ถอดบทเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม

Page 1


2

บทสรุปสาหรับผู้บริหาร โครงการนาร่องฯ การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชน เพื่อ สุขภาวะ นักเรียน โรงเรียนนาทรายวิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน มีวัตถุประสงค์ ทั่วไป เพื่อจัดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนเพื่อสุขภาวะของนักเรียน โรงเรียนนา ทรายวิทยาคม อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน และมีวัตถุประสงค์เฉพาะ 1) เพื่อจัดกิจกรรมพัฒนาด้าน การอ่านและเขียน อย่างมีส่วนร่วม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในเครือข่าย สถานศึกษาศรีเวียงชัย และนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนนาทรายวิทยาคมที่มีปัญหา ด้านการอ่าน และเขียน และส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั่วโลกผ่านอินเตอร์เน็ต ของ นักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม 2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติ และมีเจต คติที่ดี ในแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับครอบครัว และชุมชน อย่างเป็นรูปธรรม 3) เพื่ อให้นั ก เรีย นมี ค วามรู้ ความเข้า ใจ ฝึก ปฏิ บัติ และมี เ จตคติที่ ดี ในการสร้ างสุข ภาพกาย สุขภาพจิต หน้าที่ของการเป็นสมาชิก สร้างสัมพันธภาพต่อเพื่อน ครอบครัวและสังคม และ สร้างความรัก ความสามัคคี ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 4) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสืบสานประเพณีของชุมชนในอาเภอลี้ อย่างมีส่วนร่วม และ 5) เพื่อเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติการปลูก ดูแลรักษาต้นไม้และอนุรักษ์ ป่ า ไม้ พั น ธุ์ ไ ม้ และพั น ธุ์ พื ช ที่ มี อ ยู่ ใ นโรงเรี ย นและในชุ ม ชน ตลอดทั้ ง รั ก ษาและพั ฒ นา สิ่งแวดล้อม การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุม ชน เพื่อ สุขภาวะนักเรียน โรงเรียน นาทรายวิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน โดย นั้นได้จัดกิจกรรมผ่านโครงการ 5 โครงการ คือ 1. โครงการเรียนแบบมีสว่ นร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ (ด้านการเรียนรู้) 2. โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ) 3. โครงการสุขภาพดีวิถีไทย (ด้าน สุขภาพ) 4. โครงการย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ (ด้านประเพณีและวัฒนธรรม) และ 5. โครงการชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรา (ด้านสิ่งแวดล้อม) แต่ละโครงการมีกิจกรรมย่อย ดั งนี้โ ครงการที่ 1 เรีย นรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและสร้ างสรรค์ (ด้านการเรีย นรู้) มี 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1.1 ครูเสริม พี่สอน น้องสาน (สาหรับนักเรียนชั้น ป.6 และ ม.1 ที่มี


3

ปัญ หา) กิ จ กรรมที่ 1.2 เรี ย นรู้ จากครู ทั่ว โลกอย่ างสร้า งสรรค์ (ส าหรับ นั ก เรีย นทุก คนใน โรงเรียน) โครงการที่ 2 โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชี พและรายได้ (ด้านอาชีพ) (ปลูกเอง ขายเอง กินเอง และบริหารจัดการเอง) มี 3 กิจกรรม กิจกรรมที่ 2.1 จัดตั้งกลุ่มเกษตรตามแนว ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ อาหารกลางวั น ส าหรั บ นั ก เรี ย นแบบยั่ ง ยื น กิ จ กรรมที่ 2.2 กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน กิจกรรมที่ 2.3 โครงการอาหารกลางวัน โครงการที่ 3 สุขภาพดี วิถีไทย (ด้านสุขภาพ) มีกิจกรรม 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 3.1 การดาเนินการตามระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุมชน กิจกรรมที่ 3.2 การอบรมเชิง ปฏิ บั ติ ก ารเสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ใ นครอบครั ว และการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพอย่ า งยั่ ง ยื น กิจกรรมที่ 3.3 การออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง โครงการที่ 4 ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ (ประเพณีและวัฒนธรรม) มี 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 4.1 ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ กิจกรรม ที่ 4.2 การสืบสานประเพณีและวัฒนธรรม โครงการที่ 5 ชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ ด้วยมือเรา (สิ่งแวดล้อม) มี 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 5.1 พฤกษศาสตร์น่ารู้สู่ชุมชน และกิจกรรมที่ 5.2 สวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน ในการด าเนิน โครงการเรี ย นรู้ แบบมีส่ว นร่ว มอย่ างจริงจั งและสร้ างสรรค์ จากการ ติดตามและประเมินผลเป็นระยะ รวมทั้งแก้ไข ปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง พบว่า กิจกรรมครูเสริม พี่ส อน น้อ งสาน นัก เรีย นที่เ ข้า ร่วมโครงการ สามารถอ่ านออกและเขี ย นได้ เพิ่ม มากขึ้ น กิจกรรม เรียนรู้จากครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ คณะครูมีเว็บเพจเป็นของตัวเอง สามารถ นาข้อมูลหรือแหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนการสอนจากโลกอินเตอร์เน็ตมาปรับ ใช้ในการเรียนการ สอนของตนเอง อีกทั้งยังเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ทักษะและเทคนิคการสอน จาก คณะครูที่นาผลงานของตัวเองเผยแพร่ลงในเว็บเพจของตน นักเรียนยังสามารถทบทวนความรู้ ในเรื่องที่ค รูส อนไปแล้ ว ได้ ที่บ้ านของนั ก เรีย นเอง โดยศึ ก ษาจากเว็ บ เพจของครูแ ต่ละท่า น รวมทั้งการใช้ School online ซึ่งนัก เรีย น ทุก ระดับชั้นสามารถใช้เ พื่อเตรีย มตัวสอบ ดัง ปรากฏผลที่ชัดเจน คือ ในปีการศึกษา 2554 นี้ นักเรียนสามารถสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในคณะแพทย์ศาสตร์ ตามโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอาเภอหนึ่งทุน (ODOD) และคณะอื่นร้อยละเพิ่มขึน้ จากปีก่อน ๆ


4

ด้านการมีอาชีพ ดาเนินโครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ กิจกรรมตั้ง กลุ่มเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวันสาหรับนักเรียนแบบ ยั่งยืน (ปลูกเอง ขายเอง กินเอง) ทาให้เด็กนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน โดยการนาผลิต ผล ที่นักเรียนแต่ละห้องปลูกขึ้นเอง และผลผลิตของผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ (ปลูกเอง) ส่งมา ขายที่สหกรณ์โรงเรียน และจาหน่ายให้ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ที่เข้าร่วมในโครงการ (ขายเอง) นาไปประกอบเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน (กินเอง) เป็นการฝึกการมีอาชีพ และรายได้ระหว่างเรียน การบริหารจัดการสหกรณ์ของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะได้นาเอานักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาการเรียนคอมพิวเตอร์ธุรกิจมา บริหารจัดการบัญชีการใช้จ่าย ซึ่งถือว่าเป็นการฝึกทักษะและประสบการณ์ก่อนออกฝึกงานใน ชั้น ปี ที่ 3 จากการด าเนิ น โครงการนี้ ท าให้ ส ามารถแบ่ ง เบาภาระปั ญ หาด้ า นเศรษฐกิ จ ของ ผู้ ป กครองนั ก เรี ย นได้ เ ป็ น อย่ า งดี เนื่ อ งจากเงิ น งบประมาณที่ อบจ. ล าพู น จั ด ให้ ไ ด้ มี ก าร หมุนเวียนในชุมชนเอง ด้านสุขภาพดาเนิน โครงการสุขภาพดีวิถีไทย กิจกรรมตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนโดยการมีส่ว นร่ว มของภาคี เ ครือ ข่ายชุมชน จากการทากิจกรรมการเยี่ยมบ้าน นัก เรีย น ออกแนะแนว ท าให้ค ณะครูไ ด้รับ รู้ถึงสภาพปัญหา ชีวิตความเป็นอยู่ของนักเรีย น ข้อมูลสารสนเทศที่ได้สามารถนามาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับตัวนักเรียน โดยอาศัยความร่วมมือของผู้ปกครอง และภาคีเครือข่า ยในการช่วยแก้ไขปัญหาและแนวทาง ป้องกัน ซึ่งต้องทาการติดตามเด็กนักเรียนที่มีปัญหาเป็นระยะๆ กิจกรรม การอบรมเชิง ปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน ทาให้ครอบครัวที่แตกแยก มีปัญหาเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ได้ลดช่องว่างระหว่างวัย ของ ผูป้ กครองและนักเรียน เป็นการเสริมสร้างสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง ทั้งนี้โรงเรียนได้ เฝ้าติดตาม ให้คาแนะนาอย่างสม่าเสมอ และกิจกรรมการออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง มี การออกกาลังกาย ประกวดแอโรบิคแดนซ์ การแข่งขันกีฬาภายในโรงเรียนร่วมกับชุมชน ซึ่งเป็น กุศโลบายให้นักเรียนและชุมชนออกกาลังกาย นักเรียนเกิดความแข็งแรง มีการชั่งน้าหนัก วัด ส่วนสูงเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง หากมีน้าหนัก และส่วนสูงไม่ถึงเกณฑ์ตามมาตรฐาน ได้จัด กิจกรรมเสริมให้เป็นไปตามเกณฑ์ จนทาให้กีฬานักเรียนหลายประเภทได้ชัยชนะจากการแข่งขัน


5

ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ เช่น กีฬาวอลเลย์บอล ตะกร้อ และมีนักเรียนจานวน 4 คน ได้เข้าร่วมทีมของจังหวัด “ลาพูนแวริเออร์ จูเนียร์ ” และได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขัน โคกคัพ ในด้านประเพณีวัฒนธรรม ดาเนินโครงการย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ กิจกรรม ศึกษาประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่นเมืองลี้ อย่างมีส่วนร่วม ทาให้นักเรียนรู้ถึง ประวั ติ ค วามเป็ น มาของอ าเภอลี้ แ ละหมู่ บ้ า นที่ นั ก เรี ย นอาศั ย อยู่ ท าให้ นั ก เรี ย นเกิ ด ความ ตระหนัก ถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ใ นชุมชนที่นัก เรียนอยู่อาศัย พร้อมทั้งได้นาเอาแหล่งเรียนรู้ ความรู้และประสบการณ์ของปราชญ์ ชาวบ้านแต่ละหมู่ บ้านต่างๆ มาช่ว ยในการให้ความรู้ กิจกรรม เข้าร่วมประเพณีในท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม นักเรียนและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรมในวันสาคัญ เช่น วันเข้าพรรษา วันลอยกระทงนักเรียน อีกทั้งยังเป็นการสืบสาน วัฒนธรรมประเพณี ไม่ให้สูญหายไปจากชุมชนที่นักเรียนอยู่อาศัย และเกิดความรักความหวง แหนในถิ่นฐานเป็นเกิดของตนเอง ในด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งดาเนินโครงการชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรากิจกรรม พฤกษศาสตร์น่ารู้สู่ ชุม ชน เริ่มจากการปลูก ฝังจิตสานึก ให้นัก เรีย นเกิดความตระหนัก ถึง ความสาคัญของต้นไม้ ป่าไม้ และพันธุ์ไม้ในชุมชนที่นักเรียนอยู่อาศัย อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม ให้นักเรียนและชุมชนเกิดความรักและห่วงแหนต้นไม้ที่ได้ทาการปลูกร่วมกันในโรงเรียนสวนป่า ชุมชน ตลอดจนริมถนนทั้ง 2 ข้างในหมู่บ้านนามน และบ้านฮั่ว สร้างความร่มรื่นและปรับระบบ นิเวศของชุมชนให้มีความสมดุลทางธรรมชาติและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น กิจกรรมพฤกษศาสตร์น่ารู้สู่ โรงเรียน นักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ทาการสารวจพันธุ์ไม้ในโรงเรียนและทาแผนที่พันธุ์ ไม้ในโรงเรียน เพื่อทะเบียนพรรณไม้ ข้อมูลพันธุ์ไม้ ร่วมทั้งป้ายข้อมูลพันธุ์ไม้ สาหรับติดตาม ต้นไม้ในโรงเรียนพร้อมทั้งได้ก าหนดผู้รับ ผิดชอบต้นไม้แต่ละต้นในโรงเรียน เพื่อทาการดูแล รักษา ให้ต้นไม้ที่นักเรียนได้รับผิดชอบนั้นเจริญเติบโดย และอยู่รอดสืบไปคู่กับโรงเรียนนาทราย วิทยาคม


6

ปัจจัยที่ทาให้โครงการขับเคลื่อน 1) คณะทางานที่ประกอบไปด้วยคณะครูที่มีอายุเฉลี่ย 29 มีความกระตือรือร้น และใส่ ใจในการท างาน 2) ความร่ว มมื อ และการให้ ค วามสาคั ญ ต่ อโรงเรี ย นขององค์ ก รในชุม ชน โรงเรียนได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากหน่วยงานต่าง ๆ เช่น โรงพยาบาลชุมชนประจา ตาบล องค์การบริหารส่วนตาบลนาทราย เทศบาลตาบลวังดิน อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โรงเรียน ในเครือข่ายศรีเวียงชัย กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพ ศูนย์หัตถกรรมบ้านห้วยต้ม วัดพระธาตุศรี เวียงชัย วัดพระบาทบ้านห้วยต้ม วัดพระธาตุห้าดวง 3) นักเรียน ให้ความร่วมมือในการจัด กิ จ กรรมเป็น อย่ างดี และ 4) ปัจ จั ย เอื้ อ อื่ น ๆ ทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรี ย น เช่ น การที่ โรงเรียนเป็ นโรงเรียนของท้องถิ่น โดยคนท้องถิ่นและเพื่อคนท้องถิ่น เป็นศูนย์กลางของการ ดาเนินโครงการต่าง ๆ อุปสรรคการเรียนรู้ / การดาเนินโครงการ 1) ความต่อเนื่องของการทางานในตาแหน่งเลขาคณะทางาน เนื่องจากมีการโอนย้าย ข้าราชการครู ทาให้ผู้รับผิดชอบงานใหม่ต้องใช้เวลาในการศึกษาเรียนรู้งาน 2) ภาระงานที่ เพิ่มขึ้นของครู เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวมีครูย้ายออกจานวน 4 คน 3) ช่วงเวลาของกิจกรรม แต่ละกิจกรรมล่าช้า ทั้งนีเ้ นื่องจากต้องบูรณาการกับกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ข้อเสนอแนะในการดาเนินโครงการต่อไป ควรมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และขยายผลลงสู่ชุมชนให้มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้อง กับปรัชญาการศึกษา คือ การศึกษาตลอดชีวิต และเพื่อสุขภาวะของคนไทย


7

ประกาศคุณูปการ เอกสารการถอดบทเรียน การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชน เพื่อ

สุขภาวะ

นักเรียน โรงเรียนนาทรายวิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน ฉบับนี้ เริ่มต้นจากความต้องการของ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียนโดยแท้จริง โดยมีเป้าหมาย คือ นักเรียนที่ด้อยโอกาสให้ได้รับ การพัฒนาอย่างมีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายจากแนวคิด “All for Education” และ “Education for All” ทา ให้เกิดแรงบันดาลใจเข้าร่วม ”โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะ คนไทย” (ปศท.2) ความสาเร็จ ในครั้ง นี้ ได้ รับความอนุเคราะห์ เป็นอย่างสูง จาก รองศาสตราจารย์ ดร.กล้า ทองขาว ผู้ อ านวยการหลั ก สู ต ร ศึ ก ษาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ รอง ศาสตราจารย์ ดร.อุทัย บุญประเสริฐ ผู้อานวยการหลักสูตร ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต และนางสาวลาเดือน นาม เทพ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาพูน เขต 2 ที่ปรึกษาการดาเนินงานโครงการฯ ที่ได้ให้คาปรึกษา ตรวจสอบ รูปแบบ เนื้อหา แนะนาการเขียนถอดบทเรียน จนเสร็จเรียบร้อย ขอขอบพระคุณ ดร.พิณสุดา สิริธรังศรี ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษา วิทยาลัยครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ผู้จัดการโครงการฯ และนางสาวสอาดลักษม์ จงคล้ายกลาง นักวิชาการ โครงการ และเลขานุ การโครงการ ที่ ใ ห้ก ารส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การดาเนิ นโครงการฯ ขอบคุณ ผู้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูในเครือข่ายศรีเวียงชัย ในการเข้าร่วมการเสวนา ถอดบทเรียน การระดมความ คิดเห็น การวิเคราะห์สภาพบริบทและกาหนดทิศทาง เป้าหมายของโรงเรียน ขอขอบพระคุณ ผู้บริหารองค์การ บริหารส่วนจังหวัดลาพูน ข้าราชการ พนักงานในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ จัดการศึกษาของโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการ ชมรมผู้ปกครองนักเรียนและครู คณะกรรมการชมรมผู้ขับรถรับส่ง รวมทั้งคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของ โรงเรียนนาทรายวิทยาคมทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือ ให้คาแนะนา ร่วมสร้าง ร่วมลงมือปฏิบัติ ร่วมประเมินผล ร่วมปรับปรุงแก้ไข ในกิจกรรมต่าง ๆ อย่างเต็มใจและเต็มกาลังความสามารถ และสุดท้าย คือ ร่วมชื่นชมยินดีกับ ผลสาเร็จของโรงเรียน พร้อมทั้งให้กาลังใจแก่ผู้วิจัยและคณะทางาน และคอยให้การช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่ง


8

การถอดบทเรียนครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนและให้ กาลังใจกันเป็นอย่างดี ยิ่ง จากพี่ ๆ น้องๆ คณะ ทางานฯ ที่ดูแลเอาใจใส่ด้วยความรักและห่วงใยตลอดเวลา ทาให้เกิดความ มุ่งมั่น พยายาม จนสาเร็จลุล่วงใน ที่สุด ยงยุทธ ยะบุญธง


9

สารบัญ บทที่

1

2

3

หน้า

บทนา

1

วัตถุประสงค์..............................................................................................

3

เป้าหมาย...................................................................................................

4

ระยะเวลาดาเนินการ...................................................................................

4

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ...........................................................................

4

การวิเคราะห์สภาพบริบทของโรงเรียน

6

ประวัตคิ วามเป็นมาของโรงเรียนนาทรายวิทยาคม......................................

6

การคมนาคมและสาธารณูปโภคพื้นฐาน......................................................

9

ศักยภาพทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนตาบลท้องถิ่น

9

การมีส่วนร่วมของชุมชนกับโรงเรียน............................................................

12

การวิเคราะห์ด้านสภาพแวดล้อมบริบทของโรงเรียน.......................................

13

ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียน…………………………………………

16

วิธีดาเนินการ

18

โครงการที่ 1 เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ (การเรียนรู้).......

19

โครงการที่ 2 โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ)........

21

โครงการที่ 3 สุขภาพดีวิถีไทย (ด้านสุขภาพ).................................................

22


10

4

โครงการที่ 4 ย้อนรอยประวัตศิ าสตร์เมืองลี้ (ประเพณีและวัฒนธรรม)………..

24

โครงการที่ 5 ชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ดว้ ยมือเรา (สิ่งแวดล้อม)……………….

25

ผลการดาเนินการ

28

โครงการที่ 1 เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ (การเรียนรู้).......

28

โครงการที่ 2 โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ)........

32

โครงการที่ 3 สุขภาพดีวิถีไทย (ด้านสุขภาพ).................................................

36

โครงการที่ 4 ย้อนรอยประวัตศิ าสตร์เมืองลี้ (ประเพณีและวัฒนธรรม)………..

38

โครงการที่ 5 ชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ดว้ ยมือเรา (สิ่งแวดล้อม)……………….

40


11

สารบัญ (ต่อ)

บทที่

5

หน้า

สรุปบทเรียน

44

อภิปรายผล................................................................................................

46

ปัจจัยที่ทาให้โครงการขับเคลื่อน...................................................................

47

อุปสรรคการเรียนรู้ / การดาเนินโครงการ......................................................

47

ข้อเสนอแนะในการดาเนินโครงการต่อไป.......................................................

47

บรรณานุกรม

49

ภาคผนวก

50

ภาคผนวก ก

51

ภาคผนวก ข

52

ภาคผนวก ค

53

ภาคผนวก ง

54

ภาคผนวก จ

55

ภาคผนวก ฉ

58


12

สารบัญตาราง ตาราง

1

หน้า

ผลการทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียนทักษะการอ่านของนักเรียนที่เข้าร่วม กิจกรรม ครูเสริม พี่สอน น้องสาน..............................................................

2

28

ผลการทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียนทักษะการเขียนของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ครูเสริม พี่สอน น้องสาน..............................................................

30

3

ชื่อพันธุ์ไม้และจานวนต้นไม้นอกโรงเรียน....................................................

40

4

ชื่อพันธุ์ไม้และจานวนต้นไม้ในโรงเรียน......................................................

41

5

จานวนนักเรียนที่รับผิดชอบในการปลูกต้นไม้.............................................

42


13

สารบัญรูปภาพ ภาพที่

หน้า

1

การวิเคราะห์สภาพปัญหาของสภาพแวดล้อมภายนอก และภายในของโรงเรียน

17

2

การอบรมการผลิตพัฒนา Web page, e-learning, e-book ............................

31

3

หน้า Web page School online ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน..............

32

4

การเตรียมปลูก และผลผลิตของนักเรียนที่ปลูกในโรงเรียน................................

32

5

ผลผลิตของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการปลูกเองนอกโรงเรียน...............................

33

6

โครงสร้างการบริหารงานของสหกรณ์โรงเรียน และจานวนหุ้น...........................

35

7

ห้องคลังสินค้า และผลิตผลที่รับซื้อมาจากสมาชิกสหกรณ์................................

35

8

การอบรมภาคีเครือข่ายเพื่อดูแลนักเรียน และการเยี่ยมบ้านนักเรียน.................

36

9

การอบรมปฏิบัตกิ ารเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดใี นครอบครัว ณ วัดบ้าน

ใหม่ศวิ ไิ ล

.....................................................................................................

37

10

การออกกาลังกายเต้นแอโรบิคแดนซ์ และแผนผังเครือญาติ...............................

38

11

การออกไปศึกษาประวัตศิ าสตร์เมืองลีโ้ ดยการสัมภาษณ์..................................

39

12

นักเรียนที่เป็น “มัคนายกน้อย” กล่าวคาบูชา คาอาราธนา คาถวายสิ่งของให้พระสงฆ์ ใน พิธีทางศาสนาต่าง ๆ.....................................................................

40

13

อบรมให้ความรู้ในการอนุรักษ์พันธ์ไม้และปลูกต้นไม้ในชุมชน............................

41

14

นักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ ค้นคว้า ติดข้อมูลพันธุ์ไม้................................

43


14

บทที่ 1 บทนา 1. หลักการและเหตุผล

“ความสุข” เป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนแสวงหาและปรารถนา ความสุขมีทั้งที่เกิดขึ้นจากภายในจิตใจ เป็น

ความสุขในระดับจิตใจและปัญญา และความสุขจากภายนอก เช่น ปัจจัยต่างๆ ในการดารงชีวิต การมีสุขภาพ กายที่แข็งแรงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในยุค ปัจจุบันที่ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรต่าง ๆ มีความซับซ้อนมากขึ้น และเชื่อมโยงถึงกันหมดอย่างไร้พรมแดนใน ทุกภาคส่วนของสังคมโลกทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศ ผลกระทบที่ เกิดขึ้นจากจุดหนึ่งจะส่งผลไปยังอีกจุดหนึ่งอย่างรวดเร็ว ย่อมจะทาให้ความสุขของแต่ละบุคคลมีความแตกต่าง หลากหลายมากขึ้น ปัจจัยพื้นฐานในการสร้างความสุขของมนุษย์ร่วมกัน โดยมุ่งสู่ความสมดุลในมิติต่าง ๆ อาทิ ความ สมดุลระหว่างการพัฒนาด้านกายและจิตใจ ความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่นาไปสู่ความ ยั่งยืนเพิ่มขึ้น ความสุขจึงเป็นภาวะความสมดุลที่ทุกอย่างประสานสัมพันธ์กันอย่างลงตัว ตั้งแต่ระดับบุคคล ชุมชน และระดับประเทศ ความสุขในระดับบุคคล ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของความสุขของชุมชนและสังคม จึงเป็นภาวะ ความสมดุลของกาย จิตใจและปัญญาที่ประสานสัมพันธ์กันอย่างลงตัวพอดี การมีร่างกายที่แข็งแรงไม่เจ็บป่วย มี สุขภาพจิตใจที่สมบูรณ์

ดีงามและมีสติปัญญา การเรียนรู้ในระดับที่สามารถคิดเป็น ทาเป็นได้นั้น ต้องให้

ความสาคัญกับกระบวนการ และวิธีปฏิบัติที่เป็นไปตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมพฤติกรรม การดารงชีวิตที่เหมาะสม พอประมาณ มีเหตุ มีผล ตระหนักและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่อาจจะมีภัยอันตรายและ ส่งผลเสียต่อร่างกายและจิตใจ การสนับสนุนกิจกรรมที่เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ สาธารณะต่าง ๆ รวมทั้งสร้างโอกาสและลู่ทางการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อให้จิตใจเข้มแข็ง และสามารถปรับตัวได้อย่างรู้ เท่าทันการเปลี่ยนแปลง อันจะเป็นภูมิคุ้มกันให้สามารถพึ่งตนเองได้ ปฏิบัติภารกิจ ในสังคมได้อย่างปกติสุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนาไปสู่ความอยู่เย็น เป็นสุขร่วมกันในสังคม

(ปาริชาติ และอมราวรรณ, 2550)


28

สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) เป็นหน่วยงานหนึ่ง ที่มีเจตนารมณ์และ วิสัยทัศน์สาคัญ ในการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนทั้งด้านกาย จิต สังคมและสติปัญญาเพื่อให้คนไทยเป็น บุคคล ที่สมบูรณ์ เพียบพร้อม และดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข ในการนี้ ได้มีการศึกษาแนวทาง “ร่วมสร้าง ประเทศไทยให้น่าอยู่” ที่มีศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี เป็นประธาน มีการศึกษาประเด็นสาคัญที่ พิจารณาว่าจะส่งผลต่อการร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่ โดยมีประเด็นเกี่ยวกับการสร้างระบบการศึกษาที่พา ชาติออกจากวิกฤติ เป็นส่วนหนึ่งของประเด็นสาคัญดังกล่าวในการสร้างระบบการศึกษาที่พาชาติออกจากวิกฤติ สสส.ได้มอบหมายให้ รองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และ คณะดาเนินการศึกษาทางเลือกระบบการศึกษาที่เหมาะสมกับสุขภาวะคนไทยแล้วเสร็จในปี 2553 ข้อเสนอ ดังกล่าว มีประเด็นสาคัญของระบบการศึกษา คือ การสร้างความเข้มแข็งที่ฐานรากที่จาเป็นต้องเข้ามามีส่วนใน การจัดการศึกษาโดยให้ความสาคัญกับครอบครัวชุมชน ท้องถิ่น สถาบันศาสนา เอกชนและองค์กรเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรอื่นของประชาชน มีการสร้างชุมชนให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ที่เป็นความ ร่วมมือของครอบครัว วัด/ศาสนสถาน โรงเรียน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันเติมเต็มการจัดการศึกษาที่ดาเนินอยู่ในปัจจุบัน เพื่อนาไปสู่สุขภาวะของคนไทยทั้งด้านกาย จิต สังคม และสติปัญญา โรงเรียนนาทรายวิทยาคม สัง กัดองค์ก ารบริหารส่วนจังหวัดลาพูน ตั้ง อยู่ต าบลนาทราย อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน อยู่ทางทิศใต้ สุดเขตแดนของจังหวัดลาพูน ห่างจากศาลากลางจังหวัด 120 กิโลเมตร ลักษณะภูมิ ประเทศเป็นที่สูงชัน มีภูเขาล้อมรอบ เป็นที่ไหล่เขาที่มีลักษณะ ที่ราบลูกคลื่น ที่ราบบันได ที่ราบลุ่มน้า ที่มีความ ชันน้อยกว่าร้อยละ 35 เหมาะสมสาหรับการเกษตร ลักษณะของป่ าไม้ เป็นป่าเต็งรัง ป่าแพะ ขึ้นอยู่ตามเชิงเขา ความสูงของภูเขาตั้งแต่ 500 ถึง 800 เมตรในระดับน้าทะเล ทาให้เป็นร่องลึก เกิดเป็นลาห้วยต่าง ๆ ที่ไหลมา รวมกันจนเกิดเป็นต้นกาเนิดสายน้าแม่แต๊ะ ที่เปรียบเสมือนเป็นเส้นโลหิตเส้นใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชีวิตประชาชนชาว ตาบลนาทราย สภาพและปัญหาโดยรวมของชุมชนเป็นชนพื้นเมืองและชุมชนปกากะญอรวมอยู่ด้วย ส่วนใหญ่มีอาชีพ เกษตรกรรม บางส่วนรับจ้างทั่วไป และเก็บของป่ามาบริโภคและจาหน่าย จึงทาให้มีฐานะความเป็นอยู่ค่อนข้าง ยากจน ยิ่งในสภาวะที่ประเทศไทยประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจ การตลาดที่พ่อค้าคนกลางเป็นผู้กาหนด เกิด ความขัดแย้งในสังคม ครอบครัวแตกแยก และฤดูกาลเปลี่ยนแปลง จึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อชุมชนโดยรวม นักเรียนของโรงเรียนนาทรายวิทยาคมจึงจาลองสภาพของชุมชนมาอยู่รวมกัน ในส่วนของเครือข่ายสถานศึกษาที่ อยู่รอบ ๆ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม เป็นโรงเรียนประถมศึกษามีขนาดเล็ก บางโรงเรียนมีปัญหาขาดแคลนครู


29

และทรัพยากรในการบริหาร ทาให้นักเรียนที่เข้ามาเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนมีพื้นฐานการเรียนรู้ ค่อนข้างต่า ส่วนนักเรียนที่มีฐานะของครอบครัวดีจะไปเรียนต่อที่โรงเรียนในตัวอาเภอลี้ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม ในฐานะเป็นโรงเรียนของท้องถิ่น ภายใต้การส่งเสริมสนับสนุนขององค์การ บริหารส่วนจังหวัดลาพูน ได้พัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนมาเป็นระยะเวลา 4 ปีหลังจากการถ่ายโอน จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาพูน เขต 2 โดยได้ยึดหลักการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง ของ ทุกภาคส่วน มาโดยตลอด ในปีการศึกษา 2554 โรงเรียนได้รับเลือกจากสานักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา ลาพูน เขต 2 ซึ่งเป็นฝ่ายประสานงานระดับภาคเหนือ ให้เข้าร่วมโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท. 2) กับศูนย์วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย เริ่มจากการศึกษาวิเคราะห์สภาพบริบทของโรงเรียน ชุมชน เพื่อกาหนดทิศทาง จัดทาแผนพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ขององค์กรในชุมชน และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน จัดทาประชาคม ระดมความคิดเห็นร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาและหาความต้องการของชุมชนท้องถิ่น ทั้งในด้านการศึกษาสามัญ อาชีพ ประวัติศาสตร์ ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ดนตรี กีฬา สุขภาพ ฯลฯ ซึ่งได้ข้อสรุปดาเนินโครงการเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ของนักเรียน โรงเรียนและชุมชน คือ 1. โครงการเรียนรูแ้ บบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ (ด้านการเรียนรู้) 2. โครงการ วิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ) 3. โครงการสุขภาพดีวิถีไทย (ด้านสุขภาพ) 4. โครงการย้อน รอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ (ด้านประเพณีและวัฒนธรรม) และ 5. โครงการชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรา (ด้านสิ่งแวดล้อม) ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ เข้าใจ มีทักษะ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างต่อเนื่อง และเพื่อให้เกิดมีสุขภาวะในที่สุด

2. วัตถุประสงค์

2.1 วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อจัดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนเพื่อสุขภาวะของนักเรียน โรงเรียน นา ทรายวิทยาคม อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน


30

2.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ 2.2.1 เพื่ อ จั ดกิ จกรรมพั ฒ นาด้า นการอ่ านและเขี ย น อย่ า งมี ส่ วนร่ว ม ของนัก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในเครือข่ายสถานศึกษาศรีเวียงชัย และนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของ โรงเรียนนาทรายวิทยาคมที่มีปัญหาด้านการอ่าน และเขียน และส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ทั่วโลกผ่านอินเตอร์เน็ต ของนักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม 2.2.2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้า ใจ ฝึกปฏิบัติ และมีเจตคติที่ดี ในแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับครอบครัว และชุมชน อย่างเป็นรูปธรรม 2.2.3 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติ และมีเจตคติที่ดี ในการสร้างสุขภาพ กาย สุขภาพจิต หน้าที่ของการเป็นสมาชิก สร้างสัมพันธภาพต่อเพื่อน ครอบครัวและสังคม และ สร้างความรัก ความสามัคคี ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 2.2.4 เพื่ อให้นัก เรีย นมี ค วามรู้ ความเข้าใจ ในประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสืบสาน ประเพณีของชุมชนในอาเภอลี้ อย่างมีส่วนร่วม 2.2.5 เพื่อเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติการปลูก ดูแลรักษาต้นไม้และ อนุรัก ษ์ป่า ไม้ พั นธุ์ไ ม้ และพันธุ์พืช ที่มีอยู่ในโรงเรียนและในชุมชน ตลอดทั้ง รักษาและพัฒนา สิ่งแวดล้อม 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ นักเรียนมีสุขภาวะที่ดี เพิ่มขึ้นร้อยละ 95 3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ

การมี ส่วนร่ วมในการจั ด การเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น ผู้ ปกครอง ชุ ม ชนและผู้มี ส่วนเกี่ย วข้อ งกับ การจั ด การศึกษาของโรงเรียนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้คุณภาพผู้เรียนเพิ่มขึ้น

4. ระยะเวลาดาเนินการ

ระยะเวลาดาเนิน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 ถึง 31 มีนาคม 2555


31

5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

5.1 ต่อนักเรียน นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ทาให้ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่คงทนถาวร 5.2 ต่อครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนได้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้การมีส่วนร่วม สื่อ อุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทาให้ เกิดมีประสบการณ์แ ละนาไปใช้ในการจั ด กิจกรรมอื่น เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนต่อไป 5.3 ต่อโรงเรียน โรงเรียนได้พัฒนาองค์ความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน อยู่ร่วมกัน อย่างกลมกลืนและพัฒนาองค์กร ควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชนตามแนวการจัดการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ และการจัดการศึกษาอย่างมีส่วนร่วม เพื่อสุขภาวะที่ดี 5.4 ต่อชุมชน ชุมชนได้เรียนรู้ ปรับกระบวนทัศน์ ในการพัฒนาร่วมกัน ทาให้ชุมชนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5.5 ต่อสังคมและประเทศชาติ สังคมและประเทศชาติมีสันติสุข และสันติธรรม

6. คาศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย 6.1 โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนนาทรายวิทยาคม อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ลาพูน 6.2 นักเรียน หมายถึง นักเรียน ที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)


32

6.3 เครื อ ข่ า ยสถานศึ ก ษาศรี เ วี ย งชั ย หมายถึ ง กลุ่ ม สถานศึ ก ษาที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดยสานั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษาประถมศึกษา ลาพูนเขต 2 เพื่อพัฒนาวิชาการ โดยส่งเสริมให้ใช้ทรัพยากรการบริหารร่วมกัน มีชื่อว่า “ศรีเวียงชัย” ประกอบด้วยโรงเรียนต่าง ๆ 11 โรงเรียน ได้แก่ 1)โรงเรียนบ้านห้วยต้ม 2) โรงเรียนบ้านแม่ลาน 3) โรงเรียนบ้านแม่หว่าง 4) โรงเรียนบ้านก้อจัดสรร 5) โรงเรียนบ้านผาต้าย 6)โรงเรียนบ้านหนองมะล้อ-ห้ว ย ทรายขาว 7) โรงเรียนบ้านกองวะเหนือ 8) โรงเรียนบ้านนาเหลี่ยง 9) โรงเรียนบ้านฮั่ว 10) โรงเรียนบ้านนาทราย และ 11) โรงเรียนนาทรายวิทยาคม 6.4 องค์กรชุมชน หมายถึง ครอบครัวของนักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม วัด/ศาสนสถาน แหล่งเรียนรู้ องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน สถาบันสังคม สถานพยาบาล และองค์กรอื่นของประชาชนใน พื้นที่/ชุมชน อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน


33

บทที่ 2 การวิเคราะห์สภาพบริบทของโรงเรียน ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนนาทรายวิทยาคม

เมื่อปี พ.ศ. 2533 สภาตาบลนาทรายได้ริเริ่มขอตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาประจาตาบล

นาทรายมีที่

ตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ 6 ตาบลนาทราย อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน ในปีการศึกษา 2534 กระทรวงศึกษาธิการอนุมัติให้จัดตั้งเป็น โรงเรียนมัธยม สาขาของโรงเรียนเวียงเจดีย์ ประจาอาเภอลี้ และใช้สถานที่เรียนที่ โรงเรียนประถมประจาหมู่บ้าน สังกัดสานักงานการประถมศึกษา อาเภอลี้ จังหวัดลาพูนเปิดรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 50 คน ต่อมาปี พ.ศ. 2535 กานันตาบลนาทราย นายอาเภอลี้ และ ผู้อานวยการโรงเรียน ได้ร่วมกันขอจัดตั้งเป็นโรงเรียน มัธยมศึกษา ตาบลนาทราย โดยสร้างอาคารเรียนชั่วคราว จานวน 2 ห้องเรียน เป็นที่เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่

1-

2 จานวน 93 คน มีครูจากโรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา มาปฏิบัติหน้าที่สอน 2 คน วิทยากรท้องถิ่น 2 คน ปีการศึกษา 2536 ผู้อานวยการโรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา ร่วมกับชมรมอุตสาหกรรมเกษตรกร สถาบันเทคโนโลยีแม่โจ้ และ

บริษัทธารดารง และชาวบ้านตาบลนาทราย ได้ร่วมกันจัดสร้างอาคารกึ่งถาวร 3 ห้องเรียน มีนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้นครบทุกระดับชั้น จานวน 132 คน ซึ่งประสบผลสาเร็จเป็นอย่างมาก คือ มีจานวนนักเรียนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งในปีการศึกษา 2538 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีประกาศตั้งเป็นโรงเรียนนาทราย วิทยาคม เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2538 มีนักเรียนทั้งหมด 146 คน ครู 4 คน นักการ 1 คน ยาม 1 คน และได้แต่งตั้งผู้ มาดารงตาแหน่งผู้บริหารโรงเรียน ในปีการศึกษา 2539 ได้มีการก่อสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบ ทาพิธีเปิด ป้าย และทาบุญอาคารเรียน หลังจากนั้นในปีการศึกษา 2540 ได้เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นปี แรก มีนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 2 ห้อง จานวนนักเรียนและครูเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และมีจานวน สูงสุดในปีการศึกษา 2543 คือ มีนักเรียนทั้งหมด 420 คน ครู 15 คน เนื่องจากมีนักเรียนครบทุกระดับชั้น ในปี ก ารศึ ก ษาต่ อ มา กรมสามั ญ ศึ ก ษา กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ได้ แ ต่ ง ตั้ ง ให้ ผู้ ม าด ารงต าแหน่ ง ผู้อานวยการโรงเรียนนาทรายวิทยาคม เมื่อ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2544 แทนผู้บริหารคนเดิมที่ได้ย้ายไปดารง ตาแหน่งสถานศึกษาอื่น ในส่วนของจานวนนักเรียนกลับมีจานวนลดลงจากจานวน 420 คน ในปีการศึกษา 2543 มาเป็น 343, 330, 276, 270 และ 220 ในปีการศึกษา 2544, 2545, 2546, 2547 และ 2548 ตามลาดับ ซึ่งในระหว่างนั้นมีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารสถานศึกษา คือ ในปีการศึกษา 2546 - 2548 มีการเปลี่ยนแปลง ผู้อานวยการโรงเรียน 4 คน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาพูนเขต 2 ได้แต่งตั้งให้ผู้บริหารสถานศึกษาคนปัจจุบัน


34

มาดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ในปีการศึกษา 2549 โรงเรียนโดยผู้เ กี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุก ส่วน ได้สมัครใจให้โรงเรียนถ่ายโอนสถานศึกษาไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนนาทราย โดยวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2549 มี ก ารประเมิ นความสมั ค รใจการถ่ า ยโอนสถานศึ ก ษาขั้ น พื้น ฐานไปสั ง กั ด องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น

(องค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน) จนถึงวันที่ 15 มกราคม 2550 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาพูนเขต 2 ได้โอน ภารกิจให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูนและระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ - เมษายน 2550 มีการโอนทรัพย์สิน และโอนบุคลากรควบคู่กันไป เสร็จสิ้นเดือนสิงหาคม 2550 โดยมีครูขอย้ายออก 11 คน พนักงานขับรถ 1 คน มีครู และบุคลากรทางการศึกษา ถ่ายโอนไปพร้อมกับโรงเรียนรวมทั้งผู้บริหารโรงเรียน 3 คน แต่ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาลาพูนเขต 2 ได้ให้ช่วยราชการอยูจ่ นถึงเดือน ตุลาคม 2550 (ภาคเรียนที่ 1

ปีการศึกษา 2550)โรงเรียน

นาทรายวิทยาคม จึงได้โอนไปสังกัดองค์การบริหารส่ วนจังหวัดลาพูนโดยสมบูรณ์ เมื่อต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแรกและโรงเรียนเดียวเป็นต้นมา

โรงเรียนนาทรายวิทยาคม ตั้งอยู่เลขที่ 219 หมู่ 16 บ้านนามน ตาบลนาทราย อาเภอลี้ จั ง หวั ด ล าพู น อยู่ ห่ า งจากศาลากลางจั ง หวั ด ล าพู น ทางหลวงหมายเลข 1061 มาทางทิ ศใต้ ประมาณ 130 กิโลเมตร อยู่ห่างจากอาเภอลี้ จังหวัดลาพูนมาทางทิศใต้ 12 กิโลเมตร แยกมาตาม ทางท้องถิ่นหมายเลข 12271 ทางทิศใต้ ที่บ้านสามแยกประมาณ 6 กิโลเมตร จนมาถึงบ้านนา ทราย หมู่ 1 ตาบลนาทราย ผ่านวัดบ้านดอนแก้ว ซึ่งเป็นวัดประจาหมู่บ้าน และแยกจากทางท้องถิ่น หมายเลข 1227 เข้ามาในซอย 3 ทางทิศตะวันออก ประมาณ 120 เมตร จะถึงประตูโรงเรียน รอบ ๆ โรงเรียน ด้านทิศตะวันตก ทิศเหนือ เป็นที่ตั้งหมู่บ้าน ของชุมชน ส่วนด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ ติดกับ ไร่ สวน และที่ทามาหากินของชาวบ้าน ที่ปากทางเข้าโรงเรียนมีร้านค้าของชา และผ่า นเลย ไปจนสิ้นสุดหมู่ บ้านของเรา จะมี ร้านขายอาหารตามสั่ง ที่สามารถไปรับประทานได้จนถึง เวลา ประมาณ 20.00 น. ร้านจะปิด ตามแผนที่จากตัวอาเภอเมือง จังหวัดลาพูนจนมาถึงที่ตั้งของโรงเรียนนาทรายวิทยาคม พบว่า โรงเรียนนาทรายวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาที่อยู่ห่างไกลเกือบจะสิ้นสุดชายขอบของ จังหวัดลาพูนตามทางหลวงหมายเลข 1061 ผ่านอีก 2 ตาบล จะเข้าสู่เขตจังหวัดลาปาง ระยะทาง 50 กิโลเมตร แต่ถนนจะคดเคี้ยวบนไหล่เขา มีระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร เนื่องจากผ่านภูเขา สูง บางครั้งจะพบว่า หากชาวบ้านมีความต้องการวัสดุการก่อสร้าง ปูนผสมเสร็ จ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ไม่สามารถหาซื้อได้ในอาเภอลี้ จะเดินทางไปซื้อที่จังหวัดลาปางเพราะจะมีสินค้าให้เลือกซื้อได้ มากกว่า บริเวณโรงเรียนนาทรายวิทยาคม


35

โรงเรียนนาทรายวิทยาคม มีชื่อตามชื่อของตาบล คือ ตาบลนาทราย ในอาเภอลี้ มีตาบล ทั้งสิ้น 8 ตาบล โรงเรียนนาทรายวิทยาคม มีพื้นที่ 56 ไร่ 17 ตารางวา บริเวณภายในได้รับการ ออกแบบและจัดวางไว้อย่างเหมาะสมลงตัว แต่อาคารบางหลังมีสภาพเก่า เนื่องจากวัสดุที่นามา ก่อสร้าง และมีอายุการใช้งานนานแล้ว เช่น อาคารท้องถิ่นอนุสรณ์เป็นอาคารหลังแรกตั้งแต่เริ่ม ก่อตั้งโรงเรียน ปี พ.ศ. 2538 โรงอาหารซึ่งดัดแปลงปรับปรุงมาจากอาคารชั่วคราว ได้ถูกวาตภัยพัด พังลงมาเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2549 ถนนในบริเวณโรงเรียนเป็นดินลูกรัง ในหน้าแล้งจะมีฝุ่น กระจายเมื่อมีรถวิ่ง รั้วรอบ ๆ โรงเรียนด้านหน้าจากประตูทางเข้า 2 ข้าง เป็นกาแพงมีความยาวด้าน ละประมาณ 30 เมตร จากนั้นจะเป็นรั้วลวดหนามมีหญ้าและต้นไม้ขึ้นแซม สนามฟุตบอล มีสภาพ ลาดชันไม่ได้ระดับ และเป็นดินลูกรัง บ้านพักภารโรงสร้างด้วยไม้มีสภาพเก่าและผุผัง ในหน้าแล้ง สิ่งที่ต้องระวัง คือ ไฟป่า ซึ่งชาวบ้านจะมีการเผาหญ้าในนา หรือไร่อ้อย จะลุกลามและปลิวมาตก บริเวณในโรงเรียน ทาให้เกิดไฟไหม้ ต้องมีการถางแนวกันไฟไว้ เพื่อเป็นการป้องกัน สภาพดินในบริเวณโรงเรียนเป็นดินลูกรัง ทาให้ต้นไม้ในบริเวณโรงเรียนค่อนข้างเจริญ เติบโตช้า ต้นไม้ที่เจริญเติบโตได้ดี คือ ต้นไม้ในท้องถิ่นที่ขึ้นเองได้ เช่น สะเดา ขี้เหล็ก มะขาม และ ต้นไม้ ป่า ส่วนไม้ผลเช่น มะม่วง ลาไย หรือไม้เศรษฐกิจอื่น ๆ เมื่อนามาปลูกจะขึ้นช้า และจะแล้งตาย เนื่องจาก ระบบน้าในโรงเรียนจะมีปัญหาไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูกในแปลงเกษตรกรรม และ สระน้าที่มีอยู่ไม่สามารถเก็บกักน้าได้ในหน้าแล้ง พอถึงหน้าฝนจะมีน้าขังบ้างเล็กน้อย แต่ส่วนใหญ่ จะซึมหายไปหมด รอบ ๆ โรงเรียนตามแนวรั้ว มีถนนลูกรัง ด้านทิศเหนือ และทิศใต้ ส่วนด้านทิศตะวันตกติด กับชุมชนหมู่บ้าน ด้านทิศตะวันออกติดกับสวน ไร่ และที่ทากินของชาวบ้าน เลยจากที่ทากินของ ชาวบ้านขึ้นไปอีกประมาณ 500 เมตร จะเป็นสุสานของบ้านของเรา ซึ่งมีสภาพเป็น ป่าชุมชน หาก จะมี การเผาศพจะต้ องไปถางให้มี พื้นที่ สาหรับเผาศพ ยัง ไม่ มี เชิ งตะกอน และศาลา สาหรับ ให้ พระสงฆ์ และคนที่มีร่วมงานเผาศพนั่ง ต่อมาในปี 2550 ได้มีการก่อสร้างศาลาและห้องน้าขึ้นมา 1 หลัง จากการจัดงานผ้าป่าสามัคคีของชุมชนในหมู่บ้าน โรงเรียนตั้งอยู่บนเนินสูง ห่างจากถนนทางหลวงประมาณ 500 เมตร แยกทางเข้าโรงเรียน จะลาดชันขึ้นมา จนถึงอาคาร บริเวณที่ตั้งของโรงเรียนจะเป็นเนินสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงที่ทากินของชาวบ้าน ซึ่งประกอบด้วยไร่ ข้าวโพด สวนยางพาราซึ่งกาลังทดลองปลูกกันมาประมาณ 4-5 ปี ยังไม่มีผลผลิตให้เก็บเกี่ยว เมื่อถึงฤดูฝน น้าจะ ไหลลงจากบริเวณโรงเรียนลงสู่ที่ลาดต่ามายังหมู่บ้าน ซึ่งอยู่ต่ากว่า ไหลลงสู่ลาห้วยต่อไป (สารสนเทศโรงเรียนนา ทรายวิทยาคม, 2554)


36

การคมนาคมและสาธารณูปโภคพื้นฐาน โรงเรียนนาทรายวิทยาคม มีการคมนาคมที่สะดวก เนื่องจากมีถนนลาดยางเข้าถึง ห่าง จากตัวอาเภอท้องถิ่นไทยประมาณ 12 กิโลเมตร สามารถเดินทางด้วยรถยนต์ใช้เวลาประมาณ 15 นาที แม้ ถนนจะแคบ ไม่ มี รถโดยสารประจ าทางวิ่ง ผ่ านหน้ าโรงเรีย นเป็ นประจ า ในอดี ตหาก ชาวบ้านจะเดินทางไปในตัวอาเภอจะใช้รถส่วนตัว แต่ระยะหลังมีรถประจาทางวิ่งผ่านถนนท้องถิ่น หมายเลข 1277 เพื่อเข้าไปในอาเภอลี้ เช้า-เย็น ส่งผลทาให้นักเรียนไม่สามารถเดินทางมาด้วยรถ ประจาทางนี้ได้ เพราะเวลาเดินทางของรถประจาทางไม่แน่นอน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจานวนผู้โดยสาร ส่วนใหญ่นักเรียนจะใช้บริการรถรับส่งนักเรียน ระบบสาธารณู ปโภค โรงเรียนนาทรายวิทยาคมมีระบบสาธารณูปโภคโดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลางค่อนข้างมีปัญหา กล่าวคือ ระบบไฟฟ้าไม่ดีนัก เนื่องจากในบางวันจะมีไฟดับหรือ กระแสไฟฟ้าไม่สม่าเสมอ ส่งผลทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีเครื่องสารองไฟฟ้า ได้รับผลกระทบ เสียหายบ่อยครั้ง ส่วนระบบประปาของโรงเรียน ทางองค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน ได้ทาการขุด เจาะระบบประปาให้ ท างโรงเรี ย นเพื่ อ แก้ ปั ญ หาการขาดแคลนน้ าในช่ ว งเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ – พฤษภาคม ปัจจุบันโรงเรียนได้ใช้การติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์ และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงของ บริษัททีโอทีจากัด (มหาชน) ในการรองรับการเรียนการสอนผ่านระบบ School on line เมื่อปี พ.ศ. 2549 บริษัทโทรศัพท์มือถือระบบ AIS ได้มาทาการติดตั้งเสารับส่งสัญญาณ จึงทาให้ชาวบ้านได้ใช้ โทรศัพท์ติดต่อสื่อสารกันอย่างสะดวก และเมื่อต้นปี พ.ศ. 2551 บริษัท DTAC ก็ได้มาตั้งเสารับส่ง สัญญาณ และ True move ตามลาดับ ทาให้โรงเรียนมีทางเลือกในการติดต่อสื่อสารได้เพิ่มขึ้น ศักยภาพทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนตาบลท้องถิ่น 1. ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ 1.1 การประกอบอาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ของตาบลท้องถิ่นจะประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ ทานา ทาไร่ ข้าวโพด ไร่ถั่วเหลือง ไร่ถั่วลิสง ไร่มันสาปะหลัง ไร่มันฝรั่ง พริ กและทาสวน เช่น สวนมะม่วง สวน ลาไย สวนยางพารา 1.2 รายได้เฉลี่ยของประชากรทั้งตาบลท้องถิ่น 23 หมู่บ้าน เท่ากับ 23,000 บาท/คน/ปี (ข้อมูล จปฐ., 2553) ซึ่งเกิดจากประชาชนให้ความสาคัญในการทาการเกษตรมากขึ้น อีกทั้งมีการทาอาชีพเสริมหลัง ฤดูกาลเก็บเกี่ยว เช่น ทอผ้า ทา เครื่องเงิน ฯลฯ อีกทั้งภาครัฐได้เข้ามาให้การสนับสนุนตามโครงการแก้ไขปัญหา ความยากจนจึงส่งผลให้รายได้เพิ่มขึ้นในระดับหนึ่ง 1.3 ผลผลิ ต ที่ ส าคั ญ

ได้ แ ก่ 1.ข้ า ว 2.ข้ า วโพด

6.มะม่วง 7.กระเทียม 8.ถั่วเขียว 9.ถั่วเหลือง และอื่น ๆ

3.ล าไย 4.หอมแดง 5.มั น ฝรั่ ง


37

1.4 ด้านอุตสาหกรรมและการพาณิชย์ มีโรงงานอุตสาหกรรม จานวน 2 แห่ง โรงสีข้าว จานวน 22 แห่ง ร้านขายของชาทั่วไป จานวน 156 แห่ง ร้านอาหาร จานวน 20 แห่ง ปั๊มน้ามัน (หลอด)จานวน 19 แห่ง คลินิก จานวน 2 แห่ง ทาเครื่องเงิน จานวน 75 แห่ง ร้านสินค้า OTOP จานวน 1 แห่ง อู่ซ่อมรถ จานวน 12 แห่ง ร้านเสริม สวย, ตัดผม จานวน 6 แห่ง สหกรณ์ จานวน 1 แห่ง ร้านถ่ายเอกสาร จานวน 1แห่ง และโกดังเก็บของ จานวน 3 แห่ง 1.5 การรวมกลุ่มของชุมชนในพื้นที่ ประเภทกลุ่มเงินทุน กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน จานวน 20 กลุ่ม กลุ่มกองทุนเศรษฐกิจชุมชน จานวน 21 กลุ่ม ประเภทกลุ่มทางการเกษตร กลุ่มส่งเสริมอาชีพเกษตรกร จานวน 20 กลุ่ม ประเภทอาชีพอุตสาหกรรม กลุ่มส่งเสริมอาชีพอุตสาหกรรมครัวเรือน จานวน 4 กลุ่ม ประเภทกลุ่มออม ทรัพย์ กลุ่มออมทรัพย์ จานวน 8 กลุ่ม ประเภทกลุ่มอื่นจานวน 22 กลุ่ม

2. ศักยภาพด้านการเมือง ตาบลนาทราย มีองค์การบริหารส่วนตาบลนาทราย ซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่น ดูแลมีหมู่บ้านที่อยู่ในความรับผิดชอบจานวน 23 หมู่บ้าน มีนายกองค์การบริหารส่วนตาบล และมี ผู้ใหญ่บ้านและกานันรวม 23 หมู่บ้าน ในปี พ.ศ. 2548 สภาพการเมืองในท้องถิ่นพบว่า ทั้งนายก องค์การบริหารส่วนตาบลนาทราย กานันตาบลนาทราย และสมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ลาพูน เขตอาเภอลี้ไทย เป็นพี่น้องชาวปกากะญอ เนื่องจากมีประชากรของชาวปกากะญอ เพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ มาจากสาเหตุของสถิติการเกิดสูง และการอพยพเข้ามาจาก การย้ายถิ่นฐานจาก อาเภอท่า สองยาง จังหวัดตาก ในปี พ.ศ. 2551 เมื่อกานันหมดวาระลงได้มีการเลือกตั้งกานันขึ้นใหม่ ผู้ที่ ได้รับการเลือกตั้งเป็นชาวพื้นเมือง ทั้งพี่น้องชาวปกากะญอ และชาวพื้นเมือง ต่างก็อยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุขไม่มีปัญหาความขัดแย้งใด ๆ จะมีบ้างเล็กน้อยเกี่ยวกับวัยรุ่นในหมู่บ้านที่มีเรื่องชกต่อยใน เทศกาลงานบุญต่าง ๆ 3. ศักยภาพด้านสังคมและวัฒนธรรม 3.1 ด้านการศึกษา ตาบลท้องถิ่นมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 11 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง (โรงเรียนนาทรายวิทยาคม) โรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง โรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาส 2 แห่ง โรงเรียนปริยัติ ธรรม 1 แห่ง ที่อ่านหนังสือพิมพ์ 5 แห่ง ศูนย์บริการศึกษานอกโรงเรียน สาขา 1 แห่ง 3.2

สถาบันองค์กรทางศาสนา ตาบลนาทรายมี วัด 10 แห่ง สานักสงฆ์ 2 แห่ง โบสถ์ 1 แห่ง


38

3.3

สาธารณสุข ตาบลนาทรายมีสถานีอนามัยประจาตาบล /หมู่บ้าน 2 แห่ง สถานพยาบาล

เอกชน - แห่ง อัตราการมีและการใช้ส้วมราดน้าร้อยละ 100 ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน – แห่ง 3.4

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สถานีตารวจ ตาบล 1 แห่ง สถานีดับเพลิง - แห่ง ตู้ยาม

3.5

มวลชนจัดตั้ง ลูกเสือชาวบ้าน 1 รุ่น ๆ ละ 50 คน รวม 50 คน ไทยอาสาป้องกันชาติ 1 รุ่น รวม 150

ตารวจ 2 แห่ง

คน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) 2 รุ่น รวม 103 คน 3.6

วัฒนธรรมและการอยู่ร่วมกัน ของพี่น้องชาวปกากะญอ และชาวพื้นเมือง ต่างก็อยู่ร่วมกัน

อย่างสันติสุข เนื่องจากต่างก็มีความเชื่อและศรัทธาในครูบา วัฒนธรรมของชาวปกากะญอที่ยังคงสืบทอดความ เป็นอยู่ บ้าน กระท่อม การทอผ้า การทาเครื่องเงิน และประเพณีไว้อย่างเหนี่ยวแน่น จนมีการสร้างพระธาตุใหญ่ ขึ้นอย่างยิ่งใหญ่และตระการตา ในวันหยุดราชการหรือเทศกาลต่าง ๆ จะมีผู้มาเยี่ยมชมและมาทาบุญเป็นจานวน มาก ทาให้เศรษฐกิจของพี่น้องชาวปกากะญอ ดีขึ้นตามลาดับ นอกจากนั้นยังมีโครงการหลวงอีก 2 โครงการใหญ่ เพื่อช่วยเหลือชุมชนแห่งนี้

ลักษณะของนักเรียน ฐานะความเป็นอยู่ของผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนนาทรายวิทยาคม พบว่า ร้อยละ 80 เป็นเกษตรกร และมีฐานะค่อนข้างยากจน สอดคล้องกับข้อมูลพื้นฐานของ องค์การบริหารส่วน ตาบลนาทราย ปี พ.ศ. 2554 ด้านสภาพทั่วไปและสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม มีข้อมูลว่า อาชีพ ของประชากรของตาบลท้องถิ่น ด้านเกษตรกรรมร้อยละ 82.57 ประกอบด้วยอาชีพทานา ร้อยละ 32.49 รองลงมา ทาไร่ ร้อยละ 26.84 และทาสวนร้อยละ 23.24 ในขณะที่ไม่มีเขื่อนหรือระบบ ชลประทาน มีแต่เพียงห้วย หนอง คลองบึง ตามธรรมชาติ และจะเกิดภาวะแห้ง แล้งทุกปี เนื่องจาก อยู่ในที่สูงระหว่างหุบเขา ข้อมู ลจากการคัดกรองนักเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 พบว่า ในระดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาตอนต้นมีนักเรียนกลุ่มปกติร้อยละ 42.56 นักเรียนที่มีสัมพันธภาพทางสังคมเป็นจุด แข็งร้อยละ 3.59 นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษร้อยละ 17.95 นักเรียนที่มีปัญหาด้านการเรียนร้อย ละ 3.59 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือมีปัญหาในด้านร่างกายร้อยละ 2.05 มีปัญหาด้านอารมณ์ร้อยละ 2.56 มี ปั ญ หาด้ านความประพฤติ ร้ อ ยละ 4.10 มี พ ฤติ ก รรมอยู่ ไ ม่ นิ่ ง ร้ อ ยละ 5.13 มี ปั ญ หา ความสัมพันธ์กับเพื่อน (เก็บตัว) ร้อยละ 2.56 มีปัญหาด้านเศรษฐกิจร้อยละ 12.68 ด้านต้องได้รับ การคุ้มครองจากโรงเรียนร้อยละ 7.75 มีปัญหากับเพื่อนร้อยละ 1.41


39

ในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย มี นั ก เรี ย นกลุ่ ม ปกติ ร้ อ ยละ 44.66 นั ก เรี ย นที่ มี สั มพั นธภาพทางสั งคมเป็ นจุ ดแข็ งร้ อยละ 9.12 นั กเรี ยนที่ มี ความสามารถพิ เศษร้ อยละ 18.23 นักเรียนที่มีปัญหาด้านการเรียนร้อยละ 2.68 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือมีปัญหาในด้านร่างกายร้อยละ 1.61 มีปัญหาด้านอารมณ์ร้อยละ 8.04 มีปัญหาด้านด้านความประพฤติร้อยละ 10.99 มีพฤติกรรมอยู่ ไม่นิ่งร้อยละ 6.17 มีปัญหาด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน (เก็บตัว) ร้อยละ 0.54 มีปัญหาด้านปัญหาด้าน เศรษฐกิ จร้ อยละ 16.35 ด้ านต้ องได้ รั บการคุ้ มครองจากโรงเรี ยนร้ อยละ 9.38 มี ปั ญหากั บเพื่ อน ร้อยละ 4.56 ผลจากการสารวจข้อมูลการช่วยเหลือดูแลนักเรียนที่ด้อยโอกาสและยากลาบาก ของครูที่ ปรึกษาพบว่า นักเรียนที่เจ็บป่วย เรื้อรัง หรือพิการ ร้ อยละ 1.5 นักเรียนอยู่กับผู้ปกครองที่เจ็บป่วย เรื้อรัง หรือพิการไม่สามารถดูแลบุตรหลานได้ ร้อยละ 3.3 นักเรียนอยู่ตามลาพังไม่มีผู้ปกครอง หรือ ผู้ใหญ่ดูแลร้อยละ 0.3 นักเรียนอาศัยอยู่ในบ้านพักที่ทรุดโทรม ไม่ปลอดภัย เสี่ยงต่อการถูกละเมิด ร้อยละ 7.5 นักเรียนที่อยู่ในครอบครัวมีฐานะยากจนร้อยละ 71.4 นักเรียนที่ต้องรับภาระหน้าที่ใน ครอบครัวเกินวัย หรือเกินกาลังความสามารถไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ร้อยละ 0.9 นักเรียนที่ ประสบปัญหาอื่นๆ ที่จัดได้ว่าอยู่ในสภาวะยากลาบาก (ครอบครัวแตกแยก หย่าร้าง) ร้อยละ 15.1 นักเรียนปกติ ร้อยละ 17.0 การมีส่วนร่วมของชุมชนกับโรงเรียน ชุม ชนมี ส่ วนร่วมกับโรงเรียนเป็นอย่างดี สัง เกตจากการเข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การเข้ามาร่วมพัฒนาก่อตั้งโรงเรียน ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนที่จัด ขึ้น ทั้ง ที่ไ ด้เ ชิ ญหรือไม่ไ ด้เชิ ญเป็นทางการ แต่จากการประชาสัม พันธ์ เสียงตามสายของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ชุมชนจะรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เข้ามามีส่วนร่วม กับกิจกรรมของโรงเรียน ไม่ ว่าจะได้เป็น คณะกรรมการของโรงเรียนหรือไม่ก็ตาม ชุมชนมีความกระตือรือร้นที่จะเข้ามาร่วมงานต่าง ๆ เช่น การ เตรียม การจัดงานทอดผ้าป่า การมาร่วมทาขนมเทียนเพื่อต้อนรับผู้ที่จะมาร่วมงานตามธรรมเนียม ของชุมชนรอบโรงเรียน การมาร่วมเล่นกีฬาแม่บ้าน พ่อบ้าน ในกิจกรรมกีฬาภายในโรงเรียนของ โรงเรียน การมาร่วมประชุมผู้ปกครองนักเรียนซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมกันว่า ต้องมาร่วมอย่างน้อยภาค เรียนละ 1 ครั้ง การร่วมบริจาค ทรัพย์สิน ในการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาการศึกษา เช่นบริจาคไม้ เพื่อทาป้ายโรงเรียน บริจาคที่สาหรับทาป้ายหน้าโรงเรียน การบริจาคแรงงาน เป็นต้น จากข้อมูลข้างตนที่ได้กล่าวมาทางโรงเรียนได้ทาการวิเคราะห์สภาพปัญหาทั้งในโรงเรียน และนอกโรงเรียนพบข้อมูลดังนี้


40

การวิเคราะห์ด้านสภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมภายนอก 1.1. ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Socio-cultural Factors: S) สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็นโอกาสมากกว่า อุปสรรค เนื่องจากมีสภาพสังคมเป็นสังคมชนบท มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีสภาพสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติที่ยังอุดมสมบูรณ์ ชุมชนมีความเข้มแข็งให้ความช่วยเหลือและร่วมมือกับทางโรงเรียนในการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ มีแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นกาลังสาคัญใน การระดมพลังจากชุมชนและเป็นผู้ประสานงานในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเป็นอย่างดี มาโดยตลอด ชุมชนมีการทานุบารุงศาสนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมแก่ประชาชนในท้องถิ่น สืบสาน ฟื้นฟู เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการอนุรักษ์ สืบค้นและพัฒนาแหล่งโบราณสถาน –โบราณวัตถุ มีการส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาในท้องถิ่น ร่วมกับการจัดบริการสาธารณสุขที่ มีคุณภาพ มีการส่งเสริมและ พัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรท้องถิ่น จนทาให้ประชาชนเกิดสุขภาวะที่ดี ส่วนที่เป็นอุปสรรคที่พบในชุมชน คือ การดูแลเอาใจใส่บุตรหลานในด้านการเรียนมีค่อนข้างน้อย และ 1.

ผู้ ป กครองมี ค่ า นิ ย มส่ ง เด็ ก ไปเรี ย นต่ อ นอกพื้ น ที่ เช่ น โรงเรี ย นประจ าอ าเภอ หรื อ ในตั ว อ าเภอ ประชาชนมี ความสามารถด้านหัตถกรรม เช่น การทาเครื่องเงิน การทอผ้า แต่ยังมีความรู้ในเรื่องการออกแบบและบรรจุ ผลิตภัณฑ์ค่อนข้างน้อย ด้านเทคโนโลยี (Technological Factors: T) สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็น โอกาสมากกว่าอุปสรรค แม้ว่าโรงเรียนและชุมชนจะตั้ งอยู่ในพื้นที่ห่างไกลจากตัวเมือง แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ พื้นฐาน โดยองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ได้มาดเนินการติดตั้ง จึงทาให้ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึง เทคโนโลยีน้อยนอกจากนั้น ชุมชนยังมีแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาชาวบ้านซึ่งสามารถนามาประยุ กต์ใช้ในการ จัดการเรียนการสอนได้ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาชาวบ้าน มีระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ครอบคลุมทั้งตาบล สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวก มีการใช้อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงทาให้รับข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ได้รวดเร็ว ขึ้น 1.2.

ส่ ว นที่ เ ป็ น อุ ป สรรคอยู่ บ้ า งคื อ ผู้ ป กครองนั ก เรี ย นหรื อ ชุ ม ชนส่ ว นใหญ่ มี ก ารศึ ก ษาใน ระดับพื้นฐาน และส่วนใหญ่มีฐานะค่อนข้างยากจน จึงมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในชีวิตประจาวัน และการประกอบอาชีพค่อนข้างน้อย 1.3. ด้านเศรษฐกิจ (Economic factors: E) สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็น อุปสรรคมากกว่า โอกาส

เนื่องจาก ผู้ปกครองและชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตขึ้นอยู่กับปัจจัย ตามฤดูกาลและสภาพดิน ฟ้าอากาศ มีรายได้ไม่แน่นอน ส่งผลต่อการสนับสนุนการเรียนของนักเรียน และบางครั้งยังต้องการแรงงานจาก นักเรียน


41

ส่ ว นที่ เ ป็ น โอกาสอยู่ บ้ า ง คื อ โรงเรี ย น ตั้ ง อยู่ ใ นชุ ม ชนที่ มี โ ครงสร้ า งพื้ น ฐาน สาธารณู ป โภค สาธารณูปการ มีมาตรฐานเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน มีการพัฒนาอาชีพแก่ประชาชนจากหลาย หน่วยงาน รวมถึงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ ทั้งนี้ ชุมชนได้ทาการส่งเสริมและ พัฒนาปัจจัยเกื้อหนุนด้านเศรษฐกิจในท้องถิ่น เช่นการสร้ างระบบเครือข่าย การจัดตั้งตลาดกลางและศูนย์ จาหน่ายสินค้าท้องถิ่น การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว นอกจากนี้แล้วโรงเรียนยังได้รับการสนับสนุนด้าน งบประมาณจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานเอกชน นักเรียนส่วนใหญ่ก็รู้จักการช่วยเหลือ ครอบครัว โดยการหารายได้ระหว่างเรียนในช่วงวันหยุดทาให้ช่วยแบ่งเบาภาระทางเศรษฐกิจของครอบครัวให้ดี ขึ้นได้บ้าง

1.4. ด้านการเมืองและกฎหมาย (Political and legal factors: P) สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็น อุปสรรค

มากกว่าโอกาส เนื่องจากประชากรในท้องถิ่นมีความเข้าใจระบบการปกครอง ระเบียบ กฎหมายต่าง ๆ ค่อนข้าง น้อย โดยอาจคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว ประกอบกับปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ภาวะการเมือง จึงทาให้การสนับสนุน โรงเรียนมีข้อจากัด ส่วนที่เป็นโอกาสบ้าง คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุนการดาเนินของโรงเรียนทาให้ โรงเรียนดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รัฐบาลได้ประกาศใช้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ .ศ. 2542 ส่งผลให้เกิดความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนดีขึ้น

สภาพแวดล้อมภายใน 2.1. ด้านโครงสร้าง และนโยบายของโรงเรียน (Structure and Policy: S1) สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็น จุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน เนื่องจากโรงเรียนมีการจัดโครงสร้างการบริหารงานครอบคลุมภาระงานตามภาระงาน ที่ต้องทา ชัดเจน ส่งผลให้การบริหารมีประสิทธิภาพ มีการกาหนด นโยบายระเบียบ แนวทางการปฏิบัติ ที่ชัดเจน โปร่ ง ใส และตรวจสอบได้ มี ก ารก าหนดบทบาทหน้ า ที่ และภาระงานที่ ชั ด เจน ท าให้ ผลการปฏิ บั ติ ง านมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่วนที่เป็นจุดอ่อนบ้าง คือ ขาดบุคลากรตามกรอบอัตรากาลัง ประกอบกับมีการย้าย การโอน เข้า 2.

ออกโรงเรียนบ่อยครั้ง ทาให้ครูและบุคลากรปฏิบัติงานหลายด้านและสาหรับบุคลากรที่เข้ามาใหม่ ต้องมีการให้ ความรู้ ฝึกทักษะการทางาน อยู่เป็นประจา

2.2. ด้านการให้บริการและคุณลักษณะของผู้เรียน ( Service and products: S2) สรุปผลการวิเคราะห์

แล้วเป็น จุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน เนื่องจากนักเรียนส่วนใหญ่มีความสนใจใน ศิลปะ ดนตรี และกีฬา บางคน


42

ได้รับการคัดเลือกให้เป็นตัวแทนไปแข่งขันกีฬาในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและจังหวัดลาพูน รวมถึงระดับภูมิภาค มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีความร่าเริง แจ่มใส มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ส่วนที่เป็นจุดอ่อน คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในวิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ค่อนข้างต่า เนื่องจากนักเรียนขาดความสนใจ ไม่ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เห็นความสาคัญของการ เรียนน้อย และขาดความกระตือรือร้นในการเรียน

2.3. ด้ า นบุ ค ลากร ( Man: M1) สรุปผลการวิ เ คราะห์แ ล้ ว เป็น จุ ด แข็ ง มากกว่ า จุ ด อ่ อ น เนื่อ งจาก

บุคลากรมีเพียงพอตามเกณฑ์ มีอายุโดยเฉลี่ย 28 -29 ปี เสียสละ อุทิศตนและเวลาให้แก่ทางราชการ มีความ มุ่งมั่นในการทางาน มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี บุคลากรส่วนใหญ่มี ความรู้ตรงตามสายงานที่รับผิดชอบ ส่วนที่เป็นจุดอ่อนอยู่บ้าง คือ ครูมีทักษะการทางานเป็นทีม ประสบการณ์ในการทางานค่อนข้างน้อย ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ประกอบกับบุคลากรบางส่วนเริ่มมีภาระหนี้สิน

2.4. ด้านการเงิน (Money:M2) สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็นจุดอ่อนมากกว่าจุดแข็ง เนื่องจากโรงเรียน

มีขนาดใหญ่ขึ้น จากขนาดเล็กเป็นขนาดกลาง มีจานวนนักเรียนเพิ่มขึ้น ในขณะที่การจัดสรรงบประมาณจาก หน่วยงานต้นสังกัดและเงินอุดหนุนจากรัฐบาลนามาจัดทาโครงการเพื่อสวัสดิการนักเรียนค่อนข้างมากจึงทาให้ งบประมาณที่จะนาไปพัฒนาด้านอื่น ๆ จึงลดลง ส่ว นที่ เ ป็น จุ ด แข็ งบ้ า ง คือ โรงเรี ย นมี การบริ ห ารจั ด การที่ ดี สามารถใช้ง บประมาณในการพั ฒ นา โครงการได้อย่างประหยัดและคุ้มค่า

2.5. ด้า นวั สดุ อุ ปกรณ์ (Materials : M3) สรุปผลการวิ เ คราะห์แล้ ว เป็น จุ ด อ่อ นมากกว่ าจุ ด แข็ ง

เนื่องจากโรงเรียนมีความพร้อมในด้านวัสดุ อุปกรณ์ น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน กล่าว คือ มีห้องปฏิบัติการทาง ภาษา ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์รวม ยังไม่สามารถแยกสาขา (ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา) ห้องพยาบาลมีขนาด เล็ก ห้องสมุดมีครุภัณฑ์ไม่เพียงพอ สนามกีฬายังไม่ได้มาตรฐาน โรงฝึกงานที่ใช้สาหรับการสอนวิชาอาชีพ เกษตรกรรม และคหกรรม ยังขาดความพร้อม คอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอกับจานวนนักเรียน โรงอาหารที่มีขนาดไม่ เหมาะสมกับจานวนนักเรียน ส่วนที่เป็นจุดแข็งบ้าง คือ ครูมีการนาสิ่งที่มีในชุมชนมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน และโรงเรียนมี การส่งเสริมให้ครูและนักเรียนใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและรู้จักการประหยัด


43

ด้านการบริหารจัดการ (Management : M4) สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็น จุดแข็งมากกว่า จุดอ่อน เนื่องจากโรงเรียนมีการจัดวาง มาตรฐานการปฏิบัติงาน และระบบการนิเทศ กากับ ติดตามประเมินผล อย่างต่อเนื่อง การรายงานผลการดาเนินงาน และการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการเป็นปัจจุบัน มี ระบบการประกัน คุ ณ ภาพภายในสถานศึ ก ษาที่ มีป ระสิท ธิ ภาพ ทาให้ มีก ารบริ ห ารจั ดการที่สะดวกรวดเร็ ว สามารถตรวจสอบได้ มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ มีการจัดสวัสดิการ สร้างขวัญและกาลังใจในการ ปฏิบัติงานทาให้บุคลากรทางานได้เต็มศักยภาพ ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ส่วนที่เป็นจุดอ่อนบ้าง คือ การวางตัวบุคลากรในการทางาน เพราะบุคลากรมีการโยกย้ายบ่อย การส่ง 2.6.

ต่องานกันยังมีปัญหาบ้าง และยังขาดแคลนบุคลากรในบางภาระงาน ซึ่งทาให้ส่งผลต่อการบริหารจัดการของ โรงเรียน

ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียน จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก และภายในของโรงเรียน สถานภาพของโรงเรียนเป็น “ไม่เอื้อ แต่แข็ง (CASH COW) คือ โรงเรียนมีสมรรถนะภายในที่เข้มแข็งแต่ยังขาดการสนับสนุนจากภายนอกเท่าที่ควร กล ยุทธ์ ที่นามาใช้ คือ การพัฒ นาสมรรถนะภายในโรงเรีย น เพื่อ รอโอกาสที่ เหมาะสมในการด าเนิ นกิ จการให้ เจริญเติบโตในอนาคต โรงเรียนจึงจาเป็นต้อง เร่งรัดพัฒนา และประชาสัมพันธ์โรงเรียนให้เป็นที่รู้จักของชุมชน ประสานเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกเพื่อร่วมมือกันในการพัฒนาโรงเรียน และดาเนินการพัฒนา ครูและบุคลากรของโรงเรียนให้มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริม สนับสนุน ในเรื่ อ งการจั ด การศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน โดยความร่ ว มมื อ ของผู้ มี ส่ว นเกี่ ยวข้ อ งกั บ สถานศึกษา พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการตามหลัก การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ส่งเสริมการใช้สื่อ เทคโนโลยีให้หลากหลายขึ้น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการ บริหารและการจัดการศึกษาของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา พัฒนาระบบสารสนเทศ กากับ นิเทศ ติดตาม ตลอดจนการรายงานผล เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงสุด และจัดกิจกรรมที่ทาให้ นักเรียนเป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะที่อันประสงค์ (โครงการนาร่องโรงเรียนนาทราย, 2554)


44

ภาพที่ 1 การวิเคราะห์สภาพปัญหาของสภาพแวดล้อมภายนอก และภายในของโรงเรียน


45

บทที่ 3 วิธีดาเนินการ

จากการร่วมกันวิเคราะห์สภาพบริบทของโรงเรียน กาหนดสถานภาพ ทิศทาง เป้าหมาย โดยการจัดทาประชาคม ระดมความคิดเห็นร่วมกัน ของครู บุคลากรทางการศึกษา ตัวแทนนักเรียน ของโรงเรียน องค์กรชุมชน และผู้ เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในการแก้ปัญหาและ ศึกษาหาความต้อ งการของชุ ม ชน ทั้ง ในด้านการศึก ษาสายสามั ญ สายอาชี พ ประวัติศ าสตร์ ศาสนา ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ดนตรี กี ฬ า สุ ข ภาพ ได้ ข้ อ สรุ ป ด าเนิ น โครงการน าร่ อ งฯ เพื่ อ พัฒนาการเรียนรู้ ของนักเรียน โรงเรียน และชุมชน จึงได้สรุปจัดทาแผนพัฒนาการจัดการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมเพื่อสุขภาวะที่ดี ผ่านโครงการ 5 โครงการ คือ 1. โครงการเรียนแบบมีส่วนร่วมอย่าง จริงจังและสร้างสรรค์ (ด้านการเรียนรู้) 2. โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้าน อาชีพ) 3. โครงการสุขภาพดีวิถีไทย (ด้านสุขภาพ) 4. โครงการย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ (ด้าน ประเพณีและวัฒนธรรม) และ 5. โครงการชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรา (ด้านสิ่งแวดล้อม) แต่ละโครงการมีกิจกรรมย่อย ดังนี้ โครงการที่ 1 เรียนรู้แบบมีส่วนร่ว มอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ (ด้านการเรียนรู้) มี 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1.1 ครูเสริม พี่สอน น้องสาน (สาหรับนักเรียนชั้น ป.6 และ ม.1 ที่มีปัญหา) กิจกรรมที่ 1.2 เรียนรู้จากครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ (สาหรับนักเรียนทุกคนในโรงเรียน) โครงการที่ 2 โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ) (ปลูกเอง ขายเอง กินเอง และบริหารจัดการเอง) มี 3 กิจกรรม กิจกรรมที่ 2.1 จัดตั้งกลุ่มเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวันสาหรับนักเรียน แบบยั่งยืน กิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน กิจกรรมที่ 2.3 โครงการอาหารกลางวัน

โครงการที่ 3 สุขภาพดีวิถีไทย (ด้านสุขภาพ) มีกิจกรรม 3 กิจกรรม ได้แก่


46

กิจกรรมที่ 3.1 การดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมชน กิจกรรมที่ 3.2 การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพ อย่างยั่งยืน กิจกรรมที่ 3.3 การออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง โครงการที่ 4 ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ (ประเพณีและวัฒนธรรม) มี 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 4.1 ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ กิจกรรมที่ 4.2 การสืบสานประเพณีและวัฒนธรรม

โครงการที่ 5 ชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรา (สิ่งแวดล้อม) มี 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 5.1 พฤกษศาสตร์น่ารูส้ ู่ชุมชน กิจกรรมที่ 5.2 พฤกษศาสตร์น่ารูส้ ู่โรงเรียน

การดาเนินการ ของแต่ละโครงการ มีรายละเอียด ดังนี้ โครงการที่ 1 เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ เป็นโครงการเพื่อพัฒนาด้าน การเรียนรู้ มี 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1.1 ครูเสริม พี่สอน น้องสาน สาหรับนักเรียนชั้น ป.6 โรงเรียนในเครือข่าย ศรีเวียงชัย โดยการคัดกรองจากครูประจาชั้น และนักเรียนชั้น ม.1 ของโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ที่ มีปัญหาด้านการอ่านออกเขียนได้ โดยการคัดกรองจากครูผู้สอนวิชาภาษาไทย โดยมีเป้าหมาย เพื่อนักเรียนทุกคนมีพัฒนาการสูงขึ้น โดยกาหนดเกณฑ์การประเมิน คือ นักเรียนมีคะแนนจากการ ทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีวิธีดาเนินการ ดังนี้ 1) จั ด ประชุ ม สั ม มนาผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาหรื อ ตั ว แทนโรงเรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษาในเครื อ ข่ า ย สถานศึกษาศรีเวียงชัย ณ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม ตาบลนาทราย อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน เพื่อสารวจข้อมูล และศึกษาความต้องการเข้าร่วมโครงการฯ เมื่อ วันที่12 กรกฎาคม 2554 2) จัดประชุมครูประจาชั้นในเครือข่ายฯ เพื่อกาหนดโครงการสอน จัดทาแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ และสื่อประกอบ ณ ห้องโสตทัศนศึกษา โรงเรียนนาทรายวิทยาคม วันที่12 กรกฎาคม 2554 (ภาคผนวก ก)


47

3) จัดทาเอกสารประกอบการสอนกิจกรรมครูเสริม พี่สอน น้องสาน วันที่ 21 ตุลาคม 2554 4) ครูผู้สอนรายวิชาภาษาไทยโรงเรียนนาทรายวิทยาคม นาเอกสารประกอบการสอนกิจกรรมครูเสริม พี่สอน น้ อ งสาน ที่ ได้ร่ วมกัน จั ด ท ากั บครู ผู้สอนวิช าภาษาไทยของโรงเรีย นระดับ ประถมศึก ษาในเครื อข่ า ย สถานศึกษาศรีเวียงชัยไปมอบให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของแต่ละโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2554 5) ครูผู้สอนรายวิ ชาภาษาไทย โรงเรียนนาทรายวิทยาคมและนั กเรี ยนระดับชั้ นมั ธ ยมศึ กษาปีที่ 3 จานวน 6 คน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 3 โรง ได้แก่ โรงเรียนบ้านฮั่ว โรงเรียนบ้านนาทราย โรงเรียนบ้านผาลาด โดยมีกิจกรรม ดังนี้ (1) กิจกรรมสร้าง ความสัมพันธ์เพื่อให้รุ่นพี่และรุ่นน้องได้รู้จักกัน

(2) ทดสอบทักษะพื้นฐานการอ่านของนักเรียนตามเอกสาร

ประกอบการสอน (3) จัดกิจกรรมการสอนตามแบบฝึก 1 และแบบฝึกที่ 2 (4) หารือร่วมกันกับครูประจาชั้นของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อจัดรุ่นพี่ที่เรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคมและอยู่ในหมู่บ้ านเดียวกับรุ่นน้อง วันที่ 17 พฤศจิกายน 2554 6) นักเรียนรุ่นพี่ที่อยู่ในหมู่บ้านเดียวกับรุ่นน้อง ไปสอนที่บ้านในตอนเย็นและวันเสาร์ – วันอาทิตย์ ระหว่างเดือนธันวาคม 2554 – เดือน มกราคม 2555 7) ทดสอบทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมครูเสริม พี่สอน น้องสาน ทั้ง 19 คน วันที่ 30 มกราคม 2555 8) ครูประจาชั้น ดาเนินการแก้ไข ปรับปรุง พัฒนานักเรียนทักษะการอ่านและการเขียนอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 1.2 เรียนรู้จากครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นสาหรับนักเรียนทุกคนทุก ระดับชั้น ในโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ทั้งนี้เพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั่วโลกผ่านอินเตอร์เน็ต โดย กาหนดเกณฑ์ คือ นักเรียนทุกคนได้ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษาค้นคว้าไม่ต่ากว่า 15 ชั่วโมง ต่อภาคเรียน มี วิธีดาเนินการ ดังนี้ 1) จัดประชุมคณะทางาน และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดหลักสูตร และแนวทางการดาเนินงานเรียนรู้ จากครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ครู เรื่อง การนาความรู้จากอินเตอร์เน็ต และสื่อ ICT มาใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ การพัฒนาเว็บเพ็จ และโปรแกรมพัฒนา E-learning คือโปรแกรม MODULE วันที่ 18 – 19 มิถุนายน 2554


48

3) ครูสร้างและพัฒนาเว็บเพ็จ E-learning ของตนเอง โดยใช้โปรแกรม MODULE วันที่ 18 – 19 มิถุนายน 2554

4) ครูจดั กิจกรรมการเรียนรูจ้ ากครูทั่วโลกผ่านอินเตอร์เน็ต (School online) แก่นักเรียนทุกห้อง 5) ประเมินผลการจัดกิจกรรมจากแบบบันทึกการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการค้นคว้า (ภาคผนวก ข)

โครงการที่ 2 โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ เป็นโครงการเพื่อพัฒนาด้านอาชีพ โดยการ น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล ฯ มาใช้ในโรงเรียน โดยการจัดตั้งกลุ่ม เกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวันสาหรับนักเรียนแบบยั่งยืน (ปลูกเอง ขายเอง กิน เอง) โดยกาหนดเกณฑ์การประเมิ น คือให้นั กเรียนปลูกพืชผัก สวนครัว ทุกห้องสาหรับในโรงเรียน และนอก โรงเรียนสาหรับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีวิธีดาเนินการดังนี้ จัดประชุมคณะทางาน ผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดาเนินโครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพ และรายได้ วันที่ 11 เมษายน 2554 2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้และทักษะ แก่นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ในเรื่อง “เกษตรแบบพอเพียง” และ “กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน” เป็นเวลา 2 วัน จานวน 50 คนโดยได้เชิญ วิทยากรจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตลาปาง จังหวัดลาปาง วันที่ 9 -10 มิถุนายน 2554 (ภาคผนวก ง) 1)

3) โรงเรียนได้มอบเมล็ดพันธุ์และกล้าพันธุ์ จานวน 15 ชนิด แก่นักเรียนและผู้ปกครอง นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้แก่ เมล็ดพันธุ์ผักคะน้า ฟักทอง แตงกวา พริกหนุ่ม ผักกาดกวางตุ้ง ผักบุ้ง มะเขือเทศ ฟักเขียว ผักกาดขาว ถั่วฝักยาว พริกขี้หนู มะเขือ ผักกาดหอม กระเจี๊ยบเขียว และ กล้าพันธุ์ชะอม วันที่ 29 กรกฎาคม 2554 4) กิจกรรมการ “ปลูกเอง” แบ่งออกเป็น 2 กิจกรรม ดังนี้ 4.1 กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ในโรงเรียน จานวน 4 ไร่ 4.2 กิจกรรมปลูกผักสวนครัวที่บ้านของนักเรียนซึ่งผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วม โครงการฯ จานวน 25 ครอบครัว 5) กิจกรรม “ขายเอง” 5.1 จัดตั้งและดาเนินกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนนาทรายวิทยาคม โดยใช้รูปแบบของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วันที่ 16 มิถุนายน 2554


49

5.2 จัด ท าระเบี ย บกิ จกรรมสหกรณ์ ใ นโรงเรี ย น โดยก าหนดให้ส มาชิก มี หุ้ น ดั ง นี้ นักเรียนอย่างน้อยคนละ 1 หุ้น ครูและบุคลากรทางการศึกษามีหุ้นอย่างน้อยคนละ 10 หุ้น ๆ ละ 10 บาท 5.3 สหกรณ์รับซื้อวัตถุดิบด้านการเกษตร จากสมาชิกสหกรณ์ เพื่อนาไปจาหน่ายแก่ ผู้รับจ้างเหมาประกอบอาหารกลางวันตามโครงการอาหารกลางวัน ตามบันทึกข้อตกลง (ภาคผนวก ค) 5.4 จัดบริการอาหารกลางวัน ตามกิจกรรม “กินเอง” 6) กิจกรรม “กินเอง” 6.1 วางแผนก าหนดรายการอาหารอย่ างมีส่วนร่วม โดยการมี ส่วนร่วมระหว่างครู โภชนาการ นักเรียนชุมนุมอย.น้อย และตัวแทนคณะกรรมการนักเรียน เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อจัดส่งให้ ผู้ประกอบการฯ 6.2 บริการอาหารกลางวันตามโครงการอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 3 วัน 6.3 ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการบริการอาหารกลางวัน โดยครูโภชนาการ โรงเรียน ชุมนุม อย.น้อย ตัวแทนคณะกรรมการนักเรียน และครูเวรประจาวันในแต่ละสัปดาห์ โครงการที่ 3 สุขภาพดีวิถีไทย เป็นโครงการเพื่อพัฒนาด้านสุขภาพ แบ่งออกเป็นกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1. การดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายชุมชน เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นสาหรับ ส่งเสริม/พัฒนา ป้องกัน และช่วยเหลือ นักเรียนด้วยวิธีการที่ หลากหลาย สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ และสภาพบริบทของโรงเรียน โดยกาหนดเกณฑ์ คือ เยี่ยมบ้าน นักเรียนทุกคนภาคเรียนละ 1 ครั้ง มีวิธีดาเนินการดังนี้

1) จัดประชุมคณะกรรมการดาเนินงานเพื่อกาหนดขอบเขตการทางาน (ภาคผนวก จ) 2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างบุคลากรในโรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อ สร้างความร่วมมือและความเข้าใจ ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกัน วันที่ 26 สิงหาคม 2554 3) ดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประกอบด้วย 1) รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2) คัดกรองนักเรียน 3) ส่งเสริม พัฒนา 4) แก้ไข ปรับปรุง 5) ส่งต่อ (ทั้งภายในและภายนอก) 4) ครูที่ปรึกษาและนักเรียน ร่วมกันจัดทาแผนที่เดินดิน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชนที่ นักเรียนอาศัยอยู่ และนามาประกอบการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และการคัดกรองนักเรียน 5) จัดกิจกรรม ที่เหมาะสม เพิ่มเติมเพื่อ ส่งเสริม/พัฒนา สาหรับนักเรียนกลุ่มพิเศษ


50

6) จัดกิจรรมเพิ่มเติม เพื่อป้องกัน สาหรับนักเรียนกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง 7) ช่วยเหลือและส่งต่อทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน สาหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่ม ที่มีปัญหา เช่น การนานักเรียนไปเข้าร่วมกิจกรรมจิตสาธารณะที่วัดพระธาตุห้าดวงในการจัดปริวาส กรรมพระภิกษุสามเณร ระหว่างวันที่ 10 – 20 มกราคม ของทุกปี และเข้าค่ายปฏิบัติธรรมแสงส่อง ใจ ณ วัดห้วยบง อาเภอลี้ จังหวัดลาพูนเป็นต้น 8) เฝ้าระวัง แก้ไข พฤติกรรมนักเรียน ด้านสุข ภาพกายและใจ อย่างต่อเนื่อง โดยร่วมกับ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ตรวจวัด น้าหนัก ส่วนสูง ความดัน สายตา เป็นต้น เพื่ อเป็ นการป้ องกั นและแก้ ไ ข และร่วมกั บสถานีตารวจภูธ รอาเภอลี้ ในการสุ่มตรวจปัส สาวะ นักเรียน เพื่อตรวจสารเสพติด ตลอดทั้งโรงพยาบาลลี้ ในการให้ตรวจรักษา พยาบาล หากนักเรียนมี ปัญหาด้านสุขภาพ กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการ ส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน เป็นกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์อันดีของครอบครัว เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ลดช่องว่างระหว่างวัยในตัวเด็กนักเรียนกับผู้ปกครอง เป็นการเสริมสร้างสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง โดย กาหนดเกณฑ์ คือ นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีพฤติกรรม ที่ดีขึ้นตามลาดับ มีวิธีดาเนินการดังนี้

1) ประชุมคณะทางานเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรม ประสานวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ที่ เกี่ยวข้องกับกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ได้แก่ กองสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วน ตาบลนาทราย อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลนาทราย และคณะครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคม วันที่ 4 - 10 กรกฎาคม 2554 2) อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพั นธ์ที่ดีในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพ อย่างยั่งยืนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงด้านการคุ้มครอง จานวน 25 คน ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงฯ จานวน 25 คน รวมทั้งสิ้นจานวน 50 คน ณ วัดบ้านใหม่ศิวิไล อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน วันที่ 4 – 5 สิงหาคม 2554 (ภาคผนวก ฉ) 3) ประเมินผลการจัดกิจกรรม และติดตาม โดยการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้เกิดผลต่อการเรียน กิจกรรมที่ 3 การออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง เป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างความแข็งแรงของนักเรียน ทาให้นักเรียนได้ออกกาลังกาย


51

จัดตั้งนักเรียนชุมนุม To be number one และจัดกิจกรรมออกกาลังกายทุกเช้า และในชั่วโมงส่งเสริม สุขภาพ ในทุกวันอังคาร ทุกสัปดาห์ 2) จัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในเชื่อมความสัมพันธ์กับชุมชน และแข่งขัน Aerobic dance วันที่ 9 มกราคม 2555 3) จัดทาแผนผังเครือญาติของนักเรียนทุกคน เพื่อให้นักเรียนทุกคนรู้จักสุขภาพอนามัยของครอบครัว ของตัวเองและเฝ้าระวังความเสี่ยงในโรคทางพันธุกรรมที่จะเกิดขึ้น 1)

โครงการที่ 4 ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ เป็นโครงการเพื่อพัฒนาประเพณีและวัฒนธรรม มี กิจกรรมย่อย 2 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 4.1 ศึกษาประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่นเมืองลี้ เป็นกิจกรรมที่ รวบรวม และ เผยแพร่ประวัติศาสตร์ ทานุบารุง รักษา วัฒนธรรมท้องถิ่นของอาเภอลี้ และสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาต่อยอดวัฒนธรรมท้องถิ่น มีวิธีดาเนินการดังนี้

1) ครูและนัก เรีย น ร่วมกั น ประชุม วางแผน เตรี ย มวิธีก ารศึก ษาประวั ติศาสตร์ และ วัฒนธรรมท้องถิ่นเมืองลี้ ซึ่งมีอายุครบ 100 ปีของการก่อตั้งอาเภอลี้ (ปี พ.ศ. 2454) 2) ศึกษา สืบค้น จากเอกสารที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเมืองลี้ 3) สัมภาษณ์ผู้อาวุโสในท้องถิ่น วัฒนธรรมอาเภอ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ทรงคุณวุฒิ แล้ว บันทึกข้อมูล 4) จัดท าแผนที่ และข้ อมู ล ประวัติความเป็นมา วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ของแต่ล ะ หมู่บ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ โดยให้นักเรียนไปสัมภาษณ์ ผู้อาวุโสในหมู่บ้าน 5) นาข้อมูลที่ได้จากข้อ 2 – 4 มาวิเคราะห์สังเคราะห์จัดทาเป็นเอกสารฯ ฉบับร่างฯ ครั้งที่ 1 6) เข้ า ร่ ว มจั ด ประชุ ม สั ม มนาประวั ติ เ มื อ งลี้ ในวั น ที่ 2 ธั น วาคม 2554 ร่ ว มกั บ สภา วัฒนธรรมอาเภอลี้ ในงานเทศกาลของดีอาเภอลี้ ช่วงวันที่ 2 - 6 ธันวาคม 2554 7) แก้ไข ปรับปรุง และจัดทาเป็นร่างฯ ครั้งที่ 2 8) นาเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่านเพื่อตรวจสอบ 9) จัดพิมพ์เอกสารประกอบการเรียน ประวัติเมืองลี้ 10) จัดกิจกรรมเพิ่มเติม คือ “มัคคุเทศก์น้อย” โดยฝึกอบรมนักเรียนในหมู่บ้านห้วยต้ม และ ให้ออกไปแนะนาแก่นักท่องเที่ยว ที่มาเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ ในบริเวณวัดพระบาทห้วยต้ม ศูนย์ หัตถกรรมผ้ากระเหรี่ยง และพระธาตุศรีเวียงชัย


52

กิจ กรรมที่ 4.2 เข้า ร่ว มประเพณีในท้องถิ่นอย่า งมี ส่ว นร่ว ม เป็นกิ จ กรรมที่ให้ นักเรียนและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในวันสาคัญ เช่น วันเข้าพรรษา วันลอยกระทง นักเรียน อีกทั้งยัง เป็นการสืบสานวัฒนธรรมประเพณี ไม่ ให้สูญหายไปจากชุมชนที่นักเรียนอยู่ อาศัย และเกิดความรักความหวงแหนในถิ่นฐานเป็นเกิดของตนเอง มีวิธีดาเนินการดังนี้ ประชุมคณะกรรมการ เพื่อวางแผนดาเนินงานเข้าร่วมประเพณีในท้องถิ่นตลอดทั้งปี 2) จัดให้มีห้องจริยธรรม เพื่อใช้สาหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 3) จัดให้มีการนิมนต์พระมาประจาเพื่อสอนศีลธรรมในโรงเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 รูป 4) จัดให้มีโครงการฝึกอบรมนั กเรีย นให้เ ป็น “มัคนายกน้อย” เพื่อนากล่า วคาบูชา คาอาราธนา ค า ถวายสิ่งของให้พระสงฆ์ ในพิธีทางศาสนาต่าง ๆ ในโรงเรียน 5) โรงเรียนเป็นสถานที่สอบธรรมศึกษา (สอบธรรมสนามหลวง) และสอบธรรมะก้าวหน้าของสมาคม พุทธศาสตร์สากลแห่งประเทศไทย โรงเรียนได้กาหนดให้นักเรียน และครูบุคลการทางการศึกษาสอบธรรมศึกษา ให้ได้อย่างน้อย ธรรมศึกษาตรี 6) นักเรียนและคณะครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคมทุกคน เข้าร่วมกิจกรรมหล่อเทียนพรรษา และแห่ เทียนจานาพรรษา ณ วัดในอาเภอลี้ จานวน 5 วัด 7) นักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคมทุกคน เข้าร่วมประเพณีลอยกระทง ในหมู่บ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ โดยนักเรียนได้บันทึกกิจกรรมที่หมู่บ้านจัดขึ้น และรายงานการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการสืบสานประเพณี ลอยกระทง 8) นักเรียนทุกคนฝึกมารยาทไทย ตามโครงการพัฒนาส่งเสริมอัตลักษณ์ของนักเรียน คือ “ไหว้งามมี ความอ่อนน้อม” ทุกวัน และเอกลักษณ์ของโรงเรียน คือ “คนดีมีอาชีพ” 9) จัดให้มีการประกวดสวดสรภัญญะ และประกวดมารยาทไทย ของนักเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง 10) จัดให้คณะกรรมการนักเรียน ร่วมกับครูเวรประจาวัน ยืนคอยพบกับนักเรียนหน้าประตูโรงเรียนเพื่อ ไหว้และทักทาย 11) จัดให้นักเรียนมีการไหว้ซึ่งกันและกัน ในพิธีการหน้าเสาธงทุกวัน และไหว้ครูที่ปรึกษาก่อนกลับบ้าน 1)

โครงการที่ 5 ชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรา เป็นโครงการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อม มี กิจกรรมย่อย 2 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 5.1 พฤกษศาสตร์น่ารู้สู่ชุมชน เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังจิตสานึกให้นักเรียน เกิดความตระหนักถึงความสาคัญของต้นไม้ ป่าไม้ และพันธุ์ไม้ในชุมชนที่นักเรียนอยู่อาศัย อีกทั้ง ยังเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนและชุมชนเกิดความรักและห่วงแหนต้นไม้ที่ได้ทาการปลูกร่วมกันใน โรงเรียนสวนป่าชุมชน มีวิธีดาเนินการดังนี้ 1) คณะดาเนินการจัดหาพันธุ์ไม้ โดยขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานจัดการต้ นน้าแม่ลี้ หน่วยจัดการต้นน้าแม่แตะ หน่วยต้นไม้ และเรือนเพาะชาแขวงการทางลาพูน และหน่วยป้องกัน


53

รักษาป่าลาพูนเขต 5 สาหรับพันธุ์ไม้ที่จัดหาได้แก่ ต้นสัก มะขาม ขี้เหล็ก มะม่วง ขนุน ไผ่ จามจุรี ราชพฤกษ์ เหลืองอินเดีย และมะขามป้อม ในวันที่ 11 กรกฎาคม 2554 จานวน 1,000 ต้น 2) จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และการสร้างจิตสานึกให้นักเรียน จานวน 470 คน โดยวิทยากรจากอุทยานแห่งชาติแม่ปิง อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน ในวันที่ 7 กรกฎาคม 2554 3) นักเรียน คณะครูบุคลากรทางการศึกษา ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เตรียมพื้นที่ ปลูกต้นไม้ในสวนป่าชุมชนบ้านนามนและบ้านฮั่ว จานวน 1,000 หลุม โดยแบ่งครู และนักเรียน ตามสายรถรับส่ง เป็นสองกลุ่ม เพื่อเตรียมพื้นที่ในการปลูกต้นไม้ ในสวนป่าชุมชนบ้านนามนและ บ้านฮั่ว ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2554 4) นักเรียน คณะครูบุคลากรทางการศึกษา ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปลูกและดูแล ต้นไม้ในสวนป่าชุมชนบ้านนามน จานวน 500 ต้น ตลอดจนริมถนนทั้ง 2 ข้างในหมู่บ้านฮั่ว จานวน 500 ต้น โดยแบ่งครู และนักเรียนตามสายรถรับส่ง เป็นสองกลุ่ม เพื่อปลูกต้นไม ใ้ นสวนป่าชุมชน บ้านนามนและบ้านฮั่ว ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2554 5) นักเรียน คณะครูบุคลากรทางการศึกษา ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ทาการปลูก ซ่อมแซมต้นไม้ จานวน 200 ต้น ที่ตายลงในสวนป่าชุมชนบ้านนามนและบ้านฮั่ว วันที่ 2 ธันวาคม 2554 กิจกรรมที่ 5.2 พฤกษศาสตร์น่ารู้สู่โรงเรียน เป็นกิจกรรมที่ทาให้นักเรียนได้เกิดความรู้ในเรื่องพันธุ์ ไม้ในโรงเรียน การทาทะเบียนพรรณไม้ ข้อมูลพันธุ์ไม้ ป้ายข้อมูลพันธุ์ไม้ สาหรับติดตามต้นไม้ในโรงเรียนพร้อม ทั้งได้กาหนดผู้รับผิดชอบต้นไม้แต่ละต้นในโรงเรียน เพื่อทาการดูแลรักษา ให้ต้นไม้ที่นักเรียนได้รับผิดชอบนั้น เจริญเติบโต มีวิธีดาเนินการดังนี้

1) จัดประชุมคณะกรรมการ จานวน 100 คน เพื่อหาแนวทางการจัดทาสวนพฤกษศาสตร์ ในวันที่ 12 กรกฎาคม 2554 2) คณะดาเนินการจัดหาพันธุ์ไม้ โดยขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานจัดการต้นน้าแม่ลี้ หน่วยจัดการต้นน้าแม่แตะ หน่วยต้นไม้ และเรือนเพาะชาแขวงการทางลาพูน และหน่วยป้องกัน รักษาป่าลาพูนเขต 5 สาหรับพันธุ์ไม้ที่จัดหาได้แก่ ต้นสัก มะขาม ขี้เหล็ก มะม่วง ขนุน ไผ่ จามจุรี ราชพฤกษ์ เหลืองอินเดีย และมะขามป้อม ในวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 จานวน 1,000 ต้น 3) นักเรียน คณะครูบุคลากรทางการศึกษา เตรียมพื้นที่ปลูกต้นไม้ ในโรงเรียน จานวน 1,000 หลุม ในวันที่ 16 มิถุนายน 2554 4) นักเรียน คณะครูบุคลากรทางการศึกษา ปลูกและดูแลต้นไม้ในโรงเรียน จานวน 1,000 หลุม ในวันที่ 16 มิถุนายน 2554


54

5) คณะทางาน และนักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ ทาการสารวจพันธุ์ไม้ในโรงเรียน โดยให้นักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ ทาการสารวจพันธุ์ไม้ในโรงเรียน ตามบริเวณที่รับผิดชอบ 6) คณะทางาน และนักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ ทาทะเบียนพันธุ์ไม้และแผนผังพันธุ์ ไม้ เพื่อทาการติดข้อมูลพันธุ์ไม้บริเวณโรงเรียน 7) นักเรียน คณะครูบุคลากรทางการศึกษา ได้ทาการซ่อมแซมปลูกต้นไม้ จานวน 300 ต้น ในบริเวณโรงเรียน วันที่ 2 ธันวาคม 2554


55

บทที่ 4 ผลการดาเนินการ

การดาเนินการโครงการทั้ง 5 โครงการ คือ 1. โครงการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง และสร้างสรรค์ (ด้านการเรียนรู้) 2. โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ) 3. โครงการสุขภาพดีวิถีไทย (ด้านสุขภาพ) 4. โครงการย้อนรอยประวัติศาสตร์เมือ งลี้ (ด้านประเพณี และวัฒนธรรม) และ 5. โครงการชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรา (ด้านสิ่งแวดล้อม) เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 จนถึง กุมภาพันธ์ 2555 พบว่า โครงการส่วนใหญ่ได้ดาเนินการเสร็จ สิ้นแล้ว จะเหลืออยู่บ้างบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผล ซึ่งการดาเนินการในช่วงระยะเวลาที่ ผ่านมาทุกโครงการประสบผลสาเร็จและมีผลการดาเนินงาน ดังนี้ โครงการที่ 1 เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ กิจกรรมที่ 1 ครูเสริม พี่สอน น้องสาน ได้มีการทดสอบความรู้ทักษะการอ่าน และการเขียน ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้คะแนน ดังตาราง 1 และ 2 ต่อไปนี้ ตาราง 1 คะแนนการทดสอบทักษะการอ่าน ก่อนเรียน – หลังเรียน ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ครูเสริม พี่สอน น้องสาน

ที่

ชื่อ - สกุล

คะแนน

คะแนน

ก่อนเรียน

หลังเรียน

(10)

(10)

(d)

ค่าความ แตกต่าง

ผลการ ประเมิน

1

ด.ช.ธงชัย ตุมจา

3

7

4

ผ่าน

2

ด.ช.พงศธร จอมแก้ว

4

7

3

ผ่าน

3

ด.ญ.นฤมล เที่ยงธรรม

4

7

3

ผ่าน

4

ด.ญ.อภัสรา หม่องทา

3

7

4

ผ่าน


56

ที่

ชื่อ - สกุล

คะแนน

คะแนน

ก่อนเรียน

หลังเรียน

(10)

(10)

(d)

ค่าความ แตกต่าง

ผลการ ประเมิน

5

ด.ช.ศรัญํู วงศ์วิริยะ

5

8

3

ผ่าน

6

ด.ช.ภานุวัฒน์ หม่องทา

2

5

3

ผ่าน

7

ด.ช.วันธีรชัย อินสม

2

6

4

ผ่าน

8

ด.ช.กันตินันท์ ไชยสมปาน

5

8

3

ผ่าน

9

ด.ช.นิพนธ์ วินาพา

5

7

2

ผ่าน

10

ด.ช.กิตติศักดิ์ กันแสน

4

8

4

ผ่าน

11

ด.ช.กิตตินยั ตุ่นกันทา

5

9

4

ผ่าน

12

ด.ช.ประเสริฐ สุวรรณแปง

6

9

3

ผ่าน

13

ด.ช.วิศรุต หล้าพอแน

3

7

4

ผ่าน

14

ด.ช.ชัยวัฒน์ วิลากว้าง

4

7

3

ผ่าน

15

ด.ช.วันชัย ไพรวิพากษ์

4

8

4

ผ่าน

16

ด.ช.จีระศักดิ์ ลั่นทมทอง

4

7

3

ผ่าน

17

ด.ช.วรายุทธ นาทรายวนา

5

7

2

ผ่าน

18

ด.ช.ธนากร ชูวิทย์เจริญ

4

7

3

ผ่าน

19

ด.ญ.สิริยากร ปรางค์กาวี

4

8

4

ผ่าน

ค่าเฉลี่ย

4

7.3

3.3


57

จากตาราง 1 คะแนนก่อนเรียน – หลังเรียน การทดสอบทักษะการอ่าน ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ครูเสริม พี่สอน น้องสาน จานวน 19 คน พบว่า คะแนนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย 4 คะแนนหลังเรียน 7.3 และมี ค่าเฉลี่ยคะแนนความแตกต่าง 3.3 โดยภาพรวมผ่านเกณฑ์การประเมินที่ตั้งไว้คือ นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการ ด้านการอ่านเพิ่มขึ้น


58 ตาราง 2 คะแนนการทดสอบทักษะการเขียนก่อนเรียน – หลังเรียน ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ครูเสริม พี่สอน น้องสาน

ที่

ชื่อ - สกุล

คะแนน ก่อนเรียน

หลังเรียน

(10)

คะแนนเต็ม (10)

ค่าความ แตกต่าง

ผลการประเมิน

(d)

1

ด.ช.ธงชัย ตุมจา

4

7

3

ผ่าน

2

ด.ช.พงศธร จอมแก้ว

4

7

3

ผ่าน

3

ด.ญ.นฤมล เที่ยงธรรม

3

8

5

ผ่าน

4

ด.ญ.อภัสรา หม่องทา

3

7

4

ผ่าน

5

ด.ช.ศรัญํู วงศ์วิริยะ

4

7

3

ผ่าน

6

ด.ช.ภานุวัฒน์ หม่องทา

2

5

3

ผ่าน

7

ด.ช.วันธีรชัย อินสม

2

5

3

ผ่าน

8

ด.ช.กันตินันท์ ไชยสมปาน

4

8

4

ผ่าน

9

ด.ช.นิพนธ์ วินาพา

5

8

3

ผ่าน

10

ด.ช.กิตติศักดิ์ กันแสน

3

8

5

ผ่าน

11

ด.ช.กิตตินยั ตุ่นกันทา

4

9

5

ผ่าน

12

ด.ช.ประเสริฐ สุวรรณแปง

4

8

4

ผ่าน

13

ด.ช.วิศรุต หล้าพอแน

2

7

5

ผ่าน

14

ด.ช.ชัยวัฒน์ วิลากว้าง

3

7

4

ผ่าน

15

ด.ช.วันชัย ไพรวิพากษ์

3

8

5

ผ่าน

16

ด.ช.จีระศักดิ์ ลั่นทมทอง

2

5

3

ผ่าน


59

ที่

ชื่อ - สกุล

คะแนน ก่อนเรียน

หลังเรียน

(10)

คะแนนเต็ม (10)

ค่าความ แตกต่าง

ผลการประเมิน

(d)

17

ด.ช.วรายุทธ นาทรายวนา

3

7

4

ผ่าน

18

ด.ช.ธนากร ชูวิทย์เจริญ

3

7

4

ผ่าน

19

ด.ญ.สิริยากร ปรางค์กาวี

3

8

5

ผ่าน

ค่าเฉลี่ย

3.2

7.2

3.9

จากตาราง 2 คะแนนการทดสอบก่ อนเรีย น – หลั ง เรียน ทักษะการเขียน ของนักเรียนที่เ ข้าร่ว ม กิจกรรมครูเสริม พี่สอน น้องสาน จานวน 19 คน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 3.2 คะแนนหลัง เรียน 7.2 และคะแนนเฉลี่ยความแตกต่าง 3.9 โดยภาพรวมผ่านเกณฑ์การประเมินที่ตั้งไว้ คือ นักเรียนมี พัฒนาการคะแนนด้านการเขียน เพิ่มขึ้น กิจกรรมที่ 2 เรียนรู้จากครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ มีผลการดาเนินงาน ดังนี้

1) มีคณะกรรมการดาเนินงานครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ 1 คณะ 2) มีหลักสูตรการจัดอบรม 1 หลักสูตร 3) จัดอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร เรื่อง การนาความรูจ้ ากอินเตอร์เน็ต และสื่อ ICT มาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์ ระยะเวลา 2 วัน

4) คณะครูจดั ทาและพัฒนาเว็บเพจของตนเอง เพื่อใช้ในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ 5) นักเรียนได้เรียนรู้จากครูทั่วโลกผ่านอินเตอร์เน็ต ( School online) ทุกคน หมุนเวียนกันทุกสัปดาห์ ภาคเรียน ละ 15 ชั่วโมง

6) มีการใช้สื่อการเรียนรู้ด้าน ICT (School Online) โดยครูและนักเรียนสามารถนา User และ Password ที่ได้รับจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน เพื่อครูนาไปสอนเสริมแบบเข้มและนักเรียน สามารถนาไปทบทวนความรู้ และทาข้อสอบผ่าน URL http://lamphun.thaischoolonline.com/ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ


60

ภาพที่ 2 แสดงการอบรมการผลิตพัฒนา Web page, e-learning, e-book ของครู

ภาพที่ 3 แสดงหน้า Web page School online ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน โครงการที่ 2 วิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ จัดตั้งกลุ่ม “เกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวันสาหรับนักเรียนแบบยั่งยืน (ปลูกเอง ขายเอง กินเอง)” มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “เกษตรแบบพอเพียง” และ “กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน” เป็นเวลา 2 วัน ผู้เข้าร่วมอบรมฯ จานวน 50 คน 2) โรงเรียนได้จัดมอบเมล็ดพันธุ์ และกล้าพันธุ์พืช ให้แก่นักเรียนทุกห้องเรียน จานวน 20 ห้อง และผู้ปกครอง นักเรียนที่ร่วมโครงการ จานวน 25 ครัวเรือน เพื่อนาไปปลูกและนาผลผลิตมาจาหน่ายให้แก่สหกรณ์โรงเรียน 1)


61 ภาพที่ 4 แสดงการเตรียมปลูก และผลผลิตของนักเรียนที่ปลูกในโรงเรียน

ภาพที่ 5 แปลงเกษตรของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการปลูกเองที่บ้านและสวนของตนเอง

3) นักเรียนแต่ละห้องปลูกพืชผักสวนครัว ในแปลงเกษตรของโรงเรียน จานวน 4 ไร่ ใน วันที่ 26 มิถุนายน 2554 ดังนี้ ม.1/1 - 1/2

ชะอม

ม. 2/1 - 2/2

ผักกาดขาว

ม. 2/3

คะน้า

ม. 3/1

คะน้า

ม. 3/2 - 3/3

ผักกาดกวางตุ้ง

ม. 4/1 – 4/2

ผักบุ้ง

ม. 5/1 – 5/2

มะเขือเทศ

ม. 6/1

ผักกาดหอม

ม. 6/2

ปลูกคะน้า

ช่างยนต์ 1 - 3

มะนาว

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1 - 3

มะละกอ


62 4) ผู้ปกครองและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ปลูกพืชผักสวนครัวที่แปลงเกษตรบ้านของ ตนเอง ดังนี้ เด็กชายชานน สุริยะ ม.2/2 คะน้า

เด็กชายชัชพล มลทัศน์ ม.2/3 นายหัตถชัย รักใหม่ ม.4/1 นายอายุวัติ มาถา ม.4/1 เด็กชายอิทธิกร หมื่นเมา ม.1/2

ฟักทอง

เด็กหญิงมัญชรี ศรียนจอง ม.2/2 เด็กชายพงศธร กันทะมาดา ม.2/2

แตงกวา

พริกหนุ่ม

เด็กชายณัฐวุฒิ คาสมุทร ม.2/3 เด็กชายเมธิชัย จาเต๋จ๊ะ ม.3/3 เด็กชายนฤดล ปาวงค์ ม.2/1 เด็กชายอนุสรณ์ อุตพรหม ม.2/3 เด็กชายจิรายุส ธินิยา ม. 1/1

ผักกาดกวางตุ้ง

ผักบุ้ง

เด็กชายธีรกานต์ ตาสุยะ ม.2/1 เด็กชายณรงค์ฤทธิ์ คาสมุทร ม.2/3 เด็กชายธนาดล นันต๊ะหน้อย ม.3/3 เด็กชายธีระชัย สุนันตา ม.3/3

มะเขือเทศ

เด็กหญิงรัตติกาล ตุ่นกันทา ม.1/1

ฟักเขียว

เด็กชายอนุภัทร ต๊ะสุภา ม.1/1

ผักกาดขาว

เด็กชายปวริส ผ่องปัญญา ม.2/3


63

ถั่วฝักยาว

พริกขี้หนู

เด็กชายอัครพนธ์ กรุดอินทร์ ม.1/1 เด็กชายวสันต์ สุสินธุ์ ม.1/2 เด็กชายธีรภัทร ตุ่นกันทา ม.1/1 เด็กชายสรวิศ ปวกพรหมา ม.2/3

มะเขือ

นายกิตตินันท์ ตุ่นสิงห์คา ม.4/1

เห็ดนางฟ้า

เด็กหญิงยุวดี ช่วยคิด ม.1/1

5) จัดกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน โดยมีการระดมหุ้นจากสมาชิก ทั้งหมดจานวน 1,854 หุ้น

ภาพที่ 6 โครงสร้างการบริหารงาน และการแสดงจานวนหุ้นของสมาชิก ในกิจกรรมสหกรณ์ โรงเรียน

6) สหกรณ์โรงเรียน ได้รับซื้อผลผลิตการเกษตรจากสมาชิกสหกรณ์ ได้แก่ ผักกาด ถั่ว ฝักยาว เป็นต้น เพื่อนาไปจาหน่ายแก่ผู้ประกอบอาหารกลางวัน 7) จัดทาคลังสินค้าของสหกรณ์โรงเรียน เพื่อนาผลผลิตที่สามารถเก็บได้นาน เช่น ฟักทอง ฟักเขียว เป็น ต้น


64 8) ผู้รับจ้างเหมาประกอบอาหารกลางวันรับซื้อผลผลิตด้านการเกษตร จากสหกรณ์ ไปประกอบอาหาร ตามโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน ซึ่งองค์การบริห ารส่วนจังหวัดลาพูน มีนโยบายจัดขึ้น ทั้งนี้โรงเรียนได้ทา ข้อตกลงร่วมกันกับผู้ประกอบการ ในเรื่องการส่งสินค้า และการกาหนดรายการอาหารแต่ละสัปดาห์

ภาพที่ 7 การรับซื้อผลผลิตจากสมาชิกสหกรณ์และห้องคลังสินค้า

9) การกาหนดรายการอาหารประจาสัปดาห์ ได้ใช้ผลผลิตที่มีเป็นตัวกาหนด เช่น ต้มฟักใส่ไก่ แกง ผักกาดใส่ไก่ ผัดฟักทองใส่ไข่ 10) การบริการอาหารกลางวัน ได้จัดให้มีสัปดาห์ละ 3 วัน คือวันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร์ และมีการ ตรวจสอบคุณภาพอาหาร โดยนักเรียนชุมนุม อ.ย.น้อย ตัวแทนคณะกรรมการนักเรียน ครูเวรประจาวัน ทุกวัน โครงการที่ 3 สุขภาพดีวิถีไทย กิจกรรมที่ 1 การดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุมชน ผล ปรากฏ ดังนี้ มีภาคีเครือข่ายเพื่อดูแลนักเรียนร่วมกันสัมพันธ์ชุมชน 1 คณะ เพื่อช่วยดูแล สอดส่องและติดตาม นักเรียนที่อาศัยอยู่ในชุมชน โดยมี กานัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครจากผู้ปกครอง ร่วมมือร่วมใจกัน จานวน 27 คน กระจายอยู่ตามหมู่บ้านต่าง ๆ 2) ครูประจาชั้นได้ออกไปเยี่ยมบ้าน และติดตามนักเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยจัดทาและใช้แผนที่ เดินดินช่วยสารวจความเป็นอยู่ของชุมชน และนักเรียน 1)

3) ดาเนินการแก้ไขพฤติกรรมนักเรียน ด้านสุขภาพกายและใจ โดยร่วมกับ อาสาสมัคร สาธารณสุ ข ประจาหมู่ บ้ า น (อสม.) ตรวจวั ด น้ าหนั ก ส่ ว นสู ง ความดั น สายตา และร่ ว มกั บ สถานี


65 ตารวจภูธรอาเภอลี้ ในการสุ่มตรวจปัสสาวะนักเรียน เพื่อตรวจสารเสพติด ตลอดทั้งโรงพยาบาลลี้ ในการ ให้ตรวจรักษา พยาบาล หากนักเรียนมีปัญหาด้านสุขภาพ

ภาพที่ 8 การอบรมภาคีเครือข่ายดูแลนักเรียน และการเยี่ยมบ้านนักเรียน กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการส่งเสริม สุขภาพอย่างยั่งยืน มีผลการดาเนินงานดังนี้ มีคณะกรรมการปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน เพื่อดูแลและช่วยแก้ไขปัญหานักเรียนที่มาจากครอบครัวที่แตกแยก 1 คณะ 2) มีการจัด อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว แก่นักเรียนและผู้ปกครองกลุ่ม เสี่ยงด้านครอบครัว จานวน 50 คน เป็นระยะเวลา 2 วัน โดยได้เชิญวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน/รูป ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา และพระสงฆ์ ณ วัดใหม่ศิวิไล อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน 1)

3) จัดกิจกรรมจิตสาธารณะ และทาบุญตักบาตร ที่วัดพระธาตุห้าดวง ในงานจัดปริวาสกรรม พระภิกษุสามเณร ระหว่างวันที่ 10 – 20 มกราคม ของทุกปี เพื่อกล่อมเกลาพฤติกรรม และฝึกปฏิบัติ ธรรมะ

ภาพที่ 9 การอบรมปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ณ วัดบ้านใหม่ศิวิไล


66

กิจกรรมที่ 3 การออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง

1) มีการออกกาลังกาย โดยให้นักเรียนที่อยู่ในชุมนุม To be number one เป็นผูน้ าทุกเช้า 2) มีการจัดกิจกรรมออกกาลังกายเป็นการเฉพาะ สาหรับนักเรียนที่มีน้าหนักเกินเกณฑ์ โดย การเต้นแอโรบิคแดนซ์ทุกเย็นก่อนกลับบ้าน 3) จัดให้มีอาหารเสริม เช่น นม วิตามิน ผักใบเขียว เพื่อเพิ่มน้าหนักและความสูงให้ได้ มาตรฐาน สาหรับนักเรียนที่มีน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ 4) มีแผนผังเครือญาติ ของนักเรียน เพื่อใช้สาหรับการวิเคราะห์สาเหตุของสภาพปัญหาด้าน ร่างกายของเด็กนักเรียน และผู้ปกครอง ในส่วนของโรคที่มาจากพันธุกรรม

ภาพที่ 10 การออกกาลังกายโดยแอโรบิคแดนซ์ และแผนผังเครือญาติ

โครงการที่ 4 ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ ประกอบด้วย 2 กิจกรรม มีผลการดาเนินงาน แต่ละกิจกรรม ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ 1) ครูและนักเรียนจานวน 40 คน ได้เข้าร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ 100 ปี เมืองลี้ ในวันที่ 2 ธันวาคม 2554 ร่วมกับสภาวัฒนธรรมอาเภอลี้ ในงานเทศกาลของดีอาเภอลี้ ช่วงวันที่ 2 6 ธันวาคม 2554 ณ ลานอนุสาวรีย์ สามครูบา อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน

2) จัดทาข้อมูลประวัติความเป็นมา วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ของแต่ละหมู่บ้าน จานวน 1 เล่ม นาไปเผยแพร่ขยายผล แก่หมู่บ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ ในรูปแบบของวิดีทัศน์ 1 ชุด ที่เกิดจากนักเรียน


67 แต่ละกลุ่มได้ออกไปสัมภาษณ์ปราชญ์ ผู้สูงอายุ และศึกษาหลักฐานร่องรอย ภาพเขียนผาผนัง และเอกสาร ที่มีผู้ได้ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมไว้ 3) จัดทาและนาเอกสารประกอบการสอน และสื่อการสอน ทางประวัติศาสตร์เมืองลี้ เผยแพร่ แก่โรงเรียนเครือข่ายศรีเวียงชัย อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน 4) มี “มัคคุเทศก์น้อย” จานวน 6 คน ในหมู่บ้านห้วยต้ม ที่ผ่านการฝึกอบรมเป็นอย่างดี ออกไปนาเที่ยว แก่นักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ ในบริเวณวัดพระบาทห้วยต้ม ศูนย์หัตถกรรมผ้ากระเหรี่ยง และพระธาตุศรี เวียงชัย

ภาพที่ 11 การออกไปศึกษาประวัติศาสตร์เมืองลี้โดยการสัมภาษณ์

กิจกรรมที่ 2 เข้าร่วมประเพณีในท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม มีผลการดาเนินงานดังนี้ 12) 13) 14)

มีห้องจริยธรรม 1 ห้องใช้สาหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีพระที่นิมนต์มาประจาเพื่อสอนศีลธรรมในโรงเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 รูป มี “มัคนายกน้อย” กล่าวคาบูชา คาอาราธนา คาถวายสิ่ งของให้พระสงฆ์ ในพิธีทางศาสนาต่าง ๆ ใน

โรงเรียน โรงเรียนเป็นสถานที่สอบธรรมศึกษา (สอบธรรมสนามหลวง) และสอบธรรมะก้าวหน้าของสมาคมพุทธ ศาสตร์สากลแห่งประเทศไทย โดยทางโรงเรียนมีผู้สอบผ่านนักธรรมเอก 60 คน นักธรรมโท 98 คน และนักธรรมตรี 164 คน ในปีการศึกษา 2554 15)


68 นักเรียน คณะครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคมทุกคน นาเทียนพรรษา และแห่เทียนจานาพรรษา ณ วัดใน อาเภอลี้ จังหวัดลาพูนจานวน 5 วัด คือ วัดดอนแก้ว วัดพระธาตุโมลีศรีวิชัย วัดห้วยทรายขาว วัดบ้านกลาง และวัดบ้าน ใหม่ศิวิไล 17) นักเรียนทุกคนเข้าร่วมประเพณีลอยกระทง ในหมู่บ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ และบันทึกกิจกรรมที่หมู่บ้านจัด ขึ้น และรายงานการมีส่วนร่วมของนักเรียนในประเพณีลอยกระทง 18) นักเรียนไหว้สามระดับได้ถูกตามหลักของการไหว้แบบไทย 19) มีการประกวดสวดสรภัญญะ และประกวดมารยาทไทย ของนักเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง 20) คณะกรรมการนักเรียน ร่วมกับครูเวรประจาวัน ยืนคอยพบกับนักเรียนหน้าประตูโรงเรียนเพื่อไหว้และ ทักทายทุกวัน 21) จัดให้นักเรียนไหว้ซึ่งกันและกัน ในพิธีการหน้าเสาธงทุกวัน และไหว้ครูที่ปรึกษาก่อนกลับบ้านวัน 16)

ภาพที่ 12 นักเรียนที่เป็น “มัคนายกน้อย” นากล่าวคาบูชา คาอาราธนา คาถวายสิ่งของแด่พระสงฆ์ ในศาสนพิธีต่าง ๆ


69 โครงการที่ 5 ชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรา กิจกรรมที่ 5.1 พฤกษศาสตร์น่ารูส้ ู่ชุมชน มีผลการดาเนินงาน ดังนี้

1) จัดหาพันธุ์ไม้ จานวน 1,000 ต้น ดังตาราง ตาราง 3 แสดงชื่อพันธุ์ไม้ และจานวนต้นไม้

ชื่อพันธุ์ไม้

จานวน (ต้น)

ต้นสัก

150

มะขาม

170

ขี้เหล็ก

150

มะม่วง

50

ขนุน

15

ไผ่

50

จามจุรี

120

ราชพฤกษ์

100

เหลืองอินเดีย

50

มะขามป้อม

145

รวม

1,000

2) ปลูกและดูแลร่วมกันในสวนป่าชุมชนบ้านนามน จานวน 500 ต้น ตลอดจนปลูกต้นไม้สองข้างริมถนน หมู่

บ้านฮั่ว จานวน 500 ต้น


70 3) ปลูกต้นไม้ซ่อมแซม จานวน 200 ต้น ในสวนป่าชุมชนบ้านนามน จานวน 100 ต้น และริมถนนทั้ง 2 ข้าง หมู่

บ้านฮั่ว จานวน 100 ต้น

ภาพที่ 13 อบรมให้ความรู้ในการอนุรักษ์พันธ์ไม้และปลูกต้นไม้ในชุมชน

กิจกรรมที่ 5.2 พฤกษศาสตร์น่ารู้สู่ มีผลการดาเนินงาน ดังนี้

1) ประชุ ม คณะท างาน จานวน 100 คน เพื่ อหาแนวทางการจัด ทาสวนพฤกษศาสตร์ ใ น โรงเรียน 2) จัดหาพันธุ์ไม้ จานวน 1,000 ต้น


71 ตาราง 4 แสดงชื่อและจานวนพันธุ์ไม้

ชื่อพันธุ์ไม้

จานวน (ต้น)

ต้นสัก

150

มะขาม

170

ขี้เหล็ก

150

มะม่วง

50

ขนุน

15

ไผ่

50

จามจุรี

120

ราชพฤกษ์

100

เหลืองอินเดีย

50

มะขามป้อม

145

รวม

1,000

3) ปลูกและดูแลร่วมกันในโรงเรียน จานวน 1,000 ต้น


72 ตาราง 5 แสดงจานวนนักเรียนที่รับผิดชอบในการปลูกต้นไม้

ชั้น

นักเรียน

ชื่อพันธุ์ไม้

(คน)

จานวน (ต้น)

ม.1/1

25

ต้นสัก

50

ม.1/2

24

ต้นสัก

48

ม.2/1

40

ต้นสัก มะขาม

80

ม.2/2

24

มะขาม

48

ม.2/3

26

มะขาม

52

ม.3/1

40

มะขาม ขี้เหล็ก

80

ม.3/2

33

ขี้เหล็ก

66

ม.3/3

35

ขี้เหล็ก มะม่วง

70

ม.4/1

33

มะม่วง ขนุน ไผ่

66

ม.4/2

24

ไผ่ จามจุรี

48

ม.5/1

19

จามจุรี

38

ม.5/2

18

จามจุรี

36

ม.6/1

16

จามจุรี ราชพฤกษ์

32

ม.6/2

11

ราชพฤกษ์

22

ปวช.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1

20

ราชพฤกษ์

40

ปวช.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2

12

ราชพฤกษ์

24

ปวช.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3

11

ราชพฤกษ์

22


73

ชั้น

นักเรียน

ชื่อพันธุ์ไม้

(คน)

จานวน (ต้น)

ปวช.ช่างยนต์ 1

14

ราชพฤกษ์ เหลืองอินเดีย

28

ปวช.ช่างยนต์ 2

18

เหลืองอินเดีย และมะขามป้อม

36

ปวช.ช่างยนต์ 3

15

มะขามป้อม

30

คณะครูและบุคลากรทางการ

34

มะขามป้อม

84

ศึกษา

4) คณะทางาน และนักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ ได้แผนผังพันธุ์ไม้ในโรงเรียน จานวน 1 เล่ม ทะเบียนพันธุ์ไม้ จานวน 1 เล่ม ป้ายชื่อพันธุ์ไม้และผู้ดูแลรับผิดชอบ จานวน 1,000 ป้าย 5) ซ่อมแซมการปลูกต้นไม้ จานวน 300 ต้น ในบริเวณโรงเรียน

ภาพที่ 14 นักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ ค้นคว้า ติดข้อมูลพันธุไ์ ม้


74

บทที่ 5

สรุปบทเรียน

การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนเพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน โรงเรียน นา ทรายวิทยาคม อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน เป็นการจัดการเรียนรู้โดยใช้องค์กรชุมชนเป็นฐานและพั ฒนา การศึกษา ตามสภาพปัญหาและความต้องการ ของนักเรียน และองค์กรชุมชน ทั้งในด้านการศึกษา สายสามั ญ สายอาชีพ ประวั ติ ศาสตร์ ศาสนา ศิ ลปะและวั ฒนธรรม ดนตรี กี ฬา สุ ขภาพ ผ่ า น โครงการนาร่องฯ 5 โครงการ คือ 1. โครงการเรียนรูแ้ บบมีสว่ นร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ (ด้าน การเรียนรู)้ 2. โครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ) 3. โครงการสุขภาพดีวิถี ไทย (ด้านสุขภาพ) 4. โครงการย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ (ด้านประเพณีและวัฒนธรรม) และ 5. โครงการชุมชนและโรงเรียนน่าอยู่ด้วยมือเรา (ด้านสิ่งแวดล้อม) จากการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ ละโครงการ และผลการดาเนินงาน สรุปบทเรียนได้ ดังนี้

ในการดาเนินโครงการเรียนแบบมีสว่ นร่วมอย่างจริงจังและสร้างสรรค์ จากการติดตามและ ประเมินผลเป็นระยะ รวมทั้งแก้ไข ปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง พบว่า กิจกรรมครูเสริม พี่สอน น้อง สาน นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ สามารถอ่านออกและเขียนได้ เพิ่มมากขึ้น กิจกรรม เรียนรู้จาก ครูทั่วโลกอย่างสร้างสรรค์ คณะครูมเี ว็บเพจเป็นของตัวเอง สามารถนาข้อมูลหรือแหล่งเรียนรู้ สื่อ การเรียนการสอนจากโลกอินเตอร์เน็ตมาปรับใช้ในการเรียนการสอนของตนเอง อีกทั้งยังเป็นการ แลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ทักษะและเทคนิคการสอน จากคณะครูที่นาผลงานของตัวเองเผยแพร่ลง ในเว็บเพจของตน นักเรียนยังสามารถทบทวนความรูใ้ นเรื่องที่ครูสอนไปแล้วได้ที่บ้านของนักเรียนเอง โดยศึกษาจากเว็บเพจของครูแต่ละท่าน รวมทั้งการใช้ School online ซึ่งนักเรียน ทุกระดับชั้น สามารถใช้เพื่อเตรียมตัวสอบ ดังปรากฏผลที่ชัดเจน คือ ในปีการศึกษา 2554 นี้ นักเรียนสามารถ สอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในคณะแพทย์ศาสตร์ ตามโครงการกระจายแพทย์ หนึ่งอาเภอหนึ่งทุน (ODOD) และคณะอื่นร้อยละเพิ่มขึน้ จากปีก่อน ๆ


75 ด้านการมีอาชีพ ดาเนินโครงการวิถีพอเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้ กิจกรรมตั้งกลุ่ม เกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพีย งเพื่ออาหารกลางวันสาหรับนักเรีย นแบบยั่งยืน (ปลูกเอง ขายเอง กินเอง) ทาให้เด็กนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน โดยการนาผลิตผลที่นักเรียนแต่ ละห้องปลูกขึ้นเอง และผลผลิตของผู้ปกครองที่เข้าร่ วมโครงการ (ปลูกเอง) ส่งมาขายที่สหกรณ์ โรงเรีย น และจ าหน่ ายให้ ผู้ป ระกอบการอาหารกลางวัน ที่เ ข้า ร่วมในโครงการ (ขายเอง) นาไป ประกอบเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน (กินเอง) เป็นการฝึกการมีอาชีพและรายได้ระหว่างเรียน การบริหารจัดการสหกรณ์ของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพราะได้นาเอานักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาการเรียนคอมพิวเตอร์ธุรกิจมาบริหารจัดการบัญชีการใช้จ่าย ซึ่งถือว่า เป็นการฝึก ทักษะและประสบการณ์ก่อนออกฝึก งานในชั้นปีที่ 3 จากการดาเนินโครงการนี้ท าให้ สามารถแบ่ งเบาภาระปัญ หาด้า นเศรษฐกิจ ของผู้ป กครองนั ก เรีย นได้เ ป็น อย่ างดี เนื่ องจากเงิ น งบประมาณที่ อบจ. ลาพูนจัดให้ได้มกี ารหมุนเวียนในชุมชนเอง ด้ า นสุ ข ภาพด าเนิ น โครงการสุ ข ภาพดี วิ ถี ไ ทย กิ จ กรรมตามระบบดู แ ลช่ ว ยเหลื อ นักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุมชน จากการทากิจกรรมการเยี่ยมบ้านนักเรียน ออกแนะแนว ทาให้คณะครูได้รับรู้ถึงสภาพปัญหา ชีวิตความเป็นอยู่ของนักเรียน ข้อมูลสารสนเทศที่ ได้สามารถนามาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับตัวนักเรียนโดยอาศัยความร่วมมือ ของผู้ปกครอง และภาคีเครือข่ายในการช่วยแก้ไขปัญหาและแนวทางป้องกัน ซึ่งต้องทาการติดตาม เด็กนักเรียนที่มีปัญหาเป็นระยะๆ กิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ท่ีดี ในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน ทาให้ครอบครัวที่แตกแยก มีปัญหาเกิดความ เข้าใจซึ่งกันและกัน ได้ลดช่องว่างระหว่างวัย ของผู้ปกครองและนักเรียน เป็นการเสริมสร้างสถาบัน ครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง ทั้งนี้โรงเรียนได้เฝ้าติดตาม ให้คาแนะนาอย่างสม่าเสมอ และกิจกรรม การออกกาลังกายอย่างต่อเนื่อง มีการออกกาลังกาย ประกวดแอโรบิคแดนซ์ การแข่งขันกีฬา ภายในโรงเรียนร่วมกับชุมชน ซึ่งเป็นกุศโลบายให้นักเรียนและชุมชนออกกาลังกาย นักเรียนเกิด ความแข็งแรง มีการชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูงเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง หากมีน้าหนักและส่วนสูงไม่ถึง เกณฑ์ตามมาตรฐาน ได้จัดกิจกรรมเสริมให้เป็นไปตามเกณฑ์ จนทาให้กีฬานักเรียนหลายประเภทได้ ชัยชนะจากการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ เช่น กีฬาวอลเลย์บอล ตะกร้อ และมี


76 นักเรียนจานวน 4 คน ได้เข้าร่วมทีมของจังหวัด “ลาพูนวอริเออร์ จูเนียร์” และได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันโค้กคัพ ในด้านประเพณีวัฒนธรรม ดาเนินโครงการย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองลี้ กิจกรรมศึกษา ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่นเมืองลี้ อย่างมีส่วนร่วม ทาให้นักเรียนรู้ถึงประวัติ ความ เป็นมาของอาเภอลี้และหมู่บ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ ทาให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงวิถีชีวิตความ เป็นอยู่ในชุมชนที่นักเรีย นอยู่อาศัย พร้อมทั้งได้นาเอาแหล่งเรียนรู้ ความรู้และประสบการณ์ของ ปราชญ์ชาวบ้านแต่ละหมู่บ้านต่างๆ มาช่วยในการให้ความรู้ กิจกรรม เข้าร่วมประเพณีในท้องถิ่น อย่างมีส่วนร่วม นักเรียนและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในวันสาคัญ เช่น วันเข้าพรรษา วันลอยกระทงนักเรียน อีกทั้งยังเป็นการสืบสานวัฒนธรรมประเพณี ไม่ให้สูญหายไปจากชุมชนที่ นักเรียนอยู่อาศัย และเกิดความรักความหวงแหนในถิ่นฐานเป็นเกิดของตนเอง ในด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง ด าเนิ น โครงการชุ ม ชนและโรงเรี ย นน่ า อยู่ ด้ ว ยมื อ เรากิ จ กรรม พฤกษศาสตร์ น่ า รู้ สู่ ชุ ม ชน เริ่ ม จากการปลู ก ฝั ง จิ ต ส านึ ก ให้ นั ก เรี ย นเกิ ด ความตระหนั ก ถึ ง ความสาคัญของต้นไม้ ป่าไม้ และพันธุ์ไม้ในชุมชนที่นักเรียนอยู่อาศัย อีกทั้งยังเป็น การส่งเสริมให้ นักเรียนและชุมชนเกิดความรักและห่วงแหนต้นไม้ที่ได้ทาการปลูกร่วมกันในโรงเรียนสวนป่าชุมชน ตลอดจนริมถนนทั้ง 2 ข้างในหมู่บ้านนามน และบ้านฮั่ว สร้างความร่มรื่นและปรับระบบนิเวศของ ชุมชนให้มีความสมดุล ทางธรรมชาติและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น กิจกรรมพฤกษศาสตร์น่ารู้ สู่ โรงเรีย น นักเรียนชุมนุมสวนพฤกษศาสตร์ทาการสารวจพันธุ์ไม้ในโรงเรียนและทาแผนที่พันธุ์ไม้ในโรงเรียน เพื่อทะเบียนพรรณไม้ ข้อมูลพันธุ์ไม้ ร่วมทั้งป้ายข้อมูลพันธุ์ไม้ สาหรับติดตามต้นไม้ในโรงเรียนพร้อม ทั้งได้กาหนดผู้รับผิดชอบต้นไม้แต่ล ะต้นในโรงเรีย น เพื่อทาการดูแลรักษา ให้ต้นไม้ที่นัก เรียนได้ รับผิดชอบนั้นเจริญเติบโต และอยู่รอดสืบไปคู่กับโรงเรียนนาทรายวิทยาคม

อภิปรายผล

ในการด าเนินการโครงการทั้ง 5 โครงการ มีความก้าวหน้าเป็นรูป ธรรมอย่างมาก และ สามารถแก้ ปัญ หาให้กั บ นัก เรีย นและชุมชนได้เ ป็นอย่างดี ซึ่งมีบ างกิจกรรมได้ มีก ารปรับ เปลี่ย น


77 รูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องและเหมาะสมกับความต้องการของนักเรียนและชุมชน เช่น กิจกรรมการศึกษาประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่นเมืองลี้ อย่างมีส่วนร่วม ได้ทาการศึกษา ประวัติ ชื่อหมู่บ้านของแต่ละหมู่บ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อ ทาการรวบรวมเป็น ข้อมูลสารสนเทศ สามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอน ส่งเสริมการสืบสานวัฒนธรรมทั้งถิ่น ใน โครงการด้านการเรียนรู้นั้นยังจะช่วยแก้ปัญหาของเด็กนักเรียนเพื่อให้มีความพร้อมและความเข้าใจ ในการเรียน มีทางเลือกที่หลากหลายในการเรียนรูโ้ ดยใช้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ ในการเรียนการสอน โครงการด้านอาชีพนัน้ ยังสามารถส่งเสริมสนับสนุนการสร้างอาชีพการมีรายได้ ระหว่างเรีย น โดยการปลู ก ผลิตผลเพื่อส่งขายให้กั บ สหกรณ์ของโรงเรีย น และรับ ซื้อสินค้าจาก สมาชิกของโครงการฯ เป็นการขยายอาชีพสู่ชุมชน เป็นการสร้างรากฐานชีวิตให้ ชุมชน และดาเนิน ชีวติ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้านสุขภาพ ได้มีกิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุม ชน ยังเป็นการแก้ไขปัญหา ความเสื่อมถอยของสถาบันครอบครัว ที่นับ วันยิ่งเป็นปัญ หาที่ใ หญ่ของประเทศ เนื่องจากการที่ ผูป้ กครองไม่มีเวลาให้บุตรหลาน ทาให้เด็กขาดความอบอุ่นยังจะส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ที่ตามมา เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาการทะเลาะวิวาท เป็นต้น โดยทั้งสองกิจ กรรมยังส่งเสริมให้เกิดความ รัก ความเข้าใจ ทาให้สถาบันครอบครัวแข็งแรงขึ้น สาหรับโครงการทางด้านสิ่งแวดล้อมยังสามารถ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก เรี ย นเกิ ด ความรั ก ความห่ ว งแหนป่ า ไม้ ใ นชุ ม ชน และยั ง เกิ ด ความตระหนั ก ใน ความสาคัญของป่าไม้ที่ลดน้อยถอยลงไปทุกวัน ที่นับวันส่งผลให้เกิด

การเปลี่ยนแปลง

สภาพอากาศในปัจจุบัน

ปัจจัยที่ทาให้โครงการขับเคลื่อน ปัจจัยที่ทาให้การดาเนินการโครงการขับเคลื่อนไปได้ด้วยดี ประกอบด้วย 1. คณะทางานที่ประกอบไปด้วยคณะครูที่มีอายุเฉลี่ย 29 มีความกระตือรือร้น และใส่ใจใน การทางาน 2. ความร่วมมือและการให้ความสาคัญต่อโรงเรียนขององค์กรในชุมชน โรงเรียนได้รับความ ร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากหน่วยงานต่าง ๆ เช่น โรงพยาบาลชุมชนประจาตาบล องค์การบริหารส่วน


78 ตาบลนาทราย เทศบาลตาบลวังดิน อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โรงเรียนในเครือข่ายศรีเวียงชัย กลุ่ม เกษตรกร กลุ่มอาชีพ ศูนย์หัตถกรรมบ้านห้วยต้ม วัดพระธาตุศรีเวียงชัย วัดพระบาทบ้านห้วยต้ม วัด พระธาตุหา้ ดวง 3. นักเรียน ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี 4. ปัจจัยเอื้ออื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เช่น การที่โรงเรียนเป็นโรงเรียนของ ท้องถิ่น โดยคนท้องถิ่นและเพื่อคนท้องถิ่น เป็นศูนย์กลางของการดาเนินโครงการต่าง ๆ

อุปสรรคการเรียนรู้ / การดาเนินโครงการ 1. ความต่ อ เนื่ อ งของการท างานในต าแหน่ ง เลขาคณะท างาน เนื่ อ งจากมี ก ารโอนย้ า ย ข้าราชการครู ทาให้ผู้รับผิดชอบงานใหม่ตอ้ งใช้เวลาในการศึกษาเรียนรูง้ าน 2. ภาระงานที่เพิ่มขึ้นของครู เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวมีครูย้ายออกจานวน 4 คน 3. ช่วงเวลาของกิจกรรมแต่ละกิจกรรมล่าช้า ทั้งนี้เนื่องจากต้องบูรณาการกับกิจกรรม ต่าง ๆ ของโรงเรียน ข้อเสนอแนะในการดาเนินโครงการต่อไป การดาเนินโครงการนาร่องฯ ทั้ง 5 โครงการดังกล่าวนี้ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการพั ฒนาการ จัดการเรียนรู้ของนัก เรียน โดยการมีส่วนร่วมขององค์ก รชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ย วข้องกับ การจัด การศึกษา ซึ่งเป็นการจัดการศึกษาที่ใช้ชีวิตและชุมชนเป็นตัวตั้ง โดยการคิดแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน ชุมชน และสอดคล้องกับบริบทของชุมชนเอง การพัฒนาการศึกษาดังกล่าวนี้ ต้องอาศัยความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนที่เป็นเจ้าของ จึงจะสามารถสาเร็จเป็นรูปธรรม และต้องมีการดาเนินการอย่าง ต่อเนื่องและขยายผลสู่ชุมชนอย่างแท้จริง โดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษา คือ การศึกษาตลอดชีวิต และการศึกษาเพื่อสุขภาวะของคน ไทย


79

ภาคผนวก


80 ภาคผนวก ก สรุปการประชุม โครงการครูเสริม พี่สอน น้องสาน ณ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม วันที่ 12 กรกฎาคม 2554 ประธานที่ประชุม

นางสาววิมล เตจาโท่น

ผู้เข้าร่วมประชุม

คณะครูโรงเรียนเป้าหมาย 6 คน ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย โรงเรียน นาทรายวิทยาคม 2 คน รวมจานวนผู้เข้าร่วมประชุม 8 คน

เริ่มประชุมเวลา

8.00 น.

ระเบียบวาระที่ 1

ประธานแจ้งให้ทราบ (ที่ประชุมรับทราบ)

ระเบียบวาระที่ 2

รายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา (ไม่ม)ี

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งที่ผ่านมา (ไม่มี) ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 1.

การสารวจข้อมูลนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียนพบว่ามี 2 โรงเรียนที่

นักเรียนอ่านได้ เขียนได้ทุกคน แต่ไม่คล่อง และมี 4 โรงเรียนที่นักเรียนอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ รวมทั้งหมดจานวน 34 คน บางโรงเรียนต้องการขอความช่วยเหลือให้ฝึกหัดนักเรียนที่มีปัญหาระดับชั้นอื่นด้วย 2.

การสร้างชุดแบบฝึกสอนเสริมการอ่านการเขียน คณะครูผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมกันคิดรูปแบบและ

เนื้อหาร่วมกัน โดยแยกประเภทความรุนแรงของปัญหาเป็นระดับต่างๆ แล้วสร้างแบบฝึกตามลักษณะปัญหานักเรียน ผู้รับผิดชอบโครงการจะเป็นผู้จัดพิมพ์และรวมเล่ม 3.

การจัดตารางปฏิบัติกิจกรรม ยังไม่สามารถจัดวันเวลาได้ แน่นอน เนื่องจากมีโรงเรียนทีไม่ได้เข้าร่วม

ประชุมจานวน 5 โรงเรียน ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องประสานงานเพื่อสารวจความต้องการเข้าร่วมโครงการให้ชัดเจน จึงจะสามารถจัดปฏิทินการออกสอนเสริมได้ 4.

รูปแบบการจัดกิจกรรมตามโครงการ ใช้วธิ ีการดังนี้


81 4.1 ครูผู้สอนภาษาไทย โรงเรียนนาทรายวิทยาคมไปพบปะนักเรียนตามโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1

นาเอกสารพร้อมคาชี้แจงวิธีการเรียนของนักเรียนไปมอบให้กับนักเรียน และ ครูประจาชั้น

ครั้งที่ 2 ติดตามผลการ

ดาเนินกิจกรรม 4.2

นักเรียนชั้น ป. 6 ที่มีปัญหา เป็นผู้เลือกนักเรียนรุ่นพี่ที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับตนเอง จากนั้นคณะครูร่วมกัน

พิจารณาตามความสามารถและความเหมาะสม เพื่อเป็นตัวแทนของพี่ที่จะช่วยสอนน้องได้ ในวันหยุด หรือทุกวันตอน เย็น 5. เรื่องอื่นๆ 5.1

ประสบการณ์สอนนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียนภาษาไทย

5.2

ประสบการณ์เข้าร่วมอบรมสัมมนา การแก้ปัญหานักเรียนมีปัญหาด้านการใช้ภาษาไทย


82 ภาคผนวก ข ตารางสรุปการใช้อนิ เตอร์เน็ต ของนักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม

ที่

ห้อง

จานวนนักเรียน

จานวนชัว่ โมงที่ใช้อนิ เตอร์เน็ต

1

1/1

25

18

2

1/2

24

18

3

2/1

39

19

4

2/2

17

19

5

2/3

24

19

6

3/1

40

18

7

3/2

24

18

8

3/3

30

18

9

4/1

33

16

10

4/2

24

18

11

5/1

19

16

12

5/2

18

20

13

6/1

16

17

14

6/2

11

20

15

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชั้นปีที่ 1

20

18

16

ช่างยนต์ ชั้นปีที่ 1

14

16

17

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชั้นปีที่ 2

8

18

18

ช่างยนต์ ชั้นปีที่ 2

12

16

19

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชั้นปีที่ 2

8

20


83 20

ช่างยนต์ ชั้นปีที่ 2 รวม

10

17

416

359

จากตารางสรุปการใช้อินเตอร์เน็ต ของนักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม พบว่า มีนกั เรียนทีใ่ ช้อินเตอร์เน็ต ทั้งหมด 416 คน มีค่าเฉลี่ยการใช้อินเตอร์เน็ต คือ 17.59 ชั่วโมง


84 ภาคผนวก ค ตัวอย่างแบบบันทึกข้อตกลงร่วมกัน บันทึกข้อตกลงร่วมกัน การเข้าร่วมโครงการ “วิถพ ี อเพียงเพื่อการมีอาชีพและรายได้” ของโรงเรียนนาทรายวิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดลาพูน ร่วมกับ ผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน

บันทึกข้อตกลงร่วมกันนี้ จัดทาขึ้น ระหว่างโรงเรียนนาทรายวิทยาคม โดยผู้อานวยการสถานศึกษา และ ผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน เพื่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ“วิถีพอเพียงเพื่อการมี อาชีพและรายได้ ” โดยมี วัตถุประสงค์ที่สาคัญคือ การผลิต ส่งขายวัตถุดิบด้านการเกษตรแก่โรงเรียน เพื่อจาหน่ายแก่ผู้รับจ้างเหมาประกอบ อาหารกลางวันภายใต้โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนและการจาหน่ายอาหารในโรงเรียน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานสาคัญร่วมกัน ลงชื่อ

ลงชื่อ

(นายยงยุทธ ยะบุญธง)

(นายบุญก้า ธินิยา)

ผู้อานวยการสถานศึกษา

ผู้ปกครองนักเรียน

ลงชื่อ

ลงชื่อ

(นางสาวพุทธิดา สวรรณวงค์) หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบริหารทั่วไป

(นางณัฐธิดา สิงห์ตัน) ผู้รับจ้างเหมาประกอบอาหารกลางวันนักเรียน


85 ลงชื่อ

ลงชื่อ

(นางสาวชริตตา ศรีวิโรจน์)

(นางเบญจวรรณ จาเต๋จะ๊ )

งานเกษตรกรรม

ผู้จาหน่ายอาหารในโรงเรียน


86 ภาคผนวก ง กาหนดการประชุมโครงการวิถีพอเพียงเพือ่ การมีอาชีพและรายได้ (ด้านอาชีพ) วันที่ 12 กรกฎาคม 2554 ณ ห้องโสตทัศนศึกษา โรงเรียนนาทรายวิทยาคม เวลา 8.00น.

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสารวจอาชีพ จัดกลุ่ม ทาข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน ในการผลิต ส่งขายวัตถุดิบด้านการเกษตรแก่โรงเรียน เวลา

รายการปฏิบัติ

สถานที่

ผู้รับผิดชอบ

8.00 น. – 9.00 น.

ลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมประชุม

ห้องโสตทัศนศึกษา

ครูดลนชัย

9.00 น. – 10.00 น.

1. พิธีกรดาเนินงานการประชุมตามโครงการนาร่องการ

ห้องโสตทัศนศึกษา

ครูศราวุฒิ

จัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุข ภาวะคนไทย กล่าวต้อนรับและชีแ้ จงกาหนดการในการ ประชุมให้ผู้ที่เข้าร่วมประชุมฯ ทราบ 2. พิธีกรเรียนเชิญประธาน ดร.ยงยุทธ ยะบุญธง

ดร.ยงยุทธ

ผู้อานวยการโรงเรียนนาทรายวิทยาคมเปิดการประชุม และบรรยายเกี่ยวกับการดาเนินโครงการฯ 10.00 น. – 10.15 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

ห้องโสตทัศนศึกษา

ครูพุทธิดา

10.15 น. – 11.00 น.

สารวจข้อมูลด้านการเกษตรกรรมของผู้ปกครองนักเรียน หอประชุมทรายคา

ครูชริตตา

11.00 น. – 12.00 น.

จัดกลุ่มการผลิตวัตถุดิบด้านการเกษตรของผู้ปกครอง

หอประชุมทรายคา

ครูชริตตา

นักเรียน (หมู่บา้ น) 12.00 น. – 13.00 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

หอประชุมทรายคา

ครูพุทธิดา

13.00 น. – 15.30 น.

ร่วมกันทาข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง หอประชุมทรายคา

ครูชริตตา

นักเรียน


87 เวลา 15.30 น. – 16.30 น.

รายการปฏิบัติ

สถานที่

ร่วมกันสรุปการปลูกพืชเพื่อจัดหาเมล็ดพันธุแ์ ละนัดแจก หอประชุมทรายคา เมล็ดพันธุ์

ผู้รับผิดชอบ ครูชริตตา


88 ภาคผนวก จ รายงานการประชุม โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ณ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม วันที่ 26 สิงหาคม 2554 ประธานที่ประชุม

นางสุทธินี นันเพ็ญ

ผู้เข้าร่วมประชุม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ผู้บริหาร ครูโรงเรียนในเครือข่ายสถานศึกษาศรีเวียงชัย จานวน 2 คน ตัวแทนผู้นาองค์กร(องค์การบริหารส่วนตาบลนาทราย จานวน 1 คน เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแม่ปิง จานวน 2 คน เจ้าหน้าที่สถานีตารวจภูธรอาเภอลี้ จานวน 2 คน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาทราย จานวน 1 คน ผู้ใหญ่บ้านตาบลนาทราย จานวน 14 คน สมาชิกสภาตาบลนาทราย จานวน 5 คน ครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคม 3 คน รวมจานวนผู้เข้าร่วมประชุม 27 คน

เริ่มประชุมเวลา

09.00 น.

ระเบียบวาระที่ 1

ประธานแจ้งให้ทราบ (ที่ประชุมรับทราบ)

ระเบียบวาระที่ 2

รายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา (ไม่ม)ี

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งที่ผ่านมา (ไม่มี) ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 1. สถานการณ์ยาเสพติด ในตาบลนาทราย นายสมคิด บัวตอง กานันตาบลนาทราย ได้รายงานสถานการณ์ยาเสพติดในอาเภอลี้ ว่าเริ่มมีการจาหน่าย เพิ่มขึ้น โดยมีผู้นามาจาหน่ายให้แก่กลุ่มผู้ใช้แรงงาน หมู่บ้านที่กาลังแพร่ระบาดคือบ้านห้วยต้ม บ้านผาลาดหมู่ที่ 15 จากการสืบเสาะแหล่งข้อมูลที่เป็นสายภายในหมู่บ้าน ซึ่งกานันสมคิดได้สอบถามผู้นาทั้งสองหมู่บ้านทางนายวิชัยโปธา วิน ผู้ใหญ่บ้านผาลาดหมู่ที่ 15 รายงานต่อที่ประชุมว่ารับทราบข้อมูลเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถดาเนินการได้เพราะกลุ่ม คนที่ค้ายาเสพติด เป็นผู้มีอานาจ เคยได้ตักเตือนไปแล้ว ผลที่ตามมาคือทรัพย์ของตนเองถูกทาลาย เกิดความเสียหาย


89 เป็นอันมากและเกรงว่าจะไม่ได้รับความปลอดภัยในครอบครัวของตน นายลิแช คีรีกองการค้า ผู้ใหญ่บ้านบ้านห้วยต้ม หมู่ที่ 23 ได้ใช้วิธีการปกครองภายในหมู่บ้าน จะมีการประชุมในกลุ่มผู้นา ใช้กฎภายในหมู่บ้าน ที่เกิดปัญหาเป็นกลุ่มผู้ ลักลอบเข้ามาโดยผิดกฎหมาย มีที่อยู่ไม่เป็นหลักแหล่ง จึงควบคุมได้ยาก ด.ต.วิชา สุวรรณ หัวหน้าสถานีตารวจตู้ยามบ้านห้วยต้ม ได้เสนอว่า ทางตารวจได้จัดเวรยามออกตรวจใน ตอนกลางคืนทุกหมู่บ้าน แต่กาลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ จึงต้องขอความร่วมมือจากผู้นาในชุมชนได้ช่วยอีกทางหนึ่งและ พาหนะในการออกตรวจมีไม่เพียงพอ งบประมาณมีจากัดเพราะได้รับสนับสนุนไม่เพียงพอ กานันสมคิด ได้เสนอแนวทางในการดาเนินการ โดยแบ่งการออกตรวจเป็น 3 สาย (สายที่ 1 บ้านห้วยต้ม10 หมู่บ้าน สายที่ 2 บ้านนาเลี่ยง บ้านนามน บ้านฮั่ว บ้านผาลาด สายที่ 3 บ้านแม่หว่าง 4 หมู่บ้าน ) จัดแบ่งเวรผู้นา ทั้งหมด โดยจะของบสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตาบลนาทราย ซึ่งมีงบที่จะสนับสนุนให้อยู่จานวนหนึ่ง แต่ต้อง ทาโครงการเพื่อเสนอต่อสภา มติที่ประชุม เห็นชอบตามที่เสนอ 2. การดูแลนักเรียนในชุมชน ตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน นายวรเชษฐ์ ค่วยเทศ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านห้วยต้ม ได้เสนอต่อที่ประชุม ปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนส่วน ใหญ่เป็นโรงเรียนมัธยม ที่สอนในระดับ ม.ปลาย จึงขอเสนอให้โรงเรียนนาทรายวิทยาคม เป็นผู้เสนอ นางสุทธินี นันเพ็ญ ครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้อานวยการ เนื่องจากติดภารกิจไปร่วม ประชุมที่กรุงเทพฯ ได้เสนอการดาเนินงานของโรงเรียน โดยโรงเรียนได้ดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปัญหาของนักเรียนข้อมูลปัจจุบันที่พบส่วนใหญ่จะเป็นการขาดเรียน ไม่เข้าเรียน และปัญหาชู้สาว ส่วนยาเสพติด ไม่ พบนักเรียนที่เสพยาเสพติด จากการสุ่มตรวจปัสสาวะในปีการศึกษา 2553และปีการศึกษา 2554 แต่สิ่งที่เป็นห่วงคือ การดูแลนักเรียนหลังจากที่เลิกเรียนและวันหยุด การดูแลนักเรียนไม่เป็นกังวลเพราะอยู่ในเวลาที่เรียนหนังสือ หลังจาก เลิกเรียน นักเรียนมีเวลาที่จะไปเที่ยวหรือคบเพื่อนในหมู่บ้านเกรงว่าจะเกิดปัญหาตามมา โดยเฉพาะนักเรียนที่อาศัยอยู่ กับผู้ปกครอง อาจถูกชักจูงได้ง่าย อยากให้มีเครือข่ายในแต่ละหมู่บ้าน ซึ่งผู้นามีส่วนช่วยเหลือได้เป็นอย่างดี กานันสมคิด เห็นด้วย เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านส่วนใหญ่ก็เป็นนักเรียนที่อยู่ในหมู่บ้าน ผู้นาย่อมมี ข้อมูลของลูกบ้านเป็นอย่างดี ถ้าผู้นาช่วยแก้ไขปัญหาด้วย ก็จะทาให้ชุมชนปัญหาลดลงไปด้วย ให้ผู้นาบอกที่อยู่ข้อมูล ให้โรงเรียนเพื่อที่จะติดต่อได้สะดวก และปัญหาที่ต้องแก้ไขอีกเรื่องคือแหล่งมั่วสุมในหมู่บ้าน(ร้านเกม โต๊ะสนุกเก้อร์) เพราะมีวัยรุ่นมั่วสุมกันอยู่ มีอยู่ 2 แห่งคือที่บ้านนามนและบ้านผาลาด หมู่ที่ 15 ขอให้ผู้นาทั้ง 2 หมู่บ้านได้แจ้งเตือนให้ ทราบและไม่ให้นักเรียนเข้าสถานที่ดังกล่าวในขณะที่อยู่ระหว่างช่วงเวลาเรียน มติที่ประชุม เห็นชอบตามที่เสนอ


90 5. เรื่องอื่นๆ

5.1 การจัดการแข่งขันกีฬาในตาบลนาทราย ของกลุ่มแม่บ้าน ให้แจ้งและเสนอมายังผู้นาในชุมชน โดยจะ ประชุมกันในวันที่ 30 สิงหาคม 2554 5.2 การร่วมทาบุญที่วัดพระธาตุแก่งสร้อย ขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาทุกท่าน ปิดการประชุมเวลา 12.00 น.

ผู้บันทึกการประชุม

(นางสรนันท์ ยศใจสุรินทร์)

ผู้ตรวจบันทึกการประชุม

(นางสุทธินี นันเพ็ญ)


91 ภาคผนวก ฉ กาหนดการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว และการเสริมสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน ตามโครงการที่ 3 สุขภาพดีวิถีไทย วันที่ 15-16 กันยายน 2554 ณ วัดบ้านใหม่ศิวิไล ต.ลี้ อ.ลี้ จ.ลาพูน เวลา รายการ วิทยากร/ผู้รับผิดชอบ

วัน เดือน ปี 15 ก.ย. 08.30-09.00 น. นักเรียนและผู้ปกครอง 54 ลงทะเบียน 09.00-10.30 น. การสร้างสัมพันธภาพที่ดีใน ครอบครัว 10.30-12.00 น. การดูแลวัยรุ่นและปัญหา สุขภาพจิตวัยของรุ่น 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันและ เดินทางไปที่วัดบ้านใหม่ศิวิไล 13.00-15.00 น. กิจกรรมเปิดใจวัยรุ่นเพื่อสร้าง สุขในครอบครัว 15.00-16.30 น. กิจกรรมแม่ลูกผูกพัน 16.30-18.00 น. ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ และทาภารกิจส่วนตัว 18.00-19.00 น. รับประทานอาหารเย็น 19.00-20.00 น. กิจกรรมชี้นาชีวิต 21.00 น.

พักผ่อน

ครูกิจการนักเรียน วิทยากรโรงพยาบาลลี้ วิทยากรโรงพยาบาลลี้ ครูกิจการนักเรียน ร.พ.ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ตาบลนาทราย ร.พ.ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ตาบลนาทราย ครูกิจการนักเรียน

เจ้าอาวาสวัดบ้านใหม่ ศิวิไล

หมาย เหตุ


92 วัน เดือน เวลา รายการ ปี 16 ก.ย. 05.30-06.30 น. กิจกรรมสร้างสุขเพื่อสุขภาพที่ดี 2554 ของครอบครัว 06.30-07.00 น. กิจกรรมสร้างประโยชน์ต่อ ส่วนรวม 07.00-08.30 น. รับประทานอาหารเช้า 08.30-10.30 น. การสร้างสัมพันธภาพที่ดีใน ครอบครัว 10.30-12.00 น. กิจกรรมพันธะสัญญาร่วมกันใน ครอบครัว 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 น. กิจกรรมทาซึ้ง 15.00 น.

พิธีปิดและเสร็จสิ้นกิจกรรม

วิทยากร/ผู้รับผิดชอบ ครูกิจการนักเรียน ครูกิจการนักเรียน ครูกิจการนักเรียน ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ อบต.นาทราย ร.พ.ศูนย์ส่งเสริม สุขภาพตาบลนา ทราย ครูกิจการนักเรียน วิทยากรโรงพยาบาล ลี้ ครูกิจการนักเรียน

หมายเหตุ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.