รายงานการถอดบทเรียน ครั้งที่ 1-2 โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย
โรงเรียนบ้านโป่งแดง สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2554 โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
รายงานจัดประชุมเชิงวิชาการ การถอดบทเรียนโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย เขตพื้นที่การศึกษาลาพูน เขต 2 ครั้งที่ 1 / 2255 ณ โรงเรียนบ้านโป่งแดง วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 9.30 น. รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม 1. นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์ 2. นายปวันรักษ์ สัมฤทธิ์ 3. นางสาวไขแข ชัยเงินตรา 4. นายพีรพล จันทวรรณ 5. นางยุพดี กมลสาร 6. นายดวงรัตน์ ชัยสมภาร 7. นางกัลยา ธิสิงห์ 8. นายธนกร ดวงเนตร 9. นางสาวเปรมจิตร เป็กกันใจ 10. นายศุภสิทธิ์ พงษ์ศิริวานณิชย์ 11.นายไกรวิทย์ ทาเงิน 12. นางสุเพียร ขัดสาร 13.นางสาวดารา กองคา 14. นายประเสริฐ เลิศวัฒนากุล 15. นายมอแก้ว นาวา 16. นางทิพย์วรรณ นะกาลัง 17. นายเจาะโพ จุนุ 18. นางสุขใจ นาวา 19.นายเอาะ นะกาลัง 20 เด็กชาย นิรันทร์ จันทร์ถา 21.เด็กหญิง อาทิตยา กองคา 22.เด็กชายมชาย จุนุ 23. นางจันทร์ใจ นาวา 23. นายยุทธพล กองคา
ผู้อานวยการโรงเรียน ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครูวิกฤติ ครูวิกฤติ ครูสื่อภาษา ประธานกรรมการสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษา ปราชญ์ชาวบ้าน (ฟ้อนเจิง) ปราชญ์ชาวบ้าน (แต่งงาน) ปราชญ์ชาวบ้าน (เลี้ยงผี) กรรมนักเรียน ตัวแทนนักเรียน ตัวแทนนักเรียน ตัวแทนชุมชน ตัวแทนเยาวชน
ประธาน รองประธาน เลขานุการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ทราบ 1.1 การชี้แจงคณะทางาน และแต่งตั้งผู้ที่เป็นกรรมการในการถอดบทเรียนที่โรงเรียน เข้าร่วม ในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคน ไทย โดยเขตพื้นที่การศึกษาลาพูน เขต 2 จานวน 5 โครงการ 20 กิจกรรม กิจกรรมส่งเสริม 5 กิจกรรมย่อย ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว ไม่มี ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเสนอเพื่อทราบ 3.1 ชี้แจงประชุมคณะทางาน ในการถอดบทเรียนในส่วนของโครงการที่โรงเรียนได้จัด กระบวนการเรียนรู้แล้ว ทั้งหมด 5 โครงการ 21 กิจกรรมให้คณะธรรมงานทราบ ข้อมูล 3.2 แบ่งกลุ่มประสานงานในการระดมความคิดจากกลุ่มย่อยของคณะทางาน และเรียบ เรียงนาเสนอ ผลที่ได้รับจากการเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละโครงการ 3.3 แนะนาขั้นตอนการถอดบทเรียนให้คณะทางานทราบขั้นตอนวิธีการ เขียนรายงาน 3.4 มอบหมายให้คณะทางานในแต่ละโครงการ รับผิดเพื่อนาเสนอในที่ประชุมครั้งต่อไป ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 4.1 การแต่งตั้งคณะทางานการถอดบทเรียนโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วน ร่วมขององค์กรในชุมชน 4.2 ให้ผู้ที่รับผิดชอบในแต่ละโครงการประสานงาน วิเคราะห์เอกสาร รวบรวมกิจกรรมที่ ดาเนินการแล้ว สรุปส่งประธานเพื่อตรวจแก้และเสนอต่อผู้ประสานงานต่อไปเพื่อสุขภาวะคนไทย ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ 5.1 ให้คณะกรรมการทั้งหมดระดมความคิด และค้นแนวทางที่ได้รับจาการจัดกิจกรรม ทั้งหมด แบ่งออกเป็น 5 โครงการใหญ่ และนาเสนอในที่ประชุมครั้งต่อไป 5.2 ประชุมครั้งต่อไปวันที่ 14 มีนาคม 2555 ปิดประชุมเวลา 11.45 น.
ลงชื่อ ผู้บันทึก ( นางสาวไขแข ชัยเงินตรา ) ตาแหน่ง เลขานุการ
รายงานจัดประชุมเชิงวิชาการ การถอดบทเรียนโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย เขตพื้นที่การศึกษาลาพูน เขต 2 ครั้งที่ 2 / 2255 ณ โรงเรียนบ้านโป่งแดง วันที่ 13 มีนาคม 2555 เวลา 10.00 น. รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม 1. นายวุฒิไกร ชัยสิทธิ์ 2. นายปวันรักษ์ สัมฤทธิ์ 3. นางสาวไขแข ชัยเงินตรา 4. นายพีรพล จันทวรรณ 5. นางยุพดี กมลสาร 6. นายดวงรัตน์ ชัยสมภาร 7. นางกัลยา ธิสิงห์ 8. นายธนกร ดวงเนตร 9. นางสาวเปรมจิตร เป็กกันใจ 10. นายศุภสิทธิ์ พงษ์ศิริวานณิชย์ 11.นายไกรวิทย์ ทาเงิน 12. นางสุเพียร ขัดสาร 13.นางสาวดารา กองคา 14. นายประเสริฐ เลิศวัฒนากุล 15. นายมอแก้ว นาวา 16. นางทิพย์วรรณ นะกาลัง 17. นายเจาะโพ จุนุ 18. นางสุขใจ นาวา 19.นายเอาะ นะกาลัง 20 เด็กชาย นิรันทร์ จันทร์ถา 21.เด็กหญิง อาทิตยา กองคา 22.เด็กชายมชาย จุนุ 23. นางจันทร์ใจ นาวา 23. นายยุทธพล กองคา
ผู้อานวยการโรงเรียน ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.2 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครูวิกฤติ ครูวิกฤติ ครูสื่อภาษา ประธานกรรมการสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษา ปราชญ์ชาวบ้าน (ฟ้อนเจิง) ปราชญ์ชาวบ้าน (แต่งงาน) ปราชญ์ชาวบ้าน (เลี้ยงผี) กรรมนักเรียน ตัวแทนนักเรียน ตัวแทนนักเรียน ตัวแทนชุมชน ตัวแทนเยาวชน
ประธาน รองประธาน เลขานุการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ทราบ 1.1 ประธานแจ้งการจัดทารายงานการถอดบทเรียนของแต่ละโครงการ ว่าต้องได้รับการ แก้ไข ในบางส่วนเอให้สมบูรณ์ สอดคล้องกับกิจกรรมและบริบทของกิจกรรม 1.2 ประธานเข้าร่วมประชุมสัมมนาดูงาน ที่ อาเภอลาพญา จังหวัดปทุมธานี ในการถอด บทเรียน เป็นชุมชนตัวอย่างในการถอดบทเรียน ในโครงการครั้งนี้ ในวันที่ 17 มีนาคม 2555 เพื่อนา ความรู้ที่ได้รับมาเสนอแนะแก่คณะทางาน เพื่อแก้ไขงานได้ถูกต้องสมบูรณ์ต่อไป ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมปฎิบบัติการครั้งที่1 รับรองรายงานการประชุมเชิงปฎิบัติการครั้งที่ 1 / 2555 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเสนอเพื่อทราบ 3.1 คณะทางานแต่ละโครงการได้นาเสนอการถอดบทเรียนของแต่ละโครงการ ต่อ คณะทางาน 3.2 คณะทางานแต่ละท่านสดงความคิดเห็นแก้ไข เพิ่มเติม ของการถอดบทเรียนแต่ละ โครงการ 3.3 เลขานุการบันทึก การปฎิบัติงานในการประชุม เพื่อเสนอแนวทางที่กรรมการแต่ละ คนนาเสนอ และแนะนาแก้ไขในครั้งนี้ 3.4 คณะทางานทุกโครงการ ดาเนินการแก้ไข ให้สมบูรณ์เพื่อนาเสนอประธานเพื่อ ตรวจสอบ และนาเสนอผู้ประสานงานระดับภาค ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 4.1 ให้คณะทางานรวบรวมเอกสารรูปเล่ม ของการถอดบทเรียนที่สมบูรณ์ นาเสนอประธานเพื่อตรวจสอบ แก้ไข ก่อนนาเสนอผู้ประสานงานระดับภาค 4.2 นาเสนอการถอดบทเรียนในการจัดกิจกรรมในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย เสนอต่อชุมชนต่อไป ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ 5.1 ไม่มี ลงชื่อ ผู้บันทึก ( นางสาวไขแข ชัยเงินตรา ) ตาแหน่ง เลขานุการ
การถอดบทเรียน ( ครั้งที่ 1 ) โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย
โรงเรียนบ้านโป่งแดง
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2554 โดยการสนับสนุ บสนุนงบประมาณจาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2 ก่อนอื่นต้องขอรายงานข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบก่อนแล้วว่า ก่อนที่เราจะได้ดาเนินการตามโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทยนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจาเป็นต้องทราบข้อมูลพื้นฐานของหน่วยงานที่จะ ปฏิบัติงานก่อนขอสังเขปดังนี้ โรงเรีย นบ้า นโป่ง แดง ตั้งอยู่เลขที่ 213 หมู่ที่ 5 ตาบลทุ่งหัวช้าง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูนเป็นโรงเรียนในสังกัดศูนย์เครือข่ายการศึกษาอาเภอทุ่งหัวช้างซึ่งประกอบไปด้วย โรงเรียนในเขตอาเภอทุ่งหัวช้างที่เป็นโรงเรียนประถมศึกษาจานวน 18 โรงเรียน อาเภอทุ่งหัวช้าง เป็นอาเภอหนึ่งใน 8 อาเภอของจังหวัดลาพูนมีอาณาบริเวณกว้างขวางมีเนื้อที่ประมาณ 514 ตาราง กิ โ ลเมตรทิ ศ เหนื อ ติ ด อ าเภอแม่ ท า ทิ ศ ใต้ ติ ด กั บ อ าเภอลี้ ทิ ศ ตะวั น ตกติ ด ต่ อ กั บ อ าเภอลี้ ทิ ศ ตะวันออกติดต่อกับอาเภอเสริมงาม จังหวัดลาปาง สาหรับโรงเรียนบ้านโป่งแดง หมู่ที่ 5 ตาบลทุ่ง หัวช้างนั้นประกอบไปด้วยเขตบริการ 3 หมู่บ้านคือบ้านโป่งแดง บ้านสัญชัยและบ้านดอยแก้ว ราษฏรทั้งสามหมู่บ้านเป็นชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยง 2 ชนเผ่าคือบ้านโป่งแดงและบ้านดอยแก้วเป็น ชาวเขาเผ่าสกอร์และบ้านสัญชัยเป็นชาวเขาเผ่าโปว์ ซึ่งทั้งสองเผ่ามีภาษาพูดที่ไม่เหมือ นกันแต่มี รูป แบบทางวัฒนธรรมคล้า ยคลึง กั น เนื่องจากเป็นกระเหรี่ ย งเหมือนกั นแต่ต่ างเผ่ ากั นเท่านั้น มี วัฒนธรรมและประเพณีเป็นของตนเองแตกต่างจากชาวพื้นราบทั่วไป ในรูปแบบของการมีวัฒนธรรมเป็นของตนเองสะท้อนความเข้มแข็งในรูปแบบวัฒนธรรมของชน เผ่าที่ยังคงรักษาขณบธรรมเนียมและวัฒนธรรมประเพณีของตนเองไว้ได้อย่างเหนี่ยวแน่นทั้งใน รูปแบบการเลี้ยงผีเหมือง ผีฝาย การเลี้ยงผีประเพณีในเดือน 5 และเดือน 9 รวมทั้งประเพณีการกิน แขกหรือแต่งงานในชนเผ่าเนื่องจากมีการแต่งงานในเผ่าของตนเองมากกว่าแต่งงานกับคนต่างเผ่า รวมทั้งคนพื้นราบที่ติดต่อค้าขายหรือมีความสัมพันธ์กันวัฒนธรรมเหล่านี้เป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่า การมีวัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะส่งผลในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการดารงชีวิตน้อยมากกว่าการที่มี วัฒนธรรมผสมผสานและการรับผลของการพัฒนาชุมชนในรูปแบบอื่นๆที่มากจากภายนอกทั้งเรื่อง การศึ กษา สาธารณสุข และการพั ฒนาชุมชนในรูปแบบอื่นๆสิ่งเหล่านี้จะสะท้อนถึงการรับเอา วัฒนธรรมการพัฒนาเข้ามาปรับใช้ในวิถีชีวิตในเผ่าของตนเองมองในแง่ดีเชิงวัฒนธรรมแล้วจะเห็น ว่าชุมชนมีความเป็นตัวของตัวเองมากกว่าชุมชนอื่นๆที่ยอมรับวัฒนธรรมที่เข้ามาผสมกลมกลืนกัน จนไม่รู่ว่ารากเหง้าของวัฒนธรรมตนเองเป็นอย่างไรในทานองเดียวกันวัฒนธรรมเหล่านี้ก็เป็นสิ่งที่ ปิดกั้นการรับเอาสิ่งที่ถือว่าเป็นการพัฒนาชุมชนในยุคปัจจุบันเช่นเดียวกันเราจะทาอย่างไรถึงจะให้ สิ่งเหล่านี้เกิดการสมดุลทั้งการรักษาวัฒนธรรมและการพัฒนาให้ควบคู่กันไปเราต้องยอมรับการ เปลี่ยนแปลงในโลกปั จจุบันแล้วหันมาให้ความสาคัญกับการที่ชุมชนต้องรักษาวัฒนธรรมเอาไว้
เช่นกันเราไม่สามารถที่ จะเลือกเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งและทิ้งอีกสิ่งหนึ่งที่ทรงคุณค่าไปได้เช่นกันสิ่ง เหล่านี้ถือว่าเป็นโจทย์ในการพัฒนาชุมชนที่โรงเรียนที่เป็นหน่วยงานทางการจัดการศึกษาต้องเข้า มาเรียนรูร้ ับทราบและหาทางพัฒนาให้เข้ากับภาวการณ์ในปัจจุบันที่โลกกาลังเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุค ไร้พ รมแดนเราก าลัง ก้ า วไปสู่ยุ ค ที่ โลกสามารถเชื่อมต่อกันได้ทั่วโลกด้วยเทคโนโลยี่เครือข่าย เน็ตเวิรค์ ปัจจุบันโรงเรียนบ้านโป่งแดงเปิดทาการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปี ที่ 6 มี นั ก เรี ย นรวมทั้ ง สิ้ น 185 คนมี ค รู ป ระจ าการท าการสอน 10 คนมี น ายวุ ฒิ ไ กร ชั ย สิ ท ธิ์ เป็ น ผู้อานวยการโรงเรียนมีบุคลากรอื่นเช่นครูอัตราจ้าง ครูวิกฤติ ครูธุรการและ ภารโรงชั่วคราว รวมบุคคลากรทั้งสิ้น 14 คน ประเพณีที่สาคัญของชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยงคือประเพณีการเลี้ยงผีที่มักนิยมเลี้ยงในเดือน 5 และเดือน 9 โดยมิยอมออกไปรับจ้างหรือทางานแต่ออกไปหากินทั่วไปได้ ห้ามออกจากหมู่บ้าน ไปทากิจกรรมที่อื่นเป็นระยะเวลา 3 วันบุคคลทั่วไปต่างหมู่บ้านไม่อาจเข้าในบริเวณที่กั้นไว้เป็นรูป ไม้ไผ่สานขัดแตะที่เรียกกั นว่าตะแหลวติดบริเวณหน้าบ้านหากใครพลัดหลงเข้าไปต้องถูกปรับ อย่างสูงส่วนมากการปรับจะปรับเป็นเกลือแล้วนาไปแจกจ่ายให้กับคนทั้งหมู่บ้านแล้วทาพิธีเลี้ยงผี ใหม่เพราะถือว่าเสียผีแล้วต้องทาการเลี้ยงใหม่ คนที่ฝืนทาจะถูกตราหน้ามิยอมคบค้าสมาคมกับคน ในชนเผ่านี้เนื่องจากเป็นผู้ทาให้เกิดการเลี้ยงผีใหม่เสียเวลาและทาให้ผีโกรธไม่เป็นที่คบหาสมาคม ถือว่าเป็นคนไม่ดี นอกจากนี้ยังมีประเพณีการเลี้ยงผีฝายหรือเหมือง ผีทุ่งนา ผีป่าถึงแม้ว่าจะมีการ นับถือพุทธศาสนาก็ตามเมื่อมีคนตายในหมู่บ้านจะรีบนาไปฝังที่ป่าช้าไม่นิยมเผาหากมีการตายใน ตอนเย็นต้องรีบนาไปฝังในตอนเช้ามืดแล้วรีบกลับมารับประทานอาหารอาบน้าล้างเนื้องล้างตัวให้ สะอาด แต่เดิมไม่นิยมเอาคนตายใส่โลงศพ มักปฏิบัติกันโดยใช้เสื่อหรือผ้าห่อศพแล้วหามด้วยไม้ คานพาไปป่าช้าแต่ในปัจจุบันเริ่มมีการใช้หีบศพกันบ้างแล้วสาหรับคนที่ฐานะดีแต่ยังใช้การหาม หีบศพไปป่ าช้าในลัก ษณะของการจ้างครั้งหนึ่งประมาณ 2,000 บาทโดยถือว่า หัว 1,000 หาง 1,000แต่มี ข้ อ แม้ ว่า คนที่ รับ จ้า งต้องเตรี ย มคนที่จะหามไว้ใ ห้พ ร้อมจะเปลี่ย นบ่า หรือเปลี่ย นท่ า สาหรับการแบกไม้คานหามไม่ได้โดยทั่วไปจะใช้คนหามที่รับจ้างประมาณ 4 คนเดินเคียงคู่กันไป ทางเข้าป่าช้าจะเป็นทางแคบๆสาหรับเดินพาหนะต่างๆไม่สามารถนาไปได้ญาติพี่น้องคนตายที่เป็น ชายจะหิ้วน้านามีด จอบเสียมไปด้วยพวกหนึ่งจะนาสิ่งของคนที่ตายบรรจุในกล่องหรือลังแบกหาม ไปด้วยเมื่อทาการฝังคนตายแล้วจะรีบกลับมาชาระล้างตนเองและรับประทานอาหารเช้า (กรณีตาย ตอนเย็น)มีประเพณีที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งคือการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคาที่ครูบาชัยยะวงศ์ษา พัฒนาสร้างงขึ้นจะสรงน้าในเดือนแปด 15 ค่าของทุกปีราษฏรในพื้นที่จะมาร่วมทาบุญกันอย่าง มากมายถือเป็นที่ท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของอาเภอทุ่งหัวช้างในวัดพระธาตุดอยกวางคาประกอบไป ด้วยสิ่งถาวรวัตถุทางศาสนาเป็นอันมาก มีที่ประดิษฐานเนื้องกวางที่เชื่อว่ากลายเป็นหินตามตานาน ที่เล่าขานกันมา มี อ่างปลาหิน มีสถานที่ที่เชื่อกันว่าเป็นที่ตากเนื้อกวางเป็นที่เคารพนับถือของ
ประชาชนในอาเภอทุ่ งหัวช้า งและอาเภอใกล้เคีย ง ราษฏรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทางด้ าน การเกษตรและรับจ้างการเกษตรส่วนใหญ่จะปลูกพืชที่ทางบริษัท์มาส่งเสริมคือมันฝรั่งและถั่วแระที่ จาเป็นต้องใช้สารเคมียาฆ่าแมลงมากมายเพื่อให้ได้ผลผลิตที่คุ้มค่ากับการลงทุน ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ ราษฏรมีสารเคมีตกค้างในร่างกายสูงมากคือความไม่รู้เนื่องจากอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ราษฏรที่ มีอายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือไม่สามารถอ่านออกเขียนได้อ่านฉลากไม่เป็น อีกทั้งการไม่ระมัดระวังป้องกันตัวเองจากสารเคมีที่อันตรายทาให้เกิดปัญหาสารเคมีที่เป็นอันตราย ซึมอยู่ในกระแสเลือดสูงมากเป็นอัตราส่วนจานวนร้อยละ 86.47 ของจานวนประชากรที่ตรวจ ร่างกายและพบสารเคมีนับว่าเป็นอันตรายใหญ่หลวงต่อประชาชนของเราที่ต้องมารับพิษภัยจาก สารเคมีเข้ากระแสเลือดเนื่องจากการประกอบสัมมาอาชีพที่จาเป็นเป็นสาเหตุหนึ่งของการฆ่าตัว ตายที่มีอัตราที่สูงมากในตัวอาเภอ เมื่อเราทราบข้ อมู ลพื้นฐานต่างๆแล้วทาการประชาคมราษฏรและเครือข่ายที่มีอยู่ใ น ชุมชนแล้วตั้งคณะทางานกาหนดโครงการ/กิจกรรมที่จะแก้ไขปัญหาที่พบนาเสนอต่อผู้สนับสนุน โครงการนาร่องตามที่ ก ล่า วมาแล้วต่อไปตามรายละเอีย ดที่จะได้ก ล่าวถึงในเรื่องของการถอด บทเรียนเพื่อนาเสนอต่อผู้สนับสนุนโครงการภายหลังที่การดาเนินการตามโครงการนาร่องเสร็จสิ้น ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในกรอบของการนาร่องคือ 1 ปีการศึกษาต่อไป
การถอดบทเรียน โครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการเกษตรอินทรีย์ในโครงการนาร่องการจัด การศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สพป.ลาพูนเขต 2 ........................................................................................................................................... โครงการเกษตรอินทรีย์เพื่อชีวีที่ดีกว่าตามโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนโรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน สพป.ลาพูนเขต 2 ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมดังนี้ 1. หมอดินอาสา 2. การทาปุ๋ยหมัก 3. การทาปุ๋ยน้าชีวภาพ ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ/ล้มเหลวของกิจกรรมหมอดินอาสา การทาปุ๋ยน้าและการท ทาปุ๋ยหมัก ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ/ล้มเหลว ในกระบวนการดาเนินโครงการมีการประชุมปรึกษาหารือของคณะทางานอย่าง ต่อเนื่อง มีการวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ การดาเนินการที่ประสบความสาเร็จ ส่วนหนึ่งมาจากการบริหารจัดการที่ยืดหยุ่น การปรับเปลี่ยนกาหนดระยะเวลา ตามความ เหมาะสมและสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งในบางคราวอาจติดขัดด้วยช่วงเวลา หรือ ความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย อีกทั้งการดาเนินกิจกรรมมีการทางานแบบร่วมมือของ หลายภาคส่ ว นและมี ส่ ว นร่ ว มในการแก้ ไ ขปั ญ หาที่ ดี การด าเนิ น งานจึ ง ประสบ ความส าเร็ จ โดยมี ก ารบริ ห ารงาน ตั้ ง แต่ การสร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจในการจั ด กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการทาเกษตรอินทรีย์ โดยการถ่ายทอดความรู้ด้านทฤษฎี และการปฏิ บั ติ การมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนในการด าเนิ น กิ จ กรรมทุ ก ขั้ น ตอน ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นหลักการในการทางาน โดยการร่วมคิ ด ร่วม ทาร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ โดยชุมชนเองว่าจะทากิจกรรม อะไร และสามารถแก้ไขปัญหาได้ โดยเริ่มตั้งแต่การทาประชาคม การระดมความ คิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของชุมชน โดยเริ่มแก้ปัญหาจากครอบครัวไปสู่ชุมชน ตามลาดับ โดยยึดแนวทางการแก้ไขปัญหาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ จากการไปศึกษาดูงานจาก ชุมชนบ้าน ทาป่าเปา และเชิญวิทยากรให้ความรู้ทาให้เกษตรกรในชุมชนสามารถนาองค์ความรู้มา ประยุกต์ใช้ในการทาการเกษตรของตนเองเป็นการสร้างแนวคิดใหม่ทาง การเกษตรให้กับเกษตรกรในพื้นที่เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการทาการเกษตรดั้งเดิมเป็นเกษตร แนวใหม่ตามรอยแนวทางที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานไว้ให้กับพสก นิกรชาวไทย สิ่งที่เป็นอุปสรรคและปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลวของโครงการ/กิจกรรม เกษตรกรบางส่วนยังยึดติดกับค่านิ ยมเดิมกับการใช้สารเคมีในการทาการเกษตร ไม่รับวิทยาการใหม่ๆเกี่ยวกับการเกษตรกร บางส่วนยังไม่เห็นความสาคัญของการทา เกษตรอินทรีย์ และไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของปุ๋ยหมักชีวภาพ และน้าหมักชีวภาพ ว่าจะมีคุณภาพเทียบเท่าสารเคมีหรือไม่ กิจกรรมนี้สะท้อนให้ เห็นว่าก่อนที่เราจะดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่ ค่อนข้างสวนทางกับวิถีชีวิตและความเชื่อของชุมชนแล้วเราต้องมีการหาวิธีการที่จะทา ให้ชุมชนสร้างแนวคิดใหม่ก่อน สร้างกระบวนการคิด วิธีคิดก่อนแล้วศึกษาชุมชนว่า ชุ ม ชนพร้อ มที่ จ ะทางานร่ว มกับเราเมื่ อ ไร พร้ อ มตอนใหนต้ อ งมี ผู้ น าแนวคิ ด นี้ ไ ป ดาเนินการหรือลองทามาแล้วก่อนจึงจะประสบผลสาเร็จส่วนใหญ่ทางราชการมักจะมีวิธี คิดแบบนี้อาจจะเป็นสาเหตุหนึ่งทาให้กิจกรรมหรือโครงการทีลงไปยังชุมชนไม่ได้ผล เท่าที่ควร กิจกรรมที่โรงเรียนดาเนินการไปค่อนข้างมากเกินไปเบ็ดเสร็จแล้วรวมที่ โรงเรียนดาเนินการไปทั้งหมดรวม 5 โครงการ 21 กิจกรรมรวมกิจกรรมต่อยอดจากการ แนะนาของทางผู้สนับสนุนงบประมาณอีก 5 กิจกรรมรวมเป็น 5 โครงการ 26 กิจกรรม และแต่ละกิจกรรมค่อนข้างใช้ระยะเวลาในการทามากครูผู้สอนที่รับผิดชอบกิจกรรมมี งานมากอีกทั้งไม่ได้อยู่ในพื้นที่ทาให้การประสานงานไม่ต่อเนื่องกับการขยายผลไปยัง ชุมชนเท่าที่ควร ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน 1. ครู นักเรียน และชาวบ้าน ได้เรียนรู้ร่วมกันโดยได้เชิญวิทยากรที่มีความรู้ใน เรื่ อ งการทาเกษตรอิ น ทรีย์ม าอบรมให้ ค วามรู้ และฝึ กทั ก ษะกระบวนการทาปุ๋ยหมั ก ชีวภาพและน้าหมักชีว ภาพ และรวบรวมองค์ค วามรู้ต่างๆมาจัดทาหลัก สูตรการทา
เกษตรรอินทรีย์ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และรับทราบความ ต้องการของชุมชนที่ต้องการให้โรงเรียนเข้ามามีบทบาทการเป็นที่ถ่ายทอดความรู้ด้าน ต่างๆ เกิดศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน ที่ใครๆก็สามารถเข้ามาศึกษาหาความร้านต่างๆได้ 2. ชาวบ้านได้ปรับเปลี่ยนแนวคิดเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ และ สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือทาปุ๋ยหมักชีวภาพและน้าหมักชีวภาพเพื่อลดรายจ่ายใน ครั วเรือ น เช่ น ค่า ปุ๋ยเคมี ยาปราบศั ตรู พืช ที่ ใช้ ในการเกษตร รวมถึง การรู้ รายรั บ – รายจ่ายของตนจากการทาบัญชีครัวเรือน และมีการออมเงินเพื่อยามขัดสนของครอบ ครับ เกิดการกระจายรายได้ในระบบเศรษฐกิจโดยรวม นอกจากนี้ยังสามารถลดหนี้สิน ในครอบครัว และรู้จักการใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าสูงสุด 3.ได้องค์ความรู้ในแง่ของครูที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถต่อยอดการนาไปใช้ใน การเกษตรของตนเอง สาหรับเกษตรกรก็สามารถนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่ม ผลผลิตทางการเกษตรของตนเอง ลดค่าใช่จ่ายสารถดารงตนตามแนวทางเกษตรทฤษฏี ใหม่ รู้จักการวางแผนการทางานสาหรับการดาเนินการในภาพรวมที่ต้องใช้บุคลากร เป็นจานวนมากได้ทราบปัญหาการจัดการการจัดกิจกรรมและหาทางออกร่วมกันตาม หลักการร่วมคิดร่วมทา ร่วมชื่นชม 4.การนาผลไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูที่รับผิดชอบงานเกษตรในโรงเรียนสามารถทาเป็นผลงานแทรกในเนื้อหาวิชา ที่ตนเองสอนหรือรับผิดชอบเช่นแปลงไม้ผล การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การนา วัตถุดิบทางการเกษตรที่เหลือใช้ในท้องถิ่นมาทาประโยชน์เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร สามารถลดปัญหาโลกร้อนในวิชาวิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี หากโรงเรียนสามารถบูรณ ราการการกเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรมแล้วจะได้ผลดีมาก มีการดาเนินการจัดให้ เด็กได้เรียนรู้ทั้งทฤษฏีและการปฏิบัติการขยายผลสู่ชุมชน การสร้างความสัมพันธ์กับ ชุมชนถ้าทาอย่างจริงจังสามารถนาไปพัฒนาเป็นผลงานวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ เป็นอย่างดีอีกทั้งเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนที่ชุมชนสามารถมองเห็นว่าสิ่งที่โรงเรียนกาลังทา เป็นสิ่งที่ดีมีประโยชน์ทั้งต่อตนเอง โรงเรียน และชุมชนตลอดจนสิ่งแวดล้อมก็จะดีไป ด้วย สาระสาคัญ
กิจกรรมหมอดินอาสา การทาปุ๋ยนา การทาปุ๋ยหมัก การนานักเรียน เยาวชน ประชาชน เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ ข้าราชการ รวมทั้งบุคลากรที่สนใจในเรื่องเกษตรอินทรีย์ภายในอาเภอทุ่งหัวช้างได้เสวนาสร้าง ความรู้ ค วามเข้ า ใจในเรื่ อ งการเกษตรแผนใหม่ เกษตรธรรมชาติ ห รื อ เกษตรเพื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม การสร้ า งแนวคิ ด การสร้ า งความตะหนั ก ในเรื่ อ งค่ า ใช้ จ่ า ยที่ ใ ช้ ท าง การเกษตรโดยการใช้สารเคมี การใช้ปุ๋ยเคมีในภาวะปัจจุบัน การลดค่าใช้จ่ายในการเกษตรโดยการใช้วัสดุธรรมชาติที่เหลือในท้องถิ่นแทน การเผาทิ้ง การหันกลับมาใช้อินทรีย์เคมีในการเกษตรแทนสารเคมีที่เกษตรกรทั่วไป กาลังใช้อยู่ในปัจจุบัน การสร้างองค์ความรู้ให้กับชุมชนในเรื่องของการพึ่งตนเอง พึ่งพาธรรมชาติ วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ 1.อธิบายความเป็นมาของเกษตรอินทรีย์ ความจาเป็นต้องใช้เกษตรอินทรีย์ 2.การตรวจวิเคราะห์ดินในเนื้อที่ทางการเกษตรของเกษตรกรอย่างง่าย 3.การสร้างองค์ความรู้ในเรื่องของเกษตรธรรมชาติเพื่อสิ่งแวดล้อม 4.ธาตุอาหารในดินและการจัดการดินอย่างเป็นระบบ 5.การใช้สารเคมีอย่างถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรในดินของเกษตรกร 6.การทาปุ๋ยหมักจากวัสดุในท้องถิ่น 7.การทาปุ๋ยน้าจากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มผลผลิต 8.การขยายผลการเรียนรู้โดยการดูงานเกษตรอินทรีย์จากกลุ่มต้นแบบ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมที่1.การตรวจวิเคราะห์ดินอย่างง่ายเวลา 10 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 2.การทาปุ๋ยน้า ปุ๋ยหมัก 4 ชั่วโมงสาหรับทฤษฏีและปฏิบัติ กิจกรรมที่ 3.การสร้างแนวคิดเกษตรอินทรีย์ 10 ช่วโมง กิจกรรมที่ 4การขยายผลจากการศึกษาดูงาน 15 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 5. การขยายผลลงสู่ชมุ ชน 5 ชั่วโมง วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้
1. การเตรียมการของวิ ทยากร(จากส านัก งานพัฒ นาที่ดิน เขต 6 เชียงใหม่ สานั ก งานพั ฒ นาที่ ดิ นจั ง หวั ดล าพู น ตั ว แทนบริ ษัทที่ ส่ งเสริ ม การเกษตรในท้ อ งถิ่ น วิทยากรจากพื้ น ที่ คื อ ส านั กงานเกษตร เกษตรที่ สู ง ครู เ กษตรจากโรงเรี ยนในศู น ย์ เครือข่าย) โรงเรียนได้ประสานงานกับวิทยากรแบ่งสัดส่วนการบรรยายในแต่ละท่านแต่ ละวัน มีการกาหนดตัวผู้นาการอภิปราย ผู้เข้าร่วมการเสวนา การสาธิตการทาในแต่ ละขั้นตอน 2.จัดทาใบความรู้/กิจกรรมสาหรับผู้เข้าร่วมที่สามารถอ่านออกเขียนได้และการ สัมภาษณ์สาหรับผู้อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้แต่เข้าใจเรื่องการพูดการฟัง 3.นาผลการดาเนินการจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้เป็นการสร้างแรงจูงใจ ให้กับชุมชนให้กลับมาสนใจเรื่องการเกษตรธรรมชาติ 4.สาหรับนักเรียนให้ศึกษาหาความรู้ด้ วยตนเองจาการฟังและการลงมือปฏิบัติ จริง 5.แบ่งกลุ่มนักเรียนให้กลับไปดาเนินการที่บ้านเพื่อต่อยอด 6.สาหรับโรงเรียนลงพื้นที่ในชุมชนสาธิตการทาปุ๋ยน้าปุ๋ยหมักในที่ๆชุมชน ยอมรับในเรื่องวัฒนธรรมประเพณี 7.นักเรียนและผู้เข้าร่วมทาใบกิจกรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้รับทราบแนวคิดเกษตรทฤษฏีใหม่ 2.ได้ทราบธาตุอาหารในพื้นที่ดินของตนเองว่าพื้นที่ของตนขาสดธาตุอาหาร อะไรบ้างต้องเพิ่มเติมสารอาหารประเภทใดจึงจะเหมาะสมได้ประสิทธิภาพสูงสุด 3.ได้รู้ วิธีการวิเ คราะห์ ธาตุอาหารในดิน ตามหลั กการเบื้อ งต้ นและสามารถ นาไปใช้พัฒนาการเกษตรของตนได้อย่างเหมาะสม 4.สามารถนาวัตถุดิบมาทาเป็นปุ๋ยน้าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรลดค่าใช้จ่ายได้ 5.สามารถนาเศษวัสดุที่เหลือทางการเกษตรมาทาปุ๋ยหมักเพิ่มผลผลิตได้ 6.รู้วิธีการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างปลอดภัยได้ผล มีประสิทธิภาพ 7.สามารถลดภาวะโลกร้อนจากการเผาเศษวัสดุทางการเกษตรในท้องที่ได้ บางส่วน ข้อเสนอแนะ
1. จุดสาคัญที่สุดอยู่ที่การสร้างแกนนา เพื่อเป็นแบบอย่างให้เพื่อบ้าน เป็นการ กระตุ้นให้ชาวบ้านมองเห็นศักยภาพของตนเองที่จะร่วมกันหาทางปัญหาโดยไม่ต้องรอ พึงพาจากหน่วยงานจากภาครัฐ 2. ต้องมีวิธีคิดใหม่ให้กับชุมชนและบุคลากรของทางโรงเรียนที่ดาเนินการใน โครงการนาร่อง จูงใจคนทางานให้เห็นว่าการทางานในโครงการเป็นการบูร ณาการการ ทางานกับการจัดกระบวนการเรียนการสอนเมื่อทาไปสักระยะหนึ่งจะเห็นผลว่าเอื้อ ประโยชน์กับการจัดการเรียนการสอนของครู เด็กสนุกสนานกว่าที่ครูจะทาการสอน เองหรือให้ความรู้เองซึ่งไม่เร้าใจเท่าที่ควร
การถอดบทเรียน โครงการส่งเสริมการออกกาลังกายของคนในชุมชนตามโครงการนาร่องการจัดการศึกษา แบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนโรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัด ลาพูน สพป.ลาพูนเขต 2 ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลัก 5 กิจกรรมดังนี้ 1.กิจกรรมแอโรบิค 2.กิจกรรมไม้เท้าเพื่อสุขภาพ 3.กิจกรรมกระบี่กระบอง 4.กิจกรรมฮูล่าฮุบ 5.กิจกรรมคีตมวยไทย สาระสาคัญ สาระส าคั ญของของกิ จ กรรมทั้ ง 5 กิ จ กรรมนี้ ม าจากแนวคิ ด ที่ ว่ า คนเรานั้ น ประกอบไปด้ ว ยร่า งกายและจิต ใจหากเราสามารถที่จ ะทาให้ ค นในชุ ม ชนมีร่ า งกาย แข็งแรงมีจิตใจที่เข้มแข็งแล้วจะสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมของตนเองอย่างเป็นสุข ท่ามกลางการเอาใจใส่ของบุตรหลานและคนในชุมชนที่จะหันกลับมามองตนเองใช้ ชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาใช้วัฒนธรรมที่เข็มแข็งของชุมชนสร้างสรรให้ชุมชนก้าว ไปสู่การเป็นชุมชนเข็มแข็งอย่างยั่งยืน พึ่งพาตนเองได้มีวิถีชีวิตที่เป็นสุข ออกกาลังกาย เพื่อสร้างร่างกายให้แข็งแรง เกิดความสนุกสานานในการเล่นเป็นพื้นฐานของการพัฒนา ชุมชนในด้านต่างของประเทศชาติสืบไป
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1.อธิบายแนวคิดการจัดการกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการออกกาลังกายของเยาวชน ประชาชนทั้ง 5 กิจกรรมได้ 2.สามารถอธิบายขั้นตอนของการออกกาลังกายทั้งห้ากิจกรรมได้ 3.สามารถอธิบายประวัติของการเล่นหรือการออกกาลังในแต่ชนิดได้ 4.สามารถบอกประโยชน์ของการออกกาลังกายทั้ง 5 ชนิดได สาระการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1.กิจกรรมแอโรบิค เวลา 10 ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 2.ขั้นตอนของการออกกาลังกาย 5 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 3.ประวัติของการออกกาลังกายแต่ละประเภท 2 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 4.เขียนประโยชน์ของการออกกาลังกายแต่ละประเภทได้ 2 ชั่วโมง วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1.การเตรียมการของครูผู้สอน 1.1คณะครูปรึกษาหารือให้ความคิดเห็นในการจัดกิจกรรมรวมทั้งการหา ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกิจกรรมแต่ละประเภทโดยการมอบหมายให้ครูที่ รับผิดชอบกิจกรรมทั้ง 5 เป็นผู้ค้นคว้า 1.2จัดทาใบความรู้/ใบกิจกรรม 1.3เตรียมการในเรื่องอุปกรณ์ในการออกกาลังกายในแต่ละกิจกรรม 1.4ประสานงานวิทยากรจากภายนอกและหากเป็นบุคคลากรในโรงเรียน ต้องแจ้งเวลาที่จะดาเนินการให้ครูทุกคนรับทราบร่วมกันเพื่อแจ้งเด็กรวมทั้งการนัด หมายเยาวชนประชาชนที่จะเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมได้มีเวลาในการเตรียมตัว การดาเนินการของกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการออกกาลังกายตามโครงการ ทางผู้ รั บผิ ด ชอบโครงการได้ ด าเนิ น การแต่ ง ตั้ ง คณะทางานรั บผิ ด ชอบใน กิจกรรมหลักทั้ง 5 กิจกรรมให้กับคณะครูทุกท่านได้มีส่วนในการช่วยเหลือโครงการ ถึงแม้ว่าบางท่านจะรับผิดชอบโครงการหลักอื่นๆแล้วก็ตามถือว่าบุคลากรทุกท่านเป็นผู้ มีความสามารถที่จะช่ วยเหลืองานโดยการเป็น ผู้รับผิดชอบกิจ กรรมที่อาจจะเป็นทั้ ง วิทยากร ผู้ประสานงาน ผู้ดาเนินการในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับกิจกรรมทั้ง 5 กิจกรรมเป็น การสร้างการมีส่วนร่วมคือการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมชื่นชมในผลการพัฒนาในกิจกรรมที่ ทุกฝ่ายมีส่วนรับผิ ดชอบมิใช่คนใดคนหนึ่งรับผิดชอบทาให้เกิดความรู้สึกในการเป็น เจ้าของโครงการ/กิจกรรมร่วมกัน เกิดความตั้งใจที่จะร่วมกันพัฒนางานของโครงการ ไปสู่เป้าหมายที่ทุกฝ่ายตั้งใจคือคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชนซึ่งก็คือผู้ปกครองของ เด็กนักเรียนที่เป็นลูกค้าของเรานั่นเองเมื่ อผู้ปกครองมีความเป็นอยู่ที่ดี มีร่างกายแข็งแรง มีภาวะเศรษฐกิจดี ชุมชนเข็มแข็งก็จะส่ง ผลต่อเด็กนัก เรียนที่เป็นบุต รหลานให้ไปสู่ เป้าหมายของการสร้างคนของโรงเรียนนั่นก็คือการสร้างให้คนเป็นคนดี คนเก่ง มีความรู้ ความสามารถที่จะพัฒนาชุมชนของตนเองไปสู่อนาคตที่ชุมชนคาดหวังอย่างยั่งยืน
เมื่อทางโรงเรียนใช้หลักการร่วมกันรับผิดชอบ แบ่งกันทางานตามความถนัด ความสามารถของแต่ ล ะบุ ค คลร่วมคิ ด ร่ ว มทาร่ วมเสนอแนะแก้ ไขปั ญ หาจาการทา กิจกรรมแล้วผลที่ได้จากการทากิจกรรมนี้ก็คือการมีความเข้าใจที่ดี การเห็นอกเห็นใจ ของครูในโรงเรียน การเข้าใจชุมชนเข้าใจขีดจากัดความคาดวังที่เราเคยตั้งไว้ รู้ปัญหา และสามารถเชื่อมโยงไปสู่การแก้ไขปัญหาในตัวเด็กนักเรียนไปด้วยเพราะว่าเราได้ทา การสอบถามผู้ปกครองมีการพบปะผู้ปกครองที่ใด้มาร่วมกิจกรรม สามารถสร้างความ เข้าใจที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน นาปัญหาของชุมชนมาเรียบเรียงเพื่อสร้างความ เข้าใจระหว่างบุคลากรของโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกขึ้นกว่าที่ เป็นอยู่เดิมจาการพบปะกัน ทากิจกรรมร่วมกันส่งผลให้เกิดความเข้าใจที่ดีระหว่าง ชุมชนและโรงเรียน ชุมชนทราบว่าโรงเรียนกาลัง ทากิจกรรมอะไรและอยากจะให้ ชุมชนเป็นอย่างไร ความคาดหวังของผู้ปกครองอยากให้คณะครูทาอย่างไรต่อการมา ปฏิบัติหน้าที่และการเข้าหาชุมชนเพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างกันต่อไปในอนาคต ข้างหน้า เมื่ อ ด าเนิ น การไปได้ สั ก ระยะหนึ่ ง เนื่ อ งจากโรงเรี ย นเป็ น หน่ ว ยงานที่ จั ด การศึกษามีบริบทการบริหารจัดการร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่เมื่อดาเนินการตาม โครงการสักระยะหนึ่งได้กราบเรียนกิจกรรมในโครงการต่อท่านนายอาเภอทุ่งหัวช้างได้ ทราบในคราวที่ ท่า นเดิ น ทางมาเป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด สั ม มนาเกษตรอิ น ทรี ย์ แ ละ กิจกรรมการทาปุ๋ยน้าและการทาปุ๋ยหมักของโครงการท่านได้ให้ข้อเสนอแนะสาหรับ กิจกรรมของโครงการบางกิจกรรมว่า เราเห็นสมควรที่จะปรับเปลี่ยนกิจกรรมจากที่เรา เคยเสนอผู้ ส นั บ สนุ น แล้ ว คื อ กิ จ กรรม กระบี่ ก ระบอง ขออนุ ญ าตปรั บ เปลี่ ย น ปรั บเปลี่ ยนมาเป็ น กิ จ กรรมจั กรยานสู บน้ าเพื่ อ สุ ข ภาพ ทั้ ง นี้ โ ดยอาศั ยแนวคิ ด ที่ ว่ า กิจกรรมที่โรงเรียนจะดาเนินการค่อนข้างไม่เหมาะสมกับวัฒนธรรมและประเพณีของ ชาวเขานักหากสามารถเปลี่ยนกิจกรรมจากเดิมมาเป็นกิจกรรมสูบน้าจากจักรยานแล้วทั้ง เด็กในโรง เรี ยนทั้ ง ครูแ ละผู้ ปกครองคนในชุ ม ชนจะหั น กลั บมาให้ ค วามส าคั ญ กั บจั ก รยานที่ มี ประโยชน์มากทั้งในแง่การประหยัดพลังงาน การลดภาวะโรคร้อน การได้ออกกาลัง และการไม่ผิดประเพณีวัฒนธรรมชนเผ่า ทั้งนี้ทางท่านนายอาเภอมิได้หมายความว่าให้ ทางโรงเรียนเปลี่ยนกิจกรรมที่เสนอผู้สนับสนุนแต่เนื่องจากโรงเรียนเป็นหน่วยงานจัด
การศึกษามีผู้มาพบปะมากมาย ชุมชนเข้ามหา ผู้ปกครองเข้ามาเห็นหากโรงเรียนลองหัน มาใช้วิธีการจักรยานสูบน้าแล้วประชาสัมพันธ์เกิดผลดี ต่อชุมชนมากกว่าการทากิจกรรม บางอย่างที่ ล่ อ แหลมต่ อ วั ฒนธรรมของชนเผ่า ในเรื่ อ งนี้ทางผู้ บริห ารโรงเรี ยนได้ นาเสนอแนวคิดของทางท่านนายอาเภอทุ่งหัวช้าง(นายศุภสิทธิ์ หล้ากอง)ต่อคณะครู และบุคลากรของโรงเรียนร่วมกันพิจารณาความเป็นไปได้แล้วมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบ โครงการจั ด ท าบั น ทึ ก เสนอขอปรั บ เปลี่ ย นโครงการต่ อ ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นในฐานะ ผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อนาเสนอต่อสสส.ต่อไปและได้มอบหมายให้ครูที่มีความรู้ความ ชานาญในเรื่องของจักรยานสูบน้า หาข้อมูลและดาเนินการจัดทา ทาแผนการจัดการ เรียนการสอน การประชาสัมพันธ์ให้กับคนในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ทราบ และเมื่อดาเนินการเสร็จสิ้นได้กราบเรียนเชิญท่านนายอาเภอทุ่งหัวช้างและคณะมาเยี่ยม ชมให้กาลังใจในการดาเนินการ ทางรองผู้ว่าราชการจังหวัดลาพูน ( นายภุชงค์ โพธิกุฏสัย ) ได้พาคณะผู้บริหารจากจังหวัดลาพูนลงมาเยี่ยมชมผลการดาเนินการ พร้อมทั้งแนะนาให้กาลังใจแก่คณะครูที่ดาเนินการเป็นที่ภาคภูมิใจของบุคคลากรใน โรงเรียนเป็นอย่างมากที่กิจกรรมเป็นที่สนใจของผู้นาระดับอาเภอและระดับจังหวัด พร้อมทั้งได้สนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมให้กับโรงเรียนเพื่อขยายผลในโครงการต่อไป เมื่อทางโรงเรียนได้ดาเนินการตามโครงการนี้จนครบกิจกรรม 5 กิจกรรมแล้วพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของโครงการและกิจกรรมนี้มาจาก 1.ระบบการบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคคลกรทุกภาคส่วน กล่าวคือทางโรงเรียนได้มอบหมายให้บุคลากรท่านหนึ่งรับผิดชอบโครงการที่คลอบ คลุ ม กิ จ กรรมทั้ ง 5 กิ จ กรรมแล้ ว ขอให้ ค ณะครู ที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถมาช่ ว ยกั น ดาเนินการในแต่ละกิจกรรมถึงแม้ว่าทางโรงเรียนจะมีบุคลากรน้อยก็ตามพบว่าบุคลากร ของโรงเรียนบ้านโป่งแดงล้วนแล้วแต่มีคุณภาพ มีความรับผิดชอบให้ความสนใจใน กิจกรรมที่ตนเองดูแลจึงทาให้โครงการและกิจกรรมบรรลุผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้
2.ผู้ ป กครองให้ ค วามสนใจในกิ จ กรรมที่ โ รงเรี ย นด าเนิ น การโดยการ ประชาสัมพันธ์ผ่านตัวเด็กนักเรียนและการที่ผู้ปกครองเห็นการดาเนินการอย่างจริงจัง ของทางโรงเรียนเมื่อมารับบุตรหลานจึง เข้าร่ วมกิจ กรรมอย่างมากทาให้กิ จกรรม บรรลุผล หากทางโรงเรียนได้รับการต่อยอดโครงการแล้วคณะครูที่รับผิดชอบโครงการ และกิจกรรมมีแนวทางที่จะทาโครงการบรรลุผลส่งผลไปยังผู้ปกครองโดยการจัดการ แข่งขันในโอกาสต่างๆแบ่งกลุ่มการแข่งขันออกเป็นผู้ปกครองระดับชั้น การแข่ งขัน ของเยาวชนในโอกาสงานกีฬาสีของทางโรงเรียนหรือกีฬาอบต. กีฬาท้องถิ่นแล้วแต่ กรณีซึ่งจะทาให้มีกิจกรรมการแข่งขันที่หลากหลาย สร้างความสนุกสนานมีการสาน สัมพันธ์ไปยังเครือข่ายผู้ออกกาลังของเครือข่ายสุขภาพทั้งชมรม อสม.ของรพสต. โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มฮูล่าฮุบของแต่ละหมู่บ้านและหน่วยงานในท้องถิ่นเราคาดหวัง ว่านี่เป็นก้าวแรกของการทางานที่เรายังไม่ค่อยคุ้นเคยเท่าใดนัก หากได้ทาอีกครั้งก็จะ ดาเนินการอย่างรอบด้านมุ่งมั่นให้เกิดผลดีต่อประชาชนส่วนรวมต่อไป
การถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมอาชีพในชุมชน ประกอบไปด้วยกิจกรรม 4 กิจกรรม กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า กิจกรรมการเลี้ยงไก่พื้นเมือง กิจกรรมการตัดผมเสริมสวย กิจกรรมการแปรรูปอาหารจากพืชที่ปลูกตามท้องถิ่น แนวคิดที่เราจัดทาโครงการได้มากจากการระดมความคิดของคณะทางานที่ทา การวิเคราะห์สภาพปัญหาของชุมชนแล้วนาแนวคิดมาจัดทาโครงการว่าโครงการของเรา ที่จะตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายของคนในชุมชนได้ต้องเป็นโครงการที่ ผสมผสานระหว่างกิจกรรมทางร่างกายความเข้มแข็งทางวัฒนธรรมและการอยู่ดีกิน ดี ของประชาชนในท้องถิ่นก่อนจึงจะทาให้โครงการบรรลุผลตามที่ประสงค์ เมื่อเราตอบ โจทย์นี้แล้วก็นาความต้องการจากการประชาคมชุมชนมาสรุปรวมเป็นหมวดหมู่จัดทา โครงการได้ 4 กิจกรรมตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น โดยมีเป้าหมายของโครงการ/กิจกรรมคือ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนทางด้านอาชีพให้ชุมชนสามารถพึง่ พาตนเอง จาการดาเนินการฝึกฝนอาชีพ นาสิ่งที่มีอยู่มาประยุกต์ให้เหมาะสม มีการพัฒนาการ ทางด้านสังคมความเป็นอยู่ทั้งเรื่องการเสรมสวยในผู้หญิงและการตัดผมในผู้ชายซึ่งใน ปัจจุบันทางชุมชนต้องพึ่งพาคนภายนอกในเรื่องเหล่านี้ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ในโครงการ 1.อธิบายขั้นตอนการเพาะเห็ดนางฟ้า 2.อธิบายขั้นตอนการเลี้ยงไก่รวมถึงการฉีดวัคซีนในไก่ที่เลี้ยง 3.อธิ บายขั้นตอนการตัดผมชายหญิงพร้อมอุปกรณ์อย่างง่ายได้ 4.อธิบายขั้นตอนการแปรรูปอาหาร การถนอมอาหารที่กาหนดให้ได้ 5.อธิบายการประกอบอาชีพที่สาคัญของชุมชนได้ สาระการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1.การเพาะเห็ดนางฟ้าเวลา 5 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 2.การเลี้ยงไก่พื้นเมืองเวลา 3 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 3.การตัดผมชายหญิงเวลา 10 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 4.การแปรรูปอาหารเวลา 10 ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 5.การประกอบอาชีพที่สาคัญในชุมชนเวลา 3 ชั่วโมง วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1.การเพาะเห็ดนางฟ้า การเตรียมการของครูและวิทยากร 1.1 คณะครูประชุมปรึกษาหารือกันนัดหมายเรียนเชิญวิทยากรในชุมชน 1.2 การเตรียมการเกี่ยวกับวัสดุที่จะจัดกระบวนการเรียนการสอน การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ 1.3 นัดหมายวันเวลาที่จะดาเนินการร่วมกับวิทยากรฝึกอบรม 1.4 จัดทาใบความรู้/ใบกิจกรรม 1.5 รวบรวมผลผลิตในการดาเนินการหาแรงจูงใจที่จะนาผลลงชุมชน 1.6 แบ่งกลุ่มให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้เรื่องการเพาะเห็ดนอกจากความรู้ที่ได้จาก วิทยากรเห็ดที่สามารถทาง่ายเช่นเห็ดฟาง เห็ดถั่วเหลืองฯลฯ กิจกรรมที่ 2. การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเตรียมการของครู วิทยากรและเด็กนักเรียน 2.1ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการกิจกรรมและผู้เข้าร่วมงานโครงการ 2.2 นัดหมายเด็กในการเตรียมการเรื่องไก่ ตรวจเช็คความพร้อมเรื่องเล้ากรง ความสมบูรณ์ของไก่ การป้องกันโรคโดยการฉีดวัคซีน การให้ความรู้เบื้องต้นในเรื่อง การเลี้ยงไก่ 2.3จัดทาใบความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ การฉีดวัคซีน 2.4ประวัตคิ วามเป็นมาของไก่ที่นักเรียนนามาเลี้ยง ประวัติไก่พื้นเมือง ไก่ใน เมืองไทย 3.กิจกรรมการตัดผมเสริมสวยชายหญิง 3.1 ผู้รับผิดชอบเตรียมการเรื่องอุปกรณ์การตัดผม เสริมสวย โต๊ะเครื่องแป้ง และอุปกรณ์อื่นๆที่จาเป็นในเรื่องการตัดผมเสริมสวยรวมทั้งสถานที่ๆเป็นสัดส่วนแยก จากอาคารอื่นๆเป็นเอกเทศเหมาะสมกับการดาเนินการ 3.2 การเน้นย้านักเรียนในเรื่องการตัดผมให้กับเพื่อนต้องเป็นนักเรียนที่ทา ความสะอาดร่างกายสระผมมาแล้วเพื่อสะดวกในการตัดและเสริมสวยป้องกันเครื่องมือ ที่ใช้ในการทางานมิให้ชารุดก่อนเวลา
3.3 การฝึกฝนในเรื่องการตัด คัดเลือกเด็กที่จะฝึกฝนมาแล้วจับปัตตาเลี่ยนฝึก การตัดแบบไถหรือจะใช้ปัตตาเลี่ยนแบบมือฝึกตัดกับขวดเปล่าก็ได้ทดลองฝึกจนเคยชิน กับการจับปัตตาเลี่ยนลองฝึกกับเด็กที่ผมยาวและสระผมมาแล้ว นักเรียนหญิงดูการสาธิต จากวิทยากรลองฝึกการจับกรรไกร กรรไกรซอย การฝึกจากหัวหุ่น 3.4 เมื่อลองฝึกการตัดผมและตัดผมหญิงแล้วลองให้เด็กสระผมเมื่อตัดเสร็จสิ้น แล้ว 3.5นักเรียนฝึกใบจัดกิจกรรมที่มอบให้ 4.กิจกรรมแปรรูปอาหารจากวัตถุดิบในท้องถิน่ 4.1วิทยากรและผู้รับผิดชอบโครงการกาหนดสาระเกี่ยวกับการทาตามฤดูกาล ที่มีวัตถุดิบมากพอที่จะดาเนินการ 4.2เตรียมใบงานกิจกรรมไว้ในเรื่องที่เกี่ยวกับการดาเนินการ 4.3เตรียมการในเรื่องวัตถุดิบ อุปกรณ์การทา ประสานงานวิทยากรและผู้ เข้าเรียน สถานที่ๆจะดาเนินการ 4.4ดาเนินการตามที่กาหนดไว้พร้อมรวบรวมใบงานกิจกรรมที่มอบให้ ปัญหาอุปสรรคในระหว่างการทากิจกรรม/โครงการ จากการดาเนินการทั้ง 4 กิจกรรมในโครงการส่งเสริมอาชีพในชุมชนกิจกรรม ที่ น่ า จะส่ ง ผลมากที่ สุ ด ก็คื อ กิจ กรรรมเสริ ม สวย ตั ด ผมทั้ ง ในระดั บเด็ ก นั ก เรี ยนและ ผู้ปกครองทั้งนี้เนื่องจากเดิมทางโรงเรียนไม่ได้มีกิจกรรมการเสริมสวยตัดผม เมื่อถึงวัน ศุก ร์ ค รู เ วรที่ ดู แ ลเรื่อ งความสะอาดของตัว นั ก เรี ยนจะก าชั บให้ นั ก เรี ยนตั ด ผมมาให้ เรียบร้อยทั้งชายและหญิง แต่เนื่องจากครูเวรกับครูที่มาในวันจั นทร์มิได้ เป็นบุคคล เดียวกันทาให้เกิดปัญหาการลืมเกี่ยวกับการตรวจร่างกายเด็กส่งผลเสียกับเด็กแต่เมื่อมี โครงการทั้งเด็กนักเรียนและผู้ใหญ่ที่ต้องการตัดผมจะมาใช้บริการทาให้นักเรียนและผู้ที่ เกี่ยวข้องมีความชานาญในการทางานมากขึ้นลดการพึ่งพาคนนอกหมู่บ้านมากขึ้นอีกทั้ง เป็ นการลดรายจ่ ายของตั วนั กเรียนเรื่ องค่า ใช้ จ่า ยการตัด ผม การเดิน ทางส่ งผลการ ประหยัดพลังงานไม่มีการออกนอกหมู่บ้านลดการใช้พลังงานสิ้นเปลือง สาหรับกิจกรรมการเพาะเห็ดนั้นเท่าที่ได้ติดตามโครงการ/กิจกรรมพบว่าเมื่อ ได้ทาการทาในโรงเรียนแล้วมิได้ทาต่อเนื่องยังชุมชนและหมู่บ้านเพื่อการขยายผล มี ปัญหาเกี่ยวกับการติดตามผล เนื่องจากผู้รับผิดชอบมิได้อยู่ในพื้นที่ติดภาระในการ
พานักที่ชุมชนอื่นส่งผลให้การขยายผลออกไปสู่ชุมชนทาได้น้อยเด็กและผู้ปกครองมี ความเข้าใจในเรื่องการเพาะเห็ดและสามารถเพาะเห็ดเป็นอาชีพได้ ทางโรงเรียนต้อง ส่งเสริมอย่างจริงจัง ขยายผลออกไปสู่ชุมชนจึงจะสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถ่องแท้แก่ผู้ มาร่วมกิจกรรม สาหรับกิจกรรมการเลี้ยงไก่พื้นเมืองนับว่าประสบผลสาเร็จพอควรเนื่องจาก หากเรานามาเลี้ยงในโรงเรียนอย่างเต็มรูป แบบจะส่งให้เกิดปัญหาในการบริหารจัดการ การเลี้ ยงทางผู้ รับ ผิ ด ชอบกิจ กรรม จึ ง มี แ นวคิ ด ในเรื่ อ งของการน าไก่ จ ากบ้ า นมา นามาฉีดวัคซีนที่โรงเรียน ดูแลการเจริญเติบโตเป็นระยะๆเมื่อสิ้นโครงการก็ทาการ สรุปผลแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ หาปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่ อพัฒนา งานต่อไป กิจกรรมการแปรรูปอาหารจากพืชในท้องถิ่นพบว่ายังประสบปัญหาเกี่ยวกับ วัสดุที่จะทาจะเห็นได้ว่าบางฤดูกาลมีวัตถุดิบมากบางฤดูกาลมีวัตถุดิบน้อยส่งผลต่อการ แปรรูปอาหารเช่นในฤดูหนาวผักกาดมีมากพอที่จะแปรรูปเป็นอาหารและเป็นอาชีพ เสริมได้ในการดาเนินการหากจะได้ผลสาเร็จต้องให้ผู้รับผิดชอบโครงการทาการสารวจ วัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อนามาแปรรูปหรือทาอาหารเป็นอาชีพเสริมสาหรับคนในชุมชน เพื่อยกฐานะทางเศรษฐกิจของตนเองสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืนต่อไป อะไรคือความสาเร็จและปัญหาของโครงการนี้โดยภาพรวม ตั ว บ่ ง ชี้ ค วามส าเร็ จ ของโครงการ/กิ จ กรรมนี้ ม าจากความมุ่ ง มั่ น ของ ผู้รับผิดชอบโครงการที่ต้องการจะเห็นความสาเร็จของโครงการที่ดาเนินการถึงแม้ว่าจะ มี ปั ญ หาในเรื่ อ งของวั ต ถุ ดิ บ ในการด าเนิ น การ ช่ ว งระยะเวลาในการท างานและ ประสบการณ์ในการร่วมกับชุมชนที่มิใช่ตัวนักเรียนกล่าวคือในการทางานร่วมกับชุมชน ต้องอาศัยความสัมพันธ์อันดีความคุ้นเคยเป็นกันเองกับชุมชน เป็นตัวประสานการ ทางานระหว่างผู้ปฏิบัติกับคนในชุมชนอีกทั้งยังต้องอาศัยรูปแบบการสื่อสารที่อาศัย ภาษาในชุ ม ชนเป็ น ตั ว หลั กในการทางานร่ ว มกั น มิ ใ ช่ ภ าษากลางหรื อ ภาษาพื้ น บ้ า น เนื่องจากคนในชุมชนที่เป็นแม่บ้านยังไม่ประสบการณ์ในการพัฒนาตนเอง มีความรู้ น้อย(ผู้ที่มีอายุ 30 ปีลงมาไม่เคยได้รับการศึกษากล่าวคือไม่เคยได้เรียนในโรงเรียนมาเลย ทั้งนี้เนื่องจากโรงเรียนพึงตั้งมาได้ไม่กี่ปีมานี้เองทาให้เกิดปัญหาในเรื่องการสื่อสารทา
ความเข้าใจในเรื่องการสอน ความรู้ความเข้าใจต่างๆต้องอาศัยล่ามหรือคนกลางจะต้อง ถ่ายทอดทาให้ห้วงความรู้ทาได้ไม่เต็มที่ ปัญหาอีกประการหนึ่งก็คือความล้าหลังในเชิงการพัฒนาเท่าที่สอบถามจาก ชุมชน ปรากกฎว่าทางราชการยังไม่เคยเข้ามาเพิ่มศักยภาพของชุมชนให้กับ กลุ่มแม่บ้าน หรือกลุ่มสตรีในหมู่บ้านเลยไม่ว่าจะเป็น เคหกิจการเกษตรหรือนักพัฒนาชุมชนยังไม่ เคยลงมาพัฒนาในรูปแบบที่กล่าวมาหากโรงเรียนจะดาเนินการในลักษณะนี้ต้องใช้ความ วิริยะอุตสาหะมากในการทางานร่วมกับกลุ่มสตรีในชุมชน
การถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ / ล้มเหลว 1.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ สิ่งที่ทาให้โครงการประสบความสาเร็จ ได้แก่ ความร่วมมือของบ้าน – วัด – โรงเรียน เพราะในภาพรวมของชุมชนชอบและรักการทาบุญ รักวัฒนธรรมประเพณีและ ความเป็นอยู่ของตนเอง ประกอบกับทางวัดก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี เช่น การทาบุญ ตักบาตร , การเข้าค่ายคุณธรรม สาหรับทางบ้านก็มีการร่วมมือด้วยดี เช่น การเข้าค่าย ร่วมกับนักเรียน การใช้สิทธิ์คัดเลือกคนดีศรีโป่งแดง โดยใช้เวลาว่างจากการทางานและ เวลาที่มารับ-ส่งนักเรียนในช่วงเย็นมาลงคะแนนการคัดเลือก และที่สาคัญคือความตั้งใจ จริงของผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากร 1.2 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลว สิ่งที่ทาให้โครงการเกิดความล้มเหลว มีปัจจัยเนื่องจาก - งบประมาณที่จัดทามีจานวนจากัด ขาดแหล่งเงินทุนในการสนับสนุนจัด กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ทาให้โครงการต้องหยุดชะงักเป็นบางครั้ง - การจัดกิจกรรมบางอย่างต้องศึกษาชุมชนด้วยว่าชุมชนพร้อมที่จะร่วมมือกับ เราไหม พ้อมตอนไหน เวลาไหน เช่น เวลาว่างของชาวบ้านอาจจะไม่ตรงกับเวลาที่ ดาเนินกิจกรรมของโรงเรียน ทาให้ผลงานที่ออกมาไม่เต็มที่ ประกอบกับชาวบ้านมี ภารกิจเกี่ยวกับการทามาหากินของตนเอง - กิจกรรมของโรงเรียนที่เสนอไว้มีมากเกินไป นั่นคือ 5 โครงการ 21 กิจกรรม ทาให้ไม่ค่อยมีเวลาในการจัดหรือไม่ครอบคลุมเนื้อหาเท่าที่ควร - ความรู้ของวิทยากรในการจัดกิจกรรมมีน้อย เช่น กิจกรรมประวัติความ เป็นมาของตนเอง เนื่องจากชาวบ้านเป็นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง พูดไทยไม่ค่อยได้ และ ข้อมูลที่มีก็มีไม่มาก ไม่ชัดเจนเท่าที่ควร และเมื่อถามถึงประวัติจากผู้เฒ่าจริง ๆ ก็ไม่ ทราบที่แน่นอนชัดเจนเหมือนกัน ดังนั้นจึงได้เพียงข้อมูลพื้นฐานเท่านั้น - กิจกรรมไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากทุกคนและทุกฝ่ายมีงานมาก 2. สิ่งที่ได้จากโครงการ
ได้เรียนรู้แนวทางในการทางานร่วมกันกับคนจานวนมาก และหลายหน่วยงาน ได้รู้จักการติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่น และต่างหน่วยงาน รู้วิธีการเข้าหาผู้หลั ก ผู้ใหญ่ พิธีทางศาสนา การทาบุญ การเข้าถึงชุมชนโดยใช้โครงการเป็นตัวช่วย ทาให้รู้ ความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน 3. ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน - ได้ค วามรู้จ ากโครงการ เช่น ได้ รู้ถึ ง วิ ธีก ารทาบุ ญ ในกิ จ กรรมวั ด ของเรา หมู่ บ้า นของเรา , ได้ รู้จั กวั ดที่ สาคัญ ต่า ง ๆ ในกิ จกรรมธรรมทัศนศึ กษา , ได้ บุค คล ตัว อย่า งในกิจ กรรมคนดี ศรีโป่ง แดง , รู้ ประวั ติข องตนเอง (หมู่ บ้าน) , รู้ จัก การวาง แผนการทางานในกิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม และที่สาคัญได้รู้ถึงความสามัคคีของหมู่ คณะและการทางานที่ต้องมีการวางแผนและเตรียมการ ได้ทราบปัญหาของการจัดกิจกรรมและได้หาทางออกร่วมกัน ได้รู้ถึงวิธีการทางานร่วมกับชาวบ้าน 4. นาไปจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร - เพื่อไม่ให้เป็นภาระงานมากเกินไป ควรแทรกในเนื้อหาวิชาที่สอน เช่น การ ทาบุญ , การเล่าประวัติความเป็นมาของตนเอง , ลักษณะของบุคลตัวอย่าง เป็นต้น
การถอดบทเรียนสืบสานประเพณีวัฒนธรรมกระเหรี่ยง การถอดบทเรียนโครงการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมกระเหรี่ยง ประกอบไปด้วย กิจกรรม 4 กิจกรรม กิจกรรมประเพณีแต่งงาน กิจกรรมการฟ้อนเจิง กิจกรรมเลี้ยงผี กิจกรรมเรียกขวัญ ปันปอนภาษากระเหรี่ยง 1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ / ล้มเหลว 1.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ ได้รับการร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วนโดยเฉพาะชุมชน ผู้นาในหมู่บ้าน วัด โรงเรียน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่อยู่ในชุมชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมที่จะค้นหา ปัญหา ที่เกิดและต้องการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง อย่างจริงจัง และยังได้รับความร่วมมือจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เฒ่าผู้แก่ในท้องถิ่นที่ถ่าย ถอดองค์ความรู้ดงั้ เดิมให้กับคณะทางาน ในการสัมภาษณ์ สอบถามถึงขั้นตอน ประเพณี การดาเนินแต่ละกิจกรรมของประเพณีวัฒนธรรม โดยอาศัยความร่วมมือจากครูสื่อภาษา ของโรงเรียน และทาให้เห็นถึงความต้องการที่จะรัก ษารากเหง้าวัฒนธรรมที่ดีงามของ ชนเผ่าสืบเป็นลายลักอักษร เพราะชุมชนแห่งนี้ไม่มีภาษาเขียน ซึ่งในอนาคตข้างหน้าถ้า หากผู้เฒ่าผู้แก่ตายจากไป เยาวชนรุ่นหลังได้รับวัฒนธรรมที่มาจากสื่อสังคมปัจจุบันที่ ทันสมัย ทางโลกอินเตอร์เน็ต ที่เยาวชนยุคนี้สื่อเทคโนโลยีเข้าถึงทุกพื้ นที่ ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เยาวชนเป็นผู้รับเข้ามาจาการศึกษานอกหมู่บ้าน จึงส่งผลให้ อนาคตชุมชนกระเหรี่ยงอาจมีวิถีประเพณีการเป็นอยุ่ที่เป็นเปลี่ยนแปลงไปตามกระแส สังคมดังกล่าว ชุมชนแห่งนี้จึงให้ความสนใจในการที่จะถ่ายทอด และให้ความร่วมมือ ในการจัดกิจกรรมสืบทอดประเพณีดั้งเดิมให้ลูกหลานต่อไป 1.2 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลว สิ่งที่ทาให้โครงการเกิดความล้มเหลว มีปัจจัยเนื่องจาก - งบประมาณที่จัดทามีจานวนจากัด ขาดแหล่งเงินทุนในการสนับสนุนจัด กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
- ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม นั้นค่อยข้างน้อย ต้องอาศัยการมีส่วน ร่วมในการทากิจกรรมจริงในชุมชน ให้เกิดการเรียนรู้ที่เหมาะสม - ผู้ถ่ายทอดประสบการณ์ ยังคงขาดเทคนิคหรือการอธิบายที่ละเอียด ต้อง ทาการศึกษาแห่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีจากแหล่งข้อมูลเพื่อประกอบ ให้เกิดการเรียนรูท้ ี่ยั่งยืน - การเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เข้าร่วมนั้น ค่อยข้างประสบปัญหาที่พบคือเวลามี การจัดกิจกรรมผู้เข้าร่วมไม่ได้มาร่วม เนื่องติดภารกิจในการทางาน จึงทาให้ขาดองค์ ความรู้ในบางส่วนของกิจกรรม 2. สิ่งที่ได้จากโครงการ สิ่งที่เกิดจากการเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมในโครงการคือ เราได้รับความร่วมมือ ที่มาจากชุมชน ผู้เฒ่าผู้แก่ และความสามัคคีในชุมชนมากยิ่งขึ้น และการเปลี่ยนแปลง ทางความคิดของชุมชนที่ต้องการให้ลูกหลานได้เรียนรู้ประเพณีของตนเองอย่างจริงจรัง ซึ่งในปัจจุบันชุมชนจะไม่เห็นความสาคัญของวิถีชีวิตของตนเองว่าจะสู ญหายหรือไม่ อย่างไร และการดาเนินกิจกรรมในครั้งสะท้อนให้เห็นว่าการขับเคลื่อนที่มาจากความ ต้องการของชุมชน และการนาความเข้าใจในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ของเขาเหล่านั้น เป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาที่ยากจะสูญหายได้ ถ้าเราช่วยกันหล่อหลอม ความเป็นตัวตนของตนเอง ปลูกจิตสานึกในความเป็นตัวตนที่แท้จริง และยังคงดารงค์ ความเป็ น ชนเผ่ า สื บ ไปแม้ ว่ า จะอยู่ ที่ ใ นในสั ง คมโลก ถ้ า เรารั ก ษ์ จ ะยึ ด รากเหง้ า วัฒนธรรมอันดีงามของเรา ทาให้สังคมชนเผ่ากระเหรี่ยงไม่มีวันสูญหายไปตามกระแส สังคม ได้รับความรู้ที่เกิดจากการดาเนินกิจกรรม มีการแก้ไ ขปัญหาร่วมกันระหว่าง ชุมชนและผู้ดาเนินกิจกรรม สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดทา เป็นหลักสูตรประเพณีท้องถิ่น เพื่อจะนาไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนประเพณีท้องถิ่นต่อไป 3. ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน ได้รับความรู้ที่เกิดจากการดาเนินกิจกรรม มีการแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่าง ชุมชนและผู้ดาเนินกิจกรรม สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดทา
เป็นหลักสูตรประเพณีท้องถิ่น เพื่อจะนาไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนประเพณีท้องถิ่นต่อไป 4. นาไปจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร นาหลักสูตรที่ได้ในการจัดกิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมของชนเผ่า ไปจัดกรรม ต่อเนื่องให้กับนักเรียน ทั้งในและนอกโรงเรียนเพื่อรักษาประเพณีอันดีงามของตนต่อไป สิ่งที่เราได้รับจากการปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมในโครงการนาร่องการจัด การศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทยของโรงเรียนบ้านโป่ง แดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน 1.ได้รู้ศักยภาพการทางานของตนเอง รู้ศักยภาพของบุคลากรในโรงเรียนว่ามี ความสามารถในด้านใดจะสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับกิจกรรมหรือโครงการประเภท ใดจึงจะบังเกิดผลสาเร็จ 2. ได้ รู้ ร ะบบการบริ ห ารจั ด การที่ เ ป็ น ขั้ น ตอน การรายงานผลตามข้ อ ตกลง เนื่องจากระบบราชการเป็นระบบที่สั่งการลงมาให้ดาเนินการแล้วรายงานไม่เหมือน โครงการนาร่องที่ต้องรายงานเป็นระยะ พร้อมเอกสาร สื่อ วีซีดีประกอบจึงจะสามารถ ดาเนินการในระยะต่อไปได้ เราสามารถนาระบบการบริหารจัดการของโครงการมา ประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการของโรงเรียนในฐานะผู้บริหารโรงเรียนสามารถนิเทศ ติดตามผลเพื่อให้โครงการหรือกิจกรรมบรรลุผล เป็นการสร้างระบบความเข้มแข็ง ให้กับองค์กรในภาพรวมได้เป็นอย่างดี ระบบการรายงานของบุคลากรในโรงเรียนจะ ส่งผลดีในภาพรวมต่อการบริหารจัดการเรื่องราวต่างๆบุคลากรจะคุ้นเคยกับการรายงาน ที่เป็นระบบสามารถตรวจสอบได้และใช้เป็นหลักฐานในการพัฒนาตน พัฒนางานไปสู่ การเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้นต่อไป 3. ได้รู้ชุมชนที่ตนเองปฏิบัติงานอยู่ว่าชุมชนที่ตนเองอยู่นั้นประกอบไปด้วยบริบท อย่า งไรมี ส ภาพปั ญหาในการด ารงชี วิ ต อย่า งไร มี ต้ น ทุ น ทางสั ง คม วั ฒ นธรรมเป็ น อย่างไรมีจุดบกพร่องที่จาเป็นต้องแก้ไขในส่วนใหนมีจุดแข็งในเรื่องอะไร สิ่งเหล่านี้จะ เป็นข้อมูลพื้นฐานที่รอบด้านส่งผลให้การตัดสินใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ ชุมชนเป็นไปอย่างรอบคอบ
4. ได้ พ บปะแลกเปลี่ ย นความรู้ ค วามเข้ า ใจในเรื่ อ งของการพั ฒ นาระหว่ า ง เครือข่ายต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันทั้งความสัมพันธ์ในเชิงแนวร่วมโครงการนา ร่องด้วยกันและเครือข่ายการพัฒนาชุมชนที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางานใน โครงการนาร่องเช่นเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เครือข่ายผู้ ปลูกพืชในท้องถิ่นทาให้เราได้ รับทราบถึงการทางานของแต่ละเครือข่ายว่ามีแนวทางการทางานอย่างไร มีเป้าหมาย อย่างไรและแต่ละเครือข่ายต้องการสร้างความสัมพันธ์เชิงบริหารจัดการอย่างไรทาให้เรา เกิดความรู้อย่างรอบด้านเกี่ยวกับเรื่องขององค์กรต่างๆ เข้าใจเรื่องความสัมพั นธ์ใน ระหว่างองค์กรทั้งในเรื่องกระบวนการทางาน แนวทาง กระบวนการคิด วิธีคิดซึ่งสิ่ง ต่างๆเหล่านี้ถ้าเรามีความเข้าใจเขาจะเป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้การทางานของเราประสบผล ท านองภาษิ ต จี น ที่ ว่ า รู้ เ ขา รู้ เ รา รบร้ อ ยครั้ ง ชนะร้ อ ยครั้ ง เป็ น การสร้ า ง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กรเครือข่ายที่ทุกเครือข่ายต่างมุ่งหวังว่าประชาชนคนไทย จะอยู่ดีมีสุขอย่างถ้วนหน้ากัน ต่างคนต่างทางานของตนเองอย่างมีความสุขมีความเข้าใจ ซึ่งกันและกันนาไปสู่การสมานฉันท์ในกระบวนการทางานแบบบูรณาการที่ทุกฝ่าย ต้องการ 5.ได้พบปัญหาและได้เรียนรู้สิ่งที่เกิดขึ้นในระหว่างการดาเนินการตามโครงการ และกิจกรรมอย่างหลากหลายกล่าวคือ ในเรื่องของกระบวนการจัดการเรียนรู้ ทาให้เราได้ทราบว่าเนื่องจากผู้เข้าร่วม กระบวนการที่เราดาเนินการมีความแตกต่างกันในระหว่างช่วงวัยและความแตกต่างใน ด้านอื่นดังนี้ ความแตกต่างกันระหว่างช่วงวัย ความแตกต่างกันในเรื่องของการประกอบอาชีพ ความแตกต่างกันในเรื่องของประสบการณ์ เมื่ อ เราทราบถึ ง ความแตกต่ า งของผู้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมท าให้ โ ครงการต้ อ งมี กระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ ห ลากหลาย มี สื่ อ การจั ด การเรี ย นรู้ ที่ ส อดคล้ อ งและ ตอบสนองความต้ องการของผู้ เรียน สอดคล้อ งกั บความต้อ งการของชุ มชนรวมถึ ง สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นตามที่ได้กล่าวมาในเรื่อง ของการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการออกกาลังกายที่ทาให้เราต้องปรับเปลี่ยนกิจกรรม ตามข้อเสนอแนะของผู้ใหญ่ที่ให้แนวทางสอดคล้องกับระเบียบแบบแผนวัฒนธรรม
ประเพณีของชุมชน เอาชุมชนเป็นตัวตั้งกิจกรรมที่เราดาเนินการจึงจะประสบผลตาม เป้าหมายของโครงการ 6.สิ่งที่เราได้ทราบอีกอย่างหนึ่งในการจัดการโครงการนี้ก็คือขีดจากัดของผู้นา ในระดับต่างๆในชุมชนไม่ว่าจะเป็ นผู้นาตามธรรมชาติ ผู้นาจากการเลือกตั้งและผู้นา เครือข่ายในชุมชนต่างก็จะมีขีดจากัดในการดาเนินการตามสถานะของตนเองในชุมชนที่ ยังติดยึดวัฒนธรรมและประเพณีของชนเผ่า ยึดติดความเป็นครอบครัวพรรคพวกยัง มิได้มองภาพรวมของการพัฒนาโดยเอาชุมชนเป็นตัวตั้งเท่าที่ควรทั้งนี้ อาจจะมาจากการ ที่ชุมชนโดยเฉพาะคนในชุมชนไม่ได้รับการศึกษาเนื่องจากโรงเรียนเพิ่มเข้ามาจัดตั้งไม่กี่ ปีมานี้เองอีกทั้งชุมชนเริ่มเปิดสังคมให้กับสังคมภายนอกได้รับรู้ นับเป็นการเริ่มต้นใน การพั ฒ นาตนเองอย่ า งช้ า ๆซึ่ ง ต้ อ งอาศั ยระยะเวลาในการด าเนิ น การพั ฒ นาซึ่ ง ทาง โรงเรี ย นคิ ด ว่ า ชุ ม ชนต้ อ งมี ฐ านในการจั ด การเรี ย นรู้ ต นเองก่ อ นที่ จ ะเริ่ ม กระบวนการพัฒนามีความเข้าใจปัญหาของชุมชนร่วมกันไม่ว่าจะเป็นคนในชุมชนหรือ เครือข่ายในการพัฒนาชุมชนเมื่อเรารับรู้ปัญหาร่วมกันเข้าใจปัญหาร่วมกันมีความเข้าใจ ในโครงการและเป้าหมายของโครงการก็จะส่งผลต่อ การพัฒนามากขึ้นชุมชนก็จะเป็น ชุมชนที่เข้มแข็งส่งผลให้ประเทศไทยอันเป็นที่รักของพวกเราทุกคนเข้มแข็งไปด้วย 7. ได้รู้วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้รวมถึงการออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับ ชุมชน เหมาะสมกับช่วงวัย และข้อจากัดต่างๆนามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการเรียน การสอนของคณะครูในโรงเรียนและใช้ ในการพั ฒนาคุ ณภาพการจั ดการศึก ษาของ หน่วยงานและตนเองในการพัฒนาวิทยาฐานะของครูที่รับผิดชอบโครงการได้เป็นอย่าง ดี รู้วิ ธีการบู รณาการโครงการกับการเรี ยนการสอนในวิ ชาที่ต นรับผิด ชอบอย่า ง สัมพันธ์กันสอดคล้องกันเอื้ออานวยประโยชน์ให้กับกิจกรรมการเรียนการสอนได้มาก ขึ้นเนื่องจากมีเงินงบประมาณมาสนับสนุน เด็กมีประสบการณ์ในการดาเนินการ เด็กมี ความสนุกสนานในการทากิจกรรมรวมทั้งชุมชนเริ่มมีความเข้าใจในสิ่งที่โรงเรียนทา และขยายผลออกไปสู่ชุมชน ชุมชนเริ่มตื่นตัวและรับรู้ว่าวัฒนธรรมความเป็นอยู่ วิถี ชีวิตของตนเป็นสิ่งที่สังคมยังต้องการ เป็นความเข้มแข็งอย่างหนึ่งในสังคม ผู้ใหญ่ยัง เป็นที่พึงของชุมชนสิ่งเหล่านี้เดิมทีไม่ได้รับการให้ความสาคัญถือเป็นสิ่งปกติเมื่อชุมชน เริ่มเห็นว่าตนเองยังมีความสาคัญก็จะให้ความร่วมมือในการดาเนินการจัดกิจกรรมไม่ถือ ว่าเป็นส่งไร้ค่าเช่น การฟ้อนเจิง และวัฒนธรรมการให้ศีลปันปอนฯลฯ ผู้ที่มาเป็น
วิทยากรจะมีความภาคภูมิใจ มีความตั้งใจในการถ่ายทอดให้กับเยาวชนลูกหลานของ ตนเอง เด็กๆและเยาวชนก็จะเห็นความสาคัญของผู้ใหญ่ที่ส่งผ่านวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่น เป็นเหตุให้วัฒนธรรมมีการถ่ายทอดอย่างยั่งยืนสืบไป สิ่งต่างๆที่เราได้รับจากการดาเนินงานตามโครงการและกิจกรรมตามที่ได้กล่าว มาจะเป็ น ต้ น ทุ น ในการท างานของโรงเรี ย น ผู้ บ ริ ห าร คณะครู ที่ ด าเนิ น การและ รับผิดชอบโครงการกิจกรรมที่ตนเองดาเนินการภายใต้บริบทที่ตนเองรับผิดชอบ ใน ฐานะผู้บริหารโครงการแล้วถือว่าเราได้รับสิ่งต่างๆมากมายไม่ว่าจะเป็นต้นทุนในการ เรียนรู้ชุมชน กระบวนการบริหารจัดการโครงการ การบูรณราการจัดการเรียนเรียนรู้ และในส่วนผู้สอนก็จะได้ในส่วนกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเหมาะสมกับ ความแตกต่างของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีความแตกต่างทั้ งช่วงวัย การทามาหากินและ ฐานะทางสังคมและในฐานะคนในชุมชนก็จะได้ความภาคภูมิใจที่เห็นว่าสังคมเมืองไทย เราหันกลับมาหาสิ่งที่ดีงาม หันกลับมาดารงชีวิตที่พอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะทาให้สังคมในชุมชนเต็มเปี่ยมไปด้วย ความสุขความพอเพียง เกิดความดีงามของชุมชนส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชนใน การสร้างประเทศที่เข้มแข็งในภาพรวมต่อไป
การถอดบทเรียน (ครั้งที่ 2) โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย
โรงเรียนบ้านโป่งแดง สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2554 โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาพูนเขต 2. ก่อนอื่นต้องขอรายงานข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบก่อนแล้วว่า ก่อนที่เราจะได้ดาเนินการตามโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทยนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจาเป็นต้องทราบข้อมูลพื้นฐานของหน่วยงานที่จะ ปฏิบัติงานก่อนขอสังเขปดังนี้ โรงเรียนบ้ า นโป่งแดง ตั้งอยู่เลขที่ 213 หมู่ที่ 5 ต าบลทุ่งหัวช้าง อาเภอทุ่งหัวช้า ง จังหวัดลาพูนเป็นโรงเรียนในสังกัดศูนย์เครือข่ายการศึกษาอาเภอทุ่งหัวช้างซึ่งประกอบไปด้วย โรงเรียนในเขตอาเภอทุ่งหัวช้างที่เป็นโรงเรียนประถมศึกษาจานวน 18 โรงเรียน อาเภอทุ่งหัวช้าง เป็นอาเภอหนึ่งใน 8 อาเภอของจังหวัดลาพูนมีอาณาบริเวณกว้างขวางมีเนื้อที่ประมาณ 514 ตาราง กิ โ ลเมตรทิ ศ เหนื อ ติ ด อ าเภอแม่ ท า ทิ ศ ใต้ ติ ด กั บ อ าเภอลี้ ทิ ศ ตะวั น ตกติ ด ต่ อ กั บ อ าเภอลี้ ทิ ศ ตะวันออกติดต่อกับอาเภอเสริมงาม จังหวัดลาปาง สาหรับโรงเรียนบ้านโป่งแดง หมู่ที่ 5 ตาบลทุ่ง หัวช้างนั้นประกอบไปด้วยเขตบริการ 3 หมู่บ้านคือบ้านโป่งแดง บ้านสัญชัยและบ้านดอยแก้ว ราษฏรทั้งสามหมู่บ้านเป็นชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยง 2 ชนเผ่าคือบ้านโป่งแดงและบ้านดอยแก้วเป็น ชาวเขาเผ่าสกอร์และบ้านสัญชัยเป็นชาวเขาเผ่าโปว์ ซึ่งทั้งสองเผ่ามีภาษาพูดที่ไม่เหมือนกันแต่มี รูปแบบทางวั ฒ นธรรมคล้ า ยคลึ งกั นเนื่องจากเป็นกระเหรี่ยงเหมือนกันแต่ต่า งเผ่า กันเท่า นั้นมี วัฒนธรรมและประเพณีเป็นของตนเองแตกต่างจากชาวพื้นราบทั่วไป ในรูปแบบของการมีวัฒนธรรมเป็นของตนเองสะท้อนความเข้มแข็งในรูปแบบวัฒนธรรมของชน เผ่าที่ยังคงรักษาขณบธรรมเนียมและวัฒนธรรมประเพณีของตนเองไว้ได้อ ย่างเหนี่ยวแน่นทั้งใน รูปแบบการเลี้ยงผีเหมือง ผีฝาย การเลี้ยงผีประเพณีในเดือน 5 และเดือน 9 รวมทั้งประเพณีการกิน แขกหรือแต่งงานในชนเผ่าเนื่องจากมีการแต่งงานในเผ่าของตนเองมากกว่าแต่งงานกับคนต่างเผ่า รวมทั้งคนพื้นราบที่ติดต่อค้าขายหรือมีความสัมพันธ์กันวัฒนธรรมเหล่านี้เป็นเครื่องแสดงให้เห็น ว่าการมีวัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะส่งผลในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการดารงชีวิตน้อยมากกว่าการ ที่มีวัฒนธรรมผสมผสานและการรับผลของการพัฒนาชุมชนในรูปแบบอื่นๆที่มากจากภายนอกทั้ง เรื่องการศึกษา สาธารณสุขและการพัฒนาชุมชนในรูปแบบอื่นๆสิ่งเหล่านี้ จะสะท้อนถึงการรับเอา วัฒนธรรมการพัฒนาเข้ามาปรับใช้ในวิถีชีวิตในเผ่าของตนเองมองในแง่ดีเชิงวัฒนธรรมแล้วจะเห็น ว่าชุมชนมีความเป็นตัวของตัวเองมากกว่าชุมชนอื่นๆที่ยอมรับวัฒนธรรมที่เข้ามาผสมกลมกลืนกัน จนไม่รู่ว่ารากเหง้าของวัฒนธรรมตนเองเป็นอย่างไรในทานองเดียวกันวั ฒนธรรมเหล่านี้ก็เป็นสิ่งที่ ปิดกั้นการรับเอาสิ่งที่ถือว่าเป็นการพัฒนาชุมชนในยุคปัจจุบันเช่นเดียวกันเราจะทาอย่างไรถึงจะให้ สิ่งเหล่านี้เกิดการสมดุลทั้งการรักษาวัฒนธรรมและการพัฒนาให้ควบคู่กันไปเราต้องยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบันแล้วหันมาให้ความสาคัญกับการที่ชุมชนต้องรักษาวัฒนธรรมเอาไว้ เช่นกันเราไม่สามารถที่จะเลือกเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งและทิ้งอีกสิ่งหนึ่งที่ทรงคุณค่าไปได้เช่นกันสิ่งเหล่านี้ ถือว่าเป็นโจทย์ในการพัฒนาชุมชนที่โรงเรียนที่เป็นหน่วยงานทางการจัดการศึกษาต้องเข้ามาเรียนรู้ รั บ ทราบและหาทางพั ฒ นาให้ เ ข้ า กั บ ภาวการณ์ ใ นปั จ จุ บั น ที่ โ ลกก าลั ง เปลี่ ย นแปลงไปสู่ ยุ ค ไร้ พรมแดนเรากาลังก้าวไปสู่ยุคที่โลกสามารถเชื่อมต่อกันได้ทั่วโลกด้วยเทคโนโลยี่เครือข่ายเน็ตเวิรค์ ปั จ จุบั นโรงเรี ยนบ้ า นโป่งแดงเปิ ด ทาการสอนตั้งแต่ชั้น อนุบ าลถึง ประถมศึ กษาปีที่ 6 มี นั ก เรี ย นรวมทั้ ง สิ้ น 185 คนมี ค รู ป ระจ าการท าการสอน 10 คนมี น ายวุ ฒิ ไ กร ชั ย สิ ท ธิ์ เป็ น ผู้อานวยการโรงเรียนมี บุคลากรอื่นเช่นครูอัตราจ้าง ครูวิกฤติ ครูธุรการและ ภารโรงชั่วคราว รวมบุคคลากรทั้งสิ้น 14 คน ประเพณีที่สาคัญของชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยงคือประเพณีการเลี้ยงผีที่มั กนิยมเลี้ยงในเดือน 5 และเดือน 9 โดยมิยอมออกไปรับจ้างหรือทางานแต่ออกไปหากินทั่วไปได้ ห้ามออกจากหมู่บ้านไป ทากิจกรรมที่อื่นเป็นระยะเวลา 3 วันบุคคลทั่วไปต่างหมู่บ้านไม่อาจเข้าในบริเวณที่กั้นไว้เป็นรูปไม้ ไผ่สานขัดแตะที่เรียกกันว่าตะแหลวติดบริเวณหน้าบ้านหากใครพลัดหลงเข้าไปต้องถูกปรับอย่างสูง ส่วนมากการปรับจะปรับเป็นเกลื อแล้ วนาไปแจกจ่า ยให้กับคนทั้งหมู่บ้ านแล้วทาพิธีเลี้ยงผีใหม่ เพราะถือว่าเสียผีแล้วต้องทาการเลี้ยงใหม่ คนที่ฝืนทาจะถูกตราหน้ามิยอมคบค้าสมาคมกับคนใน ชนเผ่านี้เนื่องจากเป็นผู้ทาให้เกิดการเลี้ยงผีใหม่เสี ยเวลาและทาให้ผีโกรธไม่เป็นที่คบหาสมาคมถือ ว่าเป็นคนไม่ดี นอกจากนี้ยังมีประเพณีการเลี้ยงผีฝายหรือเหมือง ผีทุ่งนา ผีป่าถึงแม้ว่าจะมีการ นับถือพุทธศาสนาก็ตามเมื่อมีคนตายในหมู่บ้านจะรีบนาไปฝังที่ป่าช้าไม่นิยมเผาหากมีการตายใน ตอนเย็นต้องรีบนาไปฝังในตอนเช้ามืดแล้ วรีบกลับมารับประทานอาหารอาบน้าล้างเนื้องล้างตัวให้ สะอาด แต่เดิมไม่นิยมเอาคนตายใส่โลงศพ มักปฏิบัติกันโดยใช้เสื่อหรือผ้าห่อศพแล้วหามด้วยไม้ คานพาไปป่าช้าแต่ในปัจจุบันเริ่มมีการใช้หีบศพกันบ้างแล้วสาหรับคนที่ฐานะดีแต่ยังใช้การหาม หีบศพไปป่าช้าในลักษณะของการจ้างครั้งหนึ่งประมาณ 2,000 บาทโดยถือว่า หัว 1,000 หาง 1,000 แต่มีข้อแม้ว่าคนที่รับจ้างต้องเตรียมคนที่จะหามไว้ให้พร้อมจะเปลี่ยนบ่าหรือเปลี่ยนท่าสาหรับการ แบกไม้คานหามไม่ได้โดยทั่วไปจะใช้คนหามที่รับจ้างประมาณ 4 คนเดินเคียงคู่กันไปทางเข้าป่าช้า จะเป็นทางแคบๆสาหรับเดินพาหนะต่างๆไม่สามารถนาไปได้ญาติพี่น้องคนตายที่เป็นชายจะหิ้วน้า นามีด จอบเสียมไปด้วยพวกหนึ่งจะนาสิ่งของคนที่ตายบรรจุในกล่องหรือลังแบกหามไปด้วยเมื่อ ทาการฝังคนตายแล้วจะรีบกลับมาชาระล้างตนเองและรับประทานอาหารเช้า (กรณีตายตอนเย็น)มี ประเพณีที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งคือการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคาที่ครูบาชัยยะวงศ์ษาพัฒนาสร้างง ขึ้นจะสรงน้าในเดือนแปด 15 ค่าของทุกปีราษฏรในพื้นที่จะมาร่วมทาบุญกันอย่างมากมายถือเป็น ที่ ท่ อ งเที่ ย วอี ก แห่ ง หนึ่ ง ของอ าเภอทุ่ ง หั ว ช้ า งในวั ด พระธาตุ ด อยกวางค าประกอบไปด้ ว ยสิ่ ง ถาวรวัตถุทางศาสนาเป็นอันมาก มีที่ประดิษฐานเนื้องกวางที่เชื่อว่ากลายเป็นหินตามตานานที่เล่า
ขานกันมา มีอ่างปลาหิน มีสถานที่ที่เชื่อกันว่าเป็นที่ตากเนื้อกวางเป็นที่เคารพนับถือของประชาชน ในอาเภอทุ่งหัวช้างและอาเภอใกล้เคียง ราษฏรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรและ รับจ้างการเกษตรส่วนใหญ่จะปลูกพืชที่ทางบริษัท์มาส่งเสริมคือมันฝรั่งและถั่วแระที่จาเป็นต้องใช้ สารเคมียาฆ่าแมลงมากมายเพื่อให้ได้ผลผลิตที่คุ้มค่ากับการลงทุน ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ราษฏรมี สารเคมีตกค้างในร่างกายสูงมากคือความไม่รู้เนื่องจากอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ราษฏรที่มีอายุ ตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือไม่สามารถอ่านออกเขียนได้อ่านฉลากไม่เป็นอีกทั้ง การไม่ระมัดระวังป้องกันตัวเองจากสารเคมีที่อันตรายทาให้เกิดปัญหาสารเคมีที่เป็นอันตรายซึมอยู่ ในกระแสเลือดสูงมากเป็นอัตราส่วนจานวนร้อยละ 86.47 ของจานวนประชากรที่ตรวจร่างกาย และพบสารเคมีนับว่าเป็นอันตรายใหญ่หลวงต่อประชาชนของเราที่ต้องมารับพิษภัยจากสารเคมี เข้ากระแสเลือดเนื่องจากการประกอบสัมมาอาชีพที่จาเป็นเป็นสาเหตุหนึ่งของการฆ่าตัวตายที่มี อัตราที่สูงมากในตัวอาเภอ เมื่อ เราทราบข้อมู ลพื้นฐานต่า งๆแล้วทาการประชาคมราษฏรและเครือข่ายที่มีอยู่ใน ชุมชนแล้วตั้งคณะทางานกาหนดโครงการ/กิจกรรมที่จะแก้ไขปัญหาที่พบนาเสนอต่อผู้สนับสนุน โครงการนาร่ อ งตามที่ก ล่ า วมาแล้ ว ต่อไปตามรายละเอียดที่จ ะได้ กล่ า วถึงในเรื่อ งของการถอด บทเรียนเพื่อนาเสนอต่อผู้สนับสนุนโครงการภายหลังที่การดาเนินการตามโครงการนาร่องเสร็จสิ้น ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในกรอบของการนาร่องคือ 1 ปีการศึกษาต่อไป
การถอดบทเรียน โครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการเกษตรอินทรีย์ในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง สพป.ลาพูนเขต 2 ........................................................................................................................................... โครงการเกษตรอินทรีย์เพื่อชีวีที่ดีกว่าตามโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของ องค์กรในชุมชนโรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน สพป.ลาพูนเขต 2 ประกอบ ไปด้วยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมดังนี้ 4. หมอดินอาสา 5. การทาปุ๋ยหมัก 6. การทาปุ๋ยน้าชีวภาพ ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ/ล้มเหลวของกิจกรรมหมอดินอาสา การทาปุ๋ยน้าและการททาปุ๋ยหมัก ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ/ล้มเหลว ในกระบวนการดาเนินโครงการมีการประชุมปรึกษาหารือของคณะทางานอย่างต่อเนื่อง มี การวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ การดาเนินการที่ประสบความสาเร็จส่วนหนึ่งมาจากการ บริหารจัดการที่ยืดหยุ่น การปรับเปลี่ยนกาหนดระยะเวลา ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับ กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งในบางคราวอาจติดขัดด้วยช่วงเวลา หรือความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย อีกทั้ง การดาเนินกิจกรรมมีการทางานแบบร่วมมือของหลายภาคส่วนและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาที่ ดี การดาเนินงานจึงประสบความสาเร็จ โดยมีการบริหารงาน ตั้งแต่ การสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการทาเกษตรอินทรีย์ โดยการถ่ายทอดความรู้ด้านทฤษฎี และการปฏิ บั ติ การมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนในการด าเนิ น กิ จ กรรมทุ ก ขั้ น ตอน ใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นหลักการในการทางาน โดยการร่วมคิด ร่วมทาร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ โดยชุมชนเองว่าจะทากิจกรรมอะไร และสามารถแก้ไข ปัญหาได้ โดยเริ่มตั้งแต่การทาประชาคม การระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาของชุมชน โดยเริ่มแก้ปัญหาจากครอบครัวไปสู่ชุมชนตามลาดับ โดยยึดแนวทางการแก้ไขปัญหาตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ จากการไปศึกษาดูงานจาก ชุมชนบ้านทาป่าเปา และเชิญวิทยากรให้ความรู้ทาให้เกษตรกรในชุมชนสามารถนาองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในการทา การเกษตรของตนเองเป็นการสร้างแนวคิดใหม่ทาง การเกษตรให้กับเกษตรกรในพื้นที่เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการทาการเกษตรดั้งเดิมเป็นเกษตรแนวใหม่ ตามรอยแนวทางที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานไว้ให้กับพสกนิกรชาวไทย
สิ่งที่เป็นอุปสรรคและปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลวของโครงการ/กิจกรรม เกษตรกรบางส่วนยังยึดติดกับค่านิยมเดิมกับการใช้สารเคมีในการทาการเกษตร ไม่รับ วิทยาการใหม่ๆเกี่ยวกับการเกษตรกร บางส่วนยังไม่เห็นความสาคัญของการทาเกษตรอินทรีย์ และไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของปุ๋ยหมักชีวภาพ และน้าหมักชีวภาพ ว่าจะมีคุณภาพเทียบเท่า สารเคมีหรือไม่ กิจกรรมนี้สะท้อนให้เห็นว่าก่อนที่เราจะดาเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่ค่อนข้างสวนทางกับวิถี ชีวิตและความเชื่อของชุมชนแล้วเราต้องมีการหาวิธีการที่จะทาให้ชุมชนสร้างแนวคิดใหม่ก่อน สร้างกระบวนการคิด วิธีคิดก่อนแล้วศึกษาชุมชนว่าชุมชนพร้อมที่จะทางานร่วมกับเราเมื่อไร พร้อมตอนใหนต้องมีผู้นาแนวคิดนี้ไปดาเนินการหรือลองทามาแล้วก่อนจึงจะประสบผลสาเร็จ ส่วนใหญ่ทางราชการมักจะมีวิธีคิดแบบนี้อาจจะเป็นสาเหตุหนึ่งทาให้กิจกรรมหรือโครงการทีลง ไปยังชุมชนไม่ได้ผลเท่าที่ควร กิจกรรมที่โรงเรียนดาเนินการไปค่อนข้างมากเกินไปเบ็ดเสร็จแล้วรวมที่โรงเรียนดาเนินการ ไปทั้งหมดรวม 5 โครงการ 21 กิจกรรมรวมกิจกรรมต่อยอดจากการแนะนาของทางผู้สนับสนุน งบประมาณอีก 5 กิจกรรมรวมเป็น 5 โครงการ 26 กิจกรรมและแต่ละกิจกรรมค่อนข้างใช้ ระยะเวลาในการทามากครูผู้สอนที่รับผิดชอบกิจกรรมมีงานมากอีกทั้งไม่ได้อยู่ในพื้นที่ทาให้การ ประสานงานไม่ต่อเนื่องกับการขยายผลไปยังชุมชนเท่าที่ควร ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน 1. ครู นักเรียน และชาวบ้าน ได้เรียนรู้ร่วมกันโดยได้เชิญวิทยากรที่มีความรู้ในเรื่องการ ทาเกษตรอินทรีย์ ม าอบรมให้ค วามรู้และฝึก ทักษะกระบวนการทาปุ๋ยหมัก ชีวภาพและน้าหมัก ชีวภาพ และรวบรวมองค์ค วามรู้ต่างๆมาจัดทาหลักสูตรการทาเกษตรรอินทรีย์ เพื่ อใช้ในการ จัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และรับทราบความต้องการของชุมชนที่ต้องการให้โรงเรียนเข้า มามีบทบาทการเป็นที่ถ่ายทอดความรู้ด้านต่างๆ เกิดศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน ที่ใครๆก็สามารถ เข้ามาศึกษาหาความร้านต่างๆได้ 2. ชาวบ้านได้ปรับเปลี่ยนแนวคิดเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ และสามารถนา ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือทาปุ๋ยหมักชีวภาพและน้าหมักชีวภาพเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน เช่น ค่าปุ๋ยเคมี ยาปราบศัตรูพืช ที่ใช้ในการเกษตร รวมถึงการรู้รายรับ – รายจ่ายของตนจากการทาบัญชีครัวเรือน และมีการออมเงิน เพื่อยามขัดสนของครอบครับ เกิดการกระจายรายได้ในระบบเศรษฐกิจโดยรวม นอกจากนี้ยัง สามารถลดหนี้สินในครอบครัว และรู้จัก การใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่ างคุ้ม ค่าสูงสุด
3.ได้องค์ความรู้ในแง่ของครูที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถต่อยอดการนาไปใช้ในการเกษตร ของตนเอง สาหรับเกษตรกรก็สามารถนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ของตนเอง ลดค่าใช่จ่ายสารถดารงตนตามแนวทางเกษตรทฤษฏีใหม่ รู้จักการวางแผนการทางาน สาหรับการดาเนินการในภาพรวมที่ต้องใช้บุคลากรเป็นจานวนมากได้ทราบปัญหาการจัดการการ จัดกิจกรรมและหาทางออกร่วมกันตามหลักการร่วมคิดร่วมทา ร่วมชื่นชม 4.การนาผลไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูที่รับผิดชอบงานเกษตรในโรงเรียนสามารถทาเป็นผลงานแทรกในเนื้อหาวิชาที่ตนเอง สอนหรือรับผิดชอบเช่นแปลงไม้ผล การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การนาวัตถุดิบทางการ เกษตรที่เหลือใช้ในท้องถิ่นมาทาประโยชน์เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรสามารถลดปัญหาโลกร้อนใน วิชาวิท ยาศาสตร์ไ ด้เป็นอย่า งดี หากโรงเรียนสามารถบูรณราการการกเรียนการสอนอย่ างเป็น รูปธรรมแล้วจะได้ผลดีมาก มีการดาเนินการจั ดให้เด็กได้เรียนรู้ทั้งทฤษฏีและการปฏิบัติการขยาย ผลสู่ชุม ชน การสร้า งความสัมพันธ์กับชุมชนถ้าทาอย่างจริงจังสามารถนาไปพัฒนาเป็นผลงาน วิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้เป็นอย่างดีอีกทั้งเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนที่ชุมชนสามารถมองเห็นว่าสิ่ง ที่โรงเรียนกาลังทาเป็นสิ่งที่ดีมีประโยชน์ทั้งต่อตนเอง โรงเรียน และชุมชนตลอดจนสิ่งแวดล้อมก็ จะดีไปด้วย สาระสาคัญ กิจกรรมหมอดินอาสา การทาปุ๋ยนา การทาปุ๋ยหมัก การนานักเรียน เยาวชน ประชาชน เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ ข้าราชการรวมทั้งบุคลากร ที่สนใจในเรื่องเกษตรอินทรี ย์ภายในอาเภอทุ่งหัวช้างได้เสวนาสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเกษตรแผนใหม่ เกษตรธรรมชาติหรือเกษตรเพื่อสิ่งแวดล้อม การสร้างแนวคิด การสร้าง ความตะหนักในเรื่องค่าใช้จ่ายที่ใช้ทางการเกษตรโดยการใช้สารเคมี การใช้ปุ๋ยเคมีในภาวะปัจจุบัน การลดค่าใช้จ่ายในการเกษตรโดยการใช้วัสดุธรรมชาติที่เหลือในท้องถิ่นแทนการเผาทิ้ง การหันกลับมาใช้อินทรีย์เคมีในการเกษตรแทนสารเคมีที่เกษตรกรทั่วไปกาลังใช้อยู่ในปัจจุบัน การสร้างองค์ความรู้ให้กับชุมชนในเรื่องของการพึ่งตนเอง พึ่งพาธรรมชาติ วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ 1.อธิบายความเป็นมาของเกษตรอินทรีย์ ความจาเป็นต้องใช้เกษตรอินทรีย์ 2.การตรวจวิเคราะห์ดินในเนื้อที่ทางการเกษตรของเกษตรกรอย่างง่าย 3.การสร้างองค์ความรู้ในเรื่องของเกษตรธรรมชาติเพื่อสิ่งแวดล้อม 4.ธาตุอาหารในดินและการจัดการดินอย่างเป็นระบบ 5.การใช้สารเคมีอย่างถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรในดินของเกษตรกร 6.การทาปุ๋ยหมักจากวัสดุในท้องถิ่น
7.การทาปุ๋ยน้าจากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มผลผลิต 8.การขยายผลการเรียนรู้โดยการดูงานเกษตรอินทรีย์จากกลุ่มต้นแบบ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมที1่ .การตรวจวิเคราะห์ดินอย่างง่ายเวลา 10 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 2.การทาปุ๋ยน้า ปุ๋ยหมัก 4 ชั่วโมงสาหรับทฤษฏีและปฏิบัติ กิจกรรมที่ 3.การสร้างแนวคิดเกษตรอินทรีย์ 10 ช่วโมง กิจกรรมที่ 4การขยายผลจากการศึกษาดูงาน 15 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 5. การขยายผลลงสู่ชุมชน 5 ชั่วโมง วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. การเตรีย มการของวิท ยากร(จากสานัก งานพัฒนาที่ดินเขต 6 เชีย งใหม่ ส านัก งาน พัฒนาที่ ดินจัง หวัดล าพูน ตัวแทนบริษัทที่ส่งเสริมการเกษตรในท้องถิ่น วิทยากรจากพื้นที่คือ สานักงานเกษตร เกษตรที่สูง ครูเกษตรจากโรงเรียนในศูนย์เครือข่าย) โรงเรียนได้ประสานงาน กับ วิท ยากรแบ่ง สัดส่วนการบรรยายในแต่ล ะท่านแต่ละวัน มีก ารก าหนดตัวผู้นาการอภิปราย ผู้เข้าร่วมการเสวนา การสาธิตการทาในแต่ละขั้นตอน 2.จัดทาใบความรู้/กิจกรรมสาหรับผู้เข้าร่วมที่สามารถอ่านออกเขียนได้และการสัมภาษณ์ สาหรับผู้อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้แต่เข้าใจเรื่องการพูดการฟัง 3.นาผลการดาเนินการจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้เป็นการสร้างแรงจูงใจให้กับชุมชนให้ กลับมาสนใจเรื่องการเกษตรธรรมชาติ 4.สาหรับนักเรียนให้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจาการฟังและการลงมือปฏิบัติจริง 5.แบ่งกลุ่มนักเรียนให้กลับไปดาเนินการที่บ้านเพื่อต่อยอด 6.สาหรับโรงเรียนลงพื้นที่ในชุมชนสาธิตการทาปุ๋ยน้าปุ๋ยหมักในที่ๆชุมชนยอมรับในเรื่อง วัฒนธรรมประเพณี 7.นักเรียนและผู้เข้าร่วมทาใบกิจกรรม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้รับทราบแนวคิดเกษตรทฤษฏีใหม่ 2.ได้ทราบธาตุอาหารในพื้นที่ดินของตนเองว่าพื้นที่ของตนขาสดธาตุอาหารอะไรบ้างต้อง เพิ่มเติมสารอาหารประเภทใดจึงจะเหมาะสมได้ประสิทธิภาพสูงสุด 3.ได้ รู้ วิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ ธ าตุ อ าหารในดิ น ตามหลั ก การเบื้ อ งต้ น และสามารถน าไปใช้ พัฒนาการเกษตรของตนได้อย่างเหมาะสม 4.สามารถนาวัตถุดิบมาทาเป็นปุ๋ยน้าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรลดค่าใช้จ่ายได้ 5.สามารถนาเศษวัสดุที่เหลือทางการเกษตรมาทาปุ๋ยหมักเพิ่มผลผลิตได้ 6.รู้วิธีการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างปลอดภัยได้ผล มีประสิทธิภาพ 7.สามารถลดภาวะโลกร้อนจากการเผาเศษวัสดุทางการเกษตรในท้องที่ได้บางส่วน ข้อเสนอแนะ 1. จุดสาคัญที่สุดอยู่ที่การสร้างแกนนา เพื่อเป็นแบบอย่างให้เพื่อบ้าน เป็นการกระตุ้นให้ ชาวบ้านมองเห็นศักยภาพของตนเองที่จะร่วมกันหาทางปัญหาโดยไม่ต้องรอพึงพาจากหน่วยงาน จากภาครัฐ 2.ต้องมีวิธีคิดใหม่ให้กับชุมชนและบุคลากรของทางโรงเรียนที่ดาเนินการในโครงการนา ร่อง จูงใจคนทางานให้เห็นว่าการทางานในโครงการเป็นการบูรณาการการทางานกับการจัด กระบวนการเรียนการสอนเมื่อทาไปสักระยะหนึ่งจะเห็นผลว่าเอื้อประโยชน์กับการจัดการเรียนการ สอนของครู เด็กสนุกสนานกว่าที่ครูจะทาการสอนเองหรือให้ความรู้เองซึ่งไม่เร้าใจเท่าที่ควร
การถอดบทเรียนในโครงการส่งเสริมการออกกาลังกายของคนในชุมชนตามโครงการนาร่องการจัด การศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนโรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน สพป.ลาพูนเขต 2 ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลัก 5 กิจกรรมดังนี้ 1.กิจกรรมแอโรบิค 2.กิจกรรมไม้เท้าเพื่อสุขภาพ 3.กิจกรรมกระบี่กระบอง 4.กิจกรรมฮูล่าฮุบ 5.กิจกรรมคีตมวยไทย สาระสาคัญ สาระสาคัญของของกิจกรรมทั้ง 5 กิจกรรมนี้มาจากแนวคิดที่ว่าคนเรานั้นประกอบไปด้วย ร่างกายและจิตใจหากเราสามารถที่จะทาให้คนในชุมชนมีร่างกายแข็งแรงมีจิตใจที่เข้มแข็งแล้วจะ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมของตนเองอย่างเป็นสุขท่ามกลางการเอาใจใส่ของบุตรหลานและคน ในชุมชนที่จะหันกลับมามองตนเองใช้ชุมชนเป็นฐานในการพัฒนาใช้วัฒนธรรมที่เข็มแข็งของ ชุมชนสร้างสรรให้ชุมชนก้าวไปสู่การเป็นชุมชนเข็มแข็งอย่างยั่งยืน พึ่งพาตนเองได้มีวิถีชีวิตที่เป็น สุข ออกกาลังกายเพื่อสร้างร่างกายให้แข็งแรง เกิดความสนุกสานานในการเล่นเป็นพื้นฐานของการ พัฒนาชุมชนในด้านต่างของประเทศชาติสืบไป วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1.อธิบายแนวคิดการจัดการกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการออกกาลังกายของเยาวชนประชาชนทั้ง 5 กิจกรรมได้ 2.สามารถอธิบายขั้นตอนของการออกกาลังกายทั้งห้ากิจกรรมได้ 3.สามารถอธิบายประวัติของการเล่นหรือการออกกาลังในแต่ชนิดได้ 4.สามารถบอกประโยชน์ของการออกกาลังกายทั้ง 5 ชนิดได้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1.กิจกรรมแอโรบิค เวลา 10 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 2.ขั้นตอนของการออกกาลังกาย 5 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 3.ประวัติของการออกกาลังกายแต่ละประเภท 2 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 4.เขียนประโยชน์ของการออกกาลังกายแต่ละประเภทได้ 2 ชั่วโมง
วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1.การเตรียมการของครูผู้สอน 1.1คณะครูปรึกษาหารือให้ความคิดเห็นในการจัดกิจกรรมรวมทั้งการหาข้อมูลเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมาของกิจกรรมแต่ละประเภทโดยการมอบหมายให้ครูที่รับผิดชอบกิจกรรมทั้ง 5 เป็นผู้ค้นคว้า 1.2จัดทาใบความรู้/ใบกิจกรรม 1.3เตรียมการในเรื่องอุปกรณ์ในการออกกาลังกายในแต่ละกิจกรรม 1.4ประสานงานวิทยากรจากภายนอกและหากเป็นบุคคลากรในโรงเรียนต้องแจ้งเวลา ที่จะดาเนินการให้ครูทุกคนรับทราบร่วมกันเพื่อแจ้งเด็กรวมทั้งการนัดหมายเยาวชนประชาชนที่จะ เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมได้มีเวลาในการเตรียมตัว การดาเนินการของกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการออกกาลังกายตามโครงการ ทางผู้รับผิดชอบโครงการได้ดาเนินการแต่งตั้งคณะทางานรับผิดชอบในกิจกรรมหลัก ทั้ง 5 กิจกรรมให้กับคณะครูทุกท่านได้มีส่วนในการช่วยเหลือโครงการถึงแม้ว่าบางท่านจะ รับผิดชอบโครงการหลักอื่นๆแล้วก็ตามถือว่าบุคลากรทุกท่านเป็นผู้มีความสามารถที่จะช่วยเหลือ งานโดยการเป็นผู้รับผิดชอบกิจกรรมที่อาจจะเป็นทั้งวิทยากร ผู้ประสานงาน ผู้ดาเนินการในเรื่อง ต่างๆ เกี่ยวกับกิจกรรมทั้ง 5 กิจกรรมเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมคือการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมชื่นชม ในผลการพัฒนาในกิจกรรมที่ทุกฝ่ายมีส่วนรับผิดชอบมิใช่คนใดคนหนึ่งรับผิดชอบทาให้เกิด ความรู้สึกใน การเป็นเจ้าของโครงการ/กิจกรรมร่วมกัน เกิดความตั้งใจที่จะร่วมกันพัฒนางานของโครงการไปสู่ เป้าหมายที่ทุกฝ่ายตั้งใจคือคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชนซึ่งก็คือผู้ปกครองของเด็กนักเรียนที่เป็น ลูกค้าของเรานั่นเองเมื่อผู้ปกครองมีความเป็นอยู่ที่ดี มีร่างกายแข็งแรงมีภาวะเศรษฐกิจดี ชุมชนเข็ม แข็งก็จะส่งผลต่อเด็กนักเรียนที่เป็นบุตรหลานให้ไปสู่เป้าหมายของการสร้างคนของโรงเรียนนั่นก็ คือการสร้างให้คนเป็นคนดี คนเก่ง มีความรู้ความสามารถที่จะพัฒนาชุมชนของตนเองไปสู่อนาคต ที่ชุมชนคาดหวังอย่างยั่งยืน เมื่ อ ทางโรงเรี ย นใช้ ห ลั ก การร่ ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบ แบ่ ง กั น ท างานตามความถนั ด ความสามารถของแต่ละบุคคลร่วมคิด ร่วมทาร่วมเสนอแนะแก้ไขปัญหาจาการทากิจกรรมแล้วผลที่ ได้จากการทากิจกรรมนี้ก็คือการมีความเข้าใจที่ดี การเห็นอกเห็นใจของครูในโรงเรียน การเข้าใจ ชุมชนเข้าใจขีดจากัดความคาดวังที่เราเคยตั้งไว้ รู้ปัญหาและสามารถเชื่อมโยงไปสู่การแก้ไขปัญหา
ในตัวเด็ก นักเรีย นไปด้วยเพราะว่า เราได้ทาการสอบถามผู้ปกครองมีก ารพบปะผู้ปกครองที่ใ ด้ มาร่วมกิจกรรม สามารถสร้างความเข้าใจที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน นาปัญหาของชุมชนมา เรียบเรียงเพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างบุคลากรของโรงเรียนและชุมชนได้อ ย่างมีประสิทธิภาพมา กกขึ้นกว่าที่เป็นอยู่เดิมจาการพบปะกัน ทากิจกรรมร่วมกันส่งผลให้เกิดความเข้าใจที่ดีระหว่าง ชุม ชนและโรงเรีย น ชุม ชนทราบว่าโรงเรีย นกาลังทากิ จกรรมอะไรและอยากจะให้ชุมชนเป็น อย่างไร ความคาดหวังของผู้ปกครองอยากให้คณะครูทาอย่างไรต่อการมาปฏิบัติหน้ าที่และการเข้า หาชุมชนเพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างกันต่อไปในอนาคตข้างหน้า เมื่อดาเนินการไปได้สักระยะหนึ่งเนื่องจากโรงเรียนเป็นหน่วยงานที่จัดการศึกษามีบริบท การบริหารจัดการร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่เมื่อดาเนินการตามโครงการสักระยะหนึ่งได้กราบ เรีย นกิ จกรรมในโครงการต่ อท่ า นนายอาเภอทุ่งหั วช้างได้ทราบในคราวที่ท่านเดินทางมาเป็ น ประธานในพิธีเปิดสัมมนาเกษตรอินทรีย์และกิจกรรมการทาปุ๋ยน้าและการทาปุ๋ยหมักของโครงการ ท่ า นได้ ใ ห้ ข้ อ เสนอแนะส าหรั บ กิ จ กรรมของโครงการบางกิ จ กรรมว่ า เราเห็ น สมควรที่ จ ะ ปรับเปลี่ยนกิจกรรมจากที่เราเคยเสนอผู้สนับสนุนแล้วคือกิจกรรม กระบี่กระบอง ขออนุญาต ปรับ เปลี่ย นปรับ เปลี่ย นมาเป็ นกิ จกรรมจัก รยานสูบน้าเพื่ อสุขภาพ ทั้งนี้โดยอาศัย แนวคิดที่ว่า กิจกรรมที่โรงเรียนจะดาเนินการค่อนข้างไม่เหมาะสมกับวัฒนธรรมและประเพณีของชาวเขานัก หากสามารถเปลี่ยนกิจกรรมจากเดิมมาเป็นกิจกรรมสูบน้าจากจักรยานแล้วทั้งเด็กในโรง เรียนทั้งครูและผู้ปกครองคนในชุมชนจะหันกลับมาให้ความสาคัญกับจักรยานที่มีประโยชน์มากทั้ง ในแง่ ก ารประหยั ดพลัง งาน การลดภาวะโรคร้อน การได้ออกก าลั งและการไม่ผิดประเพณี วัฒนธรรมชนเผ่า ทั้งนี้ทางท่านนายอาเภอมิได้หมายความว่าให้ทางโรงเรียนเปลี่ยนกิจกรรมที่ เสนอผู้สนับสนุนแต่เนื่องจากโรงเรียนเป็นหน่วยงานจัดการศึกษามีผู้มาพบปะมากมาย ชุมชนเข้า มหา ผู้ป กครองเข้ ามาเห็นหากโรงเรีย นลองหันมาใช้วิธีก ารจัก รยานสูบน้าแล้วประชาสัมพั นธ์ เกิดผลดี ต่อชุมชนมากกว่าการทากิจกรรมบางอย่างที่ล่อแหลมต่อวัฒนธรรมของชนเผ่า ในเรื่องนี้ ทางผู้บริหารโรงเรียนได้นาเสนอแนวคิดของทางท่านนายอาเภอทุ่งหัวช้าง(นายศุภสิทธิ์ หล้ากอง) ต่อคณะครูและบุคลากรของโรงเรียนร่วมกันพิจารณาความเป็นไปได้แล้วมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบ โครงการจัดท าบั นทึ ก เสนอขอปรับ เปลี่ย นโครงการต่อผู้บริหารโรงเรีย นในฐานะผู้รับผิดชอบ โครงการเพื่อนาเสนอต่อสสส.ต่อไปและได้มอบหมายให้ครูที่มีความรู้ความชานาญในเรื่องของ จั ก รยานสู บ น้ า หาข้ อ มู ล และด าเนิ น การจั ด ท า ท าแผนการจั ด การเรี ย นการสอน การ ประชาสัมพันธ์ให้กับคนในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ทราบและเมื่อดาเนินการเสร็จสิ้นได้ กราบเรียนเชิญท่านนายอาเภอทุ่งหัวช้างและคณะมาเยี่ยมชมให้กาลังใจในการดาเนินการ ทาง รองผู้ว่าราชการจังหวัดลาพูน ( นายภุชงค์ โพธิกุฏสัย ) ได้พาคณะผู้บริหารจากจังหวัดลาพูนลง มาเยี่ยมชมผลการดาเนินการ
พร้อมทั้งแนะนาให้กาลัง ใจแก่คณะครูที่ดาเนินการเป็นที่ภาคภูมิใจของบุคคลากรในโรงเรียนเป็น อย่ า งมากที่ กิ จกรรมเป็ นที่ ส นใจของผู้นาระดั บอาเภอและระดับ จังหวัดพร้อมทั้งได้ส นับสนุ น งบประมาณเพิ่มเติมให้กับโรงเรียนเพื่อขยายผลในโครงการต่อไป เมื่อทางโรงเรียนได้ดาเนินการตามโครงการนี้จนครบกิจกรรม 5 กิจกรรมแล้วพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของโครงการและกิจกรรมนี้มาจาก 1.ระบบการบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคคลกรทุกภาคส่วน กล่าวคือทางโรงเรียนได้มอบหมายให้บุคลากรท่านหนึ่งรับผิดชอบโครงการที่คลอบคลุมกิจกรรม ทั้ง 5 กิจกรรมแล้วขอให้คณะครูที่มีความรู้ความสามารถมาช่วยกันดาเนินการในแต่ละกิจกรรม ถึงแม้ว่าทางโรงเรียนจะมีบุคลากรน้อยก็ตามพบว่าบุคลากรของโรงเรียนบ้านโป่งแดงล้วนแล้วแต่มี คุณภาพ มีความรับผิดชอบให้ความสนใจในกิจกรรมที่ตนเองดูแลจึงทาให้โครงการและกิจกรรม บรรลุผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ 2.ผู้ปกครองให้ความสนใจในกิจกรรมที่โรงเรียนดาเนินการโดยการประชาสัมพันธ์ผ่านตัวเด็ก นักเรียนและการที่ผู้ปกครองเห็นการดาเนินการอย่างจริงจังของทางโรงเรียนเมื่อมารับบุตรหลานจึง เข้าร่วมกิจกรรมอย่างมากทาให้กิจกรรมบรรลุผล หากทางโรงเรียนได้รับการต่อยอดโครงการแล้วคณะครูที่รับผิดชอบโครงการและกิจกรรม มีแนวทางที่จะทาโครงการบรรลุผลส่งผลไปยังผู้ปกครองโดยการจัดการแข่งขันในโอกาสต่างๆ แบ่งกลุ่มการแข่งขันออกเป็นผู้ปกครองระดับชั้น การแข่งขันของเยาวชนในโอกาสงานกีฬาสีของ ทางโรงเรียนหรือกีฬาอบต. กีฬาท้องถิ่นแล้วแต่กรณีซึ่งจะทาให้มีกิจกรรมการแข่งขันที่หลากหลาย สร้างความสนุกสนานมีการสานสัมพันธ์ไปยังเครือข่ายผู้ออกกาลังของเครือข่ายสุขภาพทั้งชมรม อสม.ของรพสต. โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มฮูล่าฮุบของแต่ละหมู่บ้านและหน่วยงานในท้องถิ่นเรา คาดหวังว่า นี่เป็นก้าวแรกของการทางานที่ เรายังไม่ค่อยคุ้นเคยเท่าใดนัก หากได้ทาอีกครั้งก็จะ ดาเนินการอย่างรอบด้านมุ่งมั่นให้เกิดผลดีต่อประชาชนส่วนรวมต่อไป
การถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมอาชีพในชุมชน ประกอบไปด้วยกิจกรรม 4 กิจกรรม กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า กิจกรรมการเลี้ยงไก่พื้นเมือง กิจกรรมการตัดผมเสริมสวย กิจกรรมการแปรรูปอาหารจากพืชที่ปลูกตามท้องถิ่น แนวคิ ด ที่ เ ราจั ด ท าโครงการได้ มากจากการระดมความคิด ของคณะท างานที่ ท าการ วิเคราะห์สภาพปัญหาของชุมชนแล้วนาแนวคิดมาจัดทาโครงการว่าโครงการของเราที่จะตอบโจทย์ การแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายของคนในชุมชนได้ต้องเป็นโครงการที่ผสมผสานระหว่างกิจกรรม ทางร่างกายความเข้มแข็งทางวัฒนธรรมและการอยู่ดีกินดีของประชาชนในท้องถิ่นก่อนจึงจะทาให้ โครงการบรรลุผลตามที่ประสงค์ เมื่อเราตอบโจทย์ นี้แล้วก็นาความต้องการจากการประชาคม ชุมชนมาสรุปรวมเป็นหมวดหมู่จัดทาโครงการได้ 4 กิจกรรมตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น โดยมีเป้าหมายของโครงการ/กิจกรรมคือ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนทางด้านอาชีพให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองจาการ ดาเนินการฝึกฝนอาชีพ นาสิ่งที่มีอยู่มาประยุกต์ให้เหมาะสม มีการพัฒนาการทางด้านสังคมความ เป็นอยู่ทั้งเรื่องการเสรมสวยในผู้หญิงและการตัดผมในผู้ชายซึ่งในปัจจุบันทางชุมชนต้องพึ่งพาคน ภายนอกในเรื่องเหล่านี้ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ในโครงการ 1.อธิบายขั้นตอนการเพาะเห็ดนางฟ้า 2.อธิบายขั้นตอนการเลี้ยงไก่รวมถึงการฉีดวัคซีนในไก่ที่เลี้ยง 3.อธิ บายขั้นตอนการตัดผมชายหญิงพร้อมอุปกรณ์อย่างง่ายได้ 4.อธิบายขั้นตอนการแปรรูปอาหาร การถนอมอาหารที่กาหนดให้ได้ 5.อธิบายการประกอบอาชีพที่สาคัญของชุมชนได้ สาระการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1.การเพาะเห็ดนางฟ้าเวลา 5 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 2.การเลี้ยงไก่พื้นเมืองเวลา 3 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 3.การตัดผมชายหญิงเวลา 10 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 4.การแปรรูปอาหารเวลา 10 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 5.การประกอบอาชีพที่สาคัญในชุมชนเวลา 3 ชั่วโมง
วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1.การเพาะเห็ดนางฟ้า การเตรียมการของครูและวิทยากร 1.1คณะครูประชุมปรึกษาหารือกันนัดหมายเรียนเชิญวิทยากรในชุมชน 1.2การเตรียมการเกี่ยวกับวัสดุที่จะจัดกระบวนการเรียนการสอน การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ 1.3นัดหมายวันเวลาที่จะดาเนินการร่วมกับวิทยากรฝึกอบรม 1.4จัดทาใบความรู้/ใบกิจกรรม 1.5รวบรวมผลผลิตในการดาเนินการหาแรงจูงใจที่จะนาผลลงชุมชน 1.6แบ่งกลุ่มให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้เรื่องการเพาะเห็ดนอกจากความรู้ที่ได้จากวิทยากรเห็ดที่ สามารถทาง่ายเช่นเห็ดฟาง เห็ดถั่วเหลืองฯลฯ กิจกรรมที่ 2.การเลี้ยงไก่พื้นเมือง การเตรียมการของครู วิทยากรและเด็กนักเรียน 2.1ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการกิจกรรมและผู้เข้าร่วมงานโครงการ 2.2 นัดหมายเด็กในการเตรียมการเรื่องไก่ ตรวจเช็คความพร้อมเรื่องเล้ากรง ความสมบูรณ์ของไก่ การป้องกันโรคโดยการฉีดวัคซีน การให้ความรู้เบื้องต้นในเรื่องการเลี้ยงไก่ 2.3จัดทาใบความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ การฉีดวัคซีน 2.4ประวัติความเป็นมาของไก่ที่นักเรียนนามาเลี้ยง ประวัติไก่พื้นเมือง ไก่ในเมืองไทย 3.กิจกรรมการตัดผมเสริมสวยชายหญิง 3.1 ผู้รับผิดชอบเตรียมการเรื่องอุปกรณ์การตัดผม เสริมสวย โต๊ะเครื่องแป้งและอุปกรณ์ อื่นๆที่จาเป็นในเรื่องการตัดผมเสริมสวยรวมทั้งสถานที่ๆเป็นสัดส่วนแยกจากอาคารอื่นๆเป็น เอกเทศเหมาะสมกับการดาเนินการ 3.2 การเน้นย้านักเรียนในเรื่องการตัดผมให้กับเพื่อนต้องเป็นนักเรียนที่ทาความสะอาด ร่างกายสระผมมาแล้วเพื่อสะดวกในการตัดและเสริมสวยป้องกันเครื่องมือที่ใช้ในการทางานมิให้ ชารุดก่อนเวลา 3.3 การฝึกฝนในเรื่องการตัด คัดเลือกเด็กที่จะฝึกฝนมาแล้วจับปัตตาเลี่ยนฝึกการตัดแบบ ไถหรือจะใช้ปัตตาเลี่ยนแบบมือฝึกตัดกับขวดเปล่าก็ได้ทดลองฝึกจนเคยชินกับการจับปัตตาเลี่ยน ลองฝึกกับเด็กที่ผมยาวและสระผมมาแล้ว นักเรียนหญิงดูการสาธิตจากวิทยากรลองฝึกการจับ กรรไกร กรรไกรซอย การฝึกจากหัวหุ่น 3.4 เมื่อลองฝึกการตัดผมและตัดผมหญิงแล้วลองให้เด็กสระผมเมื่อตัดเสร็จสิ้นแล้ว 3.5นักเรียนฝึกใบจัดกิจกรรมที่มอบให้
4.กิจกรรมแปรรูปอาหารจากวัตถุดิบในท้องถิ่น 4.1วิทยากรและผู้รับผิดชอบโครงการกาหนดสาระเกี่ยวกับการทาตามฤดูกาลที่มีวัตถุดิบ มากพอที่จะดาเนินการ 4.2เตรียมใบงานกิจกรรมไว้ในเรื่องที่เกี่ยวกับการดาเนินการ 4.3เตรียมการในเรื่องวัตถุดิบ อุปกรณ์การทา ประสานงานวิทยากรและผู้เข้าเรียน สถานที่ๆจะดาเนินการ 4.4ดาเนินการตามที่กาหนดไว้พร้อมรวบรวมใบงานกิจกรรมที่มอบให้ ปัญหาอุปสรรคในระหว่างการทากิจกรรม/โครงการ จากการดาเนินการทั้ง 4 กิจกรรมในโครงการส่งเสริมอาชีพในชุมชนกิจกรรมที่น่าจะ ส่งผลมากที่สุดก็คือกิจกรรรมเสริมสวย ตัดผมทั้งในระดับเด็กนักเรียนและผู้ปกครองทั้งนี้เนื่องจาก เดิมทางโรงเรียนไม่ได้มีกิจกรรมการเสริมสวยตัดผม เมื่อถึงวันศุกร์ครูเวรที่ดูแลเรื่องความสะอาด ของตัวนักเรียนจะกาชับให้นักเรียนตัดผมมาให้เรียบร้อยทั้งชายและหญิง แต่เนื่องจากครูเวรกับครู ที่มาในวันจันทร์มิได้เป็นบุคคลเดียวกันทาให้เกิดปัญหาการลืมเกี่ยวกับการตรวจร่างกายเด็กส่ง ผลเสียกับเด็กแต่เมื่อมีโครงการทั้งเด็กนักเรีย นและผู้ใหญ่ที่ต้องการตัดผมจะมาใช้บริการทาให้ นักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีความชานาญในการทางานมากขึ้นลดการพึ่งพาคนนอกหมู่บ้านมากขึ้น อีกทั้งเป็นการลดรายจ่ายของตัวนักเรียนเรื่องค่าใช้จ่ายการตัดผม การเดินทางส่งผลการประหยัด พลังงานไม่มีการออกนอกหมู่บ้านลดการใช้พลังงานสิ้นเปลือง สาหรับกิจกรรมการเพาะเห็ดนั้นเท่าที่ได้ติดตามโครงการ/กิจกรรมพบว่าเมื่อได้ทาการทาใน โรงเรียนแล้วมิได้ทาต่อเนื่องยังชุมชนและหมู่บ้านเพื่อการขยายผล มีปั ญหาเกี่ยวกับการติดตามผล เนื่องจากผู้รับผิดชอบมิได้อยู่ในพื้นที่ติดภาระในการพานักที่ชุมชนอื่นส่งผลให้การขยายผลออก ไปสู่ชุมชนทาได้น้อยเด็กและผู้ปกครองมีความเข้าใจในเรื่องการเพาะเห็ดและสามารถเพาะเห็ดเป็น อาชีพได้ ทางโรงเรียนต้องส่งเสริมอย่างจริงจัง ขยายผลออกไปสู่ชุมชนจึงจะสร้างความรู้ความ เข้าใจที่ถ่องแท้แก่ผู้มาร่วมกิจกรรม สาหรับ กิจกรรมการเลี้ย งไก่พื้นเมืองนับว่าประสบผลส าเร็จพอควรเนื่องจากหากเรา นามาเลี้ย งในโรงเรีย นอย่ า งเต็ม รู ป แบบจะส่ง ให้เ กิ ด ปัญ หาในการบริ หารจั ดการการเลี้ ย งทาง ผู้รับผิดชอบกิจกรรม จึงมีแ นวคิดในเรื่องของการนาไก่จากบ้านมา นามาฉีดวัคซีนที่โรงเรียน ดูแลการเจริญเติบโตเป็นระยะๆเมื่อสิ้นโครงการก็ทาการสรุปผลแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ หาปัญหา และแนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนางานต่อไป กิจกรรมการแปรรูปอาหารจากพืชในท้องถิ่นพบว่ายัง ประสบปัญหาเกี่ยวกับวัสดุที่จะทา จะเห็นได้ว่าบางฤดูกาลมีวัตถุดิบมากบางฤดูกาลมีวัตถุดิบน้อยส่งผลต่อการแปรรูปอาหารเช่นในฤดู หนาวผักกาดมีมากพอที่จะแปรรูปเป็นอาหารและเป็นอาชีพเสริมได้ในการดาเนินการหากจะได้
ผลส าเร็จ ต้ องให้ ผู้ รับ ผิ ดชอบโครงการทาการส ารวจวั ตถุ ดิ บในท้ อ งถิ่ น เพื่ อ นามาแปรรู ปหรื อ ทาอาหารเป็นอาชีพเสริมสาหรับคนในชุมชนเพื่อยกฐานะทางเศรษฐกิจของตนเองสร้างเสริมชุมชน ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืนต่อไป อะไรคือความสาเร็จและปัญหาของโครงการนี้โดยภาพรวม ตัวบ่งชี้ความสาเร็จของโครงการ/กิจกรรมนี้มาจากความมุ่งมั่นของผู้รับผิดชอบโครงการ ที่ต้องการจะเห็นความสาเร็จของโครงการที่ดาเนินการถึงแม้ว่าจะมีปัญหาในเรื่องของวัตถุดิบใน การดาเนินการ ช่วงระยะเวลาในการทางานและประสบการณ์ในการร่วมกับชุมชนที่มิใช่ตัวนักเรียน กล่าวคือในการทางานร่วมกับชุมชนต้องอาศัยความสัมพันธ์อันดีความคุ้ นเคยเป็นกันเองกับชุมชน เป็นตัวประสานการทางานระหว่างผู้ปฏิบัติกับคนในชุมชนอีกทั้งยังต้องอาศัยรูปแบบการสื่อสารที่ อาศัยภาษาในชุมชนเป็นตัวหลักในการทางานร่วมกันมิใช่ภาษากลางหรือภาษาพื้นบ้านเนื่องจากคน ในชุมชนที่เป็นแม่บ้านยังไม่ประสบการณ์ในการพัฒนาตนเอง มีความรู้น้อย(ผู้ที่มีอายุ 30 ปีลงมา ไม่เคยได้รับการศึกษากล่าวคือไม่เคยได้เรียนในโรงเรียนมาเลยทั้งนี้เนื่องจากโรงเรียนพึงตั้งมาได้ ไม่กี่ปีมานี้เองทาให้เกิดปัญหาในเรื่องการสื่อสารทาความเข้าใจในเรื่องการสอน ความรู้ความเข้าใจ ต่างๆต้องอาศัยล่ามหรือคนกลางจะต้องถ่ายทอดทาให้ห้วงความรู้ทาได้ไม่เต็มที่ ปัญหาอีกประการหนึ่งก็คือความล้าหลังในเชิงการพัฒนาเท่าที่สอบถามจากชุมชน ปราก กฎว่าทางราชการยังไม่เคยเข้ามาเพิ่มศักยภาพของชุมชนให้กับกลุ่มแม่บ้านหรือกลุ่มสตรีในหมู่บ้าน เลยไม่ว่าจะเป็น เคหกิจการเกษตรหรือนักพัฒนาชุมชนยังไม่เคยลงมาพัฒนาในรูปแบบที่กล่าวมา หากโรงเรียนจะดาเนินการในลักษณะนี้ต้องใช้ความวิริยะอุตสาหะมากในการทางานร่วมกับกลุ่ม สตรีในชุมชน
การถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ / ล้มเหลว 1.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ สิ่งที่ทาให้โครงการประสบความสาเร็จ ได้แก่ ความร่วมมือของบ้าน – วัด – โรงเรียน เพราะในภาพรวมของชุมชนชอบและรักการทาบุญ รักวัฒนธรรมประเพณีและความเป็นอยู่ของ ตนเอง ประกอบกับทางวัดก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี เช่น การทาบุญตักบาตร , การเข้าค่าย คุณธรรม สาหรับทางบ้านก็มีการร่วมมือด้วยดี เช่น การเข้าค่ายร่วมกับนักเรียน การใช้สิทธิ์คัดเลือก คนดีศรีโป่งแดง โดยใช้เวลาว่างจากการทางานและเวลาที่มารับ-ส่งนักเรียนในช่วงเย็นมาลงคะแนน การคัดเลือก และที่สาคัญคือความตั้งใจจริงของผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากร 1.2 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลว สิ่งที่ทาให้โครงการเกิดความล้มเหลว มีปัจจัยเนื่องจาก - งบประมาณที่จัดทามีจานวนจากัด ขาดแหล่งเงินทุนในการสนับสนุนจัดกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่อง ทาให้โครงการต้องหยุดชะงักเป็นบางครั้ง - การจัดกิจกรรมบางอย่างต้องศึกษาชุมชนด้วยว่ าชุมชนพร้อมที่จะร่วมมือกับเราไหม พ้อมตอนไหน เวลาไหน เช่น เวลาว่างของชาวบ้านอาจจะไม่ตรงกับเวลาที่ดาเนิน กิจกรรมของโรงเรียน ทาให้ผลงานที่ออกมาไม่เต็มที่ ประกอบกับชาวบ้านมีภารกิจ เกี่ยวกับการทามาหากินของตนเอง - กิจกรรมของโรงเรียนที่เสนอไว้มีมากเกินไป นั่นคือ 5 โครงการ 21 กิจกรรม ทาให้ไม่ ค่อยมีเวลาในการจัดหรือไม่ครอบคลุมเนื้อหาเท่าที่ควร - ความรู้ของวิทยากรในการจัดกิจกรรมมีน้อย เช่น กิจกรรมประวัติความเป็นมาของ ตนเอง เนื่องจากชาวบ้านเป็นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง พูดไทยไม่ค่อยได้ และข้อมูลที่มีก็มี ไม่ ม าก ไม่ ชั ด เจนเท่ า ที่ ค วร และเมื่ อ ถามถึ ง ประวั ติ จากผู้ เ ฒ่ า จริ ง ๆ ก็ ไ ม่ ท ราบที่ แน่นอนชัดเจนเหมือนกัน ดังนั้นจึงได้เพียงข้อมูลพื้นฐานเท่านั้น - กิจกรรมไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากทุกคนและทุกฝ่ายมีงานมาก 2. สิ่งที่ได้จากโครงการ ได้เรียนรู้แนวทางในการทางานร่วมกันกับคนจานวนมาก และหลายหน่ วยงาน ได้รู้จัก การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นและต่างหน่วยงาน รู้วิธีการเข้าหาผู้หลักผู้ใหญ่ พิธีทางศาสนา การทาบุญ การเข้าถึงชุมชนโดยใช้โครงการเป็นตัวช่วย ทาให้รู้ความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน
3. ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน - ได้ความรู้จากโครงการ เช่น ได้รู้ถึงวิธีการทาบุญในกิจกรรมวัดของเรา หมู่บ้านของเรา , ได้รู้จักวัดที่สาคัญต่าง ๆ ในกิจกรรมธรรมทัศนศึกษา , ได้บุคคลตัวอย่างในกิจกรรมคนดีศรีโป่งแดง , รู้ประวัติของตนเอง (หมู่บ้าน) , รู้จักการวางแผนการทางานในกิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม และที่ สาคัญได้รู้ถึงความสามัคคีของหมู่คณะและการทางานที่ต้องมีการวางแผนและเตรียมการ ได้ทราบปัญหาของการจัดกิจกรรมและได้หาทางออกร่วมกัน ได้รู้ถึงวิธีการทางานร่วมกับชาวบ้าน 4. นาไปจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร - เพื่อไม่ให้เป็นภาระงานมากเกินไป ควรแทรกในเนื้อหาวิชาที่สอน เช่น การทาบุญ , การ เล่าประวัติความเป็นมาของตนเอง , ลักษณะของบุคลตัวอย่าง เป็นต้น
การถอดบทเรียนสืบสานประเพณีวัฒนธรรมกระเหรี่ยง การถอดบทเรียนโครงการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมกระเหรี่ยง ประกอบไปด้วยกิจกรรม 4 กิจกรรม กิจกรรมประเพณีแต่งงาน กิจกรรมการฟ้อนเจิง กิจกรรมเลี้ยงผี กิจกรรมเรียกขวัญ ปันปอนภาษากระเหรี่ยง 1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ / ล้มเหลว 1.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ ได้รับการร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วนโดยเฉพาะชุมชน ผู้ นาในหมู่บ้าน วัด โรงเรียน และโรงพยาบาลส่ง เสริมสุข ภาพที่อยู่ ใ นชุมชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมที่จะค้นหาปัญหา ที่เกิ ดและ ต้องการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองอย่างจริงจัง และยังได้รับความ ร่วมมือจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เฒ่าผู้แก่ในท้องถิ่นที่ถ่ ายถอดองค์ความรู้ดั้งเดิมให้กับคณะทางาน ในการสัมภาษณ์ สอบถามถึงขั้นตอน ประเพณี การดาเนินแต่ละกิจกรรมของประเพณีวัฒนธรรม โดยอาศั ยความร่วมมือจากครูสื่อภาษาของโรงเรียน และทาให้เห็นถึงความต้องการที่จะรักษา รากเหง้าวัฒนธรรมที่ดีงามของชนเผ่าสืบเป็นลายลักอักษร เพราะชุมชนแห่งนี้ไม่มีภาษาเขียน ซึ่งใน อนาคตข้า งหน้าถ้า หากผู้เฒ่า ผู้แก่ตายจากไป เยาวชนรุ่นหลังได้รับวัฒนธรรมที่มาจากสื่อสังคม ปัจจุบันที่ทันสมัย ทางโลกอินเตอร์เน็ต ที่เยาวชนยุคนี้สื่อเทคโนโลยีเข้าถึงทุกพื้นที่ ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เยาวชนเป็นผู้รับเข้ามาจาการศึกษานอกหมู่บ้าน จึงส่งผลให้อนาคตชุมชน กระเหรี่ยงอาจมีวิถีประเพณีการเป็นอยุ่ที่เป็นเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสสังคมดังกล่าว ชุมชนแห่ง นี้จึงให้ความสนใจในการที่จะถ่ายทอด และให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมสืบทอดประเพณี ดั้งเดิมให้ลูกหลานต่อไป 1.2 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลว สิ่งที่ทาให้โครงการเกิดความล้มเหลว มีปัจจัยเนื่องจาก - งบประมาณที่จัดทามีจานวนจากัด ขาดแหล่งเงินทุนในการสนับสนุนจัดกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่อง - ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินกิจกรรม นั้นค่อยข้างน้อย ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมในการ ทากิจกรรมจริงในชุมชน ให้เกิดการเรียนรู้ที่เหมาะสม
- ผู้ถ่ายทอดประสบการณ์ ยังคงขาดเทคนิคหรือการอธิบายที่ละเอียด ต้องทาการศึกษา แห่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีจากแหล่งข้อมูลเพื่อประกอบให้เกิดการ เรียนรู้ที่ยั่งยืน - การเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เข้าร่วมนั้น ค่อยข้างประสบปัญหาที่พบคือเวลามีการจัด กิจกรรมผู้เข้าร่วมไม่ได้มาร่วม เนื่องติดภารกิจในการทางาน จึงทาให้ขาดองค์ความรู้ ในบางส่วนของกิจกรรม 2. สิ่งที่ได้จากโครงการ สิ่งที่เกิดจากการเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมในโครงการคือ เราได้รับความร่วมมือที่มาจาก ชุมชน ผู้เฒ่าผู้แ ก่ และความสามัคคีในชุมชนมากยิ่งขึ้น และการเปลี่ยนแปลงทางความคิดของ ชุมชนที่ต้องการให้ลูกหลานได้เรียนรู้ประเพณีของตนเองอย่างจริงจรัง ซึ่งในปัจจุบันชุมชนจะไม่ เห็นความสาคัญของวิถีชีวิตของตนเองว่าจะสูญหายหรือไม่อย่างไร และการดาเนินกิจกรรมในครั้ง สะท้อนให้เห็นว่าการขับเคลื่อนที่มาจากความต้องการของชุมชน และการนาความเข้าใจในการจัด กิจกรรมที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของเขาเหล่านั้น เป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาที่ยากจะสูญหายได้ ถ้า เราช่วยกันหล่อหลอมความเป็นตัวตนของตนเอง ปลูกจิตสานึกในความเป็นตัวตนที่แท้จริง และ ยั ง คงด ารงค์ ค วามเป็ น ชนเผ่ า สื บ ไปแม้ ว่ า จะอยู่ ที่ ใ นในสั ง คมโลก ถ้ า เรารั ก ษ์ จ ะยึ ด รากเหง้ า วัฒนธรรมอันดีงามของเรา ทาให้สังคมชนเผ่ากระเหรี่ยงไม่มีวันสูญหายไปตามกระแสสังคม ได้รับความรู้ที่เกิดจากการดาเนินกิจกรรม มีการแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างชุมชนและผู้ดาเนิน กิจกรรม สามารถนาไปใช้ใ นกิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดทาเป็นหลักสูตรประเพณีท้องถิ่น เพื่อจะนาไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประเพณีท้องถิ่นต่อไป 3. ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน ได้รับความรู้ที่เกิดจากการดาเนินกิจกรรม มีการแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างชุมชนและผู้ ดาเนินกิจกรรม สามารถนาไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดทาเป็นหลักสูตรประเพณี ท้องถิ่น เพื่อจะนาไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประเพณีท้องถิ่นต่อไป 4. นาไปจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร นาหลักสูตรที่ได้ในการจัดกิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมของชนเผ่า ไปจัดกรรมต่อเนื่อง ให้กับนักเรียน ทั้งในและนอกโรงเรียนเพื่อรักษาประเพณีอันดีงามของตนต่อไป
สิ่งที่เราได้รับจากการปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทยของโรงเรียนบ้านโป่งแดง อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลาพูน 1.ได้รู้ศักยภาพการทางานของตนเอง รู้ศักยภาพของบุคลากรในโรงเรียนว่ามีความสามารถในด้าน ใดจะสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับกิจกรรมหรือโครงการประเภทใดจึงจะบังเกิดผลสาเร็จ 2. ได้รู้ระบบการบริหารจัดการที่เป็นขั้นตอน การรายงานผลตามข้อตกลงเนื่องจากระบบราชการ เป็นระบบที่สั่งการลงมาให้ดาเนินการแล้วรายงานไม่เหมือนโครงการนาร่องที่ต้องรายงานเป็น ระยะ พร้อมเอกสาร สื่อ วีซีดีประกอบจึงจะสามารถดาเนินการในระยะต่อไปได้ เราสามารถ นาระบบการบริหารจัดการของโครงการมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการของโรงเรียนในฐานะ ผู้บริหารโรงเรียนสามารถนิเทศติดตามผลเพื่อให้โครงการหรือกิจกรรมบรรลุผล เป็นการ สร้างระบบความเข้มแข็งให้กับองค์กรในภาพรวมได้เป็นอย่างดี ระบบการรายงานของบุคลากรใน โรงเรียนจะส่งผลดีในภาพรวมต่อการบริหารจัดการเรื่องราวต่างๆบุคลากรจะคุ้นเคยกับการรายงาน ที่เป็นระบบสามารถตรวจสอบได้และใช้เป็นหลักฐานในการพัฒนาตน พัฒนางานไปสู่การเลื่อน วิทยฐานะที่สูงขึ้นต่อไป 3. ได้รู้ชุมชนที่ตนเองปฏิบัติงานอยู่ว่าชุมชนที่ตนเองอยู่นั้นประกอบไปด้วยบริบทอย่างไรมี สภาพปัญหาในการดารงชีวิตอย่างไร มีต้นทุนทางสังคม วัฒนธรรมเป็นอย่างไรมีจุดบกพร่องที่ จาเป็นต้องแก้ไขในส่วนใหนมีจุดแข็งในเรื่องอะไร สิ่งเหล่านี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่รอบด้านส่งผล ให้การตัดสินใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชุมชนเป็นไปอย่างรอบคอบ 4. ได้พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการพัฒนาระหว่างเครือข่ายต่างๆที่มีความ เกี่ย วข้องสัม พันธ์กันทั้ งความสัมพันธ์ในเชิงแนวร่วมโครงการนาร่องด้วยกันและเครือข่ายการ พัฒนาชุมชนที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางานในโครงการนาร่องเช่นเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เครือข่ายผู้ปลูกพืชในท้องถิ่นทาให้เราได้รับทราบถึงการทางานของแต่ละเครือข่ายว่ามีแนวทางการ ทางานอย่างไร มีเป้าหมายอย่างไรและแต่ละเครือข่ายต้องการสร้างความสัมพันธ์เชิงบริหารจัดการ อย่างไรทาให้เราเกิดความรู้อย่างรอบด้านเกี่ยวกับเรื่องขององค์กรต่างๆ เข้าใจเรื่องความสัมพันธ์ใน ระหว่างองค์กรทั้งในเรื่องกระบวนการทางาน แนวทาง กระบวนการคิด วิธีคิ ดซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ ถ้าเรามีความเข้าใจเขาจะเป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้การทางานของเราประสบผลทานองภาษิตจีนที่ว่า รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างองค์กรเครือข่ายที่ ทุกเครือข่ายต่างมุ่งหวังว่าประชาชนคนไทยจะอยู่ดี มีสุขอย่างถ้วนหน้ากัน ต่างคนต่างทางานของ ตนเองอย่างมีความสุขมีความเข้าใจซึ่งกันและกันนาไปสู่การสมานฉันท์ในกระบวนการทางานแบบ บูรณาการที่ทุกฝ่ายต้องการ
5.ได้พบปัญหาและได้เรียนรู้สิ่งที่เกิดขึ้นในระหว่างการดาเนินการตามโครงการและกิจกรรมอย่าง หลากหลายกล่าวคือ ในเรื่องของกระบวนการจัดการเรียนรู้ ทาให้เราได้ทราบว่าเนื่องจากผู้เข้าร่วมกระบวนการที่ เราดาเนินการมีความแตกต่างกันในระหว่างช่วงวัยและความแตกต่างในด้านอื่นดังนี้ ความแตกต่างกันระหว่างช่วงวัย ความแตกต่างกันในเรื่องของการประกอบอาชีพ ความแตกต่างกันในเรื่องของประสบการณ์ เมื่อเราทราบถึงความแตกต่างของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทาให้โครงการต้องมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่หลากหลาย มีสื่อการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องและตอบสนองความต้องการของผู้เรียน สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนรวมถึงสอดคล้องกับขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีของ ท้องถิ่นตามที่ได้กล่าวมาในเรื่องของการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการออกกาลังกายที่ทาให้เราต้อง ปรับเปลี่ยนกิจกรรมตามข้อเสนอแนะของผู้ใหญ่ที่ให้แนวทางสอดคล้องกับระเบียบแบบแผน วัฒนธรรมประเพณีของชุมชน เอาชุมชนเป็นตัวตั้งกิจกรรมที่เราดาเนินการจึงจะประสบผลตาม เป้าหมายของโครงการ 6.สิ่งที่เราได้ทราบอีกอย่างหนึ่งในการจัดการโครงการนี้ก็คือขีดจากัดของผู้นาในระดับต่างๆใน ชุมชนไม่ว่าจะเป็นผู้นาตามธรรมชาติ ผู้นาจากการเลือกตั้งและผู้นาเครือข่ายในชุมชนต่างก็จะมี ขีดจากัดในการดาเนินการตามสถานะของตนเองในชุมชนที่ยังติดยึด วัฒนธรรมและประเพณีของชนเผ่า ยึดติดความเป็นครอบครัวพรรคพวกยังมิได้มองภาพรวมของ การพัฒนาโดยเอาชุมชนเป็นตัวตั้งเท่าที่ควรทั้งนี้อาจจะมาจากการที่ชุมชนโดยเฉพาะคนในชุมชน ไม่ได้รับการศึกษาเนื่องจากโรงเรียนเพิ่มเข้ามาจัดตั้งไม่กี่ปีม านี้เองอีกทั้งชุมชนเริ่มเปิดสังคมให้กับ สังคมภายนอกได้รับรู้ นับเป็นการเริ่มต้นในการพัฒนาตนเองอย่างช้าๆซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาใน การดาเนินการพัฒนาซึ่งทางโรงเรียนคิดว่า ชุมชนต้องมีฐานในการจัดการเรียนรู้ตนเองก่อนที่จะ เริ่ ม กระบวนการพั ฒ นามี ค วามเข้ า ใจปั ญ หาของชุ ม ชนร่ ว มกั น ไม่ ว่ า จะเป็ น คนในชุ ม ชนหรื อ เครือข่ายในการพัฒนาชุมชนเมื่อเรารับรู้ปัญหาร่วมกันเข้าใจปัญหาร่วมกันมีความเข้าใจในโครงการ และเป้าหมายของโครงการก็จะส่งผลต่อการพัฒนามากขึ้นชุมชนก็จะเป็นชุมชนที่เข้มแข็งส่งผลให้ ประเทศไทยอันเป็นที่รักของพวกเราทุกคนเข้มแข็งไปด้วย 7. ได้รู้วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้รวมถึงการออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับชุมชน เหมาะสม กั บ ช่ วงวัย และข้ อจากั ดต่า งๆนามาประยุ ก ต์ใ ช้ใ นกระบวนการเรีย นการสอนของคณะครูใ น โรงเรียนและใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของหน่วยงานและตนเองในการพัฒนาวิทยา ฐานะของครูที่รับผิดชอบโครงการได้เป็นอย่างดี รู้วิธีการบูรณาการโครงการกับการเรียนการ สอนในวิชาที่ตนรับผิดชอบอย่างสัมพันธ์กันสอดคล้องกันเอื้ออานวยประโยชน์ให้กับกิจกรรมการ เรี ย นการสอนได้ ม ากขึ้ น เนื่ อ งจากมี เ งิน งบประมาณมาสนั บ สนุน เด็ก มี ป ระสบการณ์ ใ นการ
ดาเนินการ เด็กมีความสนุกสนานในการทากิจกรรมรวมทั้งชุมชนเริ่มมีความเข้าใจในสิ่งที่โรงเรียน ทาและขยายผลออกไปสู่ชุมชน ชุมชนเริ่มตื่นตัวและรับรู้ว่าวัฒนธรรมความเป็นอยู่ วิถีชีวิตของ ตนเป็นสิ่งที่สังคมยังต้องการ เป็นความเข้มแข็งอย่างหนึ่งในสังคม ผู้ใหญ่ยังเป็นที่พึงของชุมชน สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ดิ ม ที ไ ม่ ไ ด้ รั บ การให้ ค วามส าคั ญ ถื อ เป็ น สิ่ ง ปกติ เ มื่ อ ชุ ม ชนเริ่ ม เห็ น ว่ า ตนเองยั ง มี ความสาคัญก็จะให้ความร่วมมือในการดาเนินการจัดกิจกรรมไม่ถือว่าเป็นส่งไร้ค่าเช่น การฟ้อนเจิง และวัฒนธรรมการให้ศีลปันปอนฯลฯ ผู้ที่มาเป็นวิทยากรจะมีความ ภาคภูมิใจ มีความตั้งใจในการถ่ายทอดให้กับเยาวชนลูกหลานของตนเอง เด็กๆและเยาวชนก็จะ เห็นความสาคัญของผู้ใหญ่ที่ส่งผ่านวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่นเป็นเหตุให้วัฒนธรรมมีการถ่ายทอด อย่างยั่งยืนสืบไป สิ่งต่างๆที่เราได้รับจากการดาเนินงานตามโครงการและกิจกรรมตามที่ได้กล่าวมาจะเป็น ต้นทุนในการทางานของโรงเรียน ผู้บริหาร คณะครูที่ดาเนินการและรับผิดชอบโครงการกิจกรรม ที่ตนเองดาเนินการภายใต้บริบทที่ตนเองรับผิดชอบ ในฐานะผู้บริหารโครงการแล้วถือว่าเราได้รับ สิ่งต่างๆมากมายไม่ว่าจะเป็นต้นทุนในการเรียนรู้ชุมชน กระบวนการบริหารจัดการโครงการ การ บู ร ณราการจั ด การเรี ย นเรี ย นรู้แ ละในส่ ว นผู้ ส อนก็ จ ะได้ ใ นส่ วนกระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ หลากหลายเหมาะสมกับความแตกต่างของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีความแตกต่างทั้งช่วงวัย การทามา หากินและฐานะทางสังคมและในฐานะคนในชุมชนก็จะได้ความภาคภูมิใจที่เห็นว่าสังคมเมืองไทย เราหันกลับมาหาสิ่งที่ดีงาม หันกลับมาดารงชีวิตที่พอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะทาให้สังคมในชุมชนเต็มเปี่ยมไปด้วยความสุขความพอเพียง เกิ ด ความดีง ามของชุ ม ชนส่ง ผลต่อ ความเข้ มแข็งของชุ มชนในการสร้างประเทศที่เข้ มแข็ งใน ภาพรวมต่อไป
ถอดบทเรียน โครงการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีชนเผ่ากระเหรี่ยง กิจกรรมประเพณีแต่งงาน ฟ้อนเจิง เลี้ยงผี และผูกขวัญ /ปันปอน 1. ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ / ล้มเหลว 1.1 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จ สิ่งที่ทาให้โครงการประสบความสาเร็จ ได้แก่ ความร่วมมือของชุมชน และทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรม ที่เป็นแหล่งขององค์ความรู้ ในเรื่องของประเพณีวัฒนธรรมของชน เผ่าที่ ต้องให้เยาวชน เด็ก และชุมชนตระหนักคุณค่าของความเป็นชนเผ่า ก่อนที่จะกลายเป็นอดีตใน อนาคตที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่ ผู้เฒ่าผู้แก่ได้ตายจากชุมชนแหเงนี้ไป เนื่องจากชุมชนแห่งนี้ไม่มีภาษา เขียนเป็นหลักฐาน ที่จะสืบทอดต่อไปยังเด็กรุ่นหลัง เพราะสังคมตะวันตกเข้ามามีบทบาทต่อการ ดารงชีวิตของเขามากขึ้นตามกระแสโลก เยาวชนได้รับเอวัฒนธรรมสังคมเมืองเข้ามาทาให้ลืม รากเหง้าของตนเอง ในการทาโครงการนี้เป็นการพลิกฟื้นความรู้สึกที่จะทาให้พวกเขาหวงแหนค่า ของประเพณีอันดีงามที่จะอยู่คู่ความเป็นชนเผ่ากระเหรี่ยง และได้การตอบรับจากผู้นาชุมชน และหน่วนงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่เห็นความสาคัญ ในการจัดกิจกรรมนี้เป็นอย่างมาก ทาให้เกิด การขัยบเคลื่อนที่เป็นจุดเริ่มต้นที่ทาให้สาเร็จในระดับหนึ่ง คือได้รับความร่วมมือร่วมใจจากพี่น้อง ชาวบ้าน ในการระดมความคิดสติปัญญา ที่จะทาให้เกิดการเรียบนรู้ในเรื่องของประเพณีวัฒนธะรม ที่ยั่งยืนแก่ลูกหลานสืบไป 1.2 ปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลว สิ่งที่ทาให้โครงการเกิดความล้มเหลว มีปัจจัยเนื่องจาก - งบประมาณที่ได้รับจัดสรรน้อย ไม่เพียงพอต่อการจัดกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง และใน การติดตามประเมินผล การดาเนินการ - การจัดกิจกรรมครั้งนี้บางครั้งผู้ร่วมกิจกรรมติดภาระหน้าที่ของตนเอง จึงไม่สามารถ เข้าร่วมได้ในเวลาที่กาหนด ต้องมีการปรับเปลี่ยนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ เอื้อต่อ ชาวบ้านและผู้เรียน - กิจกรรมของโรงเรียนที่เสนอไว้มีมากเกินไป นั่นคือ 5 โครงการ 21 กิจกรรม ทาให้ไม่ ค่อยมีเวลาในการจัดกิจกรรมที่พอเพียง และสมบูรณ์ได้คงต้องสอนและถ่ายทอดต่อไป ในหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรียนในโอกาศต่อไป - วิทยากรท้องถิ่นที่นามาถ่า ยทอดนั้น พูดไทยไม่ค่อยได้ ต้องมีการสื่อสารทางภาษา( แปลภาษา) และต้องสัมภาษณ์ บันทึก สังเกตในการ่วมประเพณีแต่งงานจากชุมชน และผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับประเพณีแต่งงานนั้น เป็นการเล่าต่อจากประสบการณ์เนื่องจาก ชุมชนที่นี้ไม่มีอักษรเขียน ทาให้การถ่ายทอดความรู้ที่สมบู รณ์ในรายละเอียดค่อยข้าง
ยาก ดังนั้นในการถ่ายทอดประสบการณ์ประเพณีการแต่งงานที่ละเอียดนั้นจึงได้เพียง ข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาในบริบทของชุมชนบ้านโป่งแดง 2. สิ่งที่ได้จากโครงการ ได้เรียนรู้แนวทางในการทางานร่วมกันกับชุมชน ชาวบ้าน และหน่วยงานทั้งภาครัฐ และ เอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งได้เรียนรู้ในการขับเคลื่อนพลังของชุมชน จากแนวคิดที่ ชุมชนต้องการ ทาให้เกการเรียนรู้แฃะแก้ปัญหาตรงตามต้องการของชุมชน 3. ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน - ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการค้นหาภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน ( ในเรื่องประเพณีและวัฒนธรรม ท้องถิ่น เช่น การแต่งงาน การเลี้ยงผี การฟ้อนเจิง และการผูกขวัญ /ปันปอน ) ในการถ่ายถอดองค์ ความรู้ในสิ่งที่กาลังจะสูญหายไปกับกระแสสังคมที่นิยมตามโลกตะวันตก และเลือนหายไปกับผู้ เฒ่าผู้แก่ที่ตายจากไปในอนาคต เนื่องจากชุมชนแห่งนี้ไม่มีภาษาเขียนของตนเอง ได้ทราบปัญหาของการจัดกิจกรรมและได้หาทางออกร่วมกัน ได้รู้ถึงวิธีการทางานร่วมกับชุมชน ชาวบ้าน ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้านในเรื่องของภูมิปัญญาใน เรื่องต่างๆ 4. นาไปจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร - หลังจากที่ได้จัดกิจกรรมในโครงการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมชนเผ่า แล้วได้เกิด หลักสูตรบูรณาการประเพณีวัฒนธรรมชนเผ่า 4 กิจกรรมคือ แต่งงาน ฟ้อนเจิง เลี้ยงผี ผูกขวัญ/ ปัน ปอน เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในชั้นเรียนที่สามารถสอนในสาระสังคมศึกษา สอดแทรกกิจกรรมต่างๆ เข้าไปได้ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 เพื่อให้เขาได้ตระหนักถึง รากเหง้าวัฒนธรรมของชนเผ่าที่ต้องเรียนรู้ ควบคู่ไปกับการศึกษาในปัจจุบัน
การถอดบทเรียน โครงการ/กิจกรรมตามแผนงานสร้างเสริมความแข็งแรงของร่างกายของคนในชุมชนในโครงการ ประเพณีวัฒธรรมของชนเผ่ากระเหรี่ยง ของคนในชุมชนโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะ คนไทย *************************** กิจกรรมประเพณี แต่งงาน ความเป็นมา เนื่องด้วยหลวงปู่พระครูบาเจ้าชัยยะวงศาพัฒนา เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทห้วยต้ม ได้ เป็นประธานดาเนินการก่อสร้างจัดตั้งวัดพระธาตุดอยพญากวางคา ขึ้นเป็นวัดมาแต่ก่อน ประมาณ 50 ปีที่แล้วและให้พระปั๋น ปามจฺโจ (พระครูปราโมท โพธิวัฒน์) เป็นเจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอย กวางคา หลวงปู่พระครูบาเจ้าชัยยะวงศาพัฒนา ท่านได้เล็งเห็นว่าควรมีพระธาตุขึ้นบนดอย 1 องค์ หลวงปู่จึงได้เป็นประธานในการวางศิลาฤกษ์ ในการก่อสร้างพระธาตุ ณ จุดเนินที่สูงที่สุด และ ตรงที่หลวงปู่สร้างพระธาตุนี้ ตามในประวัติของวัดพระธาตุดอยกวางคา จะตรงกับจุดที่พระมหา เถระได้อธิษฐานจิต ฝังเขาพญากวางคาไว้ตรงจุดสูงสุด ของจอมเขาแล้วทาสัญลักษณ์ไว้ โดยการ นาเอาหินสามก้อนมาวางไว้เป็นรูปสามเหลี่ยม (ปัจจุบันหลวงปู่ฯ ได้สร้างพระธาตุครอบ ตรงหิน สามก้อนที่ฝังเขาพญากวางคา) และในองค์พระธาตุได้บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ พระอรหันตธาตุ และวัตถุมงคลต่างๆ เมื่อสร้างพระธาตุเสร็จนั้น ตรงกับเดือน ๘ เหนือ แรม ๘ ค่า และตรงกับวัน เฉลิมฉลองพระธาตุถวาย ไว้ในพระบรมศาสนา จึงได้ตั้งใจให้ทุกเดือน ๘ ค่า ของแรม ๘ เหนือ (ประมาณ เดือนพฤษภาคม ของไทย) เป็นการสรงน้าพระธาตุดอยพญากวางคาประจาปีทุกปี สาระสาคัญ การนานักเรียนเข้าวัดเพื่อเรียนรู้และอนุรักษ์เกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น (ประเพณีการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความเป็นมาของของการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา 2. อธิบายขั้นตอนและพิธีการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา 3. อธิบายประวัติความเป็นมาของเนื้อพญากวางคากลายเป็นหิน 4. อธิบายประวัติความเป็นมาของปลาหินเนื้อพญากวางคา 5. อธิบายประวัติความเป็นมาของรอยพระพุทธบาท 6. บอกประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมประเพณีการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา
สาระการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1 ความเป็นมาของของการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา เวลา 1 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 2 ขั้นตอนและพิธีการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา เวลา 1 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมประเพณี การสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา เวลา 1 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 4 แบ่งกลุ่มนักเรียนฝึกให้เป็นมัคคุเทศก์น้อย เวลา 1 ชั่วโมง 4.1 ประวัติความเป็นมาของเนื้อพญากวางคากลายเป็นหิน 4.2 ประวัติความเป็นมาของปลาหินเนื้อพญากวางคา 4.3 ประวัติความเป็นมาของรอยพระพุทธบาท วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1 การเตรียมการของครู (ผู้สอน) 1.1 คณะครูประชุมปรึกษาหารือ และหาข้อมูลเกี่ยวกับประเพณีการสรงน้าพระธาตุ ดอยกวางคา โดยการสัมภาษณ์เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยกวางคา 1.2 จัดทาใบความรู้ / ใบกิจกรรม 1.3 ร่วมกับนักเรียนจัดนิทรรศการเกี่ยวกับประเพณีการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่นักเรียนทา 2.1 ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจากกิจกรรมจริงในงาน 2.2 แบ่งกลุ่มนักเรียนให้เป็นมัคคุเทศก์น้อย ให้ประจาจุดต่าง ๆ 2.2.1 ประวัติความเป็นมาของเนื้อพญากวางคากลายเป็นหิน 2.2.2 ประวัติความเป็นมาของปลาหินเนื้อพญากวางคา 2.2.3 ประวัติความเป็นมาของรอยพระพุทธบาท 2.3 ให้นักเรียนทาใบกิจกรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบความเป็นมาของของการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา 2. ได้ทราบขั้นตอนและพิธีการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา 3. บอกประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมประเพณีการสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา 4. ได้ทราบประวัติการสร้างพระธาตุดอยกวางคา 5. ได้ทราบประวัติความเป็นมาของเนื้อพญากวางคากลายเป็นหิน 6. ได้ทราบประวัติความเป็นมาของปลาหินเนื้อพญากวางคา 7. ได้ทราบประวัติความเป็นมาของรอยพระพุทธบาท
ผลการจัดกิจกรรม โรงเรียน บ้าน วัด ชุมชน (ครู – ผู้ปกครอง – ชาวบ้าน – พระ - นักเรียน) ได้เห็น ความสาคัญของงานประเพณีสรงน้าพระธาตุดอยกวางคา และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ข้อสังเกตเพื่อการแก้ไขปรับปรุง - ทางชุมชน ทางวัดรวมถึงทางโรงเรียนควรจัดผู้รู้ที่แท้จริงมาบรรยายให้ความรู้ เพราะบางอย่างไม่สามารถทราบความเป็นมาหรือความหมายที่แท้จริงได้ ...............................................................
โครงการส่งเสริมอาชีพในชุมชน (กิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า)
โครงการส่งเสริมอาชีพในชุมชน (กิจกรรมเลี้ยงไก่พื้นเมือง)
โครงการส่งเสริมอาชีพในชุมชน (กิจกรรมตัดผมเสริมสวย)
โครงการส่งเสริมอาชีพในชุมชน (กิจกรรมการแปรรูปอาหาร)
โครงการเกษตรอินทรีย์เพื่อชีวีที่ดีกว่า
โครงการเกษตรอินทรีย์เพื่อชีวีที่ดีกว่า
โครงการส่งเสริมการออกกาลังกาย (กิจกรรมไม้เท้าเพื่อสุขภาพ)
โครงการส่งเสริมการออกกาลังกาย (กิจกรรมแอโรบิค)
โครงการส่งเสริมการออกกาลังกาย (กิจกรรมคีตมวยไทย)
โครงการส่งเสริ งเสริมการออกกาลังกาย (กิจกรรมคีตมวยไทย)
โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (กิจกรรมวัดของเราหมูบ่ ้านของเรา)
โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (กิจกรรมธรรมทัศนศึกษา)
โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (กิจกรรมคนดีศรีโป่งแดง)
โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (กิจกรรมประวัติความเป็นมาของตนเอง)
โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม (กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม)
โครงการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีของชนเผ่า (กิจกรรมฟ้อนเจิงกะเหรี่ยง)
โครงการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีของชนเผ่า (กิจกรรมการแต่งงาน)
กิจกรรมลดต้นทุนในครัวเรือนด้วยสมุนไพรใกล้ตัว (การท้าน้้ายาล้างจาน)
กิจกรรมสะอาดกายเจริญวัยสะอาดใจเจริญสุข
กิจกรรมชุมชนน่าอยู่ ปราศจากโรคภัยห่างไกลยาเสพติด
กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ การลดสารพิษในร่างกายของคนในชุมชน