ถอดบทเรียนแหล่งเรียนรู้บ้านปู่ทวดครูสิงห์ จังหวัดมหาสารคาม ปศท.๒

Page 1

แหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษาสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย

คณะทาวิจัย โครงการแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนจัดการศึกษานํารํองสัมมาอาชีพด๎วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย

หนังสือถอดบทเรียนในชุดโครงการนํารํองการจัดการศึกษาแบบมีสํวนรํวมขององค๑กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2 ) โดยการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนสร๎างเสริมสุขภาพ(สสส.) และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย๑รํวมกับแหลํงเรียนรู๎ชุมชนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช

วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554


คานา การถอดบทเรียนของโครงการเกิดจากการสังเคราะห๑กระบวนการจัดกิจกรรมของโครงการแหลํง เรียนรู๎ของชุมชน จัดการศึกษานํารํองสัมมาอาชีพด๎วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนไทย ได๎รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร๎างเสริมสุขภาพ(สสส)มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย๑ คณะทีมวิจัยได๎สังเคราะห๑จากการพูดคุยไมํเป็นทางการและการจัดกิจกรรมถอดบทเรียนรํวมกันวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554 ซึ่งเป็นกิจกรรม วันปีใหมํเนื่องจากสมาชิกในโครงการต๎ องใช๎เวลาชํวงกลางคืนมารํวม ประชุม และทํา กิจกรรมได๎ส ะดวก คณะทีมวิจัย ขอขอบคุณสมาชิก โครงการมีเด็ก เยาวชน ผู๎ปกครอง ครู จิ ต อาสา ปราชญ๑ ช าวบ๎ า น วิ ท ยากรภายนอกและขอขอบพระคุ ณ ที ม ประสานงานโครงการภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ อาจารย๑ ดร.พิณสุดา สิรินธรังศรี รองศาสตราจารย๑ ดร.อุทัย บุญประเสริฐ อาจารย๑ บุญจันทร๑ บัวหุํง ได๎ให๎ข๎อเสนอแนะทําให๎โครงการนี้สําเร็จตามวัตถุประสงค๑ หวังวํากิจกรรมการเรียนรู๎ เรื่องสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่นคงเป็นประโยชน๑กับผู๎ที่สนใจ ที่ต๎องการปฏิรูปการศึกษาของ สัง คมไทยให๎เป็ นสัง คมแหํง การเรีย นรู๎ตลอดชีวิต คงนําไปปรับใช๎ตํอตนเอง ครอบครัวและชุมชนได๎ ขยายผลไปทั่วทุก ๆ ภาคของสังคมไทย

คณะผู๎วิจัยโครงการ ประสุพสุข ฤทธิเดช นภัทสร แกํนแก๎ว ธนาพัฒน๑ เที่ยงภักดิ์


สารบัญ เนื้อหา แหลํงเรียนรู๎ของชุมชนจัดการศึกษาสัมมาอาชีพด๎วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนไทย การเป็นองค๑กรเครือขํายรํวมกับโครงการ ปศท.2 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย๑ การวิเคราะห๑บริบทแหลํงเรียนรู๎ของชุมชน ประวัติศาสตร๑ชุมชน แหลํงเรียนรู๎บ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช แนวคิดประวัติศาสตร๑ชุมชนจัดการศึกษาสัมมาอาชีพ การเรียนรู๎สัมมาอาชีพและประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่น การเลี้ยงไกํ – ปลา เศรษฐกิจชุมชน ดนตรีพื้นบ๎านโปงลางประยุกต๑ปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช ถํานชีวภาพลดภาวะโลกร๎อน สมุนไพรอาหารเพื่อสุขภาพ ประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่นสายใยรักชุมชน ข๎อค๎นพบแหลํงเรียนรู๎ชุมชน จัดการศึกษาสัมมาอาชีพด๎วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนไทย การใช๎ประโยชน๑จากผลการวิจัย ความประทับใจของสมาชิกในโครงการ อุปสรรคและปัญหาในการดําเนินโครงการ สรุป อ๎างอิง

หน้า

ภาคผนวก ก ทะเบียนเด็กและเยาวชนในฐานการเรียนรู๎ 5 กิจกรรม ข องค๑กรเครือขํายที่รํวมทํางานกับโครงการ ค ครูจิตอาสา ง เกียรติบัตรเยาวชนและคุณลักษณะที่พึงประสงค๑ จ การประเมินผลจากบุคคลที่มาศึกษาดูงาน ฉ ภาพประกอบกิจกรรมการเรียนรู๎

54 55 62 63 67 73 82

1 1 3 4 5 7 8 9 11 13 23 39 43 45 52 52 53


แหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษาสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย ประสพสุข ฤทธิเดช1 นภัทสร แกํนแก๎ว2 ธนาพัฒน๑ เที่ยงภักดิ์3 ชัยชนะ แดงทองคํา4 การถอดบทเรียนของโครงการเกิดจากการสังเคราะห๑กระบวนการจัดกิจกรรมของโครงการแหลํง เรียนรู๎ของชุมชนจัดการศึกษานํารํองสัมมาอาชีพด๎วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน ไทยได๎รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร๎างเสริมสุขภาพ (สสส.) มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย๑ในโครงการนํารํองการจัดการศึกษาแบบมีสํวนรํวมขององค๑กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) รํวมมือกับแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช ได๎ขอรับการสนับสนุน เข๎ารํวมเป็นเครือขําย เพื่อดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ 5 กิจกรรมประกอบด๎วย (1) ไกํ – ปลา เศรษฐกิจ ชุมชน (2) สมุนไพรอาหารเพื่อสุขภาพ (3) ถํานชีวภาพลดภาวะโลกร๎อน (4) ดนตรีโปงลางประยุกต๑ปู่ทวด ครูสิงห๑ ฤทธิเดช และ (5) ประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่นสายใยรักชุมชน การจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ 5 กิจกรรม ได๎ดําเนินงานของโครงการประเด็นที่ศึกษาปรากฏรายละเอียด การเป็นองค์กรเครือข่ายร่วมกับโครงการ ปศท.2 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ การจัดการศึกษานํารํองเรื่องสัมมาอาชีพที่ได๎ดําเนินกิจกรรมของโครงการ เกิดจากสํานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร๎างเสริมสุขภาพ (สสส.) รํวมกับศูนย๑วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษาวิทยาลัยครุ ศาสตร๑มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตได๎นําเสนอโครงการ “นํารํองการจัดการศึกษาแบบมีสํวนรํวมขององค๑กร ในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย ได๎นําแนวทาง “รํวมสร๎างประเทศไทยให๎นําอยูํ “ที่มีศาสตราจารย๑นายแพทย๑ ประเวศ วะสี เป็นประธาน มีการศึกษาประเด็นสําคัญที่พิจารณาวําจะสํงผลตํอการรํวมสร๎างประเทศไทยให๎ นําอยูํ จํานวน ๑๐ เรื่อง ได๎แกํ (๑)การสร๎างจิตสํานึกใหมํ (๒) การสร๎างสัมมาอาชีพเต็มพื้นที่ (๓)การสร๎าง ความเข๎มแข็งของชุมชนท๎องถิน่ (๔)การสร๎างธรรมาภิบาลในทางการเมือง การปกครองระบอบความยุติธรรม และสันติภาพ (๕)การสร๎างระบบสวัสดิการสังคม (๖)การสร๎างสมดุลของสิ่งแวดล๎อมและพลังงาน (๗) การสร๎างระบบสุขภาพเพื่อสุขภาวะของคนทั้งมวล (๘)การสร๎างสมรรถนะในการวิจัยและยุทธศาสตร๑ (๙) การสร๎างระบบการสื่อสาร ที่ผสานการสร๎างสรรค๑ทั้งมวล และ (๑๐) การสร๎างระบบการศึกษาที่พาชาติออก จากวิกฤติ 1. หัวหน๎าโครงการแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนจัดการศึกษานํารํองสัมมาอาชีพด๎วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย 2. ผู๎อํานวยการแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช 3. ครูจิตอาสาในโครงการแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช 4. เครือขํายสื่อท๎องถิ่นที่เข๎ารํวมในโครงการแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช


การสร๎ า งระบบการศึ ก ษาที่ พ าชาติ อ อกจากวิ ก ฤติ ดั ง กลํ า ว สสส. ได๎ ม อบหมายให๎ ร อง ศาสตราจารย๑ ดร.วรากรณ๑ สามโกเศศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตและคณะดําเนินการศึกษา ทางเลือก ระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทยแล๎วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ข๎อเสนอดังกลําว มี ประเด็นสําคัญระบบการศึกษามีการสร๎างความเข๎มแข็งที่ฐานราก ที่จําเป็นต๎องเข๎ามามีสํวนรํวมในการจัด การศึกษา โดยให๎ความสําคัญกับครอบครัวชุมชน ท๎องถิ่น สถาบันศาสนา เอกชนและองค๑กรเอกชน องค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น และองค๑กรอื่นของประชาชนมีการสร๎างชุมชนให๎เป็นชุมชนแหํงการเรียนรู๎ จากจุดเน๎นข๎อเสนอของโครงการนํารํองการจัดการศึกษาแบบมีสํวนรํวมขององค๑กรในชุมชนเพื่อ สุขภาวะคนไทย” ที่ได๎กลําวมามีแนวทางการให๎โอกาสมีเครือขํายการดําเนินงานโครงการการจัดการศึกษา เกิดขึ้นจากองค๑กร หลายๆองค๑กร ได๎เข๎ามามีบทบาททํางานรํวมกัน ทําให๎ แหลํงเรียนรู๎ของชุมชน “บ๎าน หลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช” ตั้งอยูํที่บ๎านเลขที่ ๑ บ๎านกุดแคน หมูํที่ ๖ ตําบลหนองโน อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ที่ได๎ดําเนินโครงการตั้งแตํปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยการดําเนิน โครงการเกิดจากองค๑กรเอกชนตระกูลฤทธิเดช มีบุตรและธิดาของปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช ได๎สืบสาน อุดมการณ๑ของบิ ดาสร๎างแหลํง เรียนรู๎แหํงนี้ เพื่อบริการด๎านการศึกษาตามอัธยาศัย ให๎กับกลุํมเด็กและ เยาวชนที่สนใจจะเข๎ามาเป็นสมาชิกโครงการ ผลการดําเนินกิจกรรมของโครงการที่ผํานมา ได๎จัดการศึกษาแบบทางเลือก ด๎วยวิชาสามัญ ได๎แกํ คณิตศาสตร๑ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษบูรณาการกับความสนใจของเด็กและเยาวชนเป็นตัวตั้ง ได๎เรียนรู๎ แบบพึ่งตนเอง เพื่อนชํวยเพื่อน พี่ชํวยสอน ครูจิตอาสาให๎คําแนะนําปรึกษา และครู พํ อแมํ เติมเต็มชํวย สอนที่บ๎าน นอกจากนี้เด็กและเยาวชนได๎เรียนรู๎สุขภาวะอนามัย เชํน การป้องกันโรคเอดส๑ เพศศึกษาและ การป้องกันสิ่งเสพติด และเด็กเยาวชนได๎เรียนรู๎ทักษะทางสังคมตามมุมกิจกรรมที่จัดไว๎ เชํน มุมวาดภาพ ศิลปะ อํานหนังสือ ทําการบ๎าน การละเลํนพื้ นบ๎าน การปลูกพืชผักสวนครัว ฯลฯ ซึ่งกิจกรรมเหลํานี้เด็ก และเยาวชนเรียนรู๎รํวมกัน ชํวยเหลือแบบพี่และน๎อง ทําให๎ผลที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู๎แบบทางเลือกตาม อั ธ ยาศั ย สํ ง ผลให๎ เ ด็ ก และเยาวชนในแหลํ ง เรี ย นรู๎ ข องชุ ม ชนปู่ ท วดครู สิ ง ห๑ มี สุ ข ภาวะทางกาย จิ ต ใจ สติปัญญาและทางสังคมด๎วยรูปแบบรํวมคิด รํวมทํา รํวมแบํงปันและรํวมแก๎ไขปัญหา และรํวมชื่นชม ผลงานเกิดการเรียนรู๎แบบเครือญาติในชุมชน เป็นพี่น๎องที่ใช๎ประโยชน๑และรักษาแหลํงเรียนรู๎รํวมกันให๎ ยั่งยืน จากสภาพจริงที่แหลํงเรียนรู๎ของชุมชนแหํงนี้ได๎จัดกิจกรรมในชํวงเวลาปี พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ พบวําการจัดการศึกษาในรายวิชาพื้นฐานเป็นแกนหลัก แล๎วบูรณาการกับสาระวิชาทักษะทางสังคมและ


ทักษะทางชีวิตให๎กับเด็กและเยาวชน อยํางไรก็ตามการดําเนินงานโครงการเพื่อให๎บรรลุตามเจตนารมณ๑ ขององค๑กรให๎มีความตํอเนื่องของโครงการด๎วยกระบวนการของคนในชุมชนเข๎า มาชํวยเหลือพัฒนา มี ลําดับขั้นการดําเนินการเพื่อเป็นเครือขํายกับองค๑กรภายนอกชุมชน ดังนี้ การวิเคราะห์บริบทแหล่งเรียนรู้ของชุมชน การวิเคราะห๑บริบทแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนใช๎วิธีการสํารวจความต๎องการของคนในชุมชน เพื่อ พัฒนาแหลํงเรียนรู๎ปู่ทวดครูสิงห๑ มีการวิเคราะห๑จุดแข็งและจุดอํอนของโครงการแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนปู่ ทวดครู สิ ง ห๑ ฤทธิ เดช เมื่ อวั น ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได๎ ประชุ มสมาชิ ก โครงการจํ า นวน ๕๐ ครอบครัว มีเยาวชนเข๎ารํวม ๓๒ คน ผู๎ปกครอง ๒๗ คน สมาชิกไมํเข๎ารํวมโครงการครบเพราะเด็กและ เยาวชนรํวมกับผู๎ปกครองบางครอบครัวอพยพย๎ายถิ่นชํวงหลังฤดูทํานาไปรับจ๎างตัดอ๎อยที่จังหวัด กาญจนบุรี คณะผู๎รับผิดชอบโครงการได๎มีประเด็นข๎อสรุปผลการดําเนินงานของโครงการ มีจุดแข็งและจุดอํอนที่จะ เป็นอุปสรรค ปัญหา และต๎องการทํา กิจกรรมอะไรเสริมให๎เด็กและเยาวชนได๎เรีย นรู๎รํวมกั นกับเพื่ อน ผู๎ปกครอง ผู๎ที่สนใจ พบวํา จุดแข็งของโครงการเกิดจากสมาชิกได๎มาใช๎บริการศึกษาเรื่องตําง ๆ ที่ตนเอง สนใจจากสื่ออุปกรณ๑หนังสือเรียน หนังสือพิมพ๑ สารคดี อาชีพ และ มุมกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ และ การจัดการเรียนรู๎เพิ่มเติมในวิชาสามัญมีภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร๑ เป็นการเรียนรู๎ตามศักยภาพ ของเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาวิชาใด มีวิธีการศึกษาตามกลุํมเพื่อนชํวยเพื่อน และมีครูจิตอาสาเป็นที่ปรึกษา แนะนํา รํวมกับครูพํอ-แมํ ชํวยเติมเต็มความรู๎ให๎ลูก ๆ ของตนเอง กิจกรรมการสํงเสริมการจัดการศึกษาแบบมวลชนตามอัธยาศัยสํงผลให๎ กลุํมเด็กและเยาวชนที่ เป็นกลุํมด๎อยโอกาส ผลการเรียนอํอน อํานหนังสือไมํคลํอง เขียนหนังสือไมํถูกต๎อง พูดสื่อสารไมํกล๎า แสดงออก ได๎เปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเชิงบวก เพราะเด็กที่เข๎ารํวมโครงการแหํงนี้ปัจจุบันกล๎าคิดกล๎าพูด อําน หนังสือคลํอง เขียนหนังสือได๎ถูกต๎องเป็นเยาวชนแกนนําของชุมชน พํอแมํภูมิใจมีความสุข ไมํกังวล เรื่อง ลูก ๆ

จะไปเที่ย วเตรํ ถ๎า มารวมกลุํมกั นในแหลํงเรียนรู๎ชุมชนปู่ทวดครูสิงห๑ จะปลอดภัย สบายใจ

ผู๎ปกครองไมํกังวล (สุนันทา รังวัดสา. การประชุมสรุปผลการดําเนินงานโครงการ.๒ เมษายน ๒๕๕๔) จุดอํอนมีข๎อจํากัดของโครงการคือผู๎ปกครองรํวมกับเด็กและเยาวชนมีความสนใจต๎องการเรียนรู๎ เรื่องสัมมาอาชีพ และเรียนรู๎เรื่องประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่นของตนเองวํามีคลังความรู๎ดี ๆ อะไร ที่ยังคงอยูํและ สูญหายไปแล๎วฟื้นฟูขึ้นมา เพื่อเด็กและเยาวชนกับผู๎เฒําผู๎แกํจะได๎เรียนรู๎รํวมกันมีความใกล๎ชิดกับผู๎เฒําผู๎แกํ ในชุมชนมากยิ่งขึ้นที่สําคัญจะเป็นการปลูกฝังให๎เด็กและเยาวชนได๎ภูมิใจรักในถิ่นฐานบ๎านเกิดตนเอง และ


เรื่องการเรียนรู๎สัมมาอาชีพ กลุํมเด็กและเยาวชนต๎องการมีรายได๎เสริมให๎ครอบครัวโดยการทํากิจกรรมใน รูปกลุํมสนใจจากฐานการเรียนรู๎เพิ่มเติมจากวิชาสามัญ เป็นวิชาเสริมทักษะการอาชีพ และขอใช๎พื้นที่แหลํง เรียนรู๎ของชุมชน ทําเป็นกิจกรรมสาธิตต๎นแบบให๎ผู๎ปกครองและปราชญ๑ชุมชนได๎ถํายทอดองค๑ความรู๎รํวมกับ นักวิชาการ โดยทํากิจกรรมสัมมาอาชีพได๎แกํ (๑) ดนตรีพื้นบ๎านโปงลางประยุกต๑ปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช (๒) ถํา นชีวภาพลดภาวะโลกร๎อน (๓) สมุนไพรเพื่ อสุขภาพ (๔) ไกํและปลาเศรษฐกิ จชุมชน (๕) ประวั ติ ศ าสตร๑ ท๎ อ งถิ่ น สื่ อ สายใยรั ก ในชุ ม ชน (ถนอม เศษภั ก ดี . การประชุ ม สรุ ป ผลการดํ า เนิ น งาน โครงการ. ๒ เมษายน ๒๕๕๔) ผลของการจัดประชุมเพื่อแสดงความคิดเห็นรํวมกันของคณะผู๎รับผิดชอบโครงการรํวมกับองค๑กร ในชุ ม ชนบ๎ านกุดแคนมีกลุํมผู๎ปกครอง เด็กและเยาวชน ผู๎ นําชุมชน ผู๎นําศาสนา ปราชญ๑ครู ภูมิปัญญา ท๎องถิ่นมีความสนใจจะจัดการศึกษาแบบทางเลือก เรื่องสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร๑ ท๎องถิ่นตนเอง ซึ่ง เป็นการศึกษาจากความสนใจของคนในชุมชนเป็นตัวตั้งโดยมีจุดมุํงหมายเพื่อให๎ทุกคนได๎รับความรู๎ ทักษะ อาชีพ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม เป็นรูปแบบการศึกษาระบบเปิด เพราะแหลํง เรียนรู๎ของชุมชนแหํงนี้จัด การศึกษาทั้งในระบบการศึกษาเสริมวิชาสามัญพื้นฐาน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร๑ การศึกษานอก ระบบตามศักยภาพของผู๎เรียนสนใจจะใช๎บริการและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยคนในชุมชนจะไปศึกษา เรื่องราวหลายๆประเด็นด๎วยตนเองได๎ตลอดชีวิต เพราะเป็นศูนย๑การเรียนรู๎ของชุมชนไมํมีมิติเวลากํากับ สอนเนื้อหาใครใครํเรียนรู๎ฝึกฝนใฝ่เรียนเกิดจากความสนใจของตนเอง ไมํมีผลสัมฤทธิ์เป็นตัวเลขกํากับ จัดลําดับความรู๎ แตํวัดคุณคําของความเป็นมนุษย๑ ด๎วยคุณลักษณะที่พึงประสงค๑คุณธรรมพื้นฐาน คือ ซื่อสัตย๑ ประหยัด ขยัน รักความสะอาด อดทน มีวินัยและมีจิตอาสาเกิดจากการใช๎แหลํงเรียนรู๎ของชุมชนรํวมกัน ประวัติศาสตร์ชุมชน “แหล่งเรียนรู้บ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช” การสร๎างแหลํงเรียนรู๎ชุมชน ปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช มีจุดมุํงหมายเพื่อ(1) สืบสานอุดมการณ๑ของ พํอที่ต๎องการสร๎างโรงเรียนให๎ชุมชนบ๎านกุดแคนเข๎ามาใช๎บริการ การศึกษาหาความรู๎โดยไมํเสียคําใช๎จําย ซึ่งเจตนารมณ๑ของพํอมีความต๎องการ “ คืนความรู้ สู่ชุมชน ” เนื่องจากลูก ๆ ของพํอได๎ประกอบอาชีพตาม สาขาวิชาที่ได๎เลําเรียนควรใช๎ความรู๎พัฒนาบ๎านเกิดของตนเอง อยํางไรก็ตามเจตนารมณ๑ของพํอไมํได๎สร๎าง โรงเรียนให๎ดังที่ตั้งใจไว๎ให๎ เพราะพํอได๎ถึงแกํกรรมเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2551 ด๎วยเหตุผลนี้ทําให๎ลูก ๆ ของ พํอได๎สร๎างแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนเพื่ออุทิศสํวนกุศลให๎พํอได๎มีความสุขและพํอจะได๎ไปสวรรค๑ ตามความ เชื่อของพุทธศาสนา เมื่อลูกได๎ทําบุญสร๎างสิ่งที่พํอต๎องการคือแหลํงเรียนรู๎ชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครู สิงห๑ ฤทธิเดช เรียกชื่อ แหลํงเรียนรู๎ชุมชนจากชื่อของ พํอสิงห๑ ฤทธิเดช และจุดมุํงหมายข๎อที่ (2) เกิด


จากการใช๎ประโยชน๑ผลงานวิจัยของโครงการติดตามสภาวการณ๑เด็กและเยาวชน(Child Watch) มีอาจารย๑ ดร.อมรวิชช๑ นาครทรรพ ผู๎อํานวยการสถาบันรามจิตติเป็นหัวหน๎าชุดโครงการได๎รํวมมือกับคณะครุศาสตร๑ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเป็นเครือขํายรับผิดชอบโครงการติดตามสภาวการณ๑เด็กและเยาวชนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ผู๎รับผิดชอบโครงการอาจารย๑ ดร.สมบัติ ฤทธิเดชและผู๎เขียนเป็นคณะผู๎รํวมวิจัยใน โครงการ ผลการวิจัยได๎ให๎ข๎อเสนอเชิงนโยบายตํอรัฐบาลเรื่องการพัฒนาเด็กและเยาวชนต๎องพัฒนาด๎วย 4 เสาหลักคือ (1) การศึกษาคุณภาพ (2)พื้นที่คุณภาพ (3)สื่อคุณภาพและ (4)ครอบครัวคุณภาพ ด๎วยข๎อค๎นพบ ของผลงานวิจัยดังกลําวมา ทําให๎คณะทํางานใช๎ข๎อค๎นพบไปใช๎ประโยชน๑พัฒนาเด็กและเยาวชนใช๎เวลาวําง หลังเลิกเรียนให๎เกิดประโยชน๑โดยจัดทําโครงการบ๎านหลังเรียนสายใยรักครอบครัว ที่ศูนย๑การศึกษานอก โรงเรียน อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยใช๎รูปแบบ 4 เสาหลักสร๎างพื้นที่คุณภาพให๎เกิ ดขึ้นด๎วยกิจกรรม หลาย ๆอยํางเชํน มุมสืบค๎นข๎อมูล มุมรอผู๎ปกครอง อํานหนังสือ ทําการบ๎าน ฟังเพลง ผู๎เฒําผู๎แกํเลํานิทานให๎ หลาน ๆฟัง

ผลของการดําเนินงานโครงการบ๎านหลังเรียนที่ศูนย๑การศึกษานอกโรงเรียน อําเภอเมือง

จังหวัดเลย ประสบผลสําเร็จได๎ดําเนินงานอยํางตํอเนื่องขยายผลของโครงการไปสูํองค๑กรการปกครองสํวน ท๎ องถิ่นมี โรงเรีย นเทศบาลได๎ข ยายผลไปจัดกิ จกรรมเปลี่ย นชื่อโครงการ “ เป็นโรงเรีย นนําอยูํ ”ทําให๎ คณะทํางานได๎แนวคิดจากการทําโครงการบ๎านหลังเรียนนํามาใช๎ประโยชน๑สร๎างแหลํงเรียนรู๎ชุมชนบ๎าน หลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช โดยใช๎กระบวนการทํางานแบบมีเครือขํายเข๎ารํวมโครงการเป็นภาคีการ ทํางานรํวมกัน ด๎วยความสมัครใจ เพื่อให๎แหลํงเรียนรู๎ชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ได๎ทํางานอยําง ตํอเนื่องเกิดการขยายผลไปสูํชุมชนอื่น ๆ แนวคิดประวัติศาสตร์ชุมชนจัดการศึกษาสัมมาอาชีพ โครงการแหลํงเรียนรู๎ของชุมชน จัดการศึกษานํารํองสัมมาอาชีพด๎วยบริบทจริงในชุมชนเพื่อสุข ภาวะของเด็กและเยาวชนไทย เป็นการจัดการศึกษาเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนทั้งเด็กเยาวชน กลุํม เสี่ยงมีพฤติกรรมไมํรักการเรียนโดดเรียน หนีเรียน ผลการเรียนต่ํา และเด็ก เยาวชน กลุํมสร๎างสรรค๑มี พฤติกรรมรักการเรียน มีศักยภาพในตนเอง เชํนชอบดนตรี กีฬา ศิลปะ เข๎ามารํวมโครงการได๎ให๎โอกาส ได๎เรี ย นรู๎ โดยยึ ดผู๎เ รีย นเป็ นตั วตั้ง ด๎วยแนวคิ ดเด็ ก นําผู๎ ใ หญํห นุน โดยการมี สํวนรํ วมและบูรณาการ ทรัพยากรท๎องถิ่นรํวมกันบนฐานของการกระจายอํานาจโดยใช๎ชุมชนเป็นตัวตั้ง ให๎เกิดความเข๎มแข็งจากฐาน รากด๎วยความรํวมมือขององค๑ กรในชุ มชน ทั้งรํวมคิด รํวมวางแผน รํ วมตัดสินใจ รํวมดําเนินการ รํวม รับผิดชอบ รํวมติดตามประเมินผล รํวมแก๎ไขปัญหาและรํวมชื่นชมที่จะให๎อิสระ ยืดหยุํนและความคลํองตัว


กับสมาชิกในโครงการบนความหลากหลายขององค๑กรในชุมชนเข๎ามาชํวยหนุนเสริมการจัดการศึกษาโดย ใช๎แหลํงเรียนรู๎ของชุมชนเป็นองค๑กรกลางจัดการการศึกษาระบบเปิด ดังภาพกรอบแนวคิด แนวคิดแหล่งเรียนรู้ของชุมชนนาร่องจัดการศึกษาสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริง ในชุมชนเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน แหล่งเรียนรู้ของชุมชน

การศึกษานาร่อง

ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช

สัมมาอาชีพ

การกระจายอานาจ

สุขภาวะของเด็กและ

องค์กรในชุมชน

เยาวชนไทย

แผนภาพแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนนํารํองจัดการศึกษาสัมมาอาชีพด๎วยบริบทจริง ในชุมชนเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน องค๑กรในชุมชนตามกรอบแนวคิดจะประกอบด๎วย องค๑กรครอบครัว องค๑กรกลุํมสตรีแมํบ๎าน กลุํมเด็กและเยาวชน ศาสนาสถานวัด โรงเรียน สถานีอนามัย องค๑การบริหารสํวนตําบล และองค๑กรอื่น ของประชาชนในบ๎ านกุ ดแคน ซึ่ง ทุ ก องค๑ก รมีสิทธิและอิส ระในการจัดการศึก ษาที่เชื่อมโยงกั น ได๎ทั้ง การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู๎ตลอดชีวิตให๎ผู๎เรียนมี เด็ก เยาวชน ผู๎ปกครอง ผู๎ที่สนใจ ครูจิตอาสา ประชาชนได๎เรียนรู๎อยํางมีความสุขเต็มตามศักยภาพ รู๎ท๎องถิ่น รู๎รากเหง๎า รู๎ศาสนา รู๎ประวัติศาสตร๑ รู๎วิชาสามัญ รู๎วิชาชีพ รู๎รักษาสุขภาพ รู๎เทําทันโลก เป็นพลเมือง พล โลกที่ดี มีสัมมาอาชีพ มีความรู๎ มีคุณธรรมสร๎างสันติสุข นําชุมชนไปสูํความสงบสุข เกิดสุขภาวะของ จิตใจ รํางกายสติปัญญาสังคม อารมณ๑ได๎อยํางยั่งยืน ดังแผนภาพ


ชุมชน และสังคม สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน

อบต.

บ้าน

ทุกภาคส่วน

ผู้เรียน พ่อแม่

สถานี อนามัย

ครู

เด็ก และเยาวชน - - เด็ และเยาวชน - ประชาชน - กลุ- ํมประชาชน สตรี แมํบ๎าน พระ - ผู๎ป- กครอง กลุ่มสตรี ครูจิตอาสา ผู้น- าศาสนา ผู้ปกครอง แม่บ้าน

โรง เรียน

วัด

แผนภาพชุมชน และสังคม สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนรู้สัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น สืบเนื่องจากโครงการนี้เป็นโครงการตํอเนื่องที่ได๎เข๎ารํวมโครงการกับ ปศท.2 มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย๑ ทําให๎การทํางานตํอยอดชุดกิจกรรมที่ทําตามปกติในแหลํงเรียนรู๎ชุมชนได๎ขยายผลไปสูํครัวเรือน โดยจัดกิจกรรมสํงเสริมทักษะอาชีพให๎สมาชิกโครงการได๎มีอาชีพเสริมหลังจากการทํานาปลูกกข๎าวเป็น อาชีพหลัก ได๎ทําอาชีพเลี้ยงไกํ เลี้ยงปลา ปลูกพืชผักสมุนไพร ฝึกซ๎อมดนตรีพื้นบ๎านโปงลาง ทําเตาถําน ชีวภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู๎ประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่นกับผู๎เฒําผู๎แกํในชุมชน โดยมีกติการํวมกัน ต๎องได๎ฝึก ปฏิบัติจริงระหวํางพํอ-แมํ กับลูกของตนเอง ผลที่เกิดขึ้นได๎ชุดความรู๎บทเรียนของชาวบ๎านโดยใช๎ วิธีการ ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ หลากหลายแบบยืดหยุํนโดยผู๎เรียนเป็นตัวตั้ง มีครูจิตอาสาเป็นผู๎ดําเนิน กิจกรรมรํวมกับผู๎ปกครอง ใช๎วิธีสอนแบบเพื่อนสอนเพื่อน พี่สอนน๎อง ครูพํอ – แมํสอนลูก และครูภูมิ ปัญญาในชุมชน ครูวิทยากรจากภายนอก เรียนรู๎แตํละฐานกิจกรรมจะมีผลงานรํวมกัน ใช๎ชํวงอายุเป็น ตัวกําหนดชิ้นงานตามกระบวนการเรียนรู๎ 5 ขั้นตอนได๎แกํ 1. ข๎องใจ กําหนดหัวข๎อ 2. หมายคําตอบ ตั้งสมมุติฐาน 3. สอบสวน เก็บรวบรวมข๎อมูล 4. ครวญใครํ วิเคราะห๑ข๎อมูล 5. ไขความจริง สรุปผลการเรียนรู๎ในแตํละฐานการเรียนรู๎และการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู๎


- เน๎นการฝึกปฏิบัติจริง - การเขียนสื่อความหมายจากการปฏิบัติ - การสรุปกิจกรรมการเรียนรู๎ ด๎วยกลุํมความรํวมมือของเด็กและเยาวชนรํวมกับผู๎ปกครอง ครูวิทยากร และครูภูมิปัญญา รํวมกับครูจิต อาสาพูดเลําเรื่องราวและเขียนบันทึกความรู๎เป็นการถอดบทเรียนหลักสูตรของชาวบ๎านกุดแคนโดยการมี สํวนรํวมของคนในชุมชน และคนภายนอกชุมชนเข๎ามาหนุนเสริม การเรียนรู๎ในแตํละกิจกรรมมี ข๎อค๎นพบดังนี้ การเลี้ยงไก่ – ปลา เศรษฐกิจชุมชน ความรู๎ที่ได๎รับจากการเรียนรู๎เรื่องไกํ-ปลา พบวํา กลุํมแกนนําของผู๎ปกครองที่เข๎ารํวมโครงการด๎วย ความสมัครใจได๎เขียนเลําเรื่องและพูดคุยถอดบทเรียนรํวมกันในวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554 และวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2555 ได๎เคล็ดลับการเลี้ยงไกํประสบผลสําเร็จ คือ 1) เลี้ ย งไกํ แบบธรรมชาติ ให๎ อาหารไกํ แบบไมํต๎ องซื้ อ หั วอาหารสํ าเร็จ รูป โดยให๎ ข๎า วเปลื อ ก ข๎าวสารพืชผักสีเขียว เลี้ยงแบบปลํอยตามธรรมชาติไมํใสํกรง ไกํจะออกไขํเป็นระยะ ครอบครัวได๎มีไขํกิน ตลอดไมํได๎ซื้อขาย 2) เลี้ย งไกํ แบบวิ ช าการโดยเลี้ ย งขัง กรงตาขํา ย เปิ ดไฟฟ้ า ทํา ความสะอาดรางน้ํา เปิด วิท ยุ ใ ห๎ เสียงเพลงเบา ๆ ไกํกินอาหารสําเร็จรูปผสมรําข๎าว ปลายข๎าว ข๎าวเปลือก มีน้ําให๎ไกํกินได๎ตลอดเวลา ให๎ไกํ กินแตงกวา แตงล๎าน พืชผักสีเขียว การเลี้ยงไกํแบบนี้ไกํไขํทุกวันเลี้ยงไกํ 10 ตัว จะออกไขํประมาณ 7-9 ฟอง ครัวเรือนมีไขํได๎กินในครอบครัวและได๎ขาย 3) เลี้ยงไกํแบบบูรณาการคือ เลี้ยงแบบวิธีธรรมชาติ ผสมผสานกับวิธีวิชาการให๎กินอาหารสูตร 324 สําหรับไกํพันธุ๑ไขํ ผสมข๎าวเปลือก ข๎าวสาร รําข๎าวหรือปลายข๎าว ไกํกินพืชผักสีเขียวกินเศษอาหาร ไมํขังกรงตาขําย ทําเล๎าไกํให๎และขยายพันธุ๑กักบริเวณทําตาขํายเป็นที่เลี้ ยงไกํโดยเฉพาะ ไกํพันธุ๑ไขํ ผสม พันธุ๑กับไกํตัวผู๎พันธุ๑พื้นเมือง เป็นไกํพันธุ๑ไขํแบบลูกผสม ลูกไกํประเภทนี้จะแข็งแรงไมํได๎เลี้ยงเพื่อกินไขํ แตํเลี้ยงไกํเพื่อขายและเป็นอาหารในครัวเรือน มีเกษตรกรขยายพันธุ๑ไขํไกํได๎ในลักษณะนี้หลายคน เชํน นายถนอน เศษภักดี นางคําปั่น ปานโหนํง และนายธนกิต อินทร๑งาม ที่ครั้ง แรกเลี้ยง 10

ตัว แตํ

ขยายพันธุ๑ได๎เกิดลูกไกํจํานวน 20 - 30 ตัว กิจกรรมการเลี้ยงไกํได๎ผลลัพธ๑มีความรู๎เรื่องการเลี้ยงไกํ ได๎กิน ไขํและได๎ขายมีเงินใช๎หมุนเวียนในครอบครัวอยํางสม่ําเสมอ มีความเป็นอยูํที่ ดีขึ้น ไมํต๎องจํายเงินซื้อไขํไกํ ทําให๎ครัวเรือนมีเงินออม และเกษตรกรที่สนใจเลี้ยงไกํได๎ซื้อพันธุ๑ไขํไกํมาเลี้ยงเป็นการขยายผลเกิดขึ้นใน ชุม ชนบ๎ า นกุดแคน และบ๎ า นใกล๎เคี ย ง หลายครัวเรือน เชํน ครัวเรือนของนายธนาพั ฒน๑ เที่ย งภัก ดิ์ นายสุพจน๑ คํายา และนางเพ็ง ชุมแสง


การเลี้ยงปลา การเลี้ยงปลามีเกษตรกรเข๎ารํวมโครงการจํานวนน๎อย เนื่องจากบางคนไมํมีสระน้ําเลี้ยงปลา และ พื้นที่ในครอบครัวมีจํากัดไมํสามารถทําบํอซีเมนต๑เลี้ยงปลา อยํางไรก็ตามมีเกษตรกรแกนนํา นางจันทร๑ ศรีจันทร๑นล อธิบายวิธีเลี้ยงปลาโดยใช๎บํอซีเมนต๑เลี้ยงปลาดุกได๎ผล คือ วิธีให๎อาหารปลา สําเร็จรูปตามขนาดอายุของปลามีอาหารสําเร็จรูปปลาดุกขนาดเล็ก กลางและปลาดุกขนาดใหญํ วิธีการให๎ อาหารจะให๎เวลาเช๎าและเวลาเย็น ปริมาณของอาหารปลาดุก ที่เลี้ยงให๎แตํละครั้งต๎องให๎อาหารสําเร็จรูป จํานวนน๎องเพราะถ๎าให๎อาหารสําเร็จรูปในแตํละวันจํานวนมากปลาดุกจะตายและตัวปลาดุกจะมีผิวหนัง ถลอก เรียกวํา “ปลาป่วย” แตํวิธีการเลี้ยงปลาดุกในสระทุํงนา สมาชิกที่เข๎ารํวมโครงการไมํได๎ซื้ออาหาร สําเร็จจากตลาดใช๎วิธีเลี้ยงปลาแบบธรรมชาติ ให๎ปลาดุกหากินอาหารจากพืชและให๎ปุ๋ยจากมูลวัว – ควาย ใสํลงในสระน้ําเพื่อให๎เกิดลูกน้ํา ปลาดุกจะได๎กินลูกน้ําเป็นอาหาร ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงปลาไมํ ประสบสําเร็จสําหรับเกษตรกรที่เลี้ยงปลาดุกในสระน้ําทุํงนา เพราะ เดือนกันยายน พ.ศ.2554 ฝนตกหนัก มาก ทําให๎น้ําทํวมนา และน้ําคลองชลประทานไหลเข๎าสระน้ําในทุํงนา เรียกวํา เกิดน้ําทํวมในหมูํบ๎าน ใน ทุํงนาปลาที่ในสระหายไปกับสายน้ํา มีปลาเหลือจํานวนน๎อยแตํมีไว๎รับประทานไมํได๎ซื้อขาย ทําให๎คนในชุมชนได๎เรียนรู๎วิธีเลี้ยงปลารํวมกันและขยายผลการเลี้ยงปลาโดยทําบํอซีเมนต๑ในชุมชน บ๎านกุดแคน หลายครัวเรือนโดยใช๎งบประมาณของตนเอง ข๎อค๎นของฐานกิจกรรมการเรียนรู๎เรื่องไกํ – ปลา เศรษฐกิ จชุม ชนได๎ข ยายเครือขํา ยเกิ ดเกษตรกรแกนนําเป็นตัวอยํ างครูภูมิปัญญาเลี้ย งไกํ มีนางดวงพร ชุมแสง นายถนอม เศษภักดี นางคําปั่น ปานโหนํง และเกษตรกรตัวอยํางการเลี้ยงปลาได๎แกํ นางจันทร๑ ศรีจันทร๑นล ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช การทํากิจกรรมฐานการเรียนรู๎นี้ มีวิธีการถํายทอดความรู๎โดยครูภูมิปัญญาได๎แกํ นายธนกิต อินทร๑งาม นายศตวรรษ เศษภักดี เด็กชายลิขิตชัย ธรรมวิชัย และเด็กชายทรงวุฒิ แสงนาเป็นครูผู๎สอนเด็ก และเยาวชนทั้งเพศหญิงและเพศชายโดยความสมัครใจจะเรียนรู๎มีวิธีการสอนแบบตัวตํอตัว ให๎จําโน๏ตแตํละ เพลงมีเพลงลายบายศรีสูํขวัญไทยดํารําพัน ลายโปงลางแตํละเพลงเด็กและเยาวชนใช๎เวลาฝึกซ๎อมในเวลา กลางคืน เนื่องจากครูภูมิปัญญาต๎องใช๎เวลากลางวันไปโรงเรียนและไปทํานา ผลที่เกิดขึ้นการเรียนรู๎เรื่อง ดนตรีทําให๎เด็กและเยาวชนมีกิจกรรมตํอยอดโครงการโดยเขียนเพลงที่เกี่ยวกับสภาพแวดล๎อมในแหลํง เรียนรู๎ของชุมชนได๎หลายเพลงเชํนเพลงบ๎านหลังเรียน เพลงลมเย็นมาแล๎ว เพลงร๎อ นและหนาว เพลงเจ๎า ปลานิลปลาดุก และเด็กเยาวชนได๎รวมตัวกันกํอตั้งเป็นวงดนตรีโปงลางประยุกต๑ปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช ดนตรีพื้นบ๎านโปงลางประยุกต๑ปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช ได๎ทํากิจกรรมรํวมกับชุมชนโดยแสดง ดนตรีพื้นบ๎านตามบุญงานประเพณีชาวอีสาน เชํนงานบุญกฐิน งานบุญเดือนสี่ เดือนสาม ฯลฯ ชาวบ๎านใช๎ ดนตรีโปงลางแหลํงเรียนรู๎ชุมชนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช ไปแหํขบวน ตีกลอง ดีดพิณ เป่าแคน มีความ


สนุกสนานรื่นเริงรํวมกัน เป็นกิจกรรมที่สร๎างสุขรํวมกัน เด็กและเยาวชนที่เป็นผู๎หญิงได๎ฟ้อนรํารํวมขบวน แหํ เป็นการฝึกทัก ษะอาชีพ วงดนตรีโปงลางประยุกต๑ปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช รับ งานแสดงได๎เป็นเงิน ทุนการศึก ษา สํงผลให๎ผู๎ปกครองมีความภูมิใจที่บุตรหลานของตนเองกล๎าแสดงออกและอนุรักษ๑ดนตรี พื้นบ๎านของชุมชนให๎คงอยูํ และเผยแพรํชื่อเสียงให๎กับบ๎านกุดแคน ทําให๎ชุมชนบ๎านกุดแคนเป็นชุมชน พอเพียงและเป็นสุข เพราะไมํจ๎างมหรสพจากหมูํบ๎า นอื่น ๆ มาแสดงในงามประเพณีแตํให๎บุตรหลานของ ตนเอง ทํากิจกรรมงานบุญประเพณี นอกจากนี้ครูภูมิปัญญาท๎องถิ่นดรตรีโปงลางนายธนกิต อินทร๑งาม ได๎รับเชิญเป็นวิทยากรขยายองค๑ความรู๎เรื่องดนตรีพื้นบ๎านให๎กับสถานศึกษา 3 แหํง คือ โรงเรียนบ๎านกุด แคน บ๎านนานกเขียน และโรงเรียนบ๎านโคกสี ให๎ไปสอนนักเรียนได๎เรียนรู๎เรื่องดนตรีจัดตั้งวงดนตรี โปงลางเกิดขึ้นในโรงเรียนทั้งสามแหํง โดยใช๎องค๑ความรู๎จากแหลํงเรียนรู๎ชุมชนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช เชื่อมโยงกับการจัดการศึกษาในระบบ กลุํมสาระการเรียนรู๎ศิลปะ ดนตรีแสดงถึงการใช๎ทุนทางสังคม ครูภูมิ ปัญญาท๎องถิ่นรํวมกันทั้งในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษาและประโยชน๑ที่เกิดขึ้นโดยอ๎อมเด็ก และเยาวชนเขียนบทเพลงที่แตํงขึ้นด๎วยตนเองได๎ เชํน เพลงลมเย็นมาแล๎ว ลมมามา ลมมามา สะมาเย็นแท๎นอ ๆ บ๎านหลังเรียนนี้หนา ๆ ซิมาเลํนสูํมื้อ ๆ เย็นแท๎น๎อ ๆ ๆ เพลงร๎อนและหนาว ร๎อนและหนาว ร๎อนและหนาว ความรักของเรา ทั้งร๎อนและหนาว (2 รอบ) เพลงเจ๎าปลานิลปลาดุก ในบ๎านหลังเรียนนี้หนา ๆ นั้นมีปลาดุกปลานิล กลางคืนกลางวันนั้นมีปลาดุกปลานิล ซิเฮ็ดจั๋งได๐ กันดีหละหนอ เจ๎าปลาดุกปลานิล มาเป็นตากิน แท๎น๎อเจ๎าปลานิลปลาดุก จั๋งมาแซบแท๎น๎อ ๆๆ


จากบทเพลงแตํละบทเพลงเด็กและเยาวชนได๎เขียน อําน ร๎องเพลงรํวมกันทําให๎มีพัฒนาการ การ ได๎เขียน พูด แสดงออก นอกจากนี้เด็กและเยาวชนอายุ 5 ขวบ ถึง 12 ปี จะมีการเต๎นประกอบเพลง ลูกทุํงที่เด็ก ๆชอบ เชํน เพลงเต๎ยดอกคูณของศิริพร อําไพพงษ๑ นักร๎องเพลงลูกทุํงชื่อดัง สํงผลให๎เด็กและ เยาวชนได๎เรียนรู๎เรื่องดนตรีโดยความรู๎ของครูภูมิปัญญาและความรู๎จากสื่อวิทยุ ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน การทําถํานชีวภาพลดภาวะโลกร๎อนเป็นกิจกรรมที่ให๎เด็กเยาวชนและผู๎ปกครองได๎ศึกษาดูงานจาก แหลํงเรียนรู๎ภายนอกชุมชนจัดกิจกรรมให๎วิทยากรได๎บรรยายความรู๎เรื่องถํานชีวภาพลดภาวะโลกร๎อนโดย ดร.สมบัติ ฤทธิเดช เป็นผู๎บรรยายพิเศษ ทําให๎เด็ก-เยาวชนใช๎ความรู๎มาทําเตาถํานชีวภาพภายใน แหลํง เรียนรู๎ปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช โดยผํานกิจกรรมการเก็บขยะในชุมชนมารีไซค๑เคิล นําถํานชีวภาพแปรรูป เป็นสินค๎าของใช๎ดูดกลิ่นในที่อับชื้น เชํน ใช๎ถํานชีวภาพดูดกลิ่นในตู๎เย็น ในรถยนต๑ และห๎องครัว ทําให๎ เด็กและเยาวชนได๎ฝึกสมาธิการประดิษฐ๑ผลิตภัณฑ๑ถํานชีวภาพจําหนํายได๎รูปทรงหลาย ๆ แบบ มีเงินรายได๎ และที่สําคัญยิ่งเด็ก เยาวชน ผู๎ปกครอง ได๎รํวมมือกันทํางานอยูํใกล๎ชิดกันมีความอบอุํน และสามารถนําเตา ถํานชีวภาพไปทําเป็นเตาถําน ไว๎ใช๎ในครัวเรือนตนเองมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นจากที่ได๎เรียนรู๎วิธีเผาถํานจาก วิทยากรและเด็ก เยาวชน สาธิตการเผาถํานให๎พํอแมํ ได๎ศึกษาเรียนรู๎รํวมกับลูกตนเอง ทําให๎เด็กและเยาวชน บางคนใช๎องค๑ความรู๎เรื่องถํานชีวภาพลดภาวะโลกร๎อน จัดทําโครงงานวิทยาศาสตร๑ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ได๎รับรางวัลที่ 1 ในงานสัปดาห๑วิทยาศาสตร๑ของโรงเรียนผดุงนารีมหาสารคาม สะท๎อนภาพการจัด การศึกษา แบบมีสํวนรํวมขององค๑กรในชุมชนได๎ทําให๎ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเยาวชนสูงขึ้น โดยเด็ก และเยาวชนสามารถทําโครงงานสร๎างสรรค๑ได๎มีองค๑ประกอบของโครงงานของเด็กและเยาวชน ปรากฏ รายละเอียดดังนี้ โครงการวิทยาศาสตร์ เรื่อง ถ่านชีวภาพและน้าส้มควันไม้ดับกลิ่นกาจัดศัตรูพืช ที่มาและความสาคัญ ในปัจจุบันนี้ทุกคนมักประสบปัญหาเกี่ยวกับกลิ่นอาหารในตู๎อาหารหรือตู๎เย็นและการใช๎สารเคมี กําจัดศัตรูพืชทําให๎มีผลกระทบตํอรํางกายในภายหลังได๎ กลุํมของพวกเราจึงเห็นวิธีการแก๎ปัญหาโดยการ นําเอาถํานชีวภาพที่ได๎จากการเผาของเศษเปลือกไม๎ พร๎อมกับน้ําส๎มควันไม๎จากการกลั่นตัวของควันไม๎ เนื่องจากถํานชีวภาพนี้มีคุณสมบัติในการดูดซับกลิ่นซึ่งเกิดจากการเผารูพรุนของเปลือกไม๎และน้ําส๎มควัน ไม๎มีปฏิกิริยากับแมลงศัตรูพืชซึ่งไมํชอบกลิ่นควันไม๎ทําให๎บินหนีหรือตายในที่สุด พร๎อมกับปลอดภัยใน การใช๎เหมาะในการทํางานการเกษตรในสมัยนี้ พร๎อมกับเป็นเรื่องที่ดีเหมาะสมแกํการศึกษาทดลอง ไมํเกิน ความสามารถของกลุํมด๎วย จึงได๎ทําโครงการเรื่องถํานชีวภาพและน้ําส๎มควันไม๎ใช๎ดับกลิ่นกําจัดศัตรูพืช ขึ้นมาเพราะเห็นวําเป็นประโยชน๑แกํผู๎ศึกษาดูงานไมํมากก็น๎อย


จุดมุ่งหมายของการศึกษา 1. เพื่อทดลองการใช๎ถํานชีวภาพดับกลิ่นอันไมํพึงประสงค๑ในตู๎อาหารหรือตู๎เย็น 2. เพื่อทดลองการใช๎น้ําส๎มควันไม๎ในการกําจัดศัตรูพืช 3. เพื่อเป็นประโยชน๑แกํผู๎ที่ศึกษาดูงาน สมมุติฐาน ถํานชีวภาพมีคุณสมบัติในการกําจัดกลิ่นในตู๎อาหารหรือตู๎เย็นได๎ พร๎อมกับน้ําส๎มควันไม๎ ประสิทธิภาพในการกําจัดแมลงศัตรูพืชได๎ อุปกรณ์ 1. เตาถํานชีวภาพ 2. เศษวัสดุเปลือกไม๎ , ผลไม๎ 3. ทํอกรองน้ําส๎มควันไม๎ 4. แกลบผสมกับโคลน 5. กลํองใส 6. บัวฉีดพํนในนาข๎าว 7. น้ําสะอาด วิธีการดาเนินงาน 1. นําถํานชีวภาพมาใสํในกลํองที่เจาะรูไว๎แล๎วนําไปวางไว๎ในตู๎เย็นหรือตู๎อาหาร 2. นําน้ําส๎มควันไม๎มาผสมน้ําในอัตราที่พอเหมาะแล๎วนําไปฉีดพํนเพื่อกําจัดแมลง 3. สังเกตการณ๑เปลี่ยนแปลงและบันทึกผล ผลการทดลอง ถํานชีวภาพสมารถดูดซับกลิ่นในตู๎อาหารได๎และน้ําส๎มควันไม๎สามารถกําจัดแมลงศัตรูพืชได๎ ตัวแปรจากการทดลอง ตัวแปรของถํานชีวภาพ ตัวแปรต๎น คือ ถํานชีวภาพ ตัวแปรตาม คือ กลิ่นในตู๎อาหารหรือตู๎เย็นหายไป ตัวแปรควบคุม คือ ควบคุมปริมาณถํานชีวภาพ ตัวแปรของน้ําส๎มควันไม๎ ตัวแปรต๎น คือ น้ําส๎มควันไม๎ ตัวแปรตาม คือ แมลงศัตรูพืชตาย ตัวแปรควบคุม คือ ควบคุมปริมาณน้ําส๎มควันไม๎ผสมน้ําในอัตราที่พอเหมาะสม


สรุปผล จากการทดลองทําให๎เห็นวําถํานชีวภาพสามารถดูดซับกลิ่นในที่แคบได๎เนื่องจากรูพรุนของการเผา ไมํมีอากาศจึงดูดซับอากาศหรือกลิ่นที่อยูํใกล๎ในบริเวณนั้นพร๎อมยังพบอีกวําถํานชีวภาพในปริมาณ 2 ก๎อน มีประสิทธิภาพมากกวําถําน 1 ก๎อน และน้ําส๎มควันไม๎สามารถไลํแมลงกําจัดศัตรูพืชได๎ดีเหมือนกับสารเคมี แตํจะไมํมีอันตรายตํอผู๎ใช๎และเกิดผลกระทบภายหลัง ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ถํานชีวภาพชํวยดูดซับกลิ่นที่ไมํพึงประสงค๑ในตู๎อาหาร 2. น้ําส๎มควันไม๎ชํวยในการกําจัดศัตรูพืชแทนสารเคมีได๎พร๎อมทั้งประหยัดในการซื้อเพราะสามารถทํา ได๎ด๎วยตนเอง 3. สามารถนําถํานชีวภาพและน้ําส๎มควันไม๎ไปประยุกต๑ใช๎เป็นของฝากหรือการเกษตร 4. เป็นประโยชน๑แกํผู๎ที่สนใจจะศึกษาเรื่องนี้ สมุนไพรอาหารเพื่อสุขภาพ การจัดกิจกรรมการเรียนรู๎สมุนไพรเพื่อสุขภาพ สมาชิกในโครงการมีกลุํมเด็ก เยาวชน ผู๎ปกครอง ผู๎ที่สนใจได๎รํวมมือกันทําแปลงสาธิตการปลูกพืชผักสวนครัว สมุนไพรหลายชนิดได๎แกํ ผักกาด ผักชี หอม กระเทียม มะเขือเทศ ข๎าวโพด ฟักทอง คะน๎า ฯลฯ ผักแตํละชนิดมีวิธีการดูแลโดยไมํใช๎ยาฆําแมลง ใช๎สารอีเอ็มน้ําหมักชีวภาพบํารุงผักมีสีเขียวสดกรอบ ปลอดภัย เพราะเป็นผักปลูกโดยวิธีธรรมชาติ จาก การสังเกตแปลงทดลอง ปลูกพืชผักในบ๎านหลังเรียนรํวมกับผู๎ปกครองและเด็ก เยาวชน พบวําการปลูก ถั่วฝักยาวจะไมํได๎ผลผลิตเพราะมีเพลี้ยระบาดกัดกิ นต๎นถั่วฝักยาวแตํไมํใช๎สารเคมีฉีดพํน จึงเปลี่ยนพืชที่ ปลูกเป็นการปลูกข๎าวโพด จะได๎ผลผลิต ดีไมํมีเพลี้ยทําลายต๎นข๎าวโพด นอกจากการฝึกปฏิบัติจริงให๎ปลูก ในสวนบ๎านหลังเรียนแล๎ว เด็กและเยาวชน ผู๎ปกครอง ประชาชนที่สนใจจะนําเมล็ดพันธุ๑ผักที่แบํงปันให๎ไป ปลูกในครัวเรือนตนเอง เพื่อปลูกไว๎รับประทานและเหลือจากใช๎บริโภคในครัวเรือนจะได๎ขาย หรือนํามา แปรรูปเป็นผงนัว เครื่องเทศปรุงอาหาร โดยเอาพืชที่ที่กินได๎ มาผสมกันกับข๎าวเหนียวที่แชํน้ําแล๎วนําไปบด ให๎ละเอียดใช๎พืชสมุนไพร 18 ชนิด ผสมกัน ได๎แกํ ผักตําลึง ผักหวานบ๎าน ใบน๎อยนํา ใบยํานาง ผักแป้น กระเทียม หัวหอม สะเดาดิน ผักติ้ว ผักขจร ใบส๎มโฮง ใบชะพลู อํอมแซบ ซึ่งผักแตํละชนิดในครัวเรือน ของชาวบ๎านกุดแคนได๎ปลูกไว๎ใช๎ปรุงอาหาร และนํามาแปรรูปเป็นผงนัวแทนผงชูรส เป็นการลดรายจําย และรักษาสุขภาพให๎แข็ง แรงปราศจากโรคเหน็ บชา กระดูก เสื่อม เพราะรับประทานพื ชสมุนไพรแทน เครื่ อ งเทศผงอาหารแบบผงชู ร ส และได๎ ขยายผลการปลูก พื ช ผั ก สวนครัว ไปปลู ก ในครัว เรื อ นตนเอง ครัวเรือนที่ มี ปัญหาที่ดินจํา กัดในครัวเรือน ให๎ขยายการปลูก พืชผักสวนครัวไปตามทุํงนาตนเอง ทําให๎ ชาวบ๎านกุดแคนมีตลาดพืชผักสีเขียวทุกวันพุธและวันเสาร๑ได๎ซื้อขายให๎ชาวบ๎านอื่น ๆ เข๎ามาซื้อผักไปขายที่ ตลาดในจังหวัดมหาสารคาม และมีพํอค๎าแมํค๎าคนกลางในหมูํบ๎านรับซื้อผักไปขายทุกวัน เป็นการขยายผล ของกิจกรรมโครงการที่เกิดขึ้นจากที่ได๎ปฏิบัติรํวมกับลูก ๆ ตนเอง ได๎นําความรู๎ไปปรับใช๎ในชีวิตโดยไมํพึ่ ง


ตลาดภายนอก และนอกจากนี้แหลํงเรียนรู๎ชุมชนได๎มีการคัดเลือกพันธุ๑ผักสวนครัว ผลิตเมล็ดพันธุ๑ไว๎ใช๎เอง ในฤดูกาลผลิตในปีตํอไป สะท๎อนถึงการเรียนรู๎ในกิจกรรมฐานสมุนไพรเพื่อสุขภาพได๎เส๎นทางการพัฒนา ตนให๎พึ่งตนเองได๎ครบวงจร คือ มีพันธุ๑ผักปลูก และไว๎ขาย และผั กบางชนิดแปรรูปเป็นน้ําดื่มสมุนไพรแก๎ โรคภัยตําง ๆ ได๎ เชํนน้ําสมุนไพรรางจืด ตะไคร๎หอม ใบเตย กระเจี๊ยบ ซึ่งการทําน้ํา สมุนไพรเด็กและ เยาวชนได๎เรียนรู๎ โดยนําใบสมุนไพรมาตากแห๎ง แล๎วบรรจุเป็นของฝากให๎กับคณะบุคคลที่เข๎ามาศึกษาดู งาน เกิดประโยชน๑โดยอ๎อม แหลํงเรียนรู๎ชุมชนมีสวัสดิการทุนการศึกษาให๎เด็กและเยาวชนโดยคณะบุคคล ได๎ให๎ทุนการศึกษาจากที่ได๎รับของฝาก ชุดสมุนไพรบูรณาการกับไขํไกํและปลาแห๎ง ทําให๎ผู๎ปกครองเข๎าใจ ในแนวนโยบายการจัดการศึกษาโดยใช๎สมุนไพร สามารถสร๎างอาชีพเสริมฝึกทักษะอาชีพให๎ลูก ๆ ของ ตนเองได๎ และมีการเพิ่มมูลคําทําสินค๎าพื้นบ๎านของท๎องถิ่นในชุมชน และมีสํวนสํงเสริมให๎เด็กและเยาวชน พูด เขียน เรื่องนําเสนอผลงานในระดับชั้นมัธยมศึกษา รายวิชาวิทยาศาสตร๑ โดยรวมกลุํมกับเพื่อน ๆ ใน ระดับชั้นเรียนที่เรียนอยูํในสถานศึกษาเดียวกันแลกเปลี่ยนเรียนรู๎รํวมกัน เชํน เรื่องการทําผงนัว มีวิธีการดังนี้ เนื่องจากในชุ ม ชนมีพื ช ผัก สวนครัวเป็นจํานวนมากเราจึงได๎นํามาแปรรูปมาทําเป็นผงนัวเพื่ อ สุขภาพและสามารถประหยัดคําใช๎จํายได๎อีกด๎วย หรือสามารถนําไปจําหนํายได๎เพื่อเป็นการเสริมรายได๎อีก สํวนหนึ่ง และการทําผงนัวเพื่อสุขภาพก็เป็นการทําที่ไมํยุํงยากถ๎าเราเข๎าใจในสํวนประกอบ สํวนผสมตําง ๆ ก็จะสามารถทําได๎โดยงําย พืชผักสวนครัวที่นํามาก็อยําง เชํน ใบมะขาม ใบมะรุม หัวหอม กระเทียม สะเดาดิน ใบผักหวาน ใบผักกาด ต๎นหอม ผักชี ผักชีลาว ผักกาด ตําลึง เป็นต๎น ดังภาพประกอบวิธีการ ทําผงนัว พืชผักที่ใช๎ในการทําผงนัว

ผักกระเฉดและดอกผักขิก


ดอกลิ้นฟ้า

สะเดาดิน


ใบมะกอก

กระเทียม


หัวหอม อุปกรณ์ใช้ทาผงนัว

อุปกรณ๑การทําผงนัว


วิธีการทาผงนัว

การหั่นผัก

การตําผักตํางๆ


การปั่นข๎าว

ข๎าวที่ปั่นละเอียดแล๎ว


การใสํสํวนผสมเตรียมปั่น

ผงนัวที่ปั่นละเอียดแล๎ว


ทําให๎เป็นแผํน

การทําให๎เป็นแผํนบาง ๆ


การตากผงนัว (ต๎องตากในที่แจ๎ง)

ผงนัวที่แห๎งแล๎ว


ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสายใยรักชุมชน การจัดกิจกรรมเรียนรู๎ประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่นของชาวบ๎านกุดแคนเด็กและเยาวชนรํวมกับผู๎ปกครอง ครูภูมิปัญญาท๎องถิ่นและครูจิตอาสา พี่ ๆ ในแหลํงเรียนรู๎ของชุมชนและพี่ ๆ ครูจิตอาสาจากภายนอกชุมชน นายธนาพัฒน๑ เที่ยงภักดิ์ และนายทรงศิลป์ สุจันทร๑ ได๎จัดกิจกรรมการเรียนรู๎นอกสถานที่โดยใช๎แหลํง เรียนรู๎ในชุมชนที่วัด โรงเรียน รอยพระพุทธบาทจําลอง ป่าธรรมชาติ ทุํงนา และลําห๎อยคําพุ เพื่อให๎เด็ก และเยาวชนได๎ตระหนักถึงรากเหง๎าวัฒนธรรมท๎องถิ่นของตนเอง เด็กและเยาวชนนําความรู๎ที่ได๎รับเขียน เป็นเรื่องเลําของชุมชนเผยแพรํให๎คนบ๎านอื่น ๆ ได๎รู๎จักบ๎านกุดแคน มีสิ่งใดบ๎างและสถานที่สําคัญเชิญชวน ให๎คนบ๎านอื่น ๆ มานมัสการรอยพระพุทธบาทจําลองเรียกวํา งานบุญเดือนสามประจําหมูํบ๎าน และเด็ก เยาวชนได๎เรียนรู๎รํวมกับเด็กและเยาวชนจังหวัดอุดร ได๎มาแสดงละครประวัติศาสตร๑เรื่องศึกบางระจัน ให๎ เด็กและเยาวชนแหลํงเรียนรู๎ชุมชนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดชได๎ชมการแสดง เกิดความภูมิใจรักชาติรักถิ่นฐาน ตนเอง มีความใฝ่รู๎ใฝ่เรียนเกิดความตระหนัก สํานึกในความเป็นคนไทยมีบรรพบุรุษที่ได๎รักษาแผํนดินไว๎ ให๎ตนเองได๎อาศัย เป็นกิจกรรมที่เรียนรู๎จากแหลํงเรียนรู๎ชุมชนตนเองได๎เขียนบันทึกไว๎ ให๎คนรุํนหลังได๎ ศึกษาเรื่องราวหมูํบ๎านตนเอง นับได๎วําเป็นเอกสารประวัติศาสตร๑บ๎านกุดแคนเลํมแรก ที่มีไว๎เป็นลายลักษณ๑ อักษร ถือวําเป็นประวัติศาสตร๑ของชาวบ๎านกุดแคน โดยการเรียนรู๎แบบเครือขํายทางสังคมแลกเปลี่ยน เรียนรู๎รํวมกับคนในชุมชนสร๎างความผูกพันระหวํางผู๎สูงวัยและเด็ก เยาวชน ได๎ใกล๎ชิดผูกพันกันมีความ อบอุํน มีความสุขรํวมกันเมื่อผู๎เฒําผู๎แกํได๎เลําเรื่องราวให๎เด็กฟัง การเรียนรู๎ในกิจกรรมนี้กลุํมเด็กและเยาวชนได๎สรุปบทเรียนรํวมกันเป็นกรณีตัวอยํางได๎แกํ ประวัติ การกํอตั้งบ๎านกุดแคน ห๎วยคําพุ และประเพณีที่สําคัญปรากฏรายละเอียดดังนี้ ประวัติความเป็นมาของบ้านกุดแคน คุณยายอํานวยพร สีดาพลเลําเรื่องประวัติความเป็นมาของบ๎านกุดแคนดังนี้ หมูํบ๎านกุดแคนมีอายุประมาณ 200 ปีผํานมา กํอนจะมาตั้งบ๎านเรือนขึ้นมีนายพรานมาลําสัตว๑ 5 คนมาจากหมูํบ๎านเหลําสิงห๑หรือบ๎านเกําสิงห๑ใคร จังหวัดร๎อยเอ็ด เจ็ดหัวเมืองและก็พบวําที่ตรงนี้อุดม สมบูรณ๑มากและตามหุบเขาลําเนาไพรตามห๎วย หนองน้ํา บึง คลอง กุด มีสัตว๑นานาชนิด และที่บริเวณ นั้นมีวังน้ําทําป่าแซงและไปพบแหลํงน้ําอีกแหํงหนึ่งหํางจากทําป่าแซงประมาณ 6 เส๎น มีลักษณะเป็นกุด น้ําวนหรือวังน้ําวนในกุดมีน้ําขังตลอดปี มีสัตว๑บก สัตว๑น้ํา ต๎นไม๎เล็กใหญํพืชพันธุ๑นานาชนิดในถิ่นนั้น นายพรานจึงยิงสัตว๑ได๎พอสมควรจึงพากันกลับบ๎าน นายพรานทั้ง 5 กลับไปไมํนาน ก็เลยเลําให๎ญาติฟังวํา พบเห็นสถานที่หนึ่งสมบูรณ๑เหมาะแกํการตั้งหมูํบ๎าน และหลังจากนั้นมีครอบครัวที่อพยพจากบ๎านเกําสิงห๑ ใครมาตั้งบ๎านเรือนอยูํที่วังทําป่าแซงมีครัวเรือนมาตั้งอยูํกํอนดังนี้ คือ (นายกอง นางลัด) (นายทองมา นาง


แก๎ว) (นายสนิท นางลุน) (นายชู นางหอม) (นายดํา นางสิน) (นายอุทัย นางแสน) อีกส ามครอบครัว หลักฐานไมํชัด และหลังจากนั้น ในปีตํอมาก็อพยพตามกันมาจึงพากันตั้งชื่อหมูํบ๎านขึ้นเรียกวํา

“บ๎านทํา

ป่าแซง” (ทํา หมายถึงทําน้ํา ป่าแซง หมายถึง ต๎นแซง) คนในอดีตเรียกตามธรรมชาติเพราะต๎นแซงขึ้น ตามริมลําห๎วยหนองน้ํา กุด บึง ทุกวันนี้ต๎นแซงยังหลงเหลืออยูํ บ๎านทําป่าแซงที่มาตั้งใหมํนี้ถูกภัยธรรมชาติ บํอยครั้ง คือในฤดูฝน ฝนตกน้ําทํวมเกือบทุกปีบ๎าน ทํา ป่ า แซงขึ้ นอยูํกั บ “ตาแสง ตากวนบ๎ า น” จึงชํวยกั นย๎ ายจากบ๎านทําป่าแซงที่ราบลุํมที่ติดลําห๎วยทิศ ตะวัน ออกของลํา ห๎ วยชาวบ๎ า นก็ ชํ ว ยกั นรื้ อบ๎ านเรื อ นขนข๎ ามลํา ห๎ว ยขึ้น สูํเ นิน สูง เพื่ อ ทํา การปลูก สร๎ า ง บ๎านเรือนตํอไปคือหนีน้ําทํวมทุกวันนี้บ๎านทําป่าแซงจึงมีชาวบ๎านนิยมเรียกกันวํา “ทําบ๎านเกํา” มาเทําทุก วันนี้ พอย๎ายมาแล๎วจึงตกลงกันวําจะตั้งชื่อหมูํบ๎านใหมํที่ชื่อวําบ๎านกุดแคนนี้ คําวํากุด คํานี้ไมํใชํด๎วน หรือ ขาด เป็นธรรมชาติที่เกิดขึ้น กุดนี้กว๎าง 3 เส๎น 4 เส๎นลึกมาก มีน้ําตลอดปี และมีต๎นไม๎นานาชนิด ขึ้น ตามริมฝั่งและมีต๎นแคนเล็กแคนใหญํล๎อมรอบกุดน้ํา แหํงนั้น จึงเรียกวําหมูํบ๎าน “กุดแคน” หมูํ 4 ตําบล โคกกํอ ตํอมาใน พ.ศ. 2535 จึงได๎แยกหมูํบ๎านออกจากตําบลโคกกํอขึ้นสูํตําบลหนองโนตั้งใหมํเพราะมี พลเมืองมากขึ้น จึงได๎เรียกบ๎านกุดแคน หมูํ 6-2 มาจนถึงปัจจุบันนี้ (อํานวยพร สีดาพล. 2554 : สัมภาษณ๑) ซึ่งเด็กและเยาวชนได๎เขียนบันทึกคําบอกเลําของผู๎เฒําผู๎แกํ ตาม ชํวงวัยของการพัฒนาการฟัง(อ๎างอิงความเป็นมาของชุมชนบ๎านกุดแคน)



คนบ้านกุดแคนกับการเรียกชื่อห้วยคาพุ ในยุคของความอุดมสมบูรณ๑ของต๎นไม๎ตามฝั่งห๎วยคําพุ คุณตาสมบูรณ๑ ศรีเฮืองได๎ กลําววํา “พํอ-แมํเลําให๎ฟังวําสมัยคนบํหลายบ๎านกุดแคนบํอึดบํยากไปห๎วยได๎ปลาไปทุํงนาได๎กบได๎เขียด บํ ได๎ซื้อ บํได๎ขาย เพราะหาอยูํหากินตามธรรมชาติในลําห๎วยคําพุ ห๎วยนี้ได๎ชื่อวําห๎วยคําพุมีน้ําผุดขึ้นมาจาก ห๎วยนี้เ ป็ น เหมื อนออกมาจากน้ํ า ใต๎ดิ น และในห๎ วยแหํ งนี้ใ นสมัย อดี ตฤดู แล๎ งน้ํ าจะงวดลงเป็น แหํ ง ๆ ชาวบ๎านจะไปจับปลาทําน้ําหลาย ๆ ทํา เรียกทําหวํางแซวคนมาหาปลามาสํงเสียงเรียกคุยกันแซว ๆ (เสียง ดังจากคนจํานวนมาก) ทําโสกบักตู๎เพราะมีควายตายในลําห๎วยเป็นควายตัวผู๎โตมากเรียกทําน้ําวําโสกบักตู๎ เพราะทําน้ํามีความลึกของน้ํามากเป็นวังเป็นบวกน้ํา และมีคนพูดไมํชัดชื่อบักกืกไปเลํนน้ําในลําห๎วยตายน้ํา เรียกชื่อทําน้ําวํา ทําบักกืก ทีมเด็กและเยาวชนสอบถามวํา “ทําน้ํา” คือสถานที่ที่เป็นชื่อเรียกตามเหตุการณ๑ ตําง ๆ ที่คนไปใช๎ลําน้ําทําประโยชน๑ในลักษณะแตกตํางกัน ผู๎ให๎ข๎อมูลให๎คําตอบเชํนเดียวกับทีมเด็ กและ เยาวชนให๎ข๎อคิดเห็นดังนั้นห๎วยคําพุจึงมีพื้นที่เป็นพื้นที่เป็นแหลํงน้ําตื้นเขินเวลาฤดูแล๎งมีทางเดินลงไปสูํลํา ห๎วยเป็นทําให๎คนได๎ไปพักหาอาหารธรรมชาติตามลําห๎วยสะดวกขึ้น (สมบูรณ๑ ศรีเฮือง. 2554 : สัมภาษณ๑) จากประวัติศาสตร๑ความเป็นมาห๎วยคําพุ ทําให๎ทีมเด็กและเยาวชนใช๎ปรากฏการณ๑แบํงยุคเกี่ยวกับ คนกับห๎วยคําพุดังนี้ ยุคที่ 1 ชีวิตคนบ้านกุดแคนกับการพึ่งพาลาห้วยคาพุ ช่วงก่อนปี พ.ศ. 2490 ห๎วยคําพุมีชื่อเรียกหลาย ๆ ชื่อในลําห๎วยเพราะคนมีความสัมพันธ๑กับลําห๎วยไปจับปลา เก็บผัก ไป อาบน้ํ า ในลํ า ห๎ วยในฤดูฝ น แสดงถึง ลํา น้ํ าแห๎ ง นี้ไ ด๎ห ลํอ เลี้ ย งชุ มชนคนบ๎ านกุ ด แคนและคนบ๎ านอื่น ๆ เดินทางมาจับปลาสํงเสียงเรียกกันแซว ๆ นอกจากใช๎ลําน้ําหาปลา หาหอย ใสํเบ็ดกบ เบ็ดปลา คนบ๎านกุด แคนใช๎น้ําทําเกษตรกรรม ในฤดูแล๎งและในฤดูฝนที่คนมีที่นาตัดลําห๎วยจะปลูกผัก ปลูกยาสูบ ตามพื้นที่นา ตนเองใกล๎ลําห๎วย ทําแปลงปลูกผักไว๎กินในครัวเรือนให๎ญาติ ๆ เวลามีงานบุญเกิดขึ้น เวลานําพืชผักมากิน บํได๎คิดมากกลัวจะป่วยเป็นโรค เพราะการปลูกพืชผัก ใช๎น้ําสะอาดในลําห๎วยคนสมัยอดีตบํใช๎ยาฆําแมลง ฉีดพืชผักที่ปลูก เชํน ปัจจุบันนี้ คนอายุยืนกับอาหารปลอดสารพิษ เป็นการอาศัยลําน้ํา ห๎วยคําพุ ใช๎น้ําบํมี สารยาฆําแมลงไหลลงสูํแมํน้ํา (อํานวยพร สีดาพล. 2554 : สัมภาษณ๑) และคนหลายหมูํบ๎านที่ห๎วยคําพุไหล ผํานเวลาหน๎าแล๎งมีน้ํายังคงอยูํในวังน้ํา บวกน้ําลึก ๆ ในลําห๎วยคําพุทําให๎คนหลายหมูํบ๎านเดินทางมาจับ


ปลาใช๎แหหลายผืนมาหาปลารํวมกันในฤดูฝนและฤดูแ ล๎งสํวนมากเป็นกลุํมคนที่เป็นญาติพี่น๎องกันระหวําง หมูํบ๎าน เชํน บ๎านหนองโนเป็นหมูํบ๎านขยายจากบ๎านกุดแคนจะเดินทางมารวมกลุํมกับพี่น๎องบ๎านกุดแคน เรียกวํา “หาปลากินข๎าวป่า” เมื่อจับปลาในลําห๎วยคําพุได๎มากมีปลาขาวนา ปลาชํอน ปลาเข็ก ปลาดุก ปลา หลด นําปลาทําเป็นอาหารและแบํงปันให๎คนในกลุํมหาปลามาด๎วยกัน (คํา นุรัตน๑. 2554 : สัมภาษณ๑) ชีวิตคนใกล๎เคียงลําห๎วยคําพุได๎พึ่งพาน้ําจากลําห๎วยผู๎ชายหาปลาแล๎วผู๎หญิงไปเก็บผักหาหนํอไม๎ป่า ตามลําห๎วย คุณยายอํานวยพร สีดาพล เลําวํา “หนํอไม๎ป่าตามห๎วยคําพุมากหลายในฤดูฝนเอามาเผามาทํา หนํอไม๎ดองไว๎เป็นอาหารยามทํานา อาหารจากหนํอไม๎บํมีผู๎ชอบอยากหา เพราะหาได๎งํายลงไปห๎วยคําพุ ต๎องได๎อาหารมาอยูํมากิน แตํปัจจุบันนี้คนไมํไปหาปลาคนไปโรงงานมีชัยทั้งคนหนุํมคนสาว (อํานวยพร สีดาพล. 2554 : สัมภาษณ๑) ยุคที่ 2 ยุคฝายทดน้าในห้วยคาพุ พ.ศ. 2490 – พ.ศ. 2512 ลํา ห๎วยคํ า พุ ใ นชํวงนี้ป ระสบกั บภัย แล๎งฝนทิ้งชํวงปริมาณน้ําในลําห๎วยน๎อย คนในหมูํบ๎าน จํานวนมากเริ่มขยายพื้นที่ทํากินจับจองที่ดินที่ติดผืนนาตนเองเป็นสวนตามลําห๎วย กอไผํถูกถางเผาไฟเริ่ม ลดลงเหลือจํานวนไมํมาก ใช๎เสาไม๎บอกเขตที่ดินจับจองไว๎เป็นเจ๎าของตามที่นาของทุนคนที่เรียกวํามีนาห๎วย คําพุ เริ่ม ปลูก ยาสูบ พื้นบ๎ าน ปลูก ข๎าวโพด พริก ผักจํานวนมากเข๎าสูํก ารขายในชุมชน และคนได๎รับ การศึกษาเรียนรู๎ เมื่อน้ําในลําห๎วยมีน๎อยที่นาใครอยูํใกล๎เคียงกับเพื่อนบ๎านหลาย ๆ คนรวมกลุํมกันฟื้นฟูน้ํา ในลําห๎วย เรียกวํา ทําฝายทดน้ําไว๎ใช๎รดผักให๎วัวควายได๎นอนน้ํา ลําห๎วยจึงถูกแบํงเป็นชํวง ๆ น้ําเริ่มเป็น สัดสํวนเฉพาะการใช๎ประโยชน๑ของเจ๎าของนาห๎วย ชาวบ๎านมีนาโนน (นาที่สูง) ไมํกล๎าไปใช๎น้ําในลําห๎วย กลัวการทะเลาะวิวาท ยุคนี้คนในชุมนเริ่มเห็นแกํตัวปรับตัวเอาตัวรอดโดยประกาศวําน้ําในลําห๎วยมีเจ๎าของ ใช๎เป็นสํวน ๆ กลุํม ๆ การหาปลา หาหนํอไม๎ เริ่มหาอยูํหากินเฉพาะเขตพื้นที่นาตรงกับพื้นที่ห๎วยคําพุ (ทองใบ วิวัฒนากร. 2554 : สัมภาษณ๑) ยุคที่ 3 ยุคขุดลอกห้วยคาพุ พ.ศ. 2512 – พ.ศ. 2535 หาอยู่หากินในตลาด หลังจากห๎วยคําพุมีปริมาณน้ําไมํมากเฉพาะฝนแล๎งได๎มีนโยบายรัฐพัฒนาภาคอีสานเรื่องการ สร๎างอํางเก็บน้ํา ชลประทานตามหมูํบ๎านตําง ๆ บ๎านกุดแคนเป็นพื้นที่สํวนหนึ่งที่อยูํในเขตปกครอง ตําบล โคกกํอในชํวงนี้ บ๎านโนนมี้บ๎านโคกกํอ เป็นบ๎ านต๎นน้ําห๎วยคําพุ รัฐได๎ให๎งบประมาณมาสร๎างอํางเก็บน้ํา โคกกํอเพื่อกักเก็บน้ําฝนไว๎ให๎มากแล๎วสํงน้ํามาตามลําห๎วยคําพุให๎มีน้ําใช๎ตลอดปี ทําให๎ชาวบ๎านกุดแคน บ๎านหัวช๎าง นานกเขียน โคกสี เดินทางมาประชุมรํวมกับชาวบ๎านโคกกํอได๎มีการขุดลอกห๎วยมีเจ๎าหน๎าที่ ชลประทานดูแลไมํให๎กั้นคูน้ําเป็นฝายทดน้ําเล็ก ๆ เอาไว๎เฉพาะใช๎กับที่นาห๎วย จากข๎อยุติของกลุํมชาวบ๎าน


หลายหมูํบ๎าน ชาวบ๎านกุดแคนได๎ปฏิบัติตามนโยบายรัฐเป็นแรงงานรับจ๎างขุดลอกห๎วยตามการสร๎างงานใน ชุมชนโครงการเงินผันของพํอใหญํคึกฤทธิ์ ปราโมช เริ่มตั้งแตํ พ.ศ. 2516 – พ.ศ. 2517 ลําห๎วยคําพุไมํตื้น เขิน แตํริมฝั่งห๎วยมีกองดินเหนียว ดินทรายเป็นเขตแดนของทางเดินตามลําน้ําเกิดขึ้นผักพื้นบ๎าน ผักแวํน ผักตํานิน หายไปกลับเป็นทางเดิน ต๎นไผํหายไป เพราะถางโคํนได๎เป็นทางเดินของคนตามลําห๎วย และมี ป้า ยประกาศบอกไว๎วํา การขุ ดลอกคู ค ลองน้ํา ด๎วยงบประมาณของรัฐ ทําให๎ชาวบ๎านมองวําห๎วยคําพุ มี เจ๎าหน๎าที่เข๎ามาดูแลไมํใชํคนในหมูํบ๎านเป็นเจ๎าของ เวลาน้ําไมํมีในลําห๎วยเดินทางไปขอน้ําใช๎ที่ชลประทาน อํางเก็บน้ําโคกกํอ คนหลายหมูํบ๎านเริ่มปลูกมะเขือเทศ แตงโมใช๎ยาปราบศัตรูพืช ใช๎ปุ๋ยเคมี สํงพืชผักขาย ในระบบตลาดมีแมํค๎าคนกลางรับซื้อผักมารับซื้อถึงในหมูํบ๎านชาวบ๎านปรับที่นาหลังฤดูทํานา ทําอาชีพ เสริมปลูกข๎าวโพดหลายร๎อยไรํ แขํงขันกันปลูกกันขาย ไมํมีเวลาหาอาหารธรรมชาติ ขายผักนําเงินซื้อ อาหารมี รถเรํข ายเสื้อผ๎า ขายปลา ขายเห็ดมาให๎ซื้อถึงในหมูํบ๎าน เจ๎าของรถยนต๑ นายพันธ๑ กลําววํา “รถยนต๑ของผมไมํเคยไปตลาดเช๎าต๎องไปตลาดเช๎าเพราะมีคนบ๎านเราเอาสินค๎าเกษตรไปขายตลาดสารคาม บ๎านกุดแคนผู๎ชายผู๎หญิงขายสินค๎าเกํงหมด” (พันธุ๑ พุํมประเสริฐ. 2554 : สัมภาษณ๑) ผู๎ชายที่หาปลาในฤดูแล๎งไมํหาปลามาทําสวนมะเขือเทศ สวนข๎าวโพด สูบน้ําเข๎าแปลงสวนอยูํกับ นากับสวนดูแลพืชผัก เรํงฉีดสารเคมีได๎เก็บผลผลิตได๎ทันตามแมํค๎าต๎องการ ฝนตกหน๎าน้ําจะทํวมนาระบาย น้ําลงห๎วยคําพุน้ําเคยใสสะอาดอาบดื่มกินได๎กลายเป็นสีเขียวเดินลงลุยน้ําบํอยครั้งเท๎าเปื่อย เป็นคัน เป็นตุํม ผู๎คนหลายหมูํบ๎านหํางเหินจากลําห๎วยคําพุ เข๎าสูํชีวิตซื้ออาหารในระบบตลาดไมํจับปลา หาหนํอไม๎ ในยุค นี้การพัฒนาจากรัฐทําให๎คนกับห๎วยคําพุหํางเหินกับในการหาอาหารธรรมชาติ แตํพึ่งน้ําจากห๎วยคําพุทํา อาชีพ เกษตรกรรม หลังการทํานาอยํางเป็นรูปธรรมซื้อขายในระบบตลาดเกิดแมํค๎าในท๎องถิ่นเป็นคนกลาง มาชื้อสินค๎า ความสัมพันธ๑ทางสังคมแบบเครือญาติเปลี่ยนเป็นชํวยกันทําสวน ไมํชํวยกันรวมกลุํมตึกแห (ทอดแห) เพราะพัฒนาห๎วยคําพุตามนโยบายรัฐห๎วยคึกฤทธิ์และห๎วยคําพุอีสานเขียวของพํอใหญํจิ๋ว (พล เอกชวลิต ยงใจยุทธ) ยุคที่ 4 ยุคลาห้วยคาพุพัฒนา พ.ศ. 2535 – ถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2555.) รัฐมีบทบาทโดยสร๎างฝายเปิดปิดน้ําในลําห๎วยที่บ๎านกุดแคนเพื่อกักเก็บน้ําไว๎ไมํให๎ลงสูํห๎วยคะคางที่ บ๎านทําแรํอยํางรวดเร็ว ทําให๎ชาวบ๎านกุดแคนมีฝายทดน้ําขนาดกลางมีประโยชน๑ในลักษณะน้ําในลําห๎วยคํา พุมีปริมาณน๎อยชาวบ๎านจะเปิดน้ําที่กักเก็บไว๎จากฝายทดน้ําลงสูํลําห๎วยแล๎วปริมาณน้ําจะมีตลอดปีและมีคู คลองน้ําระบบชลประทานเกิดขึ้นตามโครงการอีสานเขียวมารองรับให๎ชาวบ๎านเอาน้ําจากฝายทดน้ําไปตาม


คลองน้ําเข๎านาได๎ตลอดปี ทํานาปี นาปรัง เลี้ยงปลาในนา เลี้ยงกบ ปลูกสวนพริกเต็มพื้นที่นาตลอดฤดู ไมํต๎องทํานา สําหรับผู๎มีที่นามาก ชาวบ๎านกุดแคนมีอาชีพทํานาคูํการทําสวนพริกในยุคน้ําห๎วยคําพุไมํขาด แคลน แตํไมํมีชาวบ๎านคนใดจะรักษาน้ําให๎สะอาดในลําห๎วยได๎แตํรวมกลุํมกันทําพิธีกรรมลอยกระทงในลํา น้ําห๎วยคําพุ มีทั้งโฟมและใบตองลอยตามลําห๎วย ทีมเด็กและเยาวชนสอบถามความคิดเห็นของชาวบ๎านวํา “ไมํคิดจะทําให๎น้ําใสสะอาดแล๎วทําเป็นที่ปลูกดอกไม๎สวยงามเดินเลํนยามเย็น ๆ หรือ พื้นที่บ๎านของเรา เหมาะสม” ชาวบ๎านมองวํา ห๎วยคําพุเป็นแหลํงระบายน้ํา ไปสูํห๎วยคะคางสารพิษตกค๎างก็ไหลไปตามน้ํา แล๎ว” (พันธ๑ พุํมประเสริฐ. 2554 : สัมภาษณ๑) ชาวบ้านมองห้วยคาพุ ห๎วยคําพุสายน้ําคูํชีวิตของคนหลายหมูํบ๎าน จากทีมเด็กและเยาวชนได๎ศึกษาพบวํา ห๎วยคําพุคือ ห๎วยน้ําธรรมชาติที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีต๎นน้ําจากบ๎านโนนมี้ไหลผํานหลายหมูํบ๎าน โดยเฉพาะคนจาก หลายหมูํบ๎านจากบ๎านนานกเขียน บ๎านโคกกํอ บ๎านหนองโนบ๎านกุดแคน ชาวบ๎านกุดแคนมองวําห๎วยคําพุ สําคัญในเรื่องการใช๎ประโยชน๑นําน้ํามาใช๎ทําอาชีพเกษตรกรรมแตํไมํได๎มองวําห๎วยคําพุมีชีวิตต๎องดูแลรักษา เพราะทุกพื้นที่ทําเกษตรกรรมปลํอยน้ําสารพิษลงลําห๎วยคําพุ ไมํมีปัญหาในหมูํบ๎านแตํมีปัญหาที่อํางเก็บน้ํา แกํงเลิงจานจะบรรจุน้ําสารพิษตําง ๆ จากสารเคมีปราบศัตรูพืช สัตว๑ที่หมูํบ๎านเอาไว๎ในอํางแกํงเลิงจาน เป็นปัญหาที่ต๎องมี กลไกควบคุมให๎ชาวบ๎านาเห็นวําห๎วยคําพุเป็นสิ่งมีจิตวิญญาณคูํกับชีวิตของชาวบ๎า น (พันธ๑ พุํมประเสริฐ. 2554 : สัมภาษณ๑) สรุปผลการศึกษาของเรื่องนี้ ชาวบ๎านกุดแคนได๎ใช๎ห๎วยคําพุพึ่งพาการสร๎างอาหารตามธรรมชาติ และการสร๎างอาหารแบบเคมีเกิดขึ้นเพราะชาวบ๎านกุดแคนทําให๎น้ําในห๎วยคําพุไมํสะอาด ปลาไมํอาศัยอยูํ กบเขียดหนีหายไป วัว ควายไมํ ลงอาบน้ําในห๎วยเพราะที่นาของชาวบ๎านมีสระน้ําในนาตนเอง ในยุคตั้ง หมูํบ๎าน ยุคมีฝายทดน้ํา ห๎วยคําพุมีน้ําสะอาด ปลา อุดมสมบูรณ๑ อาหารปลอดภัย แตํน้ําห๎วยคําพุในยุค พัฒนามีน้ําใช๎ตอลดปี เพราะรัฐกักเก็บน้ําไว๎ที่อํางเก็บน้ําโคกกํอ ฝายทดน้ําในหมูํบ๎านสํารองน้ําไว๎ใช๎ตลอด ปี ห๎วยคําพุในมุมมองชาวบ๎านเป็นห๎วยของรัฐเข๎ามาพัฒนาแตํไมํรักษาน้ํามีคุณภาพ เป็นปัญหาที่ชาวบ๎าน กุดแคนไมํให๎ความสนใจ จะหาแนวทางรํวมกัน จะใช๎ประโยชน๑จากน้ําแตํไมํทําให๎สิ่งแวดล๎อมในพื้นที่ลํา ห๎วยใช๎ประโยชน๑เป็นที่พักผํอน ชีวิตคนบ๎านกุดแคนมีอาชีพทํานาสองครั้ง แตํไมํทําประมงเพราะขายสินค๎า พืชผักเป็นผู๎ใช๎ประโยชน๑จากน้ําไมํพึ่งพาน้ําเป็นแหลํงอาหาร คนจับปลาแทบไมํมีเพราะมีปลาในสระนา


ของตนเอง ปลํอยให๎น้ําห๎วยคําพุเป็นเพียงห๎วยที่น้ําจากอํางโคกกํอระบายน้ําลงสูํอํางเก็บน้ําแกํงเลิงจาน และใช๎ไปทําเกษตรกรรมแบบสารเคมี แนวทางการแก้ไขลาห้วยคาพุให้ปลอดมลพิษ แนวทางการพัฒนาและอนุรักษ๑ลําห๎วยลําพุจะจัดแสดงละครจากเยาวชนในเครือขํายของเด็กและ เยาวชนจากโรงเรียนบ๎านกุดแคนได๎ ฝึกซ๎อมละครหรรษา เรื่อง “ลําห๎วยคําพุกับวิถีชีวิตของคนบ๎านกุดแคน ที่จัดแสดงละครเพราะเป็นสื่อบุคคลที่เกิดจากความรํวมมือระหวํางคนในชุมชนและผู๎ใช๎ลําห๎วยคําพุ หลาย หมูํบ๎านได๎มาชมกิจกรรมรํวมกัน จะปลูกจิตสํานึกให๎เกิดความตระหนักเรื่อง ป้องกันน้ําไมํให๎มีสารเคมีใน แหลํงน้ําแหํงนี้ โดยเยาวชนที่แสดงเป็นบุตรหลานของพํอ-แมํ จากบ๎านกุดแคน เมื่อได๎ดูการแสดงละครของ เยาวชนในวันปีใหมํ วันแมํ วันเด็ก จะทําให๎ผู๎ปกครอง กลับไปถามตนเองให๎คิดถึงความสัมพันธ๑ของ ธรรมชาติที่เคยพึ่งพากําลังจะกลายเป็นลําห๎วยมลพิษ ถ๎าดูละครหรรษาซ้ําบํอย ๆ สิ่งเหลํานี้คงเตือนสติ ชาวบ๎านกุดแคน บ๎านหนองโน บ๎านนานกเขียน ในโอกาสตํอไป นอกจากนี้การแก๎ไขปัญหาลําห๎วยคําพุ มีน้ําสกปรกเป็นมลพิษต๎องมีกฎหมายหมูํบ๎านควบคุม เป็นกติกาป้ายประกาศบอกไว๎ไมํให๎ระบายน้ําลงใน ห๎วยคําพุ โดยเป็นข๎อตกลงระหวํางหมูํบ๎านให๎เกิดขึ้นตํอไป ในอนาคต (คํา นุรัตน๑. 2554 : สัมภาษณ๑) มีสื่อละครหรรษาและกฎหมายชาวบ๎านแล๎วต๎องชี้ให๎เห็นวําแตํละคุ๎งน้ํามีผีน้ําคุ๎ม ครองเชํนกรณี โสกบักกืก คนที่ตายไปต๎องดูแลแหลํงน้ํา ต๎องใช๎สื่ออํานาจผีควบคุมรํวมกับกฎหมายชาวบ๎านด๎วยจะทําให๎ คนเกรงกลัวไมํทิ้งของสกปรกและระบายน้ําสารเคมีไปสูํห๎วยคําพุ ด๎วยการฟื้นฟูความเชื่ออํานาจผี ให๎มีพลัง อํานาจจะเป็นสื่อให๎คนหลายหมูํบ๎านไมํละเมิดกฎกติกาของการใช๎น้ําในลําห๎วยคําพุ (อํานวยพร สีดาพล. 2554 : สัมภาษณ๑) สถานที่สาคัญในบ้านกุดแคน : รอยพระพุทธบาทจาลอง จากข๎อมูลคําบอกเลําของคุณยายอํานวยพร สีดาพล คุณตาสมบูรณ๑ ศรีเฮือง และคุณตาทองใบ วิวัฒนา กลําวถึงการกํอสร๎างรอยพระพุทธบาทจําลองดังนี้ ในปี พ.ศ. 2487

เป็ นปีที่เกิดภัย ภิบัติใ นหมูํบ๎านถูก ลมพัดบ๎านเรือนพั งไปหลายหลังคาเรือน

เนื่องจากฝนตกหนักกํอนฤดูการทํานา ด๎วยความเชื่อวําอํานาจผีปู่ตาในหมูํบ๎านที่อัญเชิญไปอยูํที่ศาลดอน ยาคูมีผีปู่ตาพร๎อมกับการสร๎างชุมชนแล๎วชาวบ๎านได๎บูชา อ๎อนวอนขอให๎คุ๎มครองคน สัตว๑ สิ่ง ของใน หมูํบ๎านให๎ปลอดภัย ไมํมีโรคระบาด ไมํมีโจรผู๎ร๎าย ได๎ทํานาข๎าวกล๎าอุดมสมบูรณ๑และไมํให๎เกิดมีภัยจาก


ไฟไหม๎ ฟ้าผํา น้ําทํวม ลมพัดบ๎านเรือน ภัยร๎ายเหลํานี้ไมํเข๎ามาในหมูํบ๎าน (อํานวยพร สีดาผล , สมบูรณ๑ ศรีเฮือง และทองใบ วิวัฒนาการ : 2554 : สัมภาษณ๑) ผลจากการบ๐าและร๎องขอไมํบรรลุผลตามความ ปรารถนารํวมกันของชาวบ๎าน ทําให๎พระครูหนูได๎ประชุมชาวบ๎านอธิบายเรื่องความเชื่อของตนเองมีผลเป็น จริงตามขอหรือไมํแตํชาวบ๎านได๎รับภัยพิบัติ ความเชื่ออํานาจผีมีทั้งให๎คุณและให๎โทษแตํจากสิ่งที่ชาวบ๎านได๎รับจากการมีศาลผีปู่ตาบันดาลให๎ ชาวบ๎านพบแตํความทุกข๑เกิดเหตุลมพัด โรคระบาดในบ๎านกุดแคน พระครูหนูได๎เกิดข๎อคิดวํา ถ๎ามานับถือ คุณพระหรือพระพุทธเจ๎า ที่เป็นศาสดาของศาสนาพุทธ มีสัญลักษณ๑แทนพระองค๑หลายอยํางเชํน เอกสาร คําสอน พระพุทธรูป ภาพถําย รอยเท๎าของพระองค๑ทําน ชาวบ๎านควรนําไปคิดพิจารณา การนับถือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ควรนับถือผีที่มองเห็นตัวตนหรือผีที่มีแตํวิญญาณ ไมํให๎คุณกับชาวบ๎านเรื่องคําร๎องขอนาน ๆ จะ เกิดความสุขสักครั้ง (สมบูรณ๑ ศรีเฮือง. 2554 : สัมภาษณ๑) ผลจากการเปลี่ยนแปลงของหมูํบ๎านและผลจาก การประชาคมให๎ชาวบ๎านนับ ถือ พระพุทธเจ๎า ทําให๎ผู๎ใหญํบ๎านกุดแคนในสมัยปี พ.ศ. 2487

คือ ให๎

ชาวบ๎านเลิกนับถือผีดอนปู่ตา ที่ดอนยาคูแล๎วให๎ชาวบ๎านขยายครอบครัวสร๎างบ๎านในที่ดินสาธารณะได๎ ถ๎า ชาวบ๎านคนใดไปสร๎างที่อยูํอาศัยหรือเข๎าไปถางที่ป่าดอนยาคูให๎เป็นที่พักกันได๎ จากประวัติเหตุการณ๑สร๎างรอยพระพุทธบาทจําลอง และการทําพิธี ทีมเด็กและเยาวชนได๎สรุปมติ เวลา หลังการศึกษาตามเหตุการณ๑ที่ชาวบ๎านได๎บอกเลําและการเปลี่ยนแปลงของการทําพิธีกรรมบูชารอย พระพุทธบาทจําลองตามการปรับตัวของคนในชุมชนดังนี้ 1. ยุครอยพระพุทธบาทจําลองหาชํางฝีมือมากํอสร๎าง พ.ศ.2487 – พ.ศ.2490 2. ยุคการบูชารอยพระพุทธบาทจําลองแทนการบูชาผีปู่ตา พ.ศ. 2490 – พ.ศ. 2507 3. ยุคการเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง พ.ศ. 2507 – พ.ศ. 2535 4. ยุคการสร๎างเครือขํายการบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง พ.ศ. 2535 – ปัจจุบัน จากการแบํงยุคการศึกษารอยพระพุทธบาทจําลองบ๎านกุดแคนมีรายละเอียดแตํละยุคดังนี้ ยุคที่ 1 ยุครอยพระพุทธบาทจาลองหาช่างฝีมือก่อสร้าง พ.ศ. 2487 – พ.ศ. 2490 หนูจี จําคาม อายุ 58 ปี รองประธานองค๑การบริหารสํวนตําบลหนองโนได๎เลําถึงอดีตที่ ได๎เห็นชาวบ๎านกํอสร๎างรอยพระพุทธบาทจําลองวํา


“ การเริ่มกํอสร๎างรอยพระพุทธบาทจําลองพระครูหนูหรือหลวงปู่หนูให๎ชาวบ๎านมาประชุมกันทั้ง ชายและหญิงภายในหมูํบ๎านหลายหลังคาเรือนในชํวงปี พ.ศ. 2487 มีชาวบ๎านจํานวนยังไมํมากแล๎วสอบถาม หาชํางฝีมือในหมูํบ๎านและชํางฝีมือจากหมูํบ๎านใกล๎เคียงมารับจ๎างกํอสร๎าง ปรากฏไมํมีชํางฝีมือตอบตกลง จะรับจ๎างสร๎างรอยพระพุทธบาทจําลอง วิธีตํอมา พระครูหนูได๎ให๎ชาวบ๎านทุกคนเป็นชํางกํอสร๎าง ให๎ ตัวแทนครอบครัวที่เป็นผู๎ชายเดินทางไปดูรอยพระพุทธบาทจําลองที่สระบุรี ใช๎เวลาเดินทางหลายวัน ทํา อยํางนี้หลาย ๆ ครั้งแล๎วมาประชุมกั นวํา สิ่งที่ทุกคนได๎เห็นที่เรีย กวํารอยพระพุ ทธบาทจําลองมีลักษณะ อยํางไร ถือเป็นกลอุบายที่พระครูหนูให๎ความรู๎สาขาชํางกับชาวบ๎านด๎วยการให๎ไปเที่ยวดูความรู๎จากที่มีรอย พระพุทธบาทของพระพุทธเจ๎าจากจังหวัดสระบุรี (หนูจี จําคาม. 2554 : สัมภาษณ๑) ความรักสามัคคีของคนในชุมชนในการสร้างรอยพระพุทธบาทจาลอง สมบูรณ๑ ศรีเฮือง ผู๎นําพิธีกรรมของหมูํบ๎านกุดแคนอธิบายวํา “ ชาวบ๎านกุดแคนไมํได๎แบํงงานกัน ในการสร๎างรอยพระพุทธบาทจําลองทําวําผู๎ชายหรือผู๎ หญิงเพราะทุกคนต๎องเดินทางไปขนดินเหนียวที่ หมูํบ๎านใกล๎เขตเมืองมหาสารคาม เรียกวําบ๎านหม๎อ ที่มีดินเหนียวใช๎ปั้นหม๎อได๎ เพื่อนําดินมาทําอิฐมอญ (อิฐแดงด๎วยการทําด๎วยตนเอง เพื่อกํอสร๎างตัวเจดีย๑) การใช๎แรงงานเพื่อให๎ได๎อิฐมอญก๎อนเล็กจากดินเหนียว ใช๎เวลาตั้งแตํปี พ.ศ. 2487 – พ.ศ. 2490 ได๎สําเร็จเป็นสถูปเจดีย๑ตั้งไว๎ที่ดอนหนองสิม ที่เรียกดอนหนองสิม เพราะที่ตั้งบริเวณรอยพระพุทธบาทจําลองมีหนองน้ําขนาดใหญํอยูํใกล๎ ๆ พื้นที่ดินป่าไม๎สาธารณะของ หมูํบ๎าน ชาวบ๎านเรียกหนองสิม หนองสิมมีน้ําใช๎ตลอดปี ซึ่งในเวลาจัดงานประเพณีบูชารอยพระพุทธบาท จําลอง ชาวบ๎า นกุดแคนจะมาพัฒนาหนองสิมไมํให๎มีจอก แหน ในหนองสิมเพื่ อผู๎มาชมงานได๎เดินดู สิ่งแวดล๎อมรอบ ๆ ที่ตั้งรอยพระพุทธบาทจําลอง เดินดูคูน้ําหนองสิม ชมปลา ในหนองสิมด๎วย หลังจากสร๎างสถูปเจดีย๑ที่ทําด๎วยอิฐมอญแล๎ว พระครูหนูได๎ให๎ชาวบ๎านบริ จาคเงินรวมกันเก็บไว๎ เพื่อซื้อโลหะเหล็กมาจําลองภายในรอยพระพุทธบาทจําลอง เป็นลักษณะแผํนสี่เหลี่ยมผืนผ๎า กว๎าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร ยกไปครอบฐานที่กํอให๎เป็นแทํนที่ตั้งรอยพระพุทธบาทจําลองไว๎การจานเหล็กเป็นรูปรําง สวยงาม อาศัยชํางฝีมือจากบ๎านเหลําสิงห๑ใครในอําเภอสุ วรรณภูมิมาชํวยทําลวดลายให๎สวยงามแล๎วปิดด๎วย ยางรักสีดํา (สมบูรณ๑ ศรีเฮือง. 2554 : สัมภาณณ๑) การสร๎างรอยพระพุทธบาทจําลองได๎ชี้ให๎เห็นความ รํวมมือของชาวบ๎านกุดแคนทั้งชายและหญิงทําอิฐมอญชํวยกันเป็นวัสดุกํอสร๎างใช๎เวลาหลายปีและชาวบ๎าน เหลําสิงห๑ใครเป็นชํางฝีมือทําลวดลายเหล็กที่เป็นรอยพระพุทธบาทจําลอง ซึ่งเป็นบ๎านเดิมของคนบ๎านกุด แคนได๎ ม าชํ วยเหลื อ ไปการสร๎ า งแสดงให๎เ ห็น วํ า การสร๎า งรอยพระพุ ท ธบาทจํ า ลองได๎ มีก ารกลํ าวถึ ง


ความสัมพันธ๑ของคนกับคนหลายแหํงเกิดขึ้นตั้งแตํการเดินทางไปเอาดินเหนียวของคนบ๎านกุดแคน บ๎าน หม๎อมาทําอิฐมอญ การขอความชํวยเหลือให๎ชํางมาชํวยทําลวดลายรอยพระพุทธบาทจําลองให๎งดงาม ถือวํา โบราณสถานที่สํา คั ญของชาวบ๎ า นกุ ดแคนได๎ส ร๎างความเชื่อศรัทธาให๎เกิดขึ้นจากคนในชุมชนและคน ภายนอกชุมชน มีความสามัคคี รํวมมือชํวยเหลือกันไมํใชํคนในตระกูลเดียวกัน ยุคที่ 2 ยุคการบูชารอยพระพุทธบาทจาลองแทนการบูชาผีปู่ตา พ.ศ. 2490 – พ.ศ. 2507 เด็กและเยาวชนได๎สัมภาษณ๑ชาวบ๎านหลายคนมีแสง งามใสและหนูไพร งามใสกลําวถึงพิธีกรรมที่ บูชารอยพระพุทธบาทจําลอง เกิดความเชื่อจากที่หลวงพํอหนู หรือพระครูหนูได๎ให๎ข๎อคิดเห็นวําควรนับถือ สิ่งที่มองเห็น พระพุทธรูปเป็นตัวแทนพระพุทธเจ๎าสอนให๎ทําความดีละเว๎นความชั่ว โดยชาวบ๎านกุดแคน ไมํมีดอนปู่ตาและผีปู่ตาได๎ถูกขับไลํออกจากหมูํบ๎านกํอนสร๎างรอยพระพุทธบาทจําลอง การนับถือบูชา ความเชื่อเกิ ดจากการอบรมสั่งสอนในเรื่องพุทธศาสนาเป็นความเชื่อนับถือสืบตํอกั นมาถึงปัจ จุบันของ ชาวบ๎าน พิธีบูชามีการนําพิธีเดือนสามของทุกปี วันทําพิธีให๎ถือเอาวันธงชัย จะไมํทําพิธีในวันอังคาร ถือ วําวันอังคารเป็นวันไมํเป็นมงคล ถ๎าทําวันอังคารจะเกิดการทะเลาะวิวาทไมํสงบสุข ในพิธีกรรมมีคนคอยทํา ร๎าย เชื่อกันวําเป็นวันแข็ง ครั้งแรกไมํมีการประกาศวิ ทยุกระจายเสียงทําพิธี 1 วัน ชํวงเช๎าทําบุญตักบาตร แล๎ว ผู๎นําพิธีกรรนําชาวบ๎านไปที่สถูปเจดีย๑รอยพระพุทธบาทจําลอง โดยชาวบ๎านมีเครื่องบูชา ขั้นธ๑ 5 คือ ดอกไม๎ 5 คูํ เทียน 5 คูํ ปัจจัยเงินถวายทานขึ้นกับความศรัทธาของแตํละบุคคลจะบริจาคทานสํวนมาก คนละ 1 – 10 บาท ผู๎นําพิธีกรรมกลําวคําบูชาอัญเชิญเทวดาและกลําวร๎องขออ๎อนวอนให๎ พระพุทธเจ๎ามา ปกป้องชุมชน ชาวบ๎านทุกคนปลอดภัยไมํมีโจรผู๎ร๎าย ให๎ฝนตกตามฤดูกาลได๎ข๎าวกล๎าอุดมสมบูรณ๑ สํวน พิธีบูชาสํวนบุคคลแล๎วแตํใครจะอธิษฐานอะไร เมื่อได๎ผลสัมฤทธิ์ จากคําขอจะทําบุญด๎วยการบริจาคเงินใสํ ตู๎บริจาค ไมํมีมหรสพงัน มีเฉพาะการทําบุญตักบาตร เครื่องบูชา ดอกไม๎ ธูปเทียน การบูชารอยพระพุทธบาทในยุคนี้ทํากันในชุมชน โดยไมํมีการประกาศเชิญชวนหมูํบ๎านใกล๎เคียง มารํวมทําบุญ ความเชื่อศรัทธายังไมํแพรํกระจายไปสูํหมูํบ๎านในพื้นที่ของจั งหวัดมหาสารคาม (แสงจันทร๑ งามใส. 2554 : สัมภาษณ๑) ยุคที่ 3 ยุคการเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมบูชารอยพระพุทธบาทจาลอง พ.ศ. 2507 – พ.ศ. 2535 การทําพิธีกรรมบูชารอยพระพุทธบาทจําลองได๎ขยายวงกว๎างจากคําบอกเลําของชาวบ๎านกุดแคนที่ ไปแตํงงานกับคนหมูํบ๎านใกล๎เคียงและชายหนุํมหมูํบ๎านอื่นมาแตํงงานกับสาวชาวบ๎านกุดแคน ได๎อธิบายถึง ความศักดิ์สิทธิ์ของอํานาจพระพุทธเจ๎าดลบันดาล ตามคําขออ๎อนวอนตามคําขอทุกเรื่อง หรือ เจ็บป่วยเป็น


โรคปวดหัวข๎างเดียว (ทองใบ วิวัฒนาการ.2554 : สัมภาษณ๑) อํานาจความเชื่อจึงถูกกลําวไปหมูํบ๎านหนอง โน บ๎านหนองอีดํา บ๎านโคกศรี และบ๎านหินลาด ทําให๎พิธีบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง เปลี่ยนจากกการ ทําเฉพาะคนในหมูํบ๎าน มีคนหมูํบ๎านอื่น ๆ เข๎ามาบนบานร๎องขอจากการบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง ที่ ดอนหนองสิม มีขึ้นตลอดปีไมํได๎รํวมพิธีในเดือนสามที่เป็นพิธีสํวนรวมของชาวบ๎านทํารํวมกัน แตํมีคนมา บูชากลําวขอบ๐าบนด๎วยเรื่องตําง ๆ เกิดขึ้น เชํน เรื่อง การย๎ายถิ่น ทํางานตามหัวเมืองใหญํ ๆ ไปสอบแขํงขัน เข๎าเรียน สอบบรรจุทํางาน เข๎าคัดเลือกเป็นทหารไมํถูกคัดเลือกเป็นทหารจากคําบอกกลําว แสงจันทร๑ งาม ใสวํา “ลูกชายชื่อเบ๎น อายุ 21 ปี ไปคัดเลือกทหารเกณฑ๑ไมํถูกใบแดง เพราะไปบ๐ารอยพระพุทธบาท จําลองไว๎” ซึ่งหลังจากไมํได๎เป็นทหารเกณฑ๑ขอบคุณพระด๎วยการปิดองคําเปลวในเดือนสาม (แสงจันทร๑ งามใส. 2552 : สัมภาษณ๑) ผู๎นําชุมชนในชํวงปี พ.ศ. 2535 มีผู๎ใหญํบ๎านนายอ๎ม คํารินทร๑ เป็นผู๎นํานักพัฒนาได๎รวมพลังปัญญา และรวมเงินศรัทธาจากการนําของบูชารอยพระพุทธบาททุก นําเงินที่สะสมไว๎สร๎างพระพุทธรูปองค๑เล็ก ๆ เป็นพระพุทธรูปประจําวันเรียกวําพระพุทธรูปเสี่ยงทาย คูํ กับรอยพระพุทธบาทจําลอง โดยการประชุม ชาวบ๎านเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมพิธีบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง มีการออกใบปลิวโฆษณาไปปิดประกาศไว๎ ตามหมูํบ๎านใกล๎เคียงจากที่บูชาด๎วยดอกไม๎ธูปเทียน ทําบุญและตักบาตร ได๎วําจ๎างมหรสพมางัน มีหมอลํา หมูํ ตีมวย หมอลํากลอน ภาพยนต๑มาแสดงในงานบูชารอยพระพุทธบาทจําลองจากการบูชา 1 ปรับเปลี่ยนทําพิธีกรรม 2

วัน

วัน พิธีกรรมมีการเอาบุญกุ๎มข๎าวใหญํข๎าวเปลือกมารวมกันถวายทานบูชา

พระพุทธเจ๎าและเสี่ยงทายพระพุทธรูป จัดดอกไม๎ธูปเทียน ทองคําเปลวไว๎ขายให๎คนที่มาเที่ยวงาน เรียกวํา ขายทอง งานที่จัดขึ้นได๎สื่อพุทธศาสนาและความเชื่อเป็นเครื่องเชื่อมโยงให๎ผู๎คนในตําบลโคกกํอมาชมงาน การจัดมหรสพและการทําพิธีถึง 2 วัน ถือเป็นงานใหญํโตมากในทัศนคติของชาวบ๎าน ทําให๎ชาวบ๎านกุด แคนได๎ข๎อคิดวํา งานที่บูชารอยพระพุทธบาทจําลอง เป็นงานยิ่งใหญํมาก มีการลงทุนสูงเอาแตํหมอลําคณะ ที่มีชื่อเสียงมาแสดงให๎คนมาเที่ยวงานได๎ดูชมและได๎เงินจากการจัดงานเอามาสร๎างถนน สร๎างที่พักคน เดินทางพัฒนาชุมชนเจริญขึ้นมาก (หนูไพร งานใส. 2554 : สัมภาษณ๑) ยุคที่ 4 ยุคการสร้างเครือข่ายการบูชารอยพระพุทธบาทจาลอง พ.ศ. 2535 – ถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2555) จากคําบอกเลําของชาวบ๎านกุดแคนและคุณตาสมบูรณ๑ ศรีเฮือง ผู๎นําพิธีกรรมได๎มีพิธีบูชารอยพระ พุทธบาทจําลองด๎วยการรวมบุญเดือนสี่ เข๎าไปด๎วยในบุญเดือนสามนี้ ปกติวันทําพิธีบูชาครั้งแรกมี 1 วัน มีพิธีเฉพาะคนในชุมชน ตํอมามีการบนร๎องขออํานาจพระพุทธเจ๎าให๎ชํวยเหลือหลาย ๆ ประการ ความ


ศักดิ์สิทธิ์ของอํานาจความเชื่อพุทธศาสนาและได๎มีพิธีบูชา 2 วัน ผนวกเอาวันพิธีบุญเดือนสี่ จี่ข๎าวถวาย ทานตามตํารามีความเชื่อวํา “ ในกาลครั้งหนึ่ง นางปุณณตาสีได๎ทําข๎าวจี่ถวายสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ๎า และถวายพระ อานนท๑ แตํนางปุณณทาสีคิดวําพระองค๑คงไมํเสวยอาจเอาทิ้งเอาให๎สุนัขกิน เพราะแป้งข๎าวจี่ของนางไมํ สวยงามประณีต เมื่อพระพุทธเจ๎าทรงทราบจิตใจของนาง จึงรับสั่งให๎พระอานนท๑ประทับนั่ งฉันข๎าวจี่ของ นางปุณณทาสี เป็นผลให๎นางได๎ยินดีเป็นที่สุด และเมื่อนางได๎ฟังพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ๎าแสดง ก็ บรรลุโสตาผลด๎วยถวายข๎าวจี่ ชาวอีสานได๎ทราบตํานานข๎าวจี่ถวายพระพุทธเจ๎าจึงพากันทําข๎าวจี่ถวายทาน แดํพระสงฆ๑สืบมา” (สมบูรณ๑ ศรีเฮือง. 2554 : สัมภาษณ๑) ในปัจจุบันการทําพิธีบูชารอยพระพุทธบาทจําลองจึงมีพิธีสําคัญ 3 พิธีรวมกันใน 2 วัน คือ วันที่ 1 เอาบุญเดือนสามจี่ข๎าวถวายพระสงฆ๑ บูชารอยพระพุทธบาทจําลอง และเสี่ยงทายพระ มีมหรสพ งันหลาย ๆ อยํางมีการออกร๎านเหมือนงานบุญเบิกฟ้า ในจังหวัดมหาสารคาม การทําพิธีบูชารอยพระพุทธ บาทจําลองตอนกลางคืน เวียนเทียนถือเป็นวันมาฆบูชาด๎วย สํวนการเสี่ยงทายพระปัจจุบันจะเสี่ยงทายได๎ เฉพาะในพิธี วันงานบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง เนื่องจากความศักดิ์สิทธิ์ของพระเสี่ยงทายมีความร่ําลือ วําศักดิ์สิทธิ์มากทําให๎ผู๎นําชุมชนและชาวบ๎านได๎เก็บรักษาพระพุทธรูปองค๑เสี่ยงทายไว๎อยํางดีในวัดบ๎านกุด แคน จะนําพระพุทธรูปเสี่ยงทายให๎เห็นเฉพาะงานพิธีบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง ที่มีงานพิธีรํวมทําบุญ เดือนสี่จี่ข๎าวมารวมด๎วย การทําพิธีบูชารอยพระพุทธบาทจําลองถือเป็นประเพณีประจําหมูํบ๎านกุดแคนในยุคปัจจุบันได๎ เผยแพรํผํานสื่อวิทยุชุมชน สื่อสารคดีของเคเบิลทีวีสกายไลน๑จังหวัดมหาสารคาม และสื่อการพูดสนทนา ของผู๎คนที่เคยเข๎ารํวมพิธีบุญผ๎าป่าประกอบขึ้นมาในพิธีบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง ทําให๎มีเงินหมุนเวียน ในเทศกาลบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง เปลี่ยนแปลงไปจากไมํมีการลงทุนจ๎างมหรสพมาแสดงในงานและ เตรียมอาหารไว๎เลี้ยงคนที่นําผ๎าป่ามาจากกรุงเทพฯ นครราชสีมา และคณะผ๎าป่าของชาวบ๎านที่จัดทําขึ้น เพื่อบูชาพระพุทธเจ๎าตามความเชื่อของชาวบ๎านวําไมํมีผีปู่ตา แตํมีพระพุทธรูปแทนพระพุทธเจ๎า การสร้างเครือข่ายบูชารอยพระพุทธบาทจาลองของชาวบ้านกุดแคน จากคําบอกเลําข๎อมูลความรู๎ภาคสนามที่ทีมเด็กและเยาวชนได๎นําเสนอวํา พิธีกรรมของท๎องถิ่นได๎ เชื่อมโยงให๎ผู๎คนที่ศรัทธาพุทธศาสนามารํวมกันทําพิธีบูชารอยพระพุทธบาทจําลองในเดือนสามรํวมกัน ซึ่ง เป็นการปรับเปลี่ยนพิธีกรรมหลาย ๆ พิธีของชาวอีสานที่ศรัทธาพระพุทธศาสนา มารวมกันเป็นพิธีบูชา


พระพุทธเจ๎า เกิดขึ้นเพราะนโยบายผู๎นําชุมชนต๎องการหาเงินเข๎ามาในหมูํบ๎าน เพื่อเป็นเงินทุนการพัฒนา หมูํบ๎าน โดยการขายทองคําเปลว ดอกไม๎ธูปเทียน บูชารอยพระพุทธบาทจําลองสร๎างความสนุกสนานให๎ผู๎ มาเที่ยวงานได๎ชมหมอลํา ชมดนตรี ดูการตีมวยแขํงขัน และมีการทําพิธีสํวนตนร๎องขอปิดทองคําเปลวรอย พระพุทธบาทจําลอง และเสี่ยงทายพระพุทธรูปองค๑ศักดิ์สิทธิ์ พิธีกรรมเหลํานี้มีผู๎คนจากทุกหมูํบ๎านใน ตําบลหนองโน และตําบลโคกกํอได๎รํวมกับคนตํางจังหวัดมารํวมในพิธีเป็นประเพณีประจําท๎องถิ่น ที่คน มารํวมพิธีด๎วยความเชื่อในพุทธศาสนายังคงอยูํในสังคมไทยและสังคมอีสาน นอกจากนี้การสร๎างเครือขํายของประเพณีท๎องถิ่นเกิดขึ้นจากการใช๎พัฒนาการของสื่อ เริ่มจากสื่อ บุคคลกลําวขานพูดจาในวงเพื่อนญาติ หมูํบ๎านใกล๎เคียง พัฒนาสูํสื่อวิทยุชุมชน ออกแผํนปลิวโฆษณาและ สื่อโทรทั ศ น๑แ สดงถึง การเคลื่ อนไหวการสร๎า งแหลํง เรีย นรู๎ท างวั ฒนธรรมด๎า นความเชื่อ เข๎า ไปสูํ พื้ น ที่ สาธารณะได๎ สังคมได๎รับรู๎วําบ๎านกุดแคนมีประเพณีที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษที่ไมํนับถือผีปู่ตาเหมือน ชาวอีสานหลาย ๆ ที่ แตํเป็นความเชื่ออํานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามตํานานการเกิดพุทธศาสนา ทําให๎เกิดผู๎นํา พัฒนาชุมชนเป็นพระสงฆ๑และชาวบ๎านตําแหนํงผู๎ใหญํบ๎าน เป็นคนนําชุมชนให๎พึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง เพื่อพัฒนาชุมชน โดยนําวัฒนธรรมให๎มีพื้นที่สาธารณะเกิดขึ้นผํานสื่อหลากหลายรูปแบบ เผยแพรํยังคง ดํารงอยูํหมูํบ๎านกุดแคน สรุปผลการเก็บข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่นรอยพระพุทธบาทจาลอง ชาวบ๎านกุดแคนได๎ข๎อค๎นพบเรื่องการอนุรักษ๑ประเพณีบูชารอยพระพุทธบาทจําลอง ด๎วยแนวทาง การรวมพิธีกรรมหลาย ๆ พิธีเกี่ยวกับความเชื่อพระพุทธเจ๎ามาไว๎ในพิธีรอยพระพุทธบาทจําลอง แล๎วขยาย วันทําพิธีเพิ่มมากขึ้น มีปัจจัยเสริมการวําจ๎างมหรสพหลายชนิดมาเสพงันมีเงิ นทุนเข๎ามาเกี่ยวข๎อง แตํมี เงินทุนมาด๎วยการระดมทุนทําผ๎าป่ามาสมทบการลงทุนทําพิธี มีประโยชน๑โดยตรงได๎บูชาพระพุทธรูป พิธี รอยพระพุทธบาทจําลอง (รอยพระพุทธเจ๎า) และหนุํมสาวได๎ปลดปลํอยพบปะกัน มีปฏิสัมพันธ๑กันบางคน อาจได๎เป็นคูํรักกันแตํงงานกัน และประโยชน๑โดยอ๎ อมเป็นกองทุนสวัสดิการพัฒนาหมูํบ๎าน ได๎สร๎างวัด สร๎างถนน สร๎างที่พักคนเดินทาง และเก็บเงินทุนไว๎ทําบุญพิธีบูชารอยพระพุทธบาทจําลองในปีตํอไป โดย ไมํพึ่งรัฐบาล ตั้งแตํเริ่มกํอสร๎างมาถึงการมีวัตถุในชุมชน เพราะเงินของพิธีกรรมมาเสริมสร๎างชุมชนให๎ เข๎มแข็ง ชาวบ๎านรักสามัคคี ชาวบ๎านมีเครือขํายการทํางานจากหมูํบ๎านใกล๎เคียง บ๎านหนองโน บ๎านหนอง อีดํา บ๎านนานกเขียน บ๎านโคกกํอ จังหวัดมหาสารคามและกรุงเทพมหานคร แสดงวําพิธีบูชารอยพระ พุทธบาทจําลองมีความเป็นท๎องถิ่นเดียวกัน (ประสพสุข ฤทธิเดชและผู๎นําชุมชนการพูดคุยถอดบทเรีย น


เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554) และเด็ก เยาวชนได๎จัดทําเป็นสมุดเลํมเล็กด๎วยการเรียนรู๎แบบกลุํมตัวอยําง สมุดบันทึกชุดประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่น



ข้อค้นพบแหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษาสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็ก และเยาวชนไทย ข๎อค๎นพบของการจัดการศึกษาสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่นพบวํา โครงการนี้สํงผลตํอ ชุมชนเด็ก เยาวชน ผู๎ปกครอง ประชาชน และองค๑กรทางสังคมภายนอกได๎เข๎ามาหนุนเสริมเกิดประโยชน๑ ตํอชุมชนชาวบ๎านกุดแคนและหมูํบ๎านใกล๎เคียงดังนี้ ๑. ด้านการเรียนรู้มุ่งผลสัมฤทธิ์ทักษะทางภาษา เด็กและเยาวชนที่ได้เรียนรู้ เรื่อง ไก่ ปลา ถ่ านชี ว ภาพลดโลกร้ อ น ดนตรี พื้ นบ้ านโปงลางประยุ กต์ สมุ นไพรอาหารเพื่ อ สุ ขภาพ และ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น มีพัฒนาการทักษะทางภาษาเกิดจาก การดู ฟัง พูด อ่านและเขียน โดยใช้ เครื่ อ งมือ วิ ธี วั ดประเมินผลจากสภาพจริ ง ให้โ อกาสเด็ก และเยาวชน เขี ยนเรื่อ ง/พูดเล่ า เรื่อ ง วาด ภาพประกอบและจับใจความสาคัญในเวลาเรียนตามฐานกิจกรรม และเข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการ ร่ว มกั บส านัก งาน ปปส. ภาค ๔ และเข้ าร่ว มประชุมกั บองค์ กรกลางมหาวิท ยาลั ยธุ ร กิจบั ณฑิต ย์ ปรากฏว่าเด็ก และเยาวชนสามารถพู ดอธิ บาย ให้ผู้ เข้าประชุมได้รับรู้ กิจกรรมของแหล่ งเรียนรู้มีผ ล สะท้อนกลับ กล่าวว่า “เด็กและเยาวชนกลุ่มนี้มีทักษะการพูด กล้าแสดงออก เขียนเรื่องจากที่เล่าได้ (วิมนา เวทีกูล. เจ้าหน้าที่ประสานงาน ปปส. ภาค ๔ จังหวัดขอนแก่น วันที่ ๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔) และ (สอาดลักษม์ จงคล้ายกลาง. เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการการจัดการศึกษาแบบมีส่วน ร่วมขององค์กรชุมชน วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔) ดังภาพประกอบ


การนาเสนอผลงานของแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช สืบเนื่องจากการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ได้ข้อค้นพบว่า ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ด้านการสื่อสารและการรับสารของเด็กและเยาวชน เป็นที่ยอมรับของผู้เข้าร่วมการประชุม และการ ประเมินด้วยพ่อ-แม่ของเด็ก และเยาวชนได้พูดคุยแบบไม่เป็นทางการ อธิบายพฤติกรรมลูกของตนเอง ว่า “ด้านการอ่าน พูด เขียน มีพัฒนาการเพิ่มมากกว่าไม่ได้เข้าร่วมโครงการ แต่อย่างไรก็ตามยัง ต้องการให้มีการจัดกิจกรรมกระตุ้นการใฝ่รู้ใฝ่เรียนให้มากขึ้นกว่าการอ่าน เขียน พูดเล่าเรื่อง โดยให้มี กิจกรรมคนดีได้ช่วยงานครอบครัวและมีคนเก่งในรอบเดือนเป็นแรงเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความสนใจ เป็นเยาวชนมีคุณธรรมและความรู้ดียิ่งขึ้น” (ตวงทิพย์ ป้องสงคราม. ๒๕๕๔ : สัมภาษณ์) นอกจากนีใ้ นส่วนสถาบันการศึกษา โรงเรียนบ้านกุดแคนได้ให้ข้อคิดเพิ่มเติมเด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมโครงการอยากให้มีการกล้าพูดกล้าแสดงออกทุกช่วงวัย เพราะเด็กระดับชั้น ป.๑-ป.๒ มีทักษะ ภาษาการสื่ อสารในระดับปานกลาง คื อ ยังสื่ อ สารได้ไม่ค ล่ องแคล่ ว ” (ทานอง สี ดาพล. ๒๕๕๔ : สัมภาษณ์) ข้อค้นพบการมุ่งผลสัมฤทธิ์ทักษะทางภาษา การดู ฟัง พูด อ่านและเขียน จากผล โดยรวมของสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ ผลที่เกิดขึ้นทาให้เด็กและเยาวชนมีประสบการณ์ตรง ที่ได้เรียนรู้ จริง ได้ฝึกปฏิบัติการพูดต่อที่สาธารณะยังไม่ครบถ้วนทุกคน แต่คิดว่าในอนาคตเด็กและเยาวชนจะมี พัฒนาการด้านทักษะทางภาษาผ่านเกณฑ์ความพอใจของครู และผู้ปกครอง


2. เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์กับสมาชิกในโครงการ การจัดการศึกษาของโครงการนี้ได้บูรณาการกิจกรรม ๕ กิจกรรมดังกล่าวมา ด้วยบริบทจริงของ ชุมชน ให้โอกาสคนในหมู่บ้านได้แสดงความต้องการ เป็นครัวเรือนแกนนาต้นแบบการจัดการศึกษานา ร่องโดยการสมัครใจว่าครอบครัวใดต้องการเป็นตัวแทนถ่ายทอดความรู้ให้กับสมาชิกในโครงการได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันส่งผลต่อผู้ปกครอง ประชาชนที่สนใจ ครูจิตอาสาร่วมกับเด็กและเยาวชน เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นพลเมืองดีของชุมชนใช้วิธีการวัดจากการสังเกตพฤติกรรม พบว่า ความเป็นพลเมืองดีของบ้านกุดแคน ประกอบด้วยคุณลักษณะหลายประการ ได้แก่ การมีวินัยในตนเองของเด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมมีวินัยใน ตนเอง ปรากฏชั ด เจน คื อ การเข้า ร่ว มประชุ มจากใบตอบรั บการเข้า ร่ว มประชุ มในแต่ล ะเดือ นที่ โครงการได้นัดเวลาให้สมาชิกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเกิดแนวทางการทางานตามระบอบ ประชาธิปไตย โดยใช้กฎกติกาของสมาชิก ในกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการเป็นข้อบังคับ เรียกว่ากติกาทาง สังคมของแหล่ งเรียนรู้ของชุมชน คื อต้องมีหน้าที่ร่วมกันทาคู่มือหลักสูต รของหมู่บ้านตนเองใน ๕ กิจกรรม ซึ่งหลักสูตรสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจะเป็นหลักสูตรของชุมชนที่ ทุกคนได้แสดง ความคิดเห็น และยอมรับในชุดความรู้ที่จะศึกษาร่วมกัน ถือเป็นประชาธิปไตย โดยสมาชิกทุกคนมี บทบาทจะเขียน พูดโต้แย้งได้ทุกกิจกรรม และยอมรับแก้ไขปัญหาร่วมกัน มีความขยันหมั่นเพีย รสังเกตจากการอบรมสั่งสอนลูกของตนเองให๎เรียนรู๎จากประสบการณ๑จริงที่ พํอแมํได๎ปฏิบัติมา สํงผลให๎ลูก ๆ มีผลการเรียนรู๎ ได๎แกํ การอําน การพูด การเขียนหนั งสือได๎ถูกต๎องและ สร๎างโจทย๑ปัญหาทางคณิตศาสตร๑ในระดับพื้นฐานได๎ ตามชํวงวัยอายุระดับชั้น ป. ๑ – ป. ๖ ระดับชั้น ม. ๑ – ม. ๓ และ ชั้น ม. ๔ และมีความสุขรํวมกันโดยเด็กและเยาวชน ผู๎ปกครอง ครูปราชญ๑ชุมชน ครูจิตอาสา และวิทยากรจากภายนอกมีความรักสามัคคีและมีความสุข เมื่อจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู๎ คือ ให๎ ข๎อเสนอแนะ แก๎ไขปัญหา รํวมติดตามผลงานและรํวมชื่นชมในผลงานรํวมกัน ตรงกับภาษาถิ่นอีสาน คือ ไมํย๎านกันได๎ลื่น (ไมํมีความอิจฉาซึ่งกันและกัน) 3. กลไกการดาเนินงานที่ทาให้ได้ประสบผลสาเร็จ การดําเนินงานของโครงการนี้มีจุดแข็งโดยใช๎ชุมชนเป็นตัวตั้ง โดยชุมชนเข๎ารํวมโครงการด๎วย ความสมัครใจที่เรียกวําระเบิดจากภายในมารํวมมือกัน และสมาชิกในโครงการทํางานรํวมกับลูก ๆ ของ ตนเอง มีภาระโดยต๎องเขียนหนังสือรํวมกับลูกตนเอง เป็นบทเรียนการเรียนรู๎ทําให๎พํอแมํภูมิใจในผลงาน และชื่นชมที่ลูกของตนเองได๎เรียนรู๎ทักษะชีวิ ต ทักษะทางสังคมมากกวําโรงเรียนในระบบเพราะเป็นแหลํง เรียนรู๎ที่เป็นระบบเปิดให๎เข๎ามาใช๎บริการได๎ทุกวันเสาร๑และวันอาทิตย๑พบความสําเร็จดังนี้


1) ทุนทางสังคมของคนในชุมชน การนําทุนทางสังคมของคนในชุมชนมาใช๎ในกิจกรรมนี้คือใช๎ทุนทรัพยากรมนุษย๑ทุกกลุํม มารํวมมือกันทํางานได๎แกํ เด็ก เยาวชน ผู๎นําชุมชน ปราชญ๑ชาวบ๎าน กลุํมสตรีแมํบ๎าน กลุํม อสม. อบต. ประจําหมูํบ๎าน ซึ่งแตํละบุคคลมีจุดแข็งของตนเอง จุดรํวมกันคือความเสียสละเข๎ามารํ วมกิจกรรมแบบ หมุนเวียนกันดูแลเด็กและเยาวชน ทํางานเป็นทีมแตํเป็นวิธีธรรมชาติโดยใครวํางวันใดจะมาใช๎บริการและ ดูแลเด็ก เยาวชน จะไมํพบผู๎ปกครองมารํวมกลุํมกันเป็นจํานวนมาก แตํจะมีคนเข๎ามาใช๎บริการตลอดปี โดย ทุกคนมองประเด็นที่ตรงกันวํา ทํา จริงแตํไมํทําแบบยกป้ายโครงการแล๎วถํายภาพเก็บไว๎โชว๑วําเป็นการ ทํางานแบบมีสํวนรํวม ถ๎าให๎ผู๎ปกครองหรือผู๎เข๎ารํวมโครงการมารํวมกลุํมกันเยอะ ๆ ทุกวันคงไมํได๎ทํา อาชีพอื่น ๆ จึงเป็นการใช๎ทุนทางสังคมทรัพยากรมนุษย๑แบบวิธีธรรมชาติคือ ใครใครํมาก็มา ใครใครํไปทํา อาชีพสํวนตัวก็ไป แตํมีลูก ๆ เป็นสมาชิกโครงการรํวมกิจกรรมทุกอยําง ๆ โดยวิธีผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน มาปฏิบัติภารกิจ 2) ทุนทางสังคมภายนอกชุมชน การหนุนเสริมให๎โครงการนี้ประสบผลสําเร็จอยํางตํอเนื่องเกิดจากองค๑กรทางสังคมหลาย หนํวยงานได๎เข๎ารํวมเป็นเครือขํายทั้งแบบถาวรและชั่วคราวในแตํละปี เพราะมีคนมาศึกษาดูงานตลอดปี สํงผลให๎แหลํงเรียนรู๎ชุมชนได๎เผยแพรํผลงาน

ทั้งในชุดสารคดี เอกสาร สื่อสิ่งพิมพ๑ หนํวยงานทาง

สังคมภายนอกได๎แกํ องค๑กรกลางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย๑ ในโครงการ ปศท.2 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สํานักงาน ปปส. ภาค 4 จังหวัดขอนแกํน โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา มหาสารคามเขต 1 องค๑กรเอกชน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ หนังสือพิมพ๑คมชัดลึก หนังสือพิมพ๑มติชน หนังสือพิมพ๑บ๎านเมือง และสถานีโทรทัศน๑ท๎องถิ่นสกายไลน๑เคเบิลทีวีจังหวัดมหาสารคาม โดยหนํวยงาน เหลํานี้ได๎เข๎ารํวมโครงการแบบผู๎ใหญํใจดีหนุนเสริมกิจกรรมโครงการในรูปอุปกรณ๑การเรียนรู๎ และใน รูปแบบทุนการศึกษามอบให๎เด็ก ๆ และเยาวชน ทําให๎โครงการดําเนินงานในรูปแบบพึ่งตนเองและพึ่งพา เครือขํ า ยแบบสมั ค รใจเข๎ า มาหนุนเสริ ม แตํทุก ภาคสํวนเข๎ามารํวมแบบเต็ม ใจ จึงไมํมี เงื่อ นไขผูก พั น โครงการน๎อมรับและขอบพระคุณ 3) มีธรรมาธิบาลทํางานปลอดการคอรัปชั่น การทํางานของแหลํงเรียนรู๎แหํงนี้ให๎บทบาทของการมีสํวนรํวมเป็นนโยบายสําคัญที่สุด และมี กติกาทางสังคมที่ต๎องปฏิบัติรํวมกันคือ รํวมรับผลประโยชน๑อยํางทัดเทียม ทุก ๆ กิจกรรม เมื่อมีรายรับ


รายจําย ต๎องชี้แจงโดยเด็กและเยาวชนเป็นผู๎จัดสรรผลประโยชน๑ให๎สมาชิกมีคํากลําววํา เด็ก เยาวชนแหลํง เรียนรู๎ชุมชนได๎กินอิ่ม นอนหลับ ท๎องอุํน คือมีความสุข โดยตอบคําถามวํา มาอยูํตรงนี้เพราะอะไร มา เรียน มาเลํน และได๎กินขนม ผลไม๎ อาหารสมบูรณ๑ เพราะมีคนใจดีมาเยี่ยมชม แล๎วพวกเราเป็นเด็กดี จึง ได๎ผลดีตอบแทน กุศโลบายโดยอ๎อมที่ให๎เด็กและเยาวชนมีบทบาททําทุกสิ่งทุกอยํางเหมือนเป็นสถานที่ของ เขาเอง และฝึกคุณธรรมความชื่อสัตย๑ให๎ เพื่อปลูกฝังไมํให๎เด็กเยาวชนเป็นคนทุจริตตํอสังคม ต๎องการให๎ เด็ ก และเยาวชนเรี ย นรู๎ วํ า ความซื่ อสั ต ย๑ สุ จ ริต เป็น ความดีที่ กิ นอิ่ ม ท๎ องอุํ น นอนหลั บ อยํ า งมี ค วามสุ ข เนื่องจากทุกคนรํวมชื่มชนแก๎ไขปัญหา และรับผิดชอบรับผลประโยชน๑เทําเทียมกัน การใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัย สืบเนื่องจากโครงการนี้เป็นโครงการตํอเนื่องได๎ดําเนินงานตั้งแตํ ปี พ.ศ. 2551 – พ.ศ.2555 มีความ ยั่งยืนโดยการพึ่งตนเองจัดทํากิจกรรมเป็นรูปธรรมในเรื่องการพัฒนาเด็กและเยาวชนจึงขยายผลไปสูํชุมชน โดยสํงเสริมเรื่องทักษะอาชีพ และสํงเสริมให๎เกิดการเรียนรู๎ระหวํางเยาวชน ครูจิตอาสา ผู๎ปกครองและมี คณะบุคคลเข๎ามาศึกษาดูงาน รํวมมือกับ ปปส.ภาค 4 จังหวัดขอนแกํน ทํากิจกรรม 5 รั้วล๎อมไทย ใน กิจกรรมชุมชนป้องกันยาเสพติด ทําให๎โครงการนี้ได๎ขยายแนวคิดเข๎ารํวมประชุมเป็นวิทยากร และขยายผล ของกิจกรรมในแบบบ๎านหลังเรียนไปทั่วภาคอีสาน มีการขยายเครือขํายไปยังชุมชนใกล๎เคียง 1 แหํง คือบ๎านโนนตาล ตําบลทําสองคอน อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ครอบครัวของนายธนาพัฒน๑ เที่ยงภักดิ์ ได๎ใช๎ชุดความรู๎ของโครงการ ทําสัมมาอาชีพ ในครอบครัว ได๎แกํ การเลี้ยงไกํพันธ๑ไขํ เลี้ยงปลา ปลูกพืชผักสมุนไพร ดังภาพประกอบ


การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่


ความประทับใจของสมาชิกในโครงการ ความทรงจําของเด็กและเยาวชนที่ได๎เข๎ารํวมกิจกรรมได๎ให๎ข๎อคิดเห็นกับแหลํงเรียนรู๎ของชุมชน “บ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช” บอกเลําความประทับใจแตกตํางกันไป เชํน ความประทับใจของ เด็กและเยาวชนที่มีตํอบ๎านหลังเรียน โดยเด็กและเยาวชนเขียนเป็นเรื่องเลํามีภาพประกอบดังนี้





ความรู้สึกประทับใจแกนนาผู้ปกครองที่สมัครใจเลี้ยงไก่ – ปลา การเลี้ยงไกํและการเลี้ยงปลามีสมาชิกแกนนําเป็นเกษตรเข๎ารํวมโครงการจํานวน 21 ครัวเรือนได๎ สะท๎อน ความคิดเห็นและความรู๎สึกตํอโครงการดังนี้




อุปสรรคและปัญหาในการดาเนินงานของโครงการ โครงการนี้มีเงื่อนไขข๎อจํากัดในการพัฒนาเด็กและเยาวชนกลุํมเด็กพิการ และนักการเมืองบางคน มองโครงการนี้ จ ะแขํ ง ขั น ทางการเมื อ งในระดั บ ท๎ อ งถิ่ น ระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ สมั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง เป็ น ผู๎แทนราษฎร โดยสร๎างบารมีสะสมกับนักการเมืองกลุํมอื่นๆ ทําให๎ถูกโจมตีวําโครงการนี้มีเงื่อนไขหากลุํม คนสนับสนุนเข๎าสูํตําแหนํงทางการเมือง วิธีการแก๎ไขอุปสรรคปัญหา 1) ประชุมชี้แจงแนวนโยบายผํานสื่อบุคคลผู๎ปกครอง ผู๎เข๎ารํวมโครงการให๎เข๎าใจแนวนโยบาย จัดทําแหลํงเรียนรู๎ชุมชนเพื่อเป็ นอนุสรณ๑สถานให๎พํอตนเองและมอบสถานที่แหํงนี้ให๎ชุมชน บ๎านกุดแคนดําเนินการตํอไป 2) เดินทางสายกลางตามหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา มัชฌิมาปฏิปทา ไมํยึดมั่นตนเอง รับฟังและยอมรับ ปรับแก๎ให๎สังคมยอมรับในกิจกรรม เพื่อ ขยายผลตํอชุมชนให๎ยั่งยืนและ เข๎มแข็ง 3) จัด กิ จกรรมเยี่ ย มบ๎ า นโดยเข๎ า รํว มกิ จกรรมกั บ ชุม ชนอยํ า งน๎อ ยปีล ะ 2-3 ครั้ ง เพื่ อ สร๎ า ง สั ม พั น ธไมตรี กั บ สมาชิ ก ในโครงการและเด็ ก และเยาวชนเจ็ บ ป่ ว ย ต๎ อ งไปเยี่ ย มถามขํ า ว ปลอบโยนให๎ขวัญและกําลังใจอยํางเทําเทียมกัน สรุป แหลํงเรียนรู๎ชุมชน “ปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช” เป็นองค๑กรเอกชนที่ได๎ใช๎ชุดความรู๎จากผลการวิจัยใน โครงการติดตามสภาวะการณ๑เด็กและเยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และใช๎แนวคิดอุดมการณ๑ของพํอ “คืนความรู๎สูํชุมชน” ได๎เป็นเครือขํายรํวมกับโครงการ ปศท.2 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย๑ ในปี พ.ศ. 2554 – พ.ศ.2555 มีจุดเน๎นของโครงการจัดกิจกรรมสัมมาอาชีพ คือกิจกรรมเลี้ยงปลา ไกํ พืชสมุนไพร อาหาร สุข ภาพ ถํ า นชี ว ภาพลดภาวะโลกร๎อน ดนตรีพื้ นบ๎านโปงลางประยุ ก ต๑ปุ่ทวดครูสิ งห๑ ฤทธิ เดช และ ประวัติศาสตร๑ท๎องถิ่นบ๎านกุดแคน ได๎นําเสนอการพัฒนาการของแหลํงเรียนรู๎ชุมชนเป็นประวัติศาสตร๑ ชุมชนของชาวบ๎านมีผลลัพธ๑เชิงบวกและอุปสรรค ปัญหา เป็นเพียงกรณีตัวอยํางที่ไมํใชํสูตรสําเร็ จตายตัว จะบํงชี้วําเป็นตัวแทนของแหลํงเรียนรู๎ชุมชนที่เป็นต๎นแบบ แก๎ไขปัญหาให๎ชุมชนเป็นสุขได๎ อยํางไรก็ตาม กิจกรรมดําเนินการของโครงการต๎องปรับไปใช๎ให๎ถูกกับสภาพภูมิสังคมของท๎องถิ่นตนเอง ให๎เหมาะสม ตามความต๎องการของคนให๎ชุ ม ชน คงเกิ ดประโยชน๑กั บการจัดการศึก ษาตามอัธ ยาศั ย แบบกิ จกรรม


ทางเลือกจากความสนใจของผู๎ใช๎บริการ จะทําให๎โครงการมีความตํอเนื่องและทุกอยํางที่กํอรูปรํวมกันต๎อง ระเบิดใจออกมาจากภายในของทุกคนจะทําให๎แหลํงเรียนรู๎ชุมชน เข๎มแข็งและยังคงอยูํได๎ ด๎วยการทํางาน แบบมีสํวนรํวมและมีธรรมาธิบาลของความไมํทุจริตตํอกันและกัน อ้างอิง การถอดบทเรียนจากการพูดคุยไมํเป็นทางการจากสมาชิกโครงการและการเขียนเลําเรื่องจากฐานกิจกรรม การเรียนรู๎ 1) นางตวงทิพย๑ ป้องสงคราม ผู๎ปกครองของเด็ก เยาวชนที่เข๎ารํวมโครงการในแหลํงเรียนรู๎ ชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช 2) นายชัยชนะ แดงทองคํา เขียนบทสารคดี “ที่นี่สารคาม บ๎านหลังเรียน” เผยแพรํในรายการที่นี่ สารคาม สถานีโทรทัศน๑ท๎องถิ่นสกายไลน๑เคเบิลทีวีจังหวัดมหาสารคาม 3) น.ส.นภัทสร แกํนแก๎ว ผู๎อํานวยการแหลํงเรียนรู๎ชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช 4) นายธนาพัฒน๑ เที่ยงภักดิ์ ครูจิตอาสาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ในโครงการแหลํง เรียนรู๎ชุมชนบ๎านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช 5) นายสมบูรณ๑ ศรีเฮือง อายุ 72 ปี บ๎านเลขที่ 90 หมูํ 6 บ๎านกุดแคน ตําบลนองโน อําเภอ เมือง จังหวัดมหาสารคาม ให๎สัมภาษณ๑ทีมเด็กและเยาวชน วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2554 6) นายทองใบ วิวัฒนาการ อายุ 80 ปี บ๎านเลขที่ 18 หมูํ 2 บ๎านกุดแคน ตําบลนองโน อําเภอ เมือง จังหวัดมหาสารคาม ให๎สัมภาษณ๑ทีมเด็กและเยาวชนวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2554 7) นายหนูจี จําคาม อายุ 65 ปี บ๎านเลขที่ 85 หมูํ 6 บ๎านกุดแคน ตําบลนองโน อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ให๎สัมภาษณ๑ทีมเด็กและเยาวชนวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.2554 8) นายหนูไพร งามใส อายุ 61 ปี บ๎านเลขที่ 25 หมูํ 6 บ๎านกุดแคน ตําบลนองโน อําเภอ เมือง จังหวัดมหาสารคาม ให๎สัมภาษณ๑ทีมเด็กและเยาวชนวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.2554 9) นางหมู ใบบ๎ง อายุ 40 ปี บ๎านเลขที่ 26 หมูํ 6 บ๎านกุดแคน ตําบลหนองโน อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ให๎สัมภาษณ๑ทีมเด็กและเยาวชนวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2554 10) นางแสงจันทร๑ งามใส อายุ 58 ปี บ๎านเลขที่ 25 หมูํ 6 บ๎านกุดแคน ตําบลนองโน อําเภอ เมือง จังหวัดมหาสารคาม ให๎สัมภาษณ๑ทีมเด็กและเยาวชนวันที่ 29ธันวาคม พ.ศ.2554 11) นางอํานวยพร สีดาพล อายุ 80 ปี บ๎านเลขที่ 10 หมูํ 6 บ๎านกุดแคน ตําบลนองโน อําเภอ เมือง จังหวัดมหาสารคาม ให๎สัมภาษณ๑ทีมเด็กและเยาวชนวันที่ 29ธันวาคม พ.ศ. 2554


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก. - รายชื่อทะเบียนเด็กและเยาวชนในฐานการเรียนรู๎ 5 กิจกรรม


ทะเบียนกลุ่มเลี้ยงปลา และไก่ ผู้ปกครองร่วมกับเด็กและเยาวชนกับครูจิตอาสา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

นายสุวรรณ นายเฉลียว นางน๎อย นายสมพงษ๑ นางสุนันทา นางหนูจันทร๑ นางรังรอง นางกล นายถวัลย๑ นายสมพงษ๑

กลุ่มเลี้ยงไก่ 1 นางเพ็ง 2 นายสมพร 3 นายถนอม 4 นางสาววนิดา 5 นายสุพจน๑ 6 นายสร๎อย 7 นายทอง 8 นายธนกิต 9 นายคําปัน 10 นางคล๎าย 11 นางสาวจิตนา

ปานโหนํง กนึกรัตน๑ สาวังดี จํายก รังวัดสา ศรีจันทร๑นนท๑ ขุสี เศษภักดี ผิวผํอง จํายก

ชุมแสง สีโยวัย เศษภักดี กาบสุวรรณ คํายา บุรี สุกพวงแก๎ว อินทร๑งาม ปานโหนํง ทันบาล พุทธดี

จานวน 21 ครัวเรือน เด็กและเยาวชนครูจิตอาสา 1 เด็กหญิงอ๎อนจันทร๑ 2 เด็กหญิงกนกพร 3 เด็กหญิงสิริกัญญา

ปานโหนํง หมอรัตน๑ หงส๑เจริญ


4 5 6 7

เด็กหญิงกนกวรรณ เด็กหญิงรัชนีวรรณ เด็กหญิงตวงทอง เด็กชายใหมํ

คําจันทร๑ กลั่นอักโข อนันเอื้อ ศรีจันทร๑นนท๑

ครูจิตอาสาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นายธนาพัฒน๑ เที่ยงภักดิ์ วิทยากร นักวิชาการประมงจากสถานีประมงน้าจืดจังหวัดมหาสารคาม นางเพ็ญพร เสนามาตย๑ ทะเบียนกลุ่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ผู้ปกครอง เด็กและเยาวชน ครูจิตอาสาในชุมชน 1 นางคล๎าย ทันบาล 2 นางจุฑามาตย๑ คํารินทร๑ 3 นางหยูํ จํายก 4 นางไหม ศรีแก๎ว 5 นางบังอร อนันเอื้อ 6 นางจันดา หงส๑เจริญ 7 นางคําจันทร๑ สุกพวงแก๎ว 8 นางแสงจันทร๑ งามใส 9 นางดวงพร ชุมแสง 10 นางนาง สอนชา เด็กและเยาวชน 1 นางสาวนภัสสร 2 นางสาวรสสุคนธ๑ 3 เด็กหญิงปาริชาติ 4 เด็กหญิงจิรวดี 5 เด็กหญิงเมขลา 6 เด็กหญิงแก๎วมณี 7 เด็กหญิงเนตรนิล

แกํนแก๎ว เหมือนมาตย๑ กองรัตน๑ ศรีอํานวย จํายก ลืออํานาจ สนิทลุน


วิทยากรฐานการเรียนรู้ นางสุนันทา รังวัดสา นางปูน เรืองจันทา ครูจิตอาสา จากสานักงานเกษตรจังหัดมหาสารคาม นางละมัย ฤทธิเดช ทะเบียนกลุ่มถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน .

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

นางละมัย นายณัฐวุฒิ นางสาวชํอกัลป์ นายถวัลย๑ นายสมพงษ๑ นายสมพงษ๑ เด็กชายอภิรักษ๑ เด็กชายวิทยา เด็กหญิงจิรวดี นางสาวนภัสสร

ฤทธิเดช ฤทธิเดช ฤทธิเดช ผิวผํอง สีโยวัย จํายก เจริญนนต๑ ป้องสงคราม สุกพวงแก๎ว แกํนแก๎ว

วิทยากร จากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นายสมบัติ ฤทธิเดช ครูปราชญ์ชุมชน นายถวัลย๑ ผิวผํอง ทะเบียนกลุ่มประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 1 คุณยายอํานวยพร สีดาพล 2 คุณตาสมบูรณ๑ ศรีเฮือง 3 นายถนอม เศษภักดี 4 นางลุน พานหาญ 5 นายทองใบ วิวัฒนากร กลุํมเด็กและเยาวชนในโครงการแหลํงเรียนรู๎ของ ชุมชนปู่ทวดครูสิงห๑ ฤทธิเดช จํานวน 52 คน


วิทยากร จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.ดร.ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ ครูปราชญ์ชุมชน คุณยายอํานวยพร สีดาพล คุณตาสมบูรณ๑ ศรีเฮือง นายถนอม เศษภักดี นางลุน พานหาร . ทะเบียนกลุ่มดนตรีโปงลางประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช 1 นายธนกิต 2 นายสมชัย 3 นายบุญมา 4 นายธนวุฒิ 5 เด็กชายลิขิตชัย 6 เด็กชายฉัตรมงคล 7 เด็กชายอัครเดช 8 เด็กชายทรงวุฒิ 9 เด็กชายพัธพัฒน๑ 10 เด็กชายอเนก 11 เด็กชายณัฐพงษ๑ 12 เด็กหญิงอรทัย 13 เด็กหญิงรสสุคนธ๑ 14 เด็กหญิงแพรวพโยม 15 เด็กหญิงสิรินทรา 16 เด็กหญิงธัญญลักษณ๑ 17 เด็กชายวรพันธ๑ 18 เด็กหญิงรัชนีวรรณ 19 เด็กหญิงสุวนันท๑ วิทยากรครูปราชญ์ชุมชน นายธนกิต อินทร๑งาม นายศตวรรษ เศษภักดี นายบุญมา คามทาหลง

อินทร๑งาม ธรรมวิชัย คามทาหลง เศษภักดี ธรรมวิชัย สารพิมพ๑ ขุรี แสงนา ปานาตี บุตรราช ธงศรี ธงไธสง เหมือนมาตร ธงไธสง คํารินทร๑ กองรัตน๑ ศรีจันทร๑นนท๑ กลั่นอักโข บุญจูง


วิทยากรครูผู้เชี่ยวชาญดนตรีจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย๑ทรงศักดิ์ สุจันทร๑ วิทยากรพี่สอนน้อง เด็กชายลิขิตชัย ธรรมวิชัย เด็กชายทรงวุฒิ แสงนา


ภาคผนวก ข. - องค๑กรเครือขํายที่รํวมทํางานกับโครงการ


เครือข่ายภายในชุมชน

ตระกูลฤทธิเดช

แหล่งเรียนรู้ชุมชน ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช

-เด็กและเยาวชน -ผู้ปกครอง -ผู้นาชุมชน -ปราชญ์ชุมชน -สมาชิก อสม.

-สถาบันการศึกษาใน ชุมชน -สถานที่/แหล่งเรียนรู้ ในชุมชน

-ประชาชน -สมาชิก อบต. -กลุ่มสตรีแม่บ้าน

เครือข่ายภายนอกชุมชน

สถาบันการศึกษา องค์กรทางสังคม

สานักงานกองทุน สนับสนุนสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.)

แหล่งเรียนรู้ชุมชน ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช

สื่อ/โทรทัศน์ สื่อหนังสือพิมพ์ระดับท้องถิ่น และประเทศ

องค์กรกลาง มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์


ภาคผนวก ค. - ครูจิตอาสา


ครูพี่โต

ครูพี่แคท


ครูน้อง ครูเจนนี่

ครูแป้ง


ครูแซค

ครูริน


ภาคผนวก ง. - เกียรติบัตรเยาวชนแสดงผลสัมฤทธิ์และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค๑







ภาคผนวก จ. - การประเมินผลจากบุคคลที่มาศึกษาดูงาน










ภาคผนวก ฉ. ภาพประกอบกิจกรรมการเรียนรู้


ภาพกิจกรรม ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช


ภาพกิจกรรม ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน


ภาพกิจกรรม สมุนไพรเพื่อสุขภาพ


ภาพกิจกรรม ไก่และปลาเศรษฐกิจชุมชน


ภาพกิจกรรม ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น สื่อสายใยรักในชุมชน


ภาพถ่ายสื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ (จานวน 2 ภาพ)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.