แบบ รง.5
ชื่อโครงการ โครงการสืบสานวัฒนาธรรมประเพณีของชนเผ่า( กิจกรรมฟ้อนเจิง ) รายงานงวดที่ 2 ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน2554 ถึง เดือนสิงหาคม 2554
ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ - เป้าประสงค์/เป้าหมาย ด้านปริมาณ ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงจานวน 100 คน ด้านคุณภาพ ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดง ได้เรียนได้เรียนรู้ถึงศิลปะวัฒนธรรมการแสดงฟ้อนเจิง -วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมการแสดงฟ้อนเจิงของชนเผ่า 2. เพื่อให้ประชากรในชุมชนและนักเรียนได้เรียนรู้ทักษะกระบวนท่าลีลาและความหมายถึง ศิลปะการแสดงฟ้อนเจิง -ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงจะ ได้รับความรู้และมีทักษะในการฟ้อนเจิง จานวนร้อยละ 75 2. ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงได้ นาเอาศิลปะการฟ้อนเจิง ไปใช้ในงานพิธีมงคล รื่นเริงในหมู่บ้านเพิ่มขิ้น จานวนร้อยละ 75 2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ได้ทา อธิบายผลที่เกิดขึ้น กิจกรรมตามแผน ไม่ได้ทา กลุ่มและจานวนผู้ เมื่อวันที่ ทั้งปริมาณและ ร่วมกิจกรรม คุณภาพ กิจกรรมการฟ้อนเจิง 2 มิ.ย.- 18ส.ค.54 100 คน สมาชิกร้อยละ75 สามารถฟ้อนเจิงได้
3.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่ กาหนดไว้ 1.กิจกรรมการฟ้อนเจิงครั้งนี้ทาให้ชุนชุมสนใจและ ตระหนักถึงคุณค่าของการแสดงของชุมชนเพื่อที่จะ ได้นาไปใช้ในวิถีของตนเองเพิ่มมากขึ้น
จานวน ร้อยละ 60
4. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ ได้รับคาแนะนาจากผู้รู้เกี่ยวกับการฟ้อนเจิงหลายท่านในหมู่บ้านโป่งแดง บ้านหนองหลัก ที่มี ความชานาญในการฟ้อนเจิงที่มีความเหมือนและความต่าง 5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ(เป็นข้อ ๆ) 1. การดาเนินการในช่วงแรก ๆ เด็กนักเรียนยังขาดทักษะในการฟ้อนเจิง 2. ประชาชน เยาวชน ไม่สมารถมาร่วมกิจกรรมครบเพราะติดภารกิจในหน้าที่การงาน เช่น รับจ้าง เก็บลาไย เป็นต้น 6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค์ข้างต้น 1. กระตุ้นเด็กให้ฝึกซ้อมบ่อยๆ จะทาให้เกิดทักษะ 2. ต้องสารวจเวลาว่างของกลุ่มประชากร ชาวบ้าน เยาวชน ว่าต้องการมาร่วมกิจกรรมในช่วงเวลาใด 7. แผนงาน/กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดต่อไป ( / ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน 2 ครั้ง ได้แก่ ศึกษาดูการฟ้อนเจิงของผู้มีความรู้ในหมู่บ้านโป่งแดง บ้านหนองหลัก
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด 1. ผุ้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความ 1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 50 มี สังเกตได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม สารถในศิลปะการฟ้อนเจิง ความรู้ในในการแสดงศิลปะฟ้อน งานแต่งงาน งานรื่นเริงของ เจิงได้และสามารถนาไปใช้ใน หมูบ่ ้าน ชีวิตได้จริง
ส่วนที่ 3 สิ่งที่สง่ พร้อมรายงานครั้งนี้ 1. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน - ชิ้น 2. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม จานวน 8 ภาพ 3. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จานวน - ภาพ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม รูปภาพในการจัดกิจกรรม
รูปกิจกรรมการฟ้อนเจิง
นักเรียนทากิจกรรมการฟ้อนเจิงจากวิทยากร
นักเรียนได้ร่วมการฝึกซ้อมการฟ้อนเจิง
นักเรียนฝึกการฟ้อนเจิงอย่างตั้งใจ
วิทยากรให้ความรู้กระบวนท่าฟ้อนเจิงอย่างเต็มที่
ลงชื่อ
ลงชื่อ ( นางสาวไขแข ชัยเงินตรา ) ผู้ทารายงาน วันที่ 25 สิงหาคม 2554
(นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งแดง วันที่ 25 สิงหาคม 2554
แบบ รง.5 เลขที่ข้อตกลง 54-00480-13 งวดที่ 2
ชื่อโครงการ โครงการสืบสานวัฒนาธรรมประเพณีของชนเผ่า ( กิจกรรมเลี้ยงผี ปันปอนเรียก ขวัญภาษากระเหรี่ยง ) รายงานงวดที่ 2 ตั้งแต่ เดือนตุลาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน 2554
ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ - เป้าประสงค์/เป้าหมาย ด้านปริมาณ ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงจานวน 100 คน ด้านคุณภาพ ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดง ได้เรียนรู้ถึงพิธีขั้นตอน การเลี้ยงผี การปันปอน เรียกขวัญของชนเผ่ากะเหรี่ยง -วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้กระบวนการในเรื่องประเพณีการเลี้ยงผี การปันปอน เรียกขวัญ ของชนเผ่ากะเหรี่ยง 2. เพื่อให้ประชากรในชุมชนและนักเรียนได้เรียนรู้ตระหนักถึงความสาคัญ และวัฒนธรรม การเลี้ยงผี การปันปอน เรียกขวัญของตนเอง -ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงจะ ได้รับความรู้ในขั้นตอนพิธีการเลี้ยงผี การปันปอน เรียกขวัญ จานวนร้อยละ 75 2. ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงได้ นาความรู้และขั้นตอนกระบวนการเลี้ยงผี การปันปอน เรียกขวัญและสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ของตนเองได้ จานวนร้อยละ 80
2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้
กิจกรรมตามแผน
ได้ทา เมื่อวันที่
ไม่ได้ทา
กิจกรรมการเลี้ยงผี การปัน
ตุลาคม ถึง
ปอน เรียกขวัญแบบกระ
พฤศจิกายน 54
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม อธิบายผลที่ กลุ่มและจานวน เกิดขึ้นทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและ คุณภาพ 100 คน
ผู้เข้าร่วมร้อยละ75 รู้แลเข้าใจใน
เหี่ยง
ขั้นตอนการเลี้ยงผี การปันปอน เรียก ขวัญ
3.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้
จานวน
1.กิจกรรมการเลี้ยงผี การปันปอน เรียกขวัญ ครั้งนี้
ร้อยละ 80
ทาให้ชุนชุมสนใจและตระหนักถึงคุณค่าของพิธีการ การเลี้ยงผี การปันปอน เรียกขวัญ เพื่อที่จะได้ นาไปใช้ในชีวิต 4. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ ได้รับคาแนะนาจากผู้รู้เกี่ยวกับ การเลี้ยงผี การปันปอน เรียกขวัญ ของหมู่บ้านโป่งแดง จาก นายเจาะโพ จุนุ ว่ามี การเลี้ยงผี การปันปอนเรียกขวัญ นั้นจะทาก็ต่อเมื่อมีเหตุการ์ณที่ชาวบ้านได้รับการ เจ็บป่วย หรือเกิดอะไรขึ้นกับคนในหมู่บ้าน หรือสัตว์เลี้ยง ชาวบ้านถือว่าเป็นที่ไม่พอใจของผีในหมู่บ้าน
หรือบ้านเรือนของตนเอง ดังนั้นการเลี้ยงผีจึงมีขึ้นแล้วแต่เหตุการ์ณที่เกิดขึ้น และการเลี้ยงผีนั้นคงยังมีอีก หลายประเภท เช่ยเลี้ยงผีไร่นา ผีเหมืองฝาย ผีบ้านผีเรือน ผีประจาหมู่บ้าน เป็นต้น การปันปอน เรียกขวัญ จะทาพิธีก็ต่อเมื่อมีเหตุการ์ณขึ้นในบ้านหรือหมู่บ้านแล้ว มีการเลี้ยงผี เหตุการ์ณเป็นปกติก็จะมีการมัดมือ ปันปอน ให้เกิดความสุขสงบในครัวเรือนหมู่บ้านและตนเอง 5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ(เป็นข้อ ๆ) 1. การดาเนินการเด็กนักเรียนมีจานวนเยอะเกินไป 2. ประชาชน เยาวชน ไม่สมารถมาร่วมกิจกรรมครบเพราะติดภารกิจในหน้าที่การงาน เช่น รับจ้าง ตัดข้าวโพด , เก็บมันฝรั่ง และ เกี่ยวข้าว เป็นต้น 6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค์ข้างต้น 1. แบ่งเด็กออกเป็นกลุ่มๆ ตามระดับชั้น 2. ต้องสารวจเวลาว่างของกลุ่มประชากร ชาวบ้าน เยาวชน ว่าต้องการมาร่วมกิจกรรมในช่วงเวลา ใด 7. แผนงาน/กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดต่อไป ( / ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( / ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( / ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มี จานวน - ครั้ง ได้แก่
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และ
1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 75 มี
ความเข้าใจในขั้นตอนการการ
ความรูแ้ ละเข้าใจในขั้นตอนพิธี
เลี้ยงผี การปันปอนเรียกขวัญ
กรรมการเลี้ยงผี การปันปอนเรียก ขวัญ ที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 3 สิ่งที่สง่ พร้อมรายงานครั้งนี้ 1. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน - ชิ้น
อธิบายรายละเอียด สังเกตได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม จานวน 00 ภาพ 3. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จานวน - ภาพ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม รูปภาพในการจัดกิจกรรม
ลงชื่อ
ลงชื่อ ( นางสาวไขแข ชัยเงินตรา )
(นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์)
ผู้ทารายงาน
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งแดง
วันที่ 25 สิงหาคม 2554
วันที่ 25 สิงหาคม 2554
แบบ รง.5 เลขทีข่ ้อตกลง 54-00480-13 งวดที่ 2
ชื่อโครงการ โครงการสืบสานวัฒนาธรรมประเพณีของชนเผ่า ( กิจกรรมแต่งงาน ) รายงานงวดที่ 2 ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน2554 ถึง 2สิงหาคม 2554
ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ - เป้าประสงค์/เป้าหมาย ด้านปริมาณ ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงจานวน 100 คน ด้านคุณภาพ ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดง ได้เรียนรู้ถึงพิธีขั้นตอน การแต่งงานของชนเผ่ากะเหรี่ยง ( สะกอร์) -วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้กระบวนการในเรื่องประเพณีการแต่งงานของชนเผ่ากะเหรี่ยง สะกอร์ 2. เพื่อให้ประชากรในชุมชนและนักเรียนได้เรียนรู้ตระหนักถึงความสาคัญ และวัฒนธรรม การแต่งงานของตนเอง -ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงจะ ได้รับความรู้ในขั้นตอนพิธีการแต่งงานกะเหรี่ยงสะกอร์ จานวนร้อยละ 65 2. ประชากรในชุมชนบ้านโป่งแดง สัญชัย ดอยแก้ว และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งแดงได้ นาความรู้และขั้นตอนกระบวนการแต่งงานแบบกะเหรี่ยงสะกอ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของ ตนเองได้ จานวนร้อยละ 60
2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กิจกรรมตามแผน
กิจกรรมการแต่งงานแบบ
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่ มิ.ย. 54-ส.ค.54
กลุ่มและจานวนผู้ ร่วมกิจกรรม 100 คน
อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้งปริมาณและ คุณภาพ ผู้เข้าร่วมร้อยละ65
กะเหี่ยงสะกอร์
รู้แลเข้าใจใน ขั้นตอนการ แต่งงานแบบ กะเหรี่ยงสะกอร์
3.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่
จานวน
กาหนดไว้ 1.กิจกรรมการตางงานครั้งนี้ทาให้ชุนชุมสนใจและ
ร้อยละ 60
ตระหนักถึงคุณค่าของพิธีการแต่งงานแบบกะเหรี่ยง สะกอร์ เพื่อที่จะได้นาไปใช้ในชีวิตและสามารถๆป ช่วยงานแต่งงานของเพื่อนบ้าน
4. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ ได้รับคาแนะนาจากผู้รู้เกี่ยวกับการแต่งงานแบบกะเหรี่ยงสะกอร์ ของหมู่บ้านโป่งแดง จากนาง สุขใจ ใจมา ว่ามีการแต่งงานที่แบ่งเป็น 2 ประเภท คือแต่งงานแบบผูกข้อมือ และไม่ผูกข้อมือ และการ แต่งงานแบบกะเหรี่ยงโปว์ จากนางจีราภรณ์ วงค์ษา บ้านสัญชัย ที่มีการแต่งงานแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แต่งงานแบบผูกข้อมือ และไม่ผูกข้อมือ แต่การแต่งงานจะแตกต่างกันเพราะถ้าคู่บ่าวสาว อยู่ต่างเผ่าจะ แต่งงานตามที่ประเพณีของแต่ละเผ่ากาหนด
5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ(เป็นข้อ ๆ) 1. การดาเนินการเด็กนักเรียนมีจานวนเยอะเกินไป 2. ประชาชน เยาวชน ไม่สมารถมาร่วมกิจกรรมครบเพราะติดภารกิจในหน้าที่การงาน เช่น รับจ้าง เก็บลาไย เป็นต้น 6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค์ข้างต้น 1. แบ่งเด็กออกเป็นกลุ่มๆ ตามระดับชั้น 2. ต้องสารวจเวลาว่างของกลุ่มประชากร ชาวบ้าน เยาวชน ว่าต้องการมาร่วมกิจกรรมในช่วงเวลาใด 7. แผนงาน/กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดต่อไป ( / ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน 1 ครั้ง ได้แก่ ศึกษาดูแต่งงานของคู่บ่าวสาว บ้านโป่งแดง แต่งแบบกะเหรี่ยงสะกอ
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
อธิบายรายละเอียด
1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และ
1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 60 มี
สังเกตได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม
ความเข้าใจในขั้นตอนการ
ความรูแ้ ละเข้าใจในขั้นตอนพิธี
งานแต่งงาน ของหมู่บ้านโป่งแดง
แต่งงานแบบกะเหี่ยงสะกอว์
กรรมการแต่งงานที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 3 สิ่งที่สง่ พร้อมรายงานครั้งนี้ 1. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน 20 ชิ้น 2. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม จานวน 00 ภาพ 3. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จานวน - ภาพ
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม รูปภาพในการจัดกิจกรรม
ครูและนักเรียนไปร่วมกิจกรรมการแต่งงานของชาวบ้าน
ขนวนแห่ของเจ้าบ่าว และผู้ร่วมงาน
อาหารที่เจ้าของงานนามาเลี้ยงแขก
พิธีแต่งงานในตอนเช้าที่เจ้าสาวเจ้าบ่าวและเพื่อนเจ้าสาวเจ้าบ่าวต้องดื่มเหล้า และแจกให้ญาติพี่น้องดื่มจนหมด
เจ้าบ่าวเจ้าสาวกินไก่ที่นามาทาพิธีพร้อมกับเพื่อเจ้าบ่าวเจ้าสาว
หลังจากคู่บ่าวสาวกินอาหารเสร็จแล้ว ทั้งคู่และเพื่อน จะต้องสูบบุหรี่และอมเมี้ยง
ข้าวของที่ใช้ในเป็นสินสอดของฝ่ายหญิงฝ่ายชาย
หลังจากทาพิธีตอนเข้าเสร็จแล้ว ตอนเย็นส่งตัวคู่บ่าวสาว เจ้าสาวเปลี่ยนจาก ชุดยาวสีขาวเป็นผ้าถุงและเสื้อ ส่วนเจ้าบ่าวจะเปลี่ยนชุดเสื้อกะเหรี่ยง
ลงชื่อ
ลงชื่อ ( นางสาวไขแข ชัยเงินตรา )
(นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์)
ผู้ทารายงาน
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งแดง
วันที่ 25 สิงหาคม 2554
วันที่ 25 สิงหาคม 2554