วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
1
รายงานการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง Thai Way of Life on Holistic Health of 3 Ages in Tha Sabang Temple.
จัดทาโดย วัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สนับสนุนโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
2
คานา รายงานการถอดบทเรียนเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อถอดบทเรียนโครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง เป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาและวิถีชีวิตไทยแบบพื้นบ้านของคนอีสาน ที่ อาศัยอยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4และหมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด โดยนาเอาหลักธรรมะทางพระพุทธศาสนา ยึดเป็นแนวทางการดาเนินชีวิตอย่าง พอเพียงของชาวอีสานที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษได้ปลูกฝังให้ บุคคลในชุมชนทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุ ให้มีความรัก ความสามัคคี มีคุณธรรมและจริยธรรม ด้วยการมีส่วนร่วมกิจกรรมของคน ใน หมู่บ้าน โรงเรียนและชุมชน วัดบ้านท่าสะแบง อันเป็นศูนย์รวมพลังทางกายและจิตใจของชุมชนบ้าน ท่าสะแบง รายงานการถอดบทเรียนเล่มนี้ ได้สาเร็จสมบูรณ์และเป็นรูปเล่มที่สวยงาม ผู้ถอดบทเรียน ขอกราบนมัสการขอบพระคุณ พระครูสิทธิวโรภาส รองเจ้าคณะอาเภอทุ่งเขาหลวง (ฝ่ายการศึกษา) เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธานโครงการ และพระภิกษุสามเณร วัดท่าสะแบงทุกรูป ขอขอบคุณภูมิ ปัญญาพื้นบ้านและผู้รู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ขอขอบคุณโครงการสานักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ให้การสนับสนุนการถอดบทเรียน ให้ สาเร็จลุล่วงด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานการถอดบทเรียนเล่มนี้ คงเกิดประโยชน์แก่ผู้ศึกษา เรียนรู้ และ ผู้ที่สนใจในวิถีชีวิตของสังคมคนไทยอีสาน
ผู้ถอดบทเรียน ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
3
สารบัญ เรื่อง คานา สารบัญ การถอดบทเรียน ………………………………………………………………………… ความเป็นมาของโครงการ ………………………………………………………………. การเตรียมการถอดบทเรียน …………………………………………………………….. โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง ………………………………….. กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมอาชีพข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง ………….…… กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง ………………….……. บทบาทและหน้าที่ของทีมงานถอดบทเรียน ………………………………….………… แผนภูมิโครงร่างกรอบแนวคิดกระบวนการถอดบทเรียน ……………………………… วิธีการถอดบทเรียนแบบการวิเคราะห์หลังปฏิบัติ (After Action Review : AAR) …….. ปฏิทินการถอดบทเรียน ………………………………………………………………… ขั้นตอนดาเนินการถอดบทเรียน ………………………………………………………… วิธีการปฏิบัติงานที่กาหนดในแผนการปฏิบัติงาน ……………………………………… การเปรียบเทียบความแตกต่างในการปฏิบัติงาน ……………………………………….. ข้อเสนอแนะวิธีการปฏิบัติงานต่อไปให้ดีขึ้น …………………………………………… ข้อเสนอแนะวิธีการป้องกันไม่ให้เกิดอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ………………………. ข้อเสนอแนะในสิ่งที่ควรทาเพิ่มเติมในการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ………………………… การประเมินความพึงพอใจผลการปฏิบัติที่ผ่านมา ………………………………………. แหล่งข้อมูล ………………………………………………………………………………
หน้า
1 3 9 14 17 21 28 33 40 42 43 47 53 59 62 63 64 66 67 68
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
4
การถอดบทเรียน โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ปัจจุบันหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ให้ความสาคัญกับการเรียนรู้มากขึ้นโดยเห็นว่า องค์กรที่จะพัฒนาไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้นั้น จะต้องนากระบวนการจัดการความรู้ ไปใช้พัฒนา การทางานในหน่วยงานหรือองค์กร ซึ่งวิธีการจัดการความรู้ที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมาก คือ การถอดบทเรียน (Lesson distilled) แนวทางการถอดบทเรียนในเอกสารเล่มนี้ ได้แนวคิดจากคู่มือการ ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาชุมชน และเอกสารอื่นๆ ซึ่งมีประเด็นที่น่าสนใจพอสรุปได้ดังนี้ วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554 พระครูสิทธิวโรภาส รองเจ้าคณะอาเภอทุ่งเขาหลวง (ฝ่ายการศึกษา) เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด พร้อมด้วย พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล เลขานุการรองเจ้าคณะอาเภอทุ่งเขาหลวง รองเจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ได้รับ นิมนต์ไปประชุมที่มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพมหานคร เพื่อรับฟังการอภิปราย และเข้ารับ โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) โครงการสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เมื่อรับโครงการจากที่ประชุม จึงได้ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนบ้านท่าสะแบงได้รับทราบ โดยการจัดประชาคม วิเคราะห์เกี่ยวกับ สภาพปัจจุบันและปัญหาของชุมชนบ้านท่าสะแบง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง อาชีพ ศาสนา วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และการสื่อสารคมนาคม ให้บุคคลในชุมชนได้ร่วมกันแสดง ความคิดเห็นและทาการวิเคราะห์ความต้องการของชุมชนบ้านท่าสะแบง ว่าชุมชนต้องการอะไรและ มีปัญหาอะไรบ้าง เมื่อข้อมูลการวิเคราะห์ชุมชนบ้านท่าสะแบง ประธานโครงการ และ ผู้ประสานงานโครงการ จึงได้ประชาสัมพันธ์และเชิญตัวแทนจากหน่วยงานองค์กรในชุมชนบ้านท่าสะแบง ไดแก่ นายอาเภอ ทุ่งเขาหลวง กศน. อาเภอทุ่งเขาหลวง โรงเรียนบึงงามพัฒนา โรงเรียนบ้านขว้าง ท่าสะแบง กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกานัน ชาวบ้านในชุมชนบ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และ หมู่ 7 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2554 เวลา 18.00 น. ณ วัดท่าสะแบง ได้องค์ประกอบของโครงการตามกรอบ ปศท.2 ตามลาดับ ดังนี้ 1. หลักการและเหตุผล 2. วัตถุประสงค์ 3. เป้าหมาย (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) 4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 5. วิธีการดาเนินโครงการ
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
5
6. ระยะเวลาดาเนินโครงการ 7. ตารางการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับผิดชอบ 9. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการ 10. ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (ที่ส่งผลต่อสุขภาวะทางร่างกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญา) ผลการประชาคมชุมชนบ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 สรุปได้ดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน รายงานข้อเสนอทางเลือกระบบการศึกษาทางเลือกที่เหมาะสมกับ สุขภาวะของบุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. วางแผนดาเนินการ จัดทาโครงการและเตรียมการนาร่องการจัดการศึกษาตามข้อเสนอ ระบบการศึกษาทางเลือกฯ 3. การสรรหาและคัดเลือกองค์กรที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ วัดท่าสะแบง ประกอบด้วย องค์กรในชุมชนบ้านท่าสะแบง จานวน 6 องค์กร ดังนี้ 1. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบง 2. ชุมชนหมู่ 4 บ้านท่าสะแบง 3. ชุมชนหมู่ 7 บ้านท่าสะแบง 4. โรงเรียนบึงงามพัฒนา 5. โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง 6. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง 4. จัดประชุมชี้แจงและทาความเข้าใจกับคณะทางานขององค์กรที่เข้าร่วมโครงการ 5. จัดตั้งคณะทางานดาเนินโครงการในชุมชนวัดท่าสะแบง 6. องค์กรในชุมชนวัดท่าสะแบงที่ร่วมโครงการจัดตั้งคณะทางาน และดาเนินโครงการตาม แนวคิดหลักการของโครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัย ในวัดท่าสะแบง 7. รับการนิเทศ ติดตามผล และประเมินผลการนาร่อง เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในรูปแบบ ของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อสารมวลชน สื่อออนไลน์ และประชุมสัมมนา 8. เป็นแหล่งจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระหว่างการดาเนินงานนาร่องในท้องถิ่นและในส่วนกลาง 9. สรุปกิจกรรมเป็นกรณีศึกษาของวัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 10. จัดทารายงานการดาเนินโครงการนาเสนอ สสส. หน่วยงานต้นสังกัดที่เกี่ยวข้อง เพื่อขยายผล และสนับสนุนเชิงนโยบาย
ความเป็นมาของโครงการ
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
6
โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ชื่อโครงการ วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง Thai Way of Life on Holistic Health of 3 Ages in Tha Sabang Temple. 1. หลักการและเหตุผล ร้อยเอ็ด เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคอีสานมานานกว่า 200 ปี อดีตเคยเป็นเมืองใหญ่ ที่เจริญรุ่งเรืองมาก ชื่อว่า“สาเกตุนคร” มีประตูเข้าเมือง 11 ประตู มีเมืองขึ้น 11 เมือง ส่วนหนึ่งเป็น พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ มีเนื้อที่ทุ่งกว้างใหญ่ประมาณสองล้านไร่เศษ ได้รับการพัฒนาให้เป็นแผ่นดินแห่ง ความอุดมสมบูรณ์ที่มีชื่อเสียงในด้านการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐาน105 จังหวัดร้อยเอ็ดประกอบด้วย 19 อาเภอ หนึ่งในนั้นมีอาเภอทุ่งเขาหลวงซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดท่าสะแบง ตั้งอยู่เลขที่ 97 บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ.2405 เดิมชื่อวัดตาลท่าสะแบง ต่อมาปี พ.ศ. 2481 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 ได้เปลี่ยน ชื่อวัดเป็น “วัดท่าสะแบง” มาถึงปัจจุบัน วิถีชีวิตของคนไทยอีสานในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้ดาเนินพื้นฐานชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ได้ยึดหลักฮีตสิบสอง ซึ่งเป็นจารีตประเพณีบุญสิบสองเดือนและยึดหลักคองสิบสี่ โดยมีวัดท่าสะแบง เป็นศูนย์รวมและยึดเหนี่ยวจิตใจของชุมชน จึงทาให้บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงได้มีโอกาสร่วมกัน ชุมนุมทาบุญเป็นประจาทุกเดือนในรอบปี ส่งผลให้บุคคลในชุมชนทุกคนทั้งวัยเด็ก ผู้ใหญ่และสูงอายุ ได้มีเวลาเข้าวัดปฏิบัติตามหลักการของธรรมะทางพระพุทธศาสนามากขึ้น จึงทาให้บุคคลที่อาศัยอยู่ ในชุมชนวัดท่าสะแบง มีสุขภาวะทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญา โดยมีจารีตประเพณีไทย เป็นหลักให้ชุมชนวัดท่าสะแบงได้เสียสละและมีจิตสาธารณะทางานร่วมกันเพื่อสังคมส่วนรวม วัดท่าสะแบง ได้รับคัดเลือกให้เป็นวัดในโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของ องค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย ดังนั้นชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง จึงได้ร่วมกันคิดค้นหากลวิธีและการจัด กิจกรรมต่าง ๆ ในวัดท่าสะแบง เพื่อเป็นต้นแบบสามารถ นาไปใช้ในพื้นที่อื่นได้ จึงได้มีการประชาสัมพันธ์ให้ตัวแทนขององค์กรและประชาชนที่อาศัยอยู่ใน ชุมชนวัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัด ร้อยเอ็ด เข้าร่วมประชุม ร่วมกันแสดงความคิดเห็น ร่วมกันเสนอข้อมูลพื้นฐาน และคิดค้นหาปัญหา ที่เกิดขึ้นในชุมชน พร้อมทั้งกาหนดวิธีการแก้ไขปัญหา และแนวทางเลือกปฏิบัติที่เหมาะสมเกี่ยวกับ วิถีชีวิตไทยอย่างพอเพียง ในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนวัดท่าสะแบงเพื่อให้รอดพ้นจากวิกฤต ในสังคมทุกด้าน ด้วยวิธีการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการ มีส่วนร่วมของบ้าน วัด โรงเรียน และชุมชน เพื่อส่งเสริมให้บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงได้เรียนรู้
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
7
ทางด้านศาสนา คุณธรรมและจริยธรรม ด้านภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ด้านส่งเสริม อาชีพการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิ และด้านการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ ซึ่งจะส่งผลให้บุคคล ในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามัคคี อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มีคุณภาพชีวิต ที่ดขี ึ้น และนาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดอี ย่างยั่งยืน 2. วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง 3. ส่งเสริมอาชีพในชุมชนวัดท่าสะแบง 4. ส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง 3. เป้าหมาย 3.1 ด้านปริมาณ บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้แก่ หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอ ทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 986 คน 3.2 ด้านคุณภาพ บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้แก่ วัยเด็ก วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ มีสุขภาวะที่ดี ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตสูงขึ้น ร้อยละ 80 4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีส่วนร่วมกิจกรรมวิถีชีวิตไทยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีการพัฒนา สุขภาวะทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาตามวัยสูงขึ้น ร้อยละ 80 2. วัดท่าสะแบงได้จัดทาโครงการและส่งเสริมกิจกรรมแบบชุมชนมีส่วนร่วมกับองค์กรในชุมชนวัด ท่าสะแบง จานวน 6 องค์กร ได้แก่ วัดท่าสะแบง โรงเรียนบึงงามพัฒนา โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอทุ่งเขาหลวง ชุมชนหมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 3. วัดท่าสะแบงดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ และกิจกรรมส่งเสริมแบบชุมชนมีส่วนร่วม ด้านส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรม ด้านภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้าน ด้านส่งเสริมอาชีพ และด้านการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง 4. วัดท่าสะแบงมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรในและนอกชุมชน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 5. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีสุขภาวะที่ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา ส่งผลให้ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
8
5. วิธีการดาเนินโครงการ ก. ระยะนาร่อง จานวน 15 เดือน (เมษายน 2554 - มิถุนายน 2555) 1. ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน รายงานข้อเสนอทางเลือกระบบการศึกษาทางเลือกที่เหมาะสมกับสุขภาวะ ของบุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. วางแผนดาเนินการ จัดทาโครงการและเตรียมการนาร่องการจัดการศึกษาตามข้อเสนอระบบ การศึกษาทางเลือกฯ 3. การสรรหาและคัดเลือกองค์กรที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ วัดท่าสะแบง ประกอบด้วย องค์กรในชุมชนบ้านท่าสะแบง จานวน 6 องค์กร ดังนี้ 1. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบง 2. ชุมชนหมู่ 4 บ้านท่าสะแบง 3. ชุมชนหมู่ 7 บ้านท่าสะแบง 4. โรงเรียนบึงงามพัฒนา 5. โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง 6. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง 4. จัดประชุมชี้แจงและทาความเข้าใจกับคณะทางานขององค์กรที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อพิจารณา และกาหนดแนวทางการดาเนินงานร่วมกัน จานวน 2 ครั้ง 5. จัดตั้งคณะทางานดาเนินโครงการในชุมชนวัดท่าสะแบง 6. องค์กรในชุมชนวัดท่าสะแบงที่ร่วมโครงการจัดตั้งคณะทางาน และดาเนินโครงการตาม แนวคิดหลักการของโครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัย ในวัดท่าสะแบง 7. รับการนิเทศ ติดตามผล และประเมินผลการนาร่อง เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในรูปแบบ ของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อสารมวลชน สื่อออนไลน์ และประชุมสัมมนา 8. เป็นแหล่งจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เวทีเสวนา และสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างการ ดาเนินงานนาร่องในท้องถิ่นและในส่วนกลาง 9. สรุปกิจกรรมเป็นกรณีศึกษาของวัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 10. จัดทารายงานการดาเนินโครงการนาเสนอ สสส. หน่วยงานต้นสังกัดที่เกี่ยวข้อง เพื่อขยายผล และสนับสนุนเชิงนโยบาย ข. ระยะเวลาขยายผล จานวน 15 เดือน (ระหว่างปี 2555-2556) นาผลการดาเนินการนาร่องไปปรับปรุงพัฒนา เสนอนโยบาย และขยายผลทุกภูมิภาค 6. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ เดือนเมษายน พ.ศ. 2554 - เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
9
7. ตารางการปฏิบัติงานตามโครงการ
1.ประชุมคณะทางาน ตัวแทน 6 องค์กรใน ชุมชนวัดท่าสะแบง 2. แต่งตั้งคณะทางาน และจัดทาโครงการ 3. วางแผนการจัด กิจกรรมโครงการ รวม 4 กิจกรรม 4. จัดทาคู่มือการ เรียนรู้ตามโครงการ รวม 4 กิจกรรม 5. ประสานงานและ ประชาสัมพันธ์ การทางาน 6. ดาเนินการจัด กิจกรรมโครงการ รวม 4 กิจกรรม 7.ประเมินผล สรุปผล การจัดกิจกรรม และ ถอดบทเรียน
มิ.ย.
พ.ค.
เม.ย.
มี.ค.
ก.พ.
ม.ค.
ธ.ค.
พ.ย.
ต.ค.
ปี 2555 ก.ย.
ส.ค.
ก.ค.
มิ.ย.
พ.ค.
เม.ย.
กิจกรรม
ปี 2554
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
10
8. การดาเนินโครงการ งบประมาณสนับสนุน 210,000 บาท ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรม ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมและแต่งตั้งคณะทางาน 2. วางแผนการทางานโครงการ ขั้นดาเนินการ 1. จัดทาคู่มือการเรียนรู้ 4 กิจกรรม 2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 3. ประชาสัมพันธ์การทางาน 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการ จานวน 4 กิจกรรม ดังนี้ 4.1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 4.2 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง 4.3 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และ วัฒนธรรมพื้นบ้านชุมชนวัดท่าสะแบง 4.4 กิจกรรมส่งเสริมอาชีพการทา ข้าวกล้องงอกหอมมะลิวัดท่าสะแบง 4.5 กิจกรรมส่งเสริมการออกกาลังกาย ในชุมชนวัดท่าสะแบง 4.6 การจัดนิทรรศการโครงการฯ ขั้นประเมินผล 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 2. การตอบแบบสอบถาม 3. สรุปผลการดาเนินงาน 4. รายงานผลและถอดบทเรียน
ระยะเวลา
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
1 เมษายน 2554 – 30 เมษายน 2554
4,000 6,000
1 พฤษภาคม 2554 – 31 พฤษภาคม 2554
15,000 15,000
1. ประธาน โครงการ 2. คณะทางาน โครงการ 3. ผู้ประสานงาน โครงการ และ เหรัญญิก 4. ที่ปรึกษา โครงการและ ถอดบทเรียน 5. หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในชุมชน
1 มิถุนายน 2554 – 24 ธันวาคม 2554 27,000 25,500 27,000 25,500 30 ธันวาคม 2554
16,000
1 มิถุนายน 2554 – 30 เมษายน 2555
1,000 8,000
40,000
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
11
9. ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทางานโครงการ พระครูสุทธิวโรภาส พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป นายธงชัย โพธิรุกข์ นายเสนอ แก้วนาคูณ นางบัวบาน ประวิเศษ นายบุญเสริม เครือน้าคา นายประพันธ์ ดิลกศรี นายธารง ทิพยสาร นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ นางวิภา ชุดขุนทด นางคมทอง จานงค์จิตร นางสุปรียา ทิพยสาร นางนวลจันทร์ ชะยุมาตร์ นางกอบแก้ว สุดเสน่ห์ นางทองทรัพย์ ปัตโต นางเกสร พิชัย นางสาวกัตติกา ชุดขุนทด นางลาพอง วิลัยศิลป์ นายสารอง มาลาขันธ์ เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ นายดวน เอกวุธ พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล
เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง วัดท่าสะแบง นักวิชาการ วัดท่าสะแบง ผอ.ร.ร.บึงงามพัฒนา ผอ.ร.ร.บ้านขว้างท่าสะแบง ผอ.กศน.อาเภอทุ่งเขาหลวง กานันตาบลมะบ้า ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 สารวัตรกานันตาบลมะบ้า สารวัตรกานันตาบลมะบ้า ครู ร.ร.บึงงามพัฒนา ครู ร.ร.บ้านขว้างท่าสะแบง ครู กศน. ทุ่งเขาหลวง กศน. ทุ่งเขาหลวง เยาวชนบ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง บ้านท่าสะแบง ไวยาวัจกรวัดท่าสะแบง รองเจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง
ประธาน รองประธาน ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน ฝ่ายสถานที่และพิธีกรรม ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจกรรม ฝ่ายกิจกรรม ฝ่ายกิจกรรม ฝ่ายกิจกรรม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายปฏิคม ฝ่ายประเมินผล ฝ่ายประเมินผล ฝ่ายประเมินผล ฝ่ายประเมินผล ฝ่ายเอกสาร ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ผู้ประสานงานและเหรัญญิก
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
12
การเตรียมการถอดบทเรียน ชุมชนในบ้านท่าสะแบง ทั้ง 6 องค์กร ได้มีการประชาคมและร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดกิจกรรมย่อยของโครงการ ได้แนวคิดมาจากวิถีดาเนินชีวิตประจาวันแบบพื้นบ้านของคนอีสาน ในชุมชนบ้านท่าสะแบง แบ่งเป็น 4 กิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง 3. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิในชุมชนวัดท่าสะแบง 4. กิจกรรมส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง การเตรียมการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง มีขั้นตอน เตรียมการถอดบทเรียน ตามลาดับดังนี้ 1. ขั้นเตรียมการถอดบทเรียน 1.1 การประชุมคณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง จากหน่วยงานทั้ง 6 องค์กร ร่วมกันคัดเลือกภูมิปัญญาพื้นบ้าน บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานได้จริงในแต่ละ กิจกรรม แบ่งเป็น 4 กิจกรรม โดยทาคาสั่งแต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษรและประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องทราบ ทีมงานถอดบทเรียนแบ่งเป็น 4 กิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง จากหน่วยงานทั้ง 6 องค์กร ร่วมกันคัดเลือก ภูมิปัญญาพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง และบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการถอดบทเรียน ดังนี้ 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธาน 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง รองประธาน 3. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง กรรมการ 4. นายประพันธ์ ดิลกศรี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ 5. นายธงชัย โพธิรุกข์ ผอ.ร.ร.บึงงามพัฒนา กรรมการ 6. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน กรรมการ 7. นายดวน เอกวุธ ไวยาวัจกรวัดท่าสะแบง กรรมการ 8. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล รองเจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ผู้ประสานงานและเหรัญญิก 9. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
13
กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง จากหน่วยงานทั้ง 6 องค์กร ร่วมกันคัดเลือก ภูมิปัญญาพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง และบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการถอดบทเรียน แบ่งเป็น 3 กิจกรรมย่อย ดังนี้ กิจกรรมที่ 2.1 การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง ร่วมกันคัดเลือกทีมงานถอดบทเรียน ดังนี้ 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธาน 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง รองประธาน 3. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง กรรมการ 4. นางลาพอง วิลัยศิลป์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 5. นางวัน วจีภูมิ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 6. นางพูน ธุหา บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 7. นางพร จิตรวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 8. นางบุญนอง สนองผัน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 9. นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 10. นางลาไย ฤทธิวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 11. นางจาลอง เอกวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 12. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล รองเจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ผู้ประสานงานและเหรัญญิก 13. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน กิจกรรมที่ 2.2 การสานตาแหลววัดท่าสะแบง คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง ร่วมกันคัดเลือกทีมงานถอดบทเรียน ดังนี้ 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธาน 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง รองประธาน 3. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง กรรมการ 4. นายประพันธ์ ดิลกศรี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 5. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 6. นางคมทอง จานงค์จิตร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 7. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 8. นายดวน เอกวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
14
9. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล รองเจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ผู้ประสานงานและเหรัญญิก 10. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน กิจกรรมที่ 2.3 การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง ร่วมกันคัดเลือกทีมงานถอดบทเรียน ดังนี้ 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธาน 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง รองประธาน 3. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง กรรมการ 4. นายธารง ทิพยสาร ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 5. นางสุปรียา ทิพยสาร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 6. นายสารอง มาลาขันธ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 7. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล รองเจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ผู้ประสานงานและเหรัญญิก 8. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง จากหน่วยงานทั้ง 6 องค์กร ร่วมกันคัดเลือก ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการถอดบทเรียน ดังนี้ 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธาน 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง รองประธาน 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล วัดท่าสะแบง ผู้ประสานงาน 4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง กรรมการ 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา กานันตาบลมะบ้า กรรมการ 6. นายประพันธ์ ดิลกศรี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ 7. นายธารง ทิพยสาร ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ 8. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ 9. นางคมทอง จานงค์จิตร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ 10. นางสุปรียา ทิพยสาร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ 11. นางสาวกัตติกา ชุดขุนทด บ้านท่าสะแบง กรรมการ 12. นางวิภา ชุดขุนทด ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 13. นายประจันทร์ ใจขาน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 14. นายพิบูลย์ เกษเพชร บ้านท่าไคร้ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 15. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
15
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง จากหน่วยงานทั้ง 6 องค์กร ร่วมกันคัดเลือก ภูมิปัญญาพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง และบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการถอดบทเรียน แบ่งเป็น 3 กิจกรรมย่อย ดังนี้ กิจกรรมที่ 4.1 การออกกาลังกายท่ามือเปล่า คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง ร่วมกันคัดเลือกทีมงานถอดบทเรียน ดังนี้ 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง 2. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล ผู้ประสานงานและเหรัญญิก 3. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน 4. นางเกสร พิชัย ผู้นาออกกาลังกาย 5. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 6. นางพูน ธุหา ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 7. นางบุญนอง สนองผัน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 8. นางวิภา ชุดขุนทด ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 9. นางคมทอง จานงค์จิตร ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 10. เด็กหญิงอาธิตญา เสาสมภพ แสดงแบบ กิจกรรมที่ 4.2 การออกกาลังกายใช้ยางวง คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง ร่วมกันคัดเลือกทีมงานถอดบทเรียน ดังนี้ 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง 2. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล ผู้ประสานงานและเหรัญญิก 3. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน 4. นางเกสร พิชัย ผู้นาออกกาลังกาย 5. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 6. นางพูน ธุหา ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 7. นางบุญนอง สนองผัน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 8. นางวิภา ชุดขุนทด ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 9. นางคมทอง จานงค์จิตร ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 10. เด็กหญิงอาธิตญา เสาสมภพ แสดงแบบ
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
16
กิจกรรมที่ 4.3 การออกกาลังกายใช้ไม้คาน คณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง ร่วมกันคัดเลือกทีมงานถอดบทเรียน ดังนี้ 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง 2. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล ผู้ประสานงานและเหรัญญิก 3. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน 4. นางเกสร พิชัย ผู้นาออกกาลังกาย 5. นางบุญนอง สนองผัน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 6. นางวิภา ชุดขุนทด ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 7. นางคมทอง จานงค์จิตร ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 8. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ ภูมิปัญญาพื้นบ้านและแสดงแบบ 9. นางพูน ธุหา ภูมิปัญญาพื้นบ้านและแสดงแบบ 1.2 การประชุมคณะทีมงานถอดบทเรียน ทั้ง 4 กิจกรรม ได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นและ เสนอแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง โดยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นภายใน ทีมงานของทุกกิจกรรม เน้นการเคารพในความคิดเห็นของบุคคล ความเอื้ออาทร ความเท่าเทียมกัน ในการทางาน รวมทั้งให้ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน 1.3 วิเคราะห์โครงการ เพื่อให้ทีมงานถอดบทเรียนของแต่ละกิจกรรม มีความเข้าใจตรงกัน ในแต่ละหัวข้อกิจกรรมในโครงการ ได้แก่ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอน การดาเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ระยะเวลาในการดาเนินงาน และงบประมาณของโครงการ ประกอบด้วย 4 กิจกรรม มีรายละเอียดดังนี้
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
17
โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ชื่อโครงการ วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง Thai Way of Life on Holistic Health of 3 Ages in Tha Sabang Temple. กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในการเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรมนาความรู้ ตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย จากการประเมินในด้านนักเรียน จุดด้อยที่ควรแก้ไขและพัฒนา คือ การกากับดูแลแก้ไขพฤติกรรมนักเรียนที่ไม่พึงประสงค์ ให้เป็น มาตรฐานและเป็นแบบอย่างที่ดีของโรงเรียน ด้านคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน เพื่อเป็น การปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมและส่งเสริมนักเรียนได้เรียนรู้การปฏิบัติตนให้เหมาะสมในสถานภาพของนักเรียน และเป็นคนดีของสังคม รู้จักนาเอาทักษะความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ ปฏิบัติตนให้ เหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ในสังคมยุคปัจจุบัน อาจมีบุคคลบางส่วนที่ประพฤติปฏิบัติตนไม่ เหมาะสม ขาดความยั้งคิด และขาดคุณธรรม จริยธรรม จึงทาให้เกิดปัญหาทางสังคม ควรได้รับการ เรียนรู้และแนวทางการปฏิบัติตนให้ถูกต้อง โดยใช้กิจกรรมทางพุทธศาสนพิธี เพื่ อประกอบพิธีกรรม ตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนในชุมชนวัดท่าสะแบง ซึ่งเป็นการ สืบทอด ประเพณีไทยและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง โดยการมีส่วนร่วมกิจกรรมของคนใน หมู่บ้าน วัด โรงเรียน และชุมชนวัดท่าสะแบง ทั้งวัยเด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุ เกิดความรัก ความ สามั ค คี ความสมานฉั นท์ สามารถนาเอาทัก ษะการเรียนรู้ มาประยุ ก ต์ใช้ ใ ห้เ กิ ดประโยชน์ใ นการ ดารงชี วิตประจาวัน และท ากิ จกรรมร่วมกั นในสังคมได้อย่ า งมีความสุข รวมทั้งเป็นการส่งเสริ ม พุทธศาสนา คุณธรรม และจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง ให้อยู่คู่กับสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืน ตลอดไป วัตถุประสงค์ ผลผลิต (Out put) 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้พุทธศาสนาโดยนาเอาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสดามาประยุกต์ใช้ กับหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิตประจาวันในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติตนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรมพุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ใน สังคมอย่างสันติสุข
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
18
ประโยชน์ที่ได้รับ ผลลัพธ์ (Out come) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง ดาเนินวิถีชีวิตประจาวันอยู่อย่างพอเพียง 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีคุณธรรม จริยธรรม และมีส่วนร่วมการสืบสานขนบประเพณีไทย ให้อยู่คู่กับชุมชนอีสานและสังคมไทยอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบงทากิจกรรมพุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ในสังคมอย่างสันติสุข เป้าหมาย เป้าหมาย เชิงปริมาณ เด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอ ทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 100 คน เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย จานวน 100 คน ได้เรียนรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ส่งผลให้มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของสังคม คิดเป็นร้อยละ 80 ระยะเวลาดาเนินการ เริ่มตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 – 1 เมษายน 2555 สถานที่ดาเนินการ
ชุมชนวัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
หน่วยงานที่รับผิดชอบ วัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. วัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 2. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 3. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 7 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 4. โรงเรียนบึงงามพัฒนา ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 5. โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 6. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
19
ผู้รับผิดชอบ คณะทางานโครงการ ประกอบด้วย 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธาน 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง รองประธาน 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล วัดท่าสะแบง ผู้ประสานงาน 4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง กรรมการ 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา กานันตาบลมะบ้า กรรมการ 6. นางบัวบาน ประวิเศษ ผอ.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ 7. นายธงชัย โพธิรุกข์ ผอ.รร.บึงงามพัฒนา กรรมการ 8. นายเสนอ แก้วนาคูณ ผอ.รร.บ้านขว้างท่าสะแบง กรรมการ 9. นางทองทรัพย์ ปัตโต ครู.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ 10 นางกอบแก้ว สุดเสน่ห์ ครู รร.บึงงามพัฒนา กรรมการ 11. นางนวลจันทร์ ชะยุมาตร์ ครู รร.บ้านขว้างท่าสะแบง กรรมการ 12. นายประพันธ์ ดิลกศรี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ 13. นายธารง ทิพยสาร ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ 14. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ 15. นางวิภา ชุดขุนทด ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ 16. นางคมทอง จานงค์จิตร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ 17. นางสุปรียา ทิพยสาร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ 18. นางลาพอง วิลยั ศิลป์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 19. นางวัน วจีภูมิ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 20. นางพูน ธุหา บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 21. นางพร จิตรวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 22. นางบุญนอง สนองผัน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 23. นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 24. นางลาไย ฤทธิวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 25. นางจาลอง เอกวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 26. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 27. นายสารอง มาลาขันธ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 28. นายดวน เอกวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 29. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
20
วิธีดาเนินงาน กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง งบประมาณ 70,000 บาท รายละเอียดดังนี้ กิจกรรม ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทางาน 2. แต่งตั้งคณะทางาน 3. วางแผนการทางาน ขั้นดาเนินการ 1. จัดทาคู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรม ในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 3. ประชาสัมพันธ์การทางาน 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการ 4.1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 4.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม ในชุมชนวัดท่าสะแบง 4.3 จัดนิทรรศการ ขั้นประเมินผล 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 2. การตอบแบบสอบถาม 3. สรุปผลการดาเนินงาน 4. รายงานผลการจัดทาโครงการและ ถอดบทเรียน
ระยะเวลา
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
1 เมษายน 2554 – 30 เมษายน 2554
3,000
1. ประธานโครงการ 2. คณะทางาน โครงการ 3. ผู้ประสานงาน โครงการและ เหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการ และถอดบทเรียน
1,500 1 พฤษภาคม 2554 – 31 พฤษภาคม 2554 1 มิถุนายน 2554 – 24 ธันวาคม 2554
3,000 5,000 44,500 -
30 ธันวาคม 2554
10,000
1 มิถุนายน 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 30 ธันวาคม 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555
3,000 -
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
21
งบประมาณ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้รับงบประมาณสนับสนุน จานวน 70,000 บาท ตามรายละเอียดต่อไปนี้ รายการ 1. ค่าอาหารการประชุมคณะทางาน 2. ค่าตอบแทนพิจารณาโครงการ 3. ค่าจัดทาคู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและคุณธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง 4. ค่าตอบแทนครูผู้สอน 5. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานคณะทางาน 6. ค่าดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7. ค่าสถานที่ประชุม 8. ค่าสื่อและแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ 9. ค่าจัดทาแบบสอบถาม 10. ค่าวัสดุสานักงาน 11. ค่าพาหนะเดินทาง 12. ค่าจัดนิทรรศการ
จานวนเงิน/บาท 3,000 1,500 3,000 12,000 3,000 25,000 5,000 5,000 500 1,000 1,000 10,000 70,000
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผู้ประสานงานโครงการ และเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการและ ถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
22
การวัดและประเมินผล ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ ด้านผลผลิต (OUTPUT) 1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้พุทธศาสนา โดยนาเอาหลักธรรมคาสอนของ พระพุทธศาสดามาประยุกต์ใช้กับ หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดาเนินชีวิตประจาวันในชุมชน วัดท่าสะแบง 2. เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติตน ให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรม พุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้ เกิดความรัก ความสามัคคี และ อยู่ในสังคมอย่างสันติสุข
วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการวัดและ ประเมินผล
-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน
เครื่องมือที่ใช้ วัดและประเมินผล -แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบประเมิน ผลงาน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ ด้านผลลัพธ์ (OUTCOME) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง ดาเนินวิถีชีวิตประจาวันอยู่อย่าง พอเพียง 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม และมีส่วนร่วม การสืบสานขนบประเพณีไทยให้อยู่ คู่กับชุมชนอีสานและสังคมไทย อย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคล 3วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง ทากิจกรรมพุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ในสังคมอย่างสันติสุข
23
วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการวัดและ ประเมินผล
-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน
เครื่องมือที่ใช้ วัดและประเมินผล -แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบประเมิน ผลงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง ดาเนินวิถีชีวิตประจาวันโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ ประยุกต์ใช้ให้อยู่อย่างพอเพียงได้อย่างเหมาะสม 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีคุณธรรม จริยธรรม และมีส่วนร่วมการสืบสานขนบประเพณีไทยให้ อยู่คู่กับชุมชนอีสานและสังคมไทยอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคล 3 วัยทั้งเด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้ทากิจกรรมพุทธศาสนพิธีร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข 4. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาวะที่ดี และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
24
กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล ภูมิปัญญาไทย ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนบ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 ได้เรียนรู้ สืบสาน และถ่ายทอดสืบต่อกันมาเรื่อยๆจากรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย มาถึงลูกหลาน ให้รู้จักคุณค่า ความส าคั ญ มองเห็นประโยชน์ข องภูมิ ปั ญญาด้านศิล ปะและวัฒนธรรมพื้ นบ้าน ที่ส ามารถนาเอา ทรัพยากรธรรมชาติและวัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาปรับประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการ ดาเนินชีวิต เพื่อประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชน ในชุมชนวัด ท่าสะแบง ด้วยการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลว และการทาฮังมดแดง โดยนาเอา ภูมิ ปัญญาพื้นบ้านและผู้รู้ ในชุมชนถ่ายทอดความรู้ให้กับ เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ และผู้ที่สนใจมาเรียนรู้ วิธีการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลวและการทาฮังมดแดง ซึ่งเป็นการสืบทอดภูมิปัญญา ไทย ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง โดยการมีส่วนร่วมกิจกรรมของบ้าน วัด โรงเรียนและชุมชน เพื่อให้เด็ก ผู้ใ หญ่และ ผู้สูงอายุ เกิดความรัก ความสามัคคี ความสมานฉันท์ สามารถนาทักษะการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิตประจาวัน และทากิจกรรม ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข รวมทั้งเป็นการส่งเสริม ภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านใน ชุมชนวัดท่าสะแบง ให้อยู่คู่กับสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ ผลผลิต (Out put) 1. เพื่อส่งเสริมเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้นาเอาหลักแนวคิดของ เศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดาเนินชีวิต 2. เพื่อส่งเสริมการคิดค้นพัฒนาสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนาเอาทรัพยากรที่มี ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรมร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดความรัก ความ สามัคคี และอยู่ในสังคมอย่างสันติสุข
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
25
ประโยชน์ที่ได้รับ ผลลัพธ์ (Out come) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ นาเอา ทรัพยากร วัสดุ และอุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่นมาปรับประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างพอเพียง 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีส่วนร่วมการสืบสานภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรม พื้นบ้านในการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลว และการทาฮังมดแดง ให้อยู่คู่กับชุมชนวัดท่า สะแบงและสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรมจริยธรรม มีสุขภาวะที่ดีและอยู่ร่วมกันใน สังคมอย่างมีความสุข เป้าหมาย เชิงปริมาณ เด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอ ทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 50 คน เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย จานวน 50 คน ได้เรียนรู้การทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลว และการทาฮังมดแดง สามารถนาวัสดุอุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่นมาปรับประยุกต์ใช้ประโยชน์มากที่สุด และพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 80 ระยะเวลาดาเนินการ เริ่มตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 – 1 เมษายน 2555 สถานที่ดาเนินการ วัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่รับผิดชอบ วัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. วัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 2. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 3. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 7 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 4. โรงเรียนบึงงามพัฒนา ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 5. โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 6. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
26
ผู้รับผิดชอบ คณะทางานโครงการ ประกอบด้วย 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง ประธาน 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง รองประธาน 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล วัดท่าสะแบง ผู้ประสานงาน 4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง กรรมการ 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา กานันตาบลมะบ้า กรรมการ 6. นางบัวบาน ประวิเศษ ผอ.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ 7. นางทองทรัพย์ ปัตโต ครู.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ 8. นางสาวพิมพ์สร พันทวี ครู.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ 9. นายประพันธ์ ดิลกศรี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 11. นายธารง ทิพยสาร ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 12. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 13. นางวิภา ชุดขุนทด ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 14. นางคมทอง จานงค์จิตร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 15. นางสุปรียา ทิพยสาร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 16. นางลาพอง วิลยั ศิลป์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 17. นางวัน วจีภูมิ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 18. นางพูน ธุหา บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 19. นางพร จิตรวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 20. นางบุญนอง สนองผัน บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 21. นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 22. นางลาไย ฤทธิวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 23. นางจาลอง เอกวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 24. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 25. นายสารอง มาลาขันธ์ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 26. นายดวน เอกวุธ บ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 27. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
27
วิธีดาเนินงาน กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง งบประมาณ 30,000 บาท รายละเอียดดังนี้ กิจกรรม
ระยะเวลา
ขั้นเตรียมการ 1 เมษายน 2554 – 1. ประชุมคณะทางาน 30 เมษายน 2554 2. แต่งตั้งคณะทางาน 3. วางแผนการทางาน ขั้นดาเนินการ 1 พฤษภาคม 2554 – 1. จัดทาคู่มือขันหมากเบ็งโบราณ 31 พฤษภาคม 2554 วัดท่าสะแบง 2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 3. ประชาสัมพันธ์การทางาน 1 มิถุนายน 2554 – 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการ 24 ธันวาคม 2554 4.1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 4.2 การทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด 4.3 การทาขันหมากเบ็งโบราณ สิบสองซ้ายขวา 4.4 การทาขันหมากเบ็งโบราณ สามสิบสองซ้ายขวา 30 ธันวาคม 2554 4.5 จัดนิทรรศการ ขั้นประเมินผล 1 มิถุนายน 2554 – 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 29 กุมภาพันธ์ 2555 2. การตอบแบบสอบถาม 30 ธันวาคม 2554 – 3. สรุปผลการดาเนินงาน 29 กุมภาพันธ์ 2555 4. รายงานผลการจัดทาโครงการและ ถอดบทเรียน
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
1,000
1. ประธานโครงการ 2. คณะทางาน โครงการ 3. ผู้ประสานงาน โครงการและ เหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการ และถอดบทเรียน
1,500 4,500 4,000 1,1000
5,000 3,000 -
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
28
งบประมาณ กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้รับงบประมาณ 30,000 บาท รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดาเนินกิจกรรม ดังนี้ รายการ 1. ค่าตอบแทนในการประชุมคณะทางาน 2. ค่าตอบแทนพิจารณาโครงการ 3. ค่าจัดทาคู่มือขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง จานวน 50 เล่ม 4. ค่าจัดทาคู่มือการสานตาแหลว จานวน 50 เล่ม 5. ค่าจัดทาคู่มือการทาฮังมดแดง จานวน 50 เล่ม 4. ค่าตอบแทนวิทยากร 5. ค่าตอบแทนคณะทางาน 6. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติ 7. ค่าสถานที่ประชุม 8. ค่าสื่อและแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ 9. ค่าจัดทาแบบสอบถาม 10. ค่าวัสดุสานักงาน 11. ค่าพาหนะเดินทาง 12. ค่าจัดนิทรรศการ รวม
จานวนเงิน/ บาท 1,000 1,500 1,500 1,500 1,500 3,000 2,000 5,000 2,500 4,000 500 500 500 5,000 30,000
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผู้ประสานงานโครงการ และเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการและ ถอดบทเรียน
-
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
29
การวัดและประเมินผล ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ ด้านผลผลิต (OUTPUT) 1. เพื่อส่งเสริมเด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุในชุมชนวัดท่าสะแบง นาเอาหลักแนวคิดของเศรษฐกิจ พอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้กับวิถีการ ดาเนินชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ในการทาขันหมากเบ็งโบราณ การ สานตาแหลว และการทาฮังมดแดง ในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. เพื่อส่งเสริมการคิดค้นพัฒนาสู่ สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถ นาเอาทรัพยากรที่มี ในท้องถิ่นมา ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันได้ 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรม ร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคี และอยู่ในสังคมอย่างสันติสุข
วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการวัดและ ประเมินผล
-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน
เครื่องมือที่ใช้ วัดและประเมินผล -แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบประเมิน ผลงาน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ ด้านผลลัพธ์ (OUTCOME) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ตามหลักแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง โดยนาเอาทรัพยากร วัสดุ และอุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่นมาปรับ ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับวิถี ดาเนินชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ในการทาขันหมากเบ็งโบราณ การ สานตาแหลว และการทาฮังมดแดง ในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง มีส่วนร่วมสืบสานภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านให้อยู่คู่กับ สังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาวะที่ดี มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น และอยู่ร่วมกัน ในสังคมอย่างมีความสุข
30
วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการวัดและ ประเมินผล
-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน
เครื่องมือที่ใช้ วัดและประเมินผล -แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบประเมิน ผลงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงดาเนินวิถีชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้กับ ภูมิปัญญาพื้นบ้านได้อย่างเหมาะสม 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง มีส่วนร่วมการสืบสานภูมิปัญญาไทย ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ในการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลวและการทาฮังมดแดง ให้อยู่คู่กับชุมชนวัดท่าสะแบง และสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาวะที่ดี มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
31
กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมอาชีพข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล ข้าวเป็นธัญญาหารที่สาคัญที่สุดของคนอีสาน เป็นสายใยร้อยความสัมพันธ์ระหว่ างมนุษย์กับ สัตว์ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง การเกื้อกูลซึ่งกันและกัน อันเป็นหนทางที่จะนา ไปสู่ความราบรื่นในการดาเนินชีวิตภายใต้ความสมดุลทางธรรมชาติ ชุมชนบ้านท่าสะแบงตั้งอยู่ริมฝั่ง แม่น้าชี ซึ่งเป็นแม่น้าสายหลักที่อุดมสมบูรณ์หล่อเลี้ยงชีวิตสรรพสิ่งในพื้นที่ภาคอีสาน ดังนั้นชุมชน บ้านท่าสะแบงจึงยึดการทานาเป็นอาชีพหลัก เพราะสามารถทานาได้ปีละ 2 ครั้ง เมื่อถึงฤดูกาลทานา เกษตรกรในชุมชนบ้านท่าสะแบงจะเตรียมตัวจัดการกับขั้นตอนการปลูกข้าวให้ดีที่สุด และได้ผลผลิต ต่อไร่มากที่สุด ข้าวที่ปลูกส่วนใหญ่เป็นข้าวเหนียวและข้าวหอม เกษตรกรในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่กับภูมิปัญญาพื้นบ้านในการผลิตข้าวกล้องงอกหอมมะลิ โดยยึ ด หลั ก การพึ่ ง ตนเอง ความสามั ค คี ใ นชุม ชน การช่ว ยเหลือ ซึ่ งกั นและกั น พั ฒ นาเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ก่อน แล้ ว พัฒนาไปสู่ การพออยู่ พ อกิน ขั้ น ตอนการรวมพลั งในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ใ นการผลิต การตลาด ความเป็ นอยู่ เพื่ อ สร้า งชุม ชนให้เข้ ม แข็ ง สมาชิกมีส่วนร่วมในการพั ฒนา และขั้นตอนการสร้าง เครือข่ายกลุ่ม กิจกรรม ให้หลากหลายโดยประสานความร่วมมือกับ ชุมชน เพื่อนาไปสู่การลด ต้นทุนและเพิ่มผลประโยชน์ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้เกษตรกรในชุมชนบ้านท่าสะแบงมี กิจกรรมการผลิต ข้ า วที่ ต่อเนื่องตลอดปี มีอาหารเพี ยงพอต่อการบริโภคในครัวเรือน มีผลผลิต การเกษตรจาหน่ายเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้เพิ่มของครัวเรือน ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็ง มีสุขภาวะที่ ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านการทานาโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อส่งเสริมการผลิตข้าวกล้องงอกหอมมะลิในชุมชนวัดท่าสะแบง 3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกรในชุมชนวัดท่าสะแบงมีรายได้เพิ่มในครัวเรือน เป้าหมาย เชิงปริมาณ เด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 30 คน เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย จานวน 30 คน ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการผลิตข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ในชุมชนวัดท่าสะแบง คิดเป็นร้อยละ 80
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
32
ระยะเวลาดาเนินการ เริ่มตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 – 1 เมษายน 2555 สถานที่ดาเนินการ ชุมชนวัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่รับผิดชอบ วัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. วัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 2. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 3. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 7 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด ผู้รับผิดชอบ คณะทางานโครงการ ประกอบด้วย 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล วัดท่าสะแบง 4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา กานันตาบลมะบ้า 6. นายประพันธ์ ดิลกศรี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 7. นายธารง ทิพยสาร ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 8. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 9. นางวิภา ชุดขุนทด ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 10. นางคมทอง จานงค์จิตร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า 11. นางสุปรียา ทิพยสาร สารวัตรกานันตาบลมะบ้า 12. นายสุพจน์ จันทภูมิ บ้านท่าสะแบง 13. นายประจันทร์ ใจขาน บ้านท่าสะแบง 14. นายพิบูลย์ เกษเพชร ผู้ใหญ่บ้านบ้านท่าไคร้ 15. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ
ประธาน รองประธาน ผู้ประสานงาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
33
วิธีดาเนินการ กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมอาชีพข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง มีรายละเอียดดังนี้ กิจกรรม ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทางาน 2. แต่งตั้งคณะทางาน 3. วางแผนการทางาน ขั้นดาเนินการ 1.จัดทาคู่มือส่งเสริมอาชีพ ข้าวกล้องงอกหอมมะลิวัดท่าสะแบง 2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 3. ประชาสัมพันธ์การทางาน 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 4.2 การปลูกข้าวหอมมะลิ 4.3 การจัดซื้อข้าวเปลือกหอมมะลิ 4.4 การผลิตข้าวกล้องงอกหอมมะลิ 4.5 การบรรจุภัณฑ์ 4.6 การจาหน่ายผลิตภัณฑ์ 4.7 การจัดนิทรรศการ ขั้นประเมินผล 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 2. การตอบแบบสอบถาม 3. สรุปผลการดาเนินงาน 4. รายงานผลการจัดทาโครงการ และถอดบทเรียน
ระยะเวลา
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
1 เมษายน 2554 – 30 เมษายน 2554
2,000 1,500
1 พฤษภาคม 2554 – 31 พฤษภาคม 2554
3,000
1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผู้ประสานงาน โครงการและเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการ และถอดบทเรียน
1 มิถุนายน 2554 – 24 ธันวาคม 2554
4,000 13,500
3,000 30 ธันวาคม 2554 1 มิถุนายน 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 30 ธันวาคม 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555
3,000
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
34
กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิวัดท่าสะแบง ได้รับงบประมาณ สนับสนุน 30,000 บาท มีรายละเอียดในการดาเนินกิจกรรม ดังนี้
รายการ 1. ค่ารับรองการประชุมคณะทางาน 2. ค่าตอบแทนพิจารณาโครงการ 3. ค่าจัดทาคู่มือส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องงอก วัดท่าสะแบง จานวน 100 เล่ม 4. ค่าตอบแทนวิทยากร 5. ค่าตอบแทนบุคคลภายนอกมาช่วยงาน 6. ค่าวัสดุในการฝึกปฏิบัติ 7. ค่าสถานที่ประชุม 8. ค่าจัดทาสื่อและแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ 9. ค่าวัสดุสานักงาน 10. ค่าพาหนะเดินทาง 11. ค่าจัดนิทรรศการ รวม
จานวนเงิน/ บาท 2,000 1,500 3,000 --
3,000 2,000 6,500 2,500 4,000 500 1,000 4,000
30,000
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธานโครงการ 2. คณะทางานโครงการ 3. ผู้ประสานงานโครงการ และเหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการและ ถอดบทเรียน
-
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
35
การวัดและประเมินผล
ตัวบ่งชี้สภาพความสาเร็จ ด้านผลผลิต (OUTPUT) 1. เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านการ ทานาโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อส่งเสริมการผลิตข้าวกล้องงอก หอมมะลิในชุมชนวัดท่าสะแบง 3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกร ในชุมชนวัดท่าสะแบงมีรายได้เพิ่ม ในครัวเรือน
การจัดกิจกรรม การเรียนรู้
การวัดและ ประเมินผล
-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
-การสังเกต -การเข้าร่วมกิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านการทานาโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพื่อส่งเสริมการผลิตข้าวกล้องงอกหอมมะลิในชุมชนวัดท่าสะแบง 3. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มในครัวเรือน 4. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและพึ่งพาตนเองได้ 5. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีสุขภาวะที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
เครื่องมือที่ใช้
-แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบประเมิน ผลงาน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
36
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล วิถีชีวิตของคนชนบทอีสานได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสยุคโลกาภิวัตน์ เกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางสังคมและสภาพแวดล้อม ทาให้บุคคลในชุมชนมองข้ามการออกกาลังกาย โดยอ้างว่าไม่มีเวลา หรือเข้าใจว่าการดาเนินชีวิตประจาวันเป็นการออกกาลังกายอย่างหนึ่ง จึงเป็นสาเหตุให้บุคคลมีสุขภาพ อ่อนแอลงและส่งผลให้เกิดปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ หลายหน่วยงานในชุมชนได้รณรงค์ให้มี การออกกาลังกายที่หลากหลายวิธี กระตุ้นให้ชุมชนเกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญ ของการ ออกกาลังกายเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้ แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ สร้างความสามัคคี และช่วยลดปัญหาการเกิดโรค ชุมชนวัดท่าสะแบง ตระหนักถึงความสาคัญของการดูแลสุขภาพ จึงได้จัดทาโครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชน วัดท่าสะแบง โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในชุมชนวัดท่าสะแบง มีสุขภาวะที่ดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข จุดประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสาคัญของสุขภาพตนเองด้วยการออกกาลังกาย อย่างสม่าเสมอ 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 3. เพื่อส่งเสริมความสามัคคี ชุมชนรวมกลุ่มทากิจกรรมการออกกาลังกายร่วมกันอย่างมีความสุข 4. เพื่อส่งเสริมให้บุคคลในชุมชนมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี เป้าหมาย 1. เชิงปริมาณ เด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ หมู่ 4และหมู่ 7 บ้านท่าสะแบง จานวน 50 คน 2. เชิงคุณภาพ 2.1 ชุมชนวัดท่าสะแบงมีส่วนร่วมจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม 2.2 เด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุในชุมชนวัดท่าสะแบง มีสุขภาวะที่ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และ สติปัญญา
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
37
ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ชุมชนเห็นความสาคัญของสุขภาพตนเองด้วยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 2. ชุมชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในการออกกาลังกายได้อย่างเหมาะสม 3. ชุมชนเกิดความสามัคคีรวมกลุ่มทากิจกรรมออกกาลังกายร่วมกันอย่างมีความสุข 4. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบงมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี ระยะเวลาดาเนินการ เริ่มตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 – 1 เมษายน 2555 สถานที่ดาเนินการ วัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่รับผิดชอบ วัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. วัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 2. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 3. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 7 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 4. โรงเรียนบึงงามพัฒนา ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 5. โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 6. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด ผู้รับผิดชอบ คณะทางานโครงการ ประกอบด้วย 1. พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง 2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร วัดท่าสะแบง 3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล วัดท่าสะแบง 4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป วัดท่าสะแบง 5. นายบุญเสริม เครือน้าคา กานันตาบลมะบ้า 6. นางบัวบาน ประวิเศษ ผอ.กศนทุ่งเขาหลวง
ประธาน รองประธาน ผู้ประสานงาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
7. นางทองทรัพย์ ปัตโต 8. นางสาวพิมพ์สร พันทวี 9. นายประพันธ์ ดิลกศรี 10. นายธารง ทิพยสาร 11. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ 12. นางวิภา ชุดขุนทด 13. นางคมทอง จานงค์จิตร 14. นางสุปรียา ทิพยสาร 15. นางพูน ธุหา 16. นางบุญนอง สนองผัน 17. นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ 19. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ 20. นางเกสร พิชัย 21. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง
38
ครู.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ ครู.กศนทุ่งเขาหลวง กรรมการ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 กรรมการ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7 กรรมการ สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ สารวัตรกานันตาบลมะบ้า กรรมการ บ้านท่าสะแบง กรรมการ บ้านท่าสะแบง กรรมการ บ้านท่าสะแบง กรรมการ บ้านท่าสะแบง กรรมการ บ้านหวายหลึม กรรมการ นักวิชาการ ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
39
วิธีดาเนินงาน กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง งบประมาณ 30,000 บาท รายละเอียดดังนี้ กิจกรรม ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทางาน 2. แต่งตั้งคณะทางาน 3. วางแผนการทางาน ขั้นดาเนินการ 1. จัดทาคู่มือขันหมากเบ็งโบราณ วัดท่าสะแบง 2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 3. ประชาสัมพันธ์การทางาน 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการ 4.1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย 4.2 การออกกาลังกายท่ามือเปล่า 4.3 การออกกาลังกายใช้ยางวง 4.4 การออกกาลังกายใช้ไม้คาน 4.5 การออกกาลังกายใช้ฮูลาฮูป 4.6 การออกกาลังกายประกอบเพลง ขั้นประเมินผล 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 2. การตอบแบบสอบถาม 3. สรุปผลการดาเนินงาน 4. รายงานผลการจัดทาโครงการและ ถอดบทเรียน
ระยะเวลา
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
1 เมษายน 2554 – 30 เมษายน 2554
1,000
1. ประธานโครงการ 2. คณะทางาน โครงการ 3. ผู้ประสานงาน โครงการและ เหรัญญิก 4. ที่ปรึกษาโครงการ และถอดบทเรียน
1,500 1 พฤษภาคม 2554 – 31 พฤษภาคม 2554
1 มิถุนายน 2554 – 24 ธันวาคม 2554
4,500 4,000 1,1000
30 ธันวาคม 2554
5,000
1 มิถุนายน 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 30 ธันวาคม 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555
3,000 -
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
40
งบประมาณสนับสนุนกิจกรรม จานวน 30,000 บาท รายละเอียดดังนี้ รายการ 1. ประชุมคณะทางาน 2. ค่าพิจารณาโครงการ 3. จัดทาคู่มือออกกาลังกายท่ามือเปล่า 4. จัดทาคู่มือออกกาลังกายใช้ยางวง 5. จัดทาคู่มือการราไม้คานบริหารร่างกาย 6. ค่าวิทยากร 7. ค่าเลี้ยงรับรองคณะทางาน 8. ค่าอุปกรณ์การฝึกปฏิบัติ 9. ค่าบารุงสถานที่ประชุม 10. ค่าสื่อและแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ 11. ค่าถ่ายเอกสาร 12. ค่าวัสดุสานักงาน 13. ค่าพาหนะ 14. การจัดนิทรรศการ รวม
จานวนเงิน 1,000 1,500 1,500 1,500 1,500 3,000 2,000 5,000 2,500 4,000 500 500 500 5,000 30,000
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธานโครงการ 2. คณะทางาน 3. ผู้ประสานงาน 4. ที่ปรึกษาโครงการและถอดบทเรียน
-
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
41
การวัดและประเมินผล ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ ด้านผลผลิต (OUTPUT) 1.เพื่อส่งเสริมให้บุคคลในชุมชน วัดท่าสะแบงเห็นความสาคัญของ สุขภาพตนเองด้วยการออกกาลังกาย อย่างสม่าเสมอ 2. เพื่อส่งเสริมให้บุคคลในชุมชน ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในการ ออกกาลังกายได้อย่างเหมาะสม 3. เพื่อส่งเสริมให้บุคคลในชุมชน เกิดความสามัคคีรวมกลุ่มทากิจกรรม ออกกาลังกายร่วมกันอย่างมีความสุข 4. เพื่อส่งเสริมให้บุคคลทั้ง 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบงมีสุขภาวะที่ดี และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการวัดและ ประเมินผล
-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -ประเมินผลงาน
เครื่องมือที่ใช้ วัดและประเมินผล -แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบประเมิน ผลงาน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ ด้านผลลัพธ์ (OUTCOME) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง เห็นความสาคัญของสุขภาพตนเอง ด้วยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 2. บุคคลในชุมชนใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ในการออกกาลังกายได้ อย่างเหมาะสม 3. บุคคลในชุมชนเกิดความสามัคคี รวมกลุ่มทากิจกรรมออกกาลังกาย ร่วมกันอย่างมีความสุข 4. บุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีสุขภาวะที่ดีและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
42
วิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการวัดและ ประเมินผล
-การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
-การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -ประเมินผลงาน
เครื่องมือที่ใช้ วัดและประเมินผล -แบบสังเกต -คาถาม/คาตอบ -แบบประเมิน ผลงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงเห็นความสาคัญของสุขภาพตนเองด้วยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 2. บุคคลในชุมชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในการออกกาลังกายได้อย่างเหมาะสม 3. บุคคลในชุมชนเกิดความสามัคคีรวมกลุ่มทากิจกรรมออกกาลังกายร่วมกันอย่างมีความสุข 4. บุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบงมีสุขภาวะที่ดีและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
43
1.4 การกาหนดบทบาทและหน้าที่ของทีมงานถอดบทเรียน ประกอบด้วยดังนี้ 1.4.1 หัวหน้าทีม เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านที่อยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง ที่มีความรู้ ความ สามารถ ทาให้การถอดบทเรียนของแต่ละกิจกรรม สามารถดาเนินงาน และบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ตามโครงการโดยมีผู้จดบันทึกไว้ แบ่งเป็น 4 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง หัวหน้าทีม ได้แก่ พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบงและประธานโครงการ ผู้จดบันทึก ได้แก่ พระมหาชฌณิพัฒฑ์ กิตฺติโมลี และ นายดวน เอกวุธ
กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง 2.1 หัวหน้าทีมการทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ได้แก่ นางลาพอง วิลัยศิลป์ ผู้จดบันทึก ได้แก่ พระมหาชฌณิพัฒฑ์ กิตฺติโมลี และ นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ 2.2 หัวหน้าทีมการสานตาแหลววัดท่าสะแบง ได้แก่ นายประพันธ์ ดิลกศรี ผู้จดบันทึก ได้แก่ พระมหาชฌณิพัฒฑ์ กิตฺติโมลี และ นางคมทอง จานงค์จิตร 2.3 หัวหน้าทีมการทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง ได้แก่ นายสารอง มาลาขันธ์ ผู้จดบันทึก ได้แก่ นางสุปรียา ทิพยสาร
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
44
กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง หัวหน้าทีม ได้แก่ นางวิภา ชุดขุนทด ผู้จดบันทึก ได้แก่ นางสาวกัตติกา ชุดขุนทด
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง หัวหน้าทีม ได้แก่ เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ ผู้จดบันทึก ได้แก่ นางเกสร พิชัย
1.4.2 ผู้จดบันทึก เป็นผู้จดบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ การอภิปราย ของผู้ร่วมถอดบทเรียนแต่ละกิจกรรม จานวน 1-2 คน ช่วยกันเขียนเรียบเรียงเป็นเรื่องราวให้น่าสนใจ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ 1.4.3 ผู้ถอดบทเรียน ได้แก่ ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง นักวิชาการ เป็นผู้กระตุ้น ให้ผู้ร่วมถอดบทเรียนแต่ละกิจกรรม ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความคิดเห็นจากกิจกรรมที่ได้ ปฏิบัตจิ ริง โดยการตั้งคาถามกระตุ้นให้ผู้ร่วมถอดบทเรียน ทั้ง 4 กิจกรรม ได้ทาการวิเคราะห์สาเหตุ ของความสาเร็จ และอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
45
1.4.4 ผู้ประสานงาน พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล รองเจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง เป็นผู้ช่วยเหลือให้ทีมงานถอดบทเรียน ของแต่ละกิจกรรม ให้มีความสะดวก ในการติดต่อระหว่างสมาชิก ทีมงานถอดบทเรียน เพื่อให้สามารถทางานร่วมกันได้เป็นอย่างดี รวมทั้ง ช่วยประสานความร่วมมือจากบุคคลภายนอก ที่เกี่ยวข้อง กับการถอดบทเรียน 1.5 จัดทาแผนภูมิโครงร่างกรอบแนวคิดกระบวนการถอดบทเรียน ประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ 1.5.1 หัวข้อกิจกรรมที่ต้องการถอดบทเรียน 1.5.2 กาหนดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการถอดบทเรียน 1.5.3 เลือกวิธีการถอดบทเรียนที่ให้เหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย 1.5.4 กาหนดขั้นตอนในการถอดบทเรียนตามลาดับก่อนหลัง 1.5.5 กาหนดประเด็นคาถามที่มีความชัดเจน โดยเรียงลาดับตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งสิ้นสุด 1.5.6 กาหนดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังการถอดบทเรียน พร้อมจัดทาเอกสารการถอดบทเรียน
โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
กลุ่มเป้าหมาย
วิธีการถอดบทเรียน
บุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง
แบบ AAR-PAR
ขั้นตอน การถอดบทเรียน
ประเด็นคาถาม
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จัดทาเอกสารการถอดบทเรียน
กรอบแนวคิดกระบวนการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
46
1.6 วิธีการถอดบทเรียนโครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัย ในวัดท่าสะแบง ผู้ถอดบทเรียน ได้เลือกวิธีการที่จะช่วยให้ทีมงานถอดบทเรียนได้เกิดการเรียนรู้ในระหว่างการปฏิบัติงาน ได้บทเรียน พัฒนาวิธีการทางานให้ดีขึ้น โดยคนในชุมชนวัดท่าสะแบง (Community Center) ร่วมกันเรียนรู้เรื่อง ชุมชนของตนเอง เห็นปัญหาของตัวเอง เห็นทางออก หรือทางแก้ปัญหาของชุมชนร่วมกัน รวมทั้งทุก คนในชุมชนร่วมกันแก้ปัญหาและรับผลของการแก้ปัญหาร่วมกัน มี 2 วิธี ดังนี้ 1.6.1 วิธีการถอดบทเรียนแบบการวิเคราะห์หลังการปฏิบัติ (After Action Review : AAR) หรือการเรียนรู้ระหว่างทางาน เป็นการทบทวนวิธีการปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรม ทั้งในด้าน ความสาเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น โดยทีมงานถอดบทเรียนแต่ละกิจกรรมมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การทางานและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกัน ผู้ถอดบทเรียนได้จัดประชุมคณะกรรมการทางานโครงการ และทีมงานถอดบทเรียนทั้ง 4 กิจกรรม โดยการชี้แจงและทาความเข้าใจแนวคิดในการปฏิบัติงาน ร่วมกันแบบ AAR แบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ 1. การปฏิบัติงานก่อนดาเนินการจัดกิจกรรม (Before Action Review : BAR) 2. การปฏิบัติงานระหว่างดาเนินการจัดกิจกรรม (During Action Review : DAR) 3. การปฏิบัติงานหลังดาเนินการจัดกิจกรรม (After Action Review : AAR) 1.6.1.1 จุดเด่นการปฏิบัติงานร่วมกันแบบ AAR ของทีมงานถอดบทเรียน มีดังนี้ 1. ทาให้เรียนรู้วา่ ในการทา งานต่างๆไม่ควรชื่นชมความสาเร็จเพียงด้านเดียว ต้องยอมรับ ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วย เพราะปัญหาคือโอกาสในการพัฒนาคนเพื่อพัฒนางาน 2. ฝึกการรับฟังความคิดเห็นหรือคาแนะนาของเพื่อนร่วมงาน 3. ฝึกการทางานเป็นทีม 4. ใช้วิธีการสื่อสารที่หลากหลาย เช่น การรับโทรศัพท์ การจัดประชุม เป็นต้น 5. ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมคือเพื่อนร่วมงาน หรือทีมงาน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
47
1.6.1.2 ประเด็นคาถามในการปฏิบัติงานแบบ AAR มี 4 ข้อ ดังนี้ 1. สิ่งที่คาดว่าจะได้รับในการปฏิบัติงานคืออะไร 2. สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในการปฏิบัติงานคืออะไร 3. ทาไมการปฏิบัติงานจึงแตกต่างกัน 4. สิ่งที่ได้เรียนรู้ในการปฏิบัติงาน มีวิธีการแก้ไขความแตกต่างคืออะไร
1.6.1.3 ขั้นตอนการปฏิบัติงานแบบ AAR มี 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ทีมงานถอดบทเรียนปฏิบัติงานแบบ AAR หลังจากจบงานของแต่ละกิจกรรม 2. ไม่มีการกล่าวโทษ ซ้าเติม ตอกย้าซึ่งกันและกัน ไม่มีความเป็นเจ้านายหรือลูกน้อง มีแต่บรรยากาศที่เป็นกันเอง 3. มีผู้ถอดบทเรียน คอยอานวยความสะดวก กระตุ้นและตั้งคาถามให้ทุกคนได้แสดง ความคิดเห็นในข้อเสนอแนะการปฏิบัติงานของทีมงานถอดบทเรียน 4. สิ่งที่ควรได้รับในการปฏิบัติงานคืออะไร 5. สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในการปฏิบัติงานคืออะไร 6. สิ่งที่ควรได้รับและสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในการปฏิบัติงานมีความแตกต่างคืออะไร ทาไมจึงต่างกัน 7. มีการจดบันทึกการปฏิบัติงานของทีมงานถอดบทเรียนในแต่ละกิจกรรม เพื่อเตือน ความจาว่าวิธีการใดบ้างที่ได้เคยนามาแก้ปัญหาแล้ว คาตอบหรือวิธีแก้ปัญหาที่ได้จากการทา AAR คงไม่ใช่คาตอบสุดท้ายในการปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรม เพราะเมื่อเวลาเปลี่ยนไป ย่อมทาให้เกิด ปัญหาใหม่ได้ตลอดเวลา ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาย่อมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
48
1.6.2 วิธีการถอดบทเรียนแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เป็นวิธีการถอดบทเรียนโดยสมาชิกจากหน่วยงาน ในชุมชนบ้านท่าสะแบง จานวน 6 หน่วยงาน ได้ร่วมกันเรียนรู้เรื่องในชุมชนของตนเอง เห็นปัญหา ของตัวเอง เห็นทางออกหรือแนวทางแก้ไขปัญหาของชุมชนร่วมกัน โดยทุกคนในชุมชนได้ร่วมกัน แก้ปัญหาและรับผลของการแก้ปัญหานั้นร่วมกัน 1.6.2.1 วัตถุประสงค์การปฏิบัติงานแบบมีส่วนร่วม (PAR) ของทีมงานถอดบทเรียน ทั้ง 4 กิจกรรม มีดังนี้ 1. ปลูกจิตสานึกบุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้ตระหนักในปัญหา หน้าที่และร่วมกัน แก้ปัญหาชุมชนของตนเอง 2. หน่วยงานในชุมชนวัดท่าสะแบงได้เรียนรู้ร่วมกันแบบพหุภาคี 3. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงทากิจกรรมร่วมกัน โดยมีวัดท่าสะแบงเป็นศูนย์กลาง 4. ส่งเสริมการทากิจกรรมกลุ่ม และการทางานร่วมกันแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
49
1.6.2.2 แนวคิดของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) มาจากความเชื่อ ดังนี้ 1. เป็นกระบวนการที่เอนเอียงไปทางประชาธิปไตย เพราะเป็นการทางานร่วมกัน 2. คนต้องพัฒนาตนเอง และต้องการแสวงหาความรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ซึ่งเป็นเครื่องมือหนึ่งในการช่วยเหลือ ด้วยการวางพื้นฐานร่วมกันระหว่างหน่วยงานกับชุมชน 3. เน้นหนักการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพราะอาศัยการยอมรับของประชาชนที่ได้ สืบทอดต่อเนื่องกันมาจนเป็นประสบการณ์ที่หลากหลาย 1.6.2.3 หลักการของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) มีดังนี้ 1. ให้ความสาคัญและเคารพต่อภูมิความรู้ของชาวบ้าน โดยยอมรับว่าความรู้พื้นบ้าน ตลอดจนระบบการสร้างความรู้ และกาเนิดความรู้ในวิธีอื่นที่แตกต่างไปจากของนักวิชาการ 2. ปรับปรุงความสามารถและศักยภาพของชาวบ้านด้วยการส่งเสริม ยกระดับและพัฒนา ความเชื่อมั่นในตัวเองของเขา ให้สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์สถานการณ์ปัญหาของเขาเอง 3. ให้ความรู้ที่เหมาะสมกับชาวบ้านและคนยากจน โดยให้สามารถได้รับความรู้ที่เกิดขึ้น ในระบบสังคมของเขา สามารถที่จะทาความเข้าใจ แปลความหมาย ตลอดจนนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม 4. สนใจปริทัศน์ของชาวบ้าน โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จะช่วยเปิดเผย ให้เห็นคาถามที่ตรงกับปัญหาของชาวบ้าน 5. ปลดปล่อยความคิด การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมจะช่วยให้ชาวบ้าน และ คนยากจนสามารถใช้ความคิดเห็นของตนเองได้อย่างเสรี 1.7 จัดทาปฏิทินการถอดบทเรียนโครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง เพื่อวางแผนดาเนินการถอดบทเรียนแต่ละกิจกรรม ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการดาเนินงาน โดยกาหนด หัวข้อในปฏิทินการถอดบทเรียน ได้แก่ ลาดับที่ ประเด็นกิจกรรม ระยะเวลาในการดาเนินงาน วัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม และผู้รับผิดชอบกิจกรรม รายละเอียดดังนี้
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
50
ปฏิทินการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
กิจกรรมการเรียนรู้ พุทธประวัติ การแสดงความเคารพพระ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การอาราธนา การถวายทาน การประเคนของพระ การกรวดน้า การทาสมาธิ – แผ่เมตตา การกล่าวบทระลึกคุณ การทาวัตรเช้า การทาวัตรเย็น บทสวดสะระภัญญ์กราบลา การจัดโต๊ะหมู่บูชา การจัดนิทรรศการ การประเมินผล
ระยะเวลา 7 – 14 พ.ค. 54 21 – 28 พ.ค. 54 4 – 11 มิ.ย. 54 18 – 25 มิ.ย. 54 2 – 9 ก.ค. 54 16 – 23 ก.ค. 54 30 ก.ค. 54 6 – 27 ส.ค. 54 3 – 24 ก.ย. 54 1 – 29 ต.ค. 54 5 – 26 พ.ย. 54 3 – 10 ธ.ค. 54 17 – 24 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54
สื่อการเรียนรู้ 1.วัดท่าสะแบง 2.คู่มือการเรียนรู้ 3.พระภิกษุสงฆ์ 4.บุคคล 5.ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 6.ภาพประกอบ 7.ทานวัตถุ 8.ชุดสังฆทาน 9.ชุดกรวดน้า 10.โต๊ะหมู่บูชา 11.การสาธิต
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธาน โครงการ 2. คณะทางาน 3. ผู้ประสานงาน 4. ที่ปรึกษา โครงการและ ถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
51
ปฏิทินการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2.1 การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ลาดับ กิจกรรมการเรียนรู้ ระยะเวลา 1 ความเป็นมาของการทา 7 พ.ค. 54 ขันหมากเบ็งโบราณ วัดท่าสะแบง 2 - พิธีกรรมและความเชื่อ 14 พ.ค. 54 เกี่ยวกับขันหมากเบ็งโบราณ - ประโยชน์และคุณค่าของ ขันหมากเบ็งโบราณ 3 วัสดุและอุปกรณ์การทาขัน 21 พ.ค. 54 หมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง 4 การเลือกใบตองและดอกไม้สด 28 พ.ค. 54 5 การประดิษฐ์ใบตองและ 4 – 25 มิ.ย. 54 ดอกไม้ประดับ 6 การทาขันหมากเบ็งโบราณ 2 ก.ค.– 27 ส.ค.54 ห้าแปด 7 การทาขันหมากเบ็งโบราณ 3 ก.ย.–29 ต.ค. 54 เกี้ยวสิบสองซ้ายขวา 8 การทาขันหมากเบ็งโบราณ 5 พ.ย.–17 ธ.ค. 54 เกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา 9 การจัดนิทรรศการ 30 ธ.ค. 54 10 การประเมินผล 30 ธ.ค. 54
สื่อการเรียน 1.วัดท่าสะแบง 2.คู่มือการเรียนรู้ 3.พระภิกษุสงฆ์ 4.ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 5.ภาพประกอบ 6.ขันหมากเบ็ง โบราณ 7.ใบตองสด 8.ดอกไม้สด 9.ลวดเย็บ 10.ไม้กลัด 11.ไม้เสียบ 12.กรรไกร 13.มีด 14.ถาด 15.ถังน้า 16.การสาธิต
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธาน โครงการ 2. คณะทางาน 3. ผู้ประสานงาน 4. ที่ปรึกษา โครงการและ ถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
52
ปฏิทินการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง การสานตาแหลววัดท่าสะแบง ลาดับ กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ความเป็นมาของการสาน ตาแหลว 2 - พิธีกรรมและความเชื่อ เกี่ยวกับตาแหลว - ประโยชน์และคุณค่าของ ตาแหลว 3 วัสดุและอุปกรณ์ในการสาน ตาแหลว 4 การเลือกไม้ไผ่ 5 การตัดและการจักตอกไม้ไผ่ 6 การเขียนลายตาแหลว วัดท่าสะแบง 7 การสานตาแหลว ลาย 4 แฉก 8 การสานตาแหลว ลาย 6 แฉก 9 การสานตาแหลว ลาย 8 แฉก 10 คาถากากับตาแหลว 11 การจัดนิทรรศการ 12 การประเมินผล
ระยะเวลา 7 พ.ค. 54
สื่อการเรียน 1.วัดท่าสะแบง 2.คู่มือการเรียนรู้ 14 พ.ค. 54 3.พระภิกษุสงฆ์ 4.ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 5.ภาพประกอบ 6.ตาแหลว 21 พ.ค. 54 7.ไม้ไผ่ตง 8.มีดโต้ 28 พ.ค. 54 9.มีดจักตอก 4 – 25 มิ.ย. 54 10.เลื่อย 2 ก.ค.– 30 ก.ค.54 11.การสาธิต 6 ส.ค.–10 ก.ย.54 17 ก.ย.–29 ต.ค.54 5 พ.ย.–17 ธ.ค. 54 24 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธาน โครงการ 2. คณะทางาน 3. ผู้ประสานงาน 4. ที่ปรึกษา โครงการและ ถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
53
ปฏิทินการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง ลาดับ กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ความเป็นมาของการทา ฮังมดแดง 2 - พิธีกรรมและความเชื่อ เกี่ยวกับฮังมดแดง - ประโยชน์และคุณค่าของ ฮังมดแดง 3 วัสดุและอุปกรณ์ในการทา ฮังมดแดง 4 การพับ การตัด และการคลี่ กระดาษ 5 การเขียนลายฮังมดแดง 6 การทาฮังมดแดง ลายกระหนก ใบโพธิ์ 7 การทาฮังมดแดง ลายกระหนก สร้อย 8 การทาฮังมดแดง ลายกระหนก ตีนจก 9 การจัดนิทรรศการ 10 การประเมินผล
ระยะเวลา 7 พ.ค. 54
สื่อการเรียนรู้ 1.วัดท่าสะแบง 2.คู่มือการเรียนรู้ 14 พ.ค. 54 3.ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 4.ภาพประกอบ 5.ฮังมดแดง 6.กระดาษแก้ว 21 พ.ค. 54 คละหลากสี 7.กระดาษแข็ง 4 – 25 มิ.ย. 54 8.ปากกาหรือดินสอ 9.เชือกว่าว 2 ก.ค.– 30 ก.ค.54 10.กรรไกร 6 ส.ค. –10 ก.ย.54 11.การสาธิต 17 ก.ย.–29 ต.ค.54 5 พ.ย.–24 ธ.ค.54 30 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธาน โครงการ 2. คณะทางาน 3. ผู้ประสานงาน 4. ที่ปรึกษา โครงการและ ถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
54
ปฏิทินการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 3 เรื่อง ส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องหอมมะลิวัดท่าสะแบง ลาดับ กิจกรรมการเรียนรู้ ระยะเวลา สื่อการเรียนรู้ 1 ประวัติความเป็นมาของ 7 พ.ค. 54 1.บ้านท่าสะแบง ข้าวหอมมะลิ 2.คู่มือการเรียนรู้ 2 ประโยชน์และคุณค่าทาง 14 พ.ค. 54 3.ภูมิปัญญาพื้นบ้าน อาหาร 4.ภาพประกอบ 3 การปลูกข้าวหอมมะลิ 4 – 25 มิ.ย. 54 5.ข้าวเปลือกหอม 4 การเกี่ยวข้าวหอมมะลิ 2 ก.ค.–30 ก.ค. 54 มะลิ 5 วิธีการผลิตข้าวกล้องหอมมะลิ 6 – 13 ส.ค. 54 6.ข้าวกล้องหอม 6 การเลือกข้าวเปลือก 20 – 27 ส.ค. 54 มะลิ 7 การสีข้าวกล้องหอมมะลิ 3 ก.ย.–24 ก.ย. 54 7.โรงสีข้าวกล้อง 8 การแช่ข้าวและการตาก 1 ต.ค.– 29 ต.ค.54 8.กระด้งหรือถาด 9 ข้าวกล้องงอกหอมมะลิ 5 พ.ย.–26 พ.ย. 54 9.ถังน้า การบรรจุภัณฑ์ 10.ตาชั่ง 10 การจาหน่าย 3 ธ.ค. –24 ธ.ค.54 11.บรรจุภัณฑ์ 11 การจัดนิทรรศการ 30 ธ.ค. 54 12.สติกเกอร์ 12 การประเมินผล 30 ธ.ค. 54 13.การสาธิต
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธาน โครงการ 2. คณะทางาน 3. ผู้ประสานงาน 4. ที่ปรึกษา โครงการและ ถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
55
ปฏิทินการถอดบทเรียน โครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัย ในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 4 เรื่อง ส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง ลาดับ กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ความเป็นมาของการ ออกกาลังกาย 2 ประโยชน์และคุณค่าของ การออกกาลังกาย 3 การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 4 การออกกาลังกายท่ามือเปล่า 5 การออกกาลังกายใช้ยางวง 6 การออกกาลังกายใช้ไม้คาน 7 การออกกาลังกายใช้ฮูลาฮูป 8 การจัดนิทรรศการ 9 การประเมินผล
ระยะเวลา 7 พ.ค. 54 14 พ.ค. 54 4 – 25 มิ.ย. 54 2 ก.ค.– 30 ก.ค.54 6 ส.ค.–10 ก.ย.54 17 ก.ย.–29 ต.ค.54 5 พ.ย.–24 ธ.ค.54 30 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 54
สื่อการเรียนรู้ 1.วัดท่าสะแบง 2.คู่มือการเรียนรู้ 3.ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 4.ผู้นาออกกาลังกาย 5.ภาพประกอบ 6.เส้นยางวง 7.ไม้คาน 8.ฮูลาฮูป 9.เพลงประกอบ 10.การสาธิต
ผู้รับผิดชอบ 1. ประธาน โครงการ 2. คณะทางาน 3. ผู้ประสานงาน 4. ที่ปรึกษา โครงการและ ถอดบทเรียน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
56
3.3 ขั้นตอนการดาเนินการถอดบทเรียน วัดท่าสะแบง ได้จัดทาโครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัย ในวัดท่าสะแบง ส่งเสริมการจัด กิจกรรมแบบชุมชนมีส่วนร่วมกับองค์กรในชุมชนวัดท่าสะแบง จานวน 6 องค์กร ได้แก่ วัดท่าสะแบง โรงเรียนบึงงามพัฒนา โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง ชุมชนหมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จัดประชุมคณะกรรมการทางานในชุมชนวัดท่าสะแบง จากหน่วยงานทั้ง 6 องค์กร ร่วมกันคัดเลือกภูมิปัญญาพื้นบ้าน บุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ได้จริง จานวน 4 กิจกรรม จัดทาคาสั่งแต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษร ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ดาเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ และดาเนินการถอดบทเรียนของทีมงานถอดบทเรียน มีประเด็น สาคัญแบ่งเป็น 4 กิจกรรม ตามขั้นตอนดังนี้ 3.3.1. ประสบการณ์จากวิธีการปฏิบัติงานจริงของทีมงานถอดบทเรียน เป็นภูมิปัญญา พื้นบ้านที่มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริง อยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้ปฏิบัตกิ ารร่วมถอดบทเรียนของแต่ละกิจกรรม จากประสบการณ์ที่ได้รับการถ่ายทอดและสั่งสมมา จากบรรพบุ รุ ษ และผู้ รู้ ใ นชุ ม ชน สามารถน าประสบการณ์ ภู มิ ปั ญ ญาพื้ น บ้ า นที่ มี ใ นแต่ ล ะบุ ค คล ดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ในโครงการ มีรายละเอียดดังนี้ 3.3.1.1 ภูมิปัญญาพื้นบ้านกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม ในชุมชนวัดท่าสะแบง ทาหน้าที่ปฏิบัติการร่วมถอดบทเรียนและจดบันทึก ประกอบด้วย 1) พระครูสุทธิวโรภาส เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง และ ประธานโครงการฯ หัวหน้าทีมถอดบทเรียน ทาหน้าที่เป็น พระวิทยากร บรรยาย สาธิต และประกอบกิจกรรมเกี่ยวกับ พุทธศาสนพิธีในวัดท่าสะแบง
2) พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร พระวัดท่าสะแบง รองประธาน โครงการฯ ทาหน้าที่เป็นพระวิทยากร บรรยาย สาธิตและ ประกอบกิจกรรมพุทธศาสนพิธีในวัดท่าสะแบง
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
57
3) พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล รองเจ้าอาวาส วัดท่าสะแบงและผู้ประสานงานโครงการฯ ทาหน้าที่เป็น พระวิทยากร บรรยาย สาธิต ประกอบกิจกรรมเกี่ยวกับ พุทธศาสนพิธีในวัดท่าสะแบง และประสานงานระหว่าง ชุมชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4) พระมหาชฌณิพัฒฑ์ กิตฺติโมลี พระวัดท่าสะแบง ทาหน้าที่ประกอบกิจกรรมพุทธศาสนพิธีในวัดท่าสะแบง และผู้จดบันทึกการดาเนินกิจกรรม
5) นายดวน เอกวุธ อายุ 67 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน มีประสบการณ์ทาหน้าที่ไวยาวัจกรวัดท่าสะแบง และ ผู้ช่วยประสานงาน 3.3.1.2 ภูมิปัญญาพื้นบ้านกิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ในชุมชนวัดท่าสะแบง แบ่งเป็น 3 กิจกรรมย่อย ดังนี้ 1. กิจกรรมการทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ประกอบด้วย 1) นางลาพอง วิลัยศิลป์ อายุ 68 ปี หัวหน้าทีม ภูมิปัญญาพื้นบ้านการทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษในงานบุญและพิธีต่าง ๆ ในชุมชนวัดท่าสะแบง มีประสบการณ์ทาขันหมากเบ็ง โบราณห้าแปด ขันหมากเบ็งเกี้ยวสิบสองซ้ายขวา และ ขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา 2) นางวัน วจีภูมิ อายุ 72 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอด จากบรรพบุรุษในงานบุญและพิธี ในชุมชนวัดท่าสะแบง มีประสบการณ์ทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด ขันหมาก เบ็งเกี้ยวสิบสองซ้ายขวาและขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสอง ซ้ายขวา
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
58
3) นางพูน ธุหา อายุ 71 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอด จากบรรพบุรุษในงานบุญและพิธี ในชุมชนวัดท่าสะแบง ประสบการณ์ทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด ขันหมากเบ็ง เกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา 4) นางลาไย ฤทธิวุธ อายุ 67 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง รับการถ่ายทอด จากบรรพบุรุษในงานบุญและพิธี ในชุมชนวัดท่าสะแบง ประสบการณ์ทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด ขันหมากเบ็ง เกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา 5) นางจาลอง เอกวุธ อายุ 65 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง รับการถ่ายทอด จากบรรพบุรุษในงานบุญและพิธี ในชุมชนวัดท่าสะแบง ประสบการณ์ทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด ขันหมากเบ็ง เกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา 6) นางบุญนอง สนองผัน อายุ 64 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอด จากบรรพบุรุษในงานบุญและพิธี ในชุมชนวัดท่าสะแบง ประสบการณ์ทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด ขันหมากเบ็ง เกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา 7) นางบุญนอง สนองผัน อายุ 64 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอด จากบรรพบุรุษในงานบุญและพิธี ในชุมชนวัดท่าสะแบง ประสบการณ์ทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด ขันหมากเบ็ง เกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
59
8) นางทองเลี่ยม นิลภักดิ์ อายุ 60 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอด จากบรรพบุรุษในงานบุญและพิธี ในชุมชนวัดท่าสะแบง ประสบการณ์ทาขันหมากเบ็งโบราณห้าแปด ขันหมากเบ็ง เกี้ยวสิบสองซ้ายขวา ขันหมากเบ็งเกี้ยวสามสิบสองซ้ายขวา
9) พระมหาชฌณิพัฒฑ์ กิตฺติโมลี พระวัดท่าสะแบง ทาหน้าที่ประกอบกิจกรรมพุทธศาสนพิธีวัดท่าสะแบง และผู้จดบันทึกการดาเนินกิจกรรม
2. กิจกรรมการสานตาแหลววัดท่าสะแบง ประกอบด้วย 1) พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร พระวัดท่าสะแบง รองประธาน โครงการฯ ทาหน้าที่เป็นพระวิทยากร บรรยาย สาธิตและ ประกอบกิจกรรมพุทธศาสนพิธีในวัดท่าสะแบง
2) พระมหาชฌณิพัฒฑ์ กิตฺติโมลี พระวัดท่าสะแบง ทาหน้าที่เป็นพระวิทยากร บรรยาย สาธิตและประกอบ กิจกรรมพุทธศาสนพิธีในวัดท่าสะแบง และผู้จดบันทึก การดาเนินกิจกรรม 3) นายประพันธ์ ดิลกศรี อายุ 57 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การสานตาแหลววัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอดมาจาก บรรพบุรุษในงานบุญพิธีต่าง ๆ ในชุมชนวัดท่าสะแบง มีประสบการณ์สานตาแหลว ลาย 4 แฉก ลาย 6 แฉก และลาย 8 แฉก
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
60
4) เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ อายุ 68 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การสานตาแหลววัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอดมาจาก บรรพบุรุษในงานบุญพิธีต่าง ๆ ในชุมชนวัดท่าสะแบง มีประสบการณ์สานตาแหลว ลาย 4 แฉก ลาย 6 แฉก และลาย 8 แฉก 5) นายดวน เอกวุธ อายุ 67 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การสานตาแหลววัดท่าสะแบงได้รับการถ่ายทอดจาก บรรพบุรุษในงานบุญและพิธี ในชุมชนวัดท่าสะแบง มีประสบการณ์สานตาแหลว ลาย 4 แฉก ลาย 6 แฉก และลาย 8 แฉก 6) นางคมทอง จานงค์จิตร อายุ 52 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การสานตาแหลว ทาหน้าที่ผู้จดบันทึกการดาเนินกิจกรรม
3. กิจกรรมการทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง ประกอบด้วย 1) นายสารอง มาลาขันธ์ อายุ 65 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง ประสบการณ์ในการเขียน ลายฮังมดแดงลายกระหนกใบโพธิ์ ลายสร้อย ลายตีนจก 2) นายธารง ทิพยสาร อายุ 48 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง ประสบการณ์ได้รับการ ถ่ายทอดการทาฮังมดแดงลายกระหนกใบโพธิ์ ลายสร้อย และลายตีนจก 3) นางสุปรียา ทิพยสาร อายุ 47 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง และผู้จดบันทึกการดาเนิน กิจกรรม
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
61
3.3.1.3 ภูมิปัญญาพื้นบ้านกิจกรรมส่งเสริมอาชีพการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ในชุมชนวัดท่าสะแบง ประกอบด้วย 1) นางวิภา ชุดขุนทด อายุ 52 ปี หัวหน้าทีมภูมิปัญญา พื้นบ้านการทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง ได้รับการถ่ายทอดวิธีการทานาจากบรรพบุรุษโดยกาเนิด ในชุมชนวัดท่าสะแบง ประสบการณ์เป็นเกษตรกรในการ ปลูกข้าวเหนียวและข้าวเจ้าหอมมะลิ 105 2) นายประจันทร์ ใจขาน อายุ 63 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง ได้รับการ ถ่ายทอดวิธีการทานาจากบรรพบุรุษในชุมชนวัดท่าสะแบง ประสบการณ์เป็นเกษตรกรในการปลูกข้าวเหนียว และข้าว เจ้าหอมมะลิ 105 3) นายพิบูลย์ เกษเพชร อายุ 57 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การทาข้าวกล้องงอกหอมมะลิ ได้รับการถ่ายทอดวิธีการ ทานาจากบรรพบุรุษ ประสบการณ์เป็นเกษตรกรในการ ปลูกข้าวเหนียว ข้าวเจ้าหอมมะลิ 105 และเป็นเจ้าของ โรงสีข้าวข้าวกล้องในชุมชน 4) นางสาวกัตติกา ชุดขุนทด อายุ 22 ปี เยาวชนชุมชน วัดท่าสะแบง ทาหน้าที่ผู้จดบันทึกการดาเนินกิจกรรม 3.3.1.4 ภูมิปัญญาพื้นบ้านกิจกรรมส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง แบ่งเป็น 3 กิจกรรมย่อย ดังนี้ 1. กิจกรรมการออกกาลังกายใช้ไม้คาน 2. กิจกรรมการออกกาลังกายใช้ยางวง 3. กิจกรรมการออกกาลังกายท่ามือเปล่า กิจกรรมส่งเสริมการออกกาลังกายในชุมชนวัดท่าสะแบง ประกอบด้วย 1) เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์ อายุ 68 ปี หัวหน้าทีม ภูมิปัญญาพื้นบ้านการออกกาลังกาย มีประสบการณ์ เป็นข้าราชการบานาญทหารเรือ และทาหน้าที่เป็น ผู้แสดงแบบ
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
62
3) นางพูน ธุหา อายุ 71 ปี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การออกกาลังกาย มีประสบการณ์เป็นสมาชิกชมรม ผู้สูงอายุ กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรในชุมชนท่าสะแบง และทาหน้าที่เป็นผู้แสดงแบบ
3) เด็กหญิงอาธิตยา เสาสมภพ อายุ 12 ปี เยาวชน และเป็นผู้แสดงแบบ
3) นางเกสร พิชัย อายุ 45 ปี ทาหน้าที่เป็นผู้นา การออกกาลังกายในชุมชน และผู้จดบันทึกการ ดาเนินกิจกรรม
3.3.2. วิธีการปฏิบัติงานที่กาหนดในแผนปฏิบัติงาน มีรายละเอียดดังนี้ 3.3.2.1 การปฏิบัติงานเป็นไปตามที่กาหนดในแผนปฏิบัติงาน ภาพรวมทั้ง 4 กิจกรรม มีความพร้อมตามประเด็นที่สาคัญ ดังนี้ 1) ด้านสถานที่ ได้แก่ วัดท่าสะแบง โรงเรียน และชุมชนบ้านท่าสะแบง 2) ด้านบุคลากร ได้แก่ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน วิทยากร และครูผู้สอนตาม ความสามารถในแต่ละกิจกรรม 3) ด้านกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้เรียนวัยเด็ก วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ ที่อาศัยอยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
63
4) ด้านสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ได้แก่ การจัดเตรียมความพร้อมสื่อการเรียนรู้ ในแต่ละกิจกรรม 5) ด้านเวลา ได้แก่ ระยะเวลาวันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดราชการที่กาหนด ไว้ในแผนปฏิบัติงาน ทาให้มีเวลาว่างในการจัดและเข้าร่วมกิจกรรม 6) ด้านสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ได้แก่ ฝนไม่ตก จึงทาให้สะดวกในการจัด และการเข้าร่วมกิจกรรม 7) ด้านการเดินทาง ระยะทางใกล้มีความสะดวกเพราะอาศัยอยู่ในชุมชน บ้านท่าสะแบง
3.3.2.2 การปฏิบัติงานบางครั้งไม่เป็นไปตามที่กาหนดในแผนปฏิบัติงาน ภาพรวม ทั้ง 4 กิจกรรม มีอุปสรรคตามประเด็น ดังนี้ 1) ด้านสถานที่ ได้แก่ วัดท่าสะแบง โรงเรียน และชุมชนบ้านท่าสะแบง มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานในชุมชน 2) ด้านบุคลากร ได้แก่ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน วิทยากรและครูผู้สอน ไม่สามารถ มาทาการสอนได้ มีสาเหตุและภารกิจเนื่องมาจาก 1. การประกอบอาชีพ ได้แก่ กิจนิมนต์ ข้าราชการ เกษตรกร ค้าขาย 2. ครอบครัว ได้แก่ การเลี้ยงดูบุตรหลาน เฝ้าบ้าน 3) ด้านกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้เรียนวัยเด็ก วัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ มาเรียน ไม่สม่าเสมอ และมีจานวนไม่ครบตามที่กาหนดไว้ สาเหตุเนื่องมาจาก 1. ผู้เรียนวัยเด็กติดเรียนพิเศษและทาการบ้าน 2. ผู้เรียนวัยผู้ใหญ่มีภารกิจในการประกอบอาชีพ 3. ผู้เรียนวัยผู้สูงอายุมีภารกิจในครอบครัวและสุขภาพ
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
64
4) ด้านสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ได้แก่ การเตรียมสื่อการเรียนรู้ในแต่ละกิจกรรม บางอย่างต้องเดินทางด้วยพาหนะไปซื้อในหมู่บ้านอื่น (ใบตองและไม้ไผ่) ตัวอาเภอ หรือในจังหวัด ร้อยเอ็ด 5) ด้านเวลา ได้แก่ ระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติงาน เป็นวันเสาร์อาทิตย์ และวันหยุดราชการ บางคนมีภาระกิจและต้องการพักผ่อน 6) ด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ได้แก่ ฤดูฝนทาให้ฝนตกหนัก และเกิด ภัยธรรมชาติแม่น้าชีล้นฝั่ง น้าท่วมชุมชนบ้านท่าสะแบง จึงสะดวกในการจัดและการเข้าร่วมกิจกรรม (เดือนกันยายน-ตุลาคม) เป็นระยะเวลา 1-2 เดือน 7) ด้านการเดินทาง ได้แก่ ระยะทางไกลจากบ้าน ไม่มียานพาหนะ ฝนตก ไม่ปลอดภัยสาหรับเด็กเล็ก
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
65
3.3.3 การเปรียบเทียบความแตกต่างในการปฏิบัติงานที่กาหนดไว้ตามแผนปฏิบัติงาน สรุปได้ตามประเด็น ดังนี้ การปฏิบัติงาน เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน 1. ด้านสถานที่ สถานที่มีความพร้อมในการจัด กิจกรรม ได้แก่ วัดท่าสะแบง โรงเรียน และชุมชนบ้านท่าสะแบง 2. ด้านบุคลากร ภูมิปัญญาพื้นบ้าน วิทยากร และครู ผู้สอนมีความพร้อมและรับผิดชอบ ตามที่ได้รับมอบหมาย 3.ด้านกลุ่มเป้าหมาย ผู้เรียนวัยเด็ก วัยผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ มีความพร้อมและสนใจเรียนรู้
การปฏิบัติงาน ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน สถานที่บางแห่งไม่มีความพร้อมใน การจัดกิจกรรม ได้แก่ วัดท่าสะแบง โรงเรียน และชุมชนบ้านท่าสะแบง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน วิทยากร และครู ผู้สอนติดภารกิจ และไม่สามารถมา ปฏิบัติงานได้ 1. วัยเด็กติดเรียนพิเศษและทาการบ้าน 2. วัยผู้ใหญ่มีภารกิจในการประกอบ อาชีพ 3. วัยผู้สูงอายุมีภารกิจในครอบครัว และปัญหาสุขภาพ 4. ด้านสื่อการเรียนรู้ มีการเตรียมความพร้อมสื่อการเรียนรู้ สื่อใบตองค่อนข้างหายาก บางครั้ง ในแต่ละกิจกรรม ต้องไปซื้อที่หมู่บ้านอื่น 5. ด้านเวลา เป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดราชการ ในแผนปฏิบัติงาน บางคนมีภารกิจ และต้องการพักผ่อน 6. ด้านสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ได้แก่ เกิดภัยธรรมชาติทาให้น้าท่วมวัดและ ทางธรรมชาติ ฝนไม่ตก และอากาศเอื้ออานวย ชุมชนบ้านท่าสะแบง เป็นเวลานาน ทาให้สะดวกในการดาเนินกิจกรรม 2 เดือน 7. ด้านการเดินทาง เดินทางสะดวกเพราะอาศัยอยู่ใน ระยะทางไกลจากบ้านไม่มียานพาหนะ ชุมชนบ้านท่าสะแบง ฝนตก ไม่ปลอดภัยสาหรับเด็กเล็ก ประเด็น
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
66
3.3.4 สิ่งที่ทาได้เป็นอย่างดีจากการปฏิบัติงาน และประสบการณ์ของภูมิปัญญาพื้นบ้าน ในชุมชนวัดท่าสะแบงที่ได้จากข้อมูลการศึกษา ขั้นตอน วิธีการจัดกิจกรรมถอดบทเรียน การเล่าเรื่อง การวิเคราะห์ และการอภิปรายผลของผู้ร่วมถอดบทเรียน ทั้ง 4 กิจกรรม แล้วสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ สิ่งที่ได้ประโยชน์เป็นอย่างดียิ่งในการปฏิบัติงาน สรุปผลได้ 5 ประการ ดังนี้ 3.3.4.1 ได้บทเรียนใหม่และจัดทาเป็นคู่มือการเรียนรู้ จานวน 8 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนา คุณธรรมและจริยธรรมในชุมชนวัดท่าสะแบง เล่มที่ 2 คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง เล่มที่ 3 คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้การสานตาแหลววัดท่าสะแบง เล่มที่ 4 คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง เล่มที่ 5 คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ข้าวกล้องงอกหอมมะลิชุมชนวัดท่าสะแบง เล่มที่ 6 คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้การออกกาลังกายท่ามือเปล่า เล่มที่ 7 คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้การออกกาลังกายใช้ยางวง เล่มที่ 8 คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้การออกกาลังกายใช้ไม้คาน 3.3.4.2 นาผลการเรียนรู้การถอดบทเรียนและคู่มือการเรียนรู้ ไปเผยแพร่ให้กับชุมชน ใกล้เคียงและชุมชนอื่นในประเทศไทย 3.3.4.3 เป็นการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุมชนวัดท่าสะแบง ให้คงอยู่ต่อไปอย่างยั่งยืน 3.3.4.4 คณะทางานได้เรียนรู้จากชุมชนวัดท่าสะแบง ได้ประสบการณ์ในการทางาน ร่วมกับชุมชน อันก่อให้เกิดความเข้าใจและเกิดแนวคิดในการพัฒนาชุมชนตนเองอย่างแท้จริง 3.3.4.5 บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงได้รับข้อมูลข่าวสารที่ส่งผลให้มีสุขภาวะที่ดี พึ่งพาตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3.3.5 ข้อเสนอแนะวิธีการปฏิบัติงานต่อไปให้ดีขึ้น สรุปได้ดังนี้ 3.3.5.1 ควรมีวิธีการพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับแหล่งเที่ยวทางวัฒนธรรมเชิงวิถีพุทธ ในจังหวัดร้อยเอ็ด 3.3.5.2 ควรมีวิธีการพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรดินแดน ข้าวหอมมะลิโลกในจังหวัดร้อยเอ็ด 3.3.6 ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน มีดังนี้ 3.3.6.1 การประชุมคณะทางานส่วนมากต้องประชุมในตอนเย็น เนื่องจากต้องรอ ให้ทุกคนเสร็จสิ้นจากภารกิจการทางานและต้องดูแลครอบครัว จึงทาให้มีคนมาประชุมน้อย
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
67
3.3.6.2 คณะทางานบางคนไม่รับผิดชอบต่อหน้าที่ได้รับมอบหมายและไม่ปฏิบัติงาน จึงทาให้การปฏิบัติงานเป็นทีมแต่ละกิจกรรมเกิดความล่าช้าและไม่เป็นไปตามปฏิทินที่กาหนดไว้ และ ส่งผลต่อการรายงานความก้าวหน้าต่อผู้สนับสนุนโครงการ 3.3.6.3 คณะทางานบางคนมองว่าเป็นการเสียเวลาทางาน เพราะไม่มีค่าตอบแทน 3.3.6.4 กลุ่มเป้าหมายมาเรียนน้อยและไม่สม่าเสมอ ทาให้การเรียนรู้ไม่ต่อเนื่อง 3.3.6.5 ภูมิปัญญาพื้นบ้านหรือผู้รู้ในชุมชน บางครั้งมาร่วมปฏิบัติงานไม่ได้ เพราะ ส่วนมากมีอาชีพหลักเป็นเกษตรกร ต้องรีบเร่งและเอาใจใส่ต่อการเพาะปลูก 3.3.6.6 ภูมิปัญญาพื้นบ้านหรือผู้รู้ในชุมชน มีอายุมากและมีปัญหาสุขภาพ 3.3.6.7 วัดท่าสะแบงใช้เป็นสถานทีป่ ระกอบศาสนพิธี บางครั้งจึงไม่สะดวกต่อการ ปฏิบัติงานและดาเนินกิจกรรม 3.3.6.8 การติดต่อประสานงานบางครั้งมีความล่าช้า ขาดการติดต่อ และไม่ต่อเนื่อง 3.3.6.9 ปัญหาเกิดภัยธรรมชาติทาให้น้าท่วมวัดท่าสะแบง และชุมชนบ้านท่าสะแบง เป็นเวลานาน 2 เดือน (กันยายน – ตุลาคม 2554) 3.3.7 ข้อเสนอแนะวิธีการป้องกันไม่ให้เกิดอุปสรรคในการปฏิบัติงาน สรุปได้ดังนี้ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงาน 1.การประชุมคณะทางานส่วนมากต้องประชุม ในตอนเย็น เนื่องจากต้องรอ ให้ทุกคนเสร็จสิ้น จากภารกิจการทางาน และต้องดูแลครอบครัว จึงทาให้มีคนมาประชุมน้อย
ข้อเสนอแนะวิธีการป้องกัน 1.ขอความร่วมมือจากผู้นาชุมชน ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนชุมชนให้เห็นความสาคัญ และมาเข้าร่วม กิจกรรม
2.คณะทางานบางคนไม่รับผิดชอบต่อหน้าที่ได้รับ มอบหมายและไม่ปฏิบัติงาน ทาให้การปฏิบัติงาน เป็นทีมแต่ละกิจกรรม เกิดความล่าช้า ไม่เป็นไป ตามปฏิทินที่กาหนดไว้ และส่งผลต่อการรายงาน ความก้าวหน้าต่อผู้สนับสนุนโครงการ
2.ประชุมคณะทางาน รายงานผลการปฏิบัติงาน แจ้งปัญหาอุปสรรคที่พบในการปฏิบัติงาน และ แก้ไขปัญหา ขอความร่วมมือกับทีมคณะทางาน ช่วยกันปฏิบัติงาน เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงาน
3.คณะทางานบางคนมองว่าเป็นการเสียเวลา ในการทางาน เพราะไม่มีค่าตอบแทน
3.ประธานโครงการฯ ชี้แจงในที่ประชุมคณะ กรรมการให้รับทราบว่าไม่มีเงินค่าตอบในการ ปฏิบัติงาน แต่เป็นการมีส่วนร่วมในชุมชน
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงาน 4.กลุ่มเป้าหมายมาเรียนน้อยและไม่สม่าเสมอ ทาให้การเรียนรู้ไม่ต่อเนื่อง 5.ภูมิปัญญาพื้นบ้านหรือผู้รู้ในชุมชน บางครั้ง มาร่วมปฏิบัติงานไม่ได้ เพราะส่วนมากมีอาชีพ หลักเป็นเกษตรกร ต้องรีบเร่ง และเอาใจใส่ต่อ การเพาะปลูก 6.ภูมิปัญญาพื้นบ้านหรือผู้รู้ในชุมชน มีอายุมาก บางครั้งมาปฏิบัติงานไม่ได้ และมีปัญหาสุขภาพ
68
ข้อเสนอแนะวิธีการป้องกัน 4.ขอความร่วมมือจากผู้นาชุมชน ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนชุมชนให้เห็นความสาคัญ และมาเข้าร่วม กิจกรรม 5.ภูมิปัญญาพื้นบ้านหรือผู้รู้ในชุมชน ผลัดเปลี่ยน กันมาปฏิบัติงาน ถ้ามาไม่ได้ ก็ควรแจ้งให้กับ ผู้ปะสานงานรับทราบเพื่อจะได้จัดครูมาสอนแทน ตามความเหมาะสมกับผู้เรียน
7.วัดท่าสะแบงใช้เป็นสถานที่ประกอบศาสนพิธี บางครั้งจึงไม่สะดวกต่อการปฏิบัติงานและการ ดาเนินกิจกรรม
6.ปรับกิจกรรมการเรียนรู้จากภูมิปัญญาพื้นบ้าน วิทยากรหรือครูผู้สอนที่มาปฏิบัติงานให้เหมาะสม กับผู้เรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และไม่เสียเวลา เปล่าประโยชน์ 7.ปรับการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานที่ เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดขึ้นในวัดท่าสะแบง โรงเรียน หรือชุมชน
8.การติดต่อประสานงาน บางครั้งมีความล่าช้า ขาดการติดต่อ และไม่ต่อเนื่อง
8.ผู้ประสานงานและคณะทางาน ควรปฏิบัติตาม บทบาท หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ
9.เกิดภัยธรรมชาติทาให้น้าท่วมวัดท่าสะแบง และชุมชนบ้านท่าสะแบง เป็นเวลานาน 2 เดือน (กันยายน – ตุลาคม 2554)
9.ปรับแผนการปฏิบัติงานและจัดดาเนินกิจกรรม ชดเชยให้เหมาะสม เมื่อเข้าสู่เหตุการณ์ปกติ
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
69
3.3.8 ข้อเสนอแนะในสิ่งที่ควรทาเพิ่มเติมในการปฏิบัติงานที่ผ่านมา มีดังนี้ ควรมีคณะทางานจากส่วนกลาง (สสส.) มานิเทศงาน ให้คาแนะนา ชี้แนะและ ติดตามความก้าวหน้าทุกเดือนอย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นการปฏิบัติงานของทีมงานแต่ละกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้มากยิ่งขึ้น เพราะทีมงานแต่ละกิจกรรมยังไม่เข้าใจวิธีการ ปฏิบัติงานเท่าที่ควร
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
70
3.3.9 การประเมินความพึงพอใจผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของโครงการวิถีชีวิตไทย สู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง ปรากฏผลดังนี้ คาชี้แจง จงทาเครื่องหมาย x ลงในช่องตามระดับความพึงพอใจของท่าน
รายการประเมิน
มาก ที่สุด (5)
ระดับความพึงพอใจ มาก ปาน น้อย กลาง (4) (3) (2)
น้อย ที่สุด (1)
1. การเปิดโอกาสให้ร่วมแสดงความคิดเห็น ในการประชุมคณะทางาน 2. บรรยากาศในการประชุมคณะทางาน 3. การแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบเหมาะสม กับความสามารถของบุคคล 4. สถานที่จัดดาเนินโครงการ 5. ระยะเวลาในการจัดดาเนินโครงการ 6. งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจาก (สสส.) 7. กิจกรรมมีเนื้อหาเหมาะสมกับผู้เรียน 8. กิจกรรมมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 9. สื่อการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน 10. ผู้เรียนให้ความสนใจในการจัดกิจกรรม 11. ผู้เรียนได้รับความรู้และเกิดทักษะปฏิบัติ 12. การปฏิบัติงานเป็นไปตามปฏิทินที่กาหนดไว้ 13. การปฏิบัติงานร่วมกันในทีมงานถอดบทเรียน ของท่าน 14. การจัดนิทรรศการโครงการ 15. การนิเทศ ให้คาแนะนา และติดตามผล ของคณะกรรมการส่วนกลาง (สสส.) รวมเฉลี่ย ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของโครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง โดยภาพรวมผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจต่อผลการปฏิบัติงานในระดับมาก
วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง
71
แหล่งข้อมูล
คู่มือการถอดบทเรียนโครงการพัฒนาชุมชน (Online). Retrieved September 1st, 2008,from kmi.or.th/5_Link/Articles/AAR_Step.html http://share.psu.ac.th/blog/kmtips/4785 http://www.ru.ac.th/ www.si.mahidol.ac.th/km/webboard/wa_files/0_3851_1.pdf www.sk1edu.org/dta2/tumkwamrUguk%20%20AAR.doc