รายงานการดาเนิน โครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย กระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน”
โรงเรียนบ้านลาดวิทยา อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์/โทรสาร 0-3249-1343 http//banlat.ac.th
E-Mail Banlat @ banlat.ac.th
รายงานโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ การมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน” ************************************************* ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ โรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้จัดทาประชาคมโดยเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องในแต่ละภาคส่วน มาวิเคราะห์บริบท จุด แข็ง โอกาส อุปสรรค และจุดที่ควรพัฒนา พบว่า อาเภอบ้านลาดมีจุดแข็ง ในด้านอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี สิ่งแวดล้อม ในขณะเดียวกันความเจริญทางด้านการสื่อสาร เทคโนโลยี วัตถุต่างๆ ทาให้เกิด ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาสื่อที่มีอยู่ให้คงอยู่ยั่งยืน ดังนั้นในที่ประชาคมจึงได้ลงมติในที่ประชุม ให้ ดาเนิน โครงการ /กิจกรรม 5 โครงการย่อย คือ 1)โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 2)โครงการ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 3)โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 4)โครงการส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 5) ศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด ซึ่งทั้ง 5 โครงการย่อยเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การเรียนรู้ ความเป็นไทย และ ความพอเพียงดังนั้น โรงเรียนจึงได้จัดโครงการ “โรงเรียน 3 วิถี เพื่อพัฒนา การศึกษาด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรใน ชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย” ขึ้นมาเป็นแนวทางการดาเนินงาน โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ตามความ หลากหลายของบริบทในชุมชน เพื่อเป็นต้นแบบ และสนับสนุนให้เกิดการขยายผลต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาและปลูกจิตสานึกให้เยาวชนบ้านลาดมีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อขยายผล ด้านความเป็นไทยและการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากเยาวชนสู่ ครอบครัวชุมชนคนบ้านลาด 3. ถอดบทเรียนของระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทย โดยใช้ชุมชนเป็นฐานตาม โครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้น
เป้าหมาย เชิงปริมาณ
จัดทาโครงการ 5 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี 2. โครงการการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด) 3. โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 4. โครงการ ส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด 5. โครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนวพระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชน บ้านลาด เชิงคุณภาพ นักเรียนในสถานศึกษา เยาวชน และประชาชนในชุมชน ที่เข้าร่วมโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 75 ได้รับการพัฒนาตามช่วงวัย มีสุขภาพกาย แข็งแรงขึ้น มีแนวโน้มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่สอดคล้องกับโครงการ สูงขึ้น และมีการจัดกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ตัวชี้วัดความสาเร็จ ของโครงการ 1. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนเกิดการเรียนรู้วิถีความเป็นไทยและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ได้หลักสูตร ของโครงการย่อย 5 หลักสูตร 3. ถอดบทเรียนของโครงการย่อย 5 บทเรียน 4. ชุมชน 18 ตาบลให้การยอมรับ สนับสนุนและให้ความร่วมมือ ทุกโครงการ 5. เยาวชนมีจิตสานึกในการรักอาชีพท้องถิ่นมากขึ้น ระยะเวลาในการดาเนินการ เดือน พฤษภาคม 2554 – เดือนมีนาคม 2555
๒. กิจกรรมที่ดาเนินการ ได้ทา กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ไม่ได้ทา เมื่อวันที่ 1. โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อ สิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี กิจกรรม 1. ค่าย กาจัดขยะ กิจกรรม 2. การทาปุ๋ยหมัก กิจกรรม 3. คุณค่าของ พืชพรรณท้องถิ่น
17 ธ.ค. 11 ส.ค. 24 ธ.ค.
2. โครงการ การอนุรักษ์อาชีพ ท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)
19 ส.ค.
3. โครงการสืบสานการแสดง กลองยาวลิเก
8 ก.ย.
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ - นักเรียนโรงเรียนบ้าน ร้อยละ80 ของนักเรียนและ ลาดวิทยาจากตาบล ผู้แทนชุมชนจากตาบล ต่างๆ ตาบลละ 3-5 คน ต่างๆ ที่ เข้าร่วมโครงการ - ผู้แทนชุมชนจากตาบล สามารถนาความรู้ที่ได้รับ ต่างๆ อย่างน้อยตาบล เข้าไปบริหารจัดการ ขยะ ละ 2 คน ในชุมชนได้
- นักเรียนโรงเรียนบ้าน ลาดวิทยาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 100 คนเป็น ชั้น ม.4 จานวน 35 คน ม.5 จานวน 35 คน ม.6 จานวน 30 คน - ภูมิปัญญาท้องถิ่น ถ่ายทอดความรู้ทั้งใน และนอกสถานศึกษา จานวน 3 คน -นักเรียน จานวน 30 คน -ภูมิปัญญาท้องถิ่น ถ่ายทอดความรู้ 1 ท่าน
ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม โครงการ ที่รู้ค่า ความสาคัญ สามารถ อนุรักษ์อาชีพการทา ตาลโตนด และมีรายได้ ระหว่างเรียนจากผลิตผล และผลิตภัณฑ์ตาลโตนด มีความรู้ที่คงทน สามารถ สืบทอดวิถีชีวิตของคนบ้าน ลาดได้อย่างสมบูรณ์ โรงเรียนมีคณะกลองยาว ลิเก 1 คณะสืบสานการ แสดงพื้นบ้านของอาเภอ บ้านลาด และ นาไปแสดง ในงานประเพณีต่างๆ อย่าง น้อย 4 ครั้ง/ปี
ไม่ได้ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ทา 4.โครงการ ส่งเสริม สายใยรัก แห่งครอบครัวบ้านลาด กิจกรรม 1 ครอบครัว “บวร” กิจกรรม 2 ครอบครัวฮูลาฮูป กิจกรรม 3 ครอบครัวรัก การอ่าน กิจกรรม 4 ครอบครัวปันรัก กิจกรรม 5 ครอบครัวบ้านลาด สัญจรพบ ผู้ปกครองยามเย็น
5.โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ เกษตรตามแนวพระราชดาริของ ยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด กิจกรรมที่ 1 การเลี้ยงไก่ พื้นเมือง กิจกรรมที่ 2 การทาปุ๋ย ชีวภาพ และปุ๋ยอินทรีย์ กิจกรรมที่ 3 การเลี้ยงปลาดุก กิจกรรมที่ 4 การปลูกพืชผัก สวนครัวรั้วกินได้
ได้ทา เมื่อวันที่
24ส.ค.,7 ก.ย. 31 ส.ค. 21 พ.ค. ก.ย.-ธ.ค. พฤหัสสุดท้าย ของ มิ.ย.,ก.ค. ส.ค.
1.อบรมให้ ความรู้ 2.ศึกษาดูงาน
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้ง ผู้ร่วมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ร้อยละ80 ของครอบครัวที่ เข้าร่วมกิจกรรม ทุก ครอบครัวเข้าร่วม กิจกรรม ได้ช่วยกันสร้าง โครงการ/กิจกรรม จิตสานึกให้เยาวชนใน กิจกรรมละ 40 ครอบครัวมีคุณธรรมครอบครัว จริยธรรม มีคุณลักษณะที่ ประกอบด้วย พึงประสงค์มีพฤติกรรมไม่ ผู้ปกครอง 1 คน เป็นปัญหาสังคม มีนิสัยรัก นักเรียน 1 คน รวม การอ่าน 80 คน และคุณครู ชุมชนให้การยอมรับและให้ ความร่วมมือในการดูแล 20 คน สอดส่องพฤติกรรมของ เยาวชนในหมู่บ้านของตน ให้เป็นคนดี ร้อยละ 80 ของนักเรียน -นักเรียนและ และครอบครัวที่เข้าร่วม ผู้ปกครอง เข้าร่วม โครงการ มีความรู้ และมี กิจกรรม ละ 50 ทักษะในด้านการเกษตร ได้ ครอบครัว ประโยชน์สูงสุด จากการนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในการจัดการ ความรู้ด้านการเกษตร
๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ 1. กิจกรรม ฮูลาฮูป ได้รับความร่วมมือจากชุมชนบริจาค ฮูลาฮูป จานวน 100 อัน รวมทั้งหน่วยงานโรงพยาบาลเข้าร่วมกิจกรรมนี้ด้วย
จานวน - ฮูลาฮูป จานวน 100 อัน - 10 คน - 120 ครอบครัว
2. กิจกรรมครอบครัวรัก การอ่านมีครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้นและให้การ ร่วมมือในการติดตามดูแลให้การอ่าน 3. กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ได้รับความสนใจจากนักเรียนร่วม ด้วยช่วยกันปลูกในโรงเรียนและที่บ้าน ทาให้นักเรียนมีรายได้เพิ่มขึ้น
-นักเรียน ม.2 ประมาณ 30 คน
4. กิจกรรมการอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาดเรื่องตาลโตนด ทาให้
-
ทราบว่าสภาพดินที่ปลูกต้นตาล มีผลต่อความหวานและความเข้มข้นของ น้าตาล ดินเปรี้ยวจะทาให้น้าตาลมีรสหวานหอมกลมกล่อม ทาเป็นน้าตาลสด ส่วนดินเค็มจะมีรสเข้มข้นเหมาะกับการทาน้าตาลปึก
5. กิจกรรมเรียนรู้คุณค่าพืชฯ ตั้งเป้าหมายไว้เพียง 15 ครอบครัว แต่มีผู้เข้าร่วม
-
กิจกรรมถึง 28 ครอบครัว และมี 4 ครอบครัวที่ทาเป็นอาชีพเสริม
๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ชุมชนให้การยอมรับ มีความพึงพอใจในระดับสูง และให้ความร่วมมือในการดาเนินกิจกรรมทุก กิจกรรม ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ ) ๑. ผู้รับผิดชอบ โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชนคนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี ลาออกจากราชการทาให้ต้องผู้ดาเนินการต่อ จึงเปลี่ยนผู้รับผิดชอบเป็น นายชูเกียรติ เกษดี และนาง พรรณี เทพสูตร
๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการ ( ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มี จานวน...........ครั้ง ได้แก่ (ให้รายละเอียด)...................โรงเรียน................................
ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว้ : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจ ทีทักษะ และปฏิบัติได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง : เป็นไปตามที่ตั้งไว้ โดย ยึดหลักการทางานใดๆ ก็ตามปัจจัยที่จะทาให้งานนั้นสาเร็จ เราเชื่อว่าต้องมี ขวัญกาลังใจ จากผู้ที่เกี่ยวของ และการทางานเป็นทีมอย่างมีระบบ ตามวงจร PDCA เริ่มจาก วางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบ ประเมิน ซึ่งโรงเรียนบ้านลาดวิทยาโดยคณะทางานได้ดาเนินการตามวิธีนี้จนเสร็จสิ้นโครงการ โดย ด้านครูในโรงเรียน : มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวิธีการทาหลักสูตรท้องถิ่นมากขึ้น และ สามารถที่จะนาไป จัดทาเป็นหลักสูตรท้องถิ่นในเรื่องอื่นๆได้ด้วยความเข้าใจและมั่นใจ ด้านนักเรียน : มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่การทางานเป็นกลุ่ม เป็นทีม มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ อีกทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่นักเรียนร่วม กิจกรรมสูงขึ้น อย่างเห็นได้ชัด นอกจากนั้นยังสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติ เป็นอาชีพเสริมที่บ้านของนักเรียนโดย ผู้ปกครองให้กาสนับสนุน ด้านโรงเรียน : ได้รับการยอมรับของชุมชนและได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการทากิจกรรมทั้ง 14 กิจกรรมเป็นอย่างดี ทั้งยังให้ความอนุเคราะห์ว่า ถ้าทางโรงเรียน ต้องการทากิจกรรมต่อเนื่อง ยินดีให้ความร่วมมือ ด้านชุมชน : ชุมชนยอมรับในความเป็นโรงเรียนบ้านลาดวิทยามากขึ้น และยินดีให้ความ ร่วมมือกับทางโรงเรียนตลอดเวลา ทั้งยังต้องการให้ทางโรงเรียนทากิจกรรมต่อเนื่อง ในด้าน ศิลปวัฒนธรรม เช่น ละครชาตรี ที่กาลังจะสูญหาย หรือประเพณีสลากภัต
ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน.....๑๔......ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) ๑. โครงการ ส่งเสริม สายใยรักแห่งครอบครัวบ้านลาด ๑) ครอบครัวรักการอ่าน ความสาคัญ จากการสารวจจานวนการอ่านหนังสือของคนไทยในปัจจุบัน ปรากฏว่ามีผู้อ่านหนังสือน้อยมาก ส่งผลถึงการพัฒนา EQ ของเด็กไทยที่ต่าตามลงไปด้วย การอ่านหนังสือเป็นการเพิ่มความรู้และ ประสบการณ์ อีกทั้งยังมีความสะดวก สามารถอ่านได้ทุกที่ทุกเวลาตามที่ต้องการ การจัดกิจกรรมการอ่าน ให้เป็นกิจกรรมของครอบครัวอย่างน่าสนใจจะช่วยลดช่องว่างความสัมพันธ์ในครอบครัว และส่งเสริมการ พัฒนา EQ ของเด็กไทยได้เป็นอย่างดี สมกับคากล่าวที่ว่า “หนังสือเป็นเพื่อนที่ดีที่สุด” จุดมุ่งหมาย ๑.เพื่อให้มีความรู้และเกิดทักษะในการอ่าน ๒.เพื่อเป็นการส่งเสริมนิสัยการรักการอ่าน ๓. เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และมีทักษะในการอ่าน ๒.เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมอ่านหนังสือร่วมกันอย่างน้อยเดือนละ 1 เล่ม ๓.เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน การวัดประเมินผล ๑. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะการอ่าน (ฐานรักการอ่าน) ๒.ร้อยละ 80 ของครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการบันทึกใจความสาคัญจากการอ่าน 4 เล่ม/ 1 เดือน ผลการดาเนินการ - ผู้มีส่วนร่วมมากกว่าร้อยละ 95 มีความพึงพอใจและให้ความร่วมมือ -โรงเรียนกับชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ประมวลภาพกิจกรรม
ฐาน อ่านเรื่องวาดภาพ
ประมวลภาพกิจกรรม
ฐาน ดูภาพเล่าเรื่อง
ประมวลภาพกิจกรรม
ฐาน ช่วยกันอ่าน ช่วยกันตอบ
๒)กิจกรรมครอบครัวบ้านลาดสัญจรพบผู้ปกครองยามเย็น ความสาคัญ ในสภาพสังคมไทยในปัจจุบันที่ทุกครอบครัวต้องเร่งทางานด้วยความจาเป็นทางเศรษฐกิจ ทาให้ มีเวลาในการดูแลสมาชิกในครอบครัวมีน้อย ดูแลไม่ทั่วถึง อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ ในเยาวชน โรงเรียนเป็นสถาบันที่ผู้ปกครองและสังคมไว้วางใจในการดูแลช่วยเหลือเยาวชน การเยี่ยมบ้านนักเรียนทุก คนถือเป็นนโยบายสาคัญที่ต้องปฏิบัติ เพื่อร่วมรับทราบปัญหาของเยาวชน ร่วมคิดร่วมแก้ไขในทุกภาค ส่วน โรงเรียนสัญจรพบผู้ปกครองยามเย็น จึงเป็นการดูแลเยาวชนโดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมอย่าง ประจักษ์ชัด จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งขององค์กรเครือข่ายของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา 2. เพื่อให้ทราบปัญหาของเยาวชนและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครูโรงเรียนบ้านลาดวิทยาได้เยี่ยมบ้านนักเรียนในทุกตาบลของอาเภอบ้านลาด 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบปัญหาและมีส่วนร่วมในการสอดส่อง ดูแลแก้ไข พฤติกรรมของเยาวชนในชุมชน 3. เพื่อให้เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีของภาคีเครือข่ายของโรงเรียนบ้านลาดวิทยา การวัดประเมินผล 1. ร้อยละ 80 ของครอบครัวนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมดูแลพฤติกรรมของเยาวชนในชุมชน ผลการดาเนินการ - ผู้มีส่วนร่วมมากกว่าร้อยละ80 มีความพึงพอใจและให้ความร่วมมือ -โรงเรียนกับชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ประมวลภาพกิจกรรม
ประมวลภาพกิจกรรม สภ.บ้านลาด
สภ.ไร่สะท้อน
นายกองค์การบริหารส่วนตาบลท่าช้าง
รองเจ้าอาวาสวัดโพธิลอย
ประมวลภาพกิจกรรม
ประมวลภาพกิจกรรม
๓)กิจกรรม ครอบครัว “บวร” ความสาคัญ เมื่อ “บวร” หรือ บ้าน วัด โรงเรียน สามประสาน มาร่วมมือกันสร้าง “นิสัย” ที่ดีให้เยาวชนและคน ในชุมชนได้ เยาวชนนั้นก็จะกลับมาพัฒนาชุมชนของตนให้เข้มแข็ง กลายเป็นวงจรคุณธรรมที่จะขยายวง กว้างจากหนึ่งชุมชน สู่สองชุมชนและหลายร้อยชุมชน จนกลายเป็นสังคมใหญ่ที่เข้มแข็ง เมื่อนั้นคนไทยคง ไม่ต้องปวดใจกับข่าวร้ายที่เกิดขึ้นรายวันอย่างตอนนี้อีกต่อไป เราเป็นเยาวชนรุ่นใหม่ที่ใส่ใจเกี่ยวกับเรื่อง ดังกล่าว จึงปรึกษากันว่า จะรณรงค์ให้นักเรียนมีค่านิยมที่ดีงามในการไปประกอบพิธีกรรมที่วัด โดย เน้นความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อให้มากยิ่งขึ้น และให้เยาวชนตระหนักถึงเป็น คุณธรรม จริยธรรมที่ควรปลูกฝังให้เยาวชนเกิดความรู้สึกเห็นคุณค่าของการให้ทาน การบาเพ็ญกุศล ซึ่ง จะเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีไปสู่ชีวิตที่มั่นคง ยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจระเบียบวิธีการของการประกอบพิธีกรรมที่วัดดีขึ้น 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กับครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พร้อมผู้ปกครองนาอาหารคาวหวานมาถวายพระ เพลที่วัด 2. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ครอบครัว โรงเรียน และวัดให้ยิ่งดีขึ้น 3. นักเรียนสามารถปฏิบัติขั้นตอนการประกอบพิธีกรรมได้อย่างถูกต้อง การวัดผลประเมินผล 1.ร้อยละ 80 ของครอบครัวมีความพึงพอใจที่เข้าร่วมกิจกรรม 2.ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนประกอบพิธีกรรม 3.ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในเรื่องของการปลูกฝังค่านิยมที่ดีงาม มี คุณลักษณะที่ดียิ่งขึ้น
ผลการดาเนินการ
- ผู้มีส่วนร่วมมากกว่าร้อยละ80 มีความพึงพอใจและให้ความร่วมมือ -โรงเรียนกับชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
๔)กิจกรรมครอบครัวฮูลาฮูป ความสาคัญ ในกระแสของการที่คนหันมาดูแลสุขภาพกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเลือกบริโภค อาหาร หรือการ ออกกาลังกายที่หลากหลายยิ่งขึ้น หลายคนพยายามหาอุปกรณ์มาใช้ เพื่อประกอบการออกกาลังกาย เพื่อให้มีรูปร่างที่ดีขึ้น ฮูลาฮูปเป็นทางเลือกที่ดี หากปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี อีกทั้งยังเป็นการออกกาลังกาย เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้มีความรู้และเกิดทักษะในการออกกาลังกายโดยฮูลาฮูป 2. เพื่อสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกาย 3. เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 3. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น
การวัดประเมินผล 1. เปรียบเทียบน้าหนักและรอบเอวของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 3. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะในการออกกาลังกายโดยเล่นฮูลาฮูป 4. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น ผลการดาเนินการ หน่วยงาน
- ผู้มีส่วนร่วมมากกว่าร้อยละ80 มีความพึงพอใจและให้ความร่วมมือทั้ง โรงพยาบาล ให้เข้าร่วมให้ความรู้และแข่งขันร่วมกับผู้ปกครองและนักเรียน -โรงเรียนกับชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน - น้าหนักและรอบเอวของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มากกว่าร้อยละ 80 ลดตามความ
ตั้งใจ (ถึงแม้ว่าบางคนจะลดได้เพียงเล็กน้อย)
๕)กิจกรรมครอบครัวปันรัก ความสาคัญ “ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก “ การฝึกเยาวชนให้เป็นผู้ที่มจี ิตอาสา เป็นผู้เสียสละ ควรร่วมมือกันระหว่างบ้านครอบครัว และชุมชนในลักษณะช่วยกันดูแล โดยผู้ที่มีความพร้อมกว่าดูแลช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพทั้ง ทางร่างกายและจิตใจ เพื่อครอบครัวและชุมชนให้เข้มแข็งด้วย “ครอบครัวจิตอาสา ปันรัก” จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมีจิตอาสา 2.เพือ่ สร้างโอกาสที่ดีให้กับเยาวชนที่ต้องได้รับการดูแลเบื้องต้น 3.เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการดูแลผู้ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ 2. เพื่อให้ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน 3. เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีของครอบครัว
การวัดประเมินผล 1. ร้อยละ 80 ของครอบครัวผู้ที่ได้รับความช่วยเหลือมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ผลการดาเนินการ 1. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการให้คาปรึกษาแนะนาผู้อื่นได้ 2. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความสุขในการเป็นผู้ให้ 3. ครอบครัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดูแลตนเองได้ อบรมปันรัก
ปันรัก เยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรัง ณ โรงพยาบาลบ้านลาด
ปันรัก เยี่ยมบ้านคนชรา
ปันรักเพื่อนไม่ทิ้งกัน
๒. โครงการสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก ความสาคัญ การแสดงพื้นบ้านเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สะท้อนวิถีชีวิตของชุมชนแสดงให้เห็นถึงอัต ลักษณ์ของท้องถิ่นที่แตกต่างกัน กลองยาวลิเกเป็นการแสดงพื้นบ้านประจาถิ่นของอาเภอบ้านลาด แตกต่างจากการแสดงกลองยาวทั่วไป ถือเป็นสมบัติอันล้าค่าของท้องถิ่นที่ดารงให้คงอยู่และสืบสานต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการแสดงกลองยาวลิเก 2.เพื่อเป็นการส่งเสริม อนุรักษ์ และสืบสานการแสดงกลองยาวลิเก 3.เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีอาชีพพิเศษ เพิ่มรายได้ วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจความเป็นมาและลักษณะของกลองยาวลิเก 2.เพื่อให้ผู้เรียนแสดงกลองยาวลิเกได้ 3.เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้และทักษะการแสดงกลองยาวลิเกไปใช้ประกอบอาชีพ หรือเป็นรายได้เสริมได้ 4.เพื่อให้ผู้เรียนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการแสดงกลองยาวลิเกของ อาเภอบ้านลาด การวัดและประเมินผล 1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2.สังเกตจากการปฏิบัติกิจกรรม 3.ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
- ผู้มีส่วนร่วมมากกว่าร้อยละ80 มีความพึงพอใจและให้ความร่วมมือ -โรงเรียนกับชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแสดงพื้นบ้านกลองยาวลิเก อาเภอบ้านลาด สามารถแสดงกลองยาวลิเก และนาทักษะการแสดง กลองยาวลิเกอาเภอบ้านลาดไปประกอบ อาชีพและหารายได้พิเศษได้ ครูลิเก ทาพิธีไหว้ครู/พรมน้ามนต์ให้ลูกศิษย์ ผลการดาเนินการ
นักเรียนฝึกซ้อม
แสดงลิเก
๓. โครงการยุวเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ความสาคัญ โรงเรียนบ้านลาดวิทยาเป็นสถานศึกษาแบบอย่างพอเพียง โดยนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต ซึ่งสอดคล้องกับการดารงชีวิตของนักเรียนและชุมชนที่มีอาชีพส่วนใหญ่ ด้านเกษตรกรรม ดังนั้นเพื่อให้การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาลงสู่การปฎิบัติได้ อย่างเป็นรูปธรรม โรงเรียนจึงได้สานต่อกิจกรรมโดยการจัดโครงการศูนย์การเรียนรู้เกษตรตามแนว พระราชดาริของยุวเกษตรกรชุมชนบ้านลาด เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในอาชีพเกษตรกรรม เห็นคุณค่า และ ความสาคัญของอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทย . จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความรักความสามัคคีให้คนในชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในท้องถิ่น มีความรู้ ความเข้าใจและสืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง การทาปุ๋ย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลาดุก การ ทาปุ๋ยการปลูกผักปลอดสารพิษ ได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลาดุก การทาปุ๋ย การปลูกผัก ปลอดสารพิษ 3. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลาดุก การทาปุ๋ย การปลูกผักปลอด สารพิษ มาประกอบอาชีพได้
4. เพื่อให้ผู้เรียนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลาดุก การทา ปุ๋ย การปลูกผักปลอดสารพิษ ของอาเภอบ้านลาด การวัดผลและประเมินผลการเรียน 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2. การสังเกตการปฏิบัติจริงในการเลี้ยงไก่พื้นบ้าน การเลี้ยงปลาดุก การทาปุ๋ยการปลูกผัก ปลอดสารพิษ 3. ประเมินชิ้นงาน
ผลการดาเนินการ ผลการจัดอบรม พบว่า ได้รับความสนใจจากผู้ปกครอง และนักเรียนเป็นอย่างดีในการที่จะเข้าร่วม เป็นเครือข่ายโรงเรียน โดยโรงการเลี้ยงปลาดุก และการเลี้ยงไกพื้นบ้าน ได้ให้นักเรียนนาไปเลี้ยงที่บ้าน แต่มีเงื่อนไขว่าหากดาเนินการได้ผลจนสาเร็จ มีการขยายพันธุ์ปลา พันธุ์ไก่ได้ผล จะต้องนามาคืนที่ โรงเรียนเพื่อนาไปขยายพันธุ์ให้นักเรียนคนต่อไป ส่วนการทาน้าหมักชีวภาพและการปลูกพืชผักสวนครัว วิทยากรได้ขยายผล โดยมีการประสานกับครูผู้สอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียงในการให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ ปลูกพืชผักสวนครัว โดยใช้พื้นที่หลังบ้านพักครู ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ไม่ได้นาไปใช้ประโยชน์อะไร ซึ่งนักเรียนที่ ปลูกผักต้องไปเข้ารับการอบรมการทาน้าหมักชีวภาพมาใช้ในการลดต้นทุน และลดการใช้สารเคมี ซึ่งเป็น การปลูกผักปลอดสารพิษ โดยผักสวนครัวที่ปลูก ได้แก่ ผักกาดขาว กวางตุ้ง คะน้า ผักบุ้ง ถั่ว ถั่วพู บวบ ผักชี การเพาะเห็ดนางฟ้า และเห็ดภูฐาน ซึ่งต้องสร้างโรงเรือนเพาะเห็ด การปลูกพืชผักมี วัตถุประสงค์ให้นักเรียนรู้จักการเพิ่มรายได้และลดรายใจในครอบครัว โดยจะมีนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับประโยชน์จากิจกรรมนี้เป็นอย่างมาก จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง ตามโครงการยุวเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้อานวยการมงคล ชูวงษ์วัฒนะ เป็นประธานเปิดงาน
นานักเรียนศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ณ เ ข้ากลิ้ง
วิทยากรให้ความรู้ ความเป็นมาของโครงการ ใหม่
การเลี้ยงหมูหลุม
บรรยายการทากาซชีวภาพ
บรรยายการบริหารการบาบัดน้าเสียแล้วนามาใช้
การต้มดินเพื่อนามาทาเป็นบ้านดิน
การปลูกพืชผักสวนครัว
ศึกษาดูงานโครงการในพระราชดาริ โครงการช่างหัวมัน
คุณลุงศรราม ผู้ดูแลโครงการ
นักเรียนที่ไปศึกษาดูงาน
นายประสงค์ เปรื่องปราชญ์ วิทยากรให้ความรู้ในเรื่องการเลี้ยงไก่พื้นบ้าน
นายพิชัย ประสมศรี เป็นวิทยากรให้ ความรู้ เรื่องการขยายพันธุ์ไม้
นายฉอ้อน ขาทวี เป็นวิทยากร เรื่องการเลี้ยงปลาดุก
๔. โครงการ การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่นของคนบ้านลาด (ตาลโตนด)
ความสาคัญ ปัจจุบันอาชีพของชุมชนคนบ้านลาดร้อยละ 80 ของประชากรที่ประกอบทางการเกษตร เช่น การ ทานา ทาไร่ และค้าขายพืชไร่ เช่น ชมพู่ มะนาว ละมุด กล้วย และการทาตาลโตนด สาหรับอาชีพทา ตาลโตนด นับวันจะเหลือการทาน้อยลง และมีการทานาเพื่อขึ้นเป็นปีละ 2 ครั้ง ชุมชนจึงเวลาว่างที่จะทา ตาลโตนดน้อยลง ประกอบกับ ต้นตาลมีจานวนน้อยเพราะต้นถึกนาไปปลูกสิ่งก่อสร้างและสิ่งประดิษฐ์ ต่างๆ มากมาย ที่เอื้ออานวยประโยชน์ต่อการดารงชีพ ทาให้เศรษฐกิจของครอบครัวเพิ่มขึ้น อีกทั้ง เยาวชนคนรุ่นใหม่ขาดความสนใจในอาชีพดั้งเดิม ไม่เห็นคุณค่าความสาคัญ จึงเห็นสมควรให้มีการ อนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให้อยู่คู่กับชุมชนคนบ้านลาด ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในแต่ละชุมชนล้วนแสดงออกถึงชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนซึ่งชุมชนและ โรงเรียนเป็นสถานที่ที่ต้องพึ่งพาอาศัยกัน บุตรหลานของคนในชุมชนได้เข้ามาศึกษาหาวิช าความรู้ใน โรงเรียนแต่ไ ม่ ไ ด้เ รียนรู้ถึง ภูมิ ปัญ ญาในท้องถิ่นของตนเองที่บรรพบุรุษได้สืบทอดกันมา เพื่อเป็นการ อนุรักษ์อาชีพของคนในชุมชนให้คงอยู่ต่อไปโดยบุตรหลานของคนในชุมชน โรงเรียนจึงเห็นความสาคัญ ของภูมิปัญญาท้องถิ่นจึงได้ มีการร่วมมือกัน ระหว่างชุมชนกับโรงเรียน จัดทาโครงการการอนุรักษ์อาชีพ ท้องถิ่นของ คนบ้านลาด (ตาลโตนด) ขึ้นมาให้แก่เด็กนักเรียนเพื่อสืบเจตนารมและร่วมกันอนุรักษ์ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป . จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อปลูกฝังให้เยาวชนคนบ้านลาด มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพดั้งเดิมของท้องถิ่น 2. เพื่อการอนุรักษ์การทาอาชีพตาลโตนดให้เป็นวิถีชีวิตของคนบ้านลาด 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและรู้คุณค่าเพื่อการอนุรักษ์อาชีพตาลโตนดได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างอาชีพต่างๆ จากตาลโตนดได้อย่างหลากหลาย 3. เพื่อส่งเสริมการเพิ่มรายได้ของครอบครัว โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคู่คนบ้านลาด 4. เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะที่ดีให้เกิดกับผู้เรียน โดยการสร้างวินัยในตนเอง ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียงเคียงคู่ความเป็นไทย มีความมุ่งมั่นรักการทางาน มีความซื่อสัตย์สุจริต และมี จิตสาธารณะต่อส่วนรวม 5. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักใช้ปัญญา พึ่งพาตนเอง ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข . การวัดและประเมินผล ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2. การประเมินผลงาน
ผลการดาเนินงาน 1. นักเรียน 2. โรงเรียน
3. ชุมชน
เห็นค่าความสาคัญในอาชีพท้องถิ่น สามารถอนุรักษ์เพื่อความยั่งยืน มีอาชีพอิสระ พึ่งพาตนเองได้ สามารถพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนได้ 100 % เพราะใช้ หลักสูตร ท้องถิ่น เรื่องตาลโตนดเป็นสื่อกลาง ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น เพราะจัด การศึกษาแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน เป็นชุมชนที่เข้มแข็งมีลักษณะของตนเอง รายได้เพิ่มขึ้น และห่างไกล ยาเสพติด
๕. โครงการศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชน คนบ้านลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี ๑) กิจกรรมการทาปุ๋ยหมัก ความสาคัญ สภาพการประกอบอาชี พ ทางการเกษตรในปั จ จุ บั น เปลี่ ย นแปลงไปจากอดี ต ด้ ว ยความ เจริญก้า วหน้าของเทคโนโลยีและสภาพสังคม จึงไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจในองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ทาให้ค่าครองชีพของคนในชุมชนสูงขึ้น ประกอบกับวิถีการดาเนินชีวิตมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น โรงเรียนบ้านลาดเล็งเห็นความสาคัญจึงได้ร่วมมือกับองค์กรในชุมชนอาเภอบ้านลาดจัดสร้าง หลัก สูตรการท าปุ๋ ยหมั ก จากวัส ดุเหลือใช้ใ นท้องถิ่น โดยระดมพลังภูมิปัญญาและทรัพ ยากรที่มีอยู่ ใ น ท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์เพื่อเป็นพลังสาคัญในการพัฒนาชุมชน เกิดความร่วมมือและเสริมสร้าง กระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและบุคคลในท้องถิ่นเพื่อนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ใน ท้องถิ่น 2.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 3.เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างจิตสานึกในการเป็นผู้บริโภคที่มีการบริหารจัดการสิ่งเหลือใช้ในท้องถิ่นที่ดี 2.เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์และวิธีการทาปุ๋ยหมัก 3.เพื่อนาทักษะการทาปุ๋ยหมักไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ประกอบด้วย 1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2.ตรวจผลงานการทาปุ๋ยหมัก ผลการดาเนินงาน 1.ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 2.ผู้เรียนมีทักษะการทาทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น 3.ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4.ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ทักษะการทาปุ๋ยหมักไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้ ๒. กิจกรรม คุณค่าของพืช ผักปราศจากสารพิษ จากปุ๋ยหรือพืชธรรมชาติ
ความสาคัญ สภาพแวดล้อมปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตเป็นอันมาก เช่นมลภาวะเป็นพิษ ดินถล่ม ฝนไม่ตก ต้องตามฤดูกาล การใช้ที่ดินไม่เหมาะสม อุณหภูมิของอากาศแปรปรวน ซึ่งมีสาเหตุอันเนื่องมาจากชุมชม และสังคมขาดจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โรงเรียนบ้านลาดเล็งเห็น ความสาคัญจึงได้ร่วมมือกับองค์กรในชุมชนอาเภอบ้านลาดจัดสร้างหลักสูตรคุณค่าของพืชพรรณท้องถิ่น โดยระดมพลังภูมิปัญญาและทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์เพื่อเป็นพลังสาคัญในการ พัฒนาสิ่งแวดล้อม เกิดความร่วมมือและเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและบุคคลในท้องถิ่น เพื่อนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีต่อไป จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการปลูกพืชพรรณให้เหมาะสมกับ ท้องถิ่น 2.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการปลูกพืชแต่ละชนิด 3.เพื่อให้ผู้เรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญของพืชพรรณและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างจิตสานึกในการเป็นผู้บริโภคที่มีการบริหารจัดการพืชพรรณในท้องถิ่นที่ดี 2.เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์และวิธีการปลูกพืชพรรณ 3.เพื่อนาทักษะการปลูกพืชพรรณไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ประกอบด้วย 1.สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม 2.ตรวจผลงานการปลูกพืชพรรณ ผลการดาเนินงาน 1.ผู้เรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนการปลูกพืชพรรณ 2.ผู้เรียนผู้ปกครองมีทักษะการปลูกและบารุงรักษาพืชพรรณ 3.ผู้เรียนผู้ปกครองมีความตระหนักถึงความสาคัญของพืชพรรณของท้องถิ่นและการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม 4.ผู้เรียนผู้ปกครองสามารถนาความรู้ ทักษะการปลูกพืชพรรณไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ ได้ คุณสุริยะ ชูวงศ์ ให้ความรู้เรื่อง น้าส้มจากควันไม้และการเผาถ่านที่ได้ปริมาณถ่านมากที่สุด
ภูมิปัญญาชาวบ้าน ใช้หลอดไฟ กับผงซักฟอก ยี่ห้อหนึ่งในการล่อแมลงที่ทาลายพืช ในไร่ นา สวน ให้มาลงเล่นน้า รัศมีของกลิ่น 2 กิโลเมตร
การทาการจับใบด้วยใบขี้เหม็น ในการป้องกันแมลงศัตรูพืช
ผู้ปกครองและนักเรียนสนใจเรียนรู้
การทาปุ๋ยหมักจาก เปลือก ลูกตาลโตนด
ผลผลิต น้าส้อมควันไม้จาการเผาถ่าน (ผลละประมาณ 8-10 บาท สาหรับดูดกลิ่นในตู้เย็น)
ผลผลิต น้าส้อมควันไม้จาการเผาถ่าน
นักวิชาการและเกษตรตาบลถ้ารงค์ให้ความร่วมมือในการดูแล ติดตามให้ความรู้
ผลผลิตจากการนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิติประจาวัน
ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก /รายงานกิจกรรม (ถ้ามี)
ลงชื่อผู้ทารายงาน (ผู้ประสานโครงการ) พรรณี เทพสูตร (นางพรรณี เทพสูตร) วัน/เดือน/ปี่ 24 มกราคม 2555
ลงชื่อหัวหน้าองค์กรฯ (ผู้รับทุน) มงคล ชูวงศ์วัฒนะ (นายมงคล ชูวงศ์วัฒนะ) วัน/เดือน/ปี