หลักสูตรเถ้าแก่น้อย”เพื่อการออม”
ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง “แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยของคนหลายวัย”
โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย
โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส.
1
หลักสูตรการเรียนรู้เถ้าแก่น้อย”เพื่อการออม” ชื่อหลักสูตร การเรียนรูเ้ ถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม” หลักการ ปัจจุบันกลุ่มออมทรัพย์ส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการออม การทาบัญชีและ ทะเบียนกลุ่มออมทรัพย์ เท่าที่ควร ซึ่งการออม การจัดทาบัญชีเป็นหัวใจสาคัญในการบริหารจัดการ กลุ่มและการดาเนินงานของกลุ่มเพื่อให้กลุ่มรวบรวมข้อมูลทางการเงินและจัดทาบัญชี ได้อย่างมี ระบบและสามารถตรวจสอบได้พร้อมทั้งนาไปใช้ประกอบในการนาเสนอต่อผู้เกี่ยวข้อง ทั้งด้านการ เพิ่มทุนจากสถานการณ์อื่นๆ หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง กลุ่มเถ้าแก่น้อย”เพื่อการออม”จึงควร จัดการเรียนรู้ให้ความรู้ ความเข้าใจในการออม การบัญชีและนาความรู้ที่ได้ไปดาเนินการ ออม ทรัพย์ จัดทาบัญชีให้แก่กลุ่มตัวเอง จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1. เพื่อให้สมาชิกกลุ่มเถ้าแก่น้อย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบัญชีและทะเบียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและสามารถอธิบายได้ 2. เพื่อให้สมาชิกกลุ่มเถ้าแก่น้อย มีทักษะในการจัดทาบัญชีและทะเบียนของกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้สมาชิกกลุ่มเถ้าแก่น้อย สามารถนาความรู้ไปจัดทาบัญชีและทะเบียนของกลุ่มได้ ด้วยตนเองและตรงกับความต้องการของกลุ่ม 4.เพื่อให้สมาชิกกลุ่มเถ้าแก่น้อยสามารถรวมกลุ่มกันออมทรัพย์เพื่อเป็นทุนในการผลิตใน อนาคต
2
โครงสร้างหลักสูตร เรื่อง ที่ 1
เนื้อหา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับบัญชีและทะเบียน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - ความหมายและประโยชน์ของการจัดทา
ชม.
ชม.
ทฤษฎี ปฏิบัติ
หมายเหตุ
2
4
- อธิบาย ยกตัวอย่าง - ลงมือปฏิบัติจริง
2
4
- อธิบาย ยกตัวอย่าง - ลงมือปฏิบัติจริง
บัญชี ความสาคัญในการจัดทาบัญชี ประเภทของบัญชีที่เกี่ยวข้อง กับ กลุ่มออม ทรัพย์ เช่น บัญชีรายวัน(แยกได้บัญชีเงิน สด บัญชีรายวันรับ บัญชีรายวันจ่าย ) สมุดบันทึกการประชุม ทะเบียนคณะ กรรมการฯ สมุดลงเวลาการทางานของ คณะกรรมการ ทะเบียนคุมทรัพย์สิน 2
การจัดทาทะเบียนและเอกสารต่าง ๆ ของ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต -ความหมาย ขั้นตอนการปฏิบัติ ความหมายของทะเบียนกลุ่ม ความสาคัญ ประโยชน์ของทะเบียนและเอกสารต่าง ๆ ประเภท ทะเบียนกลุ่มและเอกสารต่าง ๆ บันทึกการประชุม ทะเบียนคุม คณะกรรมการสมุดลงเวลาการทางานของ คณะกรรมการ สมุดตรวจเยี่ยม ฝึก ปฏิบัติการลงทะเบียนต่างๆ
3
เรื่องที่
เนื้อหา
3
การเรียนรู้ชุมชน เรื่องสวัสดิการชุมชน - ความรู้ในการเก็บข้อมูลชุมชน - เทคนิคการสัมภาษณ์ - ระดมความคิดวางแผนเก็บข้อมูล - ออกเก็บข้อมูล เรียนรู้ชุมชน - สารวจข้อมูลครอบครัวตนเอง การจัดทาบัญชีกลุ่มออมทรัพย์ -ความหมาย คาอธิบายแบบฟอร์มการทา บัญชีรายวัน(บัญชีเงินสด บัญชีรายวันรับ บัญชีรายวันจ่าย) บัญชีแยกประเภท งบ กาไรขาดทุน งบดุล และแบบฟอร์มเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการลงบัญชี ฝึกปฏิบัติ ขั้นตอนการลงบัญชีรายวัน(บัญชีเงินสด บัญชีรายวันรับ บัญชีรายวันจ่าย) เทคนิคการตรวจสอบบัญชี -ความสาคัญในการตรวจสอบบัญชี ขั้นตอนการตรวจสอบบัญชีรายได้ รายจ่าย ทรัพย์สิน หนี้สิน ทุน รวม
4 5
6
สื่ออุปกรณ์ 1. สื่อบุคคล 2. สื่อเอกสารประกอบการเรียนรู้ 3. สื่อ CD VCD 4. สถานที่จริง ชุมชน หมู่บ้าน
ชม.
ชม.
ทฤษฎี
ปฏิบัติ
2
4
-อธิบาย -ลงมือปฏิบัติจริง
10
- ลงมือปฏิบัติจริง - ทาบัญชีครัวเรือน - อธิบาย ยกตัวอย่าง - ลงมือปฏิบัติจริง
4
4
4
10
30
หมายเหตุ
-ลงมือปฏิบัติจริง
4
การวัดผลประเมินผล 1. การสังเกต 2. ผลงานจากการลงมือปฏิบัติจริง 3. จากการรวมกลุ่มออมทรัย 4. การตอบคาถามการซักถาม
หลักการเรื่องการออม ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ประเทศไทยเรานั้น เป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ คือ มี ทะเล มีภูเขา มีปุา มีพืช มีสัตว์นานาชนิด เราพูดรวมๆ ว่า ในน้ามีปลา ในนามีข้าว โดยเฉพาะภาคใต้ของเรามี ครบทุกอย่าง เราจึงไม่เดือดร้อนในการแสวงหาปัจจัย 4 มาบารุงชีวิตของเราเลยอยากกินปลาก็หา กินได้ ใกล้ๆ บ้าน อยากกินผักกินพืชก็มีให้กิน เจ็บปุวยเราก็มียาสมุนไพร ยามไข้ใจเราก็มี พระคอย ช่วยเหลือ คอยให้ทั้งสติและปัญญา สอนให้เรามีศีลมีธรรม ไม่เป็นคนประมาทขาดสติ แต่มาบัดนี้ วันนี้ สิ่งที่ว่าข้างต้นนั้นได้สูญหายไป เกือบจะหมดสิ้น จะเหลือก็เฉพาะความทรงจาของคนสูงอายุ อนุชนคนรุ่นหลังของเราไม่มีโอกาสได้สัมผัสบรรยากาศดังกล่าวอีกต่อไป เราถูกสอนให้เข้าใจว่านี้คือ ความเจริญ คือ มีถนนหนทาง เต็มไปหมด มีรถวิ่งจนคนไม่มีที่เดิน มีร้านขายของ 24 ชั่วโมง มีอะไร ต่ออะไรเต็มไปหมด แต่ที่เราขาด คือ ความอยู่ดีมีสุข เราต้องอยู่ร้อน นอนทุกข์กับเรื่องต่าง ๆ มากมาย ทั้งหมดนี้เราได้ข้อสรุปแล้วว่า เพราะเราเสียรู้ลัทธิทุนนิยม ซึ่งเป็นระบบคิด ระบบรู้ ระบบ ทาของฝรั่งที่เราคิดว่าเขาเจริญกว่าเรา เราจึงเชื่อเขาเกือบทุกอย่าง เห็นเขาทาอะไรก็คิดว่าดีหมด เช่นฝรั่งนอนแก้ผ้า นุ่งน้อยห่มน้อย เราก็คิดว่าดี ฝรั่งแนะให้ทาโน่นทานี้ เราก็ทาตามฝรั่งแนะให้เรา ขายดิน ขายน้า ถางปุา ขุดภูเขา เราก็ทา เพื่อให้ได้สิ่งที่เรียกว่า เงิน ก็เป็นอันพอ...แต่ในที่สุด ทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทก็ถูกดูด เข้าท้องฝรั่งเกือบหมด แม้แต่ลูกหลานของเราก็ไปเป็นคนรับ ใช้พวกเขา เด็กสมองดีทั้งหลายถูกดูดเข้าเมือง เข้ากรุงเทพ และเลยไปเมืองนอก ไปทางานอยู่กับ ฝรั่ง กลับบ้านไม่ถูก ผลคือ ชุมชนเราขาดคนดูแล คนที่อยู่ในชุมชนก็อ่อนแอช่วยตนเอง ช่วยกันเอง ได้ยาก หรือไม่ได้ จึงเกิดปัญหาสารพัดตามมา ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นภัยคุกคามที่ว่านี้ จึงได้ ทรงคิดค้นหาวิธีการแก้ไข และในที่สุดก็ทรงค้นพบและบอกให้ประชาชนคนไทยได้เรียนรู้และปฏิบัติ ตาม เพื่อกู้และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ในสังคมของเรา
5
ข้อค้นพบที่ว่านั้น เมื่อนามาสรุปรวมแล้ว เรียกว่า "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" คือ วิธีรู้ วิธี คิด และวิธีปฏิบัติเพื่อพัฒนาตนของทุกคน ทุกอาชีพ ทุกชุมชน เพื่อความอยู่ดีมีสุขร่วมกันของทุกคน เรียกคืนความดีงามที่เราเคยมีอยู่กลับมาและค้นหาทางเดินที่ถูกต้องกันใหม่ โดยการศึกษาให้มี ความรู้จริงในสิ่งที่มี สิ่งที่ทา ให้มีคุณธรรม คือ ความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต มีความรู้ ความคิด และการกระทาที่พอประมาน พอดี มีเหตุมีผล มีการระวังตน ไม่ประมาท รู้จักระวังภัยในชีวิต การ รู้ การคิด และการกระทาลักษณะนี้แหละเรียกว่า การปฏิบัติตามปรัชญาความคิดเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ผู้รู้ทั้งหลายนามาพูดมาสอนกันขณะนี้มีโดยสรุปดังนี้ 1. ให้ทุกคน ทุกชุมชนดาเนินชีวิตไปในทางสายกลาง ซึ่งเป็นแนวทางที่ปราชญ์ทั้งปลาย เขาสอนกันมานาน เช่น พระพุทธเจ้าก็สอนเรื่องนี้ที่เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทาหรือ มัชเฌนธรรม คือ มรรคมีองค์ 8 มีสัมมาทิฐิ คือ ความเห็นถูกเห็นชอบ เป็นต้น 2. หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ พอดี ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกัน ผลกระทบทั้งจากภายนอกและภายใน 3. เปูาประสงค์ คือ ให้เกิดความสมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากภายนอกได้เป็นอย่างดี 4. เงื่อนไข โดย 1) จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของ รัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจให้มีสานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม 2) ดาเนินชีวิตด้วยความอดทนมีความเพียร มีสติ และความรอบคอบ 3) จะต้องอาศัยความรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และ ดาเนินการทุกขั้นตอน เรื่องการออม การออมคืออะไร ในพจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525 ให้นิยามไว้ ว่า ออม ก. ประหยัด เก็บหอมรอบริบ, เช่น ออมทรัพย์; ถนอม, สงวน, เช่น ออมแรง จาก ความหมายนี้ แสดงว่า การออม คือ การประหยัด การเก็บหอมรอบริบ การถนอม และการสงวน สิ่ง ที่จะประหยัด หรือเก็บหอมรอบริบ ได้แก่ ทรัพย์สินเงินทอง ฉะนั้น การออม จึงมีความหมายกว้าง คือหมายถึง การใช้สิ่งมีค่ามีคุณทั้งหลายอย่าง ระมัดระวัง อย่างไม่ประมาท อย่างมีเหตุมีผล ทั้งในตนและนอกตน คือ ตนเอง ชีวิตของตนเองซึ่ง แต่ละคนจะต้องถือว่า มีความหมายสูงสุด สาคัญสูงสุด จึงต้องรู้จักตระหนักถึงคุณค่าของชีวิต ไม่ ปล่อยปละละเลยให้ ตกต่าให้ไร้ค่า พยายามรักษาและพัฒนาให้เจริญให้ได้ ในขณะเดียวกัน
6
ทรัพย์สินเงินทอง ข้าวของต่าง ๆ ที่เป็นปัจจัยในการดารงชีพ ก็ต้องให้ความสาคัญ ต้องรู้จักเก็บรู้จัก ใช้ ไม่ปล่อยปละละเลย ไม่ตาน้าพริกละลายแม่น้า ไม่โค่นปุาเพื่อหานก เป็นต้น จะเห็นได้ว่า การออมมิได้มุ่งที่ออมเงินอย่างเดียว แต่หมายถึง การออมชีวิตตนเอง และ ปัจจัยในการดารงชีพทุกอย่าง การออม ในเบื้องต้น เป็นเรื่องของคน คือ จุดเริ่มต้นจะเกิดที่คน การออมจะเกิดได้ก็เพราะ คนได้รับการศึกษาเรียนรู้ มีครู คือ พ่อแม่ เป็นต้น เป็นผู้แนะนาสั่งสอน ให้ความสาคัญ ความจาเป็น และผลหรือคุณประโยชน์ที่เกิดจากการออม เมื่อโตขึ้นก็คิดได้เอง ทาได้เอง และสอนผู้อื่นต่อไป การ ออมจึงเป็นเรื่องของการศึกษา การพัฒนาชีวิตของคนลักษณะหนึ่ง คือ การฝึกให้รู้ ให้คิด และให้ทา ในสิ่งดีมีประโยชน์ การออมชีวิต ออมเงิน ออมทรัพยากรธรรมชาติมีปุาไม้ แหล่งน้า แหล่งดิน ก็ต้องเริ่มต้นที่ การเรียนรู้ การคิดและการปฏิบัติเช่นเดียวกัน
การออมให้คุณประโยชน์แก่เราอย่างไรบ้าง กล่าวโดยรวมการออมให้ประโยชน์ต่อการดารงชีวิตและการพัฒนาชีวิตของเรา ไม่ว่าจะ เป็นการ ออมเงินและออมทรัพยากรอื่น รวมทั้งการออมชีวิต หากจะแยกให้เห็นเป็นเรื่อง ๆ ก็แยก ได้ดังนี้ 1) ด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ แปลว่า กิจที่ประเสริฐ คือ เป็นกิจที่ช่วยให้ชีวิตดารงอยู่และ เปิดโอกาสให้คนได้พัฒนาชีวิตคนให้เจริญ ให้สูงขึ้นได้ การประกอบอาชีพ เช่น การปลูกพืชผัก เพื่อ บริโภค เพื่อแจกจ่ายแก่เพื่อนบ้าน หรือเพื่อจาหน่ายให้ได้เงินมา เพื่อนาไปแลกกับปัจจัยด้านอื่น เช่น ยารักษาโรค ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยานพาหนะ เป็นต้น เรียกกันว่า เป็นเรื่องกิจกรรมด้าน เศรษฐกิจ คือ เรื่องการผลิต การแจกจ่าย และการบริโภค เงินเป็นตัวกลางของการแลกเปลี่ยน หรือ ซื้อขายปัจจัยทั้งหลาย จึงมีความสาคัญต่อการดารงชีพสูงมาก โดยเฉพาะปัจจุบัน การจะมีเงินได้ก็ เป็นเรื่องยาก ดังนั้น เมื่อได้มาก็ต้องรู้จักประหยัดรู้จักออม เพื่อแลกเปลี่ยนสิ่งของปัจจัยในการดารง ชีพต่อไป 2) ด้านสังคม ในกระบวนการออม ถ้ารวมกลุ่มการออมตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน หมู่บ้าน ตาบล ถึงจังหวัด ที่ปฏิบัติกันอยู่ขณะนี้ เห็นได้ชัดว่า มีผลดีด้านสังคม คือ เป็นกิจกรรม ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ให้คนคิดถึงกัน เอื้ออาทรต่อกัน หรือรักกันมากขึ้น อย่างกรณี การออมสัจจะลดรายจ่ายวันละ 1 บาท เป็นเครื่องมือให้คนที่เป็นสมาชิกคิด เอื้ออาทรต่อเพื่อน สมาชิก ต่อผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการช่วยตัวเองไม่ได้ และได้มีส่วนช่วยเพื่อนตั้งแต่วันลืมตามาดูโลก จนถึงวันตาย ถ้าได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังก็จะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัว และ
7
ชุมชนได้ทางหนึ่ง 3) ด้านวัฒนธรรม กิจกรรมที่คนส่วนใหญ่ถือปฏิบัติกันอย่างแพร่หลาย มีสาระทั้งที่เป็น ความรู้ ความคิด การปฏิบัติที่มีแบบแผนแน่นอน และทาอย่างต่อเนื่อง และให้ผลเป็นความดีแก่ผู้ ปฏิบัติ เราจัดว่าเป็นวัฒนธรรม พฤติกรรมการออม กิจกรรมการออม ผลการออมมีลักษณะเช่นว่านี้ จึงจัดว่าเป็นวัฒนธรรมสาคัญของชุมชนได้อย่างหนึ่ง ถ้าได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังตลอดไป เพราะเนื้อ ในของการออม นั้นมีองค์ประกอบของความเป็นวัฒนธรรมครบถ้วน คือ มีทั้งองค์ความรู้ วิธีปฏิบัติ และผลการปฏิบัติที่ชัดเจน ให้ประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติดีได้ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านกาย ด้านสังคม ด้านใจ และด้านจิตวิญญาณ 4) ด้านการศึกษา ภาพรวมทางกระบวนการการออมเป็นเรื่องของการเรียนรู้ การฝึกตนเอง ผู้ทาการออม หรือเป็นสมาชิกกลุ่มเพื่อออมเพราะต้องรู้หลักคิด หลักการและหลักปฏิบัติ ตลอดถึง ผลลัพธ์ที่พึงได้พึงมี การที่ทุกคนเดินเข้าสู่กระบวนการนี้ได้ชื่อว่า เดินเข้าสู่กระบวนการทาง การศึกษา เพื่อพัฒนาตนเอง ดังได้กล่าวแล้วในตอนต้น ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนี้ อย่างตั้งใจจะเรียนรู้ก็ จะได้รับประโยชน์ส่วนนี้อย่างครบถ้วน โดยไม่รู้ตัว และจะพบว่าตนเองเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ทั้งด้านการรู้ การคิด การพูด และการทา 5) ด้านทรัพยากรธรรมชาติแวดล้อม ดิน น้า ปุา เขา สัตว์ พืชที่เราได้เห็น อยู่รอบ ๆ ตัวเรา บ้านเรา ชุมชนเรา คือ ชีวิตเรา เพราะว่า เราต้องอาศัยดิน น้า ปุา เขา พืช สัตว์เหล่านั้น จึงมีชีวิต อยู่ได้ ดินหด น้าแห้ง ฝนแล้ง ปุาถูกเผา ภูเขาพัง สัตว์ล้มตายด้วยโรคบางชนิด ภาวะเช่นนี้ คือ สัญญาณเตือนภัยอันใหญ่หลวง ได้เกิดขึ้นแก่มนุษย์แล้ว เพราะเราเป็น อยู่ได้ พัฒนาได้ ก็โดยอาศัย สิ่งเหล่านี้ การพูดถึงการออมทรัพย์สินหรือทรัพยากรธรรมชาติ จึงเป็นเรื่องใหญ่ยิ่งเท่ากับออมชีวิต เงินทองจะมีความหมายก็เมื่อมีสิ่งนี้ เมื่อไม่มีสิ่งนี้ เงินทองก็หมดความหมาย กลายเป็นเศษกระดาษ เศษโลหะที่กินไม่ได้ ช่วยชีวิตมนุษย์ไม่ได้เลย การใช้เงินเพื่อจัดการทรัพยากรให้คงอยู่ในภาวะปกติ จึงเป็นเรื่องต้องคิดต้องทา 6) ด้านการพัฒนาชีวิต การออมเป็นเรื่องการรู้ การคิด และ การทา การออมที่เริ่มด้วยการ เรียนรู้เรื่องสัจจะ คือ ความจริงที่รู้ ที่คิด ที่พูด ที่ทา ของตนเอง ว่าจะต้องพูดจริง ทาจริง คิดจริง และรู้จริงนั้น นับเป็นการเรียนรู้เพื่อรู้จักตนเอง รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างคนกับผู้คนในครอบครัว ในชุมชน เป็นต้น โดยเฉพาะคนในครอบครัว มีภรรยา หรือสามี และลูก ๆ รวมปูุยาตายาย ถ้าคนใน ครอบครัวรู้จักสัจจะ คือ ความซื่อสัตย์ ซื่อตรง จริงใจ จริงวาจา จริงการทาต่อกัน รู้จักข่มใจในบาง โอกาสบางกรณี รู้จักอดทนอดกลั้น รู้จักสละสิ่งของให้แก่กัน และรู้จักสลัดอารมณ์มัวหมอง เป็นตน ก็มีคุณต่อชีวิตของคนในครอบครัว อย่างมากมายแล้ว ยิ่งไปกว่านั้น ถ้าได้ศึกษาให้ลึกลงไปในสัจจะ ของชีวิตทั้งที่ตนเอง ผู้อื่น สิ่งอื่น รอบ ๆ ตัวอีกด้วยแล้ว ก็จะยังเพิ่มคุณประโยชน์ให้อีกมากมาย จนถึงขั้นเข้าใจสัจธรรม ทั้งที่ตนเองผู้อื่น และสิ่งอื่น ก็ถือว่า ถึงขั้นสุดยอด ของการพัฒนาชีวิตแล้ว
8
เรื่องการทาบัญชีครัวเรือน การทาบัญชีเป็นกิจกรรมเรียนรู้อย่างหนึ่ง การทาบัญชี จึงเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ เรียนรู้ การศึกษา การฝึกตน เพื่อให้เกิดการปฏิบัติพัฒนาความรู้ ความคิด และการปฏิบัติที่ถูกต้อง ก่อความเจริญทั้งในด้านอาชีพหรือเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เป็นต้นได้ การทาบัญชี คือ การจดบันทึก ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขปัจจัยในการดารงชีวิตของเรา ในครอบครัว ของเรา ชุมชนของเรา และประเทศของเรา ข้อมูลทีไ่ ด้จากการบันทึกจะเป็นตัวบ่งชี้อดีตปัจจุบันและอนาคตของชีวิตเรา เราสามารถนา ข้อมูลอดีตมาบอกปัจจุบันและอนาคตของเราได้ ข้อมูลที่ได้ที่บันทึกไว้ จะเป็นประโยชน์ต่อการ วางแผนชีวิตและกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิต ในครอบครัว ในชุมชน ในประเทศของเราได้ บัญชีครัวเรือน มิได้หมายถึง การทาบัญชีหรือบันทึกรายรับรายจ่ายประจาวันเท่านั้น แต่ อาจหมายถึงการบันทึกข้อมูลด้านอื่น ๆ ในชีวิต ในครอบครัว เป็นต้น ของเราได้ด้วย เช่น บัญชี ทรัพย์สิน พันธุ์พืช พันธุ์ไม้ ในบ้านเราในชุมชนเรา บัญชีความรู้ความคิดของเรา บัญชีผู้ทรงคุณ ผู้รู้ ในชุมชนเรา บัญชีเด็กและเยาชนของเรา บัญชีภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ ของเรา เป็นต้น หมายความ ว่า สิ่งหรือเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิตของเรา เราจดบันทึกได้ทุกเรื่อง ท่านลองคิดดูทีว่า ถ้าเราทาได้ ผลดีจะเกิดขึ้นกับตัวเรา ครอบครัวเรา ชุมชนเรา ประเทศเราได้มากแค่ไหน ตัวเรา ครอบครัวเรา ชุมชนเรา...ประเทศเรา ก็จะเป็นคนเรียนรู้ ครอบครัวเรียนรู้ ชุมชนเรียนรู้ และประเทศเรียนรู้ การ เรียนรู้เป็นที่มาของปัญญา ปัญญาเป็นที่มาของความเจริญทั้งกาย สังคม ใจ และจิตวิญญาณของ มนุษย์ จะเห็นว่า การทาบัญชี หรือการจดบันทึกนี้สาคัญยิ่งใหญ่ขนาดไหน บุคคลสาคัญ? เช่น ท่านพุทธทาส ในหลวง สมเด็จพระเทพ เป็นต้น ล้วนเป็นนักบันทึกทั้งสิ้น การบันทึก คือ การเขียน เมื่อมีการเขียนก็มีการคิด เมื่อมีการคิดก็ก่อปัญญา เมื่อเกิดปัญญา เราก็ มองเห็นเหตุเห็นผล เมื่อเห็นเหตุเห็นผล เราก็จะคิดจะทาให้ถูกตามเหตุตามผล เมื่อทา พูด คิด ได้ถูก เหตุถูกผล นั่นคือ ทางเจริญของเรา การทาบัญชีครัวเรือนในด้านเศรษฐกิจ หรือการบันทึกรายรับรายจ่ายที่ทางราชการ พยายามส่งเสริมให้เราได้ทากัน นั่น เป็นเรื่องการบันทึกรายรับรายจ่ายประจาวันประจาเดือนว่า เรา มีรายรับจากอะไรบ้าง จานวนเท่าใด มีรายจ่ายอะไรบ้าง จานวนเท่าใด ในแต่ละวัน สัปดาห์ เดือน และ ปี เพื่อจะได้เห็นภาพรวมว่า เรารับเท่าใด จ่ายเท่าใด เหลือเท่าใด หรือเกิน คือ จ่ายเกินรับ เท่าใด รายการใดจ่ายน้อยจ่ายมาก จาเป็นน้อยจาเป็นมาก จาเป็นน้อย อาจลดลง จ่ายเฉพาะที่ จาเป็นมาก เช่น ซื้อกับข้าว ซื้อยา ซื้อเสื้อผ้า ซ่อมแซมบ้าน การศึกษา เป็นต้น เท่าใด ซื้อบุหรี่ ซื้อ เหล้า เข้าบาร์ บ้าหวย เป็นต้น จานวนเท่าใด เมื่อนามาบวกลบคุณหารกันแล้วขาดดุลเกินดุลไป
9
เท่าใด เมื่อเห็นตัวเลข เราก็อาจคิดได้ว่าไอ้สิ่งไม่จาเป็นนั้นมันก็จ่ายเยอะ ลดมันได้ไหม เลิกมันได้ไหม ถ้าไม่ลดไม่เลิกมันจะเกิดอะไร กับเรากับครอบครัวเรา กับประเทศเรา ถ้าคิดได้ ก็เท่ากับว่า รู้จัก ความเป็นคนได้พัฒนาตนเอง ให้เป็นคนมีเหตุมีผล เป็นคนรู้จักพอประมาณ เป็นคนรักตนเอง รัก ครอบครัว รักชุมชน และรักประเทศชาติมากขึ้น จึงเห็นได้ว่า การทาบัญชีครัวเรือน ในเรื่องรายรับรายจ่ายก็ดี เรื่องอื่น ๆ ก็ดี ก็คือวิถีแห่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นั่นเอง ตัวอย่างบัญชีครัวเรือน การทาบัญชีรับ-จ่าย หมายถึง การจดบันทึกรายการเกี่ยวกับการเงินทุกรายการ ทั้งที่ได้รับเข้ามาและที่ต้องจ่าย ออกไป เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการดาเนินกิจการว่า ได้กาไร หรือ ขาดทุน เพียงไร ประโยชน์ของการทาบัญชีรับ-จ่าย 1.เพื่อจดบันทึกรายการการดาเนินกิจการเรียงลาดับก่อนหลัง 2.ง่ายต่อการตรวจสอบ 3.เป็นการควบคุมรักษาทรัพย์สินของกิจการ 4.ปูองกันความผิดพลาดในการดาเนินกิจการ 5.สามารถปรับปรุงแก้ไขทัน 6.ทาให้ทราบฐานะของกิจการ 7.เป็นประโยชน์ในการตรวจสอบผลกาไร-ขาดทุนได้ทุกเวลา หลักการทาบัญชีรับ-จ่าย 1. จัดทาแบบฟอร์มบัญชีรับจ่ายอย่างง่าย ให้สะดวกต่อการจดบันทึกรายการ 2. จดบันทึกรายการเรียงลาดับตามเหตุการณ์ที่เป็นจริงที่เกิดขึ้น 3. สรุปยอดเงินรายรับรายจ่าย ประจาวัน เปรียบเทียบผลการดาเนินกิจการ ประจาวัน 4. ยกยอดเงินในบัญชีรับ-จ่ายไปไว้ในวันถัดไป หากเป็นกิจการที่ไม่มีรายรับ-จ่ายทุกวัน 5. อาจสรุปและประเมินผลรายรับ-จ่าย เป็นรายเดือนหรือ 2-3 เดือนก็ได้
10
การทาบัญชี ถึงช้า แต่ ชัดเจน (slow but sure) รายรับ มีที่มา 15 แหล่ง / ตักน้าใส่ตุ่ม จากการผลิต หยาดเหงื่อ แรงงานตนเอง 1. ขายผลผลิตจากการทาเกษตร 2. ขายผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว์-ผลพลอยได้จากสัตว์ 3. ขายผลผลิตจากหัตถกรรม 4. ขายสินค้าที่ซื้อมา หรือซื้อมา-ขายไป เช่น ร้านชา ขายข้าวแกง 5. ขายพืช-สัตว์ ที่หาจากธรรมชาติ รวมถึงการเก็บขยะขาย รายได้ จากการให้บริการ 6. ค่าจ้างจากการทางาน 7. เงินเดือน เบี้ยเลี้ยง คอมมิชชั่น 8. เงินสงเคราะห์ บาเหน็จ บานาญ โบนัส 9. รายได้จากการขาย/ให้เช่า ที่ดิน ยานพาหนะ เครื่องมือ 10. รายรับจากดอกเบี้ยเงินให้กู้ เงินฝาก เงินลงทุน ถึงได้ แต่ ไม่แน่นอน ซ้าอาจมีภาระ 11. รายได้จากการเสี่ยงโชค วงจร 12. ได้รับจากการกู้ยืม เป็น หนี้ เกิด เมื่อเรารับ ไม่ทันจ่าย 13. ญาติที่อยู่นอกครัวเรือนส่งมาให้ - จะแก้อย่างไร : วิถีชีวิต 14. เงินช่วยงานแต่ง งานศพ ฯลฯ - จะลดค่าใช้จ่าย อะไร ได้บ้าง 15. ลาภลอย กรณีพิเศษ - เพิ่มรายได้ รายจ่าย เงินไหลออก 7 ช่องทาง 1. 2. 3. 4. 5. 6.
ค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพ ค่าอาหาร ค่ายา-สุขภาพอนามัย เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ที่อยู่อาศัย ลงทุน-สังคม-พักผ่อน หย่อนใจ 7. การศึกษา
11
ตัวอย่างบัญชีรายรับ – รายจ่ายอย่างง่าย ว/ด/ป
รายการ
รายร าท สต
ราย าย าท สต
าท
สต
12
ตัวอย่างบัญชีหุ้นและสัจจะ ลาดั บที่
ชื่อ – สกุล
บ้านเลข หุ้น ที่ แรกเข้า มค.
สัจจะรายเดือน กพ.
มีค.
เมย.
พค.
มิย.
........
13
ภาคผนวก
14
รายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม วันที่...............เดือน.......................พ.ศ....................... ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26
ชื่อ-สกุล ด.ญ.เจนจิรา ฉั่วศิริวัฒนา ด.ช.วีรพัทธ ทาดาจันทร์ น.ส.เพียงฤทัย ยินดีมาก ด.ช.จิรวัฒน์ บุตรราช ด.ช.นิชคุณ บุตรราช ด.ช.ชยธร ซาชิโย ด.ญ.มนัญชยา ซาชิโย ด.ช.สุรัตน์ กาบภายสงค์ ด.ช.ณัฐพล ชาระมาตย์ ด.ช.ปฏิภาณ ชาญสมร ด.ญ.ลลนา สมบรูณ์พันธ์ ด.ญ.โสภิตา มหามาตย์ ด.ช.กรวิทย์ กันฮะ ด.ญ.กิตติธัช กุลรักษา นายวุธนา กุลรักษา น.ส.ยุพเยาว์ ธรรมที่ชอบ น.ส.อารยา ศิรินาม ด.ช.เอกวิน กาบภายสงค์ ด.ช.รัชภูมิ ชนะพจน์ ด.ญ.พรนพา นนทฤทธิ์ ด.ช.จีรศักดิ์ นนทฤทธิ์ ด.ญ.วรรรภา ธรรมที่ชอบ ด.ช.ประวิทย์ ธรรมที่ชอบ ด.ช.ณัฐพงษ์ พูนศรี ด.ญ.อัจฉรา ผาภูมิ ด.ญ.จุฑาทิพย์ ผาภูมิ
ลายมือชื่อ
15
27 28 29 30 31 ลาดับที่ 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42
ด.ช.อภิสิทธิ์ สุระพินิจ ด.ช.พีรพงษ์ สุรพินิจ ด.ช.ภานุพงษ์ จตุวิสัย ด.ญ.เกตุมณี วงเชียงขวาง ด.ญ.ปวีณา ทองชานาญ ชื่อ-สกุล ด.ช.อิทธิกร มีทอง ด.ช.ทักษิณ ศรีสนอง ด.ช.สุรเสธ สนั่นเอื้อ ด.ช.ธนธัช เชื้อลิ้นฟูา ด.ญ.ปัทมาพร แถวพินิจ ด.ช.วีรยุทธ โสปะติ ด.ช.ณัฐวุฒิ มาตย์ชารี น.ส.พรพิมล มาตย์ชารี ด.ญ.ณัฐวรา ธวันทา ด.ญ.ปริศนา มหามาตย์ ด.ช.ปฏิภาณ ห้วยทราย
ลายมือชื่อ
รายชื่อวิทยากร วันที่...............เดือน.......................พ.ศ....................... ลาดับที่ 1 2 3 4
ชื่อ – สกุล นายมานิตย์ ซาชิโย นางจุฑารัตน์ บุตรราช นายชู อุทุมพร นางปาริชาติ ซาชิโย
ลายมือชื่อ
16
ตารางอบรม หลักสูตรเถ้าแก่น้อย”เพื่อการออม” โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โดยศูนย์โฮมลูกหลาน บ้านเหล่าลิง ร่วมกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สสส. วัน/เดือน/ปี 3 เม.ย.54
เนื้อหา เวลา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับบัญชีและ 09.00-12.00 น. ทะเบียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 13.00-16.00 น.
วิทยากร นางปาริชาติ ซาชิโย
9 เม.ย.54
การจัดทาทะเบียนและเอกสารต่าง ๆ 09.00-12.00 น. ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 13.00-16.00 น.
นางปาริชาติ ซาชิโย
10 เม.ย.54
การเรียนรู้ชุมชน เรื่องสวัสดิการ ชุมชน
09.00-12.00 น. 13.00-16.00 น.
นายชู อุทุมพร
16,17 เม.ย.54 - ออกเก็บข้อมูล เรียนรู้ชุมชน - สารวจข้อมูลครอบครัวตนเอง 23 เม.ย.54 การจัดทาบัญชีกลุ่มออมทรัพย์
09.00-12.00 น. 13.00-15.00 น. 09.00-12.00 น. 13.00-16.00 น. 09.00-12.00 น. 13.00-16.00 น.
นางจุฑารัตน์ บุตรราช
24 เม.ย.54
เทคนิคการตรวจสอบบัญชี
หมายเหตุ : ตารางนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
นายมานิตย์ ซาชิโย นายมานิตย์ ซาชิโย
17
ภาคผนวก
18
ตัวอย่างภาพกิจกรรมการเรียนรู้
จากเด็กเพื่อระดมสมอง มีผู้ใหญ่ให้คาแนะนา พบว่าต้องมีหลักประกันสาหรับเด็ก
เปิดรับสมาชิก
19
กระบวนการเรียนรู้ โดยวิทยากรมานิตย์ และคณะ
ทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของกลุ่ม ในการลงหุ้น และออมเงิน
20
ระเบียบข้อบังคับกลุ่มเถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม” บ้านเหล่าลิง หมู่ 4 ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ด้วยศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง และกลุ่มเด็กและเยาวชน หมู่ที่ 4 ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ดได้จัดตั้ง กลุ่มเถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม” เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2554 เพื่อให้มีการออมเงิน และมีทุนในการพัฒนาอาชีพ ในอนาคตโดยยึดหลัก คุณธรรม 5 ประการ ในการเข้าเป็นสมาชิก คือ 1.มีความซื่อสัตย์ต่อกัน 2.มีความเสียสละอดทน 3.มีความรับผิดชอบต่อตนเองและเพื่อนสมาชิก 4.มีความเห็นอกเห็นใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 5.มีความไว้วางใจกัน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงได้ประชุมสมาชิกร่างข้อบังคับ เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้ หมวดที่ 1 ข้อความทั่วไป ข้อที่ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ระเบียบข้อบังคับระเบียบข้อบังคับกลุ่มเถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม” บ้านเหล่าลิง หมู่ 4 ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด” ข้อที่ 2 กลุ่มออมทรัพย์นี้มีชื่อว่า “กลุม่ เถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม”” ข้อที่ 3 ที่ทาการกลุ่มตั้งอยู่ที่ ศูนย์ตุ้มโฮมลูกหลานบ้านเหล่าลิง หมู่ 4 ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ข้อที่ 4 ในข้อบังคับนี้ “กลุม่ ” หมายถึง กลุ่มออมทรัพย์“กลุ่มเถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม””ตั้งขึ้นในชุมชนบ้านเหล่าลิง หมู่ 4 ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งดาเนินการโดยเด็กและเยาวชนในชุมชน “สมาชิก” หมายถึง เด็กและเยาวชน และบุคคลที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านเหล่าลิง หมู่ 4 ตาบล บ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่คณะกรรมการกลุ่ม พิจารณาแล้ว เห็นสมควรให้เข้า เป็นสมาชิกได้และได้ยื่นใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มฯ โดยเสียค่าสมัคร-ค่าธรรมเนียม 20 บาท “คณะกรรมการ” หมายถึงคณะกรรมการบริหาร กลุม่ เถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม”
21
หมวดที่ 2 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 5 กลุ่มไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมือง แต่มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาคน เศรษฐกิจและ สังคมของชุมชน ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ มีความประหยัด อดออม และรู้จักการดารงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพื่อการสนับสนุน ส่งเสริมและช่วยเหลือสมาชิก โดยจะดาเนินการตาม หลัก คุณธรรม 5 ประการ คือ มีความซื่อสัตย์ต่อกัน มีความเสียสละ อดทน มีความรับผิดชอบ ต่อ ตนเองและเพื่อนสมาชิก มีความเห็นอกเห็นใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความ ไว้วางใจกัน 3.เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนรวมพลังกันเพื่อ การระดมทุน และหรือการลงทุนในการ ประกอบอาชีพ ในอนาคต หมวดที่ 3 สมาชิกภาพ ข้อที่ 6 สมาชิก“กลุม่ เถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม””หมายถึงเด็กและเยาวชน และบุคคลที่อาศัยอยู่ ในชุมชนบ้านเหล่าลิง และ/หรือ บุคคลที่คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์พิจารณาแล้ว โดยมีมติเป็น เอกฉันท์ให้เข้าเป็นสมาชิกได้ ข้อที่ 7 การสมัครเข้าเป็นสมาชิก ผู้สมัครเข้าจะต้องยื่นใบสมัครตามแบบฟอร์มของกลุ่มฯ พร้อมทั้ง ชาระค่าธรรมเนียมแรกเข้าเป็นเงิน 20บาท ค่าสมุดฝาก 10 บาท/เล่ม เงินสัจจะ 30 บาทและเงินทุน สารอง (ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงทุกปี) ข้อที่ 8 สมาชิกจะพ้นจากสมาชิกภาพ เมื่อมีเหตุข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1.ตาย 2.ลาออก 3.เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถตามคาสั่งศาล 4.ย้ายที่อยู่อาศัยออกไปจากชุมชน บ้านเหล่าลิง 5.ขาดการส่งเงินสัจจะสะสมติดต่อกันเป็นระยะเวลา 3 เดือน โดยไม่มีเหตุผลอันควร (ทางกลุ่มจะออกหนังสือแจ้งให้ทราบ หากไม่มาติดต่อตามเวลา จะถือว่าพ้นจากการเป็นสมาชิก) 6.ถูกศาลพิพากษาลงโทษให้จาคุก หรือล้มละลาย 7.ประพฤติตนเป็นที่เสื่อมเสียแก่กลุ่มออมทรัพย์สัจจะ และมีสมาชิกไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ สมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่ตามทะเบียนสมาชิก เข้าชื่อร้องขอให้ถอดถอนจากการเป็นสมาชิก และเสนอ ให้คณะกรรมการกลุ่มฯ พิจารณาถอดถอน ทั้งนี้มติของคณะกรรมการที่พิจารณาให้ถอดถอนต้องไม่ น้อยกว่า 2 ใน 3 ของกรรมการที่มีอยู่ทั้งหมด
22
ข้อที่ 9 การตั้งผู้รับโอนผลประโยชน์ 1.จะต้องเป็นผู้ที่สมาชิกผู้ตายระบุไว้ในใบสมัคร 2.ผู้รับโอนผลประโยชน์ต้องยื่นคาร้องขอต่อคณะกรรมการ และแสดงสาเนาใบมรณะบัตร กลุม่ ฯ จะจ่ายเงินให้ใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับคาร้องขอ ข้อที่ 10 การจ่ายเงินคืนแก่ผู้สิ้นสุดการเป็นสมาชิก 1.กลุ่ม ฯ จะจ่ายเงินคืนให้ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่สิ้นสุดการเป็นสมาชิก 2.กลุ่มฯ มีอานาจที่จะหักเงินสมาชิกที่มีหนี้สินผูกพันต่อกลุ่มออมทรัพย์ฯก่อนคืนเงิน ข้อที่ 11 ความรับผิดชอบของสมาชิก สมาชิกต้องร่วมกันรับผิดชอบต่อหนี้สินของกลุ่ม ฯ ที่เกิดขึ้น จากกิจกรรมที่เกิดจากความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ หมวดที่ 4 เงินทุนของกลุ่ม ข้อที่ 12 เงินทุนของกลุ่ม“กลุม่ เถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม”” ประกอบด้วย 1.รายได้จากค่าสมัคร ค่าธรรมเนียมแรกเข้ารายละ 20 บาท ค่าสมุดฝาก 10 บาท (เมื่อ ทาสมุดหายต้องเสียค่าสมุดฝากใหม่) โดยเงินจานวนดังกล่าวเมื่อชาระแล้ว จะไม่คืนให้ไม่ว่ากรณีใด ๆ 2.เงินสัจจะสะสมประจาเดือนของสมาชิก ที่นามาสะสมกับกลุ่มออมทรัพย์ฯ 3.เงินบริจาค หรือเงินอุทิศให้ ซึ่งมีผู้บริจาคหรือผู้อุทิศให้ประสงค์จะให้เป็นเงินทุนของกลุ่มฯ 4.เงินอื่น ๆ ที่กลุ่มฯ มีมติให้นามาเป็นเงินทุนของกลุ่มฯ ข้อที่ 13 การเงินของกลุ่ม 1.เงินของกลุ่ม ฯ นาไปฝากไว้ที่ธนาคาร ออมสิน สาขาอาจสามารถ 2.วันสิ้นปีทางบัญชี ถือเอาภายในเดือนธันวาคมของทุกปี 3.เมื่อสิ้นปีทางบัญชี ทากาไร ขาดทุน งบดุล ให้คณะกรรมการตรวจสอบความถูกต้องลง ลายมือชื่อรับรอง และให้แถลงผลสรุปต่อที่ประชุมใหญ่ ข้อที่ 14 กาไรของกลุ่มฯ (จะจัดทาเมื่อมีการดาเนินงานครบ 3 ปี) ข้อที่ 15 การรับฝากเงินสัจจะสะสมของสมาชิก 1.สมาชิกต้องนาเงินสัจจะสะสมมาส่งเอง ภายในวันที่ 5 ของเดือน ณ ที่ทาการกลุ่มฯ ระหว่างเวลา 09.00 – 12.00 น. หากพ้นกาหนดระยะเวลาดังกล่าวทางกลุ่ม จะไม่รับชาระเงิน 2.ถ้ากรณีสมาชิกไม่อยู่ หรือมีกิจธุระอื่นใด ซึ่งเป็นเหตุให้ไม่สามารถนาเงินมาชาระได้ให้ฝาก เงินและสมุดสัจจะให้ผู้อื่นทาการแทนได้ในระยะเวลาที่กาหนด 3.สมาชิกที่เข้าใหม่หรือสมาชิกที่ลาออกระหว่างปีบัญชี และส่งเงินไม่ครบ 6 เดือนจะไม่ได้ รับ
23
เงินปันผล ข้อที่ 16 สมุดสัจจะ สมาชิกจะต้องเก็บรักษาไว้เองและนามาให้เหรัญญิกลงชื่อทุกครั้งที่ส่งเงินสัจจะ สะสม ถ้าสมุดหายหรือชารุด ให้รีบแจ้งต่อเหรัญญิก เพื่อให้คณะกรรมการกลุ่มฯ ตรวจสอบและ พิจารณาออกสมุดสัจจะเล่มใหม่ให้ โดยต้องชาระเงินค่าสมุดใหม่เล่มละ 10 บาท หมวดที่ 5 คณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์ฯ ข้อที่ 17 คณะกรรมการบริหารกลุ่ม“กลุ่มเถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม”” ประกอบไปด้วย คณะกรรมการบริหารกลุ่ม ฯ จานวน 3 คณะ ดังนี้ ☼ คณะกรรมการอานวยการ 1. น.ส.เพียงฤทัย ยินดีมาก ประธานกรรมการ 2. น.ส.ยุพเยาว์ ธรรมที่ชอบ เหรัญญิก 3. ด.ญ.มนัญชยา ซาชิโย ผู้ช่วยเหรัญญิก 4. น.ส.พรพิมล มาตย์ชารี ฝุายบัญชี 5. ด.ญ.เจนจิรา ฉั่วศิริวัฒนา ผู้ช่วยฝุายบัญชี 6. ด.ญ.จุฑาทิพย์ ผาภูมิ ฝุายประชาสัมพันธ์ 7. ด.ช.ชยธร ซาชิโย กรรมการ 8. ด.ญ.เกตุมณี วงเชียงขวาง กรรมการ 9. ด.ช.ปฏิภาณ ห้วยทราย กรรมการและเลขานุการ ☼ คณะกรรมการตรวจสอบ – ติดตาม 1. นายวุธนา กุลรักษา กรรมการ 2. น.ส.อารยา ศิรินาม กรรมการ 3. ด.ช.จีรศักดิ์ นนทฤทธิ์ กรรมการ
☼ คณะกรรมการที่ปรึกษา 1. ว่าที่พันตรีมานิตย์ ซาชิโย 2. นางปาริชาติ ซาชิโย 3. นางจุฑารัตน์ บุตรราช
กรรมการ กรรมการ กรรมการ
24
ข้อที่ 18 คณะกรรมการบริหารกลุ่ม ฯ จะพ้นจากตาแหน่ง เมื่อมีเหตุข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. ตาย 2. ลาออก 3.เป็นกรรมการมาครบตามวาระการดารงตาแหน่ง (4 ปี) 4. พ้นจากสมาชิกภาพ ตามหมวดที่ 3 ข้อที่ 8 หมวดที่ 6 การประชุมของสมาชิก ข้อที่ 19 การประชุมของกลุ่ม“กลุ่มเถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม””กาหนดให้มีขึ้นภายใต้หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1.การประชุมใหญ่สามัญประจาปี จะจัดให้มีการประชุมปีละ 1 ครั้ง นับจากวันสิ้นปี ทางบัญชี ภายใน 30 วัน 2.การประชุมสมัยวิสามัญ -ประชุมได้ทุกเมื่อ โดยความเห็นชอบของมติที่ประชุมคณะกรรมการเห็นสมควร แต่ต้องไม่เกินเดือนละ 1 ครั้ง -ประชุมได้ทุกเมื่อที่ฝุายคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้ว เห็นว่าการดาเนินงาน อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อกลุ่ม ฯ - เมื่อสมาชิกจานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิกที่มีอยู่ตามทะเบียนเข้าชื่อ ร้องขอต่อคณะกรรมการ ขอให้จัดให้มีการประชุมขึ้น ข้อที่ 20 วิธีการดาเนินการประชุมใหญ่สามัญประจาปี และการประชุมสมัยวิสามัญให้เลขานุการ แจ้งวันเวลา สถานที่ และวาระการประชุมให้สมาชิกทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วันทั้งนี้ให้ฝุาย เลขานุการจัดทาบันทึกรายงานการประชุมทุกครั้ง และนาเสนอต่อที่ประชุมครั้งถัดไปทุกครั้ง เพื่อให้ ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุม ข้อที่ 21 การประชุมของคณะกรรมการจะดาเนินการได้กต็ ่อเมื่อคณะกรรมการมาร่วม ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของคณะกรรมการทั้งหมด จึงจะถือว่าครบองค์ประชุม ข้อที่ 22 การลงคะแนนเสียงในที่ประชุมคณะกรรมการ 1. ให้กรรมการหนึ่งคนมีหนึ่งเสียง เมื่อมีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานที่ประชุมออกเสียง เพื่อ ชี้ขาด และผลการลงคะแนนชี้ขาดของประธานให้ถือเป็นที่สุด 2.ในกรณีที่มีปัญหา ต้องตีความตามระเบียบ ให้คณะกรรมการร่วมกับคณะกรรมการที่ ปรึกษาวินิจฉัย ผลการพิจารณาเป็นประการใด ให้ถือว่าเป็นข้อยุติ ข้อที่ 23 การเลิกกิจกรรม
25
1. สมาชิกเหลือน้อย จนดาเนินการต่อไปไม่ได้ 2. ที่ประชุมใหญ่มีมติให้เลิกด้วยคะแนน 2 ใน 3 ของจานวนสมาชิกทั้งหมด 3. ล้มละลาย โดยคาพิพากษาของศาล 4. ทรัพย์สินที่เหลืออยู่ให้คืนให้สมาชิกตามสิทธิที่มีอยู่ หมวดที่ 7 บทเฉพาะกาล ข้อที่ 24 ในการเป็นสมาชิกชุดแรกให้งดเว้นค่าธรรมเนียมแรกเข้าและค่าสมุด และศูนย์ตุ้มโฮมลูก หลานบ้านเหล่าลิง บริจาคเงินสมบทคนละ 100 บาท ข้อที่ 25 ในช่วงเวลาสามปีแรกฝึกให้มีการออมเป็นหลักหากจะมีการลงทุนต้องให้ผ่านความ เห็นชอบ ของที่ประชุมใหญ่ ข้อที่ 26 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อบังคับ ให้เป็นไปตามมติของที่ประชุมใหญ่ มีผลบังคับใช้ตามมติที่ประชุมใหญ่ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2454 และถือเป็นข้อบังคับของ กลุม่ เถ้าแก่น้อย “เพื่อการออม” บ้านเหล่าลิง หมู่ 4 ตาบลบ้านดู่ อาเภออาจสามารถ จังหวัด ร้อยเอ็ด
ลงชื่อ ...........เพียงฤทัย ยินดีมาก........... ประธานกรรมการ ลงชื่อ ........ ปฏิภาณ ห้วยทราย......... เลขานุการ