แบบรายงานการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ชื่อองค์กร แหล่งเรียนรู้ของชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
รายงานครั้งที่ 3 ตั้งแต่วันที่ 21 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2555
วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554
แบบรายงานการประเมินตนเองขององค์กรชุมชน โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ชื่อองค์กร แหล่งเรียนรู้ของชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช รายงานครั้งที่ 3 ตั้งแต่วันที่ 21 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานขององค์กร 1.1 ประเภทองค์กรการจัดการศึกษา โรงเรียน ชุมชน/วัด/แหล่งเรียนรู้ 1.2 ชื่อองค์กร แหล่งเรียนรู้ของชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช 1.3 องค์กรตั้งอยู่ในภาค เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ⁄ ใต้ 1.4 สาระการเรียนรู้ที่จัดทา (ตอบได้มากกว่า 1 รายการ) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ครอบครัวและความรักถิ่น การกีฬาและสุขภาพชุมชน การพัฒนาการมีส่วนร่วมและอัตลักษณ์ การสืบสานวัฒนธรรมภูมิปัญญาและประวัติศาสตร์ชุมชน การพัฒนาอาชีพในชุมชน การพัฒนาผู้นาและเครือข่ายในชุมชน การพัฒนาความรู้และปัญญา การต้านยาเสพติดและเลิกอบายมุข การเรียนรู้ศิลปะดนตรี การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม การพัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม การเรียนรู้ การใช้สมุนไพร อื่น ๆ การพัฒนาเครือข่ายนอกชุมชน (การใช้ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ของชุมชนไปปรับใช้ในบริบทชุมชน อื่น ๆ ) 1.5 จานวนโครงการที่ได้รับอนุมัติจากส่วนกลาง 5 โครงการ/กิจกรรม ได้แก่ ไก่ – ปลา เศรษฐกิจชุมชน ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน สมุนไพรอาหารเพื่อสุขภาพ ดนตรีโปงลางและประวัติศาสตร์ท้องถิ่นบ้านกุดแคน
1.6 จานวนโครงการที่ดาเนินงานได้ตามแผน 5 โครงการ/กิจกรรม 1.7 จานวนโครงการที่ยังไม่ได้ดาเนินการ - โครงการ/กิจกรรม เพราะ 1.8 การใช้จ่ายงบประมาณของโครงการ/กิจกรรม จ่ายจากงบประมาณที่โครงการนี้ได้ให้การสนับสนุนเท่านั้น จ่ายจากรายได้ที่มีผู้สนับสนุนสมทบ (หมายเหตุ มีคณะบุคคลได้เข้ามาศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช ได้มอบทุนดาเนินงานให้เป็นเงินทุนการศึกษาเด็กและเยาวชนดังนี้) - นักศึกษาระดับปริญญาโทสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มอบทุนการศึกษา 1,350 บาท วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554 - นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มอบสื่ออุปกรณ์ และทุนการศึกษา 9,075 บาท วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2554 - คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านสร้างก่อพิทยาคม อาเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี มอบทุนการศึกษา จานวน 4,000 บาท วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2554 - คุณพัชรี บุญแจค มอบทุนการศึกษาจานวน 1,000 บาท วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2554 - คุณจีรภัส ขานหยู่ มอบขนมปังงานวันเด็กวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2555 1 ปิ๊ป (จานวน 500 บาท) - สกายไลน์เคเบิลทีวีท้องถิ่นจังหวัดมหาสารคามให้ไอศกรีม 1 ถังใหญ่ และทุนการศึกษา 500 บาท วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2555 (งานวันเด็ก) - บัณฑิตวิทยาลัยมหาสารคามมอบอุปกรณ์สื่อคอมพิวเตอร์จานวนเงิน 35,000 บาท - คณะโครงการ ปศท. 2 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มอบเงินทุนการศึกษาจานวน 1,000 บาท วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555 รวมจานวนเงินที่เป็นงบสนับสนุนจากองค์กรทางสังคมอื่น ๆ จานวน 51,925 บาท (เอกสารอ้างอิง รายนามผู้มีอุปการคุณ)
ส่วนที่ 2 รายงานการประเมินตนเองตามตัวบ่งชี้ ระดับองค์กร องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน ผลการประเมิน 1. ผู้เรียนในโครงการ (นักเรียน เยาวชน ประชาชนในชุมชน ที่ร่วมโครงการ) 1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนา ตามช่ ว งวั ย โดย 1.1.1 มี สุ ข ภาพกาย ใจ แข็งแรงขึ้น 1.1.2 ผลการเรียน ก. ผู้ เ รี ย นในวั ย เรี ย นมี ผ ลการเรี ย นใน กลุ่มสาระที่จัดโครงการสูงขึ้น (หรือ) ข. ผู้เรียนในวัยผู้ใหญ่มีความรอบรู้และ ทั ก ษะการเรี ย นรู้ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง โครงการสูงขึ้น 1.2 สมาชิกกลุ่มได้เรียนรู้การแก้ไขปัญหา การทางานและการอยู่ร่วมกันด้วยสันติวิธี
1. ผู้เรียนในวัยเรียนอายุตั้งแต่ 5 -18 ปี มีการ พัฒนาด้านร่ างกายแข็ งแรงด้วยการร่ วมกัน ออกกาลังกาย เล่นชิงช้า ซ่อนหา โพงพาง เต้นยาง และหมากเก็บ ในบริเวณสวนหลัง บ้ า นของแหล่ ง เรี ย นรู้ ชุ ม ชนและร่ า งกาย แข็งแรงด้วยการทางานช่วยครอบครัว 2. ผู้เรียนในวัยเรียนมีพัฒนาการผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นด้ า นความรู้ เ จตคติ คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ทั ก ษะงานฝี มื อ ด้ า นการเรี ย นรู้ ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน สมุนไพรเพื่อ สุขภาพ โดยเด็กและเยาวชนในโครงการได้ เชื่อมโยงความรู้ในชุมชนเข้าสู่สถานศึกษาใน ร ะ บ บ น าค ว ามรู้ ไป แ ข่ ง ขั น โ ค ร ง ง า น วิ ท ยาศาสตร์ ถ่ า นชี ว ภาพ ฯ และศิ ล ปะ ประดิ ษ ฐ์ ผลไม้ ได้ รั บ รางวั ล ในระดั บ โรงเรี ย นในระบบที่ โ รงเรี ย นผดุ ง นารี มหาสารคาม 3. ผู้เรียนในวัยผู้ใหญ่ได้มีความรู้เรื่อง
ผลงานจุดแข็ง 1. การดาเนินกิจกรรมของโครงการเป็น ความต้ อ งการของสมาชิ กทุ ก คนที่ เ ข้ าร่ ว ม โครงการใช้ แ นวคิ ด การท างานแบบมี ส่ว น ร่วม ร่วมคิด ทา รับผิดชอบ แก้ไขปัญหาชื่น ชมผลงานและรับผลประโยชน์ร่วมกันโดยมี เด็กและเยาวชนเป็นผู้มีบทบาทดูแลสมาชิก เด็ ก เยาวชนในโครงการให้ อิ ส ระทาง ความคิดร่วมกลุ่มทางานในทีม 2. มีระบบการบริการโครงการที่ตรวจสอบ ไ ด้ โ ด ย ป ร ะ เ มิ น ต า ม ส ภ า พ จ ริ ง ใ ห้ ข้อ เสนอแนะ น าไปปรั บแก้ไ ขกิจกรรมให้ ตรงกับความต้อ งการของคนในชุ มชนและ ปฏิบัติการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 3. จัดสรรผลประโยชน์อย่างทัดเทียมกันโดย เด็ ก และเยาวชนมี อ านาจในการบริ ห าร งบประมาณของโครงการอย่ า งโปร่ ง ใส (เกียรติบัตรเด็กและเยาวชน)
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน ส มุ น ไ พ ร ไ ก่ ป ล า ถ่ า น ชี ว ภ า พ ประวั ติ ศ าสตร์ ท้ อ งถิ่ น และดนตรี พื้ น บ้ า น โปงลางประยุ กต์ โ ดยครู ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ดนตรี พื้ น บ้ านได้ เ พิ่ มทั กษะทางดนตรี ข อง ตนเองมีความสามารถได้รับการยอมรับเป็น ครูภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านดนตรีพื้นบ้าน พิณ โปงลาง คื อ นายธนกิ ต อิ น ทร์ ง าม โดย ได้ รั บ การคั ด เลื อ กเป็ น วิ ท ยากรสอนดนตรี พื้นบ้านในโรงเรียนบ้านกุดแคน โรงเรียน บ้านโคกศรี และโรงเรียนนานกเรียน และมี ครู ภู มิ ปั ญ ญาเลี้ ย งไก่ – ปลา หลายคนใน ชุมชน เช่น นายถนอม เศษภักดี นางคาปั่น ปานโหน่ง นายธนกิต อินทร์งาม และนาง จันทร์ ศรีจันทร์นล มีความรู้ด้านการเลี้ยง ปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ขยายผลให้ชุมชนทา บ่อซีเมนต์เลี้ยงปลาในครัวเรือนตนเอง 4. สมาชิกโครงการเด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ผู้ ที่สนใจ ครูจิตอาสา กลุ่ม
ผลงานจุดแข็ง
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
2. องค์ก รที่จัดการศึ กษาโรงเรี ยน/ชุมชน/ แหล่งเรียนรู้ 2.1 มีแผนงานโครงการและมีแผนงาน โครงการและมี ก ารจั ด กิจ กรรมการเรี ย นรู้ ลักษณะของโครงการ/กิจกรรมที่จัด มีโครงการชื่อ โครงการแหล่ง เรีย นรู้ ของ ชุม ชนจั ด การศึ กษาน าร่ อ งสั ม มาอาชีพ ด้ วย บริ บ ทจริ ง ในชุ ม ชน เพื่ อ สุ ข ภาวะของเด็ ก และเยาวชนไทย ลั ก ษณะโครงการเป็ น โครงการต่ อ เนื่ อ งจากการต่ อ ยอดกิจ กรรม ของกิจกรรมภายในแหล่งเรียนรู้ชุมชนไปสู่ ครัวเรือนกลุ่มผู้ปกครองของเด็ก และเยาวชน ตามความต้องการของสมาชิกโครงการ
ผลการประเมิน สตรี แ ม่ บ้ า น ปราชญ์ ช าวบ้ า นที่ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการมีความรัก สามัคคี ทา กิจ กรรมกลุ่ ม ร่ ว มกัน แก้ ไ ขปั ญ หาด้ วยกั น ร่วมรับผลประโยชน์ทัดเทียมกันและชื่นชม ผลงาน มี ค วามภู มิ ใ จร่ วมกัน ได้ แ ก่ การจั ด กิจกรรมวันสาคัญได้แก่วันเด็ก วันปีใหม่ /วัน แม่ ฯลฯ 1) กิจกรรมที่จัดมี 5 กิจกรรมคือ ปลา – ไก่ เศรษฐกิจชุมชน สมุนไพร เพื่อสุขภาพ ถ่าน ชี ว ภาพลดภาวะโลกร้ อ น ดนตรี พื้ น บ้ า น โปงลางประยุกต์ และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เป็ น กิ จ กรรมต่ อ เนื่ อ งของโครงการเพราะ โครงการนี้ได้ดาเนินงานมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 และปี พ.ศ.2554 มีจุดเน้นเรื่องการพัฒนา อาชีพและเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็น กิจกรรมที่ขยายผลสู่ชุมชนเน้นเศรษฐกิจแบบ พึ่งตนเองทั้ง 5 กิจกรรมใช้คนเป็นตัวตั้ง เรียนรู้และเน้นการปฏิบัติจริงคือมีอาหารใน ครัวเรือนและมีเงินออมจากกิจกรรมที่ทา
ผลงานจุดแข็ง
1) สมาชิกในโครงการโดยเด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ครูจิตอาสาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันทุกฐานกิจกรรม มีการแสดงผลงาน โดยการตามไปดูชม เกิดครัวเรือนต้นแบบ สัมมาอาชีพในชุมชนได้เลียนแบบขยายผลใน ชุมชนและขยายผลไปสู่ชุมชนภายนอก 2) มีการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ระบุไว้ 3) ได้หลักสูตรจัดการศึกษานาร่องของ ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช 5 กิ จ กรรม เรื่ อ งสั ม มาอาชี พ และ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 4) ร่วมกันถอดบทเรียนของกิจกรรมได้ สาร คดี แผ่นพับ เอกสารเผยแพร่
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
ผลงานจุดแข็ง
ลักษณะกิจกรรมที่จัดขึ้นมี 5 ฐานการ เรียนรู้ได้แก่ 1)ไก่ – ปลา เศรษฐกิจชุมชน 2) ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ 3) สมุนไพร อาหารเพื่อสุขภาพ 4) ถ่านชีวภาพลดภาวะ โลกร้อน 5)ประวัติศาสตร์สายใจรักชุมชน สรุ ป กิ จ กรรมที่ จั ด เป็ น ชุ ด ความรู้ เ รื่ อ ง อาชีพ 4 กิจกรรมและเป็นชุดความรู้ท้องถิ่น ของตนเองคือประวัติศาสตร์ของชาวบ้านกุด แคนเกี่ยวกับ - ประวัติการก่อตั้งชุมชน - สถานที่สาคัญ - ทรัพยากรธรรมชาติ - ประเพณี - การนาเสนอผลการจัดกิจกรรมการโดย ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม กั บ อ ง ค์ ก ร ก ล า ง มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์จานวน 3 ครั้ง คือ (1)การพัฒนาโครงการ (2)การรายงาน ความก้าวหน้าของโครงการ (3)การประชุม เชิงปฏิบัติการ
มีแผนงานโครงการชื่อโครงการแหล่งเรียนรู้ ของชุมชนจัดการศึกษา นาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่ อ สุ ข ภาวะของเด็ ก และเยาวชนไทย (เอกสารอ้างอิง ข้อ 2.1 โครงการ) - กิ จ กรร มที่ จั ด มี 5 กิ จ กรร ม เอกสารอ้างอิงภาพประกอบ 5 กิจกรรม สรุปเอกสารแผ่นพับภาพรวมกิจกรรมย่อย 5 กิจ กรรม แหล่ง เรีย นรู้ ข องชุ มชนบ้ านหลั ง เรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช - น าเสนอผลงานการจั ด กิ จ กรรมเป็ น รายงานโครงการและเข้ า ร่ ว มประชุ ม กั บ องค์กรกลางเรื่องการนาเสนอความก้าวหน้า โครงการ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2554 ณ ห้องประชุม 6-1 ตึกอธิการบดี มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ - ประชุ ม ปฏิ บั ติ การถอดบทเรี ย นโดยได้ เป็นตัวแทนของแหล่งเรียนรู้ชุมชน
ความรู้ ตามฐานกิจกรรม 5 เรื่องดังกล่าวมา - โครงการได้ดาเนินงานตามแผนปฏิทินการ วิ จั ย ในโครงการที่ ร ะบุ ไ ว้ แ ละได้ ร ายงาน ความก้าวหน้าของโครงการเป็นไปตามกรอบ การวิจัยของโครงการ - โครงการได้เข้าร่วมการประชุมกับองค์กร กลางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2554 วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2554 วันที่ 9-10 กันยายน พ.ศ. 2554 และได้รับ การประเมินจากองค์กรกลาง 3 ครั้ง วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2554 วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2554 วันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2555 (เอกสารรายงานความก้าวหน้าของโครงการ) - โครงการได้มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดย ปรับทิศทางการทางานให้สอดคล้องกัน การ เชื่ อ มโยงคนในชุ ม ชนต้ อ งการท ากิจ กรรม อะไรและมี
จุดควรแก้ไข ควรจัดกิจกรรมการเข้ าร่วมการประชุม ข อ ง โ ค ร ง ก า ร กั บ อ ง ค์ ก ร ก ล า ง มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ จ านวน เด็ ก และเยาวชนต้ อ งการร่ว มกิ จกรรม จานวนมากแต่ช่วงที่จัดเป็นวันเปิดเรียน ปกติ ทาให้เด็ก เยาวชน ไม่สามารถเข้า ร่วมได้ เพราะบางครั้งโรงเรียนในระบบ จั ด สอบประจ าภาคเรี ย นจึ ง ควรจั ด กิจกรรมการประชุมในวันหยุดราชการ จะเป็นการให้โอกาสกับเด็กด้อยโอกาส ได้ ฝึ ก ทั ก ษะทางสั ง คมโดยมี อ งค์ ก ร กลางเป็นเจ้าภาพหลัก
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
ถอดบทเรียน เล่าเรื่องโครงการ (4)การเขียนบทความเผยแพร่ร่วมกับองค์กร (ภาพประกอบการเข้ า ร่ ว มประชุ ม และ กลาง (5)การจัดทาสื่อสารคดี 1 เรื่อง (6)การ ภาพประกอบการ) เผยแพร่เป็นเอกสารแผ่นพับ (7)การมีบุคคล - สื่อสารคดีที่นี่สารคามบ้านหลังเรียน เข้ามาศึกษาดูงาน - เอกสารแผ่นพับภาพรวมโครงการ - รายชื่อบุคคลเข้ามาศึกษาดูงาน - หลักสูตรแหล่งเรียนรู้ชุมชนจัดการศึกษา นาร่องสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 2.2 มีการจัดทาหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ 5 กิ จ กรรมย่ อ ย ๆ คื อ การเลี้ ย งไก่ – ปลา สอดคล้องกับประเภทการเรียนรู้ เศรษฐกิจ ชุม ชน สมุน ไพร ดนตรี พื้น บ้าน - มี ห ลั ก สู ต รแหล่ ง เรี ย นรู้ ชุ ม ชนจั ด โปงลาง ถ่ า นชี ว ภาพ ฯ ประวั ติ ศ าสตร์ ก า ร ศึ ก ษ า น า ร่ อ ง สั ม ม า อ า ชี พ แ ล ะ ท้องถิ่นชาวบ้านกุดแคน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น - มีชิ้นงานโครงงานเด็ก เยาวชน - มี เ อกสารสรุ ป ภาพรวมของการจั ด - มีผลผลิตสมุนไพร กิจกรรมย่อย 5 กิจกรรม ตามการนาหลักสูตร - ไข่ไก่ ปลาดุก ไปใช้ปฏิบัติจริง - มีแปลงสาธิตปลูกพืชผักสมุนไพร - สื่อการเรียนรู้ใช้สื่อบุคคลปราชญ์ชุมชน/ - มีผลผลิตโครงการใช้บริโภค ก า ร อ บ ร ม ร่ ว ม กั บ ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า - มีผลสัมฤทธิ์ทางสุขภาวะกาย จิตใจ วัด มห าวิ ท ยา ลั ย ร าช ภั ฏ ม ห า สา ร ค า ม / จากการเขียนความประทับใจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และใช้สื่อแหล่ง เรียนรู้ในชุมชน สวนสมุนไพรของ
ผลงานจุดแข็ง ขั้นตอนการร่วมกันทากิจกรรมโดย พ่อ – แม่ ต้องรับรู้กิจกรรมการเรียนรู้ของ ลูก ๆ ด้วย และสะท้อนผล โดยบอกเล่าใน กิ จ กรรมการถอดบทเรี ย นในวั น ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554 สรุปจุดแข็งของโครงการคือ การมีส่วน ร่วมแบบร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ไขปัญหา และรับผลประโยชน์ ชื่นชมร่วมกัน เด็ก เยาวชนได้ปฏิบัติจริงและได้เชื่อมโยง ความรู้ของครอบครัวเผยแพร่ร่วมกันกับลูก ๆ ของตนเองและสมาชิกในโครงการโดยการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ แ ละประชุ ม ร่ ว มกัน เพื่ อ สรุปกิจกรรมที่ทาร่วมกัน - มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ในฐานการเรียนรู้ สมุนไพร ถ่านชีวภาพ ไก่ ปลา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จากครูแกนนา ของกิจกรรมและครูจิตอาสาภายนอกชุมชน
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน ผู้ปกครอง เด็ก เยาวชนและสถานที่สาคัญใน ชุมชน - วัด โรงเรียน รอยพระพุทธบาทจาลอง ลา ห้วย ไร่นา ป่าธรรมชาติ - สื่ อ อิ น เตอร์ เ น็ ต /ห้ อ งสมุ ด แหล่ ง เรี ย นรู้ ชุมชน 2.3 กิจกรรมการเรียนรู้เกิดจากการมีส่วน ร่วมและความร่วมมือจากองค์กรในชุมชน (ทุกกิจกรรมอย่างน้อย 5 องค์กร) การจั ด กิ จ กรรมในชุ ม ชนเป็ น ความต้ อ งการของ สมาชิ ก ในโครงการที่ ส มั ค รใจเข้ า ร่ ว มมี เจ้ า ภาพหลั ก คื อ ตระกู ล ฤทธิ เ ดช และมี เจ้าภาพร่วมในชุมชน ประกอบด้วยกลุ่ม (1)เด็กและเยาวชน มีอายุตั้งแต่ 5 ขวบ ถึง 18 ปี ทั้งชายและหญิง (อ้างอิงรายชื่อสมาชิกใน โครงการ) (2)ผู้ ป กครองกลุ่ ม เด็ ก และเยาวชนจ านวน 120-150 คน ตามทะเบี ย นของเด็ ก และ เยาวชน (3)เจ้ า หน้ า ที่ อสม. ประจ าหมู่ บ้ า นและ เจ้าหน้าที่หมออาสาสมัครชาวบ้าน
ผลการประเมิน
ผลงานจุดแข็ง
จุดควรแก้ไข
กิจกรรมที่จัดมี 5 กิจกรรม (1) ไก่-ปลา เศรษฐกิจชุมชน (2) ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน (3) ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ (4) สมุนไพรอาหารเพื่อสุขภาพ (5) ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสายใยรักชุมชน ทุกกิจกรรมที่จัดเด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ กับครูภูมิปัญญา – ครูพ่อแม่ ครูวิทยากร ครู เพื่อนช่วยเพื่อน ครูพี่เลี้ยง ครูจิตอาสา และมี ชิ้นงานเป็นรายบุคคลและกลุ่มร่วมมือกันทั้ง 5 กิจกรรม เป็นผลงานบูรณาการกับกลุ่ม เรียนรู้ในระบบสถานศึกษา เด็กและเยาวชน นาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง ตามระบบชั้น เรียนของแต่ละคน
เด็กและเยาวชน ผู้ปกครอง ประชาชน ผู้นา ชุ ม ชน ครู ภูมิ ปั ญ ญาในหมู่ บ้ าน ให้ ค วาม ร่วมมือกันจัดกิจกรรมทั้ง 5 ฐานการเรียนรู้ ทุ ก วั น เสาร์ แ ละวั น อาทิ ต ย์ โดยไม่ ใ ช่ ก ลุ่ ม แบบบังคับ แต่เป็นกลุ่มแบบธรรมชาติ ใคร ว่างจะมาดูลูกตนเองจะมาร่วม ใครไปทางาน อาชี พ ให้ เ ป็ น ไปโดยธรรมชาติ แต่ มี ก าร ตรวจสอบกัน และกัน อย่ างน้ อ ย สมาชิ กใน โครงการต้ อ งได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม รั บ ทราบ กิจกรรมของลูก ๆ ตนเอง อย่างสม่าเสมอ
การจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมทุกองค์กรใน ชุ ม ชน ไม่ ส ามารถจั ด การประชุ ม ในเวลา กลางวั น ได้ เ พราะผู้ ป กครองมี อ าชี พ ท านา เป็นแรงงาน รับจ้างในโรงงาน วิธีแก้ไขต้อง จัดกิจกรรมประชุมร่วมกลุ่มเฉพาะช่วงตอน กลางคืน
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน (สัตวแพทย์ชาวบ้าน) (4) ผู้นาชุมชน สมาชิก อบต. ต า บ ล ห น อ ง โ น อ า เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด มหาสารคาม (5) พระสงฆ์ และผู้นาพิธีกรรม (6) ปราชญ์ชุมชน/อาหาร/ดนตรี/อาชีพ (7) กลุ่มสตรีแม่บ้าน 2.4 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กร ที่ จั ด การศึ ก ษาในชุ ม ชน และนอกชุ ม ชน (อย่างน้อย 3-5 ครั้ง/เดือน) องค์กรในชุมชนที่ จัดการศึกษาคือ โรงเรียนบ้านกุดแคน และ องค์ ก รภายนอกที่ จั ด การศึ ก ษาเข้ า ร่ ว ม โครงการมีโรงเรียนผดุงนารี มหาวิชานุกุล หลักเมืองมหาสารคาม อนุบาลมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับองค์กรที่จัดการศึกษาในชุมชนและ สถาบั น การจั ด การศึ ก ษาที่ ส มาชิ ก ของ โครงการเรียน
ผลการประเมิน
ผลงานจุดแข็ง
จุดควรแก้ไข
มี อ งค์ ก รเข้ า ร่ ว มโครงการทั้ ง ภายในและ ภายนอกโครงการได้จัดกิจกรรมเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องในลักษณะบุคคลและนาเสนอผลงาน กิ จ กรรมตามสภาพจริ ง เพราะสมาชิ ก ใน โครงการเป็ น เด็ ก และเยาวชนในระบบ การศึกษาจึงได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิก อื่น ๆ แบบไม่เป็นทางการ และเป็นทางการ เข้ ารั บ การอบรมโดยแหล่ง เรีย นรู้จั ด อบรม ร่วมกับกิจกรรมของโครงการภายนอก อย่าง สม่าเสมอ
เด็กและเยาวชนในโครงการได้ใช้ชุดความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน บูรณาการในสาระ การเรีย นรู้ทั้ ง 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ตาม หลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551 เช่น ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ ภาษาอั งกฤษ ฯลฯ โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จากการ ได้รับเกียรติบัตรและได้นาเสนอผลงานใน ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย สถาบันการศึกษาภายนอกอย่างต่อเนื่อง โดย เด็ ก และเยาวชนที่ เข้ า ร่ ว มโคร งการ มี พฤติกรรมเป็นเด็กใฝ่รู้ใฝ่เรียน
การวั ด เชิ ง ปริ ม าณของกิ จ กรรมที่ เ ข้ า ร่ ว ม แลกเปลี่ ยนเรี ย นรู้ ถ้ าเป็ นการจั ด การศึ กษา ตามอั ธ ยาศั ย ของคนทุ ก ช่ ว งวั ย อย่ า งแหล่ ง เรียนรู้ในชุมชนจะเป็นการเรียนรู้แบบตลอด ชีวิตเพราะเป็นระบบเปิดของการศึกษาควร ประเมิ น กับ คุ ณลั กษณะที่ เ ด็ กเปลี่ ย นแปลง พฤติกรรมในทางบวกมีสิ่งใดบ้าง
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน ในระบบชั้นเรียน อนุบาลถึงชั้น ม.4 ได้รับ ความรู้ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ ร่ วมกับ องค์ กรที่ เ ข้ าร่ วมในลั กษณะการท า กิจกรรมร่วมในงานวิทยาศาสตร์ งานศิลปะ หั ต กรรม ของโรงเรี ย น เข้ า ค่ า ยกิ จ กรรม คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และอบรมความรู้ กับ เครื อ ข่ ายที่ เ ข้ าร่ ว มโดยการแสดงดนตรี โปงลางประยุ ก ต์ การพู ด สื่ อ สารการจั ด กิจกรรมนาเสนอผลงาน แบบรายบุคคลและ กลุ่ ม องค์ กร (เอกสารอ้ างอิ ง ภาพประกอบ และหนังสือราชการ การเข้าร่วมกิจกรรมและ การอบรมร่วมกับสถาบันการศึกษา) 3. การทางานร่วมกับองค์กรระดับต่าง ๆ 3.1 มี การสนับ สนุ นทางวิชาการจาก ส่วนกลางและองค์กรในภูมิภาค 3.2 มีการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ 3.3 มีการจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.4 มีการถอดบทเรียนจากการเรียนรู้
ผลการประเมิน
ผลงานจุดแข็ง
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
ในการดาเนินโครงการ 3.5 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร - ได้ ป ระชุ ม กับ องค์ ก รกลาง มหาวิ ท ยาลั ย กิจกรรมโครงการ ธุรกิจบัณฑิตย์อย่างต่อเนื่อง เช่น การพัฒนา โครงการการรายงานความก้ า วหน้ า ของ โครงการ การจัดนิทรรศการผลงาน - การเข้าร่วมการถอดบทเรียน - การเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร เครือข่ายในภูมิภาคกับ ปปส.ภาค 4 จังหวัด ข อ น แ ก่ น มห าวิ ท ยาลั ยมห าสา ร ค า ม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ มหาสารคาม และ โรงเรียน ที่นักเรียนเป็นสมาชิกโครงการ - จัดกิจกรรมถอดบทเรียน ทั้ง 5 กิจกรรม การเรี ย นรู้ ใ นลักษณะกิจกรรมการเล่ าเรื่ อ ง ระหว่างพ่อ – แม่ ลูกร่วมรับฟังกัน แล้วสรุป บทเรียนความรู้เป็นเอกสารชุดถอดบทเรียน ร่ ว มกั น เป็ น ชุ ด ความรู้ สั ม มาอาชี พ และ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยเด็กและเยาวชน เป็นคนเล่าเรื่องราวร่วมกันกับครูจิตอาสา ครู พี่เลี้ยง
ผลงานจุดแข็ง
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
ผลงานจุดแข็ง
- เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการด้วยการ แสดงดนตรีโปงลาง ตามเทศกาลต่าง ๆ ใน หมู่บ้านตนเองและชุมชนอื่น ๆ และเผยแพร่ ผ่านสื่อ สาธารณะท้องถิ่น เข้าร่วมกิจกรรม วันเด็กแห่งชาติ และแจกเอกสารแผ่นพับของ โครงการให้กับผู้มาศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง และน าเสนอในรู ป แบบข่ าวบ้ านหลั ง เรี ย น สารคดี - ได้เอกสารสรุปกิจกรรมย่อย 5 โครงการ โดยถอดบทเรียน 5 ฐานกิจกรรมการเรียนรู้ - เสนอผลงานในรูปแบบนิทรรศการและ สมาชิกได้พูดเรื่องราวในกิจกรรมที่ทาอย่าง ต่ อ เนื่ อ งกั บ เครื อ ข่ า ยองค์ ก รที่ ส นั บ สนุ น โครงการ
- มี ก ารท างานอย่ า งเป็ น ระบบตามสื่ อ แผนงานโครงการ คื อ ท ากิ จ กรรมได้ บทเรี ย นเป็ น หลั ก สู ต รได้ เ อกสารการถอด บทเรียน 1 เล่ม 5 กิจกรรมการเรียนรู้ มี บุคคลมาศึกษาดูงานใช้ชุดความรู้ไปปรับใช้ ในการดารงชีวิตและกับหน่วยงานของตนเอง
จุดควรแก้ไข
เอกสารออ้างอิงส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานขององค์กร
รายนามผู้มีอุปการคุณ
เอกสารอ้างอิงส่วนที่ 2 ข้อที่ 1 ผู้เรียนในโครงการ นักเรียน ผู้ปกครอง เด็กและเยาวชนมีผลสัมฤทธิ์และ คุณลักษณะพึงประสงค์
เอกสารอ้างอิง ข้อ 2.1 โครงการ
เอกสารอ้าสงอิงข้อ 2.3 กิจกรรมการเรียนรู้ เกิดจากการมีส่วนร่วมและความร่วมมือ จากองค์กรในชุมชน (ทุก กิจกรรมอย่างน้อย 5 องค์กร) 1) เอกสารแผ่นพับโครงการแหล่งเรียนรู้ชุมชนจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย(อ้างอิงตามเอกสารในข้อ 5.1) 2) ทะเบียนสมาชิกจากฐานกิจกรรมการเรียนรู้ 5 ฐานการเรียนรู้ ทะเบียนกลุ่มเลี้ยงปลา และไก่ ผู้ปกครองร่วมกับเด็กและเยาวชนกับครูจิตอาสา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
นายสุวรรณ นายเฉลียว นางน้อย นายสมพงษ์ นางสุนันทา นางหนูจันทร์ นางรังรอง นางกล นายถวัลย์ นายสมพงษ์
กลุ่มเลี้ยงไก่ 1 นางเพ็ง 2 นายสมพร 3 นายถนอม 4 นางสาววนิดา 5 นายสุพจน์ 6 นายสร้อย 7 นายทอง 8 นายธนกิต 9 นายคาปัน 10 นางคล้าย 11 นางสาวจิตนา จานวน 21 ครัวเรือน
ปานโหน่ง กนึกรัตน์ สาวังดี จ่ายก รังวัดสา ศรีจันทร์นนท์ ขุสี เศษภักดี ผิวผ่อง จ่ายก
ชุมแสง สีโยวัย เศษภักดี กาบสุวรรณ คายา บุรี สุกพวงแก้ว อินทร์งาม ปานโหน่ง ทันบาล พุทธดี
เด็กและเยาวชนครูจิตอาสา 1 เด็กหญิงอ้อนจันทร์ 2 เด็กหญิงกนกพร 3 เด็กหญิงสิริกัญญา 4 เด็กหญิงกนกวรรณ 5 เด็กหญิงรัชนีวรรณ 6 เด็กหญิงตวงทอง 7 เด็กชายใหม่
ปานโหน่ง หมอรัตน์ หงส์เจริญ คาจันทร์ กลั่นอักโข อนันเอื้อ ศรีจันทร์นนท์
ครูจิตอาสาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นายธนาพัฒน์ เที่ยงภักดิ์ วิทยากร นักวิชาการประมงจากสถานีประมงน้าจืดจังหวัดมหาสารคาม นางเพ็ญพร เสนามาตย์ ทะเบียนกลุ่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ผู้ปกครอง เด็กและเยาวชน ครูจิตอาสาในชุมชน 1 นางคล้าย ทันบาล 2 นางจุฑามาตย์ คารินทร์ 3 นางหยู่ จ่ายก 4 นางไหม ศรีแก้ว 5 นางบังอร อนันเอื้อ 6 นางจันดา หงส์เจริญ 7 นางคาจันทร์ สุกพวงแก้ว 8 นางแสงจันทร์ งามใส 9 นางดวงพร ชุมแสง 10 นางนาง สอนชา เด็กและเยาวชน 1 นางสาวนภัสสร 2 นางสาวรสสุคนธ์ 3 เด็กหญิงปาริชาติ
แก่นแก้ว เหมือนมาตย์ กองรัตน์
4 5 6 7
เด็กหญิงจิรวดี เด็กหญิงเมขลา เด็กหญิงแก้วมณี เด็กหญิงเนตรนิล
ศรีอานวย จ่ายก ลืออานาจ สนิทลุน
วิทยากรฐานการเรียนรู้ นางสุนันทา รังวัดสา นางปูน เรืองจันทา ครูจิตอาสา จากสานักงานเกษตรจังหัดมหาสารคาม นางละมัย ฤทธิเดช ทะเบียนกลุ่มถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน .
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
นางละมัย นายณัฐวุฒิ นางสาวช่อกัลป์ นายถวัลย์ นายสมพงษ์ นายสมพงษ์ เด็กชายอภิรักษ์ เด็กชายวิทยา เด็กหญิงจิรวดี นางสาวนภัสสร
ฤทธิเดช ฤทธิเดช ฤทธิเดช ผิวผ่อง สีโยวัย จ่ายก เจริญนนต์ ป้องสงคราม สุกพวงแก้ว แก่นแก้ว
วิทยากร จากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นายสมบัติ ฤทธิเดช ครูปราชญ์ชุมชน นายถวัลย์ ผิวผ่อง ทะเบียนกลุ่มประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 1 2 3
คุณยายอานวยพร คุณตาสมบูรณ์ นายถนอม
สีดาพล ศรีเฮือง เศษภักดี
4 นางลุน พานหาญ 5 นายทองใบ วิวัฒนากร กลุ่มเด็กและเยาวชนในโครงการแหล่งเรียนรู้ของ ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช จานวน 52 คน วิทยากร จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.ดร.ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ ครูปราชญ์ชุมชน คุณยายอานวยพร สีดาพล คุณตาสมบูรณ์ ศรีเฮือง นายถนอม เศษภักดี นางลุน พานหาร . ทะเบียนกลุ่มดนตรีโปงลางประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
นายธนกิต นายสมชัย นายบุญมา นายธนวุฒิ เด็กชายลิขิตชัย เด็กชายฉัตรมงคล เด็กชายอัครเดช เด็กชายทรงวุฒิ เด็กชายพัธพัฒน์ เด็กชายอเนก เด็กชายณัฐพงษ์ เด็กหญิงอรทัย เด็กหญิงรสสุคนธ์ เด็กหญิงแพรวพโยม เด็กหญิงสิรินทรา เด็กหญิงธัญญลักษณ์ เด็กชายวรพันธ์ เด็กหญิงรัชนีวรรณ เด็กหญิงสุวนันท์
อินทร์งาม ธรรมวิชัย คามทาหลง เศษภักดี ธรรมวิชัย สารพิมพ์ ขุรี แสงนา ปานาตี บุตรราช ธงศรี ธงไธสง เหมือนมาตร ธงไธสง คารินทร์ กองรัตน์ ศรีจันทร์นนท์ กลั่นอักโข บุญจูง
วิทยากรครูปราชญ์ชุมชน นายธนกิต อินทร์งาม นายธนวุฒิ เศษภักดี นายบุญมา คามทาหลง วิทยากรครูผู้เชี่ยวชาญดนตรีจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ทรงศักดิ์ สุจันทร์ วิทยากรพี่สอนน้อง เด็กชายลิขิตชัย ธรรมวิชัย เด็กชายทรงวุฒิ แสงนา
3) ภาพประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 กิจกรรม ภาพกิจกรรม ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
ภาพกิจกรรม ถ่านชีวภาพลดภาวะโลกร้อน
ภาพกิจกรรม สมุนไพรอาหารเพื่อสุขภาพ
ภาพกิจกรรม ไก่และปลาเศรษฐกิจชุมชน และ
ภาพกิจกรรม ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น สื่อสายใยรักในชุมชน
4) เจ้าภาพร่วมองค์กรภายในชุมชนเพื่อจัดกิจกรรมเรียนรู้ใน 5 ฐานกิจกรรม เจ้าภาพร่วมองค์กรภายในชุมชน กลุ่มสตรีแม่บ้าน และ ครูจิตอาสา
เด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมโครงการ
เจ้าภาพร่วม ผู้นาชุมชน พระสงฆ์ ผู้นาพิธีกรรม
ภายในชุมชน
ปราชญ์ชุมชน เรื่องดนตรีและอาชีพ
ผู้ปกครองเด็กและเยาวชน
เอกสารอ้างอิงข้อ 2.4 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรที่จัดการศึกษาในชุมชนและนอกชุมชน (อย่างน้อย 3 – 5 ครั้ง/เดือน) 1) ภาพประกอบการเข้าร่วมกิจกรรมกับองค์กรเครือข่ายระดับภาค กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรม การเข้าร่วมอบรม และหนังสือราชการให้เข้าร่วมการประชุมกับสถาบันองค์ กรกลางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปปส.ภาค 4 ขอนแก่น และมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
กิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ 2555
หมายเหตุเอกสารในข้อ 2.3 และ 2.4 อ้างอิงในข้อ 3 การทางานร่วมกับองค์กรระดับต่าง ๆ คือ 3.1 การทางานร่วมกับองค์กรระดับต่าง ๆ 3.2 มีการจัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.3 มีการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ 3.4 มีการถอดบทเรียนจากการเรียนรู้ในการดาเนินโครงการ (สารคดีที่นี่สารคาม : บ้านหลังเรียน) 3.5 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารกิจกรรมโครงการ (แผ่นพับเอกสารถ่านชีวภาพ , รายงานการ ประชุมนาเสนอความก้าวหน้าโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงใน ชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย , ผลงานของนางสาวนภัทสร แก่นแก้ว , ภาพกิจกรรมการแสดง ดนตรีโปงลางภายในชุมชนและภายนอกชุมชน)
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
ผลงานจุดแข็ง
4. ชุมชนและสังคม 4.1 ชุมชนมีแนวโน้มสุขภาวะและคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น 4.2 มีการผนึกกาลังและร่วมมือกันของคน ในชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและมีสุขภาวะ ที่มีการศึกษาและการเรียนรู้เป็นกลไกเชื่อมโยง
- สมาชิกในโครงการเด็กและเยาวชน ผู้ ป กครอง ประชาชน และผู้ เ ข้ ามาศึ กษาดู ง านให้ ข้อคิดเห็นว่าเด็ก เยาวชน มีความสุขเมื่อได้นาเสนอ กิจกรรมผลงานและมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นด้านสติปัญญา สุขภาวะ การรักสามัคคี ไม่เคยทะเลาะกันช่วยกัน ทางาน มีบทบาททุกคน สุขภาวะความมีจิตใจเอื้อเฟื้อ แบ่งปัน โดยทากิจกรรมที่แสดงออกมีการทาอาหาร ร่วมกัน เข้าร่วมกิจกรรมวันปีใหม่ วันเด็กแห่งชาติ วันแม่ - การบริจาคสิ่งของ อุปกรณ์และ พ่อ – แม่ มีหน้าที่เรียนรู้ร่วมกับลูก ๆ ของตนเองตาม กิจกรรมการเรียนรู้ 5 กิจกรรมที่ระบุไว้ในโครงการ - มีเกษตรกรแกนนา และครูภูมิปัญญา เป็นครูพี่ เลี้ยง สอนความรู้ให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชน เรื่อง ที่ เด็ก ๆ ชอบคือดนตรี มีครูเลี้ยงไก่ จานวน 10 คน มี ครูเลี้ยงปลาจานวน 5 คนเกิดขึ้น
- ชุ ม ชนมี ส่ วนรั บ รู้ ก ารท างานของ โครงการด้วยความเข้ าใจและร่ วมมื อ กั น ท างานได้ ต ามจุ ด มุ่ ง หมายของ โครงการระบุไว้ - เด็ กและเยาวชนมี ภาวะความเป็ น ผู้นาในกลุ่ม/ชุมชนและในโรงเรียนใน ระบบ - องค์กรเครือข่ายภายนอกเข้ามา ส่งเสริมสนับสนุนโดยไม่มีเงื่อนไข ทา ให้การทางานคล่องตัวเป็นการกระจาย อ า น า จ ใ ห้ แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ จั ด ก า ร บริหารงานขององค์กรได้ด้วยระบอบ ประชาธิปไตย - เกิ ด เครื อ ข่ า ยครู ภู มิ ปั ญ ญาสั ม มา อาชี พการเลี้ ย งไก่ – ปลา ถ่ ายทอดให้ ปร ะ ชาชน ที่ สน ใจ ใ น ชุ มชน แ ละ ภายนอกชุ มชนได้ เข้ ามาศึ กษาดู งาน ไปใช้ในระดับต่อตนเอง และต่อสังคม และหน่วยงานของตนเองได้
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
ผลงานจุดแข็ง
4.3 มีแนวโน้มการขยายผลการจัดการศึกษา แบบมีส่วนร่วมไปยังชุมชนใกล้เคียง - โครงการมี การเชื่อมโยงความรู้ในแหล่ ง เรียนรู้ชุมชนไปสู่ชุมชน
ในชุมชน เป็นตัวอย่างให้ศึกษาดูงานได้ และมีตลาด การขายพื ช ผั ก จากการปลู ก พื ช ผั ก สมุ น ไพรใน ครัวเรือน เกิดขึ้นทุกวันเสาร์ของหมู่บ้านและมีการ ใช้ ผ งนั วในการปรุ ง อาหาร แทนผงชู ร ส เพื่ อ ลด รายจ่ายในครัวเรือนและมีสุขภาพ แข็งแรง เพราะสาร ปรุงอาหารเป็นพืชธรรมชาติ - ชุมชนเป็นสุข สิ่ งแวดล้อมสวยงามในครัวเรือน เป็นพื้นที่สีเขียว เพราะครัวเรือนมีสวนครัวในบ้านตนเอง - ได้ ชุด ความรู้ ข องชุ ม ชนบ้ านกุด แคน จากการ ถอดบทเรียนเชื่อมโยงความรู้จากภายนอกเกิดขึ้น - ประเมิ น ผลจากการท ากิ จ กรรมของโครงการ ระหว่างเด็ก เยาวชน กับผู้ปกครอง มีการใช้ความรู้ ทาแปลงพื ช สมุ นไพรในครัวเรื อนครบทุกหลั งคา เรือน
- มี ก ารขยายเครื อ ข่ า ยไปยั ง ชุ ม ชน ใกล้เคียง 1 แห่ง คือบ้านโนนตาล ตาบลท่าสองคอน อาเภอเมือง จังหวัด มหาสารคาม ครอบครัวของ นายธนาพั ฒ น์ เที่ ย งภั ก ดิ์ ได้ ใ ช้ ชุ ด ความรู้ของโครงการ ทาสัมมาอาชีพใน ครอบครัว ได้แก่ การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ เลี้ยงปลา ปลูกพืชผักสมุนไพร
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
โดยมีแปลงสาธิตพืชผักสมุนไพร ไก่-ปลา ถ่าน ชีวภาพ เกิดขึ้นในระดับครัวเรือนของบ้านกุด แคน การเลี้ยงไก่ ปลา จ านวน 20 – 25 ครัวเรือน พืชผักสมุนไพร 250 ครัวเรือน เตา ถ่านชีวภาพ 10 ครัวเรือน - โครงการขยายผลแนวคิดชุดความรู้ให้กับ บุคคลที่เข้ามาศึกษาดูงาน อย่างน้อยเดือนละ 2 -3 ครั้ง และมีชุมชนได้จัดกิจกรรม เศรษฐกิจ พอเพียง 1 แห่ง คือ ครอบครัวนายธนาพัฒน์ เที่ยงภักดิ์ เป็นแกนนาขยายผลที่บ้านโนนตาล 4.4 หน่วยงานระดับนโยบายที่เกี่ยวข้องรับไป ดาเนินการให้การสนับสนุนโครงการ - โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่อง ได้มีความ ร่วมมือกันหลายหน่วยงาน เช่น สถาบันราม จิ ต ติ ให้ ก ารสนั บ สนุ น โครงการติ ด ตาม ส ภ า ว ก า ร ณ์ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ภ า ค ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่ง
- มีกลุ่มบุคคลเข้าร่วมโครงการและศึกษาดูงานของ โครงการ ตลอดโครงการและได้ใช้แนวคิดไปปรับ ใช้ในครัวเรือนตนเอง เกิดขึ้น 1 หมู่บ้านที่บ้านโนน ตาล ต าบลท่ า สองคอน อ าเภอเมื อ ง จั ง หวั ด มหาสารคาม คือ ครอบครัวนายธนาพัฒน์ เที่ยงภักดิ์ เพื่อเป็นต้นแบบของชาวบ้านในตาบลท่าสองคอน
- เป็ น โครงการต่ อ เนื่ อ งที่ ไ ด้ รั บ ความร่ วมมื อ จาก องค์กรภายนอก คือ สถาบันรามจิตติ และ สสส. เริ่ม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2551 – 2554 ในกิจกรรมรูปแบบการ จัดทาบ้านหลังเรียน แต่กิจกรรมที่ได้รับคือการเข้า ร่ ว มถอดบทเรี ย นแล้ ว พิ ม พ์ ห นั ง สื อ เผยแพร่ ชุ ด แนวคิดบ้านหลังเรียนร่วมกับบ้านหลังเรียนรูปแบบที่ รัฐจัดตั้ง
ผลงานจุดแข็ง
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
โครงการนี้ เ ป็ น กิ จ กรรมส่ ว นหนึ่ ง ของ โครงการจึงได้ขยายผลโดยการถอดบทเรียน และเป็นกรณีตัวอย่างของบ้านหลังเรียนใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ได้ ร่ ว มมื อ กั บ ปปส.ภาค 4 จั ง หวั ด ขอนแก่น ทากิจกรรม 5 รั้วล้อมไทย ใน กิ จ กรรมชุ ม ชนป้ อ งกั น ยาเสพติ ด ท าให้ โครงการได้ขยายแนวคิดเข้าร่วมประชุมเป็น วิทยากร และขยายผลของกิจ กรรมในแบบ บ้านหลังเรียนไปทั่วภาคอีสาน 4.5 สังคมสงบสุข คนไทยมีสุขภาวะ - ชุมชนบ้านกุดแคนไม่มีเยาวชน ผู้ปกครอง ประชาชนติดยาเสพติด เหล้า บุหรี่ ทินเนอร์ - ชุ ม ชนบ้ า นกุ ด แคนเป็ น ชุ ม ชน เป็ น สุ ข เพราะเด็กและเยาวชนเรียนรู้ความรู้ในชุมชน ภายนอกชุ ม ชนเชื่ อ มโยงกั น ในระบ บ โรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน นามาใช้จัด สภาพแวดล้อมให้
เป็นคนจัดตั้ง - เป็ น โครงการที่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก ปปส.ภาค 4 จังหวัดขอนแก่น ในปี พ.ศ.2553 – 2554 ด้วยการเป็นฝ่ายวิชาการเข้าร่วม โครงการและ ปปส.ภาค 4 ให้เครือข่ายการ ป้องกันยาเสพติดได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับ กลุ่ ม เยาวชนในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ขยายผลในรู ป แบบแหล่ ง เรียนรู้ชุมชนแต่เรียกชื่อว่า บ้านหลังเรียนใน ระดับหมู่บ้าน - มีทุนการศึกษาให้กลุ่มเด็กและเยาวชนจาก ผู้มาศึกษาดูงาน - มีอาชีพเสริมจากการทานา เลี้ยงไก่ ปลา ปลูกพืชผักสมุนไพรไว้ ทาพันธุ์ด้วยตนเอง - มี ร ายได้ เ สริ ม ขาย ไข่ – ปลา พื ช ผั ก สมุนไพร ถ่านชีวภาพ - ครอบครั วไม่ ท ะเลาะวิ วาท ไม่ ลั กขโมย สิ่งของในชุมชน
ผลงานจุดแข็ง
จุดควรแก้ไข
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
ชุมชนสะอาด เก็บขยะ ร่วมกัน - สภาพแวดล้อมสะอาดโดยจิตอาสาของเด็ก - ชุมชนบ้านกุดแคนมีความสุขร่วมกันเมื่อ และเยาวชนเก็บขยะในหมู่บ้านทุกวันอาทิตย์ ร่ ว มกิ จ กรรมกั น และกั น และมี ก ารแก้ ไ ข ปัญหาร่วมกัน รับผลประโยชน์เท่าเทียมกัน โดยเด็กและเยาวชนกินอิ่ม นอนหลับ ท้อง อุ่น มีรายได้เสริมในครัวเรือน ขายไก่ ปลา เด็ ก และเยาวชนได้ ทุ น การศึ ก ษา และพื ช สมุนไพร ด้วยเมล็ดพันธุ์ของตนเอง
ผลงานจุดแข็ง
จุดควรแก้ไข
เอกสารอ้างอิงข้อ 4 ชุมชนและสังคม 1) ภาพประกอบการเข้าร่วมกิจกรรมวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554 เพื่อการถอดบทเรียนและการเรียนรู้ ร่วมกัน
2) ทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุมถอดบทเรียน
3) ภาพประกอบการจัดแปลงสาธิตต้นแบบที่บ้านโนนตาล ตาบลท่าสองคอน อาเภอเมือง จังหวัด มหาสารคาม
4) หนังสือถอดบทเรียน บ้านหลังเรียนโดย สสส. และสถาบันรามจิตติ
5) หนังสือราชการโครงการเยาวชนของ ปปส.ภาค 4 ขอนแก่น ร่วมกับแหล่งเรียนรู้ชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช
6) กิจกรรมการบริการทางสังคมเข้าร่วมงานวันเด็กกับสกายไลน์เคเบิลทีวีจังหวัดมหาสารคาม
7) รายชื่อผู้เข้ามาศึกษาดูงานในแหล่งเรียนรู้ชุมชน
องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้การประเมิน
ผลการประเมิน
ผลงานจุดแข็ง
5. เอกสารรายงานผลการศึกษา 5.1 มีการจัดทาเอกสารรายงานผลการศึกษา เป็ น ของโครงการได้ จั ดท าเอกสารรายงาน การน าเสนอความก้ า วหน้ า และเอกสาร ผลงาน ของนางสาวนภัทสร แก่นแก้ว ผู้อานวยการ ของโครงการ เพื่อร่วมงานกับ ปปส.ภาค 4 ขอนแก่ น และมี เ อกสารแผ่ น พั บ ของ โครงการ สรุปภาพรวม 5.2 มีเอกสารถอดบทเรียน 1 เล่ม และมี เอกสารกิจกรรมย่อย ๆ ของการถอดบทเรียน 5 ฐานการเรียนรู้
- ได้ เ อกสารชุ ด ความรู้ สั ม มาอาชี พ และ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชาวบ้านกุดแคน โดยมี เอกสารชุดถอดบทเรียน 1 เล่ม แต่มีเนื้อหา 5 กิจกรรมย่อย ๆ แยกแต่ละประเภท - มีเอกสารการจัดทาเอกสารนาเสนอรายงาน ความก้าวหน้าขององค์กร - มี เ อกสารเผยแพร่ เ อกสารแผ่ น พั บ ของ องค์กรในภาพรวมของกิจกรรม - มีเ อกสารการถอดบทเรีย นและหลั กสู ต ร ของการจั ด การศึ ก ษาสั ม มาอาชี พ และ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 1) เอกสารรายงานความก้าวหน้าโครงการ 2) เอกสารผลงานของเด็กและเยาวชน 3) เอกสารแผ่ น พั บ กิ จ กรรมของโครงการ
- มี ก ารจั ด ท ารายงานโครงการตามกรอบ งานวิจัยที่ระบุไว้ได้สาเร็จทุกกิจกรรม - ได้ เ ผยแพร่ โ ครงการสรุ ป ผลงานทั้ ง ชุ ด เอกสารและสารคดี 1 เรื่อง - ได้สาธิตกิจกรรมของโครงการให้กับผู้มา ศึกษาดูงานได้ชุดความรู้
จุดควรแก้ไข
เอกสารอ้างอิงข้อ 5 5.1 เอกสารรายงานความก้าวหน้าของโครงการ
5.2 เอกสารเผยแพร่โครงการกิจกรรมย่อย
5.3 เอกสารตัวอย่างหลักสูตรและการนาหลักสูตรไปใช้ในหน่วยกิจกรรมประวัติศาสตร์ท้องถิ่นสายใย รักชุมชน 1 เรื่อง ตามระบุไว้ในโครงการ
5.4 การถอดบทเรียน หมายเหตุรายงานสมบูรณ์จะมีตัวอย่างการถอดบทเรียน
ภาพประกอบการเข้าร่วมกิจกรรมวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2554 เพื่อการถอดบทเรียนและการเรียนรู้ร่วมกัน
การบันทึกการประชุมและทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุมถอดบทเรียน
ส่วนที่ 3 สรุปผลรายงานการประเมินตนเอง 3.1 การประเมินผลการประเมินตนเองมีข้อสรุปดังนี้ 1) ประเภทขององค์กรการจัดการศึกษา เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนขององค์กรเอกชนตระกูล ฤทธิเดช เป็นเจ้าภาพหลักและเจ้าภาพร่วมจัดการศึกษาคือองค์กรภาคประชาชนในชุมชน และองค์กรภายนอก ชุม ชนเข้ า ไปหนุนเสริมการจัดกิ จกรรมอย่ างต่อเนื่อง และหลาย ๆ องค์ก รทางสังคมเช่น สถาบันการศึ กษา เอกชน สื่อมวลชน องค์กรปกครองท้องถิ่น บุคคลที่สนใจการพัฒนาเด็กและเยาวชน อาสาสมัครเป็นครูจิต อาสา ฯลฯ 2) ลักษณะของโครงการแหล่งเรียนรู้ปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช เป็นโครงการต่อเนื่อง แต่ปรับกิจกรรม สัมมาอาชีพให้สอดคล้องกับบริบทจริงของชุมชนด้วยความต้องการของผู้ปกครองและกลุ่มเด็ก เยาวชน 3) กิจกรรมที่จัดการศึกษามีเรื่องสัมมาอาชีพ 4 กิจกรรม คือ ไก่ – ปลา เศรษฐกิจชุมชน ถ่านชีวภาพลด ภาวะโลกร้อน สมุนไพรอาหารเพื่อสุขภาพ ดนตรีพื้นบ้านโปงลางประยุกต์ และกิจกรรมการภูมิใจในรากเหง้า วัฒนธรรมของตนเองเรื่องประวั ติศาสตร์ท้องถิ่นชาวบ้านกุดแคน ซึ่งการจัดกิจกรรมแต่ละฐานการเรียนรู้ มี การบู ร ณาการกั บ สาระการเรี ย นรู้ ใ นระบบโรงเรี ย นรายวิ ช าสามั ญ พื้ น ฐาน วิ ช าภาษาไทย ภาษาอั ง กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การงานอาชีพ สุขศึก ษาพลศึก ษา และศิลปะ ส่งผลให้เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง ประชาชน ครูภูมิปัญญา กลุ่มสตรีแม่บ้าน ผู้สนใจเข้ามาศึกษาดูงานได้เรียนรู้ร่วมกันเกิดสุขภาวะ ความสุขที่กาย จิตใจ สติปัญญา สังคม และอารมณ์ที่อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขด้วยความสามัคคี เกื้อกูล ทางาน ร่วมกัน ทาให้จัดกิจกรรม 5 ฐานการเรียนรู้ได้ครบทุกกิจกรรม 4) องค์ ก รได้จัดระบบการบริ หารมีบุ คคลรั บผิดชอบแต่ ล ะหน้ าที่อย่ า งชัดเจน และเป็นระบบคือ มี ตระกูลฤทธิเดช เป็นผู้บริหารโครงการและมีเจ้าภาพร่วมในชุมชน และเจ้าภาพร่วมจากภายนอกเข้าไปร่วมมือกัน แบบมีส่วนร่วมคิด ทา วางแผน แก้ไขปัญหา ชื่นชม และร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกันมากกว่า 5 องค์กร เครือข่ายที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมลักษณะการเข้าร่วม ทาให้อิสระการทางานแบบคล่องตัว อิสระแบบการกระจาย อานาจให้ชุมชนได้ จัดการศึกษาตามที่ตนเองต้องการไม่ใช่การจัดตั้งแบบทางการแต่เป็นการทาโครงการตามวิถี ชุมชนแบบธรรมชาติของคนอยากเรียนรู้ได้เข้ามาร่วมโครงการ 5) โครงการได้หลักสูตรการจัดการศึกษานาร่องสัมมาอาชีพและประวัติศาสตร์ท้องถิ่นด้วยบริบทจริงใน ชุมชน เพื่อสุขภาวะเด็กแลเยาวชนไทย ด้วยเนื้อหา 5 กิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าวมา 6) มีเอกสารผลงานการถอดบทเรียนได้ข้อค้นพบในโครงการเป็นชุดความรู้เฉพาะท้องถิ่นของชาวบ้าน กุดแคนเป็นเอกสารประวัติศาสตร์ชาวบ้าน ที่เขียนสื่อสารความรู้ของชุมชนไว้เป็นหลักฐานให้ได้ศึกษาต่อไป จะ ได้พัฒนาท้องถิ่นให้เข้มแข็งในอนาคต 7) มีการดาเนินงานที่จัดประสบการณ์ให้กับสมาชิกโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กรทางสังคม โดยการจั ด กิ จ กรรมเข้ า ร่ ว มการประชุ ม กั บ องค์ ก รกลาง มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ และหน่ ว ยงาน สถาบันการศึกษา และผู้มาศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่องเดือนละ 2-3 ครั้ง เพื่อปรับปรุง แก้ไขโครงการให้ชัดเจน ได้ผลดียิ่งขึ้น
8) มีการเผยแพร่กิจกรรมของโครงการด้วยเอกสารแผ่นพับเอกสารการรายงานความก้า วหน้าโครงการ และเผยแพร่ด้วยสื่อสารคดีในระดับท้องถิ่นประเภทหนังสือพิมพ์และโทรทัศน์ท้องถิ่น 9) การขยายผลของโครงการมีเกษตรกรแกนนาในชุมชนเรื่องภู มิปัญญาการเลี้ยงไก่ ปลา ปลูกพืชผัก สมุนไพร ทาถ่านชีวภาพ ขายเป็นสินค้าของชุมชนได้ ส่งผลให้มีการประหยัดในครอบครัวด้วย ทาอาชีพเสริม จากอาชีพการทานาและมีพืชพันธุ์ สัตว์ ไก่ ปลา พืชสมุนไพรในครัวเรือนตนเองไม่ต้องซื้อจากตลาดภายนอก และโครงการได้ขยายผลไปสู่ชุมชนใกล้เคียง 1 แห่ง โดยสร้างเครือข่ายเกษตรกรแกนนาสัมมาอาชีพเรื่องการเลี้ยง ไก่ – ปลา พืชผักสมุนไพร ที่หมู่บ้านโนนตาล ตาบลท่าสองคอน อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 10) การพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกในโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช มี การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามช่วงวัยของอายุตั้งแต่ 5 ขวบถึง 18 ปี ในกลุ่มเด็กและเยาวชนพบว่าเด็กและเยาวชนมี พัฒนาการด้านทักษะทางสังคม ได้แก่ การมีภาวะผู้นาในระดับกลุ่มองค์กร การมีภาวะผู้นาในระดับกลุ่มการ เรียนรู้เป็นฐาน และการมีภาวะผู้นาในระบบโรงเรียนที่เด็กและเยาวชนได้ศึกษาเล่าเรียน เด็กและเยาวชน มีวิธีการอยู่ร่วมกันแบบกฎกติกาของกลุ่มโดยระเบียบวินัยวินัยด้วยข้อคิดเห็นของกลุ่ม เรียกว่า กติกาของบ้านหลังเรียนให้เด็กและเยาวชนปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ได้แก่การมีความรักสามัคคี มีจิตอาสา มีความรับผิดชอบเก็บอุปกรณ์เป็นระเบียบ ทิ้งขยะเป็นที่ และรักษาสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้น่าอยู่ การพัฒนาทักษะอาชีพ เด็กและเยาวชนพัฒนาการเรียนรู้ตามฐานกิจกรรมเรื่องสัมมาอาชีพไปปฏิบัติใน ครัวเรือนของตนเองร่วมกับผู้ปกครองได้เป็นรูปธรรมชัดเจน โดยการพูดเรื่องราว เขียนเรื่อง วาดภาพประกอบ นาเสนอให้ ค นที่ เข้า มาเยี่ ยมชมโครงการได้รับความรู้และความสุข ที่พ บเด็กและเยาวชนมีก ารกล้าพู ด กล้า แสดงออก การพัฒนาองค์ความรู้ เด็กและเยาวชนมีการเรียนรู้ทั้งนอกระบบจากแหล่งเรียนรู้ชุมชนไปสู่ ระบบใน สถานศึกษา ด้วยการสร้างสรรค์ชิ้นงานการประดิษฐ์ดอกไม้จากสมุนไพร การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ การพัฒนาด้านสุขภาวะของเด็กและเยาวชน มีอารมณ์แจ่มใสร่าเริง สนุกสนาน คือเรียนรู้อย่างเป็นสุข ทุกกิจกรรมเกิดผลต่อสุขภาพกาย จิตใจ สติปัญญา อยู่ร่วมกับคนอื่น ๆ แบบไม่เห็นแก่ตัว และมีคุณธรรมของ ความมีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต ด้า นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ตของผู้ป กครอง ปราชญ์ชุ มชน กลุ่ มสตรี แม่ บ้า น ประชาชนที่ เข้ าร่ ว ม โครงการ มีความภูมิใจและตระหนักถึงการดูแลบุตรหลานอย่างใกล้ชิด เพราะได้เรียนรู้ร่วมกัน ทาให้เกิดความ อบอุ่นในครอบครัว เกิดความผูกพันกับผู้สูงอายุ ระหว่างเด็กและเยาวชนทาให้ผู้สูงอายุมี ความสุข เมื่อได้บอก เล่าเรื่องราวให้ลูกหลานได้รับรู้ร่วมกัน และส่งผลให้ชุมชนเป็นชุมชนที่เป็นสุข และมีอัตลักษณ์ของชุมชนคือ เป็นชุมชนได้ขายไข่ไก่ ขายปลา พืชสมุนไพรปลอดสารเคมี เป็นเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเองและพึ่งพากันเองใน ชุมชน มีอาหาร มีพันธุ์ผัก พันธุ์สัตว์ได้ขยายพันธุ์ในชุมชนและขยายพันธุ์ไปสู่ชุมชนใกล้เคียง
3.2 ปัญหาการดาเนินงานมีดังนี้ โครงการนี้มีเงื่อนไขข้อจากัดในการพัฒนาเด็กและเยาวชนกลุ่มเด็กพิการ และนักการเมืองบางคนมอง โครงการนี้จะแข่งขันทางการเมืองในระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด เพื่อสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎร โดย สร้างบารมี สะสมกั บนัก การเมื องกลุ่ม อื่นๆ ทาให้มีโจมตีว่าโครงการนี้ มีเงื่อนไขหากลุ่มคนสนั บสนุนเข้าสู่ ตาแหน่งทางการเมืองและชุมชนต้องการเลี้ยงปลาและไก่ให้ครบทุกครอบครัว 3.3 มีข้อเสนอแนะ การแก้ไขให้ดีขึ้นดังนี้ ข้อเสนอแนะของสมาชิกผู้ร่วมโครงการ ต้องการเลี้ยงไก่ – ปลา ให้ครบทุกครัวเรือนในบ้านกุดแคนโดย การคืนเงินหรือคืนลูกไก่ พันธุ์ปลา เมล็ดพันธุ์ผัก พืชสมุนไพรให้กับผู้สนใจในชุมชน แบบซื้อในราคาถูก เพราะเป็นญาติพี่น้องกันในชุมชน 1) ประชุมชี้แจงแนวนโยบายผ่านสื่อบุคคลผู้ ปกครอง ผู้เข้าร่วมโครงการให้เข้า ใจแนวนโยบาย จัดทา แหล่งเรียนรู้ชุมชนเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานให้พ่อตนเองและมอบสถานที่แห่งนี้ให้ชุมชนบ้านกุดแคน ดาเนินการต่อไป 2) เดินทางสายกลางตามหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา มัชฌิมาปฏิปทา ไม่ยึดมั่นตนเองรับฟัง และยอมรับ ปรับแก้ให้สังคมยอมรับในกิจกรรม เพื่อขยายผลต่อชุมชนให้ยั่งยืนและเข้มแข็ง 3) จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้านโดยเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนอย่างน้อยปีละ 2-3 ครั้ง เพื่อสร้างสัมพันธไมตรี กับสมาชิกในโครงการและเด็กและเยาวชนเจ็บป่วย ต้องไปเยี่ยมถามข่าว ปลอบโยนให้ขวัญและ กาลังใจอย่างเท่าเทียมกัน ข้อเสนอแนะขององค์กรกลางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ได้ ประเมินโครงการอย่างต่อเนื่อง ให้มีการ จัดสิ่งแวดล้อมโรงอาหารในแหล่งเรียนรู้เป็นระบบสะอาดสวยงาม เพราะยังเป็นโรงอาหารที่เป็นห้องโถงใหญ่ การจัดสิ่งของไม่เป็นระเบียบ เน้นความสะอาด สาเหตุเพราะเป็นโรงอาหารที่เด็กและเยาวชนใช้ประกอบอาหาร ร่วมกับผู้ปกครอง ทาอาหารร่วมกันบางครั้งเด็กและเยาวชนรีบเร่งไปโรงเรียน หรือกลับบ้านช่วยพ่อแม่ทางาน ไม่ได้ ทาความสะอาดทันที วิธีแก้ไขในประเด็นนี้ ทางโครงการได้แบ่งเวรมอบหมายหน้าที่ให้ดูแลโรงอาหาร โดยผลัดเปลี่ยนกลุ่มรับผิดชอบ เพื่อให้สะอาดสวยงามประทับใจผู้มาเยี่ยมชมได้ในโอกาสต่อไป อย่างไรก็ตาม ประเด็นนี้ชาวบ้านให้เหตุผลว่า ควรทาแบบวิธีธรรมชาติ อย่าเนรมิตอะไรด้วยเงินให้เอาแรงงานชุมชนมาสร้าง โรงอาหารแบบต่อเติมให้เป็นสัดส่วนร่วมกันจะยั่งยืนดีกว่า เอาทุนมาสร้างจึงเป็นข้อคิดที่จะปรับปรุงโรงอาหาร แบบทีละขั้นตอนให้มีส่วนร่วมของทุกคนในโครงการ (เอกสารอ้างอิงข้อคิดเห็น ความรู้สึกดี ๆ ที่เกิดจากการประเมินผลของเด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง)
เอกสารอ้างอิงส่วนที่ 3 สรุปผลรายงานการประเมินตนเอง
3.4 ลงชื่อผู้รายงาน (ผู้รับผิดชอบโครงการ
ดร.ประสพสุข ฤทธิเดช (หัวหน้าโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษา นาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย)
นางสาวนภัทสร แก่นแก้ว (ผู้อานวยการแหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านหลังเรียนปู่ทวดครูสิงห์ ฤทธิเดช)
นายธนาพัฒน์ เที่ยงภักดิ์ (ผู้ประสานงานโครงการแหล่งเรียนรู้ของชุมชนจัดการศึกษา นาร่องสัมมาอาชีพด้วยบริบทจริงในชุมชน เพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย) รายงานวันที่ 31 เดือนมกราคม ปี 2555