ถอดบทเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ ปศท.๒

Page 1

รายงานการถอดบทเรียน โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท. ๒) พื้นที่จังหวัดพัทลุง เมษายน ๒๕๕๔ – มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕

โดยความร่วมมือของ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)


คานา รายงานการถอดบทเรียนโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรใน ชุมชน เล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการดาเนินงานจากการนิเทศ ติดตามและประเมินผลใน พื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง จานวน ๔ องค์กร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนวัดบ้านสวน อาเภอ เมืองพัทลุง โรงเรีย นบ้านระหว่างควน อาเภอควนขนุน ชุมชนวัดป่าบอนต่า อาเภอป่าบอน และวัดลอน อาเภอบางแก้ว ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และสานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีสาระสาคัญประกอบด้วย ส่วนที่ ๑ ข้อมูล พื้นฐานและบริบท สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ ส่วนที่ ๒ สาระสาคัญ ของโครงการที่ดาเนินการ ส่วนที่ ๓ การบริหารจัดการ / ดาเนินการ ส่วนที่ ๔ เครือข่ายการ ดาเนินงานและความร่วมมือ และส่วนที่ ๕ บทสรุป เพื่อความสะดวกสาหรับผู้สนใจที่จะศึกษา แนวทางการดาเนินงาน ขยายผลการจัดการศึกษาในแต่ละบริบท และพัฒนาโครงการขององค์กร หน่วยงานอื่นๆ และนาข้อมูลพื้นฐานไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินงานในโอกาสต่อไป ขอขอบคุณ องค์กรอานวยการวิชาการกลาง องค์กรวิชาการระดับภาค องค์กรทุก หน่วยที่เข้าร่วมโครงการฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ช่วยกันขับเคลื่อน ร่วม แรงร่วมใจในการดาเนินงานจนสาเร็จลุล่วงด้วยดีทุกประการ

คณะทางานโครงการฯ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ พื้นที่จังหวัดพัทลุง


สารบัญ เรื่อง ส่วนที่ ๑

ส่วนที่ ๒

ส่วนที่ ๓

ส่วนที่ ๔

หน้า ข้อมูลพื้นฐานและบริบท สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ สถานที่ตั้ง เขตพื้นที่บริการ ภารกิจองค์กร โครงสร้างการบริหารสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ สาระสาคัญของโครงการที่ดาเนินการ บทบาทหน้าที่ของเขตพื้นที่การศึกษา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบข่ายการดาเนินการ เครื่องมือการดาเนินการ ระยะเวลาการดาเนินโครงการ งบประมาณ ผลผลิต ผลลัพธ์ของโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้รับผิดชอบโครงการ รายละเอียดโครงการรายหน่วย การบริหารจัดการ / ดาเนินการ การบริหารด้านบุคลากร การบริหารด้านวิชาการ การนิเทศติดตามประเมินผล การบริหารงานเทคโนโลยีและการสื่อสาร การระดมทรัพยากรและการมีส่วนร่วมขององค์กร/ชุมชน เครือข่ายการดาเนินงานและความร่วมมือ เครือข่ายชุมชน สถาบันศาสนา เอกชนและองค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรอื่น

๑ ๑ ๑ ๓ ๔ ๕ ๕ ๖ ๖ ๖ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๘ ๘ ๑๑ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๑๙ ๑๙ ๑๙ ๑๙ ๑๙


ส่วนที่ ๕

บทสรุป นวัตกรรมที่เกิดขึ้นของโครงการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้นของโครงการ จุดอ่อนของโครงการ ข้อจากัดของโครงการ ปัญหา อุปสรรค แก้ปัญหาและการพัฒนา ข้อเสนอแนะ

๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๒๑


คณะผู้จัดทารายงานถอดบทเรียน ที่ปรึกษา ๑. นายชลา อรรถธรรม เขต ๑ ๒. นายจิต แก้วทิพย์ ๓. นายจรัล ชูรักษ์ ๔. พระโกวิท โกวิโท

ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว เลขานุการเจ้าคณะตาบลควนมะพร้าว วัดบ้านสวน

คณะทางาน ๑. นายประจวบ หนูเลี่ยง ๒. นายอานาจ สุทิน ๓. ดร.ชานิ ยิ่งวัฒนา ๔. นายประกอบ ทองดา ๕. นางสมใจ ชูหนู ๖. นางศริราณี ขาวสุด ๗. นางอุทา บัวทองเรือง เลขานุการ ๘. นางสาวสมใจ บุญเผือก ผู้ช่วยเลขานุการ ๙. นางสมจิตร บุญประเสริฐ ผู้ช่วยเลขานุการ

รองผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ ประธานคณะทางาน รองผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ รองประธานคณะทางาน ศึกษานิเทศก์ เชี่ยวชาญ รองประธานคณะทางาน ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน คณะทางาน ครู ร.ร.วัดควนอินทร์นิมิต คณะทางาน นักจัดการงานทั่วไป คณะทางาน ศึกษานิเทศก์ ชานาญการพิเศษ คณะทางานและ นักประชาสัมพันธ์

คณะทางานและ

นักจัดการงานทั่วไป

คณะทางานและ


ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานและบริบท สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ เป็นหน่วยงานทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบ ควบคุม กากับ ดูแล ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง เขต ๑ จานวน ๕ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองพัทลุง อาเภอควนขนุน อาเภอศรีบรรพต อาเภอป่าพะยอม และอาเภอศรีนครินทร์ มีสถานศึกษาในสังกัด จานวน ๑๒๓ โรง และมีสถานศึกษาเอกชนที่ตั้งอยู่ ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ จานวน ๑๔ โรง มีหน้าที่ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยองค์คณะบุคคลในรูปแบบองค์คณะบุคคล

สถานที่ตั้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ที่ ๑ มีที่ตั้ง ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ ๑๔ หมู่ที่ ๑ ตาบลเขาเจียก ถนนเอเชีย อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสไปรษณีย์ ๙๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๗๔-๖๗๑-๖๔๘,๐๗๔-๖๗๑-๖๔๙, ๐๗๔-๖๗๑๖๕๖, ๐๖๔-๖๗๑-๗๔๗ โทรสาร ๐๖๔-๖๗๑-๗๕๑ และ ๐๗๔-๖๗๐-๕๕๘ http://www.plg.obec.go.th ส่วนที่ ๒ ตั้งอยู่ที่อุทยานการศึกษาอุดมปัญญา เลขที่ ๒๑๑ หมู่ที่ ๙ ตาบลโตนดด้วน ถนนเอเชีย อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสไปรษณีย์ ๙๓๑๑๐ http://www.udompaya.in.th

เขตพื้นที่บริการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต ๑ มีเขตพื้นที่บริการในการจัด การศึกษา ขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ๕ อาเภอ ได้แก่


๒ อาเภอ เมืองพัทลุง ควนขนุน ศรีบรรพต ป่าพะยอม ศรีนครินทร์ รวม

พื้นที่(ตร.กม.) ๔๒๗.๔ ๔๕๔.๐ ๒๑๘.๕๐๔ ๓๘๖.๔ ๒๒๕.๖ ๑.๗๑๑.๙๐

จานวน ตาบล หมู่บ้าน ๑๔ ๑๔๔ ๑๒ ๑๒๙ ๓ ๓๐ ๔ ๓๙ ๔ ๔๓ ๓๗ ๓๘๕

จานวนเทศบาล/อบต. ท.เมือง ทต. อบต. ๑ ๗ ๖ ๑๑ ๓ ๓ ๒ ๒ ๔ ๑ ๒๔ ๑๔

๑. แผนที่เขตพื้นที่บริการของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑

โรงเรียนขนาดเล็กสู่ศูนย์การเรียนรู้คุณภาพ โรงเรียนดีประจาตาบล โรงเรียนนาร่องโรงเรียนประจาตาบล โรงเรียนในฝัน โรงเรียนดีใกล้บ้าน ประจาอาเภอ โรงเรียนมาตรฐานสู่สากล สพท.พัทลุง เขต ๑


๒. ประชากรในเขตพื้นที่บริการ จานวนประชากรแยกตามเพศ อาเภอ ชาย หญิง เมืองพัทลุง ๕๗,๓๕๓ ๖๒,๓๘๕ ควนขนุน ๓๙,๙๐๙ ๔๒,๖๖๓ ศรีบรรพต ๘,๕๘๙ ๘,๕๓๒ ป่าพะยอม ๑๖,๗๒๑ ๑๗,๑๒๔ ศรีนครินทร์ ๑๓,๑๐๖ ๑๒,๙๐๔ รวม ๑๓๕๖๗๘ ๑๔๓,๖๐๘

๓ รวม ๑๑๙,๗๓๘ ๘๒,๕๗๒ ๑๗,๑๒๑ ๓๓,๘๔๕ ๒๖,๐๑๐ ๒๗๙,๒๗๖

ที่มาของข้อมูล : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม ๒๕๕๔

ภารกิจองค์กร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ มีภารกิจหลักในการส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้เป็นไปตามอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา ๓๖ และมาตรา ๓๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ดังนี้ ๑. จัดทานโยบายแผนพั ฒนาและมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้ สอดคล้องนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานและ ความต้องการของท้องถิ่น ๒. วิเคราะห์ จัดตั้งงบประมาณ เงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษาและหน่วยงานใน เขตพื้นที่การศึกษา แจ้ งจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ รวมทั้งกากับ ตรวจสอบ ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ๓. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพื้น การศึกษาให้สอดคล้องกับท้องถิ่น ๔. กากับ ดูแล ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษาใน เขตพื้นที่การศึกษา ๕. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพื้นที่ การศึกษา ๖. ประสาน ระดมทรั พ ยากรด้ า นต่ า ง ๆ รวมทั้ ง ทรั พ ยากรบุ ค คล เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สนับสนุนการจัดการศึกษาและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา


๗. จั ด ระบบการประกัน คุณ ภาพการศึ กษาและประเมิน สถานศึก ษาในเขตพื้น ที่ การศึกษา ๘. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้ ง บุ ค คล ชุ ม ชน องค์ ก รวิ ช าชี พ สถาบั น ศาสนา สถาบั น ประกอบการและสถาบั น อื่ น ที่ จัดรูปแบบการศึกษาที่หลากหลายในเขตพื้นที่การศึกษา ๙. ดาเนินการประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่ การศึกษา ๑๐.ประสานส่ ง เสริ มการด าเนิ น งานของคณะอนุ กรรมการและคณะท างานด้ า น การศึกษา ๑๑.ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กร หน่วยงานภาครัฐเอกชนและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพื้นที่การศึกษา ๑๒.ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องกับกิจการภายในเขตพื้นที่การศึกษา ที่มิได้ระบุให้เป็น หน้าที่ของผู้ใดโดยเฉพาะ หรือปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

โครงสร้างการบริหาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑


สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ มีโครงสร้างการบริหารงาน จาแนกเป็นกลุ่ม จานวน ๗ กลุ่ม และ ๑ หน่วย คือ กลุ่มอานวยการ กลุ่มบริหารการเงินและ สินทรัพย์ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มนโยบายและแผน กลุ่มส่งเสริ มการจัดการศึกษา กลุ่ม นิเทศ ติดตามและประเมินผล กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน และหน่วยตรวจสอบภายใน โดยหน่วยตรวจสอบภายใน เป็นหน่วยที่ขึ้นตรงต่อผู้อานวยการเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง มีองค์ คณะบุคคล ๓ องค์คณะ คือ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา คณะอนุกรรมการข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา โดยภาพรวมองค์คณะบุคคลดังกล่าว มีอานาจหน้าที่ การกาหนดนโยบายการบริหารจัดการของ เขตพื้นที่การศึกษา นโยบายการบริหารงานบุคคล คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายใน เขตพื้นที่การศึกษา กาหนดนโยบายการบริหารงานบุคคล สาหรับสถานศึกษา มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นหน่วยงานที่มีโครงสร้างบริหารจัดการ แบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม คือ กลุ่มวิชาการ กลุ่มงบประมาณ กลุ่มบริ หารงานบุค คล และกลุ่ม บริหารงานทั่วไป มีคณะกรรมการสถานศึกษาซึ่งมีอานาจหน้าที่กากับการดูแล ให้ข้อคิดเห็นการ บริหารงานบุคคล เสนอความต้องการจานวนและอัตราตาแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. ต่อไป


ส่วนที่ ๒ สาระสาคัญของโครงการที่ดาเนินการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ เป็น ๑ ในจานวน ๕ เขตพื้นที่ การศึกษาที่เข้าร่วมนาร่องการจัดการศึกษา โดยมีโรงเรียนในสังกัดที่เข้าร่วมโครงการจานวน ๒ โรง ได้แก่ (๑) โรงเรียนวัดบ้านสวน ตาบลควนมะพร้ าว อาเภอเมือง จังหวัดพัทลุง (๒) โรงเรียนบ้านระหว่า งควน ตาบลพนมวังก์ อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง และยังมีอีก ๒ องค์กร คือ ชุมชนวัดป่าบอนต่า ตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน ซึ่งเป็นชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ และวัด ลอน ต าบลโคกสั ก อาเภอบางแก้ว ที่เ ป็น โครงการขยายผล ที่ส านัก งานเขตพื้น ที่ การศึกษาพัทลุง เขต ๑ มีบทบาทหน้า ที่ใ นการนิเ ทศ ติดตาม และสนับสนุน ส่งเสริ มการจัด การศึกษาของสถานศึกษา ชุมชนและวัดในความรับผิดชอบดังกล่าว เพื่อให้สามารถนาร่องการ จัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ บนแนวคิดและหลักการจัดการศึกษาเพื่อ สุขภาวะคนไทยที่ ยึด ผู้เ รี ยนเป็ น ตั วตั้ ง ด้ วยการมีส่วนร่ วมและบูรณาการทรั พยากรในท้องถิ่ น ร่ วมกัน โดยความ ร่วมมือขององค์กรในชุมชน ทั้งการร่ วมคิด ร่ วมวางแผน ร่ วมตัดสิน ใจ ร่ วมดาเนิน การ ร่ วม รับผิดชอบ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมแก้ปัญหา และร่วมชื่นชม

บทบาทหน้าที่ของเขตพื้นที่การศึกษา ๑. ประชุมชี้แจงทาความเข้าใจคณะทางานโครงการและสถานศึกษา ๒. รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ สถานศึกษาในสังกัดที่เข้าร่วมโครงการ ๓. วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาและประเมินศักยภาพของเขตพื้นที่การศึกษา องค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ร่ ว มกั บ สถานศึ ก ษาในสั ง กั ด เพื่ อ การประสาน สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม การ ดาเนินงานของสถานศึกษา ๔. อานวยความสะดวก ประสานงาน สนับสนุนส่งเสริมสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ๕. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ณ สถานศึกษา จานวน อย่างน้อย ๓ เดือน/ครั้ง รวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ทั้งทางเว็บไซต์ สื่อ สิ่งพิมพ์ สื่อสารมวลชน การประชุม ฯลฯ ๖. จัดเวทีเสวนาและประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในเขตพื้นที่การศึกษา/องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษาในโครงการ ภายในเขตพื้นที่การศึ กษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างน้อย จานวน ๒ ครั้ง ๗. เข้าร่วมเวทีเสวนาและสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามที่ หน่วยอานวยการวิชาการ กลางหรือภาคกาหนด ๘. สรุปบทเรียนของเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษา เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผล


๙. จัดทารายงานผลการนาร่องในเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตาม กาหนด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ เข้าร่วมโครงการนาร่องการจัด การศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.๒) โดยจัดประชุม วางแผน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดาเนินงานตามบทบาทหน้าที่ จึงกาหนดให้มีโครงการนิเทศ ติดตามและสนับสนุนสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ ตามโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.๒) ดังนี้

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อนิเทศ ติดตาม สนับสนุน และช่วยเหลือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใน สังกัด ที่เข้าร่วมโครงการ ตามแนวคิด หลักการ เป้าหมาย และตัวชี้วัดผลผลิตของโครงการที่ แต่ละสถานศึกษาดาเนินการ ๒. เพื่อสนับสนุนด้านวิชาการและจัดการความรู้ทางเลือกระบบการศึกษาที่เหมาะสม กับสุขภาวะ คนไทยในโรงเรียนในสังกัดที่เข้าร่วมโครงการ ๓. เพื่ อ รวบรวมและรายงานผลการด าเนิ น งานของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด ที่ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการ แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เป้าหมาย ด าเนิน งานอ านวยการ ประสานงาน นิ เ ทศติ ดตามผลการดาเนิ น งานตามโครงการ จานวน ๓ หน่วย คือ โรงเรียนวัดบ้านสวน โรงเรียนบ้านระหว่างควน และชุมชนวัดป่าบอน ต่า อย่างน้อย ๓ เดือน/หน่วย/ครั้ง

ขอบข่ายของโครงการ การอานวยการ ประสานงาน การนิเ ทศ ติดตามและช่วยเหลือสถานศึกษา/ชุมชน กาหนดขอบข่ายเนื้อหาการนิเทศ ดังนี้ ๑. ด้านการบริหารจัดการโครงการ ๑.๑ สภาพการดาเนินโครงการ ๑.๒ การรับรู้และการมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑.๓ สภาพปัญหาและการแก้ไข/พัฒนาของโครงการ ๑.๔ ผลผลิต/ผลลัพธ์


๒. ด้านการจัดการเรียนการสอน ๒.๑. การจัด/พัฒนาหลักสูตรที่สามารถเชื่อมโยงและบูรณาการเนื้อหาสาระทั้งวิชา สามัญ วิชาชีพ อาชีพ สุขภาพ ศาสนา ศิ ลปะและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และความเป็น ท้องถิ่น/ชุมชน ๒.๒ การจัดทาสื่อการเรียนการสอน ๒.๓ การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๒.๔ การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกิจกรรมตามสภาพจริง

เครื่องมือที่ใช้ดาเนินการ เครื่องมือที่ใช้ในการอานวยการ ประสานงาน นิเทศการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย ๑. ระเบียบวาระการประชุม บันทึกรายงานการประชุม ๒. แบบนิเทศ ติดตามผลการบริหารจัดการโครงการ การจัดกิจกรรม ๓. แบบรายงานประจางวด ๔. แบบรายงานการประเมินตนเองขององค์กรในชุมชนโครงการฯ (ปศท.๒)

ระยะเวลาการดาเนินโครงการ เมษายน ๒๕๕๔ – มิถุนายน ๒๕๕๕

งบประมาณ เงินสนับสนุน จาก สสส. เป็นเงินจานวน ๑๑๖,๐๐๐ บาท

ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ๑. องค์กรที่เข้าร่วมได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือในการจัดการศึกษา ตามแนวคิด หลักการ เป้าหมาย และตัวชี้วัดผลผลิตของโครงการ ๒. องค์กรที่เข้าร่วมได้รับการสนับสนุนด้านวิชาการและจัดการความรู้ทางเลือกระบบ การศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทยในโรงเรียนและชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ ๓. บทเรียนและรายงานที่เป็นต้นแบบในการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. มีการนาร่องการจัดการศึกษาตามข้อเสนอทางเลือกระบบการศึกษาที่เหมาะสม มีการ ถอดบทเรียนและจัดทาเป็นเอกสารรายงานฉบับสมบูรณ์


๒. ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาตามช่วงวัย มีสุขภาพกายแข็งแรงขึ้น มีแนวโน้มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่สอดคล้องกับโครงการสูงขึ้นและมีการจัดกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ๓. ได้ข้อเสนอแนวทางการดาเนินงานตามโครงการที่เหมาะสมเพื่อการขยายผลต่อไป

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายศลใจ วิบูลกิจ นายประจวบ หนูเลี่ยง

ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑

องค์กรที่เข้าร่วมโครงการ จานวน ๕ หน่วย คือ ๑. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน ๓. โรงเรียนบ้านระหว่างควน ๔. ชุมชนวัดป่าบอนต่า ๕. วัดลอน


รายละเอียดของโครงการรายหน่วย งบประมาณ ระยะเวลา (บาท) ๑. ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ นายประจวบ หนูเลี่ยง ๑๑๖,๐๐๐ เม.ย. ๒๕๕๔ การศึ ก ษาประถมศึ ก ษา รองผู้ อ านวยการส านั ก งานเขตพื้ น ที่ – พัทลุง เขต ๑ การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ มี.ค. ๒๕๕๕ - โครงการนิเทศ ติดตาม และสนับสนุนสถานศึกษา และแหล่ ง เรี ย นรู้ ตาม โครงการน าร่ อ งการจั ด การศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชน เพื่อ สุขภาวะคนไทย (ปศท.๒) ที่

องค์กร / โครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ

ที่

องค์กร / โครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ

๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน อาเภอเมืองพัทลุง จานวน ๔ โครงการ

๑. นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านสวน ๒. นายธีรพล ศิลป์ภูศักดิ์ รองผู้อานวยการโรงเรี ย นวัด บ้า น สวน ๑. โครงการปลูกจิตสานึก ๑. นางปรานี หนูเลี่ยง รักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรม ๒. นางเบญจมา ไชยศร และประเพณีท้องถิ่น ๒. โครงการส่งเสริม ๑. นางพิกุล มณีนิล กระบวนการคิด ด้วย ๒. นายวินิตย์ ไชยทองรักษ์ จิตสานึกรักชุมชน ๓. โครงการสร้างความ ๑. นางอรอนงค์ หนูรัตแก้ว สามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง ๒. นางอนงค์ วิเวกอรุณ ๔. โครงการสืบค้น กฎ กติกา กีฬาพื้นบ้าน

๑. นายสมมิตร ทองไซร้ ๒. นางประภาพรรณ หนูแสง

งบประมาณ ระยะเวลา (บาท) ๑๖๐,๐๐๐ เม.ย. ๒๕๕๔ – มี.ค. ๒๕๕๕

๓๐,๐๐๐

๓๐,๐๐๐

๓๐,๐๐๐

๖๐,๐๐๐

เม.ย. ๒๕๕๔ – มี.ค. ๒๕๕๕ เม.ย. ๒๕๕๔ – มี.ค. ๒๕๕๕ เม.ย. ๒๕๕๔ – มี.ค. ๒๕๕๕ เม.ย. ๒๕๕๔ -ธ.ค. ๒๕๕๔


๓. โรงเรียนบ้านระหว่างควน อาเภอควนขนุน จานวน ๔ โครงการ

๑. นายสุวิทย์ สินน้อย ผู้อานวยการ ๑๖๐,๐๐๐ เม.ย. ๒๕๕๔ โรงเรี ย นบ้ า นระหว่ า ง – ควน มี.ค. ๒๕๕๕ ๒. นายจารัส เจ้ยแก้ว รักษาการ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านระหว่างควน ๑. โครงการศึกษาตานาน ๑. นายนิยม ไข่ช่วย เม.ย. ๒๕๕๔ เมืองเก่าชัยบุรี ๒. นายจารัส เจ้ยแก้ว -ธ.ค. ๒๕๕๔ ๒. โครงการ ส่งเสริม สืบ ๑. นางอารีย์รัตน์ ทองเรือง ๔๐,๐๐๐ เม.ย. ๒๕๕๔ สานวัฒนธรรมท้องถิ่น ๒. นายชนพล ชูช่วย – พนมวังก์ มี.ค. ๒๕๕๕ ๓. โครงการสถานศึกษา ๑. นายจารัส เจ้ยแก้ว ๔๐,๐๐๐ เม.ย. ๒๕๕๔– พอเพียง ๒. นายจรูญ เหมพัฒน์ มี.ค. ๒๕๕๕ ๔. โครงการส่งเสริมการ ๑. นางพิมพ์ประไพ บัวแก้ว ๓๐,๐๐๐ เม.ย. ๒๕๕๔ อ่านนิทานพื้นบ้านตานาน ๒ นางอารีย์รัตน์ ทองเรือง – เมืองลุง (๒ ภาษา) มี.ค. ๒๕๕๕

ที่

องค์กร / โครงการ

๔. ชุมชนวัดป่าบอนต่า อาเภอป่าบอน จานวน ๓ โครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ

๑. พระมหาสุรินทร์ กิตติสาโร ผู้แทน เจ้าอาวาสวัดป่าบอน ต่า ๒. นายคณิต ศิริวรรณดี ประธาน ชุมชนวัดป่าบอน ต่า ๑. โครงการสร้างจิตอาสา ๑. พระมหาสุ ริ น ทร์ แทนเจ้ า สืบสาน ศาสนา ศิลปะ อาวาส วัฒนธรรม ประเพณีไทย วัดป่าบอนต่า สายใยชุมชน ๒. นายคณิ ต ศิ ริ ว รรณดี ประธาน ชุมชน วัดป่าบอนต่า ๒. โครงการส่งเสริม ๑. นายนพพล กองเอียด การเรียนรู้สู่สุขภาวะ ๒. นายวิรัตน์ ราชวังเมือง คนป่าบอน

งบประมาณ (บาท) ๑๔๐,๐๐๐

ระยะเวลา

๓๕,๐๐๐

เม.ย. ๒๕๕๔ – มี.ค. ๒๕๕๕

๔๕,๐๐๐

เม.ย. ๒๕๕๔ – มี.ค. ๒๕๕๕


๓. โครงการเยาวชนรักษ์ ถิ่นขจัดสิ้นยาเสพติด ๕. วัดลอน อาเภอบางแก้ว จานวน ๑ โครงการ โครงการส่งเสริมวัดลอน เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน แบบบูรณาการ

๑. นายโชคดี มุสิกะสังข์ ๒. นายกรีฑา บัวชุม

๓๕,๐๐๐

๑. พระครูธรรมธรนิพนธ์ ธมมญเมญเมธี ๒. นายสุคนธ์ สุวรรณมณี ๑. พระครูธรรมธรนิพนธ์ ธมมญเมญเมธี ๒. นายสุคนธ์ สุวรรณมณี

๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐

เม.ย. ๒๕๕๔ – มี.ค. ๒๕๕๕

ต.ค. ๒๕๕๔ – มี.ค. ๒๕๕๕


ส่วนที่ ๓ การบริหารจัดการ / ดาเนินการ การบริหารด้านบุคลากร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต ๑ แต่งตั้งคณะทางานดาเนินงาน โครงการ และคณะทางานขับเคลื่อนโครงการ รายละเอียด ดังนี้ ๑. คณะทางานดาเนินงานโครงการ ประกอบด้วยผู้อานวยการและรองผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ บุคลากรในสานักงาน ผู้นาทางศาสนา ผู้นาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นาองค์คณะบุคคลทางการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่หลากหลาย ที่ สามารถให้แนวทางสนับสนุนส่งเสริมการดาเนินงานตามแนวคิดและหลักการของโครงการ โดย สรรหาคณะทางานตามความเหมาะสม เพื่อบริหารจัดการ อานวยการ นิเทศ สนับสนุนส่งเสริม และติดตามประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัด ชุมชนและสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต ๑ จานวน ๑๑ คน คณะทางานโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุข ภาวะคนไทย จังหวัดพัทลุง ดังนี้ ๑) นายศลใจ วิบูลกิจ ผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ ประธานคณะทางาน ๒) นายประจวบ หนูเลี่ยง รองผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ รองประธาน คณะทางาน ๓) นายอานาจ สุทิน รองผอ.สพป.พัทลุง รองประธานคณะทางาน ๔) พระโกวิท โกวิโท เลขานุการเจ้าคณะตาบลควนมะพร้าว วัดบ้านสวน คณะทางาน ๕) นายจรัล ชูรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว คณะทางาน ๖) นายจิต แก้วทิพย์ ประธานกรรมการ ขพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางาน ๗) นายชานิ ยิ่งวัฒนา ศึกษานิเทศก์ สพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางาน ๘) นายประกอบ ทองดา ผอ.กลุ่มนโยบายและแผนสพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางาน ๙) นางอุทา บัวทองเรือง ศึกษานิเทศก์ สพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางานและเลขานุการ ๑๐)นางสาวสมใจ บุญเผือก นักประชาสัมพันธ์ สพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ ๑๑)นางสมจิตร บุญประเสริฐ นักจัดการงานทั่วไป สพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ ๒. คณะทางานขับเคลื่อนโครงการ ประกอบด้วย ผู้แทนจากสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถม ศึกษาพัทลุงเขต ๑ และผู้แทนจากองค์การต่างๆ ที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อทา หน้าที่ ขับเคลื่อนประสานงาน ระหว่างองค์กรอานวยการวิชาการกลาง องค์กรวิชาการระดับ ภาค สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต ๑ และองค์การต่างๆ ที่เข้าร่วม โครงการ ดังนี้


๑) นายประจวบ หนูเลี่ยง รองผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ ๒) นายชานิ ยิ่งวัฒนา ศึกษานิเทศก์ สพป.พัทลุง เขต ๑

ประธานคณะทางาน รองประธาน คณะทางาน ๓) นายประกอบ ทองดา ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน สพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางาน ๔) นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านสวน คณะทางาน ๕) นางปรานี หนูเลี่ยง ครูโรงเรียนวัดบ้านสวน คณะทางาน ๖) นายสุวิทย์ สินน้อย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านระหว่างควน คณะทางาน ๗) นางอารีย์รัตน์ ทองเรือง ครูโรงเรียนบ้านระหว่างควน คณะทางาน ๘) นายคณิต ศิริวรรณดี เลขานุการโครงการฯชุมชนวัดป่าบอนต่า คณะทางาน ๙) นายนพพล กองเอียด ผู้ช่วยเลขานุการโครงการฯชุมชนวัดป่าบอนต่า คณะทางาน ๑๐) นายโชคดี มุสิกะสังข์ ผู้ช่วยเลขานุการโครงการฯชุมชนวัดป่าบอนต่า คณะทางาน ๑๑) นายสุคนธ์ สุวรรณมณี ผู้อานวยการโรงเรียนวัดลอน คณะทางาน ๑๒) นางศริราณี ขาวสุด นักจัดการงานทั่วไปสพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางาน ๑๓) นางอุทา บัวทองเรือง ศึกษานิเทศก์ สพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางานและ เลขานุการ ๑๔) นางสาวสมใจ บุญเผือก นักประชาสัมพันธ์ สพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางานและ ผู้ช่วยเลขานุการ ๑๕) นางสมจิตร บุญประเสริฐ นักจัดการงานทั่วไป สพป.พัทลุง เขต ๑ คณะทางาน และ ผู้ช่วยเลขานุการ

การบริหารด้านวิชาการ ๑. ประชุมชี้แจงทาความเข้าใจคณะทางานโครงการและสถานศึกษา ๒. รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษาในสังกัด/ชุมชนที่เข้าร่วม โครงการ ๓. วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาและประเมินศักยภาพของเขตพื้นที่การศึกษา/ สถานศึกษาในสังกัด/ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อการประสาน สนับสนุนส่งเสริมการ ดาเนินงานของสถานศึกษา ชุมชนและวัด ๔. อานวยความสะดวก ประสานงานสนับสนุนส่งเสริมองค์กรที่เข้าร่วมโครงการ ๕. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานขององค์กรที่เข้าร่วมโครงการ จานวน อย่างน้อย ๒ เดือน/ครั้ง รวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ทั้งทางเว็ปไซต์ สือ่ สิ่งพิมพ์สื่อสารมวลชน การประชุม ฯลฯ


๖. จัดเวทีเสวนาและประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรที่เข้า ร่วมโครงการจานวน ๒ ครั้ง ๗. เข้าร่วมเวทีเสวนาและสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามที่หน่วยอานวยการวิชาการ กลาง/ภาค กาหนด ๘. สรุปบทเรียน ถอดบทเรียนโครงการของเขตพื้นที่การศึกษา/องค์กรที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผล ๙. จัดทารายงานผลการนาร่องในเขตพื้นที่การศึกษา/องค์กรที่เข้าร่วมโครงการตาม กาหนด

การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล การนิเทศติดตามผลการจัดการเรียนการสอนตามข้อเสนอทางเลือกระบบการศึกษาที่ เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทยในโรงเรียนในสังกัดที่ เข้าร่วมโครงการ จานวน ๓ หน่วย คือ โรงเรียนวัดบ้านสวน โรงเรียนบ้านระหว่างควน ชุมชนวัดป่าบอนต่า และชุมชนวัดลอน อย่าง น้อย ๒ เดือน / หน่วย / ครั้ง โดยมีการนิเทศ ติดตามประเมินผล ระดับต่างๆ คือ จังหวัด องค์วิชาการระดับภาค องค์กรอานวยการวิชาการกลาง ดังนี้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต ๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต ๑ สนับสนุนส่งเสริมองค์กร ที่เข้าร่วมโครงการ ตามขั้นตอนและวิธีดาเนินการ รายละเอียด ดังนี้ ๑. การปฏิบัติการนิเทศ ติดตามและช่วยเหลือสถานศึกษา/ชุมชน โดยกาหนดขอบข่ายเนื้อหาการนิเทศ ติดตาม ด้านการบริหารจัดการโครงการ ประกอบด้วยสภาพการดาเนินโครงการ การรับรู้และการมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ สภาพปัญหา และการแก้ไข พัฒนาของโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์ ด้านการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยการจัดและพัฒนาหลักสูตรที่สามารถเชื่อมโยงและบูรณาการเนื้อหาสาระทั้งวิชาสามัญ วิชาชีพ อาชีพ สุขภาพ ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และความเป็นท้องถิ่นชุมชน การจัดทาสื่อการเรียนการสอน การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการ จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกิจกรรมตามสภาพจริง ๒. เครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบนิเทศ ติดตามผลการ บริหารจัดการโครงการ และแบบนิเทศ ติดตามผลการจัดการเรียนการสอน ๓. วิธีดาเนินการนิเทศ ดาเนินการนิเทศ ๔ ขั้น คือ ขั้นเตรียมการนิเทศ ขั้นปฏิบัติการนิเทศ ขั้นสรุป การนิเทศ และขั้นทบทวนและปรับปรุงการปฏิบัติงาน


การนิเทศ ติดตาม ให้คาปรึกษาโครงการและแผนการดาเนินงาน ของสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ ณ โรงเรียนบ้านระหว่างควน โรงเรียนวัดบ้านสวน ชุมชนวัดป่าบอนต่า และวัดลอน ดังนี้ การนิเทศ ติดตาม หน่วย / องค์กร ระยะเริ่มต้น ๑. โรงเรียนบ้านระหว่างควน /เตรียมการ ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน

ครั้งที่ ๑

ครั้งที่ ๒

วัน เดือน ปี ๘ เม.ย. ๒๕๕๔ ๙ เม.ย. ๒๕๕๔ ๑๐ เม.ย. ๒๕๕๔

เนื้อหาการนิเทศ ๑) แนวทางการบริหารจัดการ โครงการ ๒) การแต่งตั้งคณะทางานดาเนิน โครงการ ๓) การจัดหาที่ปรึกษาคณะทางาน ๓. ชุมชนวัดป่าบอนต่า ๔) แผนงาน โครงการที่มีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชน ๕) หลักสูตร สื่อ ตามแผนงาน โครงการ ๖) แผนการใช้จ่ายเงิน ๗) การประชาสัมพันธ์ ๑. โรงเรียนบ้านระหว่างควน ๒๓ มิ.ย.๕๔ ๑. สภาพการดาเนินโครงการ ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน ๒. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กร ๓.ชุมชนวัดป่าบอนต่า อื่นๆ ๓. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กร อื่นๆ ๔. การแก้ไข และพัฒนา ของ โครงการโดยรวม ๑. โรงเรียนบ้านระหว่างควน ๑๒ ก.ค. ๕๔ ๑. สภาพการดาเนินโครงการ ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน ๒. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กร


๓. ชุมชนวัดป่าบอนต่า

อื่นๆ ๓. ปัญหา ความเสี่ยง โครงการ ๔. การแก้ไข และพัฒนา ของ โครงการโดยรวม ๕. ผลผลิตและผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น ๖. โอกาสที่จะเกิดนวัตกรรมที่ส่งผล ต่อการเรียนรู้ ๗. จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรมของ องค์กร ๘. จุดด้อย/ข้อจากัด ของโครงการ/ กิจกรรมขององค์กร

การนิเทศ ติดตาม หน่วย / องค์กร วัน เดือน ปี ครั้งที่ ๓ ๑. โรงเรียนบ้านระหว่างควน ๑๔ ก.ย. ๕๔ ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน ๓. ชุมชนวัดป่าบอนต่า ๔. วัดลอน

เนื้อหาการนิเทศ ๑. สภาพการดาเนินโครงการ ๒. ปัญหา ความเสี่ยง โครงการ ๓. การแก้ไข และพัฒนา ของ โครงการโดยรวม ๔. ผลผลิตและผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น ๕. โอกาสที่จะเกิดนวัตกรรมที่ส่งผล ต่อการเรียนรู้ ๖. จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรมของ องค์กร ๗. จุดด้อย/ข้อจากัด ของโครงการ/ กิจกรรมขององค์กร ๘. ข้อเสนอแนะที่มีต่อโครงการ/ องค์กรในภาพรวม ๙. ข้อเสนอแนะต่อ การดาเนิน โครงการขององค์กร ๑. สภาพการดาเนินโครงการ ๒. ปัญหา ความเสี่ยง โครงการ ๓. การแก้ไข และพัฒนา ของ โครงการโดยรวม ๔. ผลผลิตและผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น ๕. โอกาสที่จะเกิดนวัตกรรมที่ส่งผล

ครั้งที่ ๔

๑. โรงเรียนบ้านระหว่างควน ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน ๓. ชุมชนวัดป่าบอนต่า ๔. วัดลอน

๓ พ.ย. ๕๔


ต่อการเรียนรู้ ๖. จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรมของ องค์กร ๗. จุดด้อย/ข้อจากัด ของโครงการ/ กิจกรรมขององค์กร ๘. ข้อเสนอแนะที่มีต่อการดาเนิน โครงการ/องค์กรในภาพรวม ๙. การประชุมเวทีเสวนาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ๑๐. การสรุปผลการดาเนินโครงการ ๑๑. การถอดบทเรียน/รายงานของ โครงการ ๑๒. อื่นๆ การนิเทศ ติดตาม หน่วย / องค์กร วัน เดือน ปี ระยะเสร็จสิ้น ๑. โรงเรียนบ้านระหว่างควน ๒๐ ม.ค. ๕๕ โครงการ ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน ครั้งที่ ๑ ๓. ชุมชนวัดป่าบอนต่า ๔. วัดลอน

ระยะเสร็จสิ้น โครงการ ครั้งที่ ๒

เนื้อหาการนิเทศ ๑. สภาพการดาเนินโครงการ ๒. การแก้ไข และพัฒนา ของ โครงการโดยรวม ๔. ผลผลิตและผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น ๕. โอกาสที่จะเกิดนวัตกรรมที่ส่งผล ต่อการเรียนรู้ ๖. จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรมของ องค์กร ๗. จุดด้อย/ข้อจากัด ของโครงการ/ กิจกรรมขององค์กร ๘. ข้อเสนอแนะที่มีต่อการดาเนิน โครงการ/องค์กรในภาพรวม ๙. การถอดบทเรียน/รายงานของ โครงการ ๑๐. อื่นๆ ๑. โรงเรียนบ้านระหว่างควน ๑๑ มี.ค. ๕๕ ๑. การถอดบทเรียน ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน ๘. รายงานของโครงการ ๓. ชุมชนวัดป่าบอนต่า ๓. ข้อเสนอแนะที่มีต่อการดาเนิน ๔. วัดลอน โครงการ/


ระยะเสร็จสิ้น โครงการ ครั้งที่ ๓

องค์กรในภาพรวม ๔. อื่นๆ ๑. โรงเรียนบ้านระหว่างควน ๓๐ มี.ค. ๕๕ ๑. การถอดบทเรียน ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน ๒. รายงานของโครงการ ๓. ชุมชนวัดป่าบอนต่า ๓. การสรุปโครงการ ๔. วัดลอน ๔. อื่นๆ

องค์กรวิชาการระดับภาค องค์กรวิชาการระดับภาค ประกอบด้วย นายประเสริฐ แก้วเพ็ชร อดีต รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา/ รองผู้อานวยการ ศอ.บต./เลขาธิการมูลนิธิ ศึกษาธิการที่ปรึกษาวิชาการ และผู้ประสานงานภาคใต้ นายบุญจันทร์ บัวหุ่ง อดีต ผอ.กพร. สป. ศธ. /กรรมการมูลนิธิศึกษาธิการ ดร.พิณสุดา สิริธรังศรี ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรม ทางการศึกษาวิทยาลัยครุศาสตร์ มธบ.มีการประสานงานช่วยเหลือและสนับสนุนวิชาการ การ จัดการความรู้ ร่วมจัด/พัฒนาหลักสูตร สื่อการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับกิจกรรมและประเภท ของการศึกษาและการเรียนรู้ และประเมินผลการดาเนินงาน แก่องค์กรทั้ง ๕ หน่วย และการ ถอดบทเรียนของโรงเรียน/ชุมชน/วัดเป็นกรณีศึกษา ตลอดจนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

องค์กรอานวยการวิชาการกลาง องค์ กรอ านวยการวิ ช าการกลาง ประกอบด้ว ย ดร.พิ ณ สุ ด า สิ ริ ธ รั ง ศรี ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มธบ. ผู้จัดการโครงการ รศ.ดร.กล้า ทองขาว ผู้อานวยการหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มธบ. นางสาวสอาดลักษม์ จงคล้ายกลาง นักวิชาการโครงการ และเลขานุการ โครงการ นางสาวจันทพิมพ์ แก้วสกุล เจ้าหน้าที่การเงิน และบัญชี นางสาวอนุชศรา หิรัญวัฒน สุข เจ้าหน้าที่ธุรการได้อานวยการ ได้กาหนดแนวทาง จัดทาคู่มือการดาเนินงาน ประสานงาน สนับสนุนเงินโครงการ จัดเวทีเสวนาสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นิเทศ ติดตามประเมินผล เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ รวมทั้งการประสานงานกับองค์กรให้ทุนสนับสนุนการดาเนินโครงการ (สสส.) จัดทารายงานและสรุปผลการนาร่องในภาพรวม ตามขั้นตอนและวิธีดาเนินการ

การประเมินผล เป็นการประเมินเชิงบริหารเพื่อรับทราบความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรคเพื่อหาทาง แก้ไขและพัฒนาการดาเนินโครงการในภาพรวม โดยมีสาระการประเมินตามตัวบ่งชี้ความสาเร็จ ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบของโครงการ ตลอดจนปัญหา อุปสรรค และการแก้ปัญหา จุดเด่น ข้อจากัด ข้อเสนอแนะ ใช้แบบประเมินตนเอง แบบสอบถาม แบบ


สัมภาษณ์ของเป็นเครื่องมือการประเมิน การประเมินแบบมีส่วนร่วม โดยศึกษาจากเอกสาร โครงการฯ เอกสารการรายงานประจางวดของที่แต่ละองค์กร เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง และการ สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวทีสนทนา ผู้ประเมิน ได้แก่ คณะทางานโครงการฯ ตัวแทนจาก โรงเรียน ชุมชนและวัด

การบริหารด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร ๑. เว็บไซต์ โครงการฯ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ๒. เว็บไซต์ โครงการฯ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ http://www.plg.obec.go.th และ http://www.udompaya.in.th ๓. e-mail ๔. สถานีวิทยุและโทรทัศน์ ๕. สื่อมวลชน

การระดมทรัพยากรและการมีส่วนร่วมขององค์กร/ชุมชน สานักงานเขตพื้น ที่การศึกษาประถมศึกษาได้ร ะดมทรัพยากรและการมีส่วนร่วมจาก องค์กรในชุมชน ประกอบด้วยองค์กรชุมชน วัด แหล่งเรียนรู้ องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน สถาบันสังคม และองค์กรอื่นของประชาชนในพื้นที่ ทาให้ผู้เรียนได้รับการ เรียนรู้ตลอดชีวิต เรียนรู้อย่างมีความสุขเต็มตามศักยภาพ รู้ท้องถิ่น รู้รากเหง้า รู้ศาสนา รู้ วัฒนธรรม รู้ประวัติศาสตร์ รู้วิชาสามัญ รู้วิชาอาชีพ รู้รักษาสุขภาพ รู้เท่าทันโลก เป็นพลเมือง พลโลกที่ดี มีสัมมาชีพและมีสันติสุข นาไปสู่สุขภาวะอย่างยั่งยืน ซึ่งองค์กรต่างๆที่ให้ความ ร่วมมือ ดังนี้ ผู้นาทางศาสนา ได้แก่ พระครูกวีวราภรณ์ เจ้าคณะตาบลควนมะพร้าว พระมหา สุรินทร์ กิตฺติสาโร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าบอนต่า พระครูธรรมฺธรฺนิพนธ์ ธมฺมญฺเมญฺเมธี เจ้า อาวาสวัดลอน พระโกวิท โกวิโท พระเลขานุการเจ้าคณะตาบลควนมะพร้าว ชุมชน ผู้นาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ นายจรัล ชูรักษ์ นายกองค์การบริหาร ส่วนตาบลควนมะพร้าว นายสมชาติ รักชุม นายกองค์การบริหารส่วนตาบลพนมวังก์ นายล่วน คงรื่น ผู้ทรงคุณวุฒิการบริหารสินทรัพย์หมู่บ้าน นายสนิท หมวดสังข์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๒ ตาบลพนมวังก์


นายจรัล ชูรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว

นายสมชาติ รักชุม นายกองค์การบริหารส่วนตาบลพนมวังก์

พระครูกวีวราภรณ์ เจ้าคณะตาบลควนมะพร้าว

นายสนิท หมวดสังข์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๒ ตาบลพนมวังก์


ส่วนที่ ๔ เครือข่ายการดาเนินงานและความร่วมมือ สานั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึ กษาประถมศึ กษาพั ทลุ ง เขต ๑ สนั บสนุ น ส่ งเสริ มการจั ด การศึกษาของสถานศึกษา ชุมชนและวัดในความรับผิดชอบ จานวน ๔ องค์กร ได้แก่ โรงเรียน วัดบ้านสวน ตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมือง จังหวัดพัทลุ ง โรงเรียนบ้านระหว่างควน ตาบล พนมวังก์ อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ชุมชนวัดป่าบอนต่า ตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน โดยให้การดาเนินงานและการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ บนแนวคิดและหลักการจัด การศึกษาเพื่อสุขภาวะคนไทยที่ยึดผู้เรียนเป็นตัวตั้ง ด้วยการมีส่วนร่วมและบูรณาการทรัพยากรใน ท้องถิ่นร่วมกันโดยความร่วมมือขององค์กรในชุมชน มีเครือข่ายการดาเนินงานและความร่วมมือ ดังนี้

เครือข่ายชุมชน ชุมชนวัดป่าบอนต่า ชุมชนวัดลอน กลุ่มอาชีพเครื่องแกงบ้านกลาง กลุ่มอาชีพทาดอกไม้ สด อาเภอป่าบอน ชุมชนวัดบ้านสวน อาเภอเมืองพัทลุง

สถาบันศาสนา วัดในจังหวัดพัทลุงให้ความร่วมมือและเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาครั้งนี้ จานวน ๖ วัดได้แก่ วัดบ้านสวน วัดแจ้ง วัดเขาเมืองเก่า อาเภอเมืองพัทลุง วัดหนองโต๊ะปาน อาเภอควน ขนุน วัดป่าบอนต่า อาเภอป่าบอน วัดลอน อาเภอบางแก้ว

เอกชนและองค์กรเอกชน นายผัน คลิ้งคล้าย บ้านทาโพน หมู่ที่ ๓ ตาบลพนมวังก์ อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง นายปลื้ม ชูคง ประธานกลุ่มหัตกรรมกะลามะพร้าวลุงปลื้ม ตาบลชัยบุรี อาเภอเมือง จังหวัด พัทลุง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมืองพัทลุง องค์การบริหารส่วนตาบลพนม วังก์ อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

องค์กรอื่น วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลป่าบอนต่า อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง อุทยานเมืองเก่าชัยบุรี


กลุม่ หัตกรรมกะลามะพร้าวบ้านคอกวัว โดยนายปลื้ม ชูคง ประธานกลุ่มฯ / ชุมชนวัดป่าบอนต่า


ส่วนที่ ๕ บทสรุป นวัตกรรมที่เกิดขึ้นของโครงการ องค์กรที่เข้าร่วมจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.๒) ในครั้งนี้ มีกระบวนการที่ไม่แตกต่างกัน โดยอาศัยความร่วมมือและการเข้ามามีส่วน ร่วมที่นาไปสู่ความสาเร็จ มีการวางแผน ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมกันแก้ปัญหา บทบาทและภาวะ ผู้นาของผู้บริหาร การรักองค์กรที่มีค่านิยมร่วมกัน กระบวนการบริหารจัดการ เป็นปัจจัยไปสู่ ความสาเร็ จส่งผลให้เ กิด นวัต กรรมต่า ง ๆ มีหลักสูตรท้องถิ่น ขึ้น อาทิเ ช่น หลักสูตรท้องถิ่น เศรษฐกิจพอเพียง การสืบสานประเพณีวัฒนธรรมพนมวังก์ ชุมชนวัดบ้านสวน รักคลองป่าใส ธารน้าใจสายใยรักและศรัทธาของคนป่าบอน อาชีพดอกไม้สดและอาชีพทาเครื่องแกง สมุนไพร ยาพื้นบ้าน ตานานเมืองเก่าชัยบุรี นิทานพื้นบ้านตานานเมืองลุง มีกระบวนการเรียนรู้ ที่ เชื่อมโยงกันทั้งการศึกษาที่จัดในสถานศึกษา การเรียนรู้วิชาอาชีพที่เกิดจากวิถีชีวิต ทักษะและ ประสบการณ์ตรงของผู้เรียน องค์ความรู้จากการถ่ายทอดของภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเพณีและ วัฒนธรรมที่สืบสานและอนุรั กษ์กัน สืบมา อาจเป็น เพราะว่า พัทลุงได้ชื่อว่า เป็น เมืองแห่ง การศึกษา เมืองแห่งการกีฬาและล้าค่าศิลปวัฒ นธรรมท้องถิ่น คนพัทลุงได้มีโอกาสศึกษาเล่า เรียนและประสบผลสาเร็จในชีวิต เป็นคนดีมีคุณภาพในสังคม หลายท่านมีบทบาทโดดเด่นสร้าง คุณประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ควรแก่การยกย่องและภาคภูมิใจร่วมกันของชาวพัทลุง อาทิ พระอุด มไตรปิฎ ก พระพรหมมังคลาจารย์ หรื อหลวงพ่ อปัญญานัน ทภิกขุ พระธรรม ปัญญาบดี พระธรรมเมธาจารย์ อาจารย์นา ชินวโร ขุนอุปถัมภ์นรากร นายบรรจง ชูสกุลชาติ อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นายสวัสดิ์ โชติพานิช อดีตประธานศาลฎีกา

ผลผลิต ผลลัพธ์ และความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้นของโครงการ ๑. ผู้เรียนสุขภาพกายแข็งแรงขึ้น ได้รับการพัฒนาตามช่วงวัย ได้รับการพัฒนาตามช่วง วัย มีสุขภาพกายแข็งแรงขึ้น มีแนวโน้มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล้องกับโครงการ สูงขึ้น มีอารมณ์ ร่าเริงแจ่มใส มีความสุขในการร่วมกิจกรรม ต้องการให้มีกิจกรรมลักษณะนี้บ่อยๆ นาไปสู่การ เรียนรู้และใช้ในชีวิตประจาวัน ๒. ผู้เรียนในวัยผู้ใหญ่มีความรอบรู้และทักษะการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ สูงขึ้น สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและจัดกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ๓. หลักสูตรและสื่อการเรียนรู้สอดคล้องกับประเภทการเรียนรู้ แต่ละองค์กรมีการ จัดทาและพัฒนาหลักสูตร และสื่อ ตามแผนงาน โครงการที่สอดคล้องกับประเภทการเรียนรู้ ทั้ง ด้านวิชาสามัญ อาชีพ ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สุขภาพ ฯลฯ


๔. กิจกรรมการเรียนรู้เกิดจากการมีส่วนร่วมและความร่วมมือจากองค์กรในชุมชน ๕. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรที่จัดการศึกษาในชุมชนและนอกชุมชน ๖. การบรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย โดยองค์กรที่จัดการศึกษามีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ตามประเภทขององค์กรทั้งด้านวิชาสามัญ อาชีพ ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กีฬา สุขภาพ แล้วแต่กรณี ชุมชนมีแนวโน้มสุขภาวะและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนสูงขึ้น ทั้งด้าน กาย จิต สังคมและสติปัญญา ๗. เกิ ด เครื อ ข่า ยการด าเนิ น งาน ประกอบด้ วยโรงเรี ย น เครื อ ข่ า ยโรงเรี ยน องค์ ก ร ครอบครัว องค์กรชุมชน วัด แหล่งเรียนรู้ องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่วน ราชการต่างๆ ๘. ผลการจัดการเรียนรู้เป็นที่ยอมรับจากชุมชน โดยผู้เรียน ชุมชนและประชาชนให้การ ยอมรับ มีความพึงพอใจ และได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรม โครงการ สมาชิกกลุ่มได้ เรี ยนรู้การแก้ไ ขปัญหาการทางานและการอยู่ร่ วมกันด้วยสัน ติวิธี นาไปสู่การพัฒนาชุมชนที่ เข้มแข็งต่อไป

ความสาเร็จของโครงการฯ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ นาสู่ชุมชนและสังคม

ทุกระดับมีความสุขกับความสาเร็จ - องค์กรอานวยการวิชาการกลาง - องค์วิชาการระดับภาค - จังหวัด และสถานศึกษา


จุดอ่อนของโครงการ - เป็นโครงการที่ใหญ่ จาเป็นต้องใช้กระบวนการนิเทศ ติดตาม

ข้อจากัดของโครงการ องค์ ก รบางหน่ ว ยยั ง ขาดบุ ค ลากรที่ มี ทั ก ษะการจั ด การจึ ง ท าให้ ก ารบริ ห ารจั ด การ กระบวนการพัฒนางาน บทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายไม่ชัดเจน เพราะการขับเคลื่อนและควบคุม การทางานโครงการและกิจกรรมต้องได้รับการยอมรับจากกลุ่มองค์กรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายด้วย

ปัญหา อุปสรรค แก้ปัญหาและการพัฒนา การดาเนินงานบางกิจกรรมไม่เป็นไปตามปฏิทินที่กาหนด อันเนื่องมาจากโครงการของ บางองค์กรกาหนดจานวนกิจกรรมไว้มากเกินไป

ข้อเสนอแนะ ควรสรุ ป งานระดั บ ภาคหรื อ กลุ่ ม องค์ ก รย่ อ ยอี ก ครั้ ง เพื่ อ น าไปใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ ตอบ เจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ของโครงการ


โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน ระดับพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง

ประชุม ประชาคม หน่วย : ร.ร.บ้านระหว่างควน อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

นายประจวบ หนูเลี่ยง รองผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ และคณะทางานโครงการฯ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้เข้าร่วม ประชุมและประชาคม

นายสมชาติ รักชุม นายกอบต.พนมวังก์ นายสุวิทย์ สินน้อย ผอ.ร.ร.บ้านระหว่างควน คณะครู กานัน ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าส่วนราชการในพื้นที่ ผู้นาชุมชน และผู้ทรงคุณวุฒิ ฯลฯ ร่วมประชุม ประชาคม ณ ที่ทาการ อบต.พนมวังก์ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน ระดับพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง


ประชุม หน่วย : ร.ร.วัดบ้านสวน อ.เมือง จ.พัทลุง

นายประจวบ หนูเลี่ยง รองผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ และคณะทางานโครงการฯ ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์ ผอ.ร.ร.วัดบ้านสวนและคณะครู ณ ร.ร.วัดบ้านสวน อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง

โครงการสร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง นักเรียนบรรเลงวงอังกะลุง ตามที่ได้รับเชิญและบริการสังคมจากหน่วยงานต่างๆ โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน ระดับพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง


การประชุมสร้างความเข้าใจระหว่าง องค์กรอานวยการวิชาการกลาง องค์วิชาการ ระดับภาค พื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง และสถานศึกษา ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ

นายประเสริฐ แก้วเพ็ชร อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผู้ประสานงานภาคใต้ ดร.พิณสุดา สิริธรังศรี ผู้จัดการโครงการฯ (ปศท.๒) จากองค์กรอานวยการวิชาการกลาง

ประชุมให้นโยบายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะทางานโครงการฯ พื้นที่ปฏิบัติจังหวัด พัทลุง และสถานศึกษา ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ

นายศลใจ วิบูลกิจ ผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ นาเรียนการวางแผน เตรียมการดาเนินงานและข้อเสนอแนะของพื้นที่ปฏิบัติจงั หวัดพัทลุง โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน ระดับพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง


การนิเทศ ติดตาม องค์กรที่เข้าร่วมโครงการฯ ระดับพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง

นายประจวบ หนูเลี่ยง รองผอ.สพป.พัทลุง เขต ๑ และคณะทางานโครงการฯ ออกเยี่ยม นิเทศ ติดตาม ชุมชนวัดป่าบอนต่า อ.ป่าบอน จ.พัทลุง

นายวิรัตน์ ราชวังเมือง แพทย์ตาบลป่าบอน รายงานการดาเนินงานกิจกรรมสวนสมุนไพร ยาพื้นบ้าน และการดาเนินงานโครงการฯชุมชนวัดป่าบอนต่า โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน ระดับพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง


การนิเทศ ติดตาม ขององค์กรอานวยการวิชาการกลาง องค์วิชาการระดับภาค และคณะทางานพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง ณ องค์กรที่เข้าร่วมโครงการฯ

ร.ร.วัดบ้านสวน ร.ร.บ้านระหว่างควน ชุมชนวัดป่าบอนต่า และวัดลอน โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน ระดับพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง

การนิเทศ ติดตาม ขององค์กรอานวยการวิชาการกลาง องค์วิชาการระดับภาค และคณะทางานพื้นที่ปฏิบัติจังหวัดพัทลุง ณ องค์กรที่เข้าร่วมโครงการฯ


ร.ร.วัดบ้านสวน ร.ร.บ้านระหว่างควน ชุมชนวัดป่าบอนต่า และวัดลอน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.