แบบ รง.๕ เลขทีข่ ้อตกลง..................................... งวดที่...................................................
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ ปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น รายงานในรอบ ๖ เดือน ---------------------------------ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ๑ เชิงปริมาณ ๑.๑ ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ เกิดความภาคภูมิใจ รักและห่วงแหนวัฒนธรรม ประเพณี ในท้องถิ่นของตนเอง ๑.๒ ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ เกิดความภูมิใจ รัก และหวงแหนท้องถิ่นของตนเอง ๑.๓ ผู้เรียนร้อยละ ๙๐ มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี ๑.๔ จัดประเพณีแห่หมฺรับเดือนสิบ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่า และ ชุมชน จานวน ๑ ครั้ง ๒. เชิงคุณภาพ ๒.๑ โรงเรียนมีหลักสูตรเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เหมาะสมกับผู้เรียน ๒.๒ ผู้เรียนที่เรียนรู้ตามหลักสูตรมีความรู้ความเข้าใจ เกิดความภาคภูมิใจ รักและ หวงแหนวัฒนธรรมและประเพณีในท้องถิ่นของตนเอง ๒.๓ ผู้เรียนและชุมชน มีความเข้าใจในการจัดประเพณีแห่หมฺรับสามารถสืบทอด ประเพณีแห่หมฺรับได้ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของตนเอง ๒. เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นอย่างมีความสุข ๓. เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป ๔. เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต
ผลลัพธ์
๑. ผู้เรียนและครู ร่วมกิจกรรมประเพณีที่สาคัญใน ท้องถิ่น และร่วมจัดประเพณีแห่หฺมฺรับ เดือนสิบ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่า และ ชุมชน จานวน ๑ ครั้ง
๑. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ เกิดความภาคภูมิใจ รักและ ห่วงแหนวัฒนธรรม ประเพณีในท้องถิ่น ของ ตนเอง
๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการกับประเพณีที่สาคัญในท้องถิ่น และ ประเพณีแห่หฺมฺรับเดือนสิบ อย่างน้อย ๕ กลุ่ม สาระ
๒. นักเรียนทุกคนมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิต สูงขึ้นทั้งด้านร่างกาย จิต สังคมและสติปัญญา ซึ่งเป็นผลทาให้สามารถใช้ชีวิตในสังคมปัจจุบันได้ อย่างมีความสุข
๒. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๑. ศึกษาข้อมูล
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ไม่ได้ทา ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น เมื่อวันที่ ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ๗ เม.ย. ๕๔ ครู ๑๔ คน ร่วมกันศึกษาสภาพความ ผู้นาชุมชน ๑๔ คน ต้องการของชุมชนโดย ผู้ปกครองนักเรียน ๒ คน การทาประชาคม ที่ ประชุมมีมติให้ส่งเสริม ประเพณีวัฒนธรรม ท้องถิ่นในรูปแบบของ บูรณาการกิจกรรมใน ชุมชน ๒๐ พ.ค. ๕๔ ฝ่ายอานวยการ ๙ คน คณะทางานได้รับการ ฝ่ายดาเนินงาน ๔ คน แต่งตั้งให้ดาเนินงานตาม โครงการโดยใช้หลักการ มีส่วนร่วม
กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๓. ประชุมวางแผนการ ดาเนินงาน
๔. ดาเนินงานตามกิจกรรม ๔.๑ จัดทาหลักสูตร ท้องถิ่นเรื่องประเพณีและ วัฒนธรรมท้องถิ่น ๔.๒ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการประเพณีและ วัฒนธรรมท้องถิ่น
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ไม่ได้ทา ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น เมื่อวันที่ ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ๔ ก.ค. ๕๔ ครู ๑๔ คน วางแผนการดาเนินงาน ตัวแทนเจ้าอาวาส ๑ รูป ตามเป้าหมายและ ผู้นาชุมชน ๑๕ คน วัตถุประสงค์ของ โครงการ โดยกาหนดให้ มีหลักสูตรและกิจกรรม ในรูปแบบของการบูรณา การการเรียนการสอนและ การปฏิบัติจริง พ.ค.– มิ.ย.๕๔ ครู ๑๔ คน - จัดทาหลักสูตรท้องถิ่น ผู้นาชุมชน ๑๕ คน และหน่วยการเรียนรู้เรื่อง พระสงฆ์ ๙ รูป ประเพณีท้องถิ่น นักเรียนโรงเรียนวัดบ้าน - จัดกิจกรรมหล่อเทียน สวนและโรงเรียน พรรษา สมโภชเทียน อื่นๆ ๒๐๐ คน พรรษา และ ประชาชนทั่วไป 65 คน ถวายเทียนพรรษา
กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๕. เชิญวิทยากรในชุมชน ให้ความรู้แก่นักเรียน เกี่ยวกับการทาขนมเดือนสิบ และการจัดหมรับ จัดทาหนังสือเชิญวิทยากร ที่มีความรู้เกี่ยวกับการทา ขนมที่ใช้ในการทาบุญวัน สารทเดือนสิบ เช่น ขนม เทียน ขนมบ้า ขนมเบซา และการจัดหมฺรับ มาให้ ความรู้แก่นักเรียน และ สาธิตการทาขนมให้นักเรียน ดู นักเรียนร่วมกันทาขนม แล้วนาไปแจกผู้อาวุโส และ ผู้นาท้องถิ่นในชุมชน จานวน ๕๐ ชุด
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่ ๒๖ก.ย.๕๔
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ครู ๑๔ คน ๑. นักเรียนมีความรู้และ วิทยากร ๖ คน สามารถทาขนมที่ใช้ในการ นักเรียน ๒๓๔ คน ทาบุญวันสารทเดือนสิบ ๒. นักเรียนมีความรู้และ สามารถจัดหมฺรับได้ ๓. นักเรียนมีจิตใจที่โอบ อ้อมอารี มีสัมมาคารวะ
กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๖. ประชาสัมพันธ์ประเพณี แห่หมฺรับ ๖.๑ ประชาสัมพันธ์ทาง สถานีวิทยุกระจายเสียง อสมท. จ.พัทลุง ช่วงเวลา ข่าวท้องถิ่น ๖.๒ ทาป้ายประชา สัมพันธ์การจัดประเพณีแห่ หมฺรับของวัดบ้านสวน ๖.๓ จัดทาแผ่นพับประชา สัมพันธ์การจัดกิจกรรม ประเพณีแห่หมฺรับของ โรงเรียนวัดบ้านสวน ๗. จัดนิทรรศการความรู้ เกี่ยวกับประเพณีแห่หมฺรับ และการทาบุญวันสารท เดือนสิบ ๘. ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา นักเรียน โรงเรียนวัด บ้านสวนร่วมกับสมาคม ศิษย์เก่าโรงเรียนวัดบ้านสวน กลุ่มพลังมวลชนและองค์กร ในท้องถิ่น จานวน ๑๖ หน่วย ร่วมกันจัดประเพณี แห่หมฺรับไปทาบุญวันสารท เดือนสิบที่วัดบ้านสวน
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่ ๑๒ – ๒๗ ก.ย. ๕๔
๒๗ก.ย.๕๔
๒๗ก.ย.๕๔
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ประชาชนในท้องถิ่น ประชาชนในตาบลควน จังหวัดพัทลุงและจังหวัด มะพร้าวและท้องถิ่น ใกล้เคียง ใกล้เคียงได้ทราบ รายละเอียดการจัด กิจกรรมประเพณีแห่ หมฺรับและร่วมทาบุญวัน สารทเดือนสิบที่วัดบ้าน สวน
ประชาชนที่ร่วมกิจกรรม ผู้ร่วมกิจกรรมมีความรู้ ทาบุญวันสารทเดือนสิบ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ทาบุญวันสารทเดือนสิบ และประเพณีแห่หมฺรับ ประชาชนในท้องถิ่น ๑. นักเรียนได้เรียนรู้ จังหวัดพัทลุงและจังหวัด วัฒนธรรมและประเพณี ใกล้เคียง ในท้องถิ่น ๒.นักเรียนและผู้เข้าร่วม กิจกรรมมีความสุข สนุกสนาน และมีความ ภาคภูมิใจกับประเพณีใน ท้องถิ่น ๓. เป็นแบบอย่างให้แก่ ประชาชนในท้องถิ่นอื่น
กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๙. นักเรียนสาธิตและ จาหน่ายการทาขนมเทียน ขนมบ้า ขนมเบซา(ดีซา) ซึ่ง ใช้ในการทาบุญในวันสารท เดือนสิบในวัดบ้านสวน ๑๐. การประเมินผล ประเมินจากความพึง พอใจของผู้ร่วมกิจกรรม ๑๑.จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ณ โรงเรียนบ้าน ระหว่างควน - นักเรียนสาธิตการทา ขนมเทียน ขนมบ้า ขนมเบซา(ดีซา) ซึ่งใช้ใน การทาบุญในวันสารท - จัดนิทรรศการผลการ ดาเนินงาน
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่ ๒๗ก.ย.๕๔
๒๗ก.ย.๕๔
๑๑ พ.ย.๕๔
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ประชาชนที่ร่วมกิจกรรม ผู้ร่วมกิจกรรมได้ร่วมทา ทาบุญวันสารทเดือนสิบ และชิมขนมเทียน ขนมบ้า ในวัดบ้านสวน ขนมเบซา(ดีซา) ทุกคนมี ได้ร่วมกิจกรรมอย่าง ความสุข ประชาชนที่ร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความ ทาบุญวันสารทเดือนสิบ พึงพอใจอยู่ในระดับมาก ในวัดบ้านสวน คิดเป็นร้อยละ96.73 ครู นักเรียน และ ๑. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ บุคลากรอื่นจากโรงเรียน วิธีการดาเนินงานและผล วัดบ้านสวน โรงเรียน การดาเนินงาน บ้านระหว่างควน ๒. ได้ประชาสัมพันธ์ผล โรงเรียนวัดลอน ชุมชน การดาเนินงาน วัดป่าบอน และคณะครู นักเรียนจากโงเรียน ใกล้เคียง
๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ องค์กรอื่นในจังหวัดพัทลุงเข้าร่วมกิจกรรม ๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. ออกเสียงตามสายหอกระจายข่าวในชุมชน ๒. จัดทาวารสารประชาสัมพันธ์โครงการ ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) ไม่มี
จานวน จานวน ๑๕ องค์กร
๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสสรคข้างต้น ไม่มี ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ (/ ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) - กิจกรรมและประเพณีท้องถิ่นที่ส่งผลต่อการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนได้แก่ ๑. กิจกรรมวันปิดลาน ๒. กิจกรรมรดน้าดาหัวผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ ๓. ประเพณีลอยกระทง ๔. วันขึ้นปีใหม่ ๕. วันสาคัญทางศาสนา ๖. วันแม่แห่งชาติ ๗. วันพ่อแห่งชาติ ๘. ประเพณีชักพระ ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มีจานวน ......... ครั้ง ได้แก่ (ให้รายละเอียด)..............โรงเรียน................... ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด ๑. ผู้เรียนและครู ร่วมกิจกรรม ๑. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ เกิดความ สังเกตจากการร่วมกิจกรรมและ ประเพณีที่สาคัญในท้องถิ่น และร่วม ภาคภูมิใจ รักและห่วงแหนวัฒนธรรม แบบสารวจความพึงพอใจของ จัดประเพณีแห่หฺมฺรับ เดือนสิบ ประเพณีในท้องถิ่น ของ นักเรียน ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่า และ ชุมชน ตนเอง จานวน ๑ ครั้ง ๒. โรงเรียนวัดบ้านสวน จัดกิจกรรม ๒. นักเรียนทุกคนมีสุขภาวะและ การเรียนรู้บูรณาการกับประเพณีที่ คุณภาพชีวิตสูงขึ้นทั้งด้านร่างกาย จิต สาคัญในท้องถิ่น และ ประเพณีแห่ สังคมและสติปัญญา หฺมฺรับเดือนสิบ อย่างน้อย ๕ กลุ่ม ซึ่งเป็นผลทาให้สามารถใช้ชีวิตใน สาระ สังคมปัจจุบันได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ ๓.สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ๑ ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) ๑.๑ หลักสูตรท้องถิ่นบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ๑๘ ภาพ)
แบบ รง.๑ เลขทีข่ ้อตกลง..................................... งวดที่...................................................
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ ส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน รายงานงวดที่ ๑ ตั้งแต่ ๑ เมษายน ๒๕๕๔ ถึง ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ ---------------------------------ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ๑. เชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนวัดบ้านสวน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมใช้ ทักษะกระบวนการคิดศึกษาบริบทของชุมชนในรูปแบบของโครงงาน ๒. เชิงคุณภาพ ๒.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทาโครงงาน ๒.๒ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ บริบทของชุมชนในด้าน สถานที่สาคัญใน ชุมชน บุคคลสาคัญในชุมชน กลุ่มมวลชนในชุมชน นิทานพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก บทร้องเล่นในท้องถิ่น ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น และภาษาถิ่น ๒.๓ นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม และทักษะการนาเสนอ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดด้วยรูปแบบของโครงงาน ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบริบทของชุมชนตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ๓. เพื่อให้นักเรียนเกิดจิตสานึกรักชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ๑.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในบริบทของ ๑. นักเรียนมีความรัก ความภูมิใจในความเป็น ชุมชนตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมืองพัทลุง ท้องถิ่นของตนเอง ๒.นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิดตามรูปแบบ ๒. โรงเรียนได้สาระท้องถิ่นเพื่อนาไปพัฒนา ของโครงงาน หลักสูตรสถานศึกษา ๓.นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม และทักษะ การนาเสนอ
๒. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๑. ทาประชาคมบุคคลที่ เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา
๒. แต่งตั้งคณะทางานระดับ โครงการ ๓. ประชุมคณะกรรมการ ระดับโครงการ
๔. อบรมนักเรียนให้ความรู้ เกี่ยวกับการทาโครงงาน ๕.นักเรียนแบ่งกลุ่มทา โครงงานตามความสนใจ ภายในกรอบที่กาหนด ๖.นักเรียนเขียนเค้าโครง โครงงาน
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ไม่ได้ทา ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น เมื่อวันที่ ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ๗ เม.ย. ๕๔ ครู ๑๔ คน ๑.ผลการวิเคราะห์สภาพ ผู้นาชุมชน ๑๔ คน ปัจจุบัน ปัญหาของ ผู้ปกครองนักเรียน ๒ คน โรงเรียนและชุมชน ๒.ผู้เข้าร่วมประชุม มีมติ ให้โรงเรียนกาหนด โครงการส่งเสริม กระบวนการคิด ด้วย จิตสานึกรักชุมชน ๒๓ พ.ค. ๕๔ ครู ๔ คน ได้คาสั่งผู้ที่รับผิดชอบ ระดับโครงการ ๒๐ มิ.ย. ๕๔ ครู ๔ คน คณะกรรมการได้กาหนด วางแผนการปฏิบัติงาน ตามโครงการ และ ประสานงานวิทยากรที่ให้ ความรู้เรื่องโครงงาน ๒๕ มิ.ย. ๕๔ ครู ๙ คน นักเรียนได้รับความรู้ นักเรียน ชั้น ป.๔ – ๖ เกี่ยวกับการทาโครงงาน จานวน ๘๓ คน ๒๕ มิ.ย.๕๔ ครู ๔ คน นักเรียนเลือกหัวหน้ากลุ่ม นักเรียนชั้น ป.๔ – ๖ มอบหมายหน้าที่ในกลุ่ม จานวน ๘๓ คน และครูที่ปรึกษาในกลุ่ม ๒๕ – ๓๐ ครู ๔ คน นักเรียนแต่ละกลุ่มมีเค้า มิถุนายน นักเรียนชั้น ป.๔ – ๖ โครงโครงงานเพื่อใช้ใน ๒๕๕๔ จานวน ๘๓ คน การดาเนินงานตาม กิจกรรมของโครงงาน
๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ทาให้ได้ฝึกทักษะการเป็นผู้นา ผู้ตาม การ พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการทางานที่มีการวางแผนเป็นขั้นตอน
จานวน นักเรียน ๘๓ คน
๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. การเชิญวิทยากรจากโรงเรียนวัดวิหารเบิก มาให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องการทาโครงงาน ๒. การเชิญตัวแทนจากองค์กรอื่น ๆ ในชุมชนมาร่วมวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และร่วมกันกาหนด โครงการ ๓. การให้นักเรียนเก็บข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาต่าง ๆ ในชุมชน ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( / ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( / ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มีจานวน - ครั้ง
ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิดตาม นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิดตาม รูปแบบของโครงงาน รูปแบบของโครงงาน
นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม และ นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม ทักษะการนาเสนอ
อธิบายรายละเอียด นักเรียนมีการทางานที่เป็น ลาดับขั้นตอน รู้จักการวางแผน และดาเนินงานตามแผน ใช้ ความสามารถทุกด้านในการ สังเคราะห์เพื่อทาโครงงาน นักเรียนมีการเลือกหัวหน้ากลุ่ม เลขานุการ เป็นผู้นา ผู้ตาม รู้จัก พูดแสดงความคิดเห็น และรู้จัก ยอมรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น
๓. สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน - ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ๙ ภาพ) ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน - ภาพ)
แบบ รง.๑ เลขทีข่ ้อตกลง..................................... งวดที่...................................................
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ ส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน รายงาน งวด ๖ เดือน มิถุนายน - พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ---------------------------------ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ๑. เชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนวัดบ้านสวน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมใช้ ทักษะกระบวนการคิดศึกษาบริบทของชุมชนในรูปแบบของโครงงาน ๒. เชิงคุณภาพ ๒.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทาโครงงาน ๒.๒ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ บริบทของชุมชนในด้าน สถานที่สาคัญใน ชุมชน บุคคลสาคัญในชุมชน กลุ่มมวลชนในชุมชน นิทานพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก บทร้องเล่นในท้องถิ่น ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น และภาษาถิ่น ๒.๓ นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม และทักษะการนาเสนอ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดด้วยรูปแบบของโครงงาน ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบริบทของชุมชนตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ๓. เพื่อให้นักเรียนเกิดจิตสานึกรักชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ๑.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในบริบทของ ๑. นักเรียนมีความรัก ความภูมิใจในความเป็น ชุมชนตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมืองพัทลุง ท้องถิ่นของตนเอง ๒.นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิดตามรูปแบบ ๒. โรงเรียนได้สาระท้องถิ่นเพื่อนาไปพัฒนา ของโครงงาน หลักสูตรสถานศึกษา ๓.นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม และทักษะ การนาเสนอ
๒. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๑. ทาประชาคมบุคคลที่ เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา
๒. แต่งตั้งคณะทางานระดับ โครงการ ๓. ประชุมคณะกรรมการ ระดับโครงการ
๔. อบรมนักเรียนให้ความรู้ เกี่ยวกับการทาโครงงาน ๕.นักเรียนแบ่งกลุ่มทา โครงงานตามความสนใจ ภายในกรอบที่กาหนด ๖.นักเรียนเขียนเค้าโครง โครงงาน
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ไม่ได้ทา ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น เมื่อวันที่ ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ๗ เม.ย. ๕๔ ครู ๑๔ คน ๑.ผลการวิเคราะห์สภาพ ผู้นาชุมชน ๑๔ คน ปัจจุบัน ปัญหาของ ผู้ปกครองนักเรียน ๒ คน โรงเรียนและชุมชน ๒.ผู้เข้าร่วมประชุม มีมติ ให้โรงเรียนกาหนด โครงการส่งเสริม กระบวนการคิด ด้วย จิตสานึกรักชุมชน ๒๓ พ.ค. ๕๔ ครู ๔ คน ได้คาสั่งผู้ที่รับผิดชอบ ระดับโครงการ ๒๐ มิ.ย. ๕๔ ครู ๔ คน คณะกรรมการได้กาหนด วางแผนการปฏิบัติงาน ตามโครงการ และ ประสานงานวิทยากรที่ให้ ความรู้เรื่องโครงงาน ๒๕ มิ.ย. ๕๔ ครู ๙ คน นักเรียนได้รับความรู้ นักเรียน ชั้น ป.๔ – ๖ เกี่ยวกับการทาโครงงาน จานวน ๘๓ คน ๒๕ มิ.ย.๕๔ ครู ๔ คน นักเรียนเลือกหัวหน้ากลุ่ม นักเรียนชั้น ป.๔ – ๖ มอบหมายหน้าที่ในกลุ่ม จานวน ๘๓ คน และครูที่ปรึกษาในกลุ่ม ๒๕ – ๓๐ ครู ๔ คน นักเรียนแต่ละกลุ่มมีเค้า มิถุนายน นักเรียนชั้น ป.๔ – ๖ โครงโครงงานเพื่อใช้ใน ๒๕๕๔ จานวน ๘๓ คน การดาเนินงานตาม กิจกรรมของโครงงาน
กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๗. ประชุมคณะทางานระดับ โครงการ
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่ ๒๖ ก.ย. ๕๔
๘. นักเรียนพร้อมครูที่ ปรึกษาลงพื้นที่ในชุมชน
๑๑ -๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๔
๙. นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุป องค์ความรู้
๑๗ ต.ค. ๕๔
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ครู ๔ คน คณะกรรมการได้กาหนด วางแผนการปฏิบัติงาน ตามโครงการ และ ประสานงานวิทยากร /ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นที่ให้ความรู้ เรื่องตามกรอบศึกษา ๘ เรือ่ ง ครู ๔ คน นักเรียนได้รับความรู้จาก นักเรียนชั้น ป.๔ – ๖ การสืบค้นข้อมูลจาก จานวน ๘๓ คน วิทยากร / ภูมิปัญญา ท้องถิ่นตามกรอบศึกษา ๘ เรื่อง ครู ๔ คน นักเรียนได้องค์ความรู้ นักเรียนชั้น ป.๔ – ๖ เพื่อนามาเขียนรายงาน จานวน ๘๓ คน ตามรูปแบบการจัดทา โครงงาน
๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ - ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ทาให้ได้ฝึกทักษะการเป็นผู้นา ผู้ตาม การพูดแสดงความคิดเห็น การตั้งคาถามในการสืบค้นข้อมูล ตามกระบวนการทางานที่มีการวางแผนเป็นขั้นตอน - นักเรียนมีกิริยามารยาทที่ดีงามในการพูด การไหว้ การรับประทาน อาหาร และได้รู้จักบุคคลสาคัญในท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นแขนงต่างๆ
จานวน นักเรียนชั้น ป.๔ – ๖ จานวน ๘๓ คน
๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. การเชิญวิทยากรในท้องถิ่น ผู้นาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาให้ความรู้แก่นักเรียนตามกรอบศึกษา ๒. การให้นักเรียนเก็บข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาต่าง ๆ ในชุมชน ๓. การกาหนดสถานที่ในการพบวิทยากร ผู้นาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( / ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( / ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มีจานวน - ครั้ง ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิดตาม นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิด นักเรียนมีการทางานที่เป็นลาดับ รูปแบบของโครงงาน ตามรูปแบบของโครงงาน ขั้นตอน รู้จักการวางแผน และ ดาเนินงานตามแผน ใช้ ความสามารถทุกด้านในการ สังเคราะห์เพื่อทาโครงงาน นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม และ นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม นักเรียนมีการเลือกหัวหน้ากลุ่ม ทักษะการนาเสนอ เลขานุการ เป็นผู้นา ผู้ตาม รู้จัก พูดแสดงความคิดเห็น และรู้จัก ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น นักเรียนมีทักษะการตั้งคาถาม นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิดใน นักเรียนแต่ละกลุ่มมีการวางแผน การสืบค้นข้อมูล ในการตั้งคาถาม การพูดแสดง ความคิดเห็นและการจดบันทึก ความรูเ้ พื่อนาข้อมูลจัดทาโครงงาน
๓. สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน - ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน .... ภาพ) ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน - ภาพ)
แบบ รง.๕ เลขทีข่ ้อตกลง..................................... งวดที่...................................................
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ สร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง รายงานงวดที่ ตั้งแต่ ๑ เมษายน ๒๕๕๔ ถึง ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ---------------------------------ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ๑. เชิงปริมาณ ๑.๑ นักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ร้อยละ ๘๐ ได้เรียนรูเ้ กี่ยวกับประวัติความเป็นมา การบรรเลง การเก็บรักษาอังกะลุง ๑.๒ นักเรียนบรรเลงร่วมเป็นวงอังกะลุงของโรงเรียน จานวน ๑ วง ๒. เชิงคุณภาพ ๓.๒.๑ วงอังกะลุงของโรงเรียนให้บริการในกิจกรรมต่างๆได้อย่างถูกต้อง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา การบรรเลง การเก็บรักษาอังกะลุง ได้อย่างถูกต้อง ๒. เพื่อให้นักเรียนนาวงอังกะลุงไปแสดงในโอกาสต่างๆได้ ๓. เพื่อส่งเสริมความสามัคคีในหมู่คณะ ๔. เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์อังกะลุงให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ๕. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนกล้าคิดกล้าทาและแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ๑. ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและสืบทอดให้เป็น ๑. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะในการเล่น เอกลักษณ์ของคนไทย เครื่องดนตรีอังกะลุง ๒. ผู้เรียนมีความสามัคคี ๒. โรงเรียนมีวงดนตรีอังกะลุงแสดงในกิจกรรม ๑. โรงเรียน วัด ชุมชน มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ของโรงเรียน และชุมชนตามโอกาส ๒. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
๒. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๑. ทาประชาคมบุคคลที่ เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา
๒. ประชาสัมพันธ์รับสมัคร นักเรียนเข้าร่วมโครงการ
๓. ประสานวิทยากร ภายนอก
๔. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดาเนินงาน
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม ไม่ได้ทา ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น เมื่อวันที่ ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ๗ เม.ย. ๕๔ ครู ๑๔ คน ผู้เข้าร่วมประชาคม ร้อยละ ผู้นาชุมชน ๑๔ คน ๑๐๐ มีมติให้โรงเรียนฝึก ผู้ปกครองนักเรียน ๒ คน ดนตรีอังกะลุง เนื่องจากเป็น ดนตรีที่ฝึกซ้อมง่าย ไพเราะ และสร้างความสามัคคี ๙ พ.ค. ๕๔ ครู ๑๒ คน นักเรียนเข้าร่วมโครงการ นักเรียน ๘๓ คน ร้อยละ ๑๐๐ เนื่องจากได้ (ชั้นป.๔-ป.๖) สอนเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมา การบรรเลง การเก็บรักษาอังกะลุงใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) และได้คัดเลือก สาหรับเล่นอังกะลุง จานวน ๑๘ คน ๑๑ พ.ค. ๕๔ ครู ๒ คน เชิญวิทยากรจากวิทยาลัย วิทยากร ๒ คน นาฏศิลปพัทลุง มาให้ ความรู้และฝึกทักษะการเล่น อังกะลุงและราวงมาตรฐาน ในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ วัน ละ ๓ ชั่วโมง ขณะนี้ได้ ดาเนินการไปแล้ว ๒๐ วัน รวม ๖๐ ชั่วโมง ๒๓ พ.ค. ๕๔ ฝ่ายอานวยการ ๙ คน แต่งตั้งคณะกรรมการ ฝ่ายดาเนินงาน ๔ คน ดาเนินงานโดยมีบุคคลจาก ฝ่ายต่างๆ จานวน ๑๓ คน
กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๕. ดาเนินการฝึกทักษะ นักเรียนในการเล่นอังกะลุง
ไม่ได้ทา
ได้ทา เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๕๔
๖. การบริการชุมชน
๙ มิ.ย. ๕๔ ๓๐ มิ.ย. ๕๔ ๑๒ ก.ค. ๕๔
๗. ประชุมคณะกรรมการที่ เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการฝึก ราวงมาตรฐานโดยใช้การ บรรเลงเพลงจากอังกะลุง
๑๒ ก.ค. ๕๔
๘. ประชาสัมพันธ์รับสมัคร นักเรียนเข้าร่วมฝึกราวง มาตรฐาน ๙. ประสานวิทยากรภายนอก
๑๓ ก.ค. ๕๔
๑๔ ก.ค. ๕๔
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ครู ๔ คน ดาเนินการฝึกทักษะนักเรียน วิทยากร ๒ คน ในการเล่นอังกะลุง ขณะนี้ นักเรียน ๑๘ คน นักเรียนสามารถเล่น อังกะลุงได้ ทั้ง ๑๘ คน จานวนเพลง ๗ เพลง ครู ๔ คน นักเรียนสามารถบรรเลง วิทยากร ๒ คน อังกะลุงเป็นการบริการ นักเรียน ๑๘ คน ชุมชนจานวน ๒ ครั้ง และ ใช้ในกิจกรรมต่างๆของ โรงเรียน จานวน ๔ ครั้ง และกิจกรรมหน้าเสาธงทุก วันในตอนเช้า ครู ๑๔ คน ผู้เข้าร่วมประชุม ร้อยละ คณะกรรมการ ๑๓ คน ๑๐๐ มีมติให้โรงเรียนฝึกรา วงมาตรฐาน โดยใช้การ บรรเลงเพลงจากอังกะลุง เพื่อใช้แสดงร่วมกับชุมชน ครู ๑๒ คน นักเรียนสมัครเข้าร่วมฝึก นักเรียน ๘๓ คน ราวงมาตรฐาน จานวน ๒๐ (ชั้นป.๔-ป.๖) คน ครู ๒ คน เชิญวิทยากรจากวิทยาลัย วิทยากร ๒ คน นาฏศิลปพัทลุง มาให้ ความรู้และฝึกทักษะการเล่น อังกะลุงในเพลงราวง มาตรฐานและฝึกนักเรียน ราวงมาตรฐาน ในวันหยุด เสาร์-อาทิตย์ วันละ ๓ ชั่วโมง
กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ไม่ได้ทา ๑๐. ดาเนินการฝึกทักษะ นักเรียนในบรรเลงอังกะลุง เพลงราวงมาตรฐานและ ราวงมาตรฐาน ๑๑. การบริการชุมชน
๑๒. จัดนิทรรศการแสดง ผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ได้ทา เมื่อวันที่ ๑๖ ก.ค. ๕๔
๗ ส.ค. ๕๔ ๑๕ ส.ค. ๕๔ ๑๘ ส.ค. ๕๔ ๒๑ ส.ค. ๕๔ ๓๐ ส.ค. ๕๔ ๑๖ ก.ย. ๕๔ ๒๗ ก.ย. ๕๔ ๒๓ ต.ค. ๕๔ ๘ พ.ย. ๕๔ ๑๐ พ.ย. ๕๔ ๒๙-๓๐ ส.ค. ๕๔
๑๑ พ.ย. ๕๔
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ครู ๔ คน ดาเนินการฝึกทักษะนักเรียนในการ วิทยากร ๒ คน บรรเลงเพลงราวงมาตรฐาน และรา นักเรียน ๔๒ คน วงมาตรฐาน ขณะนี้นักเรียนสามารถ บรรเลงเพลงราวงมาตรฐานและราวง มาตรฐานได้ทั้ง ๑๐ เพลง ครู ๔ คน นักเรียนสามารถบรรเลงเพลงราวง วิทยากร ๒ คน มาตรฐานอังกะลุงเป็นการบริการ นักเรียน ๓๒ คน ชุมชนจานวน ๗ ครั้ง และใช้ใน กิจกรรมต่างๆของโรงเรียน จานวน ๓ ครั้งและกิจกรรมหน้าเสาธงทุกวัน ในตอนเช้า
ครู ๑๓ คน - นักเรียนสามารถจัดนิทรรศการ นักเรียน ๓๒ คน แสดงผลงาน ในงานเปิดโลก การศึกษาสร้างปัญญเด็กพัทลุง ครั้งที่ ๗ ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพัทลุงเขต ๑ ในเต้นท์ หน่วยเครื่อข่ายเมืองเก่าพัทลุง - นักเรียนสามารถจัดนิทรรศการ แสดงผลงาน ในการเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการนาร่อง การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของ องค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย ณ โรงเรียนบ้านระหว่างควน
๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ ผู้เรียนในโครงการที่ไม่ได้เล่นดนตรีอังกะลุง ได้รับการพัฒนาให้มี ทักษะในการราวงมาตรฐานจากการบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรี อังกะลุง (เริ่มดาเนินการ)
จานวน นักเรียน ๑๐ คน (ชาย ๕ คน หญิง ๕ คน)
๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. การเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับดนตรีอังกะลุงจากวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ๒. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงต้อนรับคณะผู้ประเมินจากภายนอก (สมศ.) รอบที่ ๓ ๓. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในการประชุมผู้ปกครอง ๔. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในพิธีไหว้ครูและมอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียน ๕. การเข้าร่วมพิธีไหว้ครูดุริยางคศิลป์ ณ วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ๖. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานวันนิยมไทย โรงเรียนบ้านท่าแค(วันครู ๒๕๐๐) ๗. การเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับดนตรีอังกะลุงและราวงมาตรฐานจากวิทยาลัย นาฏศิลปพัทลุง ๘. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงต้อนรับคณะนิเทศ ติดตาม ประเมินผลโครงการระดับจังหวัด ๙. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานฌาปนกิจศพ ๑๐. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงและร่วมแข่งขันวงอังกะลุง ในงานเปิดโลกการศึกษาสร้าง ปัญญาเด็กพัทลุง ครั้งที่ ๗ ๑๑. การแสดงการบรรเลงเพลงราวงมาตรฐานประกอบการราวงมาตรฐาน ในงานวันสารทเดือนสิบ ๑๒. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานทอดกฐินของวัดบ้านสวน ๑๓. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานประเพณีลอยกระทงของตาบลควนมะพร้าว ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) ๑. นักเรียนมาฝึกไม่ครบเสียงในการฝึกซ้อมดนตรีอังกะลุง ทาให้ไม่สามารถบรรเลงได้ ๒. นักเรียนสนใจเล่นอังกะลุงหลายคน แต่เครื่องดนตรีไม่เพียงพอ ๓. เครื่องดนตรีอังกะลุงเกิดการชารุด เนื่องจากการใช้งานและการฝึกซ้อม ที่พัทลุงไม่มีที่ซ่อม ต้อง เดินทางไปอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ๔. เครื่องดนตรีมีไม่เพียงพอ ทางโรงเรียนมีเพียง ๑ ชุด ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๑. ฝึกนักเรียนที่สนใจเพิ่ม โดยการจัดงบประมาณเพื่อซื้อเครื่องดนตรีอังกะลุงเพิ่ม ๒. ให้นักเรียนฝึกเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ เพื่อใช้ในการบรรเลง เช่น เครื่องกากับจังหวะ เป็นต้น
๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( / ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( / ) มีจานวน ๑๑ ครั้ง ๑. บรรเลงดนตรีอังกะลุงต้อนรับคณะผู้ประเมินจากภายนอก (สมศ.) รอบที่ ๓ ๒. บรรเลงดนตรีอังกะลุงในพิธีไหว้ครูดุริยางคศิลป์ ณ วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ๓.บรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานวันนิยมไทย โรงเรียนบ้านท่าแค(วันครู ๒๕๐๐) ๔. บรรเลงดนตรีอังกะลุงในการนิเทศ ติดตามความก้าวหน้าของโครงการของคณะทางานของ สพป. พัทลุง เขต๑ ๕. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงต้อนรับคณะนิเทศ ติดตาม ประเมินผลโครงการระดับจังหวัด ๖. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานฌาปนกิจศพ ๗. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงและร่วมแข่งขันวงอังกะลุง ในงานเปิดโลกการศึกษาสร้าง ปัญญาเด็กพัทลุง ครั้งที่ ๗ ๘. การแสดงการบรรเลงเพลงราวงมาตรฐานประกอบการราวงมาตรฐาน ในงานวันสารทเดือนสิบ ๙. การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานทอดกฐินของวัดบ้านสวน ๑๐. การแสดงการบรรเลงเพลงราวงมาตรฐานประกอบการราวงมาตรฐาน ในงานประเพณีลอยกระทง ขององค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว ๑๑. การจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ณ โรงเรียนบ้านระหว่างควน อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง ๑. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มี ๑. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะ ทักษะในการเล่นเครื่องดนตรี ในการเล่นเครื่องดนตรีอังกะลุง ซึ่ง อังกะลุง สามารถบรรเลงเพลงได้หลายเพลง รวมถึงเพลงราวงมาตรฐานทั้ง ๑๐ เพลงด้วย
๒. โรงเรียนมีวงดนตรีอังกะลุง แสดงในกิจกรรมของโรงเรียน และชุมชนตามโอกาส
๒. โรงเรียนมีวงดนตรีอังกะลุง ๑ วง แสดงในกิจกรรมของโรงเรียน และ ชุมชนตามโอกาส
๓. ผู้เรียนมีความสามัคคี
๓. ผู้เรียนมีความสามัคคี
อธิบายรายละเอียด โรงเรียนวัดบ้านสวนได้ ดาเนินการจัดหาอังกะลุงจานวน ๗ คู่ (๑๔ ตับ) และได้เชิญวิทยากร ภายนอกที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ สามารถถ่ายทอดเรื่อง อังกะลุงให้แก่นักเรียน มา ดาเนินการฝึกทักษะในการเล่น เครื่องดนตรีอังกะลุง ทาให้ นักเรียนสามารถเล่นเครื่องดนตรี อังกะลุงได้ และได้ฝึกบรรเลง เพลงราวงมาตรฐาน นักเรียน สามารถบรรเลง และนักเรียนอีก ส่วนสามารถราวงมาตรฐาน ประกอบการบรรเลงอังกะลุงได้ โรงเรียนวัดบ้านสวนได้นาวง ดนตรีอังกะลุงแสดงในกิจกรรม ของโรงเรียน เช่น กิจกรรมหน้า เสาธง กิจกรรมไหว้ครู การ ประชุมผู้ปกครอง และชุมชน เช่น พิธีไหว้ครูดุริยางคศิลป์ ณ วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง งานวัน นิยมไทย โรงเรียนบ้านท่าแค (วัน ครู ๒๕๐๐) เป็นต้น อังกะลุงช่วยให้ผู้เรียนมีความ สามัคคี เพราะการบรรเลงอังกะลุง ไม่สามารถเล่นเพียงคนเดียวได้ ความไพเราะของ ดนตรีต้องเกิด จากความสามัคคีของทุกคน
๓. สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ๑๔ ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) ๑.๑ วงดนตรีอังกะลุงโรงเรียนวัดบ้านสวน ๑ วง ๑.๒ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง อังกะลุง ๑ เล่ม ๑.๓ การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงต้อนรับคณะผู้ประเมินจากภายนอก (สมศ.) รอบที่ ๓ ๑.๔ การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในการประชุมผู้ปกครอง ๑.๕ การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในพิธีไหว้ครูและมอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียน ๑.๖ การเข้าร่วมพิธีไหว้ครูดุริยางคศิลป์ ณ วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ๑.๗ การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานวันนิยมไทย โรงเรียนบ้านท่าแค(วันครู ๒๕๐๐) ๑.๘ การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงต้อนรับคณะนิเทศ ติดตาม ประเมินผลโครงการระดับ จังหวัด ๑.๙ การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานฌาปนกิจศพ ๑.๑๐ การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงและร่วมแข่งขันวงอังกะลุง ในงานเปิดโลกการศึกษา สร้างปัญญาเด็กพัทลุง ครั้งที่ ๗ ๑.๑๑ การแสดงการบรรเลงเพลงราวงมาตรฐานประกอบการราวงมาตรฐาน ในงานวันสารท เดือนสิบ ๑.๑๒ การแสดงการบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงานทอดกฐินของวัดบ้านสวน ๑.๑๓ การแสดงการบรรเลงเพลงราวงมาตรฐานประกอบการราวงมาตรฐาน ในงานประเพณี ลอยกระทงขององค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว ๑.๑๔ การจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ณ โรงเรียนบ้านระหว่างควน อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ภาพ) ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน ภาพ)
แบบ รง.๕ เลขทีข่ ้อตกลง..................................... งวดที่...................................................
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ สืบค้นกฎกติกากีฬาพื้นบ้าน รายงานงวดที่ ตั้งแต่ ๑ เมษายน ๒๕๕๔ ถึง ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ---------------------------------ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑. โครงการโดยย่อ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ๑. เชิงปริมาณ ๑.๑ นักเรียนผู้ปกครองและองค์กรชุมชนในเขตบริการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ๑.๒ จัดอบรมให้ความรูว้ ิธีการเล่น กฎกติกากีฬาพื้นบ้าน ๗ ประเภท ๑.๓ จัดการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน ๑ ครั้ง ๒. เชิงคุณภาพ ๒.๑ นักเรียนผู้ปกครองและองค์กรชุมชน เล่นกีฬาได้ถูกต้องตามกติกา ๒.๒ นักเรียนผู้ปกครองและองค์กรชุมชนมีนิสัยรักกีฬา สุขภาพอนามัยสมบูรณ์ แข็งแรง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนผู้ปกครองและองค์กรชุมชนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการเล่นกีฬาสากลและ กีฬาพื้นบ้าน ๒. เพื่อให้นักเรียนผู้ปกครองและองค์กรชุมชนมีทักษะในการเล่นกีฬาสากลและกีฬาพื้นบ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ๑. นักเรียนผู้ปกครองและชุมชนมีสุขภาพ ๑. นักเรียนผู้ปกครองและองค์กรชุมชนมีความรู้ ร่างกายแข็งแรง ความเข้าใจวิธีการเล่นการเล่นกีฬาพื้นบ้าน ๒.นักเรียนครูผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อ ๒. นักเรียนผู้ปกครองมีนิสัยรักกีฬาใช้เวลาว่าง กัน ให้เกิดประโยชน์ ๓. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
๒. กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ไม่ได้ทา ได้ทา กลุ่มและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้น เมื่อวันที่ ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ๑. ทาประชาคมบุคคลที่ ๒๕ เม.ย. ๕๔ ครู ๑๔ คน ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติให้โรงเรียน เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ผู้นาชุมชน ๑๔ คน ดาเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับกฎ กติกากีฬาพื้นบ้าน และจัดการ แข่งขัน ๒. ประชาสัมพันธ์รับสมัคร ๙ พ.ค. ๕๔ ครู ๑๒ คน นักเรียนเข้าร่วมโครงการ ๑๕๐ คน นักเรียนเข้าร่วมโครงการ นักเรียน ๑๕๐ คน ๓. ประสานวิทยากร ภายนอก
๕ ต.ค. ๕๔
ครู ๒ คน วิทยากร ๔ คน
๔.จัดอบรมให้ความรู้แก่ นักเรียน
๖-๗ ต.ค. ๕๔ นักเรียน ๑๕๐ คน วิทยากรได้ดาเนินการอบรมให้ ครู ๑๒ คน ความรู้เป็นเวลา ๒ วัน รวม ๑๐ วิทยากร ๔ คน ชัว่ โมงเพื่อให้ความรู้กฎกติกากีฬา พื้นบ้าน คือ ซัดต้ม ชักกะเย่อ หมาก ขุม เดินกะลา วิ่งเปี้ยว
๕. จัดนิทรรศการแสดง ผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
๑๑ พ.ย. ๕๔
ครู ๑๒ คน นักเรียน คน
เชิญวิทยากรจากภูมิปัญญาท้องถิ่น มาให้ความรู้และฝึกอบรมกฎกติกา กีฬาพื้นบ้าน คือ ซัดต้ม ชักกะเย่อ หมากขุม เดินกะลา วิ่งเปี้ยว
นักเรียน ครู ได้ร่วมจัดนิทรรศการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้สาธิตการเดิน กะลา
๓. ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ เด็กระดับปฐมวัยได้ร่วมเดินกะลาด้วย
จานวน ๕๔
๔. การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. การเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับกฎกติกากีฬาพื้นบ้าน คือ ซัดต้ม ชักกะเย่อ หมากขุม เดินกะลา วิ่งเปี้ยว ๕. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) ๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๗. แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ( / ) ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) ๘. โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( / ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มี ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด ๑. นักเรียนผู้ปกครองและองค์กร ๑. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะ โรงเรียนวัดบ้านสวนได้ ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ในการเล่นความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับ ดาเนินการจัดอบรมให้ความรู้แก่ เล่นการเล่นกีฬาพื้นบ้าน กฎกติกากีฬาพื้นบ้าน คือ ซัดต้ม ชัก นักเรียนเกี่ยวกับกฎกติกากีฬา กะเย่อ หมากขุม เดินกะลา วิ่งเปี้ยว พื้นบ้าน คือ ซัดต้ม ชักกะเย่อ หมากขุม เดินกะลา วิ่งเปี้ยว ๒. นักเรียนผู้ปกครองมีนิสัยรัก ๒.นักเรียนครูผู้ปกครองมี นักเรียนครูผู้ปกครอง ใช้เวลาว่าง กีฬาใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เล่นหมากขุมซึ่งเป็นกีฬาที่เล่นได้ ทุกเวลา ๓. สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน
ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด)
๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ภาพ) ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน ภาพ)