โครงการ โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย กระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน”
โรงเรียนบ้านลาดวิทยา อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์/โทรสาร 0-3249-1343 http//banlat.ac.th
E-Mail Banlat @ banlat.ac.th
สารบัญ
โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด๎วยกระบวนการ การมีสํวนรํวมขององค์กรในชุมชน” โครงการ “ศูนย์การเรียนรู๎สูํชุมชนคนบ๎านลาดเพื่อสิ่งแวดล๎อมและสุขภาวะที่ดี” โครงการ “ การอนุรักษ์อาชีพท๎องถิ่นของคนบ๎านลาด (ตาลโตนด)” โครงการ “สืบสานการแสดงกลองยาวลิเก” โครงการ “สํงเสริมสายใยรักแหํงครอบครัวบ๎านลาด” โครงการ “ศูนย์การเรียนรู๎เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ๎านลาด”
หน้า 1 3 8 13 17 21
1
โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” เหตุผลและความเป็นมา สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร๎างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได๎มอบหมายให๎โรงเรียนบ๎านลาด วิทยา จังหวัดเพชรบุรี ดาเนินการจัดการศึกษาทางเลือกระบบการศึกษา ที่สามารถสร๎างเสริมสุขภาพของ ประชาชนในชุมชน อาเภอบ๎านลาด ทั้งทางด๎านรํางกาย จิต สังคมและสติปัญญา เพื่อให๎ประชาชนในชุมชน เป็นบุคคล ที่สมบูรณ์ เพียบพร๎อม และดารงชีวิตได๎อยํางมีความสุข โดยมีประเด็นสาคัญของระบบการศึกษา คือ การสร๎างความเข๎มแข็งที่ฐานรากที่จาเป็นต๎องเข๎ามามีสํวนรํวมในการจัดการศึกษาโดยให๎ความสาคัญ กับ ครอบครัวชุมชน ท๎องถิ่น สถาบันศาสนา เอกชนและองค์กรเอกชน องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น และองค์กรอื่น ของประชาชน เพื่อสร๎างชุมชนให๎เป็นชุมชนแหํงการเรียนรู๎ ทอดแทรกในการจัดกระบวนการเรียนรู๎ โดยการ สํงเสริมการเรียนรู๎ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง สํงเสริมและ สนับสนุน ศิลปวัฒนธรรม ในชุมชน อาเภอ บ๎านลาด ในการนี้ โรงเรียนบ๎านลาดวิทยาได๎จัดทาประชาคมโดยเชิญผู๎ที่เกี่ยวข๎องในแตํละภาคสํวน มาวิเคราะห์ บริบท จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค และจุดที่ควรพัฒนา พบวํา อาเภอบ๎านลาดมีจุดแข็ง ในด๎านอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี สิ่งแวดล๎อม ในขณะเดียวกันความเจริญทางด๎านการสื่อสาร เทคโนโลยี วัตถุตํางๆ ทาให๎เกิดปัญหา อุปสรรคในการพัฒนาสื่อที่มีอยูํให๎คงอยูํยั่งยืน ดังนั้นในที่ประชาคมจึงได๎ลงมติในที่ประชุม ให๎ดาเนิน โครงการ /กิจกรรม 5 โครงการยํอย คือ 1)โครงการศูนย์การเรียนรู๎สูํชุมชนคนบ๎านลาดเพื่อสิ่งแวดล๎อมและสุขภาวะที่ดี 2)โครงการ การอนุรักษ์อาชีพท๎องถิ่นของคนบ๎านลาด (ตาลโตนด) 3)โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 4)โครงการสํงเสริมสายใยรักแหํงครอบครัวบ๎านลาด 5) ศูนย์การเรียนรู๎เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุว เกษตรกรชุมชนบ๎านลาด ซึ่งทั้ง 5 โครงการยํอยเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การเรียนรู๎ ความเป็นไทย และ ความ พอเพียงดังนั้น โรงเรียนจึงได๎จัดโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนา การศึกษาด๎วยกระบวนการมีสํวนรํวม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย” ขึ้นมาเป็นแนวทางการดาเนินงาน โดยใช๎ชุมชนเป็นฐาน ตามความ หลากหลายของบริบทในชุมชน เพื่อเป็นต๎นแบบ และสนับสนุนให๎เกิดการขยายผลตํอไป
2
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและปลูกจิตสานึกให๎เยาวชนบ๎านลาดมีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ไปใช๎ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อขยายผล ด๎านความเป็นไทยและการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากเยาวชนสูํ ครอบครัวชุมชนคนบ๎านลาด 3. ถอดบทเรียนของระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทย โดยใช๎ชุมชนเป็นฐานตาม โครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้น เป้าหมาย เชิงปริมาณ จัดทาโครงการ 5 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการศูนย์การเรียนรู๎สูํชุมชนคนบ๎านลาดเพื่อสิ่งแวดล๎อมและสุขภาวะที่ดี 2. โครงการการอนุรักษ์อาชีพท๎องถิ่นของคนบ๎านลาด (ตาลโตนด) 3. โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 4. โครงการ สํงเสริมสายใยรักแหํงครอบครัวบ๎านลาด 5. โครงการศูนย์การเรียนรู๎เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชน บ๎านลาด เชิงคุณภาพ นักเรียนในสถานศึกษา เยาวชน และประชาชนในชุมชน ที่เข๎ารํวมโครงการ อยํางน๎อย ร๎อยละ 75 ได๎รับการพัฒนาตามชํวงวัย มีสุขภาพกาย แข็งแรงขึ้น มีแนวโน๎มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ สอดคล๎องกับโครงการ สูงขึ้น และมีการจัดกิจกรรมทางสังคมรํวมกัน ตัวชีว้ ัดความสาเร็จ ของโครงการ 1. ร๎อยละ 80 ของผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎วิถีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไป ใช๎ในชีวิตประจาวัน 2. ได๎หลักสูตร ของโครงการยํอย 5 หลักสูตร 3. ถอดบทเรียนของโครงการยํอย 5 บทเรียน 4. ชุมชน 18 ตาบลให๎การยอมรับ สนับสนุนและให๎ความรํวมมือ ทุกโครงการ 5. เยาวชนมีจิตสานึกในการรักอาชีพท๎องถิ่นมากขึ้น
3
วิธีการดาเนินโครงการย่อย 5 โครงการ ชื่อโครงการย่อยที่ 1 โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชน คนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 1. หลักการและเหตุผล สภาพสังคมปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากในอดี ต ด๎วยความเจริญก๎าวหน๎าของเทคโนโลยี ทาให๎วิถีการ ดาเนินชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปยึดติดกับวัตถุ จึงไมํคํอยมีคนให๎ความสนใจในองค์ความรู๎ ภูมิปัญญา ตํางๆ การดูแลสุขภาพด๎วยสมุนไพร เป็นต๎น ซึ่งพื้นที่อาเภอบ๎านลาดนั้นสํวน ใหญํเป็นพื้นที่ทางการเกษตรและ มีสภาพ แวดล๎อมที่หํางไกลจากมลพิษและมีทรัพยากรที่สาคัญ ได๎แกํ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรบุคคล ทั้ง ปราชญ์ชาวบ๎าน หมอพื้นบ๎าน หรือผู๎ที่มีความรู๎ความสามารถเกี่ยวกับภูมิปัญญาท๎องถิ่น ซึ่งหากมีการสืบทอด ไปสูํคนรุํนใหมํก็จะชํวยให๎คนในท๎องถิ่นเห็นคุณคําของภูมิปัญญาท๎องถิ่น และยังเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู๎ รํวมกัน นามาสูํการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว โดยจะเป็นพื้นฐานในการริเริ่มสร๎างสรรค์และ พัฒนาสังคมให๎เห็นคุณคําของท๎องถิ่นตํอไป องค์กรชุมชนในอาเภอบ๎านลาด เล็งเห็นความสาคัญของการสร๎างกระบวนการเรียนรู๎โดยนา “ พลัง ปัญญา ” ที่มีอยูํในวิถีการดาเนินชีวิตของประชาชนในพื้นที่อาเภอบ๎านลาด โดยนามาใช๎ให๎เกิดประโยชน์ จึงได๎ มีการจัดทาโครงการศูนย์การเรียนรู๎สูํชุมชนเพื่อสิ่งแวดล๎อมและสุขภาวะที่ดี โดยประสานพลังปัญญากับทาง โรงเรียนบ๎านลาดวิทยา อาเภอบ๎านลาด จังหวัดเพชรบุรี มุํงสูํเด็กนักเรียน และเยาวชน ซึ่งเป็นพลังสาคัญ ใน การ เพื่อการพัฒนาชุมชน เพื่อให๎เกิดความรํวมมือและเป็นการเสริมสร๎างกระบวนการเรียนรู๎ให๎กับคนใน ท๎องถิ่น และจะนาไปสูํการมี สุขภาวะที่ดีตํอไป 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร๎างจิตสานึกในการเป็นผู๎บริโภคที่มีการบริหารจัดการขยะที่ดี 2. เพื่อพัฒนาแหลํงเรียนรู๎ด๎านการรักษาสิ่งแวดล๎อม 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ 1. นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต๎นตาบลละ 5 คน ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายตาบลละ 5 คน รวม 18 ตาบล จานวน 180 คน 2. ผู๎แทนชุมชนจากตาบล 18 ตาบล ตาบลละ 2 คน จานวนรวม 36 คน จานวนรวมทั้งสิ้น 216 คน เชิงคุณภาพ นักเรียนและชุมชนมีความรู๎ความเข๎าใจถึงปัญหาสิ่งแวดล๎อมและมีจิตสานึกในการในการเป็นผู๎บริโภค ที่มีการบริหารจัดการขยะที่ดี
4
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ร๎อยละ80 ของนักเรียนและผู๎แทนชุมชนจากตาบลตํางๆ ที่ เข๎ารํวมโครงการ สามารถนาความรู๎ที่ได๎รับ เข๎าไปบริหารจัดการ ขยะ ในชุมชนได๎ 5. วิธีการดาเนินโครงการ 5.1 แตํงตั้งคณะกรรมการดาเนินโครงการ ประกอบด๎วย ครู และนักเรียนจากตาบลตํางๆ ผู๎ปกครอง ผู๎นาชุมชนจากตาบลตํางๆ และประชาชนชาวบ๎าน 5.2 จัดทาหลักสูตร 2 หลักสูตร คือ 5.2.1 คําย กาจัดขยะ 5.2.2 คํายเรียนรู๎คุณคําของพืช 5.3 จัดกิจกรรมให๎ความรู๎ 5.3.1 คําย กาจัดขยะ - อบรมให๎ความรู๎เรื่อง การสร๎างจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล๎อม และสารวจหา แหลํงเรียนรู๎ การบริหารจัดการขยะ เชิงบูรณาการ - คัดแยกขยะ - สํงเสริมการผลิตชิ้นงานจากขยะ และวัสดุใช๎แล๎ว - จัดทาปุ๋ยหมักจากขยะสด และมูลสัตว์ 5.3.2 อบรม เรียนรู๎คุณคําของพืช และสํงเสริมการปลูกพืชตํางๆ ในโรงเรียนและชุมชน - พืชอาหาร/ที่อยูํอาศัย - พืชเป็นยารักษาโรค สารเคมี ทดแทนสารเคมีเกษตร - พืชรํมเงา 5.3 การประเมินผล ประเมินตามสภาพจริงจากพฤติกรรมการทางานและผลงานที่ปรากฏ 5.4 สรุปและรายงานผล 6. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ พฤษภาคม 2554 – เมษายน 2555
5
7. ตารางการปฏิบัติงาน ที่ 1
2 3
4
กิจกรรม แตํงตั้งคณะกรรมการดาเนินโครงการ ประกอบด๎วยครุ – นักเรียน ผู๎ปกครอง ผู๎นา ชุมชน ปราชญ์ชาวบ๎าน จัดทาหลักสูตร 3 หลักสูตร จัดกิจกรรมสร๎างจิตสานึกในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล๎อม - ละครหุํนมือ - สื่อวิทยุชุมชน - สื่อสิ่งพิมพ์ จัดกิจกรรมศึกษาเรียนรู๎การบริหารจัดการขยะ เชิงบูรณาการ - คัดแยกขยะ - สํงเสริมการผลิตชิ้นงานจากขยะใช๎แล๎ว - จัดทาชุดสาธิตการทาปุ๋ยหมักจากขยะสดและ มูลสัตว์
พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
ปี 2554 ส.ค. ก.ย.
ปี 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
หมายเหตุ
6
ที่ 5
6 7
กิจกรรม จัดกิจกรรมศึกษาเรียนรู๎คุณคําของพืชและ สํงเสริมการปลูกพืชในโรงเรียนและชุมชน - พืชอาหาร , พืชสมุนไพร - พืชทดแทนสารเคมีในการเกษตร - พืชให๎รํมเงา ประเมินผล สรุปและรายงานผล
พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
ปี 2554 ส.ค. ก.ย.
ปี 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
หมายเหตุ
7
8. ผู้รับผิดชอบ นายบุญรอด เขียวอยูํ และนายชูเกียรติ เกษดี 9. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ คําตอบแทน 10,000 บาท คําใช๎สอย 15,000 บาท คําวัสดุ 5,000 บาท (ไมํจํายเป็นงบครุภัณฑ์) รวม 30,000 บาท 10. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ 1. เกิดกลุํมเยาวชนอาสาสมัครรณรงค์ด๎านสิ่งแวดล๎อม 2. เกิดการเชื่อมเครือขํายชุมชน และเยาวชนจากตาบลตํางๆ เข๎าเป็นสมาชิกของโรงเรียนบ๎านลาด วิทยา 3. เกิดแหลํงเรียนรู๎ด๎านสุขภาวะทางด๎านสิ่งแวดล๎อม ภายในโรงเรียนและในตาบลตํางๆ ในเขต อาเภอบ๎านลาดอยํางน๎อย 3 ตาบล 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนและชุมชนเกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม 2. ชุมชนเกิดสุขภาวะจากการดาเนินชีวิตที่ไมํมีมลภาวะ 0000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000 รายชื่อผู้ร่วมประชาคมโครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 1. นายบุญรอด เขียวอยูํ ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 2. นางสุริยา ปิ่นหิรัญ กลุํมยุวธรรมฑูตเพชรบุรี 3. นายชูเกียรติ เกษดี ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 4. นายสมคิด พวงมะลิ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. นายอนุรักษ์ ใจบุญ คณะกรรมการผู๎ปกครองเครือขําย 6. น.ส. จินตนา เนตรแก๎ว นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 7. น.ส. สุภาพร มีอยูํ นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 8. นายเฉลิมพล นาคปานเอี่ยม นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา
8
ชื่อโครงการย่อยที่ 2 การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 1. หลักการและเหตุผล ปัจจุบันอาชีพของชุมชนคนบ๎านลาดร๎อยละ 80 ของประชากรที่ประกอบทางการเกษตร เชํน การ ทานา ทาไรํ และค๎าขายพืชไรํ เชํน ชมพูํ มะนาว ละมุด กล๎วย และการทาตาลโตนด สาหรับอาชีพทา ตาลโตนด นับวันจะเหลือการทาน๎อยลง และมีการทานาเพื่อขึ้นเป็นปีละ 2 ครั้ง ชุมชนจึงเวลาวํางที่จะทา ตาลโตนดน๎อยลง ประกอบกับ ต๎นตาลมีจานวนน๎อยเพราะต๎นถึกนาไปปลูกสิ่งกํอสร๎างและสิ่งประดิษฐ์ ตํางๆ มากมาย ที่เอื้ออานวยประโยชน์ตํอการดารงชีพ ทาให๎เศรษฐกิจของครอบครัวเพิ่มขึ้น อีกทั้ง เยาวชนคนรุํนใหมํขาดความสนใจในอาชีพดั้งเดิม ไมํเห็นคุณคําความสาคัญ จึงเห็นสมควรให๎มีการ อนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให๎อยูํคูํกับชุมชนคนบ๎านลาด ภูมิปัญญาท๎องถิ่นที่มีอยูํในแตํละชุมชนล๎วนแสดงออกถึงชีวิตความเป็นอยูํของชุมชนซึ่งชุมชนและ โรงเรียนเป็นสถานที่ที่ต๎องพึ่ง พาอาศัยกัน บุตรหลานของคนในชุ มชนได๎เข๎ามาศึกษาหาวิช าความรู๎ใน โรงเรียนแตํไมํได๎เรียนรู๎ถึงภูมิปัญญาในท๎องถิ่นของตนเองที่บรรพบุรุษได๎สืบทอดกั นมา เพื่อเป็นการอนุรักษ์ อาชีพของคนในชุมชนให๎คงอยูํตํอไปโดยบุตรหลานของคนในชุมชน โรงเรียนจึงเห็นความสาคัญของภูมิ ปัญญาท๎องถิ่นจึงได๎มีการรํวมมือกัน ระหวํางชุมชนกับโรงเรียน จัดทาโครงการการอนุรักษ์อาชีพท๎องถิ่น ของ คนบ๎านลาด (ตาลโตนด) ขึ้นมาให๎แกํเด็กนักเรียนเพื่อสืบเจตนารมและรํวมกันอนุรักษ์ภู มิปัญญา ท๎องถิ่นให๎คงอยูํสืบไป 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อปลูกฝังให๎เยาวชนคนบ๎านลาดมีเจตนคติที่ดีตํออาชีพท๎องถิ่น 2. เพื่อการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให๎เป็นวิถีชีวิตของคนบ๎านลาดสืบไป 3. เพื่อสํงเสริมให๎เยาวชนหรือชุมชนสร๎างอาชีพตํางๆจากตาลโตนดได๎อยํางหลากหลาย 4.เพื่อสํงเสริมการเพิ่มรายได๎ของครอบครัว โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคูํคนบ๎านลาด 5. เพื่อสํงเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด๎านความซื่อสัตย์สุจริต ความมีวินัยใฝ่เรียนรู๎ อยูํอยําง พอเพียง มีความมุํงมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ให๎เกิดกับผู๎เรียนและชุมชนเป็น ชุมชนที่เข๎มแข็ง
9
3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ 1) นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 100 คน ระดับชั้น ม.4 จานวน 35 คน ระดับชั้น ม.5 จานวน 35 คน ระดับชั้น ม.6 จานวน 30 คน 2) ภูมิปัญญาท๎องถิ่นถํายทอดความรู๎ทั้งในและนอกสถานศึกษา จานวน 3 คน เชิงคุณภาพ นักเรียนมีเจตคติที่ดีตํออาชีพทาตาลโตนดสามารถอนุรักษ์ให๎อยูํคูํกับชุมชนคนบ๎านลาดได๎สืบไป 4. ตัวชี้วัดความสาเร็จโครงการ นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา จังหวัดเพชรบุรี (ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) มากกวํา ร๎อยละ 80 รู๎คํา ความสาคัญ สามารถอนุรักษ์อาชีพการทาตาลโตนด และมีรายได๎ระหวํางเรียนจากผลิตผล และ ผลิตภัณฑ์ตาลโตนด มีความรู๎ที่คงทน สามารถสืบทอดวิถีชีวิตของคนบ๎านลาดได๎อยํางสมบูรณ์ 5. วิธีการดาเนินโครงการ 1. ประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข๎องเพื่อรํวมคิดรํวมวางแผน 2. จัดทาหลักสูตรท๎องถิ่นเรื่องตาลโตนด 3. จัดกลุํมนักเรียนที่สนใจ 4. ดาเนินการจัดการเรียนการสอน เรียนรู๎คูํภูมิปัญญาท๎องถิ่น 5. ประเมินผล ประเมินตามสภาพจริงจากพฤติกรรมการทางานและผลงานที่ปรากฏ 6. สรุปรายงาน 6. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ พฤษภาคม 2554 – เมษายน 2555
10
7. ตารางการปฏิบัติงาน ที่ 1 2 3 4 5 6
ปี 2554 ปี 2555 หมายเหตุ พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข๎องเขียนโครงการ เรียนรู๎โดย ใช๎ภูมิปัญญา จัดทาหลักสูตรท๎องถิ่น ท๎องถิน่ จัดกลุํมนักเรียนที่สนใจ ทั้งในและ ดาเนินกิจกรรม นอกสถาน ประเมินผล การสรุปรายงานผล ศึกษา กิจกรรม
11
8. ผู้รับผิดชอบ นางสุภานันท์ ชาติน้าเพชร นางรุํงรวี เกตสุริวงค์ 9.
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ คําตอบแทน คําใช๎สอย คําพาหนะเรียนรู๎นอกสถานที่ คําวัสดุ ในการดาเนินการ 3 ระดับ คําสรุปทาเอกสาร รวม
9,000 5,000 15,000 1,000 30,000
บาท บาท บาท บาท บาท
10. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ 1. นักเรียนมีเจตคติที่ดีตํออาชีพ รักและหวงแหนอาชีพในท๎องถิ่นมากขึ้น 2. นักเรียนชุมชนสามารถอนุรักษ์วิถีชีวิตของคนบ๎านลาดได๎อยํางคงทนถาวร 3. สามารถสร๎างอาชีพหรือรายได๎ให๎กับครอบครัวจากตาลโตนดได๎อยํางหลากหลาย 4. ทาให๎มีรายได๎เพิ่มขึ้นโดยใช๎หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. นักเรียนและชุมชนมีความขยัน อดทน หํางไกลยาเสพติด เป็นชุมชนที่เข๎มแข็ง 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียน เห็นคําความสาคัญในอาชีพท๎องถิ่น สามารถอนุรักษ์เพื่อความยั่งยืน มีอาชีพอิสระ พึ่งพาตนเองได๎ 2. โรงเรียน สามารถพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู๎เรียนได๎ 100 % เพราะใช๎หลักสูตร ท๎องถิ่น เรื่องตาลโตนดเป็นสื่อกลาง ผู๎เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น เพราะ จัด การศึกษาแบบมีสํวนรํวมกับชุมชน 3. ชุมชน เป็นชุมชนที่เข๎มแข็งมีลักษณะของตนเอง รายได๎เพิ่มขึ้น และหํางไกลยาเสพติด
*********************************************************
12
รายชื่อผู้ร่วมประชาคมโครงการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด(ตาลโตนด) 1. นางสุภานันท์ ชาติน้าเพชร ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 2. นางรุํงรวี เกตสุริวงค์ ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 3. นางกิ่งสน นิลผึ้ง ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 4. นายสารวล เมธานาวี คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. นางสาวชุติมา เขียวขา ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 6. นายสมพงศ์ กาศเกษม รองผู๎อานวยการวิทยาลัยการอาชีพบ๎านลาด 7. นางเพ็ญรุํง แสงอยูํ ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 8. น.ส. จิตินันท์ ใจเด็ด นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 9. น.ส. ชลิตา แทํนนาค นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 10. น.ส. ณัฐกานต์ ขันทรัพย์ นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา
13
ชื่อโครงการย่อยที่ 3 โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 1. หลักการและเหตุผล พื้นที่ของ อาเภอบ๎านลาด จังหวัดเพชรบุรี สํวนใหญํเป็นพื้นที่เกษตรกรรม สภาพพื้นที่ ยังคงความ อุดม-สมบรูณ์ ตามรูปแบบสวนเกษตรดั้งเดิม มีสภาพที่ โดดเดํนในหลากหลายมิติได๎แกํ ความหลากหลาย ทางชี วภาพ เศรษฐกิจ สั ง คม วัฒ นธรรม และประเพณี ทาให๎มี พื้นที่ของ อ าเภอบ๎านลาด สามารถดึง ดู ด นักวิชาการ แขนงตํางๆ มาเยี่ยมชม และดาเนินการศึกษาวิจัยในพื้นที่ ด๎วยเหตุที่พื้นที่แหํงนี้ มีการตั้งถิ่นฐาน ของประชากร มาแตํดั้งเดิม ดังนั้น การพัฒนาระบบโครงสร๎ างของสังคม ประชากร การดารงชีวิต ตลอดจน ประเพณี และวัฒ นธรรม จึ ง มี เ อกลั ก ษณ์ ที่โ ดดเดํน เป็น ของตนเอง โดยเฉพาะ การผสมผสานกั นอยํา ง กลมกลืน ระหวํางการแสดง กลองยาว กับการแสดงลิเก ที่ได๎ประยุกต์ทํารานาฏศิลป์ปัจจุบัน ถือวําเป็น ศิลปะการแสดงอยํางหนึ่ง ที่นําสนใจ ของท๎องถิ่น อาเภอบ๎านลาด ด๎ว ยเหตุ ค วามหลากหลาย ทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม และการมี วิ ถี ชี วิ ต แบบดั้ ง เดิ ม มี ชี วิ ต ผู ก พั น กั บ ศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะประเพณีตํางๆ ชุมชนในท๎องถิ่น จึงเล็งเห็นถึงความจาเป็นในการที่จะอนุรักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรม ดังกลําวมิให๎สูญหายไป จึงได๎รํวมมื อกับทางโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา โดยเข๎ารํวม โครงการ โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด๎วยกระบวนการมีสํวนรํวมขององค์กรชุมชน เพื่อ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย รวมทั้งเป็นการสํงเสริม สนับสนุน เปิดโอกาสให๎เยาวชน นักเรียน ได๎ศึกษาเรียนรู๎ และสืบสานการแสดงพื้นบ๎าน ของท๎องถิ่น อาเภอบ๎านลาด สืบตํอไปด๎วย 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสืบสานศิลปะการแสดงกลองยาว 2. เพื่อประยุกต์การแสดงกลองยาวกับการแตํงกายแบบลิเกในแบบดั้งเดิม โดยผสมผสานทํารากับ นาฎศิลปปัจจุบัน 3. สร๎างอาชีพเสริมให๎แกํนักเรียน 4. เพื่อให๎ครอบครัวและชุมชนมีความเข๎มแข็ง 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ จัดภูมิปัญญาท๎องถิ่น การสอนการแสดงกลองยาวลิเกให๎นักเรียนจานวน 30 คน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ2 ชั่วโมง จานวน 15 ครั้งรวม 30 ชั่วโมง เชิงคุณภาพ นักเรียนแสดงกลองยาวลิเกได๎ และเป็นอาชีพเสริมหารายได๎ระหวํางเรียน
14
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ร๎อยละ 80 ของนักเรียนที่เข๎ารํวมโครงการ มีความรู๎ เข๎าใจในการสืบสานกลองยาวลิเก ที่เป็น การแสดงพื้นบ๎านของอาเภอบ๎านลาด สามารถจัดตั้งเป็นคณะกลองยาวลิเกโรงเรียนบ๎านลาด และ นาไปแสดงในงานประเพณีตํางๆ อยํางน๎อย 4 ครั้ง/ปี 5. วิธีการดาเนินโครงการ 1. ประสานครูภูมิปัญญาท๎องถิ่น 2. จัดตั้งคณะทางาน 3. จัดทาหลักสูตรเรื่องกลองยาวลิเก 4. รับสมัครนักเรียนที่สนใจ เข๎ารํวมโครงการ 5. กาหนดตารางในการเรียนการสอน 5.1 ให๎ความรู๎ในเรื่องประวัติความเป็นมาของ กลองยาวลิเก 5.2 สอน/สาธิต/ฝึกซ๎อมการแสดงกลองยาวลิเกให๎แกํนักเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ๆ ละ2 ชั่วโมง จานวน 15 ครั้งรวม 30 ชั่วโมง 6. ประเมินผล ประเมินตามสภาพจริงจากพฤติกรรมการทางานและผลงานที่ปรากฏ 7. ปรับปรุง คณะกลองยาวลิเก ให๎มีความทันสมัยเสมอ 8. รับการแสดงในงานประจาปีของจังหวัด และตามงานตําง ๆที่ชุมชนต๎องการเป็นการเผยแพรํ วัฒนธรรมพื้นบ๎านและหารายได๎พิเศษให๎กับนักเรียน 6. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ พฤษภาคม 2554 – เมษายน 2555
15
7. ตารางการปฏิบัติงาน ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8
กิจกรรม ประสานครูภูมิปัญญาท๎องถิ่น จัดทาหลักสูตรเรื่องกลองยาวลิเก กาหนดตารางในการเรียนการสอน สอน/สาธิต/ฝึกซ๎อมการแสดงกลองยาวลิเก ประเมินผล ปรับปรุง เผยแพรํตามงานตํางๆ รายงานผลการดาเนินงาน
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. √
ปี 2554 ส.ค. ก.ย.
ปี 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
√ √
√ √ √
√
√ √ √
√ √
√
√
√ √
√
หมายเหตุ
8. ผู้รับผิดชอบ นางยุพา กสิรักษ์ และ นายโสภณ แสงอยูํ 9. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ คําตอบแทน 10,000 คําใช๎สอย 15,000 คําวัสดุ 5,000 รวม 30,000
บาท บาท บาท (ไมํจํายเป็นงบครุภัณฑ์) บาท
10. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ นักเรียนสามารถแสดงกลองยาวลิเกได๎ตามแบบฉบับดั้งเดิม โดยประยุกต์ทําราให๎เข๎ากับศิลป นาฎศิลป์ปัจจุบัน 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เป็นอาชีพเสริม สร๎างรายได๎ระหวํางเรียนให๎แกํนักเรียน 2. เป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงกลองยาวลิเก 3. เป็นการสืบสานวัฒนธรรมของชาติ 0000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
รายชื่อผู้ร่วมประชาคมโครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 1. นางยุพา กสิรักษ์ ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 2. นายโสภณ แสงอยูํ ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 3. นายจานงค์ แฉํงฉายา ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 4. คุณกรแก๎ว เกตุใหญํ ประธานวัฒนธรรมอาเภอบ๎านลาด 5. คุณสุรางค์ศรี พวงมะลิ วัฒนธรรมอาเภอบ๎านลาด 6. นายโพยม ทิพย์โสต ประธานเครือขํายผู๎ปกครอง 6. น.ส. ฝนทิพย์ เขียวอํอน นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 7. น.ส. ณัฐธิดา คาโพธิ์ นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 8. น.ส. รินรดา สาตรา นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 9. น.ส. พรรณทิภา ต๎วมสี นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา
16
17
ชื่อโครงการย่อยที่ 4 โครงการ สํงเสริม สายใยรักแหํงครอบครัวบ๎านลาด 1. หลักการและเหตุผล สังคมอาเภอบ๎านลาด ในปัจจุบันกาลังเปลี่ยนแปลงไปจากสังคมชนบทสูํสังคมเมือง อาชีพดั้งเดิมที่ เป็นเกษตรกรรม เปลี่ยนเป็นค๎าขาย รับจ๎าง และไปทางานในโรงงานอุตสาหกรรมในตํางจังหวัดมากขึ้น ประชาชนสํวนใหญํจึงมีวิถีชีวิตที่รีบเรํง ทาให๎บุคคลในครอบครัวไมํมีเวลาดูแลเอาใจใสํซึ่งกันและกัน ยังผลให๎ สถาบันครอบครัวไมํเข๎มแข็ง กํอให๎เกิดปัญหาหลายๆ ด๎าน เชํน ปัญหาด๎านยาเสพติด ปัญหาเรื่องการ ตั้งครรภ์ในวัยรุํน ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพ ด๎านการบริโภค เยาวชนสํวนใหญํน้าหนักตัวเกิน เกิดโรคอ๎วนและ โรคเรื้อรังตํางๆ เร็วขึ้น จากเหตุผลดังกลําวข๎างต๎น โรงเรียนบ๎านลาดวิทยา และภาคีเครือขําย ตระหนักถึงปัญหาสังคม ดังกลําว จึงได๎ทาโครงการ “สํงเสริมสายใยรักแหํงครอบครัวบ๎านลาด” ขึ้น เพื่อสร๎างเสริมความสัมพันธ์อันดี ระหวํางบุคคลในครอบครัวและภาคีเครือขํายที่เกี่ยวข๎อง สูํครอบครัวอบอุํน และสถาบันครอบครัวเข๎มแข็ง สร๎างภูมิคุ๎มกันปัญหาสังคมให๎แกํสมาชิกในครอบครัว 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร๎างสถาบันครอบครัวให๎เข๎มแข็ง 2. เพื่อสร๎างความสัมพันธ์อันดีในภาคีเครือขําย 3. เพื่อสร๎างภูมิคุ๎มกันปัญหาสังคมให๎แกํเยาวชนในชุมชนบ๎านลาด 4. เพื่อให๎ครอบครัวและชุมชนมีความเข๎มแข็ง 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ ครอบครัวเข๎ารํวมโครงการ/กิจกรรม จานวน 40 ครอบครัว เชิงคุณภาพ ครอบครัวเข๎ารํวมโครงการฯ มีสัมพันธภาพที่ดีขึ้น 4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. ร๎อยละ 80 ของครอบครัวที่เข๎ารํวมกิจกรรม ครอบครัวรักการอําน สํงเสริมให๎นักเรียนมีนิสัยรักการ อํานอยํางน๎อยเดือนละ 1 เลํม
2. ร๎อยละ80 ของครอบครัวที่เข๎ารํวมกิจกรรม ครอบครัวฮูลาฮูป มีน้าหนักลดลง และออกกาลังเป็น ประจา 18
3. ร๎อยละ80 ของครอบครัวที่เข๎ารํวมกิจกรรม ครอบครัว บวร ได๎ชํวยกันสร๎างจิตสานึกให๎เยาวชนใน ครอบครัวมีคุณธรรม-จริยธรรม และคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ 4. ร๎อยละ 80 ของเยาวชนในกิจกรรม ครอบครัวปันรัก ที่มีพฤติกรรมไมํเป็นปัญหาสังคมและมีจิตใจ ที่ดีขึ้น สามารถดูแล บุตรที่เกิดอยํางใกล๎ชิดและถูกต๎อง 5. ร๎อยละ 80 ของชุมชนให๎การยอมรับและให๎ความรํวมมือในการดูแล สอดสํองพฤติกรรมของ เยาวชนในหมูํบ๎านของตนให๎เป็นคนดี 5. วิธีการดาเนินโครงการ 1. สารวจข๎อมูลพื้นฐานสภาพครอบครัว และรับสมัครสมาชิก เข๎ารํวมกิจกรรม 40 ครอบครัว 2. ประชุมวางแผนรํวมกันกับคณะทางาน 3. จัดทาหลักสูตร “สายใยรักแหํงครอบครัวบ๎านลาด” 4. จัดกิจกรรมตามหลักสูตร 4.1 อบรมให๎ความรู๎ด๎านการดารงชีวิตของครอบครัว การได๎รับการศึกษา การรักษาสุขภาพ การ ครองคูํ 4.2 รํวมกิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู๎ 5 ฐาน - ครอบครัวรักการอําน ให๎นักเรียนและผู๎ปกครองรํวมเลือกหนังสือที่จะอํานรํวมกัน รํวมสรุป สาระจาการอําน ประโยชน์/ข๎อคิดจากเรื่องที่อําน และการนาไปใช๎ในชีวิตประจาวัน - ครอบครัวฮูลาฮูบ กํอนเริ่มกิจกรรมให๎นักเรียนและครอบครัว ตรวจสุขภาพ ชั่งน้าหนัก วัด รอบเอว เรียนรู๎วิธีการออกกาลัง ฝึกปฏิบัติ จัดการแขํงขัน โดยมีกติกาวํา สุขภาพดีขึ้น เต๎นนาน น้าหนักลด รอบเอวลด - ครอบครัว บวร แตํละครอบครัวมีกิจกรรมรํวมกันระหวํางบ๎าน วัด โรงเรียน เชํน กิจกรรม หิ้วปิ่นโตไปวัด พบพระเวลาเพล ตักบาตรในวันสาคัญรํวมกับนักเรียนที่โรงเรียน - ครอบครัวปันรัก เชิญชวน ครอบครัวที่เข๎ารํวมกิจกรรมเยี่ยมบ๎านแมํวัยใส (เด็กวัยรุํนที่มี บุตรกํอนวัยที่ควร) เพื่อให๎ความรู๎ในการดารงชีวิต การเลี้ยงดูให๎การอบรมบุตรที่ถูกวิธี และให๎กาลังใจ - ครอบครัวสัญจร ครอบครัวที่เข๎ารํวมกิจกรรมเยี่ยมเยียน แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ อบรม เลี้ยงดูบุตรและการเป็นครอบครัวที่อบอุํน
5. ประเมินผล ดูจากการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ด๎านการอําน การออกกาลังกาย การทากิจกรรม รํวมกันระหวํางบ๎าน วัด โรงเรียน และวิธีการอบรมเลี้ยงดูบุตรที่ดีขึ้น 6. สรุปและรายงานผล 6. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ พฤษภาคม 2554 – เมษายน 2555
19
7. ตารางการปฏิบัติงาน ที่ 1 2 3
กิจกรรม ประชุมคณะทางาน จัดทาหลักสูตร ดาเนินกิจกรรม - ครอบครัวรักการอําน - ครอบครัวฮูลาฮูบ - ครอบครัว บวร - ครอบครัวปันรัก
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. √ √ √
ปี 2554 ส.ค. ก.ย.
ปี 2555 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
√ √ √
√ √
√ เดือนละ 1 ครั้ง
- ครอบครัวสัญจร 4 5
ประเมินผล สรุปและรายงานผล
หมายเหตุ
√
√
√
√ √
20
8. ผู้รับผิดชอบ นางขวัญตา นาครักษา นางสมประสงค์ พิณทิพย์ 9. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ คําตอบแทน 10,000 บาท คําใช๎สอย 15,000 บาท คําวัสดุ 5,000 บาท (ไมํจํายเป็นงบครุภัณฑ์) รวม 30,000 บาท 10. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ 1. ผลผลิต 1.1 สถาบันครอบครัวของชุมชนบ๎านลาดที่เข๎ารํวมโครงการมีความเข๎มแข็งขึ้น 1.2 ภาคีเครือขํายของโรงเรียนได๎รู๎และมีสํวนรํวมในการแก๎ไขปัญหาครอบครัวของชุมชนบ๎านลาด 1.3 เยาวชนมีทักษะชีวิตที่ดี 2. ผลลัพธ์ 2.1 เยาวชนในชุมชนบ๎านลาดมีทักษะชีวิตไมํเป็นปัญหาของสังคม 2.2 ครอบครัวที่เข๎ารํวมโครงการมีสัมพันธภาพที่ดีขึ้น 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สถาบันครอบครัวและชุมชนเข๎มแข็งยิ่งขึ้น มีความสัมพันธ์อันดีในภาคีเครือขําย สร๎างภูมิคุ๎มกัน ลดปัญหาสังคมให๎แกํเยาวชนในชุมชนบ๎านลาด 0000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000 รายชื่อผู้ร่วมประชาคมโครงการส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 1. นางขวัญตา นาครักษา ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 2. นางสมประสงค์ พิณทิพย์ ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 3. นางอนันทยา สาเภาทอง ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 4. นายเทิดศักดิ์ แสงศรีจันทร์ รองผู๎อานวยการโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 5. นายสิทธิคุณ เกลื่อนกลาด ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 6. นางลดาวัลย์ เรืองอรําม โรงพยาบาลบ๎านลาด 7. นายนพรัตน์ จันทรบูรณ์ นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 8. นายรัตนพล บุญใหญํ นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 9. นายธนา สอนจันทร์ นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 10. น.ส.วาสนา ชาวตะวันตก นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา
21
ชื่อโครงการย่อยที่ 5 ศูนย์การเรียนรู๎เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ๎านลาด 1. หลักการและเหตุผล การพัฒนาประเทศไทยให๎สามารถดารงอยูํได๎อยํางมั่นคงและยั่งยืน ภายใต๎กระแสโลกาภิวัตน์ ที่มี การเปลี่ยนแปลงอยํางรวดเร็ว และมีแนวโน๎มทวีความรุนแรงขึ้น จาเป็นต๎องหันกลับมาให๎ความสาคัญกับความ แข็งแกรํงของระบบและโครงสร๎างตําง ๆ ภายในประเทศให๎สามารถพึ่งตนเองได๎มากขึ้นและสร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดี ของประเทศตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให๎พร๎อมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น ได๎อยํางรู๎เทําทัน ดังแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 -2554 : บทนา) ได๎ กาหนดขึ้นบนพื้นฐานการเสริมสร๎างทุนของประเทศทั้งทุนทางสังคม ทุนเศรษฐกิจ ทุนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล๎อม ให๎เข๎มแข็งอยํางตํอเนื่อง โดยยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ซึ่งต๎องพัฒนาคุณภาพคนในทุกมิติ อยํางสมดุลทั้งจิตใจ รํางกาย ความรู๎และทักษะความสามารถ เพื่อให๎เพียบพร๎อมทั้งทางด๎านคุณธรรมและ ความรู๎ ซึ่งจะนาไปสูํการคิดวิเคราะห์อยํางมีเหตุผล รอบคอบและระมัดระวัง ด๎วยจิตสานึกในศีลธรรม และ คุณธรรม ทาให๎รู๎เทําทันการเปลี่ยนแปลง และสามารถตัดสินใจ โดยใช๎หลักความพอประมาณในการดาเนิน ชีวิตอยํางมีจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อดทนขยันหมั่นเพียร อันจะเป็นภูมิคุ๎มกันในตัวที่ดี ให๎คนพร๎อมเผชิญตํอ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น และพระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พุทธศักราช 2542 แก๎ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พุทธศักราช 2545 หมวด 1 มาตรา 6 ที่วําด๎วยการจัดการศึกษาต๎องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให๎เป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งรํางกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู๎ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถ อยูํรํวมกับผู๎อื่นได๎อยํางมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ 2545 : 4) และ หมวด 4 มาตรา 22 ได๎กลําววําการจัด การศึกษาต๎องยึดหลักผู๎เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู๎และพัฒนาตนเองได๎ และถือวําผู๎เรียนมีความสาคัญ ที่สุด ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาต๎องสํงเสริมให๎ผู๎เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ 2545 : 8 ) โรงเรียนบ๎านลาดวิทยาเป็นสถานศึกษาแบบอยํางพอเพียง โดยนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช๎ในการดาเนินชีวิต ซึ่งสอดคล๎องกับการดารงชีวิตของนักเรียนและชุมชนที่มีอาชีพสํวนใหญํด๎าน เกษตรกรรม ดังนั้นเพื่อให๎การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาลงสูํการปฎิบัติได๎อยํางเป็น รูปธรรม โรงเรียนจึงได๎สานตํอกิจกรรมโดยการจัดโครงการศูนย์การเรียนรู๎เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุว เกษตรกรชุมชนบ๎านลาด เพื่อให๎ผู๎เรียนมีทักษะในอาชีพเกษตรกรรม เห็นคุณคํา และความสาคัญของอาชีพ เกษตรกรรม ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทย 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อสํงเสริมให๎นักเรียนมีทักษะด๎านการเกษตร สามารถนาความรู๎มาใช๎ในกรพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนเอง และขยายผลไปสูํครอบครัว และชุมชน
2. เพื่อสํงเสริมให๎โรงเรียนเป็นเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของอาเภอ บ๎านลาด
22
3. เพื่อสร๎างเครือขํายแลกเปลี่ยนเรียนรู๎และประสบการณ์ระหวํางโรงเรียน และชุมชน 4. เพือ่ สํงเสริมการเพิ่มรายได๎ ลดรายจํายระหวํางเรียนของนักเรียน เป็นการสร๎างความเข๎มแข็งด๎าน เศรษฐกิจให๎กับครอบครัว 5. เพื่อสํงเสริมการออมทรัพย์ของนักเรียนที่เข๎ารํวมโครงการ 6. เพื่อสร๎างจิตสานึกที่ดีตํออาชีพเกษตรกรรม อันเป็นอาชีพหลักของคนไทย 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ 1) นักเรียนจานวน 50 คน ที่เข๎ารํวมโครงการ 2) ผู๎ปกครองนักเรียน จานวน 50 คน ที่เข๎ารํวมโครงการ เชิงคุณภาพ 1) ร๎อยละ 80 ของนักเรียนที่เข๎ารํวมโครงการ มีความรู๎ และมีทักษะในด๎านการเกษตร โดยการ วิเคราะห์การจัดการความรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) ร๎อยละ 80 ของผู๎ปกครองที่เข๎ารํวมโครงการ มีความรู๎ในการบริหารจัดการในอาชีพเกสรกรรมให๎ได๎ ประโยชน์สูงสุด จากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ในการจัดการความรู๎ด๎านการเกษตร 4. ตัวชี้วัดความสาเร็จโครงการ 4.1) นักเรียนสามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสูํการปฏิบัติในด๎านการเกษตร เพื่อเป็น ยุวเกษตรกรที่ดี ในการบริหารจัดการที่ดินให๎เกิดประโยชน์อยํางสูงสุด 4.2) ผู๎ปกครองมีความรู๎ในการจัดการความรู๎เพื่อนาไปสูํการปฏิบัติ ซึ่งจะสํงผลทาให๎ชีวิตความเป็นอยูํ ดีขึ้น และมีความยั่งยืนจากการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฎิบัติ 4.3) ชุมชน ปราชญ์ท๎องถิ่น ให๎การสนับสนุนในการจัดกิจกรรม อันจะนาไปสูํการสร๎างชุมชนที่ เข๎มแข็ง 5. วิธีการดาเนินโครงการ 5.1 ขั้นให้ความรู้ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง 5.1.1 การศึกษาศูนย์การเรียนรู๎ตามแนวพระราชดาริ เชํน ศูนย์การเรียนรู๎เขากลิ้ง ศูนย์การ เรียนรู๎ดอนผิงแดด ศูนย์การเรียนรู๎โครงการชํางหัวมัน กลุํมเป้าหมาย 1. นักเรียนที่เข๎ารํวมโครงการยุวเกษตรกร 2. ผู๎ปกครองนักเรียน 3. ปราชญ์ท๎องถิ่น และผู๎นาท๎องถิ่น ได๎แกํ พัฒนากรอาเภอ / เกษตรอาเภอ /
ปศุสัตว์อาเภอ / นายก อบต.ทําช๎าง / นายกเทศมนตรีบ๎านลาด / ผู๎ใหญํบ๎านหมูํ 7 ตาบลบ๎านลาด 23
5.2 ขั้นลงมือปฏิบัติ 5.2.1 นักเรียนกลุํมยุวเกษตรกร ลงมือปฏิบัติกิจกรรม 4 กลุํม ดังนี้ 5.2.1.1 การเลี้ยงไกํพื้นเมือง(ไกํพื้นบ๎าน) 5.2.1.2 การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ 5.2.1.3 การเลี้ยงปลาดุก 5.2.1.4 การขยายพันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได๎ 5.3 ขั้นสรุปและประเมินผล ประเมินผลจากสภาพจริงจากผลผลิต ของยุวเกษตรกร ในการปฏิบัติกิจกรรมของทั้ง 4 กลุํม จานวนผลผลิต สามารถจัดทาบัญชีรายรับ – รายจํายของกลุํมสมาชิก และรายงานผลตํอคณะกรรมการ 6. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ เดือน พฤษภาคม 2554 – เดือนมีนาคม 2555
24
7. ตารางการปฏิบัติงาน ที่ 1 2 3 4
5 6 7
กิจกรรม
ปี 2554 ปี 2555 หมายเหตุ พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. √
ประชุมคณะทางานยุวเกษตรกรตามแนว พระราชดาริ จัดทาหลักสูตร √ ประชาสัมพันธ์นักเรียนเข๎ารํวมโครงการ ยุเกษตรกร ตามแนวพระราชดาริ ดาเนินกิจกรรม -ให๎ความรู๎เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง โดย การศึกษา ดูงานศูนย์การเรียนรู๎ เศรษฐกิจพอเพียง - ปราชญ์ท๎องถิ่น ให๎ความรู๎ใน เรื่องกิจกรรม 5 ด๎าน ของยุวเกษตรกรในโรงเรียน - นักเรียนกลุํมยุวเกษตรกรลงมือเรียนรู๎กิจกรรม 5 กลุํม ได๎แกํ การเลี้ยงไกํพื้นบ๎าน ฯลฯ ติดตามการดาเนินกิจกรรม5 ด๎าน ของยุว เกษตรกรในโรงเรียน การจาหนํายผลผลิตที่ได๎จากกิจกรรม 5 ด๎าน สรุปและรายงานผลการดาเนินกิจกรรมของ
√ √
√
√ √
√
√
√
√
√
√
√
√
√
√ √
√ √
√ √
√ √
√ √ √
√
กลุํมยุวเกษตรกร
25
8. ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาววไลลักษณ์ พัสดร 2. นางกาญจนา ไทรงาม 9.
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ คําตอบแทน 10,000 คําใช๎สอย 12,000 คําวัสดุ 8,000 รวม 30,000
บาท บาท บาท บาท
10 ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ 1. นักเรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพด๎านการเกษตร 2. โรงเรียนเป็นแหลํงสํงเสริมการเรียนรู๎ด๎านการประกอบอาชีพเกษตรกรรมของชุมชนในท๎องถิ่น 3. เป็นการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช๎ในการดาเนินชีวิตได๎เป็นอยํางดี 4. โรงเรียน ครอบครัว ชุมชน มีการรํวมมือกันเป็นอยํางดี อันจะนาไปสูํการสร๎างความเข๎มแข็งและ ความยั่งยืนของคนในท๎องถิ่น 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียน และชุมชนสามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ได๎อยํางเป็นรูปธรรม 2. นักเรียนสามารถบริหารจัดการความรู๎ในเรื่องดิน และน้า อันจะนาไปสูํทางเลือกในการประกอบ อาชีพด๎านการเกษตรในอนาคต 3. เป็นการสร๎างรายได๎ ลดรายจํายของนักเรียนและชุมชน 4. นักเรียนเป็นนักเรียนที่ดีตามคุณลักษณะอันพึงประสงของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2551 5. สร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดีให๎กับนักเรียน และชุมชนในด๎านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล๎อม และ วัฒนธรรม
26
รายชื่อผู้ร่วมประชาคมโครงการ เกษตรตามแนวพระราชดาริ 1. นางสาววไลลักษณ์ พัสดร ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 2. นางกาญจนา ไทรงาม ครูโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 3. นายชานาญ นิลงาม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. นางจีรนันท์ นามทิพย์ ปศุสัตว์อาเภอบ๎านลาด 5. นายประสงค์ เลืองปราชญ์ พัฒนากรอาเภอบ๎านลาด 6. น.ส.ปิ่นอนงค์ บานแย๎ม นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 7. นายธีรพันธุ์ เขียวคลี่ นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 8. น.ส.รุํงนภา อยูํคง นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 9. น.ส.อัจฉรา สวํางแจ๎ง นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 10. น.ส.รสา หวํางจิตร นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 11. น.ส.วริศรา รอดน๎อย นักเรียนโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา 27
ระยะเวลาในการดาเนินการทั้ง 5 โครงการ เดือน พฤษภาคม 2554 – เดือนมีนาคม 2555 ตารางการปฏิบัติงาน ตามเวลาแตํละโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมงคล ชูวงษ์วัฒนะ ผู๎อานวยการโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา (ชํวงเวลา เดือนพฤษภาคม 2554 – มกราคม 2555) และ นายฬุฐ สาเภาทอง ผู๎อานวยการโรงเรียนบ๎านลาดวิทยา (ชํวงเวลา เดือนกุมภาพันธ์ 2555 - มีนาคม 2555) คณะผู๎เข๎ารํวมประชาคมแตํละโครงการยํอย นางพรรณี เทพสูตร ครู ค.ศ.3 โรงเรียนบ๎านลาดวิทยา ทาหน๎าที่เลขานุการและผู๎ประสานโครงการ
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ จานวน 150,000 บาท (แยกตามโครงการย่อย) ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ นักเรียนในสถานศึกษา เยาวชน และประชาชนในชุมชน18 ตาบล ที่เข๎ารํวมโครงการ อยํางน๎อย ร๎อยละ 75 ให๎การยอมรับ สนับสนุน ให๎ความรํวมมือ ได๎รับการพัฒนาตามชํวงวัย มีสุขภาพกาย แข็งแรง ขึ้น มีแนวโน๎มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล๎องกับโครงการ สูงขึ้น และมีการจัดกิจกรรมทางสังคม รํวมกัน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ครอบครัว ชุมชน มีความเข็มแข็ง สร๎างเยาวชนในชุมชน และนักเรียนในสถานศึกษา.ให๎เป็นคนดี เกํง และมีความสุข