รายงานผลการดำเนินโครงการโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ปศท.๒

Page 1

รายงานผลการดาเนินงาน โครงการนาร่องการจัดกาปรึกษาแบบมีส่วนร่วมของ องค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 1


คานา

โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะ คนไทย ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชา รักษ์ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ตรวจสอบ ร่มชื่นชมผลการปฏิบัติงานของโครงการ รางานการผลโครงการฉบับนี้จัดทาขึ้นจัดทาเพื่อเป็นแนวทางการสังเคราะห์ผลที่ เกิดจากโครงการทั้งในแง่บวก แง่ลบ นาไปปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงานในโอกาสต่อไป หวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ นักเรียน บุคลากร เยาวชนสถานศึกษา ชุมชนและผู้ที่สนใจทั่วไป หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทายินดียอมรับเพื่อแก้ไขใน โอกาสหน้า ขอขอบคุณ คณะทางานโครงการ

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 2


สารบัญ เนื้อหา ข้อมูลทั่วไปของโรงเรียน ประวัติของสถานศึกษา ข้อมูลบุคลาการและนักเรียน หลักสูตรที่เปิดสอน บทสรุปผู้บริหาร โครงการโดยย่อ กิจกรรมที่ดาเนินการ ขั้นตอนการดาเนินโครงการ การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ แผนงาน โครงการเป็นแหล่งดูงาน ผลการดาเนินงาน สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้าที่ 1 1 2 2 3 3 4 17 17 17 17 18 18 19 22 22

หน้า 3


ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์

ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 3 บ้านโคกสุมุ ตาบลบางปอ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96000 โทรศัพท์ 073-643166 โทรสาร 073-643166 ห่างจากตัวเมืองนราธิวาส 13 กิโลเมตรริมถนนจารุเสถียร ( นราธิวาส – สุไหงโก-ลก ) ช่วงกิโลเมตรที่ 13

จากสี่แยกโคกสุมุ 500

เมตร มีเขตพื้นที่บริการทุก

หมู่บ้านของตาบลบางปอ บางหมู่บ้านของตาบลลาภู ตาบลมะนังตายอ อาเภอเมืองนราธิวาส บางหมู่บ้าน ของตาบลตันหยงลิมอ ตาบลตันหยงมัส อาเภอระแงะ ตาบลจวบ ตาบลมะรอโบออก อาเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ประวัติของสถานศึกษาโดยย่อ โรงเรียนเฉลิพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารั กษ์ เดิมชื่อโรงเรียนบางปอ ประชารักษ์ สังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับอนุมัติให้จัดตั้ง เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2525 ตามนโยบายของกรมสามัญศึกษา เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาระดับดับมัธยมศึกษาออก สู่ชนบทเป็นปีเดียวกันที่มี การเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ใช้ที่ดินของสภาตาบลเป็นที่ตั้ง ปัจจุบัน ที่ดินดังกล่าวเป็นกรรมสิทธิ์ของโรงเรียนมีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 74 ไร่ 2 งาน ในปีการศึกษาพ.ศ.2525 ได้เปิดเป็นครั้งแรก โดยรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าเรียนจานวน 2 ห้องเรียน กรมสามัญศึกษาได้แต่งตั้งนายเทิดศักดิ์ ถาวรสุทธิ์ มาดารงตาแหน่งเป็นครูใหญ่คนแรก ในขณะที่ ทางโรงเรียนใช้อาคารเรียนของโรงเรียนบ้านโคกสุมุ เป็นสถานที่เรียนชั่วคราว พ.ศ.2535 ได้เปิดโรงเรียนสาขา รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 4


ที่บ้านทาเนียบ ตาบลลาภู อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาได้เพิ่มมากขึ้น ปี พ.ศ. 2540 ได้รับอนุมัติให้ขยายชั้นเรียน จนถึงระดับมัธยมตอนปลาย พ.ศ.2541 ในวโรกาสที่สมเด็จ พระเจ้า พี่น างเธอเจ้าฟูา กัลยานิวัฒนาทรงได้รับการดโปรดเกล้า ฯ สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟูาต่างกรมฝุายใน ซึ่งมีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า “สม พระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟูากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ” ในโอกาสนี้กรมสามัญได้คัดเลือก โรงเรียนบางปอประชารักษ์ เข้าร่วมโครงการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสดังกล่าว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประทานพระอนุญาต ให้ชื่อว่า “โรงเรียนเฉลิพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ ” ทั้งนี้กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2541 ปีการศึกษา 2545 กรมสามัญศึกษาได้แต่งตั้ง นายประภาส ขุนจันทร์ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ โรงเรียน ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนริเริ่มโครงการเปิดสอนอิสลามศึกษาในโรงเรียน ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนได้เข้าโครงการการสอนอิสลามศึกษาแบบเข้มตลอดช่วงชั้นที่ 3 ปีการศึกษา 2552 สานักงานเขต พื้นที่การศึกษานราธิวาสเขต 1 ได้มีคาสั่งแต่งตั้ง นายสมกิจ อาแว ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน ใน วันที่ 14 กรกฎาคม 2552 ปีนี้โรงเรียนได้เข้าโครงการการสอนอิสลามศึกษาแบบเข้มตลอดช่วงชั้นที่ 3 (ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3) และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเข้าโครงการโรงเรียนในฝัน รุ่นที่ 3 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนได้ย้ายต้นสังกัดใหม่ จากสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 1 เป็นสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 15 ปัจจุบันมีนายนิรัตน์ นราฤทธิพันธ์ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม 2554 เป็นต้นมา

ข้อมูลบุคลากรและนักเรียน ในปีการศึกษา 2554 มีบุคลากร จานวน 28 คน ชาย จานวน 15 คน หญิง จานวน 13 คน มีนักเรียนทั้งสิ้น 257 คน นักเรียนชาย 110 คน นักเรียนหญิง จานวน 147 คน มีห้องเรียนทั้งสิ้น 9 ห้องเรียน ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

หลักสูตรที่เปิดสอน 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 2.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ถึง 2. หลักสูตรอิสลามศึกษาแบบเข้ม 1.หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนต้น ( อิบตีดาอียะห์ ) 2.หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนกลาง ( มูตาวาซิเฏาะห์ ) 3.หลักสูตรอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวียะห์ )

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชั้นปีที่ 1 – ชั้นปีที่ 6 ชั้นปีที่ 7 – ชั้นปีที่ 9 ชั้นปีที่ 10 – ชั้นปีที่ 12

หน้า 5


เลขที่ข้อตกลง 54-00480-45 งวดที่ 4 ( สุดท้าย )

แบบรายงานผลโครงการ ชื่อ โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีสวนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทยโรงเรียนเฉลิม พระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ รายงานงวดที่ 4 ตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม 2554 ถึง 31 มีนาคม 2555

ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ เปูาประสงค์/เปูาหมาย เชิงปริมาณ 1.นักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ จานวน 257 คน 2.บุคลากรของโรงเรียนจานวน 27 คน 3.ชุมชนในตาบลบางปอ จานวน 11 หมู่บ้าน เชิงคุณภาพ 1.ผู้ร่วมโครงการมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง 2.ผู้ร่วมโครงการมีทักษะและเห็นความสาคัญของอาชีพในชุมชน 3.ผู้ร่วมโครงการรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพกาย ใจของตนเองได้อย่างถูกวิธี 4.ผู้ร่วมโครงการเห็นความสาคัญของการปฏิบัติตามหลักศาสนา 5.ผู้ร่วมโครงการมีความตระหนักถึงปัญหาและการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการมีความชื่นชมและภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ร่วมโครงการมีทักษะและสืบทอดอาชีพของชุมชน 3.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการมีสุขภาพกาย ใจที่ดี 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ร่วมโครงการเป็นคนดี มีคุณธรรม 5.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมในด้านอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 2.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 3.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 4.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

80 มีความชื่นชมและภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง 80 มีทักษะและสืบทอดอาชีพของชุมชน 100 มีสุขภาพกาย ใจที่ดี 100 เป็นคนดี มีคุณธรรม หน้า 6


5.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมในด้านอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

2.กิจกรรมที่ดาเนินการ กิจกรรมตามแผน

ไม่ได้ทา ได้ทาเมื่อ วันที่

1.ประชุมคณะทางาน

-

2.ประชุมบุคลากร

-

3.ประชุมบุคลากรหัวหน้า กิจกรรมหลักและผู้รับผิดชอบ กิจกรรมย่อยจัดทา รายละเอียดกิจกรรมและ หลักสูตร

-

4.รับสมัครนักเรียนร่วม โครงการ

-

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวนผู้ อธิบายผลที่เกิดขึ้นทั้งปริมาณ ร่วมกิจกรรม และคุณภาพ 8 -คณะทางาน -จัดประชุมคณะทางานเพื่อวาง เมษายน จานวน 15 คน แนวทางและเปู า หมายของ 2554 โครงการ 1 ครั้ง - ได้แนวทางและเปูาหมายการ จั ด ท าโครงการตามบริ บ ทของ โรงเรียน 20 -บุคลากรของ -จั ด ประชุ ม บุ ค ลากรทั้ ง หมด 1 พฤษภาค โรงเรียน จานวน ครั้ง ม 2554 29 คน -บุ ค ล า ก ร ทุ ก ค น เ กิ ด ค ว า ม ตระหนักและเริ่มเห็นความสาคัญ ของโครงการ 9 -บุคลากรของ มิถุนายน โรงเรียนที่เป็น 2554 หัวหน้ากิจกรรม หลัก 5 คน -ผู้รับผิดชอบ กิจกรรมย่อย 23 คน -ศึกษานิเทศก์จาก สพม.เขต15 จานวน 2 คน 9 นักเรียนโรงเรียน มิถุนายน เฉลิมพระเกียรติฯ 2554 จานวน 268 คน

-ประชุมปฏิบัติการ 1 ครั้ง -จั ด ท ารายละเอี ย ดของแต่ ล ะ กิจกรรมได้รายละเอียดกิจกรรม จานวน 12 กิจกรรมย่อย -จั ด ท าหลั ก สู ต รของกิ จ กรรม ย่ อ ยทุ ก กิ จ กรรมได้ ห ลั ก สู ต ร สาหรับจัดกิจกรรมย่อย 8 ฉบับ -บุ ค ลากรมี ค วามรู้ , ทั ก ษะการ จัดทารายละเอียดกิจกรรมและ การสร้างหลักสูตร -ชี้ แ จงรายละเอี ย ดโครงการ บริบทของโรงเรียน รายละเอียด ของกิ จ กรรมแต่ ล ะกิ จ กรรม หน้า 7


เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นพิ จ ารณาเลื อ ก เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ โดยก า หน ดให้ นั ก เรี ย น เข้ า กิจกรรมได้กิจกรรมละ 5 คน -นักเรียนสมัครเข้าร่วมกิจกรรม ทันที 43 คนและสมัครในวัน ถัดมา27 คน รวม 60 คน -บุคลากรผู้รับผิดชอบโครงการ เกิ ด ความเข้ า ใจตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ของผู้ เ รี ย นเพราะ ผู้เรียนจะตัดสินใจเลือกอย่างใด อย่างหนึ่งขึ้น อยู่กับความสนใจ ข อ ง นั ก เ รี ย น เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง นักเรียนที่ตัดสินใจไม่ได้ทราบว่า ได้ ป รึ ก ษาผู้ ป กครองแล้ ว มา สมัครในวันถัดมา ข้อเสนอแนะ คณะตรวจเยี่ยม ได้เ สนอแนะว่ากิจกรรมควรให้ นักเรียนร่วมให้มากที่สุด

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 8


5.ประชุมนักเรียน/ปฐมนิเทศ ประชุมบุคลากรหัวหน้า กิจกรรมหลักและผู้รับผิดชอบ กิจกรรมย่อย

-

20

-นักเรียนที่ร่วม กรกฎาคม โครงการ 60 คน 2554 -บุคลากรของ โรงเรียน 23 คน

-ป ฐ ม นิ เ ท ศ นั ก เ รี ย น ที่ ร่ ว ม โครงการ 1 ครั้ง -ได้ แ จ้ ง ภารกิ จ ของกิ จ กรรม รวมทั้งบทบาทของครู นักเรียน และได้เน้นกิจกรรมแลหลังเป็น กิจกรรมแรกเนื่องจากกิจกรรมนี้ ครู นักเรียนต้องพบปะกับบุคคล ในหลายสถานะจึ งต้ องมีสั มมา คารวะ การใช้ค าพูด ตลอดจน มารยาทที่ ดี ง ามที่ พึ ง ปฏิ บั ติ เพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีระหว่าง ผู้ร่ วมกิจกรรมกับ ชุมชน ทาให้ นั ก เรี ย นเกิ ด ความตระหนั ก ใน การปฏิ บั ติ ต นขณะพบปะกั บ ชุมชน -ประชุมบุคลากรของโรงเรียน 1 ครั้ง -บุค ลากรของโรงเรี ย นเข้ า ใจ กระบวนการดาเนินกิจกรรมใน แต่ละขั้นตอนของทุกกิจกรรม -บุคลากรสามารถแนะนาการ จัดเตรียมบทสัมภาษณ์เพื่อใช้ใน การสัมภาษณ์แหล่งเรียนรู้ ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ผู้อาวุโส

6.ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของ ตาบลบางปอ

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

23 นักเรียนโรงเรียน กรกฎาคม เฉลิมพระเกียรติฯ 2554 จานวน 55 คน

1.ได้ประสานกับองค์การบริหาร ส่ ว นต าบลบางปอเพื่ อ ศึ ก ษา ข้อมูลทั่วไปของตาบลบางปอ 1 ครั้ง -นั ก เรี ย น ที ร่ ว มกิ จ กรรมมี ความรู้ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของต าบล บางปอและมี ทั ก ษะ มารยาท ต่าง ๆ ที่จะพบปะกับชุมชนตาม บริบทของกิจกรรม หน้า 9


-นักเรียนทีร่วมกิจกรรมมีความรู้ , ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร จั ด ท า บ ท สัมภาษณ์ 7.จัดกิจกรรมตามโครงการ

กิจกรรมที่1 “แลหลัง” 1. เรียนรู้ประวัติชุมชน 1.1 พบปะชุมชนและ ประชุมตัวแทนหมู่บ้านเพื่อ จัดกิจกรรมเรียนรู้ประวัติ ชุมชนโดยได้จัดนักเรียนที่ รับผิดชอบกิจกรรมทาหน้าที่ เลขาของกลุ่ม

-

28 1.บุคลากร กรกฎาคม โรงเรียนเฉลิมพระ 2554 เกียรติฯ 6 คน 2.นักเรียนที่รับผิด ชอบจานวน 5 คน 3.ตัวแทนชุมชน 45 คน

-จั ด ประชุ ม ตั ว แทนหมู่ บ้ า นใน ต าบลบางปอเพื่ อ ชี้ แ จงการ ดาเนินการของกิจกรรมแลหลัง กิจกรรมฝึก ฝนอาชีพ กิ จกรรม สุ ข ก า ย ส บ า ย ใ จ กิ จ ก ร ร ม เยาวชนรั ก ษ์ ศ าสนา-ประชุ ม ตัวแทนหมู่บ้าน 1 ครั้ง -นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมมีทักษะ ในการประชุมร่วมกันกับชุมชน -ทราบแหล่ งเรี ยนรู้ ป ระวัติของ ตาบลและหมู่บ้าน -ชุมชนรับทราบการดาเนินงาน ของกิจกรรมต่าง ๆ และพร้ อม ให้ความร่วมมือ

1.2 สัมภาษณ์ผู้อาวุโสใน ชุมชนเพื่อสืบค้นประวัติ”บาง ปอ”

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

15-17

-บุคลากร 2 คน กันยายน -นักเรียนจานวน 5 2554 คน -ผู้อาวุโสใน

-สั ม ภาษณ์ ผู้ อ าวุ โ สในชุ ม ชน จานวน 2 ครั้ง -บุ ค ลากรและนั ก เรี ย นที่ ร่ ว ม กิ จ กรรมมี ค วามรู้ เ รื่ อ งประวั ติ ท้องถิ่น จานวน 2 ความเป็นมาของตาบลบางปอ -บุ ค ลากรและนั ก เรี ย นที่ ร่ ว ม คน กิจกรรมมีความภาคภูมิใจ -บุ ค ลากรและนั ก เรี ย นที่ ร่ ว ม กิ จ กรรมเรี ย นรู้ วิ ธี ก ารและมี ทักษะสัมภาษณ์ผู้อาวุโส -บุ ค ลากรและนั ก เรี ย นที่ ร่ ว ม หน้า 10


กิจกรรมได้รับคาแนะนานักเรียน เรื่องการใกล้ชิดกับผู้อาวุโส จะ ทา ให้นักเรียนได้รับการสั่งสอน ในสิ่งดี ๆ

2.ทัศนะศึกษาแหล่งเรียนรู้ ในชุมชน 2.1 สารวจความต้องการ ศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ของนักเรียน

-

18 -บุคลากร 5 คน กันยายน -นักเรียน จานวน 2554 268 คน

-สารวจความสนใจแหล่งเรียนรู้ ในชุมชนของนักเรียน 1 ครั้ง -ไ ด้ แ ห ล่ ง เ รี ยน รู้ ส า ห รั บ จั ด กิจกรรมจานวน 4 รายการ -นั ก เรี ย นมี ค วามรู้ เ รื่ อ งแหล่ ง เรียนรู้ดีขึ้น

2.2 ให้ความรู้เรื่องแหล่ง เรียนรู้

-

9 ตุลาคม นักเรียนโรงเรียน 2554 เฉลิมพระเกียรติฯ จานวน 268 คน

-บ ร ร ย า ย ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง ความสาคัญของแหล่งเรียนรู้ -นักเรียนมีความกระตือรือร้นใน การศึกษาผ่านแหล่งเรียนรู้

2.3 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ใน

-

31 -บุคลากร จานวน มกราคม 4 คน 2555 -นักเรียน จานวน 20 คน

-นั ก เรี ย นศึ ก ษาประวั ติ ค วาม เป็นมาของมัสยิดที่มีอายุ 300 ปี จากการบรรยายของวิ ท ยากร ประจ ามั ส ยิ ด ศึ ก ษาจากปู า ย ประวั ติ ข องมั ส ยิ ด และศึ ก ษา ศิลปะการก่อสร้างสมัยก่อนผ่าน ร่ อ งรอยการออกแบบมั ส ยิ ด รู ป ทรง ลวดลายแกะสลั ก ตาม ฝาผนัง -นักเรียนมีความกระตือรือร้นใน

ชุมชน ณ มัสยิดตะโละมา เนาะ ตาบลลูโบ๊ะสาวอ อาเภอบาเจาะ จังหวัด นราธิวาส

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 11


ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน

กิจกรรมที2 “ฝึกฝนอาชีพ” 1. แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง 1.1 อบรมอาชีพ

21-22 มิถุนายน 2554

-บุคลากรจาก สานักงานกองทุน สงเคราะห์การทา สวนยาง จานวน 4 คน จากศูนย์ ทดลองยางโคกปริ เม็ง จานวน 2 คน -นักเรียนโรงเรียน เฉลิมพระเกียรติฯ จานวน 35คน -บุคลากรโรงเรียน เฉลิมพระเกียรติฯ จานวน 4 คน

-อบรมเรื่ อ งการปลู ก ยางพารา การสร้างแปลงกิ่งตา -อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการทา ยางแผ่ น ชั้ น ดี การท ายางก้ อ น ถ้วย การทาปุ๋ยชีวภาพ การติด ตายาง -ผู้ เ ข้ า ร่ ว มอบรมมี ค วามรู้ เ รื่ อ ง การปลู ก ยางพารา การสร้ า ง แปลงกิ่งตามีค วามรู้ แ ละทักษะ เบื้องต้นเรื่องการทายางแผ่นชั้น ดี การท ายางก้อ นถ้ว ย การท า ปุ๋ ย ชี ว ภาพ การติ ด ตายาง แต่ อย่ า งไรก็ ต ามยั ง ต้ อ งมี ก ารฝึ ก ทัก ษะต่ า ง ๆ เพื่ อให้ เ กิ ด ความ ชานาญต่อไป -ผู้เ ข้า รั บการอบรมตระหนักถึง โอกาสและรายได้ ที่ สู ญ เสี ย ไป ของชุมชนเนื่องจากการผลิตยาง แ ผ่ น ใ น พื้ น ที่ เ ป็ น ย า ง แ ผ่ น คุณภาพไม่ดี ราคาต่า

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 12


1.2 นานักเรียนศึกษาดู งานเศรษฐกิจพอเพียง ณ ค่ายจุฬาภรณ์ อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส

6 ตุลาคม -นักเรียน จานวน 2554 35 คน -บุคลากร จานวน 5 คน

1.3 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงและปลูก กล้วย

8 ตุลาคม -บุคลากร 2 คน 2554 -นักเรียน 35 คน -

2 กลุ่มสนใจอาหาร พื้นเมือง 2.1 กิจกรรมสืบหาภูมิ ปัญญาท้องถิ่นเรื่องการทายา ผักกูด

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

9 ตุลาคม -นักเรียน 41 2554 คน -แหล่งเรียนรู้ จานวน 14 คน

-ศึ ก ษ า ดู ง า น แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ เศรษฐกิจพอเพียง 1 ครั้ง -นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง เศรษฐกิจพอเพียง หลังจากกลับ จากศึ ก ษาดู ง านผู้ รั บ ผิ ด ชอบ กิ จ ก ร ร ม ไ ด้ จั ด กิ จ ก ร ร ม แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และนักเรี ยน ร่ ว มกั น ท าโครงการเศรษฐกิ จ พอเพียง 1 โครงการคือโครงการ ปลูกกล้วย -นั ก เรี ย นที่ ร่ ว มกิ จ กรรมได้ ร่วมกันเตรียมดินและปลูกกล้วย จานวน 30 ต้น -นักเรียนมีทักษะในการเตรียม ดิน ปลูก การเตรี ย มพั น ธุ์ ก ล้ ว ย การปลูกกล้วย

-นั ก เรี ย นได้ ไ ปสื บ หาแหล่ ง เรี ย นรู้ เ รื่ องการทาย าผัก กูดที่ มี ชื่ อ เสี ย งในหมู่ บ้ า นของตนเอง และได้ศึกษาวิธีการ เคล็ดลับใน การท าย าผั ก กู ด แก่ นั ก เรี ย น แหล่ ง เรี ย นรู้ เ หล่ า นี้ พ ร้ อ มที่ ใ ห้ ความร่วมมือกับโรงเรียน

หน้า 13


2.2 นักเรียนเรียนรู้วิธีการ เก็บยอดผักกูดและเก็บยอด ผักกูดจากปุาด้วยตนเอง

-

13 ตุลาคม 2554

2.3 จัดกิจกรรมแข่งขันทายา

-

14 ตุลาคม

ผักกูด

2554

3. กลุ่มสนใจผลิตภัณฑ์ ท้องถิ่น -ศึกษาแหล่งเรียนรู้การปัก ลายผ้าคลุมผมสตรี

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

13 ตุลาคม 2554

-บุคลากร 5 คน -นักเรียน 41 คน -ภูมิปัญญาท้องถิ่น 6 คน

-นักเรียนที่ร่ วมกิจกรรมได้ฟัง การบรรยายเรื่องการเก็บยอดผัก กู ด จากภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น เป็ น เวลา 1 ชั่วโมง -นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมมีทักษะ การเก็บยอดผักกูด -นั ก เรี ย น ยอม รั บ ว่ า เหนื่ อ ย ลาบากแต่ก็สนุกดี -ภูมิ ปัญ ญาท้อ งถิ่น เห็ น ด้ วยกั บ กิจกรรมอย่างนี้เพราะอย่างน้อย นั ก เ รี ย น จ ะ ไ ด้ รู้ จั ก ค ว า ม ยากลาบาก

-บุคลากร 8 คน -จัด กิ จกรรมแข่ งขั น ท าย าผั ก -นักเรียน 35 กูด 1 ครั้ง จานวน 6 กลุม่ คน -นั ก เรี ย น ที่ ร่ ว มกิ จ กรรมมี -ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทักษะในการทายาผักกูดดีขึ้นได้ 14 คน ดีทั้งรสชาติ การตกแต่ง -ผู้เข้าแข่งขันขอให้จัดกิจกรรม นี้อีก -ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น เห็ น ว่ า กิจ กรรมนี้มี ป ระโยชน์ น่ า จะให้ นักเรียนร่วมกิจกรรมมาก ๆ -นักเรียน 5 คน -ศึ ก ษาแหล่ ง เรี ย นรู้ ก ารท า -ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น 1 ครั้ง 2 คน -นั ก เรี ย นมี ค วามรู้ แ ละทั ก ษะ เรี ยนรู้ การเย็บผ้า คลุมสตรี จาก แหล่ ง เรี ย นรู้ โดยไ ด้ ส าธิ ต วิ ธี ก า ร เ ย็ บ ผ้ า ค ลุ ม ผ ม ส ต รี นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการและได้ เริ่มทาในขั้นตอนง่าย ๆ

หน้า 14


กิจกรรมที3 “สุขกาย สบายใจ” 3.1 กีฬาสัมพันธ์ 3.1.1 สารวจความสนใจของ นักเรียน

3.1.2 จัดแข่งขันกีฬาฟุตบอล ( ระหว่างโรงเรียนเฉลิมพระ เกี ย รติ ฯ กั บ โรงเรี ย นสุ กั ญ ศาสน์วิทยา )

3.1.3 จัดแข่งขันกีฬา วอลเล่ย์บอล (ระหว่างโรงเรียนเฉลิมพระ เกียรติฯกับโรงเรียนสุกัญ ศาสน์วิทยา)

-

-

5 ตุลาคม -นักเรียน 257 คน -ส ารวจความสนใจในการจั ด 2554 กิ จ ก ร ร ม กี ฬ า สั ม พั น ธ์ กั บ หน่วยงานชุมชน 1 ครั้ง -นั ก เรี ย นมี ค วามสนใจในการ ร่วมกิจกรรมกีฬา

15

-นักเรียนชาย รร. กุมภาพัน เฉลิมพระเกียรติฯ 18 คน ธ์ -นักเรียนชาย รร.สุ 2555 กัญศาสน์ 14 คน -บุคลากร รร,เฉลิม พระเกียรติฯ จานวน 4 คน -บุคลากร รร.สุกัญ ศาสน์ จานวน 3 คน 15 -นักเรียนหญิง รร. กุมภาพัน เฉลิมพระเกียรติฯ 12 คน ธ์ -นักเรียนหญิง รร. 2555 สุกัญศาสน์ 12 คน -บุคลากร รร.เฉลิม พระเกียรติฯ จานวน 2 คน -บุคลากร รร.สุกัญ

-จัดแข่งขันฟุตบอล 1 ครั้ง -นั ก เรี ย น แ ละบุ ค ลา กรขอ ง โรงเรียนทั้งสองมีความสัมพัน ธ์ ใกล้ชดิ และสนิทสนมมากขึ้น

-จั ด กิ จ ก ร ร ม แ ข่ ง ขั น วอลเล่ย์บอล 1 ครั้ง --นั ก เรี ย นและบุ ค ลากรของ โรงเรียนทั้งสองมีความสัมพัน ธ์ ใกล้ชิดและสนิทสนมมากขึ้น

ศาสน์ จานวน 2 คน

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 15


3.2 จัดกีฬาอาวุโส -จั ด แ ข่ ง ขั น กี ฬ า อ า วุ โ ส (ฟุตบอล) ระหว่างทีมผู้นา ชุมชนต าบลบางปอ กับ ที ม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 39

3.3 กีฬาพื้นบ้าน 3.3.1 สารวจประเภทกีฬา พื้นบ้าน 3.3.2 จัดกิจกรรมซีละกริช

4. ความเข้มแข็งทาง จิตใจ 4.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะ ทางจิตใจ

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

29 -ผู้นาท้องถิ่น 15 กรกฎาคม คน 2554 -บุคลากรโรงเรียน ราชประชานุ เคราะห์ 39 จานวน 13 คน -บุคลากร 4 คน -นักเรียน 6 คน

-

5 ตุลาคม 2554 15 กุมภาพัน ธ์ 2555

-

-

-จั ด แ ข่ ง ขั น กี ฬ า อ า วุ โ ส ( ฟุ ต บ อ ล ) ร ะ ห ว่ า ง ที ม ผู้ น า ท้ อ งถิ่ น ต าบลบางปอกั บ ที ม บุค ลากรโรงเรี ยนราชประชานุ เคราะห์ 39 อ าเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส 1 ครั้ง -เป็นการแข่งขันเพื่อสุขภาพไม่ เน้นผลแพ้ชนะ -เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ ดี ร ะหว่ า งโรงเรี ย นกั บ ชุ ม ชน / หน่วยงานอื่น

-นักเรียน 257 คน -สารวจความสนใจในประเภท กีฬา การละเล่นพื้นบ้าน 1 ครั้ง -นักเรียน 257 คน -นักเรียนสนใจการร่วมกิจกรรม -บุคลากร 28 คน ที่ได้บุคลากรและนักเรียน 1 ครั้ง -ผู้ปกครอง 250 -รู้วิธีการกาจัดความเครียดของ คน ตนเอง รู้สึกสงสารและเห็นใจผู้ที่ ประสบปัญหาต่าง ๆ ทาอย่างไร ใ ห้ ทุ ก ค น ไ ม่ กั ง ว ล ห รื อ หวาดระแวงนั ก เรี ย นที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากเหตุการณ์ค วาม ไม่ ส งบเป็ น อี ก กลุ่ ม หนึ่ ง ที่ ต้ อ ง ดูแลอย่างใกล้ชิด -ต้อนรั บการมาศึกษาโครงการ น าร่ อ งฯจากหน่ ว ยงานอื่ น 1 คัดเลือก

17 -บุคลากรจาก สิงหาคม โรงพยาบาล 2554 ส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบางปอ 2 คน -นักเรียน 257 คน

-จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องภาวะ ทางจิต แก่บุคลากรและนักเรียน 1 ครั้ง -รู้วิธีการกาจัดความเครียดของ ตนเอง รู้สึกสงสารและเห็นใจผู้ที่ ประสบปัญหาต่าง ๆ ทาอย่างไร หน้า 16


4.2 ต้อนรั บการมาเยี่ยม ศึ ก ษา โ ค รงกา ร ของศู น ย์ ประสานงานวิ ช าการเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ จากเหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบ จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ใ ต้ มหาวิ ท ยาลั ย นราธิ ว าสราช นครินทร์ (ศวชต.ม.นร.)

-

-บุคลากรของ ให้ทุกคนไม่กังวล หรือ โรงเรียนเฉลิมพระ หวาดระแวงนักเรียนที่ได้รับ เกียรติฯ 10 คน ผลกระทบจากเหตุการณ์ความ ไม่สงบเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่ต้อง ดูแลอย่างใกล้ชิด 5 ตุลาคม -บุคลากรจาก -ต้อนรับการมาศึกษาโครงการนา ร่องฯจากหน่วยงานอื่น 1 2554 ศวชต. 2 คน หน่วยงาน -บุคลากรของ -คาดว่าจะได้รับความ โรงเรียนเฉลิมพระ ช่วยเหลือด้านวิชาการแก่ เกียรติฯ 2 คน นักเรียน บุคลากรได้รับ ผลกระทบ -ศูนย์ฯได้เชิญบุคลากรของ โรงเรียนร่วมสังเกตการณ์ ประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียน ในวันที่ 15 ตุลาคม 2554 ณ หอประชุมบรมราชกุมารี สานักงานคณะกรรมการอิสลาม ประจาจังหวัดนราธิวาส

4.3 จัดกิจกรรมต่อต้านยา เสพติด

4.4 จัดกิจกรรม“อบรม จริยธรรมสาหรับมุสลีมะห์”

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

-

15

-นักเรียนชาย กุมภาพัน จานวน 75 คน ธ์ 2555 -วิทยากรจาก อาสาสมัครเพื่อ แก้ไขปัญหายาเสพ ติดชายแดนใต้ 10 คน 15 -นักเรียนหญิง กุมภาพัน จานวน 190 คน ธ์ 2555 -วิทยากรจาก โรงเรียนสมานมิตร วิทยา อาเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จานวน 2 คน

-ให้ความรู้เรื่องภัยของยาเสพติด ในด้านต่าง ๆ แก่นักเรียน -นักเรียนตระหนักถึงพิษภัยของ ยาเสพติด และได้ร่วมแสดงออก ถึงการเกลียดชังยาเสพติด -อบรมจริ ย ธรรมส าหรั บ มุ ส ลี มะห์ ( ผู้หญิง ) -นักเรี ยนหญิงเห็น ความสาคั ญ ของการปฏิ บั ติ ต นเป็ น คนดี มี จริยธรรมที่งดงาม สมกับเป็นมุส ลี ม ะ ห์ ( กุ ล ส ต รี ) เ พื่ อ เ ป็ น หน้า 17


แบบอย่ า งแก่ ชุ ม ชนและสั ง คม โดยส่วนรวม

กิจกรรมที4 “เยาวชนรักษ์ศาสนา” 4.1มัจลิสคอตัมอัล-กุร อาน* 4.1.1พบปะกับผู้นาศาสนา และชุมชน

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

20-21 -บุคลากร จานวน สิงหาคม 2 คน 2554 -นักเรียนจานวน 7 คน -ผู้นาศาสนาและ ชุมชน 8 หมู่บ้าน

-นั ก เรี ย นที่ ร่ ว มกิ จ กรรมไป พบปะกับผู้นาศาสนาและชุมชน และได้มอบลูกอิทผาลัมสาหรั บ แก้ศีลอดในตาบลบางปอ -นั ก เรี ย นที่ ร่ ว มกิ จ กรรมได้ เรียนรู้วิธีการพบปะผู้นาศาสนา และชุมชน -ไ ด้ รั บ ค า แ น ะ น า ก า ร จั ด กิ จ กรรมคอตั ม อั ล -กุ ร อานจาก ผู้ น า ศ า ส น า ว่ า ค ว ร จั ด ใ ห้ ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน

หน้า 18


4.1.2จัดกิจกรรมมัจ

-

ลิสคอตัมอัล-กุรอาน

4.2 คุณธรรมสัญจร*

-

4.2.1.คุณธรรมสัญจร -แบ่งกลุ่มนักเรียน

4.2.2 นานักเรียนฝึกฝน คุณธรรมของกิจกรรม คุณธรรมสัญจร ณ มัสยิด บ้านจูดแดง

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

22 กุมภาพัน ธ์ 2555

-บุคลากรจานวน 30 คน -นักเรียนจานวน 198 คน -ผู้ปกครองจานวน 102 คน -ผู้นาศาสนา จานวน 8 คน -ผู้นาชุมชน 10 คน -ผู้บริหาร บุคลากร โรงเรียประถมศึกษา จานวน 7 คน -ผู้บริหาร บุคลากร โรงเรียนเอกชน สอนศาสนา อิสลาม จานวน 8 คน 17 -นักเรียนกลุ่มที่ 1 มิถุนายน จานวน 15 คน 2554 -ชุมชนบ้านโคกสุมุ จานวน 10 คน

-นักเรียนเข้าร่วมพิธีคอตัม อัลกุรอาน จานวน 20 คน -นักเรียนที่เข้าร่วมพิธีคอตัม อัลกุรอาน มีความมั่นใจในการ อ่านกุรอาน -ผู้ปกครองมีความภาคภูมิใจใน บุตรหลานที่เข้าร่วมพิธี -ชุมชนเห็น ความส าคัญ ในการ จัดเรียนการสอนอัลกุรอานและ มี ค วามคาดหวั ง ว่ า ชุ ม ชนจะ ส่งเสริ มให้บุตรหลานเรี ยนอัลกุ รอานมากยิ่งขึ้น

-อบรมนักเรียนเรื่องมารยาทใน การพานักในมัสยิด การทักทาย และการเคารพผู้อาวุโส 1 ครั้ง -นักเรี ยนมีค วามส ารวมในการ พบปะกั บ ผู้ อ าวุ โ สและปฏิ บั ติ ตามมารยาทในการพ านั ก ใน มัสยิด 27 -บุคลากร จานวน -นักเรียนได้ฝึกฝนตนเองด้า น สิงหาคม 8 คน คุณธรรม 1 ครั้ง 2554 -นักเรียนกลุ่มที่ 2 -นักเรียนได้ฝึกฝนมารยาทการ จานวน 20 คน เดิ น ทา ง มา รยา ทใน มั ส ยิ ด -ชุมชนบ้านจูดแดง มารยาทการทักทาย มารยาทใน จานวน 26 คน การเยี่ ย มเยี ย น การช่ ว ยเหลื อ ตนเอง การเอื้ออาทร เป็นต้น

หน้า 19


กิจกรรมที5 “ชุมชนสีเขียว”

-

22 -บุคลากร จานวน กันยายน 5 คน 2554 -นักเรียน จานวน 257 คน

-ส ารวจความสนใจเพื่ อ จั ด กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 1 ครั้ง -นั ก เรี ย นส่ ว นใหญ่ มี ค วาม สน ใ จ ร่ ว ม กิ จก ร ร ม อ นุ รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อม

-

31 -บุคลากร จานวน มกราคม 4 คน 2555 -นักเรียน จานวน 30 คน

-ศึกษาเรื่องสิ่งแวดล้อมและการ อ นุ รั ก ษ์ จ า ก วิ ท ย า ก ร ข อ ง อุทยาน -นั ก เรี ยน ไ ด้ รั บค ว า ม รู้ ด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ มและการอนุ รั ก ษ์ และได้ ร่ ว มจั ด กิ จ กรรมการ อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มบริ เ วณ อุทยาน -จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรี ยนที่

5.1 สารวจแหล่งเรียนรู้ด้าน สิ่งแวดล้อม

5.2 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาวเขาตันหยง

โรงเรียนและจัดกิจกรรมลอกบึง ในบริเวณโรงเรียนเป็นการปรับ ภูมิทัศน์ของโรงเรียนเพื่อใช้เป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 5.3 กิจกรรมอนุรักษ์สระน้า ของโรงเรียน

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

-

11 -บุคลากร 2 คน กุมภาพัน -นักเรียน 13 คน ธ์ 2555

-ร่วมกันเก็บพืชน้าที่ขึ้นปกคลุม สระน้าของโรงเรียน -นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะในการก าจั ด พื ช ที่ ป กคลุ ม ผิ ว น้ า และเห็ น ความ สาคัญของการดูแลสภาพ หน้า 20


แวด ล้อมให้เป็นปกติตลอดเวลา

5. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ 5.1 ระดับกิจกรรม

5.2 ระดับจังหวัด

-

14 ตุลาคม 2554

-บุคลากร 13 คน -จัดกิจกรรมแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ -นักเรียน 35 คน ระดับกิจกรรม 1 ครั้ง -ชุมชน 14 คน -นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะการน าเสนอ และได้รับความรู้ด้านต่าง ๆ -บุคลากรมีความมุ่งมั่นในการ จัดกิจกรรมมากขึ้น

-

19

-บุคลากร 28 คน -ร่ ว มแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร ะดั บ -นักเรียน 15 คน จังหวัด ณ โรงแรมดิอิมพีเ รี ย ล -ชุมชน 6 คน อ าเภอเมื อ ง จั ง หวั ด นราธิ ว าส กับหน่วยงานที่ร่วมโครงการนา ร่อง ฯ -บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นแนวทางในการนาเสนอ ผลงาน -บุ ค ล า ก ร ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ความสาคัญและเห็น ประโยชน์ ของการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ใ น การพัฒนาการศึกษา -นั ก เรี ย นและบุ ค ลากรมี ค วาม ภาคภู มิ ใ จที่ มี โ อกาสน าเสนอ ผลงานของตนเองต่อสาธารณะ ชน -บุคลากรเริ่มให้ความสาคัญกับ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการจัดการศึกษา

ตุลาคม 2554

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 21


19 มีนาคม

ถอดบทเรียน

-บุคลากร 7 คน -นักเรียน 55 คน

-จั ด กิ จ กรรมถอดบทเรี ย นของ โ ค ร ง ก า ร โ ด ย ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ กิ จ กรรมแต่ ล ะกิ จ กรรมและ นักเรียนที่ร่วมกิจกรรม -ครู แ ละนั ก เรี ย นมี ค วามเข้ า ใจ การถอดบทเรี ย นของกิ จ กรรม แล้ ว น ามาหลอมรวมเป็ น ของ โครงการอีกครั้งหนึ่ง

5.3 ระดับประเทศ

-

26-27 มีนาคม 2555

-บุคลากร 6 คน -นักเรียน 4 คน

-ร่ ว ม แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ ระดับประเทศ ณ มหาวิทยาลัย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ ร่ ว ม กั บ หน่ ว ยงานที่ ร่ ว มโครงการทั่ ว ประเทศ -นั ก เ รี ย น มี ส่ วน ร่ ว ม ใน กา ร นาเสนอการดาเนินการโครงการ ในรู ปแบบนิท รรศการและการ แสดงศิ ล ปพื้ น บ้ า นซี ล ะ ท าให้ เกิ ด ความภาคภู มิ ใ จในผลงาน และจากการมี ส่ ว นร่ ว มในการ ชื่ น ชมในผลงานของโครงการ จากหน่ ว ยงานทั่ ว ประเทศเกิ ด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ค วาม หลากหลายในกิ จ กรรมของ โครงการสามารถน าไปปรั บใช้ ในการจัดทากิจกรรมต่าง ๆ ได้ เป็นอย่างดียิ่ง -บุคลากรมีโอกาสชื่นชมผลงาน ของโครงการท าให้ เ กิ ด ความ ตระหนักถึงความสาคัญของการ

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 22


จัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของ ทุก ภาคส่ วนเพื่อ พั ฒนาการจั ด การศึกษาของชาติให้มีคุณภาพ ต่อไป -บุค ลากรมี โ อกาสน าเสนอการ ด าเนิ น งานของโครงการใน รูปแบบการเสวนาทางวิชาการ ทาให้เกิดความภาคภูมิใจ และมี ความตั้งใจในการนาวิธีการของ โครงการจาการแลกเปลี่ ย น เรียนรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ ชุ ม ชนและประเทศชาติ ต่ อ ไป ด้วย

3.ขั้นตอนการดาเนินโครงการ 1. ประชุมคณะทางานเพื่อกาหนดกรอบการดาเนินงานของโครงการ 2. สารวจและวิเคราะห์ชุมชน เพื่อค้นหาความต้องการของชุมชนในด้านต่าง ๆ 3. รับสมัครนักเรียนเพื่อเป็นคณะกรรมการชองแต่ละกิจกรรม 4. ดาเนินกิจกรรมของโครงการตามตารางการดาเนินงาน 5. ติดตามการดาเนินงานของคณะทางานแต่ละกิจกรรม 6. ประเมินผล และเผยแพร่ผลงาน

4.การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ 1. ศูนย์ประสานงานวิชาการเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบจังหวัด ชายแดนใต้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์( ศวชต. ม.นร.) มาศึกษากิจกรรมเสริมสร้างความมั่นคงทาง จิตใจและเชิญบุคลากรของโรงเรียนร่วมสังเกตการณ์การประชุมเรื่องการถอดบทเรียน ณ หอประชุ มบรมราช กุมารี สานักงานคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดนราธิวาส วันที่ 15 ตุลาคม 2554 2.การได้รับความอนุเคราะห์วิทยากรในการให้ความรู้เรื่อง “ยาเสพติดให้โทษอย่างไร” จากชมรม บัณฑิตอาสาเพื่อช่วยเหลือปูองกันปัญหายาเสพติดในจังหวัดชานแดนใต้

5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 23


1.การทาความเข้าใจกับบุคลากรในการร่วมทาโครงการเนื่องจากเป็นโครงการใหม่บุคลากรยังไม่ คุ้นเคย 2.การดาเนินโครงการที่ต้องอาศัยความร่วมมือกับชุมชนยังเป็นสิ่งใหม่สาหรับบุคลากร 3.การจัดกิจกรรมมีปัญหาเนื่องบุคลากรมีภาระงานมากทาให้กิจกรรมบางอย่างล่าช้าไป 4.บุคลากรบางคนยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง 5.บุคลากรยังขาดทักษะการเข้าถึงชุมชนอย่างเป็นกันเอง 6.การออกพื้นที่ในชุมชนต้องเลือกวัน เวลา โอกาสที่เหมาะสมเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ บ่อย

6.ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น 1.ต้องชี้แจงทาความเข้าใจหลาย ๆ ครั้ง 2.ต้องพูดคุยอย่างเป็นทางการและเป็นการส่วนตัวเพื่อให้บุคลากรมองเห็นแนวทางและเกิดความ มั่นใจ 3.ติดตามความเคลื่อนไหวของกิจกรรมบ่อย ๆ 4.จัดประชุมชี้แจงอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 5.อาศัยการฝึกฝนบ่อย ๆ จนทาให้เกิดทักษะในการเข้าถึงชุมชน 6.ติดตามข่าวสารบ้านเมืองและประสานกับชุมชนจนมั่นใจในความปลอดภัยก่อนออกพื้นที่ทุกครั้ง

7.แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป สิ้นสุดโครงการ 8.โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน.........4..........ครั้ง ได้แก่ 1.ศูนย์ประสานงานวิชาการเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ( ศวชต.ม.นร.) 2. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.1 ระดับกิจกรรม - จัดกิจกรรมเสวนาระดับกิจกรรม 2.2 ระดับจังหวัด

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 24


-จัดนิทรรศการ -นาเสนอของจริง ( ยาผักกูด ) -นาเสนอโครงการโดยผ่านสือ่ PowerPoint -นาเสนอโดยผ่านสกู๊ปประกอบเพลง 2.3 ระดับประเทศ -จัดนิทรรศการ -การแสดง ซีละกริช “ศิลปะปูองกันตัวของภาคใต้” -ร่วมเสวนา “ทางเลือกของประเทศไทย”

ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ ( ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ )

ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ ที่เกิดขึ้นจริง นักเรียน บุคลากร มีส่วนร่วมใน โครงการ นักเรียนมีความ สารวมใน กิริยามารยาท ชุมชนมีส่วนร่วม ในโครงการ 1.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มี ความชื่นชมและ ภาคภูมิใจใน ชุมชนของตนเอง

นักเรียน บุคลากร มีส่วนร่วมใน โครงการ นักเรียนยังกล้า ๆ กลัว ๆในการ ทักทายผู้อาวุโส ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว ม ในโครงการน้อย 1.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มี ความชื่นชมและ ภาคภูมิใจในชุมชน ของตนเอง

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

อธิบายรายละเอียด -บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน จัดทาหลักสูตร การปฏิบัติ -นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของโครงการ -การพบปะกับผู้อ าวุโ สของนักเรี ยนเพื่อเรี ยนรู้ คุณ ลั กษณะที่ดีใ นการ แสดงออกยัง ปฏิบั ติไ ด้ไ ม่ค่ อยดี เ ท่ า ที่ ค วรอาจเนื่อ งมาจากการเริ่ มจั ด กิจกรรม นอกจากการประชุมเพื่อวางกรอบของโครงการแล้วชุมชนยังมีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรมน้อยเนื่องจากบางกิจกรรมเพียงเป็นการเริ่มต้น 1. จากกิจกรรมเรียนรู้ประวัติชุมชนที่ผู้ร่วมกิจกรรมของโครงการได้มี โอกาสพบปะเพื่อสัมภาษณ์ผู้อาวุโสที่เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านประวัติของ ตาบลบางปอ หลังจากที่ไ ด้ มีปฏิ สัม พัน ธ์ แ ล้ว ทาให้ท ราบที่ม าของชื่ อ “บางปอ”ซึ่งเข้าใจว่ายังมีชาวบางปออีกส่วนใหญ่ ที่ยังไม่ทราบที่มาของ ชื่อนี้ จึงเกิดความภาคภูมิใจในตนเองที่ได้ทราบเรื่องนี้จากแหล่งเรียน เรียนรู้ด้วยตนเอง 2. กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนผู้รับผิดชอบกิจกรรมและ นักเรียนได้ทัศนศึกษาแหล่งเรียนเรียนรู้ ณ มัสยิดตะโละมาเนาะ อาเภอ บาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งเป็นโบราณสถานของประเทศ มีอายุกว่า 300 ปีได้รับทราบความเป็นมาของชื่อตะโละมาเนาะ การก่อสร้างมัสยิด ศิลปกรรมของชนสมัยนั้น ซึ่งถ่ายทอดผ่าน ลวดลายบนฝาผนัง ลักษณะ การก่อสร้างที่ไม่ใช้ตาปูแต่ใช้สลักไม้แทน เป็นต้น ก่อให้เกิดความชื่นชม หน้า 25


และภาคภูมิใจในชุมชนกับนักเรียนและบุคลากร 2.ผู้ร่วมโครงการ 2.ผู้ร่วมโครงการ กิจกรรมฝึกฝนอาชีพได้มีการจัดการเรียนรู้โดยให้นักเรียนได้สัมผัส ร้อยละ 80 มี ร้อยละ 80 มี มิติต่าง ๆ ด้วยตัวของนักเรียนเอง ทักษะและสืบทอด ทักษะและสืบทอด 1. กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง นักเรี ยนศึกษาดูงานด้า นเศรษฐกิ จ อาชีพของชุมชน อาชีพของชุมชน พอเพียง ณ ค่ายจุฬาภรณ์ ได้เรียนรู้ถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมต่าง ๆ ของเศรษฐกิจพอเพียง จนเกิดความเข้าใจ หลังจากนั้น นักเรียนไดร่วมกันจัดกิจกรรมทาแปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง (การปลูก กล้วย ) ที่โรงเรียน การอบรมด้านอาชีพการทาสวนยางพาราเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ถึง โอกาสและการเกิดรายได้จากการปฏิบัติ เนื่องจากผู้ปกครองส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทาสวนยางพารา วิทยากรได้ชี้ ถึงรายได้ที่สูญเสียไปของ ชุมชนเนื่องจากการผลิตยางแผ่นที่ไม่ได้มาตรฐาน จุดประกายแนวคิดว่า จะทาอย่างไรให้รายได้เหล่านั้นไม่สูญเสียไป 2. กิจกรรมอาหารพื้นบ้าน เริ่มจากนักเรียนไปศึกษาวิธีการทายาผักกูด จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีอยู่ ใ นชุมชน ไปเก็บยอดผัก กูดจากปุา ด้ ว ย ตนเอง จัดกิจกรรมแข่งขันทายาผัดกูด การทายาผักกูดแล้วนาเสนอใน กิจกรรมเสวนาระดับจังหวัด นักเรียนมีความรู้และเกิดทักษะในการเก็บ และทายาผักกูด ชุมชนให้การสนับสนุนองค์ความรู้ 3. กิจกรรมผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น นักเรียนไปฝึกการตัดเย็บผ้าคลุมศีรษะสตรี มุสลิม จากแหล่งเรียนรู้ และนาผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปแสดงในเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระดับจังหวัด จากการจัดกิจกรรมเหล่านี้ทาให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น มุ่งมั่น พยายาม รับรู้ความเหนื่อยยาก ซึ่งจะทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดย ตนเอง จากกิ จกรรมที่เ ข้า ร่ วมและเกิดทั กษะจากการปฏิบัติจริ ง เกิ ด ความตระหนัก เกิดแนวคิดในการพัฒนาอาชีพของชุมชนเป็นผลผลิต อีกด้านหนึ่งที่ต้องฝึกฝนกันต่อไป 3.ผู้ร่วมโครงการ 3.ผู้ร่วมโครงการ กิ จ กรรมสุ ข กาย สบายใจเน้ น ให้ ผู้ ร่ ว มโครงการมี สุ ข ภาพกาย ร้อยละ 100 มี ร้อยละ 100 มี สุขภาพจิตดีจะเห็นได้จากผลการจัดกิจกรรมกีฬาอาวุโสผู้ร่วมโครงการ สุขภาพกาย ใจที่ สุขภาพกาย ใจที่ เป็นผู้มีอายุ ซึ่งเป็นวัยทางานไม่ค่อยมีเวลาดูแลสุขภาพของตนเองการที่ ดี ดี คนเหล่ า นี้ ไ ด้ มี เ วลาออกก าลั ง กายวั น ละนิ ด น่ า จะท าให้ สุ ข ภาพดี ขึ้ น กิ จ กรรมเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ทางจิ ต ใจเป็ น อี ก กิ จ กรรมหนึ่ ง ที่ มี ประโยชน์ต่อผู้ร่วมกิจกรรมเพราะสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปจัดการกับ อารมณ์ของตนเองแม้ว่ายังไม่ดีมากแต่เชื่อว่าสามารถลดภาวะทางจิตใจ ได้ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ผู้รับผิดชอบกิจกรรมได้ประสานงานกับศูนย์ รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 26


ประสานงานวิชาการเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความ ไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์( ศวชต. ม.นร.) มาศึกษากิจกรรมเสริมสร้างความมั่นคงทางจิตใจและทางศูนย์ได้ เชิญบุค ลากรของโรงเรี ยนร่ วมสังเกตการณ์ การประชุมเรื่ องการถอด บทเรียน ณ หอประชุมบรมราชกุมารี สานักงานคณะกรรมการอิสลาม ประจาจังหวัดนราธิวาส วันที่ 15 ตุลาคม 2554 ที่ผ่านมา 1. กิจกรรมกีฬาอาวุโส ทางโรงเรียนได้จัดแข่งขันฟุตบอลอาวุโส ระหว่าง ทีมบุคลากรของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 39 ทีมผู้นาและเยาวชน ตาบลบางปอ โดยใช้สนามของโรงเรียน เกิดสัมพันธภาพที่ ดีระหว่าง ชุ ม ชนต าบลบางปอ บุ ค ลากรโรงเรี ย นเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ บุ ค ลากร โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 39 และมีข้อเสนอต้องการให้จัดกิจกรรม อย่างนี้อีกด้วย 2. กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์ จัดแข่งขันกีฬาฟุตบอลสาหรับนักเรียนชาย แข่ง ขัน กีฬ าวอลเล่ ย์บ อลสาหรั บนั กเรี ยนหญิ ง กั บที มโรงเรี ยนสุกั ญ ศาสน์วิทยาซึ่งเป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผลจากการจัด กิจกรรมนี้ทาให้เกิดการรื้อฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานขึ้นมาอีก ครั้งหลังจากที่ได้ขาดการติดต่อ ประสานสัมพันธ์มานานเนื่องจากอยู่คน ละสังกัด 3. กิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน ( ซีละ ) จากความสนใจของนักเรียนและชุมชน ในเรื่อง การซีละ ได้ฝึกนักเรียนที่มีความสนใจ ได้แก่นายนิพนธ์ ยะโก๊ะ นายอี รี ย ะห์ เปาะจิ ( ชุ ด เดี ย วกั น กั บ ที่ ม าแสดงในกิ จ กรรมเสวนา โครงการนาร่องฯที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เมื่อ 26 มีนาคม 2555 ) และได้เชิญนายมะเย็ง เจ๊ะแว วิทยากรซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น มา สาธิต ให้นักเรียน บุคลากร ชุมชน ได้ดูการซีละจริง อีกครั้ง ที่โรงเรียน ซึ่งใช้เสียงดนตรีพื้น เมืองสดจากชมรมซีละเป็นผู้ บรรเลง (ประกอบด้วย ปี่ กลองแขก ฆ้อง) หลังจากนั้นนักเรียนที่ฝึกซีละก็แสดงการซีละต่อ หน้ า บุ ค ลากร นั ก เรี ย น และชุ ม ชน กิ จ กรรมนี้ เ ป็ น การอนุ รั ก ษ์ ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นของชุมชน ทาให้ชุมชนเกิดความสุขที่ได้รักษาสิ่ง ที่มีค่าเหล่านี้ 4. กิจกรรเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ ได้จัดอบรมโทษของยาเสพ ติ ด แก่ โ ดยเชิ ญ บั ณ ฑิ ต อาสาเพื่ อ ปู อ งกั น ปั ญ หายาเสพติ ด ในจั ง หวั ด ชายแดนใต้เป็นวิทยากรให้การอบรม เพื่อลดความเสี่ยงแก่นักเรียนจาก ปัญ หายาเสพติ ดในพื้ น ที่ อบรมคุ ณ ธรรมจริ ยธรรมส าหรั บ มุส ลีม ะฮ์ (สตรีมุสลิมที่ดี )สาหรับนักเรียนหญิงโดยเชิญผู้รู้ทางศาสนาจากโรงเรียน

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 27


เอกชนสอนศานาอิสลามเป็นวิทยากรเพื่อให้นักเรียนผู้หญิงรู้จักมารยาท ของมุสลี มะฮ์แ ละน าไปปรั บใช้ ใ นสังคม ทั้งสองกิจกรรมนี้เ ป็ น การให้ “วัคซีนทางสังคมแก่เยาวชน” ให้มีความมั่นคงของอารมณ์ ซึ่งส่งผลต่อ ความเข้มแข็งทางจิตใจเป็นการปูองกันปัญหาสังคม ช่วยสร้ างสันติสู่ ชุมชนอีทางหนึ่ง 4.ผู้ร่วมโครงการ 4.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 100 เป็น ร้อยละ 100 เป็น คนดี มีคุณธรรม คนดี มีคุณธรรม

5.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มี ส่วนร่วม รับผิดชอบต่อ สังคมในด้าน อนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม

5.ผู้ร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มี ส่วนร่วม รับผิดชอบต่อ สังคมในด้าน อนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

1.กิจกรรมคุณธรรมสัญจรเต็มใจในการร่วมกิจกรรมจะเห็นได้จากการ ออกไปฝึกคุณธรรมสัญจรต่างหมู่บ้านเป็นเวลา 24 ชั่วโมงซึ่งต้องฝึก คุณธรรมด้านต่าง ๆ เช่นการเยี่ยมเยียนชาวบ้านในบริเวณมัสยิดที่ไป พานักอยู่โดยที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน การนั่งฟังการบรรยายธรรมจากผู้รู้เป็น เวลารวม 4 ชั่วโมงในเวลา 24 ชั่วโมงการเตรียมอาหารเอง การร่วม ปฏิบัติศาสนากิจอื่น ๆ ร่วมกับชาวบ้านในชุมชน ล้วนเป็นกิจกรรมที่ต้อง อาศัยความอดทน ความเข้าใจ ความเอื้ออาทรเป็นหลัก นอกจากนี้ผู้ร่วม โครงการได้แจกผลอินทผาลัมให้กับผู้ปกครอง ชุมชนเพื่อใช้ในการละศีล อด ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจและสนับสนุนให้ชุมชนปฏิบัติตามหลัก ศาสนา( การถือศีลอด ) 2. กิ จ กรรมมั จ ลิ ส คอตั ม อั ล กุ ร อาน โรงเรี ย นได้ เ ชิ ญ ผู้ น าศาสนา ผู้ปกครองในชุมชนมาเป็น สักขีพยานในการมอบเกียรติบัตรผู้จบการ เรียนอัลกุรอานแก่นักเรียน นักเรียนที่ได้รับเกียรติบัตรมีความภาคภูมิใจ ผู้ปกครองนักเรียนปลาบปลื้มใจในตัวนักเรียน และชุมชนสนับสนุนให้จัด กิจกรรมนี้ทุกปี 1. กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว-เขาตันหยง ฟัง การบรรยายและปฏิบัติกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นักเรียนมีความรู้ ความเข้ า ใจในปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม เห็ น ความส าคั ญ ในการอนุ รั ก ษ์ สิ่ง แวดล้ อม โดยเห็ น ได้ จ ากกิ จกรรมอนุ รั ก ษ์ สิ่ง แวดล้ อม นัก เรี ย นได้ ร่วมกันทาความสะอาดในสระน้าของโรงเรียน เก็บพืชน้าที่ขึ้นบนผิวน้า

หน้า 28


ส่วนที่ 3 สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ 1.ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน 1.1 รายงานผลโครงการ 1.2 สื่อนาเสนอการจัดกิจกรรมของโครงการ 1.3 ภาพ วีดีโอการดาเนินโครงการ 1.4 รายงานการถอดบทเรียน 1.5 รายงานการประชุมคณะทางาน 1.6 รายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.7 แบบประเมินตนเอง

ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) ลงชื่อผู้ทารายงาน (ผู้รับผิดชอบโครงการ)

ลงชื่อหัวหน้าองค์กรฯ (ผู้รับทุน)

(นายเจ๊ะบาฮารูดีน หะยีเจ๊ะยิ ) ตาแหน่ง ครู คศ. 2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ 10 เมษายน 2555

(นายนิรัตน์ นราฤทธิพันธ์) ผู้อานวยการโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ บางปอประชารักษ์ 10 เมษายน 2555

หมายเหตุ : รายงานความก้าวหน้าโครงการรายงวดฉบับนี้ สาหรับโรงเรียน ชุมชน วัด อบต. และแหล่งเรียนรู้ ใช้ประกอบการเบิกงบประมาณงวด

รายงานผลการดาเนินโครงการนาร่องฯ

หน้า 29


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.