รายงานความก้าวหน้าโครงการต่อยอด โครงการและกิจกรรมเสริมในโครงการนาร่อง การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กร ในชุมชน
โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2
การรายงานความก้าวหน้าของโครงการต่อยอดโครงการและกิจกรรมเสริมในโครงการนาร่อง การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนโรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2 โดยสืบเนื่องมาจากการนิเทศก์ติดตามผลของดร.พิณสุดดที่ได้ ออกเยี่ยมดูความก้าวหน้าของโครงการและได้เสนอแนะให้โรงเรียนได้จัดกิจกรรมเพิ่มเติมเฉพาะกิจกรรมที่ นาเสนอโดยคณะทางานจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เท่านั้นไม่นับรวมกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมหลักใน โครงการ 5 โครงการ 21 กิจกรรม เพื่อให้ชุมชนน่าอยู่มีการกินดีอยู่ดีเกิดสุขภาวะที่ดีขึ้น โรงเรียนจึงมีนโยบายทากิจกรรมต่อยอดเพิ่มเติมขึ้นมามีกิจกรรมดังนี้ 1. กิจกรรมสะอาดตัวเจริญวัย สะอาดกายเจริญสุข 2. กิจกรรมบ้านน่าอยู่ชุมชนน่ามอง 3. กิจกรรมดีท็อกสารพิษด้วยสมุนไพรรางจืด 4. กิจกรรมการทาน้ายาล้างจานจากหญ้าสาบเสือ 5. กิจกรรมประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ซึ่งในการทากิจกรรมนี้เพื่อให้เกิดผลดีต่อประชาชนในเขตบริการของโรงเรียนและเป็นต้นแบบที่ จะขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นเพื่อเป็นแบบอย่างต่อไป
แบบรง.5 ชื่อโครงการ /กิจกรรม กิจกรรมสะอาดตัวเจริญวัย สะอาดกายเจริญสุข เป็นโครงการและกิจกรรมเสริมในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2 รายงานงวดที่ 2 ตั้งแต่ วันที่ 1 เดือน กันยายน 2554 ถึงวันที่ 31เดือน ตุลาคม พ.ศ.2554 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ - เป้าประสงค์/เป้าหมาย ด้านปริมาณ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ชุมชน เด็กนักเรียนรู้จักการทาความสะอาดร่างกาย เครื่องใช้ เครื่องนุ่งห่ม การปรับปรุงวิถีชีวิตให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมที่อยู่บนพื้นฐาน ของวัฒนธรรมตนเอง การพึ่งพาตนเอง การประหยัด การรู้จักเลือกใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างรู้คุณค่า ด้านคุณภาพ นักเรียนในโรงเรียนและชุมชนในเขตบริการสามารถพึ่งพาตนเอง รู้จักการเลือกใช้ ทรัพยากรในชุมชนอย่างมีคุณค่าอย่างน้อยร้อยละ 80 ของจานวนประชากรทั้งในระบบโรงเรียนและชุมชน ในเขตบริการ -วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนในโรงเรียนร้อยละ 80 รู้จักการทาความสะอาดร่างกาย การป้องกันโรค ที่มาจาการใช้เครื่องนุ่งห่ม การปรับปรุงวิถีชีวิตของชุมชนที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกโดย อาศัยความเข้มแข็งของวัฒนธรรมในตนเองกับการประยุกต์จากภายนอก 2. เพื่อให้ชุมชนในเขตบริการของโรงเรียนได้ใช้วิถีชีวิตในวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิด ความเหมาะสมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ประจาวัน การใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างคุมค่าและ ประหยัดเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองใช้ชีวิตอย่างเป็นสุข -ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. เด็กนักเรียนในโรงเรียนและชุมชนในเขตบริการร้อยละ 80 รู้จักการทาความสะอาดร่างกาย การดูแลรักษาเครื่องนุ่งห่ม การซักเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มของบิดามารดาและบุพการี การป้องกันโรคที่มาจาการ ใช้เครื่องนุ่งห่ม การปรับปรุงการพัฒนาวิถีชีวิตโดยการใช้วัฒนธรรมที่เข้มแข็งของตนเองเป็นฐานในการ พัฒนาชีวิต รู้จักการใช้ทรัพยากรธรรมชาติหรือต้นทุนทางสังคมของชุมชนของตนเองอย่างชาญฉลาด ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในการพัฒนาตนเอง ชุมชนที่ตนอาศัยรวมไปถึงการพัฒนาชาติอันเป็นเป้าหมาย สูงสุดในการดาเนินกิจกรรม
2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะกิจกรรมที่นาเสนอโดยคณะทางานจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เท่านั้นไม่นับ รวมกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมหลักในโครงการ 5 โครงการ 21 กิจกรรม กิจกรรมตามแผน
กิจกรรมสะอาดตัวเจริญวัย สะอาดกายเจริญสุข (อ.ยุพดี กมลสาร)
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่
ทากิจกรรมทุกวัน พุธของเดือน กันยายนและทุกวัน พุธเดือนตุลาคม 2554(เว้น 12-31ตค 54)
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวนผู้ร่วม อธิบายผลที่เกิดขึ้นทั้ง กิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ
เด็กนักเรียนทุกคน นักเรียนและชุมชน ในโรงเรียนรวม มีเครื่องนุ่งห่มที่ 185 คนและชุมชน สะอาดขึน้ ในเขตบริการอีก 150 คน
3.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่ กาหนดไว้ นักเรียนและชุมชนมีเครื่องนุ่งห่มที่สะอาดขึ้น
จานวน ร้อยละ 80
4. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ ได้ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านโป่งแดงออกสาธิตการซักผ้า การตากผ้าที่ถูกวิธีและประหยัด ร่วมกับ อสม.ของหมู่บ้านร่วมกับผู้นาองค์กรท้องถิ่นผู้นาท้องถิ่นเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุพร้อมมอบสิ่งของใช้ที่ จาเป็นในการดารงชีพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวัฒนธรรมของชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนใช้วัฒนธรรมของตนใน การดารงชีพที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคมโลก 5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ(เป็นข้อ ๆ) 1คณะครูมีปัญหาในเรื่องการทากิจกรรมไม่สามารถลงพื้นที่ร่วมกับองค์กรอื่นๆในชุมชนได้ยกเว้น บางท่านที่มีภูมิลาเนาในพื้นที่ 2.กิจกรรมมีมากเกินไปกล่าวคือกิจกรรมที่หน่วยงานกาหนดหรือหน่วยงานอื่นๆกาหนดให้ร่วมงาน มีมากเกินไปจนลืมละเลยกิจกรรมหลักในส่วนที่ตนรับผิดชอบ 3.การบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนยังไม่สัมพันธ์กันคณะครูส่วนใหญ่ยึดติดกับ การสอนในวิชาที่ตนเองรับผิดชอบยังไม่บูรณาการเท่าที่ควรจะเป็น
6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค์ข้างต้น 1.ลดกิจกรรมที่มาจากหน่วยงานกากับหรือหน่วยงานอื่นๆลงไปให้มากขึ้น 2.ผู้บริหารกระตุ้นเร่งเร้าให้คณะครูเห็นว่าการบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนนั้นเป็นภารกิจที่ ครูทาอยู่แล้วไม่ใช่การเพิ่มภาระให้กับครูแต่ประการใดเมื่อมีการบูรณาการเรื่อยๆจะพบทางที่ครูหันมาสนใจ ในกิจกรรมและโครงการที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนของตนเองและดาเนินการสอนอย่างมี ความสุขต่อไป 7. แผนงาน/กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดต่อไป (/ ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( / ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) แผนเดิมที่ระบุไว้ในโครงการเป็นไปตามกาหนดการทุกประการมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมโดยการเพิ่ม กิจกรรมที่มาจากการให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการคือกิจกรรม 5 กิจกรรมในโครงการอยู่ดีกินดี ชีวีมีสุขเป็นข้อเสนอของคณะวิทยากรจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เพื่อให้โครงการสอดคล้องกับวิถี ชุมชนและใช้วัฒนธรรมที่เข้มแข็งของชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาตนเองเพื่อให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในยุคปัจจุบัน 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ได้รับเชิญเป็นวิทยากรต้นแบบร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์นาเสนองานของโครงการร่วมกับดร.พิณสุดาที่ศูนย์วิจัยจุฬาภรณ์ในวันที่ 19 กันยายน 2554และ ได้รับเกียรติจากศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาอาเภอทุ่งหัวช้างนาเสนองานในโครงการนาร่อง(best pactist)ที่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูนในการขยายผลโรงเรียนและการนาเสนอผลงานต้นแบบให้กับโรงเรียนใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2ทั้ง 97 โรงเรียนและผู้ที่สนใจได้รับเกียรติบัตร จากทางสานักงานเขตพื้นที่ในการนาเสนองานของโครงการนาร่องให้เป็นทีรู้จักแพร่หลาย มีการเผยแพร่โครงการและกิจกรรมในโครงการจากสถานีโทรทัศน์ช่องไทยพีบีเอสเสนอแนวทางการพัฒนา ในโครงการนาร่องให้กับผู้ชมทั่วประเทศในวันที่ 4 กันยายน 2554เวลา 19.30 น.ทางสถานีไทยพีบีเอสทา ให้รู้จักโครงการทั่วประเทศจุดประกายและแนวคิดหลักในโครงการให้เป็นที่แพร่หลาย
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการ นักเรียนแต่งกายด้วยเครื่องแต่ง ดาเนินชีวิตประจาวัน กายที่สะอาดขึ้น
อธิบายรายละเอียด สังเกตจากการแต่งกายมาโรงเรียน ตรวจสุขภาพนักเรียน
ส่วนที่ 3 สิ่งที่สง่ พร้อมรายงานครั้งนี้ 1. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ชิ้น 2. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม จานวน ภาพ 3. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จานวน ภาพ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม รูปภาพในการจัดกิจกรรม ลงชื่อ
ยุพดี (นางยุพดี กมลสาร) ผู้ทารายงาน วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
ลงชื่อ
วุฒิไกร (นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งแดง วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
แบบรง.5 ชื่อโครงการ /กิจกรรม กิจกรรมบ้านน่าอยู่ชุมชนน่ามอง เป็นโครงการและกิจกรรมเสริมในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2 รายงานงวดที่ 2 ตั้งแต่ วันที่ 1 เดือน กันยายน 2554 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ.2554 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ - เป้าประสงค์/เป้าหมาย ด้านปริมาณ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ชุมชนจานวน 402 ครัวเรือน และนักเรียนรู้จักการทาความ บริเวณบ้านให้สะอาดน่าอยู่ การปรับปรุงวิถีชีวิตให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมที่อยู่ บนพื้นฐานของวัฒนธรรมตนเอง ด้านคุณภาพ นักเรียนในโรงเรียนและชุมชนในเขตบริการสามารถปรับสภาพแวดล้อมบริเวณ บ้านของตนเองให้สะอาดสวยงาม ปราศจากโรค ร้อยละ 80 ของจานวนประชากรทั้งในระบบโรงเรียนและ ชุมชนในเขตบริการ -วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนในโรงเรียนร้อยละ 80 รู้จักการทาความสะอาดบริเวณบ้านเรือนและ ปรับสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านให้น่าอยู่ 2. เพื่อให้ชุมชนในเขตบริการของโรงเรียนได้ใช้วิถีชีวิตในวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิด ความเหมาะสมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ประจาวัน มีความรักและความสามัคคี มีความ รับผิดชอบใช้ชีวิตอย่างเป็นสุข -ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. เด็กนักเรียนในโรงเรียนและชุมชนในเขตบริการร้อยละ 80 รู้จักการทาความสะอาด ครัวเรือนให้สวยงาม ปราศจากโรค ปรับสภาพแวดล้อมให้บ้านของตนเองน่าอยู่น่ามอง
2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะกิจกรรมที่นาเสนอโดยคณะทางานจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เท่านั้นไม่นับ รวมกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมหลักในโครงการ 5 โครงการ 21 กิจกรรม กิจกรรมตามแผน
กิจกรรมประกวดชุมชนให้ น่าอยู่ (อ.พีรพล จันทรวรรณ)
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่
ทากิจกรรมทุกวัน ศุกร์ของเดือน กันยายน 2554
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวนผู้ร่วม อธิบายผลที่เกิดขึ้นทั้ง กิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ
เด็กนักเรียนทุกคน ชุมชนมีบ้านที่ ในโรงเรียนรวม สะอาดขึ้น 185 คนและชุมชน 402 ครัวเรือน
3.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่ กาหนดไว้ ชุมชนสะอาดขึ้นปราศจากโรค
จานวน ร้อยละ 80
4. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ ได้ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านโป่งแดง จัดประกวดบ้านที่สะอาด ร่วมกับ อสม.ของหมู่บ้าน ร่วมกับผู้นาองค์กรท้องถิ่นผู้นาท้องถิ่นเยี่ยมบ้านเรือนที่สะอาดและพร้อมมอบสิ่งของใช้ที่จาเป็นสาหรับบ้าน ตัวอย่าง 5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ(เป็นข้อ ๆ) 1คณะครูมีปัญหาในเรื่องการทากิจกรรมไม่สามารถลงพื้นที่ร่วมกับองค์กรอื่นๆในชุมชนได้ยกเว้น บางท่านที่มีภูมิลาเนาในพื้นที่ 2.กิจกรรมอาจทาครัวเรือนบางครัวเรือนลาบากต่อการปรับสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่อาจมีส่วน เกี่ยวกับการนับถือผี 3.ครัวเรือนบางครัวเรือนไม่ต่อยมีเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมอาจเป็นเพราะต้องออกไปทาไร่นากลับ บ้านก็ค่ามืดหาเวลาเข้าร่วมยาก
6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค์ข้างต้น 1.ลดกิจกรรมที่มาจากหน่วยงานกากับหรือหน่วยงานอื่นๆลงไปให้มากขึ้น 2.ผู้นาชุมชนกระตุ้นให้ชุมชนเห็นความสาคัญในการรักษาบ้านให้สะอาด 7. แผนงาน/กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดต่อไป (/ ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( / ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) แผนเดิมที่ระบุไว้ในโครงการเป็นไปตามกาหนดการทุกประการมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมโดยการเพิ่ม กิจกรรมที่มาจากการให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการคือกิจกรรม 5 กิจกรรมในโครงการอยู่ดีกินดี ชีวีมีสุขเป็นข้อเสนอของคณะวิทยากรจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เพื่อให้โครงการสอดคล้องกับวิถี ชุมชนและใช้วัฒนธรรมที่เข้มแข็งของชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาตนเองเพื่อให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในยุคปัจจุบัน 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ได้รับเชิญจากบ้านตัวอย่างในการเป็นแบบอย่างต่อชุมชน น่าอยู่ ครั้งที่ 2 จัดประกวดกิจกรรมบ้านครัวเรือนที่สะอาดน่าอยู่
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง ชุมชนสะอาดน่าอยู่ ครัวเรือนจานวนร้อยละ 70 สะอาดน่าอยู่
อธิบายรายละเอียด สังเกตจากการตรวจเยี่ยมของผุ้นา ชุมชน
ส่วนที่ 3 สิ่งที่สง่ พร้อมรายงานครั้งนี้ 1. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ชิ้น 2. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม จานวน ภาพ 3. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จานวน ภาพ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม รูปภาพในการจัดกิจกรรม ลงชื่อ
พีรพล (นายพีรพล จันทรวรรณ) ผู้ทารายงาน วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
ลงชื่อ
วุฒิไกร (นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งแดง วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
แบบรง.5 ชื่อโครงการ /กิจกรรม กิจกรรมดีท็อกสารพิษด้วยสมุนไพรรางจืด เป็นโครงการและกิจกรรมเสริมในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2 รายงานงวดที่ 2 ตั้งแต่ วันที่ 1 เดือน กันยายน 2554 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ.2554 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ - เป้าประสงค์/เป้าหมาย ด้านปริมาณ จัดกิจกรรมรณรงค์ขจัดสารพิษในร่างกาย ประชาชนในชุมชนที่สมัครใจจานวน 50 คน ด้านคุณภาพ ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพร่างกายดีขึ้น สุขภาพแข็งแรง -วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนร้อยละ 80 รู้จักการดีท็อกซ์ล้างสารพิษโดยใช้สมุนไพรใน ท้องถิ่น 2. เพื่อให้ชุมชนในเขตบริการของโรงเรียนได้ใช้วิถีชีวิตที่ดีขึ้น สุขภาพแข็งแรงรู้จักการ ป้องกันสารพิษเข้าร่างกายและงดใช้สารเคมีในพืช -ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. ประชาชนในชุมชนในเขตบริการร้อยละ 80 รู้จักการดีท็อกซ์ล้างสารพิษโดยใช้สมุนไพรในท้องถิ่น 2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะกิจกรรมที่นาเสนอโดยคณะทางานจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เท่านั้นไม่นับ รวมกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมหลักในโครงการ 5 โครงการ 21 กิจกรรม กิจกรรมตามแผน
กิจกรรมประกวดชุมชนให้ น่าอยู่ (อ.ฐนกร ดวงเนตร)
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวนผู้ร่วม อธิบายผลที่เกิดขึ้นทั้ง กิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ
ทากิจกรรมทุกวัน ประชาชนเข้าร่วม ของเดือนกันยายน โดยสมัครใจ 2554 จานวน 50 คน
ร้อยละ 80 สุขภาพ แข็งแรง
3.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่ กาหนดไว้ ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพร่างกานที่แข็งแรงขึ้น
จานวน ร้อยละ 80
4. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ ได้ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านโป่งแดง จัดกิจกรรมเรื่องคุณค่าของสมุนไพรพื้นบ้านในการ ล้างสารพิษในร่างกาย 5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ(เป็นข้อ ๆ) 1. ประชาชนบางท่านยังขาดความรู้ในการใช้สมุนไพรพื้นบ้าน 2. ประชาชนบางท่านเข้าผิดเรื่องการล้างสารพิษในร่างกายเป็นการทาให้ท้องเสีย 6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค์ข้างต้น 1.ควรศึกษาและจัดทาเอกสารเรื่องการใช้สมุนไพรในการล้างพิษในร่างกายแจกจ่ายกับประชาชน และเผยแพร่สมุนไพรชนิดอื่น ๆที่ใช้ล้างพิษเช่น ใบบัวบก ใบฝรั่ง ว่านหางจรเข้ 2.ควรทาผลิตภัณฑ์ที่สะดวกแก่การใช้และสามารถเก็บไว้ได้นานโดยไม่เสื่อมคุณภาพ 7. แผนงาน/กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดต่อไป (/ ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( / ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) แผนเดิมที่ระบุไว้ในโครงการเป็นไปตามกาหนดการทุกประการมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมโดยการเพิ่ม กิจกรรมที่มาจากการให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการคือกิจกรรม 5 กิจกรรมในโครงการอยู่ดีกินดี ชีวีมีสุขเป็นข้อเสนอของคณะวิทยากรจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เพื่อให้โครงการสอดคล้องกับวิถี ชุมชนและใช้วัฒนธรรมที่เข้มแข็งของชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาตนเองเพื่อให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในยุคปัจจุบัน 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ได้รับเชิญจากหมอสมุนไพรพื้นบ้านให้ความรู้ในการใช้ สมุนไพรพื้นบ้าน ครั้งที่ 2 ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านโป่งแดงในการตรวจสุขภาพร่างกาย
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง ประชาชนมีสุขภาพร่างกาย ประชาชนจานวน ร้อยละ 80 แข็งแรง สุขภาพร่างกายแข็งแรง
อธิบายรายละเอียด สังเกตจากการตรวจสุขภาพ ร่างกาย
ส่วนที่ 3 สิ่งที่สง่ พร้อมรายงานครั้งนี้ 1. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ชิ้น 2. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม จานวน ภาพ 3. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จานวน ภาพ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม รูปภาพในการจัดกิจกรรม ลงชื่อ
ฐนกร (นายฐนกร ดวงเนตร) ผู้ทารายงาน วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
ลงชื่อ
วุฒิไกร (นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งแดง วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
แบบรง.5 ชื่อโครงการ /กิจกรรม กิจกรรมการทาน้ายาล้างจานจากหญ้าสาบเสือ เป็นโครงการและกิจกรรมเสริมในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2 รายงานงวดที่ 2 ตั้งแต่ วันที่ 1 เดือน กันยายน 2554 ถึงวันที่ 31เดือน ตุลาคม พ.ศ.2554 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ - เป้าประสงค์/เป้าหมาย ด้านปริมาณ จัดกิจกรรมให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 จานวน 75 คนผลิตน้ายาล้างจาน ด้านคุณภาพ นักเรียนรู้จักการเลือกใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างมีคุณค่าอย่างน้อยร้อยละ 80 และ ผลิตน้ายาล้างจานเพื่อใช้ในครัวเรือนของตนเอง -วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนในโรงเรียนร้อยละ 80 รู้จักผลิตน้ายาล้างจานใช้เอง 2. เพื่อเผยแพร่ให้ชุมชนในเขตบริการของโรงเรียนได้ใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิประโยชน์ -ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. เด็กนักเรียนในโรงเรียนและชุมชนในเขตบริการร้อยละ 80 รู้จักการผลิตน้ายาล้างจานจาก หญ้าสาบเสือไว้ใช้เองเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะกิจกรรมที่นาเสนอโดยคณะทางานจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เท่านั้นไม่นับ รวมกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมหลักในโครงการ 5 โครงการ 21 กิจกรรม กิจกรรมตามแผน
กิจกรรมการทาน้ายาล้านจาน จากหญ้าสาบเสือ (อ.ปวันรักษ์ สัมฤทธิ์)
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวนผู้ร่วม อธิบายผลที่เกิดขึ้นทั้ง กิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ
ทากิจกรรมทุกวัน นักเรียนชั้น ศุกร์ของเดือน ประถมศึกษาปีที่ 4 กันยายนและทุกวัน – 6 จานวน 75 คน ศุกร์เดือนตุลาคม 2554(เว้น 12-31ตค 54)
นักเรียนจานวน ร้อยละ 80 สามารถ ผลอน้ายาล้างจาน ใช้เอง
3.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่ กาหนดไว้ ประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนในการจัดซื้อน้ายาล้าง จาน
จานวน ร้อยละ 80
4. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ ได้ร่วมกับพัฒนาการจากเกษตรอาเภอให้ความรู้ในการผลิตน้ายาล้างจานให้ใช้ในครัวเรือน 5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ(เป็นข้อ ๆ) 1การกาจัดกลิ่นของหญ้าสาบเสือสามารถทาได้ยาก 2.ภาชนะที่บรรจุไม่สามารถจัดหาที่เหมาะสมต่อการใช้ในครัวเรือนได้ 3.หญ้าสาบเสือที่นามาผลิตทาน้ายาล้างจานจะต้องจัดเคี่ยวเป็นเวลานาน ๆ 6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค์ข้างต้น 1. ต้องแต่งสีและกลิ่นของน้ายาล้างจานให้น่าใช้มากขึ้น 2.นาภาชนะบรรจุของน้าส้มที่ใช้แล้วมารีไซน์เครินใช้บรรจุน้ายา 7. แผนงาน/กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดต่อไป (/ ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( / ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) แผนเดิมที่ระบุไว้ในโครงการเป็นไปตามกาหนดการทุกประการมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมโดยการเพิ่ม กิจกรรมที่มาจากการให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการคือกิจกรรม 5 กิจกรรมในโครงการอยู่ดีกินดี ชีวีมีสุขเป็นข้อเสนอของคณะวิทยากรจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เพื่อให้โครงการสอดคล้องกับวิถี ชุมชนและใช้วัฒนธรรมที่เข้มแข็งของชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาตนเองเพื่อให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในยุคปัจจุบัน 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน 1 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ได้รับเชิญจากวิทยากรอาเภอสาธิตการทาน้ายาล้างจาน
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง นักเรียนมีน้ายาล้านไว้ใช้ใน นักเรียนสามารถผลิตน้ายาล้าน ครัวเรือน จานใช้เองได้
อธิบายรายละเอียด สังเกตจากการผลิตน้ายาล้างจาน
ส่วนที่ 3 สิ่งที่สง่ พร้อมรายงานครั้งนี้ 1. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ชิ้น 2. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม จานวน ภาพ 3. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จานวน ภาพ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม รูปภาพในการจัดกิจกรรม ลงชื่อ
ปวันรักษ์ (นายปวันรักษ์ สัมฤทธิ์) ผู้ทารายงาน วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
ลงชื่อ
วุฒิไกร (นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งแดง วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
แบบรง.5 ชื่อโครงการ /กิจกรรม กิจกรรมประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย เป็นโครงการและกิจกรรมเสริมในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2 รายงานงวดที่ 2 ตั้งแต่ วันที่ 1 เดือน กันยายน 2554 ถึงวันที่ 31เดือน ตุลาคม พ.ศ.2554 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1.โครงการโดยย่อ - เป้าประสงค์/เป้าหมาย ด้านปริมาณ ประชากรในเขตบริการของโรงเรียนบ้านโป่งแดง ด้านคุณภาพ ชุมชนในเขตบริการสามารถพึ่งพาตนเอง ตระหนักถึงการใช้สารเคมีใน ชีวิตประจาวัน รู้จักการเลือกใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างมีคุณค่าอย่างน้อยร้อยละ 80 ของจานวนประชากร ทั้งในระบบโรงเรียนและชุมชนในเขตบริการ -วัตถุประสงค์ 1 เพื่อชาวบ้านตระหนักถึงความรู้ในการใช้สารเคมีในพืชที่ปลูก 2. เพื่อให้ชุมชนในเขตบริการของโรงเรียนรู้จักวิธีการป้องกันและผลกระทบในการสารเคมี ในพืชที่ปลูก -ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. ชุมชนในเขตบริการร้อยละ 80 รู้จักการใช้สารเคมีและตระหนักถึงการลดการใช้สารเคมีใน พืชที่ปลูก รู้จักป้องกันการใช้สารเคมี 2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะกิจกรรมที่นาเสนอโดยคณะทางานจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เท่านั้นไม่นับ รวมกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมหลักในโครงการ 5 โครงการ 21 กิจกรรม กิจกรรมตามแผน
กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย (อ.กัลยา ธิสงห์)
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่
ทากิจกรรมทุกวัน ของเดือนกันยายน และทุกวันเดือน ตุลาคม 2554(เว้น 12-31ตค54)
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวนผู้ร่วม อธิบายผลที่เกิดขึ้นทั้ง กิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ
เด็กนักเรียน โรงเรียนรวม 20 คนและชุมชนใน เขตบริการโรงเรียน
3.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ
ชุมชนมีการ ตระหนักถึงการลด ใช้สารเคมีในพืชที่ ปลูก
ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่ กาหนดไว้ ชุมชนปลอดสารพิษ
จานวน ร้อยละ 80
4. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ ได้ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านโป่งแดงออกเอกสารประชาสัมพันธ์ และออกเสียงตามสาย ร่วมกับ อสม.ของหมู่บ้านร่วมกับผู้นาองค์กรท้องถิ่นผู้นาท้องถิ่นเยี่ยมเยียนให้ความรู้ในการใช้สารเคมีในพืช ที่ปลูก 5.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ(เป็นข้อ ๆ) 1คณะครูมีปัญหาในเรื่องการทากิจกรรมไม่สามารถลงพื้นที่ร่วมกับองค์กรอื่นๆในชุมชนได้ยกเว้น บางท่านที่มีภูมิลาเนาในพื้นที่ 2.กิจกรรมมีมากเกินไปกล่าวคือกิจกรรมที่หน่วยงานกาหนดหรือหน่วยงานอื่นๆกาหนดให้ร่วมงาน มีมากเกินไปจนลืมละเลยกิจกรรมหลักในส่วนที่ตนรับผิดชอบ 3.การบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนยังไม่สัมพันธ์กันคณะครูส่วนใหญ่ยึดติดกับ การสอนในวิชาที่ตนเองรับผิดชอบยังไม่บูรณาการเท่าที่ควรจะเป็น 4. ภาษาในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ทาให้ประชาชนเข้าใจได้ไม่ดีเท่าที่ควร 6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค์ข้างต้น 1.ลดกิจกรรมที่มาจากหน่วยงานกากับหรือหน่วยงานอื่นๆลงไปให้มากขึ้น 2.ฝึกนักเรียนให้เป็นประชาสัมพันธ์ของหมู่บ้านร่วมกับชมชุน 7. แผนงาน/กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดต่อไป (/ ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( / ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) แผนเดิมที่ระบุไว้ในโครงการเป็นไปตามกาหนดการทุกประการมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมโดยการเพิ่ม กิจกรรมที่มาจากการให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการคือกิจกรรม 5 กิจกรรมในโครงการอยู่ดีกินดี ชีวีมีสุขเป็นข้อเสนอของคณะวิทยากรจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เพื่อให้โครงการสอดคล้องกับวิถี ชุมชนและใช้วัฒนธรรมที่เข้มแข็งของชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาตนเองเพื่อให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในยุคปัจจุบัน 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน 1 ครั้ง ได้แก่ ร่วมกับผู้นาชุมชน อสม.และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในชุมชน บ้านโป่งแดงออกประชาสัมพันธ์ตามหมู่บ้านและแจกเอกสารให้ความรุ้กับประชาชนในหมู่บ้าน
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง ชุมชนตระหนักถึงการลดสารเคมี ชุมชนปลอดสารพิษลดการใช้ ในพืชที่ปลูก สารเคมี
อธิบายรายละเอียด สังเกตจากการใช้สสารเคมีในพืช
ส่วนที่ 3 สิ่งที่สง่ พร้อมรายงานครั้งนี้ 1. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ชิ้น 2. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม จานวน ภาพ 3. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จานวน ภาพ ส่วนที่ 4 ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม รูปภาพในการจัดกิจกรรม ลงชื่อ
กัลยา (นางกัลยา ธิสิงห์) ผู้ทารายงาน วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554
ลงชื่อ
วุฒิไกร (นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านโป่งแดง วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554