๔ โครงการโรงเรียนบ้านระหว่างควน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปศท.๒

Page 1

เลขทีข่ ๎อตกลง ๕๔-๐๐๔๘๐-๔๙ รอบ ๖ เดือน

แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ ส่งเสริมการอ่านนิทานพื้นบ้านตานานเมืองลุง ๒ ภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนบ๎านระหวํางควน wwww รายงาน รอบ ๖ เดือน ตั้งแต่ เมษายน ถึง ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓

ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร โครงการโดยย่อ เป้าหมาย ด้านปริมาณ ๑. นักเรียนโรงเรียนบ้านระหว่างควน มีความรู้ความภาคภูมิใจเกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาในสถานที่ และในชุมชนและในจังหวัดพัทลุง ๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓-๕-๖ และมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๒-๓ สามารถศึกษา ค้นคว้าข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับการเป็นมาของสถานที่สาคัญในชุมชน และ ในจังหวัดพัทลุงจากภูมิ ปัญญาในชุมชนและสื่อประเภทต่างๆ ด้วยตนเองได้เป็นอย่างดี และมีประสิทธิภาพ ๓. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓- มัธยมศึกษาปีที่ ๓ สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับ เกี่ยวกับประวัติความสาคัญและความเป็นมาของสถานที่สาคัญต่างๆในชุมชนและพัทลุง ใน รูปแบบ กระบวนการ โครงงาน โดยนาเสนอ ในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กได้อย่างถูกต้อง สวยงาม มี เนื้อหา สาระน่าสนใจอย่างน้อยคนละ ๒ เรื่อง/ภาคเรียน ๓. นักเรียนชั้นอนุบาลปีท๑ี่ - มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมา ของสถานที่สาคัญในชุมชนและในจังหวัดพัทลุง สามารถนาความรู้ที่ได้รับจาก โรงเรียนไปเล่าต่อผู้คนใกล้ชิดในครอบครัว และคนในชุมชน ได้ส่งผลเกิดความรักความผูกพัน ความภาคภูมิใจในถิ่นฐานบ้านเกิด ของตนเอง ได้รวมกันได้เป็นอย่างดี ๕. โรงเรียนเป็นส่วนรวมการด้านวิชาการ และด้านพึ่งประสงค์ ทุกด้านของชุมชน ด้านคุณภาพ ๑. นักเรียน ทุกคนมีความภาคถูมิใจ ประวัติความเป็นมาของสถานที่สาคัญ และชุมชน และจังหวัดพัทลุงได้เป็นอย่างดีทุกคนคิดเป็นร้อยล่ะ ๑๐๐ ๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓- มัธยมศึกษาปีที่ ๓ สามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูล ประวัติความเป็นมาของสถานที่สาคัญในชุมชน และในจังหวัดพัทลุงจากถูมิปัญญาในชุมชน และ สื่อประเภทต่างๆได้ดีมีประสิทธิ์ภาพ ทุกคน


๓. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการทุกคน สามารถนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมาของสถานที่สาคัญต่างๆที่มีอยู่ในชุมชนและจังหวัดพัทลุงโดยถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจที่ได้รับออกมาในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กได้อย่างน้อย ๒ เรื่อง\ปีการศึกษาซึ่งมีเนื้อหา สาระน่าสนใจ สามารถนาไปเผยแพร่ต่อสาธารณะชนได้ ๓. โรงเรียนบ้านระหว่างควนเป็นที่ยอมรับของชุมชน และเป็นส่วนรวม ทางด้านการ วิชาการและด้านที่พึ่งประสงค์ทุกด้านของชุมชนและหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง -๒วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความภาคภูมิใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ของสถานที่ที่ สาคัญ ที่มีอยู่ในชุมชนและในจังหวัดพัทลุง ๒. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนสามารถศึกษาข้อมูลที่ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของสถานที่สาคัญในชุมชนและที่มีอยู่ในจังหวัดพัทลุงจากภูมิปัญญา ท้องถิ่นและสื่อต่างๆได้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระที่ต้องการเรียนรู้ ๓. เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถสังเคราะห์ ข้อมูลที่ได้รับจากสื่อ ต่างๆมา สรุปเป็นองค์ความรู้ ด้วยตนเองในรูปแบบหนังสื่อเล่มเล็กให้มีเนื้อหาถูกต้องสวยงามและ น่าสนใจมีข้อคิดเตือนใจแด่ผู้อ่านและสามารถนาไปเผยแพร่ ต่อสาธารชนได้ ๓. เพื่อปลูกจิตสานึกรักถิ่นฐานบ้านเกิดให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนทุกคน ๕. เพื่อสานความสัมพันธ์อันดี ด้านความรักสามัคคีรักถิ่นฐานบ้านเกิดรวมกันระหว่าง โรงเรียนและคนในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ๑. นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมา สถานที่สาคัญที่มีอยู่ในชุมชนโดยถ่ายทอดออกมาในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กได้อย่างน้อยคนละสอง เรื่อง ตลอดปีการศึกษาได้ทุกคน ๒. รักเรียนเกิดความรักความสามัคคีขึ้นในหมู่คณะและรักถิ่นฐานบ้านเกิดของต้นเอง มากขึ้น ๓. โรงเรียนเป็นศูนย์ร่วมทางด้านวิชาการ และด้านที่พึงประสงค์ทุกด้านของชุมชน กิจกรรมที่ดาเนินการ กิจกรรมตามแผน (ในงวดนี้)

ไม่ได้ทา

ได้ทาเมื่อวันที่

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและ อธิบายผลที่เกิด จานวน ขึ้นทั้งประมาณและคุณภาพ


๑. จัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์ การเรียนรู้ และทาหนังสือ เชิญวิทยากรภูมิปัญญาใน ท้องถิ่นและในจังหวัด พัทลุงมาให้ความรู้แก่ นักเรียนเป็นเวลา ๑วัน

๒. จัดกิจกรรม การเรียน การสอนแบบโครงงานโดย นาเสนอในรูปแบบหนังสือ เล่มเล็กเกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมาเกี่ยวกับ สถานที่สาคัญในชุมชน และในจังหวัดพัทลุงที่ น่าสนใจและมีความสาคัญ ควรค่าแก่การเรียนรู้คนละ ๑เรื่องต่อ๑ภาคเรียน

ผู้ร่วมกิจกรรม (เช่น นักเรียน ๑๘๐ คน ครู ๘๐ คน ประชาชน ๒๒๐ คน ฯลฯ)

ด้านปริมาณ ๑. นักเรียนโรงเรียนบ้านระหว่าง ควน มีความรู้ความภาคภูมิใจ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาใน สถานที่ และในชุมชนและใน จังหวัดพัทลุง ๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่๓๕-๖ และมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๒-๓ สามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูล ต่างๆ เกี่ยวกับการเป็นมาของสถานที่ สาคัญในชุมชน และ ในจังหวัด พัทลุงจากภูมิปัญญาในชุมชนและ สื่อประเภทต่างๆ ด้วยตนเองได้เป็น อย่างดี และมีประสิทธิภาพ ๓. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓มัธยมศึกษาปีที่ ๓ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับ ประวัติความสาคัญและความ เป็นมาของสถานที่สาคัญต่างๆใน ชุมชนและพัทลุง ในรูปแบบ กระบวนการ โครงงาน โดย นาเสนอ ในรูปแบบหนังสือเล่มเล็ก ได้อย่างถูกต้อง สวยงาม มีเนื้อหา สาระน่าสนใจอย่างน้อยคนละ ๒ เรื่อง/ภาคเรียน ๓. นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่๑มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ของสถานที่สาคัญในชุมชนและใน จังหวัดพัทลุง สามารถนาความรู้ที่ ได้รับจากโรงเรียนไปเล่าต่อผู้คน ใกล้ชิดในครอบครัว และคนใน


ชุมชน ได้ส่งผลเกิดความรักความ ผูกพันความภาคภูมิใจในถิ่นฐาน บ้านเกิด ของตนเอง ได้รวมกันได้ เป็นอย่างดี ๕.โรงเรียนเป็นส่วนรวมการด้าน วิชาการ และด้านพึ่งประสงค์ ทุก ด้านของชุมชน ด้านคุณภาพ ๑. นักเรียน ทุกคนมีความภาคถูมิ ใจ ประวัติความเป็นมาของสถานที่ สาคัญ และชุมชนและจังหวัด พัทลุงได้เป็นอย่างดีทุกคนคิดเป็น ร้อยล่ะ ๑๐๐ ๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓มัธยมศึกษาปีที่ ๓ สามารถศึกษา ค้นคว้าข้อมูล ประวัติความเป็นมา ของสถานที่สาคัญในชุมชน และใน จังหวัดพัทลุงจากถูมิปัญญาใน ชุมชน และสื่อประเภทต่างๆได้ดีมี ประสิทธิ์ภาพ ทุกคน ๓. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมของ โครงการทุกคน สามารถนาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาของสถานที่สาคัญต่างๆที่มี อยู่ในชุมชนและจังหวัดพัทลุงโดย ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ได้รับ ออกมาในรูปแบบหนังสือเล่มเล็กได้ อย่างน้อย ๒ เรื่อง\ปีการศึกษาซึ่งมี เนื้อหาสาระน่าสนใจ สามารถนาไป เผยแพร่ต่อสาธารณะชนได้ ๓. โรงเรียนบ้านระหว่างควนเป็นที่ ยอมรับของชุมชน และเป็น ส่วนรวม ทางด้านการวิชาการและ


ด้านที่พึ่งประสงค์ทุกด้านของ ชุมชนและหน่วยงานต่างๆที่ เกี่ยวข้อง ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่น ๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ นิทานอีสบ ภาไทย - อังกฤษ

จานวน ๘ เล่ม

การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่น ๆ - หัวหน้าอุทยานเมืองเก่าไชยบุรี มาให้ความรู้ประวัติศาสตร์ของเมืองเก่าไชยบุรี - อบต.พนมวังก์ - สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ - คณะ สสส. - ผู้อานวยการโรงเรียนในเครือข่ายจัตุรมิตร/ควนขนุน/ป่าพะยอม - นักเรียนในศูนย์เครือข่าย - ชุมชน - อสม. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ ) - นักเรียนขาดความกระตือรือร้นในการค้นคว้าหาความรู้ทั้งในรูปแบบภาษาอังกฤษ ค้นจาก Internet ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ ควรเสนอแนะนักเรียนเป็นรายบุคคล ในช่วงเวลาหลังเลิก เรียนเน้นฝึกทักษะการอ่าน / เขียน แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม มี จานวน ๓ ครั้ง ได้แก่ - วันประชุมผู้ปกครองนักเรียน - วันภาษาไทย


- นาเสนอผลงานโครงการส่งเสริมการอ่านนิทานพื้นบ้านตานานเมืองลุง ๒ ภาษา (ไทย-อังกฤษ) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พัทลุง เขต ๑ ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง ๑. นิทานพื้นบ้าน ๒ ภาษา(ไทย-อังกฤษ) ๑. นิทานพื้นบ้าน ๒ ภาษา(ไทย- เขาปู่ – เขาย่า อังกฤษ) - เขาอกทะลุ - เขาปู่ – เขาย่า - หนังตะลุง - เขาอกทะลุ - มโนราห์ - หนังตะลุง - แข่งโพนที่พัทลุง - มโนราห์ - เสียงดังจากกลองพรก - แข่งโพนที่พัทลุง - ตานานเมืองลุง - เสียงดังจากกลองพรก - ตานานเมืองลุง - นิทานอีสบ ๒. ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านระหว่างควนได้รับรางวัลผู้บริหารส่งเสริม การอ่านดีเด่น ประจาปี ๒๕๕๓ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง ๓. โรงเรียนบ้านระหว่างควนได้รับ รางวัลส่งเสริมการอ่านดีเด่น ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๓

อธิบายรายละเอียด - นางพิมพ์ประไพ บัวแก้ว หัวหน้าโครงการส่งเสริมการอ่าน นิทานพื้นบ้านตานานเมืองลุง ๒ ภาษา (ไทย-อังกฤษ) ได้นาเสนอ ผลงาน สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา พัทลุง เขต ๑ - จัดกิจกรรม การเรียนการสอน แบบโครงงานโดยนาเสนอใน รูปแบบหนังสือเล่มเล็กเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับ สถานที่สาคัญในชุมชนและใน อธิบายรายละเอียด จังหวัดพัทลุงที่น่าสนใจและมี ความสาคัญควรค่าแก่การเรียนรู้ คนละ๑เรื่องต่อ๑ภาคเรียน

ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ๑ ชิ้น (โปรดระบุรายละเอียด) - เรื่องมโนราห์ - นิทานอีสบ - เอกสาร ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ๓ ภาพ)


ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน ๓ ภาพ) ส่วนที่ ๓ ภาคผนวก / รายงานกิจกรรม (ถ้ามี)

...............................................ผูร้ ับผิดชอบโครงการ (นางพิมพ์ประไพ บัวแก้ว)

...............................................ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านระหว่างควน (นายสุวิทย์ สินน้อย)


ภาคผนวก


โครงการส่งเสริมการอ่านนิทานพื้นบ้านเมืองลุง 2 ภาษา (ไทย-อังกฤษ)


กิจกรรมวันเสวนาแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 11 พ.ย. 54 โรงเรียนบ้านระหว่างควน














ผู้อานวยการ สุวทิ ย์ สินน้อย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านระหว่างควน ได้รับรางวัล “ผู้บริหารดีเด่น ส่งเสริมการอ่านดีเด่น ประจาการศึกษา ๒๕๕๔”

นางพิมพ์ประไพ บัวแก้ว หัวหน้าโครงการ ส่งเสริมการอ่านนิทานพื้นบ้านเมืองลุง 2 ภาษา (ไทย-อังกฤษ) เป็นผู้นาเสนอได้รับรางวัล โรงเรียนส่งเสริมการอ่านดีเด่น ประจาปี ๒๕๕๔

แบบ รง.๕


เลขทีข่ ๎อตกลง ๕๔-๐๐๔๘๐-๔๙ รอบ ๖ เดือน แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ สํงเสริมสืบสานวัฒนธรรมท๎องถิ่นพนมวังก์ โรงเรียนบ๎านระหวํางควน wwww รายงาน รอบ ๖ เดือน ตั้งแตํ เมษายน ถึง ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑.โครงการโดยย่อ เป้าประสงค์/เป้าหมาย จัดให๎มีการนาภูมิปัญญาท๎องถิน่ มาจัดประสบการณ์เรียนรู๎ เรื่องกลองพรกและเรื่องโพนให๎กับ นักเรียน วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการนาภูมิปัญญาท๎องถิ่นมาใช๎ประโยชน์ในการจัดการศึกษาและให๎นักเรียนได๎ ชํวยสืบสานวัฒนธรรมท๎องถิ่นพนมวังก์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ๑. มีหลักสูตรท๎องถิ่นเรื่องกลองพรก เรื่องโพนพัทลุง ๒. นักเรียน ประชาชนในชุมชนมีความรักหํวงแหนในวัฒนธรรมท๎องถิ่นของตน และรํวมกัน อนุรักษ์วัฒนธรรมท๎องถิ่นให๎คงอยูํสืบไป ๒.กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้)

ไมํได๎ทา

ได๎ทาเมื่อวันที่

๑.แตํงตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน

-

๒๐ พ.ค. ๒๕๕๔

๒.จัดทาเอกสารเผยแพรํ

-

๑-๓๐ มิ.ย. ๒๕๕๔

๓.จัดทาหลักสูตรท๎องถิน่ แบบ บูรณาการ เรื่อง กลองพรกโพน

-

๑-๓๐ มิ.ย. ๒๕๕๔

-๒-

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุํมและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้นทั้ง ผู๎รํวมกิจกรรม ปริมาณและคุณภาพ ครู ๖ คน มีคณะกรรมการ ประชาชน ๑ คน ดาเนินงาน จานวน ๗ คน ครู ๖ คน มีเอกสารเผยแพรํจานวน ประชาชน ๑ คน ๖๐ ชุด ครู ประชาชน ๗ คน นักเรียน ๑๓๔ คน

มีหลักสูตรท๎องถิ่น เรื่อง กลองพรก จานวน ๒๐ เลํม โพน จานวน ๒๐ เลํม


กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ๔.เชิญวิทยากรภูมิปัญญาท๎องถิ่น มาให๎ความรู๎ 1.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู๎ 2.จัดกิจกรรมเสวนา 3.จัดกิจกรรมแขํงขันการตีกลอง พรก

ไมํได๎ทา ได๎ทาเมื่อวันที่ ๑-๓๐ ก.ค. ๒๕๕๔ ๑๑ พ.ย. ๒๕๕๔

4.เผยแพรํนาฏศิลป์พนื้ บ๎าน ระบากลองพรก

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม นักเรียนจานวน ๓๓ คน นักเรียนสามารถทากลอง พรกได๎ นักเรียน ๑๘๗ คน 1.นักเรียนได๎แลก ครู ๓๖ คน เปลี่ยนเรียนรู๎ซึ่งกันและ ประชาชน ๒๐๐ คน กัน วิทยากร ๒ ทําน ๒.ครู นักเรียนและชุมชน ได๎ชํวยกันสืบสาน วัฒนธรรมท๎องถิ่นพนม วังก์ กรรมการสถานศึกษา ๓.นักเรียน ชุมชน ได๎รํวม ๑๕ คน กิจกรรมการแขํงขันการตี อสม.ต.พนมวังก์ กลองพรก ๓๐ คน ๔.นักเรียนได๎เผยแพรํ วิทยากรภูมิปัญญา นาฏศิลป์พนื้ บ๎าน เรื่อง ท๎องถิ่น ๔ คน ระบากลองพรก

๓.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว๎ วิทยากรภูมิปัญญาท๎องถิ่น คณะกรรมการตัดสินการแขํงขันตีกลองพรก และประชาชนที่เข๎ารํวม กิจกรรมปรึกษาหารือกันวํา จะจัดให๎มีการแขํงขันกลองพรกขึ้นทุกปีให๎เป็นประเพณีสืบทอดตํอไป โดยให๎โรงเรียนเป็นเจ๎าภาพจัดงาน

จานวน

๔.การรับรูแ้ ละมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. นักเรียนและครูเครือขํายจตุรมิตรจานวน ๑๗ โรง ๒๒๒ คน เข๎ารํวมกิจกรรม ๒. อสม.ตาบลพนมวังก์ จานวน ๓๐ คน ๓. กรรมการสถานศึกษา จานวน ๑๕ คน ๔. ผู๎ปกครองนักเรียน จานวน ๑๕ คน ๕. ประชาชนทั่วไปในตาบลพนมวังก์ จานวน ๒๐๐ คน ๖. วิทยากรภูมิปัญญาท๎องถิ่น จานวน ๔ คน ๕.ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) ๑. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมน๎อยเกินไป ไมํคุ๎มกับการลงทุนจัดสถานที่ ตกแตํงสถานที่ การชม กิจกรรมของนักเรียนยังไมํทั่วถึง -๓-


๖.ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๑. ควรจัดกิจกรรมอยํางน๎อย ๒ วัน ๒. ควรสนับสนุนงบประมาณให๎เพิ่มขึ้น ๗.แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป () ตามแผนเดิมที่ระบุในข๎อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข๎อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน ๘.โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไมํมีการดูงาน เป็นต๎นแบบหรือเผยแพรํนวัตกรรมให๎กบั โรงเรียน/หนํวยงานอืน่ ( ) มี จานวน ๑ ครั้ง ได๎แกํ ๑.โรงเรียนในเครือขํายจตุรมิตร จานวน ๑๗ โรง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พัทลุง เขต 1 ๒.โรงเรียนวัดบ๎านสวน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 ๓.ชุมชนป่าบอนต่า อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ๔.ชุมชนวัดลอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว๎ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึน้ จริง ๑.นักเรียนชุมชนไมํน๎อยกวําร๎อยละ 10 ๑.มีหลักสูตรท๎องถิ่น เรื่องกลอง มีความรู๎ความเข๎าใจในประวัตคิ วาม พรก เรื่องโพนพัทลุง เป็นมาของวัฒนธรรมท๎องถิ่น เรือ่ ง ๒.มีการแขํงขันการตีกลองพรก กลองพรก โพนพัทลุง และการแขํงขัน ๓.โรงเรียนและชุมชนมีสํวนรํวมใน กลองพรก แขํงโพน การจัดกิจกรรมของโครงการ ๒.โรงเรียนมีหลักสูตรท๎องถิ่นเรือ่ ง ๔.สาธิตการตีโพน กลองพรก เรื่องโพนพัทลุง ๕.สาธิตการทากลองพรก ๓.นักเรียนประชาชนในชุมชนมีความ รักหวงแหนในวัฒนธรรมท๎องถิน่ ของ ตนและรํวมกันอนุรักษ์วัฒนธรรม ท๎องถิ่นให๎คงอยูํสืบไป ๔.โรงเรียนและชุมชนมีสํวนรํวมในการ จัดการศึกษา

-๔-

อธิบายรายละเอียด ๑.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม หลักสูตร ๒.จัดกิจกรรมการแขํงขันการตี กลองพรก โดยเชิญวิทยากรภูมิ ปัญญาท๎องถิ่นที่มคี วามรู๎ ความสามารถมาเป็นกรรมการ ตัดสินในการแขํงขันการตีกลอง พรก จานวน ๙ คน


ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากการดาเนินงาน ผลการประกวดการแขํงขันการตีกลองพรกทั้ง ๒ ประเภท คือประเภทกลองเล็กและประเภท กลองใหญํ ๒. ภาพถํายผลงานและกิจกรรม (จานวน ภาพ) ๓. ภาพถํายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน ภาพ) ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) แนบ CD ลงชื่อผู๎ทารายงาน (ผู๎รบั ผิดชอบโครงการ) อารีย์รัตน์ ทองเรือง (นางอารีย์รัตน์ ทองเรือง)

ลงชื่อหัวหน๎าองค์กร (ผู๎รบั ทุน) สุวิทย์ สินน๎อย (นายสุวิทย์ สินน๎อย)

วัน/เดือน/ปี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

วัน/เดือน/ปี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

หมายเหตุ : รายงานความก๎าวหน๎าโครงการรายงานงวดฉบับนี้ สาหรับโรงเรียน ชุมชน วัด อบต. และ แหลํงเรียนรู๎ใช๎ประกอบการเบิกงบประมาณงวด


ประมวลภาพกิจกรรม โครงการส่งเสริม สืบสาน วัฒนธรรมท้องถิ่นพนมวังก์






แบบ รง.๕ เลขทีข่ ๎อตกลง ๕๔-๐๐๔๘๐-๔๙ รอบ ๖ เดือน แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ สถานศึกษาพอเพียง โรงเรียนบ๎านระหวํางควน รายงาน รอบ ๖ เดือน ตั้งแตํ เมษายน ถึง ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑.โครงการโดยย่อ

wwww

เป้าประสงค์/เป้าหมาย ๑. จัดทาหลักสูตรบูรณาการในระดับชั้น ป.๔ - ม.๓ ๒. จัดกิจกรรมการเรียนรู๎ตามหลักสูตรบูรณาการ ๓. ตั้งศูนย์การเรียนรู๎ภูมิปัญญาท๎องถิน่ เรื่อง โนราห์ กลองยาว ทาขนมพื้นบ๎าน การผูกผ๎า ๔. จัดทาบัญชีรับ – จํายของตนเอง การออมทรัพย์ ๕. กิจกรรมสํงเสริมคุณธรรม คือ หิ้วปิ่นโตไปวัด ศาสนพิธี ๖. กิจกรรมเกษตรพอเพียง การเลี้ยงไกํ เลี้ยงหมูขุน เลี้ยงปลาในบํอดิน ปลูกผักปลอดสารพิษ ทาปุ๋ยหมักชีวภาพ ปุ๋ยน้าชีวภาพ วัตถุประสงค์ ๑. ๒. ๓. ๔.

เพื่อให๎นักเรียน ชุมชน รู๎ เข๎าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให๎โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู๎ด๎านเกษตร/ภูมิปัญญาท๎องถิ่น และได๎ปฏิบัตจิ ริง สํงเสริมการมีรายได๎ระหวํางเรียน เพื่อให๎นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ ๑. โรงเรียนมีหลักสูตรบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ๒. นักเรียน/ชุมชน มีความรู๎เข๎าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู๎หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔. นักเรียน ชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๕. โรงเรียนได๎รับความรํวมมือจากชุมชน


-๒๒.กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้)

ไมํได๎ทา

๑.การจัดการเรียนการสอนตาม หลักสูตรบูรณาการเศรษฐกิจ พอเพียง ชั้น ป.๑ – ม. ๓ ๒.กิจกรรมออมทรัพย์ การทาบัญชี รับ - จํายของตนเอง

-

ได๎ทาเมื่อวันที่ ๑ ก.ค. ๕๔ – ๓๑ ก.ค. ๕๔ ๑ มิ.ย. ๕๔ – ๓๑ ก.ค. ๕๔

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุํมและจานวน อธิบายผลที่เกิดขึ้นทั้งปริมาณ ผู๎รํวมกิจกรรม และคุณภาพ นักเรียนชั้น ป.๑-ม.๓ ๑.นักเรียนชั้น ป.๑ – ม.๓ รู๎ จานวน ๑๐๒ คน เข๎าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง นักเรียนชั้น ป.๑-ม.๓ ๒.นักเรียนชั้น ป.๑ – ม.๓ จานวน ๑๐๒ คน จานวน ๑๐๒ คน ทาบัญชีรับ – จําย และการออมทรัพย์ นักเรียนชั้น ป.๑-ม.๓ ๓.นักเรียนผู๎ปกครองจานวน ๑๓๐ คน รู๎วิธีปลูกผัก/การ บารุงรักษา นักเรียนกลุํมสนใจ -นักเรียนกลุํมสนใจ จานวน ๕๐ คน ๕๐ คน รู๎ เข๎าใจ วิธี/ขั้นตอน การเลี้ยงสัตว์ นักเรียน/ชุมชน กลุํม -นักเรียน/ชุมชนรู๎วิธีขั้นตอน สนใจ ๑๕๐ คน การทาปุ๋ยหมัก ร๎อยละ 100 นักเรียน/ชุมชน ๔.นักเรียนมีคุณธรรม ๑๘๐ คน จริยธรรม -ปฏิบัติกิจกรรมศาสนพิธีได๎ ถูกต๎อง ร๎อยละ 100

๓.จัดกิจกรรมเกษตร -ปลูกผักปลอดสารพิษ

๑ มิ.ย. ๕๔ – ๓๑ ก.ค. ๕๔

-เลี้ยงหมู/ปลา/ไกํ

๑ มิ.ย. ๕๔ – ๓๑ ก.ค. ๕๔

-ทาปุ๋ยหมักแห๎ง/น้าจากเศษพืช

๑ มิ.ย. ๕๔ – ๓๑ ก.ค. ๕๔

๔.กิจกรรมคุณธรรม -กิจกรรมวันสาคัญ -หิ้วปิ่นโตไปวัด -ฝึกศาสนพิธี

๑ มิ.ย. ๕๔ – ๓๑ ก.ค. ๕๔

๕.กิจกรรมภูมิปัญญาท๎องถิน่ -การฝึกรากลองยาว -ราโนราห์

๑ มิ.ย. ๕๔ – ๓๑ ก.ค. ๕๔

นักเรียน ๔๐ คน ชุมชน ๕๐ คน

๖.ตลาดนัดนักเรียน

๑๑ พ.ย. ๕๔

นักเรียน ๑๓๐ คน ชุมชน ๒๐๐ คน

-๓-

๕.นักเรียนตีกลองยาวได๎ร๎อย ละ 100 -ชุมชนรํวมกิจกรรมการฝึกรา กลองยาวและไปแสดงใน โอกาสตํางๆ ๔ ครั้ง ๖.นักเรียนและชุมชนรูจ๎ ักการ หารายได๎ -สร๎างความสัมพันธ์อันดี ระหวํางโรงเรียนกับชุมชน


๓.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว๎ ๑.ผู๎ปกครอง/ชุมชน ให๎ความรํวมมือ ชํวยเหลือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ และ ได๎รํวมฝึกปฏิบัติทุกกิจกรรม ๒.สร๎างความสัมพันธ์อันดีระหวํางโรงเรียน/ผูป๎ กครอง และชุมชน ทาให๎ชุมชนมี ความศรัทธา และเชื่อมั่นในคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๒.โรงเรียนเป็นทีร่ ู๎จักของบุคคลทั่วไป

จานวน ผู๎ปกครอง/ชุมชน จานวน ๒๕๐ คน

๔.การรับรูแ้ ละมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. ผู๎ปกครองระดับท๎องถิ่น เชํน ผู๎ใหญํบ๎าน กานัน ๒. องค์การบริหารสํวนตาบลพนมวังก์ ๓. โรงพยาบาลสํงเสริมสุขภาพตาบลพนมวังก์ /อสม. ๔. เจ๎าหน๎าที่เกษตรตาบลพนมวังก์/สานักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง ๕. นักเรียน / ครู ภายในเครือขํายจตุรมิตร ๖. หัวหน๎าหนํวยงาน และองค์กรตํางๆในจังหวัดพัทลุง ๕.ปัญหาและอุปสรรในการดาเนินโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) ๑. ชุมชนผู๎ปกครอง ในเขตบริการของโรงเรียน สํวนมากไปทางานนอกบ๎าน หรือตํางจังหวัด ไมํมีเวลา มากพอที่จะรํวมกิจกรรมกับโรงเรียน ๒. นักเรียนบางสํวน ยังไมํมีความตระหนักในเรื่องอาชีพด๎านการเกษตร ๖.ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๑. จัดประชุม พบปะปรึกษาหารือผู๎ปกครอง ชุมชน รํวมวางแผนหาแนวทาง ในการสร๎างความสัมพันธ์ การรํวมกิจกรรมกับโรงเรียน ๒. สร๎างความตระหนักและคํอยๆ ปลูกฝังความรัก ความศรัทธาในอาชีพการเกษตร ๓. การสร๎างความตระหนักให๎นักเรียนมีความรักด๎านการเกษตรพอเพียง ๗.แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป () ตามแผนเดิมที่ระบุในข๎อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข๎อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน) ๘.โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไมํมีการดูงาน เป็นต๎นแบบหรือเผยแพรํนวัตกรรมให๎กบั โรงเรียน/หนํวยงานอืน่ ( ) มี จานวน ๑ ครั้ง ได๎แกํ กลุํมโรงเรียนในเครือขํายจตุรมิตร สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑ จานวน ๑๐ โรงเรียน ได๎มาศึกษาดูงานโครงการ ชมนิทรรศการการดาเนินงาน โครงการเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน 2554


-๔ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนดไว๎ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึน้ จริง ๑.จัดทาหลักสูตรบูรณาการ -ได๎ดาเนินการจัดทาทุกระดับชั้น เศรษฐกิจพอเพียงจัดการเรียน การสอน -นักเรียน/ชุมชนได๎รํวมแลกเปลี่ยน ๒.นักเรียน/ชุมชน รํวม เรียนรู๎ แลกเปลี่ยนเรียนรู๎ -เกิดความสัมพันธ์อันดี/ชุมชนให๎ความ ๓.ความสัมพันธ์อันดีระหวําง รํวมมือในการจัดการศึกษา บ๎านกับโรงเรียน

อธิบายรายละเอียด -มีหลักสูตรบูรณาการเศรษฐกิจ พอเพียง/แผนการเรียนรู๎ -นักเรียน/ชุมชน รํวมกิจกรรมตาม แผนงานโครงการที่วางไว๎ -ชุมชนมีความรักศรัทธาใน โรงเรียน มีความภูมิในในท๎องถิ่น

ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. แผํนพับ เอกสารเผยแพรํ โครงการสถานศึกษาพอเพียง ๒. ภาพถํายกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู๎ตามโครงการ ๕ ภาพ VTR นาเสนอการดาเนินงานโครงการสถานศึกษาพอเพียง จานวน ๑ แผํน ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) -

ลงชื่อผู๎ทารายงาน (ผู๎รบั ผิดชอบโครงการ) จารัส เจ๎ยแก๎ว (นายจารัส เจ๎ยแก๎ว)

ลงชื่อหัวหน๎าองค์กร (ผู๎รบั ทุน) สุวิทย์ สินน๎อย (นายสุวิทย์ สินน๎อย)

วัน/เดือน/ปี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

วัน/เดือน/ปี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

หมายเหตุ : รายงานความก๎าวหน๎าโครงการรายงานงวดฉบับนี้ สาหรับโรงเรียน ชุมชน วัด อบต. และ แหลํงเรียนรู๎ใช๎ประกอบการเบิกงบประมาณงวด


ประมวลภาพกิจกรรม โครงการสถานศึกษาพอเพียง





แบบ รง.๕ เลขทีข่ ๎อตกลง ๕๔-๐๐๔๘๐-๔๙

รอบ ๖ เดือนG]-mjuhv9d]’

แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ ชื่อโครงการ ศึกษาตานานเมืองเก่าชัยบุรี โรงเรียนบ้านระหว่างควน รายงาน รอบ ๖ เดือน ตั้งแต่ เมษายน ถึง ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

wwww

ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร ๑.โครงการโดยย่อ เป้าประสงค์/เป้าหมาย นักเรียนได้ศึกษาความรู้เมืองเก่าชัยบุรี วัตถุประสงค์ นักเรียนและชุมชนรักหวงแหนท้องถิ่นตนเอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ มีหลักสูตรสถานศึกษาสาระท้องถิ่นเมืองเก่าชัยบุรี ๒.กิจกรรมที่ดาเนินการในงวดนี้ กิจกรรมตามแผน(ในงวดนี้) ไม่ได้ทา ได้ทาเมื่อวันที่ กลุ่มและจานวน ผู้ร่วมกิจกรรม

อธิบายผลที่เกิดขึ้น ทั้งปริมาณและ คุณภาพ

๑.จัดทาหลักสูตร สถานศึกษา

มิ.ย. ๒๕๕๔

๒.จัดทาแผนการเรียนรู้ และจัดกิจกรรม

๑๙ ก.ค. ๒๕๕๔

จัดการเรียนรู้เสวนา กิจกรรมแรลลี่เมืองเก่าชัยบุรี

ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม

๑๑ พ.ย. ๒๕๕๔

ครู ๕ คน -มีหลักสูตร นักเรียน ๔๐ คน สถานศึกษาสาระ ท้องถิ่น ครู ๕ คน -เข้าใจเรื่องราว นักเรียน ๔๐ คน ความเป็นมาของ ประชาชน ๔๐ ที่ตั้งเมืองเก่าชัยบุรี คน นักเรียน ๑๘๗ คน ได้ท่องเที่ยวและศึกษา ครู ๒๕ คน เมืองเก่าชัยบุรี วิทยากร ๕ คน


๓.ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในโครงการ ผลผลิตและผลลัพธ์อื่นๆ นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ ได้สมัครชมรมอนุรักษ์เมืองเก่าชัยบุรี

จานวน ๑๘๗ คน

๔.การรับรู้และมีส่วนร่วมขององค์กรอื่นๆ ๑. นักเรียนและครูเครือข่ายจตุรมิตรจานวน ๑๗ โรง ๒๒๒ คน เข้าร่วมโครงการ ๒. วัดเขาเมืองเก่า วัดถ้าพระนอน วนอุทยานเข้าร่วมโครงการ ๓. อบต.พนมวังก์และหน่วยงานต่างๆ ให้การสนับสนุนโครงการ ๕.ปัญหาและอุปสรรในการดาเนินโครงการ (สรุปเป็นข้อๆ) ๑.ระยะเวลาในการศึกษาเมืองเก่าชัยบุรีใน ๑ วันไม่เพียงพอ ๒. ขาดการประชาสัมพันธ์ประชากรในพื้นที่ -๒๖.ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น ๑.เพิ่มเวลาเป็น ๒ วัน ๑ คืนในการศึกษาและแรลลี่เมืองเก่าชัยบุรี ๒.ประชาสัมพันธ์คนในท้องที่เข้าร่วมงาน ๗.แผนงาน/กิจกรรมที่จะดาเนินการในงวดต่อไป () ตามแผนเดิมที่ระบุในข้อเสนอโครงการ ( ) มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ (ระบุ กิจกรรม/รายละเอียด/ระยะเวลาที่จะ ปรับเปลี่ยน) ๘.โครงการเป็นแหล่งดูงาน ต้นแบบ หรือเผยแพร่นวัตกรรม ( ) ไม่มีการดูงาน เป็นต้นแบบหรือเผยแพร่นวัตกรรมให้กับโรงเรียน/หน่วยงานอื่น ( ) มี จานวน ๑ ครั้ง ได้แก่ เครือข่ายจตุรมิตร เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พัทลุง เขต ๑ ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานตามผลผลิต/ผลลัพธ์ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่กาหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง ไว้ ทาเอกสารประกอบการ ได้จานวน ๑๘๗ เล่ม

อธิบายรายละเอียด ครบตามจานวนผู้เข้าร่วมแรล


เรียนเรื่อง ตานานเมืองเก่า ชัยบุรี

ลี่

ส่วนที่ ๓ สิ่งที่นาส่งพร้อมรายงานครั้งนี้ ๑. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการดาเนินงาน จานวน ๑๘๗ ชิ้น คือ เอกสารเมืองเก่า ชัยบุรี ๒. ภาพถ่ายผลงานและกิจกรรม (จานวน ๕ ภาพ) ๓. ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน ๑ ภาพ) ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก/รายงานกิจกรรม (ถ้ามี) แนบ CD ลงชื่อผู้ทารายงาน (ผู้รับผิดชอบโครงการ) นิยม ไข่ช่วย (นายนิยม ไข่ช่วย)

ลงชื่อหัวหน้าองค์กร (ผู้รับทุน) สุวิทย์ สินน้อย (นายสุวิทย์ สินน้อย)

วัน/เดือน/ปี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

วัน/เดือน/ปี ๓๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

หมายเหตุ : รายงานความก้าวหน้าโครงการรายงานงวดฉบับนี้ สาหรับโรงเรียน ชุมชน วัด อบต. และ แหล่งเรียนรู้ใช้ประกอบการเบิกงบประมาณงวด

ประมวลภาพกิจกรรมแรลลี่ เมืองเก่าชัยบุรี


นักเรียนลงทะเบียน


แรลลี่ตามสถานที่ต่างๆ วัดถ้าพระนอน


วนอุทยานเมืองเก่าชัยบุรี


ศาลหลักเมือง


วัดเขาเมืองเก่า


ชมนิทรรศการตามซุ้ม โครงการเมืองเก่าชัยบุรี



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.