศึกษาคือการสร้างความเข้มแข็งที่ฐานรากที่จาเป็นต้องเข้ามามีส่วนในการจัดการศึกษาโดยให้ ความสาคัญกับครอบครัวชุมชน ท้องถิ่น สถาบันศาสนา เอกชนและองค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และองค์กรอื่นของประชาชน มีการสร้างชุมชนให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ไม่ว่าจะเป็นการจัด การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการจัดการศึกษาเพื่อสุ ขภาวะ คนไทยด้วยการมีส่วนร่วมและบูรณาการทรัพยากรในท้องถิ่นร่วมกันโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ทั้งการร่วม คิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมดาเนินการ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมแก้ปัญหา และร่วมชื่นชม เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขเต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๘ (๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มาตรา ๙ (๕) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา (๖) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์ กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สังคมอื่น ๆ และจากการวิเคราะห์สถานภาพสถานศึกษา (SWOT) พบว่าโรงเรียนมีปัจจัยภายในเป็นจุดแข็งแต่ปัจจัยภายนอกเป็นอุปสรรค(ไม่เอื้อ ) ต้องเร่งพัฒนาการจัด การศึกษาโดยพยายามให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 2.วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการมีความผูกพันและชื่นชมในชุมชนของตนเอง 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ร่วมโครงการมีทักษะและสืบทอดอาชีพของชุมชน 3.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการมีสุขภาพกาย ใจที่ดี 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ร่วมโครงการเป็นคนดี มีคุณธรรม 5.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมในด้านอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3.เป้าหมาย เชิงปริมาณ 1.นักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ บางปอประชารักษ์ จานวน 257 คน 2.บุคลากรของโรงเรียนจานวน 27 คน 3.ชุมชนในตาบลบางปอ จานวน 11 หมู่บ้าน ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 16


เชิงคุณภาพ 1.ผู้ร่วมโครงการมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง 2.ผู้ร่วมโครงการมีทักษะและเห็นความสาคัญของอาชีพในชุมชน 3.ผู้ร่วมโครงการรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพกาย ใจของตนเองได้อย่างถูกวิธี 4.ผู้ร่วมโครงการเห็นความสาคัญของการปฏิบัติตามหลักศาสนา 5.ผู้ร่วมโครงการมีความตระหนักถึงปัญหาและการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม 4.ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 70 มีความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง 2.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 70 มีทักษะทางอาชีพของชุมชน 3.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีการออกกาลังกายเป็นกิจนิสัย 4.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 90 ปฏิบัติตามหลักศาสนาด้วยความพึงพอใจ 5.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 65 ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมของชุมชน 5. ขั้นตอนและวิธีการดาเนินโครงการ 5.1 ประชุมคณะกรรมการเพื่อกาหนดกรอบการดาเนินงานของโครงการ 5.2 สารวจและวิเคราะห์ชุมชน เพื่อค้นหาความต้องการของชุมชนในด้านต่าง ๆ 5.3 รับสมัครคณะทางานและคณะทางานของแต่ละกิจกรรมประชุมวางแผนการดาเนินงาน 5.4 ดาเนินกิจกรรมของโครงการตามตารางการดาเนินงาน 5.5 ติดตามการดาเนินงานของคณะทางานแต่ละกิจกรรม 5.6 ประเมินผล และเผยแพร่ผลงาน 6. ผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ 1.ผู้ร่วมโครงการมีความชื่นชมและภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง 2.ผู้ร่วมโครงการมีทักษะและสืบทอดอาชีพของชุมชน 3.ผู้ร่วมโครงการมีสุขภาพกาย ใจที่ดี 4.ผู้ร่วมโครงการเป็นคนดี มีคุณธรรม 5.ผู้ร่วมโครงการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมในด้านอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้ร่วมโครงการมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเองและเผยแพร่สู่สังคม 2.ผู้ร่วมโครงการเห็นความสาคัญและมีความคิดริเริ่มในการพัฒนาอาชีพในชุมชน 3.ผู้ร่วมโครงการรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพกาย ใจของตนเองได้อย่างถูกวิธี และสามารถ ถ่ายทอดวิธีการดูแลสุขภาพให้แก่สมาชิกในครอบครัว ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 17


4.ผู้ร่วมโครงการเห็นความสาคัญของหลักศาสนาและสามารถนาไปปฏิบัติอย่างถูกต้องและ เคร่งครัด 5.ผู้ร่วมโครงการรู้วิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและนาไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 18


บทที่ 3 กระบวนการดาเนินโครงการ 1. ขั้นตอนดาเนินโครงการ 1. ประชุมคณะทางานเพื่อกาหนดกรอบการดาเนินงานของโครงการ 2. สารวจและวิเคราะห์ชุมชน เพื่อค้นหาความต้องการของชุมชนในด้านต่าง ๆ 3. รับสมัครนักเรียนเพื่อเป็นคณะกรรมการชองแต่ละกิจกรรม 4. ดาเนินกิจกรรมของโครงการตามตารางการดาเนินงาน 5. ติดตามการดาเนินงานของคณะทางานแต่ละกิจกรรม 6. ประเมินผล และเผยแพร่ผลงาน 2. วิธีการดาเนินโครงการ

ที่ ขอบเขต

ชื่อกิจกรรม

1. ด้านชุมชน

กิจกรรมที่ 1 “แลหลัง” 1.1 เรียนรู้ประวัติ ชุมชน 1.2 ทัศนศึกษาแหล่ง เรียนรู้ทาง ประวัติศาสตร์ กิจกรรมที่ 2 “ฝึกฝนอาชีพ” 2.1 เศรษฐกิจ พอเพียง

2. ด้าน การศึกษา เพื่ออาชีพ

หลักสูตร -การศึกษาประวัติศาสตร์ -ประวัติตาบลบางปอ

-มารยาทในการทัศนศึกษา -ความรู้เกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ -แหล่งเรียนรู้ในชุมชน -การปลูกยางพารา -การติดตายางพารา -การทายางชั้นดี -การทาปุ๋ยชีวภาพ -การเพาะเห็ด -การปลูกพืชเศรษฐกิจ (กล้วย) 2.2 กลุ่มสนใจอาหาร -ความหมายอาหารพื้นเมือง พื้นเมือง -การเก็บผักกูด

กิจกรรมการเรียนรู้ -สัมภาษณ์ผู้อาวุโสในชุมชน -ศึกษาแหล่งเรียนรู้ -สรุปบทเรียน -บรรยาย -ศึกษาแหล่งเรียนรู้ -สรุปบทเรียน -อบรมเชิงปฏิบัติการ -อบรมเชิงปฏิบัติการ -อบรมเชิงปฏิบัติการ -อบรมเชิงปฏิบัติการ -ศึกษาแหล่งเรียนรู้ค่ายจุฬาภรณ์ -ปฏิบัติ -บรรยาย -ศึกษาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและ

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 19


-การทายาผักกูด

นักเรียนเก็บผักกูด -ประกวดยาผักกูด 2.3 กลุ่มสนใจ -ความหมายผลิตภัณฑ์ -บรรยาย ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ท้องถิ่น -บรรยาย -ประเภทผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น -ศึกษาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและ -การปักผ้าคลุมศีรษะสตรี ปฏิบัติ 3. ด้านสุขภาพ กิจกรรมที่ 3 -กติ ก าและมารยาทในการ -บรรยาย “สุขกาย-สบายใจ” แข่งขันกีฬา 3.1 กีฬาสัมพันธ์ -เทคนิคในการเล่นกีฬา -สาธิต -การบริหารร่างกาย -สาธิตและปฏิบัติ 3.2 กีฬาอาวุโส -ความสาคัญของการออก -บรรยาย กาลังกายสาหรับผู้สูงอายุ -วิธีการออกกาลังกายสาหรับ -สาธิตและปฏิบัติ ผู้อาวุโส 3.3 กีฬาพื้นบ้าน -ความเป็นมาของซีละ -บรรยาย -วิธีการแสดงซีละ -สาธิตและปฏิบัติ 3.4 เสริมสร้างความ -อนามัยส่วนบุคคล -บรรยาย เข้มแข็งทางจิตใจ -ปัญหาสุขภาพจิต -บรรยาย -วิธีการเสริมสร้างสุขภาพจิต -ประชุมอบรม 4. ด้านศาสนา กิจกรรมที่ 4 -ความหมายและความสาคัญ -บรรยาย “เยาวชนรักษ์ ของคุณธรรม ศาสนา” -การฝึกฝนคุณธรรม -สาธิตและปฏิบัติ 4.2 คุณธรรมสัญจร -มารยาทในการพบผู้อาวุโส -มารยาทในการเดินทาง -มารยาทในการพานักใน มัสยิด -มารยาทในการรับประทาน อาหาร 4.3 มัจลิสคอตัมอัลกุ -ความหมายและความสาคัญ -บรรยาย รอาน ของการคอตัมอัล กุรอาน -หลักการอ่านอัลกุรอาน -สาธิตและฝึกอ่าน -หลักการออกเสียงอักขระ ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 20


5. ด้าน กิจกรรมที่ 5 สิ่งแวดล้อม “ชุมชนสีเขียว” 5.1 ค่ายอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม

-ความหมายและความสาคัญ -บรรยาย ของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม -ศึกษาระบบนิเวศน์ -การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม -ศึกษาแหล่งเรียนรู้ -ปฏิบัติ

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 21


บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงการ 1.ประชุมคณะกรรมการเพื่อกาหนดกรอบการดาเนินงานของโครงการ ประชุมคณะทางานโครงการเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2554 ณ ห้องประชุมโรงเรียน เฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ เพื่อกาหนดแนวทางการดาเนิน โครงการ

2.สารวจและวิเคราะห์ชุมชน เพื่อค้นหาปัญหาและความต้องการของชุมชน ประชุมคณะทางาน ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 ณ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ โดยได้เชิญ บุคลากร ตัวแทนผู้ปกครอง ผู้นา ศาสนา ตัวแทนเยาวชน ตัวแทนกลุ่มแม่บ้าน ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา ความต้องการของชุมชนและได้ กาหนดขอบเขต เป้าหมาย ของโครงการ เป็น 4 ด้าน คือด้านชุมชน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสุขภาพ ด้านอาชีพ ด้านศาสนา หลังจากนั้นได้ร่วมกันวิเคราะห์กิจกรรมย่อยของแต่ละด้าน ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ผลการดาเนินงาน ผู้เข้าร่วมประชุมมีส่วนร่วมในการคิดค้นกิจกรรมของโครงการ เช่นด้านชุมชน ได้แก่การศึกษาประวัติชุมชน (ชื่อบางปอ บ้านยารอ บ้านโคกตีเต บ้านโคกสุมุ บ้านตะโละแน็ง บ้านทุ่ง โต๊ ะ ดั ง บ้ า นจื อ งา บ้ า นแคนา บ้ า นท านบ บ้า นไม้งาม บ้ า นตะโละแน็ง อามาน และบ้า นตะเจ๊ ะ ) การศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนจากโบราณสถานในชุมชนใกล้เคียง ด้านสิ่งแวดล้อม (ชุมชนสีเขียว) ด้าน สุขภาพ ประกอบด้วยสุขภาพกายแยกเป็นกิจกรรมสาหรับเยาวชน คือกีฬาสัมพันธ์ กีฬาพื้นเมือง สาหรับ ผู้สูงอายุคือกีฬาอาวุโส สาหรับบุคลากรและนักเรี ยนทุกคนคือกิจกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง จิตใจ ด้านอาชีพประกอบด้วยกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมอาหารพื้นเมือง กิจกรรมผลิตภัณฑ์ ท้องถิ่น ด้านศาสนาประกอบด้วยกิจกรรมคุณธรรมสัญจร กิจกรรม มัจลิสคอตัมอัลกุรอาน การดาเนินงานข้างต้นมีค วามยุ่งยากอยู่บ้างเนื่ องจากเป็น การเป็นการวิเคราะห์ปัญหาของ ชุมชน ผู้เข้าร่วมประชุมไม่ค่อยมีส่วนร่วมอย่างเป็นธรรมชาติในช่วงแรก อย่างไรก็ตามหลังจากเวลา ผ่านไประยะหนึ่งกิจกรรมก็ดาเนินไปด้วยดี ในการจัดกิจกรรมลักษณะอย่างนี้ควรเน้นการจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมเกิดความ สนิทสนมก่อนในระยะแรก

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 22


3.รับสมัครคณะทางานและคณะทางานของแต่ละกิจกรรมประชุมวางแผนการดาเนินงาน ประชุมปฏิบัติการ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2554 กาหนดบุคลากรที่รับผิดชอบกิจกรรม ได้ชี้แจง การจัดทารายละเอียด การจัดทาหลักสูตรของกิจกรรม หลังจากนั้นบุคลากรได้ จัดทารายละเอียดของ กิจกรรม วางแผนการดาเนินงาน และจัดทาหลักสูตรของกิจกรรมย่อยทุกกิจกรรม ช่วงบ่ า ยได้ ประชุ มนักเรี ยนชี้ แ จงรายละเอียดโครงการ บริ บ ทของโรงเรี ยน รายละเอีย ดของ กิจกรรมแต่ละกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนพิจารณาตัดสินใจเลือกเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการด้วยความสมัคร ใจ โดยกาหนดให้นักเรียนเข้ากิจกรรมได้กิจกรรมละ 5 คน นักเรียนสมัครเข้าร่วมกิจกรรมทันที 43 คน และสมัครในวันถัดมา 27 คน รวม 60 คน ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ได้หลักสูตรสาหรับจัดกิจกรรมย่อย 12 ฉบับ รายละเอียดของกิจกรรมย่อย จานวน 12 ฉบับ บุคลากรมีความรู้ ทักษะการจัดทารายละเอียดกิจกรรมและการสร้างหลักสูตร บุคลากรผู้รับผิดชอบ โครงการเกิดความเข้าใจตระหนักถึงความสาคัญของผู้เรียนเพราะผู้เรียนจะตัดสินใจเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ขึ้ น อยู่ กั บ ความสนใจของนั ก เรี ย นเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง นั ก เรี ย นที่ ตั ด สิ น ใจไม่ ไ ด้ ทราบว่ า ได้ ก ลั บ ไปปรึ ก ษา ผู้ปกครองแล้วมาสมัครในวันถัดมา จากการกาหนดจานวนนักเรียนที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ๆ ละ 5 คน ภายหลังทราบว่ามีนักเรียนที่มี ความประสงค์จะร่วมโครงการอีกหลายคนที่เสียโอกาสไป ข้อเสนอแนะ เห็นด้วยกับคณะตรวจเยี่ยมที่ได้เสนอแนะว่าทุกกิจกรรมควรให้นักเรียนเข้าร่วมให้มากที่สุด

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 23


4. ดาเนินกิจกรรมของโครงการตามตารางการดาเนินงาน 1. กิจกรรมแลหลัง 1.1 เรียนรู้ประวัติชุมชน ประชุมนักเรียน/ปฐมนิเทศ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2554 ปฐมนิเทศนักเรียนที่ร่วมโครงการ จานวน 60 คน ได้แจ้งภารกิจของกิจกรรมรวมทั้งบทบาทของครู นักเรียน และได้เน้นกิจกรรมแลหลัง เป็นกิจกรรมแรกเนื่องจากกิจกรรมนี้ ครู นักเรียนต้องพบปะกับบุคคลในหลายสถานะจึงต้องมีสัมมา คารวะ การใช้ ค าพู ด ตลอดจนมารยาทที่ดี ง ามที่ พึง ปฏิบั ติ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ สึ กที่ ดี ร ะหว่า งผู้ร่ ว ม กิจกรรมกับชุมชน จัดประชุมตัวแทนหมู่บ้านในตาบลบางปอ 28 กรกฎาคม 2554 เพื่อชี้แจงการดาเนินการของ กิจกรรมเรียนรู้ประวัติชุมชน โดยได้เชิญตัวแทนชุมชนจาก 11 หมู่บ้านร่วมพบปะกับบุคลากรและ นักเรียนที่รับผิดชอบกิจกรรมเพื่อ ค้นหาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนแต่ละหมู่บ้าน หลังจากนั้นได้นัดแนะ ตัวแทนชุมชนเพื่อไปศึกษาประวัติของแต่ละหมู่บ้าน สัมภาษณ์ผู้อาวุโสในชุมชน เมื่อวันที่ 15-17 กันยายน 2554 สัมภาษณ์ผู้อาวุโสในชุมชน จานวน 10 คน เพื่อสืบค้นประวัติของตาบลบางปอ และหมู่บ้านต่าง ๆ โดยครูและนักเรียน ที่ รับผิดชอบกิจกรรมเรียนรู้ประวัติชุมชน ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ทราบแหล่งเรียนรู้เรื่องประวัติของตาบลและหมู่บ้านทาให้นักเรียนเกิดความตระหนัก มีความมั่นใจ ในการปฏิบัติตนขณะพบปะกับชุมชนเพื่อศึกษาเกี่ยวกับประวัติของชุมชน หลังจากที่ได้สัมภาษณ์ชุมชน แล้วนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมเกิดทักษะในการพบปะชุมชนดีขึ้น โดยเฉพาะ “บางปอ”ซึ่งเข้าใจว่ายังมีชาว บางปออีกส่วนใหญ่ ที่ยังไม่ทราบที่มาของชื่อนี้ จึงเกิดความภาคภูมิใจในตนเองที่ได้ทราบเรื่องนี้จากแหล่ง เรียนรู้ด้วยตนเองและยังได้รับคาแนะนาจากผู้อาวุโสเรื่องการใกล้ชิดสนิทสนมกับผู้อาวุโส ในครอบครัว ชุมชนเพราะจะช่วยหล่อหลอมให้นักเรียนเป็นคนดี มีสัมมาคารวะ

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 24


พบว่านักเรียนบางคนยังขาดทักษะในการพบปะชุมชน ต้องให้นักเรียนได้ปฏิบัติและครูต้องให้ กาลังใจแก่นักเรียนจนเกิดความมั่นใจ

1.2 ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน สารวจความต้องการศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนของนักเรียนเมื่อวันที่ 18 กันยายน2554 โดย ครูได้ออกแบบสารวจให้นักเรียนเลือกรายการที่ต้องการ ผลปรากฏว่า โบราณสถานมัสยิดตะโละมา เนาะถูกเลือกมากเป็นอันดับแรก จึงได้ร่วมกันกาหนด วันที่ 31 มกราคม 2555 เป็นวันเดินทาง ศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ณ มัสยิดตะโละมาเนาะ ตาบลลูโบ๊ะสาวอ อาเภอบาเจาะ จังหวัด นราธิวาส นักเรียนศึกษาประวัติความเป็นมาของมัสยิดที่มีอายุ 300 ปีจากการบรรยายของวิทยากร ประจามัสยิด ศึกษาจากป้ายประวัติของมัสยิด และศึกษาศิลปการก่อสร้างสมัยก่อนผ่านร่องรอยการ ออกแบบมัสยิด รูปทรง ลวดลายแกะสลักตามฝาผนัง ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการศึกษาและเห็นคุณค่าศิลปวัฒนธรรมของชุมชน ปัญหา ความจากัดของเวลาทาให้ไม่มีโอกาสได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้อีกหลายแห่งที่นักเรียนมีความประสงค์จะไป ค้นหาความรู้ ในการจัดทาโครงการต่อไปควรจัดให้นักเรียนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้เหล่านี้หลาย ๆแห่ง

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 25


2. กิจกรรมฝึกฝนอาชีพ 2.1 เศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 21-22 มิถุนายน 2554 จัดอบรมเรื่องการปลูกยางพารา การสร้างแปลงกิ่งตา อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการทายางแผ่นชั้นดี การทายางก้อนถ้วย การทาปุ๋ยชีวภาพ การติดตายาง โดยมีบุคลากรจากสานักงานกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยางอาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส จานวน 4 คน จากศูนย์ทดลองยางโคกปริเม็ง จานวน 2 คน ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ผู้เ ข้ า ร่ ว มอบรมมี ค วามรู้ เ รื่ อ งการปลู กยางพารา การสร้ า งแปลงกิ่ง ตามี ค วามรู้ แ ละทั กษะ เบื้องต้นเรื่องการทายางแผ่นชั้นดี การทายางก้อนถ้วย การทาปุ๋ยชีวภาพ การติดตายาง แต่อย่างไรก็ ตามยังต้องมีการฝึกทักษะต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความชานาญต่อไป นอกจากนี้ผู้เข้ารับการอบรมยังเกิด ความตระหนักถึงโอกาสและรายได้ที่สูญเสียไปของชุมชนเนื่องจากการผลิตยางในชุมชนยังมีคุณภาพไม่ ดี ทาให้มรี าคาต่า บางเรื่องนักเรียนสามารถนาไปปฏิบัติได้แต่บางเรื่องยังเป็นเรื่องยากเกินไปสาหรับนักเรียน ควรจัด กิจกรรมที่นักเรียนสามารถปฏิบัติด็โดยง่าย ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2554 ณ ค่ายจุฬาภรณ์ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส มีนักเรียนร่วมกิจกรรมจานวน 30 คน นักเรียนมีความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง หลังจากกลับจากศึกษาดูงานผู้รับผิดชอบกิจกรรมได้ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนักเรียนร่วมกันทากิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง การปลูกกล้วยใน บริเวณโรงเรียน จานวน 30 ต้น

2.2 กลุ่มสนใจอาหารพื้นเมือง สืบหาภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องการทายาผักกูด วันที่ 9 ตุลาคม 2554 นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม 41 คนจานวน 14 คน ได้ไปสืบหาแหล่งเรียนรู้เรื่องการทายาผักกูดที่มีชื่อเสียงในหมู่บ้านของตนเอง และได้ศึกษาวิธีการ เคล็ดลับในการทายาผักกูด แก่นักเรียน แหล่งเรียนรู้เหล่านี้พร้อมที่ให้ความร่วมมือ กับโรงเรียน ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 26


เรียนรู้การเก็บผักกูด วันที่ 13 ตุลาคม 2554 นักเรียน 41 คน ภูมิปัญญาท้องถิ่น 6 คน บุคลากร 5 คนนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมได้ฟังการบรรยายเรื่องการเก็บยอดผักกูดจากภูมิปัญญา ท้องถิ่นเป็นเวลา 1 ชัว่ โมงได้เรียนรู้วิธีการเก็บยอดผักกูดและเก็บยอดผักกูดจากป่าด้วยตนเอง จัดกิจกรรมแข่งขันทายาผักกูด วันที่ 14 ตุลาคม 2554 บุคลากร 8 คน นักเรียน 41 คน ภูมิปัญญาท้องถิ่น 14 คน แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม แล้วดาเนินการแข่งขันจนเสร็จ สิ้น มอบเกียรติบัตร และเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมมีทักษะการเก็บยอดผักกูด ยอมรับว่า เหนื่อย ลาบากแต่ก็สนุกดี ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นเห็นด้วยกับกิจกรรมอย่างนี้เพราะอย่างน้อยนักเรียนจะได้รู้จักความ ยากลาบากนักเรียน ที่ร่วมกิจกรรมมีทักษะในการทายาผักกูดดีขึ้นทั้งรสชาติ และการตกแต่ง ผู้เข้าแข่งขันขอให้จัดกิจกรรม นี้อีกภูมิปัญญาท้องถิ่นเห็นว่ากิจกรรมนี้มีประโยชน์น่าจะให้นักเรียนร่วมกิจกรรมมาก ๆจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับกิจกรรม 1 ครั้งนักเรียนมีทักษะการนาเสนอและได้รับความรู้ด้านต่าง ๆ และ บุคลากรมีความมุ่งมั่นในการ จัดกิจกรรมมากขึ้น ปัญ หาการเดิ น ทางไปเก็บ ผัก กูด ในพื้น ที่อ าเภอระแงะซึ่ งเป็น แหล่ง ผัก กูด มี ค วามเสี่ ยงต่ อ อันตราย แต่ได้อาศัยการประสานงานกับคนในพื้นที่เป็นอย่างดี สามารถดาเนินกิจกรรมจนสาเร็จลุล่วง หลังจากการทากิจกรรมแล้วได้เสวนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรากฏว่านักเรียนให้ความร่วมมือ อย่างดี บรรยากาศสนุกสนานและได้สรุปบทเรียนไปในตัว

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 27


2.3 กลุ่มสนใจผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ศึกษาแหล่งเรียนรู้การทาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น วันที่ 13 ตุลาคม 2554 นักเรียน 5 คนภูมิปัญญา ท้องถิ่น 2 คน บุคลากร 2 คน ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมได้นานักเรียนที่ร่วมกิจกรรมผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ( การปักลายบนผ้าคลุม ผมสตรีมุสลิม ) ณ บ้านกูแบบองอ และนักเรียนได้ฝึกการปักลายบนผ้าคลุมผมสตรีมุสลิม จนเกิด ทักษะแล้วได้กลับมาปฏิบัติที่โรงเรียน ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข นักเรียนมีความรู้และทักษะการปักลายบนผ้าคลุมสตรีจากแหล่งเรียนรู้ โดยได้สาธิตวิธีการเย็บ ผ้าคลุมผมสตรี นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการและได้เริ่มทาในขั้นตอนง่าย ๆ นักเรียนมีความสนใจที่จะนาไปประกอบอาชีพเพื่อหารายได้

3. กิจกรรมสุขกาย สบายใจ 3.1 กีฬาสัมพันธ์ หลังจากได้สารวจความสนใจของนักเรียนแล้วได้ประสานงานกับโรงเรียนสุกัญศาสน์วิทยา ซึ่ง เป็นโรงเรียนเอกชนสอนานาอิสลาม และดาเนินการแข่งขันฟุตบอลสาหรับนักเรียนชาย และแข่งขัน วอลเล่ย์บอล สาหรับนักเรียนหญิง เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข นักเรียนมีความสนใจในการร่วมกิจกรรมกีฬา ได้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักเรียนทั้งสอง โรงเรียน นอกจากนี้บุคลากรทั้ง 2 โรงเรียนได้มีความสนิทสนมอีกด้วยปัญหาของการดาเนินการ กิจกรรมนี้คือการติดต่อประสานงานและการกาหนดวัน เวลาแข่งขัน เนื่องโรงเรีย นไม่มีช่วงเวลาที่ว่าง ตรงกัน ทาให้การดาเนินการล่าช้า แนวทางแก้ไข ควรประสานงานล่วงหน้าให้เนิ่น ๆ

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 28


3.2 กีฬาอาวุโส วันที่ 29 กรกฎาคม 2554 จัดแข่งขันกีฬาอาวุโส (ฟุตบอล)ระหว่างทีมผู้นาท้องถิ่นตาบล บางปอกับทีมบุคลากรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 39 อาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ณ สนาม ฟุตบอลโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ ผู้นาท้องถิ่น 15 คน บุคลากรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 39 จานวน 13 คน บุคลากร โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ 4 คน นักเรียน 6 คน หลังจากแข่งขันในครึ่งเวลา แรกแล้ ว ได้ พั ก และพบปะพู ด คุ ยเรื่ อ งการรั ก ษาสุ ข ภาพส าหรั บ ผู้อ าวุ โ สเพื่ อ ให้ มี สุ ข ภาพแข็ ง แรง ปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บ ผลการดาเนินงาน ปัญหา และแนวทางแก้ไข เกิดสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างบุคลากรของโรงเรียน ผู้นาชุมชน และบุคลากรของโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ 39 ปัญหาก็คือ จัดกิจกรรมเวลา 16.30 น. เป็นเวลาเย็นมาก จึงทาให้ชุมชน มาร่วมชมการแข่งขันน้อย แนวทางแก้ไข ควรจัดกิจกรรมให้เร็วกว่านี้ เพราะชุมชนและผู้สนใจทั่วไป จะมาร่วมชมการแข่งขันมากขึ้น

3.3 กีฬาพื้นบ้าน วันที่ 5 ตุลาคม 2554 สารวจความสนใจในประเภทกีฬา การละเล่นพื้นบ้าน นักเรียนได้แสดง ความสนใจ ศิลปะการป้องกันตนเอง “ซีละ” โรงเรียนได้เชิญ นายมะเย็ง เจ๊ะแว ภูมิปัญญาท้องถิ่นมา ฝึกสอนการซีละแก่นักเรียน จัดกิจกรรมซีละ เมื่อ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 นักเรียน ที่ฝึก การซี ละ ได้แ สดงศิลปะการป้องกัน ตัว ซีละ ต่อหน้า ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน บุคลากร นักเรี ยน ผู้ปกครอง 250 คน ผู้นาชุมชน 25 คน ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 29


ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ผู้ปกครองมีความสนใจในกิจกรรมนี้เป็นอย่างยิ่ง นักเรียนมีทักษะการซีละ ซึ่งสามารถใช้เป็น ศิลปะการป้องกันตัวได้ในยามคับขัน เป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นอีกด้วย ไม่มีนักเรียน ผู้หญิงสมัครเรียนซีละ หากเป็นไปได้ควรจัดกิจกรรมอย่างนี้ให้กับนักเรียนทุคน การซีละถ้าจะให้มี ความชานาญควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

3.4 เสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ 3.4.1 จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องภาวะทางจิต วันที่ 17 สิงหาคม 2554 บุคลากรจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบางปอ 2 คน นักเรียน 257 คน บุคลากรของโรงเรียนเฉลิมพระ เกียรติฯ 10 คน ให้ความรู้แก่นักเรียนโดยการบรรยาย และทาแบบทดสอบเพื่อสารวจสภาพการคม อารมณ์ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.4.2 ต้อนรับการมาเยี่ยมศึกษาโครงการของศูนย์ประสานงานวิชาการเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (ศวชต. ม.นร.) เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2554 บุคลากรจาก ศวชต.ม.นร. 2 คน ได้พบปะกับบุคลากรและ นักเรียนของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติในเรื่องการปฏิบัติตนในภาวะตึงเครียด และการเยียวยาสาหรับ นักเรียนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบ ให้โรงเรียนคัดเลือกนักเรียนที่เข้าหลักเกณฑ์เพื่อจะมอบ ทุนการศึกษา โรงเรียนได้คัดเลือก ดญ.ฮาซีมี วาจิ ชั้น ม. 2 รับทุน 3.4.3 จัดกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด 15 กุมภาพันธ์ 2555 นักเรียนชายจานวน 75 คน โดยมี บุคลากรจากชมรมบัณฑิตอาสาเพี่อป้องกันปัญหายาเสพติดจังหวัดชายแดนใต้ จานวน 10 คน ให้ ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด ประเภทของยาเสพติด ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากยาเสพติด วาระสุดท้าย ของผู้ เ สพยาเสพติ ด โดยการบรรยายและน าเสนอทางสื่ อมั ล ติมิ เ ดีย สุ ดท้ า ยได้ ใ ห้ นัก เรี ย นเขี ย น ความรู้สึกที่มีต่อยาเสพติด 3.4.4 จัดกิจกรรม “อบรมจริยธรรมสาหรับมุสลีมะห์ ” 15 กุมภาพันธ์ 2555 นักเรียนหญิง จานวน 190 คนวิทยากรจากโรงเรียนสมานมิตรวิทยา อาเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จานวน 2 คน ได้อบรมจริยธรรมสาหรับมุสลีมะห์ ( ผู้หญิง ) ในด้านต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนหญิงรู้จักมารยาทปฏิบัติที่ ดีงาม

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 30


ผลการดาเนินงาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้วิธีการกาจัดความเครียดของตนเอง รู้สึกสงสารและเห็นใจ ผู้ที่ประสบปัญหาต่ า ง ๆ ทาอย่า งไรให้ทุกคนไม่กังวล หรื อหวาดระแวงนักเรี ยนที่ไ ด้รั บผลกระทบจาก เหตุการณ์ความไม่สงบเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด บุคลากรและนักเรียนเข้าใจกระบวนการ ดูแลสุขภาพจิตของตนอง จาการเยี่ยมชมโครงการของ ศูนย์ประสานงานวิชาการเพื่อเยียวยาผู้ได้รับ ผลกระทบจากเหตุความไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้ คาดว่าจะได้รับความช่วยเหลือด้านวิชาการแก่นักเรียน บุค ลากรได้ รั บผลกระทบ ศูน ย์ ฯ ได้ เ ชิญบุ ค ลากรของโรงเรี ย นร่ ว มสังเกตการณ์ ป ระชุ มปฏิ บั ติการถอด บทเรียนในวันที่ 15 ตุลาคม 2554 ณ หอประชุมบรมราชกุมารี สานักงานคณะกรรมการอิสลามประจา จังหวัดนราธิวาส นักเรียนส่วนใหญ่มีความตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด และได้ร่วมแสดงออกถึงการ เกลียดชังยาเสพติด นักเรียนหญิงเห็นความสาคัญของการปฏิบัติตนเป็นคนดี มีจริ ยธรรมที่งดงาม สมกับ เป็นมุสลีมะห์ (กุลสตรี ) เพื่อเป็นแบบอย่างแก่ชุมชนและสังคมโดยส่วนรวม อุปสรรค เวลาสาหรับการจัดกิจกรรมอบรมต่อต้ายภัยของยาเสพติดไม่เพียงพอ ในการจัด กิจกรรมต่อไป ควรเน้นการติดตามการปฏิบัติตนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อให้เกิดผลอย่างยั่งยืน

4. เยาวชนรักษ์ศาสนา 4.1 กิจกรรมคุณธรรมสัญจร นานักเรียนฝึกฝนคุณธรรม จัดเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2554 ณ มัสยิดบ้านจูดแดง ตาบล มะนังตายอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส มีนักเรียนเข้าร่วมจานวน 23 คน บุคลากรของโรงเรียน จานวน 6 คน โดยได้เชิญอีมาม (ผู้นาศาสนา) ประจามัสยิดและผู้รู้ทางศาสนาในชุมชน จานวน 5 คน เป็นวิทยากร ให้ความรู้ภาคทฤษฎี แล้วครูผู้ควบคุมได้จัดกิจกรรมด้านการปฏิบัติ ในเรื่องมารยาท การเดินทาง มารยาทพานักในมัสยิด มารยาทในการพบปะผู้ใหญ่ มารยาทในการเยี่ยมเยียนชุมชน มารยาทในการต้อนรับ มายาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการนอน มารยาทต่อบิดามารดา มารยาทในการใช้ห้องน้า นักเรียนทุกคนช่วยกันเตรียมอาหาร แล้วเชิญผู้อาวุโสในหมู่บ้า นมาร่วม รับประทานอาหารพร้อมกัน ช่วงค่าร่วมปฏิบัติศาสนกิจร่วมกับชุมชน รุ่งเช้าก่อนเดินทางกลับนักเรียน ได้ร่วมกันทาความสะอาดในมัสยิดและบริเวณรอบ ๆจากนั้น ได้เชิญอีมาม ประจามัสยิดให้โอวาทแก่ นักเรียน ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 31


จากกิจกรรมข้างต้นทาให้นักเรียนเกิดความสานึกในความผิดที่ตนเองกระทาที่ผ่านมา รู้ว่าตนเอง ยังอ่อนแอในด้านการปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ยังต้องเรียนรู้และฝึกฝนมารยาทต่าง ๆ อีกมาก ยังด้อย ในการปฏิบัติตนเป็นลูก “กตัญญู” ต่อบิดามารดา จากการที่นักเรียนช่วยกันประกอบอาหารเอง การ ให้บริการแก่ชุมชนผู้มาร่วมกิจกรรมทาให้นักเรียนรู้จักความอดทน เนื่องจากเป็นช่วงเดือนรอมฎอน ซึ่งทุก คนก็ถือศีลอด ผู้ปกครองชุมชนต้องการให้จัดกิจกรรมอย่างนี้ต่อไปเพราะเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่จะนาเยาวชน ที่กาลังออกห่างจากผู้ใหญ่ให้กลับมาใกล้ชิด และพร้อมจะปฏิบัติตามคาแนะนา ตักเตือนของผู้ใหญ่ ช่วย เสริมสร้างชุมชนให้เกิดความสงบสุขได้ อุปสรรคของกิจกรรมนี้ คือการตรงต่อเวลาของนักเรียน เวลาในการจัดกิจกรรม 1 วัน ไม่ เพียงพอ ในการจัดโอกาสหน้า ควรกาหนดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเวลาและให้ความสาคัญกับการตรงต่อ เวลา

4.2 กิจกรรมมัจลิสคอตัมอัลกุรอาน (พิธีจบการอ่านอัลกุรอาน) พบปะกับผู้นาศาสนา เมื่อวันที่ 20-21 สิงหาคม 2554 ได้นานักเรียน จานวน 7 คน ที่ร่วม กิจกรรมไปพบปะผู้นาศาสนาบ้านโคกสุมุ บ้านกูแบบองอ บ้านยารอ เพื่อปรึกษาหารือเรื่องการจัด กิจกรรมคอตัมอัล-กุรอาน จัดกิจกรรมมัจลิคอตัมอัล-กุรอาน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2555 นักเรียนเข้าพิธีคอตัมอัล-กุ รอาน จานวน 21 คน โรงเรียนได้เชิญ ผู้ปกครองจานวน 250 คน ผู้นาศาสนาจานวน 35 คน ผู้นาชุมชน 22 คนผู้บริหาร บุคลากรโรงเรียนประถมศึกษาจานวน 18 คนบุคลากรจานวน 28 คน ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 32


ผู้บริหาร บุคลากรโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จานวน 8 คน ภู มิ ปั ญ ญา ท้ อ งถิ่ น ด้ า น วิชาการอ่านอัล-กุรอาน 6 คน รวมทั้งสิ้น 409 คน มาเป็นสักขีพยาน พิธีเริ่มต้นด้วยตัวแทนครู สอนอัล-กุรอาน อ่านนาแล้วผู้เข้าพิธีคอตัมอัล -กุรอาน อ่านตามจนเสร็จสิ้น หลังจากนั้นจะเป็นการ มอบเกียรติบัตรแก่ผู้ผ่านการคอตัมอัล -กุรอานซึ่งเป็นสิ่งบ่งบอกว่าเป็นคนที่อ่านอัล -กุรอานได้ถูกต้อง เป็นที่ชื่นชมและนับถือในชุมชนและสังคม ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข กิจ กรรมคอตั ม อั ล -กุ ร อาน ได้ รั บ ค าแนะน าจากผู้น าศาสนาว่ า ควรจั ด ทาให้ค รอบคลุม ทุ ก หมู่บ้าน เพื่อ ให้มีคนมาเป็นสักขีพยานจานวนมาก นักเรียนที่เข้าร่วมพิธีคอตัมอัล -กุรอาน มีความ มั่น ใจในการอ่ า นอัล -กุร อาน ผู้ ปกครองมีค วามภาคภูมิ ใ จในบุต รหลานที่ เ ข้ า ร่ วมพิธี ชุม ชนเห็ น ความสาคัญในการจัดเรียนการสอนอัลกุรอานและมีความคาดหวังว่าชุมชนจะส่งเสริมให้บุตรหลาน เรียนอัลกุรอานมากยิ่งขึ้น อุปสรรค สถานที่จัดกิจกรรมคับแคบ ทาให้การจัดกิจกรรมไม่สะดวก ผู้เข้าร่วมพิธีน้อย แนวทางแก้ไข ควรประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบโดยทั่วถึงเพื่อให้มีผู้เข้าร่วมพิธีมากขึ้น

5. กิจกรรมชุมชนสีเขียว ด้านสิ่งแวดล้อม ชุมชนยังเข้าใจเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องไกลตัว มีผลกระทบน้อย ไม่ให้ ความสาคัญไม่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม กิจกรรมชุมชนสีเขียว ช่วยเสริมสร้างความตระหนักถึงผลกระทบ ที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมต่อตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติ โดยจัดค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแล้วให้ นักเรียนจัดทากิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 5.1 ค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สารวจแหล่งเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม วันที่ 22 กันยายน 2554 บุคลากร จานวน 5 คน นักเรียน จานวน 257 คนสารวจความสนใจเพื่อจัดกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นักเรียนส่วนใหญ่ เลือกอุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 33


ศึกษาแหล่งเรียนรู้อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง 31 มกราคม 2554 บุคลากร จานวน 4 คนนักเรียน จานวน 30 คน ศึกษาเรื่องสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์ จากวิทยากรของ อุทยาน ผลการดาเนินงาน อุปสรรค และแนวทางแก้ไข นักเรี ยนได้ รั บความรู้ ด้ า นสิ่ง แวดล้อมและการอนุรั ก ษ์ และได้ร่ วมจัดกิจ กรรมการอนุรั ก ษ์ สิ่งแวดล้อมบริเวณอุทยาน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนที่โรงเรียนและจัดกิจกรรมลอกบึงในบริเวณ โรงเรียนเป็นการปรับภูมิทัศน์ของโรงเรียนเพื่อใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ อุปสรรค ไม่สามารปฏิบัติกิจกรรมที่อุทยานได้เต็มที่เนื่องจากฝนตก

5. ติดตามการดาเนินงานของคณะทางานแต่ละกิจกรรม 5.1 ระดับกิจกรรม ติดตามเรื่องการสัมภาษณ์ชุมชน การพบปะผู้อาวุโส มารยาทในการศึกษา นอกสถานที่ มารยาทในที่ป ระชุ ม ขั้น ตอนการเสวนา การวางแผนปฏิ บัติงาน การมีส่ว นร่ ว ม ขั้นตอนการคอตัมอัล-กุรอาน โดยวิธีการประชุมพบปะและปรึกษาหารือ ทาให้ผู้ร่วมกิจกรรมย่อยของ โครงการ(นักเรียนและเยาวชน) มีความรู้ในหัวข้อที่นิเทศ 5.2 ระดับโครงการ ติดตามการเขียนรายละเอียดกิจกรรม การเขียนหลักสูตร การจัดทา โครงการ การนาเสนอผลงาน การคัดเลือกทีมงาน การสร้างความมั่นใจ การประชาสัมพันธ์กิจกรรม โดย วิธีการประชุมปรึกษาหารือ เสวนาโต๊ะกลมทาให้ผู้รับผิดชอบกิจกรรมย่อย มีความมั่นใจในการดาเนิน กิจกรรมของโครงการ 5.3 ระดับสานักงานเขตพื้นที่ ติดตามเรื่องการวางขอบเขตของโครงการ การจัดทาแผนงาน การออกแบบกิจกรรม การเขียนหลักสูตร การวิจัย การประเมินผล การประชาสัมพันธ์โครงการ การ ถอดบทเรียน โดยวิธีการประชุม ชี้แจงด้วยเอกสาร เช่นหนังสือราชการ โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต ผู้รั บผิด ชอบโครงการมอง มีแ นวทางการดาเนินโครงการและทราบความเคลื่อนไหวของโครงการ ตลอดเวลา ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 34


5.4 ระดั บ องค์ ก รภู มิ ภ าค ติ ด ตามเรื่ อ ง การพิ จ ารณาโครงการ การจั ด ส่ ง รายงาน ความก้าวหน้า การพิจารณาโครงการเพิ่มเติม การขยายเครือข่าย โดยวิธีการ ประชุมปฏิบัติการ โทรศัพท์ ทาให้โรงเรียนมีแนวทางในการจัดโครงการและการรายงานความก้าวหน้าของโครงการ 5.5 ระดับองค์กรส่วนกลาง การตรวจเยี่ยมโครงการ การจัดส่งรายงานความก้าวหน้า การ ประชาสัมพันธ์โครงการ การจัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด ระดับประเทศ โดยวิธีการตรวจ เยี่ยม ชี้แจงด้วยเอกสาร โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต โรงเรียนมีแนวทางในการจัดกิจกรรมการรายงาน ความก้าวหน้าของโครงการและได้รับประสบการณ์จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปใช้ในการพัฒนางาน ต่อไป

6. ประเมินผล ถอดบทเรียน และเผยแพร่ผลงาน 6.1 ประเมินการจัดกิจกรรม โดยผู้รับผิดชอบกิจกรรมย่อยซึ่งประเมินทุกครั้งหลังจากเสร็จสิ้น กิจกรรม 6.2 ประเมินภาพรวมของโครงการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการของโรงเรียนเป็นระยะ และรายงาน ผู้บริหารทราบ 6.3 เผยแพร่ผลงาน โดยการ ประกาศหน้าเสาธงแก่นักเรียน ชี้แจงในที่ประชุมบุคลากร ผู้ปกครอง นักเรียน เผยแพร่ผ่านเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผ่านอินเตอร์เน็ต (เว็บไซต์ You tube ) 6.4 การถอดบทเรียน โรงเรียนได้ดาเนินการถอดบทเรียนของโรงเรียน เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2555 โดยได้มอบหมายให้กิจกรรมหลัก 5 กิจกรรม ดาเนินการถอดภายในกิจกรรมก่อน และดาเนินการ ถอดระดับโครงการอีกครั้ง

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 35


ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 36


บทที่ 5 สรุปบทเรียนที่ได้จากการดาเนินโครงการ โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทยของ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ นับเป็นนวัตกรรมทาง การศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นการจัดการศึกษาเพื่อให้เกิดสันติในชุมชน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมใน กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการจากชุมชน เป็นพื้นฐานสาหรับการจัดการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ โดยเริ่ม สร้างความสานึกในคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา ประสบการณ์ที่สั่งสมอยู่ในชุมชน กับนักเรียน เยาวชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน จากการศึกษาการมีส่วนร่วมระหว่าง บุคลากร นักเรียน ชุมชน ในการวางแผน ตัดสินใจ ดาเนินการ การติดตามแก้ไขปัญหา การชื่นชมต่อผลงานร่วมกัน เป็น แนวทางหนึ่งที่สามารถสร้างความเห็นอกเห็นใจ ความเอื้ออาทร มีความคิดว่าปัญหาของชุมชนคือ ปัญหาของทุกคน มิใช่ปัญหาของคนใดคนหนึ่ง จึงเป็นการรับผิดชอบร่วมกันในการเสริมสร้างชุมชน ให้เกิดสันติสุข จากการดาเนินการของโครงการด้า นชุมชนซึ่งได้จัด แลหลังเป็นกระบวนการในการศึกษา ชุมชนในด้านประวัติศาสตร์ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี เสมือนเป็นการรู้จักตัวเราเองก่อนที่จะศึกษา เรื่องราวของคนอื่น หรือเป็นการศึกษาจากสิ่งใกล้ตัวก่อนแล้วจึงศึกษาสิ่งไกลตัว การศึกษาประวัติ ความเป็นมาของชุมชนโดยการออกไปสัมภาษณ์ผู้อาวุโสในชุมชน ผู้ปฏิบัติงาน ทั้งครู และนักเรียน ได้ ใกล้ชิดกับผู้อาวุโสแล้วเกิดความอบอุ่นใจในความมีน้าใจ ไมตรี ซึ่งนอกจากจะให้ความรู้แล้วผู้อาวุโส ท่านก็ยังให้ข้อคิดต่ าง ๆ แก่ คณะที่มาสัมภาษณ์ ซึ่งเป็น คาสอนที่มีค่ายิ่งที่จะช่วยให้เ ยาวชนมีค วาม ใกล้ชิดสนิทสนมกับผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นเบ้าหลอมจิตใจ ความคิดของเยาวชนให้เกิดสานึกดีต่อตนเอง สังคม ด้านการศึกษาเพื่ออาชีพ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสนใจอาหารพื้นเมือง กลุ่มสนใจ ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เป็นการสร้างเจตคติที่ดี และทักษะ ของอาชีพสุจริตแก่นักเรียน จากการที่นักเรียน ได้เดินทางไปหาผักกูดจากแหล่งในป่าด้วยตนเอง การศึกษาสูตรการทายาผักกูดที่อร่อยที่สุดในชุมชน โดยนักเรี ยนเป็ น คนสืบค้ น ตามหมู่บ้า นต่า ง ๆ การปฏิบั ติการปัก ลายบนผ้า คลุมผมสตรี มุ สลิมของ นักเรียนกลุ่มสนใจผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น จนสามารถนาไปแสดงในกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับ จังหวัด ทาให้เกิดความภาคภูมิใจในผลงานที่ตนได้ผลิตขึ้นมา ด้านเศรษฐกิจพอเพียงนักเรียนได้ความรู้หลาย อย่างแต่เสียดายที่ไม่สามารถนามาปฏิบัติไ ด้ทุก ๆ อย่างเนื่องมีเวลาจากัดมาก ทาให้สามารถทาได้คือ การปลูกกล้วยนักเรียนได้ไปหาพันธุ์กล้วย และดาเนินการทุกอย่างด้วยตนเอง นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการ ทางาน การมีคุณธรรมในการทางาน การมุ่งมั่นในอาชีพสุจริต สุขกายสบายใจ ทั้ง 4 กิจกรรม เป็นกิกรรมเสริมสร้างสุขภาพ (กาย/ใจ) เพื่อให้นักเรียน บุคลากร ผู้นาชุมชน และเครือข่ายต่าง ๆ ในชุมชน มีส่วนร่วมในการสร้างชุมชนที่มีสุขภาพดี ห่าง ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 37


จากโรคภัยไข้เจ็ บ ผ่า นการเล่นกีฬา ฟุตบอล วอลเล่ย์บอล ด้า นจิตใจมีกิจกรรมเสริมสร้ างความ เข้มแข็งทางจิตใจ ผ่านกิจกรรมการพัฒนากระบวนการคิด โดยวิทยากรจากชมรมบัณฑิตอาสาเพี่อ ป้องกันปัญหายาเสพติดจังหวัดชายแดนใต้ และโครงการของศูนย์ประสานงานวิชาการเพื่อช่วยเหลือผู้ ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ( ศวชต.ม.นร.) เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตใจที่เข้มแข็ง มีจิตใจที่มั่นคง ไม่คล้อยตามสภาพแวดล้อมรอบด้าน เยาวชนรักษ์ศาสนา มีกิจกรรมคุณธรรมสัญจร เน้นการพัฒนาตนของผู้เรียนโดยการจัดกลุ่ม นักเรียนแล้ว ออกไปปฏิบัติธรรมในมัสยิด ในชุมชนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้คุณธรรมผ่านการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ทรงคุณธรรมในชุมชน กิจกรรมมัจลิสคอตัมอัล-กุรอาน ( การประสิทธิ์ ประสาทความรู้เรื่องการอ่านอัล-กุรอาน ) เป็นกิจกรรมที่สร้างความปลาบปลื้มปีติแก่ผู้ปกครองที่ ลูกหลานสามารถผ่านพิธีนี้ เป็นการสร้างภูมิความรู้แก่เยาวชนให้ตั้งมั่นอยู่ในหลักศาสนา ชุมชนสีเขียว เป็นกิจกรรมที่ร้างความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมโดยผ่านกระบวนการจัด กิจกรรมของวิทยากรจากอุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง นักเรียนเกดความตระหนักต่อ สิ่งแวดล้อมและได้ร่วมกันจัดกิจกรรมด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คือการแบ่งโซนทาความสะอาด บริเวณโรงเรียน การลอกต้นไมยราพในบึงข้างอาคารละหมาดของโรงเรียน เป็นต้น

เครือข่ายการดาเนินการ ระดับโรงเรียน 1.เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

ระดับตาบล 2.องค์การบริหารส่วนตาบลบางปอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 3.ตัวแทนชุมชน 11 หมู่บ้าน อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 4.ผู้นาชุมชนตาบลบางปอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 5.ชมรมแม่บ้านตาบลบางปอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 6.ชมรมอีมามตาบลบางปอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 7.โรงเรียนประถมศึกษาในตาบลบางปอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

ระดับอาเภอ 8.โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามฯ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 9.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบางปอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 10.สานักงานกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยาง อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

ระดับจังหวัด 11.โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๙ อาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส 12.อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 38


13.ศูนย์ประสานงานวิชาการเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ จังหวัดชายแดนใต้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (ศว.ชต.ม.นร.) อาเภอเมือง จังหวัด นราธิวาส 14.ค่ายจุฬาภรณ์ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 15.มัสยิดตะโละมาเนาะ อาเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส 16.ชมรมบัณฑิตอาสาเพี่อป้องกันปัญหายาเสพติดจังหวัดชายแดนใต้อาเภอเมืองจังหวัด สงชลา

ปัจจัยความสาเร็จ อุปสรรคการเรียนรู้/การดาเนินโครงการ ข้อเสนอแนะ 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน ตั้งแต่เริ่มโครงการโรงเรียนได้ออกแบบการมีส่วนร่วมในแต่ละ ขั้นตอนเพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการอย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา ชมรมแม่บ้าน ฯลฯ เป็นการพัฒนาการจัดการศึกษาอีกขั้นหนึ่ง 2. ความร่วมมือของนักเรียน นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมของโครงการมีส่วนอย่างมากในการ ช่วยเหลือการดาเนินงานในขั้นตอนต่าง ๆ ของครู จนได้ดาเนินกิจกรรมของโครงการสาเร็จลุล่วงทุก กิจกรรม 3. การขยายเครือข่ายขององค์กร โรงเรียนได้สร้างเครือข่ายการดาเนินโครงการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ มีทั้งองค์กรเดิมที่เคยปฏิบัติงานด้วยกัน และองค์กรใหม่ ๆ ที่เพิ่งเป็น เครือข่าย เครือข่ายเหล่านี้มีส่วนในการช่วยให้กิจกรรมต่าง ๆ มีความเข้มข้น ท้าทาย ช่วยให้นักเรียนมี ความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรม 4.ความมุ่งมั่น ตั้งใจ ของบุคลากร บุคลากรที่รับผิดชอบกิจกรรมมีภาระหลายอย่าง มีเวลาในการ ดาเนินกิจกรรมน้อย แต่ก็ได้ปฏิบัติงานตามโครงการอย่างทุ่มเท เสียสละ จนสามารถดาเนินกิจกรรมได้อย่าง สมบูรณ์

อุปสรรคการดาเนินโครงการ 1. การทาความเข้าใจเป้าหมายของโครงการ เนื่องจากเป็นโครงการที่มุ่งให้ชุมชนมีส่วนร่ วม จึงเป็นปัญหาสาหรับองค์กร ที่จะนาชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนแก้ปัญหา ดาเนินการ และ การประเมินผล - โรงเรียนได้ใช้วิธีการเข้าหาชุมชนทีละองค์กร โดยให้ผู้รับผิดชอบกิจกรรมร่วมกับนักเรียนเข้า ไปหาชุมชนและทาความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการ จนชุมชนยอมรับและร่วมมือกับโรงเรียน 2. บุคลากรมีภาระงานมากไม่มีเวลาที่จะทุ่มเทให้กับกิจกรรมของโครงการ - ใช้ ค าบประชุมบุ ค ลากรในการชี้ แ จงรายละเอียดของโครงการ และได้ ข อเวลาจากทาง โรงเรียนจัดประชุมผู้รับผิดชอบกิจกรรม และจัดกิจกรรมในวันหยุด ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 39


3. การดาเนินการตามปฏิทิน เนื่องจากองค์กรในชุมชน มีกิจกรรมในเวลาเดียวกัน ทาให้ ไม่สามารถจัดกิจกรรมตามปฏิทินที่วางไว้ได้ - เลื่อนเวลาการจัดกิจกรรมออกไปและจัดในเวลาที่เหมาะสม 4. นักเรียนมีเวลาในการร่วมกิจกรรมน้อย เนื่องจากโรงเรียนเปิดสอนหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานและหลักสูตรอิสลามศึกษา ทาให้นักเรียนต้องใช้เวลาในการเรียนมากขึ้น - นักเรียนทากิจกรรมในวันหยุด

ข้อเสนอแนะในการดาเนินโครงการต่อไป โครงการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์ในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย ของโรงเรียนเฉลิม พระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ ได้จัดขึ้นเพื่อจุดประกายให้นักเรียนมี ความสัมพันธ์กับชุมชน มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีสุขภาพดี ยึดมั่นศาสนา และการรับผิ ดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมร่วมกัน ซึ่งเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิด สันติสุข ในพื้นที่ ดังนั้นเพื่อให้เกิดขยายเครือข่ายของ โครงการจึงควรขยายโครงการนี้ให้ทั่วถึงและครอบคลุมทุกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนประถมศึกษา ชุมชน นอกจากนี้ควรประชาสัมพันธ์ ทางสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ เพื่อให้สังคมได้รั บรู้อย่า ง กว้างขวาง และเพื่อให้กิจกรรมที่ได้ดาเนินการไปแล้วเกิดความยั่งยืนควรให้มีการดาเนินการในรูปแบบ ต่ า ง ๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยให้ ชุ ม ชนมี ส่ วนร่ ว มในทุ กกระบวนการเพื่ อ พัฒ นาการด าเนิ น งานของ โครงการต่อไป

บทความ การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม.........แนวทางสู่สันติ นิรัตน์ นราฤทธิพันธ์*** เจ๊ะบาฮารูดีน หะยีเจ๊ะยิ** มานิตร เจ๊ะแว* หลักการในการจัดการศึกษาของชาติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ2) พ.ศ. 2545 รวมทั้งนโยบายด้าน การศึกษาของรัฐบาลที่ได้แถลงต่อรัฐสภา โดยหลักการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็ นสังคม แห่งการเรี ยนรู้ โอกาสความเท่า เทียมทางการศึกษา พัฒนาได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต อันเป็น เงื่อนไขไปสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้สู่อาชีพอย่างยั่งยืน ในการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพ ชีวิตและสังคมบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญา คุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรม วิถีชีวิต และอัต ลักษณ์ มุ่งสร้างพื้นฐานความพร้อมที่ดีให้กับเด็ก ปลูกฝังความเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและสังคม ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 40


และพัฒนาศักยภาพความรู้ ทักษะ กระบวนการในการมีอาชีพโดยให้สังคมทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษาได้ตรงตามความต้องการของผู้เรียน กระบวนการพัฒนาชีวิต และสังคม เป็นปั จจัย สาคัญในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน และสามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ สภาพ สังคมปัจจุบันในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จะมีจุดอ่อนของสถานการณ์ความไม่สงบใน พื้นที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง โรงเรียนเป็นเป้าหมายหนึ่งของความเสี่ ยงที่จะก่อให้เกิดสถานการณ์ความรุ นแรง จึงทาให้ขวัญและกาลังใจของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ขาดความเชื่อมั่นทาให้คนเก่งคนดีต้อง เดินทางออกจากสังคม ทั้งนั้นโอกาสและคุณภาพทางการศึกษาจึง ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน สาหรับจุด แข็งของพื้นที่คือสภาพพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ ในน้ามีปลา ในนามีข้าว สังคมเกษตรกรรม ความ สมบูรณ์ตามธรรมชาติ และความสวยงามของสถานที่ท่องเที่ยว โบราณสถาน โบราณวัตถุ ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น ความหลากหลายของภูมิปัญญาท้องถิ่น เอื้อต่อการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ ความ เป็นอยู่ ควบคู่กับการการศึกษาที่มีพื้น ที่ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ศักยภาพทางธุรกิจที่จะสร้า ง ผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล ไปเผยแพร่จาหน่ายในภูมิภาคอาเซียน ตะวันออกกลางสามารถที่จะสร้าง อาชีพ และรายได้ให้กับคนในพื้นที่ได้อย่างดียิ่ง โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย คือ การจัดการศึกษาโดยโรงเรียนเป็นฐานของการเรียนรู้โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน แหล่งเรี ยนรู้ ใ นท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น รั กชุมชนตามวัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อของสังคม นามาเป็นองค์ประกอบของการพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน *** ผู้อานวยการโรงเรียน ** ครูชานาญการ * ครูชานาญการ

การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่นาเอา ทรัพยากรต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อกิจกรรมการเรียนรู้มาดาเนินการจัดการศึกษา ร่วมกันเพื่อให้ผู้เรียน ได้ สั มผั สกั บบรรยากาศการเรี ย นรู้ ที่ เ ป็ น สภาพจริ ง เป็ น กั น เอง ตรงตามธรรมชาติ ของผู้ เ รี ยนและ สิ่ งแวดล้อมรอบๆตั ว อัน จะทาให้ผู้เ รี ยนมีค วามต้ องการ มีการค้น หาความรู้ ด้วยตนเอง มีค วาม พยายามในสิ่งที่ตนสนใจ มีการสนับสนุนด้านต่างๆจากบุคคลรอบด้าน ได้รับรู้เรื่องราวใกล้ตัว ชุมชน ท้องถิ่นรู้จักการวางตัวในที่สาธารณะในโอกาสต่างๆมีความชื่นชมกับผลงาน ตลอดจนมีความตระหนัก ความเอื้ออาทร ความรักในกลุ่มเพื่อน ชุมชน สังคม ประเทศชาติ นอกจากนี้ยังทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ลักษณะของชุมชน ท้องถิ่น เป็นการศึกษาเพื่อสังคม เพื่อชีวิต และเพื่อสร้างความเข้าใจแก่ผู้เรียนและ ยังเป็นการฝึกการมีคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามเพื่อเตรียมตัวสู่สังคมในอนาคตอีกด้วย ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 41


โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติ กรมหลวงนราธิ วาสราชนคริ น ทร์ บางปอประชารั กษ์ไ ด้เ ข้า ร่ ว ม โครงการนาร่องฯ ปีการศึกษา 2554 หลังจากที่ได้รับหลั กการของโครงการได้ปรึกษาหารือกับทีมงาน ภายในโรงเรียน กรรมการสถานศึกษา และตัวแทนชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดและรับฟังความคิดเห็น ได้ออกแบบสารวจเพื่อสารวจสภาพจริงที่ประสบอยู่ของนักเรียน ในประเด็นอะไรบ้างที่ทาให้นักเรียนมี ความสุข อะไรบ้างที่ทาให้นักเรียนมีความทุกข์ ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่ได้ตอบว่า สิ่งที่ทาให้นักเรียนมีความสุขที่โรงเรียนคือ การอยู่ร่วมกันกับเพื่อนได้ สิ่งที่ทาให้นักเรียนมีความทุกข์ คือ การนินทากัน ส่วนที่บ้าน สิ่งที่ทาให้มีความสุข คือ การอยู่ร่วมกับครอบครัว สิ่งที่ทาให้มีความทุกข์ คือ การทะเลาะเบาะแว้งกัน เมื่อถามว่าทาอย่างไรจึงจะเกิดความสุข นักเรียนตอบว่า การได้อยู่พร้อมหน้า พร้อมตากัน และทากิจกรรมร่วมกัน จากบทสรุปที่ได้รับ ได้ประมวลผลกับความคิดเห็น ของทุกคน ร่วมกันแล้ว จึงได้วางแนวทางการดาเนินการโครงการด้านชุมชน ด้านอาชีพ ด้า นสุขภาพ ด้านศาสนา และด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งสอดคลองกับทฤษฎีการมีส่วนร่วม โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทยของ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ มีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมที่ 1 แลหลัง 1.1 การเรียนรู้ประวัติชุมชน 1.2 ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ กิจกรรมที่ 2 ฝึกฝนอาชีพ (การศึกษาเพื่ออาชีพ) 2.1 การเรียนรู้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 จัดกลุ่มสนใจอาหารพื้นเมือง 2.3 จัดกลุ่มสนใจผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น กิจกรรมที่ 3 สุขกาย –สบายใจ 3.1 กีฬาสัมพันธ์ 3.2 กีฬาอาวุโส 3.3 กีฬาพื้นบ้าน 3.4 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ กิจกรรมที่ 4 เยาวชนรักษ์ศาสนา 4.1 คุณธรรมสัญจร 4.2 มัจลิสคอตัมอัลกุรอาน กิจกรรมที่ 5 ชุมชนสีเขียว 5.1 ค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ขั้นตอนการดาเนินงาน 1 ) ประชุมคณะกรรมการเพื่อกาหนดกรอบการดาเนินงานของโครงการ 2 ) สารวจและวิเคราะห์ชุมชน เพื่อค้นหาความต้องการของชุมชนในด้านต่าง ๆ ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 42


3 ) รับสมัครคณะทางานและคณะทางานของแต่ละกิจกรรมประชุมวางแผนการดาเนินงาน 4 ) ดาเนินกิจกรรมของโครงการตามตารางการดาเนินงาน 5 ) ติดตามการดาเนินงานของคณะทางานแต่ละกิจกรรม 6 ) ประเมินผล และเผยแพร่ผลงาน โรงเรี ยนได้ แ ต่ งตั้ งกรรมการรั บผิด ชอบโครงการขึ้น มาเพื่อ รั บ ผิดชอบโครงการ โดยได้ยึ ด แนวทางตามที่ ไ ด้ รั บข้ อเสนอแนะจากชุ มชน บุ ค ลากร และนั กเรี ยน การชี้ แ จงรายละเอี ยดของ โครงการแก่ผู้เข้าร่วมประชุมใช้เ วลาและความอดทน และต้องอธิ บายอย่างละเอียดมากเพราะเป็น โครงการใหม่ ซึ่งยังไม่คุ้นเคย ที่ประชุมได้วางขอบเขตของโครงการกว้าง ๆ ดังนี้ ด้านชุมชน จากการสัมผัสกับชุมชนเป็นระยะเวลา 30 ปี ผู้เขียนได้พบเห็นกับสภาพความ เป็นอยู่ของชาวชุมชนบางปอพอสมควร เนื่องจากฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดี ผู้ปกครองต้องแบกภาระ เลี้ยงดูครอบครัวจึงมักจะไม่ค่อยมีเวลาให้กับลูกๆ เวลาส่วนหนึ่งหมดไปกับการประกอบอาชีพหาเลี้ยง ครอบครัว ไม่ค่อยมีเวลาได้อยู่กันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตา ทาให้ช่องว่างระหว่างบิดามารดากับลูกที่ ห่า งอยู่แ ล้ว ยิ่งห่ า งขึ้น อี ก ความสัมพั น ธ์ ที่เ คยเป็น ไปอย่ า งแนบแน่ น ระหว่ า งสมาชิกในชุ มชนก็ไ ม่ เหมือนเดิม เพราะไม่ค่อยมีเวลาได้พบปะกัน เมื่อเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบขึ้นตั้งแต่ปี 2547 ความ หวาดระแวงได้เข้ามาอยู่ในความรู้สึกของสมาชิกชุมชนแต่ละคน ความปลอดภัยเป็นสิ่งแรกที่ทุคนต้อง ค านึ ง ถึ ง ไม่ ว่ า จะท าอะไร จะไปไหน ต าบลบางปอนั้ น ทางราชการได้ ก าหนดให้ เ ป็ น พื้ น ที่ สี แ ดง เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบบ่อยครั้ง หลายครั้งที่เหตุการณ์เกิดขึ้ นผู้เสียชีวิตมิใช่คนในพื้นที่ ไม่เกี่ยวข้องกับชาวบางปอ ดูเหมือนว่าบางปอจะถูกเลือกเป็น “ทาเลที่เหมาะสมในการปฏิบัติการ” นอกจากปัจจัยข้างต้นแล้ว การรุกคืบของขบวนการค้ายาเสพติดก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ซ้าเติมปัญหาแก่ ชุมชน เยาวชนส่วนหนึ่งก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับขบวนการค้ายาเสพติด เป็นเหตุให้สังคมพิการเนื่อง เยาวชนซึ่งเปรียบเสมือนอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ จากปัญหาเหล่ านี้ ทาให้เยาวชนห่างเหินจากครอบครัว ส่งผลให้เยาวชนไม่ได้รับการอบรมบ่มนิสัย การสั่งสอน การ ตักเตือน การกล่อมเกลาจิตใจ ไม่เป็นสิ่งที่มีคุณค่าในสายตาของคนเยาวชน เยาวชนไม่รู้จักความ เป็นมาของท้องถิ่น ชุมชนของตนเอง จึงทาให้ขาดความสานึก ความห่วงใยต่อชุมชน ไม่สนใจความ เป็นไปของชุมชน ชุมชนมีสภาพต่างคนต่างอยู่ ตัวใครตัวมัน ไม่สนใจความทุกข์ ยากของเพื่อนบ้าน การศึกษาประวัติชุมชนนั้นมุ่งหวังให้เยาวชนได้รับรู้ความเป็นมา เข้าใจสภาพความเป็น อยู่ ของท้องถิ่น ตนเอง ทาให้เกิดความรักความห่วงแหน ใส่ใจในสภาพความเป็นอยู่ของสมาชิกในชุมชน ก่อให้เกิด ความเอื้ออาทรต่อชุมชน รู้จักแบ่งปันในสิ่งที่ตนมีอยู่ มีโอกาสฝึกฝนการมีจิตสาธารณะ ทักษะทาง จริยธรรม โดยเยาวชนได้ไปพบปะกับแหล่งเรียนในชุมชนไม่ว่าจะเป็นผู้อ าวุโส ผู้หลักผู้ใหญ่ รวมทั้งภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นทางออกทางหนึ่งเพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงคุณค่าของประสบการณ์ที่สั่งสม มาจนเป็นธรรมเนียมของชุมชนและร่วมกันรักษา “สิ่งที่มีค่าเหล่านี้อย่างภาคภูมิใจ” ความภาคภูมิใจ ในชุมชนเป็นสื่อที่จะส่งเสริมให้เยาวชน รั ก ห่วงแหนท้องถิ่นมีความคิดที่จะพัฒนาส่งเสริมท้องถิ่นให้มี ความเจริญก้าวหน้าต่อไป ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 43


การดาเนินงานของโครงการได้ประชุม วางแผนการสืบค้นประวัติความเป็นมาของตาบลบาง ปอ โดยได้รับความร่วมมือจากผู้นาชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน องค์การบริหารส่วนตาบลบางปอและ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เยาวชนที่ร่วมโครงการได้ไปสัมภาษณ์ นายยูโซ๊ะ อายุ ปี ซึ่งได้อพยพครอบครัวมาตั้งรกรากที่ริมฝั่งแม่น้าบางปอ ผู้อาวุโสท่านนี้ได้เล่าว่าเดิมบริเวณนี้มีต้นปอ ขึ้นอยู่มากมายชาวบ้านในสมัยนั้น จึงเรียกชุมชนนี้ว่า “บางปอ” ต้นปอนั้นมีประโยชน์หลายอย่างเช่น ใบใช้ห่อขนม ส่วนเปลือกนามาทาเป็นเชือกได้เป็นอย่างดี และท่านได้นานักเรียนไปดูต้นปอที่ ริมฝั่ง แม่น้า เป็นความรู้ใหม่ที่ได้รับจากภูมิปัญญาท้องถิ่น จากการศึกษาต่อมาของเยาวชนที่รับผิดชอบ โครงการต้นปอคือต้น โพธ์ทะเล นั้นเอง ผลจากการจัดกิจกรรมนี้ ผู้ร่วมโครงการทุกคนยอมรับว่าได้ทราบประวัติความเป็นมาของ ชุมชน ทาให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น จากการสัมภาษณ์ผู้อาวุโสท่านนี้ได้ให้ข้อเตือนใจสาหรับ เยาวชนหลายอย่างเช่นการมีน้าใจ ความใกล้ชิดกับผู้ที่อาวุโสกว่า หากเยาวชนได้ใกล้ชิดกับผู้อาวุ โส จะทาให้ได้รับการตักเตือนในสิ่งไม่ดี ทาให้เยาวชนมีจิตใจอ่อนโยน ไม่ทาในสิ่งที่บุพการีไม่พึงพอใจ ด้านอาชีพ ด้วยสภาพการประกอบอาชีพของชุมชนยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร ทาให้ สูญเสียรายได้เช่นอาชีพการกรีดยางยังมีการผลิตยางแผ่นที่ไม่ดี ทาให้มีราคาต่าเสี ยรายได้โดยใช่เหตุ การจัดกิจกรรมฝึกฝนอาชีพเพื่อให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ ใส่ใจในอาชีพของชุมชน รู้จักแสวงหาวิธีการ พัฒนาการประกอบอาชีพของชุมชน โดยการจัดกิจกรรมแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งถือเป็น กิจกรรมที่สาคัญในการปลูกฝังให้เยาวชนรู้จักความ “พอเพียง” ดีขนึ้ และนาไปใช้เป็นแนวทางในการ ดารงชีพในสังคม กิจกรรมส่งเสริมกลุ่มสนใจอาหารพื้นเมือง และกิจกรรมส่งเสริมกลุ่มสนใจผลิตภัณฑ์ ท้องถิ่นก็เป็นกิจกรรมทางเลือกอีหนึ่งทางที่จะช่วยให้เยาวชนได้รู้ เข้า ใจ และมีทักษะในการประกอบ อาชีพ สืบทอดอาชีพของชุมชนและพัฒนาสู่โลกอาชีพต่อไป กิจ กรรมเศรษฐกิจพอเพียง หลังจากได้รับสมัค รเยาวชนเข้า ร่วมกิจกรรมแล้ว ได้ร่ วมกัน สารวจแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งที่ประชุมได้ตกลงกันว่าจะศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่ ค่ายจุฬา ภรณ์ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ได้นานักเรียนศึกษาแหล่งเรียนรู้แล้วกลับมาทาโครงการพืช เศรษฐกิจที่โรงเรียน ผลจากการจัด กิจ กรรมนี้ ปรากฏว่า เยาวชนมีค วามกระตือรือร้น ในการทาโครงการและมี แนวคิดที่จะนากลับไปทาที่บ้าน กิจกรรมฝึกอบรมอาชีพได้ร่วมกับสานักงานกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยางจังหวัดนราธิวาส ให้การอบรมและปฏิบัติการ เรื่องการปลูกยางพารา การทายางแผ่นชั้นดี การติดตายาง การทาปุ๋ย ชีวภาพ การทายางก้อน เป็นเวลา 2 วัน มีเยาวชนเข้ารับการอบรม 35 คน จากการอบรมครั้งนี้ ทาให้เยาวชนได้ทราบว่าการประกอบอาชีพทาสวนยางพารา การรับจ้างกรีดยางพารา ของชุมชน ขณะนี้ยังเป็นวิธีการที่ทาให้สูญเสียรายได้ไปจานวนหนึ่งเนื่องจากการทายางแผ่นไม่ดี นอกจากนี้ เยาวชนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ณ ค่ายจุฬาภรณ์ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิ วาส ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 44


และมีความเห็นว่าควรจะพัฒนาการประกอบอาชีพสวนยางพาราให้ดีกว่านี้ เพราะเป็นอาชีพหลักของ ชุมชน ผลจากการจัดกิจกรรมนี้ เยาวชนมีทักษะทางอาชีพเพิ่มขึ้น มีสานึกในความยากลาบากใน การประกอบอาชีพต่าง ๆ มีความคิดที่จะสืบทอดอาชีพของชุมชนต่อไป กิจ กรรมกลุ่มสนใจอาหารพื้น เมือง เริ่ มจากการประชุมนักเรี ยนที่รั บผิดชอบ ร่ วมกับกลุ่ม แม่บ้านของตาบลบางปอ ได้หารือในประเด็นชนิดของอาหารพื้นเมืองและแหล่งเรียนรู้ ที่ประชุมได้ สรุปว่าจะทายาผักกูด โดยให้นักเรียนไปหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ผู้รับผิดชอบกิจกรรมได้ นานักเรียนไปเก็บยอดผักกูดในชุมชน โดยมีชาวบ้านเป็นผู้ชี้แนะวิธีการเก็บยอดผักกูด แล้วแบ่งกลุ่ม นักเรียนแข่งขันทายาผักกูด บุคลากรและกลุ่มเป็นกรรมการตัดสินการแข่งขัน ผลจากการจัดกิจกรรมนี้ เยาวชนเกิดความตระหนักถึงความยากลาบากในการประกอบอาชีพ เห็นคุณค่าของเงิน เห็นใจผู้ปกครองที่ต้องประกอบอาชีพเลี้ยงดูครอบครัว กิจกรรมกลุ่มสนใจผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ได้ร่วมกันประชุมระหว่างบุคลากร นักเรียน ตัวแทน กลุ่มแม่บ้าน แล้วตัดสินใจเลือกการปักลายบนผ้าคลุมสตรีมุสลิม เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์นิยมมากของท้องถิ่นและ ยังสามารถพัฒนาเพื่อส่งจาหน่ายในประเทศเพื่อนบ้านเช่น มาเลเซีย สิงค์โปร์ ได้อีกด้วย นักเรียนได้ ศึกษาความรู้ จ ากกลุ่มแม่บ้า นของต าบลบางปอ และฝึก การปักลายตามแบบที่ก าหนดไว้แ ล้ วส่ ง จาหน่าย ผลจากการจัดกิจกรรมนี้ เยาวชนมีทักษะการปักลายบนผ้าคลุมสตรีมุสลิม และมีความคิดที่ จะพัฒนาเป็นอาชีพต่อไป ด้านสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพกายสบายใจเป็นกิจกรรม เพื่อส่งเสริมและเกื้อหนุนให้ชุมชน ได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนในทุกด้านแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เนื่องจาก สุขภาพนั้นมีประกอบหลายประการ อาทิ สังคม สิ่งแวดล้อม ชุมชน การบริการสุขภาพ และการให้ ความรู้ โดยการระดมพลังทุกฝ่ายในการดูแลและสุขภาพของตนเอง และการพัฒนาสังคมด้านต่างๆ เช่น สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา และอื่นโดยใช้กลยุทธ์ การมีส่วนร่ วมระหว่า ง โรงเรียนและชุมชน เพื่อหาทางเลือกที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของและความเป็นไปได้ใน ชุมชน โดยคานึงถึง ระบบสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ ที่แ ตกต่า งของชุมชน การรณรงค์ ต่อต้านการสูบบุหรี่หรือสิ่งเสพติด เพื่อให้ชุมชนเห็นคุณค่า และผลของสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพ รู้วิธีการ เพื่อออกกาลังกาย สร้างความเข้มแข็งทางสุขภาพให้กับบุคคล และชุมชน บางปอเป็นชุมชนชนบท มีปัญหาด้านสุขภาพกายโดยเฉพาะปัญหายาเสพติดในหมู่เยาวชน เนื่องจากสภาพครอบครัวที่ผู้ปกครอง ไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่บุตรหลานอย่างใกล้ชิด และการขยายตัว ของเครือข่ายยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ทาให้เยาชนส่วนหนึ่งไม่สามารถต้านทานต่อกลอุบายได้ จึงทา ให้ยาเสพติดระบาดในหมู่เยาวชนอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ชุมชนบางปอเป็นพื้นที่สีแดง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบบ่ อ ยครั้ ง มี ผู้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบเป็ น วงกว้ า ง ไม่ ว่ า จะเป็ น ข้ า ราชการ ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 45


ประชาชนผู้บริสุทธิ์ ชุมชนมีความเป็นอยู่อย่างไร้ความปลอดภัย ซึ่งส่ งผลให้เกิดความกังวล จนเกิด ความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน กิจกรรมกีฬาอาวุโสได้กาหนดเป้าหมายเพื่อให้ผู้ที่มีอายุวัยกลางคนได้รู้จักวิธีการออกกาลังกาย เพื่อรักษาสุขภาพกายให้แข็งแรง ปลอดภัยจากโรค กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์และกีฬาพื้นบ้าน นอกจาก การออกกาลังกายแล้วเยาวชนยังได้รู้จักสร้างสัมพันธภาพที่ดีในหมู่เยาวชนด้วยกัน รู้จักการให้อภัย รู้จักการปฏิบัติตามกฎกติกา กิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ เป็นทางออกอีกทางหนึ่งสาหรับผู้ร่วมโครงการที่จะ ช่วยให้เข้าใจสภาพจิตใจของตนเอง ปรับอารมณ์ความรู้สึกของตนเองเพื่อให้อยู่ ร่วมกับบุคคลอื่นได้ อย่างมีความสุข กิจกรรมนี้ได้รับการสนับสนุนจาก “ศูนย์ประสานงานวิชาการ เพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ” ( ศวชต.มนร.) เป็นเครือขายหนึ่งที่ ช่วยเหลือในด้านการเยียวยาแก่นักเรียนที่ได้รับผลกระทบและจัดกิจกรรมเสริมความเข้มแข็งทางจิตใจ ช่วยให้ผู้ได้รับผลกระทบ คลายความกังวล ลดการหวาดระแวงได้ในระดับหนึ่ง ทาให้อยู่ร่วมกันใน สังคมได้อย่างสันติ ผลจากการจัดกิจกรรม ผู้ร่วมโครงการมีความสัมพันธ์อันดีกับผู้คนรอบข้างทั้งความสัมพันธ์ กับสมาชิกเพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงานและบุคคลทั่วไปในชุมชน นอกจากเป็นฐานของการมีชีวิตอันอบอุ่น และมั่งคงแล้วยังเป็นเกราะกาบังมิให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ในสังคมได้อีกด้วย นอกจากนี้การเคลื่อนไหว เป็นนิจ เช่น การเดิน การวิง่ การเล่นกีฬา และการทาสวนครัว นอกจากจะทาให้สุขภาพดีแล้ว ยัง ช่วยลดความกระสับกระส่าย ช่วยเสริมสร้างพลังทางสมองของเยาวชนและเป็นการป้องกันการถดถอย ของมันสมองให้ผู้สูงอายุอีกด้วย ด้านศาสนา ตาบลบางปอมีประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 80 ซึ่งมีความเคร่งครัด ในการปฏิบัติตามหลักศาสนา จะเห็นได้จากการปฏิบัติศาสนกิจที่กาหนดไว้ ไม่ว่าเป็นการละหมาด การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน การบริจาทาน การมีจริยธรรมที่เหมาะสมในการดารงชีวิตประจาวัน ซึ่งยึดถือปฏิบัติมาเป็นประเพณีที่ดีงามตั้งแต่อดีต แต่ในปัจจุบันการปฏิบัติตนของคนรุ่นใหม่ มิได้ ดาเนินตามที่บรรพบุรุษได้ถือปฏิบัติมา ทาให้เยาวชนห่ างจากธรรมะ มีจริยธรรมที่ไม่งดงาม การ ปฏิบัติตนไม่เหมาะสม จนเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาสังคม กิจกรรมคุณธรรมสัญจร เป็นกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมให้เยาวชนมีสานึกดีในตนเอง นาตนเองเข้า สู่หลักการของศาสนาพร้ อมที่จ ะปฏิบัติต ามอย่า งเคร่ งครั ด โดยฝึกปฏิบัติศ าสนกิจจนเป็ น กิจวัต ร ประจาวัน เช่นการเชิญชวนให้ทาความดีห้ามปรามในการทาชั่ว การละหมาดวันละ 5 เวลา การถือ ศีลอด การให้ทาน นอกจากนี้ศาสนาอิสลามได้กาหนดหลักปฏิบัติในชีวิตประจาวันตามแบบอย่างของ ท่านศาสดา จนสามารถนาหลักการศาสนาเป็นระบอบการดาเนินชีวิต เช่น รู้จักการเข้าหาผู้อาวุโส มี ความอดทนต่อความยากลาบาก การมีจิตสาธารณะ การสร้างความรัก ความเข้าใจในหมู่เพื่อนและ ชุมชน โดยการจัดกลุ่มเยาวชนกลุ่มละ 10 คน แล้วนาเยาวชนไปพานักที่มัสยิดในชุมชน แล้วเชิญ ผู้นาศาสนามาให้ความรู้ ควบคู่กับการปฏิบัติตามหลักศาสนา เรื่องการวางตัวในชุมชน การสร้าง ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 46


ความรัก การอดทน ฯลฯ เรียนรู้การรับผิดชอบต่าง ๆ เช่น ประกอบอาหาร การพัฒนาสาธารณะ สถาน การต้อนรับผู้มาเยี่ยม การเยี่ยมเยียนชุมชน เป็นเวลา 24 ชั่วโมง เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมแล้ว ได้เปิดโอกาสให้เยาวชนแสดงความรู้สึกที่มีต่อกิจกรรมที่ได้ ปฏิบัติ และประสบการณ์ที่ได้รับ เพื่อไป ปรับใช้ในชีวิตประจาวันต่อไป ผลจากการจัดกิจกรรมนี้ได้รับเสียงสะท้อนจากชุมชนในทางที่ดี ยินดีให้โรงเรียนจัดกิจกรรมนี้ ต่อไปเพื่อปลูกฝังให้เยาวชนมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและเป็นคนดีของสังคม กิจกรรมมัจลิสคอตัมอัลกุรอาน ( การประสิทธิ์ประสาทวิชาการอ่านอัลกุรอาน ) เป็นกิจกรรม ที่จัด ขึ้น เพื่อให้พัฒนาเยาวชนให้อ่านอัลกุรอานได้ถูกต้อง เนื่องจากการปฏิบัติศาสนกิจต่าง ๆ ใน ศาสนาอิสลามต้องประกอบด้วยอ่านอัลกุรอานให้ถูกต้อง จึงจะทาให้ศาสนากิจนั้นมีความสมบูรณ์ ดังนั้นกิจกรรมนี้นอกจากจะช่วยให้เยาวชนอ่านอัลกุรอานได้อย่างถูกต้องแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้ เยาวชนสามารถปฏิบัติศาสนากิจได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์ อีกด้วย ผลจากการจัดกิจกรรมนี้ ทาให้ชุมชนมีความพึงพอใจในตัวเยาวชน เนื่องจากสามารถปฏิบัติ ศาสนกิจ ได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์เป็ นการช่วยผู้ปกครอง ชุมชนให้มีสมาชิกที่มีคุณภาพในด้านการปฏิบัติตน ตามหลักศาสนา ช่วยให้เยาวชนเป็นคนดี มีศีลธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม ชุมชนยังเข้าใจเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องไกลตัว มีผลกระทบน้อย ไม่ให้ ความสาคัญไม่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม กิจกรรมชุมชนสีเขียว ช่ว ยเสริมสร้างความตระหนักถึงผลกระทบ ที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมต่อตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติ โดยจัดค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแล้วให้ นักเรียนจัดทากิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ผลจากการจั ดกิจ กรรมนี้ เยาวชนเกิดความตระหนักในสิ่งแวดล้อม เห็น ได้จากกิจกรรม อนุรักษ์ที่เยาวชนได้ร่วมกันจัดกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนและได้รับความร่วมมือจาก ชุมชนเป็นอย่างดี การศึกษาเป็นงานตามโครงการนาร่องการจั ดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมแนวทางสู่ สันติของ โรงเรียน ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ซึ่งทาให้กลไกบูรณาการความร่วมมือในการจัดการศึกษา ในอนาคตต้องจัดทาหลักสูตรท้องถิ่นให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน การพัฒนาแหล่ งเรียนรู้ ในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นองค์ประกอบให้โครงการและกิจกรรม สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ความสาเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้เป็นคนดี คน เก่งอยู่ใ นสังคมอย่า งมีค วามสุข ตามศักยภาพ ตรงต้องการทั้งในด้า นสุขภาพร่ างกาย และจิตใจ สติปัญญา ความรู้ ทักษะ คุณธรรม และจิตสานึกการอยูร่ ่วมในสังคม การจัดการศึกษาคนทั่วไปอาจจะเข้าใจว่าเป็นเรื่องที่ใคร ๆ ก็จัดได้ หน่วยงานของรัฐ เอกชน หรือหน่วยงานใดก็ได้ ซึ่งก็มีส่วนถูก แต่ถ้าเรามองอีกด้านหนึ่งจะเห็นว่าผลจากการจัดการศึกษาที่ขาด เอกภาพคือต่างคนต่างคิด ต่างคนต่างจัดแล้ว การศึกษาไทยก็คงต้องซอยเท้าอยู่กับที่อีกต่อไป ในขณะ ที่ประเทศเพื่อนบ้าน ได้พัฒนาการศึกษากันอย่างจริงจัง มั่นคงและมีทิศทางที่ชัดเจน มีความเป็น ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 47


เอกภาพ ทั้งเป้าหมายและวิธีการ ดังนั้นการจัดการศึ กษาเพื่อให้มีคุณภาพและเกิดประโยชน์อย่าง แท้จริงต่อผู้เรียน และชุมชนนั้น จาเป็นต้องผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนทุกวัย ทุกพื้นที่ ทุกสภาพการณ์ โดยจัดการศึกษาหลากหลายรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นรูปแบบการศึกษาที่จาเป็นสาหรับสังคมในยุคปัจจุบันที่จะหล่อ หลอมชุมชนให้เป็น “สังคมแห่งการเรียนรู้” ถึงเวลาแล้วหรือยังที่เราทุกคนจะเสริม สร้าง “การมีส่วน ร่วม” เพื่อให้เกิดความสมานฉันท์ในสังคม บนแนวทางความเข้าใจ เข้าถึงและพัฒนาสู่ สันติอย่าง ยั่งยืนต่อไป.

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 48


ภาคผนวก

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 49


ตารางที่ 1 แสดงการระดมทรัพยากร

ประเภท รายละเอียด ทรัพยากร

องค์กรที่สนับสนุน

แหล่งเรียนรู้ ด้านประวัติชุมชน

-องค์การบริหารส่วน ตาบลบางปอ -ชุมชน ผู้นาชุมชน

ด้านเศรษฐกิจ พอเพียง

ด้านสิ่งแวดล้อม บุคคล

ด้านสุขภาพกาย

ด้านสุขภาพจิตใจ

ภูมิปัญญา ท้องถิ่น

ด้านส่งเสริม ศาสนา ด้านอาหาร พื้นเมือง ด้านผลิตภัณฑ์ ท้องถิ่น

-ค่ายจุฬาภรณ์ -ส า นั ก ง า น ก อ ง ทุ น สงเคราะห์ ก ารท าสวน ย า ง อ า เ ภ อ เ มื อ ง นราธิวาส -อุทยานแห่งชาติอ่าว มะนาว-เขาตันหยง -โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบล -โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ ๓๙ -โรงพยาบาลนราธิวาส ราชนครินทร์ -ชมรมอีมามตาบลบาง ปอ ชมรมแม่บ้านตาบลบาง ปอ ชมรมแม่บ้านตาบลบาง ปอ

ผลที่เกิดขึ้น -ทราบข้อมูลด้านต่าง ๆ ของตาบลบางปอ -ทราบแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นใน ตาบล -ได้ความรู้ ทักษะด้านเศรษฐกิจพอเพียง -ได้ความรู้ ทักษะด้านอาชีพการปลูก ยางพารา

-มีความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อม -ได้รับความรู้การรักษาสุขภาพกาย -ได้ออกกาลังกาย -ได้รับความรู้เรื่องสุขภาพจิต -ได้รับความรู้ด้านศาสนา -ได้ความรู้ ทักษะการประกอบอาหาร พื้นเมือง -ได้รับความรู้ ทักษะการปักลายบนผ้า คลุมผมสตรีมุสลิม

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 50


ตารางที่ 2 เทคโนโลยีและการสื่อสาร ที่

ประเภท

1.

หนังสือราชการ

2

โทรศัพท์

3 4

กล้องถ่ายรูปพร้อม อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์

5

อินเตอร์เน็ต

การใช้ประโยชน์ -ติดต่อสื่อสารกับหน่วยงาน และองค์กร -ติดต่อสื่อสารกับหน่วยงาน และองค์กร -บันทึกภาพการจัดกิจกรรม ของโครงการ -จัดพิมพ์เอกสารต่าง ๆ -จัดทาสื่อนาเสนอ -ประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลการใช้ -ทราบความเคลื่อนไหวของโครงการ -ทราบความเคลื่อนไหวของโครงการ -ได้ภาพการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ โครงการ -ได้เอกสารของโครงการทั้งหมด -ได้สื่อนาเสนอของโครงการ เช่น สไลด์ มัลติมีเดีย สกู๊ป Powerpoint -นาสกู๊ปการเก็บและการทายาผักกูด เข้า Youtube

ตารางที่ 3 การมีส่วนร่วมขององค์กร/ชุมชน ที่

กิจกรรมของโครงการ 1 กิจกรรมที่ 1 “แลหลัง” 1.1 เรียนรู้ประวัติชุมชน

1.2 ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ทาง ประวัติศาสตร์

ชื่อองค์กร ๑.องค์การบริหารส่วนตาบล บางปอ ๒.ตัวแทนชุมชน ๑๑ หมู่บ้าน ๓.มัสยิดตะโละมาเนาะ

รายละเอียดการมีส่วนร่วม -สนับสนุนข้อมูลตาบลบางปอ -ให้ความรู้ประวัติตาบลบาง ปอ -แหล่งเรียนรู้ทาง ประวัติศาสตร์

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 51


2 กิจกรรมที่ 2 “ฝึกฝนอาชีพ” 2.1 เศรษฐกิจพอเพียง

๔.ค่ายจุฬาภรณ์

2.2 กลุ่มสนใจอาหารพื้นเมือง

๕.ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุล ทอง 2.3 กลุ่มสนใจผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ๖.ชมรมแม่บ้านตาบลบางปอ 3 กิจกรรมที่ 3 “สุขกาย-สบายใจ” 3.1 กีฬาสัมพันธ์

3.2 กีฬาอาวุโส

๗.โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม ๘.โรงเรียนประถมศึกษาใน ตาบลบางปอ ๙.โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์๓๙ ๑๐.ชมรมตาดีกาตาบลบางปอ

-ศึกษาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง -ศึกษาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง -ให้ความรู้อาหารพื้นเมืองและ ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น

-กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์ต่อต้าน ยาเสพติด

-กิจกรรกีฬาอาวุโสส่งเสริม สุขภาพ 3.3 กีฬาพื้นบ้าน -กิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน -จัดกิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน 3.4 เสริมสร้างความเข้มแข็งทาง ๑๑.โรงพยาบาลส่งเสริม -ให้ความรู้การเสริมสร้างความ จิตใจ สุขภาพตาบลบางปอ เข้มแข็งทางจิตใจ ๑๒.ศูนย์ประสานงานวิชาการ -ให้ความรู้เรื่องสารเสพติด เพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับ -สนับสนุนการเสริมสร้างความ ผลกระทบจากเหตุการณ์ความ เข้มแข็งทางจิตใจ การถอด ไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้ บทเรียน มหาวิทยาลัยนราธิวาสราช นครินทร์ (ศว.ชต.ม.นร.) ๑๓.ชมรมบัณฑิตอาสาเพี่อ -ให้ความรู้เรื่องการป้องกันยา ป้องกันปัญหายาเสพติด เสพติด จังหวัดชายแดนใต้ 4

กิจกรรมที่ 4 “เยาวชนรักษ์ ศาสนา” 4.2 คุณธรรมสัญจร

๑๔.เครือข่ายผู้ปกครอง นักเรียน ๑๕.ผู้นาชุมชนตาบลบางปอ

-อานวยความสะดวกและ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน -อานวยความสะดวกและ

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 52


4.3 มัจลิสคอตัม อัลกุรอาน

5

กิจกรรมที่ 5 “ชุมชนสีเขียว” 5.1 ค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

๑๗.ชมรมอีมามตาบลบางปอ

๑๘.อุทยานแห่งชาติอ่าว มะนาว-เขาตันหยง

แหล่งเรียนรู้ในชุมชน -ให้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจัด มัจลิสคอตัมอัลกุรอาน -แหล่งเรียนรู้การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม

ตารางที่ 4 การนิเทศติดตาม ระดับการนิเทศ เรื่องที่นิเทศ กิจกรรม -การสัมภาษณ์ชุมชน -การพบปะผู้อาวุโส -มารยาทในการศึกษา นอกสถานที่ -มารยาทในที่ประชุม -ขั้นตอนการเสวนา -การวางแผนปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วม -ขั้นตอนการคอตัมอัล-กุ รอาน โครงการ -การเขียนรายละเอียด กิจกรรม -การเขียนหลักสูตร -การจัดทาโครงการ -การนาเสนอผลงาน -การคัดเลือกทีมงาน -การสร้างความมั่นใจ

วิธีนิเทศ -ประชุม

ผู้นิเทศ -ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ กิ จ กรรมหลั ก และ กิ จ กรรมย่ อ ยของ โครงการ

ผลที่เกิดขึ้น -ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรมย่ อ ย ของโครงการ(นักเรียน แ ล ะ เ ย า ว ช น ) มี ค ว า ม รู้ ใ น หั ว ข้ อ ที่ นิเทศ

-ประชุม ปรึกษาหารือ -เสวนาโต๊ะกลม

-ผู้รับผิดชอบ โครงการระดับ องค์กร 1.นายเจ๊ะบาฮารูดีน หะยีเจ๊ะยิ

-ผู้รับผิดชอบกิจกรรม ย่อยมองเห็นแนวทาง และมีความมั่นในการ ดาเนินกิจกรรมของ โครง

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

หน้า 53


สานักงานเขต พื้นที่

องค์กรส่วน ภูมิภาค

องค์กร ส่วนกลาง

-การประชาสัมพันธ์ กิจกรรม -การวางขอบเขตของ โครงการ -การการจัดทาแผนงาน -การออกแบบกิจกรรม -การเขียนหลักสูตร -การวิจัย -การประเมินผล -การประชาสัมพันธ์ โครงการ -การถอดบทเรียน -การพิจารณาโครงการ -การจัดส่งรายงาน ความก้าวหน้า -การพิจารณาโครงการ เพิ่มเติม -การขยายเครือข่าย -การตรวจเยี่ยม โครงการ -การจัดส่งรายงาน ความก้าวหน้า -การประชาสัมพันธ์ โครงการ -การจัดเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับ จังหวัด ระดับประเทศ

-ประชุม -ชี้แจงด้วย เอกสาร เช่น หนังสือราชการ -โทรศัพท์

-ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 15 1.นางดาเรศ สิโรฒ มาภรณ์ 2.นางจริยา อารงค์

-ประชุม ปฏิบัติการ -โทรศัพท์

-นายประเสริฐ แก้ว -โรงเรียนมีแนวทางใน เพ็ชร การจัดกิจกรรมและ การรายงาน ความก้าวหน้าของ โครงการ

-ตรวจเยี่ยม -ชี้แจงด้วย เอกสาร

-ดร.พิณสุดา สิริธรัง ศรี -ดร.กล้า ทองขาว -ดร.บุญจันทร์ บัวหุ่ง -รศ.ดร.อุทัย บุญ ประเสริฐ

ถ อ ด บ ท เ รี ย น โ ค ร ง ก า ร นา ร่ อ ง ฯ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ บ า ง ป อ ป ร ะ ช า รั ก ษ์

-โรงเรียน ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้รับผิดชอบกิจกรรม ย่อยและบุคลากรเห็น ความสาคัญของ โครงการและมีความ ตั้งใจในการจัด กิจกรรมของโครงการ ต่อไป

-โรงเรียนมีแนวทางใน การจัดกิจกรรมการ รายงาน ความก้าวหน้าของ โครงการและได้รับ ประสบการณ์จากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ไป ใช้ในการพัฒนางาน ต่อไป

หน้า 54


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.