แหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็ก และเยาวชนไทย เอกสารเผยแพร่ คณะผู้วิจัย แหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็ก และเยาวชนไทย
เอกสารเผยแพร่ในชุดโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนไทย(ปศท.2) สนับสนุนโดยสานักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริม สุขภาพ(สสส.) และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ร่วมกับแหล่งเรียนรู้ชุมชน ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554
เอกสารเผยแพร่โครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพ ด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนไทย ส่วนที่ 1 บทความร่วมกับโครงการ ปศท.2 ส่วนที่ 2 เอกสารเผยแพร่แผ่นพับโครงการ ส่วนที่ 3 เอกสารเผยแพร่แผ่นพับโครงการวิทยาศาสตร์ถ่านชีวภาพฯ ส่วนที่ 4 รายงานนาเสนอความก้าวหน้าของโครงการ ส่วนที่ 5 ผลงานของนางสาวนภัทสร แก่นแก้ว ส่วนที่ 6 การสังเคราะห์บ้านหลังเรียนโครงการติดตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนที่ 7 สารคดีสรุปโครงการ : ที่นี่สารคามบ้านหลังเรียน
ส่วนที่ 1 บทความร่วมกับโครงการ ปศท.2
แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช ประสพสุข ฤทธิเดช1 นภัทสร แก่นแก้ว2 ธนาพัฒน์ เที่ยงภักดิ์3 ชัยชนะ แดงทองคา4
แหล่งเรียนรู้ชุมชนที่ผู้เขียนนาเสนอเป็นขององค์กรเอกชนตระกูลฤทธิเดชที่เรียกว่าเป็นเจ้าภาพหลัก ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 1หมู่ที่ 6ตาบลหนองโน อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคามได้ดาเนินงานร่วมกับองค์กร เอกชน สถาบั นการศึ ก ษา องค์ ก รปกครองส่วนท้อ งถิ่น ศาสนสถานวัด และองค์ก รทางสังคมหลายๆ หน่วยงานได้เข้ามาดาเนินงานร่วมกันเรียกว่าเจ้าภาพร่วมกับเจ้าภาพหลักตระกูลฤทธิเดช ซึ่งมีความมุ่งมั่นให้ แหล่งเรียนรู้ของชุมชนแห่งนี้เป็นต้นแบบของการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสนองตอบต่อความต้องการ ของคนในชุมชนตาบลหนองโน อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคามใช้วิธีการวิจัยการศึกษา โดยใช้ชุมชนเป็น ฐาน เพื่อให้เด็กและเยาวชน ผู้ปกครอง ประชาชน กลุ่มสตรีแม่บ้านหรือผู้ที่สนใจได้ใช้บริการตามฐาน กิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้นในวันเสาร์และวันอาทิตย์ เช่นมุมเฮียนฮู้ ( มุมเรียนรู้) คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ศิลปะการฟ้อนราดนตรีโปงลางประยุกต์ ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน การเลี้ยงไก่ การเลี้ยง ปลา สวนสมุนไพร และมุมนันทนาการได้แก่ มุมเล่นขายของ ชิงช้าสวรรค์ เต้นยาง การเล่นโพงพาง และ การออกกาลังกาย ผลของการดาเนินงานของโครงการจากกิจกรรมหลายรูปแบบที่จัดขึ้น พบว่ามีกลไก ขั บ เคลื่อ นการด าเนิ นงานให้พ บกั บ ความส าเร็ จ และพบอุ ปสรรคปั ญหา เป็นผลลั พ ธ์ที่ เกิ ด ขึ้น จากการ ประเมินผลตามสภาพจริงของบริบทชุมชนปรากฏรายละเอียดดังนี้ แหล่งเรียนรู้ชุมชนประวัติศาสตร์ชาวบ้าน การสร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชน ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช มีจุดมุ่งหมายเพื่อ(1) สืบสานอุดมการณ์ของ พ่อที่ต้องการสร้างโรงเรียนให้ชุมชนบ้านกุดแคนเข้ามาใช้บริการ การศึกษาหาความรู้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเจตนารมณ์ของพ่อมีความต้องการ “ คืนความรู้ สู่ชุมชน ” เนื่องจากลูก ๆ ของพ่อได้ประกอบอาชีพตาม สาขาวิชาที่ได้เล่าเรียนควรใช้ความรู้พัฒนาบ้านเกิดของตนเอง อย่างไรก็ตามเจตนารมณ์ของพ่อไม่ได้สร้าง 1. หัวหน้าโครงการแหล่งเรียนรูข้ องชุมชนจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะ ของเด็กและเยาวชนไทย 2. ผู้อานวยการแหล่งเรียนรูข้ องชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช 3. ครูจิตอาสาในโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนบ้านหลังเรียนปูท่ วดครูสิงห์ ฤทธิเดช 4. เครือข่ายองค์กรที่เข้าร่วมในโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนบ้านหลังเรียนปูท่ วดครูสิงห์ ฤทธิเดช
โรงเรียนให้ดังที่ตั้งใจไว้ เพราะพ่อ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2551 ด้วยเหตุผลนี้ทาให้ลูก ๆ ของพ่อ ได้สร้างแหล่งเรียนรู้ของชุมชนเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พ่อได้มีความสุขและพ่อจะได้ไปสวรรค์ ตามความเชื่อ ของพุทธศาสนา เมื่อลูกได้ทาบุญสร้างสิ่งที่พ่อต้องการคือแหล่งเรียนรู้ ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช เรียกชื่อ แหล่งเรียนรู้ชุมชนจากชื่อของ พ่อสิงห์ ฤทธิเดช และจุดมุ่งหมายข้อที่ (2) เกิดจากการใช้ ประโยชน์ผลงานวิจัยของโครงการติดตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชน(Child Watch) มีอาจารย์ ดร.อมรวิชช์ นาครทรรพ ผู้อานวยการสถาบันรามจิตติเป็นหัวหน้าชุดโครงการได้ร่วมมือกับคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ มหาสารคามเป็ น เครื อ ข่ า ยรั บ ผิ ด ชอบโครงการติ ด ตามสภาวการณ์ เ ด็ ก และเยาวชนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้รับผิดชอบโครงการอาจารย์ ดร.สมบัติ ฤทธิเดชและผู้เขียนเป็นคณะผู้ร่วมวิจัยใน โครงการ ผลการวิจัยได้ให้ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อรัฐบาลเรื่องการพัฒนาเด็กและเยาวชนต้องพัฒนาด้วย 4 เสาหลักคือ (1) การศึกษาคุณภาพ (2)พื้นที่คุณภาพ (3)สื่อคุณภาพและ (4)ครอบครัวคุณภาพ ด้วยข้อค้นพบ ของผลงานวิจัยดังกล่าวมา ทาให้คณะทางานใช้ข้อค้นพบไปใช้ประโยชน์พัฒนาเด็กและเยาวชนใช้เวลาว่าง หลังเลิกเรียนให้เกิดประโยชน์ โดยจั ดทาโครงการบ้านหลังเรียนสายใยรักครอบครัว ที่ศูนย์การศึกษานอก โรงเรียน อาเภอเมือง จังหวัดเลย โดยใช้แนวคิด 4 เสาหลักสร้างพื้นที่คุณภาพให้เกิดขึ้นด้วยกิจกรรม หลาย ๆอย่างเช่น มุมสืบค้นข้อมูล มุมรอผู้ปกครอง อ่านหนังสือ ทาการบ้าน ฟังเพลง ผู้เฒ่าผู้แก่เล่านิทานให้ หลาน ๆฟั ง ผลของการดาเนินงานโครงการบ้านหลังเรียนที่ศูนย์ก ารศึก ษานอกโรงเรีย น อาเภอเมือง จัง หวัดเลย ประสบผลส าเร็จ ท าให้ค ณะทางานได้แ นวคิ ดจากการท าโครงการบ้า นหลั งเรี ย นนามาใช้ ประโยชน์สร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช โดยใช้กระบวนการทางานแบบมี เครือข่ายเข้าร่วมโครงการเป็นภาคีการทางานร่วมกัน ด้วยความสมัครใจ เพื่อให้แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลัง เรียนปู่ทวดครูสิงห์ ได้ทางานอย่างต่อเนื่องเกิดการขยายผลไปสู่ชุมชนอื่น ๆ เครือข่ายการดาเนินงานแหล่งเรียนรู้ชุมชน “สัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น” การดาเนินงานของโครงการแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดชใช้กระบวนการทางานแบบ มีส่วนร่วม กิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นการฝึกปฏิบัติจริงเฉพาะเด็กและเยาวชน โดยผ่านกระบวนการ แบบพี่ สอนน้อง เพื่อนสอนเพื่อน ครูจิตอาสาช่วยเติมเต็ม โดยใช้สื่ออุปกรณ์ภายในชุมชนเป็นตัวตั้ง ผล ปรากฏว่าสิ่งที่เป็นจุดอ่อนของโครงการนี้คือ พ่อ – แม่ ผู้ปกครองไม่มีส่วนร่วมที่จะเขียนบทเรียนร่วมกับลูก ตนเองจริง ๆ การออกแบบกิจกรรมเกิดขึ้นเฉพาะในแหล่งเรียนรู้และผลสรุปการดาเนินงาน วันที่ 2เมษายน พ.ศ.2554 พบว่าสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ต้องการจัดกิจกรรมของครัวเรือนได้ทาเศรษฐกิจแบบพอเพียง ตามแนวพระราชดาริของในหลวงต้องการเลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา อนุรักษ์ดนตรีโปงลางพื้นบ้าน ทาถ่านใช้ ในครัวเรือน ปลูกพืชผักสมุนไพร และเรียนรู้เรื่องท้องถิ่นประวัติศาสตร์ของชาวบ้านกุดแคน ด้วยความ ต้องการของสมาชิ ก ส่งผลให้โครงการแหล่งเรียนรู้ชุมชนแห่งนี้ได้พั ฒนาโครงการ “ แหล่งเรียนรู้ของ ชุม ชนจัดการศึ ก ษานาร่องสัม มาอาชี พ ด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่ อสุขภาวะของเด็ก และเยาวชนไทย ” เพื่อเข้าร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์โดยการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ (สสส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 – 2555 และได้รับการตอบรับให้เป็นเครือข่ายเข้าร่วมโครงการ ปศท.2ของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ตั้งแต่เดือนพฤกษาคม พ.ศ.2554 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ.2555 การจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น การดาเนินงานของโครงการแหล่งเรียนรู้ชุมชน จัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพมีจุดเน้นกิจกรรม 5 ฐานการเรียน ได้แก่ การเลี้ยงไก่ – ปลา เศรษฐกิจชุมชน สมุนไพรเพื่อสุขภาพ ดนตรีพื้นบ้านโปงลาง ประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสายใยรักชุมชน มี เครือข่ายเข้าร่วมองค์กรประกอบด้วย เครือข่ายภายในชุมชน คือ ตระกูลฤทธิเดช เจ้าภาพหลักและเจ้าภาพ ร่วมสมาชิกเด็กและเยาวชน ผู้ปกครอง กลุ่มสตรีแม่บ้าน เจ้าหน้าที่ อสม (เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยศูนย์ ส่งเสริมสุขภาพชุมชนประจาตาบลหนองโน) ปราชญ์ชาวบ้าน(ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น) ผู้นาชุมชน สมาชิก อบต.หนองโน และประชาชนที่สนใจ นอกจากนี้มีเครือข่ายจากภายนอกเข้ามาช่วยให้การดาเนินงานขยาย ผลไปสู่ครัวเรือนของผู้ปกครอง ผู้ที่สนใจและกลุ่มสตรีแม่บ้าน นอกจากนี้มีองค์กรทาสงสัฝคมภายนอก ประกอบด้วย สถาบันการศึกษามี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในโครงการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของ องค์กรชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย โดยมี รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ เป็นหัวหน้าชุดโครงการและ ดร. พิณสุดา สิรินธรังศรี เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ได้มอบให้ อาจารย์บุญจันทร์ บัวหุ่ง รศ.ดร.อุทั ย บุญ ประเสริฐ เป็ นผู้ รับ ผิด ชอบภาคตะวั นออกเฉีย งเหนือ มีวิ ธีก ารดาเนิน งานแบบให้ อิส ระองค์ก รที่ร่ว ม โครงการทางานแบบคล่องตัว ยืดหยุ่นใช้จ่ายเงินตามกิจกรรมได้ระบุไว้ในโครงการ และประเมินผลงาน ของโครงการเป็ นเอกสารรายงานความก้ าวหน้าเป็นระยะ พร้อมกั บการประเมินผลตามสภาพจริง ผู้ ประสานงานส่วนกลางพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบบไม่เป็นทางการกับผู้รับผิดชอบโครงการ และเจ้าหน้าที่ ส่วนกลางจัดกิจกรรมประชุมกับเครือข่ายโครงการ ปศท.2 ในภาคอื่น ๆ ทุก ๆ 2-4 เดือน/ครั้ง ให้โอกาส แหล่ ง เรี ย นรู้ แห่ ง นี้ ไ ด้น าเสนอความก้ า วหน้า ของการด าเนิ น งานได้ รั บ ข้อ เสนอแนะเพิ่ ม เติ ม ปรั บ ปรุ ง โครงการให้ชัดเจนได้ผลดียิ่งขึ้น ส่วนการเสริมแรงให้กาลังใจได้พบปะพูดคุยแบบกั ลยาณมิตรองค์ก ร ส่วนกลางได้ออกเยี่ยมโครงการแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.2554 วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ.2554 และวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555 กิจกรรมของการประเมินผลดังกล่าว ชี้ให้เห็นการดาเนินงานขององค์กรกลาง มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้มีวิธีการดาเนินงานอย่างชัดเจนเป็น ระบบ ทาให้โครงการนี้ดาเนินงานได้คล่องตัวมีความสุขใจ ที่ได้เป็นเครือข่ายเข้าร่วมโครงการ นอกจากนี้ โ ครงการนี้ มี ส ถาบั น การศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มโครงการหลายแห่ ง ได้ แ ก่ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม โรงเรียนบ้านกุดแคน ผดุงนารีมหาสารคาม สารคามพิทยาคม มหาวิชานุกุล และโรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม สถาบันการศึกษาเหล่านี้ได้ให้เด็ก – เยาวชน เข้าร่วมเป็น สมาชิก โครงการ อนุญาตให้เข้า ร่วมการประชุมกั บองค์ก รกลาง โดยไม่ได้ขาดเรียนในระบบโรงเรีย น มหาวิทยาลัยมาหสารคาม และมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ให้ความร่วมมือด้านจัดหาอุปกรณ์สื่อ บุคคล สื่อคอมพิวเตอร์ โต๊ะ เก้าอี้ เพื่อใช้ในกิจกรรมตลอดโครงการ และมีเครือข่ายสานักงาน ปปส.ภาค4 จังหวัดขอนแก่น สถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นสกายไลน์เคเบิลทีวีจังหวัดมหาสารคาม ร่วมกับประชาชนที่สนใจ
เข้ามาศึกษาดูงาน ประมาณเดือนละ 2 ครั้ง เพื่อใช้ชุดความรู้ของโครงการนาไปปรับใช้ในครัวเรือนตนเอง และชุมชน เกิดการขยายผลต่อยอดโครงการในปี พ.ศ. 2554 ทั้งรูปแบบกิจกรรมบ้านหลังเรียน และจัดทา แหล่งเรียนรู้ชุมชน การขยายผลเครือข่ายการดาเนินงานแหล่งเรียนรู้ชุมชน “สัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น” สื บ เนื่ อ งมาจากโครงการนี้ เ ป็ น ลั ก ษณะโครงการต่ อ เนื่ อ ง ที่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการกั บ ปศท. 2 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ทาให้การทางานโครงการต่อยอดชุดกิจกรรมที่ทาตามปกติในแหล่งเรียนรู้ ชุมชนได้ขยายผลไปสู่ครัวเรือน โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะอาชีพให้สมาชิกในโครงการได้มีอาชีพเสริม หลังจากการทานาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก ได้ทาอาชีพเลี้ยงไก่ เลี้ยงปลาในครั วเรือน ซึ่งการทากิจกรรม ฐานการเรียนรู้ เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลามีกติกาต้องเขียนเล่าเรื่องชุดความรู้ของแต่ละคนให้คนอื่น ๆ ได้เรียนรู้ด้วย ปรากฏว่าฐานการเรียนรู้เรื่องนี้ มีเคล็ดลับของการเลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ได้ประสบผลสาเร็จคือ 1) เลี้ยงไก่แบบ ธรรมชาติ ให้อาหารไก่แบบไม่ต้องซื้อหัวอาหารสาเร็จรูปโดยให้ข้าวเปลือก ข้าวสารพืชผักสีเขียว เลี้ยง แบบปล่อยตามธรรมชาติไม่ใส่กรง ไก่จะออกไข่เป็นระยะ ครอบครัวได้มีไข่กินตลอดไม่ได้ซื้อขาย (2) เลี้ยงไก่แบบวิชาการโดยเลี้ยงขังกรงตาข่าย เปิดไฟฟ้าทาความสะอาดรางน้า เปิดวิทยุให้เ สียงเพลงเบา ๆ ไก่ กินอาหารสาเร็จรูปผสมราข้าว ปลายข้าว ข้าวเปลือก มีน้าให้ไก่กินได้ตลอดเวลา ให้ไก่กินแตงกวา แตง ล้าน พืชผักสีเขียว การเลี้ยงไก่แบบนี้ไก่ไข่ทุกวันเลี้ยงไก่ 10 ตัว จะออกไข่ประมาณ 7-9 ฟอง ครัวเรือนมี ไข่ได้กินในครอบครัวและได้ขาย และ (3) เลี้ยงไก่แบบบูรณาการคือ เลี้ยงแบบวิธีธรรมชาติ ผสมผสานกับ วิธีวิชาการให้กินอาหารสูตร 324 สาหรับไก่พันธุ์ไข่ ผสมข้าวเปลือก ข้าวสาร ราข้าวหรือปลายข้าว ไก่กิน พืชผักสีเขียวกินเศษอาหาร ไม่ขังกรงตาข่าย ทาเล้าไก่ให้และขยายพันธุ์กักบริเวณทาตาข่ายเป็นที่เลี้ยงไ ก่ โดยเฉพาะ ไก่พันธุ์ไข่ ผสมพันธุ์กับไก่ตัวผู้พันธุ์พื้นเมือง เป็นไก่พันธุ์ไข่แบบลูกผสม ลูกไก่ประเภทนี้จะ แข็งแรงไม่ได้เลี้ยงเพื่อกินไข่ แต่เลี้ยงไก่เพื่อขายและเป็นอาหารในครัวเรือน มีเกษตรกรขยายพันธุ์ไข่ไก่ได้ ในลักษณะนี้หลายคน เช่น นายถนอม เศษภักดี นางคาปั่น ปานโหน่ง และนายธนกิต อินทร์งาม โดย ครั้งแรกเลี้ยง 10 ตัว แต่ขยายพันธุ์ได้เกิดลูกไก่จานวน 20 - 30 ตัว กิจกรรมการเลี้ยงไก่ได้ผลลัพธ์คู่มือการ เลี้ยงไก่ ได้กินไข่และได้ขายมีเงินใช้หมุนเวียนในครอบครัวอย่างสม่าเสมอ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ไม่ต้ อง จ่ายเงินซื้อไข่ไก่ ทาให้ครัวเรือนมีเงินออม และเกษตรกรที่สนใจเลี้ยงไก่ได้ซื้อพันธุ์ไข่ไก่มาเลี้ยงเป็นการ ขยายผลเกิดขึ้นในชุมชนบ้านกุดแคน และบ้านใกล้เคียง หลายครัวเรือน เช่น ครัวเรือนของนายธนาพัฒน์ เที่ยงภักดิ์ นายสุพจน์ คายา และนางเพ็ง ชุมแสง การเลี้ยงปลามีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการจานวนน้อย เนื่องจากบางคนไม่มีสระน้าเลี้ยงปลา และ พื้นที่ในครอบครัวมีจากัด ไม่สามารถทาบ่อซีเมนต์เลี้ยงปลา ซึ่งวิธีการเลี้ยงปลาพบอุปสรรคปัญหาเลี้ยงปลา ดุ ก ปลาตะเพี ย น ที่ ทุ่ ง นาถู ก น้ าท่ ว ม ปลาไม่ มี ห ายไปตามน้ าท่ ว ม แต่ เ ลี้ ย งปล าในบ่ อ ซี เ มนต์ มี ป ลา รับประทาน และขายจาหน่ายให้เพื่อนบ้าน หรือแจกจ่ายให้ญาติพี่น้องได้ปลาไปทาอาหารแบบแลกเปลี่ยน สิ่งของโดยใช้ปลาเป็นกลไกเชื่อมความสัมพันธ์ ทาให้คนในชุมชนได้เรียนรู้วิธีเลี้ยงปลาร่วมกันและขยาย ผลการเลี้ยงปลาโดยทาบ่อซีเมนต์ในชุมชนบ้านกุดแคน หลายครัวเรือนโดยใช้งบประมาณของตนเอง ข้อ
ค้นของฐานกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องไก่ – ปลา เศรษฐกิจชุมชนได้ขยายเครือข่ายเกิดเกษตรกรแกนนาเป็น ตัวอย่างครูภูมิปัญญาเลี้ยงไก่ มีนางดวงพร ชุมแสง นายถนอม เศษภักดี นางคาปั่น ปานโหน่ง และ เกษตรกรตัวอย่างการเลี้ยงปลา ได้แก่ นางจันทร์ ศรีจันทร์นล ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช ได้ทากิจกรรมร่วมกับชุมชนโดยแสดง ดนตรีพื้นบ้านตามบุญงานประเพณีชาวอีสาน เช่นงานบุญกฐิน งานบุญเดือนสี่ เดือนสาม ฯลฯ ชาวบ้านใช้ ดนตรีโปงลางแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเ ดช ไปแห่ขบวน ตีกลอง ดีดพิณ เป่าแคน มีความ สนุกสนานรื่นเริงร่วมกัน เป็นกิจกรรมที่สร้างสุขร่วมกัน เด็กและเยาวชนที่เป็นผู้หญิงได้ฟ้อนราร่วมขบวน แห่ เป็นการฝึกทัก ษะอาชีพ วงดนตรีโปงลางประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช รับงานแสดงได้เป็นเงิน ทุนการศึก ษา ส่งผลให้ผู้ปกครองมีความภูมิใจที่บุตรหลานของตนเองกล้าแสดงออกและอนุรักษ์ดนตรี พื้นบ้านของชุมชนให้คงอยู่ และเผยแพร่ชื่อเสียงให้กับบ้านกุดแคน ทาให้ชุมชนบ้านกุดแคนเป็นชุมชน พอเพียงและเป็นสุข เพราะไม่จ้างมหรสพจากหมู่บ้านอื่น ๆ มาแสดงในงานประเพณีแต่ใช้บุตรหลานของ ตนเอง ทากิจกรรมงานบุญประเพณี นอกจากนี้ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นดรตรีโปงลางนายธนกิต อินทร์งาม ได้รับเชิญเป็นวิทยากรขยายองค์ความรู้เรื่องดนตรีพื้นบ้านให้กับสถานศึกษา 3 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านกุด แคน บ้านนานกเขียน และโรงเรียนบ้านโคกสี ให้ไปสอนนักเรียนได้เรียนรู้เรื่ องดนตรีจัดตั้งวงดนตรี โปงลางเกิดขึ้นในโรงเรียนทั้งสามแห่ง โดยใช้องค์ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช เชื่อมโยงกับการจัดการศึกษาในระบบ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ แสดงถึงการใช้ทุนทางสังคม ครูภูมิ ปัญญาท้องถิ่นร่วมกันทั้งในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษา การทาถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อนเป็นกิจกรรมที่ให้เด็กเยาวชนและผู้ปกครองได้ศึกษาดูงานจาก แหล่งเรียนรู้ภายนอกชุมชนจัดกิจกรรมให้วิทยากรได้บรรยายความรู้เรื่องถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อนโดย ดร.สมบัติ ฤทธิเดช เป็นผู้บรรยายพิเศษ ทาให้เด็ก -เยาวชนใช้ความรู้มาทาเตาถ่านชีวภาพภายใน แหล่ง เรียนรู้ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช โดยผ่านกิจกรรมการเก็บขยะในชุมชนมารีไซค์เคิล นาถ่านชีวภาพแปรรูป เป็นสินค้าของใช้ดูดกลิ่นในที่อับชื้น เช่น ใช้ถ่านชีวภาพดูดกลิ่นในตู้เย็น ในรถยนต์ และห้องครัว ทาให้ เด็กและเยาวชนได้ฝึกสมาธิการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ถ่านชีวภาพจาหน่ายได้รูปทรงหลาย ๆ แบบ มีเงินรายได้ และที่สาคัญยิ่งเด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ได้ร่วมมือกันทางานอยู่ใกล้ชิดกันมีความอบอุ่น และสามารถนาเตา ถ่านชีวภาพไปทาเป็นเตาถ่าน ไว้ใช้ในครัวเรือนตนเองมีจานวนเพิ่มมากขึ้นจากที่ได้เรียนรู้วิธี เผาถ่านจาก วิทยากรและเด็ก เยาวชน สาธิตการเผาถ่านให้พ่อแม่ ได้ศึกษาเรียนรู้ร่วมกับลูกตนเอง ทาให้เด็กและเยาวชน บางคนใช้องค์ความรู้เรื่องถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน จัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ได้รับรางวัลที่ 1 ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ของโรงเรียนผดุงนารีมหาสารคาม สะท้อนภาพการจัด การศึ ก ษา แบบมี ส่ ว นร่ ว มขององค์ ก รในชุ ม ชนได้ ท าให้ ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของเยาวชนสู ง ขึ้ น สมุนไพรเพื่อสุขภาพสมาชิกในโครงการมีกลุ่มเด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ผู้ที่สนใจได้ร่วมมือกันทา แปลงสาธิตการปลูกพืชผักสวนครัวสมุนไพร แปรรู ปเป็นผงนัว เครื่องเทศปรุงอาหาร โดยเอาพืชที่กินได้ มาผสมกันกับข้าวเหนียวที่แช่น้าแล้วนาไปบดให้ละเอียดใช้พืชสมุนไพร 18 ชนิด ผสมกัน ได้แก่ ผักตาลึง
ผักหวานบ้าน ใบน้อยน่า ใบย่านาง ผักแป้น กระเทียม หัวหอม สะเดาดิน ผักติ้ว ผักขจร ใบส้มโฮง ใบ ชะพลู อ่อมแซบ ซึ่งผักแต่ละชนิดในครัวเรือนของชาวบ้านกุดแคนได้ปลูกไว้ใช้ปรุงอาหาร และนามาแปร รูปเป็นผงนัวแทนผงชูรส เป็นการลดรายจ่ายและรักษาสุขภาพให้แข็งแรงปราศจากโรคเหน็บชา กระดูก เสื่อม เพราะรับประทานพืชสมุนไพรแทนเครื่องเทศผงอาหารแบบผงชูรส และได้ขยายผลการปลูกพื ชผัก สวนครัวในไปปลูกในครัวเรือนตนเอง ครัวเรือนที่มีปัญหาที่ดินจากัดในครัวเรือน ให้ขยายการปลูกพืชผัก สวนครัวไปตามทุ่งนาตนเอง ทาให้ชาวบ้านกุดแคนมีตลาดพืชผักสีเขียวทุกวันพุธและวันเสาร์ได้ซื้อขายให้ ชาวบ้านอื่น ๆ เข้ามาซื้อผักไปขายที่ตลาดในจังหวัดมหาสารคาม และมี พ่อค้าแม่ค้าคนกลางในหมู่บ้านรับ ซื้อผักไปขายทุกวัน เป็นการขยายผลของกิจกรรมโครงการที่เกิดขึ้นจากที่ได้ปฏิบัติร่วมกับลูก ๆ ตนเอง ได้ นาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตโดยไม่พึ่งตลาดภายนอก และนอกจากนี้แหล่งเรียนรู้ชุมชนได้มีการคัดเลือก พันธุ์ผักสวนครัว ผลิตเมล็ดพันธุ์ ไว้ใช้เอง ในฤดูกาลผลิตในปีต่อไป สะท้อนถึงการเรียนรู้ในกิจกรรมฐาน สมุนไพรเพื่อสุขภาพได้เส้นทางการพัฒนาตนให้พึ่งตนเองได้ครบวงจร คือ มีพันธุ์ผักปลูก และไว้ขาย และ ผักบางชนิดแปรรูปเป็นน้าดื่มสมุนไพรแก้โรคภัยต่าง ๆ ได้ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของชาวบ้านกุดแคน เด็กเยาวชนร่วมกับครูภูมิปัญญาท้องถิ่น และครูจิต อาสาพี่ ๆ ได้ศึกษานอกสถานที่ที่วัด โรงเรียน รอยพระพุทธบาทจาลอง ป่าธรรมชาติ ทุ่งนา และลาห้วย คาพุ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ตระหนักถึงรากเหง้าวัฒนธรรมท้องถิ่นของตนเอง เด็กและเยาวชนนาความรู้ ที่ได้รับมาเป็นเขียนเป็นเรื่องเล่าของชุมชนเผยแพร่ให้คนบ้านอื่น ๆ ได้รู้จักบ้านกุดแคน มีสิ่งใดบ้างและ สถานที่สาคัญเชิญชวนให้คนบ้านอื่น ๆ มานมัสการรอยพระพุทธบาทจาลองเรียกว่า งานบุญเดือนสาม ประจ าหมู่ บ้ า น และเด็ ก เยาวชนได้ เ รี ย นรู้ ร่ ว มกั บ เด็ ก และเยาวชนจั ง หวั ด อุ ด ร ได้ ม าแสดงละคร ประวัติศาสตร์เรื่องศึกบางระจัน ให้เด็กและเยาวชนแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดชได้ชมการ แสดง เกิดความภูมิใจรักชาติรักถิ่นฐานตนเอง มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนเกิดความตระหนัก สานึกในความเป็น คนไทยมีบรรพบุรุษที่ได้รักษาแผ่นดินไว้ให้ตนเองได้อาศัย เป็นกิจกรรมที่เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ชุมชน ตนเองได้เขียนบันทึกไว้ ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเรื่องราวหมู่บ้านตนเอง นับได้ว่าเป็นเอกสารประวัติศาสตร์ บ้านกุดแคน ที่มีไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ถือว่าเป็นประวัติศาสตร์ของชาวบ้านกุดแคน โดยการเรียนรู้แบบ เครือข่ายทางสังคมแลกเปลี่ ยนเรียนรู้ร่วมกับคนในชุมชนสร้างความผูกพันระหว่างผู้สูงวัยและเด็ก เยาวชน ได้ใกล้ชิดผูกพันกันมีความอบอุ่น มีความสุขร่วมกันเมื่อผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าเรื่องราวให้เด็กฟัง เครือข่ายขยายผลการดาเนินงานแหล่งเรียนรู้ชุมชน “สัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยใช้ กิจกรรม 5 ฐานการเรียนรู้เป็นกลไกเชื่อมโยงสร้างเครือข่ายองค์กรทางสังคมและชุมชนที่ได้ดาเนินงาน ร่วมกัน ทาให้สังคมของชุมชนบ้านกุดแคนเป็นชุมชนที่เป็นสุข เพราะได้ร่วมวางแผนงานปฏิบัติร่วมกัน รับผิดชอบแก้ไขปัญหาร่วมกัน ร่วมชื่นชมร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกัน ตามหลักการทางานแบบอิสระ ยืดหยุ่นขององค์กรกลาง มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในลักษณะโครงการต่อเนื่อง จุดเน้นที่สัมมาอาชีพและ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นได้เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ในระบบโรงเรียนมีวิชาพื้นฐานภาษาไทย อังกฤษ คณิต ศิลปะ วิทยาศาสตร์ การงานพื้นฐานอาชีพเทคโนโลยี พละศึกษา สุขศึกษา ทาให้เด็กเยาวชนเรียนรู้เพิ่มเติม
สามารถเขี ย นอ่ า นได้ค ล่ อ ง ถู ก ต้ อ งและใช้ ใ นการสื่ อ สาร กล้า พู ด กล้ า แสดงออก ตามศั ก ยภาพและ ความสามารถของเด็กและเยาวชนแต่ละบุคคล ที่มีความสนใจและความต้องการ เพราะฐานกิจกรรมการ เรียนทั้ง 5 ฐาน ดังกล่าวมาไม่มีมิติเวลากากับ และวัดเป็นเชิงปริมาณจัดลาดับคุณภาพเป็นลาดับคนเก่ง แต่ วัดคุณภาพของคนตามสภาพจริงและผู้ปกครองได้ประเมินลูกของตนเอง โดยทุกภาคส่วนได้ให้โอกาสเด็ก เยาวชนได้พูด ได้เขียน ได้ร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีระบบขั้นตอนของการทางานที่ชัดเจนตา ม แผนงานที่ให้โครงการนี้ได้ร่วมเป็นเครือข่าย กลไกการดาเนินงานที่ทาให้ประสบผลสาเร็จ การดาเนินงานของโครงการนี้มีจุดแข็งโดยใช้ชุมชนเป็นตัวตั้ง โดยชุมชนเข้าร่วมโครงการด้วย ความสมัครใจที่เรียกว่าระเบิดจากภายในมาร่วมมือกัน และสมาชิกในโครงการทางานร่วมกับลูก ๆ ของ ตนเอง มีภาระโดยต้องเขียนหนังสือร่วมกับลูกตนเอง เป็นบทเรียนการเรียนรู้ทาให้พ่อแม่ภูมิใจในผลงาน และชื่นชมที่ลูกของตนเองได้เรียนรู้ทักษะชีวิต ทักษะทางสังคมมากกว่าโรงเรียนในระบบเพราะเป็นแหล่ง เรียนรู้ที่เป็นระบบเปิดให้เข้ามาใช้บริการได้ทุกวันเสาร์และวันอาทิตย์พบความสาเร็จดังนี้ 1) ทุนทางสังคมของคนในชุมชน การนาทุนทางสังคมของคนในชุมชนมาใช้ในกิจกรรมนี้คือใช้ทุนทรัพยากรมนุษย์ทุกกลุ่ม มาร่วมมือกันทางานได้แก่ เด็ก เยาวชน ผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มสตรีแม่บ้ าน กลุ่ม อสม. อบต. ประจาหมู่บ้าน ซึ่งแต่ละบุคคลมีจุดแข็งของตนเอง จุดร่วมกันคือความเสียสละเข้ามาร่วมกิจกรรมแบบ หมุนเวียนกันดูแลเด็กและเยาวชน ทางานเป็นทีมแต่เป็นวิธีธรรมชาติโดยใครว่างวันใดจะมาใช้บริการและ ดูแลเด็ก เยาวชน จะไม่พบผู้ปกครองมาร่วมกลุ่มกันเป็นจานวนมาก แต่จะมีคนเข้ามาใช้บริการตลอดปี โดย ทุกคนมองประเด็นที่ตรงกันว่า ทาจริงแต่ไม่ทาแบบยกป้ายโครงการแล้วถ่ายภาพเก็บไว้โชว์ว่าเป็นการ ทางานแบบมีส่วนร่วม ถ้าให้ผู้ปกครองหรือผู้เข้าร่วมโครงการมาร่วมกลุ่มกันเยอะ ๆ ทุกวันคงไม่ได้ทา อาชีพอื่น ๆ จึงเป็นการใช้ทุนทางสังคมทรัพยากรมนุษย์แบบวิธีธรรมชาติคือ ใครใคร่มาก็มา ใครใคร่ไปทา อาชีพส่วนตัวก็ไป แต่มีลูก ๆ เป็นสมาชิกโครงการร่วมกิจกรรมทุกอย่าง ๆ โดยวิธีผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน มาปฏิบัติภารกิจ 2) ทุนทางสังคมภายนอกชุมชน การหนุนเสริมให้โครงการนี้ประสบผลสาเร็จอย่างต่อเนื่องเกิดจากองค์กรทางสังคมหลาย หน่วยงานได้เข้าร่วมเป็นเครือข่ายทั้งแบบถาวรและชั่วคราวในแต่ละปี เพราะมีคนมาศึกษาดูงานตลอดปี ส่งผลให้แหล่งเรียนรู้ชุมชนได้เผยแพร่ผลงาน ทั้งในชุดสารคดี เอกสาร สื่อสิ่งพิมพ์ หน่วยงานทาง สังคมภายนอกได้แก่ องค์กรกลางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในโครงการ ปศท.2 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สานักงาน ปปส. ภาค 4 จังหวัดขอนแก่น โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา มหาสารคามเขต 1 องค์กรเอกชน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ หนังสือพิมพ์คมชัดลึก หนังสือพิมพ์มติชน หนังสือพิมพ์บ้านเมือง และสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นสกายไลน์เคเบิลทีวีจังหวัดมหาสารคาม โดยหน่วยงาน
เหล่านี้ได้เข้าร่วมโครงการแบบผู้ใหญ่ใจดีหนุนเสริมกิจกรรมโครงการในรูปอุปกรณ์การเรียนรู้ และใน รูปแบบทุนการศึกษามอบให้เด็ก ๆ และเยาวชน ทาให้โครงการดาเนินงานในรูปแบบพึ่ งตนเองและพึ่งพา เครือข่ า ยแบบสมั ค รใจเข้ า มาหนุนเสริ ม แต่ทุก ภาคส่วนเข้ามาร่วมแบบเต็ม ใจ จึงไม่มี เงื่อนไขผูก พั น โครงการน้อมรับและขอบพระคุณ 3) ธรรมาธิบาลทางานปลอดการคอรัปชั่น การทางานของแหล่งเรียนรู้แห่งนี้ให้บทบาทของการมีส่วนร่วมเป็นนโยบายสาคัญที่ สุด และมี กติกาทางสังคมที่ต้องปฏิบัติร่วมกันคือ ร่วมรับผลประโยชน์อย่างทัดเทียม ทุก ๆ กิจกรรม เมื่อมีรายรับ รายจ่าย ต้องชี้แจงโดยเด็กและเยาวชนเป็นผู้จัดสรรผลประโยชน์ให้สมาชิกมีคากล่าวว่า เด็ก เยาวชนแหล่ง เรียนรู้ชุมชนได้กินอิ่ม นอนหลับ ท้องอุ่น คือมี ความสุข โดยตอบคาถามว่า มาอยู่ตรงนี้เพราะอะไร มา เรียน มาเล่น และได้กินขนม ผลไม้ อาหารสมบูรณ์ เพราะมีคนใจดีมาเยี่ยมชม แล้วพวกเราเป็นเด็กดี จึง ได้ผลดีตอบแทน กุศโลบายโดยอ้อมที่ให้เด็กและเยาวชนมีบทบาททาทุกสิ่งทุกอย่างเหมือนเป็นสถานที่ของ เขาเอง และฝึกคุณธรรมความชื่อสัตย์ให้ เพื่อปลูกฝังไม่ให้เด็กเยาวชนเป็นคนทุจริตต่อสังคม ต้องการให้ เด็ ก และเยาวชนเรี ย นรู้ ว่ า ความซื่ อสั ต ย์ สุ จ ริต เป็น ความดีที่ กิ นอิ่ ม ท้ องอุ่ น นอนหลั บ อย่ า งมี ค วามสุ ข เนื่องจากทุกคนร่วมชื่มชนแก้ไขปัญหา และรับผิดชอบรับผลประโยชน์เท่าเทียมกัน อุปสรรคปัญหาการดาเนินงานของโครงการ โครงการนี้มีเงื่อนไขข้อจากัดในการพัฒนาเด็กและเยาวชนกลุ่มเด็กพิการ และนักการเมืองบางคน มองโครงการนี้ จ ะแข่ ง ขั น ทางการเมื อ งในระดั บ ท้ อ งถิ่ น ระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ สมั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง เป็ น ผู้แทนราษฎร โดยสร้างบารมีสะสมกับนักการเมืองกลุ่ มอื่นๆ ทาให้มีโจมตีว่าโครงการนี้มีเงื่อนไขหากลุ่ม คนสนับสนุนเข้าสู่ตาแหน่งทางการเมือง วิธีการแก้ไขอุปสรรคปัญหา 1) ประชุมชี้แจงแนวนโยบายผ่านสื่อบุคคลผู้ปกครอง ผู้เข้าร่วมโครงการเข้า ให้ใจแนวนโยบาย จัดทาแหล่งเรียนรู้ชุมชนเพื่อเป็ นอนุสรณ์สถานให้พ่อตนเองและมอบสถานที่แห่งนี้ให้ชุมชน บ้านกุดแคนดาเนินต่อไป 2) เดินทางสายกลางตามหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา มัชฌิมาปฏิปทา ไม่ยึดมั่นตนเอง รับฟังและยอมรับ ปรับแก้ให้สังคมยอมรับในกิจกรรม เพื่อ ขยายผลต่อชุมชนให้ยั่งยืนและ เข้มแข็ง 3) จัด กิ จกรรมเยี่ ย มบ้ า นโดยเข้ า ร่ว มกิ จกรรมกั บ ชุม ชนอย่ า งน้อ ยปีล ะ 2-3 ครั้ ง เพื่ อสร้ า ง สั ม พั น ธไมตรี กั บ สมาชิ ก ในโครงการและเด็ ก และเยาวชนเจ็ บ ป่ ว ย ต้ อ งไปเยี่ ย มถามข่ า ว ปลอบโยนให้ขวัญและกาลังใจอย่างเท่าเทียมกัน
แหล่งเรียนรู้ชุมชน “ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช” เป็นองค์กรเอกชนที่ได้ใช้ชุดความรู้จากผลการวิจัยใน โครงการติดตามสภาวะการณ์เด็กและเยาวชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และใช้แนวคิดอุดมการณ์ของพ่อ “คืนความรู้สู่ชุมชน” ได้เป็นเครือข่ายร่วมกับโครงการ ปศท.2 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในปี พ.ศ. 2554 – พ.ศ.2555 มีจุดเน้นของโครงการจั ดกิจกรรมสัมมาอาชีพ คือกิจกรรมเลี้ยงปลา ไก่ พืชสมุนไพร อาหาร สุข ภาพ ถ่ า นชี ว ภาพลดภาวะโลกร้อน ดนตรีพื้ นบ้านโปงลางประยุ ก ต์ปุ่ทวดครูสิ งห์ ฤทธิ เดช และ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นบ้านกุดแคน ได้นาเสนอการพัฒนาการของแหล่งเรียนรู้ชุมชนเป็นประวัติศาสตร์ ชาวบ้านมีผลลัพธ์เชิงบวกและอุปสรรค ปัญหา เป็นเพียงกรณีตัวอย่างที่ไม่ใช่สูตรสาเร็จตายตัว จะบ่งชี้ว่า เป็นตัวแทนของแหล่งเรียนรู้ชุมชนที่เป็นต้นแบบ แก้ไขปัญหาให้ชุมชนเป็นสุขได้ อย่างไรก็ตามกิจกรรม ดาเนินการของโครงการต้องปรับไปใช้ให้ถูกกับสภาพภูมิสังคมของท้องถิ่นตนเอง ให้เหมาะสมตามความ ต้องการของคนให้ชุมชน คงเกิดประโยชน์กับการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย แบบกิจกรรมทางเลือกจาก ความสนใจของผู้ใช้บริการ จะทาให้โครงการมีความต่อเนื่องและทุกอย่างที่ก่อรูปร่วมกันต้องระเบิดใจ ออกมาจากภายในของทุกคนจะทาให้แหล่งเรียนรู้ชุมชน เข้มแข็งและยังคงอยู่ได้ ด้วยการทางานแบบมีส่วน ร่วมและมีธรรมาธิบาลของความไม่ทุจริตต่อกันและกัน
อ้างอิง บทความนี้ถอดบทเรียนจากการพูดคุยไม่เป็นทางการจากสมาชิกโครงการ 1) นางตวงทิพย์ ป้องสงคราม ผู้ปกครองของเด็ก เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการในแหล่งเรียนรู้ ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช 2) นายชัยชนะ แดงทองคา เขียนบทสารคดี “ที่นี่สารคาม บ้านหลังเรียน” เผยแพร่ในรายการที่นี่ สารคาม สถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นสกายไลน์เคเบิลทีวีจังหวัดมหาสารคาม 3) น.ส.นภัทสร แก่นแก้ว ผู้อานวยการแหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช 4) นายธนาพัฒน์ เที่ยงภักดิ์ ครูจิตอาสาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ในโครงการแหล่ง เรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
แหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพ ด้วยบริบทจริงในชุมชนเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน ประสพสุข ฤทธิเดช นภัสสร แก่นแก้ว วนิดา กาบสุวรรณ บทนา การจัดการศึกษานาร่องเรื่องสัมมาอาชีพที่ได้ดาเนินกิจกรรมของโครงการ เกิดจากสานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับศูนย์วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษาวิทยาลัยครุ ศาสตร์มหาวิทยาลั ยธุรกิจบัณฑิตได้นาเสนอโครงการ “นาร่อ งการจัด การศึกษาแบบมีส่ วนร่วมของ องค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย ได้นาแนวทาง “ร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่ “ที่มีศาสตราจารย์ นายแพทย์ ประเวศ วะสี เป็นประธาน มีการศึกษาประเด็นสาคัญที่พิจารณาว่าจะส่งผลต่อการร่วม สร้างประเทศไทยให้น่าอยู่ จานวน ๑๐ เรื่อง ได้แก่ (๑) การสร้างจิตสานึกใหม่ (๒) การสร้างสัมมา อาชีพเต็มพื้นที่ (๓) การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น (๔) การสร้างธรรมาภิบาลในทางการเมือง การปกครองระบอบความยุติธรรมและสันติภาพ (๕) การสร้างระบบสวัสดิการสังคม (๖) การสร้าง สมดุลของสิ่งแวดล้อมและพลังงาน (๗) การสร้างระบบสุขภาพเพื่อสุขภาวะของคนทั้งมวล (๘) การ สร้างสมรรถนะในการวิจัยและยุทธศาสตร์ (๙) การสร้างระบบการสื่อสาร ที่ผสานการสร้างสรรค์ทั้งมวล และ (๑๐) การสร้างระบบการศึกษาที่พาชาติออกจากวิกฤติ การสร้ า งระบบการศึ ก ษาที่ พ าชาติ อ อกจากวิ ก ฤติ ดั ง กล่ า ว สสส. ได้ ม อบหมายให้ ร อง ศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตและคณะดาเนินการศึกษา ทางเลื อ ก ระบบการศึ ก ษาที่เ หมาะสมกับ สุ ขภาวะคนไทยแล้ ว เสร็ จในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ เสนอ ดังกล่าว มีประเด็นสาคัญระบบการศึกษามีการสร้างความเข้มแข็งที่ฐานราก ที่จาเป็นต้องเข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษา โดยให้ความสาคัญกับครอบครัวชุมชน ท้ องถิ่น สถาบันศาสนา เอกชนและ องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรอื่นของประชาชนมีการสร้างชุมชนให้เป็นชุมชน แห่งการเรียนรู้ จากจุดเน้นข้อเสนอของโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย” ที่ได้กล่าวมามีแนวทางการให้โอกาสมีเครือข่ายการดาเนินงานโครงการการจัด
หัวหน้าโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะเด็ก และเยาวชนไทย ผู้อานวยการแหล่งเรียนรูข้ องชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
ประสานงานโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
การศึกษาเกิดขึ้นจากองค์กร หลายๆองค์กร ได้เข้ามามีบทบาททางานร่วมกัน ทาให้แหล่งเรียนรู้ของ ชุมชน “บ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช” ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ ๑ บ้านกุดแคน หมู่ที่ ๖ ตาบล หนองโน อ าเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ที่ได้ดาเนินโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยการดาเนินโครงการเกิดจากองค์กรเอกชนตระกูลฤทธิเดช มีบุตรและธิดาของปู่ทวด ครูสิงห์ ฤทธิเดช ได้สืบสานอุดมการณ์ของบิดาสร้างแหล่งเรียนรู้แห่งนี้ เพื่ อบริการด้านการศึกษาตาม อัธยาศัย ให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชนที่สนใจจะเข้ามาเป็นสมาชิกโครงการ ผลการดาเนินกิจกรรมของโครงการที่ผ่านมา ได้จัดการศึกษาแบบทางเลือก ด้วยวิชาสามัญ ได้แก่ คณิตศาสตร์ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษบูรณาการกับความสนใจของเด็กและเยาวชนเป็นตัวตั้ ง ได้เรียนรู้แบบพึ่งตนเอง เพื่อนช่วยเพื่อน พี่ช่วยสอน ครูจิตอาสาให้คาแนะนาปรึกษา และครู พ่อแม่ เติมเต็มช่วยสอนที่บ้าน นอกจากนี้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้สุขภาวะอนามัย เช่น การป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการป้องกันสิ่งเสพติด และเด็กเยาวชนได้เรียนรู้ ทักษะทางสังคมตามมุมกิจกรรมที่จัดไว้ เช่น มุมวาดภาพศิลปะ อ่านหนังสือ ทาการบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน การปลูกพืชผักสวนครัว ฯลฯ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้เด็กและเยาวชนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือแบบพี่และน้อง ทาให้ผลที่เกิดขึ้นจากการ เรียนรู้แบบทางเลือกตามอัธยาศัย ส่งผลให้เด็กและเยาวชนในแหล่งเรียนรู้ของชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ มีสุข ภาวะทางกาย จิตใจ สติปัญญาและทางสังคมด้วยรูปแบบร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแบ่งปันและร่วมแก้ไข ปัญหา และร่วมชื่นชมผลงานเกิดการเรียนรู้แบบเครือญาติในชุมชน เป็นพี่น้องที่ใช้ประโยชน์และรักษา แหล่งเรียนรู้ร่วมกันให้ยั่งยืน จากสภาพจริงที่แหล่งเรียนรู้ของชุมชนแห่งนี้ได้จัดกิจกรรมในช่วงเวลาปี พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ พบว่าการจัดการศึกษาในรายวิชาพื้นฐานเป็นแกนหลัก แล้วบูรณาการกับสาระวิชาทักษะทางสังคมและ ทั ก ษะทางชี วิ ต ให้ กั บ เด็ ก และเยาวชน อย่ า งไรก็ ต ามการด าเนิ น งานโคร งการเพื่ อ ให้ บ รรลุ ต าม เจตนารมณ์ขององค์กรให้มีความต่อเนื่องของโครงการด้วยกระบวนการของคนในชุมชนเข้ามาช่วยเหลือ พัฒนา มีลาดับขั้นการดาเนินการเพื่อเป็นเครือข่ายกับองค์กรภายนอกชุมชน ดังนี้ การวิเคราะห์บริบทแหล่งเรียนรู้ของชุมชน การวิเคราะห์บริบทแหล่งเรียนรู้ของชุมชนใช้วิธีการสารวจความต้องการของคนในชุมชน เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ปู่ทวดครูสิงห์ มีการวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของโครงการแหล่งเรียนรู้ของ ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช เมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ประชุมสมาชิกโครงการจานวน ๕๐ ครอบครัว มีเยาวชนเข้าร่วม ๓๒ คน ผู้ปกครอง ๒๗ คน สมาชิกไม่เ ข้าร่วมโครงการครบ เพราะเด็กและเยาวชนร่วมกับผู้ปกครองบางครอบครัวอพยพย้ายถิ่นช่วงหลังฤดูทานาไปรับจ้างตัดอ้อยที่ จังหวัด กาญจนบุรี คณะผู้รับผิดชอบโครงการได้มีประเด็นข้อสรุปผลการดาเนิ นงานของโครงการ มี จุดแข็งและจุดอ่อนที่จะเป็นอุปสรรค ปัญหา และต้องการทากิจกรรมอะไรเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ เรียนรู้ร่วมกั นกับเพื่อน ผู้ปกครอง ผู้ที่ส นใจ พบว่า จุดแข็งของโครงการเกิดจากสมาชิกได้มาใช้ บริการศึกษาเรื่องต่าง ๆ ที่ตนเองสนใจจากสื่ออุปกรณ์หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ สารคดี อาชีพ และ มุมกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ และการจัดการเรียนรู้เพิ่มเติมในวิชาสามัญมีภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ เป็นการเรียนรู้ตามศักยภาพของเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาวิชาใด มีวิธีการศึกษาตามกลุ่ม เพื่อนช่วยเพื่อน และมีครูจิตอาสาเป็นที่ปรึกษาแนะนา ร่วมกับครูพ่อ -แม่ ช่วยเติมเต็มความรู้ให้ลูก ๆ ของตนเอง กิ จกรรมการส่ ง เสริ มการจัดการศึก ษาแบบมวลชนตามอั ธ ยาศัยส่ ง ผลให้ กลุ่ มเด็ กและ เยาวชนที่เป็นกลุ่มด้อยโอกาส ผลการเรียนอ่อน อ่านหนังสือไม่คล่อง เขียนหนังสือไม่ถูกต้อง พูด สื่อสารไม่กล้าแสดงออก ได้เปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเชิงบวก เพราะเด็กที่เข้าร่วมโครงการแห่งนี้ปัจจุบัน กล้าคิดกล้าพูด อ่านหนังสือคล่อง เขียนหนังสือได้ถูกต้องเป็นเยาวชนแกนนาของชุมชน พ่อแม่ภูมิใจมี ความสุข ไม่กังวล เรื่องลูก ๆ จะไปเที่ยวเตร่ ถ้ามารวมกลุ่มกันในแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ จะปลอดภั ยสบายใจ ผู้ ป กครองไม่ กั ง วล (สุ นั น ทา รัง วั ด สา. การประชุ มสรุ ป ผลการด าเนิ น งาน โครงการ.๒ เมษายน ๒๕๕๔) จุดอ่อ นมีข้อ จากัดของโครงการคือ ผู้ปกครองร่ว มกับเด็กและเยาวชนมีความสนใจต้อ งการ เรียนรู้ เรื่องสัมมาอาชีพ และเรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของตนเองว่ามีคลังความรู้ดี ๆ อะไร ที่ ยังคงอยู่และสูญหายไปแล้วฟื้นฟูขึ้นมา เพื่อเด็กและเยาวชนกับผู้เฒ่าผู้แก่จะได้เรียนรู้ร่วมกันมีความ ใกล้ชิดกับผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชนมากยิ่งขึ้นที่สาคัญจะเป็นการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนได้ภูมิใจรักในถิ่น ฐานบ้านเกิดตนเอง และเรื่องการเรียนรู้สัมมาอาชีพ กลุ่มเด็กและเยาวชนต้องการมีรายได้เสริมให้ ครอบครัวโดยการทากิจกรรมในรูปกลุ่มสนใจจากฐานการเรียนรู้เพิ่มเติมจากวิชาสามัญ เป็นวิชาเสริม ทักษะการอาชีพ และขอใช้พื้นที่แหล่ง เรียนรู้ของชุมชน ทาเป็นกิจกรรมสาธิตต้นแบบให้ผู้ปกครองและ ปราชญ์ชุมชนได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับนักวิชาการ โดยทากิจกรรมสัมมาอาชีพได้แก่ (๑) ดนตรี พื้นบ้านโปงลางประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช (๒) ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน (๓) สมุนไพรเพื่อ สุขภาพ (๔) ไก่และปลาเศรษฐกิจชุมชน (๕) ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสื่อสายใยรักในชุมชน (ถนอม เศษภักดี. การประชุมสรุปผลการดาเนินงานโครงการ. ๒ เมษายน ๒๕๕๔) ผลของการจัดประชุมเพื่อ แสดงความคิดเห็นร่ว มกันของคณะผู้รับผิดชอบโครงการร่วมกับ องค์กรในชุมชนบ้านกุดแคนมีกลุ่มผู้ปกครอง เด็กและเยาวชน ผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา ปราชญ์ครู ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นมีความสนใจจะจัดการศึกษาแบบทางเลือก เรื่องสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น ตนเอง ซึ่งเป็นการศึกษาจากความสนใจของคนในชุมชนเป็นตัวตั้งโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทุกคนได้รับ ความรู้ ทักษะอาชีพ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม เป็นรูปแบบการศึกษาระบบเปิด เพราะแหล่ง เรียนรู้ ของชุมชนแห่ งนี้จัดการศึกษาทั้งในระบบการศึกษาเสริ มวิชาสามัญพื้ นฐาน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ การศึกษานอกระบบตามศักยภาพของผู้เรียนสนใจจะใช้บริการและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยคนในชุมชนจะไปศึกษาเรื่องราวหลายๆประเด็นด้วยตนเองได้ตลอดชีวิต เพราะเป็นศูนย์การเรียนรู้ ของชุมชนไม่มีมิติเวลากากับสอนเนื้อหาใครใคร่เรียนรู้ฝึกฝนใฝ่เรียนเกิดจากความสนใจของตนเอง ไม่มี ผลสั มฤทธิ์ เป็นตัวเลขก ากั บจัดล าดับความรู้ แต่วัดคุณค่าของความเป็นมนุษย์ด้วย คุ ณลักษณะที่พึง ประสงค์ด้วยคุณธรรมพื้นฐาน คือ ซื่อสัตย์ ประหยัด ขยัน รักความสะอาด อดทน มีวินัยและมีจิตอาสา
แนวคิดและหลักการ โครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชน จัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชนเพื่อ สุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย เป็นการจัดการศึกษาเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนทั้งเด็กเยาวชน กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมไม่รักการเรียนโดดเรียน หนีเรียน ผลการเรียนต่า และเด็ก เยาวชน กลุ่ ม สร้างสรรค์มีพฤติกรรมรักการเรียน มีศักยภาพในตนเอง เช่นชอบดนตรี กีฬา ศิลปะ เข้ามาร่วม โครงการได้ให้โอกาสได้เรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นตัวตั้ง ด้วยแนวคิดเด็กนาผู้ใหญ่หนุน โดยการมีส่วน ร่วมและบูรณาการทรัพยากรท้องถิ่นร่วมกันบนฐานของการกระจายอานาจโดยใช้ชุมชนเป็น ตัวตั้ง ให้ เกิ ดความเข้มแข็งจากฐานรากด้วยความร่วมมือขององค์ กรในชุมชน ทั้งร่วมคิ ด ร่วมวางแผน ร่ วม ตัดสินใจ ร่วมดาเนินการ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมแก้ไขปัญหาและร่วมชื่นชมที่จะให้ อิสระ ยืดหยุ่นและความคล่องตัวกับสมาชิกในโครงการบนความหลากหลายขององค์กรในชุมชนเข้ามา ช่วยหนุนเสริมการจัดการศึกษาโดยใช้แหล่งเรียนรู้ของชุมชนเป็นองค์กรกลางจัดการการศึกษาระบบเปิด ดังภาพกรอบแนวคิด แนวคิดแหล่งเรียนรู้ของชุมชนนาร่องจัดการศึกษาสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริง ในชุมชนเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน แหล่งเรียนรู้ของชุมชน ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
การศึกษานาร่อง สัมมาอาชีพ
การกระจายอานาจ องค์กรในชุมชน
สุขภาวะของเด็กและ เยาวชนไทย
แผนภาพที่ ๖ แหล่งเรียนรูข้ องชุมชนนาร่องจัดการศึกษาสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริง ในชุมชนเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชน
องค์กรในชุมชนตามกรอบแนวคิดจะประกอบด้วย องค์กรครอบครัว องค์กรกลุ่มสตรีแม่บ้าน กลุ่มเด็กและเยาวชน ศาสนาสถานวัด โรงเรียน สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตาบล และองค์กร อื่นของประชาชนในบ้านกุดแคน ซึ่งทุกองค์กรมีสิทธิและอิสระในการจัดการศึกษาที่เชื่อมโยงกัน ได้ทั้ง การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้ผู้เรียนมี เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ผู้ที่สนใจ ครูจิตอาสา ประชาชนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขเต็มตามศักยภาพ
รู้ท้องถิ่น รู้รากเหง้า รู้ศาสนา รู้ประวัติศาสตร์ รู้วิชาสามัญ รู้วิชาชีพ รู้รักษาสุขภาพ รู้เท่าทันโลก เป็นพลเมือง พลโลกที่ดี มีสัมมาอาชีพ มีความรู้ มีคุณธรรมสร้างสันติสุข นาชุมชนไปสู่ความสงบสุข เกิดสุขภาวะของจิตใจ ร่างกายสติปัญญาสังคม อารมณ์ได้อย่างยั่งยืน ดังแผนภาพ ชุมชน และสังคม สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
อบต.
บ้าน
ทุกภาคส่วน
ผู้เรียน พ่อแม่
สถานี อนามัย
พระ
ครู
และเยาวชน -- เด็เด็กก และเยาวชน - ประชาชน - ประชาชน - กลุ-่มกลุ สตรี่มสตรี แม่บ้าน -- ผูผู้ป้ปกครอง กครอง แม่บ้าน
โรง เรียน ครูจิตอาสา
ผู้นาศาสนา วัด
แผนภาพที่ ๗ ชุมชน และสังคม สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
การจัดการศึกษาของแหล่งเรียนรู้ชุมชนสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่นด้วยเครือข่ายทาง สังคม การจัดการศึกษาของแหล่งเรียนรู้ชุมชนจากสมาชิกในโครงการ พบว่า ให้แหล่งเรียนรู้จัด การศึกษาสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เป็นความจาเป็นพื้นฐานของมนุษย์ที่ต้องมีปัจจัยสี่ ดารงชีวิต คือ อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และเครื่องนุ่งห่ม ซึ่งสิ่งเหล่านี้ จะเกิดขึ้นได้เพราะคน ได้เรียนรู้จากการประกอบอาชีพที่ตนต้องการเลี้ยงไก่ ปลา ปลูกพืชสมุนไพร ทาถ่านชีวภาพ ฝึก ปฏิบัติดนตรีพื้ นบ้านโปงลางประยุก ต์ และการเรียนรู้ประวัติศ าสตร์ท้อ งถิ่ นบ้านกุดแคน เพื่อ รู้จั ก ท้องถิ่น รู้รากเหง้า รู้วัฒนธรรม รู้เท่าทันโลก ซึ่ งลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดจากเครือข่าย ทางสังคมเข้ามามีส่ว นร่วมกั นขับเคลื่ อ น ร่ว มกับเครือ ข่ายภายในชุมชนประกอบด้ว ยเจ้าภาพหลั ก ตระกูลฤทธิเดช เข้าภาพร่วมองค์กรภายในชุมชน และเจ้าภาพร่วมองค์กรภายนอกชุมชน ดังแผนภาพ
เจ้าภาพหลักตระกูลฤทธิเดช
คุณป้าสาเนียง ฤทธิเดช และนายไพโรจน์ ดอนสามารถ ศาสนาและจิตอาสา คุณลุงเสนาะคุณป้าวราภรณ์ ฤทธิเดช ส่งเสริมสุขภาพ
ดร.สมบัติ คุณละมัย ฤทธิเดช กองทุนการศึกษา
ตระกูลฤทธิเดช
คุณลุงสมชายป้าลัดดา ฤทธิเดช ฝ่ายสถานที่, ประชาสัมพันธ์
รศ.ดร.สัมพันธ์ผศ.อรวรรณ ฤทธิเดช สารสนเทศและการคลัง
ดร.ประสพสุข ฤทธิเดช ผู้อานวยการและประสานงาน
แผนภาพที่ ๘ ตระกูลฤทธิเดชมีส่วนร่วมสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน เจ้าภาพร่วมองค์กรภายในชุมชน
เด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มสตรีแม่บ้าน และ ครูจิตอาสา
ผู้นาชุมชน พระสงฆ์ ผู้นาพิธีกรรม
เจ้าภาพร่วม ภายในชุมชน
ปราชญ์ชุมชน เรื่องดนตรีและอาชีพ
ผู้ปกครองเด็กและเยาวชน
แผนภาพที่ ๙ องค์กรภายในชุมชนมีส่วนร่วมสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน เจ้าภาพร่วมองค์กรภายนอกชุมชน
สถาบันการศึกษา (โรงเรียน, เขตพื้นที่การศึกษา, มหาวิทยาลัย, ห้องสมุดประชาชน)
ปปส ภาค ๔ จังหวัดขอนแก่น และครูจิตอาสา
เจ้าภาพร่วม ภายนอกชุมชน
สถานีประมงน้าจืด จังหวัดมหาสารคาม
องค์การบริหารส่วนตาบล หนองโน
สถานีอนามัย ตาบลหนองโน
สานักงานเกษตร จังหวัดมหาสารคาม
แผนภาพที่ ๑๐ องค์กรภายนอกชุมชนมีส่วนร่วมสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
การดาเนินกิจกรรมของโครงการด้วย ๕ ฐานการเรียนรู้ดังกล่าวมีเจ้าภาพหลักตระกูลฤทธิเดช และเจ้าภาพร่ว มองค์ ก รในชุมชนและเชื่อ มโยงกับองค์ กรทางสั งคมภายนอก เป็น ไปตามหลั กการ กระจายอานาจการจัดการศึกษาตามเจตนารมณ์ของรัฐบาล เพื่อปฏิรูปการศึกษาภายใต้พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อพัฒนาคน และสังคมให้มีคุณภาพ มีความสุข กล่าวคือ รัฐจะสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยพัฒนาการ เรียนรู้ให้เป็นบุคคลผู้มีความรู้คู่คุณธรรมอย่างต่อเนื่องทั้งการเรียนรู้ในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย โดยเฉพาะรูปแบบการจัดการศึกษาของแหล่งเรียนรู้ในชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ได้จัดการศึกษาสัมมาอาชีพ และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นด้วยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งสถานศึกษา ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน และสถาบันทางสังคม ทาให้การ ดาเนินงานของแหล่งเรียนรู้ ชุมชนเกิดเครือข่ายทางสังคม เริ่มตั้งแต่สถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องได้แก่ โรงเรียนบ้านกุดแคน โรงเรียนผดุงนารี โรงเรียนสารคามพิทยาคม และโรงเรียนหลักเมืองเป็นเครือข่าย
องค์กร เพราะมีสมาชิกเด็กและเยาวชนเข้าร่วมโครงการศึกษาในระบบโรงเรียนได้เข้ามาเป็นสมาชิก ของโครงการในช่วงหลังเลิกเรียน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มาใช้บริการการศึกษาสัมมาอาชีพ และ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยความรู้เ รื่องไก่และปลา เศรษฐกิจชุมชน ดนตรีโปงลางประยุกต์ ถ่าน ชีวภาพลดภาวะโลกร้อน สมุนไพรอาหารเพื่อสุขภาพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ได้ให้เด็กและเยาวชน เรียนรู้จากความรู้ในชุมชนตนเอง มีขั้นตอนการหาคาตอบ ๕ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ ๑ ข้องใจ หมายถึง กิจกรรมที่ให้เด็กและเยาวชนตั้งคาถามที่ตนเองต้องการอยากรู้เรื่องเกี่ยวกับดนตรีพื้นบ้าน อีสาน ถ่านชีวภาพ สมุนไพร ไก่และปลาเศรษฐกิจชุมชน และคาถามเกี่ยวกั บประวัติศาสตร์ท้องถิ่น บ้านกุ ดแคน ขั้นตอนที่ ๒ หมายค าตอบ หมายถึง กลุ่ มเด็กและเยาวชนสื บค้ นหาค าตอบ จาก ภายในและภายนอกชุมชน ขั้นตอนที่ ๓ สอบสวน หมายถึง กลุ่มเด็กและเยาวชนเก็บข้อมูลตาม แหล่งข้อมูลที่ระบุไว้ในขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๔ ครวญใคร่ หมายถึง กลุ่มเด็กและเยาวชนได้มีการ วิเ คราะห์ ตีค วามหาค าอธิ บายในเรื่อ งที่ต นอยากรู้ ขั้นตอนที่ ๕ ไขความจริง หมายถึ ง เด็กและ เยาวชนนาเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ ด้วยการเขียนเป็นเรื่องหรือพูดเล่าเรื่องได้ เพราะการจัดการศึกษาให้ เด็กและเยาวชนมีการทากิจกรรม ๕ ขั้นตอน ต้องอาศัยแหล่งเรียนรู้หรือวิธีการสืบค้นจากพ่อ -แม่ เพื่อน ครูปราชญ์ชุมชน วิทยากรครูดนตรี ถ่านชีวภาพ สมุนไพร ไก่และปลา เศรษฐกิจชุมชน และ วิ ท ยากรครู ป ระวั ติ ศ าสตร์ ท้ อ งถิ่ น เด็ ก เยาวชนได้ ใ ช้ ข้ อ มู ล เทคโนโลยี สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จากการใช้ อินเตอร์เน็ต และห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และห้องสมุดมหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม ข้อค้นพบการจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่นด้วยบริบทจริง ในชุมชน การจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเกิดผลต่อเด็กและเยาวชนเช่น ๑. ด้านการเรียนรู้มุ่งผลสัมฤทธิ์ทักษะทางภาษา เด็กและเยาวชนที่ได้เรียนรู้ เรื่อง ไก่ ปลา ถ่ านชี ว ภาพลดโลกร้ อ น ดนตรี พื้ นบ้ านโปงลางประยุ กต์ สมุ นไพรอาหารเพื่ อ สุ ขภาพ และ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น มีพัฒนาการทักษะทางภาษาเกิดจาก การดู ฟัง พูด อ่านและเขียน โดยใช้ เครื่ อ งมือ วิ ธี วั ดประเมินผลจากสภาพจริ ง ให้โ อกาสเด็ก และเยาวชน เขี ยนเรื่อ ง/พูดเล่ า เรื่อ ง วาด ภาพประกอบและจับใจความสาคัญในเวลาเรียนตามฐานกิจกรรม และเข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการ ร่ว มกั บส านัก งาน ปปส. ภาค ๔ และเข้ าร่ว มประชุมกั บองค์ กรกลางมหาวิท ยาลั ยธุ ร กิจบั ณฑิ ต ย์ ปรากฏว่าเด็ก และเยาวชนสามารถพู ดอธิ บาย ให้ผู้ เข้าประชุมได้รับรู้ กิจกรรมของแหล่ งเรียนรู้มีผ ล สะท้อนกลับ กล่าวว่า “เด็กและเยาวชนกลุ่มนี้มีทักษะการพูด กล้าแสดงออก เขียนเรื่องจากที่เล่าได้ (วิมนา เวทีกูล. เจ้าหน้าที่ประสานงาน ปปส. ภาค ๔ จังหวัดขอนแก่น วันที่ ๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔) และ (สอาดลักษม์ จงคล้ายกลาง. เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการการจัดการศึกษาแบบมีส่วน ร่วมขององค์กรชุมชน วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔) ดังภาพประกอบ
การประชุมโครงการการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน วันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุม ๖-๑ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
การนาเสนอผลงานของแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช สืบเนื่องจากการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ได้ข้อค้นพบว่า ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ด้านการสื่อสารและการรับสารของเด็กและเยาวชน เป็นที่ยอมรับของผู้เข้าร่วมการประชุม และการ ประเมินด้วยพ่อ-แม่ของเด็ก และเยาวชนได้พูดคุยแบบไม่เป็นทางการ อธิบายพฤติกรรมลูกของตนเอง
ว่า “ด้านการอ่าน พูด เขียน มีพัฒนาการเพิ่มมากกว่าไม่ได้เข้าร่วมโครงการ แต่อย่างไรก็ตามยัง ต้องการให้มีการจัดกิจกรรมกระตุ้นการใฝ่รู้ใฝ่เรียนให้มากขึ้นกว่าการอ่าน เขียน พูดเล่าเรื่อง โดยให้มี กิจกรรมคนดีได้ช่วยงานครอบครัวและมีคนเก่งในรอบเดือนเป็นแรงเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความสนใจ เป็นเยาวชนมีคุณธรรมและความรู้ดียิ่งขึ้น” (ตวงทิพย์ ป้องสงคราม. ๒๕๕๔ : สัมภาษณ์) นอกจากนีใ้ นส่วนสถาบันการศึกษา โรงเรียนบ้านกุดแคนได้ให้ข้อคิดเพิ่มเติมเด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมโครงการอยากให้มีการกล้าพูดกล้าแสดงออกทุกช่วงวัย เพราะเด็กระดับชั้น ป.๑-ป.๒ มีทักษะ ภาษาการสื่ อสารในระดับปานกลาง คื อ ยังสื่ อ สารได้ไม่ค ล่ องแคล่ ว ” (ทานอง สี ดาพล. ๒๕๕๔ : สัมภาษณ์) ข้อค้นพบการมุ่งผลสัมฤทธิ์ทักษะทางภาษา การดู ฟัง พูด อ่านและเขียน จากผล โดยรวมของสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ ผลที่เกิดขึ้นทาให้เด็กและเยาวชนมีประสบการณ์ตรง ที่ได้เรียนรู้ จริง ได้ฝึกปฏิบัติการพูดต่อที่สาธารณะยังไม่ครบถ้วนทุกคน แต่คิดว่าในอนาคตเด็กและเยาวชนจะมี พัฒนาการด้านทักษะทางภาษาผ่านเกณฑ์ความพอใจของครู และผู้ปกครอง ๒. คุณลักษณะเป็นพลเมืองที่ดีของชุมชน การจัดการศึกษาของโครงการนี้ได้บูรณาการกิจกรรม ๕ กิจกรรมดังกล่าวมา ด้วยบริบทจริง ของชุ ม ชน ให้ โ อกาสคนในหมู่ บ้ า นได้ แ สดงความต้ อ งการ เป็ น ครั ว เรื อ นแกนน าต้ น แบบการจั ด การศึกษานาร่องโดยการสมัครใจว่าครอบครัวใดต้องการเป็นตัวแทนถ่ายทอดความรู้ให้กับสมาชิกใน โครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันส่งผลต่อผู้ปกครอง ประชาชนที่สนใจ ครูจิตอาสาร่วมกับเด็กและ เยาวชน เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นพลเมืองดีของชุมชนใช้วิธีการวัดจากการสังเกตพฤติกรรม พบว่า ความเป็นพลเมืองดีของบ้านกุดแคน ประกอบด้วยคุณลักษณะหลายประการ ได้แก่ การมีวินัย ในตนเองของเด็ก เยาวชน ผู้ ปกครอง ประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมมีวินัยในตนเอง ปรากฏ ชัดเจน คือ การเข้าร่วมประชุมจากใบตอบรับการเข้าร่วมประชุมในแต่ละเดือนที่โครงการได้นัดเวลาให้ สมาชิกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเกิดแนวทางการทางานตามระบอบประชาธิปไตย โดยใช้กฎ กติกาของสมาชิก ในกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการเป็นข้อบังคับ เรียกว่ากติกาทางสังคมของแหล่งเรียนรู้ของ ชุมชน คือต้องมีหน้าที่ร่วมกันทาคู่มือหลักสูตรของหมู่บ้านตนเองใน ๕ กิจกรรม ซึ่งหลักสูตรสัมมา อาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจะเป็นหลักสูตรของชุมชนที่ทุ กคนได้แสดงความคิดเห็น และยอมรับใน ชุดความรู้ที่จะศึกษาร่วมกัน ถือเป็นประชาธิปไตย โดยสมาชิกทุกคนมีบทบาทจะเขียน พูดโต้แย้งได้ ทุกกิจกรรม และยอมรับแก้ไขปัญหาร่วมกัน มีความขยันหมั่นเพียร สังเกตจากการอบรมสั่งสอนลูกของตนเองให้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงที่ พ่อแม่ได้ปฏิบัติมา ส่งผลให้ลูก ๆ มีผลการเรียนรู้ ได้แก่ การอ่าน การพูด การเขียนหนังสือได้ถูกต้องและสร้างโจทย์ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับพื้นฐานได้ ตามช่วงวัยอายุระดับชั้น ป. ๑ – ป. ๖ ระดับชั้น ม. ๑ – ม. ๓ และ ชั้น ม. ๔ และมีความสุขร่วมกันโดยเด็กและเยาวชน ผู้ปกครอง ครูปราชญ์ชุมชน ครูจิตอาสาและวิทยากรจากภายนอก มีความรักสามัคคีและมีความสุข เมื่อจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ ให้ข้อเสนอแนะ แก้ไขปัญหา ร่วม ติดตามผลงานและร่วมชื่นชมในผลงานร่วมกัน ตรงกับภาษาถิ่นอีสาน คือ ไม่ย้านกันได้ลื่น (ไม่มีความอิจฉาซึ่งกัน และกัน) ๓. การเกิดเครือข่ายการจัดการความรู้สมั มาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
การบูรณาการเครือข่ายการจัดการความรู้เข้าสู่วิชาสามัญ เกิดจากกิจกรรมการใช้ฐานสัมมาอาชีพ ด้วย สาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มวิชาที่เด็กและเยาวชนต้องการและมีความสนใจ เช่น สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ดนตรี วิทยาศาสตร์ และการทาการเกษตรเข้าไปสู่เด็กและเยาวชน ด้วยความสนใจของตนเอง ส่งผลให้เด็กและเยาวชนกับผู้ปกครองมีครอบครัวที่อบอุ่น และมีอาชีพเลี้ยงไก่ ปลา ทา ถ่านชีวภาพ เป็นนักดนตรีมีอาหารประเภทสมุนไพรและภูมิใจรักชุมชนตนเองด้วยการรู้รากเหง้า รู้ประวัติศาสตร์ของ บ้านกุดแคนได้เป็นชุมชนต้นแบบการจัดการศึกษานาร่องแบบทางเลือกสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริง ขยายไปสู่ชุมชนอื่น ๆ ในโอกาสต่อไป เพราะแหล่งเรียนรู้ของชุมชนแห่งนี้มีองค์กรทางสังคมให้ความสนใจมาศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง ได้ให้ข้อเสนอแนะและสร้างขวัญกาลังใจหนุนเสริมชุมชน ดังภาพประกอบ
รูป ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ปทู่ วดครูสิงห์ ฤทธิเดช
รูป ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน
รูป สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น สื่อสายใยรักในชุมชน
การร่วมชื่นชมแหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
รูป ไก่และปลาเศรษฐกิจชุมชน
จากการดาเนินโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนบ้านหลั งเรียนปู่ทวดครูสิ งห์ ฤทธิเ ดช เริ่ม ตั้งแต่วันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๓ ได้รับขวัญกาลังใจจากการได้แรงหนุนเสริมจาก องค์กรทางสังคม เผยแพร่ผลงานผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ เช่น หนังสือพิมพ์และเว็บไซต์คมชัดลึก วันอังคารที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒ หน้า ๘ คอลัมน์ “แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนสืบสาน ปณิธานครูสิงห์ ฤทธิเดช” หนังสือพิมพ์และเว็บไซต์บ้านเมืองประจาวันศุกร์ที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๒ หน้า ๑๗ คอลัมน์ “แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนสืบสานเจตนารมณ์บรรพบุรุษ ” ดร.ประสพ สุข ฤทธิเดช ผู้อานวยการและประสานงานโครงการแหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช ได้รับรางวัลคนดีแทนคุณแผ่นดินของจังหวัดมหาสารคาม ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ จากหนังสือพิมพ์ คมชัดลึกร่วมกับกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และหน่วยงานเอกชน แหล่งเรียนรู้ ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช ได้รับการคัดเลือกเป็นชุมชนต้นแบบของโครงการบริการ วิชาการแก่สังคม จากฝ่ายแผนพัฒนาและงานวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ใน สาขาการจัดการความรู้สู่ชุมชน ด้านเด็กเยาวชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง กิจกรรมของ โครงการได้รับการถ่ ายทาสารคดี ๕ นาทีใ นรายการห้อ งเรียนสีเ ขียว ตามหลั กปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของสถานีโทรทัศน์ TPBS (สถานีโทรทัศน์ช่องสาธารณะ เมื่อวันที่ ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒) โครงการได้รับการถ่ายทาสารคดี ๕ นาที รายการสร้างสุขเมืองไทย โดยบริษัท Watch Dog เผยแพร่สถานีโทรทัศน์ช่อง ๑๑ วันที่ ๒๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เวลา ๑๔.๕๕ นาฬิกา กิจกรรมของโครงการได้รับการถ่ายทาสารคดีที่นี่สารคาม จากสกายไลน์เคเบิลทีวีจังหวัด มหาสารคาม และคุณวันชนะ แดงทองคา ได้นาเสนอสารคดีชุดนี้ได้รับรางวัล สารคดีเชิงข่าวดีเด่น จากมูลนิธิแสงชัย สุนทรวัฒน์ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และกิจกรรม ของโครงการได้รับรางวัลจากสานักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของกระทรวงยุติธรรมในนาม องค์กรเอกชนที่ทาสาธารณะประโยชน์ เพื่อบริการสังคมด้วยการพึ่งตนเอง นโยบาย ๕ รั้ว ป้องกัน ยาเสพติด ในวันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ ทาเนียบรัฐบาล การดาเนินงานของโครงการปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มีจุดเน้นการจัดการศึกษาเพื่อสร้างสัมมาอาชีพ เต็มพื้นที่ในชุมชนและให้รู้จักตนเอง ด้วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นได้จัดการศึกษาสอดคล้องกับ บริบทจริงในชุมชน มีการเปลี่ยนแปลงการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน โดยใช้ ความต้อ งการของสมาชิ ก ในโครงการเป็นกลไกขับเคลื่ อ นแบบพึ่งตนเองตามหลั ก พุทธศาสนา คื อ เดินทางสายกลาง ทากิจกรรมจากทุนทางสังคมของชุมชนเชื่อมโยงกับองค์ความรู้จากภายนอกที่เข้ามา สนับสนุนให้เป็นเครือข่ายการทางานร่วมกัน ที่ปรากฏเป็นรูปธรรมชัดเจนคือ การจัดการศึกษาต้องอยู่ บนฐานของชีวิตจริงของคนในชุมชน ด้วยการประกอบอาชีพตามภูมิสังคมของท้องถิ่น มีพื้นที่ แหล่งน้า ป่า อากาศ และรู้รากเหง้าของตนเองก่อนจะส่งผลถึงชุมชนเป็นสั งคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต จะเริ่ม กิจกรรมใด ๆ ก็ตามให้คนในชุมชนมีการเปิดใจของตนเองออกมาจากภายใน จะมีก ลไกร่วมสถาบันทาง สังคมจากภายในชุมชนและภายนอกชุมชน ได้เชื่อมโยงความรู้ไปบูรณาการ การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยส่งผลให้คนในชุมชนเกิดสุขภาวะทางจิต กาย ใจ สติปัญญาและ
ทางสังคม มีความเป็นอยู่กินอิ่ม นอนหลับ ท้องอุ่น เพราะมีอาชีพพออยู่พอกินและมีรายได้ด้วยการ เรียนรู้แบบบูรณาการของการจัดการศึกษาในแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ได้ตลอดชีวิต
บุคคลนุกรม คุณครูทานอง สีดาพล โรงเรียนบ้านกุดแคน ตาบลหนองโน อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เป็นผู้ให้สัมภาษณ์ ดร.ประสพสุข ฤทธิเดช เป็นผู้สัมภาษณ์เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช ตวงทิพย์ ป้องสงคราม ผู้ปกครองสมาชิกในโครงการแหล่งเรียนรู้ ของชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช เป็นผู้ให้สัมภาษณ์ ดร.ประสพสุข ฤทธิเดช เป็นผู้สัมภาษณ์ เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ถนอม เศษภักดี บ้านเลขที่ ๓๒/๕ หมู่ที่ ๖ บ้านกุดแคน ตาบลหนองโน อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม สมาชิกในโครงการเข้าร่วมการประชุมสรุปผลงานการดาเนินงานโครงการ เมื่อ วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช วิมนา เวทีกูล เจ้าหน้าที่ประสานงานสานักงานป้องกันปราบปรามยาเสพติ ดภาค ๔ จังหวัด ขอนแก่น องค์กรเครือข่ายที่สนับสนุนโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนบ้านหลังเรียน ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช สอาดลักษม์ จงคล้ายกลาง เลขานุการโครงการและประสานงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕ สุนันทา รังวัดสา บ้านเลขที่ ๒๐/๒ หมู่ที่ ๖ บ้านกุดแคน ตาบลหนองโน อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม สมาชิกในโครงการเข้าร่วมการประชุมสรุปผลงานการดาเนินงานโครงการ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
ส่วนที่ 2 เอกสารเผยแพร่แผ่นพับโครงการ
ส่วนที่ 3 เอกสารเผยแพร่แผ่นพับโครงการวิทยาศาสตร์ถ่านชีวภาพฯ
ส่วนที่ 4 รายงานนาเสนอความก้าวหน้าของโครงการ
ส่วนที่ 5 ผลงานของนางสาวนภัทสร แก่นแก้ว
ส่วนที่ 6 การสังเคราะห์บ้านหลังเรียนโครงการติดตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ
ส่วนที่ 7 สารคดีสรุปโครงการ : ที่นี่สารคามบ้านหลังเรียน
ที่นี่สารคาม/บ้านหลังเรียน พื้นที่ไม่กว้างขวางกลางชุมชนเมื่อเด็กหลายสิบคนต้องเข้ามาใช้ประโยชน์ร่วมกัน แต่ภารกิจนั้น ใหญ่เกินกว่าที่หลายคนจะคาดหวังถึง ว่าการสืบสานอุดมการณ์ของผู้เป็นบิดา จะทาให้ดอกเตอร์ประสพสุข ฤทธิเดช และคนในตระกูล ช่วยกันสร้างบ้านหลังเรียน แหล่งเรียนรู้ของชุมชน จนมีบทบาทสาคัญ ที่หนุน ให้คนในชุมชนบ้านกุดแคน ตาบลหนองโน อ.เมือง จ.มหาสารคาม อยู่กันได้อย่างมีความสุข และยังบ่ม เพาะขัดเกลาเยาวชน ท้าทายสังคมภายนอกที่เปลี่ยนไป อะไรคือสิ่งทาให้พื้นที่เรียนรู้นอกระบบทางการตรง นีย้ ืนหยัดอยู่ได้ ในยุคที่การศึกษาคือธุรกิจ การรวมตัวที่บ้านกุดแคนในวันนี้ ดูคึกคักกว่าทุกวัน เพราะมีผู้ใหญ่มาดูลูกหลานทากิจกรรมกัน กิจกรรมที่หมู่บ้านอื่นๆไม่มี ทาให้พวกเขารู้สึกสบายใจที่ลูกหลานได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกบ้าน หลังเรียน...................บ้านหลังเรียน 01 การสืบทอดเจตนารมณ์ของบ้านหลังเรียน ซึ่งอาศัยความร่วมมือเป็นสาคัญ ครูที่มาช่วยสอนที่นี่จึงไม่ มีค่าจ้าง การทางานด้วยจิตอาสาจึงจาเป็นอย่างยิ่ง ทาให้การตอบแทนของเด็กรุ่นเก่า ที่เติบโตขึ้นมาพร้อมกับ บ้านหลังเรียน ด้วยการอาสามาเป็นครูโดยความเต็มใจ จึงกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของที่นี่ ..............บ้านหลังเรียน 01 , 02 การผสมผสานความรู้ตามแบบแผนราชการ กับการศึกษาตามความต้องการของแต่ละคน คือ แนวทางที่ดอกเตอร์ประสพสุข หรือที่รู้จักกันในชุมชนว่า ครูป้าต๋อย ผู้นาของบ้านหลังเรียน ทามาอย่าง ได้ผล พฤติกรรมเด็กที่ไม่ดีก็เปลี่ยนไปเป็นที่ยอมรับของชุมชน ผลการเรียนก็ประสบความสาเร็จมากขึ้น จากระบบเพื่อนช่วยเพื่อน พี่สอนน้อง เติมเต็มกันและกัน แต่การพัฒนาที่มากกว่านั้น คือการเชื่อมโยงข้อมูล ความรู้ทั้งในและนอกชุมชน จนสามารถสนอง ความต้องการของชีวิตได้ ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ในบ้านกุดแคนสามารถเรียนรู้การประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเอง และครอบครัวได้ตามความสนใจ ขณะเดียวกันก็ยังได้ศึกษาประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นบ้านกุดแคน ทาความ รู้จักชุมชนของตนเองให้ชัดเจนยิ่งขึ้น แต่กลั่นกรองมาจากความคิด และความต้องการของคนในชุมชนเอง ...สัมภาษณ์ ดร.ประสพสุข พื้นที่ในบ้านและสวนหลังบ้าน จากเดิมที่ปรับให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ตามความสนใจของเด็กๆ ถูกต่อเติมปรับปรุง เพิ่มพื้นที่ฝึกฝนการแสดงดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ ถ่ายทอดอาชีพ การทาถ่าน ชีวภาพลดภาวะโลกร้อน ทาสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพ การเลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา แบบเศรษฐกิจชุมชน และ จุดเชื่อมโยงข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ด้วยความร่วมมือของปราชญ์ชุมชน และนักวิชาการ ........................ วันนี้เป็นวันสาคัญวันหนึ่ง เด็กๆบ้านหลังเรียนมารวมตัวกันจานวนมาก พร้อมกับผู้ปกครองหลายคน เพราะได้นัดแนะที่จะทากิจกรรมร่วมกันหลายอย่าง ครูป้าต๋อยจึงต้องใช้ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ ซึ่ง เด็กๆได้ฝึกฝนกันประจา มาช่วยสร้างความสนุกสนาน ปรับบรรยากาศให้พร้อมที่จะเริ่มการเรียนรู้
..........บ้านหลังเรียน 04/สัมภาษณ์ ภารกิจแรกในวันนี้คือการช่วยกันทาผงนัว ใช้สาหรับปรุงแต่งอาหารแทนผงชูรส ส่วนผสมล้วน ทามาจากพืชผักและสมุนไพรที่หาได้ไม่ยาก หลายคนเคยเห็น เคยลิ้มรส แต่ไม่เคยทา จึงตั้งใจฟังกันเป็น พิเศษ เพราะดูไปแล้วก็คล้ายๆกับการนาใบไม้ พืชผักมาเล่นขายของ ต่างกันตรงที่สิ่งที่พวกเขาช่วยกันทานั้น นาไปใช้ปรุงอาหารได้จริงๆ หรือแม้จะเป็นการทดลองใช้สมุนไพรเสริมความงามให้ผิวพรรณบนใบหน้า ก็กลายเป็นเรื่อง สนุกสนานของเด็กๆ สมุนไพรที่ใช้ทาผงนัว และเครื่องสาอางพอกหน้า คือผลผลิตที่หาได้ในสวนหลังบ้าน เด็กๆที่นี่ ช่วยกันปลูกขึ้นตามหลักการและคาแนะนาที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากผู้ใหญ่ในชุมชน ........บ้านหลังเรียน 05, 06 ตามแบบฉบับบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช การเรียนรู้ไม่ได้อยู่เพียงแค่ภายในรั้วบ้านเท่านั้น วันหยุดประจาสัปดาห์จึงพบเห็นกลุ่มเด็กบ้านหลังเรียนตระเวนไปหาความรู้ภายนอกบ่อยครั้ง แต่คราวนี้ทุก คนต้องการไปแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์การประกอบอาชีพจากผู้ใหญ่ หลังจากเข้าไปดูต้นแบบการทา อาชีพแบบพอเพียงจากบ้านหลังเรียน แล้วนาไปทาที่บ้าน จนสามารถลดรายจ่ายในครอบครัวลงได้ จากเดิมที่ไม่มีความรู้ด้านนี้มาก่อน แต่ตอนนี้กลับมีปลาเป็นอาหารที่หาได้จากบ่อหน้าบ้าน และเหลือ พอที่จะขาย หรือแบ่งปันให้กับเพื่อนๆด้วย ....เสียงสนทนาเลี้ยงปลา ประสบการณ์ใหม่ๆของการเลี้ยงปลาในบ่อปูน คือความน่าสนใจ ที่เด็กๆได้จดบันทึกเอาไว้ และจะ นาไปปรับใช้ในการเลี้ยงปลาภายในสวนหลังบ้าน หรือจะเป็นการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ที่ครอบครัวนี้ไม่คาดคิดมา ก่อนว่าจะได้ไข่ไก่ไว้กินในครอบครัว และเหลือแบ่งขายให้เพื่อนบ้าน การมาติดตามศึกษาครอบครัวเลี้ยงไก่ไข่ ทาให้ครูป้าต๋อยและเด็กๆ เข้าใจการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่มากขึ้น เพราะเล้าไก่ในสวนหลังบ้าน ที่เคยถ่ายทอดความรู้ให้กับครอบครัวนี้มาก่อน ยังมีปัญหาการดูแลที่ถูกต้อง ทาให้ได้ผลผลิตไม่เต็มที่ ........เสียงสนทนา ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรในชุมชน อยู่ถัดออกไปอีกไม่ไกลในหมู่บ้าน ด้วยความสนใจของ ชาวบ้านรายนี้ ทาให้พื้นที่ว่างหน้าบ้านเปลี่ยนเป็นที่ปลูกพืชสมุนไพรหลายชนิด ความรู้รุ่นพ่อแม่ยังคงสืบ ทอดต่อกันมา และกาลังได้รับการสานต่อจากเด็กบ้านหลังเรียน สวนสมุนไพรแห่งนี้ดึงความสนใจของเด็กๆได้ไม่น้อย แต่ความสนใจของทุกคนยังไม่เท่ากับเด็ก บ้านหลังเรียนคนหนึ่ง เมื่อได้ฟังสรรพคุณทางยาของต้นสมุนไพรที่ช่วยขับน้าตาลในเลือดได้ เพราะตั้งใจว่า จะเอาไปปลูกเพื่อทาเป็นยาต้มให้แม่ดื่มเพื่อบรรเทาโรคเบาหวาน ....เสียงสนทนา
การใช้ชีวิตในวันเวลาว่างที่บ้านหลังเรียน คือช่วงที่น่าตื่นเต้นสาหรับเด็กๆ เพราะมีสิ่งแปลกใหม่ให้ เรียนรู้อยู่เสมอ อย่างเช่นในสัปดาห์นี้ ครูป้าต๋อยพาไปเรียนรู้การทาถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน ที่คนใน ตระกูลฤทธิเดชทาขึ้นตามหลักการวิทยาศาสตร์ แต่ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์แบบภูมิปัญญาชาวบ้าน ทาให้การ ทาถ่านชีวะภาพเป็นเรื่องง่ายๆ และน่าสนุก เพราะได้ไปเก็บเศษวัสดุเหลือทิ้งตามธรรมชาติ มาทาเป็นถ่านที่ มีคุณสมบัติและประสิทธิภาพที่เหนือกว่าถ่านที่ผลิตด้วยวิธีทั่วไปกว่าหลายเท่า ...เสียงสนทนา นอกจากนี้ เด็กๆยังช่วยกันนาถ่านชีวภาพส่วนหนึ่ง ไปจัดวางตกแต่งในบรรจุภัณฑ์ ก่อนนา ออกจาหน่ายสู่ท้องตลาด ในฐานะของที่ระลึกสาหรับการดูดกลิ่นที่มีประสิทธิภาพสูง ดอกเตอร์ประสพสุข สะท้อนแนวคิดการศึกษาในแบบฉบับบ้านหลังเรียนว่า เป็นการจัดการเรียนรู้ตาม ความต้องการของชุมชน คู่กับองค์ความรู้ในท้องถิ่น และบอกว่าภาครัฐควรให้โอกาสชุมชนได้มีส่วนใน การตัดสินอนาคตทางการศึกษาของตนเอง เพราะพิสูจน์แล้วว่า การเรียนรู้อาชีพ และศึกษาเรื่องราวใน ท้องถิ่น ตามหลักสูตรของชุมชนบ้านกุดแคน สามารถเชื่อมโยงกับการศึกษาในระบบราชการได้ ....บ้านหลังเรียน 13 / 18.00 น. ในสัปดาห์นี้เด็กบ้านหลังเรียนมีกิจกรรมทามากมาย เพราะครูป้าต๋อย และรุ่นพี่ที่เป็นครูจิตอาสา ว่างมา พร้อมหน้ากันหลายคน โดยตกลงกันว่าจะไปเรียนรู้เรื่องราวในบ้านกุดแคนจากสถานที่สาคัญอย่างน้อย 3 แห่งในหมู่บ้าน ที่โรงเรียนบ้านกุดแคน เด็กๆมีภารกิจในการทาความรู้จักโรงเรียนให้มากขึ้น ด้วยการตั้งคาถาม ให้ เพื่อนๆช่วยกันตอบ พร้อมจดบันทึก บางเรื่องที่ไม่รู้ก็ได้รับการแบ่งปันข้อมูลจากเพื่อนรุ่นพี่และรุ่นน้อง รวมถึงยังได้ฝึกการเขียนการสะกดคาต่างๆด้วย ใกล้ถึงวันเปิดเรียน สนามหญ้าในโรงเรียนบ้านกุดแคน ยังเต็มไปด้วยต้นหญ้าที่ขึ้นหนาแน่น เจ้าหน้าที่กาลังช่วยกันตัดหญ้าเอาไปให้วัวกิน เมื่อเด็กๆผ่านมาพบ ก็ไม่รอช้าที่จะช่วยกันเก็บกวาดหญ้าที่ถูก ตัดแล้ว เอาขึ้นรถ ช่วยให้งานในโรงเรียนของพวกเขาเสร็จเร็วขึ้น สะท้อนให้เห็นถึงการมีจิตอาสา ซึ่งเป็น เป้าหมายสาคัญอย่างหนึ่ง ที่บ้านหลังเรียนคาดหวังให้เกิดขึ้นกับเด็กทุกคน ............. สถานที่สาคัญอีกแห่งของหมู่บ้าน คือวัดกุดแคน ครูจิตอาสาพาเด็กๆสนทนาและจดบันทึกข้อมูล เกี่ยวกับวัดกุดแคน วัดแห่งนี้ทุกคนรู้จักกันดี โดยเฉพาะในช่วงงานบุญกฐิน พ่อแม่ และญาติพี่น้องและเด็กๆ ต่างก็มาที่วัดนี้ ซึ่งจัดงานบุญกฐินปลอดเหล้าเป็นประจา การสอนน้องๆภายในวัด รุ่นพี่ต้องการให้ฝึกการกราบพระ แบบเบญจางคประดิษฐ์ที่ถูกต้อง และรู้จัก การนาไปใช้ในโอกาสที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังสอนกันในเรื่องการแต่งกาย และการปฏิบัติตัวให้เหมาะสม เมื่ออยู่ในวัด รวมถึงหัดนั่งสมาธิ ห่างจากวัดไปไม่ไกลนัก มีอีกสถานที่หนึ่ง ที่มีความสาคัญอย่างมาก คนบ้านกุดแคนจะขาดไม่ได้ นั่นคือ ลาห้วยคาพุ แหล่งนาหลักแห่งเดียวภายในหมู่บ้านที่ทาให้ทุกครอบครัวมีน้าใช้ในการเกษตร สร้าง
รายได้เลี้ยงปากท้อง สมุดทุกเล่มจึงถูกนาขึ้นมาวาดภาพ และจดบันทึกทุกสิ่งที่รู้เกี่ยวกับห้วยคาพุตามคา บอกเล่าของครูป้า และรุ่นพี่ จากลาห้วยที่ธรรมดาสาหรับเด็กหลายคน เพียงแค่ได้สัญจรข้ามไปมา ระหว่างเดินทางไป กลับจาก โรงเรียน ความเคยชินกับภาพน้าแห้ง และล้นตลิ่ง แต่ตอนนี้ทุกคนก็รู้สึกว่าลาห้วยคาพุมีความงดงาม มี ความสาคัญมากพอ ที่จะต้องช่วยกันรักษาไว้ให้อยู่คู่กับหมู่บ้านนี้ตลอดไป กิจกรรมเรียนรู้เพื่อการรู้รักษาท้องถิ่นวันนี้จบลงด้วยการให้การบ้านเด็กๆ กลับไปหาคาตอบจากพ่อ แม่ว่า ถ้าหากไม่มีห้วยคาพุ บ้านกุดแคนจะเป็นอย่างไร และจะทาอย่างไรที่เป็นการรักษาห้วยคาพุ หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมในตอนเย็น เด็กๆเดินกลับบ้านหลังเรียนด้วยความสุข เพราะวันนี้ได้เรียนรู้ หลายสิ่งหลายอย่างในชุมชน โดยไม่จาเป็นต้องนั่งค้นคว้าจากหนังสือ เพราะได้เรียนรู้จากสภาพแวดล้อม จริง ...สัมภาษณ์ ดร.ประสพสุข น่าสนใจว่าในอีกสิบหรือยี่สิบปีข้างหน้า สมาชิกบ้านหลังเรียนจะเติบโตไปเป็นคนอย่างไร แต่ทุก ขั้นตอนที่กลั่นกรองจากชุมชน รวมถึงสังคมของบ้านหลังเรียน เด็กๆไม่เคยทะเลาะกันโดยใช้ความรุนแรง กติการะหว่างรุ่นพี่ รุ่นน้อง ความเสียสละให้ส่วนรวม หล่อหลอมให้เด็กบ้านหลังเรียน เป็นที่ยอมรับใน เรื่องระเบียบวินัย คุณธรรม และใฝ่เรียนรู้ สิ่งเหล่านี้คงยืนยันได้ว่า เด็กๆที่นี่พร้อมที่จะอยู่ร่วมกับชุมชนของ ตนเอง หรือเผชิญกับความแปลกใหม่ในสังคม ไม่ว่าจะอีกกี่ปีก็ตาม