โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน”
โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โรงเรียนบ้านลาดวิทยา อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
ก
คานา การทอดบทเรียนตามโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย กระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” เป็นรายการผลการดาเนินงานตั้งแต่เริ่มโครงการ จน เสร็จสิ้นโครงการ โดยมีรายละเอียด ของโครงการ 5 โครงการ 14 กิจกรรม เริ่มจากการทาประชาคมทาให้ ได้มาซึ่งโครงการทุกโครงการทุกกิจกรรม วิธีการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และปัจจัยความสาเร็จ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานโครงการฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างองค์กรในแต่ละชุมชน เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับท้องถิ่นของตน คณะผู้จัดทา
สารบัญ คานา ตอนที่ 1 หลักการและเหตุผล ตอนที่ 2 รู้จักอาเภอบ้านลาดและโรงเรียนบ้านลาดวิทยาสู่โครงการแห่งวิถีของชุมชน ประวัติความเป็นมาของอาเภอบ้านลาด ความเป็นมาของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา ข้อมูลทั่วไป การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมระดับจุลภาคของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา หลักสูตร โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” 1) หลักสูตร “สืบสานการแสดงกลองยาวลิเก”
ก 1 1 6 6 6 8 9 15 15
2) หลักสูตร “ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)”
17
3) หลักสูตร “ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด”
20
3.1) 3.2) 3.3) 3.4)
ครอบครัวฮูลาฮูป ครอบครัว “บวร” ครอบครัวปันรัก ครอบครัวสัญจร
3.5) ครอบครัวรักการอ่าน 4) หลักสูตร “ศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี” 4.1) ค่ายกาจัดขยะ 4.2) ปุ๋ยหมักจากขยะสดและมูลสัตว์ 4.3) เรียนรู้คุณค่าของพืช และส่งเสริมการปลูกพืชต่างๆ
20 21 23 24 25 27 27 30 31
สารบัญ (ต่อ) 5) หลักสูตร “ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด” 5.1 การเลี้ยงไก่พื้นเมือง (ไก่พื้นบ้าน) 5.2 การเลี้ยงปลาดุก 5.3 การขยายพันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ 5.4 การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ตอนที่ 3 การดาเนินกิจกรรมตามโครงการ โครงการ “สืบสานการแสดงกลองยาวลิเก” โครงการ “ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)” โครงการ “ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด” โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี” โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด” ตอนที่ 4 ผลการดาเนินโครงการ ปัจจัยความสาเร็จ 59 ตอนที่ 5 ถอดบทเรียน 1. โครงการ “สืบสานการแสดงกลองยาวลิเก” 2. โครงการ “ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)” 3. โครงการ “ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด” 4. โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและ สุขภาวะที่ดี” 5. โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของ ยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด” บทสรุปส่งท้าย บทเรียนจากการดาเนินโครงการ
33 33 35 36 37 40 40 40 42 45 47 52 58 58
61 62 64 67 69 71 73
ตอนที่ 1 โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มีเป้าหมายที่สาคัญคือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดองค์ความรู้ทางความคิด สามารถแก้ปัญหาและดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยยึดหลักการจัดการศึกษาในมาตรา 8 (2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มาตรา 9 (1) และ (2) ให้การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการ จัดการศึกษามีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบัติ มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่ การศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กอปรกับมาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยการจัดกระบวนการ เรียนรู้ภายในชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการศึกษา อบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และ รู้จัก เลือกสรรภูมิปัญญาและวิทยากรต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนชุมชนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การพัฒนาระหว่างชุมชน และ มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการทั้งทางด้านวิชาการ งบประมาณ การ บริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทาหน้าที่กากับและ ส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, 2547 : 6 ‟ 26) และแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552 - 2559) ได้กล่าวถึงการมีส่วนร่วมใน วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 “ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม และทุกส่วนของ
สังคมในการบริหารจัดการศึกษา และสนับสนุนส่งเสริมการศึกษา” จึงอาจกล่าวได้ว่า สถานศึกษากับชุมชน มีความสาคัญในการที่จะต้องร่วมมือกันในการจัดการศึกษา ชุมชนจะต้องถือว่าสถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชน ที่จะต้องให้การเอาใจใส่ดูแลและสนับสนุน มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน มีการประสานความ ร่วมมือในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น ชุมชน ต้องมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการจัดการศึกษาให้มีความหลากหลาย มีความเหมาะสม สามารถนาภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากร และแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและท้องถิ่น ที่เอื้อต่อการเรียนรู้มาบริหารจัดการให้ สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และท้องถิ่นให้มากที่สุด การมีส่วนร่วมของชุมชนเกิดจากจิตใจที่ต้องการเข้าร่วมในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง เพื่อให้เกิดผล ต่อความต้องการของกลุ่มคนที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตทางสังคมทั้งนี้ในการที่จะให้ ชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมอย่างแท้จริงนั้น การจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมต้องคานึงถึง วิถีการดาเนินชีวิต ค่านิยม ประเพณี ทัศนคติของบุคคล เพื่อให้เกิดความสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม เพราะกลุ่มคนในชุมชนมีความแตกต่างกัน ในลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะทางเศรษฐกิจและ การได้รับข้อมูลข่าวสารทั้งนี้ การเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชนโดยสรุปมีขั้นตอมทั้งสิ้น 5 ขั้นตอนคือ 1) การวิเคราะห์ - สังเคราะห์ปัญหาของชุมชน 2) การวางแผนที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวิถีชีวิต 3) การกาหนดกิจกรรม 4) การดาเนินกิจกรรม 5) การประเมินผลกิจกรรม ซึ่งเป็นขั้นตอนของการเข้ามามีส่วนร่วมที่ให้ความสาคัญโดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง โดยมีหน่วยงาน ภาครัฐคอยช่วยเหลือ ให้คาแนะนาหรืออานวยความสะดวกเท่านั้น โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท. ๒) เป็นโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) โดย ดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ การดาเนินการโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วน ร่วมฯ ได้นารูปแบบการจัดการศึกษาตามข้อเสนอทางเลือกระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับ สุขภาวะคนไทย ที่มี รองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และ คณะ ดาเนินการศึกษาแล้วเสร็จในปี 2553 มาเป็นแนวทางดาเนินงาน โดยดาเนินการใน สถานศึกษา วัด ชุมชน แหล่งเรียนรู้ และองค์การบริหารส่วนตาบล ที่เข้าร่วมโครงการจานวน 28แห่ง ใน 4 ภูมิภาคของประเทศ ตามความหลากหลายของบริบทสังคม เพื่อเป็นต้นแบบและสนับสนุน ให้เกิดการขยายผลต่อไป สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้มอบหมายให้โรงเรียน
บ้านลาดวิทยา จังหวัดเพชรบุรี ดาเนินการจัดการศึกษาทางเลือกระบบการศึกษา ที่สามารถ สร้างเสริม สุขภาพของประชาชนในชุมชน อาเภอบ้านลาด ทั้งทางด้านร่างกาย จิต สังคมและสติปัญญา เพื่อให้ ประชาชนในชุมชน เป็นบุคคล ที่สมบูรณ์ เพียบพร้อม และดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข โดยมี ประเด็นสาคัญของระบบการศึกษา คือ การสร้างความเข้มแข็งที่ฐานรากที่จาเป็นต้องเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาโดยให้ความสาคัญ กับครอบครัวชุมชน ท้องถิ่น สถาบันศาสนา เอกชนและองค์กร เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรอื่นของประชาชน เพื่อสร้างชุมชนให้เป็นชุมชนแห่งการ เรียนรู้ ทอดแทรกในการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยการส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมและ สนับสนุน ศิลปวัฒนธรรม ในชุมชน อาเภอบ้านลาด ในการนี้ โรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้จัดทาประชาคมโดยเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละภาคส่วน มาวิเคราะห์บริบท จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค และจุดที่ควรพัฒนา พบว่า อาเภอบ้านลาดมีจุดแข็ง ในด้าน อาชีพ วัฒนธรรม-ประเพณี สิ่งแวดล้อม ในขณะเดียวกันความเจริญทางด้านวัตถุ การสื่อสาร เทคโนโลยี ต่างๆ ทาให้เกิดปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาสื่อที่มีอยู่ให้คงอยู่ยั่งยืน ดังนั้นในที่ประชาคมจึงได้ลงมติในที่ ประชุม ให้ดาเนิน โครงการ /กิจกรรม 5 โครงการย่อย คือ 1) โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 2) โครงการ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 3) โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 4) โครงการส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 5) ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด ทั้ง 5 โครงการย่อยเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การเรียนรู้ ความเป็นไทย และ ความพอเพียงดังนั้น คณะกรรมการการดาเนินงานของโรงเรียนจึงได้จัดโครงการทั้ง 5 โครงการ(14 กิจกรรม)ภายใต้ชื่อโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนา การศึกษาด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” ขึ้นมาเป็นแนว ทางการดาเนินงาน โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ตามความหลากหลายของบริบทในชุมชน เพื่อเป็นต้นแบบ และ สนับสนุนให้เกิดการขยายผลต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและปลูกจิตสานึกให้เยาวชนบ้านลาดมีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อขยายผล ด้านความเป็นไทยและการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากเยาวชนสู่ ครอบครัวชุมชนคนบ้านลาด 3. ถอดบทเรียนของระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทย โดยใช้ชุมชนเป็นฐานตาม โครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้น
เป้าหมาย เชิงปริมาณ 1. 2. 3. 4. 5.
จัดทาโครงการ 5 โครงการ ดังนี้ โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี โครงการการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก โครงการ ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด โครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด
เชิงคุณภาพ นักเรียนในสถานศึกษา เยาวชน และประชาชนในชุมชน ที่เข้าร่วมโครงการ อย่าง น้อยร้อยละ 75 ได้รับการพัฒนาตามช่วงวัย มีสุขภาพกาย แข็งแรงขึ้น มีแนวโน้มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ สอดคล้องกับโครงการ สูงขึ้น และมีการจัดกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ตัวชี้วัดความสาเร็จ ของโครงการ 1. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนเกิดการเรียนรู้วิถีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ได้หลักสูตร ของโครงการย่อย 5 หลักสูตร 3. ถอดบทเรียนของโครงการย่อย 5 บทเรียน 4. ชุมชน 18 ตาบลให้การยอมรับ สนับสนุนและให้ความร่วมมือ ทุกโครงการ 5. เยาวชนมีจิตสานึกในการรักอาชีพท้องถิ่นมากขึ้น วิธีดาเนินการ 1. จัดตั้งคณะกรรมการจากทุกภาคส่วนของชุมชน 2. ศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของชุมชนอาเภอบ้านลาดโดยการทาประชาคม 3. นาผลการวิเคราะห์มาจัดทาโครงการให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนในท้องถิ่น 4. เสนอคณะกรรมการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 5. ดาเนินงานตามโครงการ 6. สรุปการดาเนินงานโดยการถอดบทเรียน 7. ประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงานตามกาหนดเวลาของโครงการ 8. สรุปผลการดาเนินงานเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
ประโยชน์ที่คาดจะได้รับ 1. ได้สร้างองค์ความรู้ที่หลากหลายให้คนในท้องถิ่น 2. ได้เครือข่ายความร่วมมือของชุมชนในการสร้างสรรค์ชุมชนร่วมกัน 3.ได้ปลุกจิตสานึกที่ดีให้เยาวชนในการรักถิ่นฐานบ้านเกิด ภาคภูมิใจในความเป็นไทยและนาหลัก ปรัชญาความพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
ตอนที่ 2 รู้จกั อาเภอบ้านลาดและโรงเรียนบ้านลาดวิทยา สู่โครงการแห่งวิถีของชุมชน อาเภอบ้านลาดเป็นอาเภอหนึ่งใน 8 อาเภอของจังหวัดเพชรบุรี อันประกอบไปด้วยอาเภอท่ายาง อาเภอเขาย้อย อาเภอชะอา อาเภอบ้านแหลม อาเภอหนองหญ้าปล้อง อาเภอแก่งกระจาน อาเภอเมือง เพชรบุรี และอาเภอบ้านลาด ระยะทาง 8 กิโลเมตรจากอาเภอเมืองเพชรบุรี ถึงอาเภอบ้านลาด แหล่งชุมชน ที่มีลักษณะเป็นสังคมบ้าน มากกว่าสังคมเมือง วิถีชีวิตอันเรียบง่าย คือเอกลักษณ์ที่เด่นชัดของความเป็นบ้าน ลาด ในความเรียบง่ายตามลักษณะการดาเนินชีวิต มีสิ่งสาคัญอันทรงคุณค่ามากมายหลายอย่างดารงอยู่ ไม่ ว่าจะเป็นภาษาพูด อันมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่เรียกว่า “เหน่อบ้านลาด” หรือประเพณีการแข่งขัน วัวเทียม เกวียนที่เลื่องชื่อ การแสดงพื้นบ้านที่สะท้อนวิถีชีวิตของผู้คนตั้งแต่อดีตกาล ศิลปะหลากหลายจากศิลปิน ของท้องถิ่น ล้วนเป็นสิ่งที่คนบ้านลาดภาคภูมิใจ และเล่าขานด้วยความรู้สึกร่วมกันว่า “บ้านลาด บ้านเรา” ประวัติความเป็นมาของอาเภอบ้านลาด อาเภอบ้านลาด เป็นอาเภอที่แบ่งพื้นที่การปกครองมาจากอาเภอคลองกระแชง เมื่อ พ.ศ.2459 (ปัจจุบันคืออาเภอเมืองเพชรบุรี) ตามประวัติกล่าวว่า บริเวณแถบนี้มีโจรผู้ร้ายชุกชุมยากที่จะปราบปราม จึง มาตั้งอาเภอและสถานีตารวจ เพื่อที่จะได้ดูแลทุกข์สุขของประชาชน อาเภอบ้านลาด เมื่อยกฐานะเป็นอาเภอใหม่ๆ เรียกว่า “อาเภอท่าช้าง” เพราะอยู่ในตาบลท่าช้าง คือ บริเวณหน้าวัดโพธิ์กรุปัจจุบันนี้ เมื่อเลือกทาเลที่ตั้งได้แล้ว จึงลงมือปลูกสร้างอาคารชั่วคราวขึ้นที่หน้าวัด โพธิ์กรุก่อน และแต่งตั้งให้นายผล สวัสดิ์บุตร มาเป็นนายอาเภอคนแรกได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงผดุงคชติถ์ ครั้นถึง พ.ศ.2465 นายโหมด พระประสิทธิ์ หรือ ขุนเอี่ยมประศาสตร์ ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์เป็น หลวงอนุกูลเพชรเกษตร ได้มาดารงตาแหน่งนายอาเภอเป็นคนที่สอง มีความเห็นว่าที่ตั้ง อาเภอ ยังไม่เหมาะสม จึงหาที่ตั้งอาเภอใหม่โดยย้ายไปที่หน้าบ้านวังชนวน ตาบลบ้านลาด ห่างจากที่เดิมมา ทางตะวันออกราว 1 กิโลเมตร เป็นที่ดินติดแม่น้าตรงน้าวน บริเวณนี้แต่เดิมมีต้นฉนวนขึ้นอยู่มากแต่เป็นที่ เปลี่ยว โจรผู้ร้ายมักใช้เป็นที่แย่งชิงทรัพย์จากพ่อค้าแม่ค้าทั้งทางบกและทางน้าอยู่เสมอ และเมื่อย้ายที่ว่าการ อาเภอมาตั้งก็ยังคงใช้ชื่อเดิมอยู่จนกระทั่งพ.ศ.2481 จึงเปลี่ยนชื่อเป็นชื่อ “อาเภอบ้านลาด”
ข้อมูลอาเภอบ้านลาด สภาพทั่วไป ที่ตั้ง อาเภอบ้านลาด ตั้งอยู่ริมฝังงแม่น้าเพชรบุรี หมู่ที่ 7 ตาบลบ้านลาด ทางทิศใต้ของจังหวัดเพชรบุรี ห่างจากจังหวัดเพชรบุรี ประมาณ 8 กิโลเมตร ประกอบด้วย 18 ตาบล 115 หมู่บ้าน ลักษณะทางกายภาพ อาเภอบ้านลาด มีเนื้อที่ประมาณ 298,136 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 186,336 ไร่ ลักษณะ ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชทุกชนิด ทิศตะวันตกเป็นทิวเขาของเทือกเขา ตะนาวศรี สภาพดินเป็นดินทรายและดินลูกรัง ภูเขาที่สาคัญ ได้แก่ เขาแด่น เขาไม้ทราง เขาโปร่งแดง เขาไร่ เขาเหล่านี้เป็นเทือกเขาติดต่อกัน จากทิศเหนือไปทิศใต้ ทางทิศตะวันออกมีภูเขาลูกเล็กๆ เช่น เขาถ้ารงค์ เขาทะโมน เขาพรหมชะแง้ เป็นต้น ภูมิอากาศ อุณหภูมิในท้องที่อาเภอบ้านลาด จุดที่สูงที่สุดอยู่ในตาบลห้วยลึกในช่วงปลายเดือนมีนาคม และ เดือนเมษายน ส่วนอุณหภูมิต่าสุดอยู่ในตาบลห้วยลึกอีกเช่นกัน อยู่ในช่วงปลายเดือนธันวาคมต้นเดือน มกราคม ความชื้นช่วงนี้จะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 14-18 องศา สูงสุดในเดือนมิถุนายน และเดือนกันยายนความชื้น ต่าสุด อยู่ในช่วงกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม การกระจายของฝนในท้องที่อาเภอบ้านลาด โดยเฉลี่ยการ กระจายของฝน อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ความสม่าเสมอของฝนจะตกในช่วงเดือนพฤษภาคม สิงหาคม กันยายนและต้นเดือนตุลาคม
โรงเรียนบ้านลาดวิทยา อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนบ้านลาดวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ 111 หมู่ที่ 7 ถนน รพช. ตาบลบ้านลาด อาเภอ บ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี รหัสไปรษณีย์ 76150 โทรศัพท์ 0 ‟ 3259 ‟ 1343 โทรสาร 0 ‟ 33249 ‟ 1470 http://www.banlat.ac.th , e-mail banlat@chiyo.com สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 2 สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีแผนการจัดชั้นเรียน ปีการศึกษา 2554 เป็น 9-9-7 / 6-6-5 รวม 42 ห้องเรียน จานวน 1,493 คน มีพื้นที่ 36 ไร่ 26 ตารางวา ประวัติความเป็นมา โรงเรียนบ้านลาดวิทยาเป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอน ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ในท้องที่ตาบลบ้านลาด อาเภอบ้านลาด จังหวัด เพชรบุรี เริ่มเปิดสอนเป็นการภายในเป็นครั้งแรก (เพราะกระทรวงยังไม่อนุญาต) เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2501 เป็นแบบสหศึกษา เปิดรับนักเรียนเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาเพียง 1 ห้องเรียน รุ่นแรกมีนักเรียน 39 คน ครู 1 ท่าน โดยได้ขอใช้สถานที่โรงเรียนปริยัติธรรมของวัดใหม่ประเสริฐ อาเภอบ้านลาด จังหวัด เพชรบุรี เป็นอาคารเรียนชั่วคราว มีท่านอาจารย์สวน เลิศอาวาส ทาหน้าที่รักษาการในตาแหน่งครูใหญ่ ถึงเดือนกันยายน 2501 ต่อมาเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2501 กระทรวงศึกษาธิการแจ้งอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียน บ้านลาดวิทยาอย่างเป็นทางการ (ดังนั้น โรงเรียนจึงถือว่าวันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันเกิดของโรงเรียน) และ จังหวัดได้แต่งตั้งผู้บริหารโรงเรียนคือ นายไพโรจน์ ร่างน้อย มาดารงตาแหน่งครูใหญ่เป็นคนแรก เอกลักษณ์ของโรงเรียน ตราประจาโรงเรียน คือ เปลวปัญญาบนฝ่ามือ อักษรย่อ บ.ว. สีประจาโรงเรียน ม่วง-ขาว ปรัชญาโรงเรียน พลานามัยสมบูรณ์ เพิ่มพูนคุณธรรม ล้าเลิศวิชาการ คาขวัญ เรียนดี กีฬาเด่น วินัยดี มีคุณธรรม ปูชนียวัตถุเป็นที่เคารพสักการบูชา พระสิทธารถมหามงคล ต้นไม้ประจาโรงเรียน ต้นเสลา
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมระดับจุลภาคของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา เมื่อรับทราบว่าโรงเรียนบ้านลาดวิทยา ได้เข้าร่วมโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) เป็นโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) โดยดาเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ทางฝ่ายบริหาร ของโรงเรียน ได้ระดมสมองคิดว่าใครบ้างที่ควรจะมามีส่วนร่วมในการดาเนินงานตามโครงการนี้ และได้ สรุปโดยเชิญหน่วยงาน บุคคล เข้าร่วมประชาคมในการวิเคราะห์สภาพปัญหา จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค และ จุดที่ควรพัฒนา ที่ห้องประชุมอาคารเฉลิมพระเกียรติโรงเรียนบ้านลาดวิทยา ในวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 โรงเรียนบ้านลาดวิทยา ดังนี้ 1. คณะครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 2. คณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 3. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. คณะกรรมการผู้ปกครองเครือข่าย 5. ปศุสัตว์อาเภอบ้านลาด 6. พัฒนากรอาเภอบ้านลาด 7. วิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด 8. วัฒนธรรมอาเภอบ้านลาด 9. โรงพยาบาลบ้านลาด 10. สาธารณสุขอาเภอบ้านลาด 11. กลุ่มยุวธรรมทูตเพชรบุรี 12. ภูมิปัญญาท้องถิ่นบ้านลาด โดยผู้เข้าร่วมประชุมได้วิเคราะห์บริบทโรงเรียนบ้านลาดวิทยาทั้งภายในและภายนอก ได้มีการอภิปรายใน ประเด็น การเมือง การปกครอง สังคม สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจ การอาชีพ วัฒนธรรม ค่านิยม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้ข้อสรุปดังนี้ ด้านการเมือง การปกครอง ระบบการเมืองและนักการเมืองในท้องถิ่นมีอิทธิพลในด้านบวกต่อการส่งเสริมการจัดการศึกษา เป็นนักการเมืองรุ่นใหม่ให้ความร่วมมือ สนับสนุน ไม่วางอานาจหรือใช้อิทธิพลมากดดันในการบริหาร จัดการของสถานศึกษาอาจเป็นเพราะสถานศึกษามีแนวทางปฏิบัติตามนโยบายของรัฐเป็นแกนสาคัญ
นักการเมืองในท้องถิ่น ใช้แนวทางสร้างศรัทธาโดยการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาร่วมกับ ชุมชน ถึงพรรคจะเปลี่ยนคนจะเปลี่ยน แต่แนวทางการมีส่วนร่วมยังอยู่ บทบาทอาจเป็นไปตามวาระ แต่ไม่มี ผลต่อการดาเนินงานในสถานศึกษามากมายนัก ด้านเศรษฐกิจ และอาชีพ อาเภอบ้านลาดเป็นอาเภอที่มีสภาพเป็นสังคมบ้านมากกว่าสังคมเมือง แม้จะอยู่ใกล้อาเภอเมือง เพียง 7-8 กิโลเมตร แต่แสงสีแห่งความเจริญไม่อาจทาลายสภาพดั้งเดิมใดๆของอาเภอบ้านลาดได้คนที่นี่มี ชีวิตความเป็นอยู่แบบพออยู่พอกิน พอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อ การประกอบอาชีพหลักส่วนใหญ่เป็นชาวไร่ ชาวสวน ชาวนา ทาน้าตาลโตนด เป็นเกษตรกรสืบทอดมาแต่บรรพบุรุษ การที่ผู้คนส่วนใหญ่ในสังคมมี สภาพชีวิตเช่นนี้นักเรียนจึงเป็นเด็กที่มีฐานะปานกลางถึงยากจนและมีปัญหาครอบครัวแตกแยก การ ดาเนินงานใด ๆของโรงเรียนจึงไม่อาจเรียกร้องการสนับสนุนด้านทุนทรัพย์จากชุมชนได้เช่นโรงเรียนใน เมืองที่เจริญหรือโรงเรียนใหญ่ ๆ ที่ผู้ปกครองมีกาลังทรัพย์สนับสนุนโรงเรียนได้อย่างเหลือเฟือ แต่ถ้าเป็น แรงใจอาจได้เต็มกาลัง ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ข้อดีของสังคมที่แวดล้อมโรงเรียนบ้านลาดวิทยาก็คือ สังคมแห่งความร่วมมือร่วมใจแม้ ทุนทรัพย์จะน้อยแต่น้าใจใหญ่ ดังนั้นชุมชนแห่งนี้จึงเป็นชุมชนที่อบอุ่น เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ผู้คนศรัทธาและ เชื่อถือสถานศึกษาครู อาจารย์ ทาให้ได้รับความไว้วางใจ เยาวชนในชุมชนส่วนใหญ่ศึกษาต่อที่โรงเรียน บ้านลาดวิทยา ลักษณะสังคมเช่นนี้เป็นผลดีในลักษณะโรงเรียนของชุมชน แต่อาจขาดแรงกระตุ้นด้านการ แข่งขัน นักเรียนพอใจเท่าที่ได้ อาจทาให้ขาดแรงจูงใจ และความกระตือรือร้นต่อสังคมภายนอก ด้านวัฒนธรรมและค่านิยม ด้านวัฒนธรรมค่านิยม คนในอาเภอบ้านลาดอยู่ในสังคมบ้านมีความเชื่อแบบเดิม ๆ ตามพื้นเพ เก่าแก่ ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง พออยู่พอกิน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวเช่น ภาษาพูดที่มีสาเนียงเหน่อบ้านลาด มี วัฒนธรรมประเพณีสืบทอดมาแต่โบราณ เช่น วัวลาน วัวเทียมเกวียน หนังตะลุง เพลงพวงมาลัย เพลงปรบ ไก่ เห่เรือบก ส่านอาหารพื้นบ้าน เช่นโตนดทอด แกงหัวโตนด(แกงลูกตาลอ่อน) แกงหลอก เป็นต้น สิ่ง เหล่านี้ สะท้อนวิถีชีวิตคนบ้านลาดได้ดี ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและนโยบายการศึกษาชาติ เรื่องการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาความ พอเพียง
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการดาเนินงานระดับจุลภาค โรงเรียนบ้านลาดวิทยา เป็นโรงเรียนตามโครงการหนึ่งอาเภอหนึ่ง โรงเรียนในฝัน จึงมีความพร้อมทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีวัสดุอุปกรณ์อยู่พอสมควรกับการ ดาเนินงานและสามารถให้บริการต่อชุมชนได้อย่างมีศักยภาพ ผู้ดาเนินการอภิปรายได้แบ่งกลุ่มตามความสมัครใจและความถนัด เพื่อคิดโครงการหรือกิจกรรมที่ สอดคล้องกับข้อสรุปในเบื้องต้น โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ 1. ด้านวัฒนธรรม 2. ด้านอาชีพ 3. ด้านสังคม(การดูแลช่วยเหลือเยาวชน) 4. ด้านสิ่งแวดล้อม 5. ด้านเศรษฐกิจ ซึ่งทั้ง 5 กลุ่มได้เสนอโครงการและกิจกรรมดังนี้ 1. ด้านวัฒนธรรม ผู้ร่วมประชาคม 1. นางยุพา กสิรักษ์ ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา (หัวหน้าดาเนินการกลุ่ม) 2. นายโสภณ แสงอยู่ ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 3. นายจานงค์ แฉ่งฉายา ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 4. คุณกรแก้ว เกตุใหญ่ ประธานวัฒนธรรมอาเภอบ้านลาด 5. คุณสุรางค์ศรี พวงมะลิ วัฒนธรรมอาเภอบ้านลาด 6. นายโพยม ทิพย์โสต ประธานเครือข่ายผู้ปกครอง 6. น.ส. ฝนทิพย์ เขียวอ่อน นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 7. น.ส. ณัฐธิดา คาโพธิ์ นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 8. น.ส. รินรดา สาตรา นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 9. น.ส. พรรณทิพา ต้วมสี นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา สมาชิกในกลุ่มได้แสดงความคิดเห็นว่า การแสดงพื้นบ้านที่เป็นของชุมชนคนบ้านลาดที่หายไปจากชุมชน ซึ่งทราบว่าโรงเรียนบ้านลาดโดยกลุ่มสาระภาษาไทยได้ดาเนินการฟื้นฟูบ้างแล้วแต่ยังขาด ในบางเรื่อง เช่น กลองยาวลิเก สมาชิกในกลุ่มต้องการสืบสานไว้ และครูกลองยาวลิเกยังมีชีวิตอยู่และต้องการสืบทอดให้รุ่น ลูกหลาน ดังนั้นในกลุ่มนี้จึงได้จัดทาโครงการ “สืบสานการแสดงกลองยาวลิเก” 2. ด้านอาชีพ ผู้ร่วมประชาคม
1. นางสุภานันท์ ชาติน้าเพชร ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา (หัวหน้าดาเนินการกลุ่ม) 2. นางรุ่งรวี เกตสุริวงค์ ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 3. นางกิ่งสน นิลผึ้ง ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 4. นายสารวล เมธานาวี คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. นางสาวชุติมา เขียวขา ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 6. นายสมพงศ์ กาศเกษม รองผู้อานวยการวิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด 7. นางเพ็ญรุ่ง แสงอยู่ ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 8. น.ส. จิตินันท์ ใจเด็ด นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 9. น.ส. ชลิตา แท่นนาค นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 10. น.ส. ณัฐกานต์ ขันทรัพย์ นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา สมาชิกในกลุ่มได้แสดงความคิดเห็นว่า โรงเรียนบ้านลาดวิทยาเคยศึกษาเกี่ยวต้นตาลใน งานสวนพฤกษศาสตร์ และที่อาเภอบ้านลาดมีต้นตาลมาก ผลผลิตจากตาลมากทาเป็นอาชีพได้ แต่ลูกหลาน ไม่ชอบ ไม่สนใจ ควรที่จะหากิจกรรม ที่จะดึงเยาวชนคนรุ่นหลังให้มารักในอาชีพท้องถิ่นของชุมชนบ้าน ลาด ดังนั้นในกลุ่มจึงได้เสนอ โครงการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด(ตาลโตนด) 3. ด้านสังคม(การดูแลช่วยเหลือเยาวชน) ผู้ร่วมประชาคม 1. นางขวัญตา นาครักษา ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา (หัวหน้าดาเนินการกลุ่ม) 2. นางสมประสงค์ พิณทิพย์ ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 3. นางอนันทยา สาเภาทอง ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 4. นายเทิดศักดิ์ แสงศรีจันทร์ รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 5. นายสิทธิคุณ เกลื่อนกลาด ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 6. นางลดาวัลย์ เรืองอร่าม โรงพยาบาลบ้านลาด 7. นายนพรัตน์ จันทรบูรณ์ นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 8. นายรัตนพล บุญใหญ่ นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 9. นายธนา สอนจันทร์ นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 10. น.ส.วาสนา ชาวตะวันตก นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา สมาชิกในกลุ่มได้อภิปรายในประเด็นว่าสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้ปกครองที่มี อาชีพค้าขายไม่มีเวลาให้ลูกหลาน จึงทาให้เยาวชนไม่มีคนชี้แนะแนวทางที่ถูกที่ควรทาให้มีพฤติกรรมที่ เสี่ยง ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และการดารงชีวิตในสังคม ไม่สนใจการเรียน สมาชิกในกลุ่มจึงได้มีการ เสนอความคิดว่าควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เช่นกิจกรรมออกกาลังกาย ธรรมขัดเกลาจิตใจ จึงได้จัดทากิจกรรมดังนี้ 1. ครอบครัวฮูลาฮูป ก่อนเริ่มกิจกรรมให้นักเรียนและ
ครอบครัว ตรวจสุขภาพ ชั่งน้าหนัก วัด รอบเอว เรียนรู้วิธีการออกกาลัง ฝึกปฏิบัติ จัดการแข่งขัน โดยมี กติกาว่า สุขภาพดีขึ้น เต้นนาน น้าหนักลด รอบเอวลด 2. ครอบครัว บวร แต่ละครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน เช่น กิจกรรมหิ้วปิงนโตไปวัด พบพระเวลาเพล ตักบาตรในวันสาคัญร่วมกับ นักเรียนที่โรงเรียน 3. ครอบครัวปันรัก เชิญชวน ครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมบ้านแม่วัยใส (เด็กวัยรุ่น ที่มีบุตรก่อนวัยที่ควร) เพื่อให้ความรู้ในการดารงชีวิต การเลี้ยงดูให้การอบรมบุตรที่ถูกวิธี และให้กาลังใจ (หมายเหตุ กิจกรรมนี้นักเรียนเป็นผู้คิดเสนอกิจกรรม) 4. ครอบครัวสัญจร ครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยม เยียน แลกเปลี่ยนประสบการณ์การอบรมเลี้ยงดูบุตรและการเป็นครอบครัวที่อบอุ่น และ 5. ครอบครัวรักการ อ่าน ให้นักเรียนและผู้ปกครองร่วมเลือกหนังสือที่จะอ่านร่วมกัน ร่วมสรุปสาระจาการอ่าน ประโยชน์/ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ทั้ง 5 กิจกรรมรวมเป็นโครงการส่งเสริมสายใยรัก แห่งครอบครัวบ้านลาด 4. ด้านสิ่งแวดล้อม ผู้ร่วมประชาคม 1. นายบุญรอด เขียวอยู่ ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา (หัวหน้าดาเนินการกลุ่ม) 2. นายชูเกียรติ เกษดี ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 3. นางสุริยา ปิงนหิรัญ กลุ่มยุวธรรมฑูตเพชรบุรี 4. นางพรรรณี เทพสูตร ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 4. นายสมคิด พวงมะลิ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. นายอนุรักษ์ ใจบุญ คณะกรรมการผู้ปกครองเครือข่าย 6. น.ส. จินตนา เนตรแก้ว นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 7. น.ส. สุภาพร มีอยู่ นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 8. นายเฉลิมพล นาคปานเอี่ยม นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา สมาชิกในกลุ่มได้อภิปรายในประเด็นเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเรา เนื่องจากโรงเรียนบ้านลาดวิทยา อยู่ใกล้ ฟาร์มเลี้ยงไก่ของชุมชน ทาให้เกิดภาวะกลิ่นเหม็น มีแมลงวันมาก ประกอบกับขยะที่มีในโรงเรียน ทางเทศบาลจะนารถมาเก็บต่อเพียงสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทาให้เกิดการทับถมเน่าเหม็น อีกทั้งโรงเรียนบ้านลาด มีสถานที่ในการทาแปลงเกษตรและบุคคลากรมีความรู้ในเรื่องการทาปุ๋ยหมักลดการใช้ปุ๋ยเคมี ซึ่งเป็นการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้อีกส่วนหนึ่ง จึงได้ทา โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาวะที่ดี โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1) ค่ายกาจัดขยะ เป็นการให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนาเพื่อขยายผลให้ ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนโดยแยกถังขยะ 2) จัดทาปุ๋ยหมักจากขยะสดและมูลสัตว์ เพื่อนามาทดแทน สารเคมีและยังนาปุ๋ยหมักชีวภาพไปราดขยะเพื่อกาจัดแมลงวันได้อีกด้วย 3)เรียนรู้คุณค่าของพืช และ ส่งเสริมการปลูกพืชต่างๆ ในโรงเรียนและชุมชนเป็นการสานสัมพันธ์ในครัวเรือนและให้นักเรียนรักอาชีพ ของบรรพบุรุษ
5. ด้านเศรษฐกิจ ผู้ร่วมประชาคม 1. นางสาววไลลักษณ์ พัสดร ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา (หัวหน้าดาเนินการกลุ่ม) 2. นางกาญจนา ไทรงาม ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 3. นายชานาญ นิลงาม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. นางจีรนันท์ นามทิพย์ ปศุสัตว์อาเภอบ้านลาด 5. นายประสงค์ เลืองปราชญ์ พัฒนากรอาเภอบ้านลาด 6. น.ส.ปิงนอนงค์ บานแย้ม นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 7. นายธีรพันธุ์ เขียวคลี่ นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 8. น.ส.รุ่งนภา อยู่คง นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 9. น.ส.อัจฉรา สว่างแจ้ง นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 10. น.ส.รสา หว่างจิตร นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 11. น.ส.วริศรา รอดน้อย นักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา สมาชิกในกลุ่มได้อภิปรายในประเด็นอาชีพตามแนวทางพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว อีกทั้งโรงเรียนบ้านลาดได้เป็นต้นแบบของโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นจึงควรที่จะจัด กิจกรรมเกี่ยวกับอาชีพทางการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานของชุมชน เช่น การเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืช การทาปุ๋ย หมัก หลังจากนั้นได้อภิปรายในประเด็นของความพร้อมในโรงเรียนเช่นสถานที่ ในการดาเนินงาน ซึ่งพบว่า มีบ่อเลี้ยงปลาที่เป็นบ่อปูน มีแปลงผัก จึงได้โครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุว เกษตรกรชุมชนบ้านลาด โดยมี 4 กิจกรรมดังนี้ 1. การเลี้ยงไก่พื้นเมือง (ไก่พื้นบ้าน) 2. การเลี้ยงปลาดุก 3. การขยายพันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ 4. การทาปุ๋ยหมัก นาหมักชีวภาพ(EM) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าที่ประชุมประชาคมได้ลงมติ ให้ดาเนิน โครงการ 5 โครงการ คือ 1. โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 2. โครงการการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 3. โครงการ ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 4. โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 5. โครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด ทั้ง 5 โครงการกาหนดเป็นหลักสูตรท้องถิ่น ดังนี้
หลักสูตรโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” หลักสูตร “สืบสานการแสดงกลองยาวลิเก” ความสาคัญ การแสดงพื้นบ้านเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สะท้อนวิถีชีวิตของชุมชนแสดงให้เห็นถึง อัตลักษณ์ของท้องถิ่นที่แตกต่างกัน กลองยาวลิเกเป็นการแสดงพื้นบ้านประจาถิ่นของอาเภอบ้านลาด แตกต่างจากการแสดงกลองยาวทั่วไป ถือเป็นสมบัติอันล้าค่าของท้องถิ่นที่ดารงให้คงอยู่และสืบสานต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการแสดงกลองยาวลิเก 2.เพื่อเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์ และสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 3.เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีอาชีพพิเศษ เพิ่มรายได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจความเป็นมาและลักษณะของกลองยาวลิเก 2. เพื่อให้ผู้เรียนแสดงกลองยาวลิเกได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้และทักษะการแสดงกลองยาวลิเกไปใช้ประกอบอาชีพ หรือเป็นรายได้เสริมได้ 4. เพื่อให้ผู้เรียนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการแสดงกลองยาวลิเกของ อาเภอบ้านลาด เนื้อหาหลักสูตร ประกอบด้วยเนื้อหา 4 เรื่อง ดังนี้ 1.ประวัติความเป็นมากลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาด 2.วัสดุอุปกรณ์เครื่องดนตรีและเครื่องแต่งกายประกอบการแสดง 3.ขั้นตอนและวิธีการแสดงกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด 4.การจัดการและการตลาดเพื่อเป็นอาชีพและเพิ่มรายได้ เวลาเรียน หลักสูตรกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 30 ชั่วโมง ภาคทฤษฎี 2 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 28 ชั่วโมง เวลาศึกษาเรียนรู้ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 2 ชั่วโมง จานวน 15 ครั้ง
แหล่งเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน แหล่งความรู้ภายในสถานศึกษา ภาคทฎษฎี เรียนรู้ที่ศูนย์วัฒนธรรมโรงเรียนบ้านลาดวิทยาโดยวิทยากรท้องถิ่นและศิลปินพื้นบ้าน แหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา ภาคปฏิบัติ เรียนรู้ที่แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นที่บ้านระหารน้อยโดยศิลปินพื้นบ้าน กลองยาวลิเก นายบุญส่ง วิจารณ์ สื่อประกอบการเรียน ใบความรู้ รูปภาพ เครื่องคนตรีที่ใช้ในการแสดงกลองยาว เครื่องแต่งกาย ที่ใช้ในการแสดง กิจกรรมการเรียนรู้ 1. เรียนรู้ภาคทฤษฎีศึกษาความรู้เรื่องประวัติความเป็นมา 2. เรียนรู้ภาคปฏิบัติ ศึกษาวิธีแสดงกลองยาวลิเกฝึกปฏิบัติ และจัดการแสดงเผยแพร่สู่ชุมชน 3. เรียนรู้การตลาด อัตราค่าแสดง แหล่งประกอบอาชีพ การวัดและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม 3. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแสดงพื้นบ้านกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด 2. ผู้เรียนสามารถแสดงกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาดได้ 3. ผู้เรียนมีความตระหนักการอนุรักษ์การแสดงพื้นบ้านกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาดและสืบสานกลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาดต่อไป 4. ผู้เรียนสามารถนาทักษะการแสดงกลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาดไปประกอบ อาชีพและหารายได้พิเศษได้
โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร
เรื่องที่ 1 ประวัติความเป็นมากลองยาวลิเก 2 ชั่วโมง 1.1 ประวัติกลองยาวทั่วไป และกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด 1.2 เครื่องดนตรีที่ใช้ในการแสดง การดูแลรักษา เครื่องดนตรีกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด 1.3 เครื่องแต่งกายที่ใช้ในการแสดงกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด
เรื่องที่ 2 การแสดงกลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาด จานวน 26 ชั่วโมง 2.1 การตีกลองยาว /ฝึกปฏิบัติ 2.2 การราประกอบกลองยาว เรื่องที่ 3 ปฏิบัติการแสดงกลองยาวลิเก 2 ชั่วโมง 3.1 จัดการแสดงจริงเพื่อแสดงความสามรถและเผยแพร่กลองยาวลิเกสู่ชุมชน 3.2 การตลาดเรื่องค่าแสดงในเทศกาลต่างๆเพื่อเพิ่มรายได้
หลักสูตร “ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)” ความสาคัญ ตาลโตนด เป็นไม้ยืนต้นและเป็นพืชเมืองร้อน ที่ปลูกกันมากในเขตจังหวัดเพชรบุรี จาก การศึกษาพบว่า อาชีพของชุมชนคนบ้านลาด ร้อยละ 80 ของประชากรที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น การทานา ทาไร่และค้าขายพืชไร่ ได้แก่ ชมพู่ มะนาว ละมุด กล้วยและการทาตาลโตนดสาหรับอาชีพ ทาตาลโตนด นับวันจะเหลือการทาลดน้อยลง เพราะปัจจุปันมีการทานาปีๆละ 2 ครั้ง ชาวบ้านจึงไม่ค่อย มีเวลาที่จะทาอาชีพตาลโตนดมากนัก ประกอบกับต้นตาลมีจานวนลดน้อยลง เพราะตาลต้นถึกถูก นาไปปลูกสิ่งก่อสร้าง หรือสิ่งประดิษฐ์ต่างๆมากมาย ที่เอื้ออานวยประโยชน์บนต่อการดารงชีพ อีกทั้ง เยาวชนคนรุ่นใหม่ขาดความสนใจ มองไม่เห็นค่าความสาคัญต่ออาชีพดั้งเดิมของท้องถิ่น จึงเห็นสมควร ให้มีการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให้อยู่คู่กับคนบ้านลาดสืบไป จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อปลูกฝังให้เยาวชนคนบ้านลาด มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพดั้งเดิมของท้องถิ่น 2. เพื่อการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให้เป็นวิถีชีวิตของคนบ้านลาด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและรู้คุณค่าเพื่อการอนุรักษ์อาชีพตาลโตนดได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างอาชีพต่างๆ จากตาลโตนดได้อย่างหลากหลาย
3. เพื่อส่งเสริมการเพิ่มรายได้ของครอบครัว โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคู่ คนบ้านลาด 4. เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะที่ดีให้เกิดกับผู้เรียน โดยการสร้างวินัยในตนเอง ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียงเคียงคู่ความเป็นไทย มีความมุ่งมั่นรักการทางาน มีความซื่อสัตย์ สุจริต และมีจิตสาธารณะต่อส่วนรวม 5. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักใช้ปัญญา พึ่งพาตนเอง ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข เนื้อหาหลักสูตร เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง ประกอบด้วยเนื้อหาจานวน 3 เรื่อง ดังนี้ 1. องค์ความรู้เรื่องของตาลโตนด 2. กระบวนการทาอาชีพตาลโตนด 3. การทาโครงงานอาชีพจากตาลโตนด เวลาเรียน หลักสูตรการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) เวลาเรียนทั้งหมด 80 ชั่วโมง เรียนรู้ทั้งในและนอกเวลาเรียน * ภาคความรู้ จานวน 36 ชั่วโมง * ภาคปฏิบัติ จานวน 44 ชั่วโมง แหล่งการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน 1.แหล่งเรียนรู้ ( ภูมิปัญญาท้องถิ่นถ่ายทอดความรู้ทั้งในและนอกสถานที่) 1. คุณถนอม ภู่เงิน (การอนุรักษ์พันธุ์ตาลโตนด) แห่งศูนย์การเรียนรู้เพาะพันธุ์ตาลโตนด ตาบลถ้ารงค์ อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี 2. นายบุญส่ง ผ่องดี (กระบวนการทาอาชีพตาลโตนด) ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 ตาบลโรงเข้ อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี 3. คุณลุงสง่า ศิรินันท์ (การทาอาชีพตาลโตนดกับการใช้ชีวิตในยุคปัจจุบัน) ผู้สืบทอดตานานเรื่อง ตาลโตนด เมืองเพชร และเจ้าของต้นตาลที่สูงทีสุดใน จังหวัดเพชรบุรี (หมู่ 3 บ้านโรงเข้ ) 2. สื่อประกอบการเรียน 1. ใบความรู้ เรื่อง ต้นตาลบ้านเรา 2. ใบความรู้เรื่องกระบวนการทาอาชีพตาลโตนด
3. ใบความรู้เรื่องโครงงานอาชีพจากตาลโตนด 4. สื่อความรู้ทางอินเตอร์เน็ต สืบค้นเรื่องราวความเป็นมาของตาลโตนด กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การเรียนรู้ภาคความรู้ / ทฤษฎี / การร่วมวงเสวนากับชาวบ้าน 2. การเรียนรู้โดยฝึกปฏิบัติจริง 3. การเรียนรู้โดยภูมิปัญญาท้องถิ่น (ทั้งในและนอกสถานที่) 4. การเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์จริงในการจัดจาหน่าย การวัดและประเมินผล ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2. การประเมินผลงาน ประโยชน์ที่ได้รับ 1. นักเรียน เห็นค่าความสาคัญในอาชีพท้องถิ่น สามารถอนุรักษ์เพื่อความยั่งยืน มีอาชีพอิสระ พึ่งพาตนเองได้ 2. โรงเรียน สามารถพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ได้ 100 เปอร์เซ็นต์เพราะใช้ หลักสูตรในท้องถิ่น เรื่อง การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) เป็นสื่อกลาง ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียนสูงขึ้น เพราะจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน 3. ชุมชน เป็นชุมชนที่เข็มแข็ง มีวิถีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองโดยยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียง มีรายได้เพิ่มขึ้นและห่างไกลยาเสพติด โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร เวลาเรียนทั้งสิ้น 80 ชั่วโมง เรื่องที่ 1. องค์ความรู้เรื่องตาลโตนด (จานวน 26 ชั่งโมง) 1.1 ที่มาและความสาคัญของตาลโตนด การเลือกชนิดของพันธุ์ที่จะปลูก 1.2 การออกแบบวางผังการปลูก 1.3 วิธีการปลูกและการดูแลรักษา 1.4 การตัดแต่งกิ่ง 1.5 การสรุปรายงานผล เรื่องที่ 2. กระบวนการทาอาชีพจากตาลโตนด (จานวน 26 ชั่วโมง) ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับอาชีพตาลโตนดวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ และความปลอดภัยในการทางาน กระบวนการทาอาชีพตาลโตนด
2.4 เรื่องที่ 3 -
ขั้นที่ 1 การนวดงวงตาล ขั้นที่ 2 กรรมวิธีเก็บเกี่ยวผลผลิตจากตาลโตนด ขั้นที่ 3 กระบวนการแปรรูปผลผลิตจากตาลโตนด การสรุปรายงานผล การทาโครงงานอาชีพจากตาลโตนด (จานวน 28 ชั่วโมง) ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกับโครงงานอาชีพ การสารวจอาชีพที่เกี่ยวกับผลผลิต และผลิตภัณฑ์จากตาลโตนด การวางแผนเขียนโครงการอาชีพตาลโตนด การดาเนินงานตามแผนโครงการ การจัดตลาดนัดอาชีพ เรื่องตาลโตนด การประเมินผลและสรุปรายงาน
หลักสูตร “ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด” 1) หลักสูตรครอบครัวฮูลาฮูป ความสาคัญ ในกระแสของการที่คนหันมาดูแลสุขภาพกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเลือกบริโภค อาหาร หรือการ ออกกาลังกายที่หลากหลายยิง่ ขึ้น หลายคนพยายามหาอุปกรณ์มาใช้ เพื่อประกอบการออกกาลังกาย เพื่อให้มี รูปร่างที่ดีขึ้น ฮูลาฮูปเป็นทางเลือกที่ดี หากปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี อีกทั้งยังเป็นการออกกาลังกายเพื่อสร้าง สัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้มีความรู้และเกิดทักษะในการออกกาลังกายโดยฮูลาฮูป 2. เพื่อสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกาย 3. เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการออกกาลังกายโดยเล่น ฮูลาฮูป 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 3. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น เนื้อหา 1. การรักษาสุขภาพโดยการออกกาลังกาย
2. การเล่นฮูลาฮูป 3. ประโยชน์ของการเล่นฮูลาฮูป เวลาเรียน หลักสูตรครอบครัวฮูลาฮูป ใช้เวลาเรียน 35 ชั่วโมง (นอกเวลาเรียน) ภาคทฤษฏี 3 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 32 ชั่วโมง แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ โรงพยาบาลบ้านลาด กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ 3. แข่งขันฮูลาฮูป การวัดประเมินผล 1. เปรียบเทียบน้าหนักและรอบเอวของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 3. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 4. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร เรื่องที่ 1 ประวัติการเล่นฮูลาฮูป เรื่องที่ 2 การเล่นฮูลาฮูปที่ถูกวิธี เรื่องที่ 3 ประโยชน์การเล่นฮูลาฮูป 2) หลักสูตรครอบครัว “บวร” ความสาคัญ เมื่อ “บวร” หรือ บ้าน วัด โรงเรียน สามประสาน มาร่วมมือกันสร้าง “นิสัย” ที่ดีให้เยาวชนและคน ในชุมชนได้ เยาวชนนั้นก็จะกลับมาพัฒนาชุมชนของตนให้เข้มแข็ง กลายเป็นวงจรคุณธรรมที่จะขยายวง
กว้างจากหนึ่งชุมชน สู่สองชุมชนและหลายร้อยชุมชน จนกลายเป็นสังคมใหญ่ที่เข้มแข็ง เมื่อนั้นคนไทยคง ไม่ต้องปวดใจกับข่าวร้ายที่เกิดขึ้นรายวันอย่างตอนนี้อีกต่อไป เราเป็นเยาวชนรุ่นใหม่ที่ใส่ใจเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว จึงปรึกษากันว่า จะรณรงค์ให้นักเรียนมีค่านิยมที่ดีงาม ในการไปประกอบพิธีกรรมที่วัด โดยเน้นความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวให้มี ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อให้มากยิ่งขึ้น และให้เยาวชนตระหนักถึงเป็นคุณธรรม จริยธรรมที่ควรปลูกฝังให้เยาวชน เกิดความรู้สึกเห็นคุณค่าของการให้ทาน การบาเพ็ญกุศล ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีไปสู่ชีวิตที่มั่นคง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจระเบียบวิธีการของการประกอบพิธีกรรมที่วัดดีขึ้น 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กับครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พร้อมผู้ปกครองนาอาหารคาวหวานมาถวายพระ เพลที่วัด 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ครอบครัว โรงเรียน และวัดให้ยิ่งดีขึ้น 3. นักเรียนสามารถปฏิบัติขั้นตอนการประกอบพิธีกรรมได้อย่างถูกต้อง เนื้อหา 1. ขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา 2. ระเบียบการไปวัด เวลาเรียน เดือนมิถุนายน พ.ศ.2554 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2554 แหล่งเรียนรู้ ให้ความรู้ในสถานศึกษา ประกอบพิธีกรรมที่วัดใหม่ประเสริฐ กิจกรรมการเรียนรู้ ภาคทฤษฏี ครูแนะนาเรื่องขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรม และเรื่องระเบียบการไปวัดให้นักเรียนทราบ ภาคปฏิบัติ
ครู , นักเรียนพร้อมผู้ปกครองนาอาหารคาวหวานไปประกอบพิธีกรรมตามขั้นตอนที่วัด การวัดผลประเมินผล ร้อยละ 80 ของครอบครัวมีความพึงพอใจที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนประกอบพิธีกรรม 2.ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในเรื่องของการปลูกฝังค่านิยมที่ดีงาม มี คุณลักษณะที่ดียิ่งขึ้น โครงสร้างของหลักสูตร 1.เรื่องขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรม 2.เรื่องระเบียบการไปวัด
3) หลักสูตร “ครอบครัวปันรัก” ความสาคัญ “ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก “ การฝึกเยาวชนให้เป็นผู้ที่มีจิตอาสา เป็นผู้เสียสละ ควรร่วมมือกันระหว่างบ้าน ครอบครัวและชุมชนในลักษณะช่วยกันดูแล โดยผู้ที่มีความพร้อมกว่าดูแลช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ก่อให้เกิด การพัฒนาคุณภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพื่อครอบครัวและชุมชนให้เข้มแข็งด้วย “ครอบครัวจิตอาสา ปันรัก” จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมีจิตอาสา 2.เพื่อสร้างโอกาสที่ดีให้กับเยาวชนที่ต้องได้รับการดูแลเบื้องต้น 3.เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการดูแลผู้ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน 3. เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีของครอบครัว เนื้อหา 1. การให้คาปรึกษา 2. ให้ความช่วยเหลือ เวลาเรียน
หลักสูตรครอบครัวปันรัก ใช้เวลาเรียน 30 ชั่วโมง (นอกเวลาเรียน) ภาคทฤษฏี 3 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 28 ชั่วโมง แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ โรงพยาบาลบ้านลาด กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ การวัดประเมินผล 1. ร้อยละ 80 ของครอบครัวผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการให้คาปรึกษาแนะนาผู้อื่นได้ 2. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความสุขในการเป็นผู้ให้ 3. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดูแลตนเองได้ โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร เรื่องที่ 1 การให้คาปรึกษา 1.1 ข้อมูลเบื้องต้นของกรณีตัวอย่าง 1.2 การให้คาแนะนาให้กาลังใจ เรื่องที่ 2 การให้ความช่วยเหลือ 2.1 การประสานงานความช่วยเหลือ 2.2 การพบครอบครัวผู้ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ 4). หลักสูตร “ครอบครัวสัญจร” ความสาคัญ ในสภาพสังคมไทยในปัจจุบันที่ทุกครอบครัวต้องเร่งทางานด้วยความจาเป็นทางเศรษฐกิจ ทาให้มี เวลาในการดูแลสมาชิกในครอบครัวมีน้อย ดูแลไม่ทั่วถึง อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ ในเยาวชน โรงเรียนเป็นสถาบันที่ผู้ปกครองและสังคมไว้วางใจในการดูแลช่วยเหลือเยาวชน การเยี่ยมบ้านนักเรียนทุก
คนถือเป็นนโยบายสาคัญที่ต้องปฏิบัติ เพื่อร่วมรับทราบปัญหาของเยาวชน ร่วมคิดร่วมแก้ไขในทุกภาคส่วน โรงเรียนสัญจรพบผู้ปกครองยามเย็น จึงเป็นการดูแลเยาวชนโดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมอย่าง ประจักษ์ชัด จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งขององค์กรเครือข่ายของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 2. เพื่อให้ทราบปัญหาของเยาวชนและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลช่วยเหลือนักเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้เยี่ยมบ้านนักเรียนในทุกตาบลของอาเภอบ้านลาด 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบปัญหาและมีส่วนร่วมในการสอดส่อง ดูแลแก้ไข พฤติกรรมของเยาวชนในชุมชน 3. เพื่อให้เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีของภาคีเครือข่ายของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา เนื้อหา 1. โรงเรียนพบผู้ปกครองและชุมชน 2. ครูประจาชั้นพบผู้ปกครอง เวลาเรียน หลักสูตรครอบครัวสัญจร ใช้เวลาเรียน 21 ชั่วโมง (นอกเวลาเรียน) ภาคทฤษฏี 7 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 14 ชั่วโมง แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ วัดในชุมชน โรงเรียนประถมในชุมชน กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ การวัดประเมินผล 1. ร้อยละ 80 ของครอบครัวนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมดูแลพฤติกรรมของเยาวชนในชุมชน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือสอดส่องดูแลพฤติกรรมของเยาวชนใน ชุมชน 2. เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีของภาคีเครือข่ายของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา
3. ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้เยี่ยมบ้านนักเรียนในทุกตาบลของอาเภอบ้านลาด โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร เรื่องที่ 1 โรงเรียนพบผู้ปกครองและชุมชน 1.1 นโยบายและผลงานของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 1.2 รับทราบปัญหาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องที่ 2 ครูประจาชั้นพบผู้ปกครอง 5. หลักสูตร “ครอบครัวรักการอ่าน” ความสาคัญ จากการสารวจจานวนการอ่านหนังสือของคนไทยในปัจจุบัน ปรากฏว่ามีผู้อ่านหนังสือน้อยมาก ส่งผลถึงการพัฒนา EQ ของเด็กไทยที่ต่าตามลงไปด้วย การอ่านหนังสือเป็นการเพิ่มความรู้และ ประสบการณ์ อีกทั้งยังมีความสะดวก สามารถอ่านได้ทุกที่ทุกเวลาตามที่ต้องการ การจัดกิจกรรมการอ่านให้ เป็นกิจกรรมของครอบครัวอย่างน่าสนใจจะช่วยลดช่องว่างความสัมพันธ์ในครอบครัว และส่งเสริมการ พัฒนา EQ ของเด็กไทยได้เป็นอย่างดี สมกับคากล่าวที่ว่า “หนังสือเป็นเพื่อนที่ดีที่สุด” จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้มีความรู้และเกิดทักษะในการอ่าน 2. เพื่อเป็นการส่งเสริมนิสัยการรักการอ่าน 3. เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และมีทักษะในการอ่าน 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมอ่านหนังสือร่วมกันอย่างน้อยเดือนละ 1 เล่ม 3. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน เนื้อหา 1. การอ่านเรื่องง่าย ๆ ใครก็ทาได้ 2. กิจกรรมฐานรัการอ่าน 3. การบันทึกใจความสาคัญจากการอ่าน 1 เล่ม / 1 เดือน เวลาเรียน หลักสูตรครอบครัวรักการอ่าน ใช้เวลาเรียน 33 ชั่วโมง (นอกเวลาเรียน) ภาคทฤษฏี (กิจกรรมฐานรักการอ่าน) 3 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ (อ่านด้วยกันที่บ้านวันละ 1 ชั่วโมง) 30 ชั่วโมง
แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ ห้องสมุดประชาชน กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ 3. บันทึกการอ่าน เดือนละ 1 เล่ม การวัดประเมินผล 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการอ่าน (ฐานรักการอ่าน) 2. ร้อยละ 80 ของครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการบันทึกใจความสาคัญจากการอ่าน 1 เล่ม/ 1 เดือน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถอ่านหนังสือและร่วมกันบันทึกใจความสาคัญได้ 2. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการอ่านหนังสือ 3. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสัมพันธภาพที่ดีจากการอ่านหนังสือร่วมกัน โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร เรื่องที่ 1 การอ่านเรื่องง่าย ๆ ใครก็ทาได้ (1 ชั่วโมง) 1.1 วิธีอ่านหนังสือ 1.2 การสรุปใจความสาคัญ เรื่องที่ 2 กิจกรรมฐานรักการอ่าน ( 2 ชั่วโมง) 2.1 อ่านเรื่องวาดภาพ 2.2 ดูภาพเล่าเรื่อง 2.3 ช่วยกันอ่าน ช่วยกันตอบ เรื่องที่ 3 การบันทึกใจความสาคัญจากการอ่าน 1 เล่ม / 1 เดือน 3.1 ล่งบันทึกการอ่าน 1 เล่ม / 1 เดือน
หลักสูตร “ศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี” 1. หลักสูตร “ค่ายกาจัดขยะ” ความสาคัญ
ปัญหากลิ่นเหม็นจากขยะมูลฝอยสร้างความราคาญให้แก่ชุมชน ที่พักอาศัย แหล่งน้าเป็นอันตราย ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ รวมทั้งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและสัตว์นาโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงวัน เป็นต้น การกาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการจะสร้างความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้ที่อาศัย ข้างเคียง รวมทั้งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ทาให้ชุมชนขาดความสะอาด สวยงามและเป็นระเบียบ และไม่น่าอยู่ ดังนั้นการจัดการกับขยะมูลฝอยจึงเป็นเรื่องสาคัญและต้อง ดาเนินการให้ถูกหลักวิชาการ จึงจะเป็นผลดีต่อชุมชนและความเป็นอยู่ของประชาชน การจัดการขยะที่ เกิดขึ้น ต้องพิจารณาปัจจัย 3 ประการคือ 1. แหล่งกาเนิดของขยะ 2. ชนิดหรือประเภทของขยะ 3. ปริมาณขยะ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดการทิ้งขยะหรือลดปริมาณที่ต้องกาจัด 2. เพื่อกาหนดชนิดและจานวนของถังขยะ 3. เพื่อหาวิธีการจัดการขยะหรือระบบการใช้ประโยชน์จากขยะ เนื้อหาหลักสูตร 1.การสารวจปริมาณและองค์ประกอบขยะ การสารวจข้อมูลองค์ประกอบขยะที่เกิดขึ้นในรอบวัน หรือรอบสัปดาห์ เช่นการเก็บคัดแยก รายวัน จานวน 5 วันและหาค่าเฉลี่ยเป็นรายวัน หรือสัปดาห์ วิธีดาเนินการ ทาได้โดยนาถังขยะทั้งหมดมายังจุดคัดแยกขยะและทาการแยกขยะออกเป็นประเภท ต่างๆคือ 1. ขยะรีไซเคิลได้ เช่น กระดาษ ถ้วยพลาสติก ขวดน้า หรือขยะประเภทอื่นๆ 2. ขยะอินทรีย์ประเภท หญ้า ใบไม้ กิ่งไม้ขนาดเล็ก 3. ขยะประเภทเศษอาหารจากโรงอาหาร ให้ชั่งน้าหนักรวม 4. ขยะปนเปื้อน หรือเรียกว่าขยะทั่วไป ซึ่งไม่สามารถขายได้ในตลาดรับซื้อ 2. การจัดระบบถังรองรับขยะ จากข้อมูลการคัดแยกขยะให้จัดถังขยะประเภทต่างๆที่ต้องการคัดแยก โดยการจัดเป็นถังสีต่างๆตาม ประเภทของขยะที่ต้องการคัดแยก หรือจัดทาป้ายแสดงประเภทขยะบนถังที่เห็นชัดเจนและทาการรณรงค์ ให้ร่วมกันปฏิบัติ 1) จานวนถังขยะที่ต้องจัดเตรียมสาหรับรองรับสาหรับรองรับขยะขึ้นอยู่กับขยะประเภทนั้นๆ เช่น เศษกระดาษควรเน้นการมีกล่องรอง รับตามห้องเรียน เพื่อป้องกันไม่ให้กระดาษมาทิ้งปนเปื้อนกับถัง
ขยะทั่วไป เมื่อทราบปริมาณขยะประเภทต่างๆ ต้องกาหนดแนวทางการจัดการ เช่น ระบบการขาย ระบบ การใช้ประโยชน์จากขยะ ซึ่ง ขยะประเภทต่างๆ แบ่งตามประเภทของการใช้ประโยชน์ คือ 1. ขยะที่ขายได้ 1.1.กระดาษประเภทต่างๆ 1.2.ขวดพลาสติกประเภทต่างๆ 1.3.ถ้วยพลาสติก 1.4.ขวดแก้ว 1.5.ถุงนม 2. ขยะที่นาไปใช้ประโยชน์ได้ 2.1.ขยะอินทรีย์ประเภทเศษอาหาร (นาไปเป็นอาหารสัตว์หรือทาปุ๋ยน้าชีวภาพ 2.2.ขยะอินทรีย์ประเภทใบไม้ หญ้า กิ่งไม้ นาไปทาปุ๋ยหมัก compost 3. ขยะมีพิษ ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟ้า กระป๋องสเปรย์ กระป๋องสี กระป๋องสารเคมี 4. ขยะทั่วไป ขยะทั่วไปที่ขายไม่ได้ และขยะปนเปื้อนอื่นๆ 3. การกาหนดสีของถังขยะ 1.กระดาษ สีน้าเงิน หรือจุดรวบรวมที่ใช้ป้ายสัญญาลักษณ์เป็นพื้นสีน้าเงิน 2.ขวดพลาสติก สีส้ม หรือจุดรวบรวม/ภาชนะขนาดใหญ่ที่ใช้ป้ายสัญญาลักษณ์เป็นพื้นสีส้ม 3.ถ้วยพลาสติก สีแดง หรือจุดรวบรวมภาชนะขนาดใหญ่ที่ใช้ป้ายสัญลักษณ์เป็นพื้นสีแดง 4.ขยะอินทรีย์ สีเขียว หรือจุดรวบรวมพื้นที่ที่ใช้ป้ายสัญลักษณ์เป็นพื้นสีเขียว 5.ขยะทั่วไป สีเหลือง 6.ขยะมีพิษ สีเทา/น้าตาล เวลาเรียน ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 1 เดือน สื่อประกอบการเรียน 1. แผนภาพแสดงขยะประเภทต่างๆ 2. แผนภาพแสดงตัวอย่างถังขยะประเภทต่างๆ แหล่งเรียนรู้ 1. สถานที่ทิ้งขยะในท้องถิ่น การอบรมประชาสัมพันธ์ต่างๆ
โรงเรียนจัดอบรมครูและนักเรียนเกี่ยวกับการดาเนินโครงการ โดยอบรมด้านการจัดการมลพิษ ต่างๆ เช่นการแยกขยะรีไซเคิล การนาขยะ อินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ เช่นการทาปุ๋ยน้า หรือการทาปุ๋ย Compost เป็นต้น (3 ชั่วโมง) การดาเนินโครงการ ประกอบด้วย 1. การใช้ประโยชน์จากขยะ เช่นการจัดตั้งระบบรับซื้อ ขาย ระบบธนาคารขยะ ระบบหมักขยะ อินทรีย์ในรูปของปุ๋ยน้า และปุ๋ย compost ตามความเหมาะสม 2. การจัดทาปุ๋ยหมัก Compost คู่มือ การจัดทาปุ๋ยหมัก การเก็บรวมรวมข้อมูลและการบันทึกข้อมูลผลการดาเนินงาน ในรูปแบบของรายงานและภาพถ่าย ข้อมูลที่ต้องบันทึกประกอบด้วย „ ข้อมูลปริมาณขยะรวม ต่อ กก/สัปดาห์ หรือ กก/ต่อเดือน (ข้อมูลก่อนเริ่มโครงการ) „ ข้อมูลองค์ประกอบขยะ ส่วนที่ต้องรีไซเคิล และส่วนที่นาไปใช้ประโยชน์เช่น ทาปุ๋ย คานวณ เป็นเปอร์เซ็นต์ของ ขยะรวม (ข้อมูลก่อนเริ่มโครงการ) „ ข้อมูลการจัดระบบคัดแยกขยะ โดยระบุจานวนถังขยะ ประเภทขยะที่รีไซเคิลหรือขยะที่รวบรวม เข้าธนาคารขยะ „ ปริมาณขยะที่รีโซเคิลได้แต่ละประเภท และขยะที่นาไปใช้ประโยชน์เป็น กก/สัปดาห์ หรือ กก/ เดือน 6.การจัดทารายงานผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานที่ต้องจัดทาเป็นรายงานประกอบด้วย „ ตารางข้อมูลองค์ประกอบขยะที่สารวจก่อนเริ่มดาเนินโครงการ „ ตารางข้อมูลของขยะรีไซเคิลประเภทต่างๆ ปริมาณขยะที่ส่งเข้าระบบทาปุ๋ยหมัก โดยรายงานแยก เป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน „ ข้อมูลชนิดและจานวนของถังขยะ เช่น จานวนจุดหรือที่ตั้งชุดถังขยะ และจานวน „ ภาพถ่ายประกอบการปฏิบัติงานขั้นตอนต่างๆ เช่นภาพถ่ายการคัดแยกขยะก่อนเริ่มโครงการ การ จัดวางถังขยะประเภทต่างๆ ภายในโรงเรียน ภาพการจัดทาปุ๋ยหมัก ภาพการจัดการขายขยะรี" ไซเคิล เช่นสถานที่เก็บ ระบบธนาคารขยะ 2. หลักสูตร “ ปุ๋ยหมักจากขยะสดและมูลสัตว์” ความสาคัญ สภาพการประกอบอาชีพทางการเกษตรในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต ด้วยความเจริญก้าวหน้า ของเทคโนโลยีและสภาพสังคม จึงไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจในองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทาให้ค่า
ครองชี พ ของคนในชุม ชนสูง ขึ้ น ประกอบกั บวิถีก ารดาเนินชีวิตมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น โรงเรียนบ้านลาดเล็งเห็นความสาคัญจึงได้ร่ว มมือกับองค์กรในชุมชนอาเภอบ้านลาดจัดสร้างหลักสูตรการ ทาปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น โดยระดมพลังภูมิปัญญาและทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิด ประโยชน์เพื่อเป็นพลังสาคัญในการพัฒนาชุมชน เกิดความร่วมมือและเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับ เยาวชนและบุคคลในท้องถิ่นเพื่อนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ใน ท้องถิ่น 2.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 3.เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างจิตสานึกในการเป็นผู้บริโภคที่มีการบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ในท้องถิ่นที่ดี 2.เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์และวิธีการทาปุ๋ยหมัก 3.เพื่อนาทักษะการทาปุ๋ยหมักไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วยเนื้อหา 4 เรื่องดังนี้ 1.ประโยชน์และความสาคัญของปุ๋ยหมัก 2.วัสดุและอุปกรณ์การทาปุ๋ยหมัก 3.ขั้นตอนและวิธีการทา 4.วิธีการใช้ เวลาเรียน หลักสูตรการทาปุ๋ยหมัก ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 12 ชั่วโมง ภาคทฤษฏี 2 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 10 ชั่วโมง แหล่งเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน 1.ใบความรู้เรื่องการทาปุ๋ยหมัก 2.วัสดุอุปกรณ์การทาปุ๋ยหมัก 3.องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านหม้อ กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ศึกษาความรู้ด้านทฤษฏี
2.ฝึกทักษะการทาปุ๋ยหมัก 3.ศึกษาการทาปุ๋ยหมักจากแหล่งเรียนรู้(องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านหม้อ) การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ประกอบด้วย 1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2.ตรวจผลงานการทาปุ๋ยหมัก ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 2.ผู้เรียนมีทักษะการทาทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 3.ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4.ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ทักษะการทาปุ๋ยหมักไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้ 3. หลักสูตร “เรียนรู้คุณค่าของพืช และส่งเสริมการปลูกพืชต่างๆ” ความสาคัญ สภาพแวดล้อมปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตเป็นอันมาก เช่นมลภาวะเป็นพิษ ดินถล่ม ฝนไม่ตก ต้องตามฤดูกาล การใช้ที่ดินไม่เหมาะสม อุณหภูมิของอากาศแปรปรวน ซึ่งมีสาเหตุอันเนื่องมาจากชุมชม และสังคมขาดจิตสานึกในการอนุรักษ์ท รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โรงเรียนบ้านลาดเล็งเห็น ความสาคัญจึงได้ร่วมมือกับองค์กรในชุมชนอาเภอบ้านลาดจัดสร้างหลักสูตรคุณค่าของพืชพรรณท้องถิ่น โดยระดมพลังภูมิปัญญาและทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์เพื่อเป็นพลังสาคัญในการ พัฒนาสิ่งแวดล้อม เกิดความร่วมมือและเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและบุคคลในท้องถิ่น เพื่อนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการปลูกพืชพรรณให้เหมาะสมกับ ท้องถิ่น 2.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการปลูกพืชแต่ละชนิด 3.เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของพืชพรรณและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างจิตสานึกในการเป็นผู้บริโภคที่มีการบริหารจัดการพืชพรรณในท้องถิ่นที่ดี 2.เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์และวิธีการปลูกพืชพรรณ 3.เพื่อนาทักษะการปลูกพืชพรรณไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วยเนื้อหา 3 เรื่องดังนี้ 1.ความสาคัญของพืชพรรณ 2.การปลูกและบารุงรักษา 3.การนาไปใช้ประโยชน์ เวลาเรียน หลักสูตรคุณค่าของพืชพรรณ ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 16 ชั่วโมง ภาคทฤษฏี 2 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 14 ชั่วโมง แหล่งเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน 1.ใบความรู้เรื่องการปลูกพืชพรรณ 2.วัสดุอุปกรณ์การปลูกพืชพรรณ 3.ต้นกล้าพันธุ์พืชอาหาร/พืชที่อยู่อาศัย/พืชสมุนไพรหรือพืชที่ให้ร่มเงา กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ศึกษาความรู้ด้านทฤษฏีเกี่ยวกับพืชพรรณที่เหมาะสมกับท้องถิ่น 2.ฝึกทักษะการปลูกพืชพรรณและการบารุงรักษา การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ประกอบด้วย 1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2.ตรวจผลงานการปลูกพืชพรรณ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการปลูกพืชพรรณ 2.ผู้เรียนมีทักษะการปลูกและบารุงรักษาพืชพรรณ 3.ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของพืชพรรณของท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4.ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ทักษะการปลูกพืชพรรณไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้
หลักสูตร “ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด” 1. หลักสูตร “การเลี้ยงไก่พื้นเมือง (ไก่พื้นบ้าน)” ความสาคัญ เพื่อให้ชาวอาเภอบ้านลาด เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในการสร้างงานและสร้างรายได้ในชุมชน จึงต้องให้ความรู้ ทาให้รู้จักวิธีการศึกษา การเลี้ยงไก่พื้นบ้านในท้องถิ่นอย่างเป็นขั้นตอน จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความรักความสามัคคีให้คนในชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในท้องถิ่น มีความรู้ ความเข้าใจและสืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลี้ยงไก่พื้นเมืองได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการเลี้ยงไก่พื้นเมือง 3. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ การเลี้ยงไก่พื้นเมืองมาประกอบอาชีพได้ 4. เพื่อให้ผู้เรียนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของอาเภอบ้านลาด คุณสมบัติของผู้เรียน รับสมัครผู้ที่สนใจในการเลี้ยงไก่พื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในอาเภอบ้านลาด เนื้อหาของหลักสูตร 1. ลักษณะของไก่พื้นเมือง 2. นิสัยของไก่พื้นเมือง 3. การบารุงรักษา และการผสมพันธุ์ของไก่พื้นเมือง 4. ฟาร์มและโรงเลี้ยงไก่พื้นเมือง 5. การให้อาหารไก่พื้นเมือง 6. โรคที่เกิดกับไก่พื้นเมือง 7. การตลาด และการทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย เวลาเรียน 1. หลักสูตรวิชาชีพ การเลี้ยงไก่พื้นเมืองอาเภอบ้านลาด - ภาคทฤษฎี - ภาคปฏิบัติ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
2. ศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ 1. การสร้างโรงเลี้ยงไก่พื้นเมืองแบบคอกปิด 2. อาหารสาเร็จรูป ข้าวเปลือก 3. สถานที่เลี้ยง 4. ยารักษาโรค การวัดผลและประเมินผลการเรียน 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2. การสังเกตการปฏิบัติจริงในการเลี้ยงไก่พื้นบ้าน 3. ประเมินชิ้นงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการเลี้ยงไก่พื้นเมืองและสามารถเลี้ยงไก่พื้นเมืองได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนมีการพัฒนาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองได้อย่างเหมาะสม 3. ผู้เรียนนาความรู้การเลี้ยงไก่มาใช้ประกอบอาชีพได้ 4. ผู้เรียนมีอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของอาเภอบ้านลาด โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วย 1. ประวัติความเป็นมาของไก่พื้นเมือง 2. การจัดเตรียมอุปกรณ์ - การเลือกใช้วัตถุดิบ - อุปกรณ์การเลี้ยงไก่พื้นเมือง 3. ขั้นตอนและวิธีการเลี้ยงไก่พื้นเมือง - การทาดอก - การให้อาหาร - การดูแล 4. การตลาด 1. การจัดทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย 2. การคานวณต้นทุนการผลิต 3. เทคนิคการจัดการ และการตลาด
2. หลักสูตร “การเลี้ยงปลาดุก” ความสาคัญ การเลี้ยงปลาดุก เป็นการส่งเสริมการปกระกอบอาชีพตามแนวพระราชดาริ เพื่อให้นักเรียนนา หลักการเลี้ยงปลาดุกไปสร้างรายได้ให้กับครอบครัว เป็นการเพิ่มรายได้ และลดรายจ่ายให้กับครอบครัว ได้อีกทางหนึ่ง จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นมีอาชีพเสริม 2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการเลี้ยงปลาดุก 3. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ 4. เพื่อให้ประชาชนในเขตอาเภอบ้านลาด นาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพที่บ้านได้ คุณสมบัติของผู้เรียน รับสมัครผู้สนใจในการเลี้ยงปลาดุกในเขตอาเภอบ้านลาด เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วย 1. ลักษณะของปลาดุก 2. ลักษณะนิสัยของปลาดุก 3. การเพาะพันธุ์ปลาดุก 4. บ่อเลี้ยงปลาดุก 5. การให้อาหารปลาดุก 6. โรคที่เกี่ยวกับปลาดุก 7. การตลาดและการทาบุญชีรายรับ ‟รายจ่าย เวลาเรียน - หลักสูตรวิชาชีพ การทาปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ของอาเภอบ้านลาด ใช้เวลา - ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง - ภาคปฏิบัติ 3 เดือน แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง การเลี้ยงปลาดุก
2. สถานที่เลี้ยงปลาดุก
กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาความรู้ด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ 3. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริเขากลิ้ง การวัดผลและประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม 2. การประเมินผลงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุก 2. นักเรียนสามารถเลี้ยงปลาดุกได้ 3. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร 1. การจัดเตรียมบ่อในการเลี้ยงปลาดุก 2.การเลี้ยงปลาดุกในระยะต่าง ๆ 3. หลักสูตร “การขยายพันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้” ความสาคัญ การปลูกผักไว้เพื่อบริโภค เป็นการใช้ชีวิตแบบพอเพียง และสามารถนาไปจาหน่ายเป็นรายได้เสริม นอกจากนี้การปลูกผักไว้เพื่อบริโภคโดยไม่ใช้สารเคมี จะส่งผลให้ชาวบ้านมีสุขภาพแข็งแรงเป็นการลด รายจ่ายในครอบครัวได้เป็นอย่างดี จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องเทคนิคการปลูกผักปลอด สารพิษ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนในท้องถิ่นนาความรู้ไปถ่ายทอด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องเทคนิคการปลูกผักปลอดสารพิษ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนนาองค์ความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดในชุมชนของนักเรียนได้ 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน ซึ่งเป็นการลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้อีกทางหนึ่ง
คุณสมบัติของผู้เรียน รับสมัครนักเรียนที่สนใจ
เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วย 1. การปลูกพืชผักสวนครัวแบบต่างๆ 2. การตลาด และการจัดทาบัญชีรายรับ ‟ รายจ่าย เวลาเรียน - หลักสูตรการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ใช้เวลา - ภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมง - ภาคปฏิบัติ 1 เดือน แหล่งเรียนรู้ - ใบความรู้ เรื่อง การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 2. สถานที่เลี้ยงปลาดุก กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาความรู้ด้านทฤษฎี 2. ฝึกปฏิบัติ 3. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน การวัดผลและประเมินผล 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม 2. การประเมินผลงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 2. ผู้เรียนมีทักษะในการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตร 1. การจัดเตรียมดินในการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 2. การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ปลอดสารพิษ 3. การตลาด ‟ การจัดทาบัญชีรายรับรายจ่าย 4. หลักสูตร “การทาปุ๋ยหมัก นาหมักชีวภาพ(EM)” ความสาคัญ
สภาพการประกอบอาชีพทางการเกษตรในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต ด้วยความเจริญก้าวหน้า ของเทคโนโลยีและสภาพสังคม จึงไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจในองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทาให้ค่า ครองชีพของคนในชุมชนสูงขึ้น ประกอบกับวิถีการดาเนินชีวิตมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น โรงเรียนบ้านลาดเล็งเห็นความสาคัญจึงได้ร่วมมือกับองค์กรในชุมชนอาเภอบ้านลาดจัดสร้างหลักสูตรการ ทาปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น โดยระดมพลังภูมิปัญญาและทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิด ประโยชน์เพื่อเป็นพลังสาคัญในการพัฒนาชุมชน เกิดความร่วมมือและเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับ เยาวชนและบุคคลในท้องถิ่นเพื่อนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีต่อไป จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุ เหลือใช้ในท้องถิ่น 2. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างจิตสานึกในการเป็นผู้บริโภคที่มีการบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ในท้องถิ่นที่ดี 2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์และวิธีการทาปุ๋ยหมัก 3. เพื่อนาทักษะการทาปุ๋ยหมักไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เนื้อหาของหลักสูตร ประกอบด้วยเนื้อหา 4 เรื่องดังนี้ 1. ประโยชน์และความสาคัญของปุ๋ยหมัก 2. วัสดุและอุปกรณ์การทาปุ๋ยหมัก 3. ขั้นตอนและวิธีการทา 4. วิธีการใช้ เวลาเรียน หลักสูตรการทาปุ๋ยหมัก ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 12 ชั่วโมง ภาคทฤษฏี 2 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 10 ชั่วโมง แหล่งเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียน 1. ใบความรู้เรื่องการทาปุ๋ยหมัก 2. วัสดุอุปกรณ์การทาปุ๋ยหมัก
3. องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านหม้อ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาความรู้ด้านทฤษฏี 2. ฝึกทักษะการทาปุ๋ยหมัก 3. ศึกษาการทาปุ๋ยหมักจากแหล่งเรียนรู้(องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านหม้อ)
การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ประกอบด้วย 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2. ตรวจผลงานการทาปุ๋ยหมัก ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ใน ท้องถิ่น 2. ผู้เรียนมีทักษะการทาทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 3. ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ทักษะการทาปุ๋ยหมักไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้
ตอนที่ 3 การดาเนินกิจกรรมตามโครงการ ในการดาเนินการทั้ง 5 โครงการ (14 กิจกรรม) ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับ การเรียนรู้ ความเป็นไทย และ ความพอเพียง เป็นแนวทางการดาเนินงานโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ตามความหลากหลายของบริบทในชุมชน เพื่อเป็นต้นแบบ และสนับสนุนให้เกิดการขยายผลต่อไป ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดาเนินตามแผนของ โครงการโดยเริ่มทั้งตั้งแต่ 1. ประชุมปรึกษาคณะทางานแต่ละโครงการ 2. รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ ที่เป็นทั้งนักเรียนโรงเรียนบ้านลาด บุคคลชุมชนในแต่ละ ตาบล 3. ดาเนินกิจกรรมตามโครงการ ให้ความรู้ฝึกปฎิบัติ 4. สรุปและรายงานการดาเนินโครงการ 1. โครงการ “สืบสานการแสดงกลองยาวลิเก” ยุพา กสิรักษ์
สมัยนี้วัยรุ่นที่ไหน เล่นลิเกตีกลองยาว ปล่อยคนแก่คนเฒ่าเขาเล่าเรื่องหลังไปเถอะอย่าไปตีฆ้องร้อง ป่าวให้เสียเวลาเลย ...ดูเหมือนแนวคิดเช่นนี้จะตอกย้าปัญหาให้หนักหนายิ่งขึ้น ถ้าเด็กไม่สนใจแล้วผู้ใหญ่ก็ ไม่นาพา คุณค่าภูมิปัญญาของบรรพชนก็คงสูญสิ้นไปจากท้องถิ่นไทย อาเภอบ้านลาด เป็น 1 ใน 8 อาเภอ ของจังหวัดเพชรบุรี เป็นอาเภอที่มีวิถีชุมชนที่โดดเด่นด้วยอัตลักษณ์เฉพาะตัว ความเป็นสังคมบ้านมากกว่า สังคมเมือง ทาให้การดาเนินชีวิตของผู้คนยังคงอยู่กับร่องรอยดั้งเดิม อยู่อย่างพอเพียงสงบ ราบเรียบ ผู้คน สื่อสารกันด้วยภาษาท้องถิ่น เป็นสาเนียงเพชรฯแท้ และมากมายด้วยศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นหลากหลาย รูปแบบ ที่ยังอยู่เป็นการอยู่แบบดั้งเดิมที่หวังให้เยาวชนคนรุ่นหลังสืบทอดต่อไป กลองยาวลิเกเป็นการแสดงพื้นบ้านของอาเภอบ้านลาดที่ได้รับความนิยมแพร่หลายในอดีตที่ผ่าน มา ปัจจุบันกลองยาวลิเกไม่มีใครนามาจัดการแสดงอนุชนคนรุ่นหลังไม่รู้จักการแสดงกลองยาวลิเก กลอง ยาวลิเกมีลักษณะเด่นที่การแสดงลีลาประกอบการตีกลองและร่ายรา บางท่าทางโลดโผน ต่อตัว ทาสะพาน โค้ง ผู้แสดงต้องฝึกฝนให้เชี่ยวชาญ เพิ่มความสนุกสนานให้ผู้ชม การแสดงกลองยาวลิเกนิยมแสดงในงาน บวชนาค ช่วงเวลารับนาคกลับบ้านก็มีกลองยาวลิเกเฉลิมฉลองกันอย่างสนุกสนานครื้นเครง ลักษณะเด่นอีก ประการหนึ่งของกลองยาวลิเกคือการแต่งกายเพราะผู้แสดงจะแต่งกายด้วยโจงกระเบนสวมเสื้อคอกลมทับ ด้วยเสื้อกั๊กปักเพชรวูบวาบ โพกหัวคาดเพชรมีขนนกประดับเป็น เป็นเครื่องแต่งกายลิเกในสมัยโบราณ เมื่อโรงเรีย นบ้ านลาดวิท ยาร่วมโครงการนาร่องการจัดการศึก ษาแบบมีส่วนร่วมขององค์ก รใน ชุม ชนเพื่อสุข ภาวะคนไทย กั บ สสส.และมหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิ ตย์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล สิ่งที่ ดาเนินการเป็นอันดับแรกคือการทาประชาคมกับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การแสดงพื้นบ้านเป็น ความต้องการของชุมชนที่ปรารถนาจะชุบชีวิตให้การแสดงพื้นบ้านนี้ฟื้นคืนชีพขึ้นมา หลังจากกลองยาวลิเก คงอยู่เพียงเรื่องเล่าของคนแก่คนเฒ่าที่นับวันสูญลับดับไป สิ่งสาคัญกับการตามหาเรื่องราวกลองยาวลิเกบ้านลาดก็คือการสืบค้นภูมิปัญญาที่เป็นศิลปินพื้นบ้าน เพื่อถ่ายทอดการแสดงกลองยาวลิเก เป็นครูของท้องถิ่นศิลปินพื้นบ้านในโครงการของเราจากการสืบค้นเรา พบครูผ่าน ครึกครื้น ศิลปินพื้นบ้านวัยเฉียด ๙๐ ปี ที่ยังพอเล่าขานถึงความเป็นมาของการแสดงกลองยาวลิเก ได้บ้างแต่ไม่มีเรียวแรงจะแสดงสาธิตแล้ว ที่น่าเสียดายก็คือเราไม่อาจตามหาร่องรอยการแสดงในอดีตได้ ด้วยในสมัยโบราณการบันทึกภาพยังไม่แพร่หลายและยุ่งยากในการดาเนินงาน โชคยังดีอยู่บ้างที่ครูผ่านได้ แนะนาศิลปินรุ่นลูกหลานที่ได้รับการถ่ายทอดศิลปะการแสดงกลองยาวลิเกของบรรพบุรุษเข้าไว้ เราจึงได้ พบกับครู วรารัตน์ นุชอ่อง ครูกลองยาวและครูพุทธชาติ ชื่นฉ่า ครูรากลองยาว ทั้งสองท่านเป็นผู้รับการสืบ ทอดการแสดงกลองยาวลิ เกโดยตรง มรดกตกทอดนอกจากการร้องราตีกลองยาวแล้ว ก็ยังมีเครื่องแต่งกาย
ลิเกที่ใช้แต่งในการแสดงและกลองยาวที่ใช้บรรเลงลีลาให้สนุกสนานครึกครื้นเป็นของดั้งเดิม ที่เก็บรักษาไว้ เป็นอย่างดี โดยไม่ได้นาออกมาใช้เป็นเวลาเนิ่นนาน เมื่อ ครูพร้อม เยาวชนพร้อม การสืบค้นเพื่อสืบทอดการแสดงพื้นบ้านกลองยาวลิเกอาเภอบ้าน ลาดก็ เริ่ม ขึ้ นโดยศิล ปิ นพื้ นบ้ า นท่า นรับที่ จะเป็นครูของท้องถิ่นเพื่อถ่ายทอดการแสดงกลองยาวลิเกให้ เยาวชนคนบ้านลาดด้วยความเต็มใจ บุคคลสาคัญที่เป็นเป้าหมายใหญ่ในการเป็นผู้รับการถ่ายทอดคือเยาวชน คนบ้านลาดซึ่งเราได้อาสาสมัครจานวน 30 คน เข้าร่วมโครงการ เยาวชนกลุ่มนี้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนใน โรงเรียนและวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ เรียนรู้ ฝึกปฎิบัติเพื่อสืบทอดภูมิปัญญาของบรรพชนอันเป็นสมบัติล้าค่า ของท้องถิ่นตนเอง เมื่อโครงการผ่านไปภาพเยาวชนยุคใหม่ใส่ชุดลิเ กตีกลองยาวแสดงท่ามกลางสายตาของผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน คนในท้องถิ่น โดยการสนับสนุนของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านลาดวิทยา สานักงานสนับสนุน เสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล ก็ปรากฏบนท้องถิ่น อาเภอบ้านลาด เป็นภาพที่คนรุ่นเก่าได้ทบทวนความหลัง คนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้เรื่องเก่าแล้วเล่าต่อ พวกเขาเล่า เรื่องครั้งแล้วครั้งเล่า ไปตามงานบุญ งานฉลอง งานรื่นเริงบันเทิงในเทศกาลต่างๆ เป็นภาพประทับใจที่ เกิ ดขึ้ นได้เพราะผู้ใ หญ่ใ จดีที่ ใ ห้การสนับ สนุน...ขอบพระคุณที่ใ ห้โอกาสเยาวชนได้สืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่น เป็นสมบัติชองชาติต่อไป 2. โครงการ “ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)” สุภานันท์ ชาติน้าเพชร ตาลโตนด เป็นไม้ยืนต้นและเป็นพืชเมืองร้อนที่ปลูกกันมากในเขตจังหวัดเพชรบุรี จากการศึกษา พบว่า อาชีพของชุมชนคนบ้านลาด ร้อยละ ๘๐ ของประชากรที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น การ ทานา ทาไร่ทาสวนและค้าขายพืชไร่ ได้แก่ ชมพู่ มะนาว ละมุด กล้วยและการทาตาลโตนด สาหรับอาชีพทาตาลโตนด นับวันจะเหลือการทาน้อยลง เพราะปัจจุบันมีการทานาปีมากขึ้นเป็นปี ละ ๒ ครั้ง ทาให้ไม่มีเวลาที่จะทาอาชีพตาลโตนดมากนัก ประกอบกับต้นตาลมีจานวนลดน้อยลง เพราะ ตาลต้นถึกถูกนาไปปลูกสิ่งก่อสร้าง หรือประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือน ที่เอื้อประโยชน์ต่อการดารง ชีพมากมาย อีกทั้งเยาวชนคนรุ่นใหม่ขาดการสนใจหันไปนิยมเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งผู้ปกครองก็ขาด ความตระหนักในเรื่องนี้ไม่ได้มีการปลูกฝังอย่างแท้จริงมุ่งแต่ให้บุตรหลานมีอาชีพที่สบายในอนาคต ส่วน อาชีพดั้งเดิมของท้องถิ่นถูกมองข้ามไป จึงเห็นสมควรให้มีการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให้อยู่คู่กับคน บ้านลาดสืบไป
ในส่วนของโรงเรียนบ้านลาดวิทยาก็มีนโยบายที่จะปลูกฝังให้นักเรี ยนทุกคน เมื่อจบหลักสูตร แล้วจะต้องมีอาชีพอย่างน้อย ๑ อาชีพ และด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงได้หารือกับผู้เกี่ยวข้องคือ สานักงาน สนับสนุนเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อที่จะ หาทางดาเนินการขับเคลื่อนให้มีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษามากขึ้น โดยมีความคาดหวังให้เยาวชนคนบ้านลาด เกิดจิตสานึกรักบ้านเกิดและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพท้องถิ่นแบบ ดั้งเดิม พร้อมทั้งรู้จักอนุรักษ์พัฒนาอาชีพที่เกี่ยวข้องกับทาตาลโตนด ให้เป็นวิถีชีวิตของคนบ้านลาดแบบ เศรษฐกิจต่อไป โครงการจึงได้เริ่มขึ้นโดยสานักงานกองทุน (สสส.) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล และโรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้จัดเวทีสมัชชานาร่องการจัดการศึกษาในชุมชน เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๔ โดยมีองค์กรในชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชนรวมทั้งผู้ปกครองและนักเรียน ได้ ร่วมกันเสวนา เรื่องอาชีพท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของคนบ้านลาด ที่ควรคู่แก่การอนุรักษ์ให้เยาวชนคนรุ่น ใหม่ได้สืบทอดต่อไป ข้อสรุปจากการเสวนาลงมติว่า อาชีพที่ควรอนุรักษ์ต่อไปคือ การทาอาชีพการทา ตาลโตนด ดังนั้นกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านลาดวิทยา ในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการจึง ได้ปรึกษากับองค์กรผู้นาความรู้ในท้องถิ่น ครูท้องถิ่นและผู้ปกครองร่วมกันประชุมวางแผนจัดการเรียนการ สอนโดยใช้หลักสูตรท้องถิ่น เพื่อวางรากฐานการสร้างจิตสานึกรักท้องถิ่น ในระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายในกลุ่มงานอาชีพวิชาเลือก (เพิ่มเติม) ตั้งแต่ระดับชั้น ม.๔ ให้เรียนรู้เรื่อง องค์ความรู้ของต้นตาล การเพาะพันธุ์ตาล การปลูกและการดูแลรักษา ระดับชั้น ม.๕ ให้เรียนรู้กระบวนการทาอาชีพตาลโตนด ทั้งหมด ส่วนระดับชั้น ม. ๖ เป็นการสร้างอาชีพโดยการใช้โครงงานที่เกี่ยวข้องกับตาลโตนด มีแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาในท้องถิ่นช่วยสอน เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพจากต้นตาลโตนดได้ อย่างแท้จริง สิ่งที่คาดหวังไว้เมื่อผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนการสอนครบ ๓ ขั้นตอนแล้ว จะได้รับความรู้ความ เข้าใจ และเห็นคุณค่าของการทาอาชีพตาลโตนดมากขึ้น มีการอนุรักษ์สืบทอดและมีแนวคิดที่จะพัฒนา อาชีพในท้องถิ่นได้กว้างไกลในอนาคต จากข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วจึ ง เป็ น ที่ ม าของการทดลองใช้ ห ลั ก สูต รท้ อ งถิ่ น ที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ ตาลโตนด กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ทดลอง คือนักเรียนโครงการอาชีพเครื่องปั้นดินเผา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ จานวน ๒๐ คน ใช้หลักสูตรท้องถิ่นแบบเร่งรัด (จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง / ๑ปีการศึกษา) เป็นภาคความรู้จานวน ๔๐ ชั่วโมง และภาคปฏิบัติจานวน ๑๒๐ ชั่วโมง ใช้สื่อการเรียนการสอนที่เป็นแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น มีภูมิ ปัญญาท้องถิ่นช่วยเติมเต็มความรู้ เพื่อให้เกิดทักษะประสบการณ์ตรง สาหรับการประเมินผลจะประเมินตามสภาพจริง ในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และแก้ปัญหา เป็น ซึ่งจะนาไปสู่กระบวนการผลิตต่อไป มีการวัดประเมินผลการเรียนรู้และพฤติกรรม รักการทางาน/
ผลงานนักเรียน และประเมินความพึง พอใจ เพื่อหาข้อสรุปผลจากสิ่งที่คาดหวังไว้ นาผลที่ได้รับ มา ปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นหลักสูตรท้องถิ่นที่สมบูรณ์ต่อไป จากผลการดาเนินงานที่ผ่านมาพบว่า เมื่อผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ ครบ ๓ กระบวนการแล้ว ทาให้เกิดความรู้ค วามเข้าใจ ในเรื่องของทาอาชีพตาลโตนดมากขึ้น รู้คุณค่าความส าคัญของต้นตาล สามารถอนุรักษ์อาชีพการทาตาลโตนด ด้วยเทคโนโลยีเพื่อความยั่งยืนได้ เพราะจากการเรียนรู้ทาให้ทราบ ว่า ต้นตาลโตนดสามารถสร้างอาชีพได้อย่างหลากหลาย ตั้งแต่ยอดถึงรากตาล รายได้ที่เกิดจากการเก็บเกี่ยว ผลผลิตนั้นได้เต็มที่ตลอดทั้งปีโดยไม่ต้องลงทุน เพียงแต่ล งแรงกับต้องเพิ่มความอดทนและอาศัย เวลา เท่านั้น จึงจะประสบผลสาเร็จในอาชีพ ดังนั้นจากการศึกษาเรื่องตานานของตาลโตนดโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น ทาให้เกิดความรู้เพิ่มขึ้นใน เรื่อง น้าตาลเมืองเพชร มีรสชาติหวานหอม เข้มข้น ที่ ไม่เหมือนกัน สันนิษฐานจากภูมิปัญญาว่า น่าจะ มาจากดินที่ ป ลูก คนละพื้ นที่ กั น ตาลโตนดที่ปลูกในพื้ นที่ดินเปรี้ยวจะมีรสชาติหวานหอมกลมกล่อม ส่วนมากจะใช้รับประทานเป็นน้าตาลสด และน้าหนัก/ความเข้มข้นของน้าตาลจะได้น้อย ส่ วนตาลโตนดที่ ปลูกในพื้นที่ดินเค็มจะมีรสชาติหวานเข้มข้นกว่า ได้เนื้อน้าตาลทีมีน้าหนักมาก เหมาะที่จะทาน้าตาลปึก และจากข้อมูลดังกล่าวจึงเป็นประเด็น ที่ต้องศึกษาเพื่อหาคาตอบว่า ระหว่างดินเปรี้ยวและดินเค็ม เมื่อนา ดินมาสร้างผลงานเครื่องปั้นดินเผาแล้ว จะมีลักษณะที่เหมือนกันและต่างกันอย่างไร ดินประเภทใดมี เหมาะสมในการทาเครื่องปั้นดินเผามากที่สุด จึงเกิด โครงงานอาชีพเครื่องปั้นดินเผาขึ้น เพื่อให้นักเรียน เรียนรู้ร่วมกับองค์กรในชุมชน โดยมีการสืบค้นความรู้ และปฏิบัติการทดลองดินพื้นบ้าน เพื่อสร้า งงาน เครื่องปั้นดินเผาต่อไป
3. โครงการ “ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด” ขวัญตา นาครักษา ปรากฏการณ์ครอบครัวสมรสน้อยลง หย่าร้างมากขึ้น เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการยังคงถูกทอดทิ้ง สัมพันธภาพในครอบครัวไม่อบอุ่น ขาดการให้เวลาแก่กันอย่างมีคุณภาพ วัตถุนิยมและบริโภคนิยมยังเป็น ใหญ่ การหาเลี้ยงครอบครัวสาคัญกว่าสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว จึงก่อให้เกิดปัญหาต่อเยาวชนมากมาย ถึงเวลาแล้วที่ทุกครอบครัวต้องหันกลับมาให้เวลากับตนเองและสมาชิกในครอบครัวให้มากขึ้น ให้เวลา พูดคุย ดูแลสุขภาพกันและกัน ร่วมทากิจกรรมดี ๆ ร่วมกัน เป็นการมอบสัมผัสรักที่อบอุ่นใกล้ชิดให้แก่กัน สังคมอาเภอบ้านลาดในปัจจุบันกาลังเปลี่ยนแปลงไปจากสังคมชนบทสู่สังคมเมือง อาชีพดั้งเดิมที่เป็น เกษตรกรรมเปลี่ยนเป็นค้าขาย รับจ้างและไปทางานในโรงงานอุตสาหกรรมในต่างจังหวัดมากขึ้นประชาชน ส่วนใหญ่จึงมีวิถีชีวิตที่รีบเร่งทาให้บุคคลในครอบครัวไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน ยังผลให้สถาบัน ครอบครัวไม่เข้มแข็งก่อให้เกิดปัญหาหลายๆ ด้าน เช่น ปัญหาด้านยาเสพติด ปัญหาเรื่องการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภค เยาวชนส่วนใหญ่น้าหนักตัวเกินเกิดโรคอ้วนและโรคเรื้อรัง ต่าง ๆ เร็วขึ้น จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านลาดวิทยาและภาคีเครือข่าย ตระหนักถึงปัญหาสังคม ดังกล่าวจึงได้ทาโครงการ “ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด” ขึ้น เพื่อสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดี ระหว่างบุคคลในครอบครัวและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องสู่ครอบครัวอบอุ่นและสถาบันครอบครัวเข้มแข็ง สร้างภูมิคุ้มกันปัญหาสังคมให้แก่สมาชิกในครอบครัว จัดทาหลักสูตร “ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัว บ้านลาด” โดยร่วมกันบริหารจัดการระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นที่ น่ายินดีที่ได้รับการสนับสนุน จาก สสส. และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล ให้
ดาเนินกิจกรรม โดยมีการสารวจข้อมูลพื้นฐานสภาพครอบครัว รับสมัครสมาชิก ๔๐ ครอบครัว มีการ ประชุมวางแผนร่วมกันกับคณะทางาน และดาเนินการ ๕ กิจกรรม คือ ครอบครัวรักการอ่าน เน้นอบรมรม ให้ความรู้กับพ่อแม่และลูกเรื่องประโยชน์และความสัมคัญของการอ่าน ทากิจกรรมร่วมกัน พ่อ แม่ ลูก พี่ น้อง และญาติ ครอบครัวบ้านลาดสัญจรพบผู้ปกครองยามเย็น ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเยาวชนวัยศึกษา การติดตามดูแลช่วยเหลือในเรื่องพฤติกรรมเสี่ยง เรื่องการเรียน ร่วมแก้ปัญหาแบบกัลยาณมิตร ครอบครัว บวร คือ บ้าน วัด และโรงเรียน อบรมให้ความรู้แก่ครอบครัวนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการด้านพิธีการทาง ศาสนาพุทธ และทาบุญร่วมกันที่วัด ระหว่าง นักเรียน ผู้ปกครอง ครู และชุมชน โดยนักเรียนจะเป็นผู้ดาเนิน ขั้นตอนทางพิธีการตั้งแต่ต้นจนจบ ครอบครัวฮูลาฮูป มีการอบรมให้ความรู้แก่ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ ในการรักษาสุขภาพ การใช้อุปกรณ์ฮูลาฮูปในการออกกาลังกายให้ถูกต้อง เพื่อลดน้าหนัก ลดรอบเอว มี กิจกรรมแข่งขันร่วมกัน ระหว่าง นักเรียน ผู้ปกครอง และครู สุดท้าย คือ ครอบครัวปันรัก มีการอบรมให้ ความรู้กับครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ ในการดูแล ผู้สูงวัย ผู้พิการ และผู้ป่วยเรื้อรัง ทั้งในครอบครัวตนเอง และครอบครัวในชุมชน จัดกิจกรรมในลักษณะ เยาวชนจิตอาสาออกเยี่ยมบ้านผู้สูงวัย ผู้พิการ และผู้ป่วย เรื้อรัง ร่วมกันดูและช่วยเหลือครอบครัวในชุมชน โดยทากิจกรรมร่วมกับ โรงพยาบาล องค์การบริหารส่วน ตาบล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง 5 กิจกรรม มีการดาเนินการมาตั้งแต่ พฤษภาคม 2554 จนถึง ปี 2555 เราคาดหวังไว้ว่า เมือ่ ดาเนินกิจกรรมแล้ว สถาบันครอบครัวของชุมชนบ้านลาดที่เข้าร่วมโครงการมีความ เข้มแข็งขึ้น ภาคีเครือข่ายของโรงเรียนได้รู้และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาครอบครัวของชุมชนบ้านลาด และเยาวชนมีทักษะชีวิตที่ดี จาการทางานร่วมกันกับชุมชน โดยเน้นการพัฒนาครอบครัวซึ่งเป็นสถาบันที่เล็กที่สุด แต่สาคัญ ที่สุด เยาวชนในชุมชนบ้านลาดมีทักษะชีวิตไม่เป็นปัญหาของสังคม ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการมี สัมพันธภาพที่ดีขึ้น เมื่อสถาบันครอบครัวและชุมชนเข้มแข็งยิ่งขึ้น ภาคีเครือข่ายมีความสัมพันธ์อันดีต่อ กัน ก็สามารถสร้างภูมิคุ้มกัน ลดปัญหาสังคมให้แก่เยาวชนในชุมชนบ้านลาดได้ในที่สุด ถึงเวลาแล้วที่ทุกฝ่าย ทุกภาคส่วน ทุกระดับของสังคม ต้องหันหน้าเข้าหากัน โดยตระหนักร่วมกัน ถึงภารกิจ การพัฒนาครอบครัวให้เข้มแข็ง มั่นคง มีคุณภาพ ร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหาแบบองค์รวม บูรณาการ และยั่งยืน “หากครอบครัวไทยไม่แข็งแรง ก็ไม่มีวันที่ประเทศไทยจะแข็งแรงได้เช่นกัน”
4. โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี” ชูเกียรติ เกษดี “ค่ายกาจัดขยะ” เป็น 1 ในการจัดกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ฯ จึงได้เชิญวิทยากรจากกลุ่มอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมมาดาเนินการจัดค่ายโดย มีขั้นตอนดังนี้ 1) ให้ความรู้กลุ่มแกนนาเยาวชนในเรื่องการกาจัดขยะ ด้วยความปลอดภัย 2) การคัดแยกขยะแต่ละประเภท 3) วาดภาพโรงเรียนในฝันที่ไร้ขยะและมีมลภาวะที่ดี 4) วางแผนการกาจัดขยะในโรงเรียน โดยกลุ่มแกนนาทาได้ดีและได้นาความรู้ที่ได้รับมาขยายผลในกลุ่ม กรรมการนักเรียน เร่ง การกาจัดขยะและแมลงวันในโรงเรียน โดยประสานกับกลุ่มทาปุ๋ยหมักชีวภาพ นาน้า หมักมาราด ขยะในโรงเรียนได้ผลดีในระดับหนึ่งอาจเป็นเพราะขยะมาก น้าหมักน้อย
เมื่อเราใช้สอยสิ่งใด ๆ จนไม่สามารถที่จะใช้ประโยชน์ได้อีกแล้ว เราก็จะทิ้งลงถัง และเรียกขานมัน ว่า “ขยะ” แต่ในความเป็นจริงวัสดุต่าง ๆ ถ้าได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ก็ยังสร้างทั้งมูลค่าและคุณค่าได้อีกไม่ น้อย ซึ่งเราอาจเรียกใหม่เป็น “ทรัพยากร” ในปีหนึ่ง ๆ ทั่วอาเภอบ้านลาดมีปริมาณขยะมูลฝอยมากมาย สามารถแยกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ - ขยะอินทรีย์ เช่น เศษอาหารต่าง ๆ มูลสัตว์ เศษใบไม้ ฟางข้าว และซากพืชต่าง ๆ - ขยะที่สามารถรีไซเคิลได้ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ - ขยะบางประเภทซึ่งย่อยสลายยากและมีแหล่งรับซื้อน้อย เช่น น้ามันพืชใช้แล้ว เศษไม้ กล่องโฟม รองเท้าหนัง - ขยะอันตรายที่ต้องระมัดระวังในการจัดเก็บ เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ ภาชนะบรรจุ ภาชนะบรรจุสารเคมีทางการเกษตร จากทั้งหมดที่เราเรียกว่า “ขยะ” ข้างต้น มีเพียงประมาณ ๑๐% ที่ควรนาไปเผาหรือฝังกลบ แสดงว่า ขยะที่เป็นขยะจริง ๆ มีน้อยมาก ยังมีข้าวของที่สามารถนากลับมาใช้ซ้า (รียูส) ได้อีก และที่หมุนเวียนแปรรูป กลับมาใช้ใหม่ได้ (รีไซเคิล) ก็มีไม่น้อยเลยทีเดียว จากข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม พบว่า ศักยภาพของวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์จากมูลฝอยที่เก็บขนได้ทั่วประเทศมีประมาณ ร้อยละ ๑๖.๓๔ แต่มีเพียงร้อยละ ๗ หรือประมาณ ๒,๓๖๐ ตันต่อวันเท่านั้นที่ถูกนากลับมาใช้ประโยชน์จริง อุปสรรคอย่างหนึ่งของการนาขยะจากแต่ละบ้านหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ก็คือในแต่ละวันเรายังทิ้ง ขยะแต่ละประเภทรวมกันในถังเดียว ขยะที่ควรจะรีไซเคิลได้หลายชนิดจึงพลอยเปรอะเปื้อนไปด้วย ทาให้ ขยะเหล่านั้นไม่สามารถนามาแปรรูปและหมุนเวียนใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับขยะที่ถูกแยก ไว้ตั้งแต่แรก การแยกขยะจึงเป็นก้าวแรกของการลดปริมาณขยะและนาขยะไปใช้อย่างเต็มศักยภาพ ที่ทุกคน น่าจะช่วยทาได้ “มนุษย์” คือเทคโนโลยีคัดแยกที่ดีที่สุด “ไม่มีเทคโนโลยีใดที่สามารถแยกขยะชนิดนั้นออกจากขยะชนิดนี้ได้ดีเท่าฝีมือของมนุษย์ ” ไม่ใช่คา กล่าวที่เกินจริงเลย โดยเฉพาะเมื่อเราแยกขยะตั้งแต่ที่บ้าน ด้วยเหตุที่บ้านเรือนเป็นต้นทางของขยะมากกว่าที่ สาธารณะอย่างตลาดหรือริมถนน เป็นไหน ๆ แต่ทุกวันนี้บ้านเรือนส่วนใหญ่ส่งขยะให้เทศบาล หรือ อบต. จัดการ โดยไม่คัดแยกชนิดขยะออกจากกัน เศษอาหาร กระดาษหนังสือพิมพ์ ถุงพลาสติก หลอดไฟหรือ แม้แต่ภาชนะบรรจุสารเคมี จึงรวมอยู่ในถังเดียวกัน และที่สาคัญสารพิษจากขยะอันตรายที่ไม่ถูกแยกออกมา อย่างถูกต้อง อาจจะนาอันตรายมาสู่ทั้งคนในบ้านและพนักงานเก็บขยะด้วย
ขยะแต่ละชนิดมีวิธีการจัดการที่แตกต่ างกัน เพื่อให้การแยกขยะมีประสิทธิภาพสูงสุดอย่างแท้จริง ก่อนจะตัดสินใจทิ้งอะไร เรามาทาความรู้จักเคล็ดลับในการคัดแยกสักหน่อยดีกว่า ขยะอินทรีย์ - อาหารที่กินเหลือ ถ้ายังไม่ค้างคืนจนบูด สามารถนาไปเลี้ยงสัตว์ได้ รวมกันหลาย ๆ วัน ก็ประหยัด ไปไม่น้อย หรือทาปุ๋ยชีวภาพก็ยังได้ - ไม่ควรฝังกลบเศษอาหาร เพราะการย่อยสลายในสภาพไร้ออกซิเจนจะทาให้เกิดก๊าซมีเทนตามมา แทนที่จะฝังกลบหรือใส่ถุงก๊อบแก๊บผูกปากแน่นทิ้งไป เราสามารถนามันมาเป็นส่วนผสมในปุ๋ยหมักได้ - เปลือกผลไม้รสหวานใช้ทาน้าหมักชีวภาพไว้ดับกลิ่นในท่อน้า ห้องน้า และนาไปรดน้าต้นไม้ได้ กระดาษ - หลังจากใช้ประโยชน์จากกระดาษประเภทต่างๆ ได้ทุกซอกทุกมุมแล้ว ถ้าแยกประเภทกระดาษ ก่อนนาไปขาย จะทาให้ได้ราคามากกว่าขายเหมารวมเป็นกองเดียว ยกเว้นกระดาษทิชชูและกระดาษเคลือบ พลาสติกที่ขายไม่ได้ - ไม่ควรเก็ บกระดาษแยกไว้ในที่ชื้นแฉะและสกปรก จะทาให้คุณภาพในการรีไซเคิลลดลง พลาสติก - ขวดพลาสติกที่ใช้แล้ว ยังใช้ซ้าได้อีก - เมื่อแน่ใจว่าขวดพลาสติกใช้ซ้าไม่ได้แล้ว ควรล้างให้สะอาดและบีบให้แบน เพื่อประหยัดเนื้อที่ใน การเก็บให้มากที่สุด - ขวดพลาสติกมีหลายประเภท ราคารับซื้อแต่ละประเภทก็แตกต่างกันออกไป พ่อค้ามักจะรับซื้อ แบบเหมารวมทั้งหมดแล้วนาไปแยกเองทีหลัง แก้ว - แม้แก้วจะย่อยสลายไม่ได้ แต่มันสามารถรีไซเคิลได้ ๑๐๐% - ล้างขวดแก้วให้สะอาดเพื่อง่ายต่อการรีไซเคิล - ขวดแก้วใช้แล้ว ถ้ายังอยู่ในสภาพใช้การได้ โรงงานผลิตเครื่องดื่มหรือสินค้านั้นๆ ยังรับกลับมาทา ความสะอาด และใช้ซ้าได้อีกถึงอย่างน้อย ๓๐ ครั้ง แต่ถ้าขวดแก้วเสียหายจนใช้ซ้าไม่ได้อีก สามารถนาไป หลอมเป็นบรรจุภัณฑ์ใหม่ได้อีกนับครั้งไม่ถ้วนและให้คุณภาพไม่ต่างจากเดิม ทั้งนี้การหลอมแก้วจากวัสดุ รีไซเคิลยังใช้ความร้อนน้อยกว่าหลอมจากวัตถุดิบโดยตรงอีกด้วย โลหะ - โลหะมีหลายประเภท ซึ่งมีราคาแตกต่างกัน ก่อนนาไปขายควรทาให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ เพื่อง่ายต่อการ จัดการ และถ้าแยกประเภทของโลหะจะทาให้ได้ราคาสูงกว่าเดิม
- เหล็กสามารถรีไซเคิลได้ ๑๐๐% และยังคงคุณภาพเดิม เช่น กระป๋องเครื่องดื่มบางชนิด ผลิตภัณฑ์ บรรจุอาหาร อาจหลอมรวมเพื่อนาไปผลิตเป็นวัสดุต่างๆ ได้อีกมากมาย เช่น คลิปหนีบกระดาษ กระป๋อง ใบใหม่ ชิ้นส่วนจักรยานและรถยนต์ - ห่วงเปิดกระป๋องน้าอัดลมนาไปบริจาคเพื่อทาเป็นขาเทียมได้ หรือจาหน่าย ขยะอันตราย - อย่านาขยะอันตรายไปทิ้งปนรวมกั บขยะประเภทอื่นอย่างเด็ดขาด เช่น หลอดไฟ แบตเตอรี่ กระป๋องสเปรย์ ขวดน้ามั นเครื่อง ขวดยาฆ่าแมลง และตลับหมึกพิมพ์ เป็นต้น ควรแยกใส่ถังขยะแต่ละ ประเภทให้ถูกต้อง - แยกขยะอันตรายโดยเก็บใส่บรรจุภัณฑ์เดิมหรือห่อด้วยกระดาษก่อนทิ้ง บางประเภทขายได้ก็ควร นาไปขาย นอกจากช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแล้วยังสร้างรายได้อีกทางหนึ่ง เช่น ขวดยาฆ่าแมลง และตลับ หมึกพิมพ์ เป็นต้น อื่น ๆ - คอมพิวเตอร์และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดใช้รีไซเคิลได้ โดยส่วนประกอบภายใน เช่น พลาสติก เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง และอลูมิเนียม ฯลฯ สามารถนามาแยกชิ้นส่วนเพื่อขายแยกชนิดทาให้ได้ราคา สูงขึ้น ซึ่งดีกว่าขายยกชิ้นเสียอีก - โทรศัพท์มือถือรีไซเคิลได้ถึง ๘๐% ง่ายที่สุดคือนากลับไปคืนร้านที่ซื้อมาหรือหย่อนลงในกล่องที่ รับบริจาคซากไปใช้ประโยชน์ เช่น ร้านขายโทรศัพท์มือถือ สานักงานเทศบาลต่าง ๆ และองค์การบริหาร ส่วนท้องถิ่น (อบต.) หรือจะแยกชิ้นเป็นขยะจาหน่ายแบบเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ก็ได้ วิธีที่ทาได้ง่าย ๆ วิธีหนึ่งก็คือการ "แยกขยะ" แล้วนาไปใช้ประโยชน์ให้ตรงกับศักยภาพของขยะ แต่ละประเภทก็เท่านั่นเอง การแบ่งแยกประเภทของถังรองรับขยะมูลฝอยตามสีต่าง ๆ ดังนี้ ถังสีเขียว รองรับขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ถังสีเหลือง รองรับขยะที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ ถังสีแดง รองรับขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดไฟที่หมดอายุการใช้งาน ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง ภาชนะ บรรจุสารอันตรายต่าง ๆ ถังสีฟ้า รองรับขยะทั่วไปที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่สาเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟม และฟอล์ยที่เปื้อนอาหาร
เมื่อ “ขยะ” ในชีวิตประจาวันของเราแฝงไว้ทั้งคุณค่าและมูลค่า มากมาย ศักยภาพที่เราสามารถ จัดการได้ก็คือ ช่วยกันดึงศักยภาพที่ขยะมีอยู่ออกมาใช้ให้เต็มที่ เรียนรู้คุณค่าของพืช และส่งเสริมการปลูกพืชต่าง ๆ ในโรงเรียนและชุมชน พรรณี เทพสูตร โอ้ย! ตายแน่ ๆ เรา จะทาอย่างไรดี เมื่อทราบว่าคุณครูที่รับผิดชอบโครงการนี้ ท่านจะลาออกจาก ราชการ แล้วใครจะสานโครงการนี้ต่อเพราะมีตั้ง 3 กิจกรรม ดีที่คุณครูชูเกียรติ ช่วยในเรื่องค่ายกาจัดขยะ ทั้ง ๆ ที่ ท่านต้องรับผิดชอบในโครงการอื่น อยู่แล้ว แต่ยังเหลืออีก 2 กิจกรรมคือเรียนรู้เรื่องคุณค่าของพืช และ ส่งเสริมการปลูกพืช ต่างๆ ในโรงเรียนและชุมชน พืชอาหาร/ที่อยู่อาศัย พืชเป็นยารักษาโรค สารเคมี ทดแทนสารเคมีเกษตร พืชร่มเงา ....มองซ้าย มองขวา เห็นสายตาเพื่อนๆ ส่งมาทางเรา เอาละหว่า...อย่านะ เพื่อน...บ้านเรามีสวนก็จริง แต่เราไม่รู้จักพืชหรือวิธีปลูกเลย .... ปีหนึ่งเดินเข้าสวนหลังบ้านไม่เกิน 3 ครั้ง แล้วจะทาอะไรได้...กลับมาบ่นให้คนที่บ้านฟัง เขา หัวเราะ หึ ๆ แล้วส่งหนังสือเกี่ยวกับคุณค่าของพืช พืชสมุนไพรรักษาโรค พืชทดแทนสารเคมี เฮ้อ...อ่านก็ อ่าน...ตรงไหนไม่รู้เรื่องก็ถาม ...อ่านได้สักพักคงเห็นว่าไม่ได้เรื่องเลยพาเราไปพบ คุณน้อย (สุริยะ ชูวงศ์) ปราชญ์ชาวบ้าน เกษตรกรดีเด่นสาขาไร่นาสวนผสมระดับเขต 2 ราชบุรี ให้ช่วยอธิบาย และพาชม สถานที่จริงของจริง โห...รู้อย่างนี้มาฟัง/ศึกษาดูงานจากท่านนานแล้ว ท่านอธิบายซะได้ความรู้มากมาย เลย จองตัวท่านเป็นวิทยากร...ทั้งๆที่ยังไม่รู้จะหาสมาชิกเข้าร่วมโครงการอย่างไร ...เอาละ..พอมีความรู้บ้างแล้วคราวนี้ก็เริ่มที่จะหาอาสาสมัครเข้าร่วมเรียนรู้เป็นนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาตอนต้อน - ตอนปลาย และผู้ปกครองนักเรียน ประมาณ 15 ครอบครัว ประทับใจมากกับการที่ ผู้ปกครองและนักเรียนให้ความร่วมมือของสมัครเข้าร่วมเรียนรู้ถึง 28 ครอบครัวจากนั้น จึงนัดแนะคุณน้อย บรรยายให้ความรู้ ...เมื่อถึงวันนัด ผู้ปกครองก็ขี่จักรยานยนต์ให้ลูก(นักเรียน)ซ้อนท้ายไปบ้านคุณน้อย...ท่าน ให้ความรู้ในเรื่องการทาน้าส้มจากควันไม้เพื่อใช้ป้องกันกาจัดแมลงศัตรูพืช...ให้ความรู้ตั้งแต่การวางเรียง พื้นท่อนไม้เป็นขนาดเล็กใหญ่ ลดหลั่น เพื่อให้ได้ถ่านที่มีคุณภาพมากที่สุดเป็นขี้เถ้าน้อยที่สุด โดยผู้ปกครอง และนักเรียนช่วยกันแบกไม้ จัดเรียง ปิดฝา กลบดิน ใช้เวลาประมาณ30 นาที (ซึ่งเรื่องนี้ท่านแถมให้..เพราะ ในชุมชนมีการเผาถ่านใช้เองบ้างและวิธีเผาแบบหลุมก็สามารถทาน้าส้มควันไม้ได้เช่นกัน...) จากนั้นท่านพา ไปดูการทาปุ๋ยหมัก ซึ่งโดยทั่วไป เรามักเห็นเศษไม้ใบหญ้า เศษอาหาร มูลสัตว์ ผลพลอยได้จากกระบวนการ หมักคือน้าหมักชีวภาพ แต่... คุณน้อยท่านนาเปลือกลูกตาลที่ชุมชนมีมาก(ส่วนใหญ่จะทิ้งหลังจากเฉาะเอา ลูกตาลมาขาย) มาทาเป็นปุ๋ยหมักวางทับกันแล้วมีการใส่น้าเป็นการหมักจนมีการย่อยสลายเป็นผง..ไว้ สาหรับรองก้นหลุมเป็นปุ๋ย
หลังจากนั้นท่านพาไปดูการทาปุ๋ยชีวภาพจากเปลือกสับปะรด การทาจุลินทรีย์หน่อกล้วยเพื่อใช้ ปรับสภาพดิน ....ระหว่างท่านอธิบาย...พาเดินชม...จะได้ยินเสียงซักถาม เป็นภาษาพื้นบ้าน โต้ตอบกัน เห็น รอยยิ้มบนใบหน้าสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ทั้งๆ ที่อากาศร้อนมาก ระหว่างเดินสังเกตเห็นหลอดไฟนีออน ยาว บนกะละมัง จึงถามว่าคืออะไร ท่านอธิบายง่าย ๆ ว่า ไฟดักจับแมลง พอเดินไปดูใกล้ๆ เห็นแมลง หน้าตาแปลก ที่กัดกินต้นพืช ต้นข้าวที่ปลูก ตายลอยเป็นแพ...สมาชิกเริ่มสนใจซักถามว่าทาไมมันตายมาก อย่างนี้ที่บ้านเขาก็มีหลอดแบบนี้แต่ไม้ได้ผลแบบนี้ ได้คาตอบว่าได้นาผงซักฟอกยี่ห้อหนึ่ง ใส่ลงไป ๑ ช้อน โต๊ะ ต่อน้าครึ่งกะละมัง ละต้องเปลี่ยนทุกเย็น การวางหลอดไฟต้องหันทิศให้ถูก กลิ่นหอมจากผงซักฟอกจะ เรียกแมลงให้มาเล่นไฟ...ตาย...นี่แหละภูมิปัญญาจริง ๆ เดินจนเหนื่อยเลี้ยวกลับบ้าน ผ่านเตาถ่านที่เผา เรียก เสียงฮือฮา จากนักเรียนได้เพราะ น้าส้มควันไม้เริ่มหยดให้เห็น (ขายราคา ๑ ลิตร/๑๐๐ บาท) พอถึงบ้าน นั่ง พักเหนื่อยแปบเดียว...คุณน้อยหอบใบไม้มาหอบใหญ่ เรียกว่า ใบต้นขี้เหม็น(พืชท้องถิ่น) ใช้ทาสารจับใบ แทนสารเคมีได้เป็นอย่างดี หาง่าย ทาง่าย สมาชิกช่วยกันหัน่ คั้นเอาน้า แบ่งกลับไปใช้ที่บ้านคนละเล็กละ น้อย สุดท้ายท่านสอนให้ทาฮอร์โมนจากไข่ไก่ และแจกน้าส้มควันไม้ให้ถือกลับบ้านอีก ....เป็นความ ประทับใจที่ยากจะลืม...ยัง..ยัง..ไม่ประทับใจไม่รู้จบ... หลายวันผ่านไป นักเรียนมาบอกที่ห้องว่าครูขา ไปบ้านหนูหน่อย เพราะหนูนาความรู้ที่ได้รับจากลุง น้อยไปใช้ที่บ้าน กับพวกพืชล้มลุก ได้ผลมาก โดยเฉพาะสารจับใบ จากใบขี้เหล็ก ...อีก ประมาณ 1 เดือน ได้ ไปเยี่ยมบ้านนักเรียนที่เข้าโครงการพบว่า หลายบ้านเริ่มปลูกพืชสมุนไพร พืชล้มลุก และลดการใช้สารเคมี มี 2 บ้านที่เริ่มทาปุ๋ยหมักจากเปลือกลูกตาล....และยังได้ทราบอีกว่าบางคนกลับไปขอความรู้จากคุณน้อย เพิ่มเติม....ประทับใจมาก ๆ ที่ ได้รับโอกาสจาก โครงการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย ในการทากิจกรรมนี้ โดยเฉพาะได้เรียนรู้เกี่ยวกับพืชพรรณไม้ และวิธีปลูก
5. โครงการ “ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด” วไลลักษณ์ พัสดร
โรงเรียนบ้านลาดวิทยาเป็นสถานศึกษาแบบอย่างพอเพียง โดยนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการดาเนินชีวิต ซึ่งสอดคล้องกับการดารงชีวิตของนักเรียนและชุมชนที่มีอาชีพส่วนใหญ่ด้าน เกษตรกรรม ดังนั้นเพื่อให้การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาลงสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็น รูปธรรม โรงเรียนจึงได้สานต่อกิจกรรมโดยการจัดโครงการ ยุวเกษตรกรตามแนวพระราชดาริ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในอาชีพเกษตรกรรม เห็นคุณค่า และความสาคัญของอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งเป็นอาชีพ หลักของคนไทย วิธีการศึกษา ประชากร คือนักเรียนโรงเรียนบ้านลาดวิทยา อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี สังกัดสานักงานเขต มัธยมศึกษา เขต 10 และกลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนจานวน 50 คน ที่เข้าร่วมโครงการและผู้ปกครองนักเรียน จานวน 50 คน ที่เข้าร่วมโครงการ โดยดาเนินการศึกษาดังนี้ 2.1 ขั้นให้ความรู้ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง โดยนานักเรียนเข้าศึกษาศูนย์การเรียนรู้ตามแนว พระราชดาริ เช่น ศูนย์การเรียนรู้เขากลิ้ง ศูนย์การเรียนรู้ห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ศูนย์การ เรียนรู้โครงการช่างหัวมัน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการยุวเกษตรกรผู้ปกครองนักเรียนและปราชญ์ท้องถิ่น และผู้นาท้องถิ่น ได้แก่ พัฒนากรอาเภอ เกษตรอาเภอ ปศุสัตว์อาเภอ นายก อบต.ท่าช้าง นายกเทศมนตรี บ้านลาด ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 ตาบลบ้านลาด และครูที่สนใจ ผลการดาเนินโครงการ ความสาเร็จ อุปสรรคการเรียนรู้ และแนวทางการแก้ไข ในการดาเนินตามโครงการยุวเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงดังนี้ 1. นานักเรียนศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้ตามแนวพระราชดาริ ได้แก่ ศูนย์การศึกษาเศรษฐกิจ พอเพียงเขากลิ้ง ศูนย์การเรียนรู้โครงการช่างหัวมัน ซึ่งนักเรียนได้รับความรู้เป็นอย่างดี 2. จัดอบรมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ”ยุวเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง” จานวน 50 คน โดยได้รับความร่มมือจากผู้ปกครองที่เข้ารับการอบรมร่วมกันกับนักเรียน โดยมีวิทยากรให้ความรู้ตามฐาน การเรียนรู้แบบบรรยาย และใช้สื่อประกอบ จานวน 4 กิจกรรมดังนี้ 1) การเลี้ยงไก่พื้นเมือง (ไก่พื้นบ้าน) 2) การเลี้ยงปลาดุก 3). การขยายพันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ 4) การทาปุ๋ยหมัก นาหมักชีวภาพ (EM) การอบรมให้ความรู้ครั้งนี้มีจุดแข็ง คือ (1)วิทยากรมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่บรรยายทาให้ ผู้ปกครองและนักเรียนให้ความสนใจซักถามในเรื่องที่ตนเองสนใจ (2) ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้และ เข้าใจ สามารถนาความรู้ที่ได้ไปลงมือทาต่อที่บ้านได้ จุดอ่อนของการดาเนินการอบรมให้ความรู้ในครั้งนี้ พบว่าผู้ปกครองนักเรียนบางคนไม่สามารถมา อบรมได้เนื่องจากมีภาระในด้านการทางาน
ผู้อานวยการเป็นประธาน กล่าวเปิดงานการอบรม
ผู้ปกครองและนักเรียนเข้ารับ การอบรมยุวเกษตรฯ
วิทยากรให้ความรู้การเลี้ยง ปลาดุก
3. ขั้นลงมือปฏิบัติ นักเรียนกลุ่มยุวเกษตรกร ลงมือปฏิบัติกิจกรรม 4 กลุ่ม ดังนี้ 1) การเลี้ยงไก่ พื้นเมือง 2) การทาปุ๋ยชีวภาพ 3) การเลี้ยงปลาดุก 4) การขยายพันธุ์ไม้ การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ ผลของการดาเนินการตามโครงการในแต่ละโครงการย่อยประสบความสาเร็จอยู่ในระดับดี เนื่องจากมีการติดตามโครงการต่าง ๆ เป็นระยะ เช่น การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลาดุก และการ ขยายพันธุ์ไม้ เนื่องจากผู้ปกครองนักเรียนมีอาชีพด้านเกษตรกรรม จึงสามารถขยายพันธุ์สัตว์ไปให้ ผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้ สาหรับการทาปุ๋ยชีวิภาพนักเรียนสามารถนาความรู้ทาต่อที่บ้านได้ และสามารถนาปุ๋ยชีวภาพมารดน้าผักในโครงการผักสวนครัวรั้วกินได้ ซึ่งเป็นการสร้างรายได้ระหว่างเรียน ให้กับนักเรียนได้อีกวิธีหนึ่ง จุดอ่อน คือ (1) การเดินทางไปติดตามผลค่อนข้างใช้งบประมาณและบ้าน ผู้ปกครองนักเรียนอยู่ไกล ทาให้ไม่สามารถเข้าไปติดตามได้อย่างใกล้ชิด (2) คาบสอนในภาคปฏิบัติไม่ ต่อเนื่องกันและมีเวลาน้อย หรือได้ในคาบใกล้พักกลางวัน ทาให้การจัดกิจกรรมภาคปฏิบัติทาได้ไม่เต็มที่ ซึ่งบางครั้งครูจะนัดหมายนักเรียนให้มาทาในวันหยุดเสาร์ -อาทิตย์ ผลสาเร็จของงานโดยภาพรวมของศึกษาโครงการยุวเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง สามารถ อภิปรายผลได้ดังนี้ 1) ผลการส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้านการเกษตร สามารถนาความรู้มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของตนเอง และขยายผลไปสู่ครอบครัว และชุมชน พบว่านักเรียนที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ครอบครัวประกอบอาชีพเกษตรกรรมอยู่แล้ว ทาให้ นักเรียนมีทักษะการทางานที่ดีและสามารถให้ข้อมูลในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทางานกับครูได้ดี เช่น โครงการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ โครงการเลี้ยงไก่พื้นบ้าน นักเรียนจะทาได้ดี
ศึกษาดูงานโครงการชั่งหัวมัน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
ศึกษาดูงานศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง ณ เรือจาเขากลิ้งเขากลิ้ง
ศึกษาดูงาน ณ ศูนย์การศึกษาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
2) ผลการส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของอาเภอบ้าน ลาด พบว่า โรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้รับรางวัลโรงเรียนแบบอย่างสถานศึกษาพอเพียง ในปี พ.ศ. 2552 และได้ดาเนินการมาอย่างต่อเนื่องทั้งในเรื่องการจัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน การจัดอบรมและให้ความรู้ แก่บุคลากรในโรงเรียนเพื่อนาไปสู่การจัดการเรียนการสอนและการทางาน การจัดกิจกรรมเสียงตามสายให้ ความรู้ แก่ชุมชน และการนาปราชญ์ชาวบ้านที่นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาให้ความรู้กับนักเรียน และบุคลากรในโรงเรียนนอกจากนี้โรงเรียนยังเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของโรงเรียนสังกัดเขตมัธยมศึกษาเขต 10 ในปีการศึกษา 2554 เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ของบุคลากรของ โรงเรียนสังกัดเขตมัธยมศึกษาในจังหวัดเพชรบุรี
3) ผลการสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชนพบว่า ชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีทั้งในด้านการเข้ารับการอบรม การถ่ายทอดประสบการณ์ในการทางาน เนื่องจากชุมชนส่วนใหญ่ของอาเภอบ้านลาดประกอบอาชีพเกษตรกรรมอยู่แล้ว และมีการดาเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งยังได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการของอาเภอบ้านลาด ได้แก่ เกษตรอาเภอบ้านลาด มาให้ความรู้กับนักเรียนและครู นอกจากนี้แล้วผลิตผลที่ได้จากการดาเนินการ ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ของนักเรียนชุมนุมยุวเกษตรกรฯ เช่น ผักกาดขาว คะน้า ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ฯลฯ ยังได้รับความสนใจจากครู แม่ค้าในโรงเรียน และชุมชนข้างนอก ซึ่งเมื่อนักเรียนนาผักออกไปจาหน่าย
ให้กับคณะครูในโรงเรียนจะได้รับการสนับสนุนช่วยกันซื้อ และให้ความสาคัญกับกิจกรรมนี้อย่างดียิ่ง เพราะเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และได้บริโภคผักปลอดสารพิษ นอกจากนี้ นักเรียนยังได้นาไปจาหน่ายให้กับแม่ค้าในโรงเรียนเพื่อนาไปประกอบอาหารให้นักเรียนได้บริโภคผักที่สด สะอาด และปลอดสารพิษ และที่เหลือจากการจาหน่ายให้กับบุคลากรในโรงเรียน นักเรียนก็จะนาไป จาหน่ายให้กับแม่ค้าในสหกรณ์การเกษตรอาเภอบ้านลาด ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการใช้หลัก เศรษฐศาสตร์กับการตลาด เพื่อเชื่อมโยงมาสู่การดาเนินชีวิตประจาวันของนักเรียน
เกษตรอาเภอให้ความรู้ในเรื่องการเลี้ยงไก่พื้นเมืองแก่นักเรียน
4) ผลการส่งเสริมการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายระหว่างเรียนของนักเรียน เป็นการสร้างความเข้มแข็ง ด้านเศรษฐกิจให้กับครอบครัวพบว่า กลุ่มนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีทักษะในการทางานในด้าน เกษตรกรรมอยู่แล้ว เนื่องจากครอบครัวนักเรียนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทาให้นักเรียนมี ความรู้ในเรื่องการตลาด และมีทักษะในการขายผลิตผล ซึง่ เมื่อเก็บผลผลิตจาหน่ายแต่ละครั้ง นักเรียนจะ แบ่งหน้าที่กัน ใครเป็นคนขาย และควรจะขายสินค้าในราคาเท่าใด ซึ่งนักเรียนจะนาไปจาหน่ายให้กับครู และบุคลากรในโรงเรียนในช่วงที่เรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้นักเรียนได้รับความสนุกในการขาย สินค้า ซึ่งเป็นการฝึกทักษะให้นักเรียนสาหรับการทางานในอนาคต ซึ่งเป็นสิ่งที่โรงเรียนควรให้การ สนับสนุนในการดาเนินกิจกรรมเหล่านี้ไปตลอด ซึ่งผู้เขียนรายงานได้ค้นพบศักยภาพในตัวผู้เรียนว่า นักเรียนที่เรียนวิชาการไม่เก่ง แต่เก่งในการใช้ทักษะชีวิตจากประสบการณ์ของตนเอง จะทาให้นักเรียนเรียน ด้วยความสุข และทางานออกมาได้ดี มีความรับผิดชอบในตัวเองมากขึ้น อุปสรรคในการทา
นักเรียนเก็บดอกกระเจี๊ยบไปขาย
ดอกดาวเรืองนาไปขายให้แม่ค้าขายดอกไม้
ผักกาลังงามเตรียมนาไปขายให้กบั ครูและแม่ค้าในโรงเรียน
5) ผลการส่งเสริมการออมทรัพย์ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า นักเรียนกลุ่ม ยุวเกษตรกรฯสามารถมีรายได้จากการดาเนินกิจกรรม เช่น การปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ซึ่งใช้เวลาใน ระยะสั้น ก็สามารถเก็บผลผลิตได้ทาให้สามารถนาไปจาหน่ายได้ โดยเงินที่ได้มาจะนาเข้าฝากออมไว้กับ ธนาคารโรงเรียน และเมื่อจะปันผลให้เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม แต่สิ่งที่ผู้รายงานต้องการให้นักเรียนได้ตระหนัก คือการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการทางานว่าหากทางานด้วยการนาความรู้มาใช้ในการ ทางาน และมีความเพียรในการทางานแล้วจะทาให้การทางานประสบความสาเร็จ ถึงแม้การทาอาชีพ เกษตรกรรมอาจจะไม่ร่ารวยก็สามารถสร้างรายได้อย่างพออยู่พอกิน
นักเรียนนาผักไปขายให้คณะครูและแม่ค้าช่วงพักกลางวัน
6) ผลการสร้างจิตสานึกที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม อันเป็นอาชีพหลักของคนไทย พบว่านักเรียนมี เจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม ทั้งนี้อาจเป็นผลมาจากการที่ครอบครัวนักเรียนประกอบอาชีพเกษตรกรรม อยู่แล้ว นอกจากนี้แล้วผู้รายงานยังได้พานักเรียนไปศึกษาดูงานในเรื่องการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงตามศูนย์การเรียนรู้ต่าง ๆ ทาให้นักเรียนสนใจเขาศึกษากิจกรรมต่าง ๆ ตามสถานที่ที่ไป และเมื่อนามาสู่การปฏิบัติมีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างครูและนักเรียน จะพบว่านักเรียนต่างเสนอ
แนวทางที่เป็นประโยชน์ให้กับครูและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน ๆ ซึ่งถ้าหากนักเรียนได้รับการสนับสนุน ในการต่อยอดความรู้เหล่านี้ จะทาให้นักเรียนกลุ่มนี้ใช้อาชีพเกษตรกรรมเป็นทางเลือกในการประกอบ อาชีพในอนาคต
ผลผลิตที่มาจากน้าพักน้าแรงของกลุ่มยุวเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 4 ผลการดาเนินโครงการ การดาเนินโครงการย่อยทั้ง 5 โครงการ ได้ผ่านขั้นตอนการทางานตามลาดับ นับตั้งแต่ 1) การวิเคราะห์ - สังเคราะห์ปัญหาของชุมชน 2) การวางแผนที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวิถีชีวิต 3) การกาหนดกิจกรรม 4) การดาเนินกิจกรรม 5)การประเมินผลกิจกรรม เริ่มต้นโครงการ เมื่อโรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้รับเกียรติจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมความสุข (สสส.)และศูนย์วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษาวิทยาลัยครุศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตให้เข้าร่วม โครงการ “โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย” คณะทางานได้ระดมแนวคิดจากพลังชุมชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการส่งเสริมการจัดการศึกษาทุกภาคส่วน โดยการประชุมทาประชาคม เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2554 โดยใช้ห้องประชุมอาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนบ้านลาดวิทยาเป็นที่ประชุม ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากผู้นาชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้านหลาย สาขา คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ตัวแทนคณะครูและนักเรียน ได้ข้อสรุปเป็นโครงการที่ตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น เหมาะสมกับบริบทของชุมชนคนอาเภอบ้าน ลาด ภายใต้ชื่อโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของ องค์กรในชุมชน” โดยกาหนดตัวชี้วัดไว้ดังนี้ ตัวชี้วัดความสาเร็จ ของโครงการ 1. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนเกิดการเรียนรู้วิถีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ได้หลักสูตร ของโครงการย่อย 5 หลักสูตร 3. ถอดบทเรียนของโครงการย่อย 5 บทเรียน 4. ชุมชน 18 ตาบลให้การยอมรับ สนับสนุนและให้ความร่วมมือ ทุกโครงการ 5. เยาวชนมีจิตสานึกในการรักอาชีพท้องถิ่นมากขึ้น และนับจากนั้นงานของพวกเราได้เริ่มขึ้น
ก้าวที่เกิด ทั้ง 5 โครงการ ได้ดาเนินงานอย่างมีแบบแผนร่วมประชุมปรึกษาหารือกันเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง ดาเนินการเขียนโครงการทั้ง 5 โครงการ (14 กิจกรรม) จัดทาหลักสูตรท้องถิ่นทั้ง 14 กิจกรรม และลงมือ ดาเนินโครงการ ซึ่งตลอดเวลา คณะทางานได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากชุมชน มีการประชุม ปรึกษาหารือเป็นระยะ ทั้งยังประเมินผลการทางานอย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมกันแก้ไขในสิ่งที่ยังไม่สมบูรณ์ แต่ ละโครงการมีแนวทางการดาเนินงานและอาจต้องเผชิญปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นเป็นธรรมดา เช่น ความคลาดเคลื่อนของเวลาในการปฏิบัติ หรือปัญหาดินฟ้าอากาศ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้แต่ไม่เกิดผล เสียหายต่อโครงการที่ปฏิบัติ เพราะที่สุด ทุกโครงการก็เดินทางถึงเป้าหมายที่กาหนดด้วยความภาคภูมิใจ ผลที่ได้ เมื่อเราเดินทางมาถึงจุดหมายอันเป็นความสาเร็จของโครงการ พวกเราเห็นภาพความเป็นครอบครัว ใหญ่ที่อบอุ่นเอื้ออาทรแบ่งปันรักและห่วงใยกันอยู่ในงานที่สาเร็จสวยงามของพวกเรา ความประทับใจใน ความร่วมมือของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทาให้มองเห็นพลังอันยิ่งใหญ่ในการสร้างสรรค์เยาวชน และสังคม เมื่อโครงการสิ้นสุดลง ได้มีกาตรวจสอบความสาเร็จ พบว่า ได้ตอบสนองตัวชี้วัดที่เราตังไว้ คือมี หลักสูตรท้องถิ่น 14 หลักสูตร จาก 5 โครงการ ชุมชน 18 ตาบลให้ความร่วมมือในการดาเนินกิจกรรมทุก กิจกรรมและให้การยอมรับสนับสนุน เยาวชนมีจิตสานึกในการรักอาชีพท้องถิ่นมากกว่าร้อยละ 80 ของ ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม อีกทั้งยังเกิดการเรียนรู้วิถีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และอีกหลายครอบครัวที่ยังนาความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติต่อที่บ้านจนเกิดเป็นอาชีพ เสริม เพิ่มขึ้นได้อีกทางหนึ่ง และสุดท้ายได้ถอดบทเรียนของโครงการ 5 บทเรียน ปัจจัยความสาเร็จ การทางานใดๆ ก็ตามปัจจัยที่จะทาให้งานนั้นสาเร็จ เราเชื่อว่าต้องมี ขวัญกาลังใจจากผู้ที่เกี่ยวของ และการทางานเป็นทีมอย่างมีระบบ ตามวงจร PDCA เริ่มจาก วางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบ ประเมิน ซึ่ง โรงเรียนบ้านลาดวิทยาโดยคณะทางานได้ดาเนินการตามวิธีนี้จนเสร็จสิ้นโครงการ โดย ด้านครูในโรงเรียน : มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวิธีการทาหลักสูตรท้องถิ่นมากขึ้น และสามารถที่จะนาไป จัดทาเป็นหลักสูตรท้องถิ่นในเรื่องอื่นๆได้ด้วยความเข้าใจและมั่นใจ ด้านนักเรียน : มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่การทางานเป็นกลุ่ม เป็นทีม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
อีกทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่นักเรียนร่วม กิจกรรมสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนั้นยังสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ เป็นอาชีพเสริมที่บ้านของนักเรียนโดยผู้ปกครองให้กาสนับสนุน ด้านโรงเรียน : ได้รับการยอมรับของชุมชนและได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ ทากิจกรรมทั้ง 14 กิจกรรมเป็นอย่างดี ทั้งยังให้ความอนุเคราะห์ว่า ถ้าทางโรงเรียน ต้องการทากิจกรรมต่อเนื่อง ยินดีให้ความร่วมมือ ด้านชุมชน : ชุมชนยอมรับในความเป็นโรงเรียนบ้านลาดวิทยามากขึ้น และยินดีให้ความร่วมมือกับ ทางโรงเรียนตลอดเวลา ทั้งยังต้องการให้ทางโรงเรียนทากิจกรรมต่อเนื่อง ในด้าน ศิลปวัฒนธรรม เช่น ละครชาตรี ที่กาลังจะสูญหาย หรือประเพณีสลากภัต จึงทาให้เรามองเห็นอนาคตที่มีเส้นทางสว่างไสวอีกยาวไกล.............ขอบคุณที่ทาให้ทุกคนได้มีโอกาสทาสิ่ง ดีๆร่วมกัน…….
ตอนที่5 สรุปบทเรียนจากการดาเนินโครงการ โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนา การศึกษาด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย” เป็นแนวทางการดาเนินงานตามโครงการ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ตามความหลากหลาย ของบริบทในชุมชน มีกิจกรรม 5 โครงการ คือ 1)โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 2)โครงการ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 3) โครงการส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 4) โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 5) ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและปลูกจิตสานึกให้เยาวชนบ้านลาดมีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อขยายผล ด้านความเป็นไทยและการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากเยาวชนสู่ ครอบครัวชุมชนคนบ้านลาด 3. ถอดบทเรียนของระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทย โดยใช้ชุมชนเป็นฐานตาม โครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้น โดยมีเป้าหมายขอความสาเร็จ คือ นักเรียนในสถานศึกษา เยาวชน และประชาชนในชุมชน ที่เข้า ร่วมโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาตามช่วงวัย มีสุขภาพกาย แข็งแรงขึ้น มีแนวโน้ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล้องกับโครงการ สูงขึ้น และมีการจัดกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน
ถอดบทเรียน 1. “โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก” 1. ความเป็นมาของโครงการ การแสดงพื้นบ้านเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สะท้อนวิถีชีวิตของชุมชนแสดงให้เห็นถึง อัตลักษณ์ของท้องถิ่นที่แตกต่างกัน กลองยาวลิเกเป็นการแสดงพื้นบ้านประจาถิ่นของอาเภอบ้านลาด แตกต่างจากการแสดงกลองยาวทั่วไป ถือเป็นสมบัติอันล้าค่าของท้องถิ่นที่ดารงให้คงอยู่และสืบสานต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจความเป็นมาและลักษณะของกลองยาวลิเก 2. เพื่อให้ผู้เรียนแสดงกลองยาวลิเกได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้และทักษะการแสดงกลองยาวลิเกไปใช้ประกอบอาชีพ หรือเป็นรายได้เสริมได้ 4. เพื่อให้ผู้เรียนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการแสดงกลองยาวลิเกของ อาเภอบ้านลาด 3. วิธีการดาเนินงาน ดาเนินการโดยแบ่งออกเป็นภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ โดยความร่วมมือของศิลปินพื้นบ้านเป็นผู้ ถ่ายทอดความรู้ให้ ดังนี้ ภาคทฤษฎี เรียนรู้ที่แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาโดยใช้ศูนย์วัฒนธรรมโรงเรียนบ้านลาดวิทยาเป็นที่ศึกษา เรียนรู้โดยและศิลปินพื้นบ้านเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ภาคปฏิบัติ เรียนรู้ที่แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นที่บ้านระหารน้อยโดยศิลปินพื้นบ้าน กลองยาวลิเก นายบุญส่ง วิจารณ์ นางพุทธชาด ชื่นฉ่า กิจกรรมการเรียนรู้ 1. เรียนรู้ภาคทฤษฎีศึกษาความรู้เรื่องประวัติความเป็นมา 2. เรียนรู้ภาคปฏิบัติ ศึกษาวิธีแสดงกลองยาวลิเกฝึกปฏิบัติ และจัดการแสดงเผยแพร่สู่ชุมชน 3. เรียนรู้การตลาด อัตราค่าแสดง แหล่งประกอบอาชีพ
4. ผลการดาเนินงาน ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี ทาให้โครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ 5. ประโยชน์ที่ได้รับ 1. สถานศึกษากับชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่ง 2. คนในท้องถิ่นได้สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแสดงพื้นบ้าน 3. สร้างรายได้เสริมให้คนในชุมชน โดยการแสดงกลองยาวลิเก 6. ปัจจัยที่เกื้อหนุนหรือปัจจัยแห่งความสาเร็จ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงาน พลังชุมชน มีส่วนสาคัญอย่างยิ่งในการผลักดันให้การดาเนินงานโครงการประสบความสาเร็จ สร้างการศึกษารูปแบบที่ให้ความสาคัญกับการทางานแบบมีส่วนร่วม ทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่มีศักยภาพ และอานวยประโยชน์ในการดาเนินชีวิตตามวิถีชุมชน 7. แนวคิดในการพัฒนา การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน ปีการศึกษาต่อไป สานต่อโดยขยายเครือข่ายจากรุ่นสู่รุ่น เน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้และสร้างรายได้ โดยเน้นให้เกิดความยั่งยืน
ถอดบทเรียน 2. โครงการ “การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)” 1. ความเป็นมาของโครงการ ปัจจุบันอาชีพของชุมชนคนบ้านลาด ร้อยละ 80 ของประชากรที่ประกอบอาชีพทางการ เกษตร เช่น การทานา ทาไร่ทาสวนและค้าขายพืชไร่ ได้แก่ ชมพู่ มะนาว ละมุด กล้วยและการทา ตาลโตนด สาหรับอาชีพทาตาลโตนด นับวันจะเหลือการทาน้อยลง เพราะปัจจุปันมีการทานาปีมาก ขึ้นเป็นปีละ 2 ครั้ง ทาให้ชุมชนไม่มีเวลาที่จะทาอาชีพตาลโตนดมากนัก ประกอบกับต้นตาลมีจานวน ลดน้อยลง เพราะตาลต้นถึกถูกนาไปปลูกสิ่งก่อสร้าง หรือประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือนที่ เอื้อประโยชน์ต่อการดารงชีพมากมาย ทาให้เศรษฐกิจของครอบครัวเพิ่มขึ้น อีกทั้งเยาวชนคนรุ่นใหม่ ขาดการสนใจในอาชีพดั้งเดิมของท้องถิ่น หันไปนิยมเทคโนโลยีสมัยใหม่ ไม่เห็นคุณค่าความสาคัญ จึงเห็นสมควรให้มีการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนด ให้อยู่คู่กับคนบ้านลาดสืบไป 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อปลูกฝังให้เยาชนคนบ้าลาดมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพท้องถิ่น 2. เพื่อการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให้เป็นวิถีชีวิตของคนบ้านลาดสืบไป 3. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนหรือชุมชนสามรถสร้างอาชีพต่างๆจากตาลโตนดได้อย่าง หลากหลาย 4. เพื่อส่งเสริมการเพิ่มรายได้ของครอบครัว โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคู่คนบ้านลาด 5. เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านความซื่อสัตย์สุจริต ความมีวินัยใฝ่เรียนรู้ อยู่ อย่างพอเพียงมีความมุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ให้เกิดกับ ผู้เรียน และชุมชนเป็นชุมชนที่เข้มแข็งต่อไปในอนาคต 3. วิธีการดาเนินงาน 1. ประชุมวางแผนและเตรียมการ 1) ครูและนักเรียนกลุ่มเป้าหมายศึกษาทาความเข้าใจการทาโครงการ 2) ครู/นักเรียน/ผู้นาในชุมชน กาหนดแผนปฏิบัติการโดยจัดทาหลักสูตรท้องถิ่น ร่วมกัน 3) นักเรียนกลุ่มสนใจจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติงาน 4) ดาเนินการตามแผน
5) ครูและนักเรียนประเมิน/ปรับปรุงผลงานร่วมกัน 6) นักเรียนจัดทารายงานฉบับสมบูรณ์ 7) จัดแสดงผลงาน/นาเสนอผลงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. วิธีการและนวัตกรรมที่ใช้ โครงงานทดลองเป็นสื่อเพื่อนาไปสู่การแสวงหาความรู้จาก ประสบการณ์จริงและเสริมสร้างความรู้โดยใช้ครูท้องถิ่น/ผู้นาในชุมชน 1) ตั้งประเด็นที่จะศึกษาใน 3 เรื่องได้แก่ องค์ความรู้ของตาลโตนด ปัจจัยที่ส่งผลผลิต ความหวานของน้าตาลโตนด คือการทดลองดินพื้นบ้าน อาชีพที่เกี่ยวข้องกับตาลโตนดและการทดลองทา น้าเคลือบจากขี้เถ้าจากตาลโตนด 2) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3) กาหนดขอบเขตของการทดลอง (เป็นการทดลองละ 1 ภาคเรียน) 4) ทาการศึกษา/ทดลอง 5) นาผลการทดลองมาวิเคราะห์ 6) สรุปผลการทดลอง 7) รายงานผลการทดลอง 4. ผลการดาเนินงาน จากการทดลองใช้หลักสูตรท้องถิ่นในการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) พบว่า 1. ผู้เรียนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการทาอาชีพตาลโตนดมากขึ้น 2. ผู้เรียนร้อยละ 90 มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพที่เกี่ยวข้องกับการทาตาลโตนด 3. ผู้เรียนสามารถสร้างอาชีพที่เกี่ยวข้องกับตาลโตนดได้อย่างหลากหลาย โดยมีส่วนร่วมกับ ชุมชนในการอนุรักษ์อาชีพที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นได้อย่างคงทนถาวร 4. นักเรียนมีความขยัน อดทน ใฝ่เรียนใฝ่รู้ และมีส่วนร่วมกับชุมชนในการสร้างรายได้จากอาชีพ ที่เป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมของท้องถิ่น ทาให้เป็นชุมชนที่เข็มแข็งและห่างไกลยาเสพติด 5. สามารถประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวได้ 5. ประโยชน์ที่ได้รับ นักเรียน เห็นค่าความสาคัญของอาชีพท้องถิ่น สามารถอนุรักษ์เพื่อความยั่งยืน พึ่งพาตนเองได้ และมีอาชีพที่เป็นอิสระสามารถสร้างรายได้ในครัวเรือนเพิ่มขึ้นได้ ครู มีความรู้และแนวคิดใหม่ๆเพิ่มขึ้น สาหรับพัฒนาศักยภาพตนเอง ผู้เรียนและสถานศึกษา โรงเรียน สามารถพัฒนาคุณลักษณะอ้นพึงประสงค์ของผู้เรียนได้ร้อยละ 100 `% เพราะใช้ หลักสูตรท้องถิ่นเรื่องตาลโตนดเป็นสื่อกลาง ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นเพราะจัดการศึกษา
แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน ชุมชน เป็นชุมชนที่เข็มแข็งมีลักษณะเป็นของตนเอง มีรายได้เพิ่มขึ้นและห่างไกลยาเสพติด
6. ปัจจัยที่เกื้อหนุนหรือปัจจัยแห่งความสาเร็จ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการดาเนินงานตามขั้นตอนของการใช้หลักสูตรท้องถิ่น(ฉบับ เร่งรัด) เรื่องการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่น(ตาลโตนด) ในรายวิชาเครื่องปั้นดินเผา โดยใช้กลุ่มทดลอง เป็น นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่. 5 จานวน 20 คน ใช้เวลาในการทดลอง 1 ปีการศึกษา ครูผู้สอน มีส่วนสาคัญอย่างยิ่งในการผลักดันให้การดาเนินงานโครงงานของนักเรียนประสบ ความสาเร็จ ตัวผู้เรียน มีส่วนสาคัญในการดาเนินงานโครงงานให้ประสบความสาเร็จ ซึ่งนักเรียนต้องมีทักษะ ในการวางแผนการทางานทักษะกระบวนการกลุ่ม ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะในการเสาะแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง ทักษะการคิด และมีทักษะในการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมีความสุข ผู้บริหาร/นโยบายของโรงเรียน/องค์กรที่เกี๋ยวข้อง มีส่วนในการสนับสนุน ส่งเสริมด้านการ ดาเนินงาน การประสานสัมพันธ์ ตลอดจนงบประมาณที่นามาใช้ในการดาเนินโครงงานของครูและนักเรียน ผู้ปกครอง/ชุมชน/องค์กรทีเกี่ยวข้อง มีส่วนในการให้การสนับสนุน ส่งเสริมนักเรียนใน การปฏิบัติงานในภาคสนาม ตลอดจนนาผลการทดลองไปใช้ในท้องถิ่นต่อไป 7. แนวคิดในการพัฒนา การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน ปีการศึกษาต่อไป 1. พัฒนารูปแบบชิ้นงานเครื่องปั้นดินเผาโดยใช้ดินพื้นบ้านเขตอาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ให้มีเอกลักษณ์ที่เป็นของตนเองสอดคล้องกับตาลโตนด 2. พัฒนาเทคนิคการเคลือบตาลโตนด เพื่อให้เป็นผลงานเครื่องปั้นดินเผาที่มีคุณค่าโดดเด่น ของท้องถิ่นต่อไป 3. พัฒนาเทคนิคการเขียนลวดลายเครื่องปั้นดินเผาด้วยสีจากตาลโตนด
ถอดบทเรียน 3. “โครงการ ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด” 1. ความเป็นมา สังคมอาเภอบ้านลาด ในปัจจุบันกาลังเปลี่ยนแปลงไปจากสังคมชนบทสู่สังคมเมือง อาชีพดั้งเดิมที่ เป็นเกษตรกรรม เปลี่ยนเป็นค้าขาย รับจ้าง และไปทางานในโรงงานอุตสาหกรรมในต่างจังหวัดมากขึ้น ประชาชนส่วนใหญ่จึงมีวิถีชีวิตที่รีบเร่ง ทาให้บุคคลในครอบครัวไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน ยังผลให้สถาบันครอบครัวไม่เข้มแข็ง ก่อให้เกิดปัญหาหลายๆ ด้าน เช่น ปัญหาด้านยาเสพติด ปัญหาเรื่อง การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการบริโภค เยาวชนส่วนใหญ่น้าหนักตัวเกิน เกิดโรค อ้วนและโรคเรื้อรังต่างๆ เร็วขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัวให้เข้มแข็ง 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีในภาคีเครือข่าย 3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันปัญหาสังคมให้แก่เยาวชนในชุมชนบ้านลาด 4. เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็ง 3. วิธีการดาเนินโครงการ 1. สารวจข้อมูลพื้นฐานสภาพครอบครัว และรับสมัครสมาชิก เข้าร่วมกิจกรรม 40 ครอบครัว 2. จัดกิจกรรมตามหลักสูตร 2.1 อบรมให้ความรู้ด้านการดารงชีวิตของครอบครัว การได้รับการศึกษา การรักษาสุขภาพ การครองคู่ 2.2 ร่วมกิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ 5 ฐาน - ครอบครัวรักการอ่าน ให้นักเรียนและผู้ปกครองร่วมเลือกหนังสือที่จะอ่านร่วมกัน ร่วม สรุป สาระจาการอ่าน ประโยชน์/ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน - ครอบครัวฮูลาฮูบ ก่อนเริ่มกิจกรรมให้นักเรียนและครอบครัว ตรวจสุขภาพ ชั่งน้าหนัก วัดรอบเอว เรียนรู้วิธีการออกกาลัง ฝึกปฏิบัติ จัดการแข่งขัน โดยมีกติกาว่า สุขภาพดี ขึ้นเต้นนาน น้าหนักลด รอบเอวลด - ครอบครัว บวร แต่ละครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน เช่น กิจกรรมหิ้วปิงนโตไปวัด พบพระเวลาเพล ตักบาตรในวันสาคัญร่วมกับนักเรียนที่โรงเรียน - ครอบครัวปันรัก เชิญชวน ครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมบ้านแม่วัยใส (เด็กวัยรุ่นที่ มีบุตรก่อนวัยที่ควร) เพื่อให้ความรู้ในการดารงชีวิต การเลี้ยงดูให้การอบรมบุตรที่ถูก วิธีและให้กาลังใจ อีก
ทั้งได้พบเห็นครอบครัวที่มีคนแก่เจ็บป่วยที่ได้รับการดูแบไม่ค่อยดีเท่าไร จึงติดต่อประสานงานกับ สาธรณสุขอาเภอและโรงพยาบาลบ้านลาดไปดูแลครอบครัวเหล่านั้น - ครอบครัวสัญจร ครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมเยียน แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ อบรม เลี้ยงดูบุตรและการเป็นครอบครัวที่อบอุ่น 3. ประเมินผล ดูจากการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ด้านการอ่าน การออกกาลังกาย การทากิจกรรม ร่วมกันระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และวิธีการอบรมเลี้ยงดูบุตรที่ดีขึ้น 4. สรุปและรายงานผล ลักษณะกิจกรรม อบรมให้ความรู้ ฝึกปฏิบัติ ร่วมกับกับชุมชน กิจกรรม ลักษณะกิจกรรม ครอบครัว รักการอ่าน นักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันเลือกหนังสือที่จะอ่าน ร่วมกันสรุป สาระสาคัญและการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เดือนละ 1 เล่ม ครอบครัว ฮูลาฮูป ครอบครัวและนักเรียนชั่งน้าหนัก วัดรอบเอว เรียนรู้วิธีออกกาลังกาย ฝึกปฏิบัติ จัดแข่งขัน ฮูลาฮูป ครอบครัว บวร ครอบครัว นักเรียน โรงเรียน ร่วมกันจัดกิจกรรม หิ้วปิงนโตไปวัด ตัก บาตรเนื่องในวันสาคัญต่าง ๆ นักเรียนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติพิธีการ ทางศาสนาพุทธ ครอบครัว ปันรัก เชิญชวนครอบครัว ร่วมกันช่วยเหลือดูแล ครอบครัวที่ควรได้รับการ ช่วยเหลือ โดยอบรมให้ความรู้การดูแลผู้ป่วย ผู้พิการ ผู้สูงวัย และ การให้กาลังใจ ครอบครัว บ้านลาดสัญจรพบ โรงเรียนเยี่ยมบ้านนักเรียน ร่วมกับชุมชน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผู้ปกครองยามเย็น การเลี้ยงดูบุตร เพื่อให้เป็นครอบครัวที่อบอุ่น 4. ผลที่ได้รับ สถาบันครอบครัวของชุมชนบ้านลาดที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้มแข็งขึ้น ภาคีเครือข่ายของ โรงเรียนได้รู้และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาครอบครัวของชุมชนบ้านลาด ทาให้เยาวชนมีทักษะชีวิตที่ดี ขึ้นเกิน ร้อยละ 80 5. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ความร่วมมือร่วมใจในการทางานโดยสานสัมพันธ์ในชุมชน 6. การนาผลที่ได้รับไปดาเนินการต่อไป
พัฒนาให้เป็นโครงการต่อเนื่อง สนับสนุนให้เกิดเครือข่ายครู – พ่อแม่ ชุมชน ในแต่ละโรงเรียนให้ มากที่สุด เพื่อเป็นกลไกในการดูแล เฝ้าระวัง สารวจ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาเด็ก เยาวชนและครอบครัวได้ อย่างเข้าถึงและ ทันเหตุการณ์ ถอดบทเรียน 4. “โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะ” 1. ความเป็นมาของโครงการ สภาพสังคมปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต ด้วยความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทาให้วิถีการ ดาเนินชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปยึดติดกับวัตถุ จึงไม่ค่อยมีคนให้ความสนใจในองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ต่างๆ เช่น การดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร เป็นต้น ซึ่งพื้นที่อาเภอบ้านลาดนั้นส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ทาง การเกษตรและมีสภาพแวดล้อมที่ห่างไกลจากมลพิษและมีทรัพยากรที่สาคัญ ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรบุคคล ทั้งปราชญ์ชาวบ้าน หมอพื้นบ้าน หรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งหากมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ก็จะช่วยให้คนในท้องถิ่นเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น และยังเป็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน นามาสู่การดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว โดยจะเป็นพื้นฐานใน การริเริ่มสร้างสรรค์และพัฒนาสังคมให้เห็นคุณค่าของท้องถิ่นต่อไป องค์กรชุมชนในอาเภอบ้านลาด เล็งเห็นความสาคัญของการสร้างกระบวนการเรียนรู้โดยนาพลัง ปัญญาที่มีอยู่ในวิถีการดาเนินชีวิตของประชาชนในพื้นที่อาเภอบ้านลาด โดยนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงได้ มีการจัดทาโครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี โดยประสานพลังปัญญากับทาง โรงเรียนบ้านลาดวิทยา อาเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี มุ่งสู่เด็กนักเรียนและเยาวชน ซึ่งเป็นพลังสาคัญใน การพัฒนาชุมชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเป็นการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับคนในท้องถิ่นและ จะนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีต่อไป 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.เพื่อพัฒนาและปลูกจิตสานึกให้เยาวชนบ้านลาดเป็นผู้บริโภคที่มีการบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ใน ท้องถิ่นที่ดี 2.เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ในท้องถิ่น ที่ดี 3.เพื่อนาทักษะการบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ในท้องถิ่นไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 3. วิธีการดาเนินงาน 1. ประชุมวางแผนและเตรียมการ 1) ครูและนักเรียนกลุ่มเป้าหมายศึกษาทาความเข้าใจการทาโครงการ 2) ครู/นักเรียน/ผู้นาในชุมชนกาหนดแผนปฏิบัติการ 3) ดาเนินการตามแผน
4) ครูและนักเรียนประเมิน/ปรับปรุงผลงานร่วมกัน 2. ปฏิบัติการตามแผน โดยจัดทาค่ายกาจัดขยะเพื่อสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การผลิตปุ๋ยหมัก/ชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น และศึกษาดูงานประโยชน์ของพืชพรรณใน ท้องถิ่นได้รับความรู้และทักษะการทาน้าส้มควันไม้ การทาสารจับใบจากต้นขี้เหม็น (พืชท้องถิ่น) 3. ประเมินผลการดาเนินงาน 4. ผลการดาเนินงาน จากการดาเนินการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะ พบว่า 1. การจัดทาค่ายกาจัดขยะให้กับนักเรียน และเยาวชนในท้องถิ่นทาให้มีจิตสานึกเป็นผู้บริโภคที่มี การบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ในท้องถิ่นที่ดี 2. นักเรียน และเยาวชนในท้องถิ่นมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการบริหารจัดการสิ่งเหลือ ใช้ในท้องถิ่นที่ดี 3. นักเรียน และเยาวชนในท้องถิ่นมีทักษะการบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ในท้องถิ่นไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวันได้ 5. ปัจจัยความสาเร็จ นักเรียน เห็นคุณค่าถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น สามารถอนุรักษ์เพื่อความยั่งยืน พึ่งพาตนเองได้ ครู มีความรู้และแนวคิดใหม่ๆ เพิ่มขึ้น สาหรับพัฒนาศักยภาพตนเอง ผู้เรียน สถานศึกษาและการ อยู่ร่วมกับชุมชน โรงเรียน สามารถพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนโดยจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมกับ ชุมชน ชุมชน เป็นชุมชนที่เข็มแข็งมีสภาพแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง 6. แนวคิดในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะในปีการศึกษาต่อไป พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมให้บุคคลากรในสถานศึกษาและชุมชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง
ถอดบทเรียน 5. “โครงการยุวเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง” 1. ความเป็นมา โรงเรียนบ้านลาดวิทยาเป็นสถานศึกษาแบบอย่างพอเพียง โดยนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต ซึ่งสอดคล้องกับการดารงชีวิตของนักเรียนและชุมชนที่มีอาชีพส่วนใหญ่ ด้านเกษตรกรรม ดังนั้นเพื่อให้การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาลงสู่การปฎิบัติได้อย่าง เป็นรูปธรรม โรงเรียนจึงได้สานต่อกิจกรรมโดยการจัดโครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริ ของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในอาชีพเกษตรกรรม เห็นคุณค่า และความสาคัญของ อาชีพเกษตรกรรม ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทย 2. จุดประสงค์ของกิจรรม เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้านการเกษตร สามารถนาความรู้มาใช้ในกรพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนเอง และขยายผลไปสู่ครอบครัว และชุมชนสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ ระหว่างโรงเรียน และชุมชนส่งเสริมการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายระหว่างเรียนของนักเรียน เป็นการสร้างความ เข้มแข็งด้านเศรษฐกิจให้กับครอบครัวและสร้างจิตสานึกที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรมอันเป็นอาชีพหลักของคน ไทย 3. วิธีดาเนินการ จัดประชุมเวทีระดมสมองจากปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนมี 4 กิจกรรม คือ การเลี้ยงไก่พื้นเมือง(ไก่พื้นบ้าน) การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ การเลี้ยงปลาดุก การขยายพันธุ์พืชปลูกผักสวน ครัวรั้วกินได้ หลังจากนั้นจึงจัดอบรมให้ความรู้ นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ”ยุวเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง” จานวน 50 คน โดยผู้ปกครองเข้ารับการอบรมร่วมกับนักเรียน และศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเพชรบุรี นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ โดยให้นักเรียนนาความรู้ไปใช้ในการ ประกอบอาชีพที่บ้านของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ พร้อมมีการติดตามผลการดาเนินกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรม เลี้ยงไก่พื้นบ้าน ลักษณะของกิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ และมอบพันธุ์ไก่ไปให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยง เมื่อไก่ขยายพันธุ์มีลูกแล้ว จะต้องคืนแม่พันธุ์เพื่อนาไปให้นักเรียนคนอื่นเลี้ยงอีก กิจกรรม เลี้ยงปลาดุก ลักษณะของกิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ และมอบพันธุ์ปลาไปให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยง เมื่อ เพื่อขยายพันธุ์ปลาได้แล้ว นักเรียนจะต้องมอบพันธุ์ปลาให้กับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการนาไปเลี้ยงต่อ
กิจกรรมการทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ลักษณะของกิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ และให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการทาน้าหมักชีวภาพ นักเรียนสามารถนาน้าหมักชีวภาพไปใช้ในการรดน้าผักไล่แมลง บูรณาการกับกลุ่มปลูกพืชผักสวนครัว ปลอดสารพิษ กิจกรรมการขยายพันธุ์พืชปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ ลักษณะของกิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้ และให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจัดอบรมให้ความรู้ และให้ นักเรียนลงมือปฏิบัติในคาบเรียนวิชาเพิ่มเติม คือวิชาเศรษฐกิจพอเพียง โดยนามาบูรณาการการจัดการเรียน การสอน เช่น การปลูกดอกดาวเรือง การปลูกดอกทานตะวัน 4. ผลที่ได้รับ นักเรียนสามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนาไปสู่การปฏิบัติในด้านการเกษตร เพื่อเป็น ยุวเกษตรกรที่ดี ในการบริหารจัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดผู้ปกครองมีความรู้ในการจัดการ ความรู้เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งจะส่งผลทาให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น และมีความยั่งยืนจากการนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ เป็นการสร้างความเข้มแข็งในชุมชน โดยมีชุมชน ปราชญ์ท้องถิ่น ให้การสนับสนุนในการดาเนินกิจกรรม 5. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ เป็นการศึกษาที่เหมาะสมกับวิถีชุมชน ปฏิบัติจากสิ่งใกล้ตัว และเป็นประโยชน์ในการดาเนินชีวิต 6. การนาผลที่ได้ไปดาเนินการต่อไป ควรมีการดาเนินกิจกรรมให้ต่อเนื่อง เนื่องจากเป็นโครงการที่ดี ที่ชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียน เห็นความสาคัญ ในการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมา พัฒนาตนเองและสังคมในมีความเข้มแข็งทั้งต้นทุนด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านจิตใจ
บทสรุปส่งท้ายบทเรียนจากการดาเนินโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” เมื่อสิ้นสุดโครงการ/กิจกกรมทั้ง 5 โครงการ (14 กิจกรรม) ฝ่ายบริหารและคณะทางานได้ร่วม ประชุม ระดมสมองสรุปงานในประเด็น 1) ความคาดหวังก่อนดาเนินโครงการ/กิจกรรม 2) ความคาดหวังหลังดาเนินโครงการ/กิจกรรม 3) ปัญหาอุปสรรค/วิธีการแก้ปัญหา ในระหว่างดาเนินโครงการและกิจกรรม 4) สิ่งที่เรียนรู้จากกิจกรรมและสิ่งที่ประทับใจ ซึ่งสรุปได้ดังนี้ ปัจจัยความสาเร็จของทั้ง 5 โครงการและปัจจัยที่ทาให้โครงการ ขับเคลื่อนและปัญหาอุปสรรค การเรียนรู้/ดาเนินโครงการ เป็นไปตามเป้าหมายปัญหาอุปสรรคที่เกิดเป็นเพียงเรื่องเล็กๆน้อยๆ เนื่องจาก ผู้ร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นเยาวชน บางกลุ่มต้องใช้เวลาศึกษาเรียนรู้ในวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ หรือ หลังเลิกเรียนในเวลาปกติ แต่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขไปเฉพาะกรณีได้ เนื่องจากทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็น ภูมิปัญญาในท้องถิ่นที่แบ่งปันเวลาในการประกอบสัมมาอาชีพมาถ่ายทอดความรู้ให้เยาวชนและผู้สนใจ ผู้ปกครองที่มองเห็นประโยชน์จากการให้ลูกหลานเข้าร่วมโครงการ ตลอดจนพลังสนับสนุนจากอีกหลาย ฝ่ายทาให้โครงการดาเนินไปตามที่ตั้งเป้าหมายเกิดผลที่น่าภาคภูมิใจ ปัจจัยความสาเร็จ/ปัจจัยที่ทาให้โครงการขับเคลื่อน 1. พลังชุมชน ด้วยบริบทของชุมชน คนอาเภอบ้านลาดอยู่แบบสังคมบ้าน ไม่ใช่สังคมหรูหรา ฟุ้งเฟ้อแบบสังคมเมือง ส่วนใหญ่ มีอาชีพเป็นเกษตรกร จึงมีฐานะปานกลางพออยู่พอกิน ดังนั้นถ้าพูดถึงพลัง ทรัพย์คงลาบากแต่ที่ทดแทนได้มากมายมหาศาลคือพลังกายพลังใจ ความร่วมมือร่วมใจในการดาเนินงาน จากพลังชุมชนด้วยจิตอาสา สอดคล้องกับรูปแบบของโครงการ ทาให้การดาเนินงานทุกอย่างราบรื่นจน ประสบผลสาเร็จ 2. ผู้นาชุมชน อาเภอบ้านลาดมีผู้นาชุมชนที่เข้มแข็งด้วยสโลแกนว่า บ้านลาดบ้านเรา จากชีวิต ความเป็นอยู่แบบสังคมบ้าน จึงอยู่แบบถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน อีกทั้งหน่วยงานต่างๆก็เป็นเครือข่ายในการ ทางานร่วมกัน เกิดการทางานแบบร่วมมือร่วมใจให้ข้อคิดคาแนะนาและการช่วยเหลือ ทาให้เกิดพลัง ขับเคลื่อนให้โครงการสาเร็จลุล่วงด้วยดี 3. เครือข่ายในชุมชน อาเภอบ้านลาดเป็นอาเภอเล็กๆทาให้หน่วยงานต่างๆมีความสัมพันธ์ที่ดี
ต่อกันให้ความร่วมมือในการทางานซึ่งกันและกันแบบถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน ด้วยเหตุนี้ทุกหน่วยงานจึงเป็น เครือข่ายในชุมชนที่มีศักยภาพสูง ไม่ว่าจะเป็นองค์กรหน่วยงานของรัฐ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล โรงเรียน โรงพยาบาล วัด รัฐวิสาหกิจชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน กลุ่มจิตอาสา ฯลฯ พลังเครือข่ายชุมชนคือ ส่วนหนึ่งของปัจจัยแห่งความสาเร็จของโครงการ และท้ายที่สุด คณะทางานต้องขอขอบพระคุณ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดร,พิณสุดา สิริธรังศรี ผู้จัดการโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) และที่สาคัญ รศ.ดร.ศิริพร แย้มนิล มหาวิทยาลัยมหิดล ที่เป็นที่ปรึกษาระดับภาคกลาง ที่เป็นผู้ให้กาลังใจและความรู้ เริ่มตั้งแต่การทาประชาคม เป็นอย่างไร หมายความว่าอย่างไร มีวิธีทาอย่างไร จนพวกเราสามารถดาเนินการได้อย่างมีระบบ มีการ วางแผนตรวจสอบ ประเมินผลการดาเนินงานอยู่ตลอดเวลา และมีการรายงาน รวมทั้งจัดหาผู้เชี่ยวชาญด้าน วิชาการมาให้ความรู้ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับภาคกลาง ทาให้เรามีโอกาสเห็นการทางานของ ชุมชนอื่นๆ สามารถนามาปรับใช้ในโครงการของเราได้เป็นอย่างดี ด้านการถอดบทเรียนซึ่งเป็นหน้าที่หลัก ของโครงการ พวกเราไม่ทราบว่าการถอดบทเรียนเป็นอย่าง ต้องเขียนอย่างไร ท่านที่ปรึกษาภาค ก็ ดาเนินการหาวิทยากรที่เชี่ยวชาญ มาให้ความรู้และตรวจสอบความถูกต้อง และอีกเรื่อง ที่สาคัญคือขวัญและ กาลังใจ บางครั้งถึงเวลาที่ต้อง รายงานงวด แต่งานประจาที่โรงเรียนเรามาก ทาให้ส่งงานไม่ทัน ท้อ อยาก ทางานส่งๆเพื่อให้แล้วเสร็จโดยไม่สนใจคุณภาพ แต่ท่านก็ให้กาลังใจตลอดมา จนพวกเราทาอย่างประสบ ความสาเร็จด้วยคุณภาพ และขอขอบพระคุณท่าน รศ.ดร.ศิริพร แย้มนิล อีกครั้ง ที่สามารถให้ความรู้ ความ เข้าใจ กาลังใจ จน โรงเรียนบ้านลาดวิทยา ได้รับรางวัล “องค์กรการจัดการศึกษาดีเด่นในโครงการนาร่อง การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ดีเด่น ระดับ ภาค”
คณะทางาน นางพรรณี เทพสูตร นางยุพา กสิรักษ์ และคณะทางาน นางสุภานันท์ ชาติน้าเพชรและคณะทางาน นางขวัญตา นาครักษาและคณะทางาน นางสาววไลลักษณ์ พัสดร และคณะทางาน นายชูเกียรติ เกษดี และคณะทางาน