3 กิจกรรม เกษตรอินทรีย์เพื่อชีวีที่ดีกว่า

Page 1

แบบ รง. ๕ เลขทีข่ ้อตกลง 54-00480-13 งวดที่ 1

แบบรายงานความก้าวหน้า โครงการเกษตรอินทรีย์เพื่อชีวีที่ดีกว่า ชื่อโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน สพป.ลาพูนเขต 2 รายงานงวดที่ 1 .ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2554 ถึง 11 กรกฎาคม 2554 ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร 1. โครงการโดยย่อ  เป้าประสงค์ / เป้าหมาย องค์กรที่เข้าร่วมโครงการนาร่องการจัดการศึกษาประกอบด้วย โรงเรียนบ้าน โป่งแดง ชุมชนบ้านโป่งแดง หมู่ที่ 5 ชุมชนบ้านสัญชัย หมู่ทที่ 7 ชุมชนบ้านดอยแก้ว หมู่ที่ 5 อบต.ทุ่ง หัวช้าง กศน.ทุ่งหัวช้าง พัฒนาชุมชนทุ่งหัวช้าง เกษตรอาเภอทุ่งหัวช้าง เกษตรที่สูงอาเภอทุ่งหัวช้าง ชมรมกีฬาหมู่บ้าน กลุ่มเกษตรอินทรีย์หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ ชมรมผู้ปลูกมันฝรั่ง ถั่วแระในหมู่บ้าน กลุ่มหนุ่มสาว ผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนบ้านโป่งแดงฯลฯ  วัตถุประสงค์ 1.เพื่อนาร่องการจัดการศึกษาตามข้อเสนอทางเลือกระบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะ คนไทย 2.เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และถอดบทเรียนของระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทย 3.เพื่อเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทยในบริบท ของพื้นที่ที่ทาการศึกษาโครงการ  ผลผลิต / ผลลัพธ์ เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชนโดยมีโรงเรียนเป็นฐาน ทุกภาค ส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาในฐานะผู้มีส่วนได้เสียในการจัดการศึกษาในปัจจุบัน โรงเรียนหัน กลับมาใช้ชุมชนในการบริหารจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณค่า


2. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้

กิจกรรมตามแผน ( ในงวดนี้ ) กิจกรรมการเสวนาเกษตรอินทรีย์

ไม่ได้ทา

ได้ทา ผู้ร่วม กิจกรรม /

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ นักเรียน 70 คน นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับ เกษตรอินทรีย์ ความ แตกต่างระหว่างเกษตร อินทรีย์และเกษตรเคมี ประโยชน์ของเกษตร อินทรีย์ และนาความรู้ที่ ได้ไปปฏิบัติที่บ้านของ ตนเองบอกผู้ปกครองของ ตน เพื่อให้ผู้ปกครองหัน มาสนใจการทาการเกษตร แบบเกษตรอินทรีย์ ครู 19 คน ครูนาความรู้ที่ได้รับมา ใช้ในการเรียนการสอนใน ชั้นเรียนของตนเองเข้ากับ ชุมชนเปิดโอกาสให้ ชุมชนเข้ามาร่วมศึกษา แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน บ้านทางด้านต่างๆทาให้ กิจกรรมการเรียนการสอน สนุกสนานเข้าใจง่าย ประชาชน 12 คน ประชาชนมีความรู้เรื่อง เกษตรอินทรีย์ รู้ถึง ประโยชน์เกษตรอินทรีย์ ลดการใช้สารเคมี และ สามารถนาไปปรับใช้ใน การทาการเกษตรที่ทาอยู่


กิจกรรมการทาปุ๋ยหมักชีวภาพ

/

กิจกรรมน้าหมักชีวภาพ

/

แล้ว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นักเรียน 70 คน สามารถบอกถึงประโยชน์ วิธีการ ขั้นตอนการทาปุ๋ย หมักได้ และสามารถทา ปุ๋ยหมักชีวภาพได้ ครู 19 คน ครูนาความรู้ที่ได้รับมา ใช้ในการเรียนการสอนใน ชั้นเรียนของตนเอง เข้า กับชุมชนเปิดโอกาสให้ ชุมชนเข้ามาร่วมศึกษา แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน บ้านทางด้านต่างๆทาให้ กิจกรรมการเรียนการสอน สนุกสนานเข้าใจง่าย ประชาชน 12 คน สามารถทาปุ๋ยหมัก เพื่อ ใช้ในการทาการเกษตรได้ เป็นลดต้นทุนการผลิต นักเรียน 70 คน สามารถบอกถึงประโยชน์ วิธีการ ขั้นตอนการทาปุ๋ย หมักได้ และสามารถทา ปุ๋ยหมักชีวภาพได้ ครู 19 คน ครูนาความรู้ที่ได้รับมา ใช้ในการเรียนการสอนใน ชั้นเรียนของตนเอง เข้า กับชุมชนเปิดโอกาสให้ ชุมชนเข้ามาร่วมศึกษา แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน บ้านทางด้านต่างๆทาให้ กิจกรรมการเรียนการสอน สนุกสนานเข้าใจง่าย ประชาชน 12 คน สามารถทาน้าหมักชีวภาพ ไว้ใช้ในการทาการเกษตร ได้เป็นการลดต้นทุนการ


ผลิต 3. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการเห็นถึงความสาคัญของการทาการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์ เพราะมีความปลอดภัยจากสารพิษ องค์กรต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน

จานวน 190 คน

4. การรับรู้และมีส่วนร่มขององค์กรอื่นๆ ได้รับความร่วมจากองค์กรต่างๆ ส่งตัวแทนเข้าร่วมในการเสวนา และฝึกบอรมในการทาปุ๋ยหมักชีวภาพ น้าหมักชีวภาพ 5. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ ( สรุปเป็นข้อ ๆ ) กิจกรรมที่จัดยังไม่ค่อยได้รับความสนใจจากประชาชน เนื่องจากช่วงเวลาที่จัดเป็นช่วงเวลาที่ประชาชนต้อง ประกอบอาชีพ เพราะเกรงว่าจะขาดรายได้ จึงไม่สามารถมาร่วมในการฝึกอบรมตามจานวนที่กาหนดไว้ 6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ต้องมีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ ให้ประชาชนเข้าใจถึงประโยชน์ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม 7. แผนงาน / กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( / ) มีการปรับเปลีย่ นจากข้อเสนอโครงการ ( ระบุ กิจกรรม / รายละเอียด / ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน ) จะมีการพาผู้ที่เข้ารับการฝึกอบรมไปศึกษาดูงาน ด้านเกษตรอินทรีย์ จากศูนย์เกษตรอินทรีย์ที่เป็นต้นแบบ เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมได้รับประสบการณ์ตรง และนาความรู้ที่ได้จากการไปศึกษาดูงานมาปรับใช้ให้เข้า สภาพของชุมชน 8. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน / หน่วยงานอื่น ( / ) มี จานวน.......1........ครั้ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านทาป่าเปา และชุมชนบ้านทาป่าเปา อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน


ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ของโครงการ ระบุรายละเอียดผลผลิต / ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต / ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ นักเรียนจานวน 70 คน ประชาชน 30 คน ได้ร่วมกิจกรรมการเสวนา เกษตรอินทรีย์เพื่อชีวีที่ดีกว่า การ ฝึกอบรมการทาปุ๋ยหมักชีวภาพ การ ฝึกอบรมการทาน้าหมักชีวภาพ

ผลผลิต / ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง นักเรียนจานวน 70 คน ครู 19 คน ประชาชน 12 คนเข้าร่วมกิจกรรม และสามารถมองเห็นการจัดการเรียนรู้ ของครูที่จัดให้กับเด็ก มองเห็นถึง ประโยชน์ของการทาเกษตรอินทรีย์ ความสามารถของบุตรหลานตนเอง กิจกรรมที่ดีมีประโยชน์ทั้งเด็ก นักเรียนและครูรวมทั้งชุมชน

อธิบายรายละเอียด มีการแต่งตั้งคณะทางานเป็นชุดๆ ประกอบด้วยทุกภาคส่วนในชุมชน กาหนดกรอบภารกิจในการทางานให้ ชัดเจน ประชุมทาความเข้าใจในกรอบการ ทางาน กาหนดตารางปฏิบัติงาน ออกเป็นรายวันชัดเจน เร่งรัดการปฏิบัติงานก่อนถึงวันงาน จริงรายละเอียดการเรียนรู้ทุกอย่างต้อง มีก่อนที่จะถูกนาเสนอต่อผู้มีส่วน เกี่ยวข้องเช่น นายอาเภอ หัวหน้าส่วน ราชการต่างๆ คณะครู ประชุมชี้แจง เด็กนักเรียนอย่างถ่องแท้ จริงจังและ ติดตามผลการดาเนินการทุกระยะเพื่อ ปรับปรุงและแก้ไข

ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน / ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน............2............ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) 2. ปุ๋ยหมักชีวภาพ (จานวน 1000 กิโลกรัม ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน – 8 กันยายน 2554) 1.ปุ๋ยน้าชีวภาพ (จานวน 50 กิโลกรัม ระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน – 9 กันยายน 2554) ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม ( จานวน 10 ภาพ ) ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ( จานวน - ภาพ )


ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก / รายงานกิจกรรม ( ถ้ามี ) ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อผู้ทารายงาน ( ผู้รับผิดชอบโครงการ ) ลงชื่อหัวหน้าองค์กร ( ผู้รับทุน) ( นายวุฒิไกร ( นายฐนกร ดวงเนตร 11 กรกฎาคม 2554

ชัยสิทธิ์

)

) 11 กรกฎาคม 2554

หมายเหตุ : รายงานความก้าวหน้าโครงการรายงานงวดฉบับนี้ สาหรับโรงเรียน ชุมชน วัด อบต. และแหล่ง เรียนรู้ ใช้ประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณงวด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.